22.02.2015 Views

Suaeda maritima - CRDC

Suaeda maritima - CRDC

Suaeda maritima - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 41(3/1)(Suppl.): 637-640 (2010) ว. วิทย์. กษ. 41(3/1)(พิเศษ): 637-640 (2553)<br />

ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ของสารสกัดจากชะคราม (<strong>Suaeda</strong> <strong>maritima</strong>)<br />

Efficacy of Annual Seablite (<strong>Suaeda</strong> <strong>maritima</strong>) Extract on Antimicrobial<br />

ดวงฤดี หวั้นหนู1 อรพิน เกิดชูชื ่น 1 ณัฏฐา เลาหกุลจิตต์<br />

1 และ ศิริวรรณ ตั้งแสงประทีป 2<br />

Wannu, D. 1 , Kerdchoechuen, O. 1 , Laohakunjit, N. 1 and Tungsangprateep, S. 2<br />

Abstract<br />

Efficacy of annual seablite (<strong>Suaeda</strong> maritime) extract by two solvents; petroleum ether and ethanol, for<br />

antimicrobial activity was conducted. Seven microbial; Bacillus cereus, Leuconostoc mesenteroid, Lactobacillus<br />

plantarum, Staphylococcus aureus, Aspergillus niger, Penicillum sp. and Rhizopus solani was monitored the<br />

efficiency of plant extracts by disc diffusion method. Annual seablite extract at 0.1 g/ml diluted with dimethyl<br />

sulfoxide was used for testing antimicrobial activity. It was found that annual seablite extract from green flower<br />

could inhibit the growth of bacterial strains; B. cereus, L. mesenteroid, L. plantarum and S. aureus which their<br />

inhibition zone were 13.25, 16.00, 19.55 and 15.65 mm, respectively. However the annual seablite extract did not<br />

have any antifungal property against A. niger, Penicillum sp. and R. solani.<br />

Keywords: annual seablite (<strong>Suaeda</strong> <strong>maritima</strong>), solvent extraction, bacteria, fungi<br />

บทคัดย่อ<br />

ผลการศึกษาคุณสมบัติของสารสกัดจากชะครามที่สกัดได้จากส่วนใบและดอก โดยตัวท าละลาย 2 ชนิด คือ ปิ โตรเลียมอี<br />

เธอร์และเอทานอลต่อการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อจุลินทรีย์ 7 ชนิด ได้แก่ Bacillus cereus, Leuconostoc mesenteroid,<br />

Lactobacillus plantarum, Staphylococcus aureus, Aspergillus niger, Penicillum sp. และ Rhizopus solani โดยใช้<br />

ความเข้มข้น 0.1 กรัมต่อมิลลิลิตร ซึ่งปรับความเข้มข้นโดยใช้ dimethyl sulfoxide ก่อนน าไปทดสอบความสามารถในการ<br />

ยับยั ้งเชื ้อจุลินทรีย์โดยวิธี disc diffusion method พบว่าสารสกัดชะครามที่สกัดได้จากส่วนของดอกที่มีสีเขียว และใช้<br />

ปิ โตรเลียมอีเธอร์ เป็ นตัวท าละลายในการสกัดมีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อ B. cereus, L. mesenteroid, L.<br />

plantarum และ S. aureus ให้ค่าเฉลี่ย zone of inhibition เท่ากับ 13.25, 16.00, 19.55 และ 15.65 มิลลิเมตรตามล าดับ แต่<br />

ไม่พบว่ามีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อรา A. niger, Penicillum sp. และ R. solani<br />

ค าส าคัญ: ชะคราม (<strong>Suaeda</strong> <strong>maritima</strong>) การสกัดด้วยตัวท าละลาย เชื ้อแบคทีเรีย เชื ้อรา<br />

ค าน า<br />

ชะคราม (<strong>Suaeda</strong> <strong>maritima</strong>) เป็ นพืชที่อยู ่ในวงศ์ Chenopodiaceae เป็ นพรรณไม้พุ ่มเตี ้ย ขึ ้นบริเวณป่ าชายเลนจะพบ ขึ ้น<br />

ทั่วไปในบริเวณแดดจัด ทุ ่งโล่ง ลักษณะเป็ นไม้พุ ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 1 เมตร ล าต้นเดี่ยว เป็ นพุ ่มแพร่กระจาย มีลักษณะใบ<br />

เป็ นใบเดี่ยว เรียงสลับ เบียดแน่น ยาวประมาณ 1-6 เซนติเมตร ใบอวบน ้ามีสีเขียวสดในฤดูแล้งจะเปลี่ยนเป็ นสีแดง ส่วนดอก<br />

