07.06.2013 Views

สุขภาวะองค�รวมแนวพุทธ

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

พระพรหมคุณาภรณ<br />

(ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๘


สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

© พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ISBN 974-506-697-4<br />

พิมพครั้งที่<br />

๑ Ñ สิงหาคม ๒๕๔๘<br />

พิมพครั้งที่<br />

๕ Ñ มกราคม ๒๕๔๙<br />

-<br />

แบบปก:<br />

พิมพที่


คํ าปรารภ


สารบัญ<br />

คํ าปรารภ ก<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ ๑<br />

คํ าอาราธนา ๑<br />

ความเขาใจรวมกอนเริ่ม<br />

๓<br />

๑. สุขภาวะในระบบชีวิตแหงธรรมชาติ ๙<br />

ปญหาสุขภาวะของคนไทย ซับซอนยิ่งกวาในอเมริกา<br />

๙<br />

ระวัง! องครวม ไมใชเหมารวม ๑๓<br />

องครวมของชีวิต ที่มีสุขภาวะ<br />

๑๖<br />

จะสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางไร<br />

มีตัวกํ ากับอยูในแดนของจิตใจ<br />

๒๒<br />

เมื่อรูไมชัด<br />

ก็คิดไมชัด เมื่อคิดไมชัด<br />

ปฏิบัติการก็วิบัติ ๒๖<br />

จะมีสุขภาวะได ตองบริหารใจใหมีภาวะจิตที่เปนดานบวก<br />

๓๒<br />

องครวมจะมีได ตองบูรณาการแดนที่สามเขาไป<br />

ใหคนเปนอิสระขึ้นมา<br />

๓๔<br />

สุขภาวะที่แท<br />

ตองเปนไปตามความจริงแหงธรรมชาติของชีวิต ๓๗<br />

๒. สุขภาวะในระบบชีวิต-สังคมยุคไอที ๔๓<br />

เปนนักพึ่งพา<br />

ไดแตหาความสุข แตไมมีความสุข ๔๓<br />

พัฒนาวิธีหาความสุข แตไมพัฒนาศักยภาพที่จะมีความสุข<br />

๔๘<br />

เทคโนโลยียิ่งกาวหนา<br />

พามนุษยที่ไมพัฒนาใหยิ่งถอยจม<br />

๕๓<br />

สุขภาวะจะมีจริงได ตองพลิกผันอารยธรรมสูทิศทางใหม<br />

๕๙<br />

สุขภาวะจะสํ าเร็จได ตองแกไขใหหมดความขัดแยงในระบบ ๖๖


ข<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ภาวะจิตใจกับปญญา ในระบบสัมพันธที่ควรศึกษาใหชัด<br />

๖๙<br />

พัฒนาการดํ าเนินชีวิต เริ่มดวยดูฟงใหเปน<br />

๗๖<br />

พัฒนาการดํ าเนินชีวิต ตองหัดกินใชใหเปนดวย ๘๑<br />

ชีวิตใคร สุขมาก หรือทุกขมาก ดูที่งานอาชีพ<br />

๘๗<br />

สังคมมีวินัย คนจึงมีโอกาส ๙๐<br />

ยุคไอที จะบมอินทรีย หรือปลอยอินทรียใหเขามอม ๙๔<br />

ภาวะจิตเพื่อชีวิต<br />

และภาวะจิตเพื่อสังคม<br />

๑๐๐<br />

บทสรุปเชิงสาระ ๑๐๗<br />

ระบบการพัฒนาคน เพื่อมีองครวมการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดี<br />

๑๐๗<br />

ระบบตรวจสอบ และวัดผล ๑๑๐<br />

ชีวิตแหงความสุข เปนอยางไร ๑๑๔<br />

ถาองครวมชีวิตมีสุขภาวะจริง องครวมโลกจะมีสันติสุขดวย ๑๑๗<br />

ผู ตรวจราชการ (น.พ. สถาพร วงษเจริญ): กลาวขอบคุณ ๑๑๙<br />

ผนวก ๑: การปฏิบัติตอความสุข ๑๒๐<br />

ผนวก ๒: องคประกอบหลัก ในการประเมินสุขภาพแนวพุทธ ๑๒๕


สุขภาวะองครวมแนวพุทธ ๑<br />

คํ าอาราธนา ๒<br />

ผมและคณะ ซึ่งไดทํ<br />

างานเรื่องสุขภาพองครวมแนวพุทธ<br />

ประกอบ<br />

ดวยบุคลากรทั้งในกระทรวงและนอกกระทรวงสาธารณสุข<br />

ที่สนใจใน<br />

เรื่องนี้<br />

ทั้งแพทย<br />

พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ<br />

แกนนํ าสํ าคัญก็คือ คุณหมอชูฤทธิ์<br />

เต็งไตรสรณ ซึ่งเดิมปฏิบัติงาน<br />

อยูที่สถาบันบํ<br />

าราศนราดูร ขณะนี้ก็ไดขอโอนไปอยูที่กรมพัฒนาการ<br />

แพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก เพื่อจะไดทํ<br />

างานดานนี้ใหกวาง<br />

ขวางออกไป และมีคณะที่มาจากโรงพยาบาลหลายๆ<br />

แหง เชน มาจาก<br />

โรงพยาบาลอุตรดิตถ โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ ที่ใกลๆ<br />

จากสถาบัน<br />

บํ าราศนราดูร โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลชลประทาน ที่อื่นๆ<br />

ก็มา<br />

เชน จาก กศน.เขตดุสิต ก็มาดวย<br />

คณะทํ างานในเรื่องนี้ไดพยายามนํ<br />

าเอาเรื่องสุขภาพแนวพุทธที่ได<br />

พัฒนามาระดับหนึ่งแลวไปถายทอด<br />

ไปเผยแพร และพยายามจัดสราง<br />

เปนหลักสูตรฝกอบรมเพื่อเผยแพรใหกวางขวางขึ้นไป<br />

ตลอดเวลาที่ผานมา<br />

ตองขอกราบขอบพระคุณที่พวกเราไดรับความ<br />

่อง สุขภาวะองครวมแนวพุทธ วิสัชนาตามคํ าอาราธนาของ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทย<br />

และการแพทยทางเลือก โดยพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต) ที่วัดญาณเวศกวัน<br />

เมื่อวัน<br />

ที่<br />

๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๗<br />

๑ เรื<br />

๒ คํ ากลาวอาราธนา ของ นายแพทยวิชัย โชควิวัฒน อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทย<br />

และการแพทยทางเลือก


๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

กรุณาเปนอยางยิ่งจากทานอาจารยที่ชวยชี้แนะ<br />

และวันนี้ก็ถือโอกาสมา<br />

กราบขอความเมตตาจากทานอาจารยที่จะไดชี้แนะในเรื่องนี้ตอไป<br />

โดย<br />

ประเด็นสํ าคัญ หรือหัวขอใหญๆ ที่จะขอกราบเรียน<br />

มีอยู<br />

๔ ขอ ไดแก<br />

๑. ปญหาดานสุขภาวะของคนไทยในปจจุบัน ในมุมมองของ<br />

พุทธศาสนา<br />

๒. อะไรคือสาเหตุที่ทํ<br />

าใหคนไทยในปจจุบันมีปญหาเกี่ยวกับสุข<br />

ภาวะ<br />

๓. คนไทยควรมีสุขภาวะอยางไร<br />

๔. วิธีการพัฒนาสุขภาวะตามแนวพุทธ เปนเชนไร<br />

• องคประกอบของสุขภาวะ<br />

• กระบวนการพัฒนา<br />

• วิธีวัดผล<br />

ขอกราบอาราธนาพระอาจารยชวยชี้แนะดวยจะเปนพระคุณ


ความเขาใจรวมกอนเริ่ม<br />

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต):<br />

เจริญพรทานอธิบดี และทานผูตรวจราชการ<br />

คุณหมอและทุกทาน<br />

ซึ่งอยู<br />

ในวงวิชาการทางการแพทยและสาธารณสุข ในการจะพูดเรื่องนี้ซึ่ง<br />

มีหลายหัวขอที่ทานอธิบดีไดบอกแจงมา<br />

อาตมภาพก็ไมแนใจวาจะตอบ<br />

ครบไหม จะตองขอใหทานชวยคอยเตือนดวยวาไดพูดไปครบหรือยัง อัน<br />

ไหนยังขาดตกบกพรอง<br />

กอนที่จะพูดก็มีขอที่ขอทํ<br />

าความเขาใจนิดหนึ่ง<br />

คือ ทานจะใหพูด<br />

ถึงสุขภาวะในแงที่พุทธศาสนามอง<br />

ทีนี้<br />

คํ าวา "สุขภาวะ" นั้น<br />

คิดวาเปนคํ าที่คอนขางใหม<br />

เรามีคํ าวา<br />

“สุขภาพ” ที่ใชกันมานาน<br />

ที่จริง<br />

ทั้ง<br />

"สุขภาวะ" และ "สุขภาพ" ในภาษาบาลีเดิมก็เปนคํ า<br />

เดียวกัน และ “สุขภาวะ” เปนคํ าเดิมในภาษาบาลีดวยซํ้<br />

าไป เราใชคํ าใน<br />

ภาษาไทยที่แผลง<br />

“ว” เปน “พ” เปนสุขภาพเรื่อยมา<br />

แตตอนนี้มีการใชวาสุขภาวะ<br />

โดยเปลี่ยนจากตัว<br />

“พ” กลับไปเปน<br />

“ว” ก็เลยเปนจุดสังเกตขึ้นมาวา<br />

คงจะมีความคิดที่อยูเบื้องหลังการหัน<br />

มาใชคํ านี้<br />

อาตมภาพจึงคิดวา ตอนแรกนี้<br />

กอนที่จะพูดไปถึงวาพุทธศาสนา<br />

มองเรื่องนี้อยางไร<br />

เราคงตองพูดถึงความหมายของตัวคํ าพูดใหเขาใจ<br />

ความหมายตรงกันหนอย<br />

อาตมภาพก็เลยขอโอกาส จะขอฟงวา คํ าวา “สุขภาวะ” นี้<br />

ซึ่ง<br />

คิดวาเปนคํ าที่ใชกันใหม<br />

ในวงการสาธารณสุข หรือในวงวิชาการ<br />

สมัยนี้<br />

ก็ตาม เปนคํ าที่มีความหมายพิเศษอยางไร<br />

อาตมภาพขอ<br />

โอกาสสักนิดหนึ่ง


๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

อธิบดี (นายแพทยวิชัย โชควิวัฒน):<br />

ก็ขอกราบเรียนวา อันที่จริงแลว<br />

คํ าวา “สุขภาวะ” จริงๆ นาจะเปน<br />

คํ าที่ตั้งใจจะใชแทนคํ<br />

าวาสุขภาพ โดยสมัยกอนสุขภาพจะเปนเรื่องของ<br />

โรคภัยไขเจ็บเปนหลัก ตอมามีการพิจารณาเรื่องของสุขภาพในทางที่<br />

กวางขึ้น<br />

ตามแนวทางที่องคการอนามัยโลกไดชี้แนะและใหคํ<br />

าจํ ากัด<br />

ความไวนานแลว ตั้งแตกอตั้งองคการอนามัยโลกเมื่อ<br />

๕๐ กวาปมาแลว<br />

วา คํ าวา สุขภาพ หมายถึงความสมบูรณ บริบูรณพรอม ทั้งรางกาย<br />

จิต<br />

ใจ และสังคม หรืออยูในสังคมไดดวยความสุข<br />

โดยไมจํ ากัดเฉพาะความ<br />

ปราศจากโรค หรือปราศจากความพิการเทานั้น<br />

นั้นเปนความหมายที่ยึด<br />

ถือกันมานาน<br />

ตอมาในระยะหลัง เรื่องของสุขภาพก็มีการขยายความกวางขึ้นไป<br />

อีกวา ไมเพียงแตรางกาย จิตใจ และสังคม แตมีความหมายครอบคลุม<br />

ถึงสิ่งที่ภาษาอังกฤษใชคํ<br />

าวา Spiritual well-being ดวย ซึ่งตอมาก็ไดขอ<br />

ยุติวา นาจะหมายถึงสุขภาวะทางดานของปญญาเขามาประกอบดวย<br />

และทิศทางของการที่จะพูดเรื่องสุขภาพนี้ไดมีการเปลี่ยนจุดเนนเดิมซึ่ง<br />

พูดถึงเรื่องการแกปญหาเมื่อเกิดโรคภัยไขเจ็บขึ้นแลวเปนหลัก<br />

ตอมา<br />

พยายามเนนในเรื่องของการปองกันหรือการสรางเสริมสุขภาพกอนที่จะ<br />

เกิดโรคขึ้นควบคูกันไปดวย<br />

โดยเชื่อวาวิธีการอยางที่กลาวนี้จะชวยใหเรา<br />

สามารถที่จะสรางสุขภาพไดดีกวา<br />

หรือพูดในภาษาที่สั้นๆ<br />

วา เนนที่การ<br />

สรางนํ าซอม<br />

นอกจากนี้<br />

ความหมายของคํ าวา "สุขภาพ" ซึ่งเดิมมองเรื่องของ<br />

สังขารรางกายเปนหลัก ตอมาก็มองใหครอบคลุมตามความหมายที่องค<br />

การอนามัยโลกสงเสริมและแนะนํ า คือใหมีลักษณะเปนภาพองครวม<br />

พยายามที่จะใหโยงใยออกไปวาสุขภาพเปนเรื่องของชีวิตเลยทีเดียว<br />

ไม<br />

ใชเรื่องของสุขภาพตามความหมายดั้งเดิมเทานั้น


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

เมื่อมีการตั้งองคการที่มาสงเสริมสุขภาพ<br />

ที่เรียกวา<br />

สสส. ก็<br />

พยายามที่จะใหความหมายของสุขภาพในลักษณะที่ครอบคลุมกวางขวาง<br />

เมื่อมีการใหความหมายในทางกวางและมองในภาพองครวม<br />

และเปลี่ยน<br />

จุดเนนจากการซอมมาเปนการสราง ก็มีความพยายามที่จะตีความความ<br />

หมายของคํ านี้ใหกวางขวาง<br />

โดยที่ถาจะใชคํ<br />

าวาสุขภาพเดิมก็จะคิดถึง<br />

เฉพาะในความหมายเดิมๆ ในความหมายที่แปลมาจากคํ<br />

าวา Health<br />

ในภาษาอังกฤษ เพราะฉะนั้นจึงเกิดมีคํ<br />

าที่อธิบายวา<br />

สุขภาพหมายถึง<br />

สุขภาวะ และทํ าใหคํ าวา "สุขภาวะ" ในบางครั้งก็คลายๆ<br />

จะเขามาแทนที่<br />

คํ าวาสุขภาพ อันนี้เปนความเขาใจของกระผมตามที่ไดเกี่ยวของมา<br />

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต):<br />

ก็ขออนุโมทนาทานอธิบดี เปนการทํ าความเขาใจเกี่ยวกับความ<br />

หมายของถอยคํ าไวกอน ตามที่ฟงนี้ที่จริงก็คือเรื่องสืบตอ<br />

เปนแตเพียง<br />

วาเราชักจะเขาใจความหมายของคํ าวา “สุขภาพ” แคบลงไป ซึ่งก็เปน<br />

เรื่องธรรมดา<br />

เพราะแตกอนนั้นเราก็เนนเรื่องของรางกายที่มีปญหาโรค<br />

ภัยไขเจ็บวา เมื่อไมมีโรคภัยไขเจ็บก็คือการมีสุขภาพที่แข็งแรง<br />

ตอนนี้<br />

เราไมอยากใหคนมองแคบอยางนั้น<br />

และเพื่อจะใหศัพทสื่อได<br />

ดียิ่งขึ้น<br />

ปองกันไมใหคนมองกลับไปเอาความหมายที่แคบอยางนั้น<br />

ก็เลย<br />

ใชคํ าวา “สุขภาวะ” เปนอันวาใหมองใหกวาง ใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น<br />

เมื่อขยายความหมายหรือมองใหครอบคลุมขึ้นอยางนี้<br />

ก็ทํ าใหมี<br />

ขอสังเกตอยางหนึ่งวา<br />

สุขภาพที่ใชคํ<br />

าวาสุขภาวะนี้<br />

จะสื่อความหมายที่<br />

ใกลกับความสุขมากขึ้น<br />

คือ เดิมเราพูดถึงเรื่องโรคภัยไขเจ็บก็เปนเรื่อง<br />

ทุกข คลายๆ วา เมื่อมีสุขภาพดีก็มองแควารางกายแข็งแรงไมมีโรค<br />

ปลอดโรคก็คือหายทุกข ทีนี้เราบอกใหมวาใหมีความสุขดวย<br />

คือเนนไปที่<br />

ความสุขดวย เปนอันวาจะมองทั้งในแงหมดทุกข<br />

และมีสุข<br />

/ 136<br />


๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ทีนี้<br />

ภาวะที่หายทุกข<br />

หรือหมดทุกข และมีสุข หรือปลอดทุกข<br />

และเปนสุข นี้<br />

ถาวากันไปแลว มันก็เปนดานหนึ่งของภาวะที่สมบูรณ<br />

ถา<br />

ใชคํ าสมัยใหม จะเรียกวาเปนสวนหนึ่งหรือดานหนึ่งของภาวะที่เรียกวา<br />

องครวมก็ได<br />

หมายความวา ในการที่เราจะมีสุขภาวะ<br />

หรือแมแตจะมีความสุข<br />

ธรรมดาทั่วไปใหเปนสุขแทจริงสักหนอยหนึ่งนั้น<br />

ยังมีภาวะดานอื่นๆ<br />

ประกอบอยูดวย<br />

ที่เราควรจะมองหรือตองคํ<br />

านึงถึงอีกหลายอยาง<br />

ดานอื่นๆ<br />

ที่เราจะมองไดหรือตองคํ<br />

านึงถึงนั้น<br />

มีอะไรบาง ขอยกมา<br />

ดูกัน<br />

ดานหนึ่งคือ<br />

ความเสรี ไดแกความปลอดโปรง โลงเบา หลุดพน ไม<br />

ถูกปดกั้นจํ<br />

ากัดบีบคั้น<br />

ไมติดขัดคับของ ไมถูกผูกมัดกดทับไว แตเคลื่อน<br />

ไหวไดคลองตามปรารถนา คือภาวะที่เปน<br />

อิสระ ๑<br />

อีกดานหนึ่งคือ<br />

ความสงบ ไดแกภาวะที่ไมมีความรอนรนกระวน<br />

กระวาย ไมกระสับกระสาย ไมเรารอน ไมวาวุ น ไมพลุ งพลาน ทั้งรางกาย<br />

และจิตใจไมถูกรบกวน ไมมีอะไรมาระคายเคือง คือสงบ อยู ตัวของมัน ๒<br />

อีกดานหนึ่งคือ<br />

ความสะอาด หรือความบริสุทธิ์<br />

หมดจดสดใส ไม<br />

มีความขุนมัวเศราหมอง<br />

ไมเลอะเทอะเปรอะเปอน<br />

แตมันไมใชแคความ<br />

สะอาดดานวัตถุหรือรูปธรรม แตหมายถึงทางดานจิตใจที่ไมมีความ<br />

หมองมัว ไมมีความขุนมัวเศราหมอง<br />

๓<br />

แลวอะไรอีก ก็คือ ความสวาง กระจางแจง แจมชัด ใสสวาง หรือ<br />

ผองใส มองเห็นทั่วตลอด<br />

๔<br />

๑ ตามหลัก เรียกวา "วิมุตติ"<br />

๒ ตามหลัก เรียกวา “สันติ”<br />

๓ ตามหลัก เรียกวา "วิสุทธิ"<br />

๔ ตามหลัก เรียกวา "วิชชา"


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ลองคิดดูสิ ถาคนไหนบอกวาจะมีความสุข แตเขาถูกกดถูกบีบคั้น<br />

ถูกจํ ากัด ติดขัด ถูกผูกมัด มัวแตดิ้นรน<br />

มัวแตตะเกียกตะกายหาทางหนี<br />

อยู<br />

อยางนี้จะมีความสุขไหม<br />

ก็ไมมีความสุข เพราะฉะนั้นภาวะดานหนึ่ง<br />

ของความสุขก็คือความเปนอิสระ หรืออิสรภาพ<br />

พรอมกันนั้น<br />

ก็ตองไมมีความพลุงพลาน<br />

วาวุน<br />

กระสับกระสาย<br />

เรารอน หรือรอนรนกระวนกระวาย ถูกรบกวนอะไร ความวาวุนเปนตน<br />

เหลานี้<br />

ตองไมมี ถาวาวุนอยู<br />

มันก็มีความสุขไปไมได คือไมมีความสุขนั่น<br />

เอง เพราะฉะนั้นสันติจึงเปนภาวะดานหนึ่งของการมีความสุข<br />

แลวก็ที่บอกเมื่อกี้<br />

ถาใจขุนของหมองมัว<br />

ความคิดเศราหมอง ก็<br />

เปนสุขไปไมได ดังนั้น<br />

ความหมดจด สดใส ไมขุนมัว<br />

ไมเศราหมองตางๆ<br />

คือความสะอาดที่วานี้<br />

จึงเปนภาวะอีกดานหนึ่งของการมีความสุข<br />

นอกจากนั้น<br />

ถาเราอยูในความมืดมัว หรือมืดมน มองไมเห็น<br />

อะไรๆ ที่มีอยูและที่เปนไปอยูรอบตัว<br />

อะไรๆ ที่เกี่ยวของอยูก็ไมรูไมเขาใจ<br />

มันก็ไมโลงไมโปรงเชนเดียวกัน และก็ไมมีทางที่จะมีความสุขไดจริงเลย<br />

แตถารูเขาใจมองเห็นสวางกระจางแจงชัดเจน<br />

ก็พรอมที่จะเปนสุขไดจริง<br />

นี้คือภาวะดานตางๆ<br />

ซึ่งมีอยูดวยกันกับความสุข<br />

และความสุข<br />

เปนอาการปรากฏดานหนึ่งของภาวะที่มีความสมบูรณนี้<br />

ภาวะดาน<br />

ตางๆ เหลานี้<br />

ถาใชศัพท ก็อาจจะเรียกวา วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ<br />

วิชชา คือความสวาง ผองใส กระจางแจง มองเห็นชัดเจน ซึ่งเปน<br />

ลักษณะของปญญา<br />

วิมุตติ คือความหลุดพนเปนอิสระ เปนภาวะที่สํ<br />

าคัญมาก อยางที่<br />

วาแลว ถาคนถูกมัด หรือแมแตแคถูกขัง ถูกบีบ ถูกกด เสียแลว ก็แย<br />

หมดความหมาย จะอึดอัด ติดขัดไปหมด จะไปไหนก็ไมได บางทีแมแต<br />

เคลื่อนไหวก็ไมได<br />

เพราะไมเสรี ทางพระจึงบอกวาจะตอง "เสรี สยังวสี"<br />

"เสรี" คือเคลื่อนไหวไปไหนๆ<br />

ไดตามปรารถนา "สยังวสี" คือมี<br />

/ 136<br />


๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

อํ านาจในตัวเอง ก็คือภาวะที่เปนอิสระแหงวิมุตติ<br />

วิสุทธิ คือความหมดจด สดใส บริสุทธิ์<br />

ไมขุนมัว<br />

ไมเศราหมอง ซึ่ง<br />

ในทางจิตใจสํ าคัญมากที่จะทํ<br />

าใหมีความปลอดโปรงโลงไปได<br />

สันติ คือความสงบ ไมรอนรนกระวนกระวาย ไมมีอะไรรบกวน แม<br />

กระทั่งระเคืองระคาย<br />

เปนภาวะที่ประณีตอยางยิ่ง<br />

ซึ่งสุขที่แทยอมขาดไมได<br />

วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ ที่วามาทั้งหมดนี้<br />

เปนลักษณะหรือภาวะ<br />

ดานตางๆ ที่สํ<br />

าคัญของภาวะสมบูรณอันเดียวกัน ซึ่งเมื่อมีสิ่งเหลานี้แลว<br />

อาการแหงความสุขก็ปรากฏออกมาได<br />

แตถาขาดไปแมแตบางดาน ความสุขถึงจะบอกวามี ก็จะเปน<br />

ความสุขที่แทจริงไมได<br />

จะเปนไดเพียงสิ่งที่เรียกวาเอามาโปะไวขางหนา<br />

หรือพอกไวขางนอก เปนของหลอก ไมสามารถเปนความสุขที่แทจริง<br />

อันนี้ก็เปนเรื่องของภาวะที่เรียกวาความสุข<br />

ซึ่งเหมือนกับวา<br />

ลักษณะที่เปน<br />

วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นั้น<br />

เปนลักษณะองคประกอบ<br />

ของภาวะที่เปนความดีงามสมบูรณของชีวิต<br />

พูดใหเขากับเรื่องในที่นี้วา<br />

เปนการทํ าความเขาใจเบื้องตนเกี่ยว<br />

กับ "สุขภาวะ" ใหเห็นวา ในการที่เราจะมีสุขภาวะนั้น<br />

ภาวะที่เปนสุขเปน<br />

ความสมบูรณอยางหนึ่งที่มีองคประกอบ<br />

หรือดานตางๆ หลายดาน ที่<br />

เราจะตองมองตองคํ านึงถึง และดานเหลานั้นเราจะตองใชเปนเครื่อง<br />

ตรวจสอบความสุขดวย<br />

หมายความวา ความสุขใดๆ ที่ใครก็ตามพูดขึ้นมานั้น<br />

เราตรวจ<br />

สอบไดวาเปนความสุขที่แทจริงหรือเปลา<br />

ถาไมมีภาวะที่วามาเหลานั้น<br />

แลว ก็ไมใชความสุขที่แทจริง<br />

ถาพูดวาเปนความสุข มันก็เปนความสุขที่<br />

ชั่วคราว<br />

ไมยั่งยืน<br />

ยังขาด ยังพรอง และที่สํ<br />

าคัญอยางยิ่งก็คือ<br />

เปนความ<br />

สุขที่ยังมีปญหา<br />

ซึ่งก็คือยังเปนทุกขอยูนั่นเอง<br />

(ทานเรียกวายังอยูใน<br />

อํ านาจของทุกข คือมีศักยภาพแหงการที่จะเปนทุกข)


- ๑ -<br />

สุขภาวะในระบบชีวิตแหงธรรมชาติ<br />

ปญหาสุขภาวะของคนไทย ซับซอนยิ่งกวาในอเมริกา<br />

ทีนี้ก็หันมาพูดถึงเรื่องสุขภาวะของคนไทยในแงที่พุทธศาสนามอง<br />

หรือในมุมมองของพระพุทธศาสนาวาเปนอยางไร<br />

อาตมภาพคิดวา เวลานี้สังคมไทยของเรามีทั้งปญหารวมกับเขา<br />

และปญหาเฉพาะของตัวเอง<br />

ปญหารวมที่สํ<br />

าคัญก็คือ เรารวมอยูในโลกที่กํ<br />

าลังพัฒนาในระบบ<br />

ที่มีทุนนิยมบริโภคเปนใหญครอบงํ<br />

าอยู<br />

นอกจากจะรวมกับเขาแลว เรา<br />

ยังชอบที่จะเปนอยางเขาดวย<br />

แลวเราก็ตาม เราพยายามวิ่งไล<br />

เรา<br />

พยายามที่จะเปนอยางนั้น<br />

เราอยากเปนอยางสังคมอเมริกาที่เปน<br />

บริโภคนิยม ซึ่งเราเห็นวาพรั่งพรอม<br />

เปนแบบอยาง เราพยายามตามเขา<br />

เต็มที่<br />

นี้คือลักษณะรวมที่เรามี<br />

อยางไรก็ตาม พรอมกันนั้นเราก็ไมไดเปนอยางอเมริกา<br />

แตเรามี<br />

ลักษณะที่ถูกเขาเรียกวาเปนสังคมที่กํ<br />

าลังพัฒนา ซึ่งเปนลักษณะของตน<br />

เอง จะถือวาเปนความลาหลัง หรือเปนความดอยก็แลวแต เรามีปญหา<br />

เศรษฐกิจในเรื่องความยากจนขนแคน<br />

ความที่การศึกษายังตํ่<br />

า รวมทั้ง<br />

ปญหาสุขภาพที่มีโรคภัยไขเจ็บมาก<br />

อะไรตางๆ เหลานี้<br />

เปนเรื่องดาน<br />

ปญหาเฉพาะของตนเอง แลวก็โยงออกมาสูปญหาสุขภาวะนี้ดวย<br />

ทีนี้<br />

ในดานปญหาสุขภาวะแงที่รวมกันกับเขาในโลกยุคโลกาภิวัตน


๑๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ที่วาไปรวมกับสังคมอื่นที่เขาเจริญกาวหนาเปนบริโภคนิยมนั้น<br />

บางครั้ง<br />

สังคมไทยเราก็ไปจองรับสวนที่เปนความบกพรองของเขา<br />

เอามาตามจน<br />

ลํ้<br />

าหนาเขาไปเลย ทั้งที่สวนที่ดีของเขาก็มี<br />

แตเราไมคอยไดเอามา อันนี้ก็<br />

เลยกลายเปนการซํ้<br />

าเติมตัวเองใหหนักขึ้นไปอีก<br />

คือ ตัวเองมีปญหาของ<br />

ตัวเองอยูแลว<br />

ยังไปเอาสวนรายของเขามาอีก ก็เลยยิ่งแย<br />

ก็เลยอยากจะยกตัวอยางมาบอกเลาใหเห็นภาพกันบาง กอนที่จะ<br />

พูดอะไรลงไปในสวนที่เปนเนื้อหาสาระ<br />

เมื่อตอนที่อาตมภาพไปรับการผาตัดนิ่วในถุงนํ้<br />

าดี ขณะที่กํ<br />

าลัง<br />

นอนรอคุณหมอที่จะใหดมยาสลบทานติดประชุม<br />

ก็เลยคุยกับคุณหมอที่<br />

จะผาตัดให และคุณหมอทานอื่นๆ<br />

ดวย<br />

คุณหมอที่จะผาตัดพึ่งกลับจากอเมริกา<br />

ไมใชไปเรียนจบกลับ<br />

มานะ แตคุณหมอเปนผูใหญแลว<br />

ทานก็เดินทางไปดูอเมริกา ไปดูอะไรก็<br />

ไปดูปญหาของอเมริกา คือดูการแกปญหาโรคใหม ที่เปนโรคอารยธรรม<br />

คือโรคอวน (obesity) ไปดูวิธีแกปญหาโรคอวน<br />

วิธีแกปญหาโรคอวนที่เปนโรคเดนนํ<br />

าในปจจุบันของอเมริกา ก็คือ<br />

การตองผาตัดกระเพาะ คุณหมอเปนแพทยผาตัดอยูแลว<br />

ก็เลยตรงกับ<br />

งานของทาน<br />

คุณหมอเลาใหฟงวา วิธีแกปญหาโรคอวนที่อเมริกานั้นก็คือ<br />

เขาจะ<br />

ผาตัดกระเพาะของคนที่เปนโรคอวนนี้<br />

จากกระเพาะที่ใหญประมาณ<br />

๒<br />

กํ าปน<br />

จะผาตัดใหเล็กลงจนเหลือความจุเพียง 15 cc. คือ ๑๕ ลบ.ซม.<br />

ก็ลองคิดดู การที่ตองผาตัดใหเล็กลงไปเพราะอะไร<br />

ก็เพราะวาคน<br />

ที่เปนโรคอวนนั้น<br />

เพราะกินมาก เขาก็เลยตองเย็บกระเพาะใหเล็กลง<br />

เพื่อจะใหกินไดนอยๆ<br />

เอนี่…<br />

ถาจะวาในแงของสุขภาวะ ก็รางกายมันสมบูรณดีอยูแลว<br />

อวัยวะก็สมประกอบ แลวเรื่องอะไรจะไปผาตัดใหมันผิดปกติ<br />

นี่ก็กลาย


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

เปนวา ในการสรางสุขภาวะสมัยใหมนี้<br />

เราอาจจะตองไปทํ าอวัยวะที่เปน<br />

ปกติใหมันผิดปกติ เชน ทํ าใหกระเพาะอาหารวิปริต นอกจากทํ าใหเล็ก<br />

ลงไปผิดขนาดแลว ก็ถูกผาตัดอีกดวย<br />

แลวคุณหมอยังบอกอีกวา ตอไปถาพวกนี้ยังกินจุอีก<br />

กระเพาะก็<br />

จะยืดออกไปใหม จึงตองใหคนมีการควบคุมตัวเองดวย (แตจะใหคนรู<br />

จักควบคุมตัวเองนั้นยาก<br />

จึงตองควบคุมทางสังคม) อเมริกาก็เลยตองมี<br />

การแกปญหาสังคมในเรื่องการกินจุกกินจิก<br />

เชนเขาเคยมี refreshment<br />

stand ที่เปนเครื่องหมายของความพรั่งพรอมสะดวกสบาย<br />

แตเดี๋ยวนี้<br />

เขากลับใหเลิกใช หรือหามใช ฯลฯ<br />

อะไรตางๆ เหลานี้<br />

เปนปญหาของประเทศที่เจริญแลว<br />

ซึ่งมีความ<br />

มั่งคั่งพรั่งพรอม<br />

ที่เขาคิดวาจะหาความสุขไดเต็มที่<br />

และคงจะมีความสุข<br />

กันเต็มที่<br />

แตก็มีอาการแหงความเสียสุขภาวะอยางที่วานี้<br />

ทีนี้<br />

ในดานของประเทศไทย คุณหมอไปดูอเมริกามานี่<br />

ก็คือเตรียม<br />

ไว เผื่อจะตองผาตัดกระเพาะคนไทยตอไป<br />

เพราะไดทราบมาวา ตอนนี้<br />

เด็กไทยก็เริ่มเปนโรคอวนกันแลว<br />

เด็กไทยที่เปนโรคอวนนั้น<br />

โดยมากเปนเพราะอยูกับเกม<br />

กินอาหาร<br />

ขยะ (junk food) และไมไดบริหารอิริยาบถเพียงพอ เปนปรากฏการณ<br />

ใหมของยุคสมัย จนทํ าใหคนเริ่มสังเกตเห็นความแตกตางระหวางเด็กใน<br />

โรงเรียนที่ผูปกครองมีฐานะดี<br />

ซึ่งมีนักเรียนอวนๆ<br />

เยอะ กับเด็กในโรง<br />

เรียนที่ผู<br />

ปกครองคอนขางยากจน ซึ่งมีแตนักเรียนผอมเกร็ง<br />

ตางจากสมัยกอน ที่เด็กทั้งหลายใชเวลาวิ่งเลนมาก<br />

แลวก็มีราง<br />

กายปราดเปรียวคลายๆ กันทั่วไป<br />

ทํ าไปทํ ามา โรงเรียนที่ผูปกครองเด็กคอนขางยากจน<br />

จะกลายเปน<br />

มีขอดีที่ไดเปรียบ<br />

อยางนอยก็ในแงที่วานี้<br />

โรคอวน (obesity) นี้เปนตัวอยางที่ชัด<br />

ซึ่งเมื่อเรียกใหรวบรัด<br />

ก็คือ<br />

/ 136<br />

๑๑


๑๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เปนโรคอารยธรรม ที่บงบอกในตัววา<br />

ความเจริญอยางสูงในโลกปจจุบัน<br />

ไมไดเปนหลักประกันวาจะทํ าใหคนเรามีสุขภาวะดีขึ้น<br />

แปลกที่วา<br />

เพียงแคการดํ าเนินชีวิตขั้นตื้นๆ<br />

เทานี้<br />

คนก็มีชีวิตที่เสีย<br />

ดุลไปแลว ทั้งอยางนี้<br />

ก็ยังขืนเรียกวาเปนอารยธรรมกันอยูได<br />

เราพูดกันนักถึงการหาความสุข และอันที่จริงคนในโลกที่เจริญ<br />

เปนดินแดนที่พัฒนาสุดยอดแลว<br />

มีเครื่องบํ<br />

ารุงความสุขทุกอยางไวใหหา<br />

ก็นาจะมีความสุข แตพอดูกันจริงๆ ลึกลงไป สุขภาวะที่เรามองโดยโยง<br />

สภาพรางกายไปประสานกับดานอื่นๆ<br />

มันขาดหมดเลย<br />

การที่วาคนอเมริกันมีปญหาสุขภาวะอยางนั้นไดอยางไรนี้<br />

เปนตัว<br />

อยางที่ชัดของการที่วาความสุขที่คนเขาใจและใฝหา<br />

ไมตรงกันเลยกับ<br />

ความสุขตามหลักการที่เรียกวาสุขภาวะ<br />

แตกลายเปนวา คนที่วาเจริญเหลานี้<br />

พากันหาความสุขที่ไมเปน<br />

สุข(ภาวะ) หรือหาความสุขที่เสียสุข(ภาวะ)<br />

พูดงายๆ ก็คือหา(ความ)สุข<br />

ที่เปน(ความ)ทุกข<br />

หรือพูดใหลึกลงไปอีกก็คือวา คนเจริญเหลานี้มีความ<br />

เห็นผิด คือเปนมิจฉาทิฐินั่นเอง<br />

หมายความวาจุดเริ่มของปญหาอยูที่นี่<br />

การที่คนเปนโรคอวนเปนเรื่องที่ชวยใหสืบสาวหาเหตุปจจัยไดงาย<br />

ขึ้นวาทํ<br />

าไมคนยุคนี้จึงสูญเสียสุขภาวะ<br />

และพรอมกันนั้นก็เปนเครื่องบงชี้<br />

ดวยวา การที่จะมีสุขภาวะนั้นไมใชเปนเรื่องที่จะมองแครางกายอยางเดียว<br />

ตัวอยางเชน ในเรื่องอาหารที่มีกินกันดีนี้<br />

ถึงจะมีกินอยางพรั่งพรอม<br />

บริบูรณ แตถากินไมเปน ก็กลายเปนวาทํ าใหเกิดโทษแกชีวิตของตัวเอง<br />

ไมใชเปนโรคขาดอาหารเพราะขาดแคลนอาหาร แตเปนโรคขาดอาหาร<br />

เพราะขาดแคลนปญญา หรือเปนโรคกินเกิน (overnutrition) เพราะกิน<br />

โดยไมใชปญญา รวมแลวก็คือปฏิบัติไมถูก แลวก็ตั้งจิตผิดทางนั่นเอง<br />

เอาเปนวา ปญหาสุขภาวะของคนไทยนี้ไมอยากจะพูดละเอียดลง<br />

ไปมาก เอาแคผิวเผินไวแคนี้ก็พอ<br />

คือรวบรัดวา เรามีปญหาทั้งที่รวมกับ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

