01.03.2015 Views

Ulva intestinalis Chemical Composition, Element and ... - CRDC

Ulva intestinalis Chemical Composition, Element and ... - CRDC

Ulva intestinalis Chemical Composition, Element and ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 493-496 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 493-496 (2554)<br />

องค์ประกอบทางเคมี โปรไฟล์แร่ธาตุและกรดอะมิโนของสาหร่าย <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> จากบ่อเลียงกุ ้ง<br />

<strong>Chemical</strong> <strong>Composition</strong>, <strong>Element</strong> <strong>and</strong> Amino Acid Profiles of <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> from<br />

the Shrimp Cultured Ponds<br />

อมมี เบญจมะ 1 และ พายัพ มาศนิยม 1<br />

Benjama, O. 1 <strong>and</strong> Masniyom, P. 1<br />

Abstract<br />

The chemical composition, dietary fibre contents, element <strong>and</strong> amino acid profiles of <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong>,<br />

harvested from the shrimp cultured ponds in Pattani Province, were investigated in order to gain more<br />

intensive nutritional information. Results showed that U. <strong>intestinalis</strong> was characterised by a high contents of<br />

total dietary fibres (51.4% DW), ash (27.5% DW), protein (17.2% DW) <strong>and</strong> lipid (6.0% DW). The total dietary<br />

fibres contained soluble fibre (25.3% DW) <strong>and</strong> insoluble fibre (26.1% DW). The proteinic fraction analysis<br />

indicated the presence of essential amino acids, which represent high level in leucine, threonine <strong>and</strong> valine,<br />

respectively. For non-essential amino acids, U. <strong>intestinalis</strong> showed high levels in glutamic <strong>and</strong> aspartic acids.<br />

In the opposite, the most limiting essential amino acid was lysine. For the element contents, U. <strong>intestinalis</strong> was<br />

rich in Mg, Cl, K <strong>and</strong> Na, respectively. This study suggested that U. <strong>intestinalis</strong> species can be potentially used<br />

as raw material or ingredients to improve the nutritive value for human diet <strong>and</strong> animal feed.<br />

Keywords: chemical composition, amino acid, element, macroalgae<br />

บทคัดย่อ<br />

ศึกษาองค์ประกอบทางเคมี ปริมาณใยอาหาร และโปรไฟล์ของแร่ธาตุและกรดอะมิโนของสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong><br />

ทีเก็บเกียวจากบ่อเลี ยงกุ ้งในจังหวัดปัตตานีเพือให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในด้านโภชนาการ ผลแสดงให้เห็นว่าสาหร่าย U.<br />

<strong>intestinalis</strong> มีปริมาณใยอาหารทั งหมดสูง (51.4% DW) เถ้า (27.5% DW) โปรตีน (17.2% DW) และไขมัน (6.0% DW)<br />

ใยอาหารทั งหมดประกอบด้วยใยอาหารทีละลายนํ า (25.3% DW) และไม่ละลายนํ า (26.1% DW) การวิเคราะห์<br />

องค์ประกอบย่อยของโปรตีนแสดงให้เห็นว่า กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณสูงคือ ลูซีน ทรีโอนีน และวาลีน ตามลําดับ<br />

สําหรับกรดอะมิโนไม่จําเป็ นทีมีในปริมาณสูงในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> คือ กรดกลูตามิกและแอสพาติก ในทางตรงข้าม<br />

กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณจํากัดทีสุดคือ ไลซีน สําหรับแร่ธาตุทีมีในปริมาณสูงในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> คือ แมกเน<br />

เซียม คลอไรด์ โพแทสเซียม และโซเดียม ตามลําดับ การศึกษานี แนะนําได้ว่าสามารถนําสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> มาใช้เป็ น<br />

วัตถุดิบหรือส่วนผสมในการปรับปรุงคุณค่าโภชนาการสําหรับอาหารมนุษย์และอาหารสัตว์<br />

คําสําคัญ: องค์ประกอบทางเคมี กรดอะมิโน แร่ธาตุ สาหร่าย<br />

คํานํา<br />

สาหร่ายทะเลเป็ นแหล่งอาหารทีให้คุณค่าโภชนาการสูง เนืองจากมีโปรตีน แร่ธาตุ ใยอาหาร และวิตามิน ส่วนของ<br />

