17.09.2020 Views

Total-EPC-Book=180920

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

ฉบับประสบการณ์

เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช

กันยายน 2563


ค ำสงวนสิทธิ์: Disclaimer

หนังสือเล่มนี้ เขียนขึ้นเพื่อควำมรู้ควำมเข้ำใจใน สัญญำออกแบบ จัดหำ และ

ก่อสร้ำง ผู้เขียนได้ใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถเท่ำที่มีในกำรถ่ำยทอดอย่ำงเต็ม

ควำมสำมำรถ และดีที่สุดแล้ว ข้อผิดพลำดทั้งปวงอันอำจมี ขอน้อมรับไว้แก้ไขใน

โอกำสต่อไป ลิขสิทธิ์ อันพึงมีในข้อเขียนทั้งปวง ย่อมเป็นสิทธิ์ของเจ้ำของนั้นทั้งสิ้น

ผู้ใช้เอกสำร พึงใช้วิจำรณญำณในกำรใช้ด้วยตนเอง

ผิด ตก ยกเว้น (E&OE)

ควำมรู้มีไว้แบ่งปัน!


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

ฉบับประสบการณ์

เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช

กันยายน 2563


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction

Contract (EPC) for Beginner

ISBN: XXX-XXX-XXX-XXX-X

พิมพ์ครั้งแรก กันยายน 2563

จ านวนพิมพ์ ________ เล่ม

ผู้สนับสนุน

จัดท าโดย นายเจตณรงค์ เชาว์ชูเดช

พิมพ์ที่ บริษัท ................................ จ ากัด

................................................................

..........................................

โทรศัพท์ ............................ โทรสาร .........................

โทรศัพท์ 086 107 2303

อีเมล jadenarong@outlook.com

ราคา .................. บาท

© สงวนลิขสิทธิ์


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procument and Construction Contract (EPC) for Beginner

แด่พ่อ

ครูช่างคนแรกของผม



สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procument and Construction Contract (EPC) for Beginner

กิตติกรรมประกาศ

ผู้เขียนขอขอบคุณบริษัท กรุงเทพเอ็นยิเนียริ่งคอนซัลแตนท์ จ ำกัด 1 บริษัททีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์

แมเนจเมนท์ จ ำกัด (มหำชน) 2 บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ำกัด (มหำชน) 3 มหำวิทยำลัยชีวิต ส ำหรับ

ผม ที่ได้ให้โอกำสผมท ำงำน มีประสบกำรณ์ ควำมรู้ ควำมสำมำรถมำโดยตลอดกว่ำ 40 ปี แม้บำงแห่งจะได้มี

โอกำสท ำงำนในช่วงเวลำสั้น ๆ ก็ตำม แต่ประสบกำรณ์ซึ่งไม่สำมำรถหำเรียนได้จำกมหำวิทยำลัย นั้นมีคุณค่ำ

มหำศำล ควรคู่กับค ำขอบคุณนี้ยิ่งนัก

ผมขอขอบคุณอำจำรย์ช ำนำญ พิเชษฐพันธ์ ผู้เขียนหนังสือ สัญญำจ้ำงที่ปรึกษำบริหำรกำรก่อสร้ำง ผู้จุด

ประกำย ด้วยกำรเชิญชวนผมให้ร่วมเขียนหนังสือ ท ำให้ได้มีโอกำส อ่ำน และเริ่มเขียนหนังสือ ขอขอบคุณเป็น

อย่ำงสูง

ขอขอบคุณ สมำคมวิศวกรที่ปรึกษำแห่งประเทศไทย 4 (วปท.) โดยควำมร่วมมือกับ กรมกำรค้ำต่ำงประเทศ

กระทรวงพำณิชย์ และศูนย์บริกำรวิชำกำรแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ที่ได้เปิดอบรมหลักสูตรกำรบริหำร

สัญญำโครงกำรก่อสร้ำงวิศวกรรมระดับสำกลของ FIDIC (Train the Trainer) หลักสูตรที่ 1, 2 และ 3

(Module 0, 1 and 4) รุ่นแรก เมื่อเดือนกุมภำพันธ์ 2558 ขอขอบคุณเป็นอย่ำงสูงมำ ณ ที่นี้

ผมขอขอบคุณชมรมนักกฎหมำยก่อสร้ำง โดยคุณกัมพล กิตติพงษ์พัฒนำ ประธำนชมรมฯ และอำจำรย์ช ำนำญ

พิเชษฐพันธ์ ที่ปรึกษำชมรมฯ ซึ่งได้กรุณำ เชิญชวนให้ผม ได้มีโอกำสน ำเสนอกำรสัมมนำ เกี่ยวกับเรื่องของ

สัญญำ หลำยครั้ง ท ำให้มีโอกำสได้ถ่ำยทอด และแลกเปลี่ยนควำมรู้ ควำมคิดเห็น เกี่ยวกับสัญญำในกำร

ก่อสร้ำง เปิดโลกทรรศน์แก่ผมเป็นอย่ำงมำก ขอขอบคุณเป็นอย่ำงสูง

ท้ายที่สุด

กรำบขอบพระคุณ พ่อ แม่ และครู อำจำรย์ พี่ ๆ เพื่อนร่วมงำนทุกท่ำน ที่มอบชีวิต ควำมรู้ ประสบกำรณ์ และ

ควำมช่วยเหลือในทุก ๆ ด้ำน กรำบขอบพระคุณมำด้วยควำมเคำรพรักยิ่ง

1

http://www.kecconsultants.com/

2

https://www.teamgroup.co.th/th/

3

https://pps.co.th/

4

http://www.ceat.or.th/2010/index.php



สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

ค าน า

ผมมีอาชีพหลักเป็นช่างเขียนแบบตั้งแต่จบ ปวช. ก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2516 แม้จบวิศวกรรมโยธาในปี พ.ศ.

2522 แล้วก็ตาม ก็ยังคงท างานเขียนแบบควบคู่ไปกับงานวิศวกรรมโยธาจนถึงปี พ.ศ. 2534 ชีวิตจึงหันเห มา

เป็นวิศวกรประมาณราคา จะเป็นช่างเขียนแบบก็ไม่ได้แล้วเพราะใช้ AutoCad ไม่เป็น จนบัดนี้ พ.ศ. 2563

แล้ว AutoCad ก็ยังคงใช้ไม่เป็นอยู่นั่นเอง

การท างานประมาณราคา จ าเป็นต้องท าควบคู่กับงานจัดท าเอกสารประกวดราคา ซึ่งประกอบด้วยงานเอกสาร

ประกวดราคา (Tender Documents) และงานจัดท าข้อก าหนด (Specifications)

งานเอกสารประกวดราคา จะประกอบด้วย ค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคา เงื่อนไขของสัญญา และแบบฟอร์ม

ต่าง ๆ ประกอบการประกวดราคา ก่อนปี 2534 แม้จะเคยได้ท ามาบ้าง แต่ก็มิได้เป็นงานหลักดังเช่นเมื่อมาเป็น

วิศวกรประมาณราคา และผู้จัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

เอกสารประกวดราคา และเงื่อนไขของสัญญา ในประเทศไทย ในงานราชการจะใช้ตัวอย่างเอกสารตาม

ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี โดยอิงตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ1 ซึ่งมีพัฒนาการมาหลาย

รูปแบบ จากแบบยื่นซองประกวดราคาธรรมดา เป็นแบบ E-Auction จวบจนปัจจุบัน แม้จะใช้วิธีการประกวด

ราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) แบบ E-bidding แล้วก็ตาม ก็ยังคงต้องยึดถือตามระเบียบของทางราชการ

ดังกล่าว ยกเว้นงานของภาคเอกชนซึ่งจะใช้วิธีการตามความรู้ ประสบการณ์ของที่ปรึกษา ผู้ออกแบบ ตามแต่

จะเห็นสมควรจากเจ้าของงาน (ผู้ว่าจ้าง) ในการนี้ก็จะมีการน าหลักการ เงื่อนไขของสัญญาสากลมาใช้ ได้แก่

เงื่อนไขของสัญญาของ FIDIC, JCT, NEC, AIA ฯลฯ ตามแต่ประสบการณ์ของที่ปรึกษา และผู้ว่าจ้าง

เห็นสมควรตามค าแนะน าของที่ปรึกษา

จากที่กล่าวข้างต้น หนังสือเล่มนี้จึงเขียนขึ้นจากประสบการณ์เป็นศูนย์ ในเรื่องของสัญญา และ EPC ของผม

ฉะนั้น ผู้อ่านจะได้รับความรู้ และประสบการณ์เริ่มจากศูนย์ โดยอาจไม่ทราบอะไรเลยเกี่ยวกับสัญญา หรือ

EPC เหมาะส าหรับผู้เริ่มต้นที่จะมาท างานหรือมีส่วนร่วมในเอกสารสัญญา การจัดท าเอกสารประกวดราคา

ตลอดจนการจัดท าข้อก าหนดในงานก่อสร้าง

1

ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ

http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER5/DRAWER092/GENERAL/DATA0000/00000400.PDF

1 | 2


ค าน า

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

หนังสือเล่มนี้จะเริ่มตั้งแต่ สัญญาคืออะไร มีความส าคัญอย่างไร สัญญาประเภทต่าง ๆ ท าไมต้องเป็น EPC การ

จัดท าเอกสาร EPC เริ่มจากเจ้าของงาน ผู้ว่าจ้างเขียน TOR เพื่อหาที่ปรึกษาจัดท าเอกสาร EPC การจัดท า

TOR และเอกสาร EPC เพื่อคัดเลือก และจัดหาผู้รับจ้างก่อสร้าง รวมถึงการจัดท าข้อก าหนดในโครงการ EPC

หนังสือเล่มนี้ ล่าช้ามาจากแผนเดิมเมื่อเดือนธันวาคม 2562 จากเหตุภารกิจงานโครงการที่ท ารับไว้หลังเกษียณ

ไม่เสร็จตามแผน แถมมีเรื่องราวมากมายที่จ าเป็นจะต้องทบทวนในงานประมาณราคาที่ท ามาหลายสิบปี ซึ่ง

หากหาทางปรับปรุงได้ ก็อาจจะมีหนังสือใหม่อีกเล่ม ฝากให้ทุกท่านได้อ่านต่อไป

โดยที่ตั้งใจจะให้เป็นหนังสือฉบับประสบการณ์ ฉะนั้นการเขียนจะใช้ภาษาง่าย ๆ เป็นกันเองมีปฏิสัมพันธ์กับ

ผู้อ่าน ไม่เน้นหนักในเชิงวิชาการให้อ่านยากมากนัก

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ ความเข้าใจในสัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับ

ประสบการณ์ (Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginners) เล่มนี้

บ้างไม่มากก็น้อย

หากมีค าแนะน า ติชม ท้วงติง โปรดให้ความเห็นได้ที่

jadenarong@outlook.com หรือ jadenarong@gmail.com ก็จะเป็นพระคุณยิ่ง

ด้วยความนับถือ

เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช

2 | 2


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

สารบัญ

เรื่อง หน้า

กิตติกรรมประกาศ

ค าน า

ภาคที่ 1 ความรู้เรื่องสัญญา ออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

1. บทน า 1

1.1 รูปแบบของสัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง: อีพีซี 2

1.2 องค์ประกอบของสัญญาอีพีซี 2

1.3 การปฏิบัติงานในสัญญาอีพีซี 2

1.4 ความแตกต่างของการบริหารสัญญา และการจัดการสัญญา (The Difference Between

Contract Administration and Contract Management) 4

1.5 ความแตกต่างของสัญญาอีพีซี และสัญญาออกแบบรวมก่อสร้าง) 5

2. สัญญา 7

2.1 สัญญาคืออะไร 7

2.2 สาระส าคัญของสัญญา 9

2.3 ลักษณะของสัญญา 9

2.4 รูปแบบของสัญญา 10

2.5 สัญญาก่อสร้าง 11

2.6 ระบบการส่งมอบโครงการ 11

2.7 วงจรชีวิตของสัญญาโครงการ 16

2.8 ประเภทของสัญญาการก่อสร้าง 17

3. การบริหารสัญญา 18

3.1 ความแตกต่างของการบริหารสัญญา และการจัดการสัญญา 18

3.2 การบริหารสัญญา 18

3.3 แนวทางปฏิบัติในการจัดท าแผนการบริหารสัญญา 18

3.4 หลักการพิจารณาแนวทางปฏิบัติในการเตรียมแผนการบริหารสัญญา 19

3.5 บทบาทโดยทั่วไปของผู้บริหารสัญญา 20

3.6 การจัดท าเอกสารประกวดราคา 21

4. การจัดการสัญญา 28

4.1 การจัดการสัญญาคืออะไร? 28

4.2 แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา 29

i | iii


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

4.3 ขั้นตอนในการปรับปรุงการจัดการสัญญา 31

4.4 กระบวนการจัดการสัญญา 31

4.5 การจัดซื้อจัดหา 41

4.6 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 41

5. การจัดการการออกแบบ 43

5.1 ความรับผิดชอบในการออกแบบ 43

5.2 พันธะทั่วไปในการออกแบบ 43

5.3 เอกสารของผู้รับจ้าง 44

5.4 ภาระหน้าที่ของผู้รับจ้าง 45

5.5 มาตรฐานทางเทคนิคและกฏระเบียบ 45

5.6 การฝึกอบรม 45

5.7 แบบและเอกสารก่อสร้างจริง 45

5.8 คู่มือการด าเนินการโครงการและการบ ารุงรักษา 46

5.9 ข้อผิดพลาดในการออกแบบ 46

5.10 การจัดการการออกแบบ 46

6. การจัดการการจัดซื้อจัดหา 50

6.1 ทั่วไป 50

6.2 ข้อก าหนดของสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดหา 50

6.3 การจัดการการจัดซื้อจัดหาของผู้รับจ้าง EPC 52

7. การจัดการการก่อสร้าง 52

7.1 ทั่วไป 52

7.2 ข้อก าหนดสัญญาเกี่ยวกับการก่อสร้าง 53

7.3 การจัดการการก่อสร้างผู้รับจ้างของ EPC 54

8. การจัดการความเสี่ยง 58

8.1 ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยง 58

8.2 วิธีการบริหารความเสี่ยง 59

8.3 การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามสัญญา 61

9. การจัดการการเรียกร้อง 65

10.การจัดการข้อพิพาท 65

บรรณานุกรม

ii | iii


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ

2-1 การประกวดราคา

2-2 คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

ภาคที่ 3 ภาคผนวก

3-1 แนวทางการจัดท าร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference - TOR)

3-2 แบบสัญญามาตรฐานภาครัฐ

3-3 EPC Template

3-4 เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

3-5 การปรับปรุง FIDIC 2017

3-6 Engineering, Procurement & Construction (EPC) EPC Construction Management Guide

3-7 คู่มือคณะกรรมการผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท (Dispute Adjudication Board Manual)

iii | iii



สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

ฉบับประสบการณ์

ภาคที่ 1

ความรู้ทั่วไป

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง



1 | บทน ำ

1. บทน ำ

กำรด ำเนินงำนส ำหรับโครงกำรก่อสร้ำง (Project Delivery System) หมายถึง วิธีการด าเนินงานส าหรับ

โครงการก่อสร้าง อีกนัยหนึ่งก็หมายถึงการส่งมอบโครงการ ด้วยวิธีการด าเนินงานแบบใด กล่าวโดยง่ายคือจะ

ด าเนินการโครงการโดยใช้สัญญาแบบใด สัญญำออกแบบ จัดหำ และก่อสร้ำง (Engineering,

procurement and construction: EPC อีพีซี) เป็นรูปแบบหนึ่งของ Project Delivery System

นอกเหนือจาก สัญญาออกแบบ ประกวดราคา และก่อสร้าง (Design-Bid-Build) ซึ่งเป็นวิธีดั้งเดิม

(Traditional Approach) สัญญาออกแบบรวมก่อสร้าง (Design & Build Approach) ระบบ "บริหารงาน

ก่อสร้าง" (Construction Management Approach) และระบบ "ก่อสร้าง-ด าเนินการ-ส่งมอบ" (Build-

Operate-Transfer)

สัญญำออกแบบ จัดหำ และก่อสร้ำง (Engineering, procurement and construction: EPC อีพีซี)

เป็นรูปแบบทั่วไปของการจัดท าสัญญาในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ภายใต้สัญญาอีพีซี ผู้รับจ้างก่อสร้างจะ

ออกแบบ จัดหาอุปกรณ์ที่จ าเป็นและก่อสร้าง หรือ ติดตั้ง ทั้งโดยตนเองหรือผู้รับจ้างช่วง ผู้รับจ้างก่อสร้างจะ

ด าเนินโครงการด้วยความเสี่ยงเอง เพื่อก าหนดค่างานเป็นงบประมาณในการก่อสร้าง ซึ่งขึ้นอยู่กับขอบเขตงาน

ที่ตกลงกัน

สัญญาอีพีซี มีชื่อเรียกอีกหลายแบบเช่น Full Turnkey หรือ Lump Sum Turn Key (LSTK) ซึ่งมีความหมาย

ว่าเมื่อส่งมอบโครงการแล้วพร้อมใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ก็ยังมี Engineering,

Procurement, Construction and Commissioning ( EPCC) แ ล ะ Engineering, Procurement,

Construction and Management (EPCM) ซึ่งรวมถึงการด าเนินการ และการจัดการหลังการก่อสร้างด้วย

หนังสือเล่มนี้จะแยกออกเป็น 3 ภาค คือ

ภาคที่ 1 ความรู้ทั่วไป

ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ

ภาคที่ 3 ภาคผนวก

ภาคที่ 1 ความรู้ทั่วไป กล่าวถึง สัญญา คืออะไร สัญญาแบบต่าง ๆ องค์ประกอบของส ญญา การบริหารสัญญา

และการจัดการสัญญา

ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ อธิบายถึงวิธีการจัดท าเอกสาร อีพีซี

และ ภาคที่ 3 ภาคผนวก เป็นตัวอย่างเอกสารอีพีซี

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2 | บทน ำ

1.1 รูปแบบของสัญญำออกแบบ จัดหำ และก่อสร้ำง: อีพีซี

สัญญำออกแบบ จัดหำ และก่อสร้ำง เป็นรูปแบบทั่วไปของการจัดท าสัญญาในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง

ภายใต้สัญญาอีพีซี ผู้รับจ้างก่อสร้างจะออกแบบ จัดหาอุปกรณ์ที่จ าเป็นและก่อสร้าง หรือ ติดตั้ง ทั้งโดยตนเอง

หรือผู้รับจ้างช่วง ผู้รับจ้างก่อสร้างจะด าเนินโครงการด้วยความเสี่ยงเอง เพื่อก าหนดค่างานเป็นงบประมาณใน

การก่อสร้าง ซึ่งขึ้นอยู่กับขอบเขตงานที่ตกลงกัน

สัญญำอีพีซี มีชื่อเรียกอีกหลายแบบเช่น Full Turnkey หรือ Lump Sum Turn Key (LSTK) ซึ่งมีความหมาย

ว่าเมื่อส่งมอบโครงการแล้วพร้อมใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ก็ยังมี Engineering,

Procurement, Construction and Commissioning ( EPCC) แ ล ะ Engineering, Procurement,

Construction and Management (EPCM) ซึ่งรวมถึงการด าเนินการ และการจัดการหลังการก่อสร้างด้วย

1.2 องค์ประกอบของสัญญำอีพีซี

1.2.1 งำนออกแบบ (Engineering) ประกอบด้วย

• การออกแบบรายละเอียด (Detailed engineering and design);

• การวางแผนงานก่อสร้าง (Programming and scheduling works);

• การประมาณราคา (Cost estimating for all areas of the project)

1.2.2 งำนจัดหำ (Procurement) ประกอบด้วย

• การประกวดราคา (Tenders / quoting for all sub-packages of works involved);

• การจัดซื้อ จัดหา ท าสัญญาจ้าง (Purchasing, receipting and invoicing of goods);

• การจัดหาผู้รับจ้างช่วงที่มีศักยภาพ และเหมาะสม (Potential coordination of any sub-contracts

involved for services)

1.2.3 งำนก่อสร้ำง (Construction) ประกอบด้วย

• ด าเนินงานก่อสร้างตามแผนงาน Adherence to construction schedule;

• ก่อสร้างอย่างมีประสิทธิภาพ (Performance (directly or through sub-contractors) of all

construction activities);

• ทดสอบการท างานทั้งระบบ เพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าการท างานของทั้งระบบพร้อมกันถูกต้องตามที่ก าหนด

ไว้ในเอกสารสัญญา (Commissioning and finalisation of project);

• ปิดโครงการ (Closure of project)

1.3 กำรปฏิบัติงำนในสัญญำอีพีซี

• เข้าใจ และมีความรู้ในแต่ละองค์ประกอบ และกระบวนการของงาน (KNOW each Engineering discipline

and the overall process)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3 | บทน ำ

• เข้าใจและตระหนักในแผนงานวิกฤต แง่มุมที่ส าคัญ (UNDERSTAND the critical aspects)

• ด าเนินการโครงการอย่างมีปะสิทธิภาพ (IMPLEMENT powerful methods)

1.3.1 สำระส ำคัญในสัญญำอีพีซี

• บุคคลากรหลักของผู้ว่าจ้างคือ ตัวแทนของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Representative)

• จะไม่มีข้อเรียกร้องส าหรับปัญหาที่คาดไม่ถึง ยกเว้นเหตุสุดวิสัย (No Unforeseeable difficulties)

• จะต้องตรวจสอบ / ตีความข้อมูลของผู้ว่าจ้างเอง (Verification/ interpretation of Employer data incl.

sub-surface, hydrological and Employer Requirements)

• ผู้รับจ้างจะเป็นผู้ด าเนินการออกแบบ (General design obligations, design error)

• จะไม่มีการขยายเวลาในเรื่องดังต่อไปนี้ (No extension of Time for Completion for:

* เงื่อนไขต่าง ๆ ของสภาพภูมิอากาศ ยกเว้นเหตุสุดวิสัย (Exceptionally adverse climatic

conditions except FM)

* การขาดแคลนแรงงานและวัสดุต่าง ๆ (Unforeseeable shortages in personnel or goods by

epidemic or government actions)

* ข้อผิดพลาดของข้อก าหนดวัตถุประสงค์ความต้องการของผู้ว่าจ้าง (Errors in Employer’s

Requirements)

* สภาพการณ์ที่มอาจคาดเดาได้จากสภาพทางกายภาพ (Unforeseeable Physical Conditions)

1.3.2 สำระส ำคัญเกี่ยวกับผู้ว่ำจ้ำง:

ผู้ว่าจ้างไม่ต้องรับความเสี่ยงในเรื่องดังต่อไปนี้

• การใช้งานโดยผู้ว่าจ้าง

• การออกแบบงานโดยบุคลากรของผู้ว่าจ้าง

• เหตุการณ์ที่คาดไม่ถึงเกี่ยวกับธรรมชาติ

• ผู้รับจ้างรับผิดชอบทั้งหมดในการออกแบบ และประสานงานการออกแบบ รวมถึงการออกแบบโดยผู้ว่าจ้าง

• ผู้รับจ้างรับความเสี่ยงทั้งหมดในสภาพทางธรณีวิทยา

• ผู้ว่าจ้างไม่ต้องรับความเสี่ยงในเรื่องดังต่อไปนี้

* ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์เต็มที่ในโครงการ

* ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์เปลี่ยนแปลงขอบเขตงาน

* จ ากัดการเรียกร้องของผู้รับจ้างในเรื่องของเวลา และค่าใช้จ่าย

* ผู้รับจ้างจะก าหนดราคาความเสี่ยงเหล่านี้ และด าเนินการตรวจสอบรายละเอียดของโครงการ (ขั้นตอน

ในการประกวดราคาจึงใช้เวลานานกว่าสัญญาแบบอื่น)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


4 | บทน ำ

1.4 ควำมแตกต่ำงของกำรบริหำรสัญญำ และกำรจัดกำรสัญญำ (The Difference Between Contract

Administration and Contract Management)

กำรบริหำรสัญญำและกำรจัดกำรสัญญำจะมีควำมแตกต่ำงกันในช่วงของเวลำของสัญญำ ระหว่ำงกำร

จัดเตรียมสัญญำและกำรลงนำมในสัญญำขั้นสุดท้ำย

การบริหารสัญญาจะเป็นกระบวนการจัดเตรียมสัญญา ข้อตกลง ซึ่งมีความซับซ้อนและมีความเสี่ยง ผู้จัดการ

โครงการและผู้จัดท าสัญญาจะต้องมีความเข้าใจกระบวนการเหล่านี้เป็นอย่างดี ส่วนการจัดการสัญญาจะเป็น

กระบวนการหลังจากมีการลงนามในสัญญาแล้ว และเป็นการจัดการให้ทุกอย่างเป็นไปตามสัญญาที่ได้ตกลงกัน

ระหว่างคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย

1.4.1 กำรบริหำรสัญญำ: เป็นงำนจัดเตรียมเอกสำรสัญญำก่อนกำรลงนำม

สัญญาเป็นข้อตกลงที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างสองฝ่ายขึ้นไป การบริหารสัญญามุ่งเน้นไปที่สิ่งที่เกิดขึ้น

ก่อนลงนามในสัญญา ผู้จัดท าสัญญาจะต้องควบคุมในวิธีการจัดเตรียม วิเคราะห์ และข้อเจรจาในสัญญา และ

จะมุ่งเน้นไปที่การวางแผนและการปฏิบัติตามสัญญา โดยอาจขอข้อเสนอ (Request for Proposal: RFP) จาก

ผู้ขาย/ผู้ให้บริการ/ผู้รับจ้างที่มีศักยภาพ และเชิญให้เสนอราคา (อาจมีการจัดท าการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้น

Prequalification ก่อน) เมื่อเลือกผู้ขาย/ผู้ให้บริการแล้ว ผู้จัดท าสัญญาจะเห็นภาพรวม และสามารถสรุป

รายละเอียดในสัญญาเป็นข้อตกลงที่มีความเป็นธรรม

1) เอกสารการประกวดราคาสัญญาอีพีซี

• ประกาศเรียกประกวดราคา

• รายละเอียดการยื่นข้อเสนอ (Request for Proposal: RFP) / รายละเอียดขอบเขตงาน (Terms of

Reference)

• ค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคา

• เงื่อนไขของสัญญา

• ตัวอย่างข้อตกลง/สัญญา

• แบบฟอร์มประกอบการยื่นเสนอ

• เอกสารวัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Requirements) เป็นเอกสารที่ระบุ

วัตถุประสงค์ ตามความต้องการของผู้ว่าจ้างตามที่ระบุไว้ในสัญญาและรวมถึงการเพิ่มเติมและการ

ปรับเปลี่ยนเอกสารดังกล่าวตามสัญญา

เอกสารดังกล่าวจะระบุวัตถุประสงค์ขอบเขต และ/หรือการออกแบบ และ/หรือเกณฑ์ทางเทคนิคอื่น ๆ

ส าหรับงาน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


5 | บทน ำ

2) ข้อดี ของสัญญาอีพีซี

• ระยะเวลาก่อนการก่อสร้างในช่วงประกวดราคาสั้นกว่าวิธีอื่น

• สะดวกในการวางแผน และการด าเนินงานโครงการโดยรวม ปัญหาระหว่างการออกแบบและการก่อสร้าง

สามารถแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความขัดแย้งระหว่างกัน

• ขอบเขตการท างานและความรับผิดชอบชัดเจน โดยความรับผิดชอบและความเสี่ยงในช่วงระยะเวลาการ

ก่อสร้างเป็นของผู้รับจ้าง

• ราคารวม และระยะเวลาก่อสร้าง แน่นอนและชัดเจน

• ผู้ว่าจ้างเป็นอิสระจากการบริหารโครงการทั่วไป และสามารถบริหารจัดการในเรื่องที่มีความส าคัญกว่า

3) ข้อด้อย ของสัญญาอีพีซี

• ผู้ว่าจ้างมีส่วนร่วม และโอกาสการควบคุมงานในโครงการน้อย

• เนื่องจากความเสี่ยงทั้งหมดถูกโอนให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง ฉะนั้นการคัดเลือกผู้รับจ้างจึง

ต้องให้ความส าคัญเป็นพิเศษ

• โดยที่ความรับผิดชอบและความเสี่ยงในช่วงระยะเวลาการก่อสร้างเป็นของผู้รับจ้าง ฉะนั้นราคาโครงการ

จะสูงเนื่องจากครอบคลุมเรื่องความเสี่ยง

• ผู้ว่าจ้างที่คุ้นเคยกับการก่อสร้างด้วยวิธีดั้งเดิมแบบอื่นอาจประสบปัญหาในด้านความเข้าใจในวิธีการของ

สัญญาอีพีซี

1.4.2 กำรจัดกำรสัญญำ (Contract Management): งำนภำยหลังจำกกำรลงนำมในสัญญำแล้ว

การจัดการสัญญาเกิดขึ้นหลังจากสัญญามีผลบังคับใช้ โดยจะต้องมั่นใจว่าข้อก าหนดและเงื่อนไขที่มีอยู่ใน

สัญญานั้นสามารถปฏิบัติตามได้ และคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายพอใจในภาระข้อผูกพันตามสัญญาทั้งหมด

เช่นเดียวกับการจัดการที่จ าเป็นส าหรับการด าเนินงานด้านอื่น ๆ ของ คู่สัญญาอย่างเหมาะสม

แต่โดยทั่วไป เรามักได้ยินโดยรวมว่า กำรบริหำรจัดกำรสัญญำ (Contract Administration and

Contract Management)

1.5 ควำมแตกต่ำงของสัญญำอีพีซี และสัญญำออกแบบรวมก่อสร้ำง

• สัญญาทั้ง 2 แบบจะออกแบบโดยผู้รับจ้าง

• การปิดโครงการ สัญญาอีพีซี จะส่งมอบโครงการทั้งหมด พร้อมใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะที่

สัญญาออกแบบรวมก่อสร้างจะมีการตรวจรับงานเช่นเดียวกับสัญญาก่อสร้างทั่วไป ด้วยการตรวจสอบ

งานในแต่ละจุดหาความบกพร่อง

• สัญญาอีพีซี มักส่งมอบงานให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าข้อก าหนด ขณะที่สัญญาออกแบบรวมก่อสร้างจะส่ง

มอบงานที่มีมาตรฐานตามข้อก าหนดขั้นต ่าสุด

• สัญญาอีพีซี เจ้าของงานจะมีส่วนร่วมในโครงการน้อยที่สุด

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


6 | บทน ำ

• สัญญาอีพีซี ผู้รับจ้างจะรับความเสี่ยงทั้งหมด ขณะที่สัญญาออกแบบรวมก่อสร้างยังคงมีการกระจาย

ความเสี่ยงระหว่างผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้าง ตัวอย่างเช่นสภาพของภูมิประเทศที่มิอาจคาดการณ์ได้ ผู้รับจ้าง

อาจสามารถเรียกร้องขอขยายระยะเวลา และค่าใช้จ่ายเพิ่มได้ เป็นต้น

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2. สัญญา (Contract)

7 | สัญญา

2.1 สัญญาคืออะไร

ประเด็น: ไม่ต้องท ำเป็นหนังสือ ไม่ต้องมีหลักฐำนเป็นหนังสือ ??? (Gentlemen, Verbal Agreement,

สัญญำปำกเปล่ำ)

รูปแบบของสัญญำที่ท ำเป็นหนังสือ (สัญญำเดี่ยวที่ไม่ได้แยกเป็นส่วน ๆ และ สัญญำที่แยก

เป็นส่วน ๆ)

สัญญา หมำยถึง ข้อตกลงระหว่ำงบุคคลสองฝ่ำย (หรือหลำยฝ่ำย) ว่ำจะกระท ำกำรหรืองดเว้นกระท ำกำรอย่ำง

ใดอย่ำงหนึ่ง สัญญำมักจะเป็นรูปแบบเอกสำรลำยลักษณ์อักษร ซึ่งระบุเงื่อนไขและข้อตกลงต่ำง ๆ ลงท้ำยด้วย

ลำยมือชื่อของทั้งสองฝ่ำย และอำจมีของพยำนด้วยก็ได้

สัญญำก่อสร้ำง ถือว่ำเป็นสัญญำจ้ำงท ำของ ในประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์มิได้บังคับให้ต้องท ำเป็น

หนังสือ ดังนั้นกำรฟ้องร้องกันจึงไม่จ ำเป็นต้องมีสัญญำเป็นเอกสำรหรือเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องกันได้

ดังได้กล่ำวแล้วว่ำ กำรท ำสัญญำจ้ำงท ำของไม่จ ำเป็นที่จะต้องมีรูปแบบหรือแบบฟอร์มใดๆ 1 และบำงครั้งก็ไม่

จ ำเป็นที่จะต้องท ำเป็นลำยลักษณ์อักษรและลงชื่อรับรอง สัญญำสำมำรถท ำด้วยปำกเปล่ำ หรือสำมำรถเกิดขึ้น

ได้ในระหว่ำง กำรสนทนำ และสัญญำเหล่ำนี้ก็เป็นสัญญำที่มีผลบังคับใช้ด้วย

อีกประกำรหนึ่ง สัญญำ (หรือกำรรับข้อตกลงระหว่ำงกัน) ก็เกิดขึ้นได้ แม้ว่ำจะไม่ได้มีกำรยื่นข้อเสนอ ข้อตกลง

อย่ำงชัดเจน แต่อำจเป็นด้วยอำกำรอำกัปกิริยำหรือกำรกระท ำ ที่อำจแสดงให้เห็นเจตจ ำนงค์ สัญญำที่เกิดขึ้น

ในลักษณะนี้ ตัวอย่ำงเช่น กำรขึ้นรถประจ ำทำง กำรขำยของในร้ำน กำรบริกำรในร้ำนอำหำร เป็นต้น โดยต่ำง

ฝ่ำยต่ำงมีพันธะผูกพันต่อกัน

แต่บำงครั้งสัญญำก็จ ำเป็นต้องจัดท ำเป็นลำยลักษณ์อักษร และมีรูปแบบฟอร์มตำมกฎหมำยก ำหนดจึงจะมีผล

อันได้แก่ กำรท ำสัญญำซื้อขำยที่ดิน กำรโอนมอบกรรมสิทธิกำรถือหุ้น ซึ่งต้องกระท ำต่อหน้ำทนำย รวมทั้ง

ทนำยต้องลงนำมรับรอง

สัญญำอีกประเภทหนึ่งที่จะต้องท ำเป็นลำยลักษณ์อักษรเสมอ คือ สัญญาการจ้างงาน ที่มีกำรก ำหนด

ระยะเวลาการจ้าง

1

https://www.n-t-overseas.de/newsreader-pataya/46.html

ข้อมูลจำก wikipedia offline http://www.verbraucher.de

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


8 | สัญญา

ส ำหรับงำนก่อสร้ำงนั้นเป็นงำนที่ซับซ้อนและมีผู้เกี่ยวข้องจ ำนวนมำกจึงควรจ ำเป็นที่จะต้องมีกำรตกลงไว้ให้

ชัดเจนและเป็นลำยลักษณ์อักษรไว้ เพื่อในกรณีที่เกิดปัญหำข้อเรียกร้องหรือข้อขัดแย้งที่มีระหว่ำงคู่สัญญำจะ

ได้มำดูกันได้ว่ำ ตกลงกันไว้แล้วว่ำอย่ำงไร

โดยสรุป สัญญำ เป็นข้อตกลงที่ผู้ที่ท ำกำรตกลงจะต้องมีพันธะผูกพัน ต้องกระท ำตำมข้อตกลงที่ได้ตกลงไว้ แต่

ก็มีข้อยกเว้นไว้ว่ำ พันธะผูกพันโดยสัญญำอำจจะยกเลิกได้ หำกว่ำคู่สัญญำได้ตกลงที่จะให้ยกเลิกได้ ซึ่งในที่นี้ก็

มักจะเป็นในกรณีที่ คู่สัญญำมำท ำสัญญำยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงเนื้อหำสัญญำนั่นเอง หรือในอีกกรณีหนึ่งก็

คือ เมื่อกฎหมำยก ำหนดว่ำ ฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ำยสำมำรถที่จะยกเลิกได้

สัญญำ มีหลำกหลำยแง่มุม ในเชิงสังคม สัญญำเป็นตัวประสำน ก ำหนดและจัดกำรพฤติกรรมทำงสังคม โดย

ผ่ำนกำรที่แต่ละคนหรือแต่ละฝ่ำยมีพันธหน้ำที่ต่อกันและกัน สัญญำในควำมหมำยนี้ก็คือ กำรที่ฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด

จะสัญญำกับอีกฝ่ำยหนึ่งว่ำ จะท ำหรือไม่ท ำอะไรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง โดยที่อีกฝ่ำยหนึ่งก็จะต้องท ำหรือไม่ท ำ

อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเป็นกำรตอบแทนเช่นกัน ซึ่งในที่นี้จะต้องเป็นไปโดยควำมสมัครใจ และด้วยประกำรละฉะนี้

ควำมสัมพันธ์ที่จะเกิดขึ้นระหว่ำงทั้งสองฝ่ำยจึงเป็นสิ่งที่สำมำรถคำดกำรณ์ได้

ในเชิงกฎหมำย สัญญำ ก็จะมีควำมหมำยคล้ำยกัน ซึ่งก็คือข้อตกลง หรือเจตจ ำนงค์ของอย่ำงน้อยตั้งแต่สอง

ฝ่ำยขึ้นไป (อำจเป็นหลำยฝ่ำยก็ได้) ที่มีร่วมกัน ที่จะกระท ำหรือไม่กระท ำอะไรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ซึ่งจะมีพันธะ

ผูกพันต่อกันทำงกฎหมำย หรือเป็นข้อตกลงที่อำจให้มีกำรเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขบังคับทำงกฎหมำยบำงอย่ำง

เช่น กำรท ำสัญญำคู่สมรส ที่จะไม่ให้น ำกฎระเบียบข้อหนึ่งๆข้อใดมำใช้ หรือขอยกเลิก เป็นต้น

สัญญำจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งเป็นฝ่ำยเริ่มยื่นข้อเสนอ ซึ่งก็หมำยถึงว่ำ มีควำมต้องกำรจะตกลง

เรื่องอะไรกัน หรือมีอะไรมำเสนอ และข้อเสนอนี้ก็จะต้องมีรำยละเอียดเพียงพอ รวมทั้งมีข้ออธิบำยชัดเจนถึง

ข้อกฎหมำยที่จะน ำมำมีผลบังคับ เพื่อที่อีกฝ่ำยหนึ่งซึ่งจะเป็นผู้รับข้อเสนอ สำมำรถเข้ำใจและตอบรับได้ แต่

อย่ำงไรก็ตำม ฝ่ำยผู้รับข้อเสนอก็สำมำรถที่จะต่อรองในส่วนของตนเองได้ ล ำดับขั้นตอนก็อำจเป็นดังนี้

ฝ่ายหนึ่งเสนอข้อตกลงที่ต้องการ

อีกฝ่ายหนึ่งพิจารณาไต่ตรอง

ชั่งน ้าหนักความเหมาะสม

ยื่นเงื่อนไขต่อรอง

มองหาจุดประสานหรือเงื่อนไขที่รับได้ทั้งสองฝ่าย

ตกลงกระท าเป็นข้อสัญญาระหว่างกัน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


9 | สัญญา

สัญญำเป็นข้อตกลงที่มีผลผูกพันทำงกฎหมำยระหว่ำงสองฝ่ำยขึ้นไป กำรบริหำรสัญญำมุ่งเน้นไปที่สิ่งที่เกิดขึ้น

ก่อนลงนำมในสัญญำ ผู้จัดท ำสัญญำจะต้องควบคุมในวิธีกำรจัดเตรียม วิเครำะห์ และข้อเจรจำในสัญญำ และ

จะมุ่งเน้นไปที่กำรวำงแผนและกำรปฏิบัติตำมสัญญำ โดยอำจขอข้อเสนอ (Request for Proposal: RFP)

จำกผู้ขำย/ผู้ให้บริกำรที่มีศักยภำพ และเชิญให้เสนอรำคำ (อำจมีกำรจัดท ำกำรคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้น

Prequalification ก่อน) เมื่อเลือกผู้ขำย/ผู้ให้บริกำรแล้ว ผู้จัดท ำสัญญำจะเห็นภำพรวม และสำมำรถสรุป

รำยละเอียดในสัญญำเป็นข้อคกลงที่มีควำมเป็นธรรม

2.2 สาระส าคัญของสัญญา

สัญญา คือ นิติกรรมซึ่งมีคู่กรณีตั้งแต่สองฝ่ำยขึ้นไปแสดงเจตนำตรงกันเพื่อก่อให้เกิดสิทธิหน้ำที่ระหว่ำงกันโดย

ที่คู่กรณีฝ่ำยหนึ่งเป็นผู้ที่จัดท ำค ำเสนอและคู่กรณีฝ่ำยหนึ่งได้ท ำค ำเสนอของรับตรงกันสัญญำมีสำระส ำคัญดังนี้

2.2.1 มีคู่สัญญา

สัญญำต้องมีคู่กรณีทั้งตั้งแต่ 2 ฝ่ำยขึ้นไปซึ่งแต่ละฝ่ำยจะมีจ ำนวนเท่ำใดก็ได้

2.2.2 มีค าเสนอค าสนองสอดคล้องต้องกัน

ฝ่ำยหนึ่งแสดงเจตนำออกมำในรูปของข้อเสมอ และมีอีกฝ่ำยหนึ่งแสดงเจตนำออกมำตกลงตำมค ำเสนอ

ค ำสนอง โดยที่ค ำเสนอและค ำสนองนั้นต้องตรงกัน หำกค ำเสนอและค ำสนองนั้นไม่ตรงกัน ก็ไม่ถือเป็นสัญญำ

2.2.3 มีวัตถุประสงค์

กล่ำวคือมีประโยชน์ที่จะได้รับเกิดขึ้นจำกสัญญำซึ่งอำจเป็นทรัพย์สินอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งกำรกระท ำหรือ

กำรงดเว้นกระท ำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งก็ได้

2.3 ลักษณะของสัญญา

2.3.1 องคประกอบที่เปนสัญญา

สัญญำตองมีองคประกอบที่มีสำระส ำคัญดังตอไปนี้

1. ตองมีบุคคลเปนคูสัญญำตั้งแตสองฝำยขึ้นไป บุคคลคนเดียวหรือหลำยคนที่ แสดงเจตนำฝำยเดียวไม

อำจเปนสัญญำได โดยบุคคลที่เปนคูสัญญำดังกลำวอำจเปนบุคคลธรรมดำ หรือนิติบุคคลก็ได แตคูสัญญำดังกล

ำวนั้นจะตองมีควำมสำมำรถในกำรใชสิทธิตำมกฎหมำย ไมเปน ผูเยำว คนที่ถูกศำลสั่งใหเปนคนไร

ควำมสำมำรถ ในกรณีคูสัญญำที่เปนนิติบุคคลตองท ำสัญญำโดย ฝำยผูแทนของนิติบุคคลที่มีอ ำนำจกระท ำตำม

กฎหมำย และอยูภำยในกรอบวัตถุประสงคที่ก ำหนดไว ในตรำสำรจัดตั้งนิติบุคคล อำทิเชน หนังสือบริคณห

สนธิ

2. ตองมีกำรแสดงเจตนำเปนค ำเสนอค ำสนองถูกตองตรงกัน นิติกรรมฝำยเดียว บุคคลแสดงเจตนำฝ

ำยเดียวก็ส ำเร็จเปนนิติกรรม แตในกรณีสัญญำนั้นเกิดขึ้นโดยกำรแสดงเจตนำของ บุคคลตั้งแตสองฝำยขึ้นไป

ซึ่งค ำเสนอและค ำสนองถูกตองตรงกันจึงจะเปนสัญญำ สวนปญหำเมื่อไรที่ จะถือวำค ำเสนอค ำสนองตรงกันจะ

กลำวในโอกำสตอไป

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


10 | สัญญา

3. ตองมีวัตถุประสงค วัตถุประสงคดังกลำวยอมหมำยถึง เปำหมำยหรือประโยชนสุดทำยที่ไดจำกกำร

ท ำสัญญำ สัญญำทุกประเภทยอมจะตองมีวัตถุประสงค ซึ่งอำจมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เชน สัญญำซื้อขำย

หรือสัญญำเชำ หรืออำจจะเปนวัตถุประสงคโดยปริยำยซึ่งอำจแปรเปลี่ยน 2 ไปตำมสัญญำ แตอยำงไรก็ตำม

วัตถุประสงคนั้นตองไมขัดตอกฎหมำย ไมพนวิสัย ไมขัดตอควำมสงบ เรียบรอย ศีลธรรมอันดีของประชำชน

4. แบบหรือ วิธีกำรในกำรแสดงเจตนำ อำจเปนวิธีใดก็ไดซึ่งอำจกระท ำโดยกิริยำ อำกำร หรือ ท ำเป็น

ลำยลักษณอักษร หรือโดยกำรสันนิษฐำนวำเปนกำรแสดงเจตนำแลว ยกเวนแตวำ กรณีดังกลำวกฎหมำย

บังคับใหท ำตำมแบบสัญญำก็ตองท ำตำมแบบ มิฉะนั้นสัญญำยอมตกเปนโมฆะ เชน สัญญำเชำซื้อ หรือกำรซื้อ

ขำยอสังหำริมทรัพย

นอกจำกองคประกอบดังกลำวแลว องคประกอบอื่นที่คูสัญญำจะตองมำพึงพิจำรณำ ประกอบก็คือ

เงื่อนไข เงื่อนเวลำ มัดจ ำ เบี้ยปรับ หรือเหตุสุดวิสัย ซึ่งจะมีผลใหสภำพของสัญญำมี สภำพบังคับที่แตกต่ำงจำก

กัน

2.4 รูปแบบของสัญญา

รูปแบบของสัญญำจ้ำงก่อสร้ำงที่เป็นมำตรฐำนมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ

1. สัญญำเดี่ยว

2. สัญญำแบ่งส่วน

รูปแบบสัญญาเดี่ยว จะเขียนสัญญำตั้งแต่ต้นจนจบตลอดเรื่อยไป ไม่มีกำรแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ขึ้นต้นตั้งแต่

สัญญำฉบับนี้ท ำขึ้นที่ไหน เมื่อใด ท ำอะไร เป็นเงินเท่ำใด จนจบที่ผู้ลงนำมในสัญญำ ตัวอย่ำงของสัญญำแบบนี้

ได้แก่สัญญำของทำงรำชกำร สำมำรถดูตัวอย่ำงได้ในภำคที่ 3 ภำคผนวก

สัญญาแบบแบ่งเป็นส่วน จะแบ่งออกเป็นส่วนหลัก ๆ ดังนี้

ส่วนแรก คือ ข้อตกลง (Contract Agreement)

ส่วนที่สอง คือ เงื่อนไขทั่วไป (General Conditions of Contract)

ส่วนที่สำม คือ เงื่อนไขเฉพำะ (Particular Conditions of Contract)

ส่วนที่สี่ ข้อมูลของสัญญำ (Contract Data)

ส่วนที่ห้ำ บัญชีรำยกำรเอกสำรที่ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญำ

สัญญำแบบนี้ได้แก่สัญญำที่ใช้กันเป็นสำกล เช่นสัญญำของ FIDIC, AIA, JCT etc.

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


11 | สัญญา

2.5 สัญญาก่อสร้าง

สัญญาการก่อสร้าง 2 หมำยถึง ควำมตกลงร่วมกันระหว่ำงสองฝ่ำยโดยฝ่ำยหนึ่งสัญญำว่ำจะจัดหำบริกำรวัสดุ

และทรัพยำกรที่จำเป็นเพื่อสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งตำมที่ก ำหนด และอีกฝ่ำยหนึ่งสัญญำว่ำจะจ่ำย

ค่ำตอบแทนให้ตำมที่ได้ด ำเนินกำร ดังกล่ำวแล้วเสร็จ

สัญญำกำรก่อสร้ำงที่จะมีผลบังคับใช้ตำมกฎหมำยได้จะต้องประกอบด้วยหลักกำรพื้นฐำนเบื้องต้นที่ส ำคัญของ

กำรท ำสัญญำ ที่ส ำคัญก็คือคู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยจะต้องเป็นผู้ที่กฎหมำยให้กำรรับรองว่ำสำมำรถท ำสัญญำ

(Legal Capacity to Sign the Contract) แทนบริษัทของแต่ละฝ่ำยได้ สัญญำที่ดีจะต้องมีเนื้อหำเด่นชัด

สำมำรถปฏิบัติได้ และมีควำมเป็นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ำย

2.6 ระบบการส่งมอบโครงการ (Project Delivery Systems)

สมำคมวิศกรโยธำของอเมริกำ (American Society of Civil Engineers: ASCE) ได้อธิบำยถึงระบบกำรจัดส่ง

โครงกำร ว่ำด้วยวิธีกำรจัดระเบียบผู้มีส่วนร่วมในโครงกำร เป้ำหมำยและวัตถุประสงค์ เพื่อน ำไปสู่ควำมส ำเร็จ

ของโครงกำร โดยมีลักษณะพื้นฐำนในกำรจัดกำรดังนี้

(ก) กำรพิจำรณำข้อขัดแย้งของสัญญำโครงกำรก่อสร้ำงสำกลจะถูกจ ำกัดโดยกฎหมำยและข้อก ำหนดต่ำงๆ ใน

แต่ละประเทศ

(ข) ปัจจัยผลกระทบต่ำง ๆ และควำมเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น

จะได้รับผลกระทบจำกเหตุผลทำงเศรษฐกิจ และกำรเมืองมำกขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นในโครงกำรระหว่ำงประเทศ

คู่สัญญำไม่เพียงแต่ให้ควำมส ำคัญกับโครงกำรเท่ำนั้น แต่จ ำเป็นต้องให้ควำมสนใจกับประเทศเจ้ำบ้ำนและ

ประเทศใกล้เคียงพร้อมกับสถำนกำรณ์ของโลก

(ค) ติดตำมข้อรำยกำรข้อสัญญำระหว่ำงประเทศอย่ำงละเอียด

โครงกำรก่อสร้ำงระหว่ำงประเทศจ ำเป็นต้องปฏิบัติตำมแนวสำกล และเกณฑ์ข้อก ำหนด เพื่อที่จะด ำเนินกำรได้

อย่ำงรำบรื่น เจ้ำของโครงกำรจ ำเป็นต้องใส่ใจในคุณภำพและพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงำนเช่นกัน

ในโครงกำรก่อสร้ำงสำกล สำมำรถแบ่งกำรจัดส่งมอบโครงกำรได้เป็นแบบต่ำง ๆ ดังต่อไปนี้

(1) สัญญำออกแบบ ประกวดรำคำ และก่อสร้ำง (Design-Bid-Build: DBB)

(2) สัญญำจัดกำรงำนก่อสร้ำง (Management-Contracting-Approach: MCA)

(3) สัญญำออกแบบ จัดหำ และก่อสร้ำง (Engineering-Procurement-Construction: EPC)

(4) สัญญำก่อสร้ำง ด ำเนินกำร และส่งมอบ (Build-Operate-Transfer:BOT)

1) สัญญาออกแบบ - ประกวดราคา – ก่อสร้าง

ระบบนี้มีกำรใช้กันมำนำนในประเทศต่ำง ๆ และได้รับกำรพัฒนำเป็นอย่ำงดี ดังนั้นมันจึงถูกเรียกว่ำวิธีกำรแบบ

ดั้งเดิม ในขณะเดียวกันโครงกำรก็อำจแบ่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ (Fragmented Approach) ได้เช่นกัน

2

วิวัฒน์ แสงเทียน, มนูญ นิจโภค, วิฑูรย์ เจียสกุล, การจัดการงานก่อสร้าง , สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์,กรุงเทพ, 2527. 150 หน้า

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


12 | สัญญา

รูปที่ 2.6-1 สัญญาออกแบบ - ประกวดราคา – ก่อสร้าง

ลักษณะเด่นของ DBB คือขั้นตอนกำรก่อสร้ำงโครงกำร จะต้องท ำตำมล ำดับของกำรออกแบบ - ประกวดรำคำ

– ก่อสร้ำง กำรด ำเนินงำนจะต้องกระท ำกำรตำมขั้นตอน เมื่อกระบวนกำรหนึ่งเสร็จสิ้น จึงจะด ำเนินกำรใน

ขั้นตอนต่อไปได้

ข้อดี

มีกำรแบ่งควำมรับผิดชอบอย่ำงชัดเจนของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ออกแบบ/สถำปนิก/วิศวกร และผุ้รับจ้ำงก่อสร้ำง

ข้อเสีย

กระบวนกำรนี้จะเป็นแบบเส้นตรงและใช้เวลำนำน กำรประสำนงำนระหว่ำงฝ่ำยต่ำง ๆ มีควำมยุ่งยำกและ

ซับซ้อน ค่ำใช้จ่ำยลงทุนในเบื้องต้นจะสูง

2) สัญญาบริหารจัดการ (Management Contracting Approach: MCA)

ผู้รับจัดกำรโครงกำรไม่ได้ท ำหน้ำที่ก่อสร้ำง แต่จะท ำหน้ำที่จัดกำรองค์กร ผู้ว่ำจ้ำงเลือกระบบนี้เนื่องจำก

(ก) โครงกำรมีขนำดใหญ่

(ข) องค์กรมีควำมซับซ้อน มีกำรประสำนงำนหลำยประเภทระหว่ำงผู้รับจ้ำงที่แตกต่ำงกัน

(ค) เจ้ำของโครงกำรไม่มีประสบกำรณ์ หรือควำมสำมำรถในกำรจัดกำรองค์กร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


13 | สัญญา

รูปที่ 2.6-2 สัญญาบริหารจัดการ

ข้อดี

(ก) ผู้รับจ้ำงท ำหน้ำที่บริหำรทั้งองค์กรในลักษณะเป็นทีมงำนซึ่งเป็นประโยชน์แก่เจ้ำของโครงกำร

(ข) สะดวกในกำรเปลี่ยนแปลงจัดกำรองค์กรให้เข้ำกับโครงกำร

(ค) มีกำรประสำนงำนที่ดีระหว่ำงงำนวิศวกรรมและกำรจัดกำร

ข้อเสีย

(ก) มีค่ำใช้จ่ำยเพิ่มมำกขึ้นในกำรจัดกำร

(ข) อำจมีควำมคิดเห็นที่แตกต่ำงระหว่ำงผู้รับจ้ำงจัดกำรและฝ่ำยวิศวกรรม ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกำร

ประสำนงำนของโครงกำร

3) สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง (Engineering – Procurement – Construction: EPC)

สัญญา EPC เป็นรูปแบบทั่วไปของกำรจัดท ำสัญญำในอุตสำหกรรมกำรก่อสร้ำง ภำยใต้สัญญำอีพีซี ผู้รับจ้ำง

จะออกแบบ จัดหำอุปกรณ์ที่จ ำเป็นและก่อสร้ำง หรือ ติดตั้ง ทั้งโดยตนเองหรือ ผู้รับจ้ำงช่วง ผู้รับจ้ำงจะด ำเนิน

โครงกำรด้วยควำมเสี่ยงเอง เพื่อก ำหนดค่ำงำนเป็นงบประมำณในกำรก่อสร้ำง ซึ่งขึ้นอยู่กับขอบเขตงำนที่ตกลง

กัน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


14 | สัญญา

รูปที่ 2.6-3 สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

ข้อดี

(ก) ควำมรับผิดชอบประเภทของงำนสำมำรถแบ่งได้อย่ำงชัดเจนจำกผู้มีหน้ำที่ในแต่ละด้ำน

(ข) สำมำรถท ำให้แผนงำนกระชับ สั้นลงได้ จำกกำรรวมขั้นตอนกำรออกแบบ จัดซื้อ จัดหำ และก่อสร้ำง ไว้ใน

สัญญำเดียว

(ค) ลดควำมยุ่งยำกจำกกำรจัดกำรงำนหลำยอย่ำง

(ง) เจ้ำของโครงกำรทรำบรำคำทั้งหมดของโครงกำร

ข้อเสีย

(ก) เนื่องจำกกำรเสนอรำคำเกิดขึ้นก่อนงำนออกแบบทำงด้ำนวิศวกรรมจะเสร็จสมบูรณ์ จึงไม่อำจระบุ

รำยละเอียดของงำนได้ชัดเจน ยกเว้นเฉพำะควำมส ำเร็จของงำนที่ต้องกำรเท่ำนั้น

(ข) สิทธิในกำรควบคุมโครงกำรของเจ้ำของโครงกำรมีน้อย

(ค) ค่ำใช้จ่ำยในขั้นตอนก่อนกำรประกวดรำคำมีมูลค่ำสูง

(ง) ภำรกิจในกำรออกแบบ จัดหำ และก่อสร้ำง จ ำเป็นต้องมีทักษะ คุณสมบัติและควำมรับผิดชอบที่เหมำะสม

ส ำหรับงำนแต่ละประเภท

4) สัญญาก่อสร้าง ด าเนินการ และส่งมอบคืน (Build - Operate - Transfer: BOT)

ปในกรณีที่รัฐบำลไม่มีเงินลงทุนเพียงพอในกำรก่อสร้ำงโครงกำรขนำดใหญ่ อำจมีกำรเชิญชวนให้นักลงทุนใน

ประเทศและต่ำงประเทศเพื่อช่วยเหลือโครงกำรในกำรร่วมลงทุน รัฐบำลในฐำนะผู้อนุญำตสัมปทำนให้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


15 | สัญญา

สัมปทำนแก่บริษัทเอกชน ในช่วงหมดระยะเวลำสัมปทำน บริษัทที่ด ำเนินกำรโครงกำรจะต้องส่งมอบโครงกำร

กลับคืนแก่รัฐบำล

ข้อตกลงด้านการเงิน

จัดซื้อ/จัดหา

แหล่งเงินทุน

โครงการ

รัฐบาล

สัมปทาน

ปฏิบัติการ

สัญญาจัดซื้อ/จัดหา

สัญญาปฏิบัติการ/บ ารุงรักษา

สัญญาก่อสร้าง

ผู้รับจ้าง

ผู้รับจ้างช่วง

ผู้รับจ้างช่วง

รูปที่ 2.6-4 สัญญาก่อสร้าง ด าเนินการ และส่งมอบคืน (Build - Operate - Transfer: BOT)

ข้อดี

(ก) รัฐไม่ต้องรับภำระทำงด้ำนกำรเงิน

(ข) รัฐสำมำรถหลีกเลี่ยงควำมเสี่ยงโครงกำรได้จ ำนวนมำก ผู้ลงทุนจะแบกรับควำมเสี่ยง

(ค) โครงกำรที่ด ำเนินกำรโดยบริษัมจำกต่ำงประเทศจะน ำเสนอข้อมูล เทคโนโลยีและทักษะในกำรจัดกำรที่

ทันสมัย

ข้อเสีย

(ก) จะต้องใช้เวลำนำนในกำรปรับสภำพควำมเข้ำใจในสัญญำในด้ำนกำรวิจัย กำรสื่อสำร กำรทดสอบ ฯลฯ

(ข) ในช่วงระยะเวลำสัมปทำนรัฐจะสูญเสียสิทธิ์ในกำรควบคุมโครงกำร

ระบบกำรส่งมอบโครงกำรนั้น โดยพื้นฐำนมีควำมสัมพันธ์กัน บำงระบบสำมำรถใช้งำนร่วมกัน ข้อแตกต่ำง

เพียงอย่ำงเดียวคือควำมส ำคัญของโครงกำรและสัญญำ กำรจ ำแนกระบบกำรจัดส่งโครงกำรเหล่ำนี้ช่วยให้เห็น

มุมมองเกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในกำรก่อสร้ำงโครงกำร และช่วยให้สำมำรถค้นหำวิธีที่จะท ำให้โครงกำร

แล้วเสร็จสมบูรณ์ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


16 | สัญญา

รูปที่ 2.6-5 ขั้นตอนของระบบโครงกำร

2.7 วงจรชีวิตของสัญญาโครงการ (Project contract life cycle)

ส ำหรับสัญญำก่อสร้ำงตั้งแต่เริ่มสัญญำจนสิ้นสุดสัญญำจะใช้เวลำนำน บำงครั้งอำจเป็นปี และมีกระบวนกำร

มำกมำย กำรจัดกำรสัญญำจะต้องด ำเนินกำรตลอดช่วงเวลำของสัญญำ ในขั้นตอนต่ำง ๆ ของกำรจัดกำร

สัญญำมีงำนและล ำดับควำมส ำคัญที่แตกต่ำงกัน ส ำหรับโครงกำรประกวดรำคำทั่วไป มักจะด ำเนินกำรในสอง

ขั้นตอนหลักคือ: ขั้นตอนจัดท ำสัญญำ และขั้นตอนกำรปฏิบัติตำมสัญญำ ดังแสดงในรูปที่ 2.7-1 ในขั้นตอนกำร

จัดท ำสัญญำจะเป็นกำรประกวดรำคำ และกำรต่อรอง ส่วนขั้นตอนกำรปฏิบัติตำมสัญญำ จะประกอบด้วยกำร

ก่อสร้ำง และขั้นตอนกำรบ ำรุงรักษำ

รูปที่ 2.7-1 วงจรชีวิตของสัญญาโครงการ

การจัดท าสัญญา

(1) ระยะเวลำกำรประกวดรำคำ

ระยะเวลำกำรประกวดรำคำ ตั้งแต่กำรเตรียมเอกสำรกำรประกวดรำคำจนถึงกำรเปิดประกวดรำคำ เป็นกำร

ยื่นข้อเสนอเบื้องต้น และกำรยอมรับระหว่ำงเจ้ำของงำนและผู้รับจ้ำง ซึ่งหมำยถึงกำรเริ่มต้นระยะเวลำของ

สัญญำก่อสร้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


17 | สัญญา

(2) กำรเจรจำต่อรอง

ช่วงเวลำนี้เริ่มต้นเมื่อมีกำรประกวดรำคำและสิ้นสุดลง มีกำรลงนำมในสัญญำ ช่วงเวลำนี้สำมำรถแบ่งออกเป็น

สองขั้นตอน:

(ก) กำรประเมินข้อเสนอรำคำเบื้องต้น ท ำกำรวิเครำะห์เปรียบเทียบคุณสมบัติระหว่ำงผู้เข้ำประกวดรำคำ เพื่อ

หำผู้ที่มีคุณสมบัติเหมำะสมและมีควำมสำมำรถในกำรก่อสร้ำงโครงกำร

(ข) เจ้ำของงำนและผู้รับจ้ำงหำรือรำยละเอียดเกี่ยวกับสัญญำ และวิธีกำรที่จะด ำเนินกำรต่อไปพร้อมทั้งลงนำม

ตกลงในสัญญำ

ขั้นตอนการด าเนินการตามสัญญา

ช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ลงนำมในสัญญำจนถึงสิ้นสุดสัญญำ ในช่วงนี้งำนวิศวกรรมศำสตร์ งำนจัดซื้อ และงำนก่อสร้ำง

จะต้องแล้วเสร็จ ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรก่อสร้ำงให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ และรับผิดชอบงำนรับประกันตำม

ข้อก ำหนดในด้ำนปริมำณ คุณภำพ ก ำหนดกำร และเทคนิคที่ระบุไว้ในสัญญำ ซึ่งแน่นอนว่ำผู้รับจ้ำงจะได้รับ

ผลประโยชน์ตำมที่ตกลงกันไว้ตำมสัญญำ

2.8 ประเภทของสัญญาการก่อสร้าง (Type of Construction Contract )

1. สัญญำประเภทเหมำรวม (Lump Sum or Fixed – Priced Contract)

2. สัญญำประเภทรำคำต่อหน่วย (Unit Price Contract)

3. สัญญำประเภทออกแบบ ก่อสร้ำง และ/หรือ จัดหาทุนให้ด้วย (Turn Key หรือ Design and

Construct/Build Contract)

4. สัญญำจ้ำงออกแบบวิศวกรรม จัดหำ และก่อสร้ำง (EPC: Engineering, Procurement and Construction

Contract)

นอกจำกนี้ยังมีสัญญำปลีกย่อยแบบต่ำง ๆ ซึ่งจะไม่กล่ำวรำยละเอียดในที่นี้ เช่น

- สัญญำประเภทคิดค่ำใช้จ่ำยจริงบวกค่ำป่วยกำร (Cost – Plus Fixed Fee Contract)

- สัญญำประเภทคิดค่ำใช้จ่ำยทั้งหมดบวกเงินเพิ่มพิเศษ (Cost – Plus with Guaranteed Maximum

and Incentive)

- สัญญำประเภทมีรำงวัลตอบแทนและเสียค่ำปรับ (Bonus/Penalty, Time and Completion)

- สัญญำประเภทแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆหลำยๆส่วน (Divided Contract )

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


18 | การบริหารสัญญา

3. การบริหารสัญญา (Contract Administration)

3.1 ความแตกต่างของการบริหารสัญญา และการจัดการสัญญา (The Difference Between Contract

Administration and Contract Management)

การบริหารสัญญาและการจัดการสัญญาจะมีความแตกต่างกันในช่วงของเวลาของสัญญา ระหว่างการ

จัดเตรียมสัญญาและการลงนามในสัญญาขั้นสุดท้าย

การบริหารสัญญาจะเป็นกระบวนการจัดเตรียมสัญญา ข้อตกลง ซึ่งมีความซับซ้อนและมีความเสี่ยง

ผู้จัดการโครงการและผู้จัดท าสัญญาจะต้องมีความเข้าใจกระบวนการเหล่านี้เป็นอย่างดี ส่วนการจัดการ

สัญญาจะเป็นกระบวนการหลังจากมีการลงนามในสัญญาแล้ว และเป็นการจัดการให้ทุกอย่างเป็นไปตาม

สัญญาที่ได้ตกลงกันระหล่างคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย

การบริหารสัญญา: เป็นงานจัดเตรียมเอกสารสัญญาก่อนการลงนาม

สัญญาเป็นข้อตกลงที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างสองฝ่ายขึ้นไป การบริหารสัญญามุ่งเน้นไปที่สิ่งที่เกิดขึ้น

ก่อนลงนามในสัญญา ผู้จัดท าสัญญาจะต้องควบคุมในวิธีการจัดเตรียม วิเคราะห์ และข้อเจรจาในสัญญา และ

จะมุ่งเน้นไปที่การวางแผนและการปฏิบัติตามสัญญา โดยอาจขอข้อเสนอ (Request for Proposal: RFP) จาก

ผู้ขาย/ผู้ให้บริการ/ผู้รับจ้างที่มีศักยภาพ และเชิญให้เสนอราคา (อาจมีการจัดท าการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้น

Prequalification ก่อน) เมื่อเลือกผู้ขาย/ผู้ให้บริการแล้ว ผู้จัดท าสัญญาจะเห็นภาพรวม และสามารถสรุป

รายละเอียดในสัญญาเป็นข้อตกลงที่มีความเป็นธรรม

3.2 การบริหารสัญญา

ผู้เชี่ยวชาญในการบริหารสัญญาจะมุ่งเน้นในการวางแผน และการจัดเตรียมสัญญา กระบวนการวางแผนมักจะ

รวมถึงการจัดหาคู่สัญญา โดยการส่งค าขอเพื่อขอข้อเสนอ (requests for proposal) นอกจากนี้ผู้บริหาร

สัญญาช่วยในการจัดท ารายละเอียดของข้อตกลงสัญญาการท างานกับผู้รับจ้างที่คาดหวัง เพื่อเจรจาในเรื่อง

สัญญา เช่นราคา ประเภทของสัญญา และความคาดหวังในด้านประสิทธิภาพ

แม้ว่าการบริหารสัญญานี้ เป็นหลักทั่วไปในการบริหาร แต่ก็จ าเป็นต้องมีกลยุทธ์และเข้าใจในธุรกิจ การท า

สัญญาที่เป็นประโยชน์ร่วมกันเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่งต่อความส าเร็จทางการเงินของธุรกิจ ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องหา

คู่สัญญาที่เหมาะสม และจัดท าข้อตกลงที่เป็นธรรม

3.3 แนวทางปฏิบัติในการจัดท าแผนการบริหารสัญญา

การปฏิบัติตามแผนการบริหารสัญญาที่เหมาะสม จะท าให้ทีมงานอยู่ในสถานะที่ดี ในการจัดการสัญญาแต่ละ

สัญญาได้อย่างสมบูรณ์ตลอดโครงการ เอกสารที่เป็นทางการนี้จะอธิบายถึงรายละเอียดสิ่งที่คาดหวังของทั้ง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


19 | การบริหารสัญญา

สองฝ่ายในช่วงระยะเวลาของข้อตกลงเพื่อจ ากัด การละเมิดสัญญาที่อาจเกิดขึ้นหรือปัญหาอื่น ๆ ที่น าไปสู่การ

ไม่ปฏิบัติตามข้อผูกพันของสัญญา

3.4 หลักการพิจารณาแนวทางปฏิบัติในการเตรียมแผนการบริหารสัญญา

1. ก าหนดขอบเขตและส่งมอบ

ขั้นตอนแรกเพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการท าสัญญาที่ประสบความส าเร็จ คือการก าหนดความต้องการอย่าง

ชัดเจน รวมถึงขอบเขตและสิ่งที่ส่งมอบ ช่องโหว่ในขอบเขตของสัญญามักท าให้เกิดปัญหาได้ ดังนั้นการเขียน

อย่างชัดเจนว่าสัญญาท าอะไร และไม่ครอบคลุมจะช่วยในการติดตามสัญญา

2. ระยะเวลาโดยละเอียด

แผนการบริหารสัญญาควรมีการบันทึกรายละเอียดระยะเวลาส าหรับทุกเหตุการณ์ส าคัญตลอดช่วงอายุของ

สัญญา รวมถึงวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการ วันครบก าหนดส่งมอบและการปรับปรุงความคืบหน้า

3. การจัดระเบียบการเงิน

เพื่อหลีกเลี่ยงข้อพิพาทเกี่ยวกับสัญญาและรักษาความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างทั้งสองฝ่าย ผู้เกี่ยวข้องใน

กระบวนการบริหารสัญญาควรทราบเงื่อนไขทางการเงินของข้อตกลงรวมถึงมูลค่าของสัญญา ช่วงเวลาการ

ช าระเงินและกระบวนการเพื่อจัดการกับค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ (ขึ้นอยู่กับประเภทของสัญญา)

4. วางแผนการท างาน

เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและตรวจสอบได้ แผนควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการด าเนินการส่งมอบงาน รวมถึง

บุคคลากรที่จะท างานในแต่ละส่วนของข้อตกลง (รวมถึงบุคลากรทั้งภายในและบุคคลที่สามหากมี) การมีแผน

ส าหรับการวัดความส าเร็จตลอดอายุของสัญญาจะท าให้ทั้งสองฝ่ายมีความเข้าใจในระดับเดียวกัน และหาก

จ าเป็นอนุญาตให้มีการแก้ไขแผนงาน

5. การคาดการณ์ความเสี่ยง

สัญญาทุกฉบับมีความเสี่ยง แต่การจัดท าแผนเพื่ออธิบายความเสี่ยงเหล่านั้นสามารถป้องกันไม่ให้สัญญา

ล้มเหลว สรุปความเสี่ยงที่เป็นไปได้มากที่สุดส าหรับแต่ละข้อตกลง และขั้นตอนที่ควรด าเนินการในเหตุการณ์ที่

เกิดขึ้นจริง การสร้างความยืดหยุ่นบางอย่างส าหรับระยะเวลาและงบประมาณจะช่วยให้เกิดความล่าช้าเพียง

เล็กน้อย หรือปัญหาที่ไม่คาดคิดสามารถป้องกันจากความผิดพลาดได้อย่างมีนัยส าคัญ

ในงานก่อสร้าง ผู้บริหารสัญญาเป็นบุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารสัญญาตามมาตรฐานส าหรับงานก่อสร้าง

ผู้บริหารสัญญาอาจจะเป็นสถาปนิกโครงการ หรืออาจเป็นที่ปรึกษา ที่ปรึกษาด้านราคาและต้นทุน ที่ปรึกษา

พิเศษ ตัวแทนของผู้ว่าจ้าง ผู้จัดการโครงการหรือวิศวกร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


20 | การบริหารสัญญา

ในการบริหารสัญญาก่อสร้าง บทบาทของผู้บริหารสัญญาอาจเป็นผู้จัดการงานก่อสร้าง และเป็นผู้ดูแลระบบ

สัญญา

ผู้บริหารสัญญาจะได้รับการแต่งตั้งโดยผู้ว่าจ้าง แต่เมื่อได้รับการรับรองหรือให้การประเมินหรือตัดสินใจ โดยจะ

ท าหน้าที่อย่างตรงไปตรงมา และมีเหตุผล

3.5 บทบาทโดยทั่วไปของผู้บริหารสัญญาจะรวมถึง:

• เชิญประกวดราคา

• เตรียมเอกสารสัญญาเพื่อการด าเนินการ

• บริหารขั้นตอนการควบคุมการเปลี่ยนแปลง

• จัดท าค าแนะน าในการประกวดราคา

• ออกค าแนะน าในการเปลี่ยนแปลงงาน

• พิจารณาข้อเรียกร้อง

• ประชุมความก้าวหน้าการก่อสร้าง

• การจัดเตรียมและออกรายงานความก้าวหน้าการก่อสร้าง

• ประสานงานการตรวจสอบงานก่อสร้าง

• ร่วมตรวจสอบการใช้งานและทดสอบ

• ตรวจรายงานข้อบกพร่อง

• ออกใบรับรองการเสร็จสิ้นการปฏิบัติและใบรับรองระหว่างกาล

• จัดท าตารางเวลาของข้อบกพร่อง

• ออกใบรับรองการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง

• ออกใบรับรองสุดท้าย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3.6 การจัดท าเอกสารประกวดราคา

1. ข้อเสนอ (Request for Proposal: RFP)