สังคมที่เขาพัฒนาไปแลว<br />

ซึ่งเขาเองก็มีปญหามากมายอยางที่เรียกวา<br />

โรคอารยธรรม คือเจริญมากขึ้นแลว<br />

ก็มาเจอปญหาโรคหัวใจมากขึ้น<br />

โรคเสนเลือดในสมองตีบ หรือแตก อะไรตางๆ จนกระทั่งมาถึงโรคอวนนี้<br />

อันเปนโรคประเภทที่เกี่ยวกับการดํ<br />

าเนินชีวิตไมถูกตอง ที่ฝรั่งเรียกวา<br />

unhealthy lifestyles<br />

เดี๋ยวนี้ฝรั่งพูดกันมากวา<br />

ปญหาโรคภัยไขเจ็บของเขาที่เกิดขึ้นนั้น<br />

มาจาก lifestyles ที่ผิดพลาด<br />

ซึ่งก็เปนเรื่องที่วากันมานานจนเกาแลว<br />

สวนปญหาของไทยเราเอง ก็มีตางหากที่เปนเรื่องเฉพาะของตัวเอง<br />

อยู แลว ที่บอกวาเรามีการศึกษานอย<br />

และนับวายากจน ก็เลยมาพันกับ<br />

เรื่องของความเจ็บไข<br />

และยิ่งไมมีปญญาที่จะจัดการกับสิ่งแวดลอมใหดี<br />

เมื่อสิ่งแวดลอมยิ่งเสีย<br />

ก็ยิ่งทับถมซํ<br />

าเติมตัวเอง ้ สุขภาพก็ยิ่งแยลงไปอีก<br />

เพราะวาสิ่งแวดลอมไมใชจะมีปญหาเฉพาะกับตัวคนเองตรงๆ<br />

เทานั้น<br />

แตสิ่งแวดลอมที่เสียนั้น<br />

มันก็เสียแกสัตวและแกพืชที่คนกินเขาไปดวย<br />

พอคนไปกินสัตวกินพืชที่เปนพิษภัยมีสารเคมีเปนตน<br />

จะเปนพิษ<br />

จากนํ า ้ จากดิน จากอากาศ หรือจากอะไรก็ตาม เสร็จแลวมันก็กลับมา<br />

เปนโทษแกตัวคนเองอีก พันกันไปหมด เรียกวาเปนปญหาในระบบ<br />

ความสัมพันธแหงเหตุปจจัย รวมความวา ไมตองลงลึกไปใหถึงขั้นที่จะ<br />

สาธยายอะไรๆ พูดแคเปนหัวขอก็พอ<br />

ระวัง! องครวม ไมใชเหมารวม<br />

ทีนี้ก็ลองสืบลงไปวา<br />

ทํ าไมจึงเกิดปญหาสุขภาวะอยางนี้<br />

ถาตอบ<br />

แบบรวบรัด ก็อาจจะพูดสั้นๆ<br />

งายๆ วา เพราะเปนอยูไมเปน<br />

แมแตกินก็<br />

กินไมเปน และเปนอยูไมเปน<br />

ก็คือดํ าเนินชีวิตไมเปน<br />

การดํ าเนินชีวิตนั้น<br />

เมื่อพูดตามภาษาแบบที่นิยมกันในปจจุบัน<br />

ก็<br />

เปนองครวมอยางหนึ่ง<br />

องครวมแหงการดํ าเนินชีวิตนั้น<br />

ก็คืออะไรๆ ทั้ง<br />

/ 136<br />

๑๓


๑๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

หมดที่จะทํ<br />

าใหเราเปนอยู<br />

หรือมีชีวิตอยูได<br />

มีทั้งกาย<br />

ทั้งใจ<br />

ทั้งปญญา<br />

หมดทั้งระบบของมัน<br />

การดํ าเนินชีวิตนี้เปนระบบ<br />

เราพูดวาจะตองดํ าเนินชีวิตใหเปน<br />

หรืออาจจะเปลี่ยนวาใหถูกตองก็ได<br />

เมื่อเปนอยูไมถูกตอง<br />

ดํ าเนินชีวิตไม<br />

ถูกตอง มันก็เกิดปญหาขึ้นมา<br />

ทีนี้เรามองวาชีวิตและระบบแหงการดํ<br />

าเนินชีวิตนั้นเปนองครวม<br />

ชีวิตที่ดํ<br />

าเนินชีวิตไปนั้นจึงมีหลายดาน<br />

ไมวาดานไหนก็ตามถาเปนอยู<br />

หรือดํ าเนินผิดพลาดไป ก็เกิดปญหาและสงผลกระทบกันหมด<br />

ชีวิตโดยตัวของมันเองก็เปนองครวมอยูแลว จึงมีองคประกอบ<br />

มากมาย และมีดานตางๆ แลวชีวิตนี้ยังเขาไปเปนองครวมขององครวม<br />

อื่นที่ใหญขึ้นไปอีก<br />

องครวมอื่นที่วาชีวิตเขาไปเปนสวนหนึ่งนั้น<br />

เอาที่<br />

สํ าคัญก็คือระบบของธรรมชาติ แลวก็มีสังคมที่วาเราตองเขาเปนสมาชิก<br />

ดวย องครวมหนวยยอยๆ ก็เปนองครวมขององครวมใหญๆ ขยายขึ้นไป<br />

เปนอันวา องครวมทุกระดับประกอบดวยองครวม และองครวม<br />

ทุกอยางนั้นจะดํ<br />

าเนินไปดวยดี ก็ตอเมื่อประดาองครวมเปนอยูเปนไป<br />

ดวยดี ถาองครวมอันใดอันหนึ่งติดขัดแปรปรวนไมเปนไปตามปกติ<br />

องค<br />

รวมก็ยอมมีความวิปริตแปรปรวนไปดวย นี้เปนเรื่องธรรมดาในระบบ<br />

ความสัมพันธ เพราะฉะนั้นเราจึงตองมองเรื่องสุขภาวะนี้ในฐานะที่มัน<br />

เปนระบบความสัมพันธของเหตุปจจัยในองครวม<br />

ขอยํ้<br />

าวา ที่เรียกวาองครวมนั้น<br />

ก็คือองครวมแหงระบบความ<br />

สัมพันธของเหตุปจจัยนั้นเอง<br />

คือองครวมหรือองคประกอบทั้งหลายที่<br />

สัมพันธซึ่งกันและกันโดยเปนเหตุปจจัยแกกัน<br />

ตรงนี้มีขอพิจารณาอยางหนึ่งวา<br />

องครวมนั้น<br />

จะตองไมใชเหมารวม<br />

องครวมนี้ถามองไมถูก<br />

จะกลายเปนเหมารวม ถามองแบบเหมารวมก็จะ<br />

พลาด


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

องครวมนี้เตือนเราอยูเสมอวามันประกอบไปดวยองครวม<br />

หมาย<br />

ความวา การที่องครวมจะอยูดีไดนั้น<br />

องครวมทุกอยางที่มาประกอบเปน<br />

องครวมนั้น<br />

จะตองอยูในภาวะที่เปนปกติ<br />

เรียบรอยดวยดี และไมใชแคมี<br />

องคประกอบครบถวนเปนปกติเทานั้น<br />

แตองครวมหรือองคประกอบ<br />

เหลานี้มันมีการเคลื่อนไหว<br />

มีการทํ าหนาที่ของมันเองดวย<br />

ดังนั้นการ<br />

เคลื่อนไหวทํ<br />

าหนาที่ของมันจะตองสัมพันธประสานกลมกลืนกันดีกับ<br />

องครวมอื่นดวย<br />

นี่ก็หมายความวา<br />

การที่องครวมจะอยูดีนั้น<br />

ไมใชแคมีองครวมมา<br />

ประกอบกันเทานั้น<br />

แตหมายถึงวาตองมีระบบความสัมพันธขององครวม<br />

ทั้งหลายที่ดํ<br />

าเนินไปดีดวย ดังนั้น<br />

ในการมององครวมนี้<br />

สิ่งสํ<br />

าคัญก็คือ<br />

ตองชัดไปหมดทั่วตลอดประดาองครวมที่ดํ<br />

ารงอยูและดํ<br />

าเนินไปในความ<br />

สัมพันธกันนั้น<br />

แลวการมององครวม ถาไปสุดโตง ก็จะเปนเหมารวมอยางที่วา<br />

คือจะมองอะไรพราไปหมด คลุมเครือ และจะไปสุดโตง ดังนั้นจึงอยา<br />

เหมาวาองครวมดีไปหมด<br />

ยุคหนึ่งก็มุงแตแยกสวน<br />

อีกยุคหนึ่งก็จะไปองครวม<br />

ในอดีตก็เปน<br />

กันมาแลว<br />

บางยุคที่วาเปนองครวม<br />

แตดูไปก็ไดแคเหมารวม คือมองอะไร<br />

แบบรวมๆ จริง แตเห็นพราๆ ไมมีอะไรชัดสักอยาง ก็ไดประโยชนบาง แต<br />

ไมดีจริงหรอก<br />

ตอมาอีกยุคหนึ่งก็มุ<br />

งแตแยกสวนออกไปๆ ดูแตองครวม แตไมเห็น<br />

ทั้งองครวมและองครวม<br />

ทั้งนี้เพราะวา<br />

องครวมนั้นเมื่อมองในแงแยกสวนก็เห็นแตละ<br />

อยางๆ ไมเห็นความเปนองครวม และเมื่อแยกสวน<br />

หรือแยกแยะเปน<br />

สวนยอยๆ ออกไป ก็เลยไมมองวาสวนยอยๆ นั้นๆ<br />

มาสัมพันธกันอยางไร<br />

/ 136<br />

๑๕


๑๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

มองแตละอยางๆ ขาดจากกัน ก็ไมสามารถมองเห็นองครวมได ดังนั้น<br />

การที่จะแยกแยะดูแตละอยางโดยไมตระหนักวามันเปนองคที่ประกอบ<br />

กันอยู<br />

ถึงจะดูอยางเดียวนั้นชัดแคไหนก็เปนเพียงการไปสุดโตงเทานั้น<br />

เพราะฉะนั้น<br />

มนุษยจึงมีความโนมเอียงที่จะไปสุดโตง<br />

๒ แบบ<br />

ดานหนึ่งก็ไปหาองครวมที่คลุมเครือไมชัดเจน<br />

ไมใชองครวมที่แทจริง<br />

เปนแคเหมารวมอยางที่วาแลว<br />

อีกดานหนึ่งก็ไปทางแยกสวนมองแตละ<br />

อยางขาดลอยจากกัน<br />

ถาเราจะไมไปสุดโตงทั้ง<br />

๒ อยาง ก็ตองไดครบทั้ง<br />

๒ คือตองไดทั้ง<br />

องครวมและองครวม หมายความวา ทั้งแยกสวนก็เกง<br />

วิเคราะหใหเห็น<br />

ชัดเจนในแตละอยาง แลวก็รูดวยวาแตละอยางนั้นมาสัมพันธกันอยางไร<br />

ถามันสัมพันธกันดี ไดสัดสวนสอดคลอง กลมกลืน ประสานเกื้อกูลซึ่งกัน<br />

และกัน แลวมันก็กลายเปนองครวมปกติที่ดํ<br />

าเนินไปดวยดี อันนี้แหละคือ<br />

ทางสายกลางที่มีความสมบูรณในตัวเอง<br />

ดังนั้น<br />

พุทธศาสนาจึงเนนระบบ<br />

ความสัมพันธ มากกวาจะมุ งแคแยกแยะองคประกอบ เพราะวาจากองค<br />

รวมที่สัมพันธกันเปนระบบที่ดี<br />

ก็จะเปนองครวมที่สมบูรณ<br />

ดังนั้น<br />

ถาเราแยกแยะเปน ก็แยกไปเถอะ ยิ่งแยกแยะใหชัดเจนเทาไร<br />

ก็ยิ่งดี<br />

แตขอสํ าคัญคืออยาลืมมองความสัมพันธ ถาองครวมทั้งหลาย<br />

สัมพันธกันดวยดีแลว ก็คือการที่องครวมดํ<br />

าเนินไปดวยดีนั่นเอง<br />

เพราะ<br />

ฉะนั้น<br />

เรื่ององครวมและองครวมนี้จะตองดํ<br />

าเนินไปดวยกัน ตัดแยกออก<br />

จากกันไมได<br />

องครวมของชีวิต ที่มีสุขภาวะ<br />

ทีนี้ก็มาพูดถึงเรื่ององครวมและองครวม<br />

ในแงที่เกี่ยวกับสุขภาวะ<br />

ของคน<br />

อยางที่พูดแลวเมื่อกี้นี้<br />

เราจะดูการดํ าเนินชีวิตทั้งหมดของคน<br />

โดย


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

เริ่มดวยมองที่ชีวิต<br />

ซึ่งจะเปนองครวมที่ไปสัมพันธในองครวมที่ใหญขึ้นไป<br />

ชีวิตก็เปนองครวมของมันเอง องครวมแหงชีวิตนี้<br />

ถาวาตามหลัก<br />

พุทธศาสนา เราแยกงายๆ ขั้นที่หนึ่ง<br />

ก็แยกเปนกายกับใจ หรือรูปธรรม<br />

กับนามธรรม หรือพูดสั้นๆ<br />

วา รูปกับนาม<br />

จากนั้นก็แยกยอยออกไปๆ<br />

รูปธรรมก็แยกยอยออกไปเปนธาตุ<br />

ตางๆ นามธรรมก็แยกยอยออกไปเปนสวนประกอบตางๆ จะแยกอยาง<br />

ไรก็ได เวลาพูดรวมก็บอกวาเปนนามรูป หรือจะแยกตามระบบขันธ ๕ ก็<br />

เปน ๕ อยาง แลวก็จํ าแนกกระจายออกไปๆ จะแยกใหละเอียดพิสดาร<br />

ขนาดไหน ก็แยกกันไป แลวแตความตองการของเรา<br />

ขอใหสังเกตวา คํ าวา “นามรูป” นี้แหละ<br />

คือคํ าที่ตามปกติทานใช<br />

เรียกชีวิตนี้<br />

ซึ่งเปนคํ<br />

าที่บงบอกในตัวทั้งองครวมใหญสองอยางคือดานจิต<br />

ใจและดานรางกาย ที่รวมเปนคํ<br />

าเอกพจน อันแสดงถึงองครวมอันเดียว<br />

อยางไรก็ตาม การแยกแยะชีวิตในแงองคประกอบของมันนั้น<br />

เปน<br />

เพียงการมองดานหนึ่งเทานั้น<br />

คือมองดูชีวิตที่เหมือนกับวาตั้งอยูนิ่งๆ<br />

เพียงเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ<br />

แตอีกดานหนึ่งที่สํ<br />

าคัญก็คือ การมองดู<br />

ชีวิตที่กํ<br />

าลังเคลื่อนไหวดํ<br />

าเนินไปในทามกลางสิ่งแวดลอม<br />

พูดสั้นๆ<br />

วา<br />

มองดูการดํ าเนินชีวิต ซึ่งก็เปนอีกองครวมหนึ่ง<br />

คือองครวมแหงการ<br />

ดํ าเนินชีวิต เปนองครวมแบบเคลื่อนไหว<br />

ยํ้<br />

าอีกวา ไมใชเปนเพียงตัวชีวิตเองเทานั้น<br />

แตคือชีวิตที่เปนอยู<br />

ดํ าเนินไปในสภาพแวดลอม โดยเปนองครวมยอยที่สัมพันธกับองครวม<br />

ยอยอื่นๆ<br />

ภายในและกับองครวมใหญ ตอนนี้ละที่สํ<br />

าคัญ คือ (องครวม<br />

แหง)การดํ าเนินชีวิต<br />

การมองดูชีวิตที่เปนอยู<br />

คือดูการดํ าเนินชีวิตนี้เปนอยางไร<br />

ในที่นี้<br />

จะขอทํ าความเขาใจใหชัดเจนเสียกอนวา เรามองชีวิต ๒ ชั้น<br />

คือ<br />

๑. ชีวิตที่ถือวามีตัวตนเฉพาะของมัน<br />

ที่อยู<br />

ในธรรมชาติ และมันก็<br />

/ 136<br />

๑๗


๑๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ<br />

หรือเปนธรรมชาติอยางหนึ่ง<br />

๒. ชีวิตนั้นที่กํ<br />

าลังดํ าเนินไป ซึ่งมีปฏิสัมพันธอยู<br />

ทามกลางสิ่งแวด<br />

ลอม โดยเปนองครวมอันหนึ่งในองครวมใหญ<br />

เราตองมองชีวิตใหตลอดทั้งสองชั้น<br />

แมวาขอที่หนึ่งจะสํ<br />

าคัญ แต<br />

ขอที่สองเปนจุดเนนในที่นี้<br />

อยางแพทยก็ตองเรียนขอที่หนึ่งกอน<br />

ตอง<br />

เรียนเรื่องรางกาย<br />

เรียนสรีรวิทยา เรียนกายวิภาค แตมันไมจบเทานั้น<br />

ในที่นี้<br />

เราจะมองสุขภาวะในความหมายที่กวางขวางออกไป<br />

ก็<br />

ตองมาดูวา การดํ าเนินชีวิตที่วาเปนองครวมนั้น<br />

ก็เปนระบบอยางหนึ่ง<br />

คือมันไมใชเปนองครวมเฉยๆ แตเปนองครวมแหงระบบความสัมพันธ<br />

และในการที่จะใหมีสุขภาวะนั้นก็คือ<br />

เราจะตองดูแลระบบความสัมพันธ<br />

นี้ใหเปนไปดวยดี<br />

ที่วาเปนระบบความสัมพันธก็คือ<br />

ถาเราแยกชีวิตออกไปเปนดาน<br />

ตางๆ หรือเปนองคประกอบดานตางๆ แลว องคประกอบดานตางๆ เหลานั้น<br />

ก็มีความสัมพันธเปนเหตุเปนปจจัยแกกันดวย ไมใชขาดลอยจากกัน<br />

ทีนี้เราก็มาดูวาชีวิตของเรานั้นเปนอยูอยางไร<br />

หรือพูดอีกสํ านวน<br />

หนึ่งวา<br />

การดํ าเนินชีวิตของเราคืออยางไร<br />

ดานที่หนึ่ง<br />

ดูจากขางนอกกอน ชีวิตของเราสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

และสิ่งแวดลอมก็แยกเปน<br />

๒ อยาง คือ<br />

๑. สิ่งแวดลอมทางกายภาพ<br />

และ<br />

๒. สิ่งแวดลอมทางสังคม<br />

คือเพื่อนมนุษยดวยกัน<br />

ทั้งสองอยางนี้เราตองสัมพันธตลอดเวลา<br />

ทีนี้<br />

ในการสัมพันธนั้น<br />

เราสัมพันธดวยเครื่องมืออะไร<br />

หรือมีอะไร<br />

เปนเครื่องติดตอสื่อสาร<br />

ชีวิตของเรานั้น<br />

มีเครื่องมือหรือชองทางสัมพันธกับโลกหรือสิ่งแวด<br />

ลอม ที่ทางพระเรียกวา<br />

“ทวาร” ซึ่งแปลวาประตู


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ทวาร คือประตูนี้<br />

มี ๒ ชุด ไดแก<br />

ชุดที่<br />

๑ คือทวารหรือประตูที่เปนชองทางแหงการรับรูและการเสพ<br />

เรียกวา ผัสสทวาร แตนิยมเรียกวา อินทรีย มี ๖ อยาง คือ<br />

๑. ตา รับรูและเสพดวยการเห็น<br />

มอง หรือดู เรียกวา จักขุทวาร<br />

เรียกงายๆ วา จักขุ<br />

๒. หู รับรูและเสพดวยการไดยินหรือฟง<br />

เรียกวา โสตทวาร เรียก<br />

งายๆ วา โสตะ<br />

๓. จมูก รับรูและเสพดวยการไดกลิ่นหรือดม<br />

เรียกวา ฆานทวาร<br />

เรียกงายๆ วา ฆานะ<br />

๔. ลิ้น<br />

รับรูและเสพดวยการรูรสหรือลิ้มหรือชิม<br />

เรียกวา ชิวหา<br />

ทวาร เรียกงายๆ วา ชิวหา<br />

๕. กาย รับรูและเสพดวยการแตะตองลูบคลํ<br />

า เรียกวา กายทวาร<br />

เรียกงายๆ วา กาย<br />

๖. ใจ รับรู และเสพอารมณทุกประเภททั้งที่สืบเนื่องจาก<br />

๕ ทวารแรก<br />

และที่เปนสวนเฉพาะของมันเอง<br />

เรียกวา มโนทวาร เรียกงายๆ วา มโน<br />

อนึ่ง<br />

ควรทราบดวยวา โดยสรุป อินทรีย ๖ นั้น<br />

ทํ าหนาที่<br />

๒ อยาง คือ<br />

๑) หนาที่รู<br />

คือรับรู ขอมูลขาวสาร เชน ตาดู รูวาเปนอะไร<br />

วาเปน<br />

ปากกา เปนนาฬิกา เปนดอกไม ใบไมสีเขียว สีเหลือง รูปรางยาวสั้น<br />

ใหญเล็ก หูไดยินเสียงวา ดัง เบา เปนถอยคํ าสื่อสารวาอยางไร<br />

เปนตน<br />

๒) หนาที่รูสึก<br />

หรือรับความรูสึก<br />

พรอมกับรับรูขอมูล<br />

เราก็มีความ<br />

รู สึกดวย บางทีตัวเดนกลับเปนความรูสึก<br />

เชน เห็นแลวรูสึกสบายหรือไม<br />

สบาย ถูกตาไมถูกตา สวยหรือนาเกลียด ถูกหูไมถูกหู เสียงนุมนวล<br />

ไพเราะหรือดังแสบแกวหูรํ าคาญ เปนตน<br />

- หนาที่ดานรู<br />

เรียกงายๆ วา ดานเรียนรู<br />

หรือศึกษา<br />

- หนาที่ดานรูสึก<br />

เรียกงายๆ วา ดานเสพ<br />

/ 136<br />

๑๙


๒๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

พูดสั้นๆ<br />

วา อินทรียทํ าหนาที่<br />

๒ อยาง คือ ศึกษา กับ เสพ<br />

ถาจะพัฒนาชีวิต ก็ตองใชอินทรียเพื่อรู<br />

หรือศึกษาใหมาก<br />

ชุดที่<br />

๒ คือทวารหรือประตูที่เปนชองทางแสดงออกซึ่งพฤติกรรม<br />

ในการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมนั้น<br />

เรียกวา กรรมทวาร แบงออกเปน ๓ คือ<br />

ก) โดยการเคลื่อนไหว<br />

ใชรางกาย ใชมือ ใชเทา ทํ าโนนทํ านี่<br />

เรียก<br />

วา กายทวาร คือประตูกาย<br />

ข) โดยการพูด ใชถอยคํ า เจรจาปราศรัยกับคนอื่น<br />

เรียกวา วจีทวาร<br />

คือประตูวาจา<br />

ค) โดยการคิด เราคิดตอสิ่งแวดลอม<br />

ตอเพื่อนมนุษย<br />

ตอสิ่งทั้ง<br />

หลายวาจะเอาอยางไรๆ แลวก็ตั้งเจตนากอนจะออกไปสูการ<br />

พูดการทํ า เรียกวา มโนทวาร คือประตูใจ<br />

อันนี้คือชองทางในการสัมพันธดวยการกระทํ<br />

าตอสิ่งแวดลอม<br />

ขอใหสังเกตวา ในสองชุดนี้มีขอที่ซํ้<br />

าชื่อกัน<br />

๒ อยาง คือ กาย และ<br />

ใจ แตมีแงความหมายตางกัน<br />

กายในชุดที่<br />

๑ เปนเรื่องของผัสสะ<br />

คือการรับรู<br />

เชนวา เย็น รอน<br />

ออน แข็ง เปนตน แตกายในชุดที่<br />

๒ เปนเรื่องของกรรม<br />

คือการทํ าการ<br />

หรือกิจกรรมตางๆ เชน เคลื่อนไหว<br />

จับโนนจับนี่<br />

ยึด ดึง ผลัก ดัน กาว<br />

เดิน กระโดด เปนตน<br />

ใจในชุดที่<br />

๑ เปนเรื่องของการรับรู<br />

โดยเปนศูนยรวมในการรับรู<br />

ไม<br />

วาจะเปนอารมณที่มาทางตา<br />

ทางหู ทางจมูก ฯลฯ จะไดเห็น ไดยิน ได<br />

กลิ่น<br />

ฯลฯ ก็ตาม ก็เขามาที่มโน<br />

ใหจิตใจรับรูหมด<br />

แลวจากจุดรวมคือมโน คือใจที่รับรูนี้<br />

มันก็เปนจุดเริ่มทางดานการ<br />

กระทํ า คือเปนประตูแรกของการกระทํ าดวย ไดแกคิด จากใจรูแลวใจก็<br />

คิด โดยใจนั้นก็เปนศูนยรวมในการกระทํ<br />

าดวย คือเปนจุดเริ่มที่ขยายไปสู<br />

การพูดและการทํ า


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

อาจจะเขียนเปนแผนภาพใหเขาใจงายขึ้น<br />

ดังนี้<br />

ตา - เห็น<br />

หู - ไดยิน กาย - ทํ า<br />

จมูก - ไดกลิ่น<br />

ใจ: รูอารมณ<br />

คิด<br />

ลิ้น<br />

- รูรส<br />

กาย - รูรอนแข็ง<br />

วาจา - พูด<br />

เปนอันวา มโนคือใจ เปนทั้งศูนยรวมของการรับรู-เสพ<br />

เปนทั้ง<br />

ศูนยรวมของการกระทํ า และเปนจุดบรรจบหรือจุดรับชวงสืบตอจากการ<br />

รับรูสูการกระทํ<br />

า<br />

เรามีประตูหรือชองทางสํ าหรับติดตอสัมพันธกับสิ่งแวดลอมภาย<br />

นอกสองชุด คือ “ผัสสทวาร” ประตูสํ าหรับรับรู<br />

๖ และ “กรรมทวาร” ประตู<br />

สํ าหรับทํ าการ ๓ อยางนี้<br />

ซึ่งที่จริงมันก็คือเครื่องมือที่จะชวยใหชีวิตของ<br />

เราพัฒนาไปดวยดีนั้นเอง<br />

เราจะตองมีความสัมพันธที่ดีโดยประตูทั้งสองชุดนี้<br />

ถาเรามีความ<br />

สัมพันธที่ไมถูกตองเมื่อไร<br />

ก็จะเกิดปญหาตอสุขภาวะ และปกติภาวะทุก<br />

อยาง ขัดขวางตอวิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ คือตออะไรๆ ทุกอยางที่ไดพูดมา<br />

สิ่งแวดลอมนั้น<br />

ทางพระเรียกวาโลก คํ าวา “โลก” ในที่นี้<br />

หมายถึงสิ่ง<br />

แวดลอมทั้งหมด<br />

คือรวมทั้งสัตวโลกคือสังคม<br />

และสังขารโลกคือสิ่งแวด<br />

ลอมทางดานกายภาพทั้งหลาย<br />

คลุมถึงโอกาสโลกคือโลกในอวกาศดวย<br />

พูดงายๆ วา การที่จะมีสุขภาวะไดนั้น<br />

เราจะตองจัดการหรือ<br />

บริหารการติดตอสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทั้งสองสายนี้ใหเปนไปดวยดี<br />

นี้เปนดานหนึ่งแหงการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดีของเรา<br />

เรื่องจึงยังไมจบเทานี้<br />

/ 136<br />

๒๑


๒๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

จะสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางไร<br />

มีตัวกํ ากับอยูในแดนของจิตใจ<br />

ตอจากนี้<br />

ที่ลึกเขาไปคือดานจิตใจ<br />

ซึ่งมีเจตจํ<br />

านงเปนตัวเชื่อมออก<br />

มาสู ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

การที่เราจะดู<br />

จะฟง จะดม จะพูด จะทํ าอะไรอยางไรนั้น<br />

มีอะไร<br />

กํ าหนดหรือชักนํ ากํ ากับอยู เบื้องหลัง<br />

ตัวที่ชักนํ<br />

ากํ าหนดกํ ากับนั้นอยู<br />

ในใจ ก็คือเจตจํ านง หรือเจตนานี่<br />

เอง เปนตัวเริ่มตนตั้งเรื่องและนํ<br />

าไปวาจะเอาอยางไร ถาไมมีเจตจํ านง<br />

ไมมีความตั้งใจมุงหมายแลว<br />

การพูดการกระทํ าก็เลอะเทอะเลื่อนลอย<br />

เหมือนกับใบไมที่รวงหลน<br />

เหมือนกิ่งไมที่ผุแลวก็หักลงมา<br />

หรือเหมือน<br />

ใบไมหรือกิ่งไมที่ถูกลมพัดแกวงไปแกวงมา<br />

ไมมีความหมายอะไร<br />

ดวยเหตุนี้<br />

เจตนาที่เปนองคประกอบในดานจิตใจนี้จึงเปนสิ่ง<br />

สํ าคัญ เปนตัวเชื่อมโยงจิตใจออกมาสูการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทั้งดวย<br />

ผัสสทวารและดวยกรรมทวาร<br />

ดูตอไปอีก เจตนาหรือเจตจํ านงที่วาจะไปทางไหนจะเอาอยางไร<br />

นั้น<br />

ก็มีแรงจูงใจมาเปนตัวชักพาอีกที คือเจตนาจะไปไหนอยางไรก็แลว<br />

แตแรงจูงใจ แลวแรงจูงใจจะเปนอยางไรก็แลวแตคุณสมบัติตัวปรุงแตง<br />

ทั้งหลายที่แวดลอมอยูเบื้องหลังในจิตใจคอยปรุงแตงมันอีก<br />

คุณสมบัติเหลานี้มีมากมาย<br />

(เรียกวาเจตสิก) มีทั้งที่ดีและที่ชั่ว<br />

ที่<br />

เรียกวาบุญวาบาป เรียกวากุศลหรืออกุศล เชน ความโลภ ความโกรธ<br />

ความหลง ความหวง ความริษยา ศรัทธา เมตตา กรุณา สติ ปญญา<br />

เปนตน เปนตัวที่มาปรุงแตงเจตนา<br />

แลวเจตนาก็แสดงตัวออกมาทาง<br />

ทวารทั้งสองชุดนั้นแหละ<br />

มาทํ าใหเราใชทวารนั้นสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

อยางไร จะไดประโยชนหรือเกิดโทษภัย<br />

มองดานหนึ่ง<br />

เราเห็นไดวา การสัมพันธปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมจะ<br />

ดํ าเนินไปได ตองอาศัยเจตนาและแรงจูงใจเปนตนในแดนของจิตใจ เปน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๒๓<br />

ตัวกํ ากับบังคับบัญชา แตเมื่อมองในทางยอนกลับ<br />

ก็เห็นไดชัดเชนกันวา<br />

แดนของจิตใจที่แสดงตัวออกมาทางเจตนานั้น<br />

ก็ไดอาศัยแดนความ<br />

สัมพันธปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมนั่นแหละ<br />

เปนชองทางระบายความ<br />

ปรารถนาหรือเครื่องมือสนองความตองการของมัน<br />

แตรวมแลว นี้ก็คือเราเขามาถึงแดนที่สองของการดํ<br />

าเนินชีวิต<br />

ในแดนที่สองแหงจิตใจนี้<br />

ถาแยกแยะออกไปอีก ก็จะมีภาวะของจิต<br />

หรือสภาพจิตตางๆ มากมาย ที่ภาษาฝรั่งเรียกวา<br />

emotions ซึ่งคนไทยเรา<br />

ไปแปลกันวาอารมณ ก็เลยเกิดความสับสน<br />

ตอนนี้ที่จริงเราจะตองมาแกไขปญหาเรื่องความหมายของศัพท<br />

ดวย เราแปล emotion วาอารมณมาไมรูกี่สิบปแลว<br />

เมื่อประมาณครึ่ง<br />

ศตวรรษที่แลว<br />

ในทางวิชาการมีความพยายามที่จะบัญญัติศัพทใหม<br />

โดยใหใชศัพทบัญญัติสํ าหรับ emotion วา “อาเวค” แตไมติด “อาเวค”<br />

อยูในบัญชีศัพทบัญญัติทางปรัชญาโดยเปนคํ<br />

าแปลของ emotion มาจน<br />

บัดนี้<br />

แตแทบไมมีใครรู<br />

คนก็ใชคํ าวา “อารมณ” กันเรื่อยมาตามเดิม<br />

แมแตเมื่อเราไปไดยินฝรั่งพูดถึงเรื่องพัฒนาการ<br />

คือ development<br />

๔ ดาน (ที่พอดีมาตรงกับพระพุทธศาสนาในดานศัพท<br />

แตความหมายไม<br />

ตรงกันแท ซึ่งนาจะตองพูดกันตอไป)<br />

เราก็ใชคํ าแปลที่ทํ<br />

าใหเกิดความสับ<br />

สนกันมาจนบัดนี้<br />

คือ<br />

1. Physical development พัฒนาการทางกาย<br />

2. Mental development ๑ เราแปลกันมาวา พัฒนาการทางจิตใจ<br />

3. Emotional development เราแปลกันมาวา พัฒนาการทางอารมณ<br />

4. Social development พัฒนาการทางสังคม<br />

การที่เราแปล<br />

emotion วาอารมณนี้<br />

นอกจากทํ าใหเกิดปญหาใน<br />

ตัวมันเองที่ไมชัดเจนชั้นหนึ่งแลว<br />

ยังทํ าใหแปลคํ าวา mental คลาด<br />

๑ ปจจุบันนิยมเปลี่ยนมาใชคํ<br />

าวา Cognitive development (ดูอธิบายขางหนา)


๒๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เคลื่อนไปดวย<br />

(ตอมาเร็วๆ นี้<br />

คนไทยบางคนคงสงสัยวา ฝรั่งนี่ถาจะมอง<br />

พัฒนาการของเด็กไมครบ ก็เลยเติม "พัฒนาการทางปญญา" เขาไป<br />

กลายเปนพัฒนาการ ๕ ดาน ที่ยิ่งคลุมเครือ<br />

เหมือนกับฟองตัวเองวาเรา<br />

ไมรู ที่ไปที่มา<br />

ความเปนไปเปนมา และความหมายที่แทจริง<br />

ของความคิด<br />

ถอยคํ าและเรื่องราวนี้)<br />

ที่ไปที่มาของเรื่องนี้ก็คือ<br />

John Dewey (1859-1952) นักปรัชญา<br />

และนักการศึกษา เจาทฤษฎีที่มีอิทธิพลมากที่สุดตอขบวนการ<br />

progressive education ในอเมริกา ซึ่งที่จริงเปนเรื่องที่สืบกันมานาน<br />

แลวกอน John Dewey (ในยุโรปตั้งแตคริสตศตวรษที่<br />

17)<br />

ทาน John Dewey เปนผูนํ<br />

าสํ าคัญที่ไดพัฒนา<br />

และทํ าใหแนวคิด<br />

เรื่องนี้แพรหลายไปเปนอยางยิ่ง<br />

และมาโดงดังมากในเมืองไทยชวงทศ<br />

วรรษตอจาก พ.ศ.๒๕๐๐ ตอนนั้นในวงวิชาการการศึกษาในเมืองไทยเรา<br />

มักเรียกทานวา จอหน ดุย<br />

อิทธิพลของ progressive education นี้<br />

เดนขึ้นมากับคติทางการ<br />

ศึกษาที่จํ<br />

ากันแมนดวยความนิยมชมชื่น<br />

เชน child-centered education;<br />

learning by doing; total development of the individual หรือ<br />

education of the "whole child" แลวตรงนี้แหละก็มาถึงแนวคิดเรื่อง<br />

พัฒนาการ ๔ ดานนี้<br />

ขอแทรกนิดหนึ่งวา<br />

ในเมืองไทยเราชวงทศวรรษนี้<br />

child-centered<br />

education ไดกลับเฟองฟูขึ้นมาอีก<br />

และมีการเนนยํ้<br />

ากันเปนการใหญ<br />

แตดูๆ ฟงๆ ไปไมแนใจวาเปน child-centered education ที่ถูกตองตาม<br />

ความหมายของเจาของแหลงความคิดนั้นหรือเปลา<br />

บางทีเหมือนกับวา<br />

พูดฮือกันไปแบบสมัยนิยมหรือแฟชั่น<br />

อยาวาแตเมืองไทยตอนนี้<br />

ที่หางตนแหลงมาไกลทั้งดานกาลเวลา


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๒๕<br />

และระยะทางเลย แมแตในอเมริกาเองในยุคของ John Dewey นั่น<br />

แหละ เจาตัว John Dewey ยังตองหวงกังวลและวุนวายกับปญหาที่<br />

พวกลูกศิษยหรือผูเลื่อมใสไฟแรงนํ<br />

าเอาแนวคิดของเขาไปใช แตมีความ<br />

เขาใจไมชัดเจนเพียงพอ แลวทํ าใหเกิดภาวะเลยเถิดและความบกพรอง<br />

ขึ้นใน<br />

progressive education เขาถึงกับเขียนไวในหนังสือ Experience<br />

and Education (1938) วากลาวอยางแรงตอพวกนักการศึกษาที่มุงแต<br />

จะลอเราความสนใจของเด็กหรือทํ าใหเด็กสนุกสนานบันเทิง แลวก็เอา<br />

แตกิจกรรมโดยไมใสใจเนื้อหาบทเรียน<br />

กวางออกไปในระดับสังคมประเทศชาติ เมื่อ<br />

ค.ศ.1954 ทั้งสหรัฐ<br />

และสหภาพโซเวียตตางก็ตกลงวาจะเตรียมสรางดาวเทียมสํ าหรับปลอย<br />

ขึ้นไปในปภูมิกายภาพนานาชาติ<br />

(IGY, 1957-58)<br />

พอถึงป ค.ศ.1957 (๔ ต.ค. ๒๕๐๐) โซเวียตก็ปลอยดาวเทียมดวง<br />

แรกของโลก คือสปุตนิก<br />

๑ (Sputnik 1 หนัก 83.6 ก.ก.) ขึ้นไปสํ<br />

าเร็จ นํ า<br />

โลกเขาสูยุคอวกาศ<br />

หรือ space age แลวถัดมาอีกไมเต็มเดือน คือ ๓<br />

พ.ย. ๒๕๐๐ ก็ปลอย Sputnik 2 (หนัก 508 ก.ก.) ที่มีสุนัขชื่อไลกา<br />

(Laika) ขึ้นไปดวย<br />

ทางฝายอเมริกา หลังโซเวียตปลอย Sputnik 1 ขึ้นไปแลวได<br />

๒ เดือน<br />

๒ วัน (๖ ธ.ค. ๒๕๐๐) จึงไดทํ าการปลอยยานทดสอบ Vanguard มีดาว<br />

เทียมดวงจิ๋วเสนผานศูนยกลางเพียง<br />

15 ซม. หนักแค 1.36 ก.ก. แตจรวด<br />

ขึ้นไปได<br />

3 ฟุต ก็โงนเงน ลมลงมาระเบิดเสีย เปนอันไมสํ าเร็จ<br />

พอโซเวียตปลอยสปุตนิก<br />

๑ ขึ้นไปสํ<br />

าเร็จ อเมริกาที่กํ<br />

าลังชื่นชมใน<br />

child-centered education ก็ตีกลับ พลิกตรงขาม คนอเมริกันพากัน<br />

เสียใจ ทอใจ หดหูใจ<br />

คับแคนใจมาก ก็เลยหันมาโทษการศึกษาของตัว<br />

เองวา child-centered education นี้แหละเปนตัวรายที่ทํ<br />

าใหการศึกษา<br />

ของตนตกตํ่<br />

า ทํ าใหเด็กออนแอ ขาดวินัย ไมมีความเขมแข็ง วิชาการ


๒๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ออน แพโซเวียต โดยทํ าใหเกิดความออนแอทั้งทางวิชาการ<br />

และออนแอ<br />

ดานบุคลิกภาพ เขาวาอยางนั้น<br />

นี่เปนบทเรียนเกาของอเมริกา<br />

เราก็อยา<br />

ลืมชายตามองไวดวย<br />

เปนอันวา child-centered education ที่เรากํ<br />

าลังชื่นชมกันมากนี้<br />

เคยโดนติเตียนดาวามาหนักแลวในอเมริกา เมื่อเบื่อหนาย<br />

childcentered<br />

education แลว ก็หันกลับไปหา teacher- and subjectcentered<br />

education กันใหม เพราะฉะนั้น<br />

หลังป 1957 อเมริกาจึงหวน<br />

กลับไปหาการศึกษาที่เนนเนื้อหาและวินัยอีกครั้ง<br />

จนกระทั่งประมาณป<br />

1988 จึงไดหันกลับมาเอา child-centered education อีกที<br />

นี่ก็หมายความวา<br />

ลูกตุ มอเมริกันมันแกวงไปแกวงมา แกวงไปซายที<br />

แกวงมาขวาที ไทยเราไมนาจะลืมตัวมัวหลงใหลแกวงไปตามอเมริกันมาก<br />

นัก ตองดูใหดีวาอเมริกันเปนอยางไร หาความรู และทํ าความเขาใจกันใหชัด<br />

เจนวา child-centered education กับ teacher-centered education หรือ<br />

subject-centered education นั้นมันอยางไรกันแน<br />

และแคไหนมันจึงจะดี<br />

ไมใชวา พอเขา subject-centered เราก็ subject-centered บาง<br />

เดี๋ยวเขา<br />

child-centered มา เราก็พลอย child-centered ดวย ไมควร<br />

จะแคไหลไปตามกระแส แตควรจับหลักใหดี<br />

นี่ก็นอกเรื่องไปแลว<br />

แตที่จริงก็ไมถึงกับนอกเรื่อง<br />

ควรจะเรียกวาได<br />

ใชเวลาออกไปพูดเรื่องประกอบ<br />

เพราะเรื่องที่วามานั้น<br />

ถามองใหดี จะ<br />

เห็นวาก็เกี่ยวของกับสุขภาวะดวย<br />

เมื่อรูไมชัด<br />

ก็คิดไมชัด เมื่อคิดไมชัด<br />

ปฏิบัติการก็วิบัติ<br />

ขอยอนกลับมาที่เรื่องของสุขภาวะ<br />

เมื่<br />

อกี้พูดถึงเรื่อง<br />

development หรือพัฒนาการ ๔ ดาน ในแงของถอยคํ าวา เราเฉไปกับ<br />

คํ าแปลของ emotional แลวพลอยแปลคํ าวา mental พลาดไปดวย


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๒๗<br />

ที่วานี้หมายความวา<br />

การแปล emotion วา "อารมณ" เปนจุดที่ทํ<br />

า<br />

ใหเขว เพราะ "อารมณ" เปนคํ าจากภาษาบาลีคํ าหนึ่งที่เมื่อนํ<br />

ามาใชใน<br />

ภาษาไทยไดมีความหมายเพี้ยนไป<br />

ในภาษาไทยเรามีคํ ามากมายที่เพี้ยนความหมาย<br />

อยางเดี๋ยวนี้คํ<br />

าที่<br />

กํ าลังนิยมใชในความหมายที่เพี้ยนจากเดิม<br />

ก็เชนคํ าวา "สังคายนา" ที่เรา<br />

ใชในความหมายวาชํ าระสะสาง ซึ่งไมใชความหมายเดิมในภาษาบาลี<br />

"อารมณ" ก็เปนคํ าหนึ่งที่มีความหมายเพี้ยนไป<br />

ทานที่เรียนทาง<br />

ธรรมมายอมรู วา ตามความหมายเดิมในภาษาบาลีนั้น<br />

"อารมณ" คือสิ่ง<br />

ที่จิตยึด-จับ-รับรู<br />

คลายกับคํ าวา "ประสบการณ" คือ experience นั่นเอง<br />

แต experience มีความหมายกวางใหญไมกระชับ วงการศึกษาธรรมจึง<br />

แปลกันใหตรงลงไปวา "อารมณ" คือ sense-object<br />

ยกตัวอยาง เชน รูป ภาพ สิ่งที่เราเห็น<br />

ก็เปนอารมณ คืออารมณ<br />

ทางตา เสียง ก็เปนอารมณ คืออารมณทางหู กลิ่น<br />

ก็เปนอารมณ คือ<br />

อารมณทางจมูก รสตางๆ ก็เปนอารมณ คืออารมณทางลิ้น<br />

สิ่งที่เราสัมผัส<br />

เย็นรอน ออนแข็ง ก็เปนอารมณ คืออารมณทางกาย สิ่งที่ใจรูใจรูสึกใจนึก<br />

ใจคิด ก็เปนอารมณ คืออารมณทางใจ<br />

คงจะเปนเพราะวา พอพูดถึงคํ าวาอารมณ เรามักไปติดอยูแค<br />

อารมณทางใจ คือ สิ่งที่ใจรูใจรูสึกใจนึกใจคิด<br />

และแมแตอารมณทางใจ<br />

นั้นก็มักเอาเฉพาะดานความรูสึก<br />

ไปๆ มาๆ คํ าวา "อารมณ" ก็ถูกเขาใจ<br />

และถูกใชในความหมายที่แคบลงไปๆ<br />

แลวในที่สุดก็เพี้ยนไป<br />

จนอารมณ<br />

มาตรงกับ emotion<br />

ทีนี้พอฝรั่งพูดถึง<br />

emotional development เราก็เลยแปลวา<br />

พัฒนาการทางอารมณ ซึ่งก็เขาใจกันไดตามความหมายแบบไทยๆ<br />

ที่วา<br />

มานั้น<br />

แตพอเจอ mental development อีกตัว ก็เลยเกิดเรื่อง<br />

mental นั้นเปนคํ<br />

างายๆ เรารูกันดี<br />

เคยแปลกันวา "ทางจิตใจ" เราก็


๒๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เลยแปล mental development วา พัฒนาการทางจิตใจ<br />

เราไมนึกสงสัยบางหรือวา "อารมณ" ตามความหมายแบบไทยเรา<br />

นั้นก็เปนเรื่องทางจิตใจ<br />

เมื่อแปลอยางนั้น<br />

สองขอจะไมซํ้<br />

ากันหรือ<br />

เราไมนึกสงสัยบางหรือวา เมื่อเราแปลอยางนั้น<br />

ในพัฒนาการ ๔<br />

ดานก็ไมมีเรื่องปญญาเลย<br />

แลวฝรั่งเจาตํ<br />

ารับบอกวานี่เปนการพัฒนา<br />

the whole child แสดงวาฝรั่ง<br />

เชน Dewey นั้น<br />

แยมาก ไมนึกถึงวาเด็ก<br />

จะตองมีพัฒนาการทางปญญา นี่เปนไปไดหรือ<br />

นี่แหละ<br />

คนไทยบางทานคงนึกวาชุดเดิมที่วา(ตามฝรั่ง)กันมา<br />

ขาด<br />

ขอปญญา ในระยะนี้ก็เลยไดยินออกวิทยุและไดเห็นในหนังสือพิมพ<br />

บาง<br />

ทีเติมเขาไปเปนพัฒนาการ ๕ ดาน คือ พัฒนาการทางกาย พัฒนาการ<br />

ทางจิตใจ พัฒนาการทางอารมณ พัฒนาการทางสติปญญา และ<br />

พัฒนาการทางสังคม โดยเอา ๔ ขอเกาไวอยางเดิม แตมีพัฒนาการทาง<br />

ปญญาเพิ่มขึ้นมาอีก<br />

๑ ขอ แปลวาฝรั่งตกไป<br />

ฝรั่งบกพรอง<br />

รูไมครบ<br />

บอก<br />

ไดแค ๔ แตที่จริงฝรั่งเขาก็ครบพอสมควรในระดับหนึ่ง<br />

ที่จริง<br />

เรานาจะไดสังเกตดวยวา ชุดพัฒนาการ/development ๔<br />

ดานของฝรั่งนั้น<br />

บางครั้ง<br />

แทนที่จะมี<br />

mental development เขาเปลี่ยน<br />

เปน intellectual development คือ ถามี intellectual development ก็ไม<br />

มี mental development ถามี mental development ก็ไมมี intellectual<br />

development (ใช mental กับ intellectual เปน alternative terms)<br />

พรอมกันนั้น<br />

เราก็คงสังเกตเห็นวา คํ าวา mind และ mental ของ<br />

ฝรั่งนั้น<br />

มีความหมายกวางแบบคลุมๆ ไมชัดเจน ถามาคํ าเดียว อาจ<br />

หมายถึงความคิด เปนเรื่องทางสติปญญาหรือสมองก็ได<br />

และอาจจะ<br />

คลุมไปถึงเรื่องทางจิตใจ<br />

รวมถึงความรูสึกดวยก็ได<br />

ดวยเหตุนี้<br />

เราจึงเห็นฝรั่งใชคํ<br />

าคูบอยๆ<br />

เพื่อชวยแยกความหมายให<br />

ชัดขึ้น<br />

เชนพูดหรือเขียนวา mind and heart บาง head and heart บาง<br />

thoughts and emotions บาง mind and emotion บาง ซึ่งจะเห็นวาใน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

กรณีที่ใชคํ<br />

าคูเพื่อแยกใหชัดอยางนี้<br />

เขาให mind หมายถึงดานความคิด<br />

เหตุผล ดานสมอง หรือสติปญญา ไมใชดานความรูสึกหรือภาวะจิตใจ<br />

โดยเฉพาะคูสุดทาย<br />

คือ mind and emotion (ซึ่งในรูปคุณศัพทก็<br />

คือ mental and emotional) ฝรั่งก็ใชบอย<br />

เพราะเกรงวาถาใช mind คํ า<br />

เดียว คนจะมองแคดานความคิดเหตุผล ก็จึงใส emotion ควบไวดวย<br />

เปนการบอกยํ้<br />

าวาครบหมดทั้งดานความคิดและความรูสึกนะ<br />

นี่ก็เลยเปนการบอกไปดวยวา<br />

mind กับ emotion เปนคนละดาน<br />

โดยแยกความหมายใหเห็นความแตกตางกันเสร็จไปดวย<br />

อนึ่ง<br />

ที่วา<br />

mind และ mental เมื่อมาเดี่ยวๆ<br />

อาจจะใชในความ<br />

หมายกวางๆ คลุมๆ ทั้งดานความคิด<br />

และความรูสึก เชนในคํ าวา<br />

mental health และ mental illness เปนตนนั้น<br />

เมื่อมองดูใหชัดอีก<br />

หนอยจะพบวา ตามปกติ ถึงจะมาเดี่ยวๆ<br />

นั่นแหละ<br />

mind และ mental<br />

ก็มีความหมายเอียงมาในขางความคิดหรือสติปญญาอยูแลว<br />

อยางในศัพทวิชาการคุนๆ<br />

บางคํ าที่ใชกัน<br />

ก็บอกชัดอยู แลว เชน<br />

mental age ก็รู กันในการแปลวา คือ อายุสมอง (เราไมแปลวา อายุจิตใจ)<br />

หรือคํ าพื้นๆ<br />

วา mental ability ก็คือ intellectual capacity หรือ<br />

brainpower และ mental retardation ก็คือสมองทึบ (low IQ)<br />

เปนอันเอาแคงายๆ วา mind นี้<br />

ถามาคู กับ emotion หรือถา mental<br />

มาคู กับ emotional แลว mind หรือ mental ก็ตองเปนดานสติปญญา<br />

ความคิด ดานสมอง และ emotion หรือ emotional ก็เปนดานความรูสึก<br />

เปนเรื่องของจิตใจ<br />

คือเปนสภาพจิต หรือภาวะจิต อยางที่ฝรั่งพูดวา<br />

state of mind เชน ความโกรธ ความโลภ ความหลง ความดีใจ เสียใจ<br />

ถึงตอนนี้<br />

ในเรื่อง<br />

development/พัฒนาการ ๔ ดานนั้น<br />

ก็ควรจะ<br />

แปลกันใหแนชัดลงไปเสียทีวา emotional development ก็คือ<br />

“พัฒนาการทางจิตใจ” หรือจะแปลอยางเดิมแบบไทยๆ วาพัฒนาการ<br />

/ 136<br />

๒๙


๓๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ทางอารมณ ก็ใหรู กันไปเลยวามีความหมายตรงกับพัฒนาการทางจิตใจ<br />

นั่นแหละ<br />

(จะเอาพัฒนาการทางอารมณ หรือจะเอาพัฒนาการทางจิตใจ<br />

ก็เลือกเอาอยางเดียวใหแนชัดและเสร็จไป ไมตองไปซํ้<br />

าซอนสับสน)<br />

สวน mental development ก็คือ intellectual development ซึ่ง<br />

ตองแปลวา “พัฒนาการทางปญญา” แนชัดอยูแลว<br />

พึงทราบวา ในระยะหลังนี้<br />

ในทางวิชาการ โดยเฉพาะจิตวิทยาการ<br />

ศึกษา มีการหันไปใชคํ าวา “cognitive development” (เทาที่คนไดขณะนี้<br />

พบใชเกาสุดคือป 1972 แตถาวาตาม Oxford English Dictionary ชุด<br />

ใหญ มีตัวอยางที่ใชครั้งแรกป<br />

1974) แทน mental development ที่เปน<br />

คํ าเกาซึ่งใชกันมาแสนนาน<br />

(วาตาม Oxford English Dictionary ก็ใชกัน<br />

มากวาศตวรรษ ตั้งแตราว<br />

ค.ศ. 1854 หรือ 1858)<br />

สวน development ดานอื่นๆ<br />

ยังคงใชคํ าศัพทเดิม แตมักเอา<br />

พัฒนาการทางจิตใจ (หรือจะเรียกวาพัฒนาการทางอารมณ ก็แลวแต)<br />

กับพัฒนาการทางสังคม รวมเขาเปนขอเดียวกัน เปน emotional and<br />

social development และมีเรื่องปลีกยอยอื่นอีก<br />

ซึ่งจะไมพูดในที่นี้ใหฟ<br />

นเฝอ<br />

ไดใชเวลาไปมากมายกับคํ าแปลของสองขอในเรื่องพัฒนาการ<br />

๔<br />

ดาน บางทานอาจจะนึกวาไมนาจะเสียเวลากับเรื่องนี้มากเกินควร<br />

แตที่<br />

จริงเปนเรื่องที่ควรตองยอมเสียเวลา<br />

เพราะเอาอยางงายที่สุด<br />

สังคมไทย<br />

ในระดับของคนที่มีอิทธิพลทางปญญา<br />

ไดพูดไดใชถอยคํ าและแนวคิดนี้<br />

กันมาประมาณ ๔๐ ปแลว ซึ่งก็หมายความวาความสับสนพรามัวใน<br />

เรื่องนี้ไดมีมาเกือบครึ่งศตวรรษแลว<br />

เวลาที่เราใชที่นี่แคนี้ตองนับวาคุม<br />

มองลึกลงไปในทางเหตุผล เราตองถือวาเรื่องอยางนี้สํ<br />

าคัญมาก<br />

เพราะถอยคํ าเปนเครื่องสื่อความหมาย<br />

บอกไปถึงขอมูล และสื่อความ<br />

คิดความเขาใจของผูพูด ถาถอยคํ าสื่อความหมายไมชัด<br />

คนฟงก็ได<br />

ความรู ที่ไมชัด<br />

ยิ่งคนพูดเองก็ใชถอยคํ<br />

าโดยไมเขาใจชัดดวย คนฟงก็ยิ่ง


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

สับสนหรือเขาใจผิดไปเลย<br />

อยางนอย เมื่อรูไมชัด<br />

ก็คิดไมชัด เมื่อคิดไมชัด<br />

ปฏิบัติการก็ผิด<br />

พลาด ไมสํ าเร็จ หรือไมไดผลดี ถาเปนกรณีวิกฤต อยางการศึกสงคราม<br />

ก็อาจถึงกับเสียบานเสียเมืองพินาศวอดวาย<br />

ในเรื่องที่สํ<br />

าคัญตอชีวิตและสังคมอยางการศึกษาหรือการพัฒนา<br />

มนุษยนี้<br />

จะตองพูดดวยความตระหนักในความรับผิดชอบ โดยทํ าใหมั่นใจ<br />

แกตนเองวา ที่จะพูดนั้น<br />

ตนรู เขาใจชัดเจนแลว ไมใชพูดไปเพียงดวยเห็น<br />

วาเปนถอยคํ าที่ฟงดูโกหรูดี<br />

โดยเฉพาะในที่นี้<br />

เรื่อง<br />

development/พัฒนาการ ๔ ดานนั้น<br />

มีแง<br />

ที่ควรใสใจสํ<br />

าคัญ ๓ อยาง คือ<br />

๑) เปนแนวคิดในการพัฒนาคนซึ่งเขาลักษณะที่เรียกวาเปนแบบ<br />

องครวม ดังคํ าพูดในสายความคิดของเขาวา “… to educate the<br />

‘whole child’” หรือ “total development of the individual” และไดถือ<br />

เปนหลักในการจัดการศึกษาสมัยใหมแบบตะวันตก ที่ไทยเราดํ<br />

าเนิน<br />

ตามมากวาครึ่งศตวรรษ<br />

ไมวาจะอยางไร อยางนอยก็ตองรูเทาทันไว<br />

๒) จะมองวาเปนการบังเอิญหรืออยางไรก็ตาม แนวคิดนี้<br />

อยาง<br />

นอยโครงรางโดยรวม มาสอดคลองหรือเกือบตรงกันกับหลักการพัฒนา<br />

มนุษยของพระพุทธศาสนา ที่เรียกวา<br />

“ภาวนา ๔” แมวาจะมีสาระเชิงลึก<br />

และรายละเอียดตางกันไมนอย แตก็เปนจุดบรรจบและเปนโอกาสดีที่จะ<br />

ไดความรู เทาทันมากยิ่งขึ้น<br />

ดวยการเปรียบเทียบ เปนตน<br />

๓) การพัฒนาคน เฉพาะอยางยิ่งแบบองครวม<br />

เปนเรื่องที่เกี่ยว<br />

กับสุขภาวะโดยตรง เปนจุดบรรจบของการศึกษากับเรื่องสุขภาวะ<br />

อนึ่ง<br />

การพูดถึงสุขภาวะในความหมายที่มองกันใหมนี้<br />

อาจจะเปน<br />

สวนที่ชวยเสริมแกวงวิชาการทางการศึกษา<br />

ใหมองความหมายของการ<br />

พัฒนาคนใหชัดเจนและตรงจุดยิ่งขึ้นดวย<br />

/ 136<br />

๓๑


๓๒<br />

จะมีสุขภาวะได ตองบริหารใจใหมีภาวะจิตที่เปนดานบวก<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ทีนี้ก็หันมาพูดในเรื่องหลักการกันอีก<br />

ไดบอกแลววา เรามีความ<br />

สัมพันธกับสิ่งแวดลอมโดยผานทางทวารหรือประตู<br />

๒ ชุด แลวลึกเขาไป<br />

เราก็มีจิตใจซึ่งมีตัวเชื่อมออกมาบัญชาการความสัมพันธนั้น<br />

คือเจตนา<br />

หรือเจตจํ านง แลวเบื้องหลังเจตนา<br />

ก็มีแรงจูงใจ พรอมดวยองคประกอบ<br />

ตางๆ ที่เปนสภาพจิต<br />

ทั้งฝายดี<br />

และฝายราย ที่คอยปรุงแตงแรงจูงใจนั้น<br />

นี้แหละคือที่ไดวามา<br />

แลวองคประกอบหรือสภาพเหลานี้<br />

เมื่อแยกประเภทออกไป<br />

เราก็<br />

จะเห็นวา เมื่อเราตองการพัฒนามนุษย<br />

เราก็ตองไดสิ่งที่ดีงามเกื้อกูล<br />

เรา<br />

จึงควรเอาแตพวกดี ที่เปนคุณ<br />

เปนกุศล สวนพวกเสียพวกราย คือพวก<br />

บาป พวกโทษ พวกอกุศล เราไมควรเอา<br />

องคประกอบหรือสภาพจิตพวกที่ดีงามเกื้อกูล<br />

ก็มีมากมาย<br />

เริ่มดวยองคประกอบหรือสภาพจิตที่เราเรียกวาคุณธรรม<br />

หรือ<br />

ความดี เชน เมตตา ไมตรีจิต กรุณา ความสงสารเห็นใจ ความเอื้อเฟอ<br />

เผื่อแผ<br />

ความรู สึกรวมใจหรืออุดหนุนสงเสริม ความสุภาพออนโยน ความ<br />

กตัญู ความมีศรัทธา เปนตน อันเปนดานดี เปนคุณภาพของจิตใจ<br />

หรือเรียกสั้นๆ<br />

วา คุณภาพจิต<br />

แลวอีกดานหนึ่งของจิตใจก็มี<br />

ความเพียรพยายาม ความขยัน<br />

ความเขมแข็ง ความอดทน ความใฝรูใฝทํ<br />

า ความรับผิดชอบ ความมีสติ<br />

ความรู จักยับยั้งชั่งใจ<br />

ความจริงใจจริงจัง ความมั่นใจ<br />

ความแนวแนมั่นคง<br />

มีสมาธิ เปนตน ซึ่งก็เปนคุณสมบัติสํ<br />

าคัญ เรียกวาสมรรถภาพของจิตใจ<br />

หรือเรียกสั้นๆ<br />

วา สมรรถภาพจิต<br />

ในที่สุด<br />

อีกดานหนึ่งที่สํ<br />

าคัญก็คือ เรื่องของความสุขความทุกข<br />

ทางดานทุกข ก็เชน ความขุนมัว<br />

ความโศกเศรา ความหมนหมอง ความ<br />

คับแคน ความเหงา ความวาเหว เปนตน เปนสิ่งไมเกื้อกูล<br />

เราไมตองการ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

เราเอาแตสภาพจิตหรือภาวะจิตที่ดี<br />

เชน ความอุนใจ<br />

ความอิ่มใจ<br />

ความ<br />

ปลื้มใจ<br />

ความซาบซึ้ง<br />

ความราเริงสดใส ความสงบเย็น ความผอนคลาย<br />

ความชื่นใจ<br />

ความโปรงโลง ความเบิกบานใจ เปนตน ที่รวมอยูในคํ<br />

าวา<br />

ความสุข แลวเราก็จัดเปนพวกหนึ่งที่เรียกตรงๆ<br />

วาเปนสุขภาพของจิตใจ<br />

(สุขภาพที่แปลตรงๆ<br />

วา ความเปนสุข) หรือเรียกสั้นๆ<br />

วา สุขภาพจิต<br />

เอาเปนวา ทางดานจิตใจก็มีองคประกอบตางๆ ซึ่งเปนสภาพจิตหรือ<br />

ภาวะจิตมากมาย ครอบคลุมสิ่งที่ฝรั่งเรียกวา<br />

emotions (ในที่นี้เราเอา<br />

เฉพาะที่เปน<br />

positive) ทั้งที่เปนดานคุณภาพ<br />

ดานสมรรถภาพ และดาน<br />

สุขภาพของมัน เมื่อแยกประเภทออกไปอยางนี้<br />

เราก็จับจุดที่จะเสริมสราง<br />

และที่จะตรวจสอบสุขภาวะไดงายขึ้น<br />

เห็นไดงายวา สภาพจิตหรือภาวะจิตสามดานที่พูดมานี้<br />

สํ าคัญอยาง<br />

ยิ่งตอชีวิตที่ดี<br />

ที่นาอยู<br />

ที่จะเรียกไดเต็มปากวามีความสุข<br />

เมื่อบอกวา<br />

การที่<br />

จะมีสุขภาวะจริง จะมีเพียงสุขภาพกายดีเทานั้นไมพอ<br />

ตองมีจิตใจอยางนี้<br />

ดวย เงื่อนไขนี้<br />

คนทั้งหลายคงยอมรับกันไดทั่ว<br />

จึงจํ าเปนตองพัฒนาคนทางดานจิตใจ ใหมีสภาพจิตทั้งสามดานที่<br />

กลาวมานี้<br />

แลวหลายคนก็อาจจะคิดวา เหนือขึ้นมาจากการมีสุขภาพของราง<br />

กายดี เมื่อคุณสมบัติทางจิตใจดานตางๆ<br />

จนถึงความสุขในใจพรั่งพรอม<br />

อยางนี้แลว<br />

สุขภาพจิตก็ดีแลว ก็นาจะนับวาถึงจุดหมายของการมีสุขภาวะ<br />

แตเรื่องไมจบในตัวมันเองเทานั้น<br />

การเกี่ยวของปฏิบัติตอสิ่งแวดลอม<br />

ก็ดี ภาวะความเปนไปของจิตใจ ก็ดี อยู ในระบบความสัมพันธของการ<br />

ดํ าเนินชีวิต ซึ่งมีองคประกอบที่อาศัยและเปนปจจัยสงผลตอกัน<br />

นอกจากการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

และภาวะจิต ซึ่งจะอิงอาศัย<br />

เปนปจจัยแกกันดํ าเนินไปแลว ยังมีองคประกอบของการดํ าเนินชีวิตอีก<br />

แดนหนึ่งรวมเปนปจจัยดํ<br />

าเนินไปดวย โดยเฉพาะการพัฒนาคนทางดาน<br />

/ 136<br />

๓๓


๓๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

จิตใจที่เราเห็นวาจํ<br />

าเปนนั้น<br />

จะไมมีทางสํ าเร็จไดถาขาดองคประกอบของ<br />

การดํ าเนินชีวิตในแดนนี้<br />

องครวมจะมีได ตองบูรณาการแดนที่สามเขาไป<br />

ใหคนเปนอิสระขึ้นมา<br />

อีกแดนหนึ่งแหงการดํ<br />

าเนินชีวิตของเรา ที่ขาดไมไดนั้น<br />

ก็คือ<br />

ความรู<br />

และจากความรู<br />

ก็โยงไปหาความคิดความเขาใจตางๆ ซึ่งมนุษย<br />

จํ าเปนตองมี<br />

ในการที่เราจะเกี่ยวของสัมพันธปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมในขอที่หนึ่ง<br />