โปรตีนในสาหร่ายประกอบด้วยกรดอะมิโนจําเป็ นชนิดต่างๆ ดังนั นสาหร่ายจึงมีสารอาหารทีร่างกายต้องการและมีประโยชน์<br />

ต่อสุขภาพ สาหร่ายถูกนํามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ประกอบอาหาร การสกัดสารไฟโคคอลลอยด์ต่างๆ เพือนําไปผลิต<br />

เครืองสําอาง หรือใช้ในด้านเภสัชวิทยา อุตสาหกรรมอาหาร และทางการเกษตร (Fleurence, 1999, Ortiz และคณะ, 2006)<br />

ดังนั นงานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสาหร่าย <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> ทีนอกจากพบ<br />

เจอในทะเลแล้ว ยังพบว่ามักเจริญในบ่อเลี ยงกุ ้ง ผู ้ประกอบการจึงมักเลี ยงกุ ้งร่วมกับสาหร่ายชนิดนี เพือเป็ นแหล่ง<br />

สารอาหารและช่วยสร้างภูมิคุ ้มกันโรคให้กับสัตว์นํ า ข้อมูลจากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจึงมีความสําคัญในการ<br />

ประเมินศักยภาพด้าน โภชนาการของสาหร่ายเพือนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม<br />

1<br />

ภาควิชา เทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000<br />

1<br />

Department of Technology <strong>and</strong> Industry, Faculty of Science <strong>and</strong> Technology, Prince of Songkla University, Pattani Campus, Muaeng, Pattani, 94000 Thail<strong>and</strong>


494 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

1. วัตถุดิบ<br />

สาหร่ายทีศึกษาเป็ น <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> ทีเก็บเกียวจากบ่อเลี ยงกุ ้ง จังหวัดปัตตานี ในเดือนมกราคม 2552 โดย<br />

ผู ้ประกอบการเลี ยงกุ ้งนํามาทําความสะอาด อบแห้งในตู ้อบแห้งลมร้อนทีอุณหภูมิ 60±3 องศาเซลเซียส นําไปบดให้<br />

ละเอียด และบรรจุในถุงอลูมิเนียมเปลว<br />

2. การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของ U. <strong>intestinalis</strong> ได้แก่<br />

2.1 ความชื น โปรตีน ไขมัน เถ้า ใยอาหารทั งหมด ใยอาหารทีละลายนํ าและไม่ละลายนํ า ตามวิธี AOAC (2000)<br />

2.2 โปรไฟล์กรดอะมิโน โดยวิธี Waters Associates AccQ Tag (Liu และคณะ, 1995) ปริมาณกรดอะมิโนที<br />

วิเคราะห์ได้มาเปรียบเทียบรูปแบบกรดอะมิโนจําเป็ นอ้างอิงทีเด็กก่อนวัยเรียนต้องการ และคํานวณคะแนน<br />

กรดอะมิโน (amino acid score) ตามวิธี FAO/WHO/UNU (1985) แสดงดังสมการ<br />

คะแนนกรดอะมิโน (%) = ปริมาณกรดอะมิโนจําเป็ นในตัวอย่าง (mg/g protein) x 100<br />

ปริมาณกรดอะมิโนจําเป็ น ทีเด็กก่อนวัยเรียนต้องการ (mg/g protein)<br />

2.3 โปรไฟล์แร่ธาตุ การวิเคราะห์ปริมาณ Ca, Mg, K <strong>and</strong> Na ใช้ atomic absorption spectrophotometry<br />

(AAS) และปริมาณ Fe, Cu และ Zn ใช้วิธี Inductively coupled plasma optical emission spectrometry<br />

ส่วน P ใช้วิธี gravimetry (Kolthoff และคณะ, 1969) และ Cl ใช้ Chloridometer<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

องค์ประกอบทางเคมี (Table 1) เช่น โปรตีนและเถ้า มีปริมาณสูงสอดคล้องกับสาหร่ายสกุล <strong>Ulva</strong> ต่างๆ<br />

(Fleurence, 1999) และสาหร่ายสกุล Hypnea japonica และ H. charoides (Wong, K. และ Cheung, 2000) ปริมาณ<br />

ไขมันใกล้เคียงกับสาหร่าย Enteromorpha spp. (Haroon และคณะ, 2000) และ U. lactuca (Yaich และคณะ, 2011)<br />