21 | การบริหารสัญญา

โครงการจะเริ่มตั้งแต่ผู้ว่าจ้าง/เจ้าของงาน มีความประสงค์จะเริ่มโครงการ สิ่งแรกที่ต้องด าเนินการคือหาที่

ปรึกษา ผู้ออกแบบ ศึกษาความเหมาะสมเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) หากโครงการมีความ

เหมาะสมจึงจะด าเนินการส ารวจ ออกแบบ และก่อสร้างต่อไป

ขั้นตอนนี้จ าเป็นต้องประกาศหาที่ปรึกษา โดยมีประกาศเชิญชวนให้ผู้สนใจยื่นข้อเสนอ (Request for

Proposal: RFP) หนังสือเชิญยื่นข้อเสนอ (Request for Proposal) ระบุถึงความต้องการและกระบวนการใน

การยื่นข้อเสนอ ขอบเขตรายละเอียดของงาน และค าแนะน าส าหรับผู้ยื่นข้อเสนอ เป็นต้น

ประกาศเป็นเอกสารซึ่งเจ้าของงานประกาศแจ้งการประกวดราคาโครงการ แสดงรายะเอียด ขอบเขตของ

โครงการโดยสังเขป ระบุคุณสมบัติของผู้ที่สามารถเข้าประกวดราคาได้ ก าหนดการประกวดราคาต่าง ๆ

สถานที่ติดต่อ

2. ขอบเขตรายละเอียดของงาน (Terms of Reference: TOR)

ขอบเขตรายละเอียดของงาน อาจเรียกสั้น ๆ ว่า TOR เป็นเอกสารที่ระบุถึงรายละเอียดของโครงการ

ข้อก าหนดขอบเขตรายละเอียดของงานจะกล่าวถึงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ คุณสมบัติของผู้

ประสงค์จะเสนอราคา เอกสารหลักฐานต่างๆ ประกอบการคัดเลือกผู้เสนอราคา แบบฟอร์มการเสนอราคา

ข้อมูลจ าเพาะทางเทคนิค รายละเอียดการยื่นข้อเสนอ รูปแบบรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ หลักเกณฑ์การ

พิจารณาข้อเสนอ ระยะเวลาการด าเนินงานและส่งมอบงาน สถานที่ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

2.1 ความหมายของ TOR 1

ขอบเขตรายละเอียดของงาน Terms of Reference (TOR) เปนเอกสารที่ก าหนดขอบเขตของงานและ

รายละเอียดของภารกิจที่ผูจัดท า TOR ตองการใหผูขายหรือผูรับจางด าเนินการ รวมทั้งความรับผิดชอบอื่น ๆ

ของผูขายหรือผูรับจางที่เกี่ยวของกับภารกิจนั้น ซึ่งรายการละเอียดของงานที่ผูซื้อหรือผูวาจางประสงคจะใหผู

ขายหรือผูรับจางท างานให โดยการบอกขอบเขตของงานใหชัดเจน ระยะเวลาที่ตองการ คุณสมบัติของผูเสนอ

ราคา ซึ่งผูซื้อหรือผูวาจางตองการใหท างานตามขอบเขตดังกลาว รวมถึงขอก าหนดที่ผูซื้อหรือผูวาจางตองการ

ใหด าเนินการ จะมีกี่ขั้นตอนแตละขั้นตอน ประกอบดวยอะไรบาง ผิดสัญญาจะถูกปรับอยางไร สิ่งตาง ๆ

เหล่านี้ ผูซื้อหรือผูวาจางจะจัดใหอยูใน TOR ทั้งหมด เพื่อประกาศหาผูขายหรือผูรับจางตามกรรมวิธีตอไป ซึ่ง

ผูที่ประสงคจะเปนผูขายหรือผูรับจางไดศึกษาดูกอนวางานตามประกาศสามารถท าไดหรือมีคุณสมบัติครบถวน

หรือไม เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนประกอบการพิจารณาในขั้นตอนการด าเนินการจัดหาผูซื้อหรือผูวาจาง ดังนั้น

TOR จึงเทียบไดกับขอก าหนด (Specifications) ของพัสดุที่ผูซื้อหรือผูวาจางท าขึ้นส าหรับการจัดหา แตอยาง

1

https://palad.mof.go.th/th/view/attachment/file/34373830/Manual-TOR-04-2556.pdf

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


22 | การบริหารสัญญา

ไรก็ตาม ส าหรับงานราชการ การก าหนด TOR หรือการก าหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications) เพื่อการ

จัดซื้อจัดจางของหน่วยงานที่จะจัดหาพัสดุ ผูที่ไดรับมอบหมายใหด าเนินการจะตองพิจารณาและค านึงถึง

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ค าสั่ง มติคณะรัฐมนตรี หรือหนังสือซักซอมความเขาใจที่เกี่ยวของ ซึ่งค่อนข้างมี

รายละเอียดปลีกย่อยมาก

2.2 ความส าคัญของ TOR

คุณภาพของผลงานที่จะไดจากผูขายหรือผูรับจาง TOR จะตองมีความชัดเจนที่สามารถจัดหาหรือปฏิบัติไดและ

ก าหนดประเด็นตางๆ ที่ผูขายหรือผูรับจางจะตองด าเนินการไวอยางชัดเจน TOR ยิ่งมีความชัดเจนเพียงใดยิ่ง

ท าใหการคัดเลือกผูขายหรือผูรับจางไดงายขึ้น โปรงใสมากขึ้น ดังนั้น TOR จึงตองมีความชัดเจนเพียงพอต่อ

การประเมินปริมาณและคุณภาพงานของผูขายหรือผูรับจาง

เปนเอกสารอางอิงที่ใชเปนสวนหนึ่งของสัญญา ดังนั้น TOR ที่ดีจะตองไมเปน TOR ที่กวางเกินไป จนท าใหได

สิ่งที่ตองการแตไมมีคุณภาพ ดังนั้นการจัดท า TOR จึงตองมีการวิเคราะหปญหาเบื้องตน หรือในระดับแนวคิด

โดยการรวมหารือกับกลุมตางๆ เพื่อใหไดมุมมองที่หลากหลายครบถวนครอบคลุมการจัดท าขอบเขต

รายละเอียดของงาน (TOR)

3. ค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders)

ค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคาประกอบด้วยรายละเอียดของเอกสารโครงการว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง

คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ข้อมูลจ าเพาะทางเทคนิค หลักฐานการยื่นข้อเสนอ

รายละเอียดการเสนอราคา หลักประกันการเสนอราคา หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา การท าสัญญาจ้าง

ก่อสร้าง ค่าจ้างและการจ่ายเงิน อัตราค่าปรับ กรณีท างานไม่แล้วเสร็จตามสัญญา การรับประกันความช ารุด

บกพร่อง การจ่ายเงินล่วงหน้า การหักเงินประกันผลงาน ข้อสงวนสิทธิ์ในการยื่นข้อเสนอและอื่นๆ การปรับ

ราคาค่างานก่อสร้าง มาตรฐานฝีมือช่าง การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน

ของผู้ประกอบการ

4. ตัวอย่างสัญญาข้อตกลง (Contract Agreement)

เจ้าของโครงการหรือเจ้าของงานจะต้องแนบตัวอย่างสัญญา การก่อสร้างที่จะใช้บังคับ ผูกพันผู้ที่เกี่ยวข้องไป

ด้วยเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ที่จะเข้าประกวดราคาได้รู้ว่าเป็นสัญญาประเภทใด มีส่วนใดที่ยังสงสัยต้องการ

ค าอธิบายเพิ่มเติมเป็นต้น ซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องเข้าใจตรงกัน ประกอบด้วยสาระส าคัญ ดังนี้

• วันที่ และสถานที่ท าสัญญา

• ชื่อ และ ที่อยู่ของคู่สัญญา

• ข้อตกลงจ้างและรับจ้าง เงื่อนไขที่ส าคัญ

• ส่วนส าหรับลงลายมือชื่อของคู่สัญญา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


สรุปสั้น ๆ คือ ท าอะไร ที่ไหน เมื่อไร เสร็จเมื่อไร เป็นเงินเท่าใด ลงนาม

23 | การบริหารสัญญา

5. แบบฟอร์มการประกวดราคา (Bid Form) ประกอบไปด้วยข้อความและชื่อผู้ยื่นซองประกวดราคา โดยจะ

ระบุข้อความ เช่น ผู้ประกวดราคาได้ตรวจสอบแบบรายละเอียด ข้อก าหนดและสถานที่ก่อสร้างแล้ว จ านวน

เงินที่ยื่นประกันซองประกวดราคา จ านวนเงินค่าปรับจากงานล่าช้า ข้อความที่ระบุว่าผู้ประกวดราคา ตกลงที่

จะท าตามสัญญาหากชนะการประกวดราคา เป็นต้น

ข้อความที่ผู้ชนะการประมูลตกลงที่จะยื่นเงินประกันการท าสัญญาและประกันการก่อสร้าง จ านวนเงินเพิ่มหรือ

ลดถ้าปริมาณ งานเปลี่ยนแปลงไปจากสัญญาเดิม เวลาที่ต้องท างานให้แล้วเสร็จ เงื่อนไขเพิ่มเติมพิเศษ (ถ้ามี)

รายละเอียดจ านวนงานและ เงินการประกวดราคา (Bid Breakdown) รายละเอียดของจ านวนงานและเงิน

จะต้องถูกบันทึกลงไว้ โดยผู้ประกวดราคาอาจ จะแยกเป็นส่วน ๆ ในแต่ละรายการของโครงการเพื่อเป็น

แนวทางในการคิดความก้าวหน้าของผลงานภายหลัง หากการเสนอราคานั้นได้รับการยอมรับ

6. บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities)

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณวัสดุ

เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้

องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ

- ล าดับที่ของรายการ

- รายละเอียดของงานแต่ละประเภท

- ปริมาณงาน (จ านวน)

- หน่วยในการวัดเพื่อการจ่ายเงิน

- อัตราราคาต่อหน่วย (อาจแยกเป็นราคาค่าวัสดุ และค่าแรงงาน) ของแต่ละรายการ

- ราคารวม

- หมายเหตุ (หากจ าเป็น หรือต้องการ)

หน้าที่และความส าคัญของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ที่ใช้ในงานก่อสร้าง

- แสดงองค์ประกอบรายละเอียดของงานต่าง ๆ

- แสดงปริมาณงานและหน่วยที่ใช้ในการวัดและจ่ายเงิน

- แสดงราคาของงานแต่ละประเภท

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


24 | การบริหารสัญญา

- ใช้เพื่อเปรียบเทียบราคาของผู้เข้าประกวดราคา (Tenderer /Bidder) เพื่อเป็นผู้รับจ้างก่อสร้าง

(ผู้รับเหมา/ Contractor) ในโครงการนั้น ๆ

- ใช้เพื่อเป็นราคาฐาน ส าหรับงานเพิ่มเติมในโครงการนั้น ๆ

- ใช้เพื่อการเบิกจ่ายเงิน (Payment) หรือการเบิกจ่ายเงินบางส่วนในระหว่างการก่อสร้าง (Interim

Payment)

อนึ่งในสัญญา อีพีซี ราคาโครงการจะยึดถือยอดรวมทั้งหมดที่เสนอราคามาเป็นหลัก บัญชีแสดงปริมาณวัสดุ

และราคา อาจใช้ประโยชน์ในการแบ่งจ่ายเงิน แต่โดยทั่วไปจะมีเอกสารการกระจายเงินแบ่งจ่ายเป็นงวด ๆ

(Disbursement Schedule) อยู่แล้ว และที่ส าคัญคือใช้ในการคิดราคางานเพิ่ม ลด ในโครงการ

ในสัญญา อีพีซี จะมีแบบฟอร์มส าคัญประกอบโครงการต่าง ๆ ดังนี้

• แบบฟอร์มรายละเอียดของผู้เสนอราคา/ผู้รับจ้าง (Contractor Licenses Permits and Approval)

• แบบฟอร์มรายละเอียดของผู้ว่าจ้าง (Employer Licenses Permits and Approval)

• บัญชีแสดงรายละเอียดของผู้รับจ้างช่วง (List of Sub-Contractors)

• แบบฟอร์มแสดงรายละเอียดการปรับเรียกค่าเสียหายจากความล่าช้า และค่าเสียหายจากการที่ผลงานไม่ได้

ตามสัญญาที่ระบุไว้ในหนังสือค ้าประกันการด าเนินการโครงการ ( Liquidated Damages for Late

Completion of Works and Failure to meet the Guaranteed Performance Levels)

• รายละเอียดของสัญญาสัมประทาน (Concession Agreement Pass Through Obligations)

• แผนที่ตั้งโครงการ

• แผนงานก่อสร้าง

นอกจากนี้ก็อาจมีข้อตกลงพิเศษอื่น ๆ เป็นกรณีพิเศษเช่นข้อตกลงการซื้อขายพลังงาน เป็นต้น

7. เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract)

เงื่อนไขของสัญญาประกอบด้วย เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา และเงื่อนไขเฉพาะ

7.1 เงื่อนไขทั่วไป (General Conditions) เป็นเอกสารที่เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารสัญญา เป็นส่วนที่ระบุ

ความรับผิดชอบพันธะหน้าที่และสิทธิของคู่สัญญา ตลอดจนระบุรายละเอียดของเงื่อนไขต่างๆที่บังคับใช้ในงาน

ตามสัญญา นอกจากนี้ยังต้องระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของวิศวกรที่ปรึกษา (หรือผู้ควบคุมงานหรือผู้บริหาร

โครงการแล้วแต่กรณี) อาจกล่าวได้ว่าเงื่อนไขแห่งสัญญาเป็นเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงอย่างหนึ่งของผู้ร่าง

สัญญา

เงื่อนไขของสัญญาโดยทั่วไปจะประกอบด้วย รายละเอียดต่าง ๆ 10 เงื่อนไขหลัก ดังต่อไปนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


10 เงื่อนไขหลักประกอบด้วย

25 | การบริหารสัญญา

1 เงื่อนไขทั่วไป (General Provisions) เช่น บทนิยาม การตีความ ภาษา กฎหมายที่ใช้ ชิ้นงานที่มอบหมาย

ส่วนที่เป็นความลับ ความรับผิดร่วม ข้อจ ากัดความรับผิด เป็นต้น

2 เงื่อนไขว่าด้วยผู้ว่าจ้าง วิศวกร ผู้รับจ้างช่วง และงานออกแบบ (Employer, Engineer, Contractor,

and Design) ซึ่งจะระบุถึงสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้มีบทบาทหลักในสัญญา ข้อตกลงเกี่ยวกับ

ทีมงาน นิติสัมพันธ์ในสัญญา การจัดการทางการเงินระหว่างกัน การเข้าไซต์งาน การก าหนดตัวผู้แทนวิศวกร

การเปลี่ยนตัววิศวกรผู้รับผิดชอบ ข้อก าหนดการด าเนินงานของวิศวกร การประชุม การรายงานความคืบหน้า

ความปลอดภัยของไซต์งาน การน าข้อมูลจากไซต์งานไปใช้ การท าสัญญากับผู้รับจ้างช่วง เป็นต้น

3 เงื่อนไขว่าด้วยคนงาน แรงงาน โรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ (Staff, Labour, Plant,

Materials, and Workmanship) ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน

ลักษณะดังกล่าว ค่าจ้าง การว่าจ้าง ชั่วโมงการท างาน สาธารณูปโภคและสวัสดิการ สถานที่ สุขภาพและความ

ปลอดภัย การบันทึกการเข้างาน ความเป็นเจ้าของของวัสดุอุปกรณ์ การเข้าตรวจสอบงาน เป็นต้น

4 เงื่อนไขว่าด้วยการเริ่มงาน ความล่าช้าของงาน การระงับชั่วคราวหรือยืดระยะเวลาของงาน

ข้อผิดพลาด/ข้อบกพร่อง การทดสอบเมื่อเสร็จงานและหลังเสร็จงาน (Commencement, Delays,

Suspension, Defects, and Completion) ซึ่งรวมถึงการวางแผนงานโครงการ ระยะเวลา การเตือน การ

ท างานล่าช้า ค่าเสียหายจากความล่าช้า ค่าใช้จ่ายอื่นเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และสถานที่เมื่อเกิดท างานล่าช้าหรือ

การชะลองาน การชะลองานโดยผู้ว่าจ้าง การทดสอบทั้งเมื่อเสร็จงานและหลังเสร็จงาน เกณฑ์การผ่านหรือตก

ในการทดสอบ ฯลฯ

5 เงื่อนไขว่าด้วยการวัดและประเมินผลงาน การปรับเปลี่ยนงาน ราคา และการช าระราคา

( Measurement and Evaluation, Variations and Adjustments, Contract Price and

Payment) ซึ่งรวมถึงเนื้องานหรือชิ้นงานที่จะต้องงถูกประเมิน วิธีการประเมิน การละเลยหรือทิ้งงาน การ

ปรับเปลี่ยนงาน การก าหนดราคา การช าระเงินล่วงหน้า ตารางการช าระเงิน การช าระเงินล่าช้า สกุลเงินที่ใช้

ในการช าระเงิน เป็นต้น

6 เงื่อนไขว่าด้วยการเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง การระงับชั่วคราวหรือการเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้างช่วง

(Termination by Employer, Suspension and Termination by Contractor) ระบุถึงเหตุและสิทธิ

ของผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างช่วงในการด าเนินการดังกล่าว ตลอดจนภาระผูกพัน ค่าใช้จ่าย และการช าระเงิน

ภายหลังการเลิกสัญญา

7 เงื่อนไขว่าด้วยความเสี่ยงและความรับผิดชอบ (Risk and Responsibility) เป็นข้อสัญญาที่ระบุถึง

หน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลงานต่าง ๆ การถือสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ความเสี่ยงและการบริหาร

ความเสี่ยง ค่าสินไหมทดแทน หรือการชดเชยในกรณีต่าง ๆ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


26 | การบริหารสัญญา

8 เงื่อนไขว่าด้วยการประกันสัญญา (Insurance) ซึ่งเป็นหลักการต่าง ๆ ที่สัญญาฉบับนั้น ๆ ก าหนดเงื่อนไข

ว่าจะต้องมีการท าประกันอะไรบ้าง อย่างไรบ้าง ในวงเงินเท่าใด โดยบุคคลใด เป็นต้น

9 เงื่อนไขว่าด้วยเหตุสุดวิสัย (Force Majeure or Exceptional Events) ระบุถึงเหตุสุดวิสัยต่าง ๆ การ

บอกกล่าวเป็นหนังสือเมื่อมีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ไปจนถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้เกี่ยวข้องในสัญญาใน

กรณีเกิดเหตุสุดวิสัย

10 เงื่อนไขว่าด้วยข้อเรียกร้อง ข้อพิพาท และอนุญาโตตุลาการ (Claims, Disputes, and Arbitration)

ซึ่งเป็นข้อสัญญาเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายหรือตามสัญญา การด าเนินการเมื่อมีข้อพิพาทระหว่าง

คู่สัญญา การระงับข้อพิพาท การตั้งอนุญาโตตุลาการ การวินิจฉัยและการตัดสินของอนุญาโตตุลาการ เป็นต้น

7.2 เงื่อนไขเฉพาะ หรือเงื่อนไขพิเศษ (Special Conditions, Conditions of Particular Application,

Contract Particulars or Supplementary Conditions) เป็นการระบุเงื่อนไขเพิ่มเติมเพื่อใช้เฉพาะกับ

งานใดงานหนึ่งเป็นการเฉพาะเท่านั้น

เงื่อนไขเฉพาะโครงการควรมีหัวข้อของเงื่อนไขส่วนนี้ตรงกับหรือสอดคล้องกับหัวข้อของเงื่อนไขทั่วไป

8. เอกสารความต้องการของเจ้าของงาน (Employer’s Requirement)

โดยที่สัญญา อีพีซี จะก าหนดให้ผู้รับจ้างเป็นผู้ออกแบบรายละเอียด ฉะนั้น เจ้าของงานของต้องระบุ ขอบเขต

ของงาน ข้อก าหนดความต้องการเฉพาะ เอกสารฉบับนี้จะมีความส าคัญและถือเป็นหัวใจของงานอีพีซี โดยจะ

ประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้

• เอกสารแสดงขอบเขตของงาน

• ข้อก าหนดความต้องการของเจ้าของงานโดยเฉพาะ

• ข้อมูลพื้นฐานที่จ าเป็นในการออกแบบรายละเอียด ได้แก่

- รายงานสภาพทางภูมิประเทศ

- รายงานสภาพทางธรณีวิทยา

- รายงานอุทกวิทยา

- รายงานสภาพภูมิอากาศ

• แบบเค้าโครงเบื้องต้น (Basic Design Drawings)

• รายงานการออกแบบเค้าโครงพื้นฐาน (Basic Design Report)

• ข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร หรือกระบวนการผลิต เฉพาะเจาะจงที่ต้องการเป็นพิเศษ

9. ข้อก าหนด (Specifications) คือเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของ

งาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยวข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งาน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


27 | การบริหารสัญญา

พัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อก าหนด ขอบเขตงาน อธิบายค าจากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น

มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการ

ก่อสร้างหรือวิธีการดาเนินงาน รวมถึงคุณภาพของฝีมือ แรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


28 | การจัดการสัญญา

4. การจัดการสัญญา (Contract Management)

การจัดการสัญญา (Contract Management): งานภายหลังจากการลงนามในสัญญาแล้ว

การจัดการสัญญาเกิดขึ้นหลังจากสัญญามีผลบังคับใช้ โดยจะต้องมั่นใจว่าข้อก าหนดและเงื่อนไขที่มีอยู่ใน

สัญญานั้นสามารถปฏิบัติตามได้ และคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายพอใจในภาระข้อผูกพันตามสัญญาทั้งหมด

เช่นเดียวกับการจัดการที่จ าเป็นส าหรับการด าเนินงานด้านอื่น ๆ ของคู่สัญญาอย่างเหมาะสม

แต่โดยทั่วไป เรามักได้ยินโดยรวมว่า การบริหารจัดการสัญญา (Contract Administration and

Contract Management)

4.1 การจัดการสัญญาคืออะไร?

การจัดการสัญญาเกิดขึ้นหลังการที่สัญญามีผลบังคับใช้ ดังนั้นจะต้องแน่ใจว่าได้ปฏิบัติตามข้อก าหนดและ

เงื่อนไขที่มีอยู่ในสัญญา และคู่สัญญามีภาระผูกพันตามสัญญาอย่างเป็นที่น่าพอใจ

ในระหว่างขั้นตอนการจัดการสัญญา เป็นไปได้เสมอที่สถานการณ์จะเปลี่ยนแปลงโดยจ าเป็นต้องแก้ไขข้อตกลง

สัญญา แน่นอนว่าทีมจัดการสัญญาจะต้องท างานอย่างใกล้ชิดกับคู่สัญญา ดังนั้นจึงเป็นการดีที่จะทราบถึง

รายละเอียดความสัมพันธ์ในการท างาน ดังนั้นผู้ดูแลระบบและผู้จัดการสัญญาจึงควรมีการติดต่อสื่อสารอย่าง

ใกล้ชิด

ขั้นตอนของการจัดการสัญญา

ขั้นตอนส าคัญเจ็ดขั้นตอนของกระบวนการจัดการสัญญาจะเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติตามข้อก าหนดของ

สัญญาซึ่งจะท าให้ได้ผลลัพธ์ดีที่สุด

1. ขั้นตอนการวางแผน

ในระหว่างขั้นตอนการวางแผน จะต้องร่างรายละเอียดเฉพาะในเรื่องเร่งด่วนที่สุด เพื่อทราบถึงความต้องการ

และเป้าหมาย จากนั้นก าหนดประเภทของวิธีการหรือระบบที่จะช่วยให้สามารถจัดการกับประเด็นเหล่านั้นได้ดี

ที่สุด โดยจะต้องพิจารณาทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อจัดสรรให้เข้ากับกระบวนการจัดการสัญญา

2. ขั้นตอนการด าเนินการ

หลังจากทราบถึงกระบวนการจัดการสัญญาว่าควรมีลักษณะอย่างไร จะสามารถเริ่มใช้เครื่องมือและระบบที่

จ าเป็นเพื่อสนับสนุนการจัดการเหล่านั้น โดยจะสามารถจัดการติดตามวันครบก าหนดส่งมอบและภาระผูกพัน

อื่น ๆ อาจด้วยวิธีการใช้โปรแกรมตารางค านวณทั่วไป หรือหากเป็นโครงการที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ก็อาจ

พิจารณาใช้โปรแกรมการจัดการสัญญาโดยเฉพาะเพื่อช่วยให้สามารถติดตามข้อตกลงและวันครบก าหนดที่

ส าคัญ

ดังนั้นในกระบวนการจัดการสัญญาของทีมงาน จึงควรมีการฝึกอบรมและฝึกฝนการใช้โปรแกรมเกี่ยวกับการ

จัดการสัญญา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


29 | การจัดการสัญญา

3. ขั้นตอนก่อนการท าสัญญา

ในระหว่างขั้นตอนก่อนสัญญา จะต้องมีการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับการบริหารสัญญา เพื่อท าความเข้าใจ

รายละเอียดที่ส าคัญของสัญญาข้อตกลง สิ่งนี้จะช่วยเตรียมความพร้อมในกระบวนการจัดการสัญญา รวมถึง

แนวทางเฉพาะต่าง ๆ ที่จะช่วยให้สามารถจัดการสัญญาและส่งมอบงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ขั้นตอนการส่งมอบ

หากบุคคลที่เจรจาข้อตกลงมิใช่บุคคลเดียวกับผู้ด าเนินการส่งมอบงานตามข้อก าหนดของสัญญา จ าเป็นต้องมี

กระบวนการส่งมอบที่ละเอียด โดยมีการประชุมเฉพาะเพื่อให้มั่นใจว่ามีการจัดต าแหน่ง และความเข้าใจ

ร่วมกันในบทบาทความรับผิดชอบและการส่งมอบ

5. ขั้นตอนท าสัญญา

ขั้นตอนท าสัญญาคือเมื่อด าเนินการงานที่ก าหนดไว้ในข้อตกลงและการส่งมอบงานเสร็จสมบูรณ์ โดยเป็นไป

ตามระยะเวลาและงบประมาณที่ตกลงกันไว้ โปรแกรมการจัดการสัญญาจะสามารถช่วยให้สามารถติดตามและ

ให้ข้อมูลพื้นฐานที่จ าเป็นส าหรับการวัดประสิทธิภาพ เช่นการแจ้งเตือนอัตโนมัติ และมีการแจ้งเตือน

ก าหนดการส่งรายงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบงาน รวมถึงก าหนดระยะเวลาวันที่ส าคัญอื่น ๆ

6. ขั้นตอนการต่ออายุสัญญาล่วงหน้า

โดยทั่วไปเมื่อระยะสัญญาสิ้นสุดลง จะต้องพิจารณาว่าต้องการเจรจาต่ออายุสัญญาใหม่ หรือยุติสัญญา

บ่อยครั้งที่มีข้อก าหนดให้ต่อสัญญาโดยไม่มีบทลงโทษ ดังนั้นเพื่อประโยชน์สูงสุด จะต้องวางแผนในสถานการณ์

เหล่านี้ก่อนวันสิ้นสุดของสัญญา

7. ขั้นตอนหลังสัญญาสิ้นสุดลง

เมื่อสัญญาสิ้นสุดลงและได้มีการตกลงกัน ก่อนที่งานตามสัญญาจะเสร็จสมบูรณ์ จ าเป็นต้องตรวจทาน

ข้อก าหนดของสัญญาอย่างละเอียด เพื่อยืนยันว่าได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขทั้งหมดแล้วและได้ช าระเงินตามใบแจ้ง

หนี้แล้ว

สุดท้ายการตรวจสอบขั้นสุดท้ายจะทราบถึงข้อมูลที่ส าคัญเกี่ยวกับสัญญา และกระบวนการจัดการสัญญา

รวมถึงความส าเร็จและข้อบกพร่องที่จะช่วยให้สามารถปรับปรุงสัญญาข้อตกลงในอนาคต

4.2 แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา

การจัดการสัญญาและวิธีแก้ไขปัญหามีหลายวิธีในการบรรลุเป้าหมายของการท าสัญญา แนวทางปฏิบัติที่ดีใน

การจัดการสัญญา มีข้อส าคัญที่ใช้ได้กับทุกสถานการณ์โดยไม่ค านึงถึงขนาดและความซับซ้อนของสัญญา ดังนี้

1. เก็บรักษาสัญญาทั้งหมดไว้ในที่เดียว

ในการจัดการสัญญาของคุณอย่างมีประสิทธิภาพต้องทราบว่าสัญญาอยู่ที่ไหน ด้วยการรักษาสัญญาทั้งหมดไว้

ในที่เดียว และต้องทราบอย่างแม่นย าว่าจะไปหาข้อตกลงหรือติดตามวันที่ตามข้อก าหนดและรายละเอียด

สัญญาได้ที่ใด บทใด ข้อใด

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


30 | การจัดการสัญญา

2. ก าหนดและวัด KPI การจัดการสัญญา

การตั้งค่าและวัด KPI การจัดการสัญญาเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการพิจารณาว่าการจัดกานสัญญามีประสิทธิภาพเช่น

ไร และช่วยให้สามารถแบ่งปันข้อมูลนั้นกับผู้เกี่ยวข้อง ภายใน KPI เหล่านี้ยังช่วยให้สามารถระบุส่วนที่ไม่มี

ประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการสัญญา และพัฒนากลยุทธ์เพื่อปรับปรุงโดยลดความเสี่ยง ลดค่าใช้จ่ายที่

ไม่จ าเป็น หรือหาโอกาสข้อผิดพลาดในสัญญาข้อตกลงนี้

3. ความปลอดภัยในการจัดเก็บข้อมูลและการเข้าถึง

ฝ่ายกฎหมายและผู้จัดการสัญญาจะต้องหาความสมดุลที่เหมาะสมระหว่างความปลอดภัยของสัญญา และการ

เข้าถึง ผู้ใช้โปรแกรมการจัดการสัญญาจะต้องมีที่เก็บที่ปลอดภัยส าหรับสัญญาทั้งหมดและสามารถก าหนด

ระดับการเข้าถึงที่แตกต่างกันได้อย่างง่ายดาย ดังนั้นผู้ใช้และกลุ่มที่เฉพาะเจาะจงเท่านั้นจึงสามารถดูข้อมูลบาง

ประเภทได้ สิ่งนี้จะช่วยให้ทีมกฎหมายแบ่งปันความรับผิดชอบในการจัดการสัญญาโดยไม่สูญเสียการควบคุมใน

การเก็บข้อมูล

4. การติดตามก าหนดเวลาอนุมัติตามสัญญา

สัญญาที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีการอนุมัติได้เร็วที่สุด เพื่อให้กระบวนการนั้นมีประสิทธิภาพสูงสุด จ าเป็นต้อง

มีระบบในการตรวจสอบ การติดตามเวลาอนุมัติสัญญาจะช่วยให้เข้าใจวงจรของสัญญา และสามารถพิจารณา

ได้ว่าจ าเป็นต้องมีการปรับปรุงหรือไม่

5. การสื่อสารสัญญาอัตโนมัติ

เทคโนโลยีการจัดการสัญญาในทุกวันนี้ จะช่วยให้ทีมกฎหมายสามารถจัดการกระบวนการท าสัญญาอัตโนมัติ

ได้หลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสาร ตัวอย่างเช่นที่เก็บบนคลาวด์ช่วยให้ผู้ใช้สามารถก าหนดเวลาและ

ส่งการแจ้งเตือนสัญญาอัตโนมัติเฉพาะบุคคลได้โดยไม่ต้องใช้การแจ้งเตือนด้วยตนเองและอีเมลที่ไม่จ าเป็น

และด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยจ านวนมาก ท าให้ไม่จ าเป็นต้องส่งเอกสารแบบเดิมไปมาเพื่อการลงนาม โดยหัน

ไปใช้ตัวเลือกลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสามารถด าเนินการทันที

6. ด าเนินการทบทวนการปฏิบัติตามปกติ

ข้อดีอย่างหนึ่งของการมีกระบวนการจัดการสัญญาที่มีโครงสร้างที่ดี คือความสามารถในการปรับปรุงองค์กรให้

สอดคล้องกับกฎระเบียบทางอุตสาหกรรม โดยการตรวจสอบกฎระเบียบราชการและกฎหมายอื่น ๆ อย่าง

สม ่าเสมอ และท าให้มั่นใจว่าสัญญานั้นเป็นไปตามกฎหมาย สามารถป้องกันธุรกิจจากการผิดกฎหมายและถูก

ปรับได้ จึงจ าเป็นต้องตรวจสอบการปรับปรุงของกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเป็นประจ า และตรวจสอบสัญญาที่ใช้

งานอยู่เพื่อพิจารณาว่าจ าเป็นต้องด าเนินการใดเพื่อให้สอดคล้องตามกฎหมาย

7. การคาดการณ์ความต้องการทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป

ธุรกิจและวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นจึงเป็นสิ่งส าคัญที่จะต้องคาดการณ์การ

เปลี่ยนแปลงเหล่านั้นและปรับสัญญาให้สอดคล้องอยู่เสมอ หากธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว และทราบถึงความ

ต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงไปในระยะเวลาอันสั้น มากกว่าเพียงแค่ต่ออายุสัญญาส าหรับบริการที่มีอยู่

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


31 | การจัดการสัญญา

จ าเป็นต้องพิจารณาทบทวนอย่างใกล้ชิดเพื่อพิจารณาว่าเหมาะสมหรือไม่ที่จะปรับเปลี่ยนหรือเจรจาตกลงใหม่

ตามวัตถุประสงค์ที่เปลี่ยนแปลงไป

4.3 ขั้นตอนในการปรับปรุงการจัดการสัญญา

หากกระบวนการจัดการสัญญาจ าเป็นต้องมีการปรับปรุง ขั้นตอนต่อไปนี้จะสามารถน าไปสู่ความส าเร็จในการ

จัดการสัญญาได้อย่างรวดเร็ว

1. ด าเนินการตรวจสอบสัญญาทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง

ก่อนที่จะเริ่มด าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการสัญญา สิ่งส าคัญที่สุดคือต้องเข้าใจว่าปัญหาเหล่านั้นคือ

อะไร การด าเนินการตรวจสอบการจัดการสัญญาซึ่งรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทรัพยากรและกระบวนการ

ทั้งหมดในองค์กร ซึ่งจะส่งผลต่อวิธีการจัดการสัญญาตั้งแต่การเจรจาจนถึงการด าเนินการและการจัดการ

2. พัฒนากรอบการจัดการสัญญา

จากการตรวจสอบสามารถน าวิธีการมาจัดการรายละเอียดของสัญญา กรอบนี้ควรจัดการในทุกส่วนของ

กระบวนการจัดการสัญญาและก าหนดสิ่งที่ควรเกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แผนควรรวมถึงสิ่งต่าง ๆ

เช่นบทบาท และแผนกที่รับผิดชอบงาน รวมถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสัญญา วิธีการวัด

ประสิทธิภาพการจัดการสัญญา เครื่องมือ และระบบต่าง ๆ ที่ควรใช้ในระหว่างกระบวนการจัดการสัญญา

3. ใช้เทคโนโลยีช่วยเพื่อท าให้ง่ายขึ้น

การใช้โปรแกรมการจัดการสัญญาโดยเฉพาะสามารถปรับปรุงความสามารถในการจัดการรายละเอียดของ

สัญญาที่มีระดับความซับซ้อนมาก ให้สามารถก าหนดการส่งมอบได้ตามก าหนดเวลาที่เกี่ยวข้องในสัญญา

4.4 กระบวนการจัดการสัญญา

ไม่ว่าจะเป็นสัญญาธุรกิจขนาดเล็ก หรือใหญ่ จ าเป็นที่จะต้องทุ่มเทในการเตรียมการเจรจาต่อรอง ด าเนินงาน

และตรวจสอบสัญญา วงจรการจัดการสัญญา จะมีความท้าทายหลายประการ ที่จะท าให้งานล่าช้า หรือ

สามารถลดค่าใช้จ่ายของบริษัท ในแง่ของความล่าช้าและเสียค่าปรับ จึงจ าเป็นต้องเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการ

จัดการสัญญาเหล่านี้ และผลที่ตามมาในการจัดการสัญญา ซึ่งจะสามารถช่วยเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่ดี

1. ขอบเขตของสัญญาที่ไม่ชัดเจน

ปัญหาในการจัดการสัญญาเกิดขึ้นเมื่อสัญญามีข้อก าหนดและเงื่อนไขที่ไม่ชัดเจน และไม่ได้ระบุความ

รับผิดชอบระหว่างคู่สัญญาอย่างชัดเจน ซึ่งสามารถสร้างปัญหาแก่ทั้งสองฝ่ายในอันที่จะไม่สามารถปฏิบัติตาม

ข้อตกลงได้

ในขณะเดียวกัน ระหว่างขั้นตอนการปฏิบัติตามสัญญา ก็สามารถสร้างความขัดแย้งได้ ท าให้ต้องเสียค่าใช้จ่าย

มากขึ้น และเกิดความล่าช้าในโครงการ.

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


32 | การจัดการสัญญา

2. การจัดการสัญญาในข้อที่ไม่ได้เขียนไว้

การจัดการวงจรสัญญายังสามารถเกิดปัญหาจากข้อสัญญาทางวาจา ซึ่งมิได้ท าเป็นลายลักษณ์อักษร เมื่อไม่มี

เอกสารที่สามารถอ้างถึงข้อก าหนดและเงื่อนไขทั้งหมดของสัญญา คู่สัญญาอาจมีการตีความที่แตกต่างกัน

แม้ว่าโดยทั่วไป สัญญาจะยังคงมีสิทธิ์ในการใช้ แต่ความสับสนและความขัดแย้งต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่าง

คู่สัญญาอาจท าให้เกิดความเสี่ยงมากขึ้น

3. การติดตามและการจัดการต้นทุน

จะต้องแน่ใจว่าโครงการอยู่ในงบประมาณ ซึ่งเป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ต้องเผชิญในการจัดการสัญญา ในกรณีที่มี

สัญญาหลายฉบับ การจัดการอาจเป็นเรื่องยากที่จะบันทึกค่าใช้จ่าย และด าเนินการเพื่อควบคุมงบประมาณ ที่

ก าหนดไว้กับผู้รับจ้างแต่ละราย ซึ่งท าให้เกิดปัญหาทางการเงิน และท าให้ไม่สามารถด าเนินการโครงการให้

แล้วเสร็จได้

4. กระบวนการเจรจาที่ไม่มีประสิทธิภาพ

กระบวนการเจรจาต่อรองที่ยาวนานสามารถสร้างความล่าช้า และสร้างความเสียหายให้กับบริษัทในด้าน

การเงินและชะลอผลประโยชน์ของบริษัท จากจุดเริ่มต้นของกระบวนการเจรจาอาจใช้เวลานานเกินไปในการ

ร่างสัญญาและไม่สามารถสื่อสารกับผู้รับจ้างได้อย่างมีประสิทธิภาพในการแก้ไขหรือขจัดปัญหาที่จ าเป็น

กระบวนการเจรจาอาจใช้เวลานานเกินไปเมื่อบริษัทต้องรอค าตอบจากผู้รับจ้าง ผลกระทบนี้อาจเลวร้ายยิ่งขึ้น

หากบริษัท ไม่ได้ใช้ระบบการจัดการสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากการจัดการเอกสารแบบปรกติจะใช้เวลาใน

การติดต่อสื่อสารมากกว่า

5. กระบวนการตรวจสอบสัญญาที่ไม่ดี

กระบวนการจัดการสัญญา จ าเป็นต้องตรวจสอบสัญญาเป็นประจ า เพื่อความชัดเจนและความเสี่ยงทาง

กฎหมาย การตรวจสอบสัญญาอย่างไม่เหมาะสมและไม่ชัดเจนอาจน าไปสู่ข้อพิพาท เกิดความล่าช้า และอาจ

ก่อให้เกิดปัญหาทางกฎหมาย

นอกจากนี้กระบวนการตรวจสอบทางกฎหมายอาจท าให้กระบวนการลงนามในสัญญาล่าช้า โดยเฉพาะอย่าง

ยิ่งเมื่อขาดความระมัดระวัง จึงจ าเป็นต้องตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย

6. การต่ออายุสัญญา

ก่อนจะหมดอายุสัญญา จ าเป็นต้องตัดสินใจเรื่องการต่ออายุสัญญา กรณีที่มีหลายสัญญาอาจมีปัญหาท าให้งาน

หยุดชะงักเมื่อลืมที่จะต่ออายุสัญญา

การจัดการสัญญาที่หมดอายุและการต่ออายุที่ไม่ถูกต้อง จะท าให้การเรียกเก็บเงินค่าบริการมีปัญหา

7. ความล้มเหลวเนื่องจากการสื่อสารไม่ดี

ตั้งแต่เริ่มสัญญาไปจนถึงขั้นตอนการแล้วเสร็จจะต้องมีการสื่อสารกับผู้รับจ้างตลอดเวลา สิ่งนี้จะช่วยให้เข้าใจ

ในเงื่อนไขของสัญญา จัดการปัญหาด้านประสิทธิภาพได้ทันที และรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ

เมื่อการสื่อสารไม่ดีพอ จะเกิดความเสี่ยง ซึ่งไม่เพียงแต่กระบวนการแล้วเสร็จของโครงการจะใช้เวลานานขึ้น

เท่านั้น อาจส่งผลให้สูญเสียเวลาและเงินจ านวนมากและอาจเป็นผลเสียต่อธุรกิจ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


33 | การจัดการสัญญา

8. การตรวจสอบการปฏิบัติตามสัญญา

ผู้จัดการสามารถพบปัญหาจากการตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อตกลงของสัญญา เพราะยากที่จะทราบถึง

ประสิทธิภาพการท างานของผู้รับจ้างได้ตลอดเวลา ในขณะที่โครงการอาจเลือกผู้รับจ้างที่มีชื่อเสียง แต่ใน

บางครั้งอาจท างานมีประสิทธิภาพต ่าหรือไม่ปฏิบัติตามข้อใดข้อหนึ่งในข้อในสัญญาอย่างถูกต้อง

สิ่งนี้อาจท าให้เกิดปัญหาได้หากคุณไม่ติดต่อกับผู้รับจ้างอย่างใกล้ชิด และหากไม่มีเวลาในการตรวจสอบผู้รับ

จ้าง หรือไม่ทราบเงื่อนไขทั้งหมดของสัญญาด้วยตนเอง อาจท าให้พลาดประเด็นส าคัญที่ต้องจัดการให้ทัน

การณ์

9. การใช้เทคโนโลยีไม่เหมาะสม

การใช้ทรัพยากรทางเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม อาจสร้างปัญหาในการจัดการสัญญาได้หลายประการ เมื่อต้องมี

การติดตามการปฏิบัติงาน การติดตามต้นทุนและก าหนดเวลาการมีเอกสารที่ต้องลงนามและจัดการบันทึก

ต่าง ๆ

กระบวนการจัดการสัญญาทั้งหมดอาจล่าช้า เนื่องจากเนื่องจากความไร้ประสิทธิภาพในการท าทุกอย่างด้วยวิธี

ปรกติแบบดั้งเดิม ท้ายที่สุดอาจจะต้องส่งเอกสารกลับไปกลับมากับผู้รับจ้าง และใช้เวลาอย่างมีนัยส าคัญใน

การตรวจสอบด้วยตนเอง การใช้โปรแกรมการจัดการสัญญาสามารถท าให้กระบวนการเหล่านี้เป็นไปโดย

อัตโนมัติและป้องกันข้อผิดพลาด

10. ผลที่ตามมาของการจัดการสัญญาที่ไม่ดี

ปัญหาการจัดการสัญญาเหล่านี้มีผลท าให้โครงการล่าช้าหรือล้มเหลว ผลที่ตามมาของการจัดการสัญญาที่ไม่ดี

อาจรวมถึงบทลงโทษและการฟ้องร้องส าหรับการไม่ปฏิบัติตามข้อก าหนดของสัญญา อาจมีการยกเลิกสัญญา

การจัดการสัญญาที่ไม่ดีอาจท าให้เอกสารส าคัญผิดพลาดได้ เกิดความสับสนท าให้ต้องมีการท างานซ ้า จน

กระทบต่อสัญญาโดยรวม

11.แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา

การพิจารณาขั้นตอนเพื่อจัดการสัญญาอย่างมีประสิทธิภาพ และป้องกันปัญหาที่เกิดจากการไม่ปฏิบัติตาม

สัญญาด้วยการน าโปรแกรมการจัดการสัญญาไปใช้จะช่วยเพิ่มความรวดเร็วในการเจรจาและลดขั้นตอนการลง

นาม รวมถึงการตรวจสอบและควบคุมสัญญาตั้งแต่ต้นจนจบ การใช้เครื่องมือนี้จะช่วยให้ทุกฝ่ายสามารถ

ติดตามการเปลี่ยนแปลง ที่ร้องขอได้ง่ายขึ้น และมีการจัดท าบันทึกอย่างละเอียดที่จะช่วยลดข้อพิพาทที่อาจ

เกิดขึ้น ทั้งยังสามารถช่วยปรับปรุงความปลอดภัยของเอกสาร โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับความสับสนในการ

รับส่งเอกสาร

นอกจากนี้ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีข้อมูลเพียงพอที่จะท าให้สัญญาเป็นปัจจุบัน และต้องแน่ใจว่าแผนงานมี

เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการกับข้อพิพาทในอนาคต การพิจารณาเอกสารจากการเรียนรู้ในสัญญาที่ผ่านมา จะท า

ให้มีข้อเสนอแนะที่สามารถน ากลับมาอ้างอิงได้ ควรจัดให้มีการฝึกอบรมวิธีปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


34 | การจัดการสัญญา

12. การวิเคราะห์กระบวนการจัดการสัญญา

วัตถุประสงค์ในส่วนนี้คือการทบทวนกระบวนการโครงการ EPC เพื่อระบุความเสี่ยงระหว่างขั้นตอนการ

ด าเนินการตามสัญญา และเพื่อหาวิธีการที่ใช้ในการจัดการสัญญาการจัดการ

การจัดการสัญญาเป็นระบบที่ซับซ้อนและเป็นพลวัต เราสามารถสร้างโครงสร้างสามมิติ เพื่อวิเคราะห์ (ดูรูปที่

12-1)

12.1 กระบวนการโครงการ EPC

ลักษณะของระบบการส่งมอบโครงการ EPC ประกอบด้วยสามส่วน:

การจัดการการออกแบบ การจัดการการจัดซื้อ และการจัดการการก่อสร้าง

ทั้งสามส่วนจะอธิบายกระบวนการในรูปแบบต่างๆ หนึ่งคือเกี่ยวกับบทบัญญัติของการออกแบบ การจัดซื้อและ

การก่อสร้าง ส่วนอื่น ๆ จะเป็นเรื่องเฉพาะกลยุทธ์ที่ผู้รับจ้างใช้ในงานบริหาร

12.2 การจัดการสัญญา

การจัดการสัญญาโครงการ EPC จะประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้: การจัดการการเงิน การจัดเรื่องสุขภาพ

ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม การจัดการด้านคุณภาพ การจัดการตารางเวลา การจัดการด้านทรัพยากร

มนุษย์ และการจัดการด้านการจัดซื้อ

รูปที่ 12.1 โครงสร้างการจัดการสัญญาก่อสร้าง EPC

ระบบการจัดการสัญญาจะต้องมีการก าหนดเป้าหมายด้านความปลอดภัย คุณภาพ ก าหนดการ และต้นทุนซึ่ง

เป็นพื้นฐานหลักของผู้รับจ้างในการควบคุมโครงการ

การจัดการสัญญามีบทบาทส าคัญในการจัดการโครงการ สัญญาจะก าหนดเป้าหมายในด้านความปลอดภัย

การก าหนดคุณภาพ และต้นทุนซึ่งเป็นพื้นฐานหลักของผู้รับจ้างในการควบคุมโครงการ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


35 | การจัดการสัญญา

12.3 คุณลักษณะในการจัดการสัญญา:

(1) กระบวนการทั้งหมด ตลอดอายุของสัญญาจะยาวนานมาก เนื่องจากโครงการ EPC ต้องใช้เวลานานกว่า

โครงการจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นการจัดการสัญญาจะต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดวงจรชีวิตของ

โครงการ

(2) ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ เป้าหมายของการจัดการสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม การ

จัดการคุณภาพ การจัดการต้นทุน การจัดการตารางเวลา และการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะต้องเป็นไปตาม

เป้าหมายของวัตถุประสงค์โดยรวม

(3) มีความเป็นระบบ โดยที่เงื่อนไขและสถานการณ์ของสัญญา EPC มีความซับซ้อน ความสัมพันธ์ระหว่างส่วน

ต่าง ๆ จ าเป็นพิจารณาทุกแง่ทุกมุม และจ าเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพของทรัพยากร

(4) มีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด มูลค่าโดยทั่วไปของโครงการมักจะสูงมาก จึงจ าเป็นต้องมีการจัดการปฏิบัติ

อย่างรัดกุม เคร่งครัด ความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยอาจท าให้โครงการล้มเหลวโดยสิ้นเชิง ซึ่งน าไปสู่การสูญเสีย

เงินจ านวนมาก

รูปที่ 12-2 โครงสร้างการจัดการความเสี่ยงในสัญญา

การจัดการสัญญาโครงการ EPC สามารถพิจารณาได้จากหกข้อหลัก ดังต่อไปนี้คือ: การจัดการการเงิน, การ

จัดการด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม การจัดการด้านคุณภาพ การจัดการตารางเวลา การ

จัดการทรัพยากรมนุษย์ และการจัดการการจัดซื้อ ความรู้ทางวิชาชีพก็มีความส าคัญมาก

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


36 | การจัดการสัญญา

13. การจัดการด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม

1. ทั่วไป

เป้าหมายของการจัดการ สุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม คือการรับประกันสุขภาพและความ

ปลอดภัยของผู้คน ปกป้องธรรมชาติ ลดมลพิษ และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

2. วิธีการ

เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย จ าเป็นต้องปฏิบ้ติดังนี้:

(ก) การก าหนดเกณฑ์ในการจัดการ

ข้อก าหนดด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมมีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศ

จ าเป็นต้องปฏิบัติตามข้อก าหนดภายในประเทศนั้น ๆ รวมถึงข้อก าหนดในแต่ละท้องถิ่น

รูปที่ 13-1 การจัดการด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม

ระบบการจัดการ สุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม มีองค์ประกอบหลัก 8 ประการ เป็นแนวทาง และ

ข้อสัญญา แนวทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ การจัดองค์กร ทรัพยากรและเอกสาร การประมาณการ และการ

จัดการความเสี่ยง การจัดโปรแกรม การน าไปใช้ปฏิบัติ การตรวจสอบและการประเมิน ทุกองค์ประกอบเป็น

เกณฑ์ที่ฝ่ายบริหารจัดการ สุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ต้องด าเนินการให้บรรลุตามเกณฑ์ที่

ก าหนดไว้ ค าแนะน าและข้อสัญญา คือส่วนหลักของระบบการจัดการ องค์ประกอบอื่น ๆ จะหมุนเวียนวนรอบ

แกนกลาง และเป็นด าเนินการอย่างเป็นระบบเพื่อให้ระบบด าเนินการอย่างสัมฤทธิผลและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


37 | การจัดการสัญญา

(ข) ก าหนดมาตรฐานการประเมินระบบการจัดการ และตรวจสอบอย่างสม ่าเสมอ การประเมินควรรวมถึง

ระบบการจัดการ ที่ตรงกับเป้าหมาย และระบบการจัดการ ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(ค) จัดตั้งแผนกบริหารจัดการด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม และแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติ

เหมาะสมในการดูแลจัดการ หน้าที่ของผู้จัดการทุกคนจะต้องได้รับการอธิบายและน าไปปฏิบัติอย่างชัดเจน

ตามที่ระบุในเอกสาร และสามารถชี้แจงได้

(ง) มีการฝึกอบรมพนักงาน เพื่อให้แน่ใจว่าพวกคนมีความรู้ความเข้าใจในระบบการจัดการเป็นอย่างดี

(จ) รับผิดชอบการจัดการของผู้รับจ้างช่วงด้วย

14. การจัดการตารางแผนงาน

1. ทั่วไป

การจัดการตารางแผนงาน จะท าให้แน่ใจว่างานที่ก าหนดบางงานจะแล้วเสร็จในเวลาที่แน่นอน ตามล าดับการ

แล้วเสร็จของงานในเวลาที่ก าหนดไว้ การจัดการตารางแผนงานจะมีความส าคัญมาก งานตามแผนการจัดการ

ตารางแผนงาน รวมถึงการก าหนดตารางเวลา การติดตามโครงการ ก าหนดการปรับปรุง และรายงาน เป็นงาน

ของแผนกควบคุม และรวมอยู่ในงานของแผนกวิศวกรรม แผนกจัดซื้อ แผนกก่อสร้าง และแผนกควบคุม

คุณภาพ ตารางแผนงานในโครงการจะแบ่งออกเป็นสามระดับ ระดับแรกเป็นการจัดการการวางแผน ผู้จัดการ

จะก าหนดเวลาเริ่มงานและแล้วเสร็จส าหรับงานหลัก มีการตรวจติดตาม ในกรณีที่ขอบเขตของสัญญา

เปลี่ยนแปลง ระดับความส าคัญของงานก็จะยังคงเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง ระดับที่สองคือการวางแผนงานที่

ส าคัญ ระดับนี้มีรายละเอียดมากกว่าระดับที่หนึ่ง แผนกควบคุมดูแลการตรวจสอบและควบคุม จะใช้วิธี

เส้นทางวิกฤตของโครงการ (Critical Path Method: CPM) ในการจัดการวางแผนงาน ระดับที่สามคือการวาง

แผนการควบคุมรายละเอียด ระดับนี้สามารถเรียกว่าการวางแผนการก่อสร้าง ซึ่งเป็นวิธีที่ละเอียดมาก

ที่สุด แผนกก่อสร้างจะใช้เวลาในการควบคุม และมีการวางแผนปรับปรุงบ่อยที่สุด

2. สาเหตุของความเสี่ยงในแผนงานที่ก าหนด

(ก) ตารางได้รับการออกแบบเกินขีดความสามารถในการท างาน

(ข) เหตุผลธรรมชาติ

(ค) ข้อผิดพลาดในการจัดการ เช่นการขาดการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน

(ง) การเปลี่ยนแปลงทางวิศวกรรม

(จ) เหตุผลทางการเงิน

(ฉ) ความล่าช้าในการจัดหาวัสดุและอุปกรณ์

3. วิธีแก้ไขปัญหาเรื่องแผนก าหนดการเวลา

(ก) เปลี่ยนล าดับความต่อเนื่องการท างานงานต่าง ๆ

(ข) เพิ่มทรัพยากรที่ใช้ในการท างาน เช่นแรงงานและเครื่องจักร

(ค) มีการกระจายทรัพยากร

(ง) จ้างแรงงานภายนอก (Outsource)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


38 | การจัดการสัญญา

(จ) เพิ่มประสิทธิภาพการท างานเช่นการฝึกอบรมและแรงจูงใจ

(ฉ) ลดจ านวนการท างาน หรือยกเลิกการท างานในบางส่วน

15. การจัดการด้านคุณภาพ

1. ทั่วไป

ไม่ว่าคุณภาพของโครงการจะดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของผู้ว่าจ้าง นอกจากนี้ยังสามารถวัดได้ตาม

ข้อก าหนดในสัญญา ข้อก าหนดของคุณภาพโครงการควรเป็นไปตามเอกสารสัญญาเอกสารวิศวกรรมและ

เกณฑ์ข้อก าหนดทางเทคนิค

2. แบบจ าลองกระบวนการจัดการด้านคุณภาพ

รูปแบบกระบวนการบริหารคุณภาพโครงการแสดงได้ดังนี้:

- ผู้จัดการโครงการควรท าความเข้าใจเกี่ยวกับข้อก าหนดผ่านความรับผิดชอบด้านการจัดการ

- ระบุและใช้ทรัพยากรที่จ าเป็นผ่านการจัดการทรัพยากร

- สร้างและด าเนินการตามขั้นตอนผ่านกระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์และการให้บริการ

- ตรวจวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลลัพธ์

- มีการจัดการ และมีข้อเสนอแนะในข้อบกพร่องของเอกสาร

รูปที่ 15-1 ระบบการจัดการด้านคุณภาพ

ตามที่แสดงในภาพด้านบน โครงการควรทราบถึงความต้องการของเจ้าของงาน หลังจากมีการจัดหาผลิตภัณฑ์

และบริการ จะต้องดูความพึงพอใจของเจ้าของงาน ซึ่งจะท าให้ทราบได้ว่าโครงการบรรลุเป้าหมายหรือไม่ เพื่อ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


39 | การจัดการสัญญา

ตั้งค่าระบบการจัดการคุณภาพที่เพียงพอและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง คู่มือคุณภาพ แผนคุณภาพ เอกสาร

ขั้นตอนบันทึกคุณภาพจะต้องรวมอยู่ในงานเหล่านี้ ต้องมีการตรวจสอบระบบการจัดการคุณภาพอย่าง

สม ่าเสมอ ระบบการประเมินควรตั้งค่าเพื่อตรวจสอบระบบการจัดการคุณภาพ หากมีข้อผิดพลาด ทุกอย่าง

จะต้องมีการวางแผน และเริ่มใหม่จากจุดเริ่มต้น เพราะค่าใช้จ่ายและความสูญเสียจะมีขนาดใหญ่ เนื่องจาก

ขาดการการควบคุม เจ้าของงานจะปฏิเสธที่จะยอมรับงานในโครงการ เนื่องจากคุณภาพของการก่อสร้างไม่

เป็นไปตามมาตรฐานหลังจากผ่านการตรวจสอบ ความรับผิดชอบควรมอบหมายให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่งและ

ต้องรับผิดชอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น มีการประเมินผลอย่างสม ่าเสมอ และต้องได้รับความ

ใส่ใจจากพนักงานทุกระดับ

16. การจัดการทางด้านการเงิน

1. ทั่วไป

ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นจุดส าคัญในการประเมินว่าโครงการคุ้มค่าหรือไม่ในระยะยาว ในการวางแผน

ต้นทุนจะมีมาตรการเพื่อแก้ไขการเบี่ยงเบนที่เกิดขึ้น การจัดการทางการเงินด้วยการจัดการที่หลากหลายด้วย

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการจัดการวัสดุสามารถน ามาใช้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเงินเพื่อ

ผลประโยชน์ของบริษัท

2. วิธีการจัดการด้านการเงิน

งานหลักของการจัดการทางด้านการเงิน ได้แก่ การวางแผนทรัพยากร การประมาณต้นทุน การวางแผนต้นทุน

และการควบคุมต้นทุน ขั้นตอนการจัดการทางการเงินแสดงไว้ตามรูปที่ ด้านล่างนี้:

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


40 | การจัดการสัญญา

รูปที่ 16-1 วิธีการจัดการด้านการเงิน

สถานการณ์พิเศษที่จะต้องพิจารณาคือ:

- วางแผนด้านการเงิน

- วางแผนการจัดการด้านการเงิน

- วางแผนการช าระเงิน

- ก าหนดการช าระเงิน

- วางแผนตารางเวลา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


41 | การจัดการสัญญา

ก่อนการลงนามในสัญญา จะต้องน าสิ่งที่เป็นไปได้มาพิจารณาเพื่อให้มั่นใจว่า ทุกฝ่ายมีความรับผิดชอบในส่วน

ของตนเองโดยเฉพาะด้านการเงิน ภาระผูกพัน กับเจ้าของงาน บริษัทที่รับผิดชอบโครงการ การจัดการเพื่อให้

มั่นใจว่ามีการจ่ายเงินล่วงหน้าหรือจะจ่ายเมื่อได้ได้ส่งใบแจ้งหนี้

4.5 การจัดซื้อจัดหา

1. ทั่วไป

ในโครงการ EPC บริษัทจากประเทศต่าง ๆ มารวมตัวกัน เพื่อท างานเฉพาะด้าน เมื่อพิจารณาถึงมาตรฐานของ

วัสดุต่าง ๆ แหล่งก าเนิดของทรัพยากร ความผันผวนของราคาวัสดุ และความเสี่ยงต่าง ๆ สภาพแวดล้อมของ

การออกแบบ จัดซื้อจัดหา และการก่อสร้าง จะมีความสอดคล้องต้องกัน ซึ่งล้วนแต่จะมีบทบาทส าคัญในการ

ด าเนินโครงการ

2. ความสอดคล้องระหว่างการจัดหาและวิศวกรรม

(ก) ท าการจัดหาและด้านวิศวกรรมในเวลาเดียวกัน การจัดซื้อวัสดุล่วงหน้าจะท าให้ระยะเวลาของโครงการสั้น

ลง

(ข) การปรับปรุงระบบการสื่อสาร ด้วยซอฟต์แวร์ที่จัดการโครงการอิเล็กทรอนิกส์ จะมีผลต่อประสิทธิผล

โดยรวมของกระบวนการจัดการ

(ค) ลดความสูญเสีย ลดก าหนดระยะเวลาในความล่าช้าที่เกิดจากการจัดหา

ข้อควรระวัง:

(ก) ไม่จ าเป็นต้องซื้อวัสดุส าคัญทั้งหมดจากผู้จัดจ าหน่ายที่ดีที่สุด ควรมีการจัดซื้อจากท้องถิ่นให้มากที่สุด ซึ่งจะ

ท าให้ต้นทุนการจัดซื้อลดลงอย่างมาก ฝ่ายจัดซื้อควรแจ้งแผนกวิศวกรรมเกี่ยวกับตลาดของอุปกรณ์และวัสดุ

(ข) วิเคราะห์ประเภทและปริมาณของวัสดุซึ่งจะช่วยในการวางแผนมากขึ้น มีความสมเหตุสมผล และสามารถ

ลดต้นทุน

(ค) เจ้าหน้าที่เทคนิคและผู้ผลิตควรสื่อสารอย่างสม ่าเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าได้วัสดุที่ถูกต้อง

3. ความสอดคล้องระหว่างการจัดหาและการก่อสร้าง

(ก) แผนกจัดซื้อควรให้ข้อมูลแก่แผนกก่อสร้างโดยเร็วที่สุดเพื่อให้แผนกก่อสร้าง เพิ่อสามารถท าการ

เปลี่ยนแปลงที่จ าเป็นได้ทันเวลา

(ข) ส าหรับอุปกรณ์ขนาดใหญ่และส าคัญควรแจ้งแผนกจัดซื้อล่วงหน้า

(ค) แผนกก่อสร้างควรติดต่อกับแผนกจัดซื้อ โดยแจ้งให้ทันเวลากับการใช้งาน

4.6 การจัดการทรัพยากรมนุษย์

1. ทั่วไป

การจัดการทรัพยากรมนุษย์โครงการในระดับสากล จะมีลักษณะเฉพาะของแต่ละประเทศ ตัวอย่างคือ

วัฒนธรรมและภูมิหลังที่แตกต่างกัน บุคลากรจ าเป็นต้องใช้เวลาในการปรับตัวเข้ากับการเมือง วัฒนธรรมและ

กฎหมายของประเทศนั้น ๆ ภาษาเป็นสิ่งที่มีความท้าทายมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีความเข้าใจไม่ตรงกัน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


42 | การจัดการสัญญา

2. ปัญหา

ความสามารถในการจัดการของผู้รับเหมาช่วงและความสามารถทางวิชาชีพไม่สามารถก าหนดได้ เพื่อ

ตอบสนองความต้องการของการจัดการสถานที่ก่อสร้าง ในระหว่างการด าเนินโครงการ การไม่มีทักษะที่จ าเป็น

จะส่งผลให้เกิดความสับสน ทักษะและคุณภาพของวัสดุก่อสร้างไม่สามารถตอบสนองความต้องการ บุคคลากร

ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับประเทศที่ท าการก่อสร้างได้ กฎหมาย ศาสนา ประเพณีและสภาพแวดล้อมทาง

ธรรมชาติที่รุนแรง ผู้รับเหมาช่วงบางรายไม่ช าระเงิน ตรงตามเวลาหรือตามแผนที่วางไว้โดยเฉพาะในวันพิเศษ

เช่นวันปีใหม่และงานเทศกาลต่าง ๆ

3. วิธีการปรับปรุงสถานการณ์:

จ าเป็นต้องฝึกอบรมการจัดการสัญญาเป็นประจ า ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาทักษะการจัดการของผู้จัดการ

และปรับปรุงการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับการจัดการสัญญา มีการปรับปรุงการฝึกอบรมพนักงานและ

การศึกษาก่อนที่จะไปท างานต่างประเทศโดยเฉพาะภาษา กฎหมาย วัฒนธรรม และศาสนา รวมถึงต้องเข้าใจ

ในความแตกต่างของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ รับรู้ความเสี่ยงที่เกิดจากความแตกต่างของศาสนา

ขนบธรรมเนียม ประเพณีและอื่น ๆ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


43 | การจัดการ EPC

5. การจัดการการออกแบบ (Engineering/Design Management)

ในโครงการ อีพีซี ผู้รับจ้างจะด าเนินการออกแบบตามความต้องการของผู้ว่าจ้าง ตามข้อก าหนดและมี

ประสิทธิภาพ ความน่าเชื่อถือ โครงสร้างต่าง ๆ จะต้องด าเนินการออกแบบตามเกณฑ์การออกแบบที่ก าหนด

ด าเนินการจัดซื้อจัดหา และท าการก่อสร้างทั้งหมดในลักษณะแบบ 'ครบวงจร' โดยผู้ว่าจ้างจะได้รับงานที่แล้ว

เสร็จสมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์ความต้องการตามแผนงานในเวลาที่ก าหนด มีการทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ

ภายในงบประมาณที่ก าหนดไว้

บุคคลากรหลักฝ่ายผู้ว่าจ้างจะมีการแต่งตั้ง ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (Employer's Representative) ท าหน้าที่

ในการก ากับดูแลการก่อสร้าง และด าเนินการตามสัญญาแทนผู้ว่าจ้าง

ความรับผิดชอบในการออกแบบ จัดซื้อจัดหา และก่อสร้าง จะมีความเชื่อมโยงเกี่ยวกับเวลาและต้นทุน ภายใต้

รูปแบบสัญญา อีพีซี ผู้รับจ้างตกลงราคาเหมาจ่ายคงที่ (lump sum fixed price) และมีขอบเขตที่จ ากัดใน

เรื่องชองการเรียกร้องขยายเวลา และเงินเพิ่มเติม

แต่โครงการอีพีซี จะมีราคาค่อนข้างสูง เนื่องจากผู้รับจ้างจะก าหนดราคาความเสี่ยงเป็นจ านวนเงินรวมไว้ด้วย

เหนืออื่นใด ในสัญญา อีพีซี คือการจัดสรรความเสี่ยงโดยรวมให้กับผู้รับจ้าง รวมถึงความยากของงานที่คาดเดา

ไม่ได้ เว้นแต่จะมีการระบุไว้เป็นอย่างอื่นในสัญญา

ผู้รับจ้างจะถือว่าได้รับข้อมูลที่จ าเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับความเสี่ยง ภาระผูกพัน และสถานการณ์อื่น ๆ ที่อาจมี

อิทธิพลหรือส่งผลกระทบต่องาน โดยการลงนามในสัญญา ผู้รับจ้างยอมรับความรับผิดชอบทั้งหมดในการ

คาดการณ์ปัญหาทั้งหมด และเผื่อรวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการท างานให้แล้วเสร็จ และราคาตามสัญญาจะไม่มี

การปรับค่างานที่คาดเดาไม่ได้

5.1 ความรับผิดชอบในการออกแบบ (Design Responsibilty)

ผู้รับจ้างมีภาระผูกพันในการออกแบบด าเนินการและท างานให้เสร็จตามสัญญาเพื่อให้งานสมบูรณ์และเหมาะ

ส าหรับวัตถุประสงค์ตามที่ก าหนดไว้ในสัญญา รวมถึงจะแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ในงาน เมื่อแล้วเสร็จ ผลงาน

จะต้องเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของงานก่อสร้างตามที่ก าหนดไว้ในสัญญา

5.2 พันธะทั่วไปในการออกแบบ (General Design Obligations)

ผู้รับจ้างจะต้องพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้ว่าจ้าง (รวมถึงเกณฑ์การออกแบบ และการ

ค านวณ)

ผู้ว่าจ้างจะไม่รับผิดชอบต่อข้อผิดพลาดความไม่ถูกต้องหรือการละเว้นใด ๆ ตามวัตถุประสงต์ ความต้องการ

ของผู้ว่าจ้าง ตามที่ระบุไว้ในสัญญา และจะไม่ถือว่าการให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือครบถ้วน หรือข้อมูลใด ๆ

ยกเว้นที่ระบุไว้ ที่ผู้รับจ้างได้รับจากผู้ว่าจ้าง หรืออื่น ๆ จะไม่ช่วยลดภาระหน้าที่ของผู้รับจ้างจากความ

รับผิดชอบในการออกแบบและการด าเนินงาน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


44 | การจัดการ EPC

อย่างไรก็ตามผู้ว่าจ้างจะต้องรับผิดชอบต่อความถูกต้องของส่วนต่างๆตามวัตถุประสงต์ ความต้องการของ

ผู้ว่าจ้าง และข้อมูลที่ผู้ว่าจ้าง (หรือในนามของผู้ว่าจ้าง) จัดหาให้ต่อไปนี้

(ก) ส่วนข้อมูลและข้อมูลที่ระบุไว้ในสัญญา ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ว่าจ้าง

(ข) ค าจ ากัดความของวัตถุประสงค์ของงานหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของงาน

(ค) เกณฑ์ส าหรับการทดสอบและการปฏิบัติงานที่เสร็จสมบูรณ์ และ

(ง) บางส่วนของข้อมูลและข้อมูลที่ไม่สามารถตรวจสอบได้โดยผู้รับจ้าง เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่นในสัญญา

5.3 เอกสารของผู้รับจ้าง (Contractor’s Document)

เอกสารของผู้รับจ้างประกอบด้วยเอกสารทางเทคนิคตามที่ระบุในเอกสารวัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้

ว่าจ้าง เอกสารต้องถูกต้องและได้รับการอนุมัติเอกสารตามกฏ และระเบียบ เว้นแต่จะระบุเป็นอย่างอื่นใน

เอกสารวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้าง เอกสารของผู้รับจ้างต้องเขียนด้วยภาษาเพื่อการสื่อสารตามที่ได้ตกลงกันไว้

ผู้รับจ้างต้องจัดท าเอกสาร และเอกสารอื่น ๆ ที่จ าเป็นให้ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง ผู้แทนของผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์ที่จะตรวจ

เอกสารที่จัดท าขึ้นนั้นด้วยทุกครั้งที่มีการจัดท าขึ้น

หากเอกสารวัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้ว่าจ้างระบุให้จัดท าเอกสาร ผู้รับจ้างต้องจัดท า และเสนอมอบ

ให้แก่ผู้ว่าจ้างเพื่อการศึกษาทบทวนและพิจารณาเห็นชอบอนุมัติ ผู้รับจ้างจะต้องเสนอให้แก่ผู้ว่าจ้าง พร้อมด้วย

บันทึก

(ก) “ช่วงระยะเวลาตรวจทาน (Review Period) ซึ่งหมายถึงช่วงระยะเวลาให้ผู้ว่าจ้างท าการตรวจทาน (หากมี

การก าหนดไว้) และพิจารณาอนุมัติ

(ข) เอกสารของผู้รับจ้างซึ่งไม่รวมเอกสารอื่นใดตามที่ระบุไว้ ไม่ต้องเสนอให้ตรวจทานและพิจารณาขออนุมัติ

ในระยะเวลาการตรวจทาน ผู้ว่าจ้างอาจมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้างว่า เอกสารนั้นบกพร่อง (ตามที่ระบุไว้) ไม่ครบ

ถูกต้องกับสัญญา หากเอกสารของผู้รับจ้างบกพร่องผิดกับสัญญา ผู้รับจ้างต้องปรับปรุงแก้ไขและส่งมอบให้

ใหม่เพื่อการตรวจทาน ด้วยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง

ส าหรับส่วนงานแต่ละส่วน และยกเว้นในกรณีที่คู่สัญญาตกลงเป็นอย่างอื่น:

(ก) การด าเนินการของส่วนงานดังกล่าวจะต้องเริ่มต้นก่อนระยะเวลาการทบทวนเอกสารเอกสารโดย

ผู้ว่าจ้าง

(ข) การด าเนินการงานดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามเอกสารของผู้รับจ้าง ตามที่ยื่นเพื่อพิจารณา และ

(ค) หากผู้รับจ้างประสงค์ที่จะแก้ไขการออกแบบหรือเอกสารใด ๆ ที่เคยยื่นเพื่อตรวจสอบแล้ว ผู้รับจ้าง

ต้องแจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบทันที หลังจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องส่งเอกสารที่แก้ไขแล้วให้กับผู้ว่าจ้างตามขั้นตอน

ข้างต้น

ข้อตกลงดังกล่าว หรือการทบทวนใด ๆ จะไม่ท าให้ลดภาระหน้าที่หรือความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


45 | การจัดการ EPC

5.4 ภาระหน้าที่ของผู้รับจ้าง (Contractor’s Undertaking)

ผู้รับจ้างมีหน้าที่ ออกแบบ จัดท าเอกสาร และด าเนินการก่อสร้างให้งานแล้วเสร็จ ตามข้อก าหนดดังนี้

(ก) ตามกฎหมายของประเทศนั้น ๆ และ

(ข) เอกสารประกอบแนบในสัญญา ตามที่ปรับเปลี่ยนหรือขยายความโดยการเปลี่ยนแปลง

5.5 มาตรฐานทางเทคนิคและกฏระเบียบ (Technical Standards และ Regulations)