คือจะใชทวารหรือประตู ไมวาจะชุด ๓ หรือชุด ๖ ก็ตาม ไปสัมพันธกับ<br />

สิ่งแวดลอมทางกายภาพก็ตาม<br />

ทางสังคมก็ตาม โดยที่เจตนาของเราจะ<br />

คิดตั้งใจวาจะเอาอยางไรหรือจะไปทํ<br />

าอะไรอยางไรนั้น<br />

เราก็คิดตั้งใจไป<br />

ไดเทาที่เรารู<br />

หรือในขอบเขตแหงความรูของเรา<br />

รู แคไหน ก็คิดตั้งใจหรือ<br />

มีเจตจํ านงไปไดแคนั้น<br />

เปนอันวา เราปฏิบัติตอสิ่งแวดลอม<br />

หรือเขาไป<br />

สัมพันธกับมันไดภายในขอบเขตความรูของเรา<br />

ทีนี้<br />

ถาเราขยายขอบเขตแหงความรูของเราออกไป<br />

เราก็สามารถ<br />

เกี่ยวของสัมพันธปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมไดในขอบเขตที่กวางขวางและได<br />

ผลยิ่งขึ้น<br />

ความรูที่พัฒนาไปก็คือปญญา<br />

หรือพูดรวมอยูในคํ<br />

าวาปญญา<br />

นั้นเอง<br />

ปญญา นี้<br />

จัดแยกไปไดมากมายหลายดานหลายระดับหลาย<br />

ขอบเขต ตั้งแตความรูเขาใจตอขอมูล<br />

แลวมาเปนความรูที่ปรุงแตงความ<br />

คิด ใหเกิดความเขาใจที่ขยายเพิ่มขึ้นไปอีก<br />

เปนการมองเห็นทางที่จะทํ<br />

า<br />

การ จัดการ ดํ าเนินการ หรือที่จะแกปญหาตางๆ<br />

เขาใจเหตุผล หยั่งเห็น<br />

เหตุปจจัย เห็นชํ าแรกแยกแยะรายละเอียดออกไป รูเห็นตามที่มันเปน<br />

จนกระทั่งเปนความสวางโพลงเห็นรวมทั่วตลอดทีเดียวหมดทั้งมวล<br />

ปญญาซึ่งทํ<br />

าหนาที่ในขั้นระดับขอบเขตหรือแงดานตางๆ<br />

ก็มีชื่อ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

เรียกเปนคํ าเฉพาะหรือชื่อยอยแยกออกไป<br />

จึงมีคํ าศัพทที่ใชเรียกปญญา<br />

มากมาย<br />

ปญญาเปนองคประกอบหรือคุณสมบัติสํ าคัญ ที่จะทํ<br />

าใหการ<br />

ดํ าเนินชีวิตสองแดนแรกที่พูดมาแลว<br />

คือการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

และ<br />

ภาวะที่เปนไปตางๆ<br />

ของจิตใจดํ าเนินไปได โดยปญญานั้นใหแสงสวาง<br />

สองทาง ชี้ทาง<br />

บอกทางให ขยายขอบเขต อยางที่พูดมาแลววา<br />

เรารูแค<br />

ไหน มีความคิดเทาใด ชีวิตสองแดนแรกก็ดํ าเนินไปไดในขอบเขตเทานั้น<br />

จนกระทั่งในที่สุดปญญาก็เปนตัวปลดปลอย<br />

ทํ าใหเกิดอิสรภาพ<br />

หนาที่ของปญญานั้น<br />

ในที่สุดก็ไปรวมที่การปลดปลอยหรือทํ<br />

าให<br />

เกิดอิสรภาพ นี้แหละ<br />

ดังจะเห็นงายๆ เราไปไหน ถาเราไมรูจักสถานที่นั้น<br />

ไมรูวาเปนที่<br />

อะไร มีสภาพอยางไร เชนวามีอะไรที่จะเปนอันตรายตอเราบางหรือไม<br />

หรือแมแตแคไมรูวาเราควรจะปฏิบัติตอสถานที่นั้นหรือปฏิบัติตัวใน<br />

สถานที่นั้นอยางไร<br />

แคนี้ความสัมพันธปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมก็ติดขัด<br />

ถูก<br />

จํ ากัด ชักจะงึกๆ งักๆ เกๆ กังๆ ภาวะจิตก็เกิดความรูสึกอึดอัด<br />

ตื้อตัน<br />

บีบ<br />

คั้น<br />

เรียกงายๆ วาเกิดทุกขขึ้นมาทันที<br />

แตพอรู วานี้คืออะไร<br />

ตรงไหนมีอะไร เปนอยางไร เราควรทํ าอยางไร<br />

จะปฏิบัติตอมันอยางไร เขาทางไหน ออกทางไหน มองเห็นทางแกไข<br />

จัดการ พอรูทั่วหรือรูเทา<br />

ก็โลงทันที นี้คือปญญา<br />

อีกตัวอยางหนึ่ง<br />

คนจํ านวนมากติดในพฤติกรรมเคยชินที่เปน<br />

อันตรายตอสุขภาพกายของตนเอง ติดการพนัน ติดเกม แมกระทั่งติดการ<br />

บริโภคที่ทํ<br />

าใหเปนโรคอวน บางคนติดสิ่งเมา<br />

ติดยา บางคนติดสิ่งเสพ<br />

ทางใจ ซึ่งลวนเปนการเสียสุขภาวะ<br />

ในการแกไข บางทีตองใชวิธีการที่ซับซอน<br />

เชน การสรางความเคย<br />

ชินใหม การใหไดสิ่งดีที่ทดแทน<br />

การมีหรือรวมกลุ มกัลยาณมิตร การฝก<br />

/ 136<br />

๓๕


๓๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ความเขมแข็งของจิตใจ เปนตน<br />

แตทั้งนี้<br />

ในกระบวนการทั้งหมดนั้น<br />

จะตองมีการเสริมสรางความรู <br />

ความเขาใจหรือพัฒนาปญญา ที่จะทํ<br />

าใหตระหนักถึงโทษภัยของสิ่งที่<br />

ตองการแกไข ใหเห็นคุณของการหลุดพนไป ใหเห็นทางออกในการแกไข<br />

ใหเกิดความพรอมใจในการที่จะไถถอนตัว<br />

ตลอดจนปญญาที่จะมานํ<br />

ามา<br />

หนุนฉันทะในการดํ าเนินกระบวนวิธีแกไขทั้งหมด<br />

จะเห็นไดดวยวา ถาไมหลุดโลงเปนอิสระ ทุกอยางก็ยังลงตัวจริง<br />

ไมได ความสงบ (สันติ) ก็เสียไปหรือไมมี เพราะวา เมื่อถูกจํ<br />

ากัด คับของ<br />

ติดขัด อึดอัด ทั้งจิตใจและพฤติกรรมก็จะเครียด<br />

ดิ้นรน<br />

อาจจะงุนงาน<br />

พลุ งพลาน กระวนกระวาย หงุดหงิด เปนตน พรอมกันนั้น<br />

ความขุนมัว<br />

ความหมองใจ ก็พวงมา สูญเสียหรือไมอาจจะมีความหมดจดสดใส<br />

(วิสุทธิ) และในภาวะเชนนี้<br />

คนก็ไมอาจจะมีความสุขจริงได ความเต็มอิ่ม<br />

สมบูรณของชีวิตก็เกิดขึ้นไมได<br />

เมื่อพูดโดยรวมตามภาษาของเราในที่นี้ก็คือ<br />

ไมมีสุขภาวะ<br />

ทั้งหมดนี้จะเห็นวา<br />

ตัวตัดสินสุดทายก็คือ อิสรภาพ (วิมุตติ) นี่เอง<br />

ถาไมมีอิสรภาพ หรือความหลุดโลงนี้<br />

สุขภาวะแทจริงที่เต็มตามความ<br />

หมายก็ไมอาจจะเกิดขึ้นได<br />

และอิสรภาพ หรือวิมุตตินั้น<br />

จะมีได ก็ตองมี<br />

ปญญา ดังนั้น<br />

ปญญาจึงเปนองคประกอบซึ่งเปนที่บูรณาการแหงสุขภาวะ<br />

อยางไรก็ดี จะตองทํ าความเขาใจกันไวกอนวา ปญญานั้นมีหลาย<br />

ขั้นหลายระดับอยางที่พูดไปแลว<br />

และสุขภาวะก็เปนเรื่องสัมพัทธที่แยก<br />

ไดเปนตางขั้นตางระดับโดยสัมพันธกับองคประกอบที่เกี่ยวของโดย<br />

เฉพาะปญญาในระดับตางๆ นั้น<br />

ปญญาที่จะใหบรรลุอิสรภาพแทจริง<br />

อันจะใหมีสุขภาวะสมบูรณ<br />

เต็มตามความหมายนั้น<br />

หมายถึงปญญาที่มองเห็นชีวิตและโลกตาม<br />

ที่มันเปน<br />

รูเขาใจความจริงของสิ่งทั้งหลาย<br />

ซึ่งทํ<br />

าใหหมดความติดของ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๓๗<br />

ไมมีความยึดติดถือมั่น<br />

จึงไมหวั่นไหว<br />

ไมติดของ โปรงโลง เปนอิสระ<br />

อยูในโลก แตไมติดโลก ทํ าการเพื่อโลก<br />

โดยใจพนอยูเหนือโลก<br />

วางจิตใจ<br />

พอดีลงตัวตอชีวิตและโลก<br />

ภาวะที่วานั้นอาจจะเขาใจไมงาย<br />

แตก็เห็นไดไมยากวา เมื่อคน<br />

หลายคนประสบสถานการณที่กระทบอันเดียวกัน<br />

คนเหลานั้นจะมีความ<br />

สงบหรือกระวนกระวาย ความมั่นคงหรือหวั่นไหว<br />

ความสดใสสวางหรือ<br />

ขุ นมัว ความหลุดโลงหรือความกดดัน เปนตน ตางๆ กันไป โดยขึ้นตอ<br />

การจัดการตัวเองและวางจิตใจตอสถานการณนั้น<br />

ซึ่งมีปญญาเปนตัว<br />

แปรทางบวกสํ าคัญที่สุด<br />

องคประกอบในการดํ าเนินชีวิตนี้<br />

เมื่อถึงปญญาก็ครบสามแดน<br />

ถาปญญานั้นพัฒนาดีพอ<br />

ชีวิตก็จะเต็มอิ่มสมบูรณในตัวของมัน<br />

ทํ าให<br />

เกิดมีอิสรภาพ เรียกวาปญญาปลดปลอยชีวิตใหเปนอิสระ ทํ าใหเราพน<br />

การครอบงํ าของโลกขึ้นไปถึงแดนที่สี่คืออิสรภาพ<br />

พูดอีกสํ านวนหนึ่งวา<br />

เมื่อการดํ<br />

าเนินชีวิตที่มีองครวมสามแดนนั้น<br />

มีบูรณาการกันเปนองครวมแหงการดํ าเนินชีวิตที่ดีแลว<br />

องครวมแหง<br />

ชีวิตนั้น<br />

ก็ขามพนเครื่องหนวงเหนี่ยวคับของผูกพันขึ้นไปไดสูวิมุตติ<br />

อัน<br />

เปนผลที่ตองการ<br />

คืออิสรภาพ ซึ่งจะทํ<br />

าใหมีความสงบ ความสดใส และ<br />

ความสุขที่แทจริงได<br />

หมายความวาทั้งสามแดนไดพัฒนาครบ<br />

จนถึงอิสร-<br />

ภาพแลว จึงจะมีสุขภาวะที่แทได<br />

ถาไมมีอิสรภาพ สุขภาวะที่แทก็มีไมได<br />

สุขภาวะที่แท<br />

ตองเปนไปตามความจริงแหงธรรมชาติของชีวิต<br />

ขอทบทวนวา ในที่นี้เราไดพูดถึงองครวมในการดํ<br />

าเนินชีวิตที่วา<br />

ใน<br />

การที่จะเปนอยูหรือดํ<br />

าเนินชีวิตไดถูกตอง ระบบที่พรอมดวยองครวม<br />

สามแดนแหงการดํ าเนินชีวิตของเรา จะตองพัฒนาไปอยางมีบูรณาการ<br />

สามแดน ที่เปนองครวมแหงระบบการดํ<br />

าเนินชีวิตของเรานั้น<br />

คือ


๓๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

แดนที่<br />

๑ การติดตอสื่อสารกับโลก<br />

คือการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ทางกายภาพ และสิ่งแวดลอมทางสังคม<br />

โดย<br />

ก) การรับรู-เสพ<br />

ทางผัสสทวาร หรืออินทรีย ๖ (ตา หู จมูก<br />

ลิ้น<br />

กาย ใจ)<br />

ข) การประกอบกรรม หรือพฤติกรรม ทางกรรมทวาร ๓<br />

(กาย-ทํ า วาจา-พูด ใจ-คิด)<br />

แดนที่<br />

๒ ภาวะจิตใจ หรือสภาพจิต ที่อยูขางในและเปนเบื้องหลัง<br />

ซึ่งใชงานและกํ<br />

าหนดนํ ากํ ากับการสัมพันธกับโลกภายนอก โดยมีเจต<br />

จํ านงหรือเจตนาเปนตัวทํ าการ<br />

แดนที่<br />

๓ ปญญา คือความรู-คิด-เขาใจ-หยั่งเห็น<br />

ซึ่งจะเปนแสงที่<br />

สองสวาง ชี้นํ<br />

า บอกชองทาง ขยายขอบเขต ปรับแกและพัฒนาระบบทั้ง<br />

หมด ตลอดจนปลดปลอยชีวิตใหมีอิสรภาพ<br />

สามแดนนี้มิใชวาจะทํ<br />

าหนาที่ของมันแตละอยางตางหากกัน<br />

แต<br />

มันดํ าเนินไปโดยประสานและเปนปจจัยแกกันและกัน ตรงนี้เปนจุด<br />

สังเกตสํ าคัญที่วา<br />

การดํ าเนินชีวิตสามแดนนี้ไมใชวาแตละอยางจะ<br />

พัฒนาไปโดยลํ าพังของมันตางหากกัน แตแทจริงนั้น<br />

มันพัฒนาตัวของ<br />

มันเองโดยลํ าพังไมได จะตองพัฒนาตัวโดยอาศัยซึ่งกันและกัน<br />

มีหลักการพื้นฐานวา<br />

ชีวิตเกิดมาไมไดสมบูรณในตัวทันที ดังนั้น<br />

ชีวิต<br />

มนุษยที่จะเปนอยู<br />

ดีได จะตองมีการพัฒนาตลอดเวลา ไมใชแครางกาย<br />

พัฒนาเติบโตขึ้นมาเทานั้น<br />

แตการพัฒนาที่แทคือพัฒนา<br />

๓ แดนที่วาขางตน<br />

แมแตรางกายที่จะเจริญเติบโตพัฒนาอยางดีได<br />

เชนจะไมมาเจอ<br />

หรือจบดวยโรคอวน ก็อยูที่การพัฒนา<br />

๓ แดนนั้นแหละใหถูกใหดี<br />

ฉะนั้น<br />

การที่จะมีสุขภาวะจึงมีขอเรียกรองพื้นฐาน<br />

หรือขอกํ าหนด<br />

จากธรรมชาติวา มนุษยตองมีปญญาที่จะรูเขาใจธรรมชาติแหงชีวิตของ<br />

ตน และมองเห็นตระหนักถึงความจํ าเปนในการพัฒนาชีวิตของตนนั้น


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

พรอมทั้งพัฒนาปญญาที่จะชวยใหวางใจตอชีวิตและจัดการกับการ<br />

พัฒนาชีวิตนั้นไดอยางถูกตอง<br />

เหตุที่ชีวิตตองมีการพัฒนาตลอดเวลา<br />

ก็เพราะวา อยางงายๆ<br />

ธรรมดาที่สุด<br />

เมื่อเรามีชีวิตเปนอยู<br />

เราก็ตองพบประสบการณใหมๆ ตอง<br />

เจอสถานการณใหมๆ อยู เรื่อยไป<br />

ซึ่งเราจะตองรู<br />

เขาใจและปฏิบัติตอมันให<br />

ถูกตองหรือใหไดผล นี่ก็คือเราจะตองเรียนรูมัน<br />

หาทางปฏิบัติจัดการมัน<br />

หรือฝกตัวปรับตัวใหเขากับมัน ชีวิตของเราจึงจะอยู ดีหรือแมแตอยู รอดได<br />

การหาทางปฏิบัติจัดการกับประสบการณและสถานการณตางๆ<br />

ดวยการเรียนรู<br />

ปรับตัว ตลอดจนฝกหัดทํ าการใหมๆ ใหไดผล นี้แหละคือ<br />

การพัฒนาชีวิต ซึ่งมีศัพทเฉพาะเรียกวา<br />

"การศึกษา" แปลเปนไทยวา<br />

เรียนรู<br />

ฝก หัด พัฒนา<br />

ในเรื่องธรรมชาติของชีวิตมนุษยนี้<br />

จะตองถือเปนหลักการใหญขั้น<br />

พื้นฐานวา<br />

“มนุษยเปนสัตวที่ตองฝก”<br />

ตองฝกจึงจะประเสริฐ หรือ<br />

ประเสริฐไดดวยการฝก คือตองมีการศึกษานั้นเอง<br />

ตามปกติเราใชคํ าวาการ “ศึกษา” ซึ่งที่จริงเปนเพียงการพูดทับ<br />

ศัพทตามภาษาสันสกฤตวา “ศิกฺษา” ตรงกับคํ าจากบาลีที่เปนภาษาพระ<br />

วา “สิกฺขา” จะเปนศึกษา หรือสิกขา ก็แปลเปนไทยวา “ฝก” นั่นเอง<br />

ถา<br />

แปลขยายออกไป ก็บอกวา เรียนรู<br />

ฝกฝน หัด พัฒนา อันเดียวกันทั้งนั้น<br />

เพียงแตวาในตางยุคตางสมัยก็มีความนิยมและนัยแหงความหมาย<br />

เปลี่ยนแปรแปลกกันไป<br />

ชีวิตเราเกิดมาอยู ในโลก หรือดํ าเนินไปทามกลางสิ่งแวดลอม<br />

เรา<br />

อยูไดหรือดํ าเนินชีวิตไปได ก็เพราะมีเครื่องมือติดตอสื่อสารสัมพันธกับ<br />

โลกหรือสิ่งแวดลอมนั้น<br />

และมันก็เปนเครื่องมือในการพัฒนาชีวิตของเรา<br />

เองดวย (ที่จริงจะวาใหถูก<br />

ตองพูดโยงตอกันตลอดกระบวนวา เปน<br />

เครื่องมือติดตอสื่อสารสัมพันธกับโลก<br />

ในการที่จะพัฒนาชีวิตของเรา)<br />

/ 136<br />

๓๙


๔๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

คือ ผัสสทวาร ๖ และกรรมทวาร ๓<br />

เรามีเครื่องมือติดตอสื่อสารสัมพันธ<br />

คือ ตา หู ฯลฯ จนถึงใจ แลว<br />

ยังไดกัลยาณมิตร ตั้งตนแตพอแม<br />

มาชวยอีก จากตาดูหูฟง เปนตน เราก็<br />

ฝกเราก็หัดตามที่กัลยาณมิตรสอนใหถายทอดมา<br />

วิธีการที่จะเปนอยูเรา<br />

ตองเรียนรูตองฝกตองหัดหมดทุกอยาง<br />

ไมวาจะเปนการกิน นอน นั่ง<br />

ขับ<br />

ถาย จนถึงจะเดิน จะพูด ตองเรียนรูฝกหัดเอาทั้งนั้น<br />

อาศัยสัญชาตญาณ<br />

แทบไมไดเลย ตางจากสัตวชนิดอื่นทั่วไปที่ชีวิตสวนใหญอยู<br />

ไดดวยสัญชาต-<br />

ญาณ จึงเปนความพิเศษของมนุษยอยางที่บอกแลววา<br />

เปนสัตวที่ตองฝก<br />

และประเสริฐไดดวยการฝก หรือวาฝกศึกษาแลวประเสริฐสุด<br />

เปนอันวา ชีวิตมนุษยนี้จะตองพัฒนาไป<br />

และการที่จะพัฒนาไปได<br />

นั้นก็คือพัฒนาการดํ<br />

าเนินชีวิตสามแดนที่วาไปแลว<br />

และเมื่อพัฒนาถูก<br />

ตอง การพัฒนาสามแดนนั้นก็จะเปนปจจัยหนุนเสริมกันและกัน<br />

ในแดนที่หนึ่ง<br />

คือการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ก็จะเห็นวา เราตอง<br />

อาศัยความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมมาเสริมสนองจิตใจ<br />

การสัมพันธกับ<br />

สิ่งแวดลอมทํ<br />

าใหจิตใจของเรามีทางออก ทั้งออกไปรับรูโลกหรือสิ่งแวด<br />

ลอม ไดขอมูลประสบการณทั้งหลายที่จะมาใชในการพัฒนาชีวิตของตน<br />

และออกไปเสพหรือทํ าการตางๆ เพื่อสนองความตองการของตน<br />

ถาจิต<br />

ใจของเราไมมีทางออกในการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

เราก็จะอึดอัด เราก็<br />

จะไมมีทางไดสนองความตองการ เราก็จะไมสามารถมีความสุข<br />

แตในเวลาเดียวกัน ถาการสัมพันธนั้นดํ<br />

าเนินไปไมถูกตองหรือไม<br />

ไดผล ก็กลับเกิดผลรายตอจิตใจ กลายเปนเดือดรอนเกิดทุกข<br />

ที่วานั้นเปนแงที่จิตใจตองอาศัยการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

แต<br />

พรอมกันนั้น<br />

การสัมพันธกับสิ่งแวดลอมจะดํ<br />

าเนินไปได และจะดํ าเนิน<br />

ไปในทิศทางไหน อยางไร ก็ตองอาศัยจิตใจ เริ่มดวยตองมีเจตนา<br />

ที่ชี้นํ<br />

า<br />

สั่งการวาจะเอาอะไรจะทํ<br />

าอะไรอยางไร ซึ่งเขาไปเชื่อมตอกับตัวประกอบ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ในใจที่อยูเบื้องหลังมากมาย<br />

ซึ่งคอยปรุงแตงหันเหเจตนา<br />

เชน ความโลภ<br />

ความเห็นแกตัว ความเผื่อแผเสียสละ<br />

ความโกรธ ความรัก ความมีเมตตา<br />

ฯลฯ เกิดเปนการคิดผูกเรื่อง<br />

วางแผน และการแสดงออกเปนพฤติกรรม<br />

ทางกายและวาจา พูดและทํ าการตางๆ เพื่อสนองความตองการของจิต<br />

ใจที่เปนอยางนั้นๆ<br />

คือมีภาวะจิตอยางนั้นๆ<br />

เสร็จแลวการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมและภาวะจิตทั้งหมดเหลานี้ก็<br />

ตองอาศัยปญญา อยางที่บอกเมื่อกี้วา<br />

มันจะเอาอะไรทํ าอะไรอยางไรได<br />

แคไหน ก็อยูในขอบเขตของปญญา<br />

ขึ้นตอปญญาวิสัยของเขา<br />

ในทางกลับกัน ปญญาจะพัฒนาไปได ก็ตองอาศัยความสัมพันธ<br />

กับสิ่งแวดลอม<br />

เริ่มแตการหาขอมูล<br />

ทั้งใชอินทรีย<br />

และประกอบพฤติ<br />

กรรม อาจจะเดินทางไปยังแหลงขอมูล เอาตาดู เอาหูฟง ไปสืบคน ไป<br />

สอบถามดวยวาจา เพื่อจะไดขอมูลเพิ่มเติมที่จะเอามาคิดพิจารณาใหรู<br />

เขาใจเขาถึงความจริง หรือนํ าไปใชประโยชนตอไป<br />

แมแตในขั้นตนแคนี้<br />

ระดับการพัฒนาชีวิตของบุคคลทั้งระบบ<br />

ก็<br />

เขามาแสดงบทบาทรวมเปนปจจัยดวยโดยตลอด เชน ในดานพฤติกรรม<br />

ทางวาจา ถาผูหาขอมูลรูจักพูด<br />

อาจจะไดขอมูลมาบริบูรณและชัดเจน<br />

แตถาถามไมดี พูดไมเปน อาจไมไดรับความรวมมือ หรือไดขอมูลไมชัด<br />

หรือไมตรงเรื่อง<br />

ดังนี้เปนตน<br />

นอกจากอาศัยการติดตอสัมพันธกับสิ่งแวดลอมแลว<br />

การพัฒนา<br />

ปญญานั้นก็ตองอาศัยภาวะจิตใจดวย<br />

เชน ถาจิตใจมีความใฝรู<br />

มีความ<br />

เขมแข็ง มีความอดทน สติดี สมาธิดี การแสวงหาขอมูลตลอดจนการ<br />

วิเคราะหวิจัยที่สืบเนื่องตอไปก็ไดผลดี<br />

แตถาไมขยัน ขาดความอดทน<br />

ทนไมได รอไมได มักงาย ใจลอย หรือทอถอยเร็วไว แมแตจะหาขอมูลก็<br />

ลวกๆ ไมมีสมาธิ ใจไมอยูกับกิจ<br />

จิตไมอยูกับงาน<br />

ไดแตฟุ งซานวุ นวาย<br />

พลานไป ก็คิดอะไรไมคอยสํ าเร็จ ปญญาก็พัฒนาไมได<br />

/ 136<br />

๔๑


๔๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

นี้คือการที่สามแดนของการดํ<br />

าเนินชีวิตตางอาศัยซึ่งกันและกัน<br />

ซึ่ง<br />

จะทํ าใหเราเปนอยูและทํ าใหเราพัฒนาได และดังที่กลาวแลว<br />

เมื่อเรา<br />

เปนอยูถูกตอง ก็คือการที่ชีวิตของเราพัฒนาไปตลอดเวลา<br />

เมื่อเรา<br />

ดํ าเนินชีวิตถูกตอง และชีวิตนั้นพัฒนาไป<br />

เราก็บรรลุผล ที่มีพรอมทั้ง<br />

วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ ครบทั้งหมด<br />

คือเกิดสุขภาวะ ซึ่งเปนไปตาม<br />

ธรรมดาของธรรมชาติอยางนั้นเอง


- ๒ -<br />

สุขภาวะในระบบชีวิต-สังคมยุคไอที<br />

เปนนักพึ่งพา<br />

ไดแตหาความสุข แตไมมีความสุข<br />

ยอนมาพูดถึงเรื่องสุขภาวะในวงแคบอีกหนอย<br />

หันกลับไปหาโรค<br />

อวนอีกที คราวนี้ก็มาดูความเปนอยูหรือการดํ<br />

าเนินชีวิต ก็จะมองเห็นวา<br />

คนเหลานั้นเปนอยูไมถูกตอง<br />

กินไมเปน ใชชีวิตไมเปน ดํ าเนินชีวิตไมเปน<br />

มีปมปญหามากมาย<br />

ทํ าไมเขาจึงเปนโรคอวน ทั้งๆ<br />

ที่เขาก็อยู<br />

ในสังคมที่มั่งคั่งพรั่งพรอม<br />

มีกินมีใชบริบูรณ เปนสังคมบริโภค แตก็อยางวา มันกลายเปนพรั่งพรอม<br />

เกินไป แลวก็บริโภคเกินไป หันไปทางไหนก็มีของใหกินใหบริโภคได<br />

งายๆ ทันใจทันที<br />

ตู เครื่องดื่มและตูของกินเลนตั้งวางอยูทั่วทั้งนั้น<br />

เอาสตางคหยอด<br />

ปบ<br />

กดปุมปุบ<br />

ก็รับเอามาดื่มมากินไดเลย<br />

โดยเฉพาะนํ้<br />

าหวานมันทอด<br />

กินเสพฆาเวลาไปเรื่อยๆ<br />

เคยชินหนักเขาก็อดไมได ไปๆ มาๆ ก็กลายเปน<br />

อวนเกินขนาด ถึงขั้นที่นับวาเปนโรค<br />

และเปนกันมากคน เกลื่อนสังคม<br />

แผกระจายไปทั่ว<br />

เหมือนจะเปนโรคระบาด กลายเปนปญหาของชีวิต<br />

และสังคม เรียกวาโรคอวน<br />

(ตามสถิติของศูนยควบคุมและปองกันโรค [Centers for Disease<br />

Control and Prevention (CDC)] วา ใน ค.ศ.1960/พ.ศ.๒๕๐๓ ประชากร<br />

อเมริกันมีคนอวนในอัตราสวน 13% แตใกลปจจุบันคนอวนเพิ่มจํ<br />

านวนขึ้น


๔๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เปนเกือบ 31%; ที่นาสังเกตมากคือ<br />

ในชวงเวลา ๒๐ ป ระหวาง 1980-<br />

2000/๒๕๒๓-๒๕๔๓ อเมริกามีเด็กและวัยรุนอวนเพิ่มจํ<br />

านวนขึ้นเกือบ<br />

๓ เทาตัว – Microsoft Encarta Reference Library 2005, "Obesity")<br />

มองลึกลงไป ปมปญหาไมใชอยูแคเรื่องวัตถุ<br />

กับพฤติกรรมเทานั้น<br />

ไมใชแความีมาก กินมาก และสะดวก งาย ทันใจ ทันที เลยกินดื่มไป<br />

เรื่อย<br />

อันนั้นก็เปนปจจัยดวย<br />

เเตมูลเหตุที่แทเปนปญหาซับซอนในจิตใจ<br />

คนในสังคมบริโภคเหลานี้<br />

มีวิถีชีวิตภายใตระบบแขงขัน จิตใจมัก<br />

เครียดกระวนกระวาย ไมสงบ ไมมั่นคง<br />

ขาดความอบอุ น ขาดความพึงพอใจ<br />

ไมมีความสุขภายใน การหยิบการเคี้ยวดื่มกินสิ่งเสพบริโภคที่หางายใกล<br />

มือเหลานั้น<br />

เปนทางออกในการระบายความเครียด และระงับความ<br />

กระวนกระวาย เหมือนกินดื่มแกเครียดแกกลุมหรือแกเหงาไปเรื่อยๆ<br />

แตมองอีกชั้นหนึ่ง<br />

ก็เปนปญหาในระดับปญญาดวย โดยเฉพาะ<br />

ปญญาไมออกมาทํ าหนาที่จัดปรับแกไขใหทางออก<br />

ขั้นตน<br />

มองอยางงายที่สุด<br />

เรียกวาเปนการไมบริโภคดวยปญญา<br />

หรือไมรู จักประมาณในการบริโภค ทํ าใหกินไมพอดี พูดงายๆ วากินไมเปน<br />

ในแงของสิ่งเสพบริโภคนั้นเอง<br />

คืออาหาร เขาอาจจะมีความรูวา<br />

รางกายตองการอาหารสวนใดแคไหน เชนวา คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน<br />

อยางไหนเทาไร เขาก็พอมีความรู แตบางทีทั้งที่มีความรู<br />

ก็ไมใสใจความรู <br />

อีกอยางหนึ่ง<br />

การที่สังคมมีขอมูลพรั่งพรอม<br />

ไมไดหมายความวา<br />

คนจะมีปญญา ทั้งที่ขอมูลมีใหพรอมแลว<br />

แตคนไมสนใจหาความรูจาก<br />

ขอมูลเหลานั้น<br />

ขอมูลที่จะเปนประโยชนแกชีวิต<br />

เขาไมหา แตมัวไปเพลิน<br />

กับขอมูลที่เปนโทษ<br />

ชนิดที่บํ<br />

ารุงบํ าเรอใหเกิดโทษภัยแกชีวิตของตนเอง<br />

บางที แมแตมีความรูนั้นอยู<br />

แตไมเอาความรูนั้นมาใชประโยชน<br />

เรียกวามัวตกเปนทาสของตัณหาเสีย ก็เลยไมไดใชปญญา คือสภาพจิต<br />

ไมเอื้อตอการใชปญญา<br />

แตทํ าใหเกิดความประมาท เพลินไปกับความ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ปลอยตัวตามใจตน<br />

จะเห็นวา เรื่องนี้แมจะเปนปญหาดานพฤติกรรม<br />

คือพฤติกรรมการกิน<br />

หรือพฤติกรรมในการเสพบริโภค แตก็โยงกันเปนปญหาในระบบความ<br />

สัมพันธแหงการดํ าเนินชีวิตทั้งหมด<br />

(ครบทั้ง<br />

๓ แดน) คือจิตใจเพลินเมา<br />

ปลอยพฤติกรรมใหดํ าเนินไปใตอํ านาจของตัณหา โดยขาดความเขม<br />

แข็งของจิตใจที่จะหนุนหรือเอื้อโอกาสแกการใชปญญา<br />

จึงไปกินอาหารที่<br />

เปนโทษแกชีวิตของตนเอง และติดเพลินในการเสพ จนเกิดเปนอันตราย<br />

ตอสุขภาพ เปนโรคภัยไขเจ็บขึ้นมา<br />

แลวทั้งที่รู<br />

วาเปนอันตราย ก็ถอนตัวไม<br />

ได ชวยตัวเองหรือพึ่งตนเองไมได<br />

(ตองใหคุณหมอผาตัดจํ ากัดกระเพาะ)<br />

เปนการสัมพันธปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมไมถูกตอง<br />

ในแงกินไมเปน<br />

ในทางธรรม การจัดการควบคุมดูแลตัวเองใหสัมพันธปฏิบัติตอ<br />

สิ่งแวดลอมไดอยางถูกตอง<br />

(สังวร) ทานเรียกวาเปน “ศีล”<br />

ศีลที่เปนการปฏิบัติถูกตองตอสิ่งแวดลอมจํ<br />

าพวกสิ่งเสพบริโภค<br />

เรียกวา ปจจัยปฏิเสวนา หรือปจจัยสันนิสิตศีล คือศีลในการเสพปจจัย<br />

ปจจัย คือวัตถุสิ่งของกินใชที่เปนเครื่องเกื้อหนุนชีวิต<br />

ศีลในการ<br />

เสพปจจัย จึงหมายถึงการปฏิบัติคือกินใชเสพวัตถุใหถูกตองตามความ<br />

หมายของมันที่จะเปนเครื่องเกื้อหนุนชีวิต<br />

ถากินใชเสพวัตถุ เชนกินอาหารไปแลว มันไมเปนปจจัยเกื้อหนุน<br />

ชีวิต แตกลายเปนพิษเปนภัยตอชีวิต ก็แสดงวาปฏิบัติตอวัตถุนั้นไมถูก<br />

ตอง คือ กินไมเปน ใชไมเปน สัมพันธไมเปน<br />

เมื่อปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมจํ<br />

าพวกวัตถุเสพคือของกินของใชไมถูก<br />

ตอง ไมเปน ก็คือขาดศีลในการเสพปจจัย ที่เรียกวา<br />

ปจจัยปฏิเสวนา<br />

(ปจจัยสันนิสิตศีล) นี่ก็แสดงวาเสียศีล<br />

คือมีการดํ าเนินชีวิตที่ผิด<br />

เปน<br />

ชีวิตที่ขาดการพัฒนาไปขอหนึ่งละ<br />

ปรากฏวา คนไทยสวนใหญ ทั้งที่บอกวาตัวเปนชาวพุทธ<br />

แตไมรู<br />

/ 136<br />

๔๕


๔๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

จักแมแตศีลขั้นตนๆ<br />

อยางปจจัยปฏิเสวนานี้<br />

นี่อะไรกัน<br />

แลวเขาจะได<br />

ประโยชนอะไรจากพระพุทธศาสนาที่เขาบอกวาเขานับถือ<br />

ปจจัยปฏิเสวนานี้<br />

เปนเพียงศีลอยางหนึ่งในศีลหลายประเภท<br />

ที่<br />

เปนการสัมพันธปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมอันหลากหลาย<br />

ที่จะตองแบงแยก<br />

ประเภทออกไป<br />

เรื่องศีลประเภทตางๆ<br />

ตลอดถึงวิธีพัฒนาคนวาจะฝกอยางไรใหมี<br />

ศีลในการเสพปจจัยเปนตนนี้<br />

จะตองหันกลับมาพูดกันอีกครั้ง<br />

แตตรงนี้<br />

เอาไวแคนี้กอน<br />

ตอนนี้มาพูดกันตอไปในเรื่องสภาพชีวิต<br />

หรือการดํ าเนินชีวิต ของ<br />

คนในยุคสมัยปจจุบัน<br />

ไดพูดแลววา โรคอวน ที่เปนปญหาจากพฤติกรรมในการกินของ<br />

คนอเมริกันนั้น<br />

มีปมลึกแฝงอยูในจิตใจ<br />

เปนเพราะปญหาจิตใจดวย<br />

อยางที่วา<br />

ในวิถีชีวิตแบบตะวันตกนั้น<br />

คนมีจิตใจไมสบาย มี<br />

ความเครียดมาก เรารอนกระวนกระวาย บางทีก็รูสึกโดดเดี่ยว<br />

เหงา<br />

วาเหว เมื่ออยู<br />

ลํ าพัง หรือแมแตอยูกับคนมาก<br />

แตก็ไมอบอุน<br />

เหมือนตัว<br />

คนเดียว พอวาง หรือมีเวลาวางแทรกเขามาหนอย ไมรูจะทํ<br />

าอะไรดี หัน<br />

ไปหันมา เจอของกินของเสพสะดวกเหลานี้<br />

ก็จับใสปาก หันไปหันมา<br />

เจอตูเครื่องดื่ม<br />

ก็เอาโคกมาดื่มซะ<br />

เดี๋ยวดื่ม<br />

เดี๋ยวกิน<br />

จุกจิกๆ ไปๆ มาๆ ก็<br />

เลยอวนไป กลายเปนการซํ้<br />

าเติมตัวเอง<br />

ทั้งนี้ก็เพราะภาวะจิตใจที่ไมมีความเต็มอิ่ม<br />

มีแตความขาดความ<br />

พรอง สืบเนื่องจากแนวคิดความเชื่อพื้นฐานที่มีอยูในตัวโดยไมตระหนัก<br />

(เชนแนวคิดแฝงในยุคอุตสาหกรรมที่วา<br />

คนจะสุขที่สุด<br />

เมื่อมีวัตถุเสพมาก<br />

ที่สุด)<br />

พรอมทั้งระบบการอยู<br />

รวมกันและวิถีชีวิตในสังคมแบบแขงขันตัวใคร<br />

ตัวมัน แยงกันหาความสุข แยงกันไขวควาเกียรติ อัดประดังกันออกมาบีบ<br />

คั้นจิตใจทํ<br />

าใหมีความเรารอน เครียด โดดเดี่ยว<br />

ทั้งวาวุนและวาเหว<br />

อยู


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๔๗<br />

กับตัวเองไมได ก็เลยตองเที่ยวหาพึ่งพาสิ่งภายนอก<br />

เพื่อหนีความทุกข<br />

และหาความสุข กลายเปนการหาสิ่งพึ่งพาที่จะชวยใหมีความสุข<br />

การพึ่งพาเพื่อหาความสุขนั้นแสดงออกในลักษณะตางๆ<br />

การกิน<br />

เสพก็เปนลักษณะหนึ่งของการพึ่งพาวัตถุเพื่อหาความสุข<br />

ซึ่งก็ชวยใหเขา<br />

ไดความสุขในระดับหนึ่ง<br />

แตก็เปนสิ่งที่เรียกวา<br />

ความสุขแบบพึ่งพา<br />

ความสุขแบบพึ่งพา<br />

ก็คือความสุขที่ไมมีในตัวเอง<br />

ทํ าใหคนสูญ<br />

เสียอิสรภาพ ตองพึ่งพาวัตถุภายนอก<br />

ขาดสิ่งเสพจากภายนอกไมได<br />

ถา<br />

ไมมีสิ่งเสพก็ไมมีความสุข<br />

ขาดสิ่งเสพเมื่อใดก็เปนทุกขทันที<br />

มนุษยพวก<br />

นี้จึงขาดอิสรภาพ<br />

ที่วาขาดอิสรภาพ<br />

ก็เพราะไมมีความสุขนั่นแหละ<br />

จึงตองขึ้นตอสิ่ง<br />

อื่นในการที่จะเปนสุข<br />

คือ เมื่อไมมีความสุข<br />

ก็จึงตองเที่ยวหาความสุข<br />

และ<br />

ที่ตองเที่ยวหาก็เพราะความสุขนั้นอยู<br />

ที่สิ่งอื่นขางนอก<br />

จึงเปนความสุขแบบ<br />

พึ่งพา<br />

และเปนความสุขที่ตองหา<br />

เพราะเปนความสุขที่ตัวเองไมมี<br />

ความสุขแบบพึ่งพานี้<br />

เปนความสุขที่ไมแท<br />

เปนความสุขที่ไมมีอยู<br />

ในตัวเรา ตองขึ้นกับสิ่งอื่น<br />

ถาไมมีสิ่งอื่นบํ<br />

ารุงบํ าเรอ ไมมีสิ่งเสพบริโภค<br />

ก็<br />

จะทุกข ก็จะรอนรนกระวนกระวาย ความสุขประเภทนี้จึงไมปลอดภัย<br />

จะเห็นวา พฤติกรรมสนองการหาความสุขแบบพึ่งพานี้<br />

เปนเรื่อง<br />

โยงกันหมดทั้งพฤติกรรมกินเสพนั้น<br />

กับภาวะจิตใจ และความสัมพันธใน<br />

สังคม การกินจุกกินจิกจนเปนโรคอวนนี้<br />

อาจเปนทางออกของคนทํ านอง<br />

เดียวกับการติดบุหรี่<br />

ตลอดจนการพึ่งสิ่งเสพติดอยางอื่นๆ<br />

ถาแกปญหาแบบองครวมหรือครบวงจรไมได อาจจะตองเลือก<br />

เอาระหวางทางเลือกตางๆ ในการเสพติด วาจะใหคนเสพติดอะไรที่มี<br />

โทษภัยนอยที่สุด<br />

กอนที่เขาจะหลุดพนจากการเสพติดไปได<br />

ปรากฏวา มนุษยในยุคปจจุบันนี้<br />

เต็มไปดวยความสุขแบบพึ่งพา<br />

กันทั่ว<br />

ความสุขแบบพึ่งพานั้น<br />

ในเมื่อมันเปนความสุขที่ไมเปนอิสระ<br />

ขาด


๔๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

สิ่งภายนอกไมได<br />

และสิ่งภายนอกก็คือไมไดมีอยูในตัว<br />

เมื่อตางคนตาง<br />

หาความสุข มองในวงกวาง ก็ตองแยงชิงเบียดเบียนกัน ทํ าใหสังคมไม<br />

สงบสุข แลวแตละคนที่อยูในสังคมนั้นก็สุขสงบไมไดไปดวย<br />

พัฒนาวิธีหาความสุข แตไมพัฒนาศักยภาพที่จะมีความสุข<br />

ทีนี้<br />

สังคมอเมริกันที่เขามีพรั่งพรอมอยางที่วามานั้นได<br />

พูดกัน<br />

ตรงๆ ก็ตองเปนสังคมที่เอาเปรียบสังคมอื่น<br />

เปนที่ยอมรับกันวา<br />

สังคม<br />

อเมริกันมีประชากรเทียบเปนอัตราสวนของโลกเทากับ ๔.๕% แตบริโภค<br />

ทรัพยากรของโลกประมาณ ๓๐-๔๐% เรียกวากินเกินตัว<br />

ถาจะใหประเทศอื่นมั่งคั่งพรั่งพรอมบริบูรณอยางประเทศอเมริกานี้<br />

ก็ตองกินเกินตัวเหมือนอยางประเทศอเมริกา แลวจะมีอะไรใหกินละ<br />

หมายความวา ขณะนี้ก็เหมือนกับวา<br />

ประเทศอื่นยอมใหอเมริกา<br />

กินเยอะๆ เพราะอเมริกากิน ๓๐-๔๐% เหลือใหคนอื่นกิน<br />

๖๐-๗๐%<br />

แลวประเทศอเมริกา ตามสถิติป 2000 มีประชากร ๒๗๕ ลานคน (2004 มี<br />

๒๙๓ ลาน) เทากับประมาณ ๔.๕ % ของประชากรโลกที่มี<br />

๖,๑๐๐ ลานคน<br />

นี่คือประชากร<br />

๔.๕% บริโภคทรัพยากรของโลก ๓๐-๔๐% ในที่นี้เราเอา<br />

แค ๓๐% ก็คํ านวณออกมาวา คน ๑% บริโภคทรัพยากรของโลก ๖.๖%<br />

ทีนี้<br />

ถาคนทั้งโลกจะกินแบบอเมริกันบาง<br />

ก็หมายความวา ประชากร<br />

ในโลกจะตองบริโภคทรัพยากรของโลก ๖๖๐% คือบริโภคทรัพยากรเกิน<br />

กวาที่โลกมีอยู<br />

ไปอีก ๕๖๐% หรือเกินที่มีไปถึง<br />

๕.๖ เทา เมื่อโลกนี้มีไมพอ<br />

ใหกิน ก็คงตองไปหาจากดาวพระอังคาร ซึ่งยังไมเห็นวาจะมีอะไรใหเรา<br />

เรื่องที่เปนไปไมไดนี้เราจะขามไปกอน<br />

ปญหาตอนนี้ก็คือ<br />

ใน<br />

ประเทศที่รํ่<br />

ารวยมีกินมากมายสะดวกสบายถึงอยางนี้<br />

ก็ปรากฏวาคนยัง<br />

ไมมีความสุข หรือกลับมีทุกขหนักขึ้น<br />

แลวความสุขที่มีอยูบาง<br />

ก็เปน<br />

ความสุขแบบพึ่งพา<br />

ตองหากันวุน<br />

ในตัวเองไมมีความสุขเลย กลายเปน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

