02.08.2017 Views

2

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์มีอยู่ 5 ขั้นตอน คือ<br />

1.การก าหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา<br />

หัวข้อคือ ความเป็นมาของชื่อ “หมากนวล”<br />

2.การรวบรวมหลักฐาน<br />

คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นหมากนวลประจ าบ้าน จะท าให้มีความอ่อนน้อม ความมีน้ าใจ เพราะ<br />

หมากนวลมีการแตกใบที่สวยงาม ลักษณะที่มีความนิ่มนวล อ่อนไหว นอกจากนี้ลักษณะแตกใบของหมากนวล<br />

ยังมีลักษณะที่โดดเด่น สง่า นอกจากนี้ มีการเปรียบเทียบหมากนวลไว้ว่าเป็นชื่อหมากชนิดหนึ่งที่ใช้รับประทาน<br />

ในสมัยโบราณ คือหมากรง ให้ในพิธีต้อนรับแขกที่ไปมาหาสู่กัน ดังนั้นจึงแสดงถึงการมีน้ าใจที่ดี มีน้ าใจงาม<br />

ที่มาข้อมูล http://202.143.128.88/gradent/index.php/joomlaorg/133-2014-05-09-08-59-01<br />

จัดเป็น หลักฐานชั้นรอง (Secondary Sources)<br />

ลักษณะใบ ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม.ยาว 45-75 ซม.<br />

ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบสีเขียว<br />

ที่มาข้อมูล https://sites.google.com/site/swnphvssastrsanpatxngwithyakhm/khi-xmul-phanthmi/hmak-nwl<br />

3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน<br />

ข้อมูลดังกล่าว กล่าวตรงกันในแต่ละแหล่งที่ข้าพเจ้าได้ศึกษา รวมทั้งลักษณะทั่วไปของต้นหมากนวลก็ตรง<br />

ตามที่กล่าวทุกประการ ดังนั้นหลักฐานที่กล่าวมามีความน่าเชื่อถือ<br />

4.การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล<br />

ข้อมูลดังกล่าว ไม่ได้มีเพื่อการโฆษณาชวนเชื่อ ท าให้หลงผิด หรือเพื่อเหตุผลทางการเมือง การค้า ประกอบกับ<br />

นิสัยของคนไทย ภาษามีอิทธิพลต่อการด าเนินชีวิตอยู่มาก การตั้งชื่อ หมากนวล ตามลักษณะของต้นไม้ที่<br />

ปรากฏ และตั้งเพื่อเสริมความเป็นสิริมงคลจึงมีความเป็นไปได้<br />

5.การเรียบเรียงหรือการน าเสนอ<br />

ที่มาของชื่อต้น “หมากนวล” คือ หมากนวลมีการแตกใบที่สวยงาม ลักษณะที่มีความนิ่มนวล อ่อนไหว โดด<br />

เด่น สง่า ดังนั้นคนเลยเรียกต้นไม้นี้ว่า หมากนวล<br />

นางสาวชญานิษฐ์ ยรรยงยุทธ์ ห้อง 74 เลขที่ 4

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!