งานออกแบบและเอกสารของผู้รับจ้างเพื่อการก่อสร้าง และการแล้วเสร็จของงานก่อสร้าง ต้องปฏิบัติตาม

กฏหมายของประเทศที่โครงการตั้งอยู่ ซึ่งจะต้องถูกต้องกับมาตรฐานทางเทคนิค การก่อสร้าง และกฎหมาย

สิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ในโครงการจะต้องถูกต้องตามกฎหมาย และมาตรฐานอื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้

ในเอกสารวัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้ว่าจ้าง ซึ่งถูกต้องตามกฎหมาย

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมดหรือส่วนของงานเหล่านี้ ซึ่งเป็นงานที่ต้องส่งมอบให้แก่ผู้ว่าจ้าง จะอ้างอิง

ตามสัญญา มาตรฐานฉบับที่ใช้ ณ วันที่ผู้รับจ้างเสนอราคาเว้นแต่จะได้ระบุเป็นอื่น

หากมีการเปลี่ยนหรือมีมาตรฐานฉบับใหม่ออกมาบังคับใช้ในประเทศนั้นภายหลังวันที่ผู้รับจ้างยื่นข้อเสนอ

เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขดังนี้

(ก) ผู้ว่าจ้างได้พิจารณาแล้วว่าต้องปฏิบัติตามระเบียบ และ

(ข) ข้อเสนอเพื่อการเปลี่ยนแปลง

ผู้ว่าจ้างจะพิจารณาให้มีการเปลี่ยนแปลงงาน

5.6 การฝึกอบรม (Training)

ผู้รับจ้างต้องด าเนินการฝึกอบรมให้แก่พนักงานของผู้ว่าจ้างในการด าเนินงานและการบ ารุงรักษาโครงการ

ตามที่ระบุในเอกสารวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้าง หากในสัญญาได้ระบุว่าการฝึกอบรมดังกล่าว ต้องด าเนินการ

ฝึกอบรมก่อนการส่งมอบงานให้แก่ผู้ว่าจ้าง ฉะนั้นงานโครงการจะไม่ถือว่าแล้วเสร็จ และไม่ถือเป็นการส่งมอบ

งาน จนกว่าการฝึกอบรมได้เสร็จสิ้น

5.7 แบบและเอกสารก่อสร้างจริง (As-Built Documents)

ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมและเก็บรักษาข้อมูลการด าเนินงานไว้อย่างครบถ้วน พร้อมทั้งแสดงต าแหน่งที่ตั้งขนาด

และรายละเอียดของงานที่ท าอย่างถูกต้องตามที่ก าหนดไว้ บันทึกเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ ณ สถานที่ก่อสร้าง และ

จะใช้เฉพาะเพื่อวัตถุประสงค์ และจะต้องจัดส่งส าเนาให้กับผู้ว่าจ้างก่อนที่จะมีการทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ

นอกจากนี้ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมแบบก่อสร้างจริงให้กับผู้ว่าจ้าง โดยแสดงงานทั้งหมดที่ก่อสร้าง และส่งให้

ผู้ว่าจ้างพิจารณา ผู้รับจ้างต้องได้รับความยินยอมจากผู้ว่าจ้างเกี่ยวกับขนาด ระบบการอ้างอิง และรายละเอียด

ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


46 | การจัดการ EPC

ก่อนที่จะมีการออกใบรับรองผลงาน ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาแบบก่อสร้างจริง โดยมีจ านวนตามที่ก าหนดใน

วัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้ว่าจ้าง ให้กับผู้ว่าจ้าง งานนี้จะไม่ถือว่าแล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์ของงาน

จนกว่าผู้ว่าจ้างจะได้รับเอกสารเหล่านี้

5.8 คู่มือการด าเนินการโครงการและการบ ารุงรักษา (Operation and Maintenance Manuals)

ก่อนเริ่มงานการทดลอบเพื่อการส่งมอบงานแล้วเสร็จ ผู้รับจ้างต้องส่งมอบรายละเอียดคู่มือการด าเนินการ

โครงการและการบ ารุงรักษาแก่ผู้ว่าจ้างเพื่อใช้ในการด าเนินโครงการ การบ ารุงรักษา การถอดเครื่อง การ

ประกอบเครื่องคืน การปรับแก้ และการซ่อมแซม

เมื่อผู้ว่าจ้างได้รับรายละเอียดคู่มือฉบับสุดท้ายตามรายละเอียดข้างต้น จึงจะถือว่าเป็นการส่งมอบงานครบถ้วน

รวมถึงรายการอื่นตามที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้ว่าจ้างด้วย

5.9 ข้อผิดพลาดในการออกแบบ (Design Error)

หากมีข้อผิดพลาด ตกหล่น คลุมเครือ ไม่สม ่าเสมอ ไม่เพียงพอ หรือบกพร่องอื่น ๆ ซึ่งตรวจพบอยู่ใน

สารบบเอกสารของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างต้องท าการปรับปรุงแก้ไขด้วยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้าง เว้นแต่จะระบุเป็น

อย่างอื่น

การแก้ไขงาน และการส่งมอบงานจะอยู่ภายใต้ความเสี่ยงและเป็นค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้าง

5.10 การจัดการการออกแบบ (Engineering/ Design management)

1) ทั่วไป

การออกแบบทางด้านวิศวกรรมของโครงการก่อสร้างมีองค์ประกอบหลายประการ ก่อนอื่นจะต้องจัดการ

รายละเอียดด้านเทคนิค เศรษฐศาสตร์ ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ซึ่งจ าเป็นส าหรับโครงการ นอกจากนี้

จ าเป็นต้องบูรณาการ ซึ่งรวมถึงการวิเคราะห์ การสาธิต และการรวบรวมรายการการออกแบบตามขนาดและ

ความซับซ้อนของโครงการก่อสร้าง ส าหรับโครงการก่อสร้างงานโยธาจะแบ่งออกเป็นการออกแบบเบื้องต้น

และการออกแบบรายละเอียดเพื่อการก่อสร้าง ส าหรับโครงการด้านอุตสาหกรรมและโครงการโครงสร้าง

พื้นฐานที่ซับซ้อนบางครั้งก็จะมีขั้นตอน การออกแบบทางเทคนิค เพิ่มจากการออกแบบเบื้องต้น

2) ข้อก าหนดเกี่ยวกับการออกแบบ (Contract provisions about engineering)

ก) ขอบเขตการออกแบบ (Design scope)

ขอบเขตของการออกแบบของผู้รับจ้างจะขึ้นอยู่กับงานออกแบบเบื้องต้น (Preliminary Design/Basic

Design) ที่ผู้ว่าจ้างจัดเตรียมไว้ให้ หากข้อมูลการออกแบบเบื้องต้นมีข้อมูลที่เพียงพอ ผู้รับจ้างก็จะออกแบบ

เพียงแบบรายละเอียดเพื่อการก่อสร้าง (construction design)

ในสัญญา EPC สามารถจ าแนกการออกแบบระหว่างผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้างได้ดังนี้:

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


47 | การจัดการ EPC

(1) เจ้าของงานด าเนินการออกแบบตามแนวคิดเบื้องต้น (conceptual design) และวางแนวคิดการออกแบบ

ใน "ข้อก าหนดความต้องการของเจ้าของงาน (Employer’s Requirement)” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ

เอกสารสัญญา เอกสารนี้จะแสดงถึงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของโครงการ ข้อก าหนดและมาตรฐานทาง

เทคนิค งานออกแบบของเจ้าของงานในส่วนนี้อาจประมาณได้ว่า เป็นเนื้องานประมาณ 10% ของปริมาณงาน

ออกแบบทั้งหมด

(2) ในช่วงการประกวดราคาผู้รับจ้างจะด าเนินการออกแบบเบื้องต้นให้เสร็จสมบูรณ์ตามข้อก าหนดของ

เอกสารประกวดราคา และส่งให้เจ้าของงานเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารการประกวดราคา

(3) ในกระบวนการด าเนินโครงการ ผู้รับจ้าง EPC มีหน้าที่รับผิดชอบออกแบบขั้นสุดท้ายให้แล้วเสร็จ โดยแบ่ง

ออกเป็นการออกแบบการจัดวางผังทั่วไป (general arrangement drawing) และการออกแบบรายละเอียด

(detailed drawing design)

2) การออกแบบพิ้นฐานและมาตรฐานทางเทคนิค (Design basis and technical standards)

การออกแบบจะเป็นไปตามข้อก าหนดการออกแบบของสัญญา EPC รวมถึง:

(1) เอกสารงานเตรียมการของเจ้าของงาน

(2) มาตรฐานทางเทคนิคของประเทศที่ตั้งโครงการ

(3) มาตรฐานทางเทคนิคที่ตกลงกันไว้ในสัญญา

(4) กฎหมายเกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรมเช่นกฎหมายเกี่ยวกับการก่อสร้าง สิ่งแวดล้อม มาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์ ฯลฯ

(5) มาตรฐานการปฏิบัติด้านวิศวกรรมที่ดี

3) การตรวจสอบเอกสารการออกแบบและอนุมัติ (Design document inspection and approval)

ในกระบวนการด าเนินการตามสัญญา EPC การตรวจสอบเอกสารการออกแบบและการอนุมัติ เป็นวิธีการที่

เจ้าของงานควบคุมคุณภาพการออกแบบ โดยมีบทบัญญัติดังต่อไปนี้:

(1) เจ้าของมีสิทธิ์ตรวจสอบเอกสารใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

(2) หากสัญญาก าหนดให้เอกสารบางอย่างต้องได้รับการอนุมัติจากเจ้าของ ผู้รับจ้างต้องส่งเอกสารไปยัง

เจ้าของงาน หรือผู้รับจ้างจัดการโครงการ (Project Management Contractor: PMC / Independent

Engineer) ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าของเพื่อด าเนินการตรวจสอบและอนุมัติ

(3) ภายในระยะเวลาที่ก าหนด เจ้าของงานจะตรวจสอบเอกสารการออกแบบ หากมีมีปัญหาเจ้าของสามารถ

แก้ไขได้

(4) จะไม่ใช้แบบและเอกสารส าหรับโครงการ ก่อนการตรวจสอบและอนุมัติ

(5) หากผู้รับจ้างต้องการแก้ไขเอกสารซึ่งได้รับอนุมัติแล้วจากเจ้าของงาน ผู้รับจ้างจะต้องรายงานแจ้งต่อ

เจ้าของงานเพื่อขออนุมัติใหม่

(6) เอกสารการออกแบบของผู้รับจ้าง จะต้องใช้ภาษาตามที่ก าหนดในสัญญา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


48 | การจัดการ EPC

4) ความรับผิดชอบในการออกแบบ

ในสัญญา EPC ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการออกแบบ อย่างไรก็ตามเนื่องจากเจ้าของงานได้ออกแบบ

เบื้องต้นบางส่วนก่อนลงนามในสัญญา ดังนั้นเจ้าของงานจะมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบและ

ข้อจ ากัด ระหว่างคู่สัญญาทั้งสองมีดังนี้:

ความรับผิดชอบและข้อจ ากัดของเจ้าของงาน:

(1) ไม่สามารถเปลี่ยนข้อก าหนดของสัญญา

(2) ก าหนดวัตถุประสงค์ของโครงการก่อสร้าง

(3) การทดสอบเป็นไปตามมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพ

(4) ตรวจสอบให้แน่ใจว่ารายละเอียดที่ผู้รับจ้างจัดท าสามารถตรวจสอบได้

(5) ในระหว่างการด าเนินการตามสัญญา หากมาตรฐาน หรือกฎหมายในสัญญามีการเปลี่ยนแปลง หรือมี

บทบัญญัติ มาตรฐานใหม่ เจ้าของงานจะต้องแจ้งการเปลี่ยนแปลง และรับภาระในผลที่ตามมา

ความรับผิดชอบและข้อจ ากัดของผู้รับจ้าง EPC:

(1) ผู้รับจ้างมีหน้าที่ตรวจสอบ การด าเนินงานออกแบบเบื้องต้นของเจ้าของงาน

(2) ผู้รับจ้างมีหน้าที่รับผิดชอบต่อความถูกต้องของผลลัพธ์ของการออกแบบเบื้องต้นจากเจ้าของงาน

(3) การอนุมัติของเจ้าของงานในเอกสารการออกแบบของผู้รับจ้าง จะไม่ท าให้ผู้รับจ้างพ้นจากความรับผิดชอบ

(4) หากเอกสารการออกแบบของผู้รับจ้างมีข้อผิดพลาด ผู้รับจ้างต้องแก้ไขด้วยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง

5) การรวบรวมและจัดส่งเอกสารที่สมบูรณ์ และการด าเนินการและคู่มือการบ ารุงรักษา

(1) ผู้รับจ้างรวบรวมเอกสารที่มีรายละเอียดครบถ้วนและจัดส่งไปยังเจ้าของงานตามข้อก าหนดของสัญญา

(2) ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบแบบที่เสร็จสมบูรณ์ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดยเจ้าของงาน

(3) ข้อก าหนดของแบบที่เสร็จสมบูรณ์จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของงาน

(4) ก่อนการแล้วเสร็จโครงการ ผู้รับจ้างจะต้องส่งคู่มือการใช้งานและบ ารุงรักษา

3. การจัดการการออกแบบของผู้รับจ้าง EPC

1) ฝ่ายออกแบบและฝ่ายวางแผนการออกแบบ

หากผู้รับจ้างมีความเชี่ยวชาญในงานวิศวกรรมการออกแบบ อาจท าการออกแบบเอง หรืออาจเลือกจากบริษัท

ผู้ออกแบบมืออาชีพ หากผู้รับจ้างเองไม่มีความสามารถในการออกแบบ จ าเป็นต้องจ้างช่วงบริษัทผู้ออกแบบ

มืออาชีพ และต้องเซ็นสัญญาย่อย โดยกิจกรรมทั้งหมดจะต้องเป็นไปตามความต้องการในสัญญา EPC ผู้รับจ้าง

ช่วงรับผิดชอบต่อการออกแบบ อย่างไรก็ตามผู้รับจ้างช่วงจะอยู่ภายใต้การดูแลชองผู้จัดการโครงการ EPC

การออกแบบและมันถูกตั้งค่าในสองสถานการณ์ หากผู้รับจ้าง EPC นั้นเป็นวิศวกรรมเอง บริษัท ที่เก่งด้านการ

ออกแบบสามารถเลือกผู้จัดการโครงการได้จากพวกเขา บริษัท และนักออกแบบมืออาชีพสามารถเลือกรูปแบบ

หน่วยงานที่เหมาะสม ถ้าผู้รับจ้างเองไม่มีความสามารถในการออกแบบที่เขาต้องการจ้างวิศวกรรม

ผู้รับจ้างช่วงจากนั้นจึงควรเซ็นสัญญาย่อยและกิจกรรมทั้งหมดควรเป็นไปตามตามความต้องการของสัญญา

EPC ผู้รับจ้างช่วงรับผิดชอบการออกแบบ ผู้จัดการ แต่ต้องอยู่ภายใต้ผู้จัดการโครงการ EPC

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


49 | การจัดการ EPC

4) ความรับผิดชอบการออกแบบ

ส าหรับสัญญา EPC ผู้รับจ้างจะรับผิดชอบการออกแบบดังนั้นพวกเขาจึงรับผิดชอบส าหรับการอกแบบ อย่างไร

ก็ตามเนื่องจากเจ้าของได้ออกแบบเบื้องต้นบางอย่างก่อนลงนามในสัญญาและมักจะใส่ผลการออกแบบลงใน

สัญญาเจ้าของยังต้องเพื่อมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบ หมวดความรับผิดชอบและข้อ จ ากัด ระหว่างทั้งสอง

ด้านมีดังนี้:

ความรับผิดชอบและข้อจ ากัดของเจ้าของงาน:

(1) ไม่สามารถเปลี่ยนข้อก าหนดของสัญญา

(2) ก าหนดวัตถุประสงค์ที่คาดหวังของโครงการก่อสร้าง

(3) เสร็จสิ้นการทดสอบและมาตรฐานประสิทธิภาพ

(4) ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเนื้อหาที่ผู้รับจ้างน าออกสามารถตรวจสอบได้

(5) ในระหว่างการด าเนินการตามสัญญาหากบรรทัดฐานหรือมาตรฐานในสัญญามีการเปลี่ยนแปลงหาก

กฎหมายมีการเปลี่ยนแปลงหรือหากบทบัญญัติของเจ้าของมีมาตรฐานใหม่แล้วการเปลี่ยนแปลงควรได้รับการ

จัดการโดยเจ้าของ เจ้าของยังต้องแบกรับผลที่ตามมาเช่นกัน

ความรับผิดชอบและข้อจ ากัดของผู้รับจ้าง EPC:

(1) ผู้รับจ้างมีหน้าที่ตรวจสอบผลการด าเนินงานเบื้องต้นของผู้เป็นเจ้าของออกแบบ.

(2) ผู้รับจ้างมีหน้าที่รับผิดชอบต่อความถูกต้องของผลลัพธ์ของเจ้าของการออกแบบเบื้องต้น

(3) การอนุมัติของเจ้าของเอกสารการออกแบบของผู้รับจ้างไม่ได้ยกความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง

(4) หากเอกสารการออกแบบของผู้รับจ้างมีข้อผิดพลาดผู้รับจ้างต้องแก้ไขได้ที่ค่าใช้จ่ายของตัวเอง

5) การรวบรวมและส่งเอกสารที่สมบูรณ์และการด าเนินการและคู่มือการบ ารุงรักษา

(1) ผู้รับจ้างรวบรวมเอกสารที่มีรายละเอียดครบถ้วนแล้วส่งไปยังเจ้าของในตามข้อก าหนดของสัญญา

(2) ผู้รับจ้างจะต้องส่งภาพวาดที่เสร็จสมบูรณ์ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดยเจ้าของ

(3) ข้อก าหนดของภาพวาดที่เสร็จสมบูรณ์จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของ

(4) ก่อนที่จะเสร็จสิ้นโครงการผู้รับจ้างจ าเป็นต้องสร้างชั่วคราวคู่มือการใช้งานและบ ารุงรักษา

(5) ก่อนที่จะได้รับใบรับรองการยอมรับผู้รับจ้างจะต้องส่งแบบฟอร์มนี้คู่มือการใช้งานและการบ ารุงรักษาให้กับ

เจ้าของ

แผนการออกแบบ

แผนการออกแบบด าเนินการโดยแผนกวิศวกรรมของโครงการ ตามแผนการด าเนินงานรวมของโครงการ และ

แผนการออกแบบประกอบด้วย:

(1) การวิจัยและท าความเข้าใจข้อก าหนดการออกแบบในสัญญา EPC เพื่อพิจารณาขอบเขตของงานออกแบบ

(2) ก าหนดหลักการออกแบบ ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับหลักความปลอดภัย ความประหยัด หลักการประกัน

คุณภาพเป็นต้น

(3) ก าหนดแผนการออกแบบโดยรวมตามระยะเวลาของโครงการ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


50 | การจัดการ EPC

(4) ก าหนดอัตราก าลังคน สิ่งอ านวยความสะดวก และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในขั้นตอนการออกแบบ

(5) ส านักงานส าหรับงานออกแบบ

(6) มาตรฐาน และเกณฑ์ที่ใช้ในการออกแบบทางวิศวกรรม

(7) กฎหมายและข้อบังคับในเรื่องสิ่งแวดล้อม

(8) พิจารณาส่วนที่ต้องออกแบบโดยผู้รับจ้างช่วง

2) เอกสารควบคุมการออกแบบและผลการออกแบบ

งานออกแบบ และการแก้ไขงานออกแบบ จ าเป็นต้องมีการควบคุมเพื่อมิให้มีการเบี่ยงเบนไปจากแผนการ

ออกแบบตามขั้นตอนในเอกสารและคู่มืองานออกแบบ กระบวนการควบคุมการออกแบบจะครอบคลุมถึง

แผนงาน คุณภาพ รวมถึงการควบคุมต้นทุนด้วย

ผลการออกแบบ เอกสารต่าง ๆ รวมถึงแบบ รายการค านวณ ตารางข้อมูลต่าง ๆ คู่มือทางเทคนิค โปรแกรม

ซอฟต์แวร์ ค าแนะน าในการใช้งานและอื่น ๆ จะใช้เพื่อเป็นแนวทางในการจัดซื้อจัดจ้าง ใช้ก่อสร้าง และ

ทดสอบเพื่อให้งานโครงการแล้วเสร็จตามสัญญา

6. การจัดการการจัดซื้อจัดหา (Procurement Management)

6.1 ทั่วไป

ในโครงการ EPC การจัดซื้อจัดหามีความส าคัญมากในระหว่างการด าเนินการโครงการ และเป็นส่วนหนึ่งใน

ความส าเร็จที่ส าคัญของโครงการ โครงการส่วนใหญ่โดยเฉพาะในโครงการอุตสาหกรรม ต้นทุนการจัดซื้อรวม

ของสัญญาจะสูงถึง 40% - 60% ในสัญญา EPC มีข้อก าหนดต่าง ๆ ส าหรับการจัดซื้อจัดหา การเข้ามา

แทรกแซงของเจ้าของงานในกระบวนการจัดซื้อได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อพิจารณาถึงบทบาทที่ส าคัญ

ของการจัดซื้อจัดหาในช่วงด าเนินการตามสัญญา มีความจ าเป็นส าหรับฝ่ายจัดซื้อที่จะต้องมีความสัมพันธ์ที่ดี

กับผู้อื่นในหน่วยงาน ดังนั้นสิ่งส าคัญคือความรับผิดชอบของแผนกจัดซื้อและขั้นตอนการท างานที่ชัดเจน

6.2 ข้อก าหนดของสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดหา

1) ความรับผิดชอบทั่วไปในการจัดซื้อจัดหา

บทบัญญัติสัญญาทั่วไปเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดหา มีประเด็นที่ส าคัญต่อไปนี้:

(1) ผู้รับจ้างควรรับผิดชอบวัสดุทั้งหมดที่จ าเป็น เช่นวัตถุดิบ อุปกรณ์ และวัสดุสิ้นเปลืองอื่น ๆ

(2) ผู้รับจ้างควรมีแผนกจัดซื้อที่รับผิดชอบการจัดซื้อจัดหา และการประสานงานเพื่อให้แน่ใจว่าการจัดซื้อ

จัดหามีประสิทธิภาพ

(3) ผู้รับจ้างควรเลือกเส้นทางการขนส่ง และจัดท าแผนการจัดส่งตามสภาพเส้นทางการขนส่ง

(4) หากมีการเรียกร้อง สาเหตุจากการขนส่งที่ไม่ดี ผู้รับจ้างจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าเจ้าของงานจะไม่

เสียเปรียบในการเจรจา และช าระค่าเสียหายกับผู้เรียกร้อง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


51 | การจัดการ EPC

(5) ผู้รับจ้างควรจัดท าเอกสารกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อก าหนดของสัญญาและส่งให้เจ้าของงาน เพื่อ

ตรวจสอบการท างาน

2) การตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง

(1) ผู้รับจ้างจะต้องจัดท าแผนการจัดซื้อจัดหาโดยรวมและส่งให้เจ้าของงาน แผนการจัดซื้อจัดจ้างควร

สอดคล้องกับข้อก าหนดของโครงการ และผู้รับจ้างควรให้ความสนใจเป็นพิเศษกับอุปกรณ์ที่ส าคัญ

(2) ผู้รับจ้างควรแจ้งให้เจ้าของงานทราบถึงก าหนดการใช้งาน ท่าเรือรับ-ส่งสินค้า การขนถ่ายสินค้า การขนส่ง

ทางบก และเส้นทางไปยังสถานที่ก่อสร้าง

(3) แหล่งที่มาของวัสดุหลักและอุปกรณ์ จะต้องระบุไว้ในบัญชีรายการในสัญญา และได้รับอนุมัติจากเจ้าของ

งาน

(4) ตลอดกระบวนการจัดซื้อจัดหาทั้งหมด ผู้รับจ้างควรด าเนินการก ากับดูแลและจัดการกับผู้ขาย และผู้ผลิต

(5) ส าหรับอุปกรณ์ที่ส าคัญ ผู้รับจ้างควรควบคุมคุณภาพในการผลิต และติดตามความก้าวหน้า

(6) เจ้าของงานมีสิทธิ์ตรวจสอบอุปกรณ์และวัสดุในเวลาที่เหมาะสม รวมถึงการตรวจสอบความก้าวหน้าในการ

ผลิต รวมถึงกระบวนการระหว่างการทดสอบคุณภาพ

(7) อุปกรณ์ใด ๆ ในกระบวนการผลิตสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไว้ในสัญญา.

(8) เจ้าของงานมีสิทธิ์ที่จะขอให้ผู้รับจ้างจัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ ส าหรับการตรวจสอบ

3) ความช่วยเหลือจากเจ้าของงาน

ตามกระบวนการทางกฎหมาย บ่อยครั้งที่เจ้าของงานจ าเป็นต้องให้ความช่วยเหลือผู้รับจ้างในการขออนุญาต

จากทางราชการส าหรับวัสดุพิเศษบางอย่างเช่นวัตถุระเบิดและอื่น ๆ เจ้าของงานมักจะต้องได้รับใบอนุญาตใน

การน าเข้าเพื่อใช้งานในโครงการ

4) รายการที่ผู้ว่าจ้างจัดให้

รายการที่ผู้ว่าจ้างจัดหาให้จะเรียกว่า วัสดุจัดให้เปล่า (Free Issues) ในข้อก าหนดสัญญา EPC ที่เกี่ยวข้องมี

การระบุไว้ดังนี้:

(1) หากเจ้าของงานจะต้องจัดหาวัสดุจัดให้เปล่า ให้กับผู้รับจ้างในสัญญา เจ้าของงานควรช าระค่าใช้จ่ายตาม

ความเสี่ยงด้วยตนเอง และจัดส่งวัสดุไปยังสถานที่ที่ก าหนด

(2) ผู้รับจ้างควรตรวจสอบวัสดุก่อนการตรวจรับ หากมีปัญหาด้านคุณภาพหรือปริมาณ ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งให้

ผู้ว่าจ้างทราบ หลังจากได้รับแจ้งเจ้าของงานจะต้องปรับปรุงจ านวนปริมาณ และจัดหาวัสดุทดแทนในส่วนของ

วัสดุที่บกพร่อง

(3) หลังจากการตรวจสอบของผู้รับจ้าง วัสดุจะถูกโอนความรับผิดชอบไปยังผู้รับจ้างผู้ซึ่งมีหน้าที่ในการดูแล

วัสดุ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


52 | การจัดการ EPC

6.3 การจัดการการจัดซื้อจัดหาของผู้รับจ้าง EPC

1) องค์กรและแผนการจัดซื้อจัดหาของผู้รับจ้าง

แผนกจัดซื้อจะถูกจัดตั้งขึ้นเพื่องานจัดซื้อจัดหาในโครงการ EPC ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อจะได้รับการแต่งตั้งโดย

บริษัท จ านวนบุคคลากรในแผนกจะมากน้อยขึ้นอยู่กับขนาด และความซับซ้อนของโครงการ

แผนการจัดซื้อจัดหา

แผนการจัดหาโครงการ EPC สามารถแบ่งออกเป็นสองส่วน: แผนทั่วไปและแผนก าหนดการ

แผนทั่วไปของโครงการเป็นเอกสารแนะน าตามโครงการ

แผนการด าเนินงาน

แผนการจัดซื้อทั่วไปประกอบด้วยประเด็นต่อไปนี้:

(1) การก าหนดขอบเขตของการจัดซื้อจัดหาในโครงการ

(2) การก าหนดกฎ การตรวจสอบส าหรับเอกสารการจัดซื้อจัดหา

(3) การก าหนดขั้นตอนการประสานงานระหว่างผู้ผลิต / ผู้จัดซื้อจัดหา

(4) ความแน่นอนของตารางการจัดซื้อจัดหาและวัตถุประสงค์ด้านต้นทุนท าให้มั่นใจได้ว่าวัตถุประสงค์นี้

สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ

(5) การก าหนดหลักการจัดซื้อจัดหาทั่วไปรวมถึงหลักการก าหนดเวลาการรับประกัน หลักการรับประกัน

คุณภาพ และหลักการรับประกันความปลอดภัย

(6) การก าหนดขั้นตอนการท างานที่ต้องปฏิบัติตาม

(7) เอกสารของไฟล์จัดซื้อจัดหาต่างๆและไฟล์ใบสั่งซื้อ

(8) การก าหนดขั้นตอนการจัดซื้อจัดหาส าหรับวัสดุที่ส าคัญและอุปกรณ์ที่ส าคัญ

ความก้าวหน้าของการด าเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดหาคือเพื่อให้แน่ใจว่าวัสดุหลักทั้งหมด อุปกรณ์หลัก

อุปกรณ์เสริม และวัสดุสิ้นเปลืองต่าง ๆ จะถูกจัดซื้อตรงเวลา ภายใต้กรอบของแผนทั่วไป ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ

จะเป็นผู้รับผิดชอบ โดยจัดเจ้าหน้าที่ให้ด าเนินการแล้วเสร็จตามโครงการก่อสร้างตามแผนการใช้วัสดุและ

งบประมาณการจัดซื้อจัดหาจากแผนกควบคุม

7. การจัดการก่อสร้าง (Construction Management)

7.1 ทั่วไป

การก่อสร้างเป็นส่วนส าคัญของโครงการ EPC ช่วงการก่อสร้างนั้นเท่ากับระยะเวลาตั้งแต่เริ่มงานไปจนถึงการ

แล้วเสร็จของงาน แนวคิดการก่อสร้างในสัญญา EPC นั้นกว้างมาก ในสัญญา EPC ก าหนดการงานก่อสร้าง

วิธีการก่อสร้าง คุณภาพการก่อสร้าง และความปลอดภัยการก่อสร้างล้วนมีส่วนส าคัญกับการก่อสร้างงานใน

โครงการ อาจกล่าวได้ว่าทุกนาทีในการด าเนินการโครงการจ าเป็นต้องมีการจัดการ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


53 | การจัดการ EPC

7.2 ข้อก าหนดสัญญาเกี่ยวกับการก่อสร้าง

1) กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างในสัญญา EPC

(1) ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามผู้ว่าจ้างหรือรายละเอียดที่ระบุในสัญญา

(2) ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาบุคลากร ผู้จัดการโครงการเพื่อรับผิดชอบเต็มเวลาในการจัดการโครงการ

(3) บุคลากรในการก่อสร้างต้องมีทักษะที่เหมาะสม มีความเป็นมืออาชีพ และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ

(4) อุปกรณ์การก่อสร้างที่ผู้รับจ้างจัดส่ง และเมื่อมีการขนย้ายไปยังสถานที่ก่อสร้างแล้ว ถือว่าเป็นอุปกรณ์การ

ก่อสร้างในโครงการ ผู้รับจ้างจะไม่สามารถเคลื่อนย้ายออกโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ว่าจ้าง

(5) ในช่วงระยะเวลาการก่อสร้าง ผู้รับจ้างจะต้องรักษาสถานที่ก่อสร้างให้อยู่ในสภาพที่ดี เมื่อโครงการใกล้จะ

แล้วเสร็จสมบูรณ์ ผู้รับจ้างจะต้องท าความสะอาดสถานที่ก่อสร้างให้สะอาดเรียบร้อย

2) กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการก่อสร้างในสัญญา EPC

คุณภาพการก่อสร้างในสัญญา EPC จะครอบคลุมถึงเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้าง วิธีการ และข้อก าหนด

ความต้องการ ฯลฯ

(1) การก่อสร้างจะต้องเป็นไปตามสัญญา ข้อก าหนดและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

(2) ในระหว่างการก่อสร้าง หากมาตรฐานหลายประเภทไม่สอดคล้องกัน ให้ถือฉบับที่มีมาตรฐานที่ทันสมัย

และเหมาะสม ดีที่สุดได้

(3) ในระหว่างการด าเนินงาน หากมีมาตรฐานฉบับใหม่ ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์ที่จะร้องขอให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตาม

มาตรฐานฉบับใหม่ และผู้รับจ้างจะได้รับการชดเชยตามความเหมาะสม

(4) ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์ที่จะตรวจสอบ ทดลอง และทดสอบผลงานที่ได้รับเมื่องานแล้วเสร็จ หากงานบกพร่อง ผู้ว่า

จ้างมีสิทธิ์ปฏิเสธการยอมรับและสั่งให้ท าใหม่

หากผู้รับจ้างยืนยันที่จะไม่แก้ไขข้อผิดพลาด ผู้ว่าจ้างมีสิทธิในการยกเลิกสัญญา

(5) ภายหลังการแล้วเสร็จโครงการ จะต้องมีการรับประกันประสิทธิภาพของงานตามที่ก าหนด (Functional /

Performance Guarantees)

3) กฎระเบียบเกี่ยวกับแผนงานตามตารางการก่อสร้าง (Construction Schedule) ในสัญญา EPC

(1) ผู้รับจ้างจะต้องก่อสร้างงานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่ก าหนดพร้อมกับจัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ รวมถึงการ

ทดสอบตามสัญญา มิฉะนั้นจะต้องเสียค่าชดเชย (ค่าปรับ) ในความล่าช้า

(2) เมื่อผู้รับจ้างได้รับการแจ้งให้เริ่มงาน จะต้องเริ่มงานทันที โดยจะต้องท าการออกแบบ จัดซื้อ จัดหา และ

เริ่มงานก่อสร้างในเวลาที่เหมาะสม

(3) เมื่อเริ่มโครงการ ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมและส่งรายละเอียดแผนการด าเนินการโครงการแก่ผู้ว่าจ้าง

(4) ถ้าผู้ว่าจ้างเห็นว่าความก้าวหน้าในโครงการของผู้รับจ้างล่าช้าจากความเป็นจริง ผู้รับจ้างมีหน้าที่ต้อง

ปรับปรุงแผนงาน และวางแผนที่จะเพิ่มความเร็วในการท างาน

(5) ผู้รับจ้างจะต้องส่งรายงานความก้าวหน้าของงานรายเดือนแก่ผู้ว่าจ้าง รวมถึงรายงานความก้าวหน้าประจ า

สัปดาห์ และรายงานการก่อสร้างประจ าวันตามที่ก าหนดไว้ในเงื่อนไขของสัญญา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


54 | การจัดการ EPC

4) ข้อก าหนดสัญญา EPC ที่เกี่ยวข้องกับ สุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (HSE: Health,

Safety & Environment)

ด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจโลก แนวคิดของสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้น

(1) ผู้รับจ้างจะต้องมีมาตรการป้องกันที่เหมาะสมด้วยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเองเพื่อความมั่นใจในความ

ปลอดภัยของคนงาน

(2) ผู้รับจ้างจะแต่งตั้งพนักงานเต็มเวลาเพื่อจัดการปัญหาด้านความปลอดภัยและอุบัติเหตุส่วนบุคคลเพื่อสร้าง

มาตรการป้องกันเพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ

(3) เมื่อเกิดการติดเชื้อ โรคระบาด ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายและค าแนะน าในการจัดการกับโรค

เหล่านั้น

(4) ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด

(5) ผู้รับจ้างจะต้องดูแล และควบคุมสิทธิ์ในการเข้าสถานที่ก่อสร้างและความปลอดภัยของบุคคลากรทุกคน

(6) ผู้รับจ้างจะต้องพยายามรักษาความสงบเรียบร้อยในที่เกิดเหตุและก าจัดอุปสรรค เพื่อหลีกเลี่ยงภัยคุกคาม

ต่อความปลอดภัยของทุกคน

(7) ก่อนการทดสอบขั้นสุดท้ายผู้รับจ้างจะต้องก่อสร้างรั้วรอบบริเวณ แสงสว่างและความปลอดภัยในสถานที่

ก่อสร้าง

(8) หากการก่อสร้างมีผลกระทบต่อสาธารณะ ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาสิ่งอ านวยความสะดวกที่จ าเป็นต่อความ

ปลอดภัยของสาธารณะ

(9) ผู้รับจ้างจะต้องใช้มาตรการทั้งหมดเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกเพื่อควบคุมมลพิษ และ

มลภาวะทางเสียง ฯลฯ จากการท างาน เพื่อลดความเสียหายต่อทรัพย์สินส่วนบุคคล

(10) ผู้รับจ้างจะต้องมั่นใจว่ามลพิษจากกิจกรรมการก่อสร้าง เช่นน ้าเสีย และมลพิษอื่น ๆ ไม่เกินค่ามาตรฐาน

ตามที่กฎหมายก าหนดไว้

(11) ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมคู่มือสุขอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ส าหรับการด าเนินการ

โครงการ

7.3 การจัดการการก่อสร้างผู้รับจ้างของ EPC

1) การจัดการตารางเวลาของผู้รับจ้าง

(1) ความก้าวหน้าในการท าจัดท าแผน

ก าหนดการของโครงการ EPC สามารถแสดงได้ดังนี้:

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


55 | การจัดการ EPC

ก าหนดขอบเขตการท างานตามสัญญา EPC

จัดท า WBS ตามขอบเขตที่ได้รับจากขั้นตอนเดิม

จัดวางเป้าหมายส าหรับแต่ละกิจกรรมหลัก

ค้นหาค าสั่งของกิจกรรมต่าง ๆ

ตรวจสอบให้แน่ใจในแต่ละกิจกรรมของแต่ละงานย่อย

แก้ไขและท าการค านวณ

รูปที่ 7-1 ความก้าวหน้าของการจัดท าแผน

(2) การติดตามความก้าวหน้าของโครงการ การติดตาม และการพยากรณ์

หลังจากท าการวางแผนก าหนดเวลา จ าเป็นต้องสร้างเกณฑ์ส าหรับการวัดความก้าวหน้าและระบบของ

โครงการ ระบบการวัดความก้าวหน้าควรเป็นตามข้อก าหนดของสัญญาตามน ้าหนักชองงานหรือเป้าหมายของ

ความก้าวหน้าของโครงการ ในปัจจุบันโครงการมักใช้เทคนิคการควบคุมต้นทุนเพื่อติดตามความก้าวหน้าของ

โครงการ การวางแผนต้นทุน การควบคุมต้นทุน และการวิเคราะห์ต้นทุนจริง เพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้า

และต้นทุน

(3) รายงานสถานะความก้าวหน้า

ผู้รับจ้างจะต้องสร้างระบบรายงานสถานะความก้าวหน้าของโครงการรวมถึงรายงานความก้าวหน้าย่อยทั่วไป

รายสัปดาห์ความก้าวหน้า แสดงรายละเอียดการท างานตามขอบเขตงานตามสัญญา จัดท า WBS ตามขอบเขต

ที่ได้รับตามขั้นตอน ก าหนดเป้าหมายส าหรับแต่ละกิจกรรมหลัก จัดล าดับของกิจกรรมต่างๆ ตรวจสอบการ

ท างานในแต่ละกลุ่มงายย่อย แต่ละงาน แก้ไขและท าการค านวณ เนื้อหาของรายงานครอบคลุมความก้าวหน้า

โดยรวมของโครงการ ความก้าวหน้าการออกแบบ ความก้าวหน้าในการจัดซื้อจัดจ้าง และความก้าวหน้าในการ

ก่อสร้าง รายงานความก้าวหน้ารายเดือนประกอบด้วยผลความส าเร็จของงานในแต่ละเดือน แผนงานของเดือน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


56 | การจัดการ EPC

ถัดไป ปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ มาตรการแก้ไข ตลอดจนความก้าวหน้าของกราฟเส้นโค้ง S Curve พร้อมแผน

ทรัพยากรบุคคล

2) การจัดการคุณภาพของผู้รับจ้าง

(1) ขั้นตอนการจัดการการก่อสร้าง

งานหลักของขั้นตอนนี้รวมถึง:

1. การก าหนดเกณฑ์คุณภาพการก่อสร้างตามสัญญา EPC ส าหรับมาตรฐานการทดสอบ คุณภาพ บรรทัดฐาน

จะต้องขียนในเอกสารเป็นพื้นฐานส าหรับการควบคุมคุณภาพก่อสร้าง

2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ตามลักษณะโครงการและความซับซ้อนของความต้องการประเภทต่าง ๆ ใน

การก่อสร้าง การฝึกอบรมส าหรับงานพิเศษตามประเภทของงาน เพื่อให้แน่ใจว่าคุณภาพของการก่อสร้าง

เป็นไปตามข้อก าหนดในงานก่อสร้าง

3. การจัดการอุปกรณ์ จะต้องเตรียมอุปกรณ์เครื่องจักรก่อสร้างตามปริมาณงานและเทคโนโลยีของการท างาน

4. การจัดสถานที่ก่อสร้าง ท าจุดตรวจสอบที่จ าเป็นให้พร้อมให้สมบูรณ์ น ้า ไฟฟ้า ถนนทางเข้า รวมถึงการ

สื่อสารโทรคมนาคม และการปรับระดับพื้นที่การก่อสร้าง

5. โปรแกรมแผนงานก่อสร้าง รวมถึงการจัดตั้งองค์กร วิธีการจัดการการวางแผนการก่อสร้าง และการจัดการ

ด้านเทคนิค ซึ่งต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ว่าจ้าง

6. เอกสารการโต้ตอบที่สอดคล้องกันของแต่ละส่วน มีการติดต่อประสานงานทางเทคนิค เพื่อหลีกเลี่ยงและ

ขจัดปัญหาในด้านคุณภาพ

(2) การจัดการคุณภาพในขั้นตอนการก่อสร้าง

การควบคุมคุณภาพของขั้นตอนการก่อสร้างแบ่งออกเป็นสองระดับ: ระดับแรก ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ด าเนินการ

ควบคุมคุณภาพการ ณ สถานที่ก่อสร้างตามสัญญา; ระดับที่สองคือการจัดการควบคุมคุณภาพการก่อสร้าง

ภายในโดยผู้รับจ้าง ซึ่งจะรวมถึง:

1. ก าหนดเกณฑ์พื้นฐานของการควบคุมคุณภาพ รวมถึงข้อก าหนดทางเทคนิค ในสัญญา EPC ข้อก าหนด

เอกสารการออกแบบ ข้อก าหนดการก่อสร้าง และมาตรฐานคุณภาพ

2. การควบคุมคุณภาพประกอบด้วยการตรวจสอบภายในด้วยการจัดการของผู้รับจ้าง ในการรับฟังความ

คิดเห็นร่วม และมาตรการการตรวจวัดในสถานที่ หากจ าเป็นผู้ว่าจ้างที่ควรมีส่วนร่วมในการประเมินและ

ทดสอบ

3. กระบวนการตรวจสอบการก่อสร้างและวัสดุ เพื่อระบุปัญหาและข้อเสนอแนะโดยเฉพาะ เพื่อเสริมสร้าง

กระบวนการพิเศษในการควบคุมวัสดุ

4. ส่งมอบกระบวนการการควบคุมคุณภาพ

5. สถิติการประเมินคุณภาพการก่อสร้าง เป็นสิ่งส าคัญมากในด้านการควบคุมคุณภาพ

(3) การจัดการคุณภาพขั้นตอนสุดท้าย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


57 | การจัดการ EPC

ความส าเร็จของโครงการจะรวมถึงการยอมรับขั้นสุดท้ายของการเดินระบบของเครื่องจักร การยอมรับการ

ปฏิบัติงาน และการทดสอบ รวมถึงการรับประกันประสิทธิภาพเพื่อให้แน่ใจว่าได้ผลงานตรงตามข้อก าหนด

3) การจัดการเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมของผู้รับจ้าง

ในการก่อสร้างผู้รับจ้างควรสร้างการจัดการในเรื่องระบบสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมทั่วไป ตาม

ข้อก าหนดในสัญญา และกฎหมาย รวมถึงลักษณะเฉพาะของโครงการ รวมถึงการพัฒนาบทบัญญัติในเรื่อง

สุขภาพ ความปลอดภัยและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และจัดท าคู่มือการจัดการเพื่อตรวจสอบการบันทึกและ

ประเมินผล ตามขนาดของโครงการ โครงการสามารถก าหนดแผนกสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม

แยกต่างหาก หรือจะรวมอยู่ในแผนกก่อสร้างก็ได้

การจัดการด้านสุขภาพ

การจัดการด้านสุขภาพรวมถึงการป้องกัน การตรวจสุขภาพ อุปกรณ์ป้องกันต่าง ๆ มาตรการการดูแลและ

โปรแกรมการปฐมพยาบาล

การจัดการด้านความปลอดภัย

การจัดการด้านความปลอดภัยรวมถึงความปลอดภัยใน้การก่อสร้างและความปลอดภัยของสังคม การก่อสร้าง

โครงการมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยส่วนบุคคลมากกว่าโครงการประเภทอื่น

การจัดการสิ่งแวดล้อม

การก่อสร้างจะท าให้เกิดมลพิษในระดับหนึ่ง การใช้ประโยชน์จากธรรมชาติอย่างเหมาะสมจะลดหรือหลีกเลี่ยง

มลภาวะ และการกระตุ้นให้เกิกการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงมีความจ าเป็นในการสร้างความสมดุลระหว่าง

สภาพแวดล้อมและธรรมชาติ ผู้รับจ้างควรให้ความส าคัญกับการปกป้องสิ่งแวดล้อมในช่วงการก่อสร้างตาม

สัญญาและข้อก าหนดของกฎหมาย ความรับผิดชอบของผู้รับจ้างจะรวมถึงการอนุรักษ์น ้าและดิน การควบคุม

เสียง การควบคุมมลพิษฝุ่นในบรรยากาศ และการปกป้องโรงงาน โรงผลิตรอบบริเวณก่อสร้าง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


58 | การจัดการความเสี่ยง

8. การจัดการความเสี่ยง

8.1 ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยงถูกน าไปใช้อย่างกว้างขวางในด้านต่าง ๆ เช่นเศรษฐศาสตร์ การประกันภัย อุตสาหกรรม

และอื่น ๆ ในขณะที่ค าว่า "ความเสี่ยง" หมายถึงความไม่แน่นอนที่สามารถแสดงผ่านความน่าจะเป็น การ

จัดการความเสี่ยงเป็นกระบวนการที่มีโครงสร้างส าหรับการจัดการของความไม่แน่นอนผ่านการประเมินความ

เสี่ยง ความเสี่ยงของโครงการขึ้นอยู่กับสมการอย่างง่าย ดังนี้:

Risk = ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (เหตุการณ์ที่ตามมา)

กล่าวอีกนัยหนึ่งความเสี่ยงทั้งหมดจะต้องได้รับการประเมินในแง่ขององค์ประกอบที่แตกต่างกันสองประการ:

โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นเช่นเดียวกับผลที่ตามมาหรือผลกระทบของการเกิดขึ้น

ความเสี่ยงและโอกาสเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามซึ่งกันและกัน โอกาสเกิดขึ้นจากสถานการณ์ของโครงการที่

เอื้ออ านวย และความเสี่ยงเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ที่ไม่เอื้ออ านวย

การจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบประกอบด้วยสี่ขั้นตอนที่แตกต่างกัน:

1) การระบุความเสี่ยง – กระบวนการในการพิจารณาปัจจัยเสี่ยงเฉพาะที่สามารถท าได้ ซึ่งคาดว่าจะส่งผล

กระทบต่อโครงการอย่างสมเหตุสมผล

2) การวิเคราะห์ความน่าจะเป็นและผลที่ตามมา – ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ พิจารณาจาก

ความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับโครงการ

3) กลยุทธ์การลดความเสี่ยง – ขั้นตอนด าเนินการเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปัจจัยความเสี่ยงที่คุกคาม

ต่อโครงการ

4) การควบคุมและจัดท าเอกสาร - สร้างฐานความรู้ส าหรับโครงการในอนาคตจากบทเรียนที่ได้เรียนรู้

การบริหารความเสี่ยงของโครงการประกอบด้วยสี่ขั้นตอนและผลตอบรับของระบบ ซึ่งใช้เพื่อควบคุม

ประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยง ดังรูป

การระบุ

การวิเคราะห์

กลยุทธ์การลด

การควบคุม

ผลการตอบสนอง

กระบวนการจัดการความเสี่ยง

รูปที่ 6-1 กระบวนการจัดการความเสี่ยง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


59 | การจัดการความเสี่ยง

8.2 วิธีการบริหารความเสี่ยง

การศึกษาเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับความเสี่ยงของโครงการก่อสร้างทั่วโลกนั้น มีการน าเทคนิคการวิเคราะห์ความ

เสี่ยงมาใช้ในสาขาวิศวกรรมระบบและการวิจัยการด าเนินงาน

การลงทุนในโครงการสาธารณูปโภค พลังงานและการขนส่ง ที่มีขนาดใหญ่ท าให้ผู้จัดการโครงการให้

ความส าคัญกับการจัดการต้นทุนมากขึ้น สภาพแวดล้อมของโครงการที่ซับซ้อนท าให้โครงการต้องเผชิญกับ

ความไม่แน่นอนมากมาย วิธีการระบุและประเมินความไม่แน่นอนเกี่ยวกับผลกระทบของต้นทุนโครงการ

กลายเป็นปัญหาใหญ่ของผู้จัดการโครงการ

นักวิชาการได้พัฒนาเทคนิคการประเมินความเสี่ยงของโครงการเช่น เทคนิคการประเมินและทบทวนโครงการ

(PERT: Program Evaluation and Review Technique) วิธีวิเคราะห์ความอ่อนไหว, การจ าลองสถานการณ์

และเทคโนโลยี อื่น ๆ นอกเหนือจากสถิติทางคณิตศาสตร์และความน่าจะเป็นในการการอธิบายและประเมิน

องค์ประกอบหนึ่งมิติของวัตถุประสงค์ของโครงการเช่นเวลาและผลกระทบค่าใช้จ่ายแบบเดิม ด้วยการพัฒนา

วิธีการประเมินแบบใหม่ การจัดการความเสี่ยงของโครงการจะกลายเป็น การบูรณาการบนเครือข่ายและ

หลายมิติ

วิธีการบริหารความเสี่ยงของโครงการส่วนใหญ่จะเป็นเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ตัวอย่างของวิธีการวิเคราะห์

ความเสี่ยงเชิงคุณภาพ ได้แก่ รายการตรวจสอบความเสี่ยง วงจรชีวิตของโครงการ การตัดสินใจแบบ

กิ่งก้านสาขา 1 (Decision Tree) ตารางลิงค์ภายใน (Intrinsic Link Table: WBS-RBS 2 ) ฯลฯ นอกจากนี้ยังมี

วิธีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณพื้นฐานสามประการ: ทฤษฎีความน่า ทฤษฎีการตั้งค่าแบบหลาย

คุณลักษณะ และตรรกศาสตร์คลุมเครือ หรือ ฟัซซี่ลอจิก (Fuzzy Logic 3 ) การบริหารความเสี่ยงของโครงการ

ประกอบด้วยสี่ขั้นตอน ได้แก่ การระบุการวิเคราะห์ การตอบสนองและการควบคุม และข้อเสนอแนะของ

ระบบที่ใช้ในการควบคุมความเสี่ยง ประสิทธิภาพการจัดการ ดังนั้นการจัดการความเสี่ยงของโครงการจึงเป็น

วิธีจัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ

จากการวิเคราะห์ยืนยันว่าความเสี่ยงของโครงการมีผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยส าคัญต่อประสิทธิภาพของ

โครงการ

1

การตัดสินใจแบบกิ่งก้านสาขา (decision tree) เป็นการเสนอข้อมูลทั้งทางเลือก สภาวการณ์ ผลตอบแทนในลักษณะของแผนภาพแขนงโดยมี

สัญลักษณ์ต่างๆ ใน บางครั้งนั้นเรื่องที่ก าลังพิจารณาจะต้องมีการตัดสินใจหลายครั้ง ซึ่งการใช้วิธีแมทริกซ์นั้นไม่สามารถท าได้ ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องใช้

การตัดสินใจแบบกิ่งก้านสาขา

2

Risk Breakdown Structure – RBS เป็นล าดับชั้นของความเสี่ยง ความเสี่ยงจะถูกแมปจากระดับสูงสุดของการลบออกไปสู่ระดับที่ต ่ากว่าและมี

การกลั่นมากขึ้น โครงสร้างนี้คล้ายคลึงกับโครงสร้างของ Work Breakdown Structure (WBS) ในระดับสูงสุดคุณสามารถแบ่งความเสี่ยงของคุณ

ออกเป็นความเสี่ยงด้านเทคนิคการบริหารความเสี่ยงการวางแผนความเสี่ยงและความเสี่ยงจากภายนอก (ระดับ 1) จากนั้นคุณจะท างานในระดับที่

ดีขึ้นเช่นความเสี่ยงในการออกแบบความเสี่ยงด้านการเงิน ฯลฯ (ระดับ 2) แม้แต่ระดับล่างก็มักจะถูกแบ่งออก คุณสามารถลดความเสี่ยงในระดับ

ลึกลงไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะมีความหมายอีกต่อไป

3

Fuzzy logic (FL) คือ วิธีการออกแบบให้คอมพิวเตอร์สามารถใช้เหตุผลที่ คล้ายคลึงกับวิธีการให้เหตุผลของมนุษย์ ส าหรับประกอบการตัดสินใจ

ที่ไม่ใช่ ... ปกติคอมพิวเตอร์จะส่งกลับค าตอบที่เป็น TRUE กับ FALSE และมนุษย์ก็ มักจะมีค าตอบที่ชัดเจน คือ YES กับ NO:

https://th.wikipedia.org/wiki/ตรรกศาสตร์คลุมเครือ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


60 | การจัดการความเสี่ยง

ความเสี่ยงสามารถแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ได้แก่

(1) อุปสงค์และอุปทาน ที่เกี่ยวข้องกับตลาด

(2) การแล้วเสร็จ: ด้านเทคนิคการก่อสร้างและการด าเนินงาน

(3) สถาบัน: ระเบียบข้อบังคับการยอมรับทางสังคมและอ านาจ และสามารถแบ่งออกได้เป็นโดยธรรมชาติและ

มนุษย์

รายละเอียดโครงสร้างความเสี่ยง สามารถแบ่งกลุ่มความเสี่ยง การจัดหมวดหมู่ความเสี่ยง และเหตุการณ์ความ

เสี่ยงในระดับต ่าสุด

ความเสี่ยงของโครงการแบ่งออกเป็นห้ากลุ่ม คือการจัดการ วิศวกรรม การจัดซื้อจัดจ้าง การก่อสร้าง และการ

ด าเนินการ

ตารางที่ 8-1 รายละเอียดโครงสร้างความเสี่ยง (Risk Breakdown Structure)

WBS - ระดับ 0 WBS - ระดับ 1 ความเสี่ยงเริ่มต้น (The Initial Risks)

1- การจัดการโครงการ 2- การขาดความสนใจใน

กฎหมายและข้อบังคับ

3- เงินเฟ้อ

การจัดการ

-

4- ความผันผวนของอัตรา

แลกเปลี่ยนสกุลเงิน

7- ปัญหาการสื่อสารใน

องค์กร

5- การเพิ่มขึ้นของราคา

น ้ามันดิบระหว่างประเทศ

6- ขาดความสนใจใน

ข้อก าหนดของสัญญา

8- การขาดทักษะของลูกค้า 9- ความล่าช้าในการจ่ายเงิน

และใบแจ้งหนี้

การออกแบบเบื้องต้น 1- การเข้าถึงระบบการ

ออกแบบของที่ปรึกษา

ต่างชาติ

2- การออกแบบผิดพลาด 3- การเปลี่ยนแปลง

ข้อก าหนดในโครงการ

การออกแบบ

การออกแบบ

รายละเอียด

4- ผิดพลาดในการออกแบบ

รายละเอียดจากข้อมูลแบบ

เบื้องต้น

5- ขาดผู้เชี่ยวชาญ 6- ขาดคุณภาพในการ

ออกแบบ

การจัดหา/จัดซื้อ

วัสดุ และอุปกรณ์

อะไหล่ในระยะยาว

1- ความสัมพันธ์ระหว่าง

ประเทศ

4- แผนงานระยะยาวไม่

ถูกต้อง

2- ความก ากวมในโครงการ 3- ผู้ขายที่ไม่เหมาะสม

5- การสื่อสารข้อมูลแก่ผู้ขาย

ไม่ถูกต้อง

6- ขาดประสบการณ์ในการ

ตรวจรับ

การเตรียมสถานที่

ก่อสร้าง

1- ปัญหาทางสภาพธรณีและ

สถานที่ก่อสร้าง

2- สภาพภูมิอากาศที่ไม่

เหมาะสม

3- การเคลื่อนย้ายของหนัก

การก่อสร้าง

การเตรียมแคมป์

ก่อสร้าง

4- เรื่องสุขอาชีวอนามัย 5- การจราจลของคนงาน 6- ปัญกาการสื่อสารระหว่าง

ส านักงานและสถานที่

ก่อสร้าง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


61 | การจัดการความเสี่ยง

WBS - ระดับ 0 WBS - ระดับ 1 ความเสี่ยงเริ่มต้น (The Initial Risks)

การก่อสร้างสถานที่

ท างาน

7- การเปลี่ยนแปลขอบเขต

งานก่อสร้าง

8- การขาดแคลนแรงงาน

ช่างฝีมือที่มีประสบการณ์

9- โรคติดต่อ

การก่อสร้างโรงงาน 10- อุปสรรคจากผู้รับจ้าง

ช่วง

13- ความล่าช้าในการส่ง

อุปกรณ์

11- ความล่าช้าในการ

จ่ายเงินผู้รับจ้างช่วง

12- ความบกพร่องในการ

ตรวจคุณภาพ QA/QC และ

การตรวจสอบ

การด าเนินการเดินระบบ

การเตรียมการด าเนิน

เดินระบบ

การด าเนินการเดินระบบ

1- การเดินระบบไม่ได้ตาม

ข้อก าหนด

2- คุณภาพของวัสดุในเดิน

ระบบไม่ได้คุณภาพ

3- การเดินระบบไม่ถูกต้อง

ตามวิธีการ

8.3 การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามสัญญา

รูปที่ 8-2 ตัวอย่างความเสี่ยงของโครงการ

ตัวอย่างความเสี่ยงของโครงการหนึ่ง โครงการมีความเสี่ยงที่หลากหลาย ตามวงจรชีวิตของสัญญาโดยมีความ

เสี่ยงในขั้นตอนการจัดท าสัญญาและขั้นตอนการปฏิบัติตามสัญญา ในขั้นตอนของการจัดตั้งสัญญาความเสี่ยง

สามารถแบ่งออกเป็นความเสี่ยงก่อนการประกวดราคา และความเสี่ยงในการจัดท าข้อเสนอ ในขั้นตอนของ

การด าเนินการตามสัญญาความเสี่ยงด้านการออกแบบ/วิศวกรรม ความเสี่ยงด้านการจัดซื้อ และความเสี่ยง

ด้านการก่อสร้าง ส าหรับความเสี่ยงในการก่อสร้างสามารถแบ่งออกได้เป็นความเสี่ยงด้านคุณภาพ ความเสี่ยง

ด้านต้นทุน และความเสี่ยงด้านความปลอดภัย

8.3.1 ความเสี่ยงในช่วงการจัดท าสัญญา

(ก) ความเสี่ยงก่อนการประกวดราคา

ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องมีดังนี้

- ความเสี่ยงทางการเมืองเช่นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อาทิเช่นสถานการณ์ทางการเมืองในตะวันออก

กลาง จะต้องระมัดระวังความเป็นไปได้ของการโจมตีของผู้ก่อการร้ายและนโยบายความต่อเนื่องและความ

มั่นคงในประเทศ

- ความเสี่ยงด้านกฎหมายเช่นพนักงานไม่คุ้นเคยกับกฎหมายท้องถิ่นและระบบกฎหมายที่แตกต่าง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


62 | การจัดการความเสี่ยง

- ข้อมูลไม่ถูกต้อง

- ตัวแทนไม่น่าเชื่อถือ

- สถานการณ์ในประเทศเจ้าบ้านไม่ชัดเจน

- ไม่คุ้นเคยกับตลาด

- ไม่คุ้นเคยกับสถานการณ์ของคู่แข่ง

- การวิเคราะห์ความเสี่ยงไม่เพียงพอ

- ข้อผิดพลาดในการตัดสินใจ

(ข) ความเสี่ยงในการจัดท าข้อเสนอ

ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องมีดังนี้

- งานเบื้องต้นไม่เพียงพอ

- ข้อก าหนดการประกวดราคาไม่ชัดเจน

- การขาดแคลนข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบ

- การวิเคราะห์เกี่ยวกับเอกสารประกวดราคาไม่เพียงพอ

- ความล้มเหลวในการตรวจสอบจุดที่ส าคัญ

- ความล้มเหลวเกี่ยวกับการคาดการณ์ระยะเวลาการด าเนินการ

- ความล้มเหลวในการเลือก บริษัท ร่วมทุนหรือผู้รับจ้างช่วง

- ไม่คุ้นเคยกับภาษีท้องถิ่นและค่าธรรมเนียมและราคาตลาดของทรัพยากรประเภทต่าง ๆ ในประเทศนั้น ๆ

เช่นแรงงานวัสดุอุปกรณ์เครื่องจักร ฯลฯ

- ความเสี่ยงที่เกิดจากการจัดระเบียบทรัพยากร ไม่คุ้นเคยกับการขนส่งทรัพยากรจากที่แหล่งวัสดุเกี่ยวกับ

วิธีการ ขั้นตอน วงจรระดับความยากและค่าใช้จ่าย

- ความเสี่ยงของการใช้ทรัพยากรและการเพิ่มขึ้นของราคาที่เกิดจากการลงทุนมากเกินไป

- ความเสี่ยงตามธรรมชาติ ความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศที่ยากล าบาก (อุณหภูมิสูง) การเพิ่มต้นทุนแรงงาน

- ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

- ประเมินการเสนอราคาต ่าเกินไป

8.2.2 ความเสี่ยงในช่วงการปฏิบัติตามสัญญา

(1) ความเสี่ยงด้านออกแบบ/วิศวกรรม

(ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจ้าของงานและบริษัทที่จัดการโครงการ

(ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้รับจ้างช่วง

(ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้รับจ้าง

(2) ความเสี่ยงด้านการจัดซื้อ

การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านการจัดซื้อจากแหล่งที่มาของความเสี่ยง ความเสี่ยงแบ่งออกเป็น

เป็นสี่ด้านกล่าวถึงการร้อง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


63 | การจัดการความเสี่ยง

(ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจ้าของงานและ บริษัทที่จัดการโครงการ

(ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้ผลิตวัสดุ

(ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากกองทุน

(ง) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้รับจ้างช่วง

(3) ความเสี่ยงในการก่อสร้างโครงการ

(ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากการออกแบบ/วิศวกรรมและการจัดซื้อ

(ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณ์การประสานงานของพันธมิตร

(ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณ์ทางธรรมชาติและสังคม

(1) ความเสี่ยงด้านการออกแบบ/วิศวกรรม

(ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจ้าของงานและบริษัทที่จัดการโครงการ

- เจ้าของงาน และ บริษัทที่จัดการโครงการพึงพอใจกับโครงการหรือไม่ มีความต้องการพิเศษหรือไม่?

