22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

และพยาธิสรีรวิทยาในการเกิดโรคแทน โรคเบาหวานชนิดที่ 1 หมายถึง โรคเบาหวานที่เกิดจาก<br />

การทําลายของเซลลเบตาในตับออน ซึ่งสวนใหญจะเกิดจากกระบวนการ Autoimmune สวนนอย<br />

จะไมรูสาเหตุ โรคเบาหวานชนิดนี้จะมีแนวโนมการเกิด Ketoacidosis ไดงาย โรคเบาหวานชนิดที่<br />

2 หมายถึง โรคเบาหวานที่เกิดจากภาวะดื้ออินสุลินรวมกับความผิดปกติในการหลั่งอินสุลินของตับ<br />

ออน ซึ่งเปนโรคเบาหวานที่พบบอยที่สุดทั่วโลก การจําแนกประเภทโรคเบาหวานใหมนี้ยังตัดคํา<br />

วา MRDM ออกไป โดยเฉพาะ MRDM ชนิดที่เกิดจากภาวการณขาดโปรตีน (Protein deficiency)<br />

สวน MRDM ชนิดที่มีหินปูนจับในตับออนหรือ Fibrocalculous pancreatic diabetes (วิทยา ศรี<br />

มาดา. 2540 : 364) ปจจุบันจะจัดอยูในโรคเบาหวานชนิดอื่นๆ (other specific types of diabetes) ที่<br />

มีสาเหตุจากโรคของตับออน การที่จะบงชี้วาผูปวยเบาหวานเปนชนิดใดนั้นมักจะขึ้นอยูกับสภาวะ<br />

ขณะไดรับการวินิจฉัยซึ่งอาจจะเปนการยากที่จะบอกไดอยางแนชัดในผูปวยบางราย<br />

5. พยาธิกําเนิดของโรคเบาหวาน<br />

5.1 โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ผูปวยจะมีอาการระดับน้ําตาลในเลือดสูง กระหายน้ํา<br />

ปสสาวะมากผิดปกติ เหนื่อยงาย ทองผูก ติดเชื้อที่ผิวหนัง และน้ําหนักลด มักเกิดภาวะ<br />

Ketoacidosis สวนใหญพบในผูปวยที่มีอายุนอย และพบประมาณรอยละ 10 ของผูปวยทั้งหมด<br />

American Diabetes Association ( 1995 : 5-7, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 4) โดยเกิดจาก<br />

β-cell ถูกทําลาย ทําใหขาดอินสุลิน ซึ่งสามารถแบงเปนกลุมยอยตามสาเหตุ คือ<br />

5.1.1 โรคเบาหวานที่เกิดจากระบบภูมิคุมกันของรางกาย (Immune-mediated<br />

diabetes) เกิดจากการทําลาย β-cell จากระบบ Autoimmune ของรางกาย Zimmet (1995 : 1050-<br />

1064, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 4) พบวา 85-90% ของผูปวยเบาหวานชนิดนี้ตรวจพบ<br />

Autoantibodies ตางๆ ภายในกระแสเลือด ซึ่ง Autoantibodies คือ แอนติบอดี้ตอ β-cell แอนติเจน<br />

ไดแก Islet cell antibody , Insulin autoantibodeis , Glutamic acid decarboxylase antibody และ<br />

Tyrosine phosphatase-like protein antibody สวนปจจัยทางสิ่งแวดลอมจะมีสวนสําคัญในการ<br />

แสดงออกของโรคในผูที่มีความเสี่ยงทางพันธุกรรมที่สําคัญไดแก การติดเชื้อไวรัส อาหาร<br />

สภาพแวดลอมในครรภมารดา (Richard. 1995 : 43-48) ทั้งสองปจจัยจะสงเสริมกันทําใหเกิดการ<br />

ตอบสนองของระบบภูมิคุมกัน (Cell-mediated immune response) มาทําลาย β-cell กลไกการ<br />

ทําลายเบตาเซลลนั้นเกิดจากความผิดปกติของ T-cell โดยเริ่มจาก Macrophage จับกับ β-cell<br />

แอนติเจน และไปจับกับ T-cell ที่มีรีเซพเตอรจําเพาะกับ β-cell แอนติเจน ไปกระตุน Cytotoxic<br />

T-cell ใหหลั่ง Cytokine เชน Interferon gamma และสามารถกระตุน Cytotoxic T-cell ใหหลั่ง<br />

สารจําพวก Free radical เชน Superoxide, Hydrogen peroxide, Nitric oxide และ Cytokinine เชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!