สุขภาวะที่เลื่อนลอย<br />

ยิ่งกวานั้น<br />

พอหันไปเที่ยวหาความสุขแบบพึ่งพา<br />

ฝากความสุขไว<br />

กับวัตถุเสพบํ ารุงบํ าเรอที่สะดวกทันใจดวยเทคโนโลยี<br />

ไปๆ มาๆ ก็กลับ<br />

เสียสุขภาวะดานรางกาย เกิดปญหาโรคภัยไขเจ็บมีโรคอวนขึ้นมาอีก<br />

ปญหาก็ยิ่งซับซอนพัลวันจนไมรูจะจับจุดแกที่ตรงไหน<br />

เงื่อนสํ<br />

าคัญก็คือการขาดหรือไมมีความสุขอยูในตัว<br />

ไมมีอิสรภาพ<br />

ในตน ที่ทํ<br />

าใหตองวายวนวิ่งวุนไปทุกทิศทุกทางจนขาดจุดหมาย<br />

สภาพจิตขาดความสุข ที่ทํ<br />

าใหตองคอยเที่ยวหามาเติมนี้<br />

วิเคราะห<br />

ลงไปแลวจะพบปมปญหาจิตใจมากมาย ซึ่งเปนเรื่องของความขาดการ<br />

พัฒนาทางจิตใจนั่นเอง<br />

จึงไมรู จักฝกจิตใหมีความเขมแข็ง ควบคุมบังคับ<br />

จิตใจของตัวเองไมได และไมมีความสุขภายใน ทั้งในจิตใจ<br />

และจาก<br />

ความสัมพันธในสังคม หรือจากการอยูกับสิ่งแวดลอมทั่วไป<br />

แลวก็โยงไปที่ปญญา<br />

ซึ่งก็ไมไดพัฒนาใหถูกทาง<br />

ไมรูเขาใจชีวิต<br />

ของตัว ไมรูจักปฏิบัติตอสิ่งแวดลอม<br />

ไมรูจักแกปญหาจิตใจของตัวเอง<br />

ไมรูจักการดํ าเนินชีวิตที่ถูกตอง<br />

ไมรูจักเปนอยูใหถูกตอง เรียกวาขาด<br />

ปญญาพื้นฐานเลยทีเดียว<br />

ยํ าปญหาวา ้ คนขาดปญญาพื้นฐานในการมีชีวิต<br />

เขามีแตความรู<br />

ขอมูล เขาหาแตความรูเชิงเทคนิคที่จะแสวงหาสิ่งเสพบริโภค<br />

เขาพัฒนา<br />

แตความรู ในการประกอบอาชีพบางอยาง ซึ่งเปนเพียงเครื่องมือหาเลี้ยงชีพ<br />

ที่จะสนองความตองการในการมีสิ่งเสพบริโภค<br />

พอถึงตรงนี้<br />

ก็เขาจุดที่พูดสรุปไดงายๆ<br />

วา คนที่หวังความสุขแบบ<br />

ที่ตองหา<br />

แบบพึ่งพาเหลานั้น<br />

พากันวุนวายกับการพัฒนาความสามารถ<br />

ในการหา(สิ่งเสพที่จะทํ<br />

าใหมี)ความสุข แตเขาไมไดพัฒนาความ<br />

สามารถที่จะมีความสุข<br />

ก็เลยไปไมรอด<br />

ทํ าไมจึงไปไมรอด ก็เพราะวา เมื่อคนไมพัฒนาความสามารถที่จะ<br />

/ 136<br />

๔๙


๕๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

มีความสุข พอเขาพัฒนาความสามารถในการหาสิ่งเสพที่จะมาบํ<br />

าเรอ<br />

ความสุขไดมากขึ้น<br />

เขาเกง เขามีวิธีการหาความสุขไดมากมาย (แตเปน<br />

ความสุขแบบพึ่งพาทั้งนั้น)<br />

เขามีสิ่งเสพบริโภคเหลือลน<br />

แตพรอมกันนั้น<br />

โดยไมรู ตัว ปรากฏวาความสามารถที่จะมีความสุขของเขาไดลดนอยลงไป<br />

ถึงตอนนี้<br />

เขาก็ตกที่นั่งลํ<br />

าบาก พอหาสิ่งบํ<br />

าเรอความสุขมาไดมาก<br />

แตความสามารถที่จะมีความสุขลดลง<br />

เขาก็ยิ่งตองหาสิ่งเสพมาใหไดมาก<br />

ขึ้นๆ<br />

เพียงเพื่อจะดึงระดับความสุขไวใหคงอยู<br />

แมแตแคเทาเดิม<br />

เขาอยู ในสังคมระบบแขงขัน แคแขงกับคนอื่นก็เหนื่อยแทบแยอยู<br />

<br />

แลว นี่ยังตองมาหาเครื่องเติมความสุขแขงกับความสามารถมีสุขที่ลดลง<br />

ไปๆ อีก บางทีความสุขที่ได<br />

ก็เลยไมเทาไมทันความทุกขที่ขยายตัวออกไป<br />

อีกดานหนึ่ง<br />

พอดูตัวเองอีกที ปรากฏวา ในกระบวนการวิ่งหาสิ่ง<br />

เสพมาเติมความสุข แขงกับการลดลงของความสามารถที่จะมีความสุขนี้<br />

เขากลายเปนคนที่สุขไดยากขึ้น<br />

พรอมกับกลายเปนคนที่ทุกขไดงายขึ้นดวย<br />

อะไรกัน คนเราเมื่อเติบโตเจริญพัฒนาขึ้น<br />

ก็ควรจะเปนคนที่มีความ<br />

สุขไดงายขึ้น<br />

พรอมกับเปนทุกขไดยากขึ้น<br />

ถาคน ทุกขงาย-สุขไดยาก อยาง<br />

นี้<br />

ก็แสดงวาสวนทางกับการพัฒนา<br />

ดูเถิด คนยุคปจจุบันนี้<br />

เมื่อยังเปนเด็กเล็กๆ<br />

หัวเราะงาย ยิ้มงาย<br />

(ถึง<br />

แมจะรองไหงายดวย) ไมตองมีอะไรมาก ก็เปนสุขได แตพอโตขึ้นมาเปนผู<br />

<br />

ใหญ ชักจะยิ้มยาก<br />

มีความสุขไดยาก และมีทุกขกันมากขึ้นทุกที<br />

ถาเราพัฒนาชีวิตถูกตอง เรานาจะยิ้มงาย<br />

สุขงายขึ้น<br />

ในขณะที่ดาน<br />

ทุกขควรจะลดลงไป คือ ควรจะ สุขไดงาย และ ทุกขไดยาก<br />

เมื่อวิเคราะหคนและสังคมอเมริกัน<br />

ก็จะเห็นชัดวา ในเรื่องคน<br />

หรือในดานชีวิต เขาเจอทั้งหมดอยางที่ไดพูดมานี้<br />

จนถึงขั้นที่เขาแทบจะ<br />

ไปไมไหวแลว จึงไดเกิดปรากฏการณสังคมแปลกๆ มาเรื่อยๆ<br />

มีวัฒน-<br />

ธรรมทวนกระแส ตั้งแตชวงปลายทศวรรษ<br />

1950s ที่เกิด<br />

Beat


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

Generation หนุ มสาวหันมาหาทางออกดวยวิธีทางจิตใจและธรรมชาติ<br />

สมาธิเฟอง<br />

Zen โดดเดน ตอดวยอีกทศวรรษถัดมาก็มีพวก Hippies<br />

หลังนั้น<br />

ศาสนาตะวันออกเขาไปกันใหญ ทั้ง<br />

Yoga, Rajneesh,<br />

Hare Krishna, TM (Transcendental Meditation), Sun Myung Moon<br />

(Unification Church) ตลอดถึง Vajrayana (ในที่นี้<br />

= Tibetan<br />

Buddhism) มีทั้งพวกทํ<br />

าประโยชน ทั้งพวกหาประโยชน<br />

ถาเขาใจสภาพจิตและสภาพสังคมตะวันตกที่เปนมาในภูมิหลัง<br />

ของเขา ก็จะไมนาแปลกใจวาทํ าไมคนที่นั่นจึงหันมาหาทางออกทางจิต<br />

ใจกันมาก และทํ าไมความสนใจสมาธิจึงฟูฟาถึงกับเปนเหมือนแฟชั่น<br />

สิ่งที่นาใสใจพิจารณาอยูที่วา<br />

เขาเขาใจและใชประโยชนจาก<br />

สมาธิอยางถูกตองและตรงตามคุณคาที่แทจริงของมันหรือไม<br />

บางที<br />

หรือมักจะเปนวา คนเหลานั้นสนใจและใชสมาธิเพียงเพื่อแกปญหาจิตใจ<br />

ของเขาเทานั้น<br />

แมวานั่นจะเปนการดีมีประโยชนในระดับหนึ่ง<br />

แตมีจุด<br />

เขวสํ าคัญที่วา<br />

เขาไมไดเขาใจและไมไดมองเห็นสมาธินั้นในฐานะองค<br />

ประกอบของการดํ าเนินชีวิตที่ดีหรือเปนองครวมในระบบการพัฒนามนุษย<br />

(มองสมาธิอยางแยกสวน ไมเห็นสมาธินั้นในระบบองครวม)<br />

ถาเขาเอาแคนั้น<br />

ก็อาจจะเปนเพียงอาการของสังคมตะวันตกที่<br />

แลนไปสุดโตงอีกดานหนึ่ง<br />

คราวหนึ่งไปสุดโตงทางวัตถุ<br />

อีกคราวหนึ่งก็ไป<br />

สุดโตงทางจิต (หมุนกลับไปคลายสังคมชมพูทวีปยุคกอนใกลพุทธกาล)<br />

ที่จริง<br />

อาการแลนสุดโตงก็เหมือนจะปรากฏออกมาอยูแลว<br />

ดังที่<br />

ไดมีขาวแปลกๆ ในสังคมอเมริกันที่คนเหมือนกับสติลอยกันมากขึ้น<br />

หรือ<br />

จิตใจชักจะฟนเฟอน<br />

หรือควบคุมตัวเองไมได<br />

ดานจิตใจ อาการตื่นสมาธิคลายจะซาลง<br />

แตเลื่อนเลยออกไป<br />

กลายเปนความสนใจในเรื่องที่ลึกลับซับซอนมากขึ้น<br />

ดานกินอยู ก็<br />

บริโภคกันยั้งไมไดจนโรคอวนระบาด<br />

อีกดานหนึ่ง<br />

เด็กนักเรียนประถม-<br />

/ 136<br />

๕๑


๕๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

มัธยม อยู ๆ ก็เอาปนไปยิงครูและเพื่อนนักเรียนแบบกราดๆ<br />

ไป ฆากันตาย<br />

อยางไมตองคิดคํ านึงถึงอะไร ขณะที่เด็กวัยรุ<br />

นฆาตัวตายกันมากจนสถิติ<br />

พุงสูงอยางผิดประหลาด เปนปรากฏการณที่สังคมซึ่งพัฒนาตามอยาง<br />

ก็เดินตามรอยดวยอยางเห็นไดชัด (เมืองไทยในระยะที่ผานมาใกลๆ<br />

นี้<br />

ดู<br />

จะตามไดจนบางเรื่องก็ลํ<br />

าหนาตัวอยาง) ้<br />

เรื่องเหลานี้<br />

เมื่อมาถึงสังคมที่ดอยคอยตาม<br />

ถาไมระวังใหดี<br />

ปญหาจะยิ่งซับซอนและหนักหนาขึ้นอีก<br />

เพราะอะไร? ก็เพราะปญหา<br />

“ความสุขจากการไมตองทํ า” จะมาซํ้<br />

าเขาอีก<br />

พวกคนในประเทศพัฒนาแลว ที่ผานยุคอุตสาหกรรมมากวา<br />

๒<br />

ศตวรรษนั้น<br />

มีภูมิตานทานทุกขจากประสบการณของสังคมมามาก และ<br />

ไดปลูกฝงนิสัยรักงานหรือทนงานมาอยางดี ยอมไดเปรียบในดานนี้<br />

อธิบายนิดหนอยวา ถาคนมีการศึกษาที่ถูกตอง<br />

คือการศึกษาที่<br />

แทจริง เขาจะพัฒนาความใฝรูขึ้นมา<br />

อยางที่วาแลวแตตน<br />

และพรอมกัน<br />

นั้น<br />

ก็จะพัฒนาความใฝทํ า หรือใฝสรางสรรค คือความอยากทํ าใหดี ขึ้น<br />

มาดวยเชนกัน ซึ่งเปนเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ<br />

เพราะอยากรู-อยากทํ<br />

า<br />

ที่แท<br />

มาดวยกัน<br />

เมื่อรู<br />

ความแตกตางวา อันนี้ดีแลว<br />

แตอันนี้ยังไมดี<br />

ยังไมสมบูรณ<br />

นาพอใจ ก็อยากทํ าใหมันดี แลวจะทํ าอยางไรใหมันดี ก็ตองหาความรูที่<br />

จะทํ า เมื่อหาความรูและทํ<br />

าดวยความอยากรูอยากทํ<br />

า ก็มีความสุขจาก<br />

การหาความรู และจากการทํ า คือ การหาความรู<br />

และการทํ า(งาน) เปน<br />

ความสุข เมื่อการทํ<br />

างานสรางสรรคเปนความสุข นั่นคือการศึกษาไดกาว<br />

ไปในขั้นสํ<br />

าคัญ<br />

แตตรงขาม เมื่อไมมีการศึกษา<br />

คนไมพัฒนา เขาไมกาวจากความรู <br />

สึกไปสู ความรู ความสุขของเขาอยู ที่การไดเสพ<br />

คือไดรับการปรนเปรอหรือ<br />

บํ ารุงบํ าเรอ พูดรวบรัดวา ความสุขของเขาอยู ที่การไมตองทํ<br />

า ถาจะทํ า ก็


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

คือตองทํ า และเปนความทุกข ตอนนี้<br />

การทํ าเปนความทุกข และความสุข<br />

เกิดจากการไมตองทํ า<br />

เมื่อใดแหลงความสุขของคนเหลืออยู<br />

อยางเดียว คือการเสพ ความ<br />

สุขอยู ที่การไดเสพ<br />

ความสุขอยู ที่การไมตองทํ<br />

า และการทํ าเปนความทุกข<br />

เมื่อนั้น<br />

ภาวะทุกขงาย-สุขไดยาก จะยิ่งทบทวี<br />

บุคคลจึงประสบปญหาชีวิตที่<br />

หนักขึ้น<br />

ขณะที่สังคมก็จะยิ่งตํ<br />

าทรุดลงเปนธรรมดา<br />

่<br />

เทคโนโลยียิ่งกาวหนา<br />

พามนุษยที่ไมพัฒนาใหยิ่งถอยจม<br />

ในเรื่องที่พูดมาทั้งหมดนี้<br />

ตั้งแตเรื่องโรคอวน<br />

เรื่องความพรั่งพรอม<br />

สะดวกสบาย ตลอดจนการหาความสุขแบบพึ่งพา<br />

และความสุขจากการ<br />

ไมตองทํ านั้น<br />

มีสิ่งสํ<br />

าคัญที่สุดอยางหนึ่งเกี่ยวของอยู<br />

ตลอดเวลา แตไมได<br />

พูดออกชื่อมา<br />

สิ่งนั้นคือเทคโนโลยี<br />

เทคโนโลยีมีบทบาทสํ าคัญอยางยิ่ง<br />

ถึงขั้นที่เรียกไดวาเปนตัว<br />

บันดาลใหมนุษยไดมาอยูในโลกที่มีความเจริญอยางที่เปนอยูขณะนี้<br />

ดัง<br />

นั้น<br />

ความสุข ความเจริญ และปญหาทั้งหลายที่ไดพูดมา<br />

จึงเกี่ยวของกับ<br />

เทคโนโลยีทั้งนั้น<br />

อยางไรก็ตาม ในที่นี้เราไมมีเวลาที่จะมาพูดถึงเทคโนโลยี<br />

ที่เปน<br />

เรื่องใหญนี้ใหยืดยาว<br />

แตกระนั้นก็พูดไดสั้นๆ<br />

แบบครอบคลุมวา ในยุค<br />

สมัยนี้<br />

ถามนุษยจะบรรลุจุดหมายแหงการมีสุขภาวะ เขาจะตองเรียนรูที่<br />

จะสัมพันธปฏิบัติตอเทคโนโลยีนั้นใหถูกตองใหได<br />

พูดในทางยอนกลับวา ถามนุษยไมรูจักสัมพันธปฏิบัติตอ<br />

เทคโนโลยีใหดี สุขภาวะก็ไมมีทางสํ าเร็จ<br />

กลาวอยางรวบรัด เทคโนโลยีมีบทบาทสํ าคัญ เชน<br />

- ขยายวิสัยแหงอินทรียของมนุษย เชน ตาเห็นแคของใหญใกลๆ<br />

พอมีกลองจุลทรรศนและกลองโทรทรรศน เปนตน ก็เห็นแมแต<br />

/ 136<br />

๕๓


๕๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

สิ่งที่เล็กหรือไกลเกินคํ<br />

าพูด มือคนขนดินไดวันละนิดหนอย รถ<br />

แบคโฮมาคันเดียวก็ทํ างานไดมากกวาคนเปนรอย มี<br />

คอมพิวเตอรก็ขยายวิสัยของสมองคนออกไปอีกมากมาย ฯลฯ<br />

- สรางเครื่องอํ<br />

านวยความสะดวกสบาย อยางที่ฝรั่งชอบพูดวา<br />

comfort and convenience ซึ่งเห็นกันชัดอยู<br />

แลว ไมตองบรรยาย<br />

- เปดชองทางสรางโอกาส เชน มืดแลวหรือที่นั้นมืดจะทํ<br />

าอะไรไม<br />

ได ก็มีแสงไฟฉายไฟฟามาใหทํ าได ชองทางใหมหรือชองทางที่<br />

ไมนึกวาจะเปนไปไดก็เกิดก็มีขึ้น<br />

ในการทํ ากิจธุระหรือดํ าเนิน<br />

กิจการตางๆ แลวก็ทํ าใหมีโอกาสเขาถึงขอมูล หรือแหลงความรู <br />

หลากหลายมากมาย ฯลฯ<br />

- ยนและยืดเวลาของมนุษย (เวลาของธรรมชาติเทาเดิม) ทํ าใหทํ าการ<br />

ตางๆ ไดรวดเร็ว ประหยัดเวลา ออมเวลา ทํ าใหมนุษยมีเวลาวาง<br />

มากขึ้น<br />

โดยเฉพาะมนุษยบางพวกกลายเปนผู มีเวลาเหลือเฟอ<br />

เมื่อวาตามหลักการ<br />

เทคโนโลยีก็เปนปจจัย เมื่อมันเปนปจจัยของชีวิต<br />

ก็คือตองเกื้อหนุนการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดี<br />

และเกื้อหนุนระบบการพัฒนามนุษย<br />

ถามนุษยสัมพันธปฏิบัติตอเทคโนโลยีแลว ไมเกื้อหนุนการดํ<br />

าเนิน<br />

ชีวิตที่ดี<br />

ไมเกื้อหนุนการพัฒนาชีวิตของมนุษย<br />

ก็คือไมทํ าใหเทคโนโลยีเปน<br />

ปจจัยตามหลักการที่วานั้น<br />

และนั่นก็คือการสัมพันธปฏิบัติตอเทคโนโลยี<br />

อยางไมถูกตอง เปนการปฏิบัติที่ผิด<br />

และเมื่อพูดตามภาษาของเราในที่นี้<br />

ก็<br />

คือจะทํ าใหสูญเสียสุขภาวะ และปญหาเรื่องสุขภาวะจะตองเกิดขึ้นแนนอน<br />

พวกมนุษยที่ประสบปญหาที่วามาขางตนนั้น<br />

ไมรู ไมเขาใจหลักการนี้<br />

คือขาดปญญาพื้นฐานของชีวิต<br />

คนพวกนี้มองบทบาททุกขอของเทคโนโลยี<br />

ไปรวมไวที่การหาเสพหาสุขอยางเดียว<br />

คือพวกเขาคิดวา เรามีเทคโนโลยี<br />

เราใชไอที ขยายวิสัยแหงอินทรียใหเกงกาจ จะไดมีอํ านาจยิ่งใหญ<br />

จะได<br />

ทํ าไดหาสิ่งเสพบริโภคบํ<br />

ารุงบํ าเรอกันใหเต็มที่<br />

เราจะมีเครื่องอํ<br />

านวย


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ความสะดวกสบายสะสมไวพรั่งพรอมทุกอยาง<br />

เราจะมีชองทางและได<br />

โอกาส แลวก็มีเวลาสนุกสนานบันเทิงหาความสุขกันอยางไมมีขีดจํ ากัด<br />

ขอที่ควรยํ้<br />

าไวในที่นี้<br />

คือเรื่องการปฏิบัติตอเวลา<br />

หรือการใชเวลา<br />

ขณะที่เวลาวางนั้นเปนกํ<br />

าไรกอนใหญที่มนุษยยุคไอทีไดมา<br />

แตเมื่อเขาใช<br />

ผิด คือปฏิบัติตอมันไมถูกตอง มนุษยเหลานั้นก็ใชมันทํ<br />

าลายชีวิตและ<br />

ทํ าลายสังคมของเขาเอง<br />

จะเห็นชัดวา เวลานี้<br />

คนสวนใหญในสังคมนี้<br />

ใชเวลาวางเที่ยวเสพ<br />

สิ่งบํ<br />

าเรอและกิจกรรมบันเทิง ประเภทมัวเมาบางมอมเมาบาง เพื่อหา<br />

ความสุข สะสมนิสัยที่มุงแตจะเสพและสนุกสนานกันตั้งแตยังเด็ก<br />

ตอง<br />

มีโทรศัพทมือถือ เพื่อเอาไวเปนสื่อเสพ<br />

ไมใชเพื่อสื่อสาร<br />

พูดคุยเรื่องราว<br />

แหงความหลงเพอ ตองมีมอเตอรไซคเอาไวไปซิ่งบาง<br />

ไวชวนกันไปหาที่<br />

ชุมนุมมั่วสุมบาง<br />

ตองมีตองใชคอมพิวเตอรเพื่อเลนเกมหรือแชตกัน<br />

คนไทยเองพูดกันมาก ฟงเหมือนวา คนไทยติดการพนันเปนนิสัย<br />

ฝงใจยิ่งกวาคนในสังคมอื่นใดทุกชาติพันธุ<br />

แตความจริง มนุษยทุกชาติก็<br />

ชอบเสี่ยงโชคเสี่ยงทายกันทั้งนั้น<br />

ถาคนไทยจะเปนชนพวกหนึ่งที่มีความ<br />

หนักเอียงหรือดิ่งไปในทางนี้<br />

ก็นาจะเปนเพราะขาดแรงดึงหรือตัวดุลดาน<br />

อื่นมาถวง<br />

เมื่อเอียงดิ่งไปขางเดียวบอยๆ<br />

นานเขา ก็สะสมความเคยชิน<br />

จนกลายเปนลักษณะเดนพิเศษที่สังเกตไดชัดเจน<br />

ตัวอยาง เชน หมู บานในดินแดนแถบหนึ่ง<br />

อยู กันสงบเรียบรอยจนชิน<br />

เวลาเห็นอะไรแปลกตา ชาวบานจํ านวนมากชอบทายหรือเลยตอไปเปน<br />

พนันกัน แมแตมีคนแปลกหนาตางถิ่นผานเขามา<br />

บางคนก็สนุกเอามา<br />

ทายกัน เชนวา สองคนที่เขามานั้น<br />

ทายซิวาเปนพี่นองกัน<br />

หรือเปนนาย<br />

กับลูกนอง และคนไหนเปนพี่<br />

หรือคนไหนเปนนาย ฯลฯ<br />

แตดินแดนอีกแถบหนึ่งมีภัยอันตรายมาก<br />

มีความหวาดระแวงสูง<br />

ในแตละหมู บาน เวลามีคนตางถิ่นเขามา<br />

คนจะตื่นตัวระวังภัย<br />

สอดสายตา<br />

/ 136<br />

๕๕


๕๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ดูหูฟงวาจะมีอะไรผิดหูผิดตา เตรียมสู<br />

(ไมมีใจจะมาคิดทายหรือพนัน)<br />

อีกถิ่นหนึ่ง<br />

คนใฝศึกษาหาความรู ที่หมูบานหนึ่งมีบางคนชอบ<br />

บันทึกเหตุการณ พอมีคนแปลกหนาตางถิ่นมา<br />

ก็จะตามเรื่องวามีอะไรที่<br />

เปนเรื่องราวนาบันทึกไวหรือไม<br />

นี่คือตัวอยางตัวดุลหรือแรงดึงดานอื่น<br />

เชน ภัยอันตราย เหตุบีบคั้น<br />

การสะสมนิสัยที่ตางกัน<br />

เปนตน ถาไมมีปจจัยภายนอกบีบคั้น<br />

แลวยัง<br />

ปลอยกันเรื่อยเป<br />

อย นิสัยเสี่ยงโชคเชิงพนัน<br />

(ไมใชเสี่ยงโชคแบบผจญภัย)<br />

ก็จะเดนแรง แมแตเรื่องที่ควรเปนประโยชนดานอื่น<br />

ก็มาจบที่กลายเปน<br />

เรื่องพนัน<br />

เชน กีฬาก็ไมมีคุณคาในฐานะของกีฬา แตกลายเปนรูปแบบ<br />

หนึ่งของการพนัน<br />

(เชน พนันบอลล) พาใหคนจมอยู ในภาวะจิตลุ มหลงมัว<br />

เมาแหงโมหะ และพาสังคมใหตกตํ่<br />

าเสื่อมโทรม<br />

ฉะนั้น<br />

ตองพยายามแกไข เชน หาหรือสรางแรงดึงดานอื่น<br />

ที่จะฝง<br />

เปนนิสัยฝายดีงาม ขึ้นมาดุลหรือนํ<br />

าออกไป ซึ่งตองทํ<br />

ากันไปเรื่อยๆ<br />

ในระยะ<br />

ยาว ไมใชปลอยเรื่อยเป<br />

อย หรือยอมรับความพายแพ<br />

แตที่เปนอยู<br />

แทนที่จะพยายามแกปญหา<br />

กลับทํ าการที่เหมือนบอก<br />

วายอมแพหรือหมดทางสู เลยหันไปสงเสริม ยิ่งยํ<br />

านิสัยพนันใหหนักแนนฝง<br />

้<br />

ลึกยิ่งขึ้น<br />

เรื่องที่ควรอยูแคชายขอบ<br />

กลายเปนมาไดที่เดนหรากลางสังคม<br />

เมื่อหาทางจัดใหมีเรื่องแจคพ็อตกันอยูเรื่อย<br />

คนก็รอหวังแจคพ็อต<br />

กันอยู นั่น<br />

ถาไมระวัง ปลอยใหเพลินกันดื่นไป<br />

ก็จะกลายเปนการเสริมยํ้<br />

า<br />

นิสัยรอโชคหลงลาภลอย คนหนึ่งคนเดียวหรือไมกี่คนไดผล<br />

แตคนสวน<br />

ใหญมากมายปลอยเวลาผานเปลา อาจจะเสียการศึกษาคนควาหรือเสีย<br />

การเสียงาน คนหนึ่งคนเดียวไดเงิน<br />

แตคนจํ านวนเปนแสนเปนลานเสีย<br />

นิสัย ไมกี่บุคคลไดผลประโยชน<br />

แตสังคมเสียคุณภาพอยางยากจะกู<br />

นอกจากปญหาการมีเวลาวางมากมายที่ใชไมถูกตองแลว<br />

การ<br />

เสพเทคโนโลยี โดยเฉพาะไอที แบบหลงใหลติดเพลิน ยังทํ าใหระบบการ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๕๗<br />

บริหารชีวิตของคนผูเจริญเหลานี้แปรปรวนวิปริตไปหมด<br />

แมแตการ<br />

บริหารรางกายก็เรรวน เรียกวาเสียดุลแหงอิริยาบถ เริ่มเสียสุขภาวะตั้ง<br />

แตดานนอกของชีวิต เริ่มดวยในชีวิตประจํ<br />

าวัน<br />

ไมใชแคนั้น<br />

แมวาเทคโนโลยีจะเปนสิ่งแวดลอมสํ<br />

าคัญที่เราตอง<br />

สัมพันธ แตเรามีสิ่งแวดลอมสํ<br />

าคัญขั้นพื้นฐานยิ่งกวานั้น<br />

ที่จะตอง<br />

สัมพันธใหระบบการดํ าเนินชีวิตของเราเปนไปดวยดี นั่นก็คือสิ่งแวดลอม<br />

ทางธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมทางสังคม<br />

เมื่อคนเหลานี้ติดเพลินใชเวลา<br />

อยูกับการเสพเทคโนโลยีเกินควร ก็เกิดภาวะเสียดุลแหงระบบความ<br />

สัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ทั้งทางธรรมชาติ<br />

และทางสังคม<br />

เฉพาะอยางยิ่ง<br />

ในดานสิ่งแวดลอมทางสังคมนั้น<br />

เวลานี้ไดยินกันชัด<br />

วา มีอาการกระเทือนอยางหนักที่สวนแกนกลางของสังคมนั้นทีเดียว<br />

คือ<br />

ความสัมพันธในครอบครัว นี่ก็คือการที่สังคมเสียศูนย<br />

ซึ่งจะทํ<br />

าใหงานเสริม<br />

สรางสุขภาวะสั่นคลอนไปทั้งระบบ<br />

ถาแกไขไมทัน จะตั้งหลักใหมั่นไดยาก<br />

แลวก็มาถึงขอที่สํ<br />

าคัญ คือ คนผูเจริญอยางวาทั้งหลาย<br />

พากันใช<br />

โอกาสที่ตนไดมาจากไอทีนั้นทอดตัวเองลงไป<br />

เพื่อใหเปนโอกาสของนัก<br />

แสวงหาผลประโยชน ที่จะไดจัดการเอาตัวเขาไปเปนเหยื่อ<br />

อยางนอยเขาก็เอาเวลาและโอกาสที่เขาไดจากไอที<br />

ไปมอบใหแก<br />

มารและปวงความชั่วราย<br />

ที่จะใชเวลาและโอกาสนั้นจับตัวเขาหมกไวให<br />

จมอยู ในหลุมแหงความประมาท สูญเสียโอกาสที่จะพัฒนาชีวิต<br />

และแม<br />

แตคุณภาพชีวิต รวมทั้งสุขภาวะที่มีอยูกอนบาง<br />

ก็จะถูกทํ าลายหมดไป<br />

การใชเวลานั้น<br />

เปนองคประกอบสํ าคัญของอารยธรรมมนุษย<br />

เพราะเปนที่มาของการสรางสรรคพัฒนาสิ่งดีเลิศประเสริฐทั้งหลาย<br />

เมื่ออารยธรรมเจริญขึ้น<br />

มนุษยก็ควรจะยิ่งมีความสามารถในการ<br />

ใชเวลาไดดีมากขึ้น<br />

แตถามนุษยลุมหลงโงเขลาปฏิบัติผิดตอสิ่งแวดลอม<br />

กาลเวลาที่กาวไป<br />

ก็กลายเปนที่สะสมปจจัยแหงความวิบัติเสื่อมถอย


๕๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

อารยธรรมก็จะพลัดลงไปในวิถีแหงหายนะ<br />

ในทางที่ถูก<br />

ก็ตองใชทั้งเทคโนโลยี<br />

และเวลาที่เปนกํ<br />

าไรจาก<br />

เทคโนโลยีนั้น<br />

อันรวมอยูในคํ<br />

าวาสิ่งแวดลอม<br />

ใหเปนปจจัยเกื้อหนุนสิ่งที่<br />

เรียกวาองครวมแหงการดํ าเนินชีวิตที่ดี<br />

และเกื้อหนุนระบบการพัฒนา<br />

ชีวิตของมนุษย ถาปฏิบัติถูกตองอยางนี้<br />

สุขภาวะก็สํ าเร็จมาดวยเองโดย<br />

อัตโนมัติ เพราะธรรมดาของธรรมชาติยอมเปนของมันอยางนั้นเอง<br />

แตปญหาอยู ที่วา<br />

มนุษยในโลกที่ถือตัววาพัฒนาแลว<br />

มีอารยธรรม<br />

สูงในยุคนี้<br />

มีวิถีชีวิตที่เลื่อนลอย<br />

มักเปนอยู เพียงดวยแนวคิดความเชื่อที่ยึด<br />

ถือตามๆ กันมา เลื่อนไหลไปแคตามกระแสความรู<br />

สึกนึกเห็น นอยนักที่จะ<br />

ใสใจแสวงความรู ที่ถองแทและคิดใหชัดเจน<br />

ขาดปญญาพื้นฐานของชีวิต<br />

ที่จะรู<br />

จักเปนอยูใหถูกตอง<br />

ไมรูเขาใจระบบการดํ<br />

าเนินชีวิตของตน และไม<br />

ตระหนักถึงการที่จะพัฒนาการดํ<br />

าเนินชีวิตนั้นใหเปนอยูดวยดี<br />

เขาจึงวาย<br />

เวียนอยู ในวังวนแหงปญหาของชีวิตและสังคม ที่เราเรียกวาไมมีสุขภาวะ<br />

เพราะฉะนั้นจึงตองมาพูดเรื่องนี้ใหรูเขาใจกัน<br />

ใหเปนความ<br />

ตระหนักรูขึ้นมา<br />

แลวก็ตองใหมีการพัฒนาคนใหถูกตองตามหลักความ<br />

เปนจริงของธรรมชาติของชีวิตนั้น<br />

ใหเขามีชีวิตที่เปนอยูถูกตองหรือ<br />

ดํ าเนินชีวิตไดอยางดี ดังที่เรียกวาใหเปนองครวมการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดี<br />

ดวยระบบการพัฒนาคนที่ถูกตองนั้น<br />

เปนอันกลับเขามาที่หลักกันอีก<br />

ทวนความวา การพัฒนาคนที่จะ<br />

บรรลุผล ใหเขามีสุขภาวะนั้น<br />

ก็คือ การที่องครวมของการดํ<br />

าเนินชีวิตทั้ง<br />

๓ แดน กาวเกื้อกันไปโดยอิงอาศัยเปนปจจัยแกกันอยางลงตัวพอเหมาะ<br />

พอดีสอดคลองไปดวยกัน โดยมีอินทรียและกายวาจาสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ทั้งทางกายภาพและทางสังคมอยางถูกตองไดผล<br />

เพราะมีจิตใจที่ไดพัฒนา<br />

ใหมีคุณภาพพรอมทั้งสมรรถภาพและสุขภาพอยางดี<br />

เนื่องจากมีปญญาที่<br />

รูเขาใจความตองการของชีวิตทามกลางความเปนจริงของโลก<br />

เปนตน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

คนตองมีความรู เขาใจวาอะไรเปนอะไร ทํ าอะไรอยางไรจะถูกตอง<br />

ไดผลดี ชีวิตจึงจะดํ าเนินไปได ดังนั้นจึงตองมีปญญามานํ<br />

า ตั้งตนแตรู<br />

เขาใจไดขอมูลวา ในการที่จะปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมในเรื่องนี้<br />

เชนในการ<br />

ที่จะกินนี่<br />

เรากินอาหารอะไรจึงจะสนองความตองการของชีวิตไดอยาง<br />

ถูกตอง หรือโดยตระหนักรูอยูวาอาหารตรงหนาที่เราจะกินนี่<br />

จะกินอยาง<br />

ไรจึงจะไมมีโทษแตไดประโยชนที่สุด<br />

เมื่อปญญารูเขาใจถูกตองแลว<br />

ถาจิตใจไดมีการพัฒนาไวดี ก็จะมี<br />

ความตองการสอดคลองตามที่ปญญาแจงชัดมา<br />

แลวก็จะนํ าพาพฤติ<br />

กรรมใหปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมเชนกินอยางถูกตองดวย<br />

ทํ าใหจิตใจเกิด<br />

ความพึงพอใจที่ไดสนองความตองการดวยความรูเขาใจมองเห็นผลดี<br />

นี่<br />

แหละก็ดํ าเนินไปดวยกันทั้งขบวน<br />

โดยมีองครวมครบทั้งสามแดน<br />

ไมใชแคเจออรอยก็กินไปๆ ไมเคยฝกตัวไว ชีวิตดํ าเนินไปแบบ<br />

ขาดๆ แหวงๆ ไมเต็มระบบ ไมครบองครวม<br />

ตกลงวา นี้คือระบบแหงองครวม<br />

ที่ประกอบดวยองครวมที่มีความ<br />

สัมพันธกันอยางถูกตอง มาเปนปจจัยเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน<br />

ใหชีวิตเปน<br />

อยูดํ<br />

าเนินไปไดดีงามยิ่งขึ้น<br />

มีการพัฒนาในทิศทางที่ดียิ่งขึ้น<br />

ไมใชวา อยูกันมาก็อยูกันไป<br />

บอกวาอยูในประเทศพัฒนา<br />

แตการ<br />

ดํ าเนินชีวิตไมไดพัฒนาเลย<br />

สุขภาวะจะมีจริงได ตองพลิกผันอารยธรรมสูทิศทางใหม<br />

ไปๆ มาๆ ไมรู วาคํ าวาพัฒนานี้<br />

เราจะใหความหมายวาอยางไร<br />

ตอนนี้ตองพูดวาคํ<br />

าวาพัฒนานั้นมีปญหาแลวละ<br />

เพราะวามันคับแคบ<br />

มันมีความหมายซึ่งสนองแนวคิดที่ผิด<br />

เมื่อมีแนวคิดที่ไมถูกตอง<br />

เราก็ใหความหมายของคํ าวาพัฒนาผิด<br />

พลาดดวย เปนเรื่องธรรมดา<br />

เพราะวาเมื่อความรูความเขาใจในเรื่องชีวิต<br />

/ 136<br />

๕๙


๖๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เรื่องความเปนอยู<br />

เรื่องความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมไมมีหรือไมถูกตอง<br />

ก็<br />

พาใหเกิดความผิดพลาดทางปญญา เรียกวามิจฉาทิฐิ เปนทิฐิผิด คือ<br />

เห็นผิด แนวคิดผิด เชื่อผิด<br />

เขาใจผิด<br />

เมื่อทิฐิผิด<br />

ก็คิดผิด พอคิดผิด ก็พูดผิด ก็ทํ าผิด ปฏิบัติตอสิ่งแวด<br />

ลอมผิด ก็เปนอยูผิด<br />

ดํ าเนินชีวิตผิด ไปหมดทั้งกระบวนเลย<br />

เหมือนอยางปจจุบันนี้<br />

ถามองในระดับใหญกวางครอบคลุม เอาทั้ง<br />

อารยธรรม ก็ถือวามนุษยชาวตะวันตกในสายอารยธรรมนี้มีปญญายิ่งใหญ<br />

ตั้งแตยุคกรีก<br />

ก็มีนักปรัชญาเดนสํ าคัญ ทั้งโสเคตรีส<br />

เพลโต<br />

อริสโตเติล ซึ่งมีชื่อเสียงยิ่งใหญเหลือเกิน<br />

แตมาตอนนี้ก็เกิดปญหาใน<br />

เรื่องสํ<br />

าคัญ ที่ชาวตะวันตกดวยกันเองตํ<br />

าหนิติเตียนหรือไมก็โอดครวญวา<br />

ภัยพิบัติรายที่สุดของโลก<br />

ที่ประจักษในปจจุบันนี้<br />

มีตนตอมาจากรากฐาน<br />

แนวคิดที่ผิด<br />

ในอารยธรรมที่ยิ่งใหญของตนนั่นเอง<br />

ภัยพิบัติอะไร ก็ปญหาสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมนี่ไง<br />

แลวแนวคิดตน<br />

ตออะไร ก็แนวคิดที่มุงจะพิชิตธรรมชาติใชไหม<br />

แนวคิดพิชิตธรรมชาตินี้<br />

เปนแนวคิดใหญอันหนึ่ง<br />

ที่เรียกวาเปนทิฐิ<br />

พื้นฐานของอารยธรรมตะวันตก<br />

โสเครตีสก็คิดอยางนี้<br />

เพลโตก็คิดอยาง<br />

นี้<br />

อริสโตเติลก็คิดอยางนี้<br />

บางทีเขาเถียงกันวาอริสโตเติลคิดในแนวตาง<br />

ออกไปหนอย แตโดยรวมแลวก็เปนการคิดที่จะพิชิตธรรมชาตินั้นแหละ<br />

ที่เขาเรียกวา<br />

conquest of nature คือจะเอาชนะธรรมชาติ หรือตองการ<br />

เปนนายธรรมชาติ (mastery of nature) หรือครอบครองธรรมชาติ<br />

(dominion over nature)<br />

อารยธรรมตะวันตกตลอดมาสองพันกวาป มีจุดมุ งหมายอันนี้ทั้ง<br />

หมด คือตองการเอาชนะธรรมชาติ และถือวาเปนรากฐานใหญแหงความ<br />

เจริญปจจุบัน โดยเฉพาะความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

เขาถือกันมา และภูมิใจกันมานักหนา จนกระทั่งถึงทศวรรษ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

1960s ในอเมริกาจึงเกิดอาการตื่นตระหนกตอปญหาธรรมชาติแวดลอม<br />

ที่กํ<br />

าลังจะวิบัติ แลวก็ตื่นตัวหาทางแกไข<br />

มีการเคลื่อนไหวตางๆ<br />

รัฐก็ตั้ง<br />

หนวยงานดานสิ่งแวดลอมขึ้นมา<br />

ความตื่นตัวกวางออกไปถึงระดับโลก<br />

ดังที่ใน<br />

ในป 1972 ก็เกิด<br />

การประชุมสุดยอดของโลกในดานสิ่งแวดลอมขึ้น<br />

เรียกวา Earth<br />

Summit ครั้งแรก<br />

นี้คือผลลัพธของแนวคิดพิชิตธรรมชาติ<br />

เปนการสัมพันธกับสิ่งแวด<br />

ลอมที่ผิดพลาดในระดับที่ใหญที่สุด<br />

คือในระดับโลกเลย เพราะมนุษยที่<br />

คิดจะพิชิตธรรมชาติ ออกไปจัดการกับธรรมชาติตามใจชอบ เพื่อเอา<br />

ธรรมชาติมารับใชบํ ารุงบํ าเรอปรนเปรอตน ก็ทํ าใหสิ่งแวดลอมทั้งหลาย<br />

เสื่อมโทรม<br />

ทั้งทรัพยากรธรรมชาติรอยหรอ<br />

ทั้งเกิดมลภาวะตางๆ<br />

แลวก็<br />

ยอนมาเกิดภัยอันตรายตอชีวิตของมนุษยเอง<br />

เมื่อมนุษยมองเห็นภัยอันนี้วารายแรงนัก<br />

และคิดวาถาขืนทํ าอยาง<br />

เดิมตอไป ตัวเองจะอยูไมได ก็เลยตองคิดจัดวางจริยธรรมที่เรียกวา<br />

Environmental Ethics ขึ้นมา<br />

บอกวาใหคนมี restraint ยอมยับยั้งชั่งใจ<br />

ควบคุมตัวเองในความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ในการที่จะไมบริโภคเกิน<br />

ควร ที่จะไมเอาเปรียบธรรมชาติเกินไป<br />

ไมทํ าลายธรรมชาติมากนัก นี้<br />

เปนตัวอยางบทเรียนจากการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมที่ผิด<br />

นอกเหนือจากแนวคิดใหญที่ผิดนี้<br />

ขอใหไปศึกษาดูเถอะ แนวคิด<br />

ยอยก็อันเดียวกัน แมกระทั่งการที่คนแตละคนจะสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ก็อยูใตแนวคิดอันนี้<br />

คือฝรั่งมองตัวคนแยกตางหากจากธรรมชาติ<br />

และ<br />

มองธรรมชาติวาเปนปฏิปกษกับคนมาโดยตลอด รวมเปน ๓ ขั้น<br />

๑. มนุษยแยกตางหากจากธรรมชาติ<br />

๒. มนุษยกับธรรมชาติเปนปฏิปกษกัน<br />

๓. มนุษยจะตองเอาชนะธรรมชาติ<br />

/ 136<br />

๖๑


๖๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

นี้คือแนวคิดหลักที่เปนมา<br />

ในการที่มนุษยจะสัมพันธกับธรรมชาติ<br />

เอาชนะธรรมชาติ ก็คือเปนปฏิปกษกับมัน<br />

ทํ าไมฉันจะตองเอาชนะมันใหได ก็เพราะวาธรรมชาตินี้แหละมัน<br />

ทํ าใหฉันไมมีความสุข ฉันทํ าอะไรไมไดตามชอบใจ ตองคอยตามใจมัน<br />

ไมวาจะทํ าไร ไถนา จะปลูกขาว จะจับปลา จะทํ ามาหากินอะไร ก็ตอง<br />

คอยฝนฟาฤดูกาล หนํ าซํ า ้ ปลูกขาว ทํ าสวนทํ าไรไวงอกงามดี อยูๆ<br />

นํ้<br />

า<br />

เหนือนํ้<br />

าปามาทวมเสียหายหมด อยางนี้ฉันแย<br />

แตที่ฝรั่งเจอทุกป<br />

ฤดู<br />

หนาวมาถึง เปนเดือดรอนใหญทุกที เพราะฉะนั้นฉันจะตองหาทางเอา<br />

ชนะ หาทางใหธรรมชาติอยูใตบงการของฉัน<br />

ความมุงหมายใฝฝนนี้<br />

เปนแรงขับดันใหชาวตะวันตกมีเจตจํ านง<br />

มุ งมั่นที่จะเอาชนะธรรมชาติ<br />

และทํ าใหพัฒนาวิทยาศาสตรขึ้น<br />

เพื่อลวงรู<br />

ลวงเอาความลับของธรรมชาตินั้น<br />

มาใชจัดการกับมัน<br />

มีขํ าๆ แทรกนิดหนึ่งวา<br />

วิทยาศาสตรที่ไดพัฒนากันมาอยางนี้<br />

เมื่อ<br />

ยังไมประยุกตใช ก็เรียกวา วิทยาศาสตรบริสุทธิ์<br />

คือ pure science<br />

ก็เลยมีนักวิทยาศาสตรพวกหนึ่งบอกวา<br />

วิทยาศาสตรอะไรบริสุทธิ์<br />

pure science ที่ไหน<br />

มันไม pure จริงหรอก เหมือนกับเปนการเลนคํ า<br />

กัน วาวิทยาศาสตรนั้นไมบริสุทธิ์จริง<br />

มันไม pure เพราะมีเจตจํ านงที่ไม<br />

บริสุทธิ์อยูเบื้องหลัง<br />

คือเจตนาที่จะเอาชนะธรรมชาติ<br />

หรือเพราะแนวคิด<br />

ที่จะพิชิตธรรมชาตินี้แหละ<br />

ความรูวิทยาศาสตรจึงไดเจริญขึ้นมา<br />

[นอกจากนี้<br />

ในยุคอุตสาหกรรมกาวไกล ที่พยายามใชความรู<br />

วิทยาศาสตรเอาชนะธรรมชาติกันมากขึ้นๆ<br />

ก็มีเรื่องฉาวโฉบอยครั้งวามี<br />

การวิจัยทางวิทยาศาสตรเพื่อรับใชธุรกิจอุตสาหกรรม<br />

โดยมีเรื่องเงินๆ<br />

ทองๆ เขามาเปนแรงจูงใจ ถึงกับมีผูเขียนหนังสือขึ้นมา<br />

(โดย Robert<br />

Bell) ตั้งชื่อวา<br />

impure science]<br />

ในเรื่องนี้<br />

ฝรั่งเขามองอยางไร<br />

ฝรั่งมองวา<br />

วิทยาศาสตรเจริญขึ้นก็


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

คือการที่มนุษยไดลวงรูความลับของธรรมชาติ<br />

แลวจะไดจัดการธรรม<br />

ชาติไดตามความประสงคของมนุษย ทีนี้<br />

การจัดการธรรมชาตินั้น<br />

จะทํ า<br />

ไดอยางไร เราก็ใชเทคโนโลยีจัดการ จึงตองพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมา<br />

สมัยกอนโนน มนุษยมีเทคโนโลยีที่ไมตองอาศัยวิทยาศาสตร<br />

แต<br />

พอมีวิทยาศาสตรมาชวย เทคโนโลยีก็พัฒนากันใหญ กาวหนามากมาย<br />

พอไดเทคโนโลยีที่กาวหนามา<br />

ก็เอาไปพัฒนาอุตสาหกรรม พออุตสาห-<br />

กรรมพัฒนาขึ้นมา<br />

อุตสาหกรรมก็เอาธรรมชาติมาเปนวัตถุดิบรวมทั้ง<br />

เปนเชื้อเพลิง<br />

แลวก็ผลิตโภคภัณฑขึ้น<br />

เพื่อเอามาสนองความตองการ<br />

ของมนุษยใหเกิดมีสิ่งเสพบริโภคพรั่งพรอม<br />

เรียกวาความเจริญในดานที่<br />

เรียกวาเศรษฐกิจ ดูสั้นๆ<br />

วา เศรษฐกิจพัฒนาขึ้นมาดวยอุตสาหกรรม<br />

เมื่อมองดูตลอดสายจะเห็นวา<br />

ที่วามานี้คือขบวนการพัฒนาของ<br />

อารยธรรมปจจุบัน ไดแก วิทยาศาสตร เทคโนโลยี อุตสาหกรรม<br />

เศรษฐกิจ จนกระทั่งมาเปนสังคมบริโภคนิยมในปจจุบัน<br />

ที่หวังความ<br />

สุขจากการเสพบริโภค<br />

แลวไปๆ มาๆ เมื่อที่ไหนมั่งคั่งพรั่งพรอมสะดวกสบายหนักเขา<br />

พอ<br />

ถึงจุดหนึ่งก็ชักจะหืนเอียน<br />

ไมเห็นจะมีความสุขสมใจหมาย แตกลายเปน<br />

อืดเฟอบาง เบื่อหนายบาง<br />

เกิดปญหาใหมๆ ที่นักหนาบาง<br />

ก็เกิดความ<br />

ผิดหวัง แถมมีปญหาใหมๆ พะรุงพะรังที่จะตองแกไข<br />

แทบจะตองมาคิด<br />

ตั้งตนกันใหม<br />

ทั้งหมดนี้ทํ<br />

าใหเราตองหวนกลับมาพิจารณาวา แนวคิดที่เปนฐาน<br />

ของอารยธรรมปจจุบันนี้<br />

เปนทิฐิที่ผิดตั้งแตวงรอบใหญเลยทีเดียว<br />

เมื่อ<br />

วงรอบใหญผิด วงรอบเล็กในชีวิตของแตละคนก็ผิดไปตาม เพราะแตละ<br />

คน โดยไมรูตัว<br />

ก็มองธรรมชาติเปนปฏิปกษ ที่เราจะตองไปตอสู<br />

ปราบ<br />

ปราม เอาชนะ<br />

คนมองธรรมชาติเปนของนอกตัว ทั้งที่แทจริงนั้น<br />

ชีวิตเราเองก็เปน<br />

/ 136<br />

๖๓


๖๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ธรรมชาติ เราเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ<br />

(ที่จริงเปนธรรมชาติสวนหนึ่ง)<br />

ชีวิตเราเปนธรรมชาติอยูในตัว<br />

เมื่อเรื่องเปนอยางนี้<br />

มนุษยก็จึงตองเปลี่ยนแนวคิดใหม<br />

ตองมอง<br />

ทุกอยางใหมหมด ตองเปลี่ยนทาทีตอธรรมชาติ<br />

ตอสิ่งแวดลอม<br />

และตอ<br />

ชีวิตของตัวเองหมดเลย<br />

ในขั้นพื้นฐานก็ตองไมมีการแบงแยก<br />

ไมมองมนุษยกับธรรมชาติ<br />

แยกจากกัน เพราะวามนุษยนี้คือชีวิตที่เปนธรรมชาติสวนหนึ่ง<br />

มนุษย<br />

เปนธรรมชาติอยูในตัวเอง ตอนนี้เราตองมองประสานใหหมด<br />

พอมอง<br />

ประสานกัน ก็มีทางที่จะเกื้อกูลและอยูอยางกลมกลืนซึ่งกันและกัน<br />

การมีแนวคิดใหม ก็คืองานของปญญาที่รูความจริง<br />

และคิดถูก<br />

ทาง ใหทิฐิถูกตอง เปนสัมมาทิฐิ พอแนวคิดถูกตอง ก็คิดถูก ตั้งใจถูก<br />

วา<br />

จะไมมุงเอาชนะธรรมชาติแลว แตมีเจตจํ านงที่จะใชปญญานั้น<br />

เอา<br />

ความรูเขาใจมาจัดสรรระบบความสัมพันธในธรรมชาติใหดี ใหหันมา<br />

ประสานเกื้อกูลซึ่งกันและกัน<br />

จากนั้น<br />

พฤติกรรมในการสัมพันธกับธรรม<br />

ชาติปฏิบัติตอสิ่งแวดลอม<br />

ก็เปนไปตามในทางที่จะประสานเกื้อกูล<br />

เปนอันวา เมื่อแนวคิดถูกตองแลว<br />

ระบบการดํ าเนินชีวิตของเราก็<br />

กาวไปทางที่จะถูกตองดวย<br />

ดังนั้น<br />

การปรับแกจึงตองทํ าตั้งแตวงเล็กใน<br />

แตละบุคคลไปจนกระทั่งถึงแนวคิดใหญและระบบการทั้งมวลที่เรียกวา<br />

อารยธรรมทั้งหมด<br />

ใหประสานเปนอันเดียวกัน นี้เปนการพูดแบบครอบ<br />

คลุม แตรวมความมันก็ตองเปนอยางนี้<br />

ไมมีทางเลี่ยง<br />

พอถึงขั้นนี้<br />

ที่เราบอกวาจะเชื่อมประสานมนุษยกับธรรมชาติให<br />

เปนอันเดียวกัน ใหชีวิตของเราอยูกันไดดวยดีกับธรรมชาติ<br />

และจะตอง<br />

เกื้อกูลกันกับธรรมชาติ<br />

ก็คือมาคลายกับนักคิดฝรั่งสมัยใหมบางคน<br />

ที่<br />

บอกวาจะใหอยูรวมกันโดยสันติ<br />

คือ peaceful coexistence<br />

กอนหนานี้มีคํ<br />

าวา peaceful coexistence สํ าหรับใชกับมนุษย


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ดวยกัน เรียกวาเปนการอยูรวมกันอยางสันติกับเพื่อนมนุษย<br />

แตตอนนี้<br />

เขาจะใหมี peaceful coexistence กับธรรมชาติดวย ความจริง ถามอง<br />

ใหชัด ก็ไมจํ าเปนตองมี เพราะคํ าวา peaceful coexistence นั้นฟองวา<br />

ยังมีแนวคิดที่มองมนุษยกับธรรมชาติเปนคนละพวก<br />

แตกอนนั้นเปนศัตรู<br />

กัน แลวตอนนี้ก็จะมาอยูรวมกันโดยสันติ<br />

นี่คือรองรอยความคิดเดิมของ<br />

ฝรั่ง<br />

และเปนตัวอยางหนึ่งในการหาทางออกของเขา<br />

แทจริงแลว มนุษยกับธรรมชาตินั้นเปนอันเดียวกันเลย<br />

ซึ่งใน<br />

ความเปนจริง หรือโดยสภาวะ มันเปนอันเดียวกันอยูแลว<br />

ทํ าอยางไรจะ<br />

ใหชีวิตเราอยูในธรรมชาติอยางประสานกลมกลืนและเกื้อกูลกัน<br />

เราก็<br />

อยาไปแยกออกมาเปนปฏิปกษกันเสีย ก็เทานั้นเอง<br />

แตทั้งนี้ก็ไมใชวามันจะอยูกันดีไดเฉยๆ<br />

เราก็ตองมีปญญาที่จะจัด<br />

สรรเหตุปจจัยใหระบบมันดํ าเนินไปในทางที่จะเอื้อเกื้อกูลกัน<br />

เปนแตวา<br />

ในจิตใจจะตองมีเจตจํ านงที่มุงในทางที่จะเกื้อกูลอยางนั้น<br />

อันนี้เปนแนวคิดดั้งเดิมเกาแก<br />

ที่จะตองยกขึ้นมายํ้<br />

าเนนกันใหม<br />

และจะตองทํ าใหได เพราะวาการสัมพันธปฏิบัติตอธรรมชาติใหถูกตองนี้<br />

เปนองคประกอบขั้นพื้นฐานของสุขภาวะเลยทีเดียว<br />

ยิ่งในเมื่อปญหาสิ่งแวดลอมเปนปมติดตันใหญของโลกในปจจุบัน<br />

เราจะตองชวยหาทางทํ าใหลงตัวกับปญหาสิ่งแวดลอมนั้นใหได<br />

ตองจับ<br />

เงื่อนที่จะแกไขใหถึงขั้นปญญา<br />

ใหถึงแนวคิด ตองใหตระหนักความจริง<br />

วา มนุษยเราก็เปนชีวิต ชีวิตเราก็เปนธรรมชาติ<br />

ตอนนี้ในดานแนวคิด<br />

เขายอมใหเราประสานมนุษยกับธรรมชาติ<br />

ไดแลว ยอมรับกันแลววาชีวิตกับธรรมชาติเปนอันเดียวกัน ทีนี้ก็อยู<br />

ที่วา<br />

จะไปจัดการในทางปฏิบัติใหลุจุดหมายกันไดอยางไร<br />

/ 136<br />

๖๕


๖๖<br />

สุขภาวะจะสํ าเร็จได ตองแกไขใหหมดความขัดแยงในระบบ<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เมื่อกี้เราพูดถึงชีวิตที่เปนองครวมซึ่งมีสามแดน<br />