- มาตรฐานโครงการที่เจ้าของงานและบริษัทที่จัดการโครงการก าหนด

- การขาดการประสานงานของเจ้าของงานและเจ้าหน้าที่ด้านการจัดการโครงการจะมีผลต่อความคืบหน้าของ

โครงการ

(ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้รับจ้างช่วง

- ผู้รับจ้างช่วงไม่คุ้นเคยกับเงื่อนไข และมาตรฐานของโครงการ

- พนักงานของผู้รับจ้างช่วงขาดความรู้ ความเข้าใจในด้านเทคนิค

- มีการใช้มาตรฐานการออกแบบในทางที่ผิด

- ไม่คุ้นเคยกับสภาพและการปฏิบัติในท้องถิ่น

(ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้รับจ้าง

- ความสามารถของผู้รับจ้างในการจัดการด้านวิศวกรรม

- การใช้มาตรฐานการออกแบบในทางที่ผิด

- ไม่คุ้นเคยกับสภาพและการปฏิบัติในท้องถิ่น

(2) ความเสี่ยงด้านการจัดซื้อ

(ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจ้าของงานและบริษัทที่จัดการโครงการ

- ผลิตภัณฑ์ที่ก าหนดโดยเจ้าของงานและบริษัทที่จัดการโครงการไม่พร้อมใช้งานในประเทศนั้น ๆ

- เจ้าของงานและบริษัทที่จัดการโครงการไม่เห็นด้วยกับคุณภาพของวัตถุดิบ

- ความพึงพอใจของเจ้าของงานและบริษัทที่บริหารโครงการต่อผู้ผลิตสินค้าจะน าไปสู่การขาดแคลนวัตถุดิบ

และความล่าช้าในเวลา

(ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้ผลิตสินค้า

- ราคาวัสดุแพง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


64 | การจัดการความเสี่ยง

- การขาดแคลนวัสดุและแรงงานเนื่องจากสภาวะทางด้านการตลาดเกินคาดจะส่งผลกระทบต่อระยะเวลาการ

ผลิต

(ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากการระดมทุน

- ปัญหาจากการจ่ายเงินล่วงหน้าในการซื้อวัสดุ บางครั้งอาจต้องช าระเงินเต็มจ านวน

- รอบการจัดส่งมักจะอยู่ในช่วงสองเดือนถึงสี่เดือนซึ่งหมายถึงผู้ซื้อจะต้องช าระเงินล่วงหน้า

(ง) ความเสี่ยงที่เกิดจากผู้รับเหมาช่วง

- ทัศนคติของผู้รับจ้างช่วง

หน่วยงานก่อสร้าง (บริษัทรับเหมาก่อสร้าง) มีทัศนคติเชิงลบต่อผู้ผลิตสินค้า ผู้ผลิตสินค้าท้องถิ่นจะขอแผน

ความต้องการล่วงหน้าหนึ่งสัปดาห์และมีการยืนยันล่วงหน้าก่อนสองวัน แต่บริษัทก่อสร้างไม่ได้ให้แผนความ

ต้องการที่แม่นย า และบางครั้งยกเลิกแผนความต้องการโดยไม่แจ้งผู้ผลิตสินค้า ท าให้ผู้ผลิตสินค้าแสดงความไม่

เต็มใจที่จะให้ความร่วมมือ

(3) ความเสี่ยงในการก่อสร้างโครงการ

(ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากการออกแบบ/วิศวกรรมและการจัดซื้อ

- การเปลี่ยนแปลงการออกแบบ

- การเลือกวัสดุ

(ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณ์การประสานงานของหุ้นส่วน

- การปฏิบัติงานของงานออกแบบ/วิศวกรรม การจัดซื้อ และการก่อสร้างไม่สัมพันธ์กัน

การขาดการเตรียมการในการออกแบบก่อสร้าง จะเป็นไปได้ที่จะท าให้งบโครงการเกินจากงบประมาณที่

ประมาณการไว้ อย่างไรก็ตามเนื่องจากความล่าช้าของการออกแบบ/วิศวกรรม อาจท าให้เวลาในการจัดหาถูก

เลื่อนออกไป วิศวกรอาจไม่คุ้นเคยกับบรรทัดฐานและมาตรฐานในประเทศนั้น ๆ แม้ว่าจะคุ้นเคยกับ

มาตรฐานสากล เช่น API, AMST, ASME, etc ก็ตาม

(ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณ์ทางธรรมชาติและสังคมในประเทศนั้น ๆ

- สภาพธรรมชาติ

- ประเด็นทางศาสนา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


65 | การจัดการข้อเรียกร้องและข้อพิพาท

9. การจัดการข้อเรียกร้อง

ข้อเรียกร้องที่มักเกิดขึ้นในสัญญาก่อสร้างโดยทั่วไป จะเป็นข้อเรียกร้องด้านการเงิน และข้อเรียกร้องด้านเวลา

แม้ว่าผู้รับจ้างอีพีซี จะต้องรับภาระความเสี่ยงในสัญญาเอง แต่การเปลี่ยนแปลง และการเพิ่มเนื้องานโดย

ผู้ว่าจ้างนั้น ผู้รับจ้างย่อมมีสิทธิได้รับการชดเชยในค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการขยายระยะเวลาตามเหตุผล

และความเหมาะสมด้วยความเป็นธรรม

10. การจัดการข้อพิพาท

เมื่อการเรียกร้องขั้นต้นไม่ได้รับการยอมรับจากคู่สัญญา ก็มักจะน าไปสู้ความขัดแย้ง และเกิดเป็นข้อพิพาท

แนวทางในการระงับข้อพิพาท มีวิธีการระงับได้หลายวิธีดังนี้คือ

1. การเจรจา

2. การไกล่เกลี่ย

3. การชี้ขาดโดยผู้บริหารงานก่อสร้าง

4. การชี้ขาดโดยองค์กรผู้ชี้ขาด

5. การอนุญาโตตุลาการ

6. ศาล

ในสัญญาสากล FIDIC ฉบับล่าสุด แนะน าให้ระงับข้อพิพาทด้วยการป้องกัน หลีกเลี่ยง ตั้งแต่เริ่มโครงการ จะ

เรียกว่า DAAB

DAAB ย่อมาจากค าว่า Dispute Avoidance/Adjudication Board ใช้ในสัญญา FIDIC ฉบับปัจจุบัน (2017)

ไม่ว่าจะเป็นสัญญาจ้างก่อสร้างอาคารและงานโยธา ออกแบบโดยผู้ว่าจ้าง (เล่มแดง) สัญญาจ้างออกแบบและ

ก่อสร้าง (Design and Build) (เล่มเหลือง) หรือสัญญาจ้างเหมาเบ็ดเสร็จ (EPC) (เล่มสีเงิน) เป็นแนวคิดให้คน

อื่นที่เชี่ยวชาญในการก่อสร้างมาช่วย "หลีกเลี่ยง" (Avoid) และ "ตัดสิน" (Adjudicate) ปัญหาของการก่อสร้าง

ระหว่างผู้ว่าจ้าง กับ ผู้รับจ้าง

DAAB คณะผู้ชี้ขาดมีหน้าที่หลักคือ (1) ต้องมี "ข้อพิพาท" (Dispute) ให้หลีกเลี่ยงหรือให้ตัดสิน (2) ต้องเป็น

ข้อพิพาทงานก่อสร้าง พิพาทกันเรื่องอื่นไม่เกี่ยว (3) ต้องพิพาทกันระหว่างคู่สัญญานั้น

ในประเทศไทยยังไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากคู่สัญญามักจะไม่ยอมเสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่ยังไม่มีกรณีพิพาท อย่างไรก็

ตาม สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทยได้พยายามผลักดันให้มีการใช้วิธีการหลีกเลี่ยงข้อพิพาทด้วย

วิธีการนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


66 | การจัดการข้อเรียกร้องและข้อพิพาท

ขณะเดียวกันวิธีที่นิยมใช้กันเป็นสากลคือการไกล่เกลี่ย ซึ่งมีข้อแนะน าดังต่อไปนี้

"Tips to the Mediation & Negotiation" 1

การไกล่เกลี่ย คือการยุติ หรือ ระงับข้อพิพาทด้วยความตกลง ยินยอม ของคู่พิพาทเอง โดยมี ผู้ไกล่เกลี่ย เป็น

คนกลาง ช่วยเหลือ แนะน า เสนอแนะ หาทางออกในการยุติ หรือระงับข้อพิพาท ให้แก่คู่พิพาท

กรอบการปฏิบัติหน้าที่ และความมุ่งหวังในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ประนีประนอม

1. ปฏิบัติหน้าที่โดยได้รับมอบหมายภารกิจอย่างเป็นทางการจากอธิบดีผู้พิพากษาฯ ให้เป็นผู้ประนีประนอม

2. วางกรอบและกระบวนการในการไกล่เกลี่ยตามระเบียบของส านักงานศาลยุติธรรม และข้อก าหนดของศาล

ทรัพย์สินทางปัญญาฯ

3. การวางตนให้คู่พิพาทเกิดความศรัทธา เชื่อถือ วางใจในความเที่ยงธรรมและเป็นกลาง

4. ให้ความเคารพในฐานะของคู่พิพาทอย่างเท่าเทียมกัน

5. ให้โอกาสแก่คู่พิพาทในการเจรจาไกล่เกลี่ยอย่างเท่าเทียมกัน

6. ศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลอันเกี่ยวข้องกับคดีที่ได้รับมอบหมาย เพื่อใช้ประกอบในการเจรจา

7. ใช้ความรู้ ประสบการณ์ มนุษยสัมพันธ์ ไหวพริบ ปฏิภาณ และความอดทนในการปฏิบัติหน้าที่ผู้

ประนีประนอม ทั้งการรับฟัง ศิลปะในการพูด จิตวิทยา ฯลฯ ให้เกิดประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์ต่อการ

ปฏิบัติหน้าที่

8. ช่วยเหลือ แนะน า เสนอแนะหาทางออก ในการยุติหรือระงับข้อพิพาทให้แก่คู่พิพาท

9. มุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ผู้ประนีประนอม เพื่อให้เกิดผลส าเร็จในการเจรจาประนีประนอม

10. ช่วยในการจัดท าข้อสรุปผลการเจรจาและท าข้อตกลง เมื่อคู่พิพาทสามารถเจรจาตกลงกันได้ เพื่อน าเรียน

เสนอต่อท่านผู้พิพากษาเจ้าของส านวนพิจารณาสั่งการ

ท าความเข้าใจกับคู่พิพาท ก่อนด าเนินกระบวนการไกล่เกลี่ย เพื่อให้การเจรจาประนีประนอมเกิด

ประสิทธิภาพ

(1) การเจรจาประนีประนอมที่เกิดขึ้นนั้น เป็นไปตามความประสงค์ของคู่พิพาทเอง มิได้มีผู้ใดบังคับ

(2) หากคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพิจารณาเห็นว่าการเจรจาประนีประนอมต่อไปไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ก็

สามารถขอยุติการเจรจาได้ทุกเวลา

(3) ข้อมูลในระหว่างการเจรจาประนีประนอม จะไม่มีการบันทึกไว้ในรายงาน เว้นแต่เป็นความประสงค์ของ

คู่พิพาท ทั้งนี้คู่พิพาทไม่สามารถน าไปใช้อ้างอิงในขั้นตอนของกระบวนพิจารณาคดีปกติได้แต่อย่างใดทั้งสิ้น

(4) การยินยอมตกลงอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างข้อพิพาท เป็นการตัดสินใจโดยความสมัครใจของคู่พิพาทเอง

ทั้งสิ้น

1

"Tips to the Mediation & Negotiation" โดย : ปรีชา เศขรฤทธิ์ ด ารงต าแหน่ง ผู้พิพากษาสมทบ ศาลทรัพย์สินทางปัญญา รุ่นที่ 1,4,7,10

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


67 | การจัดการข้อเรียกร้องและข้อพิพาท

(5) ให้ค าแนะน าแก่คู่พิพาท ให้ด าเนินการเจรจาประนีประนอมด้วยความตั้งใจจริง มุ่งหวังให้เกิดผลส าเร็จใน

การเจรจา ด้วยความสุภาพ มีไมตรีจิต ใช้วาจาสุภาพไม่ก้าวราวต่อกัน ละวางทิฐิศักดิ์ศรี ยอมผ่อนปรนแก่กัน

ตามควรแก่กรณี

(6) การไกล่เกลี่ย จะไม่ก้าวลึกลงไปในข้อกฏหมายหรือข้อเท็จจริง แต่จะด าเนินไปบนพื้นฐานของการหา

ทางออกร่วมกัน เพื่อให้บรรลุสู่ความตกลงอันเป็นประโยชน์ด้วยกันทุกฝ่าย

(7) ในบางกรณี ผู้ประนีประนอม หรือคู่พิพาท อาจขอให้มีการเจรจาแยกฝ่าย (Caucus) เพื่อประโยชน์ในการ

เจรจาก็ได้

(8) ชี้แจงให้คู่พิพาทได้เข้าใจถึงประโยชน์ของการเจรจาประนีประนอม กล่าวคือ สะดวก รวดเร็ว ประหยัด

รักษาสัมพันธภาพอันดีของคู่พิพาทให้มีร่วมกันได้ต่อไป คู่พิพาทเกิดความพึงพอใจในผลการเจรจา เนื่องจาก

เป็นไปตามการตัดสินใจและความต้องการของผู้ประนีประนอมเอง โดยไม่มีฝ่ายใดแพ้ หรือฝ่ายใดชนะ

ปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อการเจรจาไกล่เกลี่ย

(1) ความตั้งใจจริงของคู่เจรจา

(2) ความรับผิดชอบในการเข้าร่วมเจรจา ตามก าหนดนัดหมาย ของคู่เจรจา

(3) การให้ความร่วมมือ เพื่อน าไปสู่จุดหมายอันเป็นที่ยอมรับร่วมกันได้ ของคู่เจรจา

(4) การรักษากติกา มารยาท ในการเจรจาของคู่เจรจา เช่น การแสดงกิริยา วาจา ความสุภาพ

(5) การเตรียมตัว เตรียมข้อมูลให้พร้อมเพื่อการเจรจาของคู่เจรจา

(6) ความมีไมตรีจิต ถ้อยทีถ้อยเจรจา ผ่อนปรนต่อกัน โดยค านึงถึงผลประโยชน์ร่วมกัน

(7) ความค านึงถึงสัมพันธภาพ และโอกาสที่จะยังคงท าธุรกิจร่วมกันต่อไปของคู่เจรจา

(8) การค านึงถึงผลทางกฎหมาย อันอาจเกิดมีตามมาจากการเจรจา

(9) การค านึงถึงผลต่อเนื่อง ในกรณีที่มีคดีความอื่นอยู่ระหว่างการด าเนินคดีของคู่เจรจา

(10) ความต้องการให้ได้ผลการเจรจาที่จะสามารถน าไปเป็นบรรทัดฐานของคู่เจรจา ในการด าเนินคดีอื่นที่มี

ลักษณะเดียวกัน

(11) ความสมประสงค์ในมูลค่าการชดใช้ ผลตอบแทน ประโยชน์ ทั้งในรูปตัวเงิน และมิใช่ตัวเงิน ของคู่เจรจา

(12) ความพร้อมด้านการเงินของคู่เจรจาฝ่ายที่ต้องชดใช้

(13) การติดขัดในปัญหาด้านกฎหมาย หรือข้อก าหนดของคู่เจรจา

(14) ตัวแทนคู่เจรจาไม่มีอ านาจตัดสินใจ

(15) การมีความขัดแย้ง หรือปัญหากันมาก่อนของคู่เจรจา ท าให้เกิดปัญหาต่อเนื่อง เช่น เรื่องความสัมพันธ์

ความระแวง ทิฐิ ศักดิ์ศรีที่มีต่อกัน

(16) ความต้องการได้ข้อมูล เพื่อเป็นประโยชน์ของคู่เจรจา ในการใช้ด าเนินคดี

(17) ความได้เปรียบด้านฐานะทางสังคม การเงิน อ านาจต่อรอง ของคู่เจรจา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


68 | การจัดการข้อเรียกร้องและข้อพิพาท

(18) ปัญหาด้านการสื่อสารระหว่างคู่เจรจา เช่น ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี

(19) ความร่วมมือช่วยเหลือของทนาย ในการชี้แจงท าความเข้าใจกับตัวความ

(20) ความขัดแย้งกัน ระหว่างทนายของคู่เจรจา

(21) ฝ่ายบริหารของคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือหลายฝ่าย ถูกปกปิดข้อมูลบางประการ หรือ ไม่ได้รับข้อมูลที่

ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน จากบุคลากรฝ่ายตนเอง อาจมีผลท าให้การตัดสินใจของฝ่ายบริหารผิดพลาด

ใช้การพูดโน้มน้าว จูงใจ ในการเจรจาไกล่เกลี่ย

(1) พยายามเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม ของคู่เจรจา เข้าหากัน ในทางที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเจรจา

(2) ท าให้คู่เจรจาประจักษ์ว่า จะได้ผลตอบสนองความต้องการที่เกิดประโยชน์ต่อคู่เจรจาทุกฝ่าย

(3) ท าให้คู่เจรจาเกิดการยอมรับ และยอมเปลี่ยนแปลง

(4) แสดงให้เห็นด้วยเหตุผล ถึงความน่าเชื่อถือในตัวบุคคลผู้โน้มน้าวใจ

(5) แสดงให้เห็นถึงเหตุผล และคุณค่า ในสิ่งที่โน้มน้าวใจ

(6) แสดงให้เห็นถึงความรู้สึกและอารมณ์ร่วม ในทางที่จะช่วยส่งเสริมการเจรจา

(7) แสดงให้เห็น ทั้งด้านดี และด้านเสีย ของทางเลือกแต่ละทาง เพื่อคู่เจรจาใช้ในการพิจารณาตัดสินใจ

(8) พยายามเปลี่ยนบรรยากาศในการเจรจา เพื่อความผ่อนคลาย ให้พร้อมที่จะคล้อยตาม เร้าให้เกิดอารมณ์

คล้อยตาม

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

บรรณานุกรม

คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้ อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ (2560) ประกาศ

คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เรื่องแบบสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อ

จัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ สืบค้นจาก

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/037/8.PDF

คณะทํางาน สวนบริหารการพัสดุ สํานักบริหารกลาง สํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง (ไม่ระบุปี) แนว

ทางการจัดท าร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference - TOR) สืบค้นจาก https://

palad.mof.go.th/th/view/attachment/file/34373830/Manual-TOR-04-2556.pdf

JICA (2012). Dispute Board Manual. Retrieved from https://www.jica.go.jp/activities/

schemes/finance_co/procedure/guideline/pdf/DisputeBoardManual_201203_e.pdf

FIDIC (1999) EPC/Turnkey Contract 1st Ed (1999 Silver Book) https:// fidic.org/books/

epcturnkey-contract-1st-ed-1999-silver-book

Kyle Costa and Cristian Pimentel (2009).Contract Management for International EPC

Projects (A Major Qualifying Project Report) Degree of Bachelor of Science / Worcester

Polytechnic Institute / Retrieved from https://web.wpi.edu/Pubs/E-project/Available/Eproject-082709-221159/unrestricted/

ContractManagementforInternationalEPCProjects.pdf

Nicholas Gould (2018) The New 2017 FIDIC Red, Yellow and Silver Books Retrieved from

https://www.fenwickelliott.co.uk/sites/default/files/scl_-_the_new_2017_fidic_red_yellow

_and_ silver_books_with_scl_logo-1.pdf

Procurement and Materials Management

(2017) Engineering, Procurement

& Construction (EPC) EPC Construction Management Guide. Retrieved from

https://www.hanford.gov/tocpmm/files.cfm/TFC-EPC-CM-D-13_EPC_Construction_

Management_Guide.pdf

A |


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

World Bank Group (2017) EPC Template Retrieved from https://

ppp.worldbank.org/ public-private-partnership /sites/ ppp.worldbank.org/ files/documents/

epc_template_EN.doc

B |


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

ฉบับประสบการณ์

ภาคที่ 2

ภาคปฏิบัติ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง



สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

2. ภาคปฎิบัติ

ภาคที่ 2: ภาคปฎิบัติ

ในส่วนนี้จะอธิบายถึงวิธีการจัดท าเอกสารประกวดราคาสัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

2-1 การประกวดราคา

เอกสารชุดนี้ จัดท าขึ้นเพื่อประกอบการบรรยายเรื่องการประกวดราคา ส าหรับการอบรม นักกฎหมาย

ก่อสร้าง รุ่นที่ 2 จัดโดยชมรมนักกฎหมายก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2563

2-2 คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

เอกสารชุดนี้ จัดท าขึ้นเพื่อประกอบการบรรยายเรื่อง การจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา แก่บริษัท บริษัท

โปรเจค แพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ากัด (มหาชน) เมื่อปี พ.ศ. 2561 และเอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “การ

จัดท ารายการประกอบแบบก่อสร้าง (Specifications)” ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 3 จัดโดย

สมาคมสถาปนิกสยามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2551



2-1 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-2 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-3 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-4 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-5 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-6 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-7 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-8 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-9 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-10 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-11 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-12 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-13 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-14 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-15 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-16 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-17 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-18 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-19 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-20 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-21 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-22 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-23 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-24 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-25 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-26 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-27 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-28 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-29 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-30 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-31 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-32 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-33 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-34 | การประกวดราคา

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-35 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

คู ่มือการจัดเตรียม

เอกสารประกวด

ราคา

TENDER DOCUMENTS

PREPARATION MANUAL

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-36 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

1. บทน า

เมื่อเริ่มโครงการ เจ้าของโครงการจะท าการออกแบบรายละเอียดโครงการ โดยมีแบบ ข้อก าหนด และ

รายละเอียด ในกรณีสัญญา อีพีซี เจ้าของโครงการจะก าหนดรายละเอียด เพื่อให้ผู้รับจ้างออกแบบ จากนั้น

จะท าการประกวดราคาเพื่อหาผู้รับจ้างท าการก่อสร้าง ในการประกวดราคาจ าเป็นต้องมีเอกสารเพื่อเป็นข้อมูล

ให้ผู้รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติของ ผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มีเงื่อนไข

ในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร ก าหนดการณ์ต่าง ๆ ในการประกวดราคา ระยะเวลาการก่อสร้าง ฉะนั้น

เอกสารประกวดราคาจึงมีความส าคัญ โดยต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอ

ราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการตามเวลาที่ก าหนด

เอกสารฉบับแรกคือ จดหมายเชิญ ประกาศ และค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders) เป็น

เอกสารแนะน าโครงการ ระบุวัตถุปรสงค์ ความเป็นมาของโครงการ ขอบเขตงาน ก าหนดคุณสมบัติของผู้เข้า

ประกวดราคา การยื่นเอกสารประกวดราคา ขั้นตอน วิธีการ รวมถึงอธิบายรายละเอียดในเอกสารประกวด

ราคา

เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) เป็นเอกสารที่ระบุเงื่อนไขต่าง ๆ ในสัญญา อาทิเช่น ค าจ ากัด

ความที่ใช้ หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ ในโครงการ เงื่อนไขการจ่ายเงิน และอื่น ๆ เงื่อนไขของ

สัญญาจะแบ่งออกเป็นเงื่อนไขทั่วไป และเงื่อนไขพิเศษ

ข้อก าหนด (Specifications) เป็นเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน

หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยว ข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งาน

พัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ก าหนด ขอบเขตงาน อธิบายค าจ ากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น

มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการ

ก่อสร้างหรือวิธีการด าเนิน งาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณวัสดุ

เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้

เอกสารประกวดราคาเป็นเอกสารแสดงข้อมูลให้ผู้รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติ

ของผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร ก าหนดการณ์ต่าง ๆ ในการ

ประกวดราคา ระยะเวลาการก่อสร้าง ฉะนั้นเอกสารประกวดราคาจึงมีความส าคัญ โดยต้องระบุรายละเอียด

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-37 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

ต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ

โครงการตามเวลาที่ก าหนด

2. องค์ประกอบของเอกสารประกวดราคา

เอกสารประกวดราคาประกอบด้วยเอกสารต่าง ๆ ดังนี้คือ

1. จดหมายเชิญ

2. ประกาศ

3. ข้อก าหนดขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR)

4. ค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders)

5. เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract)

6. ข้อก าหนด (Specifications)

7. บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities)

8. แบบสัญญาจ้าง (Contracts)

2.1 ประกาศ

ประกาศเป็นเอกสารซึ่งเจ้าของงานประกาศแจ้งการประกวดราคาโครงการ แสดงรายะเอียด ขอบเขตของ

โครงการโดยสังเขป ระบุคุณสมบัติของผู้ที่สามารถเข้าประกวดราคาได้ ก าหนดการประกวดราคาต่าง ๆ

สถานที่ติดต่อ

2.2 ข้อก าหนดขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR)

ข้อก าหนดขอบเขตของงานจะกล่าวถึงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ คุณสมบัติของผู้ประสงค์จะ

เสนอราคา เอกสารหลักฐานต่างๆ ประกอบการคัดเลือกผู้เสนอราคา แบบฟอร์มการเสนอราคา ข้อมูลจ าเพาะ

ทางเทคนิค รายละเอียดการยื่นข้อเสนอ รูปแบบรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ หลักเกณฑ์การพิจารณา

ข้อเสนอ ระยะเวลาการด าเนินงานและส่งมอบงาน สถานที่ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

2.3 ค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคา (Instructions to Bidders)

ค าแนะน าผู้เข้าประกวดราคาประกอบด้วยรายละเอียดของเอกสารโครงการว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง

คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ข้อมูลจ าเพาะทางเทคนิค หลักฐานการยื่นข้อเสนอ

รายละเอียดการเสนอราคา หลักประกันการเสนอราคา หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา การท าสัญญาจ้าง

ก่อสร้าง ค่าจ้างและการจ่ายเงิน อัตราค่าปรับ กรณีท างานไม่แล้วเสร็จตามสัญญา การรับประกันความช ารุด

บกพร่อง การจ่ายเงินล่วงหน้า การหักเงินประกันผลงาน ข้อสงวนสิทธิ์ในการยื่นข้อเสนอและอื่นๆ การปรับ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-38 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

ราคาค่างานก่อสร้าง มาตรฐานฝีมือช่าง การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน

ของผู้ประกอบการ

2.4 เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract)

เงื่อนไขของสัญญาประกอบด้วย เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา และเงื่อนไขเฉพาะ

เงื่อนไขของสัญญาทั่วไปประกอบด้วย รายละเอียดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

1. ค าจ ากัดความและการตีความ (Definitions and Interpretations)

2. หลักประกันสัญญา (Performance Guarantee)

3. การโอนสิทธิหน้าที่และการท าสัญญาจ้างช่วง (Assignment and Subcontracting)

4. แบบรูป (Drawings)

5. ภาระหน้าที่โดยทั่วไป (General Obligations)

6. การดูแลบ ารุงรักษางาน (Care of Works)

7. การประกันภัยในงาน (Insurance of Works)

8. ความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน (Damage to Persons and Property)

9. การแก้ไขกรณีผู้รับจ้างไม่ท าประกันภัย (Remedy on Contractor’s Failure to Insure)

10. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ (Compliance with Laws and Regulations,

etc.)

11. การเข้าพื้นที่ของผู้รับจ้างรายอื่น (Access to other Contractors)

12. การดูแลรักษาหน้างานให้สะอาดและปลอดภัย (Maintaining the Site Clean and Safe)

13. แรงงาน (Labour)

14. วัสดุและฝีมือการท างาน (Materials and Workmanship)

15. การตรวจสอบการปฏิบัติงาน และงานที่มองไม่เห็นจากภายนอก (Inspection of Operations and

Examination of Hidden Work)

16. งานและวัสดุที่ไม่ถูกต้อง (Improper Work and Materials)

17. การหยุดงาน (Suspension of Works)

18. หนังสือแจ้งให้เริ่มงานและการครอบครองพื้นที่หน้างาน (Notice to Proceed, and Possession of

Site)

19. ก าหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Time for Completion)

20. การขยายก าหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Extension of Time of Completion)

21. อัตราความก้าวหน้า การท างานกลางคืนหรือวันอาทิตย์ (Rate of Progress, Night or Sunday

Work)

22. ความล่าช้าของงาน (Works Delay)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-39 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

23. หนังสือรับรองการแล้วเสร็จของงาน (Certificate of Completion)

24. งานช ารุดบกพร่อง (Defective Works)

25. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงงาน การเพิ่มเติมงาน และการยกเลิกงาน (Alterations, Additions and

Omissions)

26. เครื่องจักรก่อสร้าง อุปกรณ์ของผู้รับจ้าง งานชั่วคราวและวัสดุ (Constructional Plant,

Contractor’s Equipment, Temporary Works and Materials)

27. การวัดปริมาณงาน (Measurement of Quantities)

28. การปรับมูลค่าสัญญาเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณงาน (Adjustment of Contract Sum Due

to Variations in Quantities)

29. เงินส ารองเผื่อการใช้จ่าย (Provisional Sums)

30. การจ่ายเงิน และการหักเงินประกันผลงาน (Payment and Retention)

31. การเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง (Termination of Contract by the Employer)

32. เหตุสุดวิสัย (Force Majeure)

33. การระงับข้อพิพาท (Settlement of Disputes)

34. การเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Termination of Contract by the Contractor)

35. ความรับผิดของคู่สัญญา (Liabilities of the Parties)

36. ความช่วยเหลือจากผู้ว่าจ้าง (Assistance by the Employer)

37. การบอกกล่าว (Notices)

38. ภาษา (Language)

39. กฎหมายที่ใช้บังคับ (Law of Contract)

40. กฎหมายที่ต้องปฏิบัติตาม (Law to be Observed)

41. กฎหมายที่ออกมาภายหลัง

42. การเปลี่ยนแปลงราคา (Changes in Costs)

43. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Rate of Exchange)

44. ภาษีและพิกัดศุลกากร (Taxation and Customs Duties)

45. อากรแสตมป์ (Stamp Duties)

46. การอนุมัติไม่มีผลต่อความรับผิดของผู้รับจ้าง (Liabilities not Affected by Approval)

47. การใช้วัตถุระเบิด (Use of Explosives)

48. การซ่อมแซมเร่งด่วน (Urgent Repairs)

49. เอกสารที่อธิบายความหมายร่วมกัน (Documents Mutually Explanatory)

50. พื้นที่ท างานอยู่นอกบริเวณหน้างาน (Work Areas outside the Site)

51 เงื่อนไขในการปฏิบัติงาน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-40 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

52. ข้อบังคับพิเศษของเจ้าของงาน

53. การจอดเรือชั่วคราว การท าเครื่องหมาย ทุ่นและแสงสว่าง

54. การสงวนสิทธิ

55. ค่าใช้จ่ายพิเศษ

56. ค่าสิทธิบัตร

57. ผู้รับจ้างช่วง

58. การดูแลรักษาการจราจร คนดูแลและเฝ้าระวังความปลอดภัย (Maintenance of Traffic, Safety

and Lookout Men)

59. การให้สินบน (Bribery)

60. การกระท าการอันรบกวนต่อสาธารณะ (Interference with the Public)

61. สาธารณูปการ (Utilities)

62. ที่พักบริเวณหน้างาน (Site Accommodation)

63. ที่พักอาศัย (Living Accommodations)

64. การบันทึกวีดีทัศน์ (Contract Record)

65. ความสัมพันธ์กันระหว่างเอกสารสัญญา

66. การประสานงานกับส่วนราชการและ/หรือผู้รับจ้างรายอื่น

เงื่อนไขเฉพาะ จะเป็นรายละเอียดที่เพิ่มเติมจากเงื่อนไขทั่วไป อาทิเช่น แผนด าเนินงานก่อสร้างและผังของ

การเชื่อมประสานงานก่อสร้าง (Key Date : KD) และอาจมีการแก้ไขปรับปรุงข้อความในเงื่อนไขทั่วไป

2.5 ข้อก าหนด (Specifications)

ข้อก าหนด (Specifications) เป็นเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน

หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยว ข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งาน

พัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ก าหนด ขอบเขตงาน อธิบายค าจ ากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น

มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการ

ก่อสร้างหรือวิธีการด าเนินงาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือแรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น

2.6 บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities)

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณวัสดุ

เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้

องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-41 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

- ล าดับที่ของรายการ

- รายละเอียดของงานแต่ละประเภท

- ปริมาณงาน (จ านวน)

- หน่วยในการวัดเพื่อการจ่ายเงิน

- อัตราราคาต่อหน่วย (อาจแยกเป็นราคาค่าวัสดุ และค่าแรงงาน) ของแต่ละรายการ

- ราคารวม

- หมายเหตุ (หากจ าเป็น หรือต้องการ)

หน้าที่และความส าคัญของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ที่ใช้ในงานก่อสร้าง

- แสดงองค์ประกอบรายละเอียดของงานต่าง ๆ

- แสดงปริมาณงานและหน่วยที่ใช้ในการวัดและจ่ายเงิน

- แสดงราคาของงานแต่ละประเภท

- ใช้เพื่อเปรียบเทียบราคาของผู้เข้าประกวดราคา (Tenderer /Bidder) เพื่อเป็นผู้รับจ้างก่อสร้าง

(ผู้รับเหมา/ Contractor) ในโครงการนั้น ๆ

- ใช้เพื่อเป็นราคาฐาน ส าหรับงานเพิ่มเติมในโครงการนั้น ๆ

- ใช้เพื่อการเบิกจ่ายเงิน (Payment) หรือการเบิกจ่ายเงินบางส่วนในระหว่างการก่อสร้าง (Interim

Payment)

2.7 แบบสัญญาจ้าง (Contract)

แบบสัญญาจ้างจะเป็นตัวอย่างของสัญญาจ้าง ที่จะใช้ในโครงการ ดังตัวอย่างที่แสดงต่อไปนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-42 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

สัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร

ท าที่..................................

.......................................

วันที่...........................................

สัญญานี้ท าขึ้นระหว่าง.............................................อยู่บ้านเลขที่................หมู่ที่........ ..ถนน

...........................ต าบล/แขวง.......................อ าเภอ/เขต........................จังหวัด...........................ซึ่งต่อไปนี ้ใน

สัญญาจะเรียกว่า “ผู้ว่าจ้าง” ฝ่ายหนึ่ง กับ บริษัท(จ ากัด)/ห้างหุ้นส่วนจ ากัด…………………………

โดย……………………………………..กรรมการผู้มีอ านาจ/หุ้นส่วนผู้จัดการ ส านักงานตั้งอยู่เลขที่................หมู่ที่

........ถนน...........................ต าบล/แขวง..........................................อ าเภอ/เขต........................... ..จังหวัด

............................ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญาจะเรียกว่า “ผู้รับจ้าง” อีกฝ่ายหนึ่ง

ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงท าสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร ดังมีข้อความต่อไปนี้

ข้อ ๑ ผู้ว่าจ้างตกลงว่าจ้าง และผู้รับจ้างตกลงรับจ้างก่อสร้างอาคาร...............บนที่ดินแปลง

เลขที่......................ซึ่งเป็นส่วนของที่ดินโฉนดเลขที่....................................ต าบล/แขวง.......................อ าเภอ/

เขต................................จังหวัด............................เนื้อที่ประมาณ...............ตารางวา ตามแบบแปลนและ

รายละเอียดของงานที่แนบท้ายสัญญานี้และให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้

ข้อ ๒ ผู้รับจ้างตกลงจะท าการก่อสร้างตามสัญญาข้อ ๑ ให้เสร็จสิ้นภายในก าหนด...........

เดือน นับแต่วันท าสัญญานี้

ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใดๆ ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้และเป็นเหตุให้การก่อสร้างดังกล่าวต้อง

หยุดชะงักลงโดยมิใช่ความผิดของฝ่ายผู้รับจ้างก็ให้ยืดก าหนดเวลาดังกล่าวในวรรคก่อนออกไปเท่ากับเวลาที่

สูญเสียไปเพราะเหตุดังกล่าว

ข้อ ๓ ก่อนลงมือก่อสร้าง ผู้รับจ้างต้องท าการตรวจสอบสถานที่และสภาพที่เป็นอยู่ รังวัด

ตรวจสอบหมุดหลักเขต จัดท าระดับแนวและระยะต่างๆ ในแบบก่อสร้างและเสนอผลการตรวจสอบให้แก่ผู้ว่า

จ้างพร้อมทั้งแสดงสภาวะของสภาพดังกล่าวอันจะท าให้เกิดการกระทบกระเทือนยุ่งยากแก่งานที่ระบุในสัญญา

และรายงานความเคลื่อนไหวอันเกิดขึ้นระหว่างแผนก่อสร้างกับสถานที่จริงเป็นลายลักษณ์อักษรก่อน

ด าเนินงานต่อไป

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-43 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

ข้อ ๔ ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบและศึกษารายละเอียดโดยผู้รับจ้างต้องเสนอแบบขยาย

รายละเอียดจะต้องแสดงถึงวิธีการ ต าแหน่งและระยะต่างๆ ในการปฏิบัติงานโดยละเอียด

ข้อ ๕ ผู้ว่าจ้างตกลงช าระค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างเป็นเงินทั้งสิ้น.......................บาท

(.................................................) โดยจะช าระค่าจ้างให้เป็นงวดๆ รวม .................งวด ตามรายละเอียดการ

ช าระค่าจ้าง ดังนี้

งวดที่ ๑ ช าระจ านวน..........................บาท (.. ........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่

.................................................

งวดที่ ๒ ช าระจ านวน..........................บาท (.........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่

.................................................

งวดที่ ๓ ช าระจ านวน...........................บาท (........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่

................................................

งวดที่ ๔ ช าระจ านวน............................บาท (.........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่

................................................

งวดที่ ๕ ช าระจ านวน............................บาท (......................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่

................................................

ข้อ ๖ เงินค่าจ้างส่วนที่เหลืออีก.....................บาท (..................................)ผู้ว่าจ้างตกลงช าระ

ให้แล้วเสร็จ หรือผู้ซื้อจัดหาสถาบันการเงินมาช าระให้แล้วเสร็จภายในวันที่ส่งมอบงาน

ข้อ ๗ วัสดุเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างรวมทั้งสัมภาระต่างๆ ที่จ าเป็นให้ผู้รับจ้างเป็น

ผู้จัดหา ซึ่งจะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ตามขนาดและคุณภาพดังที่แจ้งไว้ในรายละเอียดแนบท้ายสัญญานี้

ข้อ ๘ ถ้าผู้ว่าจ้างผิดนัดช าระค่าจ้างงวดใดงวดหนึ่งตามข้อ ๕ ผู้รับจ้างมีสิทธิยึดหน่วงใน

สิ่งก่อสร้างและสิ่งติดตรึงตราหรือการงานใดๆ ที่ผู้รับจ้างได้ท าไว้ตามสัญญานี้และผู้รับจ้างมีสิทธิปฏิเสธท าการ

งานจนกว่าผู้ว่าจ้างจะได้จัดการช าระค่าจ้างแก่ผู้รับจ้างแล้วเสร็จ

ถ้าผู้ว่าจ้างผิดนัดช าระค่าจ้างแก่ผู้รับจ้าง ๒ งวดติดต่อกัน ให้ถือว่าสัญญานี้เป็นอันยกเลิกกัน

ทันที โดยผู้รับจ้างมิต้องบอกกล่าวเตือนก่อนและให้ถือว่ากรรมสิทธิ์ของอาคารเป็นของผู้รับจ้าง โดยผู้รับจ้างไม่

จ าเป็นต้องคืนเงินค่าจ้างที่ได้รับไว้แล้ว

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-44 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

ข้อ ๙ ผู้ว่าจ้างหรือบริวารจะไม่เข้าไปใช้สอยหรือเข้าครอบครองในอาคารที่ว่าจ้างให้ปลูก

สร้างจนกว่าผู้รับจ้างจะส่งมอบงานงวดสุดท้าย และผู้ว่าจ้างได้ช าระราคาตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้างจนครบถ้วน

แล้ว

ให้ถือว่ากรรมสิทธิ์ในสิ่งก่อสร้างและสิ่งติดตรึงตราที่ผู้รับจ้างได้ท าไว้ตามสัญญานี้ยังเป็น

กรรมสิทธิ์ของผู้รับจ้างอยู่และไม่เป็นส่วนควบของที่ดินจนกว่าผู้รับจ้างจะส่งมอบงานงวดสุดท้ายและผู้ว่าจ้างได้

ช าระราคาตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้างจนครบถ้วนแล้ว

ข้อ ๑๐ หากผู้ว่าจ้างประสงค์จะท าการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการก่อสร้างผู้ว่าจ้างจะต้องแจ้งให้

ผู้รับจ้างทราบเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองแต่ผู้รับจ้างมีสิทธิที่จะยอมรับหรือไม่

ยอมรับการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ โดยค านึงถึงความจ าเป็นและผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการแก้ไข

เปลี่ยนแปลงดังกล่าว

ข้อ ๑๑ ผู้รับจ้างต้องท างานก่อสร้างทั้งหมดให้ถูกต้องตามแบบแผนและรายละเอียดการ

ก่อสร้าง ทั้งนี้ ผู้ว่าจ้างยินยอมให้ผู้รับจ้างน างานส่วนใดส่วนหนึ่งหรืองานทั้งหมดแห่งสัญญานี้ไปให้ผู้อื่นรับจ้าง

ช่วงก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบและมาตรฐานของผู้รับจ้างอีกต่อหนึ่งได้

ข้อ ๑๒ ผู้รับจ้างยินยอมให้ผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนเข้าตรวจตราอาคารได้เป็นครั้งคราว แต่ผู้ว่า

จ้างต้องไม่ขัดขวางหรือรบกวนการก่อสร้าง

ข้อ ๑๓ ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติงานก่อสร้างด้วยความระมัดระวัง ป้องกันความเสียหายและ

อุบัติเหตุอันเกิดจากบุคคลภายนอกด้วย หากเกิดอุบัติเหตุหรือความเสียหายแก่บุคคลภายนอก ผู้รับจ้างต้อง

รับผิดเพียงฝ่ายเดียว

การปฏิบัติงาน

ข้อ ๑๔ ในขณะก่อสร้างผู้รับจ้างต้องรักษาสถานที่ให้สะอาด ปราศจากเศษวัสดุ อันเกิดจาก

ข้อ ๑๕ เมื่อผู้รับจ้างได้ท าการก่อสร้างเสร็จแล้ว ผู้รับจ้างจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบ

เพื่อให้ผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนของของผู้ว่าจ้างมาตรวจรับมอบงานภายในเวลาที่ก าหนด..........วัน นับแต่วันที่ผู้

รับจ้างได้มีหนังสือแจ้งไป หากผู้ว่าจ้างไม่ตรวจรับมอบงานภายในก าหนดเวลาดังกล่าวหรือไม่ยอมรับมอบงาน

โดยไม่แจ้งเหตุให้ทราบเกินกว่าก าหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานก่อสร้างให้แก่ผู้ว่าจ้าง

โดยเสร็จสิ้นสมบูรณ์ตามสัญญานี้แล้วและผู้ว่าจ้างจะน าข้ออ้างใดๆ มาปฏิเสธการช าระเงินค่าว่าจ้างไม่ได้ ส่วน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-45 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

การซ่อมแซมข้อบกพร่องหรือการช ารุดเสียหายของการก่อสร้างที่เกิดขึ้นภายหลัง เป็นความรับผิดชอบของผู้

รับจ้างฝ่ายเดียว

ข้อ ๑๖ ภายในระยะ ๑ ปี นับจากวันที่อาคารที่ว่าจ้างตามสัญญานี้ก่อสร้างเสร็จและมีการส่ง

มอบงานงวดสุดท้ายให้กับผู้ว่าจ้างหรือผู้ว่าจ้างได้รับมอบงานเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น หากส่วนใดของอาคารเกิด

ช ารุดเสียหาย เนื่องจากความช ารุดบกพร่องในการก่อสร้างหรือเพราะเหตุวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้างตาม

สัญญานี้ ผู้รับจ้างจะต้องท าการซ่อมแซมให้เรียบร้อยอยู่ในสภาพเดิมโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น เว้นแต่

ความเสียหายนั้นเกิดจากภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย อุทกภัย อัคคีภัย แผ่นดินไหว ความเสียหายจากสัตว์

แมลง หรือความเสียหายจากการจลาจล โจรกรรม

ข้อ ๑๗ หากผู้รับจ้างไม่ท าการส่งมอบงานทั้งหมด โดยมิใช่ความผิดของผู้ว่าจ้างภายใน

ก าหนดเวลาที่ระบุไว้ ผู้รับจ้างยินยอมให้ผู้ว่าจ้างเรียกร้องให้ช าระค่าปรับวันละ...........บาท

(...................................................) จนกว่าจะส่งมอบงานที่เสร็จสิ้นทั้งหมด

ข้อ ๑๘ บรรดาเอกสารหนังสือและหนังสือบอกกล่าวใดๆ ของคู่สัญญาตามภูมิล าเนาที่ปรากฏ

ในสัญญานี้ ให้ถือว่าคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งได้รับทราบข้อความนั้นตลอดแล้ว กรณีที่คู่สัญญาย้ายที่อยู่หรือ

ภูมิล าเนาให้เป็นหน้าที่ของผู้ว่าจ้างนั้นต้องแจ้งคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งทราบเป็นหนังสือ ภายใน..... วัน นับแต่วัน

ย้าย มิฉะนั้นให้ถือว่าบรรดาเอกสารหนังสือ และหนังสือบอกกล่าวที่ส่งไปตามที่อยู่ของคู่สัญญาตามสัญญานี้

เป็นการส่งโดยชอบด้วยกฎหมาย

สัญญานี้ท าขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน โดยคู่สัญญายึดถือไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ

คู่สัญญาได้อ่านและเข้าใจข้อความโดยตลอดแล้ว จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นพยานหลักฐาน

ลงชื่อ.............................ผู้ว่าจ้าง

(.....................................)

ลงชื่อ............................ผู้รับจ้าง

(.....................................)

ลงชื่อ...............................พยาน

(.....................................)

ลงชื่อ...............................พยาน

(....................................)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-46 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

3. ข้อก าหนดคืออะไร

รายการประกอบแบบ ในประเทศไทยมีค าเรียกหลายค า เช่น รายการก่อสร้าง รายการรายละเอียด

ด้านสถาป้ตยกรรม หรือรายการรายละเอียดด้านวิศวกรรม รายละเอียดและข้อก าหนดการก่อสร้าง ข้อก าหนด

ข้อก าหนดทางเทคนิค ข้อก าหนดทางเทคนิคในการก่อสร้าง เป็นต้น

ส าหรับค าที่ใช้ในภาษาอังกฤษ จะใช้ค าว่า “Specifications” ซึ่งราชบัณฑิตยสถาน และ วิศวกรรม

สถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ บัญญัติศัพท์เป็น “ข้อก าหนด”

ค าว่า Specifications ใน ภาษาอังกฤษ The American Heritage Dictionary of the English

Language, Third Edition ให้ความหมายไว้ดังนี้

1.1 The act of specifying.

1.2 Specifications A detailed, exact statement of particulars, especially

a statement prescribing materials, dimensions, and quality of work for something

to be built, installed, or manufactured, b. A single item or article that has been

specified.

1.3 An exact written description of an invention by an applicant for a patent.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของข้อก าหนดไว้ว่า “ข้อความที่ระบุ

เป็นหลักเกณฑ์ หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ หรือด าเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง”

รายการก่อสร้างคือ “เอกสารที่อธิบายความคิดของผู้ออกแบบต่อบุคคลต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงาน

ก่อสร้างเพื่อก าหนด ชนิด ขนาด มาตรฐานการท างาน และรายละเอียดของงานก่อสร้าง” จึงถือว่าเป็นข้อตกลง

ส่วนหนึ่งของสัญญาจ้างและเป็นเอกสารส าคัญช่วยให้แบบรูปกระจ่างยิ่งขึ้น ท าให้ผู้รับจ้างทราบได้ว่ามี

อะไรบ้างอยู่ในความคาดหมายของเขา ข้อมูลส่วนมากที่ใช้ในการท างาน จะก าหนดไว้ในแบบรูป ซึ่งเขียนขึ้นใน

ลักษณะต่าง ๆ กัน แต่รายละเอียดเกี่ยวกับฝีมือ และวัสดุ อุปกรณ์นั้น ไม่สามารถระบุลงไปในงานเขียนแบบได้

(พนม, 2539)

ข้อก าหนด (Specifications) บางครั้งอาจเรียกว่า รายการประกอบแบบ หรือ รายการก่อสร้าง

โดยทั่วไปมักคิดถึงรายละเอียดประกอบแบบด้านเทคนิค เช่นกล่าวถึงรายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ ขั้นตอนและ

วิธีการก่อสร้าง เป็นต้น (วิสูตร, 2543)

รายการประกอบแบบ คือแบบก่อสร้างที่มิใช่เส้น แต่เป็นข้อความ (วิญญู และวิชัย, 2550)

ข้อก าหนดทางเทคนิค (Technical Specifications) คือเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความ

ต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องในงานต่าง ๆ

เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งานพัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อก าหนด ขอบเขตงาน อธิบายค า

จ ากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร

เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการก่อสร้างหรือวิธีการด าเนิน งาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความ

ละเอียดและถูกต้องในงานนั้น (เจตณรงค์, 2550)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-47 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

สรุปได้ว่าการจัดท าข้อก าหนด คือ กระบวนการระบุพรรณนาเพื่อแสดงรายละเอียด เฉพาะเจาะจง

โดยเฉพาะรายละเอียดที่แสดงถึงคุณลักษณะของวัสดุ ขนาด ขั้นตอน วิธีการ และคุณภาพ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ใช้ปฏิบัติหรือด าเนินการเพื่อให้ได้งาน สิ่งก่อสร้าง ผลิตกัณฑ์ หรือการติดตั้ง และการบริการให้เป็นไปตาม

วัตถุประสงค์ที่ต้องการดังที่ก าหนดไว้

วัตถุประสงค์และความส าคัญของข้อก าหนดทางเทคนิค

วัตถุประสงค์ของข้อก าหนดทางเทคนิคเพื่อ ระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่ไม่สามารถแสดงไว้ในแบบก่อ

สร้าง อาทิเช่น มาตรฐานต่าง ๆ คุณสมบัติของวัสดุ วิธีการก่อสร้างหรือปฏิบัติ วิธีการทดสอบ ความคลาด

เคลื่อนที่ยอมรับได้ ตลอดจนถึงวิธีการวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน ความส าคัญของข้อก าหนด คือเป็นส่วน

หนึ่งของสัญญาในโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับจ้างปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และความต้องการของ

โครงการ การไม่ปฏิบัติตามข้อก าหนดอาจน ามาซึ่งอันตราย และความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้

1. ประเภท/ชนิดของข้อก าหนด

1. ประเภทของข้อก าหนดแบ่งตามลักษณะของข้อก าหนด ได้แก่

- ข้อก าหนดมาตรฐาน (Standard specification)

ข้อก าหนดประเภทนี้ เป็นข้อก าหนดซึ่งหน่วยงานนั้น ๆ จัดท าขึ้นเพื่อใช้ได้ทั่วไป ส าหรับโครงการ

ต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะงานคล้าย ๆ กัน เป็นงานสามัญทั่ว ๆ ไป (Common) ไม่มีอะไรเป็นพิเศษ

เช่นงานปรับพื้นที่ งานขุดดินทั่วไป งานคอนกรีต งาน ไม้ งานประตูหน้าต่าง เป็นต้น

- ข้ อ ก า ห น ด เ ฉ พ า ะ ง า น ( Special provision, Particular specification or

Supplementary specification)

ข้อก าหนดนี้จะเป็นส่วนที่เสริมเพิ่มเดิมจากข้อก าหนดมาตรฐาน โดยที่โครงการแต่ละ โครงการ

จะมีความแตกต่างกันบ้างในสภาพของพื้นที่ ลักษณะของโครงสร้าง ความพิเศษของโครงการ

คุณสมบัติเฉพาะของวัสดุที่ใช้

2. ประเภทของข้อก าหนดแบ่งตามลักษณะรายละเอียดของเนื้อหา ได้แก่

- ข้อก าหนดแบบละเอียดเชิงพรรณนา (Descriptive specifications)

Descriptive Specifications: Materials, Methods & Workmanship เป็นข้อก าหนดที่

ระบุ วิธีการน าวัสดุไปใช้งานจริง วิธีการก่อสร้าง และระดับฝีมือช่างที่ต้องการ

ข้อดีของการเขียนข้อก าหนดแบบ Descriptive Specifications คือ มีการระบุความต้องการได้

ชัดเจน ใช้ได้กับทุกงานเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันลันโดยเสรี

ข้อด้อยของ Descriptive Specifications คือ อาจไม่ได้ผลเพราะฝีมือช่างไม่ถึงระดับที่ต้องการ

หรือ ตรวจสอบระดับฝีมือช่างได้ยาก หรือ ถ้าท าได้ก็จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก จะท าให้

การเขียนข้อก าหนดยาว เสียเวลาเขียนนานมาก เพื่อให้สอดคล้องกับระดับฝีมือช่างที่มีอยู่

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-48 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

เสียเวลาอ่านท าความเข้าใจมาก อาจจะต้องเพิ่มข้อความบางอย่าง เพื่อให้ได้ผลตามต้องการ อาจ

ท าให้ราคางานสูงขึ้น

- ข้อก าหนดแบบมุ่งผลส าเร็จของงาน (Performance specifications)

Performance Specifications รายการก่อสร้างที่ระบุผลสุดท้ายที่ต้องการเท่านั้น ส่วนวัสดุ

และแรงงาน วิธีการจัดซื้อ - จัดหา ตลอดจนวิธีการก่อสร้าง ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ด าเนินการ

จัดหา จัดซื้อ ด้วยตัวเองทั้งหมด

ข้อดีของ Performance Specifications คือ ได้ผลตรงตามความต้องการของผู้ออกแบบ

ผู้รับจ้างมีอิสระเต็มที่ในการท างาน จะมีการแข่งขันสูง ข้อก าหนดจะสั้น และกะทัดรัด ใช้ได้กับ

งานทุกประเภท

ข้อด้อยของ Performance Specifications คือ การก าหนดราคาที่แน่นอนท าได้ยาก ผู้รับจ้าง

จะใช้วิธีท่างานแตกต่างกันออกไป ควบคุมงานล าบากต้องท าตามผู้รับจ้างบอกตลอด ยิ่งถ้าไม่

จ ากัดค่าใช้จ่ายเอาไว้เจ้าของโครงการจะเสียค่าใช้จ่ายมาก

- ข้อก าหนดแบบอ้างอิง (Reference specifications)

Reference Specifications ข้อก าหนดที่อ้างอิงมาตรฐานที่มีอยู่ ที่ใช้อยู่ ที่ทุกคนยอมรับ เช่น

ให้ใช้ปูนซีเมนต์ ประเภท 1 ตาม มอก.ที่ 15 เป็นต้น

ข้อดีของ Reference Specifications คือ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องยอมรับเพราะเป็นที่คุ้นเคย และใช้

ทั่วไปไม่จ ากัดการแข่งขันรายละเอียดข้อก าหนดสั้น กระชับ กะทัดรัด มีน ้าหนักมากถ้าต้องมีการ

ขึ้นศาลกรณีมีป้ญหาในการท างาน

ข้อด้อยของ Reference Specifications คือ วัสดุหรือวิธีการหลายอย่างไม่มีมาตรฐานให้ อ้างอิง

มาตรฐานบางอย่างอาจถ้าสมัย มาตรฐานบางอย่างเป็นเกณฑ์ขั้นต ่า อาจปกป้อง ผลประโยชน

ของคนบางกลุ่มเท่านั้น ผู้รับจ้างต้องขวนขวายหามาตรฐานอ้างอิงเอาเองซึ่งกว่าจะได้รับการ

ยอมรับจากเจ้าของงานจะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก

- ข้อก าหนดแบบระบุบริษัทผู้ผลิต (Proprietary specifications)

อธิบายค าเรียก Proprietary : ศัพท์ค าว่า Proprietary software ทางด้านวิศวกรรมซอฟแวร์

ในประเทศไทย บางทีจะใช้ค าทับศัพท์ว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" หรือใช้ค าว่า "ซอฟต์แวร์

เอกสิทธเฉพาะ"

Proprietary Specifications ข้อก าหนดที่มีการระบุยี่ห้อ รุ่น หมายเลขแคตตาล็อก สี หรือ

รายละเอียดต่างๆให้ชัดเจน ผู้ที่เกี่ยวข้องรู้ได้ทันทีว่าเป็นสิ่งใด เช่น กระเบื้องมุงหลังคาใช้ CPAC

MONIER สีแดง เป็นต้น

ข้อดีของ Proprietary Specifications คือ บุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าใจตรงกันว่าต้องการอะไร คิด

ราคาง่าย ท าให้รายละเอียดข้อก าหนดสั้น กะทัดรัดได้คุณภาพงานตรงตามความต้องการของ

ผู้ออกแบบ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-49 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

ข้อด้อยของ Proprietary Specifications คือ ใช้ก าหนดรายละเอียดได้เฉพาะวัสดุเท่านั้น จะท า

ให้ไม่มีการแข่งขันในการเสนอราคาท าให้งานมีราคาแพง และถ้าตอนลงมือก่อ สร้างจะมีป้ญหา

ถ้าหายี่ห้อนั้นไม่ได้ หรือ หาได้แต่เจ้าของผู้ผลิตโก่งราคาขึ้นไปอย่างไม่เป็นธรรม นอกจากนั้วัสดุ

บางชนิดที่ใช้กันบ่อย ๆ แต่ไม่มียี่ห้อ เช่น อิฐบล็อก อิฐ ทราย หิน จะไม่สามารถน ามาใช้ใน

รายการก่อสร้างประเภทนั้นได้

- ข้อก าหนดแบบผสม (Combination Specifications)

Combination Specifications ข้อก าหนดแบบผสมตามความต้องการเฉพาะงาน มีข้อดี และ

ข้อเสียตามแต่ละแบบที่น ามาใช้

- มาตรฐานอ้างอิง (Reference standard)

มาตรฐานอ้างอิง เป็นเอกสารที่จัดท าโดยหน่วยงานก าหนดมาตรฐาน ใช้ประโยชน์ในการก าหนด

คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้าง วิธีการทดสอบ วิธีการด าเนินงาน รวมถึงวิธีการควบคุมคุณภาพต่าง

ๆ เช่น มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) มาตรฐาน ISO (International Standard organization)

มาตรฐาน ASTM (American Society for Testing) มาตรฐาน ACI (American Concrete

Institute) เป็นต้น

3. แนวทางและการจัดท าข้อก าหนด/รายการประกอบแบบ การเขียนข้อก าหนด

การเขียนข้อก าหนดจัดเป็นงานที่ส าคัญ ผู้เขียนข้อก าหนด จะต้องเป็นผู้รอบรู้ในงานนั้นอย่างยิ่งอีก ทั้ง

ต้องรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน เขียนรายการชัดเจนและปฏิบัติได้ ฉะนั้น การเขียนข้อก าหนดใด ๆ ย่อมขึ้นอยู่กับ

6 C ดังนี้

- Correct ถูกต้อง เนื้อหาต้องตรงกับวัตถุประสงค์ ถูกต้องตามข้อเท็จจริง ใช้ภาษาได้ถูกต้อง ทั้ง

โครงสร้างประโยค ส านวน ลีลา เครื่องหมายวรรคตอน ตัวสะกด

- Complete สมบูรณ์ มีเนื้อหาครบถ้วน

- Clear ชัดเจน ไม่ก ากวม อ่านเข้าใจง่าย ตรงตามที่ต้องการสื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ ไม่ต้องตีความ

- Concise กระชับ กะทัดรัด รัดกุม ไม่ใช้ค าฟุ่มเฟือย

- Coherence สัมพันธภาพ มีการเชื่อมโยงในข้อความ แต่ละประโยคต้องมีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกัน

- Convincing สมเหตุผล มีความเป็นไปได้

การจัดท ามาตรฐานข้อก าหนด

เมื่อเริ่มงานออกแบบโครงการ ควรจะต้องมีการประชุมปรึกษาหารือระหว่าง วิศวกรสาขาต่าง ๆ

สถาปนิก ผู้ประมาณราคาและค านวณปริมาณงาน ผู้จัดเตรียมข้อก าหนด นักวิชาการสิ่งแวดล้อม และ

ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อร่วมกันจัดท า เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) เพื่อให้โครงการ มีประโยชน์ใช้งาน

สูงสุดและมีระยะเวลาก่อสร้างตรงตามความต้องการของผู้ว่าจ้าง สะดวกต่อการดูแลและบ ารุงรักษา เหมาะสม

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-50 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

กับสภาพภูมิอากาศ ทั้งในระยะเวลาก่อสร้าง และระยะเวลาใช้งาน ใช้วัสดุในท้องถิ่นให้มากที่สุด เพื่อลดราคา

ค่าก่อสร้าง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด และสอดคล้องกับมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ

สิ่งแวดล้อม (Mitigation Plan) ของโครงการ

รูปแบบของข้อก าหนดที่เสนอ หนึ่งบทจะครอบคลุมงานหนึ่งงาน และจะประกอบด้วยหัวข้อหลัก 4 หัวข้อ

เหมือนกันทุกบทเป็นส่วนใหญ่ คือ

- หัวข้อ X.1 ทั่วไป จะประกอบด้วยหัวข้อย่อยตามความจ าเป็น คือ

๐ X.1.1 ขอบเขตของงาน

๐ X.1.2 มาตรฐานที่ใช้กับงานในบทนี้

๐ X.1.3 นิยาม งานบางงานจ าเป็นที่จะต้องให้ค านิยามงานย่อยเพื่อบ่งชี้ความแตกต่าง

ให้ชัดเจน

๐ X.1.4 การเสนอเอกสารและตัวอย่างวัสดุ

- หัวข้อ X.2 วัสดุ/เครื่องจักร/เครื่องมือ

- หัวข้อ X.3 วิธีการก่อสร้าง/วิธีการด าเนินงาน

- หัวข้อ X.4 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน (ไม่ใช้กับงาน อีพีซี)

หลักการเขียนข้อก าหนด/รายการก่อสร้าง (Principle of Specifications Writing) 1

1. ต้องถามเจ้าของโครงการให้แน่ใจต้องการอะไรแน่ ระดับคุณภาพอยู่ระดับใด สอดคล้องกับงบประมาณที่

มีอยู่หรือไม่

2. เขียนความต้องการให้สั้น กะทัดรัด ชัดเจน เกี่ยวกับเงื่อนไขทั่วไป ชนิดของงานและคุณภาพของช่างฝีมือ

3. แยกแยะหัวข้อทั้งเงื่อนไขเพิ่มเติมทั่วไป (General Provisions) และข้อก าหนดทางด้านเทคนิค

(Technical Requirements) ให้ชัดเจนเพื่อสะดวกต่อการเชื่อมโยงหรืออ้าง ถึงให้ต่อเนื่องกับเอกสาร

ประกอบสัญญาอื่น ๆ วิเคราะห์งานแต่ละชนิดและเลือกข้อก าหนดทางด้านเทคนิคให้ตรงกับงานนั้น ๆ

โดยอาศัยข้อก าหนดทางด้านเทคนิคของงานประเภทเดียวกันที่ได้เคยใช้หรือก่อสร้างมาก่อนเป็นตัว

เปรียบเทียบ

4. จัดล าดับความต้องการที่จะน าไปเขียนลงในแต่ละส่วนของข้อก าหนดให้สอดคล้องกับแบบก่อสร้างและ

สัญญา ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายในการตรวจสอบและปฏิบัติตาม

5. เขียนข้อก าหนดให้กระชับ ครบถ้วนสมบูรณ์ ใช้ประโยคและถ้อยค าที่เป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป

6. ใช้ศัพท์ที่มีความหมายแน่นอน ไม่ก ากวม ไม่ต้องตีความ เป็นที่เข้าใจตรงกัน ไม่เข้าใจเป็นอย่างอื่น

7. ต้องการอะไรให้สั่งลงไปตรง ๆ อย่าใช้ค าพูดเชิงแนะน า

1

http://www.rangson.com/html%20document/ce/ce005001.htm

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


8. ไม่จ าเป็นต้องระบุเหตุผลหรือให้ค าอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการ

2-51 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

9. อย่าระบุให้ท าในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ หรือ ไม่มีเหตุผล หรือ เสียค่าใช้จ่ายสูงกว่างบประมาณที่มีอยู่

10. อย่าก าหนดความต้องการให้ขัดแย้งกัน

11. ให้ระบุขนาดมาตรฐาน (Size) หรือ รูปแบบมาตรฐาน (Pattern) ทุกครั้งถ้าท าได้ เพราะจะได้ไม่มีป้ญหา

ในการสิ่งของหรือสิ่งวัสดุ

12. อย่าเขียนความต้องการซ ้า ๆ กัน ให้ใช้การอ้างอิงแทน

13. พยายามลดการอ้างอิงไขว้กันไปไขว้กันมา เช่น กรณีมีข้อสงสัยให้ไปดูข้อ 5.2 และที่ข้อ 5.2 เขียนว่า ให้

ไปดูข้อ 6.8 เป็นต้น

14. อย่าปัดความรับผิดชอบไปให้ผู้รับจ้างถ้าเขาได้ท าตามข้อก าหนดครบถ้วน อะไรก็ตามที่ผู้รับจ้างได้ท าตาม

ข้อก าหนดแล้วเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ออกข้อก าหนดจะต้องรับผิดชอบ

15. มีความยุติธรรม คิดถึงอกเขาอกเรา

16. อย่าปิดบัง ซ่อนเร้น ความยากล าบากของงานหรือที่อาจจะเป็นอันตรายได้ จะต้องบอกผู้รับจ้างให้ทราบ

ว่างานตอนใดมีอันตราย เช่นการสร้างห้อง X - RAY ในโรงพยาบาล การวางสายโทรศัพท์ในท่อที่อยู่ใต้

ดินลึก ๆ จะมีปัญหาการขาดอากาศหายใจต้องเตรียมอุปกรณ์ท างานเป็นพิเศษ

17. ความต้องการที่เจ้าของโครงการต้องการจะต้องสามารถวัดได้ และต้องก าหนดวิธีการวัด ให้ชัดเจนด้วย

อย่าก าหนดวิธีวัดโดยใช้ความรู้สึกเป็นเกณฑ์เพราะจะเป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง การทะเลาะวิวาท

การโต้เถียงที่หาข้อยุติไม่ได้ และจะท าให้เกิดความไม่เป็นธรรมในสัญญาการก่อสร้างได้

ตัวอย่างขั้นตอนในการจัดเตรียมข้อก าหนด

การจัดเตรียมข้อก าหนดมีขั้นตอนและวิธีการจัดท า ดังต่อไปนี้ คือ

(1) รับทราบรูปแบบของสัญญาการออกแบบโครงการ

(2) ศึกษาและรับทราบขอบเขตของงานในโครงการ รวมทั้งศึกษาแบบของโครงการ

(3) จัดแบ่งหมวดหมู่ของข้อก าหนด

(4) รับทราบความต้องการในหมวดงานทั่วไปของโครงการจากผู้แทนของเจ้าของงาน

(5) จัดเตรียมร่างข้อก าหนดของโครงการโดยใช้ข้อมูลของข้อก าหนดจากโครงการต่าง ๆ

(6) รวบรวมข้อก าหนดงานพิเศษ อื่น ๆ จากผู้เชี่ยวชาญ

(7) จัดเตรียมข้อก าหนดฉบับร่างพร้อมตรวจสอบเบื้องต้น

(8) ตรวจทานโดยผู้จัดการโครงการ

(9) ทบทวนโดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง

(10) จัดเตรียมข้อก าหนดฉบับสมบูรณ์ และตรวจทานขั้นสุดท้ายโดยผู้จัดการโครงการ

สรุปประเด็นปัญหาที่พบ

(1) ความขัดแย้งระหว่างข้อก าหนดและเอกสารประกวดราคาอื่น

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-52 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

(2) การระบุการจ่ายเงินไม่ชัดเจน ไม่รัดกุม หรือไม่ครอบคลุม

(3) การก าหนดรายละเอียดในข้อก าหนดชัดเจนและผูกมัดเกินไป

(4) การก าหนดรายละเอียดในข้อก าหนดไม่ชัดเจน

(5) ข้อก าหนดไม่ทันสมัย

(6) ข้อก าหนดไม่ถูกต้อง

(7) ข้อก าหนดไม่ครบถ้วน

(8) ขาดผู้เชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้าน

การจัดเรียงหมวดหมู่ข้อก าหนด (Specifications) โดยใช้ CSI MASTER FORMAT

CSI MASTER FORMAT เปนมาตรฐานการจัดเรียงหมวดหมู่ข้อก าหนด (Specifications) ซึ่งเกิดจากการ

พัฒนารวมกันระหวาง Construction Specifications Institute (CSI) และ Construction Specifications

Canada (CSC) โดยแบงงานกอสรางเปน Division ในครั้งแรกก าหนด 16 Divisions ตอมา ในป ค.ศ. 2004

ไดเพิ่มจ านวนเปน 49 Divisions

CSI-MASTER LIST OF NUMBERS and TITLES: 2016

PROCUREMENT AND CONTRACTING REQUIREMENTS GROUP

Division 00 - Procurement and Contracting Requirements

SPECIFICATIONS GROUP

GENERAL REQUIREMENTS SUBGROUP

Division 01 - General Requirements

FACILITY CONSTRUCTION SUBGROUP

Division 02 - Existing Conditions

Division 03 - Concrete

Division 04 - Masonry

Division 05 - Metals

Division 06 - Woods, Plastics, and Composites

Division 07 - Thermal and Moisture Protection

Division 08 - Openings

Division 09 - Finishes

Division 10 - Specialties

Division 11 - Equipment

Division 12 - Furnishings

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-53 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

Division 13 - Special Construction

Division 14 - Conveying Equipment

FACILITY SERVICES SUBGROUP

Division 21 - Fire Suppression

Division 22 - Plumbing

Division 23 - Heating, Ventilating, and Air-Conditioning (HVAC)

Division 25 - Integrated Automation

Division 26 - Electrical

Division 27 - Communications

Division 28 - Electronic Safety and Security

SITE AND INFRASTRUCTURE SUBGROUP

Division 31 - Earthwork

Division 32 - Exterior Improvements

Division 33 - Utilities

Division 34 - Transportation

Division 35 - Waterway and Marine Construction

PROCESS EQUIPMENT SUBGROUP

Division 40 - Process Interconnections

Division 41 - Material Processing and Handling Equipment

Division 42 - Process Heating, Cooling, and Drying Equipment

Division 43 - Process Gas and Liquid Handling, Purification, and Storage Equipment

Division 44 - Pollution and Waste Control Equipment

Division 45 - Industry-Specific Manufacturing Equipment

Division 46 - Water and Wastewater Equipment

Division 48 - Electrical Power Generation

MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 1995 ก่อนการปรับปรุงในรุ่นปี ค.ศ. 2004 มีทั้งหมด 16 หมวด ดังนี้

1) หมวด 01 - General Requirements – ข้อก าหนด ความต้องการทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างโดยตรง

เช่น การสร้างส านักงาน หรือบ้านพักคนงานชั่วคราว การสร้างรั้วรอบบริเวณสถานที่ก่อสร้าง

2) หมวด 02 - Site Construction - สภาพสถานที่ก่อสร้าง เช่น งานถม งานขุดดิน รื้อถอนสิ่งก่อสร้างเดิม

3) หมวด 03 - Concrete - งานคอนกรีต รวมถึง เสา คาน พื้น ฐานราก และ สิ่งก่อสร้างคอนกรีต

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-54 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

4) หมวด 04 - Masonry - งานวัสดุก่อ รวมถึง งานก่ออิฐ อิฐบล็อก อิฐแก้ว

5) หมวด 05 - Metals – งานโลหะ

6) หมวด 06 - Wood and Plastics – งานไม้และพลาสติก

7) หมวด 07 - Thermal and Moisture Protection – งานฉนวนป้องกันความร้อน และความชื้น

8) หมวด 08 - Doors and Windows – งานประตูและหน้าต่าง

9) หมวด 09 - Finishes – งานผิวส าเร็จ รวมถึง งานผนังยิปซั่มภายใน งานฝ้าเพดาน งานกระเบื้อง วัสดุปูทับ

ติดตั้งระบบอะคูสติกกันเสียง และงานทาสี

10) หมวด 10 – Specialties - งานเฉพาะทาง เช่น การติดตั้งพาร์ทิชัน ติดตั้งกระดานด า

11) หมวด 11 - Equipment – อุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์ก าจัดขยะ

12) หมวด 12 - Furnishings - อุปกรณ์ตกแต่ง เช่น มู่ลี่ ผ้าม่าน เฟอร์นิเจอร์

13) หมวด 13 - Special Construction - งานก่อสร้างพิเศษ เช่น ห้องซาวน่า สระว่ายน ้า

14) หมวด 14 - Conveying Systems - ระบบขนส่งภายในอาคาร เช่น ลิฟท์ บันไดเลื่อน คอนเวเยอร์

15) หมวด 15 - Mechanical – งานเครื่องกล

16) หมวด 16 - Electrical – งานไฟฟ้า

MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 2004 จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ทั้งทางด้านการก่อสร้าง ด้าน

เทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้ฐานข้อมูล ระบบการประกวดราคาออนไลน์ รวมทั้งการ

แลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ CSI จึงได้ท าการปรับปรุงแก้ไข ขยาย เพิ่มเติมรายละเอียดการจัด

หมวดหมู่มาตรฐาน ตั้งแต่ เดือน เมษายน ปี ค.ศ. 2001 จนแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2003 และประกาศใช้อย่างเป็น

ทางการในปี ค.ศ. 2004 โดยได้จัดแบ่งหมวดหมู่ใหม่ ดังนี้

กลุ่มที่ 1: การจัดซื้อจัดหาและสัญญา

หมวด 00 ข้อก าหนด ความต้องการของการจัดจ้างและการท าสัญญาจ้าง (Procurement and Contracting

Requirements)

กลุ่มที่ 2: ข้อก าหนด ประกอบด้วย กลุ่มย่อย 5 กลุ่ม คือ

1. ข้อก าหนดทั่วไป

หมวด 01 ข้อก าหนด ความต้องการทั่วไป (General Requirements) ขอบเขตการแสดงความต้องการที่ถูก

เพิ่มขึ้นมาเพื่อช่วยให้สามารถเขียนแสดงความต้องการในแต่ละรายการ ที่มีส่วนคาบเกี่ยวกับหมวดงานอื่น ๆ

(เช่น การก่อสร้างพื้นผิว งานด้านโครงสร้าง เป็นต้น) ซึ่งท าให้สามารถผสมผสาน คุณลักษณะจ าเพาะได้กว้าง

และช่วยให้สามารถก าหนดข้อก าหนดในคู่มือโครงการได้

2. การก่อสร้างสิ่งอ านวยความสะดวก

หมวด 02 สภาพสถานที่ก่อสร้างที่เป็นอยู่ (Existing Conditions) โดยหมวดนี้จะจ ากัดไว้ เฉพาะ ‘สภาพที่มี

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-55 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

อยู่’ การก่อสร้างที่มีความสัมพันธ์กับรายการต่าง ๆ ของบริเวณก่อสร้าง ตั้งแต่เริ่มต้นการท างาน ซึ่งได้แก่ สิ่งที่

ต้องเลือกเพื่อท าการรื้อออก และท าลาย การดูแลพื้นผิว งานด้านการสืบเสาะอื่น ๆ การส ารวจ การตรวจสอบ

การปนเปื้อนในบริเวณก่อสร้าง สิ่งที่ต้องท าเพื่อปรับสภาพ พื้นที่ รวมทั้งสิ่งอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมานี้

หัวข้อเรื่องการด าเนินการก่อสร้างในบริเวณก่อสร้าง ทั้งหมด เช่น เรื่องของประชาชน และเรื่องของพื้นที่ใต้

อาคาร รวมทั้งสาธารณูปโภคและ งานด้านทางเดินเท้า ได้ถูกย้ายไปไว้ที่ กลุ่มของบริเวณก่อสร้างและพื้นที ่ใต้

อาคาร

หมวด 03 งานคอนกรีต (Concrete)

หมวด 04 งานก่ออิฐ (Masonry)

หมวด 05 งานโลหะ (Metals)

หมวด 06 งานไม้ พลาสติก และ ส่วนประกอบอื่น ๆ (Wood, Plastics, and Composites)

หมวด 07 งานฉนวน การป้องกันความร้อน และความชื้น (Thermal and Moisture Protection)

หมวด 08 งานช่องเปิด (Openings) บานประตูและหน้าต่าง บานเกล็ด

หมวด 09 งานผิวส าเร็จ (Finishes)

หมวด 10 งานลักษณะพิเศษ (Specialties)

หมวด 11 อุปกรณ์ (Equipment)

หมวด 12 เครื่องตกแต่ง (Furnishings)

หมวด 13 การก่อสร้างพิเศษ (Special Construction)

หมวด 14 เครื่องมือ/ยานพาหนะในการขนส่ง (Conveying Equipment)

หมวด 15 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 16 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 17 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 18 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 19 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

3. งานสิ่งอ านวยความสะดวกในด้านบริการ

หมวด 20 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 21 การควบคุมเพลิง

หมวด 22 การเดินท่อ

หมวด 23 การให้ความร้อน การไหลเวียนของอากาศ และการติดเครื่องปรับอากาศ

หมวด 25 การควบคุมระบบอัตโนมัติ

หมวด 26 ไฟฟ้า

หมวด 27 การสื่อสาร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-56 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

หมวด 28 ความปลอดภัยและการป้องกันในการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์

หมวด 29 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

4. งานสนามและโครงสร้างพื้นฐาน

หมวด 30 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 31 งานดิน

หมวด 32 การปรับปรุงภายนอก

หมวด 33 สาธารณูปโภค

หมวด 34 การขนส่ง

หมวด 35 การก่อสร้างทางน ้าและทะเล

หมวด 36 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 37 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 38 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 39 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

5. งานอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการ

หมวด 40 การรวบรวมปฏิบัติการต่าง ๆ

หมวด 41 การปฏิบัติการทางวัสดุและการใช้งานเครื่องมือ

หมวด 42 การปฏิบัติการของเครื่องมือที่ให้ความร้อน การท าความเย็น

หมวด 43 การปฏิบัติการของเครื่องมือที่ใช้แก๊ส และของเหลว การท าให้บริสุทธิ์ และเครื่องมือที่ใช้จัดเก็บ

หมวด 44 เครื่องมือที่ใช้ควบคุมมลพิษ

หมวด 45 เครื่องมือทางการผลิตด้านงานอุตสาหกรรมเฉพาะทาง

หมวด 46 อุปกรณ์ปรับปรุงคุณภาพน ้า และบ าบัดน ้าเสีย

หมวด 47 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวด 48 การจ่ายไฟฟ้า

หมวด 49 ส ารองไว้ส าหรับอนาคต

หมวดต่าง ๆ ที่ไม่ได้แสดงรายละเอียดไว้ข้างต้นคือกลุ่มที่ส ารองไว้เป็นพื้นที่ว่าง ส าหรับการพัฒนาและการ

ขยายขอบข่ายในอนาคต

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


2-57 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

รายละเอียด CSI MasterFormat ฉบับปี ค.ศ. 2016 สามารถ Download ได้ที่

https://www.edmca.com/media/35207/masterformat-2016.pdf

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์



สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

ฉบับประสบการณ์

ภาคที่ 3

ภาคผนวก

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง



สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

3. ภาคผนวก

ภาคที่ 3: ภาคผนวก

ในส่วนนี้จะแสดงรายละเอียดประกอบเอกสารประกวดราคาสัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

3-1 แนวทางการจัดท าร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference - TOR)

https://palad.mof.go.th/th/view/attachment/file/34373830/Manual-TOR-04-2556.pdf

เอกสารชุดนี้ รวบรวมโดยคณะทํางาน สวนบริหารการพัสดุ สํานักบริหารกลาง สํานักงานปลัด

กระทรวงการคลัง เป็นเอกสารแนะนําแนวทางการจัดทําร่างขอบเขตของงาน

3-2 แบบสัญญามาตรฐานภาครัฐ

ประกาศคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เรื่องแบบสัญญาเกี่ยวกับการ

จัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/037/8.PDF

เอกสารชุดนี้ เป็นประกาศคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เรื่องแบบสัญญา

เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ประกอบด้วย

ตัวอย่างแบบสัญญาโดยความเห็นชอบของสํานักงานอัยการสูงสุด จํานวน 14 สัญญา 1 ดังนี้

(1) แบบสัญญาจ้างก่อสร้าง

(2) แบบสัญญาซื้อขาย

(3) แบบสัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จํากัดปริมาณ

(4) แบบสัญญาซื้อขายคอมพิวเตอร์

(5) แบบสัญญาซื้อขายและอนุญาตให้ใช้สิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์

(6) แบบสัญญาเช่าคอมพิวเตอร์

(7) แบบสัญญาจ้างบริการบํารุงรักษาและซ่อมแซมแก้ไขคอมพิวเตอร์

(8) แบบสัญญาเช่ารถยนต์

(9) แบบสัญญาจ้างทําความสะอาดอาคาร

(10) แบบสัญญาจ้างบริการรักษาความปลอดภัย

(11) แบบสัญญาเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร

(12) แบบสัญญาแลกเปลี่ยน

(13) แบบสัญญาจ้างออกแบบและควบคุมงานก่อสร้าง

(14) แบบสัญญาจ้างผู้เชี่ยวชาญรายบุคคลหรือจ้างบริษัทที่ปรึกษา

1

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงสัญญาที่ไม่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง

3-i |


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

3. ภาคผนวก

3-3 EPC Template

เอกสารชุดนี้ เป็นตัวอย่างเอกสาร EPC จัดทําโดย World Bank Group

https://ppp.worldbank.org/public-privatepartnership/sites/ppp.worldbank.org/files/documents/epc_template_EN.doc

The Caribbean Renewable Energy Development Programme (CREDP) Toolkit

Region

Latin America and Caribbean

Document Link

The Caribbean Renewable Energy Development Programme (CREDP)

IRT Vehicle

Power Purchase Agreement Template

Operation & Maintenance Agreement Template

Interconnection Agreement Template

Engineering, Procurement & Contracting (EPC)

Typically, a developer seeking RET project financing approaches a lender with a package that includes a fairly common slate of fundamental

transaction documents. They may range from complex plans for a facility using a novel technology to simple (but important) term sheets for

the deal or a loan. The purpose was to identify the most important of those documents and to replicate, in templates for those documents, the

critical elements of a proposed transaction package.

Engineering, Procurement & Contracting (EPC)

Interconnection Agreement Template

Operation & Maintenance Agreement Template

Power Purchase Agreement Template

Template Transaction Documents

For RET equipment, manufacturers may offer the best deals, using their own

standard agreements. Such manufacturer's deals may be fixed price, turnkey

contracts with favorable financing terms.

Interconnection with the grid of the purchasing utility is a precondition to

delivery of RET project energy and the resulting revenue stream.

Local maintenance of RET projects is a worthwhile goal, but manufacturer

support is more practical, and would typically be done under a standard contract.

This is the most important document in gaining financing and may contain prices

based on avoided costs or fixed capacity and energy prices.

3-4 เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

เอกสารชุดนี้ เป็นเงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999 แปลโดยผู้เขียน เมื่อปี พ.ศ.

