22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Jafri, M.A. (1999: 309-314) ไดทําการศึกษาผลของสารสกัดจากดอกทับทิมในการลด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยอัลลอกแซน โดยทดลองในหนูขาว<br />

สายพันธุ Wistar แบงออกเปน 5 กลุม กลุมละ 6 ตัว คือ กลุมควบคุมปอนดวยน้ํากลั่น กลุมที่<br />

ปอนดวย Tolbutamide 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม กลุมที่ปอนดวยสารสกัดจากดอกทับทิมขนาด<br />

300 400 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในหนูทุกกลุมกินน้ําตาลกลูโคสขนาด 2 กรัม/กิโลกรัม หลังให<br />

สารทดสอบ 30 นาที และทําการเจาะเลือดเพื่อตรวจวัดระดับน้ําตาลที่เวลา 30 และ 90 นาที<br />

หลังใหน้ําตาลกลูโคส พบวา 30 นาที หลังใหกินน้ําตาลกลูโคสระดับน้ําตาลในเลือดจะเพิ่มขึ้น<br />

เปน 2 เทา ในกลุมควบคุมและมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ ในกลุมที่ปอนดวย Tolbutamide และ สาร<br />

สกัดจากดอกทับทิม และที่เวลา 90 นาที ทุกขนาดของสารสกัดจากดอกทับทิมจะมีประสิทธิภาพ<br />

ในการลดระดับน้ําตาลในเลือด โดยเฉพาะในกลุมที่ปอนดวย Tolbutamide<br />

สุนทรา หองแซง. (2542 : 40) ไดทําการศึกษาผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม<br />

ตอการยับยั้งการเจริญของ Shigella บางชนิดซึ่งเปนสาเหตุของโรคบิด โดยศึกษาอิทธิพลรวมของ<br />

ชนิดของแบคทีเรียซึ่งไดแกแบคทีเรีย 3 ชนิดคือ Sh. Dysenteriae, Sh. Flexneri, Sh. sonnei และ<br />

ระดับความเขมขนของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมมี 5 ระดับคือ 60 120 80 240 และ 300<br />

มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ผลการทดลองพบวาแบคทีเรีย Sh. Flexneri และ Sh. sonnei เมื่อไดรับสาร<br />

สกัดจากเปลือกผลทับทิมดวยความเขมขน 300 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ถูกยับยั้งการเจริญมากกวา<br />

แบคทีเรียชนิดตางกันที่ไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมความเขมขนอื่น แบคทีเรีย Sh. Flexneri<br />

ที่ไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมถูกยับยั้งการเจริญมากกวาแบคทีเรีย Sh. Sonnei และ Sh.<br />

Dysenteriae และสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมระดับความเขมขน 300 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สามารถ<br />

ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียมากกวาสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมระดับความเขมขนอื่น<br />

จารุวรรณ สุมมาตย. (2543) ไดทําการศึกษาสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่ไดจาก<br />

การสกัดแบบตอเนื่องดวย Hexane, Chloroform และ Methanol ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งการ<br />

เจริญเติบโตของเชื้อ Shigella sonnei, Shigella flexneri, Salmonella typhi, Vibrio cholerae<br />

flexneri และ Salmonella typhi ไดดี สวนสารสกัด Chloroform และ Methanol ยับยั้งได<br />

เล็กนอย จากการศึกษาสารสกัด Hexane ทางเคมีเบื้องตน พบวามีสวนยอยที่สามารถยับยั้งการ<br />

เจริญของเชื้อไดคือ สวนยอยที่ 79-80 ยับยั้งการเจริญของ Shigella flexneri ไดดี สวนยอยที่ 21-<br />

29 และ 61-73 ยับยั้งเชื้อ Shigella sonnei, Shigella flexneri และ Salmonella typhi ได และ<br />

สวนยอย 31-40 ยับยั้ง Shigella sonnei และ Salmonella typhi ได สามารถแยกองคประกอบ<br />

ทางเคมีของสวนยอยที่ 79-80 ได คือ กรดแทนนิค

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!