ตอนนี้เราจะกาว<br />

กวางออกไปอีกขอบเขตหนึ่ง<br />

คือมองวา องครวมแหงชีวิตนี้<br />

เปนองครวม<br />

ในองครวมที่ใหญขึ้นไปอีก<br />

องครวมใหญนี้มีองครวมอะไรบาง<br />

ก็มีมนุษย ธรรมชาติ (หรือพูด<br />

ดวยภาษาสมัยใหมวา สิ่งแวดลอม)<br />

และสังคม<br />

ปญหาของปจจุบันก็คือ มนุษย สิ่งแวดลอม<br />

และสังคม ทั้งที่รวม<br />

อยู ในระบบสัมพันธใหญอันเดียวกัน แตไมประสานกลมกลืนกัน กลับจะ<br />

มักขัดแยงกัน ทํ าอยางไรจะใหอยู กันไดดวยดีอยางประสานกลมกลืน ถา<br />

องครวมสามอยางนี้อยูกันดวยดีได<br />

ก็หมายถึงการที่มนุษยจะสามารถมี<br />

สุขภาวะดวย แตถาสามอยางนี้ยังขัดกัน<br />

สุขภาวะของมนุษยก็ยังมาไมได<br />

ในการดํ าเนินชีวิตสามแดนที่วาขางตน<br />

เราพูดไปแลววา ในแดน<br />

แรกตองใหชีวิตมีความสัมพันธที่ดีเกื้อกูลกันกับสิ่งแวดลอม<br />

และกับ<br />

สังคม ถึงตอนนี้เราบอกวายังไมจบเทานั้น<br />

จะตองใหปจเจกชนกับสังคม<br />

และสิ่งแวดลอมกับสังคม<br />

กลมกลืนเกื้อกูลกันดวย<br />

นี่ก็คือการพูดขยายออกไปวา<br />

ตองทํ าให ทั้งชีวิตมนุษย<br />

และสิ่ง<br />

แวดลอม และสังคม ประสานเกื้อกูลกลมกลืนกันทั้งหมด<br />

แตปญหาก็คือ เวลานี้ทั้งสามอยางนั้นขัดกันทั้งหมด<br />

เริ่มตั้งแตเรื่อง<br />

มนุษยกับสิ่งแวดลอมขัดกัน<br />

อันนี้ก็ชัดเจนอยางยิ่ง<br />

ก็คือปญหาเรื่องมนุษย<br />

มุ งเอาชนะธรรมชาติ จนกระทั่งสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมไปทั่ว<br />

ดังที่พูดไปแลว<br />

ตอจากนั้น<br />

มนุษยแตละบุคคลหรือปจเจกชน กับสังคม ก็ขัดแยง<br />

กัน มนุษยแตละคนเห็นแกตัว เมื่อเขาเที่ยวแสวงหาความสุข<br />

ก็แกงแยง<br />

ชวงชิงกัน เบียดเบียนกัน สังคมก็เดือดรอน<br />

ในทางกลับกัน ถาจะใหสังคมอยูดี<br />

บุคคลก็ตองยับยั้งการที่จะได<br />

จะเอา ตองยอมเสียสละเพื่อสังคม<br />

ถาเสียสละเพื่อสังคมก็คือตัวฉันแย


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ฉันก็ตองยอมทุกขหรือยอมทน ไมไดความสุข<br />

นี่ก็คือความขัดแยงในทางผลประโยชนระหวางสังคมกับปจเจก<br />

บุคคล คือ ถาจะใหสังคมได ปจเจกบุคคลก็ตองเสีย ถาจะใหปจเจกชน<br />

ได สังคมก็ตองเสีย<br />

สภาพขัดแยงกันอยางนี้<br />

ปจจุบันก็เปนอยูแลว<br />

ขัดกันถึงในระดับ<br />

ลัทธินิยมอุดมการณ จนจะกลายเปนเพียงทางเลือกวาตองเอาอยางใด<br />

อยางหนึ่ง<br />

ทํ าใหมาเถียงกันวา เราจะเอาปจเจกชนเปนหลัก ใหปจเจก<br />

ชนไดตามชอบใจ โดยยอมปลอยสังคมจะเปนอยางไรก็เปนไป หรือจะ<br />

เอาสังคมเปนหลัก ใหปจเจกบุคคลยอมอุทิศตนเสียสละใหแกสังคม<br />

อันนี้ก็ทํ<br />

านองเดียวกับความขัดแยงในความสัมพันธระหวางสังคม<br />

มนุษยกับธรรมชาติ คือ ถาจะใหธรรมชาติอยูดี<br />

มนุษยก็ตองยอมที่จะไม<br />

ไดกินไมไดเสพตามชอบใจ ตองยอมอดยอมลดความสุข หรือแมแตยอม<br />

ทนทุกข แตถาจะใหมนุษยสุขสมหมาย ก็ตองยอมปลอยใหสิ่งแวดลอม<br />

เสื่อมโทรม<br />

สภาพขัดแยงอยางนี้แหละ<br />

ที่ทํ<br />

าใหมนุษยยุคปจจุบันตองประสบ<br />

ปญหามากมาย และทํ าทาจะอับจน หาทางออกไมได เพราะเหตุวา ตัว<br />

เองนั้นหนักไปขางที่จะเอาตัวสุขสบายเปนหลัก<br />

โดยไมตองคํ านึงถึง<br />

สังคมและสิ่งแวดลอม<br />

แตถาเอาแบบนั้น<br />

ก็จะเจอปมตีกลับที่กลืนไมเขาคายไมออก<br />

คือ<br />

ถาปลอยปละละเลยสังคม ไมจัดการควบคุมคนใหสังคมสงบเรียบรอยอยู ดี<br />

พอสังคมวุนวาย<br />

ตัวบุคคลเองก็ตองเดือดรอนดวย หรือถาจะไมพิทักษ<br />

สิ่งแวดลอม<br />

พอมันเสื่อมโทรมไป<br />

คนเองก็อยูดีไมได<br />

ตองเดือดรอนอีก<br />

ดวยเหตุที่วานั้น<br />

มนุษยสมัยนี้จึงตองจํ<br />

าใจจํ ายอมทํ าตามขอ<br />

กํ าหนดของจริยธรรมทางสิ่งแวดลอมขอที่เรียกวา<br />

restraint คือการ<br />

ยับยั้งชั่งใจ<br />

ควบคุมตัวเอง โดยเฉพาะยับยั้งการเสพบริโภค<br />

ซึ่งเทากับ<br />

/ 136<br />

๖๗


๖๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ยอมจํ ากัด ยอมอดยอมลดความสุขของตัวเอง<br />

สถานการณอยางนี้แสดงวา<br />

มนุษยยุคปจจุบันกํ าลังประสบ<br />

ปญหาอยางหนักจากภาวะขัดแยงในระบบการดํ ารงอยูของตนเอง<br />

และ<br />

หาทางออกที่จะแกไขปญหาใหลงตัวไมได<br />

และกลายเปนมนุษยยุคที่มี<br />

ทุกขมาก หรือเต็มไปดวยความทุกขมากมายหลายดาน<br />

ถาอยางนั้น<br />

ก็ตองหาหลักการใหมในการแกปญหา ตองมีแนวคิด<br />

แนววิธีที่จะจัดปรับระบบการดํ<br />

ารงอยูของมนุษยกันใหม ที่จะใหความ<br />

สํ าเร็จของมนุษยไมกอใหเกิดภาวะขัดแยงที่กลาวมา<br />

แตจะตองเปน<br />

ความสํ าเร็จหรือบรรลุจุดหมายที่หมายถึงความอยูดีดวยกันอยางเกื้อกูล<br />

และกลมกลืนในระบบทั้งหมด<br />

นี้แหละคือเหตุผลที่เราจะตองพัฒนามนุษยตามหลักองครวมแหง<br />

การดํ าเนินชีวิตสามแดนที่พูดมาแลว<br />

ซึ่งมีหลักการที่บอกวา<br />

ชีวิตมนุษย<br />

กับธรรมชาติแวดลอม ก็ดี ปจเจกชนกับสังคม ก็ดี จะตองประสานกลม<br />

กลืนเกื้อกูลซึ่งกันและกัน<br />

สอดคลองเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน<br />

ไมใหผล<br />

ประโยชนขัดกัน ไมใหเกิดภาวะขัดแยงกัน<br />

เปนอันวา เนื่องจากขณะนี้มนุษยกับสิ่งแวดลอม<br />

ก็ดี ปจเจกชน<br />

กับสังคม ก็ดี มีผลประโยชนขัดกัน เราจะตองเปลี่ยนระบบความสัมพันธ<br />

ใหม ใหองครวมทั้งสามมีผลประโยชนรวมกัน<br />

และกาวไปอยางประสาน<br />

เกื้อกูลซึ่งกันและกันใหได<br />

ถาใครถามวา แนวคิดที่จะชวยใหทํ<br />

าอยางนี้ได<br />

มีไหม ทํ าไดไหม ก็ตอบวามี และทํ าไดแนนอน<br />

ที่ผานมานั้น<br />

การแกปญหาติดตัน ก็เพราะเหตุเพียงแความนุษย<br />

ไมมีปญญามองเห็นความจริง จึงมีแนวคิดที่ผิด<br />

เห็นผิด มองผิด คิดผิด<br />

ดังนั้น<br />

เมื่อจะแกปญหา<br />

ตัวตัดสินก็อยูที่ปญญานั่นแหละ<br />

เมื่อปญญามา<br />

เรามีแนวคิดถูกตอง เห็นถูก คิดถูกตองแลว ก็มาพัฒนาคน มาปรับ<br />

เปลี่ยนสภาพจิตใจใหม<br />

มาจัดสรรความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมใหม


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ภาวะจิตใจกับปญญา ในระบบสัมพันธที่ควรศึกษาใหชัด<br />

โดยเฉพาะขอวาจิตใจเปลี่ยนไดดวยปญญานั้น<br />

เปนเรื่องธรรมดา<br />

ของธรรมชาติที่ควรเนนไว<br />

เพราะเวลานี้<br />

เราไปเห็นฝรั่งพูดถึงเรื่อง<br />

emotional intelligence พูดถึง EQ เขา ก็ตื่นกัน<br />

คิดวาเปนเรื่องใหม<br />

ฝรั่งเขาติดอยูกับ<br />

IQ มานาน เอาแตเรื่อง<br />

intelligence เนนแต<br />

ดานสติปญญา ซึ่งนาจะเปนไปดวยอิทธิพลตามสภาพของยุคสมัยดวย<br />

ตามประวัติศาสตร ชาวตะวันตกเริ่มตื่นตัวทางปญญา<br />

ตั้งแตยุค<br />

ฟนฟูศิลปวิทยาการของกรีกและโรมันโบราณ แลวตอมาไมชาก็เขายุค<br />

ปฏิวัติวิทยาศาสตร (ถือวาเริ่มใน<br />

ค.ศ.1543/พ.ศ.๒๐๘๖ และถึงจุดสูง<br />

สุดในป 1687/๒๒๓๐) ตามดวยยุคพุทธิปญญา หรือยุคแหงเหตุผล<br />

(Enlightenment หรือ Age of Reason) แหงคริสตศตวรรษที่<br />

18 ที่ควบ<br />

คู กับยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม (เริ่มแต<br />

1750/๒๒๙๓)<br />

ภาวการณทั้งหลายตลอดยุคสมัยเหลานี้<br />

กระตุนกระแสนิยม<br />

วิทยาศาสตร (scientism) จนคนถือวิทยาศาสตรเปนเครื่องวัดทุกสิ่งทุก<br />

อยาง มองอะไรๆ วาเปนวิทยาศาสตรหรือไม เปนเหตุเปนผลหรือไม ยก<br />

ยองเชิดชู intelligence เอียงดิ่งไปขาง<br />

intellect มาเกือบครึ่งสหัสวรรษ<br />

พรอมนั้น<br />

ตลอดยุคสมัยที่วามา<br />

ตะวันตกก็สุดโตงไปทางความคิด<br />

แยกสวน ซึ่งก็เปนลักษณะความคิดของยุคนิยมวิทยาศาสตรนั่นเอง<br />

ที่<br />

สามารถในการแยกสวนยอยไปวิเคราะหจนชํ านาญพิเศษ แตมักไมมอง<br />

ความสัมพันธเชิงเหตุปจจัยระหวางสวนยอยที่แยกออกไปนั้น<br />

จะเห็นไดแมแตในเรื่องพัฒนาการ<br />

๔ ดาน ที่เขาแยกองครวมออกไป<br />

แตเขาไมไดสนใจกับความสัมพันธระหวางพัฒนาการทั้ง<br />

๔ ดานนั้น<br />

ทั้งที่<br />

ความสัมพันธระหวาง ๔ ดานนั้นแหละเปนเรื่องสํ<br />

าคัญอยางยิ่งสํ<br />

าหรับ<br />

ระบบองครวม ดังไดพูดมาในเรื่ององครวมสามแดนแหงการดํ<br />

าเนินชีวิต<br />

ถึงตอนนี้<br />

ก็ประจวบพอดีวา กระแสนิยมวิทยาศาสตรเสื่อมคลาย<br />

/ 136<br />

๖๙


๗๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

และความคิดแยกสวนชํ านาญพิเศษถอยซาจากความเชื่อถือ<br />

การเพงแต<br />

ดานปญญาโดยเอาเหตุผลเปนเกณฑตัดสินก็มีอํ านาจอางอิงลดลง แนว<br />

คิดองครวมเริ่มเฟองฟูขึ้น<br />

(ภูมิปญญาชาวบาน การแพทยทางเลือก<br />

เปนตน ก็เขามาสู ความสนใจ เปนที่ยอมรับ<br />

และแพรหลายในระยะนี้)<br />

ในชวงนี้เอง<br />

ก็เกิดมีนักจิตวิทยาอเมริกันรุ นใหม ๑ มาเห็นความสํ าคัญ<br />

ของ emotion ในแงที่สัมพันธกับปญญา<br />

(ถาพูดใหถูก นาจะวา ความสํ าคัญ<br />

ของปญญาในแงที่สัมพันธกับ<br />

emotion) และความสํ าเร็จทางสังคม เรื่อง<br />

emotional intelligence ก็โดงดังขึ้นมา<br />

ซึ่งแสดงใหเห็นวา<br />

ทานเหลานี้หันมา<br />

ใสใจจริงจังในเรื่องความสัมพันธเชิงเหตุปจจัยระหวางปญญา<br />

กับภาวะจิตใจ<br />

(อารมณ) และสังคม เขาแนวของการมองอยางเปนระบบ และเปนองครวม<br />

ฝรั่งมาเห็นวาปญญา<br />

(พึงสังเกตวาในที่นี้เขาใชคํ<br />

าวา intelligence)<br />

สัมพันธเชิงปจจัยกับ emotion ไมใชแคทางเดียว แตซึ่งกันและกัน<br />

โดยเฉพาะ เขาบอกวา emotion มีบทบาทสํ าคัญมากกวาที่รู<br />

เขาใจ<br />

คิดกันมา และความชาญฉลาดในการปฏิบัติจัดการดาน emotion ใหดี มี<br />

สวนสํ าคัญยิ่งสํ<br />

าหรับการดํ าเนินชีวิตและการพัฒนาคนใหไดผลดี ที่จะ<br />

ทํ าใหกาวหนาในสังคม และใหสังคมงอกงาม โดยคนมีความสํ าเร็จใน<br />

ชีวิต ดวยการมีพฤติกรรมที่เหมาะที่ดีที่สรางสรรค<br />

ถือไดวา ฝรั่งรายนี้มองครบสามแดน<br />

แมวาในเรื่องพฤติกรรมเขาจะ<br />

พูดถึงเพียงเปนเรื่องพวงพลอยเทานั้น<br />

และเขาไมไดแสดงความเปนระบบ<br />

ออกมาชัดๆ เพราะเขามีจุดเนนซึ่งมุ<br />

งใหเห็นความสํ าคัญของ emotion ที่มี<br />

ตอปญญา ในความสัมพันธกับปญญา และการปฏิบัติจัดการกับ emotion<br />

ในการดํ าเนินชีวิตที่ดีมีความสุขสํ<br />

าเร็จในสังคม (และทั้งนี้<br />

มิไดหมายความ<br />

๑ Peter Salovey และ John Mayer นํ าเสนอความคิดเรื่องนี้<br />

ในป 1990/๒๕๓๓ ตอมานักเขียน<br />

ชื่อ<br />

Daniel Goleman ออกหนังสือ Emotional Intelligence ในป 1995/๒๕๓๘ ทํ าใหความ<br />

คิดนี้โดงดังขึ้นมา<br />

- Microsoft Encarta Reference Library 2005, "Intelligence"


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

วา ความเขาใจในความหมายของคํ าวา "ปญญา" ตลอดจนระบบความ<br />

สัมพันธในเรื่องชีวิตนี้<br />

ระหวางของเขากับของเรา จะตรงหรือเหมือนกัน)<br />

เปนความจริงวา emotion คือพวกสภาพจิต หรือภาวะจิตใจ (หรือ<br />

อารมณ ตามภาษาทั่วไป)<br />

เชน ความโกรธ ความเกลียด ความรัก ความ<br />

มีเมตตากรุณา ความเอื้อเฟอเผื่อแผ<br />

ความเห็นใจ ความราเริงสดใส<br />

ความปลาบปลื้มเปรมใจ<br />

เปนตนนี้<br />

มีความสํ าคัญมาก และโดยธรรม<br />

ชาติเอง emotion หรือภาวะจิตใจนั้น<br />

ยอมพัฒนาไปโดยสัมพันธทั้งกับ<br />

ปญญา และกับพฤติกรรม โดยเฉพาะในการอยูรวมสังคม<br />

เฉพาะอยางยิ่ง<br />

ความสัมพันธเปนปจจัยตอกันระหวางภาวะจิตใจ<br />

กับปญญานั้น<br />

เปนเรื่องสํ<br />

าคัญมากในการพัฒนามนุษย<br />

ดานที่ภาวะจิตใจเปนปจจัยตอปญญา<br />

ก็เห็นไดงาย มีคํ าสอนอยู <br />

ทั่วไป<br />

เชน ในดานราย ดังพุทธพจนวา “คนโกรธแลว ไมรู อรรถ ไมเห็น<br />

ธรรม เมื่อความโกรธครอบงํ<br />

าคนมีแตความมืดตื้อ”<br />

ในดานดี เชน “ผู ปราโมทยเบิกบานใจ จะเกิดปติ ผูมีใจปติ<br />

จะรูสึก<br />

ผอนคลายทั่วทั้งตัว<br />

ผูสงบผอนคลาย<br />

จะไดเสวยสุข ผูมีความสุข<br />

จะมีใจเปน<br />

สมาธิ ผูมีใจเปนสมาธิ<br />

ก็จะรูเขาใจมองเห็นตามเปนจริง”<br />

แตดานที่ควรใสใจมาก<br />

คือการที่ปญญาเปนปจจัยแกภาวะจิต<br />

เพราะเปนจุดสํ าคัญในการพัฒนาคน และจึงเปนแกนของการเสริมสราง<br />

สุขภาวะ เมื่อปญญาของเราพัฒนาไป<br />

emotions ก็พัฒนาไปดวย จะ<br />

เปน positive emotions คือภาวะจิตฝายบวก ที่ดีงามประณีตสะอาด<br />

บริสุทธิ์ยิ่งขึ้นๆ<br />

ซึ่งหมายถึงการมีความสุขเพิ่มขึ้นๆ<br />

ดวย<br />

ขอใหนึกถึงการพัฒนาพระองคของพระพุทธเจานี้แหละ<br />

คือ<br />

มนุษยนี้<br />

ที่เปนพระพุทธเจา<br />

ก็คือปญญาไดพัฒนาขึ้นไปจนสูงสุด<br />

ที่เรียก<br />

วาตรัสรู<br />

และเมื่อปญญาพัฒนาสูงสุดแลวนั้น<br />

ก็จะเหลือแต emotions ที่<br />

เปน positive ฝายบวกฝายดีอยางเดียว<br />

/ 136<br />

๗๑


๗๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

พระพุทธเจาทรงมี emotion ที่เดนที่สุด<br />

ซึ่งพัฒนาตามปญญาขึ้นมา<br />

หรือจะพูดใหถูกวา ซึ่งปญญาทํ<br />

าใหพัฒนาขึ้นมา<br />

เราเรียกวาเปนพุทธคุณ<br />

คือ “กรุณา” ไดแก ความรักที่อยากชวยเหลือสรรพสัตวใหพนจากทุกข<br />

หรือความปรารถนาจะชวยใหผู อื่นมีอิสรภาพดวย<br />

อันเปนภาวะจิตที่เกื้อ<br />

หนุนความสัมพันธทางสังคม นํ าไปสูพฤติกรรมในการชวยเหลือเกื้อกูล<br />

พรอมกับพระมหากรุณา ก็ทรงมีพระเมตตา มุทิตา เปนธรรมดา<br />

โดยเฉพาะทรงมีอุเบกขาเปนพื้นพระทัยตามปกติของพระอรหันต<br />

ตองระวังวาคนไทยสวนใหญเขาใจอุเบกขาผิดพลาดที่สุด<br />

อยาง<br />

นอยตองแยกอุเบกขาที่ผิดออกไปกอน<br />

อุเบกขาที่ผิดสํ<br />

าคัญ คือความ “เฉยโง” (เรียกเต็มวา อัญญาณุเบกขา)<br />

คือเฉยไมรูเรื่อง<br />

เฉยไมเอาเรื่อง<br />

เฉยไมไดเรื่อง<br />

แตอุเบกขาที่แทมากับปญญาที่รูแจง<br />

ในที่นี้คือรูเขาใจมองเห็น<br />

ความจริงของโลกและชีวิตจนจิตวางลงตัวกับโลกและชีวิตนั้น<br />

ดํ ารงอยู ใน<br />

ดุลยภาพ เรียบสงบ<br />

ทานเปรียบวา เหมือนสารถีผูชํ านาญเต็มที่<br />

เมื่อรถวิ่งอยูในทาง<br />

ดวยความเร็วพอดี ทุกอยางลงตัวแลว ก็นั่งสบาย<br />

มีใจนิ่งสงบ<br />

เรียบรื่น<br />

แตพรอมดวยความรูตัวเทาทันทั่วอยูตลอดเวลา<br />

ถารถวิ่งจะผิดความเร็ว<br />

หรือไมอยู ในทาง เปนตน ก็แกไขไดอยางถูกตองฉับไวในทันที<br />

ยังมีภาวะจิต หรือ emotions สํ าคัญของพระพุทธเจา ที่หนุนพระ<br />

มหากรุณาออกสูปฏิบัติการ<br />

โดยเฉพาะทรงมี “ฉันทะที่ไมลดถอย”<br />

(เปน<br />

พุทธธรรมคือคุณสมบัติประจํ าพระองคของพระพุทธเจาประการหนึ่ง)<br />

คือ<br />

ใฝพระทัยหมายมุ งทํ าการตามพุทธประสงคแหงมหากรุณานั้นไปใหสํ<br />

าเร็จ<br />

พรอมนั้น<br />

ทรงมีพุทธลักษณะที่แสดงถึงนํ้<br />

าพระทัยที่ทรงพรอมจะ<br />

ตอนรับชวยเหลือเกื้อกูลผูที่ทรงพบปะเกี่ยวของ<br />

และไมถือพระองค อัน<br />

แสดงถึง positive emotions ในทางสังคม ตามคํ าที่มีผู<br />

กลาวสรรเสริญวา


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๗๓<br />

“พระองคมีพระวาจาตอนรับ ออนโยน ทรงปฏิสันถารใหบันเทิงใจ มีพระ<br />

พักตรเบิกบาน ไมสยิ้ว<br />

ทรงทักทายกอน”<br />

นอกจากนี้<br />

emotions อยางอื่นโดยมากเปนภาวะที่พวงมากับ<br />

ความสะอาดหมดจดสดใสของจิตใจ (วิสุทธิ) ซึ่งเปนความสุขอยูในตัว<br />

เชน ความโปรงโลง ความเบิกบาน ความผองใส ความสุข ความชื่นชม<br />

ในความดีความงาม (เชนที่พระพุทธเจาทรงชื่นชมธรรมชาติแหงปาเขา<br />

ลํ าเนาไพร และตรัสถึงสถานที่ตางๆ<br />

อันเปนรมณีย)<br />

สวนความรูสึกรายๆ<br />

ไมดี เชน ความโกรธ ความเกลียดชัง ความ<br />

คั่งแคน<br />

ความขัดเคือง ความหงุดหงิด ความโลภ ความเห็นแกตัว ความ<br />

กลัว ความเครียด ความกระวนกระวาย ความพลุงพลาน<br />

ความรํ าคาญ<br />

ความหวงแหน ความหวงกังวล ความหดหู ความทอแทถดถอย ความเศรา<br />

ความเหงาหงอย ความวาเหว หมดไป ไมมีเหลือ<br />

ดังที่เราแปล<br />

“พุทธะ” ในความหมายหนึ่งวา<br />

“เบิกบาน” อันนี้แหละ<br />

คือภาวะจิต หรือ emotion ที่พึงตองการ<br />

ซึ่งโยงไปถึงคุณธรรม<br />

ความดีงาม<br />

ความเขมแข็งมั่นคง<br />

สมรรถภาพของจิตใจ และความสุข หมดทั้งนั้น<br />

อัน<br />

ลวนพัฒนาไดดวยปญญา ถาไมมีปญญาที่แท<br />

positive emotions เหลา<br />

นี้จะพัฒนาใหคงอยูยั่งยืนไมได<br />

ขอพึงยํ าตรงนี ้ ้ คือ พระพุทธเจาทรงมีพระคุณสมบัติหลัก ขอใหญ<br />

ที่สุด<br />

๒ อยาง (เปนหลักแกนยิ่งกวาเรื่องพุทธคุณ<br />

๓ ที่เราจํ<br />

ากันวา พระ<br />

ปญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาคุณ) คือ ปญญา กับ กรุณา<br />

ถาพูดแบบภาษาไทยงายที่สุด<br />

ก็คือ “รู”<br />

กับ “รัก”<br />

ปญญา คือแดนที่<br />

๓ สวนกรุณา ก็คือคุณสมบัติเดนในแดนภาวะจิต<br />

หลักบอกวา ปญญาใหสํ าเร็จพุทธภาวะ สวนกรุณาใหสํ าเร็จพุทธกิจ<br />

แลวก็ตองไมลืมวา ในเวลาลงมือทํ างานหรือปฏิบัติการจริงนั้น<br />

ฉันทะ คือความใฝใจหมายมุ งทํ าการ ซึ่งหลักบอกวาเปนมูลคือเปนตนตอ


๗๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ของธรรมทั้งหลาย<br />

เปนพระคุณสมบัติที่ทํ<br />

าใหปญญาดํ าเนินกิจแหงกรุณา<br />

ลุลวงถึงความสํ าเร็จ<br />

เมื่อกี้นี้ไดบอกวา<br />

ถาไมมีปญญาที่แท<br />

positive emotions ทั้งหลาย<br />

จะพัฒนาใหคงอยู ยั่งยืนไมได<br />

ทํ าไมจึงวาอยางนั้น<br />

ขอใหพิจารณาดู<br />

อยางงายๆ ที่เคยยกตัวอยางบอยๆ<br />

การที่เรามาพบกัน<br />

ก็เปนปฎิ-<br />

สัมพันธที่สํ<br />

าคัญระหวางมนุษยแลว และปฎิสัมพันธนั้นก็เปนจุดเริ่มที่<br />

ความสัมพันธจะดํ าเนินตอไป โดยองครวมการดํ าเนินชีวิตทั้ง<br />

๓ แดน จะ<br />

เปนปจจัยแกกันกาวไปดวยกัน เฉพาะอยางยิ่ง<br />

ถารูจักเยื้องยางแดน<br />

ปญญาอยางแยบคาย ชีวิตก็จะดํ าเนินไปดวยดีและยิ่งพัฒนา<br />

ตัวอยางวา เพื่อนใกลชิด<br />

เจอหนากันมาทุกวัน เวลาพบก็ทักทาย<br />

กัน ยิ้มแยมแจมใส<br />

แตมาวันนี้<br />

พอเจอหนา เราทักไป เขากลับไมพูดดวย<br />

เสียแลว เรายิ้มก็ไมยอมยิ้มดวย<br />

แถมหนาบึ้งซะอีก<br />

จะเอาอยางไรกันนี่<br />

เราก็มีกิเลสเหมือนกัน เราก็โกรธเปนเหมือนกันนะ ก็เลยโกรธ แลวก็ทํ า<br />

หนาบึ้ง<br />

ไมพูดดวยบาง เกิดเปน negative emotion นี้ก็คือเกิดปญหาละ<br />

และเรื่องก็อาจจะตอไปในทางลบอีกยาว<br />

แตทีนี้<br />

ถาเรามีปญญา และรู จักใชเครื่องมือของปญญา<br />

ที่เรียกวา<br />

โยนิโสมนสิการ ก็คิดวา เออ เพื่อนของเราก็รักกันดีอยู<br />

นะ วันกอนๆ มาทีไร<br />

พบกันก็ทักทาย แลวก็ยิ้มแยมแจมใส<br />

วันนี้เราทักทาย<br />

แตเขาไมพูดดวย<br />

เรายิ้มแตเขาก็ไมยิ้มดวย<br />

เอ…นี่<br />

เขาจะมีปญหาอะไรหรือเปลา เขาอาจจะมีอารมณคางมา<br />

ไมใชวาเขาโกรธเรา เขาอาจจะถูกดุมาจากบาน อาจจะขาดเงิน หรืออาจ<br />

จะมีปญหาสุขภาพ ปวดหัว ปวดทอง หรือวาถาเปนผูใหญ<br />

เขาอาจจะมี<br />

ปญหาครอบครัว ลูกเขาอาจจะไมสบาย เขามีหวงกังวล มีทุกขอยู<br />

พอคิดแคนี้<br />

คือปญญามา ความโกรธก็ไมมีแลว แตกลับจะนํ าไปสู<br />

การแกปญหา โดยคิดตอไปอีกวา เออ…ตอนนี้ถาเปนโอกาสที่จะถาม


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๗๕<br />

จะตองถามเขาหนอย ถายังไมใชโอกาส เราก็จะรอเวลา ถาไดโอกาส<br />

เหมาะ เราจะเขาไปถามวา เพื่อนมีปญหาอะไร<br />

มีอะไรใหเราชวยบางได<br />

ไหม อะไรอยางนี้เปนตน<br />

กลายเปนวา ใจของเราสบาย สุขภาพจิตของ<br />

เราดี ใจมีคุณธรรม แลวก็ยังไปชวยแกปญหาใหเขาดวย<br />

ลองเอาทาที ๒ แบบมาเทียบกันดู<br />

แบบแรก เขาบึ้งมา<br />

เราก็บึ้งไป<br />

นี้คือทาทีแบบชอบใจ-ไมชอบใจ<br />

(ตัณหา) เริ่มดวยภาวะจิตอกุศล<br />

คือ negative emotion ไมใชปญญา<br />

เกิดมีตัวตนที่จะกระทบกระทั่งบีบคั้น<br />

เรงเรา negative emotions ให<br />

เพิ่มขยายมากขึ้นๆ<br />

จึงเปนการกอปญหา<br />

แบบหลัง เขาบึ้งมา<br />

เรามองตามเหตุปจจัย เดินความคิดไปตาม<br />

ทางของปญญา (โยนิโสมนสิการ) มีแตปรากฏการณที่พิจารณา<br />

ไมมีตัว<br />

ตนเกิดขึ้นมาที่จะกระทบกระทั่งบีบคั้น<br />

จิตใจโปรงสบาย และมีกรุณา<br />

ความสงสารเห็นใจใฝจะชวยเหลือพวงมา เปนภาวะจิตกุศล คือ<br />

positive emotion ปญญากาวเดินอยูตลอดเวลา<br />

นํ าไปสูการแกปญหา<br />

นี่ละคือบทบาทของปญญา<br />

ที่เชื่อมตอสูอิสรภาพ<br />

ปญญาจะมา<br />

จัดการ emotions โดยละลายภาวะจิตอกุศล (negative emotions) หรือ<br />

ปดกั้นเปลี่ยนพลิกภาวะจิตอกุศล<br />

ใหภาวะจิตกุศล (positive emotions)<br />

ไดโอกาสเขามาแทนที่<br />

และพัฒนาภาวะจิตกุศลใหเขมแข็งเพิ่มพูนและ<br />

ประณีตยิ่งขึ้นไป<br />

ทานที่มีปญญามาก<br />

ก็จะรู เขาใจโลกและชีวิต ผู คนทั้งหลายที่ไดพบ<br />

เขาจะยิ้ม<br />

เขาจะโกรธ เขาจะมีอาการทาทีอะไร ทานก็มองดวยความเขาใจ<br />

พรอมที่จะเห็นใจ<br />

แลวก็ชวยแกไขขจัดปญหา<br />

เมื่อเขาใจ<br />

หยั่งถึงเหตุปจจัย<br />

มองทะลุทั่วตลอดตามสภาวะ<br />

ทานก็<br />

ไมเกิดมีความโกรธตอใคร ดังนั้น<br />

emotions ก็มีแตดี มีแตภาวะจิตกุศล ไม<br />

มีปญหาอะไร พระพุทธเจาไมมีความโลภ ความโกรธ ความหลง จึงทรงมี


๗๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

แตความเบิกบาน ความผองใส ความเมตตากรุณา มีภาวะจิตใจที่ดีงาม<br />

อยางเดียว เปนเรื่องธรรมดาของการพัฒนามนุษยตามความจริงของ<br />

ธรรมชาติในระบบองครวม<br />

เมื่อเขาใจระบบความสัมพันธของการดํ<br />

าเนินชีวิตที่เปนองครวม<br />

สามแดน โดยรูจักใชปญญามานํ ามาจัดระบบความสัมพันธขององค<br />

สามนี้ใหไดผลดีแลว<br />

การพัฒนามนุษยก็กาวไปในวิถีแหงความมีสุข<br />

ภาวะที่สมบูรณ<br />

เปนเรื่องที่ไปดวยกันเองทั้งหมด<br />

ในการที่สุขภาวะพัฒนากาวไปนี้<br />

ปญญาก็จะแจมแจงเปนวิชชา<br />

เหมือนมีแสงสวางใหมองเห็นอะไรๆ ชัดเจน ทํ าใหตั้งจิตวางใจถูกตอง<br />

ในขณะที่วาถาคนไมมีความรู<br />

ก็จะมองสถานการณไมออก แลวก็ตั้งทาที<br />

ตอสถานการณไมถูก จิตใจก็วาวุนพะวักพะวน<br />

แตเมื่อเรารู<br />

เขาใจถูกตอง<br />

แลว ก็จะมองอะไรๆ ออก และตั้งทาทีถูก<br />

ก็จะพนจากความอึดอัดติดขัด<br />

บีบคั้น<br />

แลวจิตใจก็เกิดความสงบ ไมวาวุน<br />

ไมเครียด ไมกระวนกระวาย<br />

ความหมดจด สดใส ความไมขุนมัวเศราหมอง<br />

ก็ตามมา นี่ก็คือสุขภาวะ<br />

ที่บรรลุจุดหมายสมบูรณ<br />

ซึ่งมองดูไดหลายดานอยางที่วามา<br />

ทั้งหมดนี้เปนเรื่องของระบบองครวมของการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดี<br />

ซึ่ง<br />

เปนระบบแหงเหตุปจจัยที่สัมพันธกัน<br />

และในที่สุดเราจะเห็นวา<br />

แมจะพูด<br />

ในแงของสุขภาวะ ปญญาก็เปนองคประกอบสํ าคัญ ถือวาปญญาเปน<br />

ใหญ เปนตัวจัดการใหสํ าเร็จผลจนถึงจุดหมาย<br />

พัฒนาการดํ าเนินชีวิต เริ่มดวยดูฟงใหเปน<br />

หันกลับมาพูดถึงองครวมของการดํ าเนินชีวิตที่ดี<br />

คราวนี้จะทบ<br />

ทวนแบบเปนระบบ<br />

ไดพูดวา การดํ าเนินชีวิตนี้แยกออกไดเปน<br />

๓ แดน คือ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๗๗<br />

แดนที่<br />

๑ คือ ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ทั้งดานกายภาพ<br />

และ<br />

ดานสังคม ดวยผัสสทวาร ๖ และกรรมทวาร ๓<br />

การมีความสัมพันธที่ดี<br />

และการฝกหรือพัฒนาความสัมพันธที่ดี<br />

นั้น<br />

เรียกสั้นนิดเดียววา<br />

“ศีล” (เมื่อพูดถึงศีล<br />

เรามักจะติดอยูแคศีลหา<br />

แต<br />

ที่จริง<br />

ศีลมีหลายประเภท)<br />

ศีล คือการมีและการฝกพัฒนาความสัมพันธที่ดีนั้น<br />

ตองอาศัย<br />

ทวารสองชุดที่วามา<br />

ก็จึงแยกยอยออกไปอีกเพื่อใหเปนหมวดหมูที่จะ<br />

กํ าหนดหมายทํ าความเขาใจไดงายขึ้น<br />

ซึ่งทานจัดไวเปน<br />

๔ ประเภท คือ<br />

๑. อินทรียสังวร (เรียกเต็มวา อินทรียสังวรศีล) คือ การรูจักใช<br />

อินทรีย ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น<br />

กาย ใจ ใหรูจักดู<br />

รูจักฟง<br />

หรือดูเปน ฟงเปน<br />

เปนตน นับวาเปนศีลขั้นตนที่สํ<br />

าคัญมาก จะเรียกวาเปนจุดเริ่มของการ<br />

ศึกษา และของสุขภาวะก็ได<br />

เปนเรื่องชัดๆ<br />

วา ปญหาเดนของยุคสมัยนี้<br />

เกิดจากการใชอินทรีย<br />

ไมถูกตอง เฉพาะอยางยิ่ง<br />

ไอทีนั้นเจอกับมนุษยที่อินทรีย<br />

เมื่อคนใช<br />

อินทรียไมเปน ไมถูก ตาดู หูฟง อยางไมพัฒนา เราก็เจอปญหาหนักจาก<br />

ไอที อยางที่โอดครวญกันอยู<br />

แตไมรูจะแกอยางไรนี้<br />

ถาคนจัดการกับอินทรีย ที่เปนทวารชุดแรกนี้ไมได<br />

เขาก็ดํ าเนิน<br />

ชีวิตใหดีไมได และการพัฒนาก็ไมมี การศึกษา ก็ตาม สุขภาวะ ก็ตาม<br />

หายไปหมด<br />

เอางายๆ เชนดูทีวี ถารู จักดู ก็เปนการศึกษา และคนก็พัฒนา แต<br />

ถาดูไมเปน ก็เกิดปญหา รวมทั้งเสียสุขภาวะ<br />

แลวจะดูอยางไร วิธีงายๆ ก็ถามตัวเองวา เราดูแลวไดความรูไหม<br />

ไดประโยชนไหม ไดแงคิดหรือขอพิจารณาอะไรที่จะเอามาใชเปน<br />

ประโยชน เอาไปแกปญหา หรือเอามาพัฒนาชีวิตของตนไดบางไหม<br />

ในทางตรงขาม หรือวา ดูแลวไดแคความรูสึก<br />

เอาแคสนุกสนาน


๗๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

คิดแคจะเสพ ถาเลยไปอีกก็หลงใหล แลวก็มัวเมา อาจจะเสียเวลา เสีย<br />

การเรียน เสียการพักผอน เสียสุขภาพ เสียความสัมพันธที่ควรจะมี<br />

เสีย<br />

สุขภาวะหลายดาน<br />

เมื่อเทียบการใชอินทรีย<br />

๒ แบบนั้น<br />

แบบแรก เปนการใชอินทรียเพื่อการเรียนรู<br />

ดูฟงเชิงปญญา ทํ าให<br />

เกิดการพัฒนา จัดเปนศีลขออินทรียสังวร<br />

แบบหลัง เปนการใชอินทรียเพื่อสนองความรู<br />

สึกชอบใจ-ไมชอบใจ<br />

ดูฟงเชิงตัณหา ไมทํ าใหเกิดการพัฒนา เปนการขาดศีลขออินทรียสังวร<br />

เมื่อขาดศีล<br />

คนก็อยู แคความรู สึก เอาความชอบใจและไมชอบใจ<br />

เปนตัวกํ าหนด พอชอบใจก็ติดเพลิน พอไมชอบใจก็ขัดเคืองเกลียดชัง<br />

สุขทุกขอยูที่ชอบใจ-ไมชอบใจ<br />

นอกจากไมไดเรียนรู<br />

ไมมีการพัฒนาแลว<br />

ก็เริ่มขึ้นตอสิ่งนั้น<br />

เริ่มเสียอิสรภาพ<br />

แตเมื่อมีศีล<br />

ดูฟงดวยตองการความรู<br />

หรือหาคติที่เปนประโยชน<br />

ตอนนี้จะชอบใจหรือไมชอบใจก็ไมเกี่ยว<br />

พอคิดวาจะดูเพื่อไดความรู<br />

ก็<br />

ขามพนความชอบใจไมชอบใจไปเลย ชอบใจหรือไมชอบใจก็ไมเปน<br />

ปญหา เพราะความพอใจอยูที่การไดความรู<br />

แมแตสิ่งที่เคยไมชอบใจ<br />

เมื่อดูเพื่อหาความรู<br />

ถาสิ่งที่ไมชอบใจทํ<br />

าใหไดความรูมาก<br />

กลับยิ่งชอบ<br />

ใหญ กลับไปชอบสิ่งที่ไมชอบ<br />

สิ่งที่ตัวไมชอบกลายเปนยิ่งชอบ<br />

อันนี้เปนไปได<br />

เพราะความสุขอยูที่การไดสนองความตองการ<br />

จึง<br />

อยูที่ตั้งจิตใหถูก<br />

ตอนกอนนั้นเราตองการสิ่งที่เราชอบใจ<br />

และไมตองการสิ่งที่เราไม<br />

ชอบใจ ดังนั้น<br />

เราจะสุขหรือทุกขก็อยู ที่ไดสิ่งที่ชอบใจหรือไดสิ่งที่ไมชอบใจ<br />

แตตอนนี้เราตองการความรู<br />

ความสุขของเราอยูที่การไดความรู<br />

สิ่งนั้นเราจะชอบหรือไมก็ตาม<br />

เราก็หาความรู จากมันไดทั้งนั้น<br />

ดังนั้นเราจึง<br />

มีความสุขไดทั้งจากสิ่งที่เราชอบและสิ่งที่เราไมชอบ<br />

และยิ่งถาสิ่งที่เราไม


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๗๙<br />

ชอบ ทํ าใหเราไดความรูมาก<br />

เราก็เลยกลับยิ่งชอบสิ่งที่ไมชอบนั้นมากขึ้น<br />

แตที่จริง<br />

เมื่อวาโดยหลักการก็คือ<br />

คนที่ใชอินทรียเปน<br />

ใชตาดูหูฟง<br />

เพื่อความรูนี้<br />

จะขามพนสุขทุกขจากความชอบใจไมชอบใจไปได ความ<br />

ชอบใจหรือไมชอบใจไมมีอิทธิพล ไมวาสิ่งที่ชอบหรือไมชอบ<br />

ถาชวยให<br />

ไดความรู<br />

ฉันก็มีความสุขหมด เรียกวาวิมุตคือหลุดพนเปนอิสระไปขั้น<br />

หนึ่งเลย<br />

คือ<br />

- สุขทุกขไมขึ้นตอสิ่งที่ชอบใจไมชอบใจ<br />

ถึงเจอสิ่งไมชอบใจก็ไมทุกข<br />

- ความสุขอยู กับความรู<br />

ซึ่งอยูที่ตัวเอง<br />

ไมฝากไวกับสิ่งภายนอก<br />

ถาเด็กไมพัฒนาไปถึงขั้นมีความอยากรูและใชอินทรียเพื่อสนอง<br />

ความตองการรู ก็เปนอันวา การศึกษาที่จัดตั้งกันขึ้นเปนองคกรเปน<br />

สถาบันอะไรๆ มากมายนี้<br />

แทบไมมีความหมายเลย<br />

การศึกษาที่จริงแทนั้นเริ่มตนที่ตาดูหูฟงนี่แหละ<br />

จึงตองใหมีการ<br />

พัฒนาอินทรีย คือใหรูจักใชตา<br />

หู ฯลฯ<br />

ถาเด็กใชตาหูดูฟงไมเปน แกไดแตดูฟงแคเพียงตามที่ชอบใจ-ไม<br />

ชอบใจ ไมอยากไดความรู<br />

ไมใฝสนองความตองการรูแลว<br />

สุขทุกขของ<br />

แกก็จมอยูแคนี้<br />

ตองใหเด็กขามขั้นแหงการขึ้นตอความรูสึกนี้ไปใหได<br />

ใหเขาลวง<br />

พนปญหาสุขทุกขจากชอบใจ-ไมชอบใจ ไปถึงขั้นมีความสุขจากการได<br />

สนองความตองการความรู<br />

อยางนอยก็ใหเปนขั้นที่มีความสุขจากการได<br />

ความรูนั้นมาดุล<br />

ถาเด็กพัฒนามาถึงขั้นนี้ละก็<br />

พอแมสบายโลงใจแน แตถาเด็กจม<br />

อยู กับขั้นสนองตัณหา<br />

พอแมก็ตองทุกขหนัก เจอแตปญหาไมรู จบ เพราะ<br />

ความชอบใจ-ไมชอบใจนั้นเจอตัวเราใหเปลี่ยนไลลาของเสพใหมไปเรื่อย<br />

ทั้งนี้เพราะวา<br />

นอกจากขึ้นตอสิ่งเสพบริโภคแลว<br />

ยังมาพันกับปญหา<br />

ของยุคสมัย ที่ธุรกิจ<br />

และอะไรๆ แทบทุกอยาง มุ งระดมมาที่การปลุกป<br />


๘๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

กระตุ นเราผัสสะในการเสพ มีโภคภัณฑใหมๆ ประสานดวยแรงสื่อโหมกระพือ<br />

มาลอและขยายความตองการเทียมที่จะติดและขึ้นตอมันอยู<br />

ตลอดเวลา<br />

กระแสตัณหาจึงแรงกลา เราคนยุคไอทีใหมุ งมองหาเห็นแกของเสพ<br />

จนแทบไมเห็นแกคน แตมองคนเปนเหยื่อ<br />

หรือมองคนเปนของเสพ อยาง<br />

นอยก็ทํ าใหหมกจมอยู กับการเสพ และตองเที่ยวดิ้นรนแสวงหา<br />

สิ้นเปลือง<br />

เงินทองไมมีทางเพียงพอ สังคมก็วนเวียนอยู ในความสุขแบบพึ่งพา<br />

ความ<br />

สุขที่ตองหา<br />

และความสุขที่ตองแยงชิงกัน<br />

ไมเห็นทางที่จะพนปญหา<br />

นาจะคิดกันบาง ทั้งที่เรียกกันโกวา<br />

“ยุคขาวสารขอมูล” ซึ่งมนุษย<br />

ควรจะอยูกับการหาความรูและกิจกรรมทางปญญา<br />

แตสภาพที่เปนจริง<br />

กลายเปนยุคสมัยแหงความลุมหลงมัวเมาในการเสพบริโภค<br />

และละเลย<br />

วิถีชีวิตแหงการศึกษา<br />

ถาพัฒนาคนขึ้นมาถึงขั้นมีอินทรียสังวรได<br />

ใหคนใฝปญญาแสวง<br />

หาความรู<br />

ก็จะสมกับการเปนยุคขาวสารขอมูล ที่อารยธรรมกาวไปถูก<br />

ทาง มนุษยชาติก็จะไดประโยชนจากความเจริญกาวหนาของยุคสมัยนั้น<br />

และคนก็มีความสุขเพิ่มขึ้นไดจริงดวย<br />

จึงเปนที่นาเสียดายที่อารยธรรมเจริญขึ้นมา<br />

เพียงเพื่อเปนหลุมดัก<br />

มนุษยใหเอาผลแหงความเจริญนั้น<br />

มากลบทับตัวเอง ปรากฏเหมือนวา<br />

เด็กสมัยนี้มิไดพัฒนาตัวใหเขากับสภาพความเจริญ<br />

เขาจึงไมสามารถถือเอา<br />

ประโยชนจากความเจริญของอารยธรรมได เขาไมสามารถแมแตจะพัฒนา<br />

การใชอินทรียของตน แคตาหูดูฟง ที่จะไดประโยชนจากขาวสารขอมูล<br />

ถึงแมขาวสารขอมูลจะทวมทน แตคนสวนใหญไมเอาใจใส เขาได<br />

แตไปเพลินกับความรูสึกสนุกสนาน หมกมุนอยูกับพวกเกม และการ<br />

บันเทิงทั้งหลายเทานั้น<br />

นี้คือเครื่องบงชี้วา<br />

การศึกษาและการพัฒนาสุข<br />

ภาวะแมเพียงขั้นพื้นฐาน<br />

ก็ทํ าทาจะไปไมไหว<br />

ที่พูดมานี้<br />

คือศีลที่เรียกวาอินทรียสังวร<br />

ซึ่งเหมาะที่จะใชตรวจสอบ<br />

ดูกันวา มนุษยไดพัฒนาบางไหม เขาใชตาหูดูฟง เพียงเพื่อชอบใจไม


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ชอบใจแลวติดแคนั้น<br />

หรือวาใชตาหูดูฟงแลวไดความรูที่เปนประโยชนใน<br />

การพัฒนาชีวิต พัฒนาสังคม เพื่อแกปญหาในการดํ<br />

าเนินชีวิต และชวย<br />

แกปญหาของเพื่อนมนุษย<br />

ตลอดจนสรางสรรคสิ่งดีงาม<br />

พัฒนาการดํ าเนินชีวิต ตองหัดกินใชใหเปนดวย<br />

๒. ปจจัยปฏิเสวนา คือ การรูจักเสพบริโภคปจจัยสี่<br />

ตลอดจนวัตถุ<br />

อํ านวยความสะดวกสะบายตางๆ รวมทั้งเทคโนโลยี<br />

หมายถึงกินใชสิ่ง<br />

เสพบริโภคทั้งหลายดวยปญญา<br />

ที่ทํ<br />

าใหเกิดความพอดี ที่เรียกวารูจัก<br />

ประมาณ จัดเปนศีลอยางที่สอง<br />

การกินใชเสพบริโภคนั้น<br />

เปนเรื่องปกติธรรมดาของชีวิต<br />

เปนเรื่อง<br />

พื้นฐานที่สุด<br />

แตก็เปนเรื่องที่สํ<br />

าคัญอยางยิ่ง<br />

ในการกินใชนั้น<br />

ถามนุษย<br />

ขาดปญญา ก็ไมมีการศึกษา คนก็ไมพัฒนา และเริ่มเสียสุขภาวะทันที<br />

ขาดปญญาอยางไร? ก็คือกินเสพโดยไมตระหนักรูความมุงหมาย<br />

เริ่มตั้งแตจะกินอาหาร<br />

ก็ไมรูวากินเพื่ออะไร<br />

ถาถามเด็กวากินเพื่ออะไร<br />

เด็กคงงงเหมือนกัน โดยเฉพาะเด็กสมัยไอทีนี้<br />

สวนมากนึกไมถึง เลย<br />

ตอบไมทัน เด็กบางคนอาจเคยไดยินคํ าที่พูดตอๆ<br />

กันมาวา กินเพื่ออยู<br />

ไมใชอยูเพื่อกิน<br />

ก็จะตอบไปตามนั้น<br />

แตมันคงไมใชเทานี้<br />

กินเพื่ออะไร?<br />

ในการกินอาหาร พระทานใหฝกศีลเบื้องตน<br />

เปน<br />

ศีลขอแรกในแงประเพณีการฝก คือ พอบวชมาป บ ก็ “ปฏิสังขา-โย” ถา<br />

เปนสมัยกอน มีประเพณีมาอยู วัดกอนบวช ก็ใหทองไวตั้งแตกอนบวชเลย<br />

ปฏิสังขา-โย เปนคํ างายๆ แบบชาวบาน ที่เขามักเรียกชื่ออะไรๆ<br />

ตามเสียงที่ไดยิน<br />

คือขอความภาษาบาลีที่พระพุทธเจาทรงสอนไวเปน<br />

แบบอยางในการที่พระสงฆจะพึงพิจารณาเตือนตัวเอง<br />

ใหตระหนักรูถึง<br />

คุณคาที่ตองการหรือความมุ<br />

งหมายในการเสพบริโภคปจจัย ๔ เรียกสั้นๆ<br />

วา “บทพิจารณาปจจัย ๔” ขึ้นตนวา<br />

“ปฏิสังขา โยนิโส …” ชาวบานไดยิน<br />

/ 136<br />

๘๑


๘๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

อยางนี้<br />

ก็เลยเรียกงายๆ สบายๆ วา ปฏิสังขา-โย<br />

ตามประเพณีของเรา ทานจะใหจํ าใหแมนและใหใชกันมั่น<br />

ก็เลย<br />

นํ ามาจัดเปนบทสวด ใหคนอยู วัดจะบวชและพระใหมทองและสวดกันให<br />

คลองตั้งแตตน<br />

จะไดใชเปนประจํ าตลอดไป จะเรียกวา “บทสวดพิจารณา<br />

ปจจัย ๔” หรือ “บทปฏิสังขา-โย” ก็แลวแตชอบ ถาเรียกเปนทางการหนอย<br />

ก็วา “บทปจจัยปจจเวกขณ” ซึ่งก็แปลวา<br />

บทพิจารณาปจจัยนั่นเอง<br />

ถาจะตอบคํ าถามเมื่อกี้วา<br />

“กินเพื่ออะไร?”<br />

วิธีตอบใหไวและชัด ก็<br />

เอาบทพิจารณาของพระนี้แหละมาตอบไดเลย<br />

แตเอามาเฉพาะบท<br />

พิจารณาอาหาร ดังนั้น<br />

ก็เลยจะยกคํ าแปลที่วานั้นมาใหดู<br />

ดังนี้<br />

ขาพเจาพิจารณาแลวโดยแยบคาย จึงบริโภคอาหาร (โดย<br />

รูตระหนักวา)<br />

มิใชเพื่อจะสนุกสนาน<br />

มิใชเพื่อเห็นแกเอร็ดอรอย<br />

บันเทิงมัวเมา มิใชเพื่อสวยเกอวดโก<br />

(แต) เพื่อใหรางกายนี้<br />

ดํ ารงอยู ใหชีวิตดํ าเนินไปได เพื่อระงับความหิวกระหาย<br />

(หรือ<br />

การขาดอาหาร) เพื่อเกื้อหนุนชีวิตที่ดีงาม<br />

(จะไดมีรางกายที่แข็งแรงดี<br />

ซึ่งสามารถทํ<br />

าประโยชน เชนไปศึกษาพัฒนาทํ างานสรางสรรคตางๆ)<br />

ดวยการรับประทานโดยตระหนักรูอยางนี้<br />

เราจะระงับ<br />

เวทนาเกา (คือความเดือดรอนเนื่องจากความหิว)<br />

กับทั้งจะไมให<br />

เกิดเวทนาใหม (เชน ไมอึดอัด แนน จุกเสียด ทองเสีย เปนตน) และ<br />

เราก็จะมีชีวิตดํ าเนินไปได พรอมทั้งจะเปนการบริโภคที่ปราศ<br />

โทษภัยไรขอเสียหาย (เชน ไมตองทํ าการแสวงหาโดยทางทุจริตผิด<br />

ธรรม ไมเบียดเบียนทั้งตนเอง<br />

ผูอื่น<br />

สังคม และธรรมชาติแวดลอม)<br />

พรอมทั้งเปนอยูผาสุก<br />

ทานวาไวยาว คือตองรูเขาใจ<br />

ตองกินดวยปญญา ตระหนักรูวากิน<br />

เพื่ออะไร<br />

อยางนอยก็แยกไดวา การกินใหอรอย เปนเพียงสวนเสริมหรือ<br />

สวนประกอบ บางทีก็เปนเรื่องของคานิยม<br />

เราอาจจะยอมใหบาง แต


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ตองรูเทาทัน และตองไมใหเสียหลัก คือตองใหไดคุณคาที่แทจริงของ<br />