2560 ในฐานะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการของสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

3-5 การปรับปรุง FIDIC 2017

เอกสารชุดนี้ เป็นสไลด์ The New 2017 FIDIC Red Book, Yellow and Silver Books แปลโดยผู้เขียน เมื่อ

ปี พ.ศ. 2560 ในฐานะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการของสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

3-6 Engineering, Procurement & Construction (EPC) EPC Construction Management Guide

เอกสารชุดนี้ เป็นเอกสารจัดทําโดย Procurement and Materials Management

https://www.hanford.gov/tocpmm/files.cfm/TFC-EPC-CM-D-

13_EPC_Construction_Management_Guide.pdf

3-ii |


สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner

3. ภาคผนวก

3-7 คู่มือคณะกรรมการผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท (Dispute Adjudication Board Manual)

เอกสารชุดนี้ เป็นเอกสารจัดทําโดยผู้เขียน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ในฐานะบรรณาธิการผู้จัดทํา ในคณะทํางาน

จัดตั้งคณะกรรมการผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท Dispute Adjudication Board (DAB) เพื่อระงับข้อพิพาทใน

วงการก่อสร้าง

3-iii |



ภาคผนวก 3-1 แนวทางการจัดท าร่างขอบเขตของงาน

(Terms of Reference - TOR)



3-2

แนวทางการจัดทํารางขอบเขตของงาน

(Terms of Reference - TOR)

รวบรวมโดย

คณะทํางาน สวนบริหารการพัสดุ

สํานักบริหารกลาง

สํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง


3-3

คํานํา

รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร) ไดประกาศยุทธศาสตรและ

แผนงานเชิงรุกในการตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น และไดมอบนโยบายใหแกสวนราชการในการพัฒนา

องคกรเพื่อเสริมสรางความโปรงใสในการปฏิบัติงานราชการ และกําหนดใหแตละหนวยงานจัดทํา

ขอเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสรางความโปรงใสในการปฏิบัติราชการ Clean Intative โดยการพัฒนา

หรือปรับปรุงกระบวนงานที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดปญหาการทุจริตคอรรัปชั่น ผานกระบวนการ

เรียนรูจากการปฏิบัติงานจริง (Action Learning) ซึ่งมุงเนนการเขาใจ เขาถึงปญหา โดยการวิเคราะห

สังเกตอยางละเอียดรอบคอบ และมุงเนนใหเกิดการพัฒนาที่เกิดจากความรวมมือของบุคลากร

ในหนวยงานดวยความเต็มใจ และการยอมรับรวมกันในหนวยงาน

สํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง ภายใตกระทรวงการคลัง จึงเปนหนวยงานหนึ่ง

ที่ไดจัดทําขอเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อความโปรงใสในการปฏิบัติราชการตามนโยบายของรัฐบาล

ภายใตหัวขอ “กระบวนงานดานการจัดซื้อจัดจาง” โดยมีหลักสําคัญในการพิจารณาวิเคราะห

กระบวนงานที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดความโปรงใสความไมเปนธรรม เกิดการทุจริตคอรรัปชั่น

ในหนวยงาน ซึ่งอาจสงผลกระทบใหเกิดความเสียหายแกทางราชการ ดานความคุมคาในการ

ใชจายเงินงบประมาณของแผนดิน การจัดหาวัสดุ ครุภัณฑหรืองานจัดซื้อจัดจางที่ดอยคุณภาพ ทั้งนี้

เพื่อเปนการปรับปรุงและเปนแนวทางปฏิบัติงานในการแกไขปญหาของบุคลากรในหนวยงาน จึงเห็น

ควรพัฒนากระบวนการจัดซื้อจัดจางใหมีความโปรงใส โดยไดจัดทําแนวทางการจัดทํารางขอบเขตของงาน

(Terms of Reference : TOR) เพื่อสรางความรู ความเขาใจ ใหกับบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ทราบถึง

การจัดทํารางขอบเขตของงาน (TOR) ไดอยางถูกตอง และเปนไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อลดปญหา

การทุจริตคอรรัปชั่น โดยยึดหลักการปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ตามมติคณะรัฐมนตรี

รวมถึงหนังสือซักซอมความเขาใจตาง ๆ ทั้งนี้ เพื่อความโปรงใสในการปฏิบัติราชการอยางมี

ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดแกทางราชการเปนสําคัญ

คณะทํางาน

สวนบริหารการพัสดุ สํานักบริหารกลาง

สํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง


3-4

สารบัญ

บทนํา 1

ความหมายของ TOR 2

ความสําคัญของ TOR 2

หนา

การวิเคราะหปญหาเบื้องตนเพื่อจัดทํา TOR 3 - 5

ลักษณะของ TOR ที่ดี 5

การกําหนดขอบเขตของงาน TOR 6 - 11

องคประกอบของรางขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) 12 - 13

ตัวอยางแนววินิจฉัยของคณะกรรมการวาดวยการพัสดุ (กวพ.)

เกี่ยวกับการกําหนด TOR 14 - 43


3-5

บทนํา

การปฏิรูประบบราชการที่เนนการทํางานโดยมีการวัดผลลัพธ และคาใชจายอยางเปน

รูปธรรม มีการจัดสรรงบประมาณที่เนนผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ และความคุมคา ไดทําใหทุกสวน

ราชการตองปรับเปลี่ยนระบบการบริหารจัดการใหม ใหมีการประเมินผลการทํางานและตัวชี้วัดการ

ตอบสนองความตองการของประชาชน และความพึงพอใจของประชาชน เนนการทํางานที่โปรงใส และ

สามารถตรวจสอบได การดําเนินงานโครงการตางๆ ในแตละปงบประมาณ จึงจําเปนตองมี

แผนปฏิบัติงานและการใชจายเงินที่สอดคลองกับแนวคิดของนโยบายรัฐบาลและการทํางานที่

โปรงใส หรือเรียกวาการจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงาน หรือ PBB (Performance Based

Budgeting) โดยถือผลลัพธ หรือผลงานเปนหลัก มีการตั้งเปาหมายพรอมกับระบุจํานวนงบประมาณ

ที่ตองการใชจาย เปนระบบงบประมาณตามผลงานที่ระบุไวในแผน ซึ่งเมื่อตรวจสอบจะตองตรวจสอบ

ที่ผลงาน โดยเฉพาะโครงการที่มีการจัดจางผูรับจาง จะตองกําหนดขอบเขตและขั้นตอนการ

ดําเนินงานที่ชัดเจน รอบคอบ และรัดกุมภายใตภารกิจของหนวยงาน/องคการ ใหสามารถตรวจสอบที่

ผลงานที่เกิดขึ้นและตรวจสอบการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของโครงการ รวมทั้งประโยชน

ความคุมคาของงบประมาณที่ใชจายไป

งานโครงการ มีการจางผูรับจางจากภายนอกองคการใหเปนผูดําเนินการ เชน โครงการ

กอสรางหรือการจัดซื้อสิ่งของหรืออุปกรณอื่นๆ ที่ตองอาศัยกลุมบุคคลที่มีความรูความเขาใจในการ

จัดทําขอกําหนดโครงการ (TOR) เปนอยางดี โดยมีความเขาใจในขอบเขตและแผนการปฏิบัติงาน

โครงการ มีความเขาใจในกระบวนการ แนวทาง หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติตามระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม และมีความเขาใจในแนวทางการ

ประเมินปริมาณและคุณภาพของงาน ทั้งนี้เพื่อนําขอกําหนดโครงการ (TOR) ไปใชประโยชนในการ

คัดเลือกและวาจางตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ และเพื่อใหการจัดสรรงบประมาณเกิด

ประโยชนสูงสุดและสัมฤทธิ์ผลตามเปาหมายเชิงยุทธศาสตร รวมทั้งเสริมสรางประสิทธิภาพในการ

ปฏิบัติงาน สามารถนําความรูและเทคนิคที่ไดไปปรับใชในงานที่รับผิดชอบไดอยางถูกตอง

ดังนั้น การจัดทํา TOR จะตองคํานึงถึงความเหมาะสม ประโยชนใชสอย และความ

คุมคาในการใชงาน เพื่อใหการใชจายงบประมาณในการจัดหาพัสดุ ครุภัณฑ หรือการจัดทําโครงการ

เกิดประโยชนสูงสุด


3-6

1. ความหมายของ TOR

รางขอบเขตของงาน Terms of Reference (TOR) เปนเอกสารที่กําหนดขอบเขตของ

งานและรายละเอียดของภารกิจที่ผูจัดทํา TOR ตองการใหผูขายหรือผูรับจางดําเนินการ รวมทั้งความ

รับผิดชอบอื่น ๆ ของผูขายหรือผูรับจางที่เกี่ยวของกับภารกิจนั้น ซึ่งรายการละเอียดของงานที่ผูซื้อ

หรือผูวาจางประสงคจะใหผูขายหรือผูรับจางทํางานให โดยการบอกขอบเขตของงานใหชัดเจน

ระยะเวลาที่ตองการ คุณสมบัติของผูเสนอราคา ซึ่งผูซื้อหรือผูวาจางตองการใหทํางานตามขอบเขต

ดังกลาว รวมถึงขอกําหนดที่ผูซื้อหรือผูวาจางตองการใหดําเนินการ จะมีกี่ขั้นตอนแตละขั้นตอน

ประกอบดวยอะไรบาง ผิดสัญญาจะถูกปรับอยางไร สิ่งตาง ๆ เหลานี้ผูซื้อหรือผูวาจางจะจัดใหอยูใน

TOR ทั้งหมด เพื่อประกาศหาผูขายหรือผูรับจางตามกรรมวิธีตอไป ซึ่งผูที่ประสงคจะเปนผูขายหรือผู

รับจางไดศึกษาดูกอนวางานตามประกาศสามารถทําไดหรือมีคุณสมบัติครบถวนหรือไม เพื่อเปนขอมูล

เบื้องตนประกอบการพิจารณาในขั้นตอนการดําเนินการจัดหาผูซื้อหรือผูวาจาง

ดังนั้น TOR จึงเทียบไดกับขอกําหนด (Specifications) ของพัสดุที่ผูซื้อหรือผูวาจางทําขึ้น

สําหรับการจัดหา แตอยางไรก็ตาม การกําหนดTOR หรือการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ

(Specification) เพื่อการจัดซื้อจัดจางของหนวยงานที่จะจัดหาพัสดุ ผูที่ไดรับมอบหมายใหดําเนินการ

จะตองพิจารณาและคํานึงถึงกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติคณะรัฐมนตรี หรือหนังสือซักซอม

ความเขาใจที่เกี่ยวของ

2. ความสําคัญของ TOR ดังนี้

2.1 ประการแรก มีความสําคัญมากตอคุณภาพของผลงานที่จะไดจากผูขายหรือผูรับจาง

TOR จะตองมีความชัดเจนที่สามารถจัดหาหรือปฏิบัติได และกําหนดประเด็น

ตางๆ ที่ผูขายหรือผูรับจางจะตองดําเนินการไวอยางชัดเจน TOR ยิ่งมีความชัดเจนเพียงใดยิ่งทําใหการ

คัดเลือกผูขายหรือผูรับจางไดงายขึ้น โปรงใสมากขึ้น ดังนั้น TOR จึงตองมีความชัดเจนเพียงพอตอ

การประเมินปริมาณและคุณภาพงานของผูขายหรือผูรับจาง

2.2 ประการที่สอง เปนเอกสารอางอิงที่ใชเปนสวนหนึ่งของสัญญา ดังนั้น TOR ทีดีจะตองไม

เปน TOR ที่กวางทั่วไป จนทําใหไดสิ่งที่ตองการแตไมมีคุณภาพ

ดังนั้นการจัดทํา TOR จึงตองมีการวิเคราะหปญหาเบื้องตน หรือในระดับแนวคิด โดยการ

รวมหารือกับกลุมตางๆ เพื่อใหไดมุมมองที่หลากหลายครบถวนครอบคลุม


3-7

3. การวิเคราะหปญหาเบื้องตนเพื่อจัดทํา TOR

หนวยงานทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องคกรอิสระ และบริษัทจํากัด (มหาชน) ปฏิบัติงาน

จัดซื้อจัดจางและกําหนด (TOR) ของเนื้อหาที่แตกตางกัน ทั้งนี้ เนื่องมาจาก กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และ

นโยบายที่กําหนดของแตละหนวยงาน โดยเฉพาะการจัดทําและบริหารงบประมาณของ

หนวยงานรัฐ การรายงานรายละเอียดของกระบวนการจัดทํา และบริหารงบประมาณของรัฐ

3.1 ปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการใชงบประมาณมีหลายประการ ไดแก

(1) ปญหาที่เกี่ยวพันกับกระบวนการงบประมาณ ไดแก ความจําเปนในการตั้งขอ

ใชงบประมาณของหนวยราชการ ปญหาการจัดหมวดหมูงบประมาณ และปญหาดานเกณฑในการ

พิจารณาจัดสรรงบประมาณ ไมเพียงพอ

(2) ปญหาที่เกี่ยวพันกับระเบียบการพัสดุเรื่องวิธีการจัดซื้อจัดจาง ไดแก การใช

วิธีการประกวดราคา และการจัดจางโดยวิธีพิเศษเปนหลักในการจัดจางบริษัทเอกชน ใหเขามารับ

ดําเนินการโครงการปญหาการตัดสินใจจางเหมาแบบทั้งโครงการ หรือการจางเหมาแบบแยกสวน

กิจกรรมที่มีลักษณะไมสอดคลองกับลักษณะการทําธุรกิจของบริษัทเอกชน รวมทั้งความไมตอเนื่อง

ของการจางงานที่เปนไปตามระเบียบของการเรียกประกวดราคาทุกป

(3) ปญหาการกําหนดรายละเอียดในขอกําหนดการซื้อหรือการจาง (TOR) ที่ยัง

ขาดขอมูลที่จําเปนตอการเสนอโครงการที่มีประสิทธิภาพ ไดแก ขอมูลสถานการณ วัตถุประสงค

เฉพาะของการซื้อหรือการจาง การกําหนดกลุมเปาหมาย การแสดงยอดงบประมาณโครงการ การ

กําหนดคุณสมบัติผูขายหรือผูรับจาง และเกณฑการประเมินผลแผนงาน เปนตน

(4) ปญหาดานเกณฑและวิธีการพิจารณาคัดเลือกบริษัทผูขายหรือผูรับจาง เชน

ระเบียบการประกวดราคาที่กําหนดใหพิจารณาคัดเลือกผูเสนอราคาต่ําสุด หรือการที่หนวยงาน

ราชการไมพิจารณาอัตราคาตอบแทนการใหบริการ หรือ agency commission เปนตน

3.2 สาเหตุของปญหาการกําหนดรายละเอียดในขอกําหนด TOR วิเคราะหได ดังนี้

(1) ขาดขอมูลที่จําเปนตอการเสนอโครงการที่มีประสิทธิภาพ TOR ของบาง

หนวยงานแนบขอมูลสถานการณ วัตถุประสงคเฉพาะของการซื้อหรือการจาง การกําหนดกลุมเปาหมาย

ของแผนงานที่ตองการไวอยางชัดเจนครบถวน ในขณะที่ TOR ของบางหนวยงานมักมีจุดออนดานขอมูล

สถานการณ และขาดวัตถุประสงคเฉพาะหรือการกําหนดกลุมเปาหมายที่กวางเกินไป ไมเหมาะสมกับ

ยอดงบประมาณโครงการ ซึ่งการใหขอมูลสถานการณเพื่อใชประกอบการเสนอแผนงาน มีขอดี คือให

ทิศทางและภูมิหลังที่จําเปนตอการวางแผนและกําหนดกลยุทธการรณรงค


3-8

(2) ขาดวัตถุประสงคเฉพาะของการซื้อหรือการจาง และการกําหนดกลุมเปาหมาย

กวางเกินไป การจะดําเนินโครงการใดๆ ใหบรรลุเปาหมาย จําเปนตองมีการกําหนดวัตถุประสงค

ของโครงการ รวมทั้ง ตองมีการกําหนดเปาหมายเฉพาะของแตละกิจกรรมอยางชัดเจน หนวยงาน

ราชการสวนใหญมักไมกําหนดเปาหมายหรือวัตถุประสงคเฉพาะของการจัดจางในแตละกิจกรรม โดย

จะกําหนดแตเพียงวัตถุประสงคโครงการซึ่งเปนเปาหมายใหญและเปนเปาหมายรวมของโครงการ

เทานั้น ทําใหการดําเนินกิจกรรมยอยขาดเปาหมายและทิศทางที่ชัดเจน

หนวยงานราชการสวนมากมีการกําหนดกลุมเปาหมายกวาง และหลากหลายกลุม

และแตละกลุมมีเปาหมายแตกตางกัน ทําใหเกิดปญหาการกําหนดวัตถุประสงคที่กวางและ

หลากหลายจนเกินไป รวมทั้งไมมีการใหขอมูลสถานการณที่จําเปน ทําใหเกิดปญหาการตีความ

ความตองการที่ยากตอการพิจารณาคัดเลือกขอเสนออยางเปนธรรม การกําหนดกลุมเปาหมายที่

ชัดเจน จะเกิดประโยชนในการเลือกรูปแบบ และสามารถขอความที่ตองการสื่อสารไปยัง

กลุมเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด

ปญหาที่เกิดขึ้นจากการกําหนดวัตถุประสงคและกลุมเปาหมาย มีพื้นฐานมากจาก

ความไมรูและไมเขาใจในการวางแผนโครงการ วิธีการแกปญหาคือเจาของโครงการจะตองมีความเขาใจ

เรื่องของงาน และกลุมเปาหมาย มีงบประมาณอยางเพียงพอและดําเนินการเปนขั้นตอนตอเนื่อง

จนกวาจะบรรลุเปาหมาย

(3) ขาดการแสดงยอดงบประมาณใน TOR หนวยงานราชการหลายแหงไมระบุ

ตัวเลขงบประมาณโครงการลงใน TOR ทําใหบริษัทเอกชนตองใชความพยายามสวนตัว สอบถามและ

หาขอมูลใหทราบถึงจํานวนเงินงบประมาณที่มีของแตละโครงการใหได แมในบางกรณีจะมีการแจง

ขอมูลงบประมาณอยางคราว ในการประชุมใหขอมูลเบื้องตนประกอบการเสนอแผนงานเพื่อการ

จัดหาก็ตาม อาจกอใหเกิดความลําเอียงไดสําหรับบริษัทเอกชนที่ไมไดเขารวมประชุมการไมระบุยอด

งบประมาณที่มีจึงกลายเปนเรื่องใหญ เนื่องจากบริษัทเอกชนที่มาเสนอราคาจะตองกําหนดงบประมาณ

เอง ทําใหไมยุติธรรมในการเปดซองราคาเนื่องจากบริษัทไมทราบแนชัดวาราคาใดคือราคากลาง ใน

การกําหนดโดยบริษัทที่มีความสัมพันธภายในกับหนวยงานรัฐอาจจะสามารถทราบถึงงบประมาณที่

หนวยงานของรัฐวางเอาไว แลวดําเนินการตั้งงบประมาณการจัดทําโครงการตามนั้น ทําใหไดเปรียบ

กวาในการเสนอราคาอีกดวย

ทั้งนี้ หนวยงานภาครัฐควรระบุงบประมาณที่ชัดเจน ในการจัดทําโครงการแตละ

โครงการวามีงบประมาณอยูเทาไร เนื่องจากเปนขอมูลที่ควรจะเปดใหบริษัทเอกชนทั่วไปรับรูได โดย

หนวยงานควรเนนไปที่การพิจารณาความคุมคาของการจัดทําโครงการ และประสิทธิภาพ /

ประสิทธิผลของโครงการเปนหลัก


3-9

(4) ขาดความเขาใจในการกําหนดคุณสมบัติผูรับจาง ผูจัดทํา TOR ที่ไมมี

ประสบการณ หรือความเขาใจโดยตรงในเรื่องการกําหนดคุณสมบัติผูรับจาง มักจะกําหนดในลักษณะ

กวางๆ และระบุคุณสมบัติผูรับจางเพียงเปนนิติบุคคลที่มีประสบการณและผลงานที่เกี่ยวของเทานั้น

ซึ่งวิธีการกําหนดคุณสมบัติเชนนี้ทําใหขาดการชี้ชัดถึงลักษณะความชํานาญพิเศษที่จําเปนในการ

รับจางดําเนินโครงการ จึงไดผูรับจางไมตรงกับความตองการของผูวาจาง นอกจากนี้ การกําหนด

คุณสมบัติของผูรับจางอาจเกิดเปนขอครหาในเรื่องของความไมโปรงใสได เนื่องจากหนวยงานสามารถ

กําหนดคุณสมบัติใหเอื้อประโยชน ตอบริษัทเอกชนรายใดรายหนึ่งเปนพิเศษ เชน การกําหนดวงเงิน

ทุนจดทะเบียนบริษัท โดยไมจําเปนตองแจกแจงเหตุผลวาทําไมจึงกําหนดวงเงินจดทะเบียนเปนจํานวน

ดังกลาว ทําใหถึงแมจะมีการกําหนดคุณสมบัติของผูรับจางเพื่อความโปรงใส ก็ไมมีสิ่งใดยืนยันไดวา

การจัดจางมีความโปรงใสจริง ซึ่งตามหลักการในการกําหนดคุณสมบัติผูรับจาง ผูรับจางที่เหมาะสม

ควรจะคํานึงถึงลักษณะงานที่จะจางเปนอันดับแรก แลวจึงพิจารณาถึงคุณสมบัติดานการประกอบ

ธุรกิจที่ตรงกับการจางงานครั้งนั้นๆ เชน ถาเปนการจัดจางวางแผนการโฆษณา ก็ควรจะระบุ

คุณสมบัติผูรับจางวาเปนบริษัทที่มีรายไดสวนใหญมาจากการประกอบธุรกิจในดานการ

วางแผนโฆษณา (Advertising Agency Business) และ มีวัตถุประสงคหลักในการประกอบธุรกิจ

ดานการวางแผนและใหคําปรึกษาทางดานการโฆษณา หรือ TOR จางดําเนินกิจกรรมพิเศษอื่นๆ

ก็กําหนดคุณสมบัติผูรับจางตามประเภทธุรกิจที่บริษัทเอกชนดําเนินการเปนหลัก เปนตน จึงควร

พิจารณากําหนดคุณสมบัติผูรับจางใหตรงกับความตองการซื้อหรือการจาง

4. ลักษณะของ TOR ที่ดี

TOR ที่ดีจะชวยใหสวนราชการไดพัสดุตรงตามวัตถุประสงค การใชงานประหยัด เกิด

ประโยชนสูงสุด ควรมีลักษณะดังนี้

(1) TOR ที่ดีจะระบุความจําเปนและลักษณะที่ตองการนําไปใชประโยชนไดอยางชัดเจน

(2) TOR ที่ดีจะระบุขอความที่ไมกํากวม ตรวจสอบได

(3) TOR ที่ดีจะไมระบุรายการที่เกินความจําเปน

(4) Spec กลางของ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะชวยใหการจัดซื้อ

คอมพิวเตอรที่ตรงตามวัตถุประสงคการใชงาน ประหยัด รวดเร็ว

แนวทางในการระบุขอกําหนดสําหรับการจัดซื้อ/จัดจางคอมพิวเตอร มี 3 สวน

- มาตรฐาน คุณภาพ การรับประกัน

- Spec / ความสามารถที่จําเปนตองการ

- ซอฟตแวร สิทธิการใชงาน และลิขสิทธิ์


3-10

5. การกําหนดขอบเขตของงาน TOR ควรมีหลักการดังนี้

การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา หรือผูเสนองานและรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ

ของพัสดุหรืองานจาง ตลอดจนการวินิจฉัยตามความคุณสมบัติของผูเสนอราคา หรือผูเสนองานแตละราย

วาเปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนดไวหรือไม ซึ่งในการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา หรือเสนองาน

เปนอํานาจของหนวยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใชดุลยพินิจกําหนดและวินิจฉัยไดตามความตองการ

ของหนวงงาน แตตองอยูภายหลักเกณฑตามที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง หรือมติ

คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกําหนดไว ซึ่งควรมีหลักการในการพิจารณาดังนี้

5.1 ความเปดเผย โปรงใส และเปดโอกาสใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรม

(1) ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไข

เพิ่มเติม ขอ 15 ทวิ วรรคหนึ่ง กําหนดวา “ตองดําเนินการโดยเปดเผย โปรงใส และเปดโอกาสใหมี

การแขงขันกันอยางเปนธรรม โดยคํานึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผูเสนอราคา หรือผูเสนอ

งาน เวนแต กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเปนขอยกเวน ตามที่กําหนดไวในระเบียบฯ”

(2) ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 ขอ 17 กําหนดวา “การ

กําหนดรายละเอียดเฉพาะ การออกแบบรูปรายการกอสรางโดยละเอียด ใหหัวหนาสวนราชการ

รับผิดชอบควบคุมดูแลใหเปนไปอยางโปรงใส”

5.2 การใชพัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย

(1) ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไข

เพิ่มเติม ขอ 16 กําหนดใหสวนราชการใชพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเปนกิจการของคนไทย ตาม

หลักเกณฑ ดังนี้

- ตามระเบียบขอ 16 (1) กําหนดวา “หามกําหนดรายละเอียดหรือคุณ

ลักษณะเฉพาะซึ่งอาจมีผลกีดกันไมใหผูผลิตหรือผูขายพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเปนกิจการของคน

ไทยสามารถเขาแขงขันกันในการเสนอราคากับทางราชการ”

- ตามระเบียบขอ 16 (2) กําหนดวา “ในกรณีพัสดุที่ตองการซื้อหรือจางทํา

มีประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมแลว ใหกําหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ

หรือรายการในการกอสรางตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือเพื่อความสะดวกจะระบุเฉพาะ

หมายเลขมาตรฐานก็ได

- ตามระเบียบขอ 16 (3) กําหนดวา “ในกรณีพัสดุที่ตองการซื้อหรือจางทํา

ยังไมมีประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แตมีผูไดรับการจดทะเบียนผลิตภัณฑไวกับ

กระทรวงอุตสาหกรรมแลว ใหกําหนดรายละเอียด หรือคุณลักษณะเฉพาะหรือรายการในการกอสราง

ใหสอดคลองกับรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะตามที่ระบุไวในคูมือผูซอ หรือใบแทรกคูมือผูซื้อที่

กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทําขึ้น


3-11

- ตามระเบียบขอ 16 (4) กําหนดวา “กรณีที่มีความจําเปนจะตองกําหนด

รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะหรือรายการในการกอสราง แตกตางจากที่กําหนดไวในขอ 16 (2)

หรือ 16 (3) ใหแจงสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) และเมื่อไดรับหนังสือกระทรวง

อุตสาหกรรมตอบรับทราบหรือไมทักทวงแลว ใหดําเนินการซื้อหรือจางตอไปได หรือไมรับพิจารณา

แลวแตกรณี

(2) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2550 แจงตามหนังสือที่ นร 0505/ ว 83

ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 กําหนดหลักเกณฑการใชพัสดุที่ผลิตในประเทศ ดังนี้

1) การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ ดังนี้

- ใหหนวยงานของรัฐใชพัสดุที่ผลิตในประเทศ และถือปฏิบัติตาม

ระเบียบหรือขอบังคับวาดวยการพัสดุหนวยงานผูดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของอยางเครงครัดดวย

ถาไมมีพัสดุที่มีผลิตในประเทศ ก็ใหหนวยงานของรัฐดําเนินการจัดหาตาม

หลักเกณฑปกติตอไปได

- ในกรณีที่มีพัสดุที่มีผลิตในประเทศแลว แตไมเพียงพอตอความตองการ

ในประเทศ หรือมีจํานวนนอยราย หรือมีความจําเปนจะตองใชพัสดุที่ผลิตจากตางประเทศ หรือ

จะตองมีการนําเขาพัสดุจากตางประเทศ ในกรณีที่เปนประโยชนยิ่งกวา ใหหนวยงานของรัฐนําเสนอ

รัฐมนตรีพิจารณา เวนแตเปนการจัดหาที่มีวงเงินไมสูง ใหเปนความรับผิดชอบของหัวหนาหนวยงาน

ของรัฐที่จะพิจารณาอนุมัติได 2 กรณี คือ

• เปนการจัดหาอะไหลซึ่งมีความจําเปนจะตองระบุยี่หอหรือคุณ

ลักษณะเฉพาะ และจําเปนตองนําเขาจากประเทศ หรือ

• เปนการจัดหาครั้งหนึ่งที่มีวงเงินไมเกินสองลานบาทหรือราคา

พัสดุที่นําเขาจากตางประเทศมีราคาตอหนวยไมเกินสองลานบาท

2) การใชพัสดุที่ผลิตจากตางประเทศ หรือนําเขาพัสดุจากตางประเทศ

หมายถึง การใชหรือการนําเขาพัสดุที่ผลิตสําเร็จรูปแลวจากตางประเทศไมวาจะนําเขาโดยคูสัญญา

หรือบุคคลอื่นใด

(3) พัสดุที่ผลิตในประเทศไทย หมายความวา

- ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่

แกไขเพิ่มเติม ขอ 5 กําหนดพัสดุที่ผลิตในประเทศ หมายความถึงผลิตภัณฑที่ผลิตสําเร็จรูปแลว โดย

สถานที่ผลิตตั้งอยูในประเทศไทย

- หมายความรวมถึง ผลิตภัณฑที่ไดจากการประกอบหรือขึ้นรูปในประเทศ

ไทยดวย (การตีความของ กวพ.)

การตรวจสอบวา พัสดุที่จะซื้อหรือจางทํามีผูผลิตหรือรับจางในประเทศไทยหรือไม

ตองตรวจสอบจา กรมโรงงานอุตสาหกรรม


3-12

(4) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2552 แจงตามหนังสือดวนที่สุดที่ นร

0505/ว 89 ลงวันที่ 28 เมษายน 2552 เรื่องขอเสนอมาตรการเพื่อลดผลกระทบจากปญหาวิกฤต

เศรษฐกิจตอภาคอุตสาหกรรมไทย (การใชพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเปนกิจการของคนไทย) โดยให

ถือปฏิบัติตามระเบียบฯ ขอ 16 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2550 อยางเครงครัด

5.3 การจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

(1) มติคณะรัฐมนตรี 22 มกราคม 2551 แจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการ

คณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506/2181 ลงวันที่ 24 มกราคม 2551 เห็นชอบตามขอเสนอของกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง การจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

ของภาครัฐมอบหมายใหกระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) รับไปพิจารณาปรับปรุงระเบียบพัสดุฯ

35 เพื่อใหการใชมาตรการตามแผนการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมของ

ภาครัฐและ (ราง) แผนสงเสริมการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมของภาครัฐ

พ.ศ. 2551 – 2554 มีความสอดคลองกัน

(2) หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 287 ลงวันที่ 29

สิงหาคม 2551 ขอใหสวนราชการภายใตระเบียบพัสดุฯ 35 จัดซื้อจัดจางสินคาและบริการเปนมิตร

กับสิ่งแวดลอม ตามแผนการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมของภาครัฐ พ.ศ.

2551 – 2554 ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สินคาและบริการใดที่จะตองจัดซื้อจัดจางตามเกณฑขอกําหนดที่เปนมิตรกับ

สิ่งแวดลอม หรือไดรับสลากเขียว หรือไดรับใบไมเขียว ใหดําเนินการตามคูมือการจัดซื้อจัดจางสินคา

และบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมของกรมควบคุมมลพิษ และอยูภายใตบังคับระเบียบพัสดุฯ 35

ขอ 16 และตองไมขัดแยงกับระเบียบพัสดุฯ 35

5.4 การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่หอสิ่งของ

(1) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2520 (หนังสือที่ สร 0203/ ว 53 ลง

วันที่ 28 มีนาคม 2520) กําหนดรายการในการกอสราง ดังนี้

- มี มอก. หรือ กระทรวงอุตสาหกรรมรับรองแลว หรือมีมาตรฐานที่สวน

ราชการอื่นกําหนดไว ก็ใหระบุตามมาตรฐานนั้นได ตามความจําเปน

- กรณียังไมมีมาตรฐาน ถาสวนราชการจําเปนตองใชสิ่งของที่เห็นวามี

คุณภาพดีเปนที่นิยมใชในขณะนั้น และจําเปนตองระบุชื่อยี่หอสิ่งของ ก็ใหระบุได แตตองใหมากยี่หอ

ที่สุดเทาที่จะสามารถระบุได และสิ่งของที่มีคุณภาพเทียบเทากันก็ใหใชไดดวย

(2) มติคณะรัฐมนตรีแจงตามหนังสือที่ สร 0403/ว 93 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน

2512 และที่ สร 0203/ว 157 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2519 กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ ดังนี้


3-13

- หามมิใหกําหนดลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จะซื้อใหใกลเคียงกับยี่หอใด

ยี่หอหนึ่งหรือของผูขายรายใดรายหนึ่ง

- หามระบุยี่หอสิ่งของที่ตองการจะซื้อทุกชนิด เวนแต ที่มีขอยกเวนไว เชน

ยารักษาโรค เครื่องอะไหล เปนตน

และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2552 แจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการ

คณะรัฐมนตรีดวนที่สุด ที่ นร 0505/ว 89 ลงวันที่ 28 เมษายน 2552 แจงใหสวนราชการถือปฏิบัติ

เกี่ยวกับเรื่องการใชพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเปนกิจการของคนไทย ขอ 16 ของระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29

พฤษภาคม 2550 แจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร 0505/ว 83 ลงวันที่ 30

พฤษภาคม 2550 อยางเครงครัด

5.5 คุณสมบัติของผูเสนอราคาตามที่ กวพ. หรือ กวพ.อ. กําหนด

(1) ตองเปนผูมีอาชีพขาย หรือ รับจาง

(2) ตองไมเปนผูที่ถูกระบุชื่อไวในบัญชีรายชื่อผูทิ้งงานและไดแจงเวียนชื่อแลว

หรือไมเปนผูไดรับผลของการสั่งใหนิติบุคคลหรือบุคคลอื่นเปนผูทิ้งงาน

(3) ตองไมเปนผูมีผลประโยชนรวมกันกับผูเสนอราคารายอื่น ณ วันประกาศ

- การซื้อ/จาง ตามระเบียบพัสดุฯ 35 ตองไมเปนผูมีผลประโยชนรวมกันกับ

ผูเสนอราคารายอื่น

- การซื้อ/จาง ตามระเบียบพัสดุฯ 49 ตองไมเปนผูมีผลประโยชนรวมกันกับ

ผูเสนอราคารายอื่น และ/หรือตองไมเปนผูมีผลประโยชนรวมกันกับผูใหบริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส

หรือไมเปนผูกระทําการอันเปนการขัดขวางการแขงยันราคาอยางเปนธรรมในการซื้อ/จาง

(4) ไมเปนผูไดรับเอกสิทธิ์หรือความคุมกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไมยอมขึ้นศาลไทย เวนแต

รัฐบาลของผูเสนอราคาไดมีคําสั่งใหสละสิทธิ์และความคุมกันเชนวานั้น.

**(5) ตองผานการคัดเลือกผูมีคุณสมบัติเบื้องตนในการซื้อหรือจาง

**(6) ผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคล และมีผลงานกอสรางประเภทเดียวกัน กับงาน

ที่ประกวดราคาจาง ในวงเงินไมนอยกวา...........................บาท และ เปนผลงานที่เปนคูสัญญาโดยตรง

กับสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น หนวยงานอื่นซึ่งมี

กฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือ หนวยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ

หมายเหตุ : **ใหสวนราชการเลือกใชตามความจําเปน

กรณีงานซื้อ/งานจางทั่วไป ไมมีหลักเกณฑเรื่องการกําหนดผลงาน แตหากจําเปนตอง

กําหนด ก็เปนดุลยพินิจของสวนราชการที่จะอนุโลมนําหลักเกณฑของงานกอสรางมาใชได (ตามแนว

วินิจฉัยของ กวพ. หนังสือดวนที่สุดที่ กค (กวพ) 0408.4/1999 ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2550)


3-14

(7) ขอกําหนดเงื่อนไขที่หนวยงานของรัฐจะตองนําไปกําหนดไวในขอบเขตของ

งาน (Term of Reference : TOR) หรือเอกสารประกาศจัดซื้อจัดจางเพื่อใหผูเสนอราคาและ

คูสัญญาปฏิบัติ ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2556 ใชบังคับใหหนวยงานของรัฐที่ตองกําหนดไวในขอบเขต

ของงาน ซึ่งมีมูลคาตั้งแต 500,000 บาท ขึ้นไป กําหนดมาตรการเพื่อใหหนวยงานของรัฐปฏิบัติ ดังนี้

1. ใหหนวยงานของรัฐกําหนดเงื่อนไขและคุณสมบัติของบุคคลหรือนิติบุคคลที่จะ

เขาเปนคูสัญญา(ผูเสนอราคา) ไวในขอบเขตของงาน (Term of Reference : TOR) และกําหนดให

คูสัญญาตองปฏิบัติดังนี้

(1) บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเขาเปนคูสัญญาตองไมอยูในฐานะเปนผูไมแสดงบัญชี

รายรับรายจาย หรือแสดงบัญชีรายรับรายจายไมถูกตองครบถวนในสาระสําคัญ

(2) บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเขาเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐซึ่งไดดําเนินการ

จัดซื้อจัดจางดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Government Procurement : e-GP) ตองลงทะเบียนใน

ระบบอิเล็กทรอนิกสของกรมบัญชีกลางที่เว็บไซตศูนยขอมูลจัดซื้อจัดจางภาครัฐ

(3) คูสัญญาตองรับจายเงินผานบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน เวนแตการรับจายเงิน

แตละครั้งซึ่งมีมูลคาไมเกินสามหมื่นบาทคูสัญญาอาจรับจายเปนเงินสดก็ได

2. ใหหนวยงานของรัฐรายงานขอมูลของคูสัญญาที่ตองยื่นบัญชีแสดงรายรับรายจาย (แบบ

บช. 1) ใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. และกรมสรรพากรทราบ ดังนี้

(1) กรณีหนวยงานของรัฐที่มิไดดําเนินการจัดซื้อจัดจางดวยระบบอิเล็กทรอนิกสของ

กรมบัญชีกลาง (e-Government Procurement : e-GP) ใหรายงานขอมูลของคูสัญญาผานระบบ

(e-Government Procurement : e-GP) ของกรมบัญชีกลาง

(2) กรณีหนวยงานของรัฐใดที่มิไดดําเนินการจัดซื้อจัดจางดวยระบบ

อิเล็กทรอนิกสของกรมบัญชีกลาง (e-Government Procurement : e-GP) ใหรายงานขอมูลของ

คูสัญญาผานระบบอิเล็กทรอนิกสที่สํานักงาน ป.ป.ช. จัดทําขึ้น

- กรณีงานกอสราง

วงเงินตั้งแต 1 ลานบาทขึ้นไปผูเสนอราคา ตองเปนนิติบุคคลตามกฎหมาย

(รายละเอียดตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2521 อางถึงหนังสือสํานักงานรัฐมนตรี

ดวนมาก ที่ สร 0203/ว 80 ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2521)

- การกําหนดผลงาน เพื่อใหทราบถึงศักยภาพของผูขายหรือผูรับจาง

1) การกําหนดผลงานกอสราง

- กําหนดผลงานไดไมเกินรอยละ 50 ของวงเงินงบประมาณหรือ

วงเงินประมาณการ (ตามหนังสือ นร (กวพ) 0305/ว 7914 ลงวันที่ 22 กันยายน 2543 ประกอบมติ

คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2536 (หนังสือดวนมาก นร 0202/ว 1 ลงวันที่ 3 มกราคม

2537)

- ตองเปนผลงานในสัญญาเดียวกันเทานั้น (ตามหนังสือ นร (กวพ)

0204/ว 11441 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2539)

- ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจาง คือ ผลงานที่

ใชเทคนิคในการดําเนินการเหมือนกัน เปนผลงานที่ผูรับจางไดทํางานแลวเสร็จตามสัญญาที่ไดมีการสง


3-15

มอบงานและตรวจรับเรียบรอยแลว ตองเปนผลงานที่กระทําสัญญากับสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ

เอกชน ซึ่งเปนผูวาจางโดยตรง ไมใชผลงานอันเกิดจาก การรับจางชวง (แนววินิจฉัยของ กวพ.)

2) กรณีผลงานกิจการรวมคา

- ตามหนังสือที่ นร (กวพ) 1305/ ว 2457 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2543

กําหนดแนวทางปฏิบัติในการพิจารณาคุณสมบัติของผูเสนอราคาที่เปนกิจการรวมคา ดังนี้

• กรณีที่กิจการรวมคาไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลใหม โดย

หลักการกิจการรวมคาที่จดทะเบียนเปนนิติบุคคลใหม จะตองมีคุณสมบัติครบถวนตามเงื่อนไขที่

กําหนดไวในเอกสารประกวดราคา สวนคุณสมบัติดานผลงานกอสราง กิจการรวมคาดังกลาวสามารถ

นําผลงานกอสรางของผูที่เขารวมคามาใชแสดงเปนผลงานกอสรางของกิจการรวมคาที่เขาประกวด

ราคาได

• กรณีที่กิจการรวมคาไมไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลใหม โดย

หลักการนิติบุคคลแตละนิติบุคคลที่เขารวมคาทุกราย จะตองมีคุณสมบัติครบถวนตามเงื่อนไขที่

กําหนดไวในเอกสารประกวดราคา เวนแตในกรณีที่กิจการรวมคาไดมีขอตกลงระหวางผูเขารวมคา

เปนลายลักษณอักษรกําหนดใหผูเขารวมคารายใดรายหนึ่งเปนผูรับผิดชอบหลักในการเขาเสนอราคา

กับทางราชการและแสดงหลักฐานดังกลาวมาพรอมซองประกวดราคากิจการรวมคานั้น สามารถใช

ผลงานกอสรางของผูรวมคาหลักรายเดียว เปนผลงานกอสรางของกิจการรวมคาที่ยื่นเสนอราคาได

ทุนจดทะเบียน จะกําหนดไมได ตามแนววินิจฉัยของ กวพ. และหนังสือ

ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลงวันที่ 22 กันยายน 2543 เรื่องการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา

ในการจางกอสราง ซึ่งนําไปใชสําหรับงานซื้อโดยอนุโลม แตตองไมเปนการกีดกันหรือชัดขวางการ

แขงขันราคาอยางเปนธรรม

6. องคประกอบของรางขอบเขตของงาน (Terms of Reference : TOR)

สรุปสาระสําคัญของงานซื้อหรืองานจาง ดังนี้

(1) ความเปนมา


3-16

งานหรือโครงการเพื่อใหเขาใจถึงความจําเปน หรือความสําคัญของภารกิจ และ

ความเชื่อมโยงของภารกิจ

(2) วัตถุประสงค

การจะดําเนินงานหรือโครงการใดๆ ใหบรรลุเปาหมายจําเปนตองมีการกําหนด

วัตถุประสงคของงานหรือโครงการ รวมทั้งตองมีการกําหนดเปาหมายเฉพาะของแตละกิจกรรมอยาง

ชัดเจน วัตถุประสงคของการซื้อหรือการจาง คือ สิ่งที่ผูซื้อหรือผูวาจางตองการจะบรรลุหลังจากที่

ภารกิจเสร็จสิ้นลงผลงานของงานหรือโครงการ มีจุดมุงหมายที่จะสรางผลลัพธที่มีตัวชี้วัดที่ตองการทั้ง

ในดานของเวลา พื้นที่ ปริมาณ คุณภาพ รวมทั้งคาใชจายตางๆ ที่ชัดเจน เพื่อใหการวัดความสําเร็จ

ของโครงการ สามารถจะวัดในดานของประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธิ์ไดโดยงาย

(3) คุณสมบัติผูเสนอราคา

ตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กําหนด (ตามหนังสือดวนที่สุด ที่

กค (กวพอ) 0421.3/ว289 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2555

(4) คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ (งานซื้อ) / รายการละเอียดของงาน (งานจาง)

เปนการพรรณนาอธิบายรายละเอียดกับแบบ รูปลักษณะ ขนาด ชนิดและคุณสมบัติ

ของวัตถุที่ใชสรางจัดเปนวิธีการอยางหนึ่งของการจัดหา (Procurement) โดยมีความมุงหมาย

ดังตอไปนี้

4.1 เพื่อใหไดพัสดุถูกตองตรงตามความประสงคของผูใช จากรายละเอียด

ขอกําหนดคุณลักษณะเฉพาะพัสดุที่ผูซื้อไดออกประกาศแจงความใหทราบทั่วไปแลวนั้น ผูผลิตหรือผู

จําหนายสามารถทําความเขาใจและรูถึงจุดประสงคผูซื้อวามีความตองการของซึ่งมีคุณภาพและ

ลักษณะอยางไร แมวาจะไมมีแบบรูปรายการหรือของตัวอยางก็ตาม ผูผลิตหรือผูจําหนายก็สามารถ

ผลิตหรือหาของมาสนองความตองการของผูซื้อได

4.2 เพื่อความสะดวกในการจัดหาพัสดุ กลาวคือ เจาหนาที่พัสดุสามารถดําเนินการ

จัดหาไดทันทีที่ไดรับแจงขาวสารคํารองขอ ไมตองเสียเวลาสอบถามหาขอมูลรายละเอียดตาง ๆ อีก

เพราะมีหลักฐานที่เตรียมไวพรอมมูลอยูในมือเรียบรอย ทําใหไดของรวดเร็วทันกําหนดเวลาตองการ

4.3 เพื่อใหไดพัสดุเปนแบบมาตรฐาน ขอกําหนดคุณลักษณะเฉพาะพัสดุจะเปนมูล

ฐานในการผลิตสินคาของโรงงานอุตสาหกรรมตามความตองการและความนิยมของผูซื้อ ผูใชของก็จะ

ไดพัสดุที่มีแบบมาตรฐานคุณภาพดีตรงขอกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ

4.4. เพื่อเปนการสนับสนุนใหมีการปรับปรุงคุณภาพสินคา เมื่อไดกําหนดคุณลักษณะ

เฉพาะขึ้นแลว ทําใหเกิดการแขงขันผลิตสินคาออกจําหนายตามขอกําหนดคุณลักษณะนั้น ๆ ใหมีคุณภาพ

ดีกวาเหนือกวาผูผลิตรายอื่น ๆ ซึ่งจะเปนประโยชนอยางยิ่ง คือ ผูซื้อไดของที่มีคุณภาพดีกวาขอกําหนด

คุณลักษณะเฉพาะไวใช ผูผลิตและผูจําหนายก็มีกําหรเพิ่มขึ้นเพราะจําหนายผลิตไดมากขึ้น


3-17

การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะที่ดี ตองคํานึงถึงหลักการ ดังตอไปนี้

1. เปนไปตามวัตถุประสงคในการใชงาน

2. มีสาระสําคัญครบถวนสมบูรณ ไมกอใหเกิดปญหาในการพิจารณาตัดสินใจภายหลัง สิ่ง

เล็กๆ นอยๆ ที่ไมคอยมีสารุสําคัญอาจละเวน

3. ตองมีความยืดหยุนและเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัย

4. งายและสะดวกในการปฏิบัติ ควรใชศัพทหรือถอยคําที่อานเขาใจงายมีความหมายชัดเจน

ไมคลุมเครือ ซึ่งจะเปนปญหากอใหเกิดการเขาใจผิดไดภายหลัง

ปจจุบันสํานักงบประมาณไดรับมอบหมายจากรัฐบาลใหเปนผูรับผิดชอบในการ

กําหนดคุณลักษณะเฉพาะพัสดุของทางราชการ ซึ่งมีคณะกรรมการรับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยมี

หนาที่กําหนดคุณลักษณะเฉพาะพัสดุที่ใชรวมกันของทุกสวนราชการ เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

ทั้งนี้ไดนําแบบวิธีการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะพัสดุของประเทศสหรัฐอเมริกามาเปนแนวทางในการ

กําหนดคุณลักษณะเฉพาะ ผูที่สนใจสามารถเขาไปศึกษาหาขอมูลราคามาตรฐานครุภัณฑไดที่

เว็บไซตของสํานักงบประมาณ www.bb.go.th

(5) ระยะเวลาดําเนินการ

การกําหนดระยะเวลาการดําเนินงานตั้งแตเริ่มดําเนินการตามสัญญาจนถึงสิ้นสุด

งานหรือโครงการ

(6) ระยะเวลาสงมอบของงานหรือโครงการ

กําหนดความตองการของผูวาจาง ที่ตองการใหผูรับจางสงมอบอะไรใหชัดเจน

และเหมาะสม

(7) เงื่อนไขการชําระเงิน

กําหนดการชําระเงินใหเหมาะสมและสัมพันธการเงื่อนไขการสงมอบงาน

(8) วงเงินในการจัดหา

ตามงบประมาณที่ไดรับจัดสรรของหนวยงาน

(9) ผูรับผิดชอบโครงการ

เจาของโครงการในการดําเนินงาน


ตัวอยาง

แนววินิจฉัยของคณะกรรมการวาดวยการพัสดุ (กวพ.) เกี่ยวกับการกําหนด TOR

3-18


3-19

เรื่องที่1 จังหวัด น. แจงวา กลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน ๑ โดยสํานักงาน ท.จังหวัดนนทบุรี

ไดจางมหาวิทยาลัย ก. สํารวจและออกแบบเพื่อกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม

ภายใตโครงการรักษเจาพระยา/ปาสัก ซึ่งศูนยวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัย ก. ไดแจงวาระบบบําบัดน้ําเสียโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมถูกคิดคนและพัฒนาขึ้นโดย

ศูนยฯ กรมชลประทาน และผูเชี่ยวชาญของศูนยฯ(คุณกนก นาแกว) โดยผูเชี่ยวชาญดานระบบของ

ศูนยฯ ไดยื่นขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐเมื่อวันที่๒๙ มกราคม ๒๕๕๒ เนื่องจากกลุมจังหวัดภาคกลาง

ตอนบน ๑ ไดรับจัดสรรงบประมาณเพื่อกอสรางระบบจํานวน ๑๒ แหง วงเงิน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

จังหวัดฯ จึงขอหารือในประเด็น กรณีผูเชี่ยวชาญดานระบบของศูนยฯ ไดยื่นขอรับสิทธิบัตรการ

ประดิษฐอุปกรณบางสวนหรือทั้งหมดของระบบดังกลาว ซึ่งหากเอกชนรายอื่นมีความประสงคจะ

รับจางดําเนินการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม ตองไดรับการอนุญาตจากผูขอ

จดสิทธิบัตรเปนลายลักษณอักษรเทานั้น แตทั้งนี้ ผูขอจดสิทธิบัตรแจงวามีการถายทอดเทคโนโลยีแก

ผูสนใจอยางแพรหลายแลว และยืนยันวายินดีถายทอดเทคโนโลยีดังกลาวใหแกผูมีความประสงคทุก

ราย มิไดเจาะจงวาถายทอดใหเพียงรายใดรายหนึ่ง จึงขอหารือวา หากกลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน

๑จะกําหนดคุณลักษณะของระบบบําบัดน้ําเสียโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมตามที่ไดวาจางมหาวิทยาลัย ก.

ออกแบบไว เพื่อดําเนินการจัดจางโดยวิธีการประกวดราคาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสจะเปนการ

กําหนดรายละเอียดคุณลักษณะในลักษณะกีดกันกับผูรับจางบางราย หรือเอื้อประโยชนใหแกบริษัทใด

บริษัทหนึ่งหรือไม ความละเอียดแจงแลว นั้น

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็นวา กรณีตามที่จังหวัด น.หารือเปน

ประเด็นที่เกี่ยวกับการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจาง ซึ่งโดยหลักการตาม

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม การกําหนด

รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ตองการจัดซื้อหรือการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาใน

งานกอสรางสวนราชการยอมสามารถพิจารณากําหนดไดตามความเหมาะสมและจําเปน โดยขึ้นอยูกับ

ความตองการของสวนราชการในการจัดหาครั้งนั้น ซึ่งหากเปนการดําเนินการจัดหาโดยวิธีสอบราคา

ประกวดราคาหรือประกวดราคาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส อันเปนวิธีการที่เปนการแขงขันราคา

ทั่วไป จะตองมีขั้นตอนของการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา ซึ่งในการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอ

ราคานั้น เงื่อนไขในเอกสารสอบราคาหรือประกวดราคา ไดมีมติคณะรัฐมนตรีแจงตามหนังสือสํานัก

เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๕๒ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๒๐ กําหนดหลักเกณฑหามมิให

สวนราชการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จะซื้อใหใกลเคียงกับยี่หอใดยี่หอหนึ่ง หรือของผูขาย

รายใดรายหนึ่ง และหามระบุยี่หอสิ่งของที่ตองการจะซื้อทุกชนิดเวนแตที่มีขอยกเวนไว เชน ยารักษาโรค

เครื่องอะไหล เปนตน นอกจากนั้นสวนราชการที่จัดหาพัสดุจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑของระเบียบ

ฯ ขอ ๑๕ ทวิ กลาวคือ กําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาโดยเปดกวางไมเปนการกีดกัน หรือเจาะจง

เอื้อประโยชนแกผูเสนอราคารายหนึ่งรายใดเปนการเฉพาะราย โดยมีลักษณะที่เปนการเปดโอกาสให

มีการแขงขันราคากันไดอยางเหมาะสมและเปนธรรม ทั้งนี้ จะตองคํานึงถึงคุณสมบัติและ

ความสามารถของผูเสนอราคาแตละราย และสามารถทําใหมีผูสามารถเขาเสนอราคาแขงขันกันได

เปนจํานวนหลายราย กรณีตามขอหารือ การที่จังหวัดฯ จะกําหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ

ของงานระบบบําบัดน้ําเสียฯ ถือเปนอํานาจของหนวยงานที่จัดหาพัสดุสามารถใชดุลพินิจกําหนดและ


3-20

วินิจฉัยไดตามความตองการของหนวยงาน แตทั้งนี้ การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะในลักษณะ

ดังกลาว ตองอยูภายใตหลักเกณฑของระเบียบฯ ขอ ๑๕ ทวิ กลาวคือ กําหนดคุณสมบัติของผูเสนอ

ราคาโดยเปดกวาง ไมเปนการกีดกัน หรือเจาะจงเอื้อประโยชนแกผู เสนอราคารายหนึ่งรายใดเปน

การเฉพาะราย โดยมีลักษณะที่เปนการเปดโอกาสใหมีการแขงขันราคากันไดอยางเหมาะสมและ

เปนธรรม ทั้งนี้ จะตองคํานึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผูเสนอราคาแตละราย และ

สามารถทําใหมีผูสามารถเขาเสนอราคาแขงขันกันไดเปนจํานวนหลายรายดวย

เรื่องที่ 2 สํานักงาน ม. ไดประกาศประกวดราคาจางพัฒนาละปรับปรุงระบบเครือขาย

สื่อสารและระบบดาวเทียมของกระทรวงฯ ดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ตอมา ในวันที่ ๑๕ กันยายน

๒๕๕๔ สํานักงานฯ ไดรับหนังสือจากบริษัท A (Thailand) จํากัดวามีการล็อคสเปคของอุปกรณ 5

ประเด็น คือ ๑) ระบบสํารองไฟฟา (UPS) ๒) ระบบปรับอากาศชนิดควบคุมความชื้น (Precision Air

Condition System) ๓) ระบบเครือขายสื่อสารผานดาวเทียม ๔) การกําหนดผลงานการติดตั้งไมนอย

กวา ๕๐ ลานบาท และ ๕) ระบบเชื่อมโยงประสานขายวิทยุสื่อสารและโทรศัพทแบบ IP ดังนั้น

เพื่อใหการดําเนินการโครงการพัฒนาฯ เปนไปดวยความเรียบรอยและถูกตองตามระเบียบของทาง

ราชการ สํานักงานฯ จึงขอหารือวา การดําเนินการของสํานักงานฯ จะถือวาเปนการกําหนดคุณลักษณะ

เฉพาะทางเทคนิคใกลเคียงกับยี่หอใดยี่หอหนึ่ง (Lock Spec) หรือไม อยางไร โดยมีขอเท็จจริง ดังนี้

๑. ตามขอรองเรียนประเด็นที่ 1) และที่ 3) ผลิตภัณฑที่มีคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิค

ที่เหมือนและสอดคลองกัน จํานวน 3 ผลิตภัณฑ สวนประเด็นที่ 2) มีผลิตภัณฑที่มีคุณลักษณะเฉพาะ

ทางเทคนิคที่เหมือนและสอดคลองกัน จํานวน 2 ผลิตภัณฑ ถือวาเปนการระบุคุณลักษณะเฉพาะทาง

เทคนิคใกลเคียงกับยี่หอใดยี่หอหนึ่ง หรือไม อยางไร

๒. การกําหนดผลงานตามขอรองเรียนประเด็นที่ 4) จะเปนการดําเนินการที่ไมเปนไป

ตามระเบียบและเหมาะสมหรือไม อยางไร

๓. การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิคของระบบเชื่อมโยงประสานขายวิทยุสื่อสารและ

โทรศัพทแบบ IP ตามขอรองเรียนประเด็นที่ 5) ซึ่งเปนอุปกรณที่สําคัญและจําเปนตองนํามาใชเพื่อ

บูรณาการกับหนวยงานดังกลาวขางตน ซึ่งเปนคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิคเดียวกันกับหนวยงานที่

จะบูรณาการและอุปกรณระบบดังกลาวมี 2 ผลิตภัณฑ ซึ่งหากไมกําหนดเชนนั้นจะไมสามารถบูรณา

การกับหนวยงานตางๆ ได เชนนี้จะถือวาเปนการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิคใกลเคียง

กับยี่หอใดยี่หอหนึ่ง (Lock Spec) หรือไม อยางไร

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็นดังนี้

๑. โดยหลักการ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่

แกไขเพิ่มเติม การกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ตองการจัดซื้อหรือการกําหนด

คุณสมบัติของผูเสนอราคาในงานกอสราง สวนราชการยอมสามารถพิจารณากําหนดไดตามความ

เหมาะสมและจําเปนโดยขึ้นอยูกับความตองการของสวนราชการในการจัดหาครั้งนั้น ซึ่งหากเปนการ

ดําเนินการจัดหาโดยวิธีสอบราคา ประกวดราคา หรือประกวดราคาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส อัน

เปนวิธีการที่เปนการแขงขันราคาทั่วไป จะตองมีขั้นตอนของการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา ซึ่ง

ในการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคานั้น เงื่อนไขในเอกสารสอบราคาหรือประกวดราคา ไดมีมติ


3-21

คณะรัฐมนตรีแจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๕๒ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม

๒๕๒๐ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑหามมิใหสวนราชการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จะซื้อ

ใหใกลเคียงกับยี่หอใดยี่หอหนึ่ง หรือของผูขายอะไหล เปนตน นอกจากนั้นสวนราชการที่จัดหาพัสดุ

จะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑของระเบียบฯ ขอ ๑๕ ทวิ กลาวคือ กําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา

โดยเปดกวาง ไมเปนการกีดกัน หรือเจาะจงเอื้อประโยชนแกผูเสนอราคารายหนึ่งรายใดเปนการ

เฉพาะราย โดยมีลักษณะที่เปนการเปดโอกาสใหมีการแขงขันราคากันไดอยางเหมาะสมและเปน

ธรรม ทั้งนี้ จะตองคํานึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผูเสนอราคาแตละราย ผลงานของผูเสนอราคา

หากสวนราชการผูจัดหาพิจารณาเห็นวา มีความจําเปนที่จะตองกําหนดคุณสมบัติขอนี้ในงานซื้อ สวน

ราชการก็อาจพิจารณากําหนดไดโดยเทียบเคียงกับการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในงาน

กอสรางตามหลักเกณฑดังกลาวและตามนัยมติคณะรัฐมนตรีแจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการ

คณะรัฐมนตรีที่ นร ๐๒๐๒/ว ๑ ลงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๓๗ ประกอบกับหนังสือคณะกรรมการวา

ดวยการพัสดุ ที่ นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๗๙๑๔ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๓ โดยสวนราชการสามารถ

กําหนดไดไมเกินรอยละ ๕๐ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการก็ได

๒. กรณีตามขอหารือ ๑ และ ขอ ๓ เห็นวา เนื่องจากเปนกรณีที่สํานักงานปลัดกระทรวง

ม. หารือวาการระบุคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของสํานักงานฯ เปนการระบุคุณลักษณะเฉพาะ

ดานเทคนิคที่ใกลเคียงกับยี่หอใดยี่หอหนึ่ง หรือไม ซึ่งกรณีดังกลาวสํานักงานฯ จะตองพิจารณาจาก

ขอเท็จจริงของคุณลักษณะของพัสดุที่มีอยูในทองตลาดวามีผูผลิตพัสดุที่มีลักษณะเฉพาะดาน

เทคนิคสอดคลองกับที่สํานักงานฯ กําหนดจํานวนกี่ราย กรณีจึงเปนปญหาขอเท็จจริงไมมีประเด็นที่

กวพ. จะตองพิจารณาแตประการใด

๓. กรณีตามขอหารือ ๒ ปรากฏขอเท็จจริงวาตามเอกสารประกวดราคากําหนดใหผู

ประสงคจะเสนอราคาจะตองมีผลงานติดตั้งอุปกรณสื่อสารดาวเทียม ในวงเงินไมนอยกวา ๕๐,๐๐๐,๐๐๐

บาท จากวงเงินทั้งหมด ๒๐๔,๗๕๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนอัตราที่ไมเกินรอยละ ๕๐ ของวงเงิน

งบประมาณ จึงเปนการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของผูเขาเสนอราคาในเรื่องผลงานที่ถือวาสอดคลอง

กับหลักการดังกลาวขางตน

อนึ่ง กวพ. มีขอสังเกตเพิ่มเติมวา ในการจัดหาพัสดุครั้งนี้เปนโครงการจัดหาภายใต

วงเงินเดียวกันแตมีการกําหนดลักษณะของงานและเครื่องมืออุปกรณตางๆ ที่มีความหลากหลาย โดย

ในสวนของงานที่มีรายละเอียดดานเทคนิค มีการกําหนดใหสามารถเชื่อมโยงเพื่อใชงานร วมกับอุปกรณ

เครือขายของหนวยงานตางๆที่ตองปฏิบัติงานในภารกิจรวมกัน โดยคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ

หนวยงานตางๆ ยอมมีลักษณะที่แตกตางกัน จึงอาจสงผลใหในการจัดหาครั้งนี้มีผูมีสิทธิเสนอราคาจํานวน

นอยรายได ทั้งนี้ หากเปนการจัดหาพัสดุที่มีคุณลักษณะเฉพาะทางดานเทคนิคหรือเกี่ยวกับความลับ

ของทางราชการ สํานักงานฯ ควรจัดหาพัสดุโดยใชวิธีการที่เหมาะสมตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

วาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม


3-22

เรื่องที่ 3 สํานักงาน ต. ขอใหพิจารณา กรณีหนวยงานของรัฐดําเนินการจัดซื้อจัดจาง

ดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสโดยไมโปรงใส หรือใหมีการแขงขันอยางเปนธรรมในกระบวนการเสนอ

ราคา กรณีการกําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิเสนอราคา โดยไมปฏิบัติตามระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 จึงขอทราบถึงหลักเกณฑ

หรือแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทาง

อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 ในประเด็นดังตอไปนี้

1. หนวยงานของรัฐสามารถกําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิเสนอราคาตองเปนนิติบุคคล

เทานั้นไดหรือไม อยางไร

2. หนวยงานของรัฐสามารถกําหนดคุณสมบัติของงานที่เปนการเฉพาะ เชน ผลงานการ

ทาสีอาคาร เปนผลงานสวนหนึ่งของงานโครงสรางหรืองานทั่วไปไดหรือไม อยางไร

3. หนวยงานของรัฐสามารถกําหนดอายุผลงานไมนอยกวา......ป และตองเปนผลงานใน

ประเทศไทยเทานั้นไดหรือไม อยางไร

4. ในกรณีที่หนวยงานของรัฐสามารถกําหนดคุณสมบัติตางๆ เปนการเฉพาะ เชน

คุณสมบัติของผูมีสิทธิเสนอราคา คุณสมบัติของงานและผลงาน จะสงผลใหเปนการกีดกันผูมีสิทธิ

เสนอราคารายอื่นหรือไมอยางไร

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็น ดังนี้

1. กรณีขอหารือ ๑ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ

ที่แกไขเพิ่มเติม มิไดกําหนดบังคับใหผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคลเทานั้น หากเพียงเปนผูมีอาชีพขาย

หรือรับจางทํางานที่สวนราชการจะดําเนินการจัดหาพัสดุก็สามารถเปนผูเสนอราคากับสวนราชการได

อยางไรก็ดี เนื่องจากะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2521 แจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการ

คณะรัฐมนตรี ดวนมาก ที่ สร 0203/ว 80 ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2521 เรื่อง การขอทบทวนมติ

คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการปรับปรุงแกไขวิธีการประกวดราคาจางกอสรางของทางราชการ โดยกรณี

งานจางกอสรางที่มีวงเงินตั้งแต 1,000,000 บาท ขึ้นไป ผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคล ดังนั้น กรณีที่

สวนราชการดําเนินการกอสรางที่มีวงเงินตั้งแต 1,000,000 บาท ขึ้นไปเทานั้น

ที่ถูกบังคับโดยมติคณะรัฐมนตรีใหสวนราชการตองกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาวาตองเปนนิติ

บุคคล

2. กรณีขอหารือ 2 ในการกําหนดผลงานของผูประสงคจะเสนอราคาตามประกาศ

ประกวดราคาของหนวยงานผูจัดหาพัสดุ หนวยงานฯ สามารถพิจารณากําหนดเงื่อนไขดังกลาวได

โดยพิจารณาประเภท ลักษณะของงานที่ประสงคจะดําเนินการจัดหาเปนรายประเภท เชน หากเปน

การประกวดราคาจางปรับปรุงทาสีอาคาร กรณีนี้หนวยงานฯ ยอมสามารถกําหนดผลงานของผูเสนอ

ราคา ตองมีผลงานการทาสีอาคารมาแสดงได ทั้งนี้ การกําหนดผลงานดังกลาวจะตองอยูภายใต

หลักเกณฑของหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรีที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลงวันที่ 22 กันยายน 2543

เรื่อง การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในการจางกอสราง ที่กําหนดวา “ในการดําเนินการ

ประกวดราคาจางกอสรางสวนราชการจะกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาไดเฉพาะตามตัวอยาง


3-23

เอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กําหนด และการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเรื่องของผลงาน

การกอสรางซึ่งจะกําหนดไดไมเกินรอยละ 50 ของวงเงินงบประมาณหรือวงเงินประมาณการ”

๓. กรณีขอหารือ 3 ตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลง

วันที่ 22 กันยายน 2543 เรื่อง การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในการจางกอสราง กําหนดวา “ในการ

ดําเนินการประกวดราคาจางกอสรางสวนราชการจะกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาไดเฉพาะตาม

ตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กําหนด และการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเรื่องของ

ผลงานการกอสรางซึ่งจะกําหนดไดไมเกินรอยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการ

ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี แจงโดยหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0202/ว 1 ลงวันที่

3 มกราคม 2537 รวมทั้งการกําหนดเงื่อนไขตามกฎหมาย ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีในสวนที่

เกี่ยวของ (ถามี) ไดเทานั้น” ดังนั้น หากพิจารณาตามนัยหนังสือเวียนขางตน การที่สวนราชการจะ

พิจารณากําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในการจางกอสราง สวนราชการนั้นจะกําหนดไดเฉพาะ

ตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กําหนดและการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเรื่อง

ของผลงานการกอสรางซึ่งจะกําหนดไดไมเกินรอยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณ

การเทานั้น แตหากสวนราชการจะกําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมไปจากตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่

กวพ. กําหนด สวนราชการจะตองพิจารณาวา การกําหนดเงื่อนไขดังกลาวจะทําใหมีผูเสนอราคานอย

รายอันเปนการขัดขวางการแขงขันอยางเปนธรรมหรือไม ตามนัยระเบียบฯ ขอ 15 ทวิ ประกอบดวย

สําหรับงานจางทั่วไปที่มิใชงานจางกอสรางสวนราชการสามารถนํามติคณะรัฐมนตรีขางตนไปกําหนด

ใชโดยอนุโลมได

4. กรณีขอหารือ 4 ตามระเบียบฯ ขอ 15 ทวิ วรรคหนึ่ง กําหนดวาการจัดหาพัสดุตาม

ระเบียบนี้ ผูมีหนาที่รับผิดชอบในแตละขั้นตอนของการจัดหา ตองดําเนินการโดยเปดเผย โปรงใส

และเปดโอกาสใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรม ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงคุณสมบัติ และความสามารถของผู

เสนอราคาหรือผูเสนองาน เวนแตกรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเปนขอยกเวนตามที่กําหนดไวในระเบียบ

นี้ ดังนั้น กรณีนี้ ยอมอยูในดุลพินิจของสวนราชการที่จะพิจารณากําหนดไดตามความเหมาะสมและ

จําเปน ทั้งนี้ การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาดังกลาว จะตองกําหนดโดยเปดกวาง ไมเปนการ

กีดกัน หรือเอื้อประโยชนแกผูเสนอราคารายหนึ่งรายใดเปนการเฉพาะ

เรื่องที่4 จังหวัด ต. แจงวา ไดดําเนินการประกวดราคาจางกอสรางอาคารพักพยาบาล

32 หนวย (4 ชั้นใตถุนโลง) เปนอาคาร คสล. 4 ชั้น พื้นที่ใชสอยประมาณ 2,358 ตารางเมตร (รวม

ราคาตานแผนดินไหว) โรงพยาบาล ส. จังหวัด ต. 1 หลัง ดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส วงเงิน

งบประมาณ 26,574,400 บาท ตามประกาศจังหวัด ต. ลงวันที่ 28 ตุลาคม 2553 ซึ่งกําหนดคุณสมบัติ

ของผูเสนอราคาไวในขอ 3.5 วา ตองเปนนิติบุคคลและมีผลงานกอสรางประเภทเดียวกันกับงานที่

ประกวดราคาจางฯ โดยมีผลงานกอสรางอาคารประเภท คสล. 4 ชั้น ในสัญญาเดียวกันและเปน

อาคารเดียวกันในวงเงินไมนอยกวา 13,000,000 บาท และเปนผลงานที่เปนคูสัญญาโดยตรงกับสวน

ราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงาน

เอกชนที่จังหวัดเชื่อถือ และเปนผลงานยอนหลังไมเกิน 5 ป นับจากวันสงมอบงานงวดสุดทายถึงวัน


3-24

ยื่นซองประกวดราคา ตอมา ไดมีผูรองเรียนวาการดําเนินการดังกลาวเปนการไมเปดกวาง ทําใหไมมี

การแขงขันอยางกวางขวางและเปนธรรม โดยจังหวัดฯ มีเหตุผลและความจําเปนประกอบการกําหนด

คุณสมบัติของผูเสนอราคา จังหวัด ต. จึงขอหารือวา การที่ระบุวาผูเสนอราคาตองมีผลงานกอสราง

อาคารประเภทคสล. 4 ชั้น ในสัญญาเดียวกันและเปนอาคารเดียวกันในวงเงินไมนอยกวา 13,000,000

บาท และเปนผลงานที่เปนคูสัญญาโดยตรงกับสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบ

บริหารราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานเอกชนที่จังหวัดเชื่อถือได และเปนผลงาน

ยอนหลังไมเกิน 5 ป นับจากวันสงมอบงานงวดสุดทายถึงวันยื่นซองประกวดราคานั้น เปนการกีด

กันการแขงขันอยางกวางขวางและเปนธรรมหรือไม

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวเห็นวา ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ

พัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๔๙ สรุปไดวา ขอ ๕ กําหนดใหการพัสดุดวยวิธีการทาง

อิเล็กทรอนิกสนอกจากที่กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ใหดําเนินการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ

พัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ควบคูไปดวย โดยขอ ๔๔ แหงระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่

แกไขเพิ่มเติมกําหนดใหเจาหนาที่พัสดุจัดทําเอกสารประกวดราคาตามตัวอยางที่ กวพ. กําหนด หรือ

ตามแบบที่ผานการตรวจพิจารณาของสํานักงานอัยการสูงสุดแลว การจัดทําเอกสารประกวดราคาราย

ใดจําเปนตองมีขอความหรือรายการแตกตางไปจากที่ กวพ. กําหนด หรือแบบที่ผานการตรวจ

พิจารณาของสํานักงานอัยการสูงสุด โดยมีสาระสําคัญตามที่กําหนดไวในตัวอยางหรือแบบดังกลาว และ

ไมทําใหทางราชการเสียเปรียบก็ใหกระทําได เวนแต หัวหนาสวนราชการเห็นวา จะมีปญหาในทาง

เสียเปรียบหรือไมรัดกุมพอ ก็ใหสงรางเอกสารประกวดราคาไปใหสํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณากอน

นอกจากนี้ ในการกําหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจาง และการกําหนด

คุณสมบัติของผูประสงคจะเสนอราคาตลอดจนการวินิจฉัยคุณสมบัติของผูยื่นซองแตละรายวาเปนไป

ตามเงื่อนไขที่กําหนดไวหรือไม ยอมอยูในอํานาจของหัวหนาหนวยงานที่จัดหาพัสดุที่จะพิจารณา

กําหนดและวินิจฉัยไดตามความตองการของหนวยงาน แตทั้งนี้ ตองอยูภายใตหลักเกณฑ ตามที่

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกําหนดไว และตองดําเนินการ

โดยเปดเผย โปรงใส และเปดโอกาสใหมีการแขงขันอยางเปนธรรม ตามขอ ๑๕ ทวิ

แหงระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ประกอบกับในการกําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิ

เสนอราคาสําหรับงานกอสรางนั้น กวพ. ไดเคยมีหนังสือแจงเวียน ตามหนั งสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร

(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๗๙๑๔ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๓ เรื่อง การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาใน

การจางกอสราง ไดกําหนดแนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม วา ในการดําเนินการประกวดราคาจางกอสราง

สวนราชการจะกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาไดเฉพาะตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ.