ปริมาณใยอาหารทั งหมดสูงใกล้เคียงกับสาหร่าย U. lactuca และ Durvilllaea antarctica (Ortiz และคณะ, 2006) และมี<br />

ค่ามากกว่าปริมาณใยอาหารทีพบในพืชบกต่าง ๆ เช่น ข้าวสาลี ถัว และหัวหอม ทั งนี ใยอาหารในสาหร่ายประกอบด้วยใย<br />

อาหารทีละลายนํ าและไม่ละลายนํ า ใยอาหารทีละลายนํ ามีสมบัติเชิงหน้าทีช่วยลดคอเลสเตอรอลและนํ าตาลในเลือด จึง<br />

ป้ องกันการเกิดโรคหัวใจ โรคเบาหวาน ส่วนใยอาหารทีไม่ละลายนํ าช่วยในการเพิมปริมาณกากขับถ่ายอุจจาระ (Prosky<br />

และคณะ, 1992; Ortiz และคณะ, 2006)<br />

แร่ธาตุทีพบปริมาณมากในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> (Table 2) คือ แมกเนเซียม คลอไรด์ โพแทสเซียม และ<br />

โซเดียม โดยมีค่าอยู ่ระหว่าง 456-4,115 mg/100g DW ตามลําดับ ซึงใกล้เคียงกับสาหร่าย Chondrus crispus, Porphyra<br />

tenera (Rupérez, 2002), Caulerpa lentillifera และ U. reticulata (Rattana-arporn และ Chirapat, 2006) ทั งนี ในผล<br />

วิเคราะห์ แร่ธาตุในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> ยังพบว่ามีสัดส่วนของโซเดียมต่อโพแทสเซียมเท่ากับ 0.7 ซึงช่วยรักษาภาวะ<br />

สมดุลของกรดด่าง ความดันออสโมซิส และอิเล็กโทรไลต์ของของเหลวทีอยู ่ภายในเซลล์และภายนอกเซลล์ ในทางตรงข้าม<br />

หากรับประทานอาหารทีมีสัดส่วนโซเดียมต่อโพแทสเซียมในสูง จะทําให้เกิดความเสียงต่อการเกิดโรคความดัน (Rupérez,<br />

2002) สําหรับแร่ธาตุทีพบในปริมาณน้อยในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> ได้แก่ Cu และ Zn มีปริมาณผลรวมเท่ากับ 2.1<br />

mg/100g DW ซึงอยู ่ในระดับทีให้มนุษย์บริโภคได้คือ ตํากว่า 10 mg/100g DW (Indegaard และ Minsaas, 1991) ส่วน<br />

ปริมาณโลหะหนัก Pb และ Cd มีปริมาณตําอยู ่ในเกณฑ์มาตรฐาน (Fleurence, 1999) ดังนั นสามารถใช้สาหร่าย U.<br />

<strong>intestinalis</strong> ในการปรับปรุงโภชนาการหรือเสริมแร่ธาตุในผลิตภัณฑ์อาหาร ซึงมีประโยชน์ช่วยในการทํางานของระบบ<br />

ร่างกายให้เป็ นปกติ (Insel และคณะ, 2007)<br />

สําหรับโปรไฟล์ของกรดอะมิโน (Table 3) พบว่า มีปริมาณใกล้เคียงสาหร่าย U. lactuca (Wong และ Cheung,<br />

2000), Caulerpa lentillifera และ U. reticulata (Rattana-arporn และ Chirapat, 2006) กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณ<br />

สูงคือ ลูซีน ทรีโอนีน และวาลีน ตามลําดับ โดยมีค่าอยู ่ระหว่าง 27.3-62.2 mg/g protein ส่วนกรดอะมิโนไม่จําเป็ นทีมีมาก<br />

คือ กรดกลูตามิกและแอสพาติก โดยมีปริมาณ 109.2 และ 105.3 mg/g protein ตามลําดับ มีบทบาทในการให้กลินและ<br />

รสชาติเฉพาะของสาหร่าย (Wong และ Cheung, 2000) และเมือคํานวณคะแนนกรดอะมิโนจําเป็ นพบว่ามีค่าระหว่าง<br />

47.1-152.1 (Table 4) กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณจํากัดทีสุดคือ ไลซีน ซึงมีคะแนนกรดอะมิโนน้อยทีสุดเท่ากับ 47.1<br />