อาหาร คือเพื่อจะใหสุขภาพรางกายแข็งแรง<br />

ไมทํ าใหรางกายบอบชํ้<br />

า อัน<br />

นี้เปนจุดหมาย<br />

ตองใหไดกอน ถาทํ าอยางนี้<br />

ก็เขาทางของสุขภาวะ<br />

แตถากินไมเปน กินโดยไมตระหนักรู คุณคาความมุ งหมายที่แทจริง<br />

แลว บางทีกินอาหารสิ้นเปลืองมากมาย<br />

เชน บางคนจายคากินมื้อละแสน<br />

บางทีไมใชมื้อละแสน<br />

แตแกวละแสนก็มี เสร็จแลว เสียเงินเปลา แลวซํ า้<br />

ราย แทนที่จะไดประโยชนจากอาหารหรือเครื่องดื่มนั้น<br />

กลับทํ าลายหรือ<br />

เบียดเบียนชีวิตของตนเอง ทํ าใหเสียสุขภาพ แสดงวาไมไดกินดวยปญญา<br />

ไมรู จักประมาณในการกิน กินแลวเกิดโทษ พูดสั้นๆ<br />

วา กินไมเปน<br />

เมื่อกี้บอกวา<br />

การบริโภคดวยปญญา เปนการรูจักประมาณในการ<br />

บริโภค ทํ าใหกินพอดี อันนี้เปนธรรมดา<br />

มันจะมาตามกัน เมื่อเรากินดวย<br />

ปญญาแลว ความรู เขาใจจุดมุ งหมายในการกินนั้น<br />

ก็จะมาทํ างานตอไปนี้<br />

๑. จํ ากัดปริมาณอาหารใหพอดีกับความตองการของรางกาย<br />

๒. จํ ากัดประเภทอาหารใหพอดีที่จะไดสิ่งที่มีคุณคาเปนประโยชน<br />

และไดสัดสวน<br />

ถึงตอนนี้<br />

การกินพอดีก็เกิดขึ้น<br />

เพราะฉะนั้น<br />

การกินดวยปญญา<br />

จึงมีชื่อวาการกินพอดี<br />

เรียกเปนภาษาพระวา ความรูจักประมาณในการ<br />

บริโภค (จากคํ าบาลีวา โภชเนมัตตัญุตา)<br />

อยางที่พูดแลวตั้งแตตนวา<br />

การเสพบริโภคกลายเปนปญหาใหญ<br />

ยิ่งของคนยุคนี้<br />

แทนที่จะมั่งคั่งพรั่งพรอมแลวจะ<br />

“อยูดีกินดี”<br />

คือมีสันติสุข<br />

แตกลายเปนวา มั่งคั่งพรั่งพรอมแลว<br />

“อยู ไมเปนกินไมเปน” กลับมาเกิด<br />

ทุกขใหมซํ าเติมตัวเอง ้ ที่คนสมัยกอนไมเคยตองวุ<br />

นวาย อยางโรคอวนขาง<br />

ตนที่กํ<br />

าลังระบาดมากขึ้น<br />

ทํ าใหตองมาถกปญหาสุขภาวะเหมือนกับมาก<br />

แงมากมุมแปลกๆ ยิ่งขึ้น<br />

ตองพูดวา อะไรกัน คนยุคนี้<br />

แคกินก็ไมเปนแลว<br />

เมื่อพูดกันมาถึงตอนนี้<br />

ก็เห็นไดแลววา การกินใชหรือเสพบริโภค<br />

/ 136<br />

๘๓


๘๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ปจจัยใหถูกตองพอดี เปนเรื่องใหญสํ<br />

าคัญมากตอสังคมจนถึงอารยธรรม<br />

ทั้งหมดแคไหน<br />

การแกปญหาเรื่องนี้ไมใชเรื่องเล็กนอยเลย<br />

แคโรคอวน<br />

คนยุคไอทีก็แสนจะวุนวาย<br />

และทํ าทาจะของขัดอยางมาก แตแนนอนวา<br />

จะแกปญหาดวยวิธีรอตัดกระเพาะกัน คงไมใชวิธีการที่ดี<br />

อันนั้นที่จริงไม<br />

นาจะเรียกวาเปนการแกปญหา แตเปนการเอาปญหาหนึ่งมาสกัดอีก<br />

ปญหาหนึ่ง<br />

ไมทํ าใหหมดปญหา<br />

ถาจะแกปญหากันจริง หนีไมพนวา จะตองพัฒนาคน ก็แคใหเขา<br />

ดํ าเนินชีวิตใหถูกตองเทานั้นเอง<br />

และในกรณีนี้ก็คือ<br />

ใหกินเปน ใหกินเสพ<br />

บริโภคดวยปญญา โดยรูจักประมาณ<br />

หรือรูพอดี<br />

พูดงายๆ วา ศีลขอ<br />

ปจจัยปฏิเสวนานี้<br />

เปนคํ าตอบ<br />

การที่จะใหคนมีศีลนั้น<br />

ทานฝกดวยวินัย<br />

เหมือนอยางในการกิน ก็มีการจัดตั้งวางระเบียบในการกิน<br />

เรียก<br />

วาวินัยในการกิน เชน กินเปนเวลา แมแตคนไทยเกาก็มีคํ ากลอนวากัน<br />

มานานวา “ใหเปนมื้อเปนคราวทั้งคาวหวาน”<br />

กินพรอมหนากัน อยางใน<br />

ครอบครัวก็ชวยเสริมสุขภาวะทางสังคมไปดวย แลวก็มีมารยาทในการ<br />

กิน (ซึ่งอาจจะคุมปริมาณอาหารแบบไมรูตัว)<br />

ที่มุงใหเกิดผลดีทั้งทางสุข<br />

ภาพกาย ทางสังคม และตอสิ่งแวดลอม<br />

ขอสํ าคัญ วินัยนั้นควรระวังเทาที่จะเปนไปได<br />

ไมใหเปนการบังคับ<br />

ซึ่งจะทํ<br />

าใหเกิดความฝนใจ ที่เสียสุขภาพจิต<br />

วิธีที่ถูกตองก็คือ<br />

ประสานสามแดนแหงการดํ าเนินชีวิตเขาดวยกัน<br />

อยางที่วาขางตนนั้น<br />

คือเอาปญญาและภาวะจิตดี ใสเขาไปในวินัยนั้น<br />

คือ<br />

ใหปฏิบัติดวยความตระหนักรู ทั้งดานโทษคือผลรายของการไมทํ<br />

าตาม<br />

และดานคุณคือผลดีของการทํ าตาม เมื่อรูเขาใจเห็นคุณคาประโยชน<br />

ของกติกาและการกินพอดีเปนตนแลว เกิดความพึงพอใจและเต็มใจที่<br />

จะปฏิบัติ (มีความสุขในการปฏิบัติและในการนึกถึงผลดีที่จะเกิดจาก


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

การกินพอดีนั้นดวย)<br />

การฝนก็กลายเปนการฝก แลวก็บูรณาการเปน<br />

วินัยแทจริง ตรงตามความหมายของวินัย ที่แปลวา<br />

“การนํ าไปใหวิเศษ”<br />

วินัยเมื่อปฏิบัติไปๆ<br />

ก็ทํ าใหเกิดเปนพฤติกรรมเคยชินที่ดี<br />

จนกลาย<br />

เปนความประพฤติปกติของบุคคลนั้น<br />

เรียกวาเกิดเปนศีลแลว ซึ่งมีผลดี<br />

ทั้งตอชีวิตของบุคคล<br />

และตอสังคม เกิดเปนวัฒนธรรมในการกิน<br />

จะอยางไรก็ตาม รวมความวา จะตองใหการกินเสพบริโภคมีผล<br />

ออกมาวา กินอาหารแลว ชวยใหรางกายแข็งแรงมีสุขภาพดี เพื่อที่รางกาย<br />

นั้นจะไดเปนปจจัยเกื้อหนุนชีวิตแหงการสรางสรรคทํ<br />

าความดีงามตอไป<br />

ตอไป เครื่องนุงหมก็ตองใชเปน<br />

เรานุ งหมเพื่ออะไร<br />

คนจํ านวน<br />

มากติดอยูแควานุงหมแตงตัวเพื่อสวยงาม<br />

ลอตากัน หรือแสดงฐานะ<br />

ความรํ่<br />

ารวย ยศศักดิ์<br />

เพื่ออวดโก<br />

อวดเดน ลํ้<br />

ายุคนํ าสมัย อันนี้ทานวา<br />

เปนแคการหลงติดสมมติในหมูมนุษย<br />

หรือไปตามกระแสสังคม<br />

แตที่จริง<br />

คุณคาแทที่ตองการในการนุงหมนั้นคืออะไร<br />

ก็แคเพื่อกัน<br />

หนาว รอน แดด ลม เหลือบ ยุง ริ้น<br />

ไร สิ่งกระทบกระทั่งกดกีดกระดาง<br />

และปองกันความละอาย<br />

ตองจับหลักไววา ใหไดคุณคาที่แทกอน<br />

สวนคุณคาเทียมเพื่อผล<br />

ทางสังคม เชนเพื่อสนองคานิยมนั้น<br />

เปนเรื่องประกอบ<br />

ใหใชแคพอ<br />

เหมาะสมอยางรู เทาทัน ถาใชดวยปญญาตระหนักรูความมุ<br />

งหมายที่แท<br />

จริงแลว ความพอดีก็เกิดขึ้นได<br />

ในทางสังคม การดํ าเนินชีวิตไมถูกตองในดานการเสพบริโภค<br />

บางทีวาทางนี้ผิดไมเอา<br />

แลวไปทางโนน ก็ไมใชวาจะถูก แตกลายเปนสุด<br />

โตงทั้งสองขาง<br />

เพราะไมไดใชดวยปญญาจริง แตเปนการติดในตัวตน<br />

เหมือนเรื่องเสื้อผานี่แหละ<br />

บางคนมองไปวาเราจะตองแตงใหสวย<br />

งาม จะตองเดนตองโก ตองใชเสื้อผาอยางนี้ใหเขารูวาเรามีฐานะสูง<br />

หรือ<br />

หรูลํ้<br />

านํ าสมัย นี้ก็สุดโตงไปขางหนึ่ง<br />

/ 136<br />

๘๕


๘๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

อีกคนหนึ่งคิดวา<br />

เราไมเอาละเรื่องสวยงามโกเก<br />

ไมตองไปใสใจ<br />

มัน เราจะปลอยตัวมอซอ ซอมซอ สกปรกมอมแมมอยางไรก็ได ไมตอง<br />

ไปคํ านึงถึงใคร อยางนี้ก็สุดโตงไปอีกขาง<br />

ที่ถูกคือทางสายกลางที่เปนทางแหงปญญา<br />

ถามีปญญาตระหนักรู<br />

คิดถูกตอง ดํ าเนินชีวิตถูกตอง มันก็เปนทางสายกลางเอง<br />

คนที่ใชปญญาจริงโดยไมติดอยูกับตัวตน<br />

จะมองวา เออ…มนุษย<br />

เรานี้จะมีชีวิตที่ดี<br />

จะพัฒนาไดผลดี ก็ตองสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทั้งทาง<br />

กายภาพและทางสังคมอยางถูกตอง เราอยูทามกลางสิ่งแวดลอม<br />

เราก็<br />

ตองการสิ่งแวดลอมที่ดี<br />

เราเห็นธรรมชาติ เห็นตนไมเขียวสวยสดงดงาม<br />

มีใบสะพรั่งขจี<br />

มีดอกสีสันสดสวย บริเวณสะอาดเรียบรอยงดงาม จิตใจ<br />

ก็สดชื่นเบิกบาน<br />

ปุถุชนตองการสิ่งเหลานี้มาเอื้อตอการพัฒนาชีวิตจิตใจ<br />

มนุษยเรานี้เปนสิ่งแวดลอมของกันและกัน<br />

ตัวเราก็เปนสิ่งแวด<br />

ลอมของผูอื่น<br />

เราก็ควรมีจิตใจเกื้อกูลตอผูอื่น<br />

มีเมตตาไมตรีตอเพื่อน<br />

มนุษย ในฐานะที่เราเปนสิ่งแวดลอมของเพื่อนมนุษยนั้น<br />

เราก็จะแตงตัว<br />

ใหสะอาดหมดจด ถูกตองเรียบรอยตามวัฒนธรรม จะไดชวยใหคนอื่น<br />

ชื่นจิตสบายใจ<br />

แตงแคไหนจะชวยใหเพื่อนมนุษยสดใสสบายใจ<br />

เอาแค<br />

นั้น<br />

ก็เกิดความพอดีขึ้นมา<br />

นี่คือตระหนักรูดวยปญญา<br />

มีความพอใจ<br />

และเกิดความพอดีในการปฏิบัติดวย<br />

ในเรื่องสิ่งของเครื่องใชและเทคโนโลยี<br />

ก็เชนวา เด็กจะซื้อ<br />

คอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง<br />

คุณพอ-คุณแมก็อาจจะถามวา ที่หนูจะซื้อ<br />

คอมพิวเตอรนี้มีวัตถุประสงคจะใชประโยชนอะไร<br />

ใหเขาวิเคราะหใหไดกอน แลวก็ใหเขาวางแผนซื้อคอมพิวเตอรที่<br />

จะไดประโยชนมากที่สุดตามวัตถุประสงคนั้น<br />

หรือใหเขามาวางแผนซื้อ<br />

รวมกันกับคุณพอ-คุณแมก็ได จะไดมารวมกันคิด ทั้งสนุก<br />

และปญญาก็<br />

จะเจริญงอกงาม นอกจากมีศีลและไดประโยชนที่เปนคุณคาแทจริงใน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๘๗<br />

การใชคอมพิวเตอรแลว ก็จะพัฒนาสุขภาวะทางสังคมไปดวย<br />

คนเดี๋ยวนี้มีความมั่งคั่งรํ่<br />

ารวยทางวัตถุปจจัยสี่<br />

แตศีลไมมี แมแต<br />

ในการปฏิบัติตอปจจัยสี่<br />

กินอาหารก็ไมเปน ใชเครื่องนุงหมก็ไมเปน<br />

คนจํ านวนมากกินอาหารหรือใชเสื้อผาแลว<br />

ไมเกื้อกูลตอชีวิตเลย<br />

สิ้นเปลืองเงินทองแพงเสียเปลา<br />

แตเสียหายตอสุขภาพ แลวยังเปน<br />

ปญหาเสียหายตอสังคมอีกดวย จึงตองพัฒนาคนใหม ใหกินใชเสพ<br />

บริโภคเปน ที่จะเปนการเกื้อกูลตอกัน<br />

ทั้งเกื้อกูลตอเพื่อนมนุษยดวย<br />

ตอ<br />

ชีวิตของตนเองดวย และตอสิ่งแวดลอมทั้งหมด<br />

ในเรื่องเสนาสนะ<br />

คือที่อยูอาศัย<br />

และยาบํ าบัดโรค ก็มีบทให<br />

พิจารณาทั้งนั้น<br />

ซึ่งโดยหลักการใหญก็ทํ<br />

านองเดียวกับที่วามา<br />

รวมความวา ที่พูดมาในเรื่องศีลลํ<br />

าดับที่สองนี้<br />

เปนเรื่องการปฏิบัติ<br />

ตอวัตถุปจจัยของกินใชสิ่งเสพบริโภควา<br />

เมื่อปฏิบัติดวยปญญา<br />

เพื่อให<br />

ไดคุณคาที่แท<br />

จึงจะเรียกวามีศีล<br />

ชีวิตใคร สุขมาก หรือทุกขมาก ดูที่งานอาชีพ<br />

๓. สัมมาอาชีวะ ๑ คือ ศีลที่เปนการหาเลี้ยงชีพโดยชอบธรรม<br />

เรียก<br />

ใหงายวา อาชีพสุจริต ก็คือการประกอบอาชีพการงานใหถูกตอง<br />

อาชีพเปนการดํ าเนินชีวิตพื้นฐานของมนุษย<br />

เราอยูในโลกกับสิ่ง<br />

แวดลอม ทั้งดานที่เปนธรรมชาติและวัตถุเทคโนโลยี<br />

และดานสังคมที่<br />

เปนเพื่อนมนุษย<br />

เราจะเปนอยูดวยดี<br />

เราก็ตองมีทุนของตัวเอง คือตองมี<br />

อาชีพบริสุทธิ์<br />

ไดแกอาชีพที่สุจริต<br />

อาชีพสุจริต คืออาชีพที่ไมเบียดเบียนผูอื่น<br />

ไมกอความเดือดรอน<br />

แกเพื่อนมนุษยหรือแกสังคม<br />

เปนกิจกรรมในทางสรางสรรค ชวยแก<br />

๑ ในชุดศีล ๔ หมวดเดิมของพระสงฆ หมวดนี้เรียกวา<br />

อาชีวปาริสุทธิศีล คือ ศีลที่เปน<br />

ความบริสุทธิ์แหงอาชีพ<br />

(ดูเชิงอรรถ ที่ขอ<br />

๔ ขางหนา)


๘๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ปญหาของชีวิตและสังคม แลวก็เปนการปฏิบัติตออาชีพนั้นอยางเที่ยง<br />

ตรงตอความมุงหมายของมัน<br />

สนับสนุนความมุงหมายของอาชีพนั้น<br />

ยกตัวอยาง เชน การแพทยมีขึ้นเพื่ออะไร<br />

ก็เพื่อชวยแกไขปญหา<br />

ใหมนุษยพนจากโรคภัยไขเจ็บ และใหเขามีสุขภาพดี ดังนั้น<br />

ผู ที่ประกอบ<br />

อาชีพแพทย เมื่อทํ<br />

าการดวยตั้งใจวาจะไปชวยเพื่อนมนุษยใหพนจากโรค<br />

ภัยไขเจ็บ ก็เปนอาชีพสุจริตทั้งสองชั้น<br />

สุจริตทั้งสองชั้นเพราะวา<br />

ในชั้นแรก<br />

อาชีพแพทยนั้นก็สุจริตในตัว<br />

คือเปนการงานที่ไมเบียดเบียน<br />

แตเปนการชวยบํ าบัดทุกขบํ าเพ็ญ<br />

ประโยชน และในชั้นที่สอง<br />

ความตั้งใจในอาชีพก็สุจริต<br />

เพราะเปนการ<br />

ปฏิบัติตรงตามความมุงหมายของอาชีพนั้น<br />

ที่วาเพื่อจะแกปญหาของ<br />

มนุษยในการแกไขโรคภัยไขเจ็บ คือมีเจตนาตั้งใจตรงไปตรงมา<br />

ถาเปนครูเปนอาจารย ก็รูกันอยูวา<br />

อาชีพครูมีขึ้นเพื่อจะชวยเด็ก<br />

ใหมีการศึกษา เราทํ าอาชีพครู ก็สุจริตไปชั้นหนึ่งแลว<br />

เพราะเปนอาชีพที่<br />

ดีงามเกื้อกูลไมเบียดเบียน<br />

ทีนี้พอมีเจตจํ<br />

านงมุงวาจะทํ<br />

างานเพื่อชวยให<br />

เด็กมีความรูมีการศึกษามีชีวิตที่ไดพัฒนาอยางดี<br />

ก็สุจริตชั้นที่สอง<br />

จากนี้<br />

ลึกเขาไป ยังมีแถมพิเศษเปนชั้นที่สาม<br />

คือ ในชีวิตของเรานี้<br />

เวลาสวนใหญเราตองใชไปในการประกอบอาชีพ เชนอาจจะหมดไป ๘<br />

ชั่วโมง<br />

ซึ่งเทากับ<br />

๑ ใน ๓ ของวันเลยทีเดียว บางคนเดินทางไปกลับจาก<br />

ที่ทํ<br />

างานใชเวลาอีกหลายชั่วโมง<br />

กลายเปนหมดเวลากับเรื่องของการงาน<br />

อาชีพเกิน ๑๐ ชั่วโมงก็มี<br />

เมื่อเปนเชนนี้ก็ชัดวา<br />

ชีวิตของเราจะดีหรือราย จะไดหรือเสีย ก็อยู<br />

ที่เวลาในอาชีพนี่แหละเปนสํ<br />

าคัญ (คํ าวาอาชีพก็บอกอยูในตัวถึงความ<br />

สํ าคัญของมัน คือเปนคํ าเดียวกับชีพหรือชีวิต หมายความวาชีวิตของเรา<br />

อยูไดดวยมัน) เราจึงจะตองเอาประโยชน(ที่เปนกุศล)จากอาชีพใหได<br />

มากที่สุด<br />

แมแตสุขภาวะจะไดจะเสียก็ดูที่นี่ไดเปนแหลงใหญ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ในเมื่อเวลาของเราสวนใหญหมดไปในอาชีพ<br />

แลวหลักการของ<br />

ชีวิตก็บอกอยูวามนุษยจะดีงามเลิศประเสริฐไดดวยการพัฒนาชีวิตหรือ<br />

ฝกฝนตนเอง เราควรจะใชเวลาใหมากที่สุดในการที่จะพัฒนาชีวิตของ<br />

เรา ในเมื่อเวลาในการประกอบอาชีพเปนเวลาสวนใหญถึงหนึ่งในสาม<br />

ของชีวิตอยางนี้แลว<br />

เราจึงควรจะตองทํ าเวลาในอาชีพนั้นใหเปนเวลา<br />

ของการพัฒนาชีวิตไปดวย ดังนั้น<br />

เราจะตองเอาอาชีพนั้นแหละเปนแดน<br />

หรือเปนเวทีของการพัฒนาชีวิต<br />

ที่จริง<br />

ถาดํ าเนินชีวิตถูกตอง อาชีพยอมเปนเวทีพัฒนาชีวิตของแต<br />

ละคนอยู แลว และอาชีพอํ านวยโอกาสในการพัฒนาชีวิตอยางมาก ดัง<br />

นั้น<br />

เราจะตองเอาประโยชนจากอาชีพในดานที่เปนสาระของชีวิตนี้ใหได<br />

ไมเฉพาะใหมันเปนเวทีหาเงินหาทอง ไมเฉพาะชวยใหคนหายโรคหาย<br />

ภัยเทานั้น<br />

แตใหเปนแดนในการพัฒนาตัวเองดวย<br />

ในการทํ างานอาชีพนั้น<br />

เราจะพัฒนาความสัมพันธทั้งกับสิ่งแวดลอม<br />

ทางวัตถุ ทางธรรมชาติและทางสังคม ทั้งทักษะทุกดาน<br />

ความแคลวคลอง<br />

ทางพฤติกรรม การรู จักพูดจาติดตอสื่อสารใหไดผล<br />

การสรางบรรยากาศ<br />

แหงความราเริงเบิกบานมีความสุขในการอยูและทํ<br />

างานรวมกัน ฯลฯ<br />

เราจะพัฒนาจิตใจของตนเอง ทั้งในความเขมแข็งอดทน<br />

ความ<br />

เพียรพยายาม ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความมีเมตตากรุณา ความ<br />

มีนํ าใจรวมใจสงเสริม ้ ความเอื้อเฟอเผื่อแผ<br />

ความมีสติ มีสมาธิ การมี<br />

ความราเริงเบิกบาน ความสดชื่นแจมใส<br />

ความอิ่มใจชื่นใจ<br />

และความสุข<br />

เราจะพัฒนาปญญา ทั้งในการรอบรูเรื่องราวของการงาน<br />

รูเขาใจ<br />

วิชาการที่เกี่ยวของ<br />

เรียนรูและเพิ่มพูนประสบการณมากมาย<br />

ฝกการคิด<br />

แกปญหาตางๆ หลากหลาย วิเคราะหวิจัยหาทางปรับปรุงพัฒนากิจการ<br />

หรือริเริ่มสรางสรรคการที่จะแผขยายประโยชนสุข<br />

ตลอดจนรูจักโลกเขา<br />

ใจชีวิตหมดเลย<br />

/ 136<br />

๘๙


๙๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ถาตั้งใจตั้งเจตนาโดยมีความตระหนักรูที่จะพัฒนาตนอยางที่วานี้<br />

ก็จะไดผลดีเต็มที่<br />

อีกทั้งจะชวยใหทํ<br />

างานดวยความพึงพอใจมีความสุขใน<br />

อาชีพการงานดวย ไมวาเจอดีเจอราย งานงายงานยาก หรือปญหาใหญ<br />

นอย ก็เปนประสบการณและเปนแบบฝกหัดในการพัฒนาตนทั้งนั้น<br />

มีแต<br />

ได โดยเฉพาะ ยิ่งยาก-ยิ่งไดมาก<br />

แลวอาชีพก็ดํ าเนินไปในสุขภาวะดวย<br />

ควรจะแยกออกมาเนนไวเปนพิเศษในแงของความสุขวา ในเมื่อ<br />

งานอาชีพครองเวลาสวนใหญแหงชีวิตของเรา เราจะมีความสุขมาก หรือ<br />

มีความทุกขมาก ก็อยู ที่การงานนี่แหละ<br />

ดังนั้น<br />

จะตองทํ าใหการงานอาชีพ<br />

เปนชวงเวลาแหงความสุขใหได มิฉะนั้น<br />

เราจะมีชีวิตที่มีความทุกขมากมาย<br />

เมื่อคนพัฒนาโดยใชอาชีพเปนเวทีฝกฝน<br />

ก็จะยิ่งดีงาม<br />

และจะสงผล<br />

กลับมาชวยใหงานในอาชีพยิ่งไดผลมากขึ้นดวย<br />

แลวงานที่ไดผลก็ยิ่งทํ<br />

าให<br />

คนยิ่งพัฒนายิ่งมีความสุข<br />

เปนวงจรปจจยาการ แตถาทํ างานอาชีพไมเปน<br />

อาชีพก็จะไมมีประโยชนเทาที่ควร<br />

ทั้งตัวเองก็ทุกข<br />

แลวบางทีก็เปนโทษไป<br />

เบียดเบียนเพื่อนมนุษยอีก<br />

จึงตองจัดการกับเรื่องอาชีวะนี้ใหดีใหได<br />

สังคมมีวินัย คนจึงมีโอกาส<br />

๔. วินัยบัญญัติ ๑ คือ ศีลประเภทขอบัญญัติเพื่อเปนแบบแผน<br />

สํ าหรับการอยูรวมกันในชุมชน<br />

หรือในสังคม<br />

จะเห็นความแตกตางวา ศีล ๓ หมวดแรก ใหไวเพียงหลักการกวางๆ<br />

แลวผูปฏิบัติก็ควบคุมดูแลตัวเองใหเปนอยูดํ าเนินชีวิตไปตามหลักการ<br />

นั้น<br />

แตศีลหมวดวินัยบัญญัตินี้<br />

ประกอบดวยขอกํ าหนด (ขออนุญาตและ<br />

ขอหาม หรือจาริตตและวาริตต) ที่บัญญัติจัดตั้งวางไวเปนรายการที่แนนอน<br />

๑ ในศีล ๔ หมวด ของเดิม ซึ่งทานจัดแสดงไวสํ<br />

าหรับพระสงฆ ศีลหมวดนี้เรียกวา<br />

ปาฏิโมกข-<br />

สังวรศีล และจัดเปนหมวดแรก ในที่นี้<br />

ใชคํ าวา "วินัยบัญญัติ" (ขอบัญญัติที่เปนวินัย)<br />

เพื่อ<br />

ใหเปนคํ ากลางๆ ที่ใชไดทั่วไป<br />

(ศีล ๔ หมวด ของเดิมสํ าหรับพระสงฆ เรียกวา ปาริสุทธิศีล<br />

๔ เรียงลํ าดับเปน ปาฏิโมกขสังวรศีล อินทรียสังวรศีล อาชีวปาริสุทธิศีล ปจจัยสันนิสิตศีล)


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ชัดเจน อยางที่เรียกวาเปนขอๆ<br />

เปนมาตราๆ เปนตน (ในวินัยของพระ<br />

เรียกแตละขอวา "สิกขาบท" แปลวา ขอศึกษา หรือขอฝก)<br />

แตทั้งนี้<br />

ในศีล ๓ หมวดแรกนั้น<br />

ถาการปฏิบัติใดๆ ควรระบุขอ<br />

กํ าหนดไวใหแนชัด ก็จะนํ ามาบัญญัติไวในหมวดวินัยบัญญัตินี้ดวย<br />

เชน<br />

ขอกํ าหนดเกี่ยวกับอาชีวะที่วางไวเปนสิกขาบทไมนอย<br />

ดังนั้น<br />

วินัย<br />

บัญญัติจึงครอบคลุมศีลทั้งหมดในระดับทั่วไป<br />

หลักการของวินัยบัญญัติก็คือ การอยูรวมกันเปนชุมชนหรือเปน<br />

สังคม ตองมีกติกา ที่เปนขอตกลงหรือขอหมายรูรวมกันในการเปนอยู<br />

สัมพันธกัน และดํ าเนินกิจการตางๆ ซึ่งอาจจะเรียกวา<br />

กฎเกณฑ<br />

ระเบียบ กฎหมาย ตลอดจนรัฐธรรมนูญ ที่จะใหกิจการทั้งหลายดํ<br />

าเนิน<br />

ไปดวยดีและผูคนอยู<br />

กันรมเย็นเปนสุข ในระดับนั้นๆ<br />

อยางไรก็ดี จุดหมายของวินัยมิใชเพียงเพื่อใหกิจการทั้งหลาย<br />

ดํ าเนินไปดวยดีและใหผูคนอยูกันรมเย็นเปนสุข แตวินัยนั้นเปนการจัด<br />

สรรโอกาส และเปนเครื่องมือจัดสรรโอกาส<br />

วินัยจัดสรรโอกาสอยางไร? เราอยูในบานของเรา<br />

ถาในบานไมมี<br />

วินัย สิ่งของเครื่องใช<br />

โตะเกาอี้<br />

วางระเกะระกะไปหมด เราเดินออกจาก<br />

หองนอนจะไปประตู ตองเดินเลี้ยวไปเลี้ยวมา<br />

ออมโนนออมนี่<br />

บางทีชน<br />

นั่นชนนี่<br />

กวาจะไปถึงประตูได ลาชา บางทีเจ็บตัวดวย แยเลย<br />

แตพอมีวินัย สิ่งของเครื่องใชอะไรควรอยูที่ไหน<br />

ก็จัดเขาที่เรียบ<br />

รอยหมด โอกาสเปดใหเต็มที่<br />

เราเดินพรวดเดียวจากหองนอนถึงประตู ก็<br />

ออกไปไดงายและฉับไว<br />

ในระดับสังคมก็เหมือนกัน เรามีกฎจราจร ก็ทํ าใหคนมีโอกาสใน<br />

การเดินทาง ทํ าใหไปไหนมาไหนไดสะดวก แตถาไมมีวินัย ก็ติดขัด เสีย<br />

โอกาส หมดความสะดวก<br />

ถาบานเมืองไมดี คนขาดวินัย เบียดเบียนกัน เกิดอาชญากรรมมาก<br />

/ 136<br />

๙๑


๙๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

มีภัยตอชีวิตรางกายและทรัพยสิน คนจะไปไหนก็หวาดระแวงกัน บอกวา<br />

เวลานั้นยานนั้นแถบนั้นอยาไป<br />

จะทํ ากิจกรรมทางธุรกิจ ทางสังคม ทาง<br />

การศึกษา ก็ติดขัดไปหมด จะพัฒนาชีวิตก็ไมได พัฒนาสังคมก็ไมได เราก็<br />

จัดตั้งตรากฎหมายขึ้นมา<br />

ซึ่งเปนเครื่องมือในการจัดการใหเกิดความเปน<br />

ระเบียบเรียบรอย ทํ าใหมีโอกาสมากที่สุดที่จะอยู<br />

จะทํ าการเพื่อผลที่ตองการ<br />

อนึ่ง<br />

ที่วาวินัยจัดสรรใหมีโอกาสหรือเอื้อโอกาสนั้น<br />

เปนเรื่อง<br />

สัมพันธกับจุดหมาย กลาวคือ วินัยชวยใหเกิดมีโอกาสที่จะอยูจะทํ<br />

าจะ<br />

ดํ าเนินการในทางที่จะบรรลุจุดหมายอยางใดอยางหนึ่ง<br />

ของหมูชน<br />

ชุม<br />

ชน สังคม ตลอดจนองคกร หรือกิจการนั้นๆ<br />

ดวยเหตุนี้<br />

ในเวลาเดียวกัน<br />

นั้น<br />

วินัยจึงปดกั้นโอกาส<br />

เรียกวาปดชองทาง มิใหมีการกระทํ าดํ าเนิน<br />

การที่จะขัดขวางบั่นทอนการกาวไปสูจุดหมายที่มุงหวังนั้น<br />

ตัวอยางก็ดูที่วินัยของพระสงฆนี่แหละ<br />

วาวินัยจัดสรรโอกาสอยางไร<br />

การมีวัดมีพระสงฆขึ้นมานั้น<br />

มีหลักการและความมุงหมายชัดเจน<br />

วา เปนการดํ าเนินวิถีชีวิตแบบสมณะ เพื่อใหผูที่รวมอยูในสังฆะมีเครื่อง<br />

ชวยเกื้อหนุนสงเสริมใหมีความพรอมมากที่สุด<br />

ที่จะที่มุงเจริญไตรสิกขา<br />

คือฝกศึกษาพัฒนาตน ใหลุถึงวิมุตติหลุดพนมีอิสรภาพแหงนิพพาน<br />

และใหชุมชนแหงสังฆะนี้เปนแหลงที่ผูมีชีวิตอันเปนอิสระ<br />

สามารถเอื้อ<br />

ธรรมเพื่อประโยชนสุขแกมหาชนไดเต็มที่<br />

ดังนั้น<br />

ประมวลวินัยบัญญัติสํ าหรับสังฆะ ที่มีชื่อวาปาฏิโมกข<br />

จึง<br />

ประกอบดวยพุทธบัญญัติ ที่จัดวางระเบียบความเปนอยูใหเปนวิถีชีวิต<br />

แหงการเจริญไตรสิกขาและเปนนาบุญที่อํ<br />

านวยธรรม ดวยขอกํ าหนด ทั้ง<br />

ดานที่เอื้อเสริมโอกาสในการที่จะปฏิบัติสูจุดหมาย<br />

และดานที่ปดกั้นชอง<br />

โหวมิใหเกิดมีสิ่งกีดขวางตอการกาวสูจุดหมายนั้น<br />

เมื่อพูดในขั้นจุดหมายรวมของมนุษยชาติ<br />

วาตามหลักพุทธศาสนา<br />

วินัยก็จะมุงจัดตั้งวางระเบียบชีวิตระบบสังคม<br />

(รวมทั้งระบบเศรษฐกิจ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

การเมืองการปกครอง) ที่จะใหมนุษยมีโอกาสดีที่สุดในการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดี<br />

และพัฒนาชีวิตของตน โดยที่พรอมกันนั้น<br />

ก็ปดชองตอสิ่งที่จะกีดขวางบั่น<br />

รอนหรือทํ าลายระบบการดํ าเนินชีวิตที่ดีและการพัฒนาตนของมนุษยนั้น<br />

วินัยพื้นฐานสํ<br />

าหรับสังคมมนุษย จึงไดแก ศีล ๕ ซึ่งเปนขอกํ<br />

าหนด<br />

อยางตํ่<br />

าสํ าหรับชาวบาน ที่จะใหสังคมมีความสงบเรียบรอยในระดับที่<br />

พออยู กันได ไมลุกเปนไฟ ใหบุคคลมีโอกาสพอที่จะดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดีและ<br />

พัฒนาชีวิตของตนได จึงถือไดวา ศีล ๕ เปนฐานของการจัดระเบียบ<br />

สังคม ดังที่ปรากฏวา<br />

จากศีล ๕ นี่ก็พัฒนาเปนกฎหมาย<br />

เปนระเบียบกฎ<br />

เกณฑอะไรตออะไรขึ้นไปอีกทีหนึ่ง<br />

โดยมากกฎหมายของเราก็อาศัยศีล ๕ นี่แหละเปนฐาน<br />

ขยาย<br />

ออกไปจากเรื่องศีลนี้แหละ<br />

เปนกฎหมายเกี่ยวกับชีวิตรางกาย<br />

เกี่ยวกับ<br />

ทรัพยสิน เกี่ยวกับครอบครัว<br />

เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ<br />

เรื่องการใชวาจา<br />

และ<br />

เรื่องสิ่งเสพติดมัวเมา<br />

เรื่องเหลานี้เปนหัวขอใหญในการตรากฎหมาย<br />

โดยนัยที่วามา<br />

ถาไมมีวินัย มนุษยก็จะสูญเสียโอกาสในการที่จะ<br />

ดํ าเนินชีวิตที่ดีและที่จะพัฒนาชีวิตของตนใหดีงามยิ่งขึ้น<br />

แตนาสังเกตวา<br />

ระบบสังคมหรืออารยธรรมปจจุบันดูเหมือนจะทํ าการในทางที่คอนขาง<br />

จะตรงขาม คือ กลับเอื้อเสริมโอกาส<br />

(เปดชอง) ใหมนุษยดํ าเนินชีวิตใน<br />

ทางที่เปนโทษแกตนเอง<br />

ขัดขวางการพัฒนาชีวิตของตน<br />

บางทีอาจจะเปนเพราะการจัดระเบียบชีวิตและระบบสังคมใน<br />

ปจจุบันนั้น<br />

ยังตั้งอยูบนฐานแหงความคิดที่เลื่อนลอย<br />

ขาดหลักการและ<br />

จุดหมายที่ชัดเจน<br />

อาจเปนไดวา เราอยูในยุคที่เปนเพียงประชาธิปไตยอยางวา<br />

หรือ<br />

ประชาธิปไตยเพียงตามที่สักวาเรียกกัน<br />

(so-called democracy) ที่มนุษย<br />

ยังไมเขาใจความหมายของวินัยและเสรีภาพ มองไมชัดวา วินัยมีไวทํ าไม<br />

เสรีภาพมีเพื่ออะไรกันแน<br />

เริ่มตั้งแตเขาใจผิด<br />

มองวินัยเปนเครื่องบังคับ<br />

/ 136<br />

๙๓


๙๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

แลวก็เลยใชวินัยผิดทาง ไมชวยใหบรรลุจุดหมายของชีวิตและสังคม<br />

ยุติกันแคนี้กอนวา<br />

วินัยเปนเครื่องจัดสรรเอื้ออํ<br />

านวยโอกาสเพื่อให<br />

มนุษยพัฒนาชีวิตของตน แลวทีนี้<br />

เมื่อมนุษยมีเสรีภาพ<br />

เราก็เอาโอกาสที่<br />

วินัยจัดสรรใหนี้ไปใชในการพัฒนาชีวิตนั้นตามความมุงหมาย<br />

นี่ก็หมายความวา<br />

สังคมที่มีวินัย<br />

มีกฎหมาย มีรัฐธรรมนูญที่ดีที่สุด<br />

คือสังคมที่จัดสรรดวยวินัย<br />

ดวยกฎหมาย ดวยรัฐธรรมนูญ เปนตนนั้น<br />

ให<br />

มนุษยในสังคมนั้นมีโอกาสพัฒนาชีวิตไดดีที่สุด<br />

คงเห็นไดแลววา ศีล ๔ หมวด ที่ทางพระจัดแบงไวนี้<br />

เปนหลักการ<br />

ดํ าเนินชีวิตและพัฒนามนุษย ที่ลวนแลวแตเกี่ยวของกับสุขภาวะทั้งนั้น<br />

ยุคไอที จะบมอินทรีย หรือปลอยอินทรียใหเขามอม<br />

ตอนี้ก็ไปเรื่องของจิตใจ<br />

แลวก็เรื่องปญญา<br />

ตามลํ าดับที่วา<br />

แดนที่<br />

๒ คือ ภาวะจิต ซึ่งโยงถึงการพัฒนาจิตใจดวย<br />

แดนที่<br />

๓ คือ การใชปญญา ซึ่งโยงถึงการพัฒนาปญญาดวย<br />

นอกจากพูดถึงเรื่องของจิตใจ<br />

และเรื่องปญญาในแตละแดนแลว<br />

ก็<br />

ตองพูดถึงเรื่องที่ภาวะจิตกับปญญาเปนปจจัยเกื้อหนุนซึ่งกันและกันดวย<br />

อยางไรก็ตาม พอดีวา ในตอนที่ผานมา<br />

ไดพูดเรื่องภาวะจิต<br />

และ<br />

เรื่องปญญา<br />

รวมทั้งเรื่องที่ภาวะจิตกับปญญาเปนปจจัยแกกันและกัน<br />

มาไมนอยแลว จึงเห็นวาในที่นี้<br />

เรื่องของแดนจิตใจและแดนปญญา<br />

นา<br />

จะพอแคนั้นกอน<br />

เมื่อพอควรแลว<br />

ก็จะพูดถึงเรื่องเกร็ดๆ<br />

และเรื่องแถมพิเศษไว<br />

หนอย เรื่องหนึ่งที่อยากใหสังเกตก็คือ<br />

ในการแกปญหา โดยเฉพาะ<br />

ปญหาชีวิตจิตใจ หรือในการดับทุกขนั้น<br />

วิธีการทางจิตใจ กับวิธีการทาง<br />

ปญญา มีประโยชนในคนละระดับ และไดผลแตกตางกัน<br />

เรื่องที่สํ<br />

าคัญคือความสุข ก็มีความสุขในระดับจิตใจ และความสุข


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ในระดับปญญา ซึ่งประณีตตางกัน<br />

วากันแบบรวบรัด ความสุขในระดับ<br />

จิตใจถึงจะลึกซึ้งแคไหน<br />

ก็ยังไมเปนอิสระจริง ตองมีปญญาเขามาปลด<br />

ปลอย จึงจะเปนอิสระสมบูรณ<br />

ในการแกปญหาจิตใจในชีวิตประจํ าวัน อยางที่เจอกันบอยๆ<br />

เชน<br />

เรื่องความโกรธ<br />

ก็มีทั้งวิธีการทางจิต<br />

และวิธีการทางปญญา ซึ่งอาจจะ<br />

โยงกัน และไดผลแตกตางกันหลายระดับ<br />

การปฏิบัติตอประสบการณและสถานการณตางๆ ก็สามารถใชวิธี<br />

การทางจิต หรือวิธีการทางปญญา หรือทั้งสองอยางประสานกัน<br />

แตในที่<br />

สุด การแกในขั้นปลดปลอยจะตองถึงปญญา<br />

อยางเรื่องเกิดมารวย-เกิดมาจน<br />

เกิดมาสวย-เกิดมาขี้เหร<br />

ฯลฯ ก็<br />

ไมมีฝายไหนไดเปรียบหรือเสียเปรียบจริง อยูที่มีวิธีปฏิบัติจัดการทางจิต<br />

และทางปญญาอยางไร<br />

ในการใชวิธีทางจิต และวิธีทางปญญาทั้งหมดนั้น<br />

ตัวทํ างานสํ าคัญ<br />

ที่พึงใสใจเปนพิเศษ<br />

คือ โยนิโสมนสิการ ที่อาจพลิกสถานการณรายสุด<br />

ให<br />

กลับเปนดีอยางยิ่งก็ได<br />

เมื่อเวลาอาจจะหมดแลว<br />

ก็ขอยกตัวอยางตอนทายสุดเลย คือใน<br />

เวลาที่คนจะตาย<br />

คนทั้งหลายก็มาคิดกัน<br />

รวมทั้งทางแพทยก็ตองคิดวา<br />

จะชวยคนไขที่ใกลตายอยางไร<br />

จะชวยใหเขาตายอยางไรจะดีที่สุด<br />

อยางที่วาแลว<br />

การปฏิบัติในเรื่องนี้<br />

มีทั้งในระดับจิตใจและใน<br />

ระดับปญญา สวนในระดับทางกายนั้นก็ถือวา<br />

แนนอนละ คุณหมอก็<br />

ตองพยายามชวยเต็มที่<br />

ในระดับจิตใจนั้น<br />

ตามปกติเราจะใหคนไขเอาจิตยึดเหนี่ยวกับสิ่ง<br />

ที่ดีๆ<br />

อยางโบราณวาใหบอกอรหัง หรือเอาคํ าวาพุทโธมาใหวา หรือให<br />

ฟงเสียงสวดมนต หรือลูกหลานอาจจะมายืนใกลๆ แลวก็มาพูดทวนให<br />

คุณพอ-คุณแม คุณปู-คุณยา<br />

คุณตา-คุณยายฟงวา เมื่อนั้นๆ<br />

นะ คุณพอ<br />

/ 136<br />

๙๕


๙๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

คุณแมไปทํ าบุญที่นั่นมา<br />

การทํ าบุญครั้งนั้นสํ<br />

าคัญ เปนประโยชนมาก<br />

อยางนั้นๆ<br />

ใหจิตใจของทานอยูกับบุญกุศล<br />

ไมกระวนกระวาย ไมฟุงซาน<br />

ไมแกวงไกวไปที่อื่น<br />

และใจของทานมีความชื่นชมยินดี<br />

เกิดปติ อิ่มใจ<br />

ปลื้มใจ<br />

มีความสุข เบิกบานผองใส<br />

ถาสามารถทํ าใหจิตใจของผูปวยผูกจับอยูกับบุญ อยูกับความดี<br />

อยู กับพระพุทธเจา อยูกับพระธรรม<br />

อยูกับพระรัตนตรัย<br />

อยูกับอะไรก็ได<br />

ที่ดีๆ<br />

ไมไปไหนอื่นเลย<br />

แลวสงบ ผองใสได ก็ถือวาประสบความสํ าเร็จ<br />

คืออยูดวยศรัทธา อยูดวยสิ่งยึดเหนี่ยวที่ทํ<br />

าใหจิตใจไมวาวุน ไมเศรา<br />

หมอง ไมทุกข ไมบีบคั้น<br />

ไมกระวนกระวาย นี้ก็เปนการดีอยางยิ่งแลว<br />

แตยังมีอีกขั้นหนึ่ง<br />

ขอใหคิดเองวา ระหวางการทํ าใหคนใกลตายมี<br />

สิ่งดีงามยึดถือ<br />

เชนบุญกุศลอยูกับใจ<br />

ซึ่งดีมากแลวนี้<br />

กับอีกขั้นหนึ่งคือ<br />

การทํ าใหทานผูที่มีชีวิตในขณะสุดทายนั้น<br />

ไดเกิดมีความรูความเขาใจ<br />

มองเห็นความจริงของชีวิต มองเห็นโลกเห็นชีวิตตามเปนจริงวา สังขาร<br />

ทั้งหลายมันเปนอยางนี้<br />

โลกนี้เปนอยางนี้<br />

มนุษยทั้งหลายเปนอยางนี้<br />

มองเห็นชีวิตสังขารตามสภาวะ แลววางใจตอชีวิตและตอสิ่งทั้งหลายทั้ง<br />

ปวงได วางใจลงตัว ไมยึดอะไรเลย อยางไหนจะดีกวากัน<br />

ยํ าวา ้ ระหวางการมีจิตยึดอยูกับสิ่งที่ดีที่สุด<br />

ระลึกถึงพระรัตนตรัย<br />

หรือใจอยูกับบุญกุศลที่ดีแลวนี้<br />

กับการมีจิตที่มีปญญาสวางแจง<br />

รูเขาใจ<br />

มองเห็นความจริงแลววางไดหมด ไมยึดเลยนี้<br />

อยางไหนดีกวา<br />

(เสียงตอบวา อยางหลัง)<br />

อยางหลังดีกวา นี้แหละจึงบอกวาตองมีการแยก<br />

อยางแรกเปนการ<br />

ใชวิธีการในระดับจิตใจ เรียกวาระดับสมถะ อยางหลังเปนระดับปญญา<br />

ในเชิงวิปสสนา<br />

ในเรื่องผู<br />

ปวยโรครายแรงหมดทางรักษา มีแงพิจารณาอีกอยางหนึ่ง<br />

คือการปดโรคหรือหลอกคนไขไมใหรูโรคที่เปน<br />

วาดีหรือไมดี อันนี้ยังตอง


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๙๗<br />

ตอบแบบมีเงื่อนไข<br />

หรือแยกวาดีขั้นไหน<br />

และไมดีขั้นใด<br />

การปดทํ านองหลอกนั้นไมใชวาไมดีเลย<br />

ก็มีดีอยูขั้นหนึ่ง<br />

เริ่มดวยมี<br />

เจตนาดี คือตั้งใจดี<br />

หวังดีตอผูปวย<br />

เกรงวาถาบอกความจริง ใจผูปวย<br />

อาจจะรับไมได อาจจะหมดกํ าลังใจ แลวก็จะทรุดหนักโดยเร็ว ก็เปนการ<br />

ชวยรักษาระดับจิตใจของเขาไวกอน<br />

ถามวาการพูดทํ านองหลอกอยางนั้นผิดศีลขอมุสาวาทไหม<br />

ก็ดูที่<br />

เจตนา มุสาวาทแทคือเจตนาพูดใหผิดจากความจริงเพื่อทํ<br />

าลายประโยชน<br />

ของเขา หรือเพื่อทํ<br />

าใหเขาเสียประโยชน ตัวเจตนาที่เปนมุสาวาทขั้นเสียศีล<br />

ก็คือตั้งใจจะเบียดเบียนเขา<br />

ถามุงดีตอเขาทานไมถือวาเปนมุสาวาทแท<br />

เพราะเจตนานี้แหละเปนตัวสํ<br />

าคัญ และเจตนาที่ผิดศีลก็คือจะเบียดเบียน<br />

ทีนี้<br />

คุณหมอเห็นคนไขใจไมเขมแข็ง ไมมีกํ าลังใจ จะรับไมไหว ถา<br />

ขืนบอกความจริงนี้<br />

คงวูบเลย จึงตอบเลี่ยงไป<br />

บางทีก็เหมือนกับหลอก<br />

อยางนี้ก็ถือวาไมใชมุสาวาทแท<br />

เพราะวาไมมีเจตนาเบียดเบียน<br />

แตทานก็ยังไมยอมใหบริสุทธิ์รอยเปอรเซ็นต<br />

เพราะอะไร เพราะยัง<br />

มีเจตนาพูดใหคลาดจากความจริง และถาปลอยตัวอยูในขั้นนี้<br />

ก็จะเกิด<br />

ความประมาท เพราะคิดวาเทานั้นพอแลว<br />

พอเจอกรณีอยางนั้นอีก<br />

ก็จะ<br />

ไดแคหลอกคนไขไปเรื่อย<br />

จึงตองพยายามตอไป คือตองพัฒนาทั้งตัวเองของคุณหมอ<br />

และ<br />

พัฒนาคนไข โดยหาทางวาทํ าอยางไร เชนจะพูดจาแบบไหน ใหคนไขพัฒนา<br />

ตัวเองไปสู การยอมรับความจริงได เมื่อไรคนไขมีปญญาสวางแจง<br />

ยอมรับ<br />

ความจริง ปลงจิตวางใจลงตัวได เมื่อนั้นเขาเปนอิสระแลว<br />

นั้นคือดีที่สุด<br />

นี่แหละที่ตองวาเปนขั้นๆ<br />

เมื่อถามวาดีไหม?<br />

ก็ตอบวาดีในขั้นหนึ่ง<br />

อยาบอกวาดีจบไปเลย ไมควรตอบตายตัวไปขางเดียว ทานใหมองอะไรๆ<br />

เปนการพัฒนาไปเปนขั้นๆ<br />

ก็ตองคอยๆ พัฒนา แลวคอยๆ แยกแยะวาไป<br />

หลักนี้ใชไดทั่วไปกับเรื่องของมนุษย<br />

ธรรมดาของมนุษยนี้<br />

เราจะ


๙๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ใหเปนเหมือนกันหมด เชน จะใหทุกคนมีความสุขดวยปจจัยตัวเดียวกัน<br />

