02.08.2017 Views

2

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ที่มา : www.panmai.com<br />

ดอกอินทนิลน ้า<br />

ชื่อดอกไม้ : ดอกอินทนิลน ้า<br />

ชื่อสามัญ : Queen’s Flower, Queen’s Crape Myrtle, Pride of India<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lagerstroemia speciosa Pers.<br />

วงศ์ : LYTHRACEAE<br />

ชื่ออื่น : ฉ่วงมู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ตะแบกด า (กรุงเทพฯ), บางอ บะซา (มลายู-ยะลา, นราธิวาส), บาเอ บาเย<br />

(ปัตตานี), อินทนิล (ภาคกลาง), อินทนิลน ้า (ภาคกลาง, ภาคใต้)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

เป็นไม้ยืนต้นสูง 10–15 เมตร ล าต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ ่มกลม ผิวเปลือกนอกสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปไข่<br />

แกมขอบขนาน ปลายใบมน ดอกย่อยขนาดใหญ่ กลีบดอกสีชมพู สีม่วงแกมชมพู หรือสีม่วง ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-<br />

มิถุนายน ผลเป็นผลแห้ง มีขนาดใหญ่<br />

การขยายพันธุ ์ : โดยการเพาะเมล็ด<br />

สภาพที่เหมาะสม : ดินทุกชนิด เป็นไม้กลางแจ้ง<br />

ถิ่นก าเนิด : ที่ราบลุ ่มริมน ้า ป่ าเบญจพรรณชื ้นและป่ าดิบทั่วไป<br />

3.กำรวิเครำะห์หลักฐำน<br />

www.e-managev1.mju.ac.th<br />

ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเว็บไซต์ดังกล่างนั ้นค่อนข้างครบถ้วนสมบูรณ์มีที่มาความเป็นไปและประวัติที่ชัดเจน มีความ<br />

ต่อเนื่องและเป็นเหตุเป็นผลกัน ท าให้หลักฐานนี ้ดูค่อนข้างน่าเชื่อถือ อีกทั ้งยังมีประวัติที่ค่อนข้างละเอียดมากกว่าหลักฐาน<br />

ชิ ้นอื่นๆท าให้มีประโยชน์ต่อการรวบรวมหลักฐานและหาข้อมูลอื่นๆอันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาได้เป็นอย่างดี แต่<br />

เนื่องจากไม่ได้มีที่มาที่ชัดเจนของข้อมูลในเว็บไซต์ดังกล่าว จึงอาจท าให้ความน่าเชื่อถือของหลักฐานชื ้นนี ้ลดลงไปบ้าง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!