ซึงสอดคล้องกับการศึกษาคะแนนกรดอะมิโนจําเป็ นในสาหร่าย Eucheuma cottonii และ C. lentilifera (Matajun และ


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 495<br />

คณะ, 2009) ผลการศึกษาวิจัยนี แสดงให้เห็นว่าสามารถเลือกใช้สาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> เป็ นวัตถุดิบหรือส่วนผสมในการ<br />

ผลิตอาหารหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพทีเพิมคุณค่าสารอาหารต่างๆ ได้<br />

Table 1 <strong>Chemical</strong> composition of dried<br />

U. <strong>intestinalis</strong> (% dry weight, DW)<br />

Table 2 <strong>Element</strong> profiles of U. <strong>intestinalis</strong><br />

<strong>Composition</strong> Mean ± SD (n=3) <strong>Element</strong>s mg/100g DW Trace elements mg/100 g DW<br />

Moisture 12.0 ± 0.8 Mg 4115.2 Cu 0.6<br />

Protein 17.2 ± 0.2 K 2456.8 Zn 1.5<br />

Ash 27.5 ± 0.3 Ca 794.5<br />

Lipid 6.0 ± 0.7 Na 1711.9 Toxic element mg/kg DW<br />

Total Dietary Fibre 51.4 ± 0.0 Fe 583.0 Lead 4.8<br />

Soluble Dietary Fibre 25.3 ± 0.4 Cl 3094.0 Cd 0.3<br />

Insoluble Dietary Fibre 26.1 ± 0.4 P 455.7<br />

Na/K ratio 0.70<br />

Table 3 Essential Amino acid profiles of U. <strong>intestinalis</strong><br />

Essential amino acid mg/100mg mg/g protein Non-essential amino acid mg/100mg mg/g protein<br />

Arginine 0.81 47.1 Aspartic acid 1.81 105.2<br />

Threonine 0.89 51.7 Serine 0.96 55.8<br />

Valine 0.87 50.6 Glutamic acid 1.88 109.3<br />

Lysine 0.47 27.3 Glycine 0.91 52.9<br />

Isoleucine 0.55 32.0 histidine 0.13 7.6<br />

Leucine 1.07 62.2 Alanine 1.48 86.0<br />

Phenylalanine 0.74 43.0 Proline 0.68 39.5<br />

Tyrosine 0.32 18.6<br />

Total AA 13.57 789.0<br />

EAA 5.4 314.0<br />

NEAA 8.17 475.0<br />

EAA/NEAA 0.66 0.66<br />

EAA/Total AA 0.40 0.40<br />

Table 4 Essential amino acid score of U. <strong>intestinalis</strong><br />

Amino acids<br />

U. <strong>intestinalis</strong><br />

Reference<br />

Score of<br />

(mg/g protein)<br />

(mg/g Protein) a<br />

U. <strong>intestinalis</strong><br />

Leucine 62.2 66 94.2<br />

Isoleucine 32 28 114.3<br />

Lysine 27.3 58 47.1<br />

Methionine +Cysteine ND 25 ND<br />

Threonine 51.7 34 152.1<br />

Tyrosine + Phenylalanine 61.6 63 97.8<br />

Tryptophane ND 11 ND<br />

Valine 50.6 35 144.6<br />

a<br />

Reference amino acid pattern of preschool children (2-5 years) (FAO/WHO/UNU, 1985).<br />

ND, not determined


496 494 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

สรุปผล<br />

สาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> เป็ นแหล่งของสารอาหารทีจําเป็ นต่อร่างกายสูง เช่น ใยอาหาร แร่ธาตุ โปรตีนและกรด<br />

อะมิโน จึงมีศักยภาพในการนําไปใช้เป็ นวัตถุดิบหรือส่วนผสมสําหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพทีให้คุณค่าโภชนาการ<br />

สูง แต่ให้พลังงานตํา จึงเหมาะสําหรับประยุกต์ใช้ในการผลิตอาหารสําหรับมนุษย์และอาหารสัตว์เลี ยงต่อไป<br />

คําขอบคุณ<br />

การศึกษาวิจัยนี ได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2550<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

AOAC., 2000, Official Methods of Analysis, 17th edition, Association of Official Analytical Chemists, Arlington<br />

VA, U.S.A.<br />

FAO/WHO/UNU,1985, Energy <strong>and</strong> Protein Requirements, Report of a joint FAO/WHO/UNU Expert Consultation,<br />