เหมือนกันหมด เปนไปไมได เพราะวาในเวลาหนึ่งๆ<br />

มนุษยทั้งหลายอยู<br />

ใน<br />

ระดับแหงการพัฒนาที่ตางๆ<br />

กัน จึงมีความตองการเปนตนแตกตางกัน<br />

แตพรอมกันนั้น<br />

มนุษยทุกคนก็มีธรรมชาติที่ตองพัฒนา<br />

ดังนั้น<br />

ใน<br />

ขณะที่แตละคนแตกตางกัน<br />

อยู ในระดับการพัฒนาที่ไมเทากัน<br />

ก็จึงเหมือน<br />

กับมีเงื่อนไขวา<br />

ขออยางเดียวอยาใหเขาหยุดอยูกับที่<br />

คือใหแตละคน<br />

พัฒนากาวหนาตอไป และเราก็ตองมีระบบการ “บมอินทรีย” คือเสริมใส<br />

ปจจัยเกื้อหนุนหรือกระตุนทางบวก<br />

เพื่อชวยใหคนพรอมที่จะพัฒนา<br />

(ถาเรามัวประมาท ไมบมอินทรียคน ก็อาจจะเพลี่ยงพลํ้<br />

าแกฝาย<br />

มอมเมาอินทรียไปอยางไมรูตัว<br />

เชน ในยุคไอทีปจจุบัน มีปจจัยตัวแปร<br />

เลื่อนลอย<br />

หรือปจจัยที่สังคมละเลยควบคุมไมไดมากมาย<br />

ถูกปลอยมา<br />

กระตุนเราปลุกปนดานเสพใหเด็กเกิดความพรอมทางเพศเร็วไวผิดปกติ<br />

ขณะที่ความพรอมในการที่จะเรียนรูกลับยิ่งลาชาหรือทื่อดานไป<br />

เพราะ<br />

ความละเลยไมบมอินทรียอยางที่วา<br />

จึงเสียทาแกฝายมอมอินทรีย)<br />

ในกรณีตัวอยางนี้<br />

ถาพิจารณาใหดี จะมองเห็นหลักการสํ าคัญรอง<br />

รับเปนพื้นอยู<br />

พูดงายๆ วา คือเรื่อง<br />

ปจจัยภายใน กับ ปจจัยภายนอก<br />

อยางเรื่องคนไข<br />

ถาตัวคนไขทํ าใจไดเอง ใจอยูกับบุญกุศลได<br />

จน<br />

กระทั่งมองเห็นและยอมรับความจริง<br />

วางใจลงตัวเปนอิสระได ก็เรียกวา<br />

มีปจจัยภายใน ทํ าใหชวยตัวเองได หรือพึ่งตนได<br />

แตถาคนไขใจไมดีเลย พึ่งตัวเองไมได<br />

คนเฝาไข ญาติ และแพทย<br />

พยาบาล ก็ชวยจัดสภาพแวดลอม ชวยพูดชักนํ า เปนตน (หรือแมวาคนไข<br />

พอจะเขาทางได แตผู ดูแลก็ชวยเกื้อหนุนอีก)<br />

อยางนี้ก็เปนปจจัยภายนอก<br />

ในเรื่องเด็ก<br />

เรื่องนักเรียน<br />

เยาวชน จนถึงคนทั่วไป<br />

ก็เหมือนกัน ก็ใช<br />

หลักการปจจัย ๒ ดาน คือ ปจจัยภายใน กับปจจัยภายนอก นี้แหละ<br />

ปจจัยภายในตัวสํ าคัญ ไดแก โยนิโสมนสิการ ที่ไดเอยชื่อมาเปน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ครั้งคราว<br />

ประปราย<br />

ปจจัยภายนอกที่สํ<br />

าคัญ คือ คนที่เปนกัลยาณมิตร<br />

เชน แพทย พยาบาล<br />

ญาติ และคนเฝาไข ที่จิตใจดี<br />

มีความรู ความเขาใจ รู จักพูดจาแนะนํ า<br />

ทีนี้<br />

พูดถึงตัวหลักการเลยวา ในการจะเขาสู<br />

หรือเริ่มกอองครวม<br />

การดํ าเนินชีวิตที่ดี<br />

โดยมีระบบการพัฒนาชีวิตไดนั้น<br />

ตองมีปจจัยชักนํ า<br />

เกื้อหนุน<br />

เรียกวา ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ<br />

ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ คือ ปจจัยที่จะกระตุนเรา<br />

เกื้อหนุน<br />

ชักนํ าให<br />

เกิดความรู ความเขาใจ ไดแนวคิดที่ถูกตอง<br />

เรียกไดวาเปนปจจัยพื้นฐาน<br />

ของการศึกษา หรือปจจัยพื้นฐานของการพัฒนามนุษย<br />

มี ๒ อยาง คือ<br />

๑. ปจจัยภายนอก หรือองคประกอบภายนอก ไดแก ปรโตโฆสะ<br />

(เสียงจากผู อื่น<br />

หรืออิทธิพลจากภายนอก) เฉพาะอยางยิ่งกัลยาณมิตร<br />

๒. ปจจัยภายใน หรือองคประกอบภายใน ไดแก โยนิโสมนสิการ<br />

(ภาษาเกาแปลวา การทํ าในใจโดยแยบคาย) คือ การรู จักมอง รู จักคิด รู จัก<br />

พิจารณา ใหหาประโยชนได และใหเห็นความจริง<br />

ทั้งสองอยางนี้<br />

เปนเรื่องใหญ<br />

ในที่นี้ไดเพียงใหหัวขอ<br />

และยํ าความ ้<br />

สํ าคัญไววา ในการพัฒนามนุษย ซึ่งก็รวมการพัฒนาสุขภาวะอยู<br />

ดวยนี้<br />

จะ<br />

ตองจัดการกับปจจัยสองอยางนี้ใหดี<br />

ทั้งปจจัยภายนอก<br />

คือปจจัยดานสิ่ง<br />

แวดลอม โดยเฉพาะปจจัยทางสังคม และปจจัยภายใน คือปจจัยในตัวบุคคล<br />

ดานปจจัยภายนอก จะตองจัดระบบกัลยาณมิตร ใหมีระบบ<br />

ครอบครัว ระบบโรงเรียน ระบบชุมชน ระบบสื่อมวลชน<br />

ตลอดจนสภาพ<br />

ทั่วไปของสังคม<br />

ที่ดี<br />

รวมไปถึงการดูแลสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ<br />

ทางวัตถุ<br />

และการสงเสริมวัฒนธรรมอยางถูกตอง (ควรเนนเรื่องครอบครัวเปนพิเศษ)<br />

ดานปจจัยภายใน สํ าหรับคนทั่วไป<br />

ก็อาศัยปจจัยภายนอกนั่นแหละ<br />

มาเหนี่ยวนํ<br />

า โดยมีวิธีการที่แยบคาย<br />

และคนจะพึ่งตัวไดจริงก็ตอเมื่อมี<br />

ปจจัยภายในอยูในตัว<br />

/ 136<br />

๙๙


๑๐๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ถามีปจจัยภายนอก เพียงมีปจจัยทางสังคมที่ดี<br />

ก็จะทํ าไดแมแต<br />

การบมอินทรีย ที่จะทํ<br />

าใหคนเกิดความพรอมที่จะกาวไปในการพัฒนา<br />

แตถาไมจัดสภาพสังคมใหดี ปลอยใหปาปมิตรแสดงฤทธิ์กันเกลื่อนไป<br />

ก็คง<br />

จะไดแคการมอมอินทรีย ที่ทํ<br />

าใหเด็กมีความพรอมที่จะเสพติดมัวเมาใน<br />

ดานตางๆ เร็วไวอยางที่อาจจะคาดไมถึง<br />

ที่พูดนี้เปนตัวอยางวา<br />

แมแตในเวลาจะตาย ก็มีสุขภาวะไดใน<br />

ระดับตางๆ จนถึงขั้นสูงสุดที่วาถามีปญญาที่สวางจาอยางนั้น<br />

ก็จะมี<br />

ความสุขที่เปนอิสระ<br />

ดังที่บอกแลววาปญญาเปนตัวปลดปลอย<br />

ทํ าใหลงตัว<br />

ปลงลงได วางได เปนอิสระ ลวงพน โลง ไมมีอะไรมาจํ ากัด หรือวัดได<br />

ในระดับจิตใจ บางทียังตองใชวิธีครองที่<br />

คือเอาสิ่งที่ดีมายึดถือ<br />

กํ ากับไว ใหสิ่งที่ชั่วรายใหทุกขเขามาไมได<br />

หรือใชวิธีทดแทน คือเอาสิ่งที่<br />

ดีเขามาแทนที่สิ่งชั่วรายซึ่งครองที่หรือครอบงํ<br />

าจิตอยูกอน<br />

หรือเปนวิธีขม<br />

เปนวิธีปราบสยบฝายรายไมใหมีกํ าลังเขมแข็งขึ้นมามีอิทธิฤทธิ์<br />

โดยเอา<br />

ฝายดีเชนสมาธิขมเขาไป<br />

รวมความวา วิธีทางจิตใจเปนการขมไวบาง ยึดครองที่บาง<br />

ทด<br />

แทนบาง รวมทั้งปลอบประโลมดวย<br />

แตวิธีทางปญญานี้เปนการลาง<br />

ละลาย หรือหลุดพนเลย หมายความวา ทํ าใหเปนอิสระปลอดโปรงโลง<br />

ไปเลย ดังนั้นสุขภาวะในขั้นปญญาจึงมีความสํ<br />

าคัญอยางที่สุด<br />

ภาวะจิตเพื่อชีวิต<br />

และภาวะจิตเพื่อสังคม<br />

กอนจะจบ ขอพูดเรื่องสํ<br />

าคัญบางอยาง ไหนๆ เราก็พูดถึงการ<br />

พัฒนาในระดับตางๆแลว ก็ควรพูดถึงสิ่งที่จะใชประโยชนในระดับพื้น<br />

ฐาน ชนิดที่ควรจะมีเปนประจํ<br />

าไว<br />

เราบอกวา ชีวิตที่ดํ<br />

าเนินไปอยางถูกตอง เปนอยูถูกตอง<br />

หรือเปน<br />

อยูเปนนี้<br />

มีสามแดน คือ แดนความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

แดนภาวะจิต


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๐๑<br />

ใจ และแดนปญญา ทั้งนี้เราแยกไดแลววา<br />

ปญญาซึ่งพัฒนาถึงขั้นวิชชา<br />

จะเปนตัวปลดปลอยทํ าใหเปนอิสระสูงสุด ทํ าใหสมบูรณ หมายความวา<br />

พอวิชชามา ก็นํ าไปสูวิมุตติหลุดพนเปนอิสระ<br />

พรอมทั้งวิสุทธิ์ก็หมดจด<br />

สดใส และสุขสงบสันติ<br />

ทีนี้ถอยมาในระดับจิตใจ<br />

จะเนนเรื่องภาวะจิตพื้นฐาน<br />

ที่เปนคุณ<br />

สมบัติที่ทุกคนควรมีไวประจํ<br />

าในใจ ซึ่งแยกไดเปน<br />

๒ ชุด คือ<br />

ก) ภาวะจิตฝายประจํ าภายในตัว เพื่อความอยู<br />

ดีของตนเอง และเปน<br />

พื้นฐานของการพัฒนาชีวิตตอไป<br />

ชุดนี้<br />

พุทธศาสนาเนนมากวา เปนเครื่องวัดความกาวหนาของการ<br />

พัฒนาจิตใจ คือ คนไหนที่ไปปฏิบัติธรรม<br />

ถายังไมไดคุณสมบัติ ๕ อยาง<br />

นี้<br />

ถือวายังไมประสบความสํ าเร็จ คือ<br />

๑. ปราโมทย คือ ความราเริงเบิกบานใจ ขอนี้เปนพื้นใจเลย<br />

คนทุก<br />

คนควรมีภาวะจิตนี้เปนประจํ<br />

า นี้คือ<br />

emotion อยางหนึ่ง<br />

ถาพูดในทาง<br />

ธรรม เราไมใชคํ าวาอารมณ จะเลี่ยงไปใชศัพทฝรั่งเลยก็ได<br />

ในดานจิตใจ ทานถือวาปราโมทยนี้สํ<br />

าคัญมาก พระพุทธเจาตรัสวา<br />

“ปาโมชฺชพหุโล ภิกฺขุ ทุกฺขสฺสนฺตํ กริสฺสติ” แปลวา ภิกษุผู มากดวยปราโมทย<br />

จะทํ าทุกขใหหมดสิ้นไป<br />

หมายความวาจะบรรลุนิพพาน ทุกคนจึงควรมี<br />

จิตใจที่ราเริงเบิกบานอยู<br />

เสมอ ใหเปนพื้นใจเลยทีเดียว<br />

แตขอใหเปนความ<br />

ราเริงในเรื่องที่ดีงาม<br />

จึงเปนภาวะจิตกุศล เปน positive emotion<br />

๒. ปติ คือ ความอิ่มใจ<br />

ปลื้มใจ<br />

หมายความวา เวลาทํ างานทํ าการ<br />

ถาจิตของเราไมตั้งไวผิด<br />

ใจของเราไมฟุ งเฟอ ไมไปมัวหวังเพอกับกาลขาง<br />

หนา เราจะไดความอิ่มใจจากงานที่ทํ<br />

า เราทํ างานไป งานก็เดินหนาไป จิต<br />

ของเราก็ปติ อิ่มใจไปกับงานที่เดินหนาไป<br />

ถาไดผลสํ าเร็จสํ าคัญ ก็ปลื้มใจ<br />

๓. ปสสัทธิ คือ ความผอนคลาย เรียบสงบ เย็นใจ ไมเครียด ขอ<br />

สามนี้<br />

ตรงขามกับที่เราเปนปญหากันนักในปจจุบัน<br />

อยางที่บนกันวาคน


๑๐๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

มักจะเครียด แสดงวาดํ าเนินชีวิตผิด เพราะถาเราบอกวาโลกเจริญ เมื่อ<br />

ดํ าเนินชีวิตถูก ก็ตองมีชีวิตที่ดีขึ้น<br />

ตองมีปสสัทธิ<br />

อนึ่ง<br />

สามขอนี้มาตอกันเองโดยธรรมชาติ<br />

เมื่อมีปราโมทยแลว<br />

ก็<br />

เปดโอกาสใหเกิดปติ พอมีปติ อิ่มใจ<br />

ปลื้มใจแลว<br />

ปสสัทธิก็มาเองโดย<br />

อัตโนมัติ ก็จะรูสึกผอนคลายสงบเย็น<br />

มีแงพิเศษวา ปสสัทธินี้เปนขอที่โยงระหวางกายกับใจ<br />

คือพอเกิด<br />

ปสสัทธิแลว ความผอนคลายก็จะมีทั้งทางกายและทางใจ<br />

และความเครียด<br />

ก็เชนเดียวกัน ถาเกิดความเครียดแลว ก็จะเครียดทั้งกายและใจ<br />

๔. สุข คือ ความฉํ าชื ่ ่นรื่นใจ<br />

พอปสสัทธิผอนคลายแลว ความสุขก็<br />

มา คนก็มีความสุข<br />

๕. สมาธิ คือ ภาวะที่จิตมั่นแนว<br />

อยูตัว<br />

ไมมีอะไรรบกวน จะคิด จะ<br />

พิจารณา จะทํ าอะไร ใจก็อยูกับเรื่องนั้น<br />

ไมฟุงซาน<br />

ไมวอกแวกหวั่นไหว<br />

ซึ่งอาศัยความสุข<br />

คือความสุขเปนตัวเอื้อเปดโอกาสใหจิตเปนสมาธิ<br />

ตั้ง<br />

มั่น<br />

อยูตัว<br />

เขาที่<br />

ชวยใหจิตนั้นไมถูกอะไรรบกวน<br />

แลวอะไรๆ ก็รบกวนมัน<br />

ไมได และมันก็อยู กับสิ่งที่ตองการไดตามตองการ<br />

ดูงายๆ วา จิตที่เปนสมาธิก็คือจิตที่อยูกับสิ่งที่ตองการไดตาม<br />

ตองการ ถาจิตของใครยังไมอยูกับสิ่งที่ตองการไดตามที่ตองการ<br />

ก็ยังไม<br />

เปนสมาธิ และจิตนั้นก็ไมถูกรบกวน<br />

อะไรมากวนมันไมได<br />

ควรนึกไวดวยวา ความสุขนี้ก็สํ<br />

าคัญมาก ถาไมมีสุขแลว สมาธิจะ<br />

เกิดไดยาก ทานใหหลักวา สุขเปนบรรทัดฐานของสมาธิ เมื่อมีสุข<br />

ก็เปด<br />

โอกาสใหจิตอยูตัวสงบ<br />

แตพอทุกข จิตถูกบีบคั้น<br />

ก็จะดิ้นรน<br />

จึงเปนสมาธิ<br />

ไดยาก ตอจากนั้น<br />

พอมีสมาธิแลว ก็ยิ่งสุข<br />

เปนอันวา คุณสมบัติ ๕ อยางนี้<br />

ควรทํ าใหมีในจิตใจอยูเสมอ<br />

เปน<br />

ภาวะจิตที่ดี<br />

เปน positive emotions จะเรียกวาสุขภาวะทางจิตก็แลวแต


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๐๓<br />

คือ ปราโมทย ปติ ปสสัทธิ สุข สมาธิ มีชื่อรวมเรียกวา<br />

ธรรมสมาธิ หมาย<br />

ความวา เมื่อภาวะจิตหาขอนี้ตั้งแนวเขาที่แลว<br />

จิตก็เปนสมาธิดวย<br />

พอจิตเปนสมาธิแลว ถาเดินหนาถูก ไมเฉไฉเสีย ก็กาวไปสูปญญา<br />

แตทั้งนี้ก็อยูที่วาจะจัดการอยางไร<br />

แตตอนนี้จิตเองนั้นดี<br />

พรอมแลว จิตที่<br />

เปนสมาธินั้น<br />

ทานใชคํ าวา “กัมมนีย” (หรือ กรรมนีย) แปลวา ควรแกงาน<br />

คือเปนจิตที่เหมาะแกการใชงาน<br />

หรือใชงานไดดี ถาเอาไปใชงานทาง<br />

ปญญาก็จะถูกตองและดีที่สุด<br />

เปนไปตามระบบของการพัฒนาชีวิต<br />

อยางไรก็ตาม บางคนเอาจิตสมาธิที่เหมาะแกงานนี้ไปใชทางอิทธิ<br />

ฤทธิ์ปาฎิหาริยบาง<br />

เอาไปใชเปนที่หลบปญหาอยูสบายกับความสุขบาง<br />

ซึ่งเปนการใชไมถูกทาง<br />

เขวไป จะทํ าใหเกิดปญหา อยางนอยก็ทํ าให<br />

หยุดชะงัก ไมกาวไปสูจุดหมายที่แท<br />

สมาธิแมจะเปนภาวะจิตที่ดี<br />

เปนกุศล แตสิ่งที่ดี<br />

ถาใชไมถูก ก็เปน<br />

โทษได เรียกวากุศลเปนปจจัยแกอกุศล ในทํ านองเดียวกับที่อกุศลก็เปน<br />

ปจจัยแกกุศลได สมาธินั้นมีคํ<br />

าบาลีบอกลักษณะวา มันเปนโกสัชชปกข<br />

(โกสชฺชปกฺข) คือเปนพวกเดียวกับความขี้เกียจ<br />

หมายความวา พอจิตสงบ<br />

สบายอยูตัวดีแลว<br />

ก็ชวนใหไมอยากทํ าอะไร ไมอยากเคลื่อนไหว<br />

เพราะ<br />

ฉะนั้น<br />

จึงตองมีตัวดุลมา นั่นคือวิริยะ<br />

ที่เรียกวาความเพียร<br />

ความเพียรนั้นเปนความแกลวกลา<br />

จะบุกฝา จะเดินหนาเรื่อย<br />

ถา<br />

ไมมีสมาธิดุลไว ความเพียรก็จะทํ าใหพลาน ทานก็เลยใหดุลกันระหวาง<br />

วิริยะกับสมาธิ สมาธิตั้งมั่นสงบ<br />

แตถาไมมีวิริยะ มันก็ไมไป จะหยุดอยู<br />

กับที่แลวก็ขี้เกียจ<br />

เอาแตสบายจะมีความสุข แลวทีนี้พอติดความสุขใน<br />

สมาธิ ก็เกิดความประมาท กลายเปนเสียไป ดังนั้นจึงตองมีวิระยะมาดุล<br />

เมื่อมีทั้งสองอยางมาดุลกัน<br />

วิริยะคือความเพียรนี้จะเดินหนา<br />

เมื่อ<br />

มีสมาธิดวย ก็จะเดินหนาอยางเรียบสงบมั่นคง<br />

เปนการกาวไปดวยดี


๑๐๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เรียกวามีวิริยะกับสมาธิมาคูกัน<br />

เชนเดียวกับเมื่อมีศรัทธาก็ตองมีปญญา<br />

มาดุลไว ไมใหกลายเปนเชื่องายหรืองมงาย<br />

แลวก็มีสติเปนตัวคอยดูคอย<br />

คุม คอยตรวจสอบ คอยปรับใหเขาที่พอดี<br />

เปนอันวา ในใจก็ใหมี ๕ ขอที่วามานี้แหละ<br />

เปนภาวะจิตที่ดีฝายภายใน<br />

เพื่อความอยู<br />

ดีของตัวเอง และเปนพื้นฐานที่มั่นคงของการพัฒนาชีวิตตอไป<br />

ข) ภาวะจิตฝายแผออกไปภายนอก เพื่อการสัมพันธที่ดีกับเพื่อน<br />

มนุษย และเปนพื้นฐานของการชวยผู<br />

อื่นใหพัฒนา<br />

ในการสัมพันธทางสังคม ธรรมคือคุณสมบัติ ที่พึงพัฒนาขึ้นไวเปน<br />

พื้นฐาน<br />

ก็คือภาวะจิตที่เรียกวา<br />

พรหมวิหาร ๔ ซึ่งคนไทยไดยินชื่อกันจน<br />

คุ น แตก็เขาใจคลาดเคลื่อนกันไปไกลดวย<br />

ในที่นี้<br />

เปนอันวาไมควรจะพูด<br />

ยาวแลว เพราะเวลาไมอํ านวย จึงแสดงไวแตหัวขอและอธิบายยอ ดังนี้<br />

๑. เมตตา คือ ความรัก ความปรารถนาดีอยากใหเขามีความสุข<br />

ความมีใจแผไมตรี และใฝทํ าประโยชนแกผู อื่น<br />

๒. กรุณา คือ ความสงสาร อยากชวยใหพนทุกข ใฝใจจะปลด<br />

เปลื้องบํ<br />

าบัดความทุกขยากเดือดรอนของผูประสบทุกข<br />

๓. มุทิตา คือ ความเบิกบานยินดี ในเมื่อผู<br />

อื่นอยู<br />

ดีมีสุข มีจิตผองใส<br />

บันเทิง เบิกบาน ชื่นชม<br />

ตอสัตวทั้งหลายผู<br />

ประสบความสุขความสํ าเร็จ<br />

พลอยยินดีดวย มีใจสงเสริมเมื่อเขาไดดีมีสุข<br />

เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป<br />

๔. อุเบกขา คือ ความมีใจเปนกลาง ที่จะดํ<br />

ารงอยู ในธรรมตามที่ได<br />

พิจารณาเห็นดวยปญญา คือมีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตราชู<br />

ไมเอนเอียง<br />

ดวยรักหรือชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตวทั้งหลายกระทํ<br />

าแลว อันควรไดรับ<br />

ผลดีหรือชั่ว<br />

สมควรแกเหตุอันตนประกอบ พรอมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติ<br />

ไปตามธรรม รวมทั้งรู<br />

จักวางเฉยสงบใจมองดู ไมเขาไปกาวกายแทรกแซง<br />

ในเมื่อไมมีกิจที่ควรทํ<br />

า เพราะเขารับผิดชอบตนไดดีแลว เขาสมควรรับ<br />

ผิดชอบตนเอง หรือเขาควรไดรับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๐๕<br />

ตรงนี้ขอแทรกหนอย<br />

ทุกทานคงทราบอยูวา<br />

การทํ างานของจิตใจ<br />

อาศัยระบบของรางกาย และภาวะจิตใจมีความสัมพันธสงผลตอกันกับ<br />

ระบบของรางกายนั้น<br />

เมื่อคนโกรธ<br />

(มีภาวะจิตโกรธ หรือจะยังใชคํ าวามีอารมณโกรธ ก็<br />

แลวแต) กลามเนื้อจะเครียดเขม็งเกร็ง<br />

แมแตกลามเนื้อหนา<br />

หัวใจเตนแรง<br />

หายใจแรงและเร็ว เกิดความเรารอน ระบบการเผาผลาญทั้งหมดเรง<br />

ทํ างานหนัก ฯลฯ ในระยะยาว ถามักโกรธ หงุดหงิด รางกายจะทรุดโทรมไว<br />

แกเร็ว อาจเปนโรคบางอยางงาย เชน เปนแผลในกระเพาะอาหาร<br />

ในทางกลับกัน ถาโกรธหรือกลัวขึ้นมา<br />

แตตั้งสติได<br />

คอยๆ ผอนลม<br />

หายใจ โดยหายใจเขา-ออกยาว ชาๆ สมํ่<br />

าเสมอ อาการเครียดเกร็ง<br />

เปนตน ของรางกาย ก็จะบรรเทาลง แมแตอาการประหมาก็อาจหายได<br />

และภาวะจิตก็จะดีขึ้นดวย<br />

เรียกวา ผอนคลายสบายขึ้นทั้งองคาพยพ<br />

อยางงายๆ ถากายเครียด ใจก็เครียดดวย ถาใจเครียด กายก็<br />

เครียดดวย<br />

ขอควรใสใจพิเศษตอนนี้อยูที่วา<br />

ภาวะจิต ๒ ชุดซึ่งยกมาพูดที่นี่<br />

นอกจากมีความสํ าคัญในการพัฒนาจิตใจ และเอื้อตอการทํ<br />

างานของ<br />

ปญญาแลว ก็สงผลดีตอรางกาย เกื้อหนุนสุขภาพกายอยางมาก<br />

ตรงขามกับความโกรธ ก็คือเมตตา พอเมตตาเกิดขึ้นในใจ<br />

กลาม<br />

เนื้อทั้งหลายไดพัก<br />

การหายใจเรียบรื่น<br />

ทั้งระบบของรางกายผอนคลาย<br />

ความสงบเย็นเกิดขึ้น<br />

การเผาผลาญลดนอย ถามีเมตตาประจํ าใจใน<br />

ระยะยาว นอกจากแกชาแลว ก็จะมีบุคลิกภาพออนโยน มีเสนห หรือ<br />

ชวนคบหา และใหเกิดความสุขแกผูเขามาใกลชิดดวย<br />

คนที่มีภาวะจิตดานลบ<br />

(negative emotions) เชน โศกเศรา หวง<br />

กังวล เบื่อหนาย<br />

ทอแท หมดกํ าลังใจ ฯลฯ นอกจากรางกายจะทรุดโทรม<br />

ไปชั้นหนึ่งแลว<br />

บางทียังทํ าใหเบื่ออาหาร<br />

เปนตน ซํ้<br />

าเขาอีกชั้นหนึ่ง<br />

ทํ าให<br />

เกิดผลเสียรายแรง อาจจะเสื่อมสุขภาพกายถึงขั้นเสี่ยงชีวิตก็ได


๑๐๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

แตในทางตรงขาม ผูมีภาวะจิตที่ดี<br />

เฉพาะอยางยิ่งมีปติ<br />

อิ่มใจ<br />

แม<br />

กายจะอด ก็อยูดีไดนาน<br />

แถมมีผิวพรรณงามผองใสดวย<br />

ดังเรื่องวา<br />

ครั้งหนึ่ง<br />

พระพุทธเจาเสด็จเขาไปบิณฑบาตในหมูบาน<br />

พราหมณแหงหนึ่ง<br />

ไมทรงไดรับอาหารเลย เสด็จกลับออกมาโดยมีบาตรเปลา<br />

มารมาเยาะ พระพุทธเจาไดตรัสวา (สํ.ส.๑๕/๔๖๙/๑๖๗)<br />

เราทั้งหลายไมมีอะไรกังวล<br />

อยูเปนสุขสบายนักหนา จะ<br />

มีปติเปนภักษา เหมือนดังเหลาเทวาพวกอาภัสสรพรหม<br />

อีกตัวอยางหนึ่ง<br />

เมื่อมีผูทูลถามวา<br />

ภิกษุทั้งหลายผูสงบ<br />

ครอง<br />

พรหมจริยธรรม อยู ในปา ฉันภัตเพลาเดียว เหตุใดจึงมีผิวพรรณผองใส<br />

พระพุทธเจาตรัสตอบวา (สํ.ส.๑๕/๒๒/๗)<br />

ผู ถึงธรรม ไมเศราโศกถึงสิ่งที่ลวงแลว<br />

ไมพรํ าเพอถึงสิ ่ ่งที่ยัง<br />

ไมมาถึง เปนอยู กับปจจุบัน เพราะฉะนั้นผิวพรรณจึงผองใส<br />

สวนชนทั้งหลายผูยังออนปญญา<br />

เฝาแตฝนเพอถึงสิ่งที่ยัง<br />

ไมมาถึง มัวหวนละหอยถึงความหลังอันลวงแลว จึงซูบซีด<br />

หมนหมอง เสมือนตนออสด ที่เขาถอนทึ้งขึ้นทิ้งไวที่ในกลางแดด<br />

ไดภาวะจิตดีแค ๒ ชุดนี้<br />

เรื่องสุขภาวะก็เบาใจ<br />

เหมือนมีหลัก<br />

ประกันวา ชีวิตจะงาม-สังคมจะดี มีฐานที่มั่นของการที่จะพัฒนาตอไป


บทสรุป<br />

เชิงสาระ<br />

เทาที่พูดมา<br />

นับวายืดยาว เปนเหตุใหหัวขอทั้งหลายกระจายอยู<br />

หางกันมาก อาจทํ าใหมองภาพรวมของระบบไมชัด จึงสรุปความไวที่นี่<br />

อีกครั้งหนึ่ง<br />

ระบบการพัฒนาคน เพื่อมีองครวมการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดี<br />

ไดพูดถึงองครวมการดํ าเนินชีวิตที่มีองครวม<br />

๓ แดน และระบบการ<br />

พัฒนาชีวิตของมนุษย<br />

การดํ าเนินชีวิต ๓ แดนที่เปนองครวม<br />

คือ แดนความสัมพันธกับ<br />

สิ่งแวดลอม<br />

แดนภาวะจิต และแดนปญญา<br />

ที่จริง<br />

องครวมการดํ าเนินชีวิต และระบบการพัฒนาชีวิต ก็อยูดวย<br />

กัน และโยงเปนเรื่องเดียวกัน<br />

ระบบการพัฒนาชีวิต ก็คือการจัดการใหการดํ าเนินชีวิต ๓ แดนที่<br />

เปนองครวมในองครวมการดํ าเนินชีวิตนั้น<br />

เปนปจจัยเกื้อหนุนกันในการ<br />

กาวไปสู จุดหมายแหงความเปนชีวิตที่ดี<br />

ซึ่งมีคุณลักษณะที่มองไดหลาย<br />

ดาน เฉพาะดานที่ประสงคในที่นี้<br />

เรียกวาสุขภาวะ<br />

เมื่อองครวมการดํ<br />

าเนินชีวิตกาวไปในการพัฒนา หรือมีการพัฒนา<br />

อยู ก็เรียกวา “องครวมการดํ าเนินชีวิตที่ดี”<br />

ระบบการพัฒนาชีวิตของมนุษย หรือเรียกใหสั้นวา<br />

“ระบบการ<br />

พัฒนามนุษย” นี้<br />

โดยสาระก็คือการศึกษา ซึ่งเรียกวา<br />

“สิกขา” และเนื่อง<br />

จากมีองครวม ๓ แดนดังกลาวแลว จึงมีชื่อวา<br />

ไตรสิกขา (สิกขา ๓) ซึ่ง<br />

เปนการพัฒนาขององครวม ๓ แดน คือ


๑๐๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

๑. การพัฒนาแดนความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ทั้งสิ่งแวดลอมทาง<br />

กายภาพ (ธรรมชาติ วัตถุสิ่งของ<br />

เทคโนโลยี) และสิ่งแวดลอมทางสังคม<br />

คือ<br />

มวลเพื่อนมนุษย<br />

เรียกรวมวา ศีล แยกเปน<br />

๑) อินทรียสังวร คือรู จักใชอินทรีย เชน ตา หู ใหดูฟงเปน<br />

เปนตน เพื่อใหไดประโยชน<br />

โดยเนนใหมุงเพื่อการศึกษา<br />

ไมติดหลงในการเสพ<br />

๒) ปจจัยปฏิเสวนา คือกินใชเสพบริโภคดวยปญญา โดยรู จัก<br />

ประมาณ ใหเปนการกินเสพพอดี ที่จะเปนปจจัยเกื้อหนุน<br />

การพัฒนาชีวิต<br />

๓) สัมมาอาชีวะ คือประกอบอาชีพที่สุจริต<br />

ซึ่งไมเบียดเบียน<br />

ใคร แตเปนงานสรางสรรคเกื้อกูล<br />

และทํ าโดยซื่อตรงตามจุด<br />

หมาย กับทั้งไดเปนโอกาสในการพัฒนาชีวิตของตน<br />

๔) วินัยบัญญัติ คือรักษากติกาของชุมชนหรือสังคม โดยถือ<br />

เปนขอปฏิบัติในการฝกตน เพื่อใหวิถีชีวิตรวมกันนั้นเปน<br />

เครื่องเอื้อโอกาสในการกาวสูจุดหมายของการพัฒนาชีวิต<br />

โดยมีตนเองเปนสวนรวมในการสรางสภาพเอื้อโอกาสนั้น<br />

๒. การพัฒนาภาวะจิต ทั้งดานคุณภาพ<br />

สมรรถภาพ และสุขภาพ<br />

ใหเปนจิตใจที่ดีงาม<br />

เขมแข็ง มีความสุข โดยมีเจตจํ านงที่เปนกุศล<br />

และมี<br />

สภาพเอื้อพรอมตอการใชงานทางปญญา<br />

เรียกสั้นๆ<br />

วา สมาธิ<br />

๓. การพัฒนาปญญา ใหรู เขาใจมองเห็นตามเปนจริง ที่จะทํ<br />

าให<br />

ปฏิบัติจัดการแกไขปรับปรุงทุกอยางทุกดานอยางถูกตองไดผล จนหลุดพน<br />

จากปญหา ดับทุกขได ทํ าใหเปนอิสระ สดใสเบิกบาน สุขสงบอยางแทจริง<br />

เรียกงายๆ วา ปญญา<br />

การดํ าเนินชีวิตและการพัฒนาการดํ าเนินชีวิตนั้น<br />

เปนระบบและ<br />

เปนองครวม คือการดํ าเนินชีวิต ๓ แดน ที่เปนองครวม<br />

จะสัมพันธเปน


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๐๙<br />

ปจจัยแกกันกาวประสานไปดวยกันเปนอันหนึ่งเดียว<br />

ซึ่งเปนเรื่องของ<br />

ความเปนไปตามความจริงแหงธรรมดาธรรมชาติของชีวิตนี้เอง<br />

ดังเชน เราสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ไมวาจะเปนวัตถุหรือบุคคล<br />

ดวยอินทรีย เชน ตา หู หรือดวยกาย-วาจา (ศีล) โดยมีเจตนาและสภาพจิต<br />

อยางใดอยางหนึ่ง<br />

(จิตหรือสมาธิ) ตามความรู ความเขาใจความคิดเห็น ตลอด<br />

จนความเชื่อถือ[ตอปจจัยภายนอกที่ชักจูง]อยางใดอยางหนึ่ง<br />

(ปญญา)<br />

การพัฒนาการดํ าเนินชีวิต ตองทํ าโดยสอดคลองตรงกันกับความ<br />

เปนไปของสภาวะในธรรมชาติ และผลที่เกิดขึ้นก็เปนของจริงที่มีสภาวะ<br />

ตามธรรมชาตินั้น<br />

ดังนั้น<br />

เมื่อศึกษาฝกฝนพัฒนาการดํ<br />

าเนินชีวิต ๓ แดนนี้ไปแคไหน<br />

ก็มีองครวมการดํ าเนินชีวิตที่ดีขึ้นเทานั้น<br />

ฝกฝนพัฒนาอยางไร ก็ไดองค<br />

รวมที่ดีขึ้นอยางนั้น<br />

หรือสิกขาไปแคไหน มรรคก็สมบูรณขึ้นแคนั้น<br />

ไตร<br />

สิกขาเปนอยางไร ก็ไดมรรคองครวม ๑ อยางนั้น<br />

หลักการพื้นฐานเลยทีเดียว<br />

ซึ่งไมควรลืมยํ้<br />

าไวดวย คือ เรื่องปจจัย<br />

ชักนํ าเกื้อหนุนเขาสูองครวมการดํ<br />

าเนินชีวิตที่ดี<br />

เพื่อใหระบบการพัฒนา<br />

ชีวิตเดินหนาได ที่เรียกวา<br />

ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ ๒ อยาง คือ<br />

๑. ปจจัยภายนอก หรือองคประกอบภายนอก ไดแก ปรโตโฆสะ<br />

(เสียงจากผู อื่น<br />

หรืออิทธิพลจากภายนอก) เฉพาะอยางยิ่งกัลยาณมิตร<br />

๒. ปจจัยภายใน หรือองคประกอบภายใน ไดแก โยนิโสมนสิการ คือ<br />

การรู จักมอง รู จักคิด รู จักพิจารณา ใหหาประโยชนได และใหเห็นความจริง<br />

สองอยางนี้<br />

ถือวาเปนปจจัยพื้นฐานของการศึกษา<br />

หรือเปนปจจัย<br />

พื้นฐานของการพัฒนามนุษย<br />

๑ การดํ าเนินชีวิตที่ดี<br />

หรือวิถีชีวิตที่ดี<br />

เรียกวา มรรค ซึ่งเปนองครวม<br />

ที่มีองครวม<br />

หรือองค<br />

ประกอบ ๘ ประการ เรียกเต็มวา (อริย)อัฏฐังคิกมรรค ดังนั้น<br />

องครวมการดํ าเนินชีวิตที่ดี<br />

จึงหมายถึง (อริย)อัฏฐังคิกมรรค นี้<br />

ซึ่งเรียกสั้นๆ<br />

วา มรรค


๑๑๐<br />

ระบบตรวจสอบ และวัดผล<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เมื่อมีปฏิบัติการแลว<br />

ก็ควรจะมีการตรวจสอบและวัดผลดวย เรื่อง<br />

การศึกษาพัฒนานี้<br />

ก็ทํ านองนั้น<br />

เมื่อฝกศึกษาพัฒนาดวยสิกขา<br />

๓ แลว ก็ตามมาดวยหลักที่จะใช<br />

วัดผล คือ จะดูสุขภาวะ ที่เปนผลของการพัฒนา<br />

ดวยภาวนา ๔<br />

ในตอนปฏิบัติการฝกฝนพัฒนา มีสิกขา ๓ แตทํ าไมในตอนวัดผล<br />

มีภาวนา ๔ ไมเทากัน<br />

อยางที่พูดแลววา<br />

ปฏิบัติการของคนตองสอดคลองตรงตามความ<br />

เปนจริงของธรรมชาติ นี่คือระบบการพัฒนาการดํ<br />

าเนินชีวิต ที่เรียกวา<br />

สิกขา ๓ (ไตรสิกขา) ซึ่งพัฒนาการดํ<br />

าเนินชีวิต ๓ แดน ตรงไปตรงมา<br />

แตตอนวัดผล ไมตองจัดใหตรงกันแลว เพราะวัตถุประสงคอยูที่<br />

จะมองดูผลที่เกิดขึ้นแลว<br />

ซึ่งมุงที่จะดูใหเห็นชัดเจน<br />

ตอนนี้ถาแยก<br />

ละเอียดออกไป ก็จะยิ่งดี<br />

นี่แหละคือเหตุผลที่วา<br />

หลักวัดผลคือภาวนา<br />

ขยายเปน ๔<br />

อยางที่กลาวแลววา<br />

ภาวนา ๔ นี้<br />

ใชในการวัดผลเพื่อดูวาดาน<br />

ตางๆ ของการพัฒนาชีวิตของคนนั้น<br />

ไดรับการพัฒนาครบถวนหรือไม<br />

ดังนั้น<br />

เพื่อจะดูใหชัด<br />

ทานไดแยกบางสวนละเอียดออกไปอีก<br />

แตที่จริงก็ไมไดยุ<br />

งยากซับซอนอะไร ก็แคแบงสิกขาขอ ๑ (ศีล) ออก<br />

ไปเปนภาวนาขอ ๑-๒ เทานั้นเอง<br />

(แบงขอ ๑ เปน ๒ ขอ)<br />

แบงอยางไร? คือ สิกขาขอ ๑ (ศีล) นั้น<br />

มี ๒ สวนอยูแลว<br />

เมื่อจัด<br />

เปนภาวนา จึงแยกเปน ๒ ไดทันที ดังนี้<br />

ศีล ในไตรสิกขา ครอบคลุมความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ทั้งทาง<br />

วัตถุหรือทางกายภาพ และทางสังคม รวมไวในขอเดียวกัน<br />

เมื่อจะจัดเปนภาวนา<br />

ตองการดูใหชัด ก็แบงออกเปน ๒ ขอ โดย


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๑๑<br />

๑. ยกเอาความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมในโลกวัตถุ<br />

แยกออกไป<br />

เปนขอ ๑ กายภาวนา<br />

๒. สวนความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางสังคม<br />

คือเพื่อนมนุษย<br />

จัดเปนขอ ๒ ศีลภาวนา<br />

ขอแทรกไวเปนขอควรรูที่นาสังเกตวา<br />

สิกขาที่มี<br />

๓ นั้น<br />

เปนปฏิบัติ<br />

การที่สอดคลองตรงตามความเปนจริงของธรรมชาติอยางไร<br />

(ทํ าไมศีลในสิกขาจึงตองเปนขอเดียว แยกไมได ตอนมาเปนภาวนา<br />

จึงแยกเปน ๒ ได)<br />

บอกแลววา ศีล เปนเรื่องของความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ซึ่งมี<br />

๒<br />

ดาน คือ สิ่งแวดลอมทางกายภาพในโลกวัตถุ<br />

และสิ่งแวดลอมทางสังคม<br />

ที่เปนมนุษยดวยกัน<br />

แมวาสิ่งแวดลอมจะมี<br />

๒ ดาน แตมันก็คือสิ่งแวดลอมนั่นแหละ<br />

ใน<br />

เวลาที่เราสัมพันธกับสิ่งแวดลอมแตละครั้งแตละขณะจิตนั้น<br />

เราสัมพันธ<br />

ไดทีละสิ่งแวดลอมเดียว<br />

ดังนั้น<br />

ในกรณีหนึ่งๆ<br />

ศีลอาจจะเปนความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม<br />

ดานที่<br />

๑ (กายภาพ) หรือความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดานที่<br />

๒ (สังคม)<br />

ก็ได แตตองอยางใดอยางหนึ่ง<br />

ดวยเหตุนี้<br />

ในระบบพัฒนาการดํ าเนินชีวิตของไตรสิกขา ที่มีองครวม<br />

ทั้งสามแดนทํ<br />

างานประสานเปนอันเดียวกัน (แดนจิตใจ และแดนปญญา<br />

ก็ทํ างานพรอมไปดวย ในขณะที่กํ<br />

าลังสัมพันธกับสิ่งแวดลอมหนึ่งๆ)<br />

ศีล<br />

ไมวาจะสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดานไหน<br />

จึงตองรวมอยูดวยกันเปนขอ<br />

เดียว ทํ าใหสิกขามีเพียง ๓ คือ ศีล สมาธิ ปญญา<br />

สวนในภาวนาไมมีเหตุบังคับอยางนั้น<br />

แตตองการความชัดเจน<br />

เพื่อประโยชนในการตรวจสอบ<br />

จะไดวัดผลดูจํ าเพาะใหชัดไปทีละอยาง<br />

โดยแยกเปน ในดานกายภาวนา ก็ดูวาความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทาง


๑๑๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

วัตถุ เชนการบริโภคปจจัย ๔ เปนอยางไร ในดานศีลภาวนา ก็ดูวาความ<br />

สัมพันธกับเพื่อนมนุษยเปนอยางไร<br />

จึงแยกศีล ๒ สวนออกจากกันเปน<br />

คนละขอไปเลย<br />

ทีนี้ก็มาดูหลักของระบบการตรวจสอบวัดผล<br />

ที่เรียกวา<br />

ภาวนา ๔<br />

“ภาวนา” (ในภาษาบาลี ใหความหมายวา “วฑฺฒนา” คือ วัฒนา<br />

นั่นเอง)<br />

แปลวา การทํ าใหเจริญ ทํ าใหเปนทํ าใหมีขึ้น<br />

หรือฝกอบรม แปล<br />

งายๆ วา การพัฒนา หรือการเจริญ<br />

ภาวนา ๔ คือ การพัฒนา (development) ๔ ดาน มีดังนี้<br />

๑. กายภาวนา (การพัฒนากาย การพัฒนาความสัมพันธกับสิ่ง<br />

แวดลอมทางกายภาพ — physical development)<br />

คือ การมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพในทางที่<br />

เกื้อกูลและไดผลดี<br />

โดยรูจักอยูดีมีสุขอยางเกื้อกูลกันกับธรรมชาติ<br />

และ<br />

ปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลายอยางมีสติ<br />

มิใหเกิดโทษ แตใหเกื้อกูล<br />

เปนคุณ โดย<br />

เฉพาะให ก) รู จักใชอินทรีย เชน ตา หู ดู ฟง เปนตน อยางมีสติ ดูเปน<br />

ฟงเปน ใหไดปญญา และ ข) กินใชดวยปญญา เสพบริโภคปจจัย ๔<br />

และสิ่งของเครื่องใช<br />

ตลอดจนเทคโนโลยี อยางฉลาด ใหพอดี ที่จะไดผล<br />

ตรงเต็มตามคุณคาที่แทจริง<br />

ไมลุมหลงมัวเมา<br />

ไมประมาทขาดสติ<br />

๒. ศีลภาวนา (การพัฒนาศีล, การพัฒนาความสัมพันธทางสังคม<br />

— moral development; social development)<br />

คือ การมีความสัมพันธที่เกื้อกูลกับสิ่งแวดลอมทางสังคม<br />

มีพฤติ<br />

กรรมดีงามในความสัมพันธกับเพื่อนมนุษย<br />

โดยตั้งอยูในวินัย<br />

อยูรวมกับ<br />

ผูอื่นไดดวยดี<br />

และมีอาชีวะสุจริต ไมใชกายวาจาและอาชีพในทางที่<br />

เบียดเบียนหรือกอความเดือดรอนเสียหายเวรภัย แตใชเปนเครื่องพัฒนา<br />

ชีวิตของตน และชวยเหลือเกื้อกูลกัน<br />

สรางสรรคสังคม สงเสริมสันติสุข


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๑๓<br />

๓. จิตภาวนา (การพัฒนาจิตใจ — emotional development;<br />

psychological development ๑ )<br />

คือ การทํ าจิตใจใหเจริญงอกงามขึ้นในคุณธรรม<br />

ความดีงาม<br />

ความเขมแข็งมั่นคง<br />

และความเบิกบานผองใสสงบสุข<br />

สมบูรณดวยคุณภาพจิต คือ งอกงามดวยคุณธรรม เชน มีนํ้<br />

าใจ<br />

เมตตากรุณา เผื่อแผ<br />

เอื้ออารี<br />

มีมุทิตา มีศรัทธา มีความเคารพ ออนโยน<br />

ซื่อสัตย<br />

กตัญู เปนตน<br />

สมบูรณดวยสมรรถภาพจิต คือ มีจิตใจเขมแข็ง มั่นคง<br />

หมั่นขยัน<br />

เพียรพยายาม กลาหาญ อดทน รับผิดชอบ มีสติ มีสมาธิ เปนตน และ<br />

สมบูรณดวยสุขภาพจิต คือ มีจิตใจราเริง เบิกบาน สดชื่น<br />

เอิบอิ่ม<br />

โปรงโลง ผองใส และสงบ เปนสุข<br />

๔. ปญญาภาวนา (การพัฒนาปญญา — cognitive development;<br />

mental development; intellectual development)<br />

คือ การฝกอบรมเจริญปญญา เสริมสรางความรูความคิดความ<br />

เขาใจ ใหรูจักคิด<br />

รูจักพิจารณา<br />

รูจักวินิจฉัย<br />

รูจักแกปญหา<br />

และรูจักจัด<br />

ทํ าดํ าเนินการตางๆ ดวยปญญาบริสุทธิ์<br />

ซึ่งมองดูรูเขาใจเหตุปจจัย<br />

มอง<br />

เห็นสิ่งทั้งหลายตามเปนจริงหรือตามที่มันเปน<br />

ปราศจากอคติและแรงจูง<br />

ใจแอบแฝง เปนผูที่กิเลสครอบงํ<br />

าบัญชาไมได ใหปญญาเจริญพัฒนาจน<br />

๑ ศัพทภาษาอังกฤษสํ าหรับ จิตภาวนา คือการพัฒนาจิตใจ นี้<br />

ใช emotional development<br />

เห็นวาตรงและกระชับที่สุด<br />

สวน psychological development ดูจะยืดหยุ นเกินไป ดังใน<br />

สารานุกรมบริแทนนิกา แสดงความหมายกวางครอบคลุมมาก (Psychological development,<br />

the development of human beings' cognitive, emotional, intellectual, and social<br />

capabilities and functioning over the course of the life span, from infancy<br />

through old age. Ð Encyclopaedia Britannica 2005, "psychological development")<br />

