22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เพิ่มมากขึ้นทุกป ดังนั้นเปาหมายของการรักษาคือ การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดใหอยูในเกณฑ<br />

ปกติเพื่อชะลอการเกิดภาวะแทรกซอนตางๆ โดยใชยาเม็ดลดระดับน้ําตาลในเลือดและอินสุลินซึ่งมี<br />

ราคาคอนขางสูง มีผลขางเคียง และขอจํากัดของการใชยาอยูมาก จึงทําใหสมุนไพรเปนอีก<br />

ทางเลือกหนึ่งที่ถูกนํามาใชในการวิจัยเพื่อศึกษาฤทธิ์ในการลดระดับน้ําตาลในเลือด และหาก<br />

ประเทศไทยสามารถพัฒนายารักษาโรคเบาหวานจากสมุนไพรภายในประเทศไดก็จะชวยสงเสริม<br />

เศรษฐกิจของชาติ ลดการนําเขายาจากตางประเทศ และสามารถทําใหพึ่งตนเองดานสาธารณสุขได<br />

ทางหนึ่ง ซึ่งจะนําไปสูการทดลองทางคลินิกและพัฒนาตอไปจนถึงการผลิตเชิงพาณิชย<br />

จากการรวบรวมงานวิจัยสรรพคุณลดระดับน้ําตาลในเลือดของสมุนไพรตางๆ ที่ได<br />

เผยแพรทั้งภายในและภายนอกประเทศตั้งแตป พ.ศ 2525 ถึง พ.ศ 2541 พบรายงานการวิจัยรวม<br />

81 เรื่อง สมุนไพรที่มีการนํามาวิจัยฤทธิ์นี้มีจํานวน 61 ชนิด ใน 39 วงศ ในจํานวนนี้ 54 ชนิด<br />

ใน 36 วงศ แสดงฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดในสัตวทดลองและในคน (มาลี บรรจบ, และสุธิดา ไชย<br />

ราช. 2541: 41) เชน ใบสะแกเครือ (Combretum decandrum Roxb.) หญาหนวดแมว (Orthosiphon<br />

arisatus Miq.) เปนตน แตยังไมสามารถสรุปใหชัดเจนไดวาสมุนไพรชนิดใดมีประสิทธิภาพใน<br />

การลดระดับน้ําตาลในเลือดไดดีที่สุด ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาในการนําสมุนไพรมาศึกษา<br />

ฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือด จากการตรวจสอบเอกสารรายงานการวิจัย พบวา Phenolic<br />

compounds ที่ไดจากธรรมชาติสามารถปองกันหรือรักษาโรคเรื้อรังตางๆ ได เชน โรคหัวใจ<br />

โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เปนตน ทั้งยังมีการศึกษาพบวา Phenolic<br />

compounds เปนสารตานอนุมูลอิสระ (สุเขตร ศรีบุญเรือง. 2548 : 20) ซึ่งในโรคเบาหวานทั้งชนิด<br />

ที่ 1 และ 2 พบวามีความสัมพันธกับการเพิ่มขึ้นของอนุมูลอิสระ (อธิกา จารุโชติกมล. 2543 :15-<br />

16) ดังนั้น Phenolic compounds ที่พบในพืชตางๆ จึงอาจสามารถรักษาโรคเบาหวานได และได<br />

มีรายงานการวิจัยศึกษาถึงผลของสารสกัดจากใบหญาหนวดแมว (Orthosiphon arisatus Miq.) ตอ<br />

ฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือดและการกระตุนการหลั่งอินสุลินโดยตรงจากตับออนโดยวิธี In-situ<br />

pancreatic perfusion พบวาสารสกัดสามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดและสามารถกระตุนการหลั่ง<br />

อินสุลินจากตับออนไดในภาวะที่น้ําตาลสูงและมีการตรวจพบปริมาณ Total phenolic compounds<br />

ในสารสกัดจากใบหญาหนวดแมวเทากับ 13.07±7.50 มิลลิกรัม/กรัม ดังนั้นอาจเปนไปไดวา<br />

Phenolic compounds เปนสารสําคัญในการลดระดับน้ําตาลในเลือดของสารสกัดจากใบหญา<br />

หนวดแมวไดเชนกัน (กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 64-68) และจากการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจาก<br />

เปลือกผลทับทิมตอการหายของแผล พบวามีการตรวจพบปริมาณ Phenolic compounds ใน<br />

เปลือกผลทับทิมถึง 44% (Murthy, et al. 2004 : 256-9) ดังนั้นผูวิจัยจึงไดคัดเลือกทับทิมในสวน<br />

ของเปลือกผลมาศึกษาเพิ่มเติมถึงฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือด เนื่องจาก จากการศึกษาทางเคมี พบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!