WHO Technical Report Series No 724, WHO, Geneva, Switzerl<strong>and</strong>.<br />

Fleurence, J., 1999, Seaweed Proteins: Biochemical Nutritional Aspects <strong>and</strong> Potential Uses, Trends in Food<br />

Science <strong>and</strong> Technology, 10: 25-28.<br />

Haroon, A.M., Szaniawska, A., Normant, M. <strong>and</strong> Janas, U., 2000, The Biochemical <strong>Composition</strong> of<br />

Enteromorpha spp. from the Gulf of Gdansk Coast on the Southern Baltic Sea, Oceanologia, 42: 19-28.<br />

Indergaard, M. <strong>and</strong> Minsaas, J., 1991, Animal <strong>and</strong> Human Nutrition, In Seaweed Resources in Europe: Uses<br />

<strong>and</strong> Potential, M.D. Guiry <strong>and</strong> G. Blunden, editors, John Wiley & Sons Ltd., Chichester, Engl<strong>and</strong>, pp. 21-<br />

64.<br />

Insel, P., Ross, D., McMahon, K. <strong>and</strong> Bernstein, M., 2007, Nutrition, 3 rd edition, Jones & Bartlett Publishers,<br />

Sudbury, Canada.<br />

Kolthoff, I.M., S<strong>and</strong>ell, E.B., Meehan, E.J. <strong>and</strong> Bruckenstein, S., 1969, Quantitative <strong>Chemical</strong> Analysis,<br />

Macmillan Company, New York, U.S.A.<br />

Liu, H.J., Chang, B.Y., Yan, H.W. Yu., F.H. <strong>and</strong> Liu., X.X., 1995, Determination of Amino Acids in Food <strong>and</strong><br />

Feed by Derivatization with 6-aminoquinolyl-N-hydroxysuccinimidyl Carbamate <strong>and</strong> Reversed-phase<br />

Liquid Chromatographic Separation, Journal of AOAC International, 78: 736-744.<br />

Matanjun, P., Mohamed, S., Mustapha, N.M. <strong>and</strong> Muhammad K., 2009, Nutrient Content of Tropical Edible<br />

Seaweeds, Eucheuma cottonii, Caulerpa lentillifera <strong>and</strong> Sargassum polycystum, Journal of Applied<br />

Phycology, 21: 75-80.<br />

Ortiz, J., Romero, N., Robert, P., Araya, J., Lopez-Hernández, J., Bozzo, C.E., Navarrete C.E., Osorio A. <strong>and</strong><br />

Rios A., 2006, Dietary Fiber, Amino Acid, Fatty Acid <strong>and</strong> Tocopherol Contents of the Edible Seaweeds<br />

<strong>Ulva</strong> lactuca <strong>and</strong> Durvillaea Antarctica, Food Chemistry, 99: 98-104.<br />

Prosky, L., Asp, N.G., Schweizer, T.F., DeVries, J.W. <strong>and</strong> Furda, I., 1992, Determination of insoluble, Soluble<br />

Dietary Fiber in Foods <strong>and</strong> Food Products: Collaborative Study, Journal of the Association of Official<br />

Analytical Chemists International, 75: 360-367.<br />

Ratana-arporn, P. <strong>and</strong> Chirapart, A., 2006, Nutritional Evaluation of Tropical Green Seaweeds Caulerpa<br />

lentillifera <strong>and</strong> <strong>Ulva</strong> reticulata, Kasetsart Journal (Natural Science), 40 (Suppl.): 75-83.<br />

Rupérez, P., 2002, Mineral Content of Edible Marine Seaweeds, Food Chemistry, 79: 23-26.<br />

Wong, K. <strong>and</strong> Cheung, P.C., 2000, Nutritional Evaluation of Some Subtropical Red <strong>and</strong> Green Seaweeds Part<br />

1-Proximate <strong>Composition</strong>, Amino Acid Profiles <strong>and</strong> Some Physico-chemical Properties, Food Chemistry,<br />

7: 475-482.<br />

Yaich, H., Garna, H., Besbes, S., Paquot, M., Blecker, C. <strong>and</strong> Attia, H., 2011, <strong>Chemical</strong> <strong>Composition</strong> <strong>and</strong><br />

Functional Properties of <strong>Ulva</strong> lactuca seaweed collected in Tunisia, Food Chemistry, 128: 895-901.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!