แตใน World Book 2004, "Adolescent" กลาวถึงพัฒนาการ ๔ ดานของเด็กวัยรุน<br />

โดยใชคํ าแยกกันเปน Physical development, Intellectual development,<br />

Psychological development และ Social development


๑๑๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

รู เขาใจหยั่งเห็นความจริง<br />

เปนอยูดวยปญญารูเทาทัน<br />

เห็นแจงโลกและ<br />

ชีวิตตามสภาวะ ลุถึงความบริสุทธิ์ปลอดพนจากกิเลสสิ้นเชิง<br />

มีจิตใจเปน<br />

อิสระสุขเกษมไรทุกข<br />

กอนจะผานไป ควรทราบไวเปนความรูแถมวา<br />

หลักภาวนา ๔ นี้<br />

มักพบในรูปศัพทที่เปนคํ<br />

าแสดงคุณสมบัติของบุคคล คือเปน ภาวิต ๔<br />

(แทนที่จะเปน<br />

ภาวนา ๔ ซึ่งเปนคํ<br />

าแสดงการกระทํ า) สมกับที่เปนเรื่อง<br />

ของการแสดงผลหรือวัดผล เชน บรรยายวาพระพุทธเจาทรงเปนภาวิต<br />

ทั้ง<br />

๔ นั้น<br />

(ผูเปนภาวิตครบ<br />

๔ ก็คือพระอรหันต)<br />

ภาวิต ๔ (ผู ที่ไดฝกอบรม<br />

เจริญ หรือพัฒนาแลว โดยภาวนาทั้ง<br />

๔)<br />

๑. ภาวิตกาย (ผู มีกายที่พัฒนาแลว,<br />

=มีกายภาวนา)<br />

๒. ภาวิตศีล (มีศีลที่พัฒนาแลว,<br />

=มีศีลภาวนา)<br />

๓. ภาวิตจิต (มีจิตที่พัฒนาแลว,<br />

=มีจิตภาวนา)<br />

๔. ภาวิตปญญา (มีปญญาที่พัฒนาแลว,<br />

=มีปญญาภาวนา)<br />

ชีวิตแหงความสุข เปนอยางไร<br />

ความสุขเปนเรื่องใหญ<br />

เหมือนวาทุกคนจะถือเปนจุดหมายของ<br />

ชีวิต และตามหลักที่พูดมา<br />

ความสุขก็เปนลักษณะสํ าคัญดานหนึ่งของ<br />

สุขภาวะ จึงควรจะสรุปหลักการบางอยางที่นาสนใจเกี่ยวกับความสุขไว<br />

ตามปกติ หายากที่จะไดยินใครพูดวาเขามีชีวิตที่มีความสุข<br />

แตทํ าไม<br />

พระพุทธเจาและพระอรหันตทั้งหลายจึงกลาวออกมาอยางชัดเจนเหมือน<br />

เปนคํ าประกาศวา “สุสุข วต ชีวาม” แปลวา “เรามีชีวิตเปนสุขนักหนอ”<br />

พระพุทธเจาถึงกับตรัสใหผูที่ทรงสนทนาดวยยอมรับวาพระองคทรงมี<br />

ความสุขยิ่งกวาองคพระราชามหากษัตริย<br />

เพื่อรวบรัด<br />

ขอพูดเรื่องความสุขรวมไวใน<br />

๒ หัวขอ ดังนี้


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๑๕<br />

ก) วิธีปฏิบัติตอความสุข<br />

พระพุทธเจาตรัสแสดงวิธีปฏิบัติตอความสุขไว ๔ ขอ คือ ทรง<br />

แสดงหลักในการปฏิบัติตอความทุกขและความสุขวา ความเพียร<br />

พยายามในการละทุกขลุสุข ที่จะชื่อวาถูกตอง<br />

สํ าเร็จผล กาวหนาไปใน<br />

ความสุข จนสามารถมีความสุขที่ไรทุกขได<br />

พึงดํ าเนินไปตามวิธีปฏิบัติ<br />

๔ อยาง (ม.อุ.๑๔/๑๒/๑๓) คือ<br />

๑. ไมเอาทุกขทับถมตนที่มิไดถูกทุกขทวมทับ<br />

๒. ไมละทิ้งความสุขที่ชอบธรรม<br />

๓. ไมสยบหมกมุน(แม)ในความสุขที่ชอบธรรมนั้น<br />

๔. เพียรพยายามทํ าเหตุแหงทุกขใหหมดสิ้นไป<br />

(โดยนัยคือ เพียรปฏิบัติเพื่อเขาถึงความสุขที่ประณีตขึ้นไปจนสูงสุด)<br />

ค) ระดับและประเภทของความสุข<br />

หลักในขอกอนสอนวา มนุษยจะตองพัฒนาตนใหมีความสุขที่<br />

ประณีตสูงขึ้นไป<br />

จนถึงความสุขที่สูงสุด<br />

ความสุขนั้นทานกลาวไวหลายระดับหลายประเภท<br />

ในที่นี้จะแสดง<br />

โดยสรุป โดยตั้ง<br />

สามิสสุข-นิรามิสสุข เปนหลัก ดังนี้<br />

๑. สามิสสุข (บางทีเรียกงายๆ วา อามิสสุข หรือ กามสุข) คือ<br />

ความสุขจากวัตถุสิ่งเสพบริโภค<br />

หรือความสุขที่ตองมีเหยื่อลอ<br />

เรียกใหสั้นวา<br />

สุขจากเสพ หรือ สุขขั้นตัณหา<br />

สามิสสุข เปนความสุขที่พึ่งพา<br />

ขึ้นตอสิ่งเสพภายนอก<br />

จึงเปนความ<br />

สุขที่ตองหา<br />

ตองได ตองเอา และถาไมจัดการดานวินัยใหอยูในศีล<br />

(หรือ<br />

จะเรียกตามนิยมบัดนี้ก็วา<br />

จริยธรรม) ก็จะเปนความสุขแบบแกงแยงชวงชิงกัน<br />

ทํ าใหเกิดการเบียดเบียน ตั้งแตอยางเบา<br />

จนถึงอยางรุนแรงที่สุด<br />

เรียกวา<br />

เปนความสุขที่เจือดวยภัยเวร<br />

นอกจากนั้น<br />

ถามัวประมาท ปลอยปละละเลย ไมใหคนพัฒนาตน


๑๑๖<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ดวยการศึกษาที่ตรงตามความหมาย<br />

ความสุขจากการเสพจะพวงเอา<br />

ความสุขจากการไมตองทํ ามาดวย ซึ่งเปนเหตุใหมนุษยสูญเสียความอยาก<br />

ทํ าหรือความใฝทํ าการ (คือฉันทะ) แลวการจะทํ าก็กลายเปนการตองทํ า<br />

คือการกระทํ ากลายเปนความทุกข แตมนุษยไมอาจเปนอยูไดโดยไมตอง<br />

ทํ า(งาน)อะไรเลย ดังนั้น<br />

ในที่สุด<br />

ชีวิตของเขาจึงเต็มไปดวยความทุกข<br />

พรอมกันนั้นเอง<br />

เมื่อมุ<br />

งหนาวิ่งแลนไปในการหาความสุข<br />

โดยไมรู ตัว<br />

และมัวประมาท อีกทั้งจะตองแขงขันแยงชิงกันดวย<br />

คนก็จะสุดโตงไปขาง<br />

เดียว ในแงที่จะพัฒนาความสามารถในการหาสิ่งเสพใหเกงที่สุด<br />

แตละเลย<br />

ลืมนึกถึงการพัฒนาหรือแมแตการที่จะรักษาความสามารถที่จะมีความสุข<br />

ยิ่งอยู<br />

ในโลกนานไป มนุษยยิ่งกลายเปนสัตวที่มีความสุขไดยากขึ้นๆ<br />

แต<br />

มีความทุกขไดงายขึ้นๆ<br />

พูดสั้นๆ<br />

วาเกิดภาวะ ทุกขงาย สุขไดยาก<br />

โดยนัยนี้<br />

ในโลกแหงการแสวงหาความสุขที่เกงกาจแคลวคลองยิ่ง<br />

ขึ้นๆ<br />

ของมนุษย การณจึงกลับกลายเปนวา ผลสัมฤทธิ์แหงความสุขเพิ่ม<br />

ไมทันการแผขยายของปญหาแหงความทุกข<br />

เพื่อแกปญหาความเดือดรอนจากการเบียดเบียนกันในโลก<br />

และทํ า<br />

ใหตัวมนุษยเองมีความสุขสมหวังมากขึ้น<br />

มนุษยจะตองพัฒนาตัวขึ้นสู<br />

ความสุขในระดับที่สูงขึ้นไป<br />

เริ่มตั้งแตมีความสุขที่ประณีตกวามาดุลมากขึ้น<br />

๒. นิรามิสสุข ๑ คือ ความสุขที่ไมขึ้นตอวัตถุสิ่งเสพบริโภค<br />

หรือความ<br />

สุขที่ไมตองมีเหยื่อลอ<br />

เปนความสุขภายในที่ไมตองอาศัยวัตถุภายนอก<br />

ขอ<br />

แบงซอยเปน ๒ ระดับยอย คือ<br />

๒.๑ สุขขั้นตอนิรามิส<br />

หมายถึงความสุขในระดับของการสนอง<br />

ความตองการในทางดีงามสรางสรรค หรือความตองการที่เปนกุศล<br />

เรียก<br />

ใหสั้นวา<br />

สุขขั้นฉันทะ<br />

(ซึ่งอาจแสดงออกผานคุณธรรมอื่นๆ<br />

ไดหลายอยาง)<br />

่เครงครัด ทานหมายถึงความสุขที่แมจะไมอิงอามิส<br />

แตยังเปน<br />

สุขเวทนา จึงไมรวมถึงนิพพานสุข แตในการอธิบายแบบกวางๆ คลุมๆ ทานรวมสุขที่ไม<br />

อิงอามิสหมดสิ้น<br />

คือรวมนิพพานดวย ในที่นี้<br />

ใชคํ าอธิบายแบบกวางๆ<br />

๑ นิรามิสสุข .ในความหมายที


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๑๗<br />

ขอรวบรัดโดยกลาวแตหัวขอ<br />

- สุขจากอยู ใกลชิดชื่นชมธรรมชาติ<br />

- สุขจากอยู รวมสัมพันธชวยเหลือกันกับเพื่อนมนุษยดวยเมตตาการุณย<br />

- สุขจากการคนควาหาความรู แสวงความจริงดวยใจใฝรู ใฝธรรม<br />

- สุขจากการทํ างานหรือกิจกรรมสรางสรรคที่ใจรักใฝทํ<br />

าใฝสรางสรรค<br />

- สุขจากภาวะจิตกุศล เชน มีศรัทธา มีปติในการไดทํ าบุญ-บํ าเพ็ญประโยชน<br />

มีปญญามองสิ่งทั้งหลายดวยความรู<br />

เขาใจโปรงโลง (ปญญาสงผลตอจิต)<br />

๒.๑ สุขขั้นเปนนิรามิส<br />

หมายถึงความสุขในระดับที่เปนนิรามิส<br />

แทจริง เปนอิสระจากสิ่งภายนอกสิ้นเชิง<br />

กลาวแตหัวขอใหญ<br />

- สุขจากสมาธิในฌาน (จิตสงบปลอดพนจากอกุศลและสิ่งรบกวน)<br />

- สุขแหงนิพพาน (ปญญารูแจงจริงถึงขั้นทํ<br />

าใหจิตหลุดพนเปนอิสระ<br />

สมบูรณ มีวิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ พรอม)<br />

เรื่องความสุข<br />

ขอยุติแคนี้กอน<br />

ถาองครวมชีวิตมีสุขภาวะจริง องครวมโลกจะมีสันติสุขดวย<br />

มีหลักใหญที่ยกมาเนนเมื่อกี้วา<br />

องครวมใหญที่มนุษยเราเกี่ยวของ<br />

มีองคประกอบ ๓ สวน คือ ชีวิต สังคม ธรรมชาติ แลวทั้งชุดนี้ก็มาเชื่อม<br />

กันที่ชีวิตคน<br />

ขอยํ้<br />

าอีกทีวา คนหรือมนุษยทุกคนนี้มี<br />

๒ ภาวะในตัว คือ<br />

ภาวะหนึ่ง<br />

มนุษยเปนชีวิต ที่เปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ<br />

และมันก็<br />

เปนอันเดียวกับธรรมชาติทั่วไปทั้งหมด<br />

ตรงนี้<br />

ถาเราจับจุดถูก เราก็ตอง<br />

พยายามทํ าตัวเราที่เปนชีวิต<br />

ซึ่งเปนธรรมชาตินี้<br />

ใหประสานกลมกลืน<br />

เกื้อกูลกับธรรมชาติทั่วไป<br />

อีกภาวะหนึ่ง<br />

มนุษยเปนบุคคล ที่เปนสวนหนึ่งของสังคม<br />

ซึ่งจะ<br />

ตองรูเขาใจและปฏิบัติใหถูกตองไดผลดี ทั้งในแงเปนสวนรวมที่ดีของ<br />

สังคม และในแงที่เทาทันตอการที่จะไดรับประโยชนหรือผลจากสังคม


๑๑๘<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

เมื่อเราเปนทั้งชีวิตในธรรมชาติ<br />

และเปนบุคคลในสังคมแลว ถาเรา<br />

จะใหสังคมประสานกับธรรมชาติ เราก็ประสานไดที่ตัวเรา<br />

คือตองประสาน<br />

บุคคลกับชีวิตใหได โดยทํ าใหชีวิตกับบุคคลในตัวเรานี้เกื้อกูลซึ่งกันและกัน<br />

อันนี้เปนจุดหนึ่งที่สํ<br />

าคัญ ซึ่งตองพูดกันยาว<br />

คือทํ าอยางไรจะให<br />

ชีวิตที่เปนหนวยธรรมชาติ<br />

กับบุคคลที่เปนหนวยสังคม<br />

ซึ่งอยู<br />

ในตัวเรา<br />

ทั้งสองอยางหรือทั้งสองภาวะนี้<br />

มาประสานเกื้อกูลกันได<br />

ถาเราประสาน<br />

ทํ าใหมันกลมกลืนกันลงตัวไดเมื่อไร<br />

เมื่อนั้นเราจะสามารถทํ<br />

าใหทั้งองค<br />

รวมทั้งระบบที่วามาแลว<br />

กลมกลืนประสานกันไดหมด<br />

ตอนนี้มันตรงขาม<br />

คือเปนปญหาขัดแยงกัน แมแตในการกินอยาง<br />

ที่วากันมานั้น<br />

ก็เปนเรื่องขัดแยงกันระหวางภาวะดานบุคคล<br />

กับภาวะ<br />

ดานชีวิต คือคนกินเพื่อสนองความตองการของบุคคล<br />

เชนมุงเอาความ<br />

โกหรู ไมไดกินเพื่อสนองความตองการของชีวิต<br />

ที่จะใหรางกายไดอาหาร<br />

ที่มีคุณคาแทเปนประโยชน<br />

แถมกินสนองความตองการของภาวะดาน<br />

บุคคลแลว ยังบั่นรอนทํ<br />

าลายภาวะดานชีวิตอีกดวย<br />

ขอใหลองคิดดูเถอะ ปญหาในสังคมพัฒนาแลว ที่ทํ<br />

าลายสุขภาวะ<br />

มากมายนั้น<br />

ก็มาจากการที่คนเอาใจใสแตภาวะดานบุคคลของเขา<br />

และ<br />

มองขามภาวะดานชีวิตของตนไปเสีย ปลอยใหเกิดความขัดแยงระหวาง<br />

สองดานนั้น<br />

โดยภาวะดานชีวิตเปนฝายถูกบั่นรอนทํ<br />

าลาย จึงจะตองแก<br />

ปญหานี้ดวยการปฏิบัติตามระบบองครวมที่กลาวมา<br />

ถาแกไขปญหาความขัดแยงระหวาง ๒ ภาวะนี้ที่ตัวคนไดเมื่อไร<br />

ก็<br />

จะผานรวดเดียวไดหมดทั้งระบบ<br />

คือ มนุษย สังคม ธรรมชาติ จะมา<br />

กลมกลืนเปนอันเดียวและประสานกันได<br />

ทานอธิบดี และทุกทานในกระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนวงการ<br />

แพทยทั้งหมด<br />

ซึ่งทํ<br />

างานเกี่ยวกับชีวิตมนุษย<br />

ก็จะนํ าชีวิตนั้นมาประสาน<br />

กับบุคคลนี่แหละ<br />

อยางนอยใหบุคคลเห็นความสํ าคัญและใสใจตอสุขภาวะ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๑๙<br />

ของชีวิต แลวจะทํ าใหระบบขององครวมนี้เปนอยู<br />

และดํ าเนินไปดวยดี ถือ<br />

วาทํ ากุศลที่ยิ่งใหญ<br />

อยางนอยก็จะทํ าใหประเทศชาติของเรา ไดเจริญ<br />

พัฒนาไปในหนทางที่ถูกตอง<br />

ถาออกไปในโลก ก็จะชวยกันนํ าโลกไปใน<br />

ทางที่ถูกตองดวย<br />

อยางนอยก็ไมไปซํ้<br />

าเติมปญหาของตนเอง<br />

เปนอันวาไดพูดไปเรื่อยๆ<br />

ก็ขออนุโมทนาทานอธิบดีกรมพัฒนาการ<br />

แพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ทานผู ตรวจราชการ และคุณหมอ<br />

ชูฤทธิ์<br />

เจาของเรื่อง<br />

พรอมทั้งคุณหมอที่เปนวิทยากร<br />

และทานผูทรงคุณ<br />

วุฒิจากกระทรวงสาธารณสุข จากโรงเรียน จากโรงพยาบาล และหนวย<br />

งานทางสาธารณสุข ทางการแพทยทุกทาน ถือวาทุกทานกํ าลังทํ างานที่<br />

สํ าคัญมาก ทํ างานอันเปนพื้นฐานของสังคม<br />

ซึ่งเริ่มที่ชีวิตของคนแตละ<br />

คน ตามหลักที่วา<br />

ถาชีวิตไมดีแลว สังคมจะดีไมไดแนๆ<br />

ก็ขอใหทุกทานซึ่งมีจิตใจเปนกุศล<br />

ไดมีสุขภาวะเกิดขึ้นในตัวของ<br />

ทาน แลวขยายไปสูเพื่อนมนุษยอื่นดวย<br />

เริ่มจากในสังคมไทยของเราแลว<br />

ก็ขยายทั่วไป<br />

ดวยการเผยแพรปญญาเปนตน ซึ่งเปนสิ่งสํ<br />

าคัญที่สื่อสาร<br />

ไปถึงกันและกัน แลวก็ชวยการพัฒนามนุษยใหสํ าเร็จ<br />

ขอใหความมุงหมายอันดีงามที่เปนกุศลนี้ของทุกทาน<br />

บรรลุผล<br />

สํ าเร็จดวยดี และขอใหทุกทานเจริญดวยจตุรพิธพรชัย ขอใหเพื่อนมนุษย<br />

ชาวโลก ตั้งแตประเทศไทยของเรานี้<br />

อยู กันดวยความรมเย็นเปนสุขทุกเมื่อ<br />

ผู ตรวจราชการ (นายแพทยสถาพร วงษเจริญ):<br />

- กระผม ในนามของคณะที่ไดมารับฟงธรรมโอวาทจากทานอาจารย<br />

พระพรหมคุณาภรณในวันนี้<br />

ก็ตองขอกราบขอบพระคุณที่ไดนํ<br />

าสิ่งที่ได<br />

เปนคุณเปนประโยชนแกมนุษยชาติทั้งหมด<br />

ใหพวกเราเปนแนวทางใน<br />

การจะไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนกวางขวางตอไป พวกเราขอกราบ<br />

ขอบพระคุณเจาคุณอาจารยไว ณ โอกาสนี้ครับ


ผนวก ๑<br />

การปฏิบัติตอความสุข ๑<br />

ขอที่<br />

๑ พระพุทธเจาตรัสวา ไมใหเอาทุกขมาทับถมตนที่ไมมีทุกข<br />

หมายความวา เราอยูในโลก<br />

เราก็มีชีวิตอยูตามธรรมดาสังขาร<br />

สังขารมันก็ไม<br />

เที่ยง<br />

เปนทุกข เปนอนัตตา ตามธรรมดาของมัน เราดํ าเนินชีวิตใหดีงามถูก<br />

ตอง แลวทุกขตามธรรมชาติก็มีของมันไป อันนั้นเราไมไปเถียงมัน<br />

แตเราไม<br />

เพิ่ม<br />

เราไมเอาทุกขมาทับถมตัวเรา เราก็สบายไปขั้นหนึ่งแลว<br />

ในทางตรงขาม ถาเราปฏิบัติไมถูกตอง ทุกขที่มันมีอยูในธรรมชาตินั้น<br />

มันก็เกิดเปนทุกขในใจของเรา เราก็เอาทุกขมาทับถมตัวเอง ดังจะเห็นวาบาง<br />

คนปฏิบัติไมถูกตอง เที่ยวหาทุกขมาใสตนมากมาย…<br />

ทีนี้<br />

ถาเราวางใจถูกตอง อยางนอยเราก็รูวา<br />

ออ นี่คือธรรมดาของโลก<br />

เราไดเห็นแลวไง พระพุทธเจาตรัสไวแลววา เราอยูในโลก<br />

เราตองเจอโลก<br />

ธรรมนะ เราก็เจอจริงๆ แลว เราก็รูวา<br />

ออ นี่ความจริงมันเปนอยางนี้เอง<br />

เราได<br />

เห็น ไดรูแลว<br />

เราจะไดเรียนรูไว<br />

พอบอกวาเรียนรู เทานั้นแหละ<br />

มันก็กลายเปนประสบการณสํ าหรับศึกษา<br />

เราก็เริ่มวางใจตอมันไดถูกตอง<br />

ตอจากนั้น<br />

ก็นึกสนุกกับมันวา ออ ก็อยางนี้<br />

แหละ อยูในโลกก็ไดเห็นความจริงแลววามันเปนอยางไร ทีนี้ก็ลองกับมันดู<br />

แลวเราก็ตั้งหลักได<br />

สบายใจ อยางนี้ก็เรียกวาไมเอาทุกขมาทับถมใจตัวเอง<br />

อะไรตางๆ นี่<br />

โดยมากมันจะเกิดเปนปญหาก็เพราะเราไปรับกระทบ<br />

ถาเราไมรับกระทบ มันก็เปนเพียงการเรียนรู<br />

บางทีเราทํ าใจใหถูกตองกวานั้น<br />

ก็คือ คิดจะฝกตนเอง พอเราทํ าใจวาจะฝกตนเอง เราจะมองทุกอยางในแงมุม<br />

ใหม แมแตสิ่งที่ไมดีไมนาชอบใจ<br />

เราก็จะมองเปนบททดสอบ<br />

พอมองเปนบททดสอบทีไร เราก็ไดทุกที ไมวาดีหรือรายเขามา ก็เปน<br />

บททดสอบใจและทดสอบสติปญญาความสามารถทั้งนั้น<br />

ก็ทํ าใหเราเขมแข็ง<br />

๑ คัดตัดมาจาก หนังสือ ความสุขที่สมบูรณ<br />

[ธรรมกถาของ พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

เมื่อวันที่<br />

๒๔ ก.ค. ๒๕๓๗] ฉบับพิมพครั้งที่<br />

๗ Ñ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ (๓๑ หนา)


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๒๑<br />

ยิ่งขึ้น<br />

เพราะเราไดฝกฝน เราไดพัฒนาตัวเรา เลยกลายเปนดีไปหมด<br />

ถาโชค หรือโลกธรรมที่ดีมีมา<br />

เราก็สบาย เปนสุข แลวเราก็ใชโชคนั้น<br />

เชน ลาภ ยศ เปนเครื่องมือเพิ่มความสุขใหแผขยายออกไป<br />

คือใชมันทํ าความ<br />

ดี ชวยเหลือเกื้อกูลเพื่อนมนุษย<br />

ทํ าใหความสุขขยายจากตัวเรา แผกวางออก<br />

ไป สูผูคนมากมายในโลก<br />

ถาเคราะห หรือโลกธรรมที่รายผานเขามา<br />

ก็ถือวาเปนโอกาสที่ตัวเรา<br />

จะไดฝกฝนพัฒนา มันก็กลายเปนบททดสอบ เปนบทเรียน และเปนเครื่องมือ<br />

ฝกสติ ฝกปญญา ฝกการแกปญหา เปนตน ซึ่งจะทํ<br />

าใหเราพัฒนายิ่งขึ้นไป…<br />

ขอที่<br />

๒ ทานวาไมละทิ้งสุขที่ชอบธรรม<br />

สุขที่ชอบธรรม<br />

คือสุขที่เรา<br />

ควรไดควรมีตามเหตุปจจัย มีหลายขั้นหลายระดับ<br />

เรามีสิทธิ์ที่จะไดรับความ<br />

สุขเหลานั้น<br />

แตใหเปนไปโดยชอบธรรม เชนถาเปนความสุขทางวัตถุ ก็ไมให<br />

เปนความสุขที่เบียดเบียน<br />

กอความเดือดรอนแกผูอื่น<br />

แตควรจะเปนความสุข<br />

ที่เผื่อแผ<br />

ซึ่งชวยใหเกิดความสุขขยายกวางขวางออกไป<br />

ถาสุขของเราเกิดขึ้นโดยตั้งอยูบนความทุกขของผูอื่น<br />

ก็ไมดี ไมชอบ<br />

ธรรม เพราะฉะนั้น<br />

จึงตองใหเปนความสุขที่ชอบธรรม<br />

เราสุข ผูอื่นก็ไมทุกข<br />

ถาใหดียิ่งกวานั้น<br />

ก็ใหเปนสุขดวยกัน<br />

สุขนี้มีหลายแบบ<br />

หรือหลายระดับ คือ<br />

๑. สุขแบบแยงกัน<br />

๒. สุขแบบไปดวยกัน หรือสุขแบบประสานกัน<br />

๓. สุขแบบอิสระ<br />

สุขแบบแยงกันก็คือ ถาเขาสุขเราก็ทุกข ถาเราสุขเขาก็ทุกข โดยมาก<br />

จะเปนความสุขประเภทที่เกี่ยวกับวัตถุ<br />

ความสุขที่เกี่ยวกับวัตถุนั้นตองไดตอง<br />

เอา พอเราไดมาเราสุข คนอื่นเสีย<br />

หรือไมได เขาก็เกิดความทุกข แตพอเขาได<br />

เราเสียเราไมได เขาสุขเราก็ทุกข ความสุขอยางนี้ไมเอื้อตอกัน<br />

ยังกอปญหา…<br />

ความสุขขั้นที่สอง<br />

คือความสุขที่ประสานกัน<br />

ชวยกันสุข ถาเราสุขก็ทํ า<br />

ใหเขาสุขดวย นี่ก็คือความสุขที่เกิดจากการพัฒนาจิตใจ<br />

โดยเฉพาะก็คือ<br />

ความรักแท…ที่ตองการใหคนอื่นเปนสุข…<br />

ความรักแทที่ตองการใหคนอื่นเปนสุข<br />

จะเห็นไดงายๆ เหมือนความรัก


๑๒๒<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ของพอแม พอแมรักลูก ก็คืออยากใหลูกเปนสุข ถาเราอยากใหลูกเปนสุข เรา<br />

ก็ตองพยายามทํ าทุกอยางเพื่อใหลูกเปนสุข<br />

เพื่อจะไดเห็นลูกมีความสุข<br />

พอ<br />

เห็นลูกมีความสุข พอแมก็มีความสุขดวย…<br />

ตามปกติคนเรานี้<br />

จะตองไดตองเอา จึงจะเปนสุข ถาให ตองเสีย ก็ทุกข<br />

แตพอมีความรัก คือเมตตาขึ้นแลว<br />

การใหก็กลายเปนความสุขได<br />

ทีนี้<br />

พอเราให เขาเปนสุข เราเห็นเขาเปนสุขสมใจเรา เราก็สุขดวย<br />

แสดงวาความสุขของบุคคลทั้งสองนี้<br />

อาศัยซึ่งกันและกัน<br />

เปนความสุขแบบ<br />

ประสาน คือ รวมกันสุข หรือสุขดวยกัน ไมใชความสุขแบบแยงกัน<br />

ถาเราพัฒนาจิตใจอยางนี้<br />

โดยขยายความรักความเมตตาออกไป เรา<br />

ก็สามารถมีความสุขเพิ่มขึ้น<br />

โดยที่คนอื่นก็มีความสุขดวย<br />

อยางนี้ก็เปนความ<br />

สุขที่ประกอบดวยธรรม<br />

ถาความสุขอยางนี้เกิดขึ้นมาก<br />

ก็ทํ าใหโลกนี้มีสันติสุข<br />

เริ่มตั้งแตในครอบครัวเปนตนไป…<br />

เปนอันวา ในขั้นตน<br />

มนุษยเรามีความสุขจากการไดการเอา จึงแยง<br />

ความสุขกัน แตเมื่อพัฒนาไปพอถึงขั้นที่<br />

๒ จิตใจมีคุณธรรม เชนมีเมตตา มี<br />

ไมตรี มีศรัทธา การใหกลายเปนความสุข ก็เกิดความสุขจากการให จึง<br />

เปลี่ยนเปนความสุขที่ประสานสงเสริมอุดหนุนซึ่งกันและกัน<br />

มนุษยเราก็พัฒนาตอไปในเรื่องความสุข<br />

แลวก็ทํ าใหทั้งชีวิตและทั้ง<br />

โลกนี้มีความสุขมากขึ้นดวย<br />

แตรวมความก็คือวา เราตองพยายามทํ าตัวใหมี<br />

ความสุขโดยถูกตอง ถาทํ าไดอยางนี้<br />

ก็เปนการมีความสุขโดยชอบธรรม…<br />

ขอที่<br />

๓ ไมสยบมัวเมาในความสุขแมที่ประณีต<br />

พระพุทธเจาตรัสวา<br />

ถาเปนความสุขโดยชอบธรรมแลว เรามีสิทธิ์เสวย<br />

ไมตองไปสละละทิ้ง<br />

แต<br />

ทานสอนไมใหหยุดแคนี้<br />

เพราะถาเราปฏิบัติผิด พอเรามีความสุขแลว เราก็<br />

อาจจะพลาด<br />

จุดที่จะพลาดอยูตรงนี้คือ<br />

เรามีสิทธิ์ที่จะสุข<br />

และเราก็สุขแลว แตเรา<br />

เกิดไปหลงเพลิดเพลินมัวเมา พอเราหลงเพลินมัวเมา ความสุขนั้นก็จะกลับ<br />

กลายเปนปจจัยของความทุกขได พอถึงตอนนี้ก็จะเสีย<br />

เพราะฉะนั้นความสุข<br />

นั้นเราจะตองรูทันดวย<br />

ความสุขก็เปนโลกธรรมอยางหนึ่ง<br />

คือ มันเกิดขึ้นแลว<br />

ก็ตั้งอยู<br />

และดับ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

/ 136<br />

๑๒๓<br />

ไป เปนอนิจจัง เปลี่ยนแปลงไปได<br />

ถาเรารูทันความจริงนี้<br />

เมื่อสุข<br />

เราก็เสวย<br />

สุขนั้นโดยชอบธรรม<br />

แตเราไมหลงมัวเมาในความสุขนั้น<br />

เมื่อรูเทาทัน<br />

ไมหลงมัวเมาแลว มันก็ไมเปนปจจัยใหเกิดทุกข แตถา<br />

หลงมัวเมา สุขก็เปนปจจัยแกทุกข อยางนอยก็ทํ าใหติด แลวก็เพลิดเพลิน<br />

หลงมัวเมา ไมทํ าอะไร ทํ าใหเกิดความประมาท…<br />

ขอที่<br />

๔ พัฒนาความสุขที่ประณีต<br />

และสูงยิ่งๆ<br />

ขึ้นไป<br />

ความสุขมีหลายระดับ อยางที่ยกมาพูดเมื่อกี้<br />

เริ่มตนเรามีความสุข<br />

จากการเสพวัตถุ คือสิ่งที่จะมาบํ<br />

ารุงตา หู จมูก ลิ้น<br />

กายของเรา ใหไดดู ฟง<br />

ดมกลิ่น<br />

ลิ้มรสที่ชื่นชมชอบใจ<br />

พวกนี้เปนความสุขทางประสาทสัมผัสเบื้องตน<br />

เมื่อพัฒนาตอไป<br />

เราก็มีความสุขเพิ่มขึ้นอีก<br />

อยางที่วาเมื่อกี้<br />

คือความ<br />

สุขจากคุณธรรม<br />

ตอนแรกเราเคยมีความสุขจากการไดการเอาอยางเดียว เปนความสุข<br />

ขั้นตน<br />

ยังแคบอยู<br />

พอเรามีคุณธรรมเพิ่มขึ้น<br />

เราก็มีความสุขจากการใหดวย<br />

เมื่อมีศรัทธา<br />

เราก็มีความสุขจากการทํ าบุญทํ ากุศล เมื่อทํ<br />

าบุญทํ า<br />

กุศลไปแลว ระลึกขึ้นมาเมื่อไรก็มีความปติอิ่มใจ<br />

มีความสุขจากการไดทํ า<br />

ประโยชนแกเพื่อนมนุษย<br />

ไดชวยเหลือสังคม และไดทํ าความดีงามตางๆ<br />

ถาเราไมประมาท คือไมหยุดเสียแคความสุขขั้นตน<br />

เราจะสามารถ<br />

พัฒนาในความสุข ทํ าความสุขใหเกิดขึ้นไดอีกมากมาย<br />

ตอจากนี้<br />

ความสุขก็ขยายออกไปอีก เลยจากความสุขในการทํ าความ<br />

ดี ก็ไปสูความสุขที่เกิดจากปญญา<br />

ความสุขที่เกิดจากปญญา<br />

ก็คือความรูเทาทันสังขาร รูโลกและชีวิต<br />

ตามเปนจริง รูเทาทันอนิจจัง<br />

ทุกขัง อนัตตา…<br />

สิ่งทั้งหลายที่เปนอนิจจัง<br />

ทุกขัง อนัตตา มีความเปลี่ยนแปลงเปนไป<br />

ตางๆ มันก็ตองเปนอยางนั้นเปนธรรมดา<br />

เพราะมันอยูในกฎธรรมชาติอยาง<br />

นั้น<br />

ไมมีใครไปแกไขได<br />

แตที่มันเปนปญหาก็เพราะวา<br />

ในเวลาที่มันแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไป<br />

ตามกฎธรรมชาตินั้น<br />

มันพลอยมาเบียดเบียนจิตใจของเราดวย เพราะอะไร<br />

เพราะเรายื่นแหยใจของเราเขาไปใตอิทธิพลความผันผวนปรวนแปรของธรรม


๑๒๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

ชาตินั้นดวย<br />

ดังนั้น<br />

เมื่อสิ่งเหลานั้นปรวนแปรไปอยางไร<br />

ใจของเราก็พลอย<br />

ปรวนแปรไปอยางนั้นดวย<br />

เมื่อมันมีอันเปนไป<br />

ใจของเราก็ถูกบีบคั้นไมสบาย<br />

แตพอเรารูเทาทันถึงธรรมดาแลว<br />

กฎธรรมชาติก็เปนกฎธรรมชาติ สิ่ง<br />

ทั้งหลายที่เปนธรรมชาติ<br />

ก็เปนไปตามกฎธรรมชาติ ทํ าไมเราจะตองเอาใจ<br />

ของเราไปใหกฎธรรมชาติบีบคั้นดวย<br />

เราก็วางใจของเราได ความทุกขที่มีใน<br />

ธรรมชาติ ก็เปนของธรรมชาติไป ใจของเราไมตองเปนทุกขไปดวย<br />

ตอนนี้แหละ<br />

ที่ทานเรียกวามีจิตใจเปนอิสระ<br />

จนกระทั่งวา<br />

แมแตทุกขที่<br />

มีในกฎของธรรมชาติ ก็ไมสามารถมาเบียดเบียนบีบคั้นใจเราได<br />

เปนอิสร-<br />

ภาพแทจริง ที่ทานเรียกวา<br />

วิมุตติ<br />

เมื่อพัฒนามาถึงขั้นนี้<br />

เราก็จะแยกไดระหวางการปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลาย<br />

ภายนอก กับการเปนอยูของชีวิตจิตใจภายในของเรา<br />

กลาวคือ สํ าหรับสิ่งทั้งหลายภายนอก<br />

ก็ยกใหเปนภาระของปญญา ที่จะ<br />

ศึกษาและกระทํ าไปใหทันกันถึงกันกับกระบวนการแหงเหตุปจจัยของธรรมชาติ<br />

ใหไดผลดีที่สุด<br />

สวนภายในจิตใจก็คงอยู เปนอิสระ พรอมดวยความสุข<br />

ความสุขจากความเปนอิสระถึงวิมุตติ ที่มีปญญารูเทาทันพรอมอยูนี้<br />

เปนความสุขที่สํ<br />

าคัญ<br />

พอถึงสุขขั้นนี้แลว<br />

เราก็ไมตองไปพึ่งอาศัยสิ่งอื่นอีกตอไป<br />

ไมวาจะเปน<br />

รูปธรรมหรือนามธรรม มันจะกลายเปนความสุขที่เต็มอยูในใจของเราเลย<br />

และเปนสุขที่มีประจํ<br />

าอยูตลอดทุกเวลา<br />

เปนปจจุบัน…


ผนวก ๒<br />

องคประกอบหลัก<br />

ในการประเมินสุขภาพแนวพุทธ ๑<br />

ขอตกลงเพื่อความเขาใจเบื้องตน<br />

๑. ไตรสิกขา เปนกระบวนการพัฒนาคน / ภาวนา ๔ เปนการวัดผล<br />

๒. ภาวนา ๔ ที่แยกเปนขอๆ<br />

โดยแตละขอมีองคประกอบหลัก และองค<br />

ประกอบยอยออกไปนั้น<br />

มุ งเพื่อความสะดวกในการวัดผล<br />

จะได<br />

ตรวจดูใหละเอียดใหชัดวามีกี่แง<br />

กี่ดาน<br />

และครบถวนหรือไม เทานั้น<br />

สวนการใหนํ้<br />

าหนักก็แลวแตวัตถุประสงคในการวัดวาตองการเนนที่<br />

กลุ มไหน หรือตองการเนนดานใดเปนพิเศษ<br />

๓. ในความเปนจริง องคประกอบหลักทั้ง<br />

๔ จะทํ างานสัมพันธกัน<br />

อาศัยกัน และสงผลตอกัน ไมสามารถแยกขาดจากกันได<br />

๔. ทัศนคติที่ถูกตองตอทุกองคประกอบ<br />

คือ ไมยึดติด แตตั้งมั่น<br />

และ<br />

ใหเปนไปเพื่อเกื้อกูลตอชีวิตที่ดีงาม<br />

เพื่อการพัฒนาสรางสรรคตนเอง<br />

สังคม และสิ่งแวดลอม<br />

้ จัดทํ าโดย พระครรชิต คุณวโร ตามแนวคิด และรายละเอียด<br />

ที่พระธรรมปฎก<br />

(ป. อ. ปยุตฺโต) ไดอธิบายไวเมื่อวันที่<br />

๗ มิถุนายน ๒๕๔๖<br />

๑ แผนภาพในภาคผนวกนี


๑๒๖<br />

กายภาวนา<br />

สิ่งแวดลอม<br />

ปจจัย ๔ อุปกรณ และเทคโนโลยี<br />

(การเสพ บริโภค ใชสอย)<br />

การใชอินทรีย ๔<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

อยูใกลชิด<br />

ประสานสอดคลอง<br />

ไมเบียดเบียนธรรมชาติ<br />

เห็นคุณคา ดูแลรักษา ซาบซึ้ง<br />

มีความสุขในการไดอยูกับธรรมชาติ<br />

มีทัศนคติทีดีตอธรรมชาติ<br />

อยากรักษาไวใหอนุชนรุนหลัง<br />

เสพ บริโภค ใชสอย อยางเปนปจจัย<br />

เพื่อการพัฒนา<br />

และสรางสรรค๓ เสพบริโภคใชสอยอยางไมลุมหลงมัวเมา<br />

ไมติดอยูในคุณคาเทียม๑<br />

เสพ บริโภค ใชสอยดวยปญญา<br />

เพื่อคุณคาแท๒<br />

ใช (ตา หู เปนตน) อยางมีสติ<br />

มุงใหไดความรู<br />

และคุณคาที่ดีงาม<br />

ไมเห็นแกสนุกสนานบันเทิง<br />

ลุมหลงมัวเมา<br />

เอาแตความเพลิดเพลิน<br />

รูจักเลือกเฟน<br />

การดูแล เอาใจใสสุขภาพรางกาย<br />

สุขภาพรางกาย<br />

ความสะอาด<br />

ทัศนคติตอการมีสุขภาพรางกายแข็งแรง<br />

เพื่อเปนเครื่องเกื้อหนุนชีวิตที่ดีงาม๕<br />

สุขภาพทั่วไป<br />

ความแข็งแรง<br />

ความสามารถในการทํางาน<br />

๑<br />

ไมลุมหลงมัวเมา ไมติดอยูในคุณคาเทียม<br />

/<br />

ไมใชเพียงเพื่อเสพ<br />

ปรนเปรอ สนุกสนาน มัวเมา ไมตองทํ าอะไร<br />

๒<br />

ใชดวยปญญาเพื่อคุณคาที่แทใหเกิดความพอดี<br />

/<br />

รูจักเลือกใชอยางรูคุณคา<br />

เกิดคุณคา พอเหมาะ ดูแลรักษา<br />

๓<br />

ใชอยางเปนปจจัยเพื่อการพัฒนาและสรางสรรค<br />

/<br />

ใชเพื่อแสวงหาและพัฒนาความรูความสามารถในการสรางสรรค<br />

/<br />

ทัศนคติตอปจจัย 4 อุปกรณ และเทคโนโลยี เปนปจจัยเพื่อการพัฒนา<br />

๔<br />

เนนที่<br />

ตา หู (และลิ้น)<br />

เปนสํ าคัญ เพราะมีบทบาทในชีวิตมาก<br />

๕<br />

ทัศนคติตอการมีสุขภาพรางกายแข็งแรง: เพื่อเปนเครื่องเกื้อหนุนชีวิตที่ดีงาม<br />

(พรหมจริยานุคคหายะ)


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ศีลภาวนา<br />

ปฏิสัมพันธ ๑<br />

อาชีพ<br />

วินัย<br />

๑<br />

ปฏิสัมพันธแยกตามกลุมบุคคล<br />

ครอบครัว ญาติมิตร และบุคคลใกลชิด<br />

บุคคลในสถานศึกษา ที่ทํ<br />

างาน ลูกคา<br />

เพื่อนมนุษย<br />

ตางชาติ ตางศาสนา และสัตวรวมโลก<br />

๒<br />

ดานทัศนคติ คือเห็นความสํ าคัญในสิ่งนี้<br />

๓<br />

เชิงปฏิบัติการ คือ ปฏิบัติตาม และจัดใหดียิ่งขึ้น<br />

ไมเบียดเบียน กอความเดือดรอนตอผูอื่น<br />

รูจักสงเคราะห<br />

เกื้อหนุน<br />

เอาใจใส<br />

ทําใหเกิดไมตรี และความสามัคคี<br />

รูจักสื่อสาร<br />

เพื่อชักจูง<br />

และชักนําในการพัฒนา<br />

และสรางสรรคยิ่งขึ้นไป<br />

ไมเบียดเบียนผูอื่น<br />

ไมกอความเสื่อมเสียแกสังคม<br />

ไมทุจริตผิดกฎหมาย<br />

สุจริต สรางสรรค ดีงาม เกื้อกูล<br />

แกไขปญหา<br />

พัฒนาตนเอง สังคม สิ่งแวดลอม<br />

ทรัพยสิน<br />

/ 136<br />

๑๒๗<br />

เพื่อไดผลตอบแทนเปนปจจัยยังชีพ<br />

ทัศนคติตออาชีพ เปนเครื่องมือฝกฝนพัฒนาตนเอง<br />

ใชแกไขปญหา พัฒนาสังคม สิ่งแวดลอม<br />

ความเคารพ รักษากฏเกณฑ กติกา<br />

สิกขาบท ระเบียบ จรรยาบรรณ กฎหมาย ๒<br />

รูจักใชวินัยในการดํารงชีวิต๓<br />

การใช<br />

- เลี้ยงตนและคนที่เกี่ยวของใหเปนสุข<br />

- สงเคราะห เผื่อแผแบงปน<br />

- ทําสิ่งที่ดีงาม<br />

เปนบุญ<br />

การเก็บออมเปนทุน<br />

คุณคาทางจิตปญญา<br />

- ไมลุมหลงมัวเมา<br />

รูเทาทัน<br />

เปนอิสระ<br />

- ใชพัฒนาจิตปญญายิ่งๆ<br />

ขึ้นไป<br />

จัดวัตถุสิ่งของ<br />

จัดแบงเวลา<br />

จัดสภาพแวดลอม<br />

การจัดระเบียบในการอยูรวมกัน


๑๒๘<br />

คุณภาพ<br />

จิตตภาวนา สมรรถภาพ<br />

๑ คุณภาพของความเชื<br />

สุขภาพจิต<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ<br />

มีฉันทะ เพียรพยายาม บากบั่นอดทน<br />

(ตั้งรับ/เดินหนา)<br />

รับผิดชอบ เขมแข็งมีกํ าลังใจ เด็ดเดี่ยว<br />

มีสติคุมไมใหเลื่อนลอย<br />

ไมเถลไถล คุมใหอยูในทาง<br />

ไมถลํ าไปในทางเสื่อม<br />

ไมทิ้งโอกาสที่จะสรางสรรค<br />

มีสมาธิ สงบ ตั้งมั่น<br />

ไมวอกแวกหวั่นไหว<br />

ใสกระจาง ราบเรียบ มีพลังนุมนวลควรแกงาน<br />

ระดับความสุข<br />

ทาทีตอความสุข<br />

ศรัทธา - ความเชื่อที่ประกอบดวยปญญา๑<br />

;<br />

เชื่อมั่นในการทํ<br />

าคุณความดี๒ พรหมวิหาร ๔<br />

ความเคารพ ออนนอม สุภาพ ออนโยน<br />

กตัญูกตเวที<br />

จิตใจกวางขวาง เสียสละ โอบออมอารี<br />

หิริโอตตัปปะ<br />

ราเริงเบิกบาน สดชื่นแจมใสอิ่มใจ<br />

ผอนคลาย ตั้งมั่น<br />

โปรงโลง ไรพรมแดน<br />

สุขจากการไดและ เสพวัตถุ<br />

สุขจากธรรมชาติ<br />

สุขจากการไดทํ าสิ่งสรางสรรค<br />

สุขจากจิตใจเปนบุญกุศล<br />

สุขจากจิตที่สงบเปนสมาธิจนถึงระดับฌาน<br />

สุขจากการมีปญญารูเทาทันตามเปนจริง<br />

และมีจิตใจเปนอิสระ<br />

ไมเอาทุกขทับถมตน<br />

ไมละทิ้งสุขที่ชอบธรรม<br />

ไมสยบมัวเมาในความสุขแมที่ประณีต<br />

พัฒนาความสุขที่ประณีต<br />

และสูงยิ่งๆ<br />

ขึ้นไป<br />

่อ - ยิ่งมีความรูความเขาใจในสิ่งที่เชื่อตรงตามความเปนจริงตามเหตุปจจัยเทาไร<br />

ยิ่งเปนความเชื่อที่มีคุณภาพเทานั้น<br />

่งที่เชื่อ<br />

๒ สิ


พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)<br />

ปญญาภาวนา<br />

การปฏิบัติตอความรู<br />

ระดับความรู<br />

๑<br />

ขอมูลขาวสาร หรือความรู ที่ไดสดับ<br />

รับฟง ถายทอดมา เชน จากบุคคล หนังสือ และสื่ออื่นๆ<br />

เปนขั้นของการรูโดยการสื่อสาร<br />

และคิดตามสมมติบัญญัติที่ตั้งกันขึ้นมา<br />

/ 136<br />

การมี/ทรงความรู<br />

(เชนรูวิชาชีพการงานที่เปนหนาที่ของตน)<br />

การแสวงหาความรูเพิ่มเติม<br />

การใชความรู<br />

(การเอาความรูนั้นมาใชได)<br />

คิดเปน - แกปญหาเปน - ดับทุกขเปน<br />

๑๒๙<br />

สุตะ๑ (รูขอมูลขาวสาร<br />

- รูอาการปรากฏอยางผิวเผิน<br />

หรือรูอะไร)<br />

: ความรูที่เกี่ยวของตองใชในการดําเนินชีวิต<br />

และกิจการงานทั้งหลาย<br />

ทิฏฐิ (รูหยั่ง<br />

- หยั่งเขาไปในความจริง<br />

หรือรูอยางไร)<br />

:<br />

ความรูเขาใจที่หยั่งลงไปในความเปนจริงของสิ่งทั้งหลาย<br />

ดวยทาทีของการมองตามเหตุปจจัย<br />

ญาณทัสสนะ (รูแจง<br />

- รูอยางถึงความจริง)<br />

:<br />

ความรูเขาใจความจริงของสิ่งทั้งหลายที่สงผลทําใหจิตใจ<br />

หลุดพนเปนอิสระ


๑๓๐<br />

สุขภาวะองครวมแนวพุทธ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!