กําหนด และการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเรื่องของผลงานการกอสราง ซึ่งจะกําหนดไดไม

เกินรอยละ ๕๐ ของวงเงินงบประมาณหรือวงเงินประมาณการ และตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี

ที่ นร (กวพ) ๑๒๐๔/ว ๑๑๔๔๑ ลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ เรื่อง ผลงานกอสรางของผูเสนอ

ราคาตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาจาง กวพ. ไดแจงเวียนซอมความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องการ


3-25

กําหนดผลงานวา มีวัตถุประสงคนอกจากจะใหไดตัวผูรับจางที่มีประสบการณของงานกอสรางใน

ประเภทเดียวกันแลว ยังคํานึงถึงมูลคาของราคาคางานที่ผูรับจางเคยดําเนินการมาแลวดวย และ

คณะกรรมการวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส (กวพ.อ.) ไดแจงเวียนตัวอยางเอกสาร

ประกวดราคาจางดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ตามนัยหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๘.๓/ว

๕๙ ลงวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ โดยตัวอยางเอกสารประกวดราคาจางฯ ไดกําหนดคุณสมบัติของ

ผูประสงคจะเสนอราคาไวในขอ ๒.๖ วา “ผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคลและมีผลงานกอสราง

ประเภทเดียวกันกับงานที่ประมูลจางดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสในวงเงินไมนอยกวา...บาท และ

เปนผลงานที่เปนคูสัญญาโดยตรงกับสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร

ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ” ดังนั้น การกําหนดคุณสมบัติ

ของผูเสนอราคา จังหวัดฯ จึงตองจัดทําตามตัวอยางที่ กวพ.อ. กําหนด หากจังหวัดฯ ประสงคจะ

กําหนดแตกตางไปจากตัวอยางที่ กวพ.อ. กําหนด และเห็นวาจะเปนประโยชนตอทางราชการก็

สามารถกระทําได แตหากเห็นวาจะมีปญหาในทางเสียเปรียบหรือไมรัดกุมพอ ก็ใหสงใหสํานักงาน

อัยการสูงสุดตรวจพิจารณากอน

กรณีตามที่หารือวา การกําหนดผลงานยอนหลังไมเกิน 5 ป นับจากวันสงมอบงานงวด

สุดทายถึงวันยื่นซองประกวดราคาจะเปนการกีดกันการแขงขันอยางกวางขวางและเปนธรรมหรือไม

นั้น เห็นวาเปนปญหาขอเท็จจริงที่จังหวัดฯ จะตองพิจารณาวา การกําหนดเชนนั้นเปนประโยชนตอ

ทางราชการอยางไร และเปนไปตามเจตนารมณของระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม

ขอ ๑๕ ทวิ หรือไม

เรื่องที่5 บริษัท ก จํากัด รองเรียนวา สํานักงาน ป. ไดออกประกาศสอบราคา เรื่อง การจัดจา

งบริการดูแลเว็บไซตและระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕

ซึ่งประกาศสอบราคา ขอ ๖ กําหนดวา “ผูเสนอราคาตองไดรับการแตงตั้งใหเปนตัวแทนจําหนายจาก

ผูใหบริการอินเตอรเน็ตในประเทศไทยโดยที่ผูใหบริการอินเตอรเน็ตนั้นตองไดรับอนุญาตใหเปนผูให

บริการอินเตอรเน็ตจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ และผูเสนอราคาตองมีหนังสือ

แตงตั้งเปนตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑ Antivirus Eset Nod32 ที่นําเสนอโดยตรงจากเจาของ

ผลิตภัณฑโดยหนังสือแตงตั้งผูแทนจําหนายนั้น ตองระบุโครงการที่ประกาศสอบราคาดวย” บริษัทฯ

พิจารณาแลวเห็นวา ขอกําหนดดังกลาวเปนการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาที่เกินความจําเปน

และขัดขวางการแขงขันอยางเสรีและเปนธรรม จึงขอใหพิจารณายกเลิกขอกําหนดคุณสมบัติ

ดังกลาว


3-26

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลว มีความเห็นดังนี้

๑. ในหลักการ การจัดหาพัสดุตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.

๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๑๕ ทวิ กําหนดใหผูมีหนาที่รับผิดชอบในแตละขั้นตอนของการจัดหา

ตองดําเนินการโดยเปดเผย โปรงใส และเปดโอกาสใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรม โดยคํานึงถึง

คุณสมบัติและความสามารถของผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน เวนแต กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเปน

ขอยกเวนตามที่กําหนดไวในระเบียบนี้ นอกจากนี้คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๒๐

แจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ สร ๐๒๐๓/ว ๕๒ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๒๐ เรื่อง

การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่หอสิ่งของ สรุปวา การซื้อสิ่งของโดยทั่วไป ใหถือปฏิบัติ

ตามมติคณะรัฐมนตรี แจงตามนัยหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร ๐๔๐๓/ว ๙๓ ลงวันที่

๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๒ และที่ สร ๐๒๐๓/ว ๑๕๗ ลงวันที่๒๗ ธันวาคม ๒๕๑๙ ซึ่งหามมิใหกําหนด

คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จะซื้อใหใกลเคียงกับยี่หอใดยี่หอหนึ่งหรือของผูขายรายใดรายหนึ่ง

และหามระบุยี่หอสิ่งของที่ตองการจะซื้อทุกชนิด เวนแต ที่มีขอยกเวนไว เชน ยารักษาโรค เครื่อง

อะไหล เปนตน ซึ่งมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวขางตนเปนการกําหนดหลักเกณฑในการระบุคุณ

ลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่หอสิ่งของ สําหรับกรณีงานจางกอสราง และงานซื้อเทานั้น สําหรับ

งานจางมิไดมีการกําหนดหลักเกณฑไวเปนการเฉพาะ

๒. กรณีรองเรียนดังกลาว เปนประเด็นที่เกี่ยวกับการกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะ

เฉพาะงานจางบริการดูแลเว็บไซตและระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๕ ของสํานักงาน ป.. ดังนั้น จึงอยูในดุลพินิจของสํานักงาน ป. ที่จะกําหนดรายละเอียด

คุณลักษณะเฉพาะ ไดตามความตองการใชงาน แตทั้งนี้ จะตองดําเนินการโดยเปดเผย โปรงใส

และเปดโอกาส ใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรม ตามหลักการของระเบียบฯ ขอ ๑๕ ทวิ ดังกลาว

ขางตน อยางไรก็ดีหากสํานักงาน ป. มีความจําเปนตองจัดจางบริการดูแลเว็บไซตและระบบ

จดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) โดยมีความจําเปนตองจางชางผูมีฝมือโดยเฉพาะ หรือผูมีความ

ชํานาญเปนพิเศษ สํานักงาน ป.ก็ควรดําเนินการจัดหาดวยวิธีพิเศษตามระเบียบฯ ขอ ๒๔ (๑)

เรื่องที่ 6 กรม ส. แจงวา กระทรวง ร.ไดประกาศใชมาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบ

ทางสังคมของธุรกิจไทย (มรท.๘๐๐๑ - ๒๕๔๖) เมื่อวันที่ ๒7 มิถุนายน ๒๕๔๖ โดยมีสาระสําคัญ ๒ สวน

หลัก คือ (๑) สิทธิแรงงานและการคุมครอง (๒) ระบบการจัดการแรงงาน และมีการแกไข

เพิ่มเติมเปน มรท. ๘๐๐๑ – ๒๕๕๓ ประกาศใชเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓ เพื่อใหเหมาะสม

คลองกับขอกฎหมายและสถานการณโลก ซึ่งตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนรวมถึงประโยชนที่

เกิดจากการดําเนินงานอยางมีความรับผิดชอบตอสังคม ปจจุบันมีสถานประกอบกิจการที่อยูในระบบ

การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย จํานวน ๖๘๑ แหง เปนการกระตุนใหสถานประกอบกิจการจัดทํา

ระบบมาตรฐานแรงงานไทยอยางกวางขวางและพัฒนาอยางยั่งยืน กอใหเกิดภาพลักษณที่ดีของสถาน

ประกอบกิจการและประเทศชาติและนําไปสูการยอมรับระดับนานาชาติ ทั้งยังเอื้อประโยชนตอการ

พัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน เพิ่มโอกาสทางการคาความมั่งคงทางสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม กรม ส

จึงขอหารือความเหมาะสมและเปนไปไดในการกําหนดเปนเงื่อนไขใหสวนราชการจัดซื้อและจางทํา

พัสดุจากสถานประกอบกิจการที่ไดรับการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย


3-27

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็นวา ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา

ดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๑๕ ทวิ กําหนดไววา การจัดหาพัสดุตามระเบียบ

นี้ ผูมีหนาที่รับผิดชอบในแตละขั้นตอนของการจัดหา ตองดําเนินการโดยเปดเผย โปรงใสและเปด

โอกาสใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรม ทั้งนี้โดยคํานึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผูเสนอ

ราคาหรือผูเสนองานเปนสําคัญ เวนแตกรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเปนขอยกเวนตามที่กําหนดไวใน

ระเบียบนี้และขอ ๑๖ กําหนดใหสวนราชการใชพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือกิจการของคนไทย ยกเวน

ในกรณีที่พัสดุที่ตองการซื้อหรือจางทํา มีผูที่ไดรับใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ประเภท

ชนิด หรือขนาดเดียวกันหรือผูไดรับการจดทะเบียนผลิตภัณฑไวกับกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเปน

เรื่องที่เกี่ยวกับรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของตัวผลิตภัณฑที่ไดรับการรับรองเทานั้น ดังนั้น

กรณีที่หารือความเหมาะสมและเปนไปไดในการกําหนดเปนเงื่อนไขใหสวนราชการจัดซื้อและจางทํา

พัสดุจากสถานประกอบกิจการที่ไดรับรองมาตรฐานแรงงานไทยนั้น เนื่องจากไมไดเปนมาตรฐาน

เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑหรือกระบวนการผลิต แตอยางใดอีกทั้งการกําหนดเปนเงื่อนไขใหสวนราชการ

จัดซื้อและจางทําพัสดุจากสถานประกอบกิจการที่รับรองมาตรฐานแรงงานไทยอาจเปนการไมเปดโอกาส

ใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรมได

เรื่องที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏ จ. แจงวา ศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ จ .ได

ดําเนินการเปดซองสอบราคาจางจํานวน 2 รายการ ไดแก งานจางกอสรางอาคารเกษตร งบประมาณ

604,000 บาท และงานจางปรับปรุงระบบไฟฟาทางเทาและอาคารเรียน งบประมาณ355,820 บาท

ซึ่งงบประมาณทั้งสองรายการใชจายจากเงินรายไดของมหาวิทยาลัยฯ เนื่องจากตามเงื่อนไขใน

ประกาศสอบราคาขอที่ 1 ระบุคุณสมบัติของผูมีสิทธิเสนอราคาวา เปนนิติบุคคล แตเนื่องดวยผูที่มา

ยื่นสอบราคาจัดจางทั้ง 2 รายการ เปนบุคคลธรรมดา ไมมีนิติบุคคลมายื่นสอบราคา ศูนยการศึกษา

มหาวิทยาลัยฯ จึงไดดําเนินการทําสัญญาจางบุคคลธรรมดาทั้ง 2 รายการและขณะนี้ผูรับจางไดทํางาน

เสร็จสิ้นและสงมอบงานถูกตองแลว ตั้งแตวันที่ 25 ธันวาคม 2553 ซึ่งทราบภายหลังวาการจางครั้งนี้

ขัดแยงกับประกาศ ทําใหฝายการเงินมหาวิทยาลัยฯ ไมสามารถเบิกจายเงินใหกับผูรับจางได

มหาวิทยาลัยฯ จึงขอหารือขอผิดพลาดในการจัดซื้อจัดจางทั้ง 2 รายการ ที่เกิดขึ้นวา ศูนยการศึกษา

มหาวิทยาลัยฯ สามารถดําเนินการจางบุคคลธรรมดาในกรณีที่ไมมีนิติบุคคล ตามที่ไดประกาศจางไป

แลว และสามารถเบิกจายเงินดังกลาวไดหรือไม หรือจะมีวิธีแกปญหาไดอยางไร เพราะทั้ง 2 รายการ

ศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยฯ ไดใชประโยชนตามวัตถุประสงคแลว


3-28

ขอพิจารณาของ กวพ. พิจารณาแลวเห็นวา ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย

การพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๖ กําหนดให ระเบียบนี้ใชบังคับแกสวนราชการ

ซึ่งดําเนินการเกี่ยวกับการพัสดุโดยใชเงินงบประมาณ เงินกู และเงินชวยเหลือ โดยเงินงบประมาณ

หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณรายจายเพิ่มเติมและเงินซึ่งสวนราชการไดรับ

ไวโดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังใหไมตองสงคลัง ตามกฎหมายวาดวยวิธีการ

งบประมาณ แตไมรวมถึงเงินกูและเงินชวยเหลือตามระเบียบนี้ ดังนั้น กรณีที่มหาวิทยาลัยฯ

ดําเนินการสอบราคาจางกอสรางอาคารเกษตร และงานจางปรับปรุงระบบไฟฟาทางเทาและอาคาร

เรียน โดยใชจายจากเงินรายไดของมหาวิทยาลัยฯ โดยในการจัดซื้อหรือจัดจางเปนไปตามขอบังคับ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ จ. วาดวยการเงินและทรัพยสินของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547 หมวด 7 ขอ 42

สรุปวา “การจัดซื้อ การจัดจาง หรือการดําเนินการอื่นใดเกี่ยวกับการพัสดุ โดยใชเงินรายไดของ

มหาวิทยาลัย ใหดําเนินการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุโดยอนุโลม เวนแต

ขอบังคับนี้หรือคณะกรรมการบริหารพัสดุจะกําหนดไวเปนอยางอื่น ดังนั้น กรณีที่หารือ จึงไมอยูใน

อํานาจของคณะกรรมการวาดวยการพัสดุที่จะพิจารณา แตอยางไรก็ดี เพื่อประโยชนในการที่

มหาวิทยาลัยฯ จะใชเปนแนวทางในการพิจารณา หากเปนกรณีของสวนราชการที่อยูภายใตบังคับของ

ระเบียบฯ จะมีแนวทางในการพิจารณาดังนี้

1. ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม

มิไดกําหนดบังคับใหผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคลเทานั้น หากเพียงเปนผูมีอาชีพขายหรือรับจาง

ทํางานที่สวนราชการจะดําเนินการจัดหาพัสดุก็สามารถเปนผูเสนอราคากับสวนราชการได อยางไรก็ดี

เนื่องจากคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2521 แจงตามหนังสือสํานักเลขาธิการ

คณะรัฐมนตรี ดวนมากที่ สร 0203/ว 80 ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2521 เรื่อง การขอทบทวนมติ

คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการปรับปรุงแกไขวิธีการประกวดราคาจางกอสรางของทางราชการ ไดกําหนด

หลักเกณฑเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูเสนอราคางานจางกอสรางที่มีวงเงินตั้งแต 1,000,000 บาท ขึ้นไป

ไววา จะตองกําหนดคุณสมบัติใหผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคล ดังนั้น กรณีที่สวนราชการดําเนินการ

กอสรางที่มีวงเงินตั้งแต 1,000,000 บาท ขึ้นไปเทานั้นที่ถูกบังคับโดยมติคณะรัฐมนตรีใหสวนราชการ

ตองกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาวาตองเปนนิติบุคคล

2. กรณีที่หารือ เมื่อปรากฏขอเท็จจริงตามที่มหาวิทยาลัยฯ แจงวา ศูนยการศึกษา

มหาวิทยาลัยฯ ไดดําเนินการสอบราคาจางจํานวน 2 รายการ คือ จางกอสรางอาคารเกษตร

งบประมาณ 604,000 บาท และงานจางปรับปรุงระบบไฟฟาทางเทาและอาคารเรียน งบประมาณ

355,820 บาท โดยในประกาศสอบราคาทั้ง 2 รายการ กําหนดเงื่อนไขคุณสมบัติของผูเสนอราคา ขอ

1 วา “เปนนิติบุคคลผูมีอาชีพขายพัสดุที่สอบราคาซื้อดังกลาว” จึงเปนการกําหนดเงื่อนไขที่ไม

สอดคลองกับประเภทของงานที่มหาวิทยาลัยฯ ประกาศจาง มิใชซื้อ และเมื่อพิจารณาจากมติ

คณะรัฐมนตรีตามนัยขอ 1 แลวจะเห็นไดวา กรณีงานกอสรางและงานจางปรับปรุงที่มหาวิทยาลัยฯ

ประกาศสอบราคาทั้ง 2 รายการ มีวงเงินคาจางแตละรายการไมถึง 1 ลานบาท จึงไมอยูในบังคับที่

จะตองกําหนดใหผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคล ดังนั้นการที่มหาวิทยาลัยฯ กําหนดคุณสมบัติของผู

เสนอราคาวา จะตองเปนนิติบุคคลเทานั้น จึงไมเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีขางตน อยางไรก็ดี กรณีที่

มหาวิทยาลัยฯ กําหนดเงื่อนไขในประกาศสอบราคาจางกอสรางฯและงานจางปรับปรุงระบบไฟฟา


3-29

โดยกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาวาจะตองเปนนิติบุคคล ตอมาปรากฏวา มีเพียงผูเสนอราคาที่

เปนบุคคลธรรมดาเทานั้นมายื่นเอกสารสอบราคา โดยมหาวิทยาลัยฯ ไดรับพิจารณาและทําสัญญากับ

ผูเสนอราคาที่เปนบุคคลธรรมดา กรณีนี้ยอมถือไดวามหาวิทยาลัยฯ ไดใชดุลพินิจพิจารณาโดยไมถือ

คุณสมบัติของผูเสนอราคาเปนสาระสําคัญจึงผอนปรนใหผูเสนอราคาที่เปนบุคคลธรรมดาเขามาเสนอ

ราคาได

อนึ่ง กวพ. มีขอสังเกตวา ในโอกาสตอไป ขอใหมหาวิทยาลัยฯ พิจารณาหลักเกณฑ

ตามระเบียบฯมติคณะรัฐมนตรี หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ กอนกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา

และเมื่อไดกําหนดเงื่อนไขในเอกสารสอบราคาหรือประกวดราคาอยางไรแลว การพิจาณาคุณสมบัติ

ของผูเสนอราคาจะตองพิจารณาตามเงื่อนไขที่ไดกําหนดไวนั้น ทั้งนี้ คุณสมบัติของผูเสนอราคาที่

กําหนดในเอกสารสอบราคาหรือประกวดราคายอมถือเปนสาระสําคัญ โดยหากไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่

ไดกําหนดไวอาจเปนการขัดขวางการแขงขันราคาอยางเปนธรรมตอผูเสนอราคารายอื่น

เรื่องที่8 สํานักงาน ค. แจงวา ไดดําเนินการทําสัญญาซื้อขายหนวยความจําหลัก (RAM)

พรอมติดตั้ง ยี่หอ KINGSTON รุน KVR667D2N5/2G จํานวน 80 ชุด กับหางหุนสวนจํากัด เอ เปน

เงินรวมทั้งสิ้น 115,988 บาท โดยผูขายไดนําหลักประกันเปนหนังสือค้ําประกันของธนาคารเพื่อ

การเกษตรและสหกรณการเกษตร เปนจํานวนเงิน 5,800 บาท เพื่อเปนหลักประกันการปฏิบัติตาม

สัญญา และยอมรับประกันความชํารุดบกพรองหรือขัดของของสิ่งของตามสัญญานี้ ตลอดอายุการ

ใชงาน นับแตวันที่ผูซื้อไดตรวจรับมอบครบถวนตามสัญญา ตอมา ผูขายไดมีหนังสือ ลงวันที่ 28

พฤศจิกายน 2554 ขอรับคืนหลักประกันสัญญา โดยใหเหตุผลวาครบกําหนดระยะเวลาการค้ําประกัน

สัญญา ทั้งนี้ ผูขายไดสงมอบพัสดุดังกลาวใหกับผูซื้อเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2553 และผานการตรวจรับ

จากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553 โดยสํานักงาน ก.พ. ไดกําหนดรายละเอียด

คุณลักษณะเฉพาะหนวยความจําหลัก (RAM) พ ร อ ม ติ ด ตั้ ง

ยี่หอ KINGSTON รุน KVR667D2N5/2G จํานวน 80 ชุด และการรับประกันความชํารุดบกพรองของ

สิ่งของที่ซื้อขายตลอดอายุการใชงาน (Lifetime Warranty) ไวในประกาศสอบราคาซื้อหนวยความจํา

หลัก (RAM) พรอมติดตั้งฯ และผูขายไดเสนอราคาตรงตามขอกําหนดของสํานักงานฯ รวมทั้งมีการลง

นามในสัญญาและยอมรับประกันความชํารุดบกพรองหรือขัดของของสิ่งของตามสัญญานี้ ตลอดอายุ

การใชงาน ผูขายขอรับคืนหลักประกันสัญญาเมื่อครบระยะเวลาประกันความชํารุดบกพรอง 1 ป และ

สํานักงานฯ ไดพิจารณาตามลักษณะการใชงานกับมูลคาของหนวยความจําหลัก (RAM) แลว สามารถ

กําหนดเวลาประกันความชํารุดบกพรองตามกําหนดเวลาปกติ คือ 1 ป ได ดังนั้น เพื่อใหเกิดความเปน

ธรรมกับผูขาย สํานักงาน ฯ จึงขอหารือวา จะสามารถคืนหลักประกันสัญญาใหกับผูขายแลวใหผูขาย

จัดทําหนังสือรับประกันสิ่งของที่ซื้อขายตลอดอายุการใชงาน (Lifetime Warranty) แทนได หรือไม

ขอพิจารณาของ กวพ. พิจารณาแลว มีความเห็น ดังนี้


3-30

๑. ประเด็นเรื่อง การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเกี่ยวกับระยะเวลาการวางหลักประกันสัญญา

ประเด็นนี้เห็นวา โดยหลักการ กรณีการแกไขสัญญา ตามระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๑๓๖ กําหนดไวสรุปวา สัญญา

หรือขอตกลงเปนหนังสือที่ไดลงนามแลว จะแกไขเปลี่ยนแปลงมิได เวนแต การแกไขนั้นจะเปนความ

จําเปนโดยไมทําใหทางราชการตองเสียประโยชนหรือเปนการแกไขเพื่อประโยชนแกทางราชการ ให

อยูในอํานาจของหัวหนาสวนราชการที่จะพิจารณาอนุมัติใหแกไขเปลี่ยนแปลงได เมื่อขอเท็จจริงปรากฏ

วา สํานักงานฯ กําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหนวยความจําหลัก (RAM) พรอมติดตั้ง ยี่หอ

KINGSTON รุน KVR667D2N5/2G จํานวน 80 ชุด และการรับประกันความชํารุดบกพรองของ

สิ่งของที่ซื้อขายตลอดอายุการใชงาน (Lifetime Warranty) ไวในประกาศสอบราคาซื้อ

หนวยความจําหลัก (RAM) พรอมติดตั้ง ตอมา สํานักงาน ฯ ไดทําสัญญาซื้อขายหนวยความจําหลัก

( RAM)

พรอมติดตั้งดังกลาว กับหางหุนสวนจํากัด เอ เปนเงินรวมทั้งสิ้น 115,988 บาทโดยหางฯ ไดนํา

หลักประกันเปนหนังสือค้ําประกันของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเปนจํานวนเงิน

5,800 บาท มาวางเปนหลักประกันสัญญา โดยในสัญญาคูสัญญาตกลงรับประกันความชํารุดบกพรอง

หรือขัดของของสิ่งของตามสัญญาตลอดอายุการใชงาน และหางฯไดมาขอรับคืนหลักประกันสัญญา

เมื่อครบระยะเวลาประกันความชํารุดบกพรอง 1 ป กรณีนี้ สํานักงาน ก.พ. จะตองพิจารณาใหเปนไป

ตามความประสงคและเจตนารมณที่คูสัญญาไดตกลงกันไวประกอบกับ หากสํานักงาน ก.พ. เห็นวา กรณี

ดังกลาวมีความจําเปนโดยไมทําใหทางราชการตองเสียประโยชนหรือเปนการแกไขเพื่อประโยชนแก

ทางราชการ ก็ยอมอยูในดุลพินิจของเลขาธิการฯ ในฐานะหัวหนาสวนราชการที่จะพิจารณาอนุมัติให

แกไขใหเปลี่ยนแปลงสัญญาตามระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 136 ตอไป

2. ประเด็นเรื่องการเปลี่ยนหลักประกันสัญญา

ประเด็นนี้เห็นวา หลักประกันสัญญาตามระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม

ขอ 141 ไดกําหนดใหใชหลักประกันอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (๑) เงินสด (๒) เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่ง

จายซึ่งเปนเช็คลงวันที่ที่ใชเช็คนั้นชําระตอเจาหนาที่หรือกอนวันนั้นไมเกิน 3 วันทําการ (๓) หนังสือค้ํา

ประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอยางที่ กวพ. กําหนด (๔) หนังสือค้ําประกันของบรรษัทเงินทุน

อุตสาหกรรมแหงประเทศไทยบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตใหประกอบ

กิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย

ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแหงประเทศไทยแจงเวียนใหสวนราชการตาง ๆ ทราบแลว โดย

อนุโลมใหใชตามตัวอยางหนังสือค้ําประกันของธนาคารที่ กวพ. กําหนด และ (๕) พันธบัตรรัฐบาลไทย

ดังนั้น กรณีนี้ เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูขายจะขอรับคืนหลักประกันสัญญาและจะนําหนังสือ

รับประกันสิ่งของที่ซื้อขายตลอดอายุการใชงาน (Lifetime Warranty) มาวางแทนหนังสือค้ําประกัน

ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ซึ่งหนังสือรับประกันสิ่งของที่ซื้อขายตลอดอายุ

การใชงานดังกลาว มิใชหลักประกันอยางหนึ่งอยางใดตามที่ระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไข

เพิ่มเติม ขอ 141 กําหนดไว ฉะนั้น กรณีนี้ หางฯ จึงไมสามารถนําหนังสือรับประกันสิ่งของที่ซื้อขาย

ตลอดอายุการใชงาน (Lifetime Warranty) มาวางแทนหนังสือค้ําประกันของธนาคารเพื่อการเกษตร

และสหกรณการเกษตร ที่หางฯ ไดวางไวเปนหลักประกันสัญญาไวได


3-31

หมายเหตุ ในเรื่องนี้หนวยงานกําหนดเงื่อนไขการรับประกันความชํารุดบกพรองของ

สิ่งของที่ซื้อขายตลอดอายุการใชงาน (Lifetime Warranty) ไวในประกาศสอบราคาซื้อหนวยความจําหลัก

(RAM) พรอมติดตั้ง การกําหนด TOR การรับประกันความชํารุดบกพรองดังกลาวจึงมีปญหา เนื่องจาก

หลักประกันสัญญาจะคืนไดตอเมื่อพนความรับผิดตามสัญญา ซึ่งโดยปกติจะคืนเมื่อพนระยะเวลาการ

รับประกันความชํารุดบกพรอง แตกรณีกําหนดวา“รับประกันความชํารุดบกพรองของสิ่งของที่ซื้อขาย

ตลอดอายุการใชงาน”จึงทําใหเกิดปญหาวาหลักประกันสัญาจะคืนไดเมื่อใด ดังนั้น ในการกําหนดเรื่อง

การรับประกันความชํารุดบกพรอง หนวยงานฯ จึงตองกําหนดใหชัดเจน และตองกําหนดใหเปนไปตาม

กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และระเบียบที่เกี่ยวของ และใหกําหนดตามความจําเปนและเหมาะสม โดย

หากกําหนดระยะเวลาการรับประกันความชํารุดบกพรองเปนเวลานานเกินไป ผูประกอบการอาจไมสนใจ

เขาแขงขันเสนอราคา หรืออาจเสนอในราคาที่สูงเนื่องจากตองเสียคาธรรมหนังสือค้ําประกันเปนเวลานาน

ซึ่งอาจทําใหทางราชการเสียหายเนื่องจากตองซื้อหรือจางแพงขึ้น

เรื่องที่ 9 จังหวัด ร.หารือเกี่ยวกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.

2535 และที่แกไขเพิ่มเติม เพื่อปฏิบัติใหถูกตองเปนไปตามวัตถุประสงคตามหนังสือสํานัก

นายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลงวันที่ 22 กันยายน 2543 เรื่องการกําหนดคุณสมบัติ

ของผูเสนอราคาในการดําเนินการประกวดราคาจางกอสราง สวนราชการจะกําหนดคุณสมบัติของผู

เสนอราคาไดเฉพาะตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ (กวพ.)

กําหนด หากแกไขปรับลดเพิ่มเติมตัวอยางประกาศฯ ในหัวขอ(ใหหัวหนาสวนราชการผูดําเนินการ

ประกวดราคาเลือกใชตามความจําเปน)โดยคํานึงถึงคุณสมบัติ และความสามารถของผูเสนอราคาหรือผู

เสนองาน ใหไดผูรับจางที่มีประสบการณของงานกอสราง และมีความพรอมในการดําเนินการโดยมีขอ

หารือดังนี้ จากตัวอยางประกาศประกวดราคาจาง ขอ 2.6 “ผูเสนอราคาตองเปนนิติบุคคลและมี

ผลงานกอสรางประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจางในวงเงินไมนอยกวา... บาท และเปน

ผลงานที่เปนคูสัญญาโดยตรงกับสวนราชการหนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการ

สวนทองถิ่น หนวยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือ

หนวยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ”

๑. หากแกไขเพิ่มเติมคําวา “ผลงานกอสรางประเภทเดียวกัน” โดยระบุใหชัดเจนยิ่งขึ้น

เพราะคําวา “ผลงานกอสรางประเภทเดียวกัน” อาจจะแบงไดเปน 2 ดานหลักๆ ไดแก

๑) ทางดานกายภาพ เชน อาคารโครงสรางไม โครงสรางเหล็ก โครงสราง ค.ส.ล.

อาคารชั้นเดียว สองชั้น สามชั้น ฯลฯ

๒) ทางดานการใชงาน เชน อาคารเอนกประสงค อาคารเก็บวัสดุ อาคารจอดรถ

อาคารสํานักงาน อาคารที่พักอาศัย อาคารผาตัด อาคารสรางขึ้นเพื่อเปนอาคารเฉพาะอื่น ๆ


3-32

ดังนั้น จะเห็นไดวาการใชดุลพินิจของคณะกรรมการแตละคณะในระหวางการ

ดําเนินการตามขั้นตอนประกวดราคา อาจจะใชดุลพินิจคลาดเคลื่อนไมเปนไปตามวัตถุประสงค และ

อาจจะไมเปนธรรมกับผูเสนอราคาได เชน หากมีการกอสรางอาคารเอนกประสงค ค.ส.ล. และมีผู

เสนอราคานําผลงานการกอสรางอาคารผาตัด ค.ส.ล. ซึ่งมีมูลคางานเปนไปตามเงื่อนไขในประกาศ

กําหนด แตมีการตีความวาผลงานการกอสรางอาคารผาตัด ค.ส.ล. ไมใชผลงานประเภทเดียวกันกับ

อาคารเอนกประสงค ค.ส.ล. โดยพิจารณาดานการใชงานเพียงอยางเดียว แตจะเห็นไดวา ในกรณี

ดังกลาวอาจพิจารณาเปนผลงานประเภทเดียวกันทางดานกายภาพก็ได เพราะอาคารผาตัดเปนอาคาร

ค.ส.ล. ซึ่งเปนงานที่มีความซับซอน และตองใชความชํานาญในเชิงระบบมากกวาการกอสรางอาคาร

เอนกประสงค ค.ส.ล. ดังนั้น ผลงานดังกลาวหากพิจารณาดวยเหตุผลและความเปนธรรมแลว

ก็อาจจะใชเปนผลงานในการเสนอราคาในครั้งนี้ได แตในทางกลับกัน หากในการจัดจางครั้งนี้เปนการ

กอสรางอาคารผาตัด ค.ส.ล. คณะกรรมการตีความวา อาคารผาตัด ค.ส.ล. เปนอาคารประเภท

เดียวกันกับอาคารเอนกประสงค ค.ส.ล. โดยใชหลักทางดานกายภาพ เพราะเปนอาคาร ค.ส.ล. เพียง

อยางเดียวมิได ตองพิจารณาดานการใชงานดวย เนื่องจากอาคารผาตัดเปนอาคารที่มีความซับซอน

ตามที่กลาวไวแลวจึงตองใชผูรับจางที่เคยผานงานและมีความชํานาญเฉพาะดานมาดําเนินการ เพื่อให

การจัดจางดังกลาวมีความสมบูรณในรายละเอียดสูงสุด จะเห็นไดจากตัวอยางดังกลาวในการกําหนด

ในประกาศวาเปนผลงานประเภทเดียวกัน แลวใหคณะกรรมการแตละคณะตีความกันเอง อาจจะทํา

ใหเกิดความไมเปนธรรมในการประกวดราคาได อาจจะไดผูรับจางที่มีความชํานาญไมเพียงพอ หรือ

อาจจะเกิดการอุทธรณรองเรียนซึ่งทําใหเกิดความลาชาและเกิดความเสียหายตอทางราชการได หาก

คณะกรรมการกําหนดรางขอบเขตของงาน (TOR) ซึ่งมีความเขาใจในโครงการมากกวาคณะกรรมการ

อื่นๆ จะกําหนดใหเกิดความชัดเจนในประเด็นดังกลาววา อาคารที่จะดําเนินการกอสรางในครั้งนั้น

ควรจะเนนทางดานกายภาพ หรือดานการใชงานหรือทั้ง 2 ประเด็นใหชัดเจน ดังนั้นการแกไขเพิ่มเติม

ตัวอยางประกาศประกวดราคาในประเด็นดังกลาวไดหรือไม

๒. ตัดขอความวา “หนวยงานเอกชนที่...เชื่อถือ” เนื่องจากอาจเปนปญหาในการ

พิจารณาเรื่องผลงาน และการใชดุลพินิจในเรื่องความนาเชื่อถือในระยะเวลาที่จํากัดของ

คณะกรรมการ อาจจะเกิดความไมเปนธรรมในการเสนอราคา หากผลงานของเอกชนเปนเท็จ หรือ

เกิดความลาชาในการพิสูจนผลงานวานาเชื่อถือหรือไม การตัดขอความในประเด็นดังกลาวไดหรือไม

๓. เพิ่มเติมขอความตอทายขอ 2.6 วา “โดยเปนสัญญาเดียวกันและเปนผลงานที่ไมเกิน

...ปนับแตวันตรวจรับงานงวดสุดทายถึงวันยื่นเอกสารประกวดราคา” เหตุที่กําหนดระยะเวลาของ

ผลงานดังนี้หากผูเสนอราคาเคยมีผลงานที่นานมาก โดยในประกาศไมไดกําหนดระยะเวลาของผลงาน

ไว อาจจะทําใหเกิดปญหา ผูรับจางไมมีความพรอม จึงไมมีผลงานใหมมายื่น เนื่องจากไมมีการรับงาน

อยางตอเนื่อง หรือมีการรับงานที่มีขนาดเล็ก ผลที่ตามมาไดแกผูรับจางอาจไมมีความพรอมดาน

บริหารจัดการ ดานเครื่องมือดานเงินทุน และดานฝมือแรงงาน ดังนั้น การกําหนดชวงระยะเวลาของ

ผลงานนาจะเปนประโยชน เพราะแสดงถึงความพรอมและความตอเนื่องในการกอสรางของผูเสนอ

ราคาในระยะเวลาที่กําหนด และจะทําใหไดผูรับจางที่มีความพรอมในการดําเนินการกอสราง ซึ่งจะ

เปนประโยชนตอทางราชการ


3-33

จากขอหารือดังกลาว หากตองการดําเนินการจัดซื้อจัดจางกอสรางอาคารเอนกประสงค

ค.ส.ล. ไดประกาศโดยแกไขเพิ่มเติมขอ 2.6 ตามตัวอยางประกาศประกวดราคาดังนี้ “ผูเสนอราคา

ตองเปนนิติบุคคล และมีผลงานการกอสรางอาคาร ค.ส.ล. ในวงเงินกลุมละไมนอยกวา...บาท และ

เปนผลงานที่เปนคูสัญญาโดยตรงกับสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยการบริหารราชการ

สวนทองถิ่น หนวยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ

โดยเปนสัญญาเดียวกันและเปนผลงานที่ไมเกิน 5 ป นับแตวันตรวจรับผลงานงวดสุดทายถึงวันยื่น

เอกสารประกวดราคา” รายละเอียดในประกาศดังกลาวสามารถดําเนินการแกไขเพิ่มเติม โดยใช

ขอกําหนดที่ “ใหหัวหนาสวนราชการผูดําเนินการประกวดราคาเลือกใชตามความจําเปน” ตามเหตุผล

ที่กลาวมาไดหรือไม เปนการกําหนดเงื่อนไขเกินกวาตัวอยางประกาศและเอกสารประกวดราคา ตามที่

กวพ. กําหนดหรือไม

ขอพิจารณาของ กวพ. พิจารณาแลว มีความเห็น ดังนี้

๑. ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ

๑๕ ทวิ กําหนดให การจัดหาพัสดุตามระเบียบนี้ ผูมีหนาที่รับผิดชอบในแตละขั้นตอนของการจัดหา

ตองดําเนินการโดยเปดเผย โปรงใส และเปดโอกาสใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรม ทั้งนี้โดย

คํานึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผูเสนอราคาหรือผูเสนองานเปนสําคัญ เวนแตกรณีที่มี

ลักษณะเฉพาะอันเปนขอยกเวนตามที่กําหนดไวในระเบียบนี้ และในขอ ๔๔ กําหนดใหหนวยงานที่

จัดหาจัดทําเอกสารประกวดราคาตามตัวอยางที่ กวพ. กําหนด หรือตามแบบที่ผานการตรวจพิจารณา

ของสํานักงานอัยการสูงสุดแลว ซึ่งหากจําเปนตองมีขอความหรือรายการแตกตางไปจากที่ กวพ.

กําหนด หรือแบบที่ผานการตรวจพิจารณาของสํานักงานอัยการสูงสุด โดยมีสาระสําคัญตามที่กําหนด

ไวในตัวอยางหรือแบบดังกลาว และไมทําใหราชการเสียเปรียบก็ใหกระทําได เวนแต หัวหนาสวน

ราชการเห็นวาจะมีปญหาในทางเสียเปรียบหรือไมรัดกุมพอก็ใหสงรางเอกสารประกวดราคาไปให

สํานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณากอน ประกอบกับหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ)

๑๓๐๕/ว ๗๙๑๔ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๓ เรื่อง การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในการ

จางกอสราง กําหนดแนวทางและวิธีปฏิบัติเพิ่มเติมวา ในการดําเนินการจางกอสราง

สวนราชการจะกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาไดเฉพาะตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ.

กําหนด และการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเรื่องของผลงานการกอสรางซึ่งจะกําหนดไดไม

เกินรอยละ ๕๐ ของวงเงินงบประมาณ

๒. กรณีตามที่หารือ การกําหนดคุณสมบัติของผูประสงคจะเสนอราคานั้น หนวยงานที่จะ

จัดหาพัสดุสามารถกําหนดไดเฉพาะตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาจางที่ กวพ. กําหนด ซึ่งในการ

กําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาจาง นั้น กวพ. ไดกําหนดแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกําหนด

คุณสมบัติของผูเสนอราคาไวตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กําหนดในขอ ๒.๖ วา ผูเสนอ

ราคาตองเปนนิติบุคคลและมีผลงานกอสรางประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจางในวงเงินไม

นอยกวา...บาท และเปนผลงานที่เปนคูสัญญาโดยตรงกับสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวย

ระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น หนวยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการสวน

ทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือ หนวยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือโดยในการจัดทําเอกสารประกวดราคาหาก

หนวยงานใด จําเปนตองมีขอความหรือรายการแตกตางไปจากที่ กวพ. กําหนด หรือแบบที่ผานการ

ตรวจพิจารณาของสํานักงานอัยการสูงสุด โดยมีสาระสําคัญตามที่กําหนดไวในตัวอยางหรือแบบดังกลาว


3-34

และไมทําใหราชการเสียเปรียบก็ใหกระทําได เวนแต หัวหนาสวนราชการเห็นวาจะมีปญหาในทาง

เสียเปรียบหรือไมรัดกุมพอ ก็ใหสงรางเอกสารประกวดราคาไปใหสํานักงานอัยการสูงสุด

ตรวจพิจารณากอนตามนัยระเบียบฯ ขอ ๔๔

อยางไรก็ดี การกําหนดเงื่อนไข คุณสมบัติเพิ่มเติม ซึ่งแตกตางไปจากตัวอยางเอกสาร

ประกวดราคาที่ กวพ. กําหนดดังกลาว จังหวัดฯ จะตองพิจารณาวาการกําหนดเงื่อนไขดังกลาวจะทํา

ใหมีผูเสนอราคานอยรายอันเปนการขัดขวางการแขงขันอยางเปนธรรมหรือไมตามนัยระเบียบฯ ขอ

๑๕ ทวิ

เรื่องที่ 10 สํานักงาน พ. แจงวา ไดดําเนินการจัดซื้ออุปกรณปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน

ศูนยขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอร (Data Center) ของกระทรวงฯ ระยะที่ 2 พรอมติดตั้ง กับบริษัท

ซ. จํากัด ตามสัญญาเลขที่ 13/2554 ลงวันที่30 มิถุนายน 2554 โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

พิจารณาตรวจสอบรายการอุปกรณระบบเฝาดูและแจงเตือนอัตโนมัติ ซึ่งเปนงานในงวดที่ 2 พบวา

รายละเอียดดานเทคนิคในแค็ตตาล็อกไมถูกตองตรงตามรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะดาน

เทคนิคที่กําหนดไวในรางขอบเขตของงาน (TOR) ขอ 4.7.13 ซึ่งกําหนดใหอุปกรณตองสามารถ

ทํางานไดที่อุณหภูมิระหวาง -50 ถึง 100 องศาเซลเซียส โดยในขั้นตอนการเสนอราคา บริษัทฯ ได

จัดทําตารางเปรียบเทียบระหวางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคที่กําหนดใน TOR กับขอเสนอของ

บริษัทฯ วา มีคุณลักษณะถูกตองตรงกัน แตเอกสารแค็ตตาล็อก ที่แนบเพื่ออางอิงเสนออุปกรณยี่หอ

Sky Control รุน 5500.500 สามารถทํางานไดที่อุณหภูมิระหวาง -40 ถึง 100 องศาเซลเซียส กรณี

ดังกลาว บริษัทฯ ชี้แจงวา ไดแนบเอกสารแค็ตตาล็อกของอุปกรณระบบเฝาดูและแจงเตือนอัตโนมัติ

ที่เสนอคลาดเคลื่อน จึงทําใหเกิดขอขัดแยง ทั้งนี้ บริษัทฯ ยืนยันตามขอเสนอรายละเอียดของบริษัทฯ

เดิมที่จะสงมอบอุปกรณยี่หอ Sky Control รุน 5500.500i ซึ่งมีรายละเอียดดานเทคนิคตรงตาม

ขอกําหนด สํานักงาน พ. จึงขอหารือเรื่องแนวทางในการตรวจรับพัสดุดังกลาว

ขอพิจารณาของ กวพ. พิจารณาแลวเห็นวา โดยหลักการระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

วาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดหนาที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไว

ตามขอ 71 สรุปวา คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตองตรวจรับพัสดุ ตามที่ผูขายสงมอบใหถูกตอง

ครบถวนตามขอกําหนดในสัญญาที่ไดตกลงกันไวตามสัญญา กรณีที่เห็นวา พัสดุที่สงมอบมี

รายละเอียดไมเปนไปตามขอกําหนดในสัญญาหรือขอตกลง ใหรายงานหัวหนาสวนราชการผาน

หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ เพื่อทราบหรือสั่งการ แลวแตกรณี ซึ่งกรณีตามขอหารือ เมื่อขอเท็จจริงปรากฏ

วาในขั้นตอนการเสนอราคา บริษัทฯ ไดจัดทําตารางเปรียบเทียบระหวางขอเสนอของบริษัทฯ กับ

คุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิคที่กําหนดในรางขอบเขตของงาน (TOR) วา มีคุณลักษณะเฉพาะถูกตอง

ตรงกันแตแนบเอกสารแค็ตตาล็อกขัดแยงกับ TOR จึงเปนกรณีที่นําเอกสารแนบทายมาทําสัญญา

คลาดเคลื่อนทําใหมีคุณสมบัติต่ํากวาที่กําหนดใน TOR และเมื่อปรากฏวาผูขายยืนยันวาจะสามารถ

สงสินคาที่มีคุณสมบัติตรงกับ TOR ได หัวหนาสวนราชการก็สามารถใชดุลพินิจในการพิจารณาแกไข

สัญญาแตทั้งนี้ตองเปนไปตามระเบียบฯ และเพื่อประโยชนของทางราชการ

อยางไรก็ดี กวพ. มีขอสังเกตเพิ่มเติมวา การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิค

ของอุปกรณที่กําหนดวา “ตองสามารถทํางานไดที่อุณหภูมิระหวาง –50 ถึง 100 องศาเซลเซียส”


3-35

นั้น เปนการกําหนดที่ไมสอดคลองกับภูมิอากาศ ซึ่งสงผลใหเสียคาใชจายเพิ่ม และอาจจะเปนการกีด

กันไมใหผูอื่นเขามาแขงขันราคาได

เรื่องที่11 กรม ก. แจงวา กรมฯ ไดทําสัญญาจางกอสรางอาคารสถาบันโรคหัวใจ

(แหงชาติ) กับบริษัท น. จํากัด ในวงเงิน 354,130,000 บาท ตามสัญญาจางเลขที่ 21/2551 (พ) ลง

วันที่ 20 ธันวาคม 2550 ตอมาบริษัทฯ ไดมีหนังสือ ที่ นต. 1/55 ลงวันที่ 11 มกราคม 2555 แจงให

สถาบันโรคทรวงอก จายเงินเพิ่มงานโครงสรางชั้นลอยและงานผนังปดกั้นหลังคา เปนเงิน 555,216 บาท

เนื่องจากอางวา มิไดกําหนดไวในการเสนอราคาครั้งนี้ ซึ่งคณะกรรมการตรวจการจางพิจารณาเห็นวา

งานติดตั้งโครงสรางชั้นลอยหอง Control เหนือพื้นชั้นที่ 6 และโครงพื้นเวทีชั้น 6 งานงวดที่ 34 ขอ

34.2 ไดถูกกําหนดใหผูรับจางตองดําเนินการ ถึงแมวาในแบบแจงปริมาณงานและราคา (BOQ.) จะมิได

กําหนดไวก็ตาม แตผูรับจางยืนยันวามิไดเสนอราคางานสวนนี้ไว กรมฯ จึงขอหารือวา ผูรับจางจะตอง

กอสรางงานงวดที่ 34 ขอ 34.2 ตามสัญญาหรือไม เนื่องจากแบบรูปการกอสรางและงวดงาน

กําหนดใหผูรับจางตองทํา และกรมฯ จะตองจายเงินเพิ่มในการกอสรางอีกจํานวน 555,216 บาท

หรือไม

ขอพิจารณาของ กวพ. พิจารณาแลวเห็นวา โดยหลักการ เมื่อสวนราชการไดลงนามใน

สัญญาหรือขอตกลงเปนหนังสือกับผูขายหรือผูรับจาง ตามนัยระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ

พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 132 และ ขอ 133 แลวแตกรณี ยอมกอใหเกิดสิทธิและ

หนาที่ระหวางคูสัญญาโดยตองผูกพันตามขอกําหนดและเงื่อนไขแหงสัญญารวมทั้งเอกสารแนบทาย

สัญญา ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของสัญญาดวย กรณีนี้ เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา กรมการแพทย ไดลงนามใน

สัญญากับบริษัท นัตรินทร จํากัด ตามสัญญาเลขที่ 21/2551 (พ) ลงวันที่ 2๐ ธันวาคม 255๐ ซึ่งตาม

สัญญาฯ ขอ 2 ไดกําหนดเอกสารอันเปนสวนหนึ่งของสัญญา ในขอ 2.1 ผนวก 1 บัญชีปริมาณวัสดุ

และราคา และขอ 2.5 ผนวก 5แบบกอสรางอาคารสถาบันโรคหัวใจ (แหงชาติ) โดยขอ 2 ตอนทายกําหนด

วา ความใดในเอกสารแนบทายสัญญาที่ขัดแยงกับขอความในสัญญานี้ ใหใชขอความในสัญญาที่บังคับและ

ในกรณีที่เอกสารแนบทายสัญญาขัดแยงกันเองผูรับจางจะตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผูวาจาง กรณี

หารือเปนการตีความตามสัญญา จึงยอมเปนอํานาจหนาที่ของสวนราชการคูสัญญา มิใชการหารือ

ปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบที่อยูในอํานาจหนาที่ของ กวพ. ตามนัยระเบียบฯ พ.ศ. 2535

และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 12 (1) อยางไรก็ดี หากมีปญหาเกี่ยวกับการตีความตามสัญญาเห็นควรให

กรมการแพทยหารือไปยังสํานักงานอัยการสูงสุดซึ่งมีอํานาจหนาที่ในการใหความเห็นทางดาน

กฎหมายโดยตรงตอไป

อนึ่งเรื่องนี้ กวพ.มีขอสังเกต ใหกรม ก.กําชับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของใหกําหนด

รายละเอียด

ในรางขอบเขตของงาน (Terms of Reference : TOR) เอกสารประกวดราคา และบัญชีแสดง

ปริมาณวัสดุและแบบแจงปริมาณงานและราคา (BOQ.) ใหครบถวนชัดเจนดวย


3-36

เรื่องที่ 12 กรม ช. แจงวา กรม ช.โดยสํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา ไดรับ

จัดสรรงบประมาณเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ จํานวน

๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อดําเนินการจางที่ปรึกษาโครงการศึกษาการใชเครื่องสูบน้ําที่ใหอัตราการไหลสูง

เฮดต่ําในงานชลประทาน โดยสํานักสํารวจฯ ไดดําเนินการจางที่ปรึกษา โดยวิธีตกลงจากมหาวิทยาลัย

ของรัฐ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓/ว ๖๐ ลงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๓

ซึ่งมหาวิทยาลัย ท. ไดเสนอราคา ๙,๙๐๐,๐๐๐ บาท แยกเปนคาใชจายดังนี้ คาใชจายในการจัดทํา

ระบบเครื่องสูบน้ําประกอบดวยเครื่องสูบน้ํา ประตูน้ําและระบบควบคุม ๑ ชุด พรอมติดตั้ง จํานวน

๔,๐๓๐,๐๐๐ บาท คิดเปนรอยละ ๔๐.๗๑ และคาบริการทางวิชาการ จํานวน ๕,๘๗๐,๐๐๐ บาท คิด

เปนรอยละ ๕๙.๒๙ ซึ่งขั้นตอนการจัดหาอยูในขั้นตอนรออนุมัติรับราคา แตเนื่องจากสํานักสํารวจฯ

ยังมีประเด็นไมชัดเจนในการพิจารณาวา กรณีดังกลาวถือวาสามารถดําเนินการจางที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง

ไดทั้งจํานวนตามเงื่อนไขหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓/ว ๖๐ ลงวันที่ ๒๔ มิถุนายน

๒๕๕๓ ขอ ๑ ไดหรือไม กรม ช พิจารณาแลวเห็นวา เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการดําเนินการจางที่

ปรึกษาในโครงการดังกลาว รวมถึงการจัดหาใหถูกตองตามระเบียบพัสดุที่เกี่ยวของ จึงขอหารือการ

จางที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงจากมหาวิทยาลัยของรัฐ ดังนี้

1. โครงการศึกษาการใชเครื่องสูบน้ําที่ใหอัตราการไหลสูงเฮดต่ําในงาน

ชลประทาน ของกรม ช จํานวนเงิน ๙,๙๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งมีเนื้องานจางบริการทางวิชาการมากกวา

ในสวนของการจัดทําระบบเครื่องสูบน้ําประกอบดวยเครื่องสูบน้ํา ประตูน้ําและระบบควบคุม ๑ ชุด

พรอมติดตั้ง นั้น กรม ช. สามารถดําเนินการจางที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงไดทั้งจํานวน ๙,๙๐๐,๐๐๐ บาท

ตามที่กําหนดในหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓/ว ๖๐ ลงวันที่ ๒๔ มิถุนายน

๒๕๕๓ ไดหรือไม อยางไร

2. หากกรณีตามขอ ๑ กรม ชไมสามารถดําเนินการจางที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงได

ทั้งจํานวน เพื่อใหทันตอการใชงาน กรม ช ขออนุมัติยกเวนโครงการศึกษาการใชเครื่องสูบน้ําที่ใหอัตรา

การไหลสูงเฮดต่ําในงานชลประทานดําเนินการจางที่ปรึกษา โดยวิธีตกลงไดทั้งจํานวน ๙,๙๐๐,๐๐๐

บาท เปนกรณีพิเศษ

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลว มีความเห็นดังนี้

๑. ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม

ขอ ๖ กําหนดวา “ระเบียบนี้ใชบังคับแกสวนราชการ ซึ่งดําเนินการเกี่ยวกับการพัสดุ โดยใชเงิน

งบประมาณ เงินกู และเงินชวยเหลือ” โดยเงินงบประมาณ หมายความวา งบประมาณรายจาย

ประจําป งบประมาณรายจายเพิ่มเติม และเงินซึ่งสวนราชการไดรับไวโดยไดรับอนุญาตจาก

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังใหไมตองสงคลังตามกฎหมายวิธีการงบประมาณ

๒. กรณีนี้ เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา กรม ช ดําเนินการจัดจางที่ปรึกษาโดยใชเงินทุน

หมุนเวียน กรณีไมอยูในบังคับของระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม แตอยางไรก็ดี เพื่อประโยชน

ในการปฏิบัติราชการ หากเปนกรณีที่สวนราชการดําเนินการจัดจางที่ปรึกษา โดยใชเงินงบประมาณ


3-37

เงินกูและเงินชวยเหลือ ซึ่งอยูภายใตบังคับของระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม และตามหนังสือ

กระทรวงการคลัง ดวนที่สุดที่ กค ๐๔๒๑.๓/ว ๖๐ ลงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยมีความประสงค

จะจางมหาวิทยาลัยของรัฐใหบริการดานวิชาการและการวิจัยตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒

กุมภาพันธ ๒๕๓๑ ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของการจางที่ปรึกษาตามระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไข

เพิ่มเติม ใหดําเนินการจางโดยวิธีตกลงไดโดยอนุโลม กรณีมีเนื้องานจางบริการทางวิชาการมากกวาใน

สวนของการจางทําของ ยอมถือไดวาเปนงานจางบริการดานวิชาการและการวิจัยได และหากเปน

กรณีศึกษาโครงการนํารองเพื่อใชเปนตนแบบ ถือไดวาเปนงานจางบริการดานวิชาการและการวิจัย

เรื่องที่13 สํานักงาน น. แจงวา สํานักงานฯ ไดดําเนินการจางปรับปรุงทะเบียนแสดง

สถานภาพการถูกคุกคามของสัตวมีกระดูกสันหลังในประเทศไทย โดยจัดแบงเปน ๓ กลุม ไดแก กลุม

สัตวสะเทินน้ําสะเทินบกและสัตวเลื้อยคลาน กลุมนก และกลุมปลา โดยวาจางผูมีความรูความ

เชี่ยวชาญเรื่องกลุมสัตวมีกระดูกสันหลังในแตละดานเปนผูรับจางดําเนินงาน จํานวน ๓ ราย โดยวิธี

พิเศษ แตเนื่องจากมีผูรับจาง ๒ ราย เปนพนักงานขององคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ ซึ่ง

เปนองคการของรัฐที่มิใชสวนราชการ และพนักงานรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณ สํานักงานฯ จึง

ขอหารือวาจะสามารถดําเนินการจางพนักงานของรัฐ ทั้ง ๒ ราย เปนผูรับจางดําเนินงานปรับปรุง

ทะเบียนแสดงสถานภาพการถูกคุกคามของสัตวมีกระดูกสันหลังในประเทศไทย ไดหรือไม อยางไร

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็น ดังนี้

1. ในหลักการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่

แกไขเพิ่มเติม ขอ ๕ “การพัสดุ หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษา การจาง

ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการดําเนินการ

อื่นๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้”และ “การจาง ใหหมายความรวมถึงการจางทําของและการรับขน

ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและการจางเหมาบริการ...” ซึ่งจากหลักการดังกลาว สวน

ราชการผูจัดหาพัสดุจะตองซื้อจางจากผูมีอาชีพกลาวคือ เปนผูที่มีอาชีพขาย หรืออาชีพรับจางใน

งานที่สวนราชการจะซื้อหรือจางนั้น โดยสวนราชการสามารถพิจารณาวาผูขายหรือผูรับจางเปนผูมี

อาชีพในงานที่สวนราชการจะซื้อหรือจางหรือไมจากวัตถุประสงคในการจัดตั้งกิจการของผูขาย หรือ

ผูรับจาง หรือเอกสารอื่นที่สามารถทําใหทราบเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวไดโดยหากผูขายหรือผูรับจางไม

เปนผูมีอาชีพขายหรืออาชีพรับจางในงานที่สวนราชการจะจัดหาพัสดุแลวสวนราชการยอมไมอาจซื้อ

หรือจางจากผูขายหรือผูรับจางรายนั้นได

2. กรณีตามขอหารือ ปรากฏขอเท็จจริงวา สํานักงานฯ มีความประสงคจะจางพนักงาน

ขององคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ ซึ่งเปนองคการของรัฐ ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการจัดตั้งองคการของรัฐบาล พ.ศ.

๒๔๙๖ ประกอบกับขอบังคับองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติวาดวยการพนักงาน พ.ศ.

๒๕๔๙ ไดกําหนดอํานาจหนาที่ คุณสมบัติ และอัตราคาจางของพนักงาน ตลอดจนการบรรจุ แตงตั้ง

และการพนจากตําแหนงไว กรณีดังกลาวเมื่อเปนพนักงานขององคการของรัฐแลว สํานักงานฯ จึงไม

อาจจางไดตามหลักการระเบียบฯขางตน ประกอบกับ กรณีการจางบุคคลที่เปนพนักงานองคการของ

รัฐที่ตองทํางานเต็มเวลา อาจสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานขององคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตร


3-38

แหงชาติ และสํานักงานฯ ที่เปนผูวาจาง แตหากสํานักงานฯ จะจัดจางองคการพิพิธภัณฑฯ

ดําเนินการใดที่อยูในขอบวัตถุประสงคขององคการพิพิธภัณฑฯ ก็สามารถกระทําได

เรื่องที่14 กระทรวง พ แจงวา ไดทําสัญญาจางงานรักษาความสะอาด ประจําป

งบประมาณ 2555 เลขที่ 30/2555 ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ 2555 กับบริษัท ค.จํากัด ซึ่งบริษัทฯ สง

เอกสารในการตรวจรับงานไมครบถวนในงวดที่ 1 ไดแก หลักฐานเกี่ยวกับประวัติทางอาชญากรรม

และยาเสพติดของบุคคลที่เปนพนักงานของบริษัทฯ ที่มาปฏิบัติงานที่กระทรวงฯ ตามผนวก 1 หนา 13

ซึ่งกําหนดใหสงรายงานภายใน 5 วันทําการของเดือนถัดไป เพื่อใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

ตรวจสอบกอนนัดประชุมตรวจรับงานในแตละครั้ง แตบริษัทฯ ไมสามารถสงหลักฐานเกี่ยวกับ

ประวัติทางอาชญากรรมฯ เพื่อประกอบการตรวจรับงานตามคุณสมบัติที่กําหนดไวในผนวก 1 หนา 5

อัตรากําลัง และคณะกรรมการฯ แจงบริษัทฯในที่ประชุมใหรีบดําเนินการโดยเร็ว และจะคิด

คาปรับที่เกิดจากการสงงานไมครบถวนในครั้งนี้จากวันที่ครบกําหนดจนกวาจะมีการนําหลักฐาน

ดังกลาวมาสงมอบ ซึ่งบริษัทฯ ไดนํามาสงมอบ เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 และคณะกรรมการฯ ได

พิจารณานําเรื่องการตรวจรับงานงวดที่ 1 เดือนกุมภาพันธ 2555 อีกครั้ง ที่ประชุมมีมติตรวจรับ

งานโดยมีความคิดเห็นแตกตางกันเปน 2 ความคิดเห็น ดังนี้ ฝายหนึ่งเห็นวา ควรเสนอใหมีการคิด

คาปรับ เนื่องจากขาดหลักฐานเกี่ยวกับประวัติทางอาชญากรรมและยาเสพติดของบุคคลที่เปน

พนักงานของบริษัทฯ และอีกฝายหนึ่งเห็นวา ไมควรคิดคาปรับผูรับจาง เนื่องจากสัญญามิไดแจง

ใหสงหลักฐานดังกลาวเมื่อใด กระทรวง พ. จึงขอหารือแนวทางปฏิบัติและการบริหารสัญญาจาง

งานรักษาความสะอาด ประจําปงบประมาณ 2555 วาในกรณีนี้สามารถปรับตามสัญญาไดหรือไม

อยางไร

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวเห็นวา กรณีที่กระทรวงพาณิชยไดทําสัญญาจาง

งานรักษาความสะอาด ประจําปงบประมาณ 2555 เลขที่ 30/2555 ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ 2555

กับบริษัท 109 คอนเซาท แอนด เซอรวิส จํากัด โดยตามสัญญาจางผนวก 1 หนา 5-6 หมวด 2 อัตรากําลัง

กําหนดใหบริษัทฯ ผูรับจางจัดสงหลักฐานเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมและยาเสพติดของบุคคลที่เปน

พนักงานของบริษัทฯ ที่มาปฏิบัติงานที่กระทรวงพาณิชย แตมิไดกําหนดใหจัดสงเอกสารดังกลาวเมื่อใด

ไวอยางชัดเจน ดังนั้น กรณีนี้จึงตองนําระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่

แกไขเพิ่มเติม ขอ 140ที่กําหนดวา “ในกรณีที่ไมมีระเบียบกําหนดไวเปนการเฉพาะ และเปนความ

จําเปนเพื่อประโยชนแกทางราชการที่จะใชสิทธิตามเงื่อนไขของสัญญาหรือขอตกลง หรือขอกฎหมาย

ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการที่จะใชสิทธิดังกลาว สั่งการไดตามความจําเปน” โดย

พิจารณาจากเจตนารมณในการกําหนดขอบเขตของงาน (TOR) วามีวัตถุประสงคอยางไรประกอบการ

พิจารณาดําเนินการตามนัยระเบียบฯ ขอ 140 ตอไป

ขอสังเกต กวพ. มีขอสังเกตเกี่ยวกับการกําหนดเงื่อนไขในสัญญาจางงานรักษาความ

สะอาดที่กําหนดให “ผูรับจางจัดสงหลักฐานเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมและยาเสพติดของบุคคลที่

เปนพนักงานของบริษัทฯ ที่มาปฏิบัติงานที่กระทรวง พ.” ซึ่งโดยปกติปฏิบัตินั้น จะตองมีการ

ตรวจสอบขอมูลดังกลาวกอนการทําสัญญาจาง ประกอบกับการกําหนดเงื่อนไขดังกลาวเปน

ขอกําหนดที่ไมชัดเจนและเปนการกําหนดไวอยางกวาง ซึ่งอาจสงผลตอการพิจารณาของกระทรวง


3-39

พาณิชยเกี่ยวกับขอบเขตการพิจารณาเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมและยาเสพติดนั้นมีขอบเขตเพียงใด

ดังนั้น ในโอกาสตอไปในการทําสัญญาขอใหกระทรวง พ.คํานึงถึงบทกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ

ประกอบดวย

เรื่องที่15 จังหวัด ส แจงวา สํานักงาน ส. ไดประกาศประกวดราคาจางดวยวิธีการทาง

อิเล็กทรอนิกส งานกอสรางอาคารผูปวย 60 เตียง เปนอาคาร คสล. 7 ชั้น พื้นที่ใชสอยประมาณ

5,117 ตารางเมตร (แบบเลขที่ 9073+10547) จํานวน 1 หลัง ที่ โรงพยาบาล ส . จังหวัดส ตาม

ประกาศลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ในวงเงินงบประมาณทั้งสิ้น 75,000,000 บาท ผูกพัน

งบประมาณป พ.ศ. 2555 จํานวน 11,250,000 บาท และป พ.ศ. 2556 จํานวน 63,750,000 บาท ราคา

กลาง 75,863,800 บาท ปรากฏวา มีผูซื้อเอกสารประกวดราคา ๗ ราย ยื่นเอกสารทางเทคนิค ๗ ราย

ผานการคัดเลือกเบื้องตน ๗ ราย โดยผูมีสิทธิเสนอราคาทุกรายไดเขารวมการเสนอราคาในวันที่ 25

พฤษภาคม 2555 ปรากฏวา กิจการรวมคา ว เปนผูเสนอราคาต่ําสุดในวงเงิน 72,000,000 บาท ซึ่ง

คณะกรรมการประกวดราคาพิจารณาแลว มีมติใหกิจการรวมคาฯ

เปนผูชนะการประกวดราคา โดยไดสงเอกสารใหสํานักงานปลัดกระทรวง ส.เพื่อพิจารณาอนุมัติจาง

ซึ่งสํานักงานปลัดกระทรวง ส. ไดพิจารณาเอกสารหลักฐานแลว ดังนั้น จึงขอใหจังหวัด ส.หารือ

คณะกรรมการวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส (กวพ.อ.) ตอไป จังหวัด ส. จึงขอหารือ

การพิจารณาของคณะกรรมการประกวดราคา และขออนุมัติผอนผันการไมปฏิบัติตามระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 ดังนี้

๑. กรณีการมอบอํานาจชวง คณะกรรมการประกวดราคา ตรวจสอบหลักฐานขอตกลง

ในการมอบอํานาจของกิจการรวมคา ว ปรากฏวาทั้งสองฝายไดตกลงรวมกันให นางสาวภทรภร กําลัง

มา เปนผูมีอํานาจทําการในนามกิจการรวมคา ว.