จะออกที่ปลายยอด ช่อดอกยาว 3-18 เซนติเมตร พบขึ ้นอยู ่ทั่วไปในพื ้นที่โล่ง ริมชายป่ าละเมาะ ดินเหนียว เช่นเขตพื ้นที่อ าเภอ<br />

สูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา มีประโยชน์ในการน าส่วนใบและก้านมาต้มกินกับน ้าพริก และยังเป็ นแหล่งของอาหารสัตว์ตาม<br />

ธรรมชาติส าหรับโค กระบือ และยังพบว่ามีสรรพคุณสามารถน ามาใช้เป็ นยารักษาโรคได้อีกด้วย (นันทวัน บุญยะประภัศร และ<br />

คณะ, 2545) นอกจากคุณสมบัติต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้วยังพบว่าพืชชนิดอื่นๆที่อยู ่ในวงศ์ Chenopodiaceae เช่นเดียวกับ<br />

ชะคราม ตัวอย่างเช่น Aegiceras corniculatum มีคุณสมบัติในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระด้วย (Xu และคณะ, 2004)<br />

นอกจากนี ้ยังพบว่าสารสกัดจากชะครามและสารสกัดที่ได้จากพืชในวงศ์นี ้ ตัวอย่างเช่น Chaenopodium botrys มี<br />

ประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อจุลินทรีย์ได้อีกด้วย (Deeviputh และคณะ, 1984; Maksimovic และคณะ, 2004)<br />

1<br />

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 83 หมู ่ 8 ถนนเทียนทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กทม. 10150<br />

1<br />

School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, 83 Mu 8 Tientalya Rd., Thakam, Bangkhuntein, Bangkok 10150<br />

2<br />

ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900<br />

2 Packaging Center of Thailand, Science and Technology Research Institute of Thailand, Jatujak, Bangkok 10900


638 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

และยังพบว่ามีประโยชน์ในด้นอื่นๆอีก ได้แก่ มีประสิทธิภาพในการก าจัดแมลงศัตรูพืช (Tapondijon และคณะ, 2002) หรือมี<br />

ฤทธิ์ในการต้านทานอาการเจ็บปวด (Ibrahim และคณะ, 2007) ได้อีกด้วย<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

การเตรียมสารสกัดชะคราม: น าชะครามส่วนของใบที่มีแดง สีเขียว และส่วนของดอกสีเขียว ท าการบดให้ละเอียด จากนั ้น<br />

น ามาสกัดโดยใช้ตัวท าละลาย 2 ชนิด คือ ปิ โตรเลียม อีเธอร์และเอทานอล ทิ ้งไว้เป็ นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั ้นน าไปท าการระเหย<br />

เอาตัวท าละลายออก แล้วน ามาท าการเจือจางด้วย dimethy sulfoxide (DMSO) เพื่อให้ได้สารสกัดที่มีความเข้มข้น 1<br />

มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร เก็บไว้เพื่อน าไปทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อจุลินทรีย์ต่อไป<br />

การเตรียมเชื ้อจุลินทรีย์: เชื ้อแบคทีเรียท าโดยการ streak เชื ้อแบคทีเรียทั ้ง 4 ชนิด ได้แก่ Bacillus cereus, Leuconostoc<br />

mesenteroid, Lactobacillus plantarum และ Stapphylococcus aureus ลงบนอาหาร Nutrient Agar (NA) น าไปบ่มที่<br />

อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง จากนั ้นใช้ลูปเขี่ยโคโลนีเดี่ยวของเชื ้อแต่ละชนิดลงในอาหาร Nutrient Broth (NB)<br />

น าไปเขย่าที่ความเร็วรอบเท่ากับ 240 รอบต่อนาที เป็ นเวลา 24 ชั่วโมง และน ามาวัดค่าการดูดกลืนแสงเทียบกับสารละลาย<br />

Mcfarland เบอร์ 5 ที่ความยาวคลื่น 625 นาโนเมตร โดยให้ค่าที่วัดได้อยู ่ระหว่าง 0.8-1 เก็บไว้เพื่อน าไปทดสอบในการหา<br />

ประสิทธิภาพในขั ้นต่อไป ส่วนเชื ้อราน าน ้ากลั่นที่ฆ่าเชื ้อแล้วปริมาณ 5 มิลลิลิตร มาละลายเชื ้อรา Aspergillus niger,<br />

