22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เครื่องมือสําคัญที่ใชเพื่อใหไดขอมูลสําหรับปรับเปลี่ยนการรักษาจนควบคุมระดับน้ําตาลใหไดปกติ<br />

หรือใกลเคียงปกติ โดยผูปวยสามารถตรวจวัดระดับน้ําตาลวันละ 1-7 ครั้ง หรือมากกวาที่จําเปน<br />

สําหรับปรับเปลี่ยนการรักษารายวันเพื่อใหระดับน้ําตาลอยูในเกณฑที่กําหนดไว<br />

6.2 การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดกับโปรตีน การคนพบปฏิกิริยาที่เรียกวา<br />

Nonenzymatic glycosylation คือน้ําตาลสามารถจับกับกลุม Amino ของอณูโปรตีน ระยะแรกเปน<br />

การจับกันหลวมๆ ตอมาเกิดการเปลี่ยนแปลงชาๆ โดยไมตองอาศัยเอนไซมใดๆ เปนตัวกระตุน<br />

หรือเรงปฏิกิริยา จนเปนการเกาะติดที่ถาวร ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะเปนสัดสวนโดยตรงกับระดับ<br />

น้ําตาลที่มีอยู ไดมีการนํามาประยุกตใชทางคลินิกเพื่อบงชี้ระดับน้ําตาลในเลือดระยะยาว โดยการ<br />

วัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง (Glycated hemoglobin ,<br />

Glycohemoglobin ) และน้ําตาลที่เกาะติดโปรตีนในเลือด<br />

6.3 การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดเม็ดเลือดแดง คือการวัดฮีโมโกลบิน (Hemoglobin)<br />

สวนที่เปน Hemoglobin A 1c ซึ่งเปนสวนที่เกิดปฏิกิริยากับน้ําตาลในเลือด แมจะเปนสวนนอยของ<br />

ฮีโมโกลบินทั้งหมดแตก็เปนสวนที่คงตัว การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดกับฮีโมโกลบินในเม็ด<br />

เลือดแดงมีชื่อเรียกไดหลายอยางคือ Hemoglobin A 1c (HbA 1c ) , Glycosylated hemoglobin หรือ<br />

Glycohemoglobin (GHb) Nathan,& Cagliero (2001 : 827-926, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน.<br />

2546 : 157) การเกิด HbA 1c เปนปฏิกิริยาระหวางกลูโคสกับกลุม Amino ของสายฮีโมโกลบิน ที่<br />

เกิดโดยไมตองอาศัยสารเรงปฏิกิริยาใดๆ เนื่องจากเม็ดเลือดแดงมีอายุในระบบหมุนเวียนโลหิต<br />

120 วัน ดังนั้นการวัด HbA 1c จึงบงชี้ถึงระดับน้ําตาลที่ผานมาในระยะถึง 2-3 เดือน (วิทยา ศรี<br />

มาดา. 2540 : 419) พบวาปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดเม็ดเลือดแดงมีความสัมพันธกับคาเฉลี่ยของ<br />

SMBG ชวง 8-10 สัปดาห สามารถใชเปนเครื่องมือสําคัญในการติดตามผลการควบคุมระดับ<br />

น้ําตาลระยะยาวที่ดีและพบวามีความสัมพันธกับการเกิดภาวะแทรกซอนเรื้อรังที่ตาและไต<br />

ขอจํากัดของ HbA 1c คือมีคาใชจายสูง<br />

6.4 การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดโปรตีนในเลือด เรียกวา Glycated serum protein<br />

สวนใหญวัดน้ําตาลที่เกาะติดกับแอลบูมิน วิธีที่นิยมใชวัดคือวัดระดับ Fructosamine (Chen, et al.<br />

2002: 151-155) เนื่องจากอายุครึ่งชีวิต (half life) ของแอลบูมินเทากับ 20 วัน ดังนั้น Fructosamine<br />

จะบงชี้ถึงระดับน้ําตาลในเลือดของชวงเวลาเพียง 1-2 สัปดาหที่ผานมา (วิทยา ศรีมาดา. 2540: 419)<br />

ในบางรายงานพบวามีความสัมพันธกับคาเฉลี่ยของ SMBG ควบคูกับการตรวจวัดปริมาณ<br />

Fructosamine ทุกสัปดาห เพื่อเปนเครื่องมือสําหรับการรักษาแบบเขมงวด สําหรับปรับเปลี่ยนการ<br />

รักษา รวมทั้งพฤติกรรมใหบรรลุเปาหมายการรักษาและเห็นผลในชวงสั้น อยางไรก็ดี ระดับ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!