22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ขอเสนอแนะ<br />

1. ควรมีการศึกษาองคประกอบและโครงสรางทางเคมี (Chemical composition and<br />

Chemical structure) ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมเพื่อแยกและจําแนกสารที่ออกฤทธิ์ลดระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดเพื่อพัฒนาในเชิงพาณิชยตอไป<br />

2. ควรทําการปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมเพิ่มขึ้นจากวันละ 1 ครั้ง หรือเพิ่ม<br />

ปริมาณของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่ปอนแกหนูขาวเบาหวาน ซึ่งอาจมีผลลดระดับน้ําตาล<br />

ในเลือดไดเพิ่มขึ้น และเห็นผลเร็วขึ้น<br />

3. การเหนี่ยวนําหนูขาวกลุม 1 (กลุมควบคุม ; ปอนน้ํากลั่น) ใหเปนเบาหวานโดย<br />

ฉีดสเตรปโซโตซิน 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม บริเวณหลอดเลือดดําที่หางของหนูขาวและตรวจวัด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดทุก 3 วันเปนเวลา 1 สัปดาห พบวาระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวนอย<br />

กวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เปนจํานวน 2 ครั้งติดตอกันจํานวน 3 ตัว จึงไดทําการเหนี่ยวนําอีก<br />

ครั้ง และตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดพบวามากกวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร จึงนําหนูขาว<br />

เบาหวานเขาสูการทดลองตอ ซึ่งอาจมีผลทําใหคาระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานกลุม<br />

1 (กลุมควบคุม ; ปอนน้ํากลั่น) มีคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานสูงกวาหนูขาวเบาหวานกลุม<br />

อื่นๆ เพราะฉะนั้นควรคัดเลือกหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโซโตซิน 50 มิลลิกรัม/<br />

กิโลกรัม เพียงครั้งเดียวและมีคาระดับน้ําตาลในเลือดมากกวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เปนจํานวน<br />

2 ครั้งติดตอกัน เขาทําการทดลอง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!