22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ศรีปลั่ง. 2546 : 68)จากผลการทดลองดังกลาวจะเห็นไดวาจากการศึกษาผลของสารสกัดจากเปลือก<br />

ผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับเอนไซม AST ในเลือดของหนูขาวเบาหวาน<br />

พบวาหนูขาวเบาหวานกลุม 1 ในวันที่ 1 กอนปอนน้ํากลั่น ระดับเอนไซม AST มีคามากกวา<br />

ปกติ (166.4±35.21 ยูนิต/ลิตร) ของหนูขาวเพศผูสายพันธุ Spraque Dawley (คาปกติเทากับ<br />

95±31.7 ยูนิต/ลิตร) สวนในวันที่ 7 ระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้น (221.80±43.45 ยู<br />

นิต/ลิตร) แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p >0.05) เมื่อเทียบกับคาเริ่มตนใน<br />

กลุมเดียวกัน แสดงใหเห็นวา STZ มีผลทําลายตับและทําใหระดับเอนไซม AST มีคาเพิ่มขึ้น<br />

ตลอดการทดลอง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ Daniela M. Mori พบวาหนูขาวเบาหวานที่ถูก<br />

เหนี่ยวนําโดย STZ มีผลทําใหเนื้อเยื่อตับและไตถูกทําลาย และทําใหระดับเอนไซม AST และ<br />

ALT สูงขึ้น (Mori, et al. 2003 : 183-191) และผลการศึกษาของ Imeda, A. พบวา DNA ในเซลล<br />

ตับถูกทําลายในหนู mice ที่เหนี่ยวนําใหเปนเบาหวานโดยการฉีด STZ 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

ทาง Intraperitoneal (i.p) และสงผลใหระดับเอนไซม AST และ ALT เพิ่มขึ้น (Imeda, et al.<br />

2002 : 1415-1422) ดังนั้นการที่ระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในหนูขาวเบาหวานกลุม 2<br />

3 4 และ 5 นั้น อาจเกิดจากการออกฤทธิ์ของ STZ ที่มีผลทําลายตับสวนหนึ่งและการออกฤทธิ์<br />

ของสารทดสอบที่ปอนแกหนูขาวเบาหวานในการทดลองครั้งนี้<br />

3. ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับ BUN<br />

และ Cr ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ<br />

Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีผลทําใหระดับ BUN และ Cr เพิ่มขึ้น แตไมมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน อาจเกิด<br />

จากภาวะขาดน้ําซึ่งพบไดในผูปวยโรคเบาหวานเนื่องจากมีอาการปสสาวะบอย จึงทําใหความ<br />

เขมขนของระดับ BUN และ Cr ในรางกายสูง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ กมลวรรณ พบวา<br />

ระดับ BUN และ Cr มีคาเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนํา<br />

โดยสเตรปโตโซโตซิน 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ที่ไดรับสารสกัดจากใบหญาหนวดแมวเปนเวลา<br />

14 วัน (กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 68) และอาจเกิดจากกลไกการออกฤทธิ์ของสเตรปโตโซโตซิน<br />

ซึ่งมีผลทําใหเนื้อเยื่อตับและไตถูกทําลายจึงทําใหระดับ BUN และ Cr เพิ่มขึ้น (Mori, et al. 2003:<br />

183-191) และสวนหนึ่งอาจเกิดจากการออกฤทธิ์ของสารทดสอบที่หนูขาวเบาหวานไดรับในการ<br />

ทดลองครั้งนี้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!