Penicillium sp. และ Rhizopus solani. ที่อยู ่บนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ Potato dextrose agar (PDA) ขูดเชื ้อให้ละลายกับน ้ากลั่น<br />

เติม tween 20 เล็กน้อยเก็บไว้เพื่อน าไปทดสอบหาประสิทธิภาพในขั ้นตอนต่อไป<br />

การทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดชะครามด้วยวิธี disc diffusion method โดยน าไม้พันส าลีที่ฆ่าเชื ้อแล้วมา spread<br />

เชื ้อที่เตรียมไว้ลง Muller Hinton Agar (MHA) ส าหรับเชื ้อแบคทีเรีย และ spread เชื ้อที่เตรียมไว้ลง Potato Dextrose Agar<br />

(PDA) ส าหรับเชื ้อรา ให้ทั่ว ทิ ้งไว้ 15 นาที จากนั ้นวางกระดาษที่หยดน ้ามันหอมระเหยที่ต้องการทดสอบวางลงบนอาหารเลี ้ยง<br />

ที่มีเชื ้ออยู ่ น าไปบ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็ นเวลา 24 ชั่วโมง สังเกต clear zone ทดลอง 3 ซ ้า<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

จาก Table 1 แสดงถึงประสิทธิภาพของสารสกัดจาดชะครามที่สกัดได้จากส่วนดอกสีเขียว ใบที่มีสีเขียว และใบที่มีสีแดง<br />

โดยการใช้ตัวท าละลาย 2 ชนิด คือ ปิ โตรเลียม อีเธอร์ และเอทานอล พบว่าสารสกัดจากชะครามที่สกัดได้จากส่วนของดอกสี<br />

เขียวที่ใช้ปิ โตรลียม อีเธอร์ เป็ นตัวท าละลายมีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อแบคทีเรีย Bacillus cereus,<br />

Leuconostoc mesenteroid, Lactobacillus plantarum และ Stapphylococcus aureus มากที่สุด ให้ค่าเฉลี่ย zone of<br />

inhibition เท่ากับ 13.25, 16.00, 19.55 และ 15.65 มิลลิเมตรตามล าดับ รองลงมา คือ สารสกัดจากชะครามที่ได้จากส่วนดอก<br />

สีเขียวที่ใช้เอทานอลเป็ นตัวท าละลาย ให้ค่าเฉลี่ยของ zone of inhibition เท่ากับ 13.03, 12.7, 14.4, 14.33 มิลลิเมตร<br />

ตามล าดับ ส่วนสารสกัดจากชะครามที่มีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อแบคทีเรียทั ้ง 4 ชนิด น้อยที่สุด คือ สารสกัด<br />

ส่วนที่ได้จากใบที่มีสีแดง โดยเฉพาะสารสกัดที่ใช้เอทานอลเป็ นตัวท าละลาย ให้ค่าเฉลี่ย zone of inhibition เท่ากับ 11.2, 10.5,<br />

13.1 และ 10.7 มิลลิเมตร ตามล าดับ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Deeviputh และคณะ (1984) และ Kaisalpong และคณะ<br />

(1986) ที่พบว่าสารสกัดจากชะครามมีประสิทธิภาพในการยับยั ้งเชื ้อจุลินทรีย์ แต่ถึงอย่างไรก็ตามกลับไม่พบว่ามีประสิทธิภาพ<br />

ในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อรา Aspergillus niger, Penicillium sp. และ Rhizopus solani. ในการศึกษาครั ้งนี ้<br />

สรุปผล<br />

สารสกัดจากชะครามที่สกัดโดยการใช้ตัวท าละลาย 2 ชนิด คือ ปิ โตรเลียม อีเธอร์ และเอทธานอล พบว่ามีประสิทธิภาพใน<br />

การยับยั ้งการเจริญของเชื ้อแบคทีเรีย Bacillus cereus, Leuconostoc mesenteroid, Lactobacillus plantarum และ<br />

Stapphylococcus aureus ซึ่งสารสกัดจากชะครามที่สกัดได้จากส่วนดอกสีเขียวมีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อ<br />

แบคทีเรียทั ้ง 4 ชนิดมากที่สุด รองลงมา คือ สารสกัดจากชะครามที่สกัดได้จากส่วนใบที่มีสีเขียว และสารสกัดจากชะครามที่มี<br />

ประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อแบคทีเรียทั ้ง 4 ชนิด น้อยที่สุด คือ สารสกัดที่ได้จากส่วนใบที่มีสีแดง และเมื่อท าการ<br />

เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดที่ได้จากส่วนต่างๆ พบว่าสารสกัดที่ได้จากส่วนเดียวกันถ้าผ่านการสกัดโดยใช้ปิ โตรเลียม<br />

อีเธอร์ เป็ นตัวท าละลายจะมีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อแบคทีเรียทั ้ง 4 ชนิด มากว่าสารสกัดที่ได้จากส่วน<br />

เดียวกันที่สกัดโดยใช้เอทานอลเป็ นตัวท าละลายในการสกัด ดังนั ้น สารสกัดจากชะครามที่มีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการ<br />

เจริญของเชื ้อแบคทีเรียทั ้ง 4 ชนิด มากที่สุด คือ สารสกัดที่ได้จากส่วนดอกที่มีสีเขียวและใช้ปิ โตรเลียม อีเธอร์เป็ นตัวท าละลาย


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 639<br />

ในการสกัด ส่วนสารสกัดที่มีประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อแบคทีเรียทั ้ง 4 ชนิดน้อยที่สุด คือ สารสกัดที่ได้จาก<br />

ส่วนใบที่มีสีแดง และใช้เอทานอลเป็ นตัวท าละลายในการสกัด แต่ถึงอย่างไรก็ตามกลับไม่พบว่าสารสกัดจากชะครามมี<br />

ประสิทธิภาพในการยับยั ้งการเจริญของเชื ้อรา Aspergillus niger, Penicillium sp. และ Rhizopus solani<br />

Table 1 Antibacterial activity of Annual Seablite (<strong>Suaeda</strong> <strong>maritima</strong>) extract for antibacterial Bacillus cereus,<br />

Leuconostoc mesenteroid, Lactobacillus plantarum and Stapphylococcus aureus.<br />

Solvent Part of use<br />

Inhibition Zone (mm.)<br />

B.cereus L.mesenteroid L.plantarum S.aureus<br />

Petroleum ether Red leaf 12.37 13.7 13.5 12.13<br />

Green leaf 12.67 14.1 15.8 14.3<br />

Green flower 13.25 16 19.55 15.65<br />

Ethanol Red leaf 11.2 10.5 13.1 10.7<br />

Green leaf 11.83 11.7 13.97 13.93<br />

Green flower 13.03 12.7 14.4 14.33<br />

1 2 1 2<br />

(a)<br />

(b)<br />

1 2 1 2<br />

(c)<br />

(d)<br />

Figure 1 Appearance of (a) control (1) and inhibition zone of antibacterial B.cereus (2), (b) control (1) and<br />

inhibition zone of antibacterial L.mesenteroid (2), (c) control (1) and inhibition zone of antibacterial<br />

S.aureus (2), (d) control (1) and inhibition zone of antibacterial L.plantarum (2) from Annual Seablite<br />

(<strong>Suaeda</strong> <strong>maritima</strong>) extract which extracted by petroleum ether.


640 638 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

นันทวัน บุญยะประภัศร วิมล ศรีสุข อรัญญา จุติวิบูลย์สุข ประพินศรา สอนเล็ก วิไลวรรณ ทองใบน้อย วงศ์สถิต ฉั่วกุล Fong,<br />

H.S., Pezzuto, J. และ Kosmeder, J., 2545, ผักพื ้นบ้านในป่ าชายเลน, วารสารสมุนไพร, 9(1)<br />

Deeviputh, Y., Kungsawad, M. and Kokpol, U., 1984, Chemistry and Utilization of Suaede Martima,<br />

www.sc.chula.ac.th/dapartment/chemistry/npru/6senior/Abs-senior.html<br />

Ibrahim, L.F., Kawashty, S.A., Ayman, R., Bainomy, M. and Snabana, M., 2007, A Comparative Study of<br />

Flavonoids and Some Biology Activities of Two Chenopodium Species., Chemistry of Natural Compounds,<br />

43(1)<br />

Kaisalpong, W., Jiarvarakul, R., Kokpol, U., 1986, Chemical Constituent of <strong>Suaeda</strong> maritime (L.) Dum.,<br />

www.sc.chula.ac.th/dapartment/chemistry/npru/6senior/Abs-senior.html.<br />

Maskimovic, Z.A., Dordevic, S. and Mraovic, M., 2005, Antimicrobial Activity of Chaenopodium Botrys Essential<br />

Oil, Fitoterapia, 76: 112-114.<br />

Xu, M., Deng, Z., Li, M., Fu, H., Proksch, P. and Lin, W., 2004, Chemical Constituents from the Mangrove Plant,<br />

Aegiceras Corniculatum, Journal of Natural Products, 67: 762-766.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!