๒. กรณีการตรวจสอบคุณสมบัติของกิจการรวมคาฯ คณะกรรมการประกวดราคา

พิจารณาคุณสมบัติของกิจการรวมคาฯ ตามสัญญาขอตกลงรวมคา ซึ่งคูสัญญาทุกฝายตกลงรวมกันให

เปนภาระหนาที่ของบริษัท ว. เปนผูแสดงหลักฐานผลงานกอสราง และบริษัท ว. มีหลักฐานสําเนา

หนังสือรับรองผลงานกอสราง ในวงเงิน 89,950,000 บาท เปนไปตามเงื่อนไขเอกสารประกวดราคา

จางฯ เลขที่ 9/2555 ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 555 ซึ่งกรณีที่กิจการรวมคาฯ ไมไดจดทะเบียนนิติบุคคล

ใหมและไมมีขอตกลงเปนลายลักษณอักษรใหผูเขารวมคารายใดรายหนึ่งเปนผูรับผิดชอบหลักในการ

เขาเสนอราคากับทางราชการนั้น คณะกรรมการประกวดราคาไดตรวจสอบหลักฐานในสัญญา

ขอตกลงรวมคา ขอที่ 3 กําหนดให บริษัท ว. เปนผูแสดงหลักฐานผลงานกอสราง สวนหางหุนสวน

จํากัด ส. เปนผูรับผิดชอบดําเนินการทางการกอสรางอาคาร ตามขอที่ 2 (2.4) ทําใหเขาใจวา เปน

สัญญาขอตกลงกิจการรวมคาที่ถูกตองตามเงื่อนไขเอกสารประกวดราคาจางฯ จึงไดพิจารณาให

กิจการรวมคาฯ ผานการคัดเลือกเบื้องตนและมีสิทธิเขาเสนอราคา มิไดมีเจตนาที่จะไมปฏิบัติตาม

ระเบียบ พ.ศ. 2549 แตอยางใด ประกอบกับหางหุนสวนจํากัด ส. เปนผูรับจางที่เขาเสนอราคาและมี

ผลงานกอสรางอาคารตาง ๆ ในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทรเปนจํานวนมาก

คณะกรรมการประกวดราคาจึงเชื่อไดวาหางหุนสวนจํากัด สุรินทรกุสุมา ที่ทําสัญญาขอตกลงรวมคา

กับ บริษัท ว. สามารถทําการกอสรางอาคารผูปวย 60 เตียง ที่โรงพยาบาล ส .จังหวัด ส. จนแลวเสร็จ

แนนอน และประหยัดงบประมาณกวาสามลานบาท ซึ่งเปนประโยชนตอทางราชการ


3-40

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลว มีความเห็นดังนี้

๑. ประเด็นการตรวจสอบคุณสมบัติของกิจการรวมคา เห็นวา ตามหนังสือสํานัก

นายกรัฐมนตรีที่ นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2543 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ

พิจารณาคุณสมบัติของผูเสนอราคาที่เปนกิจการรวมคา ขอ ๒ กําหนดวา กรณีที่กิจการรวมคาไมได

จดทะเบียนเปนนิติบุคคลใหมโดยหลักการนิติบุคคลแตละนิติบุคคลที่เขารวมคาทุกราย จะตองมี

คุณสมบัติครบถวนตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในเอกสารประกวดราคา เวนแตในกรณีที่กิจการรวมคาไดมี

ขอตกลงระหวางผูเขารวมคาเปนลายลักษณอักษร กําหนดใหผูเขารวมคารายใดรายหนึ่งเปน

ผูรับผิดชอบหลักในการเขาเสนอราคากับทางราชการและแสดงหลักฐานดังกลาวมาพรอมซอง

ประกวดราคา กิจการรวมคานั้น สามารถใชผลงานกอสรางของผูรวมคาหลักรายเดียว เปนผลงาน

กอสรางของกิจการรวมคาที่ยื่นเสนอราคาได

จากหลักเกณฑดังกลาว มุงหมายที่จะผอนผันเกี่ยวกับการพิจารณาคุณสมบัติของผู

เสนอราคาที่เปนกิจการรวมคา เฉพาะกรณีผลงานเทานั้น โดยกิจการรวมคาที่ไมไดจดทะเบียนเปนนิติ

บุคคลใหมจะสามารถใชผลงานกอสรางของผูรวมคาเพียงรายเดียว เปนผลงานกอสรางของกิจการรวม

คาได ก็ตอเมื่อมีขอตกลงระหวางผูเขารวมคาเปนลายลักษณอักษรโดยชัดแจง กําหนดใหผูเขารวมคา

รายนั้นเปนผูรับผิดชอบหลักในการเขาเสนอราคากับทางราชการ และแสดงหลักฐานดังกลาวมาพรอม

ซองประกวดราคา กรณีนี้ปรากฏขอเท็จจริงวา ตามสัญญาขอตกลงกิจการรวมคา ระหวาง บริษัท ว. และ

หางหุนสวนจํากัด ส. ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม 2555 ไมปรากฏขอตกลงระหวางผูเขารวมคาเปนลาย

ลักษณอักษรโดยชัดแจง กําหนดใหผูเขารวมคารายใดรายหนึ่งเปนผูรับผิดชอบหลักในการเขาเสนอ

ราคากับทางราชการ แมวาตามสัญญาฯ ขอ ๓ คูสัญญาทั้งสองฝายไดตกลงรวมกันใหเปนภาระหนาที่

ของ บริษัท ว. เปนผูแสดงหลักฐานแสดงผลงานกอสราง แตตามสัญญาฯ ขอ ๒ ประกอบ ขอ ๕

กําหนดใหบริษัท ว. และหางหุนสวนจํากัด ส. มีสัดสวนในการบริหารกิจการรวมคาและผลกําไร ใน

อัตรารอยละ ๑และรอยละ ๙๙ ตามลําดับ ซึ่งขัดแยงกัน จึงไมอาจแปลไดวาผูเขารวมคารายใดเปน

ผูรับผิดชอบหลัก ดังนั้นในการเสนอราคาของกิจการรวมคาฯ ยอมไมอยูในขายที่จะไดรับการผอนผัน

ตามหลักเกณฑดังกลาวและจะตองยื่นผลงานกอสรางของผูรวมคาทั้งสองราย

๒. ประเด็นการมอบอํานาจชวง เห็นวา กรณีดังกลาวเปนการหารือเกี่ยวกับการตีความ

สัญญาขอตกลงรวมคา มิใชการการหารือเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบสํานักนากรัฐมนตรีวาดวย

การพัสดุพ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม จึงเห็นควรใหจังหวัดฯ หารือไปยังสํานักงานอัยการสูงสุด ซึ่ง

มีอํานาจหนาที่ใหความเห็นทางกฎหมายโดยตรงตอไป


3-41

เรื่องที่16 กรม ท. แจงวา ไดมีการพิจารณาเพื่อปฏิบัติใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ

วันที่ 28 ธันวาคม 2536 เรื่อง มาตรการปองกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา

แตเนื่องจากงานกอสรางเปนงานที่มีความหมายกวาง ซึ่งในความหมายดังกลาว มีหลายลักษณะงาน

หรือบางรายการในโครงการกอสรางขนาดใหญ ลักษณะมาตรฐานในการกอสรางหรือวัสดุที่นํามาใชใน

การกอสรางไมสามารถที่จะรับประกันความชํารุดบกพรอง 2 ปได และบางลักษณะงานหรือบาง

รายการสามารถใหรับประกันความชํารุดบกพรองมากกวา 2 ปได เพื่อใหการรับประกันความชํารุด

บกพรองของงานกอสรางเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวและสอดคลองกับขอเท็จจริง กรมฯ จึง

พิจารณากําหนดแนวทางการกําหนดรับประกันความชํารุดบกพรองงานจางกอสรางและงานจางเหมา

บริการปกติ ซึ่งสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดทักทวงวา ตามมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวการไมตอง

รับผิดชอบในความชํารุดบกพรองเปนระยะเวลา 2 ป กําหนดใชเฉพาะกรณีเปนถนนลูกรัง ถนนดิน

งานขุด หรือขุดลอกคลอง สระ หรือหนอง ที่ไมมีการดาดคอนกรีตเทานั้น มิไดใหอํานาจดุลพินิจไว การ

ที่กรมฯ กําหนดรับประกันความชํารุดบกพรองภายในกําหนดระยะเวลา 1 ป ของงานไหลทางลูกรัง

ลาดขางทางลาดคอสะพาน ลาดดินตัดที่ไมมีการปองกันการกัดเซาะ งานปลูกหญา งานปลูกตนไม

ฯลฯ จึงเปนการกําหนดเงื่อนไขที่ไมถูกตองตามที่มติคณะรัฐมนตรีดังกลาวกําหนด โดยกรมฯ เห็นวา

การรับประกันความชํารุดบกพรองระยะเวลา 2 ป ตามมติคณะรัฐมนตรีขางตน หมายถึง โครงการ

กอสรางหลักที่เปนโครงการใหญเทานั้น สวนงานอื่นๆ สามารถกําหนดระยะเวลาการรับประกันความ

ชํารุดบกพรองใหเหมาะสมกับขอเท็จจริงได โดยกําหนดรายละเอียดของงานกอสรางโครงการขนาด

ใหญ ขนาดยอย งานบํารุงตามกําหนดเวลา งานบํารุงพิเศษและบูรณะ งานบูรณะทางหลวงงานเพิ่ม

ประสิทธิภาพทางหลวง งานอํานวยความปลอดภัย กําหนดใหรับประกันความชํารุดบกพรอง 2 ปและ

งานบํารุงปกติ หรืองานปรับปรุง ซอมแซม รับประกันความชํารุดบกพรองตามความเหมาะสมแต

ละลักษณะงาน กรมฯ จึงขอหารือวา หากกรมฯ ไดพิจารณากําหนดเงื่อนไขการรับประกันความชํารุด

บกพรองของงานจางกอสรางที่อยูในความรับผิดชอบ ซึ่งมีหลายลักษณะงานจํานวนมาก ใหเหมาะสม

สอดคลองกับขอเท็จจริงจะเปนการดําเนินการสอดคลองตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2536

ดังกลาวหรือไม หากยังไมสอดคลองกรมฯ ขอยกเวนการรับประกันความชํารุดบกพรองงานจาง

กอสรางดังกลาว

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็นวา

กรณีตามขอหารือ เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวากรมฯ ไดพิจารณากําหนดเงื่อนไขการ

รับประกันความชํารุดบกพรองของงานจางกอสรางที่อยูในความรับผิดชอบซึ่งมีหลายลักษณะงาน

จํานวนมาก ใหเหมาะสมสอดคลองกับขอเท็จจริง โดยกรมฯ ไดพิจารณากําหนดแนวทางการ

รับประกันความชํารุดบกพรองของงานจางกอสรางและงานจางเหมาบํารุงปกติ ดังนี้

(1) งานจางเหมากอสราง งานบํารุงตามกําหนดเวลา งานบํารุงทางพิเศษและบูรณะ

แบงออกเปน ภายในกําหนดระยะเวลา 2 ป ภายในกําหนดระยะเวลา 1 ป และภายในกําหนด

ระยะเวลา 3 ป


3-42

(2) งานจางเหมาบํารุงปกติ เปนงานซอมผิวทางแอสฟลทและผิวคอนกรีตแบง

ออกเปน ภายในกําหนดระยะเวลา 6 เดือน และภายในกําหนดระยะเวลา 1 ป ซึ่งการรับประกันความ

ชํารุดบกพรองตามนัยมติคณะรัฐมนตรี แจงโดยหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร

0202/ว 1 ลงวันที่ 3 มกราคม 2537 เรื่อง มาตรการปองกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการ

เสนอราคา กําหนดใหผูรับจางตองรับผิดชอบตอความชํารุดบกพรองเปนระยะเวลา 2 ป ดังนั้นกรณี

การกําหนดเงื่อนไขการรับประกันความชํารุดบกพรองของกรมฯ จึงตองปฏิบัติใหเปนไปตาม

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2536 ขางตน

ขอสังเกต กวพ. มีขอสังเกตเพิ่มเติมวา การพิจารณาการรับประกันความชํารุดบกพรอง

ตองพิจารณาสภาพของงานใหสอดคลองกับระยะเวลาของการรับประกันความชํารุดบกพรองดวย

เรื่องที่17 จังหวัด พ. แจงวา จังหวัดฯ โดยอําเภอ บ. ไดดําเนินการสอบราคาซื้อเครื่องลาง

เกลือและโมเกลือ ตามโครงการพัฒนาเกลือสมุทรสะอาดมีคุณภาพ และหางหุนสวนจํากัด จ. เปนผู

ชนะการเสนอราคา เปนเงิน ๑,๔๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งในใบเสนอราคาไดเสนอรายการวัสดุรวมทั้งบริการ

เพื่อประกอบเปนเครื่องลางเกลือและโมเกลือ จํานวน ๑๗ รายการ อําเภอ บ ไดทําสัญญาซื้อขาย

เครื่องลางเกลือและโมเกลือ จํานวน ๑ เครื่อง กับหางฯ เปนเงิน ๑,๔๐๐,๐๐๐ บาท กําหนดสงมอบ

ของ ณ ที่ทําการปกครองอําเภอ บ. ภายในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ตามสัญญาลงวันที่ ๒ เมษายน

๒๕๕๕ มิไดระบุรายละเอียดของวัสดุที่จะจัดซื้อไวเปนแตละรายการหรือชนิดแตอยางใด แต

ขอเท็จจริงปรากฏวาเครื่องลางเกลือและโมเกลือดังกลาวจะตองติดตั้งภายในโรงเก็บเกลือซึ่งตั้งอยูที่

หมู ๙ ตําบล บ.อําเภอ บ. จังหวัด พ. แตขณะนี้โรงเก็บเกลืออยูในระหวางกอสราง ทําใหหางฯ ไม

สามารถประกอบและติดตั้งเครื่องลางเกลือและโมเกลือในโรงเก็บไดและยังมิไดมีหนังสือสงมอบพัสดุ

ใหแกอําเภอฯแตอยางใด เพียงแตเรงรัดดวยวาจาใหจังหวัดฯ ดําเนินการกอสรางโรงเก็บเกลือใหแลว

เสร็จโดยเร็วเพื่อจะไดเขาไปประกอบและติดตั้งเครื่องลางเกลือและโมเกลือตามสัญญาได ซึ่งจังหวัดฯ

เห็นวาแมวาตามสัญญาซื้อขายดังกลาวจะกําหนดใหผูขายสงมอบพัสดุดังกลาวใหแกผูซื้อ ณ ที่ทําการ

ปกครองอําเภอบานแหลมแตการประกอบและติดตั้งเครื่องลางเกลือและโมเกลือจะตองดําเนินการ

ภายในโรงเก็บเกลือ ดังนั้น เรื่องนี้จึงเปนกรณีที่ผูขายไมสามารถสงมอบพัสดุใหแกผูซื้อไดดวยเหตุจาก

ความผิดหรือความบกพรองของสวนราชการ ซึ่งมีหลักฐานชัดแจงหรือสวนราชการทราบดีอยูแลว

ตั้งแตตน จังหวัดฯ ในฐานะสวนราชการจึงสามารถขยายเวลาการสงมอบเครื่องลางเกลือและโมเกลือ

ใหแกหางฯ ไดตามจํานวนวันที่โรงเก็บเกลือจะสรางแลวเสร็จและสงมอบงานจางตามสัญญาที่จะทํา

ขึ้นหรือมากกวานั้นตามนัยขอ ๑๓๙ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕

และที่แกไขเพิ่มเติม จังหวัดฯ พิจารณาแลวเห็นวา เพื่อใหการดําเนินการดังกลาวเปนไปดวยความ

ถูกตองเรียบรอยจึงขอหารือมายังคณะกรรมการวาดวยการพัสดุ (กวพ.) เพื่อพิจารณาวินิจฉัย


3-43

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็น ดังนี้

๑. ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม

ขอ ๑๓๖ วรรคแรก กําหนดวา สัญญาหรือขอตกลงเปนหนังสือที่ไดลงนามแลวจะแกไขเปลี่ยนแปลงมิได

เวนแต การแกไขนั้นจะเปนความจําเปนโดยไมทําใหทางราชการเสียประโยชน หรือเปนการแกไขเพื่อ

ประโยชนแกทางราชการใหอยูในอํานาจของหัวหนาสวนราชการที่จะพิจารณาอนุมัติใหแกไข

เปลี่ยนแปลงได และวรรคสอง กําหนดวา การแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือขอตกลงตามวรรคหนึ่ง

หากมีความจําเปนตองเพิ่มหรือลดวงเงินหรือเพิ่มหรือลดระยะเวลาสงมอบของหรือระยะเวลาในการ

ทํางาน ใหตกลงพรอมกันไป ประกอบกับตามสัญญาซื้อขายที่ ๑/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๕

ขอ ๓ กําหนดเรื่องการสงมอบไว โดย ผูขายจะสงมอบสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญา ใหแกผูซื้อ ณ ที่ทํา

การปกครองอําเภอ บ (งานการเงินและบัญชี) ภายในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ใหถูกตอง

และครบถวน ตามที่กําหนดไวในขอ ๑ แหงสัญญานี้

๒. กรณีของจังหวัดฯ หากจังหวัดฯ เห็นวาการสงมอบเครื่องลางเกลือและโมเกลือตาม

สัญญาดังกลาว ขอเท็จจริงจะตองติดตั้งภายในโรงเก็บเกลือซึ่งตั้งอยูที่หมู ๙ ตําบล บ. อําเภอ บ.

จังหวัด พ. จังหวัดฯ ก็จะตองกําหนดไวในสัญญาตั้งแตแรกวาเปนการซื้อเครื่องลางเกลือและโมเกลือ

พรอมติดตั้งภายในโรงเก็บเกลือ แตจากขอเท็จจริงปรากฏวา จังหวัดฯ ไมไดกําหนดเรื่องการติดตั้ง

ดังกลาวไวในสัญญาตั้งแตแรก จังหวัดฯ จึงตองตกลงกับผูขายในการขอแกไขสัญญาเปนการซื้อเครื่อง

ลางเกลือและโมเกลือพรอมติดตั้งภายในโรงเก็บเกลือ เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของจังหวัดฯ หาก

ผูขายยินยอมจังหวัดฯ ก็ชอบที่จะไปแกไขสัญญาใหเปนไปตามเจตนารมณและขอเท็จจริง ซึ่งหากการ

แกไขสัญญาดังกลาว จังหวัดฯ เห็นวามีความจําเปนตองขยายระยะเวลาสงมอบของหรือขยาย

ระยะเวลาในการทํางาน ก็ชอบที่จะตกลงไปพรอมกัน ตามนัยหลักการตามระเบียบฯ ขอ ๑๓๖ ได

ขอสังเกต กวพ ในการแกไขสัญญาซื้อขายเครื่องลางเกลือและโมเกลือดังกลาว จังหวัด

ควรพิจารณาดําเนินการดวยความรอบคอบเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุครุภัณฑที่จะนําไปใชในราชการให

เปนไปตามขอเท็จจริงและเปนไปตามเจตนารมณของการนําไปใชงานไดอยางแทจริง

เรื่องที่18 สํานักงาน ก.หารือ กรณีการประมูลจางเหมาปรับปรุงหอง อาคาร 6 ชั้น 7

ของกรม ก.จํานวนเงินคาจาง 19,200,000 บาท ซึ่งพบขอบกพรองเกี่ยวกับการกําหนดเงื่อนไข

คุณสมบัติของผูเสนอราคา คือ กรมการขนสงทางบกไดมีการออกประกาศจางเหมาปรับปรุงหอง

อาคาร 6 ชั้น 7 พรอมดวยเอกสารการประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส โดยมีการกําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม

จํานวน 2 รายการ คือขอ 2.5 ผูเสนอราคาจะตองมีเงินทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว (ชําระเต็มมูลคาหุน) ไม

นอยกวา 10 ลานบาท และขอ 2.6 ผูเสนอราคาจะตองมีวิศวกรตามพระราชบัญญัติวิศวกร มัณฑนากร

พรอมหลักฐานผลงานและประสบการณ และหนังสือรับรองวาเปนผูควบคุมงานกอสรางตามประกาศ


3-44

ประมูลฯ โดยเพิ่มเติมเงื่อนไขดังกลาว ในสวนของการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเอกสาร

การชี้แจง ซึ่งเปนการนอกเหนือจากเงื่อนไขในเอกสารประกวดราคาที่คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ

( ก ว พ . ) กํ า ห น ด แ ล ะ เ ป น ก า ร ข ัด ต อ ห น ัง ส ือ สํ า น ัก น า ย ก ร ัฐ ม น ต รี

ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลงวันที่ 22 กันยายน 2543 เรื่อง การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา

ในการจางกอสราง แมตอมากรม ก. ไดโตแยงผลการตรวจสอบและความเห็นของสํานักงานฯ โดย

แจงวา เงื่อนไขในขอ 2.5 ผูเสนอราคาจะตองมีเงินทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว (ชําระเต็มมูลคาหุน)ไม

นอยกวา 10 ลานบาท และขอ 2.6 ผูเสนอราคาจะตองมีวิศวกรตามพระราชบัญญัติวิศวกร มัณฑนา

กร พรอมหลักฐานผลงานและประสบการณ และหนังสือรับรองวาเปนผูควบคุมงานกอสรางตาม

ประกาศประมูลดังกลาว มิใชขอกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา แตเปนขอเสนอดานเทคนิค

เนื่องจากเปนงานจางที่มีลักษณะจําเปนจะตองคํานึงถึงขอกําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิเสนอราคา

กอนพิจารณาดานราคาการประมูลจางเหมากอสรางปรับปรุงหอง อาคาร 6 ชั้น 7 ดวยระบบ

อิเล็กทรอนิกส (e - Auction) เปนการจางที่จําเปนตองคํานึงถึงเทคโนโลยีของพัสดุและขอกําหนด

คุณสมบัติของผูเสนอราคาซึ่งอาจมีขอเสนอที่ไมอยูในฐานเดียวกันเปนเหตุใหมีปญหาการพิจารณา

ตัดสิน คณะกรรมการดําเนินการประมูลจึงกําหนดใหมีการยื่นซองขอเสนอดานเทคนิคกอนพิจารณา

ดานราคาโดยวิธีประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส โดยถือเปนการประกวดราคาแบบ 2 ซอง ตาม

ขอ 54 ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติมดังกลาว

สํานักงานฯ จึงขอหารือ กวพ. ดังนี้

1. การซื้อหรือการจางที่มีลักษณะจําเปนจะตองคํานึงถึงเทคโนโลยีของพัสดุและหรือ

ขอกําหนดคุณสมบัติของผูเขาเสนอราคา ซึ่งอาจจะมีขอเสนอที่ไมอยูในฐานเดียวกันเปนเหตุใหมี

ปญหาในการพิจารณาตัดสินตามนัยขอ 54 ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.

2535 และที่แกไขเพิ่มเติม นั้นมีลักษณะในการพิจารณาอยางไร

2. การจัดทําเอกสารประกวดราคาในการประกวดราคาตามขอ 54 ของระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ตองเปนไปตามตัวอยางรวมทั้ง

หลักเกณฑที่ กวพ. กําหนดหรือไม อยางไร และการดําเนินการของกรม ก.ดังกลาวขางตน เปนไปตาม

ระเบียบ หลักเกณฑที่เกี่ยวของหรือไม อยางไร

3. งานจางปรับปรุงหองเปนงานจางที่เปนการประกวดราคาตามระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 44 หรือ ขอ 54 หรือไม อยางไร

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็น ดังนี้

1. กรณีขอหารือ 1 ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ

ที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 54 กําหนดวา “การซื้อหรือการจางที่มีลักษณะจําเปนจะตองคํานึงถึงเทคโนโลยี

ของพัสดุและหรือขอกําหนดคุณสมบัติของผูเขาเสนอราคาซึ่งอาจจะมีขอเสนอที่ไมอยูในฐานเดียวกัน

เปนเหตุใหมีปญหาในการพิจารณาตัดสิน และเพื่อขจัดปญหาดังกลาวจําเปนตองใหมีการปรับปรุง

ขอเสนอใหครบถวนและเปนไปตามความตองการกอนพิจารณาดานราคา...” นั้น กรณีนี้หมายถึง เปน

เรื่องที่สวนราชการไมสามารถกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีได สวนราชการ

ทราบแตเพียงขอบเขตความตองการเทานั้นโดยงานดังกลาวมีรายละเอียดหรือการดําเนินงานที่มี


3-45

เทคนิคซับซอน จําเปนตองใชเทคโนโลยีขั้นสูงมีการถายทอดเทคโนโลยีใหมๆ ไมสามารถกําหนด

คุณสมบัติของบุคลากรเปนการเฉพาะเจาะจงได ดวยเหตุที่จําเปนจะตองคํานึงถึงเทคโนโลยีของสินคา

และหรือกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาซึ่งอาจจะมีขอเสนอที่แตกตางกันโดยไมอยูในฐานเดียวกัน

จึงตองใหมีการปรับปรุงขอเสนอใหครบถวนและเปนไปตามความตองการกอนพิจารณาดานราคา

2. กรณีขอหารือ 2 การจัดทําเอกสารประกวดราคาตามระเบียบฯ ขอ 54 ยังคงใชตาม

ตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กําหนดไวเปนการทั่วไป ประกอบแนวปฏิบัติตามหนังสือสํานัก

นายกรัฐมนตรีที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลงวันที่ 22 กันยายน 2543 เรื่อง การกําหนดคุณสมบัติ

ของผูเสนอราคาในการจางกอสราง กําหนดวา “ในการดําเนินการประกวดราคาจางกอสรางสวน

ราชการจะกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาไดเฉพาะตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ.

กําหนด และการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเรื่องผลงานการกอสรางซึ่งจะกําหนดไดไมเกิน

รอยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการ ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี แจงโดยหนังสือ

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0202/ว 1 ลงวันที่ 3 มกราคม 2537 รวมทั้งการกําหนดเงื่อนไข

ตามกฎหมาย ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีในสวนที่เกี่ยวของ (ถามี) ไดเทานั้น” ดังนั้น หาก

พิจารณาตามนัยหนังสือเวียนขางตน การที่สวนราชการจะพิจารณากําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคา

ในการจางกอสราง สวนราชการนั้นจะกําหนดไดเฉพาะตามตัวอยางเอกสารประกวดราคาที่ กวพ.

กําหนด และการกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเรื่องผลงานการกอสรางซึ่งจะกําหนดไดไมเกิน

รอยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการเทานั้น ดังนั้น กรณีที่กรม ก. กําหนด

คุณสมบัติของผูเสนอราคาในขอ 2.5 “ผูเสนอราคาจะตองมีเงินทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว (ชําระเต็ม

มูลคาหุน) ไมนอยกวา 10 ลานบาท จึงไมอาจกําหนดได” สําหรับขอ 2.6 “ผูเสนอราคาจะตองมีวิศวกร

ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พรอมหลักฐานผลงานและประสบการณ...” นั้น ถือเปนการกําหนด

เกี่ยวกับคุณสมบัติทางเทคนิคของผูเสนอราคา กรณีนี้กรมฯ จึงสามารถกําหนดได โดยจะตอง

พิจารณาวาการกําหนดเงื่อนไขดังกลาวจะทําใหมีผูเสนอราคานอยรายอันเปนการขัดขวางการแขงขัน

อยางเปนธรรมหรือไม ตามนัยระเบียบฯ ขอ 15 ทวิ ประกอบดวย”

3. กรณีขอหารือ 3 เนื่องจากการจางเหมาปรับปรุงหอง อาคาร 6 ชั้น 7 ของกรม ก.ได

ดําเนินการตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑการซื้อและการจางโดยการประมูลดวย

ระบบอิเล็กทรอนิกส ฉบับลงวันที่ 13 มกราคม 2548 มีการกําหนดเกี่ยวกับวิธีการจัดหาพัสดุตาม

ประกาศกระทรวงการคลังไวเปนการเฉพาะแลว ดังนั้น กรณีนี้ จึงไมจําตองพิจารณาวาเปนการจัดหา

ตามหลักเกณฑของระเบียบฯ ขอ 44 หรือ ขอ 54 แตประการใด

เรื่องที่19 กรม ส. แจงวา กรมฯ ไดทําสัญญาจางมหาวิทยาลัย ก. (คณะศิลปศาสตร

และวิทยาศาสตร) เปนที่ปรึกษาโครงการพัฒนากระบวนการมีสวนรวมเพื่อจัดทําความเห็นประกอบ

โครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม

ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (สําหรับโครงการขยายโรงประกอบโลหกรรมแรทองคําของ บริษัท อ.

จํากัด) จํานวน ๑ โครงการ คาจางเปนเงิน ๑,๔๐๐๐,๐๐๐ บาท ตามสัญญา จางที่ปรึกษาเลขที่ ๑๐๘/

๒๕๕๕ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๕ กําหนดเริ่มปฏิบัติงานวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๕ และกําหนด

สิ้นสุดสัญญาวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ รวมระยะเวลาดําเนินการ ๙๐ วัน โดยมีสํานักวิชาการ

สํานักงานคณะกรรมการองคการอิสระดานสิ่งแวดลอมเปนผูรับผิดชอบโครงการ และกรมฯ ไดแตงตั้ง


3-46

คณะกรรมการกํากับดูแลการปฏิบัติงานของที่ปรึกษาขึ้น เพื่อทําหนาที่พิจารณาตรวจสอบการ

ดําเนินงานและตรวจงานที่ที่ปรึกษาสงมอบใหเปนไปตามสัญญาและขอกําหนดการจาง ประสาน

อํานวยความสะดวกในการติดตอ พิจารณา ใหขอเสนอแนะ ขอคิดเห็นและคําแนะนําในประเด็นตางๆ

โดยสัญญาจางที่ปรึกษาฯ กําหนดแบงการเสนอผลงานและสงมอบงานออกเปน ๓ งวด โดยขอบเขต

การดําเนินงานของที่ปรึกษาไดระบุวารายละเอียดกิจกรรมตางๆ ที่จะดําเนินการนั้นจะตองใหกรม

สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมเห็นชอบกอนแตในระหวางดําเนินโครงการ กรมฯ ประสบปญหาเกี่ยวกับ

การตรวจรับงานจางที่ปรึกษาฯ ดังนั้น กรมฯ จึงขอหารือแนวทางการตรวจรับงานจางที่ปรึกษาฯ ดังนี้

๑. กรณีที่ปรึกษาฯ ไดดําเนินการแลวเสร็จตามขอกําหนดกอนการแกไขสัญญา

คณะกรรมการกํากับการทํางานและตรวจรับงานที่ปรึกษาฯ สามารถดําเนินการตรวจรับงานจางที่

ปรึกษาฯ ภายหลังการแกไขสัญญาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ

ที่แกไขเพิ่มเติม ไดหรือไม และมีแนวทางปฏิบัติ หรือยกเวน ผอนผันไดหรือไม อยางไร

๒. กรณีที่ปรึกษาฯ ดําเนินงานกอนการลงนามในสัญญาจาง คณะกรรมการกํากับการ

ทํางานและตรวจรับงานที่ปรึกษาฯ จะตรวจรับงานจางไดหรือไม และมีแนวทางปฏิบัติ หรือยกเวน

ผอนผันไดหรือไม อยางไร

๓. กรม ส. จะแกไขสัญญาจางจาก “..ใหกรม ส. เห็นชอบกอนที่จะดําเนินการ” เปน “...

ใหกรม ส. โดยคณะกรรมการองคการอิสระดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพเห็นชอบกอนที่จะดําเนินการ”

ไดหรือไม ทั้งนี้ จะเปนการเอื้อประโยชนใหกับที่ปรึกษา หรือไม อยางไร

ขอพิจารณาของ กวพ พิจารณาแลวมีความเห็นดังนี้

1. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ

๑๓๖ กําหนดวา “สัญญาหรือขอตกลงเปนหนังสือที่ไดลงนามแลวจะแกไขเปลี่ยนแปลงมิได เวนแต

การแกไขนั้นจะเปนความจําเปนโดยไมทําใหทางราชการตองเสียประโยชนหรือเปนการแกไขเพื่อ

ประโยชนแกทางราชการ ใหอยูในอํานาจของหัวหนาสวนราชการที่จะพิจารณาอนุมัติใหแกไข

เปลี่ยนแปลงได แตถามีการเพิ่มวงเงิน จะตองปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ หรือขอทํา

ความตกลงในสวนที่ใชเงินกูหรือเงินชวยเหลือ แลวแตกรณีดวย

การแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือขอตกลงตามวรรคหนึ่ง หากมีความจําเปนตองเพิ่ม

หรือลดวงเงิน หรือเพิ่มหรือลดระยะเวลาสงมอบของหรือระยะเวลาในการทํางานใหตกลงพรอมกันไป”

2. กรณีตามขอหารือ 1 และขอ 3 ซึ่งเปนการหารือเกี่ยวกับการแกไขสัญญาและการ

ตรวจรับภายหลังการแกไขสัญญา กรณีดังกลาวเห็นวา หากขอเท็จจริงปรากฏวา การแกไขสัญญา

ดังกลาวไมทําใหทางราชการตองเสียประโยชน หรือเปนการแกไขเพื่อประโยชนแกทางราชการ ตาม

หลักการระเบียบฯ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 136 ขางตน ยอมอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวน

ราชการที่จะพิจารณาแกไขสัญญา ดังกลาวได และคณะกรรมการกํากับการทํางานและตรวจรับงานที่

ปรึกษาฯ ยอมสามารถดําเนินการตรวจรับงานจางที่ปรึกษาฯ ภายหลังการแกไขสัญญาได ทั้งนี้ การ

แกไขสัญญาดังกลาวจะตองดําเนินการกอนการตรวจรับงานงวดสุดทาย


3-47

3. กรณีตามขอหารือ 2 เห็นวา เนื่องจากกรม ส ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการ

กํากับการทํางานและตรวจรับงานที่ปรึกษาฯ ใหมีหนาที่ในการติดตามการปฏิบัติงานและกํากับการ

ทํางานใหเปนไปตามรายละเอียดและขอกําหนดของสัญญาจางที่ปรึกษาและตรวจรับงานจางที่ปรึกษา

ใหเปนไปตามระเบียบฯ ขอ 71 ดังนั้น หากการดําเนินการของที่ปรึกษาฯ ไมเปนไปตามเงื่อนไขสัญญา

กําหนดคณะกรรมการกํากับการทํางานและตรวจรับงานที่ปรึกษาฯ ยอมไมอาจตรวจรับได อยางไรก็ดี

หากกรม ส พิจารณาแลวเห็นวา งานใดที่มีการดําเนินการไปกอนลงนามในสัญญา ซึ่งเปนการไมปฏิบัติ

ตามระเบียบฯ และกรมฯ มีเหตุผลความจําเปนก็สามารถขออนุมัติผอนผันตอ กวพ. ตอไป

**********************************


ภาคผนวก 3-2 ประกาศคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อ

จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

เรื่อง แบบสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติ

การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. ๒๕๖๐



3-48

หน้า ๘

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๓๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

ประกาศคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

เรื่อง แบบสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. ๒๕๖๐

ด้วยพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๙3

วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า หน่วยงานของรัฐต้องทําสัญญาตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด

โดยความเห็นชอบของสํานักงานอัยการสูงสุด ทั้งนี้ แบบสัญญานั้นให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาด้วย

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙3 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ

การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร

พัสดุภาครัฐ เรื่อง แบบสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ

การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐”

ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ 3 คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ จึงกําหนดแบบสัญญาโดยความเห็นชอบ

ของสํานักงานอัยการสูงสุด จํานวน 14 สัญญา ดังนี้

(1) แบบสัญญาจ้างก่อสร้าง

(2) แบบสัญญาซื้อขาย

(3) แบบสัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จํากัดปริมาณ

(4) แบบสัญญาซื้อขายคอมพิวเตอร์

(5) แบบสัญญาซื้อขายและอนุญาตให้ใช้สิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์

(6) แบบสัญญาเช่าคอมพิวเตอร์

(7) แบบสัญญาจ้างบริการบํารุงรักษาและซ่อมแซมแก้ไขคอมพิวเตอร์

(8) แบบสัญญาเช่ารถยนต์

(9) แบบสัญญาจ้างทําความสะอาดอาคาร

(10) แบบสัญญาจ้างบริการรักษาความปลอดภัย

(11) แบบสัญญาเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร

(12) แบบสัญญาแลกเปลี่ยน

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


หน้า ๙

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๓๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

(13) แบบสัญญาจ้างออกแบบและควบคุมงานก่อสร้าง

(14) แบบสัญญาจ้างผู้เชี่ยวชาญรายบุคคลหรือจ้างบริษัทที่ปรึกษา

ดังปรากฏรายละเอียดตามแบบสัญญาท้ายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

ประธานกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

3-49

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-50

แบบสัญญา

สัญญาจางกอสราง

สัญญาเลขที่……...…......…(๑).................….……

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ ………….……..………………………………………………………………………….......

ตําบล/แขวง…………………..………………….………………..อําเภอ/เขต……………………….….……………………………...

จังหวัด…….…………………………….…………. เมื่อวันที่ ...……….. เดือน.……………….……….………... พ.ศ. .....………

ระหวาง ………………………………….……………….………… (๒) ………………………………………………………………………..

โดย ………...…………….…………………………….…………… (๓) ………..…………………………………………..…………………

ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ …………….…………....…… (๔ ก) …………..…………………….

ซึ่งจดทะเบียนเปนนิติบุคคล ณ ……………………………………………………………………………………….………….……..

มีสํานักงานใหญอยูเลขที่……………......……ถนน………..……….……………..ตําบล/แขวง…….……….…..……….…....

อําเภอ/เขต………………….…..…….จังหวัด………..…………………..….โดย………….…………………………………..……...

ผูมีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลปรากฏตามหนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัท..……………

ลงวันที่………………………………… (๕) (และหนังสือมอบอํานาจลงวันที่....………….…….……..) แนบทายสัญญานี้

(๖) (ในกรณีที่ผูรับจางเปนบุคคลธรรมดาใหใชขอความวา กับ ……………..……..….… (๔ ข) …………………….....

อยูบานเลขที่…………….….…..….ถนน…………………..……….…...……ตําบล/แขวง.……...………………….….………….

อําเภอ/เขต…………………….………….…..จังหวัด…………...…..………….……...……. ผูถือบัตรประจําตัวประชาชน

เลขที่.......................... ดังปรากฏตามสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนแนบทายสัญญานี้) ซึ่งตอไปในสัญญานี้

เรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง

คูสัญญาไดตกลงกันมีขอความดังตอไปนี้

ขอ ๑ ขอตกลงวาจาง

ผูวาจางตกลงจางและผูรับจางตกลงรับจางทํางาน….……….…….…(๗)…….…...….………

ณ …..……………................... ตําบล/แขวง….…………………………….…….. อําเภอ/เขต.........…………..…………..…

จังหวัด……………………….……….….. ตามขอกําหนดและเงื่อนไขแหงสัญญานี้รวมทั้งเอกสารแนบทายสัญญา

ผูรับจางตกลงที่จะจัดหาแรงงานและวัสดุ เครื่องมือเครื่องใช ตลอดจนอุปกรณตางๆ

ชนิดดีเพื่อใชในงานจางตามสัญญานี้

ขอ ๒ เอกสารอันเปนสวนหนึ่งของสัญญา

เอกสารแนบทายสัญญาดังตอไปนี้ใหถือเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้

๒.๑ ผนวก ๑ .…….….(แบบรูป)……........…......….......….. จํานวน.…..(…..…….….) หนา

๒.๒ ผนวก ๒ ………...(รายการละเอียด)…….....……....... จํานวน.…..(…..…….….) หนา

๒.๓ ผนวก ๓ …........(ใบแจงปริมาณงานและราคา)...... จํานวน.…..(…..…….….) หนา

๒.๔ ผนวก ๔ ……….(ใบเสนอราคา)….........…………....... จํานวน.…..(…..…….….) หนา

…………..……………..……ฯลฯ……….………..……………

ความใดในเอกสารแนบทายสัญญาที่ขัดหรือแยงกับขอความในสัญญานี้ ใหใชขอความ

ในสัญญานี้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบทายสัญญาขัดแยงกันเอง ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัย

ของผูวาจาง คําวินิจฉัยของผูวาจางใหถือเปนที่สุด และผูรับจางไมมีสิทธิเรียกรองคาจาง คาเสียหายหรือ

คาใชจายใดๆ เพิ่มเติมจากผูวาจางทั้งสิ้น

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-51

ขอ ๓ หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

ในขณะทําสัญญานี้ผูรับจางไดนําหลักประกันเปน…………..…...…..(๘)…....………..………

เปนจํานวนเงิน……………....บาท (………….…..………….) ซึ่งเทากับรอยละ……….…(๙)……...…(…………..………...)

ของราคาคาจางตามสัญญา มามอบใหแกผูวาจางเพื่อเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้

(๑๐) กรณีผูรับจางใชหนังสือค้ําประกันมาเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

หนังสือค้ําประกันดังกลาวจะตองออกโดยธนาคารที่ประกอบกิจการในประเทศไทย หรือโดยบริษัทเงินทุน

หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบธุรกิจ

ค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแหงประเทศไทย

แจงเวียนใหทราบตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐกําหนด

หรืออาจเปนหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได และจะตองมีอายุ

การค้ําประกันตลอดไปจนกวาผูรับจางพนขอผูกพันตามสัญญานี้

หลักประกันที่ผูรับจางนํามามอบใหตามวรรคหนึ่ง จะตองมีอายุครอบคลุมความรับผิด

ทั้งปวงของผูรับจางตลอดอายุสัญญา ถาหลักประกันที่ผูรับจางนํามามอบใหดังกลาวลดลงหรือเสื่อมคาลง

หรือมีอายุไมครอบคลุมถึงความรับผิดของผูรับจางตลอดอายุสัญญา ไมวาดวยเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงกรณี

ผูรับจางสงมอบงานลาชาเปนเหตุใหระยะเวลาแลวเสร็จหรือวันครบกําหนดความรับผิดในความชํารุดบกพรอง

ตามสัญญาเปลี่ยนแปลงไป ไมวาจะเกิดขึ้นคราวใด ผูรับจางตองหาหลักประกันใหมหรือหลักประกันเพิ่มเติม

ใหมีจํานวนครบถวนตามวรรคหนึ่งมามอบใหแกผูวาจางภายใน...........(…….….) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจง

เปนหนังสือจากผูวาจาง

หลักประกันที่ผูรับจางนํามามอบไวตามขอนี้ ผูวาจางจะคืนใหแกผูรับจางโดยไมมี

ดอกเบี้ยเมื่อผูรับจางพนจากขอผูกพันและความรับผิดทั้งปวงตามสัญญานี้แลว

ขอ ๔ (ก) คาจางและการจายเงิน

(สําหรับสัญญาที่เปนราคาตอหนวย)

ผูวาจางตกลงจายและผูรับจางตกลงรับเงินคาจางเปนจํานวนเงิน……………………..บาท

(……………………………….…..) ซึ่งไดรวมภาษีมูลคาเพิ่มจํานวน………….……..บาท (...........................................)

ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และคาใชจายทั้งปวงดวยแลว โดยถือราคาตอหนวยเปนเกณฑตามรายการ

แตละประเภทดังที่ไดกําหนดไวในใบแจงปริมาณงานและราคา ตามเอกสารแนบทายสัญญาผนวก ๓

คูสัญญาทั้งสองฝายตางตกลงวาจํานวนปริมาณงานที่กําหนดไวในบัญชีรายการ

กอสรางหรือใบแจงปริมาณงานและราคานี้เปนจํานวนโดยประมาณเทานั้น จํานวนปริมาณงานที่แทจริง

อาจจะมากหรือนอยกวานี้ก็ได ซึ่งผูวาจางจะจายเงินคาจางใหแกผูรับจางตามราคาตอหนวยของงาน

แตละรายการที่ไดทําเสร็จจริง คูสัญญาทั้งสองฝายตางตกลงที่จะไมเปลี่ยนแปลงราคาตอหนวยหรือเรียกรอง

คาสินไหมทดแทนอันเกิดจากการที่จํานวนปริมาณงานในแตละรายการไดแตกตางไปจากที่กําหนดไวในสัญญา

ทั้งนี้ นอกจากในกรณีตอไปนี้ (๑๑)

๔.๑ เมื่อปริมาณงานที่ทําเสร็จจริงในสวนที่เกินกวารอยละ ๑๒๕ (หนึ่งรอยยี่สิบหา)

แตไมเกินรอยละ ๑๕๐ (หนึ่งรอยหาสิบ) ของปริมาณงานที่กําหนดไวในสัญญาหรือใบแจงปริมาณงาน

และราคา จะจายใหในอัตรารอยละ ๙๐ (เกาสิบ) ของราคาตอหนวยตามสัญญา

๔.๒ เมื่อปริมาณงานที่ทําเสร็จจริงในสวนที่เกินกวารอยละ ๑๕๐ (หนึ่งรอยหาสิบ)

ของปริมาณงานที่กําหนดไวในสัญญาหรือใบแจงปริมาณงานและราคา จะจายใหในอัตรารอยละ ๘๓

(แปดสิบสาม) ของราคาตอหนวยตามสัญญา

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-52

๔.๓ เมื่อปริมาณงานที่ทําเสร็จจริงนอยกวารอยละ ๗๕ (เจ็ดสิบหา) ของปริมาณงาน

ที่กําหนดไวในสัญญาหรือใบแจงปริมาณงานและราคา จะจายใหตามราคาตอหนวยในสัญญาและจะจายเพิ่ม

ชดเชยเปนคา Overhead และ Mobilization สําหรับงานรายการนั้นในอัตรารอยละ ๑๗ (สิบเจ็ด)

ของผลตางระหวางปริมาณงานทั้งหมดของงานรายการนั้นตามสัญญาโดยประมาณกับปริมาณงานที่ทําเสร็จจริง

คูณดวยราคาตอหนวยตามสัญญา ทั้งนี้ การจายเงินเพิ่มชดเชยเปนคา Overhead และ Mobilization

ดังกลาว ผูวาจางจะจายใหแกผูรับจางในงวดสุดทายของการจายเงินคางานตามสัญญา

๔.๔ ผูวาจางจะจายเงินที่เพิ่มขึ้นตามขอ ๔.๑ หรือ ๔.๒ ดังกลาวขางตน ในงวด

สุดทายของการจายเงินหรือกอนงวดสุดทายของการจายเงินตามที่ผูวาจางจะพิจารณาเห็นสมควร เวนแต

กรณีที่ผูวาจางพิจารณาเห็นวาปริมาณงานที่ทําเสร็จจริงดังกลาว มิไดมีสวนเกี่ยวของกับงานอื่นที่เหลือ

อีกทั้งงานที่เหลืออยูก็มิไดมีผลกระทบตอการจายเงินคางานที่แลวเสร็จจริงในงวดดังกลาว ทั้งนี้ ผูวาจาง

อาจจายเงินที่เพิ่มขึ้นใหแกผูรับจางพรอมกับการจายเงินคางานงวดนั้นๆ และการพิจารณาวางานใด

อยูในหลักเกณฑดังกลาวหรือไม เปนดุลพินิจโดยเด็ดขาดของผูวาจาง

ผูวาจางตกลงที่จะจายเงินคาจางใหแกผูรับจางเปนรายเดือนตามเนื้องานที่ทําเสร็จจริง

เมื่อผูวาจางหรือเจาหนาที่ของผูวาจางไดทําการตรวจสอบผลงานที่ทําเสร็จแลว และปรากฏวาเปนที่พอใจ

ตรงตามขอกําหนดแหงสัญญานี้ทุกประการผูวาจางจะออกหนังสือรับรองการรับมอบงานนั้น ใหไวแกผูรับจาง

การจายเงินงวดสุดทายจะจายใหเมื่องานทั้งหมดตามสัญญาไดแลวเสร็จทุกประการ

รวมทั้งการทําสถานที่กอสรางใหสะอาดเรียบรอยตามที่กําหนดไวในขอ ๒๐

(๑๒) การจายเงินตามเงื่อนไขแหงสัญญานี้ผูวาจางจะโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคาร

ของผูรับจาง ชื่อธนาคาร….....………....….………….สาขา………..….…….…..ชื่อบัญชี……………………………………

เลขที่บัญชี…………………………………ทั้งนี้ ผูรับจางตกลงเปนผูรับภาระเงินคาธรรมเนียมหรือคาบริการอื่นใด

เกี่ยวกับการโอน รวมทั้งคาใชจายอื่นใด (ถามี) ที่ธนาคารเรียกเก็บ และยินยอมใหมีการหักเงินดังกลาวจาก

จํานวนเงินโอนในงวดนั้นๆ (ความในวรรคนี้ใชสําหรับกรณีที่หนวยงานของรัฐจะจายเงินตรงใหแกผูรับจาง

(ระบบ Direct Payment) โดยการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของผูรับจาง ตามแนวทางที่กระทรวงการคลัง

หรือหนวยงานของรัฐเจาของงบประมาณเปนผูกําหนด แลวแตกรณี)

ขอ ๔ (ข) คาจางและการจายเงิน

(สําหรับสัญญาที่เปนราคาเหมารวม)

ผูวาจางตกลงจายและผูรับจางตกลงรับเงินคาจางจํานวนเงิน…………………………..บาท

(………………………………..…) ซึ่งไดรวมภาษีมูลคาเพิ่ม จํานวน…………..…………บาท (......................................)

ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และคาใชจายทั้งปวงดวยแลว โดยถือราคาเหมารวมเปนเกณฑ และกําหนดการ

จายเงินเปนงวดๆ ดังนี้

งวดที่ ๑ เปนจํานวนเงิน……………….………...บาท (…………………………………...………….)

เมื่อผูรับจางไดปฏิบัติงาน……………………………………ใหแลวเสร็จภายใน…………………………………………………..

งวดที่ ๒ เปนจํานวนเงิน…….………………...บาท (…………………………………...………….)

เมื่อผูรับจางไดปฏิบัติงาน…………………………..…..……ใหแลวเสร็จภายใน………………………………………………….

..............................................ฯลฯ.............................................

งวดสุดทาย เปนจํานวนเงิน……………..………....บาท (…………………………………...….…..)

เมื่อผูรับจางไดปฏิบัติงานทั้งหมดใหแลวเสร็จเรียบรอยตามสัญญา รวมทั้งทําสถานที่กอสรางใหสะอาด

เรียบรอยตามที่กําหนดไวในขอ ๒๐

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-53

(๑๓) การจายเงินตามเงื่อนไขแหงสัญญานี้ ผูวาจางจะโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคาร

ของผูรับจาง ชื่อธนาคาร……………….….…….….สาขา……….…..…….…….…..ชื่อบัญชี……………………………………

เลขที่บัญชี……………………………….… ทั้งนี้ ผูรับจางตกลงเปนผูรับภาระเงินคาธรรมเนียมหรือคาบริการอื่นใด

เกี่ยวกับการโอน รวมทั้งคาใชจายอื่นใด (ถามี) ที่ธนาคารเรียกเก็บ และยินยอมใหมีการหักเงินดังกลาวจาก

จํานวนเงินโอนในงวดนั้นๆ (ความในวรรคนี้ใชสําหรับกรณีที่หนวยงานของรัฐจะจายเงินตรงใหแกผูรับจาง

(ระบบ Direct Payment) โดยการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของผูรับจาง ตามแนวทางที่

กระทรวงการคลังหรือหนวยงานของรัฐเจาของงบประมาณเปนผูกําหนด แลวแตกรณี)

(๑๔) ขอ ๕ เงินคาจางลวงหนา

ผูวาจางตกลงจายเงินคาจางลวงหนาใหแกผูรับจาง เปนจํานวนเงิน…………..…..…บาท

(………………..….…) ซึ่งเทากับรอยละ……....…(……….…………....) ของราคาคาจาง ตามสัญญาที่ระบุไวในขอ ๔

เงินคาจางลวงหนาดังกลาวจะจายใหภายหลังจากที่ผูรับจางไดวางหลักประกันการรับ

เงินคาจางลวงหนาเปน............................(หนังสือค้ําประกันหรือหนังสือค้ ําประกันอิเล็กทรอนิกสของธนาคาร

ภายในประเทศหรือพันธบัตรรัฐบาลไทย)…………………....เต็มตามจํานวนเงินคาจางลวงหนานั้นใหแกผูวาจาง

ผูรับจางจะตองออกใบเสร็จรับเงินคาจางลวงหนาตามแบบที่ผูวาจางกําหนดใหและผูรับจางตกลงที่จะ

กระทําตามเงื่อนไขอันเกี่ยวกับการใชจายและการใชคืนเงินคาจางลวงหนานั้น ดังตอไปนี้

๕.๑ ผูรับจางจะใชเงินคาจางลวงหนานั้นเพื่อเปนคาใชจายในการปฏิบัติงานตามสัญญา

เทานั้น หากผูรับจางใชจายเงินคาจางลวงหนาหรือสวนใดสวนหนึ่งของเงินคาจางลวงหนานั้นในทางอื่น

ผูวาจางอาจจะเรียกเงินคาจางลวงหนานั้นคืนจากผูรับจางหรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินคาจาง

ลวงหนาไดทันที

๕.๒ เมื่อผูวาจางเรียกรอง ผูรับจางตองแสดงหลักฐานการใชจายเงินคาจางลวงหนา

เพื่อพิสูจนวาไดเปนไปตามขอ ๕.๑ ภายในกําหนด ๑๕ (สิบหา) วัน นับถัดจากวันไดรับแจงเปนหนังสือจาก

ผูวาจาง หากผูรับจางไมอาจแสดงหลักฐานดังกลาว ภายในกําหนด ๑๕ (สิบหา) วัน ผูวาจางอาจเรียกเงิน

คาจางลวงหนาคืนจากผูรับจางหรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินคาจางลวงหนาไดทันที

(๑๕) ๕.๓ (ก) (สําหรับสัญญาที่เปนราคาตอหนวย)

ในการจายเงินคาจางใหแกผูรับจางตามขอ ๔ (ก) ผูวาจางจะหักเงินคาจาง

ในแตละเดือนเพื่อชดใชคืนเงินคาจางลวงหนาไวจํานวนรอยละ................(..................) ของจํานวนเงินคาจาง

ในแตละเดือน (๑๖) ทั้งนี้ จนกวาจํานวนเงินที่หักไวจะครบตามจํานวนเงินคาจางลวงหนาที่ผูรับจางไดรับไปแลว

ยกเวนคาจางเดือนสุดทายจะหักไวเปนจํานวนเทากับจํานวนเงินคาจางลวงหนาที่เหลือทั้งหมด

(๑๗) ๕.๓ (ข) (สําหรับสัญญาที่เปนราคาเหมารวม)

ในการจายเงินคาจางใหแกผูรับจางตามขอ ๔ (ข) ผูวาจางจะหักเงินคาจาง

ในแตละงวดเพื่อชดใชคืนเงินคาจางลวงหนาไวจํานวนรอยละ..............(......................) ของจํานวนเงินคาจาง

ในแตละงวดจนกวาจํานวนเงินที่หักไวจะครบตามจํานวนเงินคาจางลวงหนาที่ผูรับจางไดรับไปแลว ยกเวน

คาจางงวดสุดทายจะหักไวเปนจํานวนเทากับจํานวนเงินคาจางลวงหนาที่เหลือทั้งหมด

๕.๔ เงินจํานวนใดๆ ก็ตามที่ผูรับจางจะตองจายใหแกผูวาจางเพื่อชําระหนี้หรือ

เพื่อชดใชความรับผิดตางๆ ตามสัญญา ผูวาจางจะหักเอาจากเงินคาจางงวดที่จะจายใหแกผูรับจางกอนที่จะ

หักชดใชคืนเงินคาจางลวงหนา

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-54

๕.๕ ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หากเงินคาจางลวงหนาที่เหลือเกินกวาจํานวนเงิน

ที่ผูรับจางจะไดรับหลังจากหักชดใชในกรณีอื่นแลว ผูรับจางจะตองจายคืนเงินจํานวนที่เหลือนั้นใหแกผูวาจาง

ภายใน ๗ (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

๕.๖ (ก) (สําหรับสัญญาที่เปนราคาตอหนวย)

ผูวาจางจะคืนหลักประกันการรับเงินคาจางลวงหนาใหแกผูรับจาง ตอเมื่อ

ผูวาจางไดหักเงินคาจางไวครบจํานวนเงินคาจางลวงหนาตามขอ ๕.๓ (ก)

๕.๖ (ข) (สําหรับสัญญาที่เปนราคาเหมารวม)

ผูวาจางจะคืนหลักประกันการรับเงินคาจางลวงหนาใหแกผูรับจาง

ตอเมื่อผูวาจางไดหักเงินคาจางไวครบจํานวนเงินคาจางลวงหนาตามขอ ๕.๓ (ข)

(๑8) ขอ ๖ การหักเงินประกันผลงาน

ในการจายเงินคาจางใหแกผูรับจางแตละงวด ผูวาจางจะหักเงินจํานวนรอยละ

...................(…………………) ของเงินที่ตองจายในงวดนั้นเพื่อเปนประกันผลงาน ในกรณีที่เงินประกันผลงาน

ถูกหักไวแลวเปนจํานวนเงินไมต่ํากวา……….............บาท (……………………...) ผูรับจางมีสิทธิที่จะ

ขอเงินประกันผลงานคืน โดยนําหนังสือค้ําประกันของธนาคารหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสซึ่งออก

โดยธนาคารภายในประเทศมามอบใหผูวาจางเพื่อเปนหลักประกันแทนก็ได

ผูวาจางจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ําประกันของธนาคารดังกลาว

ตามวรรคหนึ่งโดยไมมีดอกเบี้ยใหแกผูรับจางพรอมกับการจายเงินคาจางงวดสุดทาย

ขอ ๗ (ก) กําหนดเวลาแลวเสร็จและสิทธิของผูวาจางในการบอกเลิกสัญญา

(19) ภายในกําหนด………………......(.....................) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา

ผูรับจางจะตองเสนอแผนงานใหเปนที่พอใจแกผูวาจาง โดยแสดงถึงขั้นตอนของการทํางานและกําหนดเวลา

ที่ตองใชในการทํางานหลักตางๆ ใหแลวเสร็จ

ผูรับจางตองเริ่มทํางานที่รับจางภายในกําหนด…………....(...................) วัน นับถัดจาก

วันที่ไดรับหนังสือแจงใหเริ่มงาน และจะตองทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนด………………..(...................) วัน

นับถัดจากวันที่ไดรับหนังสือแจงดังกลาวนั้น

ถาผูรับจางมิไดเสนอแผนงาน หรือมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาหรือไมสามารถ

ทํางานใหแลวเสร็จตามกําหนดเวลา หรือมีเหตุใหเชื่อไดวาผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จภายใน

กําหนดเวลา หรือจะแลวเสร็จลาชาเกินกวากําหนดเวลา หรือผูรับจางทําผิดสัญญาขอใดขอหนึ่ง หรือตกเปน

ผูถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด หรือตกเปนผูลมละลาย หรือเพิกเฉยไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ

ตรวจรับพัสดุหรือผูควบคุมงานหรือบริษัทที่ปรึกษาซึ่งไดรับมอบอํานาจจากผูวาจาง ผูวาจางมีสิทธิที่จะ

บอกเลิกสัญญานี้ได และมีสิทธิจางผูรับจางรายใหมเขาทํางานของผูรับจางใหลุลวงไปไดดวย การใชสิทธิ

บอกเลิกสัญญานั้นไมกระทบสิทธิของผูวาจางที่จะเรียกรองคาเสียหายจากผูรับจาง

การที่ผูวาจางไมใชสิทธิเลิกสัญญาดังกลาวขางตนนั้น ไมเปนเหตุใหผูรับจางพนจาก

ความรับผิดตามสัญญา

ขอ ๗ (ข) กําหนดเวลาแลวเสร็จและสิทธิของผูวาจางในการบอกเลิกสัญญา

ผูรับจางตองเริ่มทํางานที่รับจางภายในวันที่ ….... เดือน ..………….…………… พ.ศ. …….

และจะตองทํางานใหแลวเสร็จบริบูรณภายในวันที่ ….... เดือน ..………….….. พ.ศ. ...…. ถาผูรับจางมิไดลงมือ

ทํางานภายในกําหนดเวลา หรือไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จตามกําหนดเวลา หรือมีเหตุใหเชื่อไดวา

ผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลา หรือจะแลวเสร็จลาชาเกินกวากําหนดเวลา

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-55

หรือผูรับจางทําผิดสัญญาขอใดขอหนึ่ง หรือตกเปนผูถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด หรือตกเปนผูลมละลาย

หรือเพิกเฉยไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผูควบคุมงานหรือบริษัทที่ปรึกษา

ซึ่งไดรับมอบอํานาจจากผูวาจาง ผูวาจางมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได และมีสิทธิจางผู รับจางรายใหม

เขาทํางานของผูรับจางใหลุลวงไปดวย การใชสิทธิบอกเลิกสัญญานั้นไมกระทบสิทธิของผูวาจางที่จะ

เรียกรองคาเสียหายจากผูรับจาง

การที่ผูวาจางไมใชสิทธิเลิกสัญญาดังกลาวขางตนไมเปนเหตุใหผูรับจางพนจาก

ความรับผิดตามสัญญา

ขอ ๘ ความรับผิดชอบในความชํารุดบกพรองของงานจาง

เมื่องานแลวเสร็จบริบูรณ และผูวาจางไดรับมอบงานจากผูรับจางหรือจากผูรับจาง

รายใหม ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญาตามขอ ๗ หากมีเหตุชํารุดบกพรองหรือเสียหายเกิดขึ้นจากการจางนี้

ภายในกําหนด.......(๒0)..…..(……..….…..) ป …….…(………....….) เดือน นับถัดจากวันที่ไดรับมอบงานดังกลาว

ซึ่งความชํารุดบกพรองหรือเสียหายนั้นเกิดจากความบกพรองของผูรับจางอันเกิดจากการใชวัสดุที่ไมถูกตอง

หรือทําไวไมเรียบรอย หรือทําไมถูกตองตามมาตรฐานแหงหลักวิชา ผูรับจางจะตองรีบทําการแกไข

ใหเปนที่เรียบรอยโดยไมชักชา โดยผูวาจางไมตองออกเงินใดๆ ในการนี้ทั้งสิ้น หากผูรับจาง

ไมกระทําการดังกลาวภายในกําหนด………..(………..……) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

หรือไมทําการแกไขใหถูกตองเรียบรอยภายในเวลาที่ผูวาจางกําหนด ใหผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการนั้นเอง

หรือจางผูอื่นใหทํางานนั้น โดยผูรับจางตองเปนผูออกคาใชจายเองทั้งสิ้น

ในกรณีเรงดวนจําเปนตองรีบแกไขเหตุชํารุดบกพรองหรือเสียหายโดยเร็ว และไมอาจ

รอใหผูรับจางแกไขในระยะเวลาที่กําหนดไวตามวรรคหนึ่งได ผูวาจางมีสิทธิเขาจัดการแกไขเหตุชํารุด

บกพรองหรือเสียหายนั้นเอง หรือจางผูอื่นใหซอมแซมความชํารุดบกพรองหรือเสียหาย โดยผู รับจาง

ตองรับผิดชอบชําระคาใชจายทั้งหมด

การที่ผูวาจางทําการนั้นเอง หรือจางผูอื่นใหทํางานนั้นแทนผูรับจาง ไมทําใหผูรับจาง

หลุดพนจากความรับผิดตามสัญญา หากผูรับจางไมชดใชคาใชจายหรือคาเสียหายตามที่ผูวาจางเรียกรอง

ผูวาจางมีสิทธิบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาได

ขอ ๙ การจางชวง

ผูรับจางจะตองไมเอางานทั้งหมดหรือแตบางสวนแหงสัญญานี้ไปจางชวงอีกทอดหนึ่ง

เวนแตการจางชวงงานแตบางสวนที่ไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางแลว การที่ผูวาจางไดอนุญาต

ใหจางชวงงานแตบางสวนดังกลาวนั้น ไมเปนเหตุใหผูรับจางหลุดพนจากความรับผิดหรือพันธะหนาที่

ตามสัญญานี้ และผูรับจางจะยังคงตองรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเลอของผูรับจางชวง

หรือของตัวแทนหรือลูกจางของผูรับจางชวงนั้นทุกประการ

กรณีผูรับจางไปจางชวงงานแตบางสวนโดยฝาฝนความในวรรคหนึ่ง ผูรับจาง

ตองชําระคาปรับใหแกผูวาจางเปนจํานวนเงินในอัตรารอยละ..........(๒1)….......(.........................) ของวงเงิน

ของงานที่จางชวงตามสัญญา ทั้งนี้ ไมตัดสิทธิผูวาจางในการบอกเลิกสัญญา

ขอ ๑๐ การควบคุมงานของผูรับจาง

ผูรับจางจะตองควบคุมงานที่รับจางอยางเอาใจใสดวยประสิทธิภาพและความชํานาญ

และในระหวางทํางานที่รับจางจะตองจัดใหมีผูแทนซึ่งทํางานเต็มเวลาเปนผูรับผิดชอบควบคุมงาน

ของผูรับจาง ผูแทนดังกลาวจะตองไดรับมอบอํานาจจากผูรับจาง คําสั่งหรือคําแนะนําตางๆ ที่ผูวาจาง

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษาที่ผูวาจางแตงตั้งไดแจงแกผูแทนเชนวานั้น

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-56

ใหถือวาเปนคําสั่งหรือคําแนะนําที่ไดแจงแกผูรับจาง การแตงตั้งผูแทนตามขอนี้จะตองทําเปนหนังสือ

และตองไดรับความเห็นชอบเปนหนังสือจากผูวาจาง การเปลี่ยนตัวหรือแตงตั้งผูแทนใหมจะทํามิได

หากไมไดรับความเห็นชอบเปนหนังสือจากผูวาจางกอน

ผูวาจางมีสิทธิที่จะขอใหเปลี่ยนตัวผูแทนตามวรรคหนึ่ง โดยแจงเปนหนังสือไปยัง

ผูรับจาง และผูรับจางจะตองทําการเปลี่ยนตัวผูแทนนั้นโดยพลัน โดยไมคิดคาจางหรือราคาเพิ่ม

หรืออางเปนเหตุเพื่อขยายอายุสัญญาอันเนื่องมาจากเหตุนี้

ขอ ๑๑ ความรับผิดของผูรับจาง

ผูรับจางจะตองรับผิดตออุบัติเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใดๆ อันเกิดจาก

การปฏิบัติงานของผูรับจาง และจะตองรับผิดตอความเสียหายจากการกระทําของลูกจางหรือตัวแทน

ของผูรับจาง และจากการปฏิบัติงานของผูรับจางชวงดวย (ถามี)

ความเสียหายใดๆ อันเกิดแกงานที่ผูรับจางไดทําขึ้น แมจะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัย

ก็ตาม ผูรับจางจะตองรับผิดชอบโดยซอมแซมใหคืนดีหรือเปลี่ยนใหใหมโดยคาใชจายของผูรับจางเอง เวนแต

ความเสียหายนั้นเกิดจากความผิดของผูวาจาง ทั้งนี ้ ความรับผิดของผูรับจางดังกลาวในขอนี้จะสิ้นสุดลง

เมื่อผูวาจางไดรับมอบงานครั้งสุดทาย ซึ่งหลังจากนั้นผูรับจางคงตองรับผิดเพียงในกรณีชํารุดบกพรอง

หรือความเสียหายดังกลาวในขอ ๘ เทานั้น

ผูรับจางจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในความเสียหายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงาน

ของผูรับจาง หรือลูกจางหรือตัวแทนของผูรับจาง รวมถึงผูรับจางชวง (ถามี) ตามสัญญานี้ หากผูวาจาง

ถูกเรียกรองหรือฟองรองหรือตองชดใชคาเสียหายใหแกบุคคลภายนอกไปแลว ผูรับจางจะตองดําเนินการใดๆ

เพื่อใหมีการวาตางแกตางใหแกผูวาจางโดยคาใชจายของผูรับจางเอง รวมทั้งผูรับจางจะตองชดใช

คาเสียหายนั้นๆ ตลอดจนคาใชจายใดๆ อันเกิดจากการถูกเรียกรองหรือถูกฟองรองใหแกผูวาจางทันที

ขอ ๑๒ การจายเงินแกลูกจาง

ผูรับจางจะตองจายเงินแกลูกจางที่ผูรับจางไดจางมาในอัตราและตามกําหนดเวลา

ที่ผูรับจางไดตกลงหรือทําสัญญาไวตอลูกจางดังกลาว

ถาผูรับจางไมจายเงินคาจางหรือคาทดแทนอื่นใดแกลูกจางดังกลาวในวรรคหนึ่ง

ผูวาจางมีสิทธิที่จะเอาเงินคาจางที่จะตองจายแกผูรับจางมาจายใหแกลูกจางของผูรับจางดังกลาว และใหถือวา

ผูวาจางไดจายเงินจํานวนนั้นเปนคาจางใหแกผูรับจางตามสัญญาแลว

ผูรับจางจะตองจัดใหมีประกันภัยสําหรับลูกจางทุกคนที่จางมาทํางาน โดยให

ครอบคลุมถึงความรับผิดทั้งปวงของผูรับจาง รวมทั้งผูรับจางชวง (ถามี) ในกรณีความเสียหายที่คิดคาสินไหม

ทดแทนไดตามกฎหมาย ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุหรือภยันตรายใดๆ ตอลูกจางหรือบุคคลอื่นที่ผูรับจาง

หรือผูรับจางชวงจางมาทํางาน ผูรับจางจะตองสงมอบกรมธรรมประกันภัยดังกลาวพรอมทั้งหลักฐาน

การชําระเบี้ยประกันใหแกผูวาจางเมื่อผูวาจางเรียกรอง

ขอ ๑๓ การตรวจงานจาง

ถาผูวาจางแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษา

เพื่อควบคุมการทํางานของผูรับจาง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น

มีอํานาจเขาไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที ่กอสรางไดทุกเวลา และผูรับจางจะตองอํานวย

ความสะดวกและใหความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร

การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทําให

ผูรับจางพนความรับผิดชอบตามสัญญานี้ขอใดขอหนึ่งไม

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-57

ขอ ๑๔ แบบรูปและรายการละเอียดคลาดเคลื่อน

ผูรับจางรับรองวาไดตรวจสอบและทําความเขาใจในแบบรูปและรายการละเอียด

โดยถี่ถวนแลว หากปรากฏวาแบบรูปและรายการละเอียดนั้นผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนไปจากหลักการ

ทางวิศวกรรมหรือทางเทคนิค ผูรับจางตกลงที่จะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผูวาจาง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

ผูควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษาที่ผูวาจางแตงตั้ง เพื่อใหงานแลวเสร็จบริบูรณ คําวินิจฉัยดังกลาว

ใหถือเปนที่สุด โดยผูรับจางจะคิดคาจาง คาเสียหาย หรือคาใชจายใดๆ เพิ่มขึ้นจากผูวาจาง หรือขอขยาย

อายุสัญญาไมได

ขอ ๑๕ การควบคุมงานโดยผูวาจาง

ผูรับจางตกลงวาคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษา

ที่ผูวาจางแตงตั้ง มีอํานาจที่จะตรวจสอบและควบคุมงานเพื่อใหเปนไปตามสัญญานี้และมีอํานาจที่จะสั่งให

แกไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือตัดทอนซึ่งงานตามสัญญานี้ หากผูรับจางขัดขืนไมปฏิบัติตาม ผูวาจาง

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษา มีอํานาจที่จะสั่งใหหยุดการนั้นชั่วคราวได

ความลาชาในกรณีเชนนี้ ผูรับจางจะถือเปนเหตุขอขยายระยะเวลาการปฏิบัติงานตามสัญญาหรือเรียกรอง

คาเสียหายใดๆ ไมไดทั้งสิ้น

ขอ ๑๖ งานพิเศษและการแกไขงาน

ผูวาจางมีสิทธิที่จะสั่งเปนหนังสือใหผูรับจางทํางานพิเศษซึ่งไมไดแสดงไวหรือรวมอยู

ในเอกสารสัญญานี้ หากงานพิเศษนั้นๆ อยูในขอบขายทั่วไปแหงวัตถุประสงคของสัญญานี้ นอกจากนี้

ผูวาจางยังมีสิทธิสั่งใหเปลี่ยนแปลงหรือแกไขแบบรูปและขอกําหนดตางๆ ในเอกสารสัญญานี้ดวย

อัตราคาจางหรือราคาที่กําหนดไวในสัญญานี้ ใหกําหนดใชสําหรับงานพิเศษ

หรืองานที่เพิ่มเติมขึ้น หรือตัดทอนลงทั้งปวงตามคําสั่งของผูวาจาง หากในสัญญาไมไดกําหนดไวถึง

อัตราคาจาง หรือราคาใดๆ ที่จะนํามาใชสําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงดังกลาว ผูวาจาง

และผูรับจางจะไดตกลงกันที่จะกําหนดอัตราคาจางหรือราคาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง รวมทั้งการขยาย

ระยะเวลา (ถามี) กันใหมเพื่อความเหมาะสม ในกรณีที่ตกลงกันไมได ผูวาจางจะกําหนดอัตราจางหรือราคา

ตามแตผูวาจางจะเห็นวาเหมาะสมและถูกตอง ซึ่งผูรับจางจะตองปฏิบัติงานตามคําสั่งของผูวาจางไปกอน

เพื่อมิใหเกิดความเสียหายแกงานที่จาง

ขอ ๑๗ คาปรับ

หากผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จภายในเวลาที่กําหนดไวในสัญญา

และผูวาจางยังมิไดบอกเลิกสัญญา ผูรับจางจะตองชําระคาปรับใหแกผูวาจางเปนจํานวนเงินวันละ

…........(๒2)……..….บาท (……...................………...) และจะตองชําระคาใชจายในการควบคุมงาน (ถามี)

ในเมื่อผูวาจางตองจางผูควบคุมงานอีกตอหนึ่งเปนจํานวนเงินวันละ…....(๒3)….....บาท (…..................)

นับถัดจากวันที่ครบกําหนดเวลาแลวเสร็จของงานตามสัญญาหรือวันที่ผูวาจางไดขยายเวลาทํางานให

จนถึงวันที่ทํางานแลวเสร็จจริง นอกจากนี้ ผูรับจางยอมใหผูวาจางเรียกคาเสียหายอันเกิดขึ้นจากการที่

ผูรับจางทํางานลาชาเฉพาะสวนที่เกินกวาจํานวนคาปรับและคาใชจายดังกลาวไดอีกดวย

ในระหวางที่ผูวาจางยังมิไดบอกเลิกสัญญานั้น หากผูวาจางเห็นวาผูรับจางจะไมสามารถ

ปฏิบัติตามสัญญาตอไปได ผูวาจางจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญาและใชสิทธิตามขอ ๑๘ ก็ได และถาผูวาจาง

ไดแจงขอเรียกรองไปยังผูรับจางเมื ่อครบกําหนดเวลาแลวเสร็จของงานขอใหชําระคาปรับแลว ผูวาจางมีสิทธิ

ที่จะปรับผูรับจางจนถึงวันบอกเลิกสัญญาไดอีกดวย

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-58

ขอ ๑๘ สิทธิของผูวาจางภายหลังบอกเลิกสัญญา

ในกรณีที่ผูวาจางบอกเลิกสัญญา ผูวาจางอาจทํางานนั้นเองหรือวาจางผูอื่นใหทํางานนั้น

ตอจนแลวเสร็จก็ได ผูวาจางหรือผูที่รับจางทํางานนั้นตอมีสิทธิใชเครื่องใชในการกอสราง สิ่งที่สรางขึ้น

ชั่วคราวสําหรับงานกอสราง และวัสดุตางๆ ซึ่งเห็นวาจะตองสงวนเอาไวเพื่อการปฏิบัติงานตามสัญญา

ตามที่จะเห็นสมควร

ในกรณีดังกลาว ผูวาจางมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

ทั ้งหมดหรือบางสวน ตามแตจะเห็นสมควร นอกจากนั้น ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในคาเสียหายซึ่งเปน

จํานวนเกินกวาหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา รวมทั้งคาใชจายที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นตอใหแลวเสร็จ

ตามสัญญา ตลอดจนคาใชจายในการควบคุมงานเพิ่ม (ถามี) ซึ่งผูวาจางจะหักเอาจากเงินประกันผลงานหรือ

จํานวนเงินใดๆ ที่จะจายใหแกผูรับจางก็ได

ขอ ๑๙ การบังคับคาปรับ คาเสียหาย และคาใชจาย

ในกรณีที ่ผูรับจางไมปฏิบัติตามสัญญาขอใดขอหนึ่งดวยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเปนเหตุ

ใหเกิดคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายแกผูวาจาง ผูรับจางตองชดใชคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจาย

ดังกลาวใหแกผูวาจางโดยสิ้นเชิงภายในกําหนด....................(.....................) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจง

เปนหนังสือจากผูวาจาง หากผูรับจางไมชดใชใหถูกตองครบถวนภายในระยะเวลาดังกลาวใหผูวาจาง

มีสิทธิที่จะหักเอาจากจํานวนเงินคาจางที่ตองชําระ หรือจากเงินประกันผลงานของผูรับจาง หรือบังคับจาก

หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาไดทันที

หากคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายที่บังคับจากเงินคาจางที่ตองชําระ เงินประกัน

ผลงานหรือหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาแลวยังไมเพียงพอ ผูรับจางยินยอมชําระสวนที่เหลือที่ยังขาดอยู

จนครบถวนตามจํานวนคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายนั้น ภายในกําหนด..................(......................) วัน

นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

หากมีเงินคาจางตามสัญญาที ่หักไวจายเปนคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายแลว

ยังเหลืออยูอีกเทาใด ผูวาจางจะคืนใหแกผูรับจางทั้งหมด

ขอ ๒๐ การทําบริเวณกอสรางใหเรียบรอย

ผูรับจางจะตองรักษาบริเวณสถานที่ปฏิบัติงานตามสัญญานี้ รวมทั้งโรงงานหรือ

สิ่งอํานวยความสะดวกในการทํางานของผูรับจางลูกจาง ตัวแทน หรือผูรับจางชวง (ถามี) ใหสะอาด ปลอดภัย

และมีประสิทธิภาพในการใชงานตลอดระยะเวลาการจาง และเมื่อทํางานเสร็จสิ้นแลวจะตองขนยาย

บรรดาเครื่องใชในการทํางานจางรวมทั้งวัสดุ ขยะมูลฝอย และสิ่งกอสรางชั่วคราวตางๆ (ถามี) ทั้งจะตอง

กลบเกลี่ยพื้นดินใหเรียบรอยเพื่อใหบริเวณทั้งหมดอยูในสภาพที่สะอาดและใชการไดทันที

ขอ ๒๑ การงดหรือลดคาปรับ หรือการขยายเวลาปฏิบัติงานตามสัญญา

ในกรณีที่มีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของฝายผูวาจาง หรือเหตุสุดวิสัย

หรือเกิดจากพฤติการณอันหนึ่งอันใดที่ผูรับจางไมตองรับผิดตามกฎหมาย หรือเหตุอื่นตามที่กําหนด

ในกฎกระทรวง ซึ่งออกตามความในกฎหมายวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ ทําให

ผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จตามเงื่อนไขและกําหนดเวลาแหงสัญญานี้ได ผูรับจางจะตองแจงเหตุ

หรือพฤติการณดังกลาวพรอมหลักฐานเปนหนังสือใหผูวาจางทราบ เพื่อของดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลา

ทํางานออกไปภายใน ๑๕ (สิบหา) วันนับถัดจากวันที่เหตุนั้นสิ้นสุดลง หรือตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

ดังกลาว แลวแตกรณี

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-59

ถาผูรับจางไมปฏิบัติใหเปนไปตามความในวรรคหนึ่ง ใหถือวาผูรับจางไดสละสิทธิ

เรียกรองในการที่จะของดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํางานออกไปโดยไมมีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น เวนแต

กรณีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของฝายผูวาจางซึ่งมีหลักฐานชัดแจงหรือผูวาจางทราบดีอยูแลว

ตั้งแตตน

การงดหรือลดคาปรับ หรือขยายกําหนดเวลาทํางานตามวรรคหนึ่ง อยูในดุลพินิจของ

ผูวาจางที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควร

(๒4) ขอ ๒๒ การใชเรือไทย

ในการปฏิบัติตามสัญญานี้ หากผูรับจางจะตองสั่งหรือนําของเขามาจากตางประเทศ

รวมทั้งเครื่องมือและอุปกรณที่ตองนําเขามาเพื่อปฏิบัติงานตามสัญญา ไมวาผูรับจางจะเปนผูที่นําของเขามาเอง

หรือนําเขามาโดยผานตัวแทนหรือบุคคลอื่นใด ถาสิ่งของนั้นตองนําเขามาโดยทางเรือในเสนทางเดินเรือ

ที่มีเรือไทยเดินอยูและสามารถใหบริการรับขนไดตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมประกาศกําหนด

ผูรับจางตองจัดการใหสิ่งของดังกลาวบรรทุกโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเชนเดียวกับเรือไทยจากตางประเทศ

มายังประเทศไทย เวนแตจะไดรับอนุญาตจากกรมเจาทากอนบรรทุกของนั้นลงเรืออื่นที่มิใชเรือไทยหรือ

เปนของที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมประกาศยกเวนใหบรรทุกโดยเรืออื่นได ทั้งนี้ไมวาการสั่งหรือ

นําเขาสิ่งของดังกลาวจากตางประเทศจะเปนแบบใด

ในการสงมอบงานตามสัญญาใหแกผูวาจาง ถางานนั้นมีสิ่งของตามวรรคหนึ่ง

ผูรับจางจะตองสงมอบใบตราสง (Bill of Lading) หรือสําเนาใบตราสงสําหรับของนั้น ซึ่งแสดงวาไดบรรทุก

มาโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเชนเดียวกับเรือไทยใหแกผูวาจางพรอมกับการสงมอบงานดวย

ในกรณีที่สิ่งของดังกลาวไมไดบรรทุกจากตางประเทศมายังประเทศไทยโดยเรือไทย

หรือเรือที่มีสิทธิเชนเดียวกับเรือไทย ผูรับจางตองสงมอบหลักฐานซึ่งแสดงวาไดรับอนุญาตจากกรมเจาทา

ใหบรรทุกของโดยเรืออื่นไดหรือหลักฐานซึ่งแสดงวาไดชําระคาธรรมเนียมพิเศษเนื่องจากการไมบรรทุกของ

โดยเรือไทยตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการพาณิชยนาวีแลวอยางใดอยางหนึ่งแกผูวาจางดวย

ในกรณีที่ผูรับจางไมสงมอบหลักฐานอยางใดอยางหนึ่งดังกลาวในวรรคสองและ

วรรคสามใหแกผูวาจาง แตจะขอสงมอบงานดังกลาวใหผูวาจางกอนโดยไมรับชําระเงินคาจาง ผูวาจางมีสิทธิ

รับงานดังกลาวไวกอน และชําระเงินคาจางเมื่อผูรับจางไดปฏิบัติถูกตองครบถวนดังกลาวแลวได

ขอ ๒๓ มาตรฐานฝมือชาง

ผูรับจางตกลงเปนเงื่อนไขสําคัญวา ผูรับจางจะตองมีและใชผูผานการทดสอบ

มาตรฐานฝมือชาง จาก ........................................................... หรือผูมีวุฒิบัตรระดับ ปวช. ปวส. หรือ ปวท.

หรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรองใหเขารับราชการได ในอัตราไมต่ํากวารอยละ……(……..)

ของแตละสาขาชาง แตจะตองมีชางจํานวนอยางนอย ๑ (หนึ่ง) คน ในแตละสาขาชางดังตอไปนี้

๒๓.๑ …………………………………………………..……

๒๓.๒ ……………………………………………….….……

…………………………..ฯลฯ……………….……

ผูรับจางจะตองจัดทําบัญชีแสดงจํานวนชางทั้งหมดโดยจําแนกตามแตละสาขาชาง

และระดับชาง พรอมกับระบุรายชื่อชางผูที ่ผานการทดสอบมาตรฐานฝมือชางหรือผูมีวุฒิบัตรดังกลาว

ในวรรคหนึ่ง นํามาแสดงพรอมหลักฐานตางๆ ตอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือผูควบคุมงานกอนเริ่มลงมือ

ทํางาน และพรอมที่จะใหผูวาจางหรือเจาหนาที่ของผูวาจางตรวจสอบดูไดตลอดเวลาทํางานตามสัญญานี้

ของผูรับจาง

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-60

สัญญานี ้ทําขึ้นเปนสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความ

โดยละเอียดตลอดแลว จึงไดลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยาน

และคูสัญญาตางยึดถือไวฝายละหนึ่งฉบับ

(ลงชื่อ)…………………………………………...ผูวาจาง

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)…………………………………..……….ผูรับจาง

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)………………………………………..….พยาน

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)………………………………..………….พยาน

(……........……...…………………….)

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-61

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาจางกอสราง

(๑) ใหระบุเลขที่สัญญาในปงบประมาณหนึ่งๆ ตามลําดับ

(๒) ใหระบุชื่อของหนวยงานของรัฐที่เปนนิติบุคคล เชน กรม ก. หรือรัฐวิสาหกิจ ข. เปนตน

(๓) ใหระบุชื่อและตําแหนงของหัวหนาหนวยงานของรัฐที่เปนนิติบุคคลนั้น หรือผูที่ไดรับมอบอํานาจ

เชน นาย ก. อธิบดีกรม……………...หรือ นาย ข. ผูไดรับมอบอํานาจจากอธิบดีกรม………………..

(๔) ใหระบุชื่อผูรับจาง

ก. กรณีนิติบุคคล เชน หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด

ข. กรณีบุคคลธรรมดา ใหระบุชื่อและที่อยู

(๕) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(๖) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(๗) ใหระบุงานที่ตองการจาง

(๘) “หลักประกัน” หมายถึง หลักประกันที่ผูรับจางนํามามอบไวแกหนวยงานของรัฐเมื่อลงนาม

ในสัญญา เพื่อเปนการประกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามสัญญา ดังนี้

(๑) เงินสด

(๒) เช็คหรือดราฟท ที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย ซึ่งเปนเช็คหรือดราฟทลงวันที่ที่ใชเช็ค

หรือดราฟทนั้นชําระตอเจาหนาที่ หรือกอนวันนั้นไมเกิน ๓ วันทําการ

(๓) หนังสือคํ้าประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอยางที่คณะกรรมการนโยบาย

กําหนด โดยอาจเปนหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได

(๔) หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาต

ใหประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคาร

แหงประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแหงประเทศไทยแจงเวียนใหทราบ โดยอนุโลม

ใหใชตามตัวอยางหนังสือค้ําประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด

(๕) พันธบัตรรัฐบาลไทย

(๙) ใหกําหนดจํานวนเงินหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาตามระเบียบกระทรวงการคลัง

วาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๑๖๘

(๑๐) เปนขอความหรืองเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(๑๑) อัตรารอยละที่ระบุไวตอไปนี้ อาจพิจารณาแกไขไดตามความเหมาะสม

(๑๒) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๑๓) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๑๔) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๑๕) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-62

(๑๖) ในกรณีที่หนวยงานผูวาจางเห็นเปนการจําเปนและสมควรจะหักคาจางในแตละเดือน

ไวจํานวนทั้งหมดก็ได

(๑๗) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือ

ตัดออกไดตามขอเท็จจริง

(๑8) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(19) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๒0) กําหนดเวลาที่ผูรับจางจะรับผิดในความชํารุดบกพรอง โดยปกติจะตองกําหนด

ไมนอยกวา ๒ ป นับถัดจากวันที่ผูรับจางไดรับมอบงานจางกอสราง

(๒1) อัตราคาปรับตามสัญญาขอ ๙ กรณีผูรับจางไปจางชวงบางสวนโดยไมไดรับอนุญาต

จากผูวาจาง ตองกําหนดคาปรับเปนจํานวนเงินไมนอยกวารอยละสิบของวงเงินของงานที่จางชวงตามสัญญา

(๒2) อัตราคาปรับตามสัญญาขอ ๑๗ ใหกําหนดเปนรายวันในอัตราระหวางรอยละ

๐.๐๑-๐.๑๐ ของราคางานจางนั้น ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุ

ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๑๖๒ สวนกรณีจะปรับรอยละเทาใด ใหอยูในดุลพินิจของหนวยงานของรัฐ

ผูวาจางที่จะพิจารณา โดยคํานึงถึงราคาและลักษณะของพัสดุที่จาง ซึ่งอาจมีผลกระทบตอการที่ผูรับจาง

จะหลีกเลี่ยงไมปฏิบัติตามสัญญา แตทั้งนี้การที่จะกําหนดคาปรับเปนรอยละเทาใด จะตองกําหนดไว

ในเอกสารเชิญชวนดวย

(๒3) ถาตองจายคาควบคุมงานวันละเทาใด ใหเรียกคาควบคุมงานจากผูรับจางวันละเทานั้น

ตามจํานวนที่ลวงเลยกําหนดสัญญาไป แตสัญญาขอนี้ไมรวมถึงคาควบคุมงานในกรณีที่ตองตออายุสัญญา

(๒4) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


แบบสัญญา

สัญญาจางออกแบบและควบคุมงานกอสราง

3-63

สัญญาเลขที่………….……(๑)...........……..……

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ ....………………..……………………………..………………………………………………….......

ตําบล/แขวง………………..………..………………….………………...อําเภอ/เขต……………………….….……………………………...

จังหวัด…….…………………………………….………. เมื่อวันที่ ……….……… เดือน …………………………….. พ.ศ. ……....………

ระหวาง…………………………….………………….……………………… (๒) ……….………………………………………………………………..

โดย………...…………….……………………………………….……..…… (๓) …….…..…………………………………………..…………………

ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ …………….……..………..…… (๔ ก) ……………...………………….….

ซึ่งจดทะเบียนเปนนิติบุคคล ณ ……………………………………..………………………………………………………….………….……..

มีสํานักงานใหญอยูเลขที่…………………….....……ถนน……………….……..………..ตําบล/แขวง…….……….…..……….…....

อําเภอ/เขต………………………………..…….จังหวัด………..…………………..….โดย………….…………………………………..……...

ผูมีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลปรากฏตามหนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัท......……………..……

ลงวันที่………………………….…...… (๕) (และหนังสือมอบอํานาจลงวันที่...……………….…..........…..) แนบทายสัญญานี้

(๖) (ในกรณีที่ผูใหบริการเปนบุคคลธรรมดาใหใชขอความวา กับ ……………………........….… (๔ ข) ………………….....

อยูบานเลขที่ ……………………...….…..….ถนน…………………..……..…...……ตําบล/แขวง……..………………….….…………….

อําเภอ/เขต…………………….…………………...…..จังหวัด…………...…..…………………...……. ผูถือบัตรประจําตัวประชาชน

เลขที่..................................... ดังปรากฏตามสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนแนบทายสัญญานี้) ซึ่งตอไปในสัญญานี้

เรียกวา “ผูใหบริการ” อีกฝายหนึ่ง

ทั้งสองฝายไดตกลงทําสัญญากันมีขอความดังตอไปนี้

ภาค ก. การออกแบบ

ขอ ๑ ขอตกลงวาจางงานออกแบบ

๑.๑ ผูวาจางตกลงจางและผูใหบริการตกลงรับจางออกแบบ.............................……(ชื่อโครงการ

และรายละเอียดที่สําคัญทุกรายการ)………...........................................................................................................…….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

....................................................................................................................................................................................

ตามขอกําหนดและเงื่อนไขแหงสัญญานี้รวมทั้งเอกสารแนบทายสัญญาผนวก ................... โดยผู ใหบริการจะตอง

ปฏิบัติงานใหเปนไปตามหลักวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพทางดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม และบทบัญญัติ

แหงกฎหมายที่เกี่ยวของ

๑.๒ ผูใหบริการจะตองเริ่มลงมือทํางานภายในวันที่ …..… เดือน ………………..….. พ.ศ. …….…

และจะตองดําเนินการออกแบบตามสัญญานี้ใหแลวเสร็จภายในวันที่ ……... เดือน ……………………… พ.ศ. …..…..

ขอ ๒ เอกสารอันเปนสวนหนึ่งของสัญญา

เอกสารแนบทายสัญญาดังตอไปนี้ ใหถือเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้

๒.๑ ผนวก ๑ ……….(………………….)………… จํานวน………..(………………) หนา

๒.๒ ผนวก ๒ ……….(………………….)………… จํานวน………..(………………) หนา

…………………………………...ฯลฯ……………..…………………….

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-64

ความใดในเอกสารแนบทายสัญญาที่ขัดหรือแยงกับขอความในสัญญานี้ ใหใชขอความ

ในสัญญานี้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบทายสัญญาขัดแยงกันเอง ผูใหบริการจะตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของ

ผูวาจาง คําวินิจฉัยของผู วาจางใหถือเปนที ่สุด และผูใหบริการไมมีสิทธิเรียกรองคาจาง คาเสียหาย หรือคาใชจายใดๆ

เพิ่มเติมจากผูวาจางทั้งสิ้น

ขอ ๓ คาจางงานออกแบบและการจายเงิน

๓.๑ ผูวาจางและผูใหบริการ ไดตกลงราคาคาจางงานออกแบบตามสัญญานี้ เปนจํานวนเงิน

ทั้งสิ้น……………………..บาท (……………..………….……..) ซึ่งไดรวมภาษีมูลคาเพิ่มเปนเงินจํานวน……………………..บาท

(………………………………….…) ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และคาใชจายทั้งปวงดวยแลว

๓.๒ ผูวาจางตกลงจายคาจางใหแกผูใหบริการเปนงวดๆ ดังนี้

งวดที่ ๑ จํานวนรอยละ……...(……..) ของคาจางงานออกแบบตามขอ ๓.๑ เปนเงิน…………...

บาท (……………………………) จะจายใหเมื่อ.……………….…..…และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดพิจารณาแลวเห็นวา

ครบถวนถูกตองและตรวจรับเรียบรอยแลว

งวดที่ ๒ จํานวนรอยละ……..(……….) ของคาจางงานออกแบบตามขอ ๓.๑ เปนเงิน…………...

บาท (…………………..………) จะจายใหเมื่อ……………….…….…และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดพิจารณาแลวเห็นวา

ครบถวนถูกตองและตรวจรับเรียบรอยแลว

งวดที่ ๓ จํานวนรอยละ……..(……..) ของคาจางงานออกแบบตามขอ ๓.๑ เปนเงิน….....……...

บาท (……………….…………) จะจายใหเมื่อ………………...........และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดพิจารณาแลวเห็นวา

ครบถวนถูกตองและตรวจรับเรียบรอยแลว

……………………………….…..……ฯลฯ………………….……….…………….

งวดสุดทาย เปนจํานวนเงิน…………………………….บาท (……..……..…………………….) จะจายให

เมื่อผูวาจางไดรับมอบงานออกแบบจากผูใหบริการครบบริบูรณและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดพิจารณาแลว

เห็นวาครบถวนถูกตองและตรวจรับเรียบรอยตามสัญญาแลว

(๗) การจายเงินตามเงื่อนไขแหงสัญญานี้ ผูวาจางจะโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของ

ผูใหบริการ ชื่อธนาคาร………………....……สาขา………………..………ชื่อบัญชี.……….…..………เลขที่บัญชี……..…..…………

ทั้งนี้ ผูใหบริการตกลงเปนผูรับภาระเงินคาธรรมเนียมหรือคาบริการอื่นใดเกี่ยวกับการโอน รวมทั้งคาใชจายอื่นใด

(ถามี) ที่ธนาคารเรียกเก็บและยินยอมใหมีการหักเงินดังกลาวจากจํานวนเงินโอนในงวดนั้นๆ (ความในวรรคนี้

ใชสําหรับกรณีที่หนวยงานของรัฐจะจายเงินตรงใหแกผูใหบริการ (ระบบ Direct Payment) โดยการโอนเงินเขาบัญชี

เงินฝากธนาคารของผูใหบริการ ตามแนวทางที่กระทรวงการคลังหรือหนวยงานของรัฐเจาของงบประมาณเปนผูกําหนด

แลวแตกรณี)

ขอ ๔ หนาที่ของผูใหบริการงานออกแบบ

๔.๑ ผูใหบริการจะตองสงมอบผลงาน พรอมทั้งแบบและรายละเอียดประกอบแบบ

จํานวน………..…(…………..) ชุด ใหแกผูวาจางในวันสงมอบงานตามสัญญา

๔.๒ ผูวาจางเปนเจาของลิขสิทธิ์ในผลงานที่ผูใหบริการไดออกแบบตามสัญญานี้แตเพียง

ฝายเดียว และผูใหบริการจะนําผลงาน และ/หรือรายละเอียดของงานตามสัญญานี้ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนไปใช

หรือเผยแพรในกิจการอื่น นอกเหนือจากที่ไดระบุไวในสัญญานี้ไมได เวนแตไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางกอน

ผูใหบริการจะตองรับผิดชอบตอการละเมิดบทบัญญัติแหงกฎหมาย หรือลิขสิทธิ์ หรือสิทธิ

ในทรัพยสินทางปญญาอื่น รวมถึงสิทธิใดๆ ตอบุคคลภายนอกเนื่องจากการปฏิบัติงานตามสัญญานี้โดยสิ้นเชิง

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-65

๔.๓ ในกรณีที่ผลงานของผูใหบริการบกพรองอันเนื่องมาจากผูใหบริการมิไดดําเนินการ

ใหถูกตองตามหลักวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพทางสถาปตยกรรม วิศวกรรม หรือวิชาการอื่น และ/หรือ

บทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวของ หรือไมเปนไปตามความประสงคของผูวาจาง ผูใหบริการตองรีบทําการแกไข

ใหเปนที่เรียบรอยโดยไมคิดคาจาง คาเสียหาย หรือคาใชจายใดๆ จากผูวาจางอีก ถาผูใหบริการหลีกเลี่ยงหรือ

บิดพลิ้วไมรีบจัดการแกไขใหเปนที่เรียบรอยในกําหนดเวลาที่ผูวาจางแจงเปนหนังสือ ผูวาจางมีสิทธิจางผูใหบริการรายอื่น

ทําการแทน โดยผูใหบริการจะตองรับผิดชอบจายเงินคาจางหรือคาใชจายใดๆ ในการนี้แทนผูวาจางโดยสิ้นเชิง

ถามีความเสียหายเกิดขึ้นจากงานตามสัญญานี้อันเนื่องมาจากการที่ผูใหบริการ

ไดออกแบบงานไมถูกตองตามหลักวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพทางสถาปตยกรรม วิศวกรรม หรือวิชาการอื่น

และ/หรือบทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวของ ผูใหบริการจะตองรีบทําการแกไขความเสียหายดังกลาว ภายในเวลา

ที่ผูวาจางกําหนดให ถาผูใหบริการไมสามารถแกไขได ผูใหบริการจะตองชดใชคาเสียหายที่เกิดขึ้นโดยสิ้นเชิง

ซึ่งรวมทั้งความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยตรง และโดยสวนที่เกี่ยวเนื่องกับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากงานตามสัญญานี้ดวย

๔.๔ หากผูใหบริการมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลา หรือไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จ

ตามกําหนดเวลา หรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวาผูใหบริการไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลา

หรือลวงเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จไปแลว หรือผูใหบริการทําผิดสัญญาขอใดขอหนึ่ง หรือตกเปนผูลมละลาย

หรือขาดคุณสมบัติการเปนผูใหบริการตามกฎหมายหรือระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและ

การบริหารพัสดุภาครัฐ ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได และเมื่อบอกเลิกสัญญาแลว ผูวาจางมีสิทธิบังคับ

จากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาทั้งหมดหรือแตบางสวนไดทันที และมีสิทธิเรียกคาเสียหายอื่น (ถามี)

จากผูใหบริการดวย

๔.๕ ระหวางดําเนินการออกแบบตามสัญญาภาค ก. ผูวาจางอาจขอใหผูใหบริการเปลี่ยนแปลง

แกไขรายละเอียดเล็กนอยในสวนที่ไมกระทบตอโครงสรางที่สําคัญ และเปนไปตามมาตรฐานงานกอสรางที่ผูใหบริการ

ไดสงมอบตามงวดงานในสัญญาแลว โดยไมคิดคาใชจายเพิ่มอีก

๔.๖ ผูใหบริการจะตองไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียใดๆ กับผูรับจางในงานกอสรางที

ผูใหบริการไดออกแบบตามสัญญานี้ หรือมีความสัมพันธเกี่ยวของกับผูรับจาง ไมวาโดยตรงหรือโดยออม

และจะตองไมรวมกับผูรับจางกระทําการหรืองดเวนกระทําการอยางใดอยางหนึ่งอันอาจเปนเหตุใหผูวาจาง

ไดรับความเสียหาย

๔.๗ กรณีที่ผูใหบริการทํางานไมแลวเสร็จตามเวลาที่กําหนดในขอ ๑ ผูใหบริการจะตอง

เสียคาปรับใหแกผูวาจางเปนรายวัน ในอัตรารอยละ...............(................) ของวงเงินคาจางตามขอ ๓ นับถัดจาก

วันครบกําหนดในขอ ๑ จนถึงวันที่ผูใหบริการปฏิบัติตามสัญญาถูกตองครบถวน

ภาค ข. การควบคุมงาน

ขอ ๕ ขอตกลงวาจางงานควบคุมงานกอสราง

๕.๑ ผูวาจางตกลงจางและผูใหบริการตกลงรับจางควบคุมงานกอสราง..................................

(ชื่อโครงการและรายละเอียดที่สําคัญทุกรายการ)................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................

ตามขอกําหนดและเงื่อนไขแหงสัญญานี้รวมทั้งเอกสารแนบทายสัญญา ทั้งนี้ ผูใหบริการจะเปนผูควบคุมงานกอสราง

แทนผูวาจางตามสัญญาจางกอสราง....................................... ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “สัญญาจางกอสราง”

ระหวางผูวาจางกับผูรับจางกอสราง ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูรับจาง”

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-66

๕.๒ ผูใหบริการจะตองควบคุมงานใหเปนไปตามสัญญาจางกอสรางและถูกตองตามหลัก

วิชาการและมาตรฐานวิชาชีพทางดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรมและบทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวของ

และจะตองรับผิดชอบตอผูวาจางจนกวางานตามสัญญาจางกอสรางจะแลวเสร็จตามแบบและรายละเอียดประกอบ

แบบในภาค ก. ของสัญญานี้

ขอ ๖ คาจางควบคุมงานกอสรางและการจายเงิน

ผูวาจางและผูใหบริการไดตกลงราคาคาจางควบคุมงานตามสัญญานี้ เปนจํานวนเงิน

ทั้งสิ้น…………..……บาท (………...…….……) ซึ่งไดรวมภาษีมูลคาเพิ่มเปนเงินจํานวน……………..บาท (……………….…)

ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และคาใชจายทั้งปวงดวยแลว โดยผูวาจางจะแบงจายคาจางใหแกผูใหบริการเปนรายเดือน

เดือนละเทาๆ กัน ตามอายุสัญญาจางกอสรางเปนเงินเดือนละ…………………บาท (………..……………) โดยจะจายให

เมื่อผูใหบริการไดควบคุมงาน และทํารายงานการควบคุมงานและผลงานตามโครงการในเดือนนั้นๆ เสนอตอผูวาจาง

และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดพิจารณาแลวเห็นวาครบถวนถูกตองและตรวจรับเรียบรอยแลว

(๘) การจายเงินตามเงื่อนไขแหงสัญญานี้ ผูวาจางจะโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของ

ผูใหบริการ ชื่อธนาคาร………….......……..…….…สาขา………………..........…………ชื่อบัญชี....…….……………………… ทั้งนี้

ผูใหบริการตกลงเปนผูรับภาระเงินคาธรรมเนียมหรือคาบริการอื่นใดเกี่ยวกับการโอน รวมทั้งคาใชจายอื่นใด (ถามี)

ที่ธนาคารเรียกเก็บและยินยอมใหมีการหักเงินดังกลาวจากจํานวนเงินโอนในงวดนั้นๆ (ความในวรรคนี้ใชสําหรับ

กรณีที่หนวยงานของรัฐจะจายเงินตรงใหแกผูใหบริการ (ระบบ Direct Payment) โดยการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝาก

ธนาคารของผูใหบริการ ตามแนวทางที่กระทรวงการคลังหรือหนวยงานของรัฐเจาของงบประมาณเปนผูกําหนด

แลวแตกรณี)

ขอ ๗ หนาที่ของผูใหบริการงานควบคุมงานกอสราง

๗.๑ ผูใหบริการจะตองจัดใหมีบุคลากรผูควบคุมงานที่มีความรูและความชํานาญงานมา

ปฏิบัติงานใหเหมาะสมกับสภาพการควบคุมงานตามสัญญาจางกอสรางและใหสอดคลองกับแผนการทํางานของ

ผูใหบริการที่ปรากฏในเอกสารแนบทายสัญญาผนวก...........

ผูใหบริการจะตองสงรายชื่อบุคลากรผูควบคุมงาน ใหผูวาจางใหความเห็นชอบเปนหนังสือ

และในกรณีที่บุคลากรผูควบคุมงานคนใดคนหนึ่งไมสามารถปฏิบัติงานตามความในวรรคหนึ่ง ผูใหบริการจะตอง

เสนอชื่อบุคลากรผูควบคุมงานที่มีความรูความชํานาญที่เหมาะสมปฏิบัติงานแทน และผูที่ปฏิบัติงานแทนในกรณี

ดังกลาวจะตองไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากผูวาจาง

๗.๒ ในกรณีที่ผูวาจางพิจารณาเห็นวา การดําเนินงานของบุคลากรผูควบคุมงานจะเกิด

ความเสียหายแกงานตามสัญญาจางกอสรางไมวาในกรณีใดก็ตาม ผูวาจางมีสิทธิที่จะใหผูใหบริการเปลี่ยนบุคลากร

ผูควบคุมงานบางคน หรือทั้งหมดนั้นได และผูใหบริการตองดําเนินการตามความประสงคของผูวาจางโดยเร็ว

การเปลี่ยนบุคลากรผูควบคุมงานตามความในวรรคหนึ่ง ผูใหบริการจะตองเสนอรายชื่อ

บุคลากรผูควบคุมงานที่จะปฏิบัติงานแทนนั้นตอผูวาจางเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบกอน

๗.๓ ถาปรากฏวาผูรับจางไมปฏิบัติใหเปนไปตามรายละเอียดที่ระบุไวในสัญญาจางกอสราง

เปนหนาที่ของผูใหบริการที่จะตองสั่งใหผูรับจางดําเนินการแกไขเปลี่ยนแปลงใหถูกตองตามรายละเอียดดังกลาว

ในกรณีที่ตองแกไขปรับปรุงแบบหรือรายการที่กําหนดเนื่องจากมีความจําเปน

ทางดานสถาปตยกรรม และ/หรือวิศวกรรมเพื่อใหเหมาะสมกับสภาพขอเท็จจริงและสิ่งแวดลอม ซึ่งมิฉะนั้น

จะเกิดความเสียหายได หรือเพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวของ ผูใหบริการมีอํานาจสั่งระงับ

การดําเนินงานของผูรับจางไวกอน หรือในกรณีเรงดวนอาจสั่งการแกไขไดตามความจําเปน และเมื่อไดดําเนินการ

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-67

ไปแลวจะตองทําหนังสือรายงานใหผูวาจางทราบโดยเร็วที่สุด อยางไรก็ตาม ในกรณีที่จะทําใหผูวาจางตองรับภาระ

การเงินเพิ่มขึ้นแลว ผูใหบริการตองไดรับความเห็นชอบเปนหนังสือจากผูวาจางกอน

๗.๔ ในกรณีที่สัญญาจางกอสรางตองเลิกไปหรืองานตามสัญญาจางกอสรางระงับลงชั่วคราว

ดวยเหตุใดๆ ก็ตาม ผูวาจางมีสิทธิปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้

(๑) งดจายเงินคาจางควบคุมงานใหแกผูใหบริการตลอดระยะเวลาที่สัญญาจางกอสราง

ตองเลิกไปหรืองานตามสัญญาจางกอสรางระงับลงชั่วคราว แตจะจายเงินคาจางใหแกผูใหบริการเมื่องาน

ตามสัญญาจางกอสรางนั้นไดดําเนินการตอไป ไมวาจะโดยผูรับจางรายเดิมหรือผูรับจางรายอื่น

(๒) บอกเลิกสัญญาจางควบคุมงานฉบับนี้ไดทันที โดยผูวาจางจะจายเงินคาจาง

ตามสัดสวนผลงานที่ผูใหบริการไดเขาควบคุมงานจริงของเดือนนั้นใหแกผูใหบริการ

หากงานตามสัญญาจางกอสรางระงับลงชั่วคราวเกิน…………..(….........) วัน หรือมีการ

บอกเลิกสัญญาจางกอสราง และผูวาจางไมสามารถหาผูรับจางรายใหมไดจนเกิน……..……(…..........) วัน นับถัดจาก

วันที่สัญญาจางกอสรางเลิกกัน ผูใหบริการมีสิทธิบอกเลิกสัญญานี้ได แตไมมีสิทธิเรียกรองคาจาง คาขาดประโยชน

คาเสียหายใดๆ จากผูวาจาง

๗.๕ ในแตละเดือนผูใหบริการจะตองทํารายงานผลงานและอุปสรรคของผูรับจางที่ไดปฏิบัติ

ไปแลวใหผูวาจางทราบ หากผูรับจางไมสามารถปฏิบัติงานแลวเสร็จตามสัญญาจางกอสรางหรือไมเปนไปตาม

แผนงานที่กําหนดไว ผูใหบริการจะตองรีบรายงานสรุปผลงานทั้งหมดและอุปสรรคที่เปนเหตุทําใหการปฏิบัติงาน

ของผูรับจางไมสามารถปฏิบัติงานแลวเสร็จตามสัญญาจางกอสรางหรือไมเปนไปตามแผนงานที่กําหนดไว

เสนอตอผูวาจางภายใน……………(…………….) วัน นับถัดจากวันที่ทราบถึงเหตุดังกลาว

๗.๖ การควบคุมงานตามสัญญานี้ ผูใหบริการมีหนาที่ ดังนี้

(๑) จะตองดําเนินการควบคุมงานตั้งแตวันที่ผูรับจางเริ่มปฏิบัติงานจนกวางานตาม

สัญญาจางกอสรางจะแลวเสร็จตามสัญญา

(๒) จะตองไมละเลย หรือละทิ้งหนาที่การควบคุมงาน หรือกระทําการมิชอบในหนาที่

ของตน หรือกอใหเกิดความเสียหาย หรือทําใหงานตามสัญญาจางกอสรางดําเนินไปโดยไมสะดวกลาชา

หรือเกิดความเสียหายแกผูรับจาง

(๓) จะตองไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียใดๆ รวมกับผูรับจางหรือมีความสัมพันธ

เกี่ยวของกับผูรับจางไมวาโดยตรงหรือโดยออม และจะไมรวมกับผูรับจางกระทําการหรืองดเวนกระทําการ

อยางใดอยางหนึ่งอันอาจเปนเหตุใหผูวาจางไดรับความเสียหาย

๗.๗ หากผูใหบริการมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลา หรือผูใหบริการทําผิดสัญญาขอใด

ขอหนึ่ง หรือตกเปนผูลมละลาย หรือขาดคุณสมบัติการเปนผูใหบริการตามกฎหมายหรือระเบียบกระทรวงการคลัง

วาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได และเมื่อบอกเลิกสัญญาแลว

ผูวาจางมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาทั้งหมดหรือแตบางสวนไดทันที และมีสิทธิเรียก

คาเสียหายอื่น (ถามี) จากผูใหบริการดวย

๗.๘ ในกรณีที่มีความเสียหายเกิดขึ้นแกงานตามสัญญาจางกอสราง อันเนื่องมาจาก

การกระทําของผูใหบริการ ไมวาโดยการละเลยตอหนาที่ หรือมิไดใชความรูที่เหมาะสมกับการควบคุมงาน

หรือวิชาชีพ หรือมิไดควบคุมตรวจสอบใหผูรับจางดําเนินการดังกลาวก็ตาม ผูใหบริการตองรีบหาทางแกไขให

เรียบรอยดวยคาใชจายของผูใหบริการเอง และถาผูใหบริการหลีกเลี่ยงหรือบิดพลิ้วไมแกไขใหเปนที่เรียบรอย

ในเวลาที่ผูวาจางกําหนดใหผูวาจางมีสิทธิวาจางผูอื่นดําเนินการแทน โดยผูใหบริการจะตองชดใชคาเสียหาย

เต็มจํานวนทั้งในสวนที่เกิดขึ้นโดยตรง และในสวนที่เกี่ยวเนื่องอันเกิดจากความเสียหายดังกลาวนั้นดวย

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-68

ขอ ๘ คาจางงานควบคุมงานกรณีผูรับจางปฏิบัติงานลวงเลยกําหนดเวลา

ในกรณีที่ผูรับจางปฏิบัติงานลวงเลยกําหนด เวลาตามสัญญาจางกอสราง เนื่องจากความผิด

ของผูรับจาง ผูใหบริการจะไดรับคาจางตามจํานวนวันที่ไดปฏิบัติลวงเลยกําหนดเวลานั้นตอเมื่อผูวาจางไดเรียกรอง

เอาจากผูรับจางมาจายใหผูใหบริการในอัตราวันละ.....………………..….บาท (…………...........…….…..)

ในกรณีที่ผูรับจางไดปฏิบัติงานลวงเลยกําหนดเวลาตามสัญญาจางกอสราง เนื่องจากเหตุ

ที่มิไดเกิดจากความผิดของผูรับจาง และมิไดเกิดจากความผิดของผูใหบริการ ผูใหบริการจะไดรับคาจางตามจํานวน

วันที่ปฏิบัติลวงเลยกําหนดเวลานั้น ตามสัดสวนผลงานที่ผูใหบริการไดเขาควบคุมงานจริง แตไมเกินกวาอัตราคาจาง

รายเดือนตามที่กําหนดในขอ ๖

ภาค ค. ขอกําหนดและเงื่อนไขทั่วไป

ขอ ๙ การบังคับคาปรับ คาเสียหาย และคาใชจายของงานออกแบบและควบคุมงานกอสราง

ในกรณีที่ผูใหบริการไมปฏิบัติตามสัญญาขอใดขอหนึ่งดวยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเปนเหตุใหเกิด

คาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายแกผูวาจาง ผูใหบริการตองชดใชคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายดังกลาวใหแก

ผูวาจางโดยสิ้นเชิงภายในกําหนด...................(...................) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

หากผูใหบริการไมชดใชใหถูกตองครบถวนภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผูวาจางมีสิทธิที่จะหักเอาจากจํานวนเงิน

คาจางของผูใหบริการ หรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาไดทันที

หากคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายที่บังคับจากเงินคาจาง หรือหลักประกันการปฏิบัติ

ตามสัญญาแลวยังไมเพียงพอ ผูใหบริการยินยอมชําระสวนที่เหลือที่ยังขาดอยูจนครบถวนตามจํานวนคาปรับ

คาเสียหาย หรือคาใชจายนั้น ภายในกําหนด.....................(......................) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือ

จากผูวาจาง

หากมีเงินคาจางตามสัญญาที่หักไวจายเปนคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายแลวยังเหลืออยู

อีกเทาใด ผูวาจางจะคืนใหแกผูใหบริการทั้งหมด

ขอ ๑๐ การงดหรือลดคาปรับ หรือการขยายเวลาการปฏิบัติงานออกแบบและควบคุมงานกอสราง

ในกรณีที่มีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของผูวาจางหรือเหตุสุดวิสัย

หรือเกิดจากพฤติการณอันหนึ่งอันใดที่ผูใหบริการไมตองรับผิดตามกฎหมาย หรือเหตุอื่นตามที่กําหนด

ในกฎกระทรวง ซึ่งออกตามความในกฎหมายวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ ทําใหผูใหบริการ

ไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จตามเงื่อนไขและกําหนดเวลาแหงสัญญานี้ได ผูใหบริการจะตองแจงเหตุหรือพฤติการณ

ดังกลาวพรอมหลักฐานเปนหนังสือใหผูวาจางทราบ เพื่อของดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํางานออกไปภายใน

๑๕ (สิบหา) วัน นับถัดจากวันที่เหตุนั้นสิ้นสุดลง หรือตามที่กําหนดในกฎกระทรวงดังกลาว แลวแตกรณี

ถาผูใหบริการไมปฏิบัติใหเปนไปตามความในวรรคหนึ่ง ใหถือวาผูใหบริการไดสละสิทธิเรียกรอง

ในการที่จะของดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํางานออกไปโดยไมมีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น เวนแตกรณีเหตุเกิดจาก

ความผิดหรือความบกพรองของฝายผูวาจางซึ่งมีหลักฐานชัดแจงหรือผูวาจางทราบดีอยูแลวตั้งแตตน

การงดหรือลดคาปรับ หรือขยายกําหนดเวลาทํางานตามวรรคหนึ่ง อยูในดุลพินิจของผูวาจาง

ที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควร

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-69

ขอ ๑๑ หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

ในขณะทําสัญญานี้ผูใหบริการไดนําหลักประกันเปน.….(๙)….. เปนจํานวนเงิน…….........บาท

(………………….…) ซึ่งเทากับรอยละ……(๑๐)…...(…….............…...) ของราคาคาจางตามขอ ๓.๑ และขอ ๖ รวมกัน

มามอบไวแกผูวาจางเพื่อเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้

(๑๑) กรณีผูใหบริการใชหนังสือค้ําประกันมาเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา หนังสือ

ค้ําประกันดังกลาวจะตองออกโดยธนาคารที่ประกอบกิจการในประเทศไทย หรือโดยบริษัทเงินทุนหรือบริษัท

เงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบธุรกิจค้ําประกัน

ตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแหงประเทศไทยแจงเวียนใหทราบ

ตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐกําหนด หรืออาจเปนหนังสือ

ค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได และจะตองมีอายุการค้ําประกันตลอดไปจนกวา

ผูใหบริการพนขอผูกพันตามสัญญานี้

หลักประกันจะตองมีอายุครอบคลุมความรับผิดทั้งปวงของผูใหบริการตลอดอายุสัญญา

ถาหลักประกันที่ผูใหบริการนํามามอบใหดังกลาวลดลงหรือเสื ่อมคาลง หรือมีอายุไมครอบคลุมถึงความรับผิดของ

ผูใหบริการตลอดอายุสัญญา ไมวาดวยเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงกรณีผูใหบริการสงมอบงานออกแบบลาชาหรือ

งานกอสรางที่ผูใหบริการควบคุมงานแลวเสร็จลาชาเปนเหตุใหระยะเวลาแลวเสร็จเปลี่ยนแปลงไป ผูใหบริการ

ตองหาหลักประกันใหมหรือหลักประกันเพิ่มเติมใหมีจํานวนครบถวนตามวรรคหนึ่งมามอบใหแกผูวาจาง

ภายใน...............(….…..…….) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

เมื่อผูใหบริการไดปฏิบัติงานออกแบบตามภาค ก. ของสัญญานี้เสร็จสิ้นสมบูรณแลว

ผูใหบริการอาจขอคืนหลักประกันบางสวนจํานวน..........................บาท (.............................) ซึ่งเทากับ

รอยละ…........…..(………..............) ของราคาคาจางตามขอ ๓ โดยผูวาจางจะคืนหลักประกันในสวนดังกลาวใหแก

ผูใหบริการภายหลังจากหักคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายอันเนื่องมาจากการปฏิบัติงานออกแบบตามภาค ก.

ไดแลวเสร็จโดยปราศจากขอพิพาท และมีหลักประกันสวนที่เหลืออีกเปนจํานวน.....................บาท (......................)

ซึ่งเทากับรอยละ............(...........) ของราคาคาจางตามขอ ๖ หลักประกันสวนที่เหลือดังกลาว ผูวาจางจะคืน

ใหเมื่อผูใหบริการพนจากขอผูกพันและความรับผิดทั้งปวงตามสัญญานี้แลว

ขอ ๑๒ การจางชวงงานออกแบบและควบคุมงานกอสราง

ผูใหบริการจะตองไมเอางานทั้งหมดหรือแตบางสวนแหงสัญญานี้ไปจางชวงอีกทอดหนึ่ง

เวนแตการจางชวงงานแตบางสวนที่ไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางกอน การที่ผูวาจางไดอนุญาตใหจางชวง

งานแตบางสวนดังกลาวนั้น ไมเปนเหตุใหผูใหบริการหลุดพนจากความรับผิดหรือพันธะหนาที่ตามสัญญานี้

และผูใหบริการจะยังคงตองรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเลอของผูใหบริการชวง หรือของตัวแทน

หรือลูกจางของผูใหบริการชวงนั้นทุกประการ

กรณีผูใหบริการไปจางชวงงานแตบางสวนโดยฝาฝนความในวรรคหนึ่ง ผูใหบริการตองชําระ

คาปรับใหแกผูวาจางเปนจํานวนเงินในอัตรารอยละ.....(๑๒)…..(................) ของวงเงินของงานที่จางชวงตามสัญญา

ทั้งนี้ ไมตัดสิทธิผูวาจางในการบอกเลิกสัญญา

ขอ ๑๓ การโอนสิทธิประโยชนของผูใหบริการงานออกแบบและควบคุมงานกอสราง

ผูใหบริการจะตองไมโอนสิทธิประโยชนใดๆ ตามสัญญานี้ใหแกผูอื่นโดยไมไดรับความยินยอม

เปนหนังสือจากผูวาจางกอน เวนแตการโอนสิทธิที่จะรับเงินคาจางตามสัญญานี้

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-70

สัญญานี้ทําขึ้นสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยละเอียด

ตลอดแลว จึงไดลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยาน และคู สัญญาตางยึดถือไว

ฝายละหนึ่งฉบับ

(ลงชื่อ)……………………………….……..….ผูวาจาง

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)…………………………………….…….ผูใหบริการ

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)…………………………………………..พยาน

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)…………………………………………..พยาน

(……........……...…………………….)

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-71

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาออกแบบและควบคุมงานกอสราง

(๑) ใหระบุเลขที่สัญญาในปงบประมาณหนึ่งๆ ตามลําดับ

(๒) ใหระบุชื่อของหนวยงานของรัฐที่เปนนิติบุคคล เชน กรม ก. หรือรัฐวิสาหกิจ ข. เปนตน

(๓) ใหระบุชื่อและตําแหนงของหัวหนาหนวยงานของรัฐที่เปนนิติบุคคลนั้น หรือผูที่ไดรับมอบอํานาจ

เชน นาย ก. อธิบดีกรม……………… หรือ นาย ข. ผูไดรับมอบอํานาจจากอธิบดีกรม………………..

(๔) ใหระบุชื่อผูใหบริการ

ก. กรณีนิติบุคคล เชน หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด

ข. กรณีบุคคลธรรมดา ใหระบุชื่อและที่อยู

(๕) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๖) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๗) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๘) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออกได

ตามขอเท็จจริง

(๙) “หลักประกัน” หมายถึง หลักประกันที่ผูใหบริการนํามามอบไวแกหนวยงานของรัฐ เมื่อลงนาม

ในสัญญา เพื่อเปนการประกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามสัญญา ดังนี้

(๑) เงินสด

(๒) เช็คหรือดราฟทที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย ซึ่งเปนเช็คหรือดราฟทลงวันที่ที่ใชเช็คหรือดราฟทนั้น

ชําระตอเจาหนาที่ หรือกอนวันนั้นไมเกิน ๓ วันทําการ

(๓) หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอยางที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด

โดยอาจเปนหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได

(๔) หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตใหประกอบ

กิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายชื่อ

บริษัทเงินทุนที่ธนาคารแหงประเทศไทยแจงเวียนใหทราบ โดยอนุโลมใหใชตามตัวอยางหนังสือค้ําประกัน

ของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด

(๕) พันธบัตรรัฐบาลไทย

(๑๐) ใหกําหนดจํานวนเงินหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย

การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๑๖๘

(๑๑) ใหกําหนดไวในกรณีผูใหบริการใชหนังสือค้ําประกันมาเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

(๑๒) อัตราคาปรับตามสัญญาขอ ๑๒ กรณีผูรับจางไปจางชวงบางสวนโดยไมไดรับอนุญาตจาก

ผูวาจาง ตองกําหนดคาปรับเปนจํานวนเงินไมนอยกวารอยละสิบของวงเงินของงานที่จางชวงตามสัญญา

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-72

แบบสัญญา

สัญญาจางผูเชี่ยวชาญรายบุคคลหรือจางบริษัทที่ปรึกษา

สัญญาเลขที่………….…… (1) ...........……..……

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ …………….....……..………..……………………..…………………………………………….......

ตําบล/แขวง..………………..………..………………….……………….อําเภอ/เขต..……………………….….……………………………...

จังหวัด…….…………………………………….…………. เมื่อวันที่ ……….…… เดือน ………………….…………….. พ.ศ. …...………

ระหวาง …………………………….…………………………………..…… (2) ..………………………………………………………………………..

โดย.....………...…………….……………………………........................ (3) …..........…..…………………………………………..…………….

ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ ………….……..………..…… (4 ก) ………………......…………………….

ซึ่งจดทะเบียนเปนนิติบุคคล ณ ……………………………………..………………………………………………………….………….……..

มีสํานักงานใหญอยูเลขที่…………………….....……ถนน...……………….……………..ตําบล/แขวง.…….……….…..……….…....

อําเภอ/เขต………………………………..…….จังหวัด………..………………..….โดย......………….………………………………..……...

ผูมีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลปรากฏตามหนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัท......……………..……

ลงวันที่…………………………..…..… (5) (และหนังสือมอบอํานาจลงวันที่...........…………………….…..) แนบทายสัญญานี้

(6) (ในกรณีที่ที่ปรึกษาเปนบุคคลธรรมดาใหใชขอความวา กับ …………..................….… (4 ข) ……........…….....….....

อยูบานเลขที่……………………...….…..….ถนน…………………..……..…...……ตําบล/แขวง……..………………….….…………….

อําเภอ/เขต…………………….…………………...…..จังหวัด…………...…..………….……...……. ผูถือบัตรประจําตัวประชาชน

เลขที่....................... ดังปรากฏตามสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนแนบทายสัญญานี้) ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา

“ที่ปรึกษา” อีกฝายหนึ่ง

ทั้งสองฝายไดตกลงทําสัญญากันมีขอความดังตอไปนี้

ขอ 1 ขอตกลงวาจาง

1.1 ผูวาจางตกลงจางและที่ปรึกษาตกลงรับจางปฏิบัติงานตามโครงการ..............................

......................................................... (ชื ่อโครงการและรายละเอียดที่สําคัญทุกรายการ)……………………..……………………

……………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………..…………………………………………………………………….………………………………………………

ตามขอกําหนดและเงื่อนไขแหงสัญญานี้รวมทั้งเอกสารแนบทายสัญญาผนวก ....... ทั้งนี้ ที่ปรึกษาจะตองปฏิบัติงาน

ใหเปนไปตามหลักวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพทางดาน............................................. และบทบัญญัติแหงกฎหมาย

ที่เกี่ยวของ

1.๒ ที่ปรึกษาจะตองเริ่มลงมือทํางานภายในวันที่ …… เดือน …..................…….….. พ.ศ. ….…

และจะตองดําเนินการตามสัญญานี้ใหแลวเสร็จภายในวันที่ …… เดือน …..................…….….. พ.ศ. ….…

ขอ 2 เอกสารอันเปนสวนหนึ่งของสัญญา

เอกสารแนบทายสัญญาดังตอไปนี้ ใหถือเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้

2.1 ผนวก 1 …(ขอบขายของงานและกําหนดระยะเวลาการทํางาน)… จํานวน.... (.…) หนา

2.2 ผนวก 2 …(กําหนดระยะเวลาการทํางานของที่ปรึกษา)… จํานวน.... (….) หนา

2.3 ผนวก 3 ...(คาจางและวิธีการจายคาจาง)… จํานวน…. (….) หนา

…………………………………….ฯลฯ……………………………………

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-73

ความใดในเอกสารแนบทายสัญญาที่ขัดหรือแยงกับขอความในสัญญานี้ ใหใชขอความ

ในสัญญานี้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบทายสัญญาขัดแยงกันเอง ที่ปรึกษาจะตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของ

ผูวาจาง คําวินิจฉัยของผูวาจางใหถือเปนที่สุด และที่ปรึกษาไมมีสิทธิเรียกรองคาจาง คาเสียหาย หรือคาใชจายใดๆ

เพิ่มเติมจากผูวาจางทั้งสิ้น

ถาสิ่งใดหรือการอันหนึ่งอันใดที่มิไดระบุไวในรายการละเอียดแนบทายสัญญานี้ แตเปนการ

อันจําเปนตองทําเพื่อใหงานแลวเสร็จบริบูรณถูกตองหรือบรรลุผลตามวัตถุประสงคแหงสัญญานี้ ที่ปรึกษาตอง

จัดทําการนั้นๆ ใหโดยไมคิดเอาคาเสียหาย คาใชจายหรือคาตอบแทนเพิ่มเติมใดๆ ทั้งสิ้น

ขอ 3 คาจางและการจายเงิน

ผูวาจางและที่ปรึกษาไดตกลงราคาคาจางตามสัญญานี้ เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น.................บาท

(………….......…….…....…..) ซึ่งไดรวมภาษีมูลคาเพิ่ม เปนเงินจํานวน…………...…….……..บาท (………..………………….…)

ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และคาใชจายทั้งปวงดวยแลว

คาจางจะแบงออกเปน………….….(.......................) งวด ซึ่งแตละงวดจะจายใหเมื่อที่ปรึกษา

ไดปฏิบัติงานตามที่กําหนดในเอกสารแนบทายสัญญาผนวก ....... และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดพิจารณาแลว

เห็นวาครบถวนถูกตองและตรวจรับเรียบรอยแลว

ผูวาจางอาจจะยึดหนวงเงินคาจางงวดใดๆ ไวก็ได หากที่ปรึกษาปฏิบัติงานไมเปนไปตามสัญญา

และจะจายใหตอเมื่อที่ปรึกษาไดทําการแกไขขอบกพรองนั้นแลว

(7) การจายเงินตามเงื่อนไขแหงสัญญานี้ ผูวาจางจะโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของ

ที่ปรึกษา ชื่อธนาคาร……………………...............…สาขา………....………………………ชื่อบัญชี……..…………..…….…………….

เลขที่บัญชี.....……..…………………… ทั้งนี้ ที่ปรึกษาตกลงเปนผูรับภาระเงินคาธรรมเนียมหรือคาบริการอื่นใดเกี่ยวกับ

การโอน รวมทั้งคาใชจายอื่นใด (ถามี) ที่ธนาคารเรียกเก็บและยินยอมใหมีการหักเงินดังกลาวจากจํานวนเงินโอน

ในงวดนั้นๆ (ความในวรรคนี้ใชสําหรับกรณีที่หนวยงานของรัฐจะจายเงินตรงใหแกที่ปรึกษา (ระบบ Direct

Payment) โดยการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของที่ปรึกษา ตามแนวทางที่กระทรวงการคลังหรือหนวยงาน

ของรัฐเจาของงบประมาณเปนผูกําหนด แลวแตกรณี)

คาใชจายสวนที่เบิกคืนได (ถามี) ผูวาจางจะจายคืนใหแกที่ปรึกษาสําหรับคาใชจาย

ซึ่งที่ปรึกษาไดใชจายไปตามความเปนจริงตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในเอกสารแนบทายสัญญาผนวก .....

(8) ขอ 4 เงินคาจางลวงหนา

ผูวาจางตกลงจายเงินคาจางลวงหนาใหแกที่ปรึกษา เปนจํานวนเงิน…………………...…..…บาท

(……………………....….…) ซึ่งเทากับรอยละ……....…(……….……....) ของคาจางตามสัญญา

เงินคาจางลวงหนาดังกลาวจะจายใหภายหลังจากที่ที่ปรึกษาไดวางหลักประกันการรับเงิน

คาจางลวงหนาเปน............................................... (หนังสือค้ําประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสของธนาคาร

ภายในประเทศ …………………………....เต็มตามจํานวนเงินคาจางลวงหนานั้นใหแกผูวาจาง ที่ปรึกษาจะตองออก

ใบเสร็จรับเงินคาจางลวงหนาตามแบบที่ผูวาจางกําหนดใหและที่ปรึกษาตกลงที่จะกระทําตามเงื่อนไขอันเกี่ยวกับ

การใชจายและการใชคืนเงินคาจางลวงหนานั้น ดังตอไปนี้

4.1 ที่ปรึกษาจะใชเงินคาจางลวงหนานั้นเพื่อเปนคาใชจายในการปฏิบัติงานตามสัญญา

เทานั้น หากที่ปรึกษาใชจายเงินคาจางลวงหนาหรือสวนใดสวนหนึ่งของเงินคาจางลวงหนานั้นในทางอื่น ผูวาจาง

อาจจะเรียกเงินคาจางลวงหนานั้นคืนจากที่ปรึกษาหรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินคาจางลวงหนาไดทันที

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-74

4.2 เมื่อผูวาจางเรียกรอง ที่ปรึกษาตองแสดงหลักฐานการใชจายเงินคาจางลวงหนา

เพื่อพิสูจนวาไดเปนไปตามขอ ๔.๑ ภายในกําหนด 15 (สิบหา) วัน นับถัดจากวันไดรับแจงจากผูวาจาง

หากที่ปรึกษาไมอาจแสดงหลักฐานดังกลาว ภายในกําหนด 15 (สิบหา) วัน ผูวาจางอาจเรียกเงินคาจางลวงหนา

คืนจากที่ปรึกษาหรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินคาจางลวงหนาไดทันที

4.3 ในการจายเงินคาจางใหแกที่ปรึกษาตามขอ 3 ผูวาจางจะหักชดใชคืนเงินคาจางลวงหนา

ในแตละงวดไวจํานวนรอยละ.............................(....................................) ของจํานวนเงินคาจางในแตละงวดจนกวา

จํานวนเงินที่หักไวจะครบตามจํานวนเงินที่หักคาจางลวงหนาที่ที่ปรึกษาไดรับไปแลว ยกเวนคาจางงวดสุดทาย

จะหักไวเปนจํานวนเทากับจํานวนเงินคาจางลวงหนาที่เหลือทั้งหมด

4.4 เงินจํานวนใดๆ ก็ตามที่ที่ปรึกษาจะตองจายใหแกผูวาจางเพื่อชําระหนี้หรือเพื่อชดใช

ความรับผิดตางๆ ตามสัญญา ผูวาจางจะหักเอาจากเงินคาจางงวดที่จะจายใหแกที่ปรึกษากอนที่จะหักชดใชคืนเงิน

คาจางลวงหนา

4.5 ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หากเงินคาจางลวงหนาที่เหลือเกินกวาจํานวนเงินที่

ที่ปรึกษาจะไดรับหลังจากหักชดใชในกรณีอื่นแลว ที่ปรึกษาจะตองจายคืนเงินจํานวนที่เหลือนั้นใหแกผูวาจาง

ภายใน 7 (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

4.6 ผูวาจางจะคืนหลักประกันเงินคาจางลวงหนาใหแกที่ปรึกษาตอเมื่อผูวาจางไดหักเงิน

คาจางไวจนครบจํานวนเงินคาจางลวงหนาตามขอ ๔.๓ แลว

ขอ 5 ความรับผิดชอบของที่ปรึกษา

5.1 ที่ปรึกษาจะตองสงมอบผลงานตามรูปแบบและวิธีการ.................................................

จํานวน………..…(…………..) ชุด ใหแกผูวาจางตามที่กําหนดไวในเอกสารแนบทายสัญญาผนวก 1

5.2 ในกรณีที่ผลงานของที่ปรึกษาบกพรองหรือไมเปนไปตามขอกําหนดและเงื่อนไข

ตามสัญญาหรือมิไดดําเนินการใหถูกตองตามหลักวิชาการ หรือวิชาชีพ......................... และ/หรือบทบัญญัติแหง

กฎหมายที่เกี่ยวของ ที่ปรึกษาตองรีบทําการแกไขใหเปนที่เรียบรอย โดยไมคิดคาจาง คาเสียหาย หรือคาใชจายใดๆ

จากผูวาจางอีก ถาที่ปรึกษาหลีกเลี่ยงหรือไมรีบจัดการแกไขใหเปนที่เรียบรอยในกําหนดเวลาที่ผูวาจางแจง

เปนหนังสือ ผูวาจางมีสิทธิจางที่ปรึกษารายอื่นทําการแทน โดยที่ปรึกษาจะตองรับผิดชอบจายเงินคาจางในการนี้

แทนผูวาจางโดยสิ้นเชิง

ถามีความเสียหายเกิดขึ้นจากงานตามสัญญานี้ไมวาจะเนื่องมาจากการที่ที่ปรึกษา

ไดปฏิบัติงานไมถูกตองตามหลักวิชาการ หรือวิชาชีพ......................... และ/หรือบทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวของ

หรือเหตุใด ที่ปรึกษาจะตองทําการแกไขความเสียหายดังกลาว ภายในเวลาที ่ผูวาจางกําหนดให ถาที่ปรึกษา

ไมสามารถแกไขได ที่ปรึกษาจะตองชดใชคาเสียหายที่เกิดขึ้นแกผูวาจางโดยสิ้นเชิง ซึ่งรวมทั้งความเสียหายที่

เกิดขึ้นโดยตรง และโดยสวนที่เกี่ยวเนื่องกับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากงานตามสัญญานี้ดวย

การที่ผูวาจางไดใหการรับรองหรือความเห็นชอบหรือความยินยอมใดๆ ในการปฏิบัติงาน

หรือผลงานของที่ปรึกษาหรือการชําระเงินคาจางตามสัญญาแกที่ปรึกษา ไมเปนการปลดเปลื้องพันธะและ

ความรับผิดชอบใดๆ ของที่ปรึกษาตามสัญญานี้

5.3 บุคลากรหลักของที่ปรึกษา ตองมีระยะเวลาปฏิบัติงานตามสัญญานี้ไมซ้ําซอนกับงานใน

โครงการอื่นๆ ของที่ปรึกษาที่ดําเนินการในชวงเวลาเดียวกัน หากผูวาจางพบวาบุคลากรหลักไมวาคนหนึ่งคนใด

หรือหลายคนปฏิบัติงานซ้ําซอนกับงานในโครงการอื่นๆ ไมวาจะพบในระหวางปฏิบัติงานตามสัญญาหรือในภายหลัง

ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญา และ/หรือเรียกคาเสียหายจากที่ปรึกษาหรือปรับลดคาจางได

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-75

ขอ 6 การระงับการทํางานชั่วคราวและการบอกเลิกสัญญา

6.1 ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีดังตอไปนี้

(ก) หากผูวาจางเห็นวาที่ปรึกษามิไดปฏิบัติงานดวยความชํานาญหรือดวยความเอาใจใส

ในวิชาชีพของที่ปรึกษาเทาที่พึงคาดหมายไดจากที่ปรึกษาในระดับเดียวกัน หรือมิไดปฏิบัติตามสัญญาขอใด

ขอหนึ่ง ในกรณีเชนนี้ผูวาจางจะบอกกลาวใหที่ปรึกษาทราบถึงเหตุผลที่จะบอกเลิกสัญญา ถาที่ปรึกษามิได

ดําเนินการแกไขใหผูวาจางพอใจภายในระยะเวลา..................(…..............….) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับคําบอกกลาว

ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาโดยการสงคําบอกกลาวแกที่ปรึกษา เมื่อที่ปรึกษาไดรับหนังสือบอกกลาวนั้นแลว

ที่ปรึกษาตองหยุดปฏิบัติงานทันที และดําเนินการทุกวิถีทางเพื่อลดคาใชจายใดๆ ที่อาจมีในระหวางการหยุด

ปฏิบัติงานนั้นใหนอยที่สุด

(ข) หากที่ปรึกษามิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลา หรือไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จ

ตามกําหนดเวลา หรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวาที่ปรึกษาไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลา

หรือลวงเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จไปแลว หรือตกเปนผูลมละลาย ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที

การบอกเลิกสัญญาตามขอ ๖.๑ ผูวาจางมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันเงินคาจาง

ลวงหนา หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาและเงินประกันผลงานทั้งหมดหรือแตบางสวน และมีสิทธิเรียก

คาเสียหายอื่น (ถามี) จากที่ปรึกษาดวย

6.2 ผูวาจางอาจมีหนังสือบอกกลาวใหที่ปรึกษาทราบลวงหนาเมื่อใดก็ไดวาผูวาจางมีเจตนา

ที่จะระงับการทํางานของที่ปรึกษาไวชั่วคราวไมวาทั้งหมดหรือแตบางสวน หรือจะบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูวาจาง

จะบอกเลิกสัญญา การบอกเลิกสัญญาดังกลาวจะมีผลในเวลาไมนอยกวา...................(....................) วัน นับถัดจาก

วันที่ที่ปรึกษาไดรับหนังสือบอกกลาวนั้น หรืออาจเร็วกวาหรือชากวากําหนดเวลานั้นก็ไดแลวแตคูสัญญาจะทํา

ความตกลงกัน เมื่อที่ปรึกษาไดรับหนังสือบอกกลาวนั้นแลว ที่ปรึกษาตองหยุดปฏิบัติงานทันที ทั้งนี้ ที่ปรึกษาไมมี

สิทธิไดรับคาจางในระหวางระงับการทํางานไวชั่วคราว และที่ปรึกษาจะตองดําเนินการทุกวิถีทางเพื่อลดคาใชจาย

ใดๆ ที่อาจมีในระหวางการหยุดปฏิบัติงานนั้นใหนอยที่สุด

กรณีที่มีการระงับการทํางานชั่วคราวตามขอ ๖.๒ ผูวาจางจะจายเงินเปนคาใชจาย

เทาที่จําเปนใหแกที่ปรึกษาตามที่ผูวาจางเห็นสมควร

กรณีที่มีการเลิกสัญญาตามขอ ๖.๒ ผูวาจางจะชําระคาจางตามสวนที่เปนธรรมและ

เหมาะสมที่กําหนดในเอกสารแนบทายสัญญาผนวก ...... ใหแกที่ปรึกษา โดยคํานวณตั้งแตวันเริ่มปฏิบัติงานจนถึง

วันบอกเลิกสัญญา นอกจากนี้ผูวาจางจะคืนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาหรือเงินประกันผลงาน รวมทั้ง

เงินชดเชยคาเดินทางและเงินคาใชจายที่ไดทดรองจายไปตามสมควรและตามความเปนจริง ซึ่งผูวาจางยังมิไดชําระ

ใหแกที่ปรึกษาดวย อยางไรก็ตาม เงินชดเชยและเงินที่ไดชําระไปแลวทั้งหมดจะตองไมเกินราคาคาจางตามขอ ๓

ขอ 7 สิทธิและหนาที่ของที่ปรึกษา

7.1 ที่ปรึกษาจะตองใชความชํานาญ ความระมัดระวัง และความขยันหมั่นเพียร

ในการปฏิบัติงานตามสัญญาอยางมีประสิทธิภาพ และจะตองปฏิบัติหนาที่ตามความรับผิดชอบใหสําเร็จลุลวง

เปนไปตามมาตรฐานของวิชาชีพที่ยอมรับนับถือกันโดยทั่วไป

7.2 คาจางซึ่งผูวาจางจะชําระแกที่ปรึกษาตามขอ ๓ เปนคาตอบแทนเพียงอยางเดียว

เทานั้นซึ่งที่ปรึกษาจะไดรับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามสัญญานี้ ที่ปรึกษาจะตองไมรับคานายหนาทางการคา

สวนลด เบี้ยเลี้ยง เงินชวยเหลือหรือผลประโยชนใดๆ ไมวาโดยตรงหรือโดยออม หรือสิ่งตอบแทนใดๆ

ในสวนที่เกี่ยวของกับสัญญานี้ หรือที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ตามสัญญานี้

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-76

7.3 ที่ปรึกษาจะตองไมมีผลประโยชนใดๆ ไมวาโดยตรงหรือโดยออมในเงินคาสิทธิ

เงินบําเหน็จ หรือคานายหนาใดๆ ที่เกี่ยวกับการนําวัสดุสิ่งของหรือกรรมวิธีใดๆ ที่มีทะเบียนสิทธิบัตรหรือไดรับ

การคุมครองทางทรัพยสินทางปญญาหรือตามกฎหมายอื่นใดมาใชเพื่อวัตถุประสงคของสัญญานี้ เวนแตคูสัญญา

ทั้งสองฝายจะไดตกลงกันเปนหนังสือวาที่ปรึกษาอาจจะไดผลประโยชนหรือเงินเชนวานั้นได

7.4 บรรดางานและเอกสารที่ที่ปรึกษาไดจัดทําขึ้นเกี่ยวกับสัญญานี้ใหถือเปนความลับและ

ใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูวาจาง ที่ปรึกษาจะตองสงมอบบรรดางานและเอกสารดังกลาวใหแกผูวาจางเมื่อสิ้นสุด

สัญญานี้ ที่ปรึกษาอาจเก็บสําเนาเอกสารไวกับตนไดแตตองไมนําขอความในเอกสารนั้นไปใชในกิจการอื่นที่

ไมเกี่ยวกับงานโดยไมไดรับความยินยอมลวงหนาเปนหนังสือจากผูวาจางกอน

7.5 ผูวาจางเปนเจาของลิขสิทธิ์หรือสิทธิในทรัพยสินทางปญญา รวมถึงสิทธิใดๆ ในผลงาน

ที่ที่ปรึกษาไดปฏิบัติงานตามสัญญานี้แตเพียงฝายเดียว และที่ปรึกษาจะนําผลงาน และ/หรือรายละเอียดของงาน

ตามสัญญานี้ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนไปใช หรือเผยแพรในกิจการอื่น นอกเหนือจากที่ไดระบุไวในสัญญานี้ไมได

เวนแตไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางกอน

7.6 บรรดาเครื่องมือ เครื่องใช และวัสดุอุปกรณทั้งหลาย ซึ่งผูวาจางไดจัดใหที่ปรึกษา

ใชหรือซึ่งที่ปรึกษาซื้อมาดวยทุนทรัพยของผูวาจาง หรือซึ่งผูวาจางเปนผูจายชดใชคืนให ถือวาเปนกรรมสิทธิ์ของ

ผูวาจางและตองทําขอความและเครื่องหมายที่แสดงวาเปนของผูวาจางไวที่ทรัพยสินดังกลาวดวย ทั้งนี้ ที่ปรึกษา

ตองใชเครื่องมือเครื่องใชและวัสดุอุปกรณดังกลาวอยางเหมาะสมตามระเบียบของผูวาจางหรือของทางราชการ

ที่เกี่ยวของเพื่อกิจการที่เกี่ยวกับการจางที่ปรึกษาเทานั้น

เมื่อที่ปรึกษาทํางานเสร็จหรือมีการเลิกสัญญา ที่ปรึกษาจะตองทําบัญชีแสดงรายการ

เครื่องมือเครื่องใชและวัสดุอุปกรณทั้งหลายขางตนที่ยังคงเหลืออยู และจัดการโยกยายไปเก็บรักษาตามคําสั่ง

ผูวาจางโดยพลัน ที่ปรึกษาตองดูแลเครื่องมือเครื่องใชและวัสดุอุปกรณดังกลาวอยางเหมาะสมตลอดเวลาที่

ครอบครอง และตองคืนเครื่องมือเครื่องใชและวัสดุอุปกรณดังกลาวใหครบถวนในสภาพดีตามความเหมาะสม

แตไมตองรับผิดชอบสําหรับความเสื่อมสภาพจากการใชงานตามปกติ

7.7 ที่ปรึกษาจะจัดใหมีบุคลากรที่มีความรูและความชํานาญงานมาปฏิบัติงานใหเหมาะสม

กับสภาพการปฏิบัติงานตามสัญญานี้และใหสอดคลองกับขอบเขตของงานของที่ปรึกษาตามที่ปรากฏ

ในเอกสารแนบทายสัญญาผนวก ….. การเปลี่ยนแปลงบุคลากรดังกลาวจะตองไดรับความยินยอมเปนหนังสือจาก

ผูวาจางกอน

7.8 ในกรณีที่ผูวาจางพิจารณาเห็นวา การดําเนินงานของบุคลากรที่ที่ปรึกษาจัดหามา

จะกอใหเกิดความเสียหายแกงานตามสัญญานี้ ไมวาในกรณีใดก็ตามผูวาจางมีสิทธิที่จะใหที่ปรึกษาเปลี่ยนบุคลากร

บางคนหรือทั้งหมดนั้นได และที่ปรึกษาตองดําเนินการตามความประสงคของผูวาจางโดยเร็ว

การเปลี่ยนบุคลากรตามความในวรรคกอน ที่ปรึกษาจะตองเสนอรายชื่อบุคลากรที่จะ

ปฏิบัติงานแทนนั้น ตอผูวาจางเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบกอน

ขอ 8 ความรับผิดชอบของที่ปรึกษาตอบุคคลภายนอก

8.1 ที่ปรึกษาจะตองชดใชคาเสียหายใหแกผูวาจาง และปองกันมิใหผูวาจางตองรับผิดชอบ

ในบรรดาสิทธิเรียกรอง คาเสียหาย คาใชจาย หรือราคา รวมตลอดถึงการเรียกรองโดยบุคคลภายนอกอันเกิดจาก

ความผิดพลาดหรือการละเวนไมกระทําการของที่ปรึกษา หรือของลูกจางของที่ปรึกษา

8.2 ที่ปรึกษาจะตองรับผิดชอบตอการละเมิดบทบัญญัติแหงกฎหมาย หรือการละเมิดลิขสิทธิ์

หรือสิทธิในทรัพยสินทางปญญาอื่น รวมถึงสิทธิใดๆ ตอบุคคลภายนอกเนื่องจากการปฏิบัติงานตามสัญญานี้

โดยสิ้นเชิง

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-77

(9) 8.3 ที่ปรึกษาจะตองจัดการประกันภัยกับบริษัทประกันภัยที่ผูวาจางเห็นชอบ

เพื่อความรับผิดตอบุคคลภายนอก และเพื่อความสูญหายหรือเสียหายในทรัพยสินซึ่งผูวาจางเปนผูจัดหาให

หรือสั่งซื้อโดยทุนทรัพยของผูวาจาง เพื่อใหที่ปรึกษาไวใชในการปฏิบัติงานตามสัญญานี้ โดยที่ปรึกษาเปน

ผูออกคาใชจายในการประกันภัยเอง ทั้งนี้ เวนแตจะมีการตกลงกันไวเปนอยางอื่นในสัญญานี้

ขอ 9 พันธะหนาที่ของผูวาจาง

ผูวาจางจะมอบขอมูลและสถิติตางๆ ที่เกี่ยวของซึ่งผูวาจางมีอยูใหแกที่ปรึกษาโดยไมคิด

มูลคาและภายในเวลาอันควร

ในกรณีที่ที่ปรึกษารองขอความชวยเหลือ ผูวาจางจะพิจารณาใหความชวยเหลืออํานวย

ความสะดวกตามสมควร ทั้งนี้ เพื่อใหการปฏิบัติงานของที่ปรึกษาตามสัญญานี้ลุลวงไปไดดวยดี

ขอ 10 คาปรับ

กรณีที่ที่ปรึกษาทํางานไมแลวเสร็จตามเวลาที่กําหนดในขอ 1 ที่ปรึกษาจะตองเสียคาปรับ

ใหแกผูวาจางเปนรายวัน ในอัตรารอยละ.......(10).......(.........................) ของวงเงินคาจางตามขอ 3 นับถัดจาก

วันครบกําหนดในขอ 1 จนถึงวันที่ที่ปรึกษาปฏิบัติตามสัญญาถูกตองครบถวน และผูวาจางไดตรวจรับงานแลว

ขอ 11 การบังคับคาปรับ คาเสียหาย และคาใชจาย

ในกรณีที่ที่ปรึกษาไมปฏิบัติตามสัญญาขอใดขอหนึ่งดวยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเปนเหตุใหเกิด

คาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายแกผูวาจาง ที่ปรึกษาตองชดใชคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายดังกลาวใหแก

ผูวาจางโดยสิ้นเชิงภายในกําหนด..........................(............................) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก

ผูวาจาง หากที่ปรึกษาไมชดใชใหถูกตองครบถวนภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผูวาจางมีสิทธิที่จะหักเอาจาก

จํานวนเงินคาจางของที่ปรึกษาที่ตองชําระ หรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา หรือเงินประกันผลงาน

ไดทันที

หากคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายที่บังคับจากเงินคาจางที่ตองชําระ หลักประกัน

การปฏิบัติตามสัญญา และเงินประกันผลงานแลวยังไมเพียงพอ ที่ปรึกษายินยอมชําระสวนที่เหลือที่ยังขาดอยู

จนครบถวนตามจํานวนคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายนั้น ภายในกําหนด..................(....................) วัน

นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

หากมีเงินคาจางตามสัญญาที่หักไวจายเปนคาปรับ คาเสียหาย หรือคาใชจายแลวยังเหลืออยู

อีกเทาใด ผูวาจางจะคืนใหแกที่ปรึกษาทั้งหมด

(11) ขอ 12 (ก) เงินประกันผลงาน

ในการจายเงินใหแกที่ปรึกษาแตละงวด ผูวาจางจะหักเงินจํานวนรอยละ…(12)….(................)

ของเงินที่ตองจายในงวดนั้นเพื่อเปนประกันผลงาน หรือที่ปรึกษาอาจนําหนังสือค้ําประกันของธนาคารหรือหนังสือ

ค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสของธนาคารภายในประเทศซึ่งมีอายุการค้ําประกันตลอดอายุสัญญามามอบใหผูวาจาง

ทั้งนี้เพื่อเปนหลักประกันแทนก็ได

ผูวาจางจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ําประกันของธนาคารดังกลาวตามวรรคหนึ่ง

โดยไมมีดอกเบี้ยใหแกที่ปรึกษาพรอมกับการจายเงินคาจางงวดสุดทาย

ขอ ๑๒ (ข) หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

ในขณะทําสัญญานี้ที่ปรึกษาไดนําหลักประกันเปน……........(13)….….....….เปนจํานวนเงิน

…..……….……บาท (………………………) ซึ่งเทากับรอยละ.…(14)....(……………….......) ของราคาคาจางตามสัญญา

มามอบไวแกผูวาจางเพื่อเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-78

(15) กรณีที่ปรึกษาใชหนังสือค้ําประกันมาเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

หนังสือค้ําประกันดังกลาวจะตองออกโดยธนาคารที่ประกอบกิจการในประเทศไทย หรือโดยบริษัทเงินทุนหรือ

บริษัทเงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบธุรกิจค้ําประกัน

ตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแหงประเทศไทยแจงเวียนใหทราบ

ตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐกําหนด หรืออาจเปนหนังสือ

ค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได และจะตองมีอายุการค้ําประกันตลอดไปจนกวา

ที่ปรึกษาพนขอผูกพันตามสัญญานี้

หลักประกันจะตองมีอายุครอบคลุมความรับผิดทั้งปวงของที่ปรึกษาตลอดอายุสัญญา

ถาหลักประกันที่ที่ปรึกษานํามามอบใหดังกลาวลดลงหรือเสื่อมคาลง หรือมีอายุไมครอบคลุมถึงความรับผิดของ

ที่ปรึกษาตลอดอายุสัญญา ไมวาดวยเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงกรณีที่ปรึกษาสงมอบงานลาชาเปนเหตุใหระยะเวลา

แลวเสร็จตามสัญญาเปลี่ยนแปลงไป ที่ปรึกษาตองหาหลักประกันใหมหรือหลักประกันเพิ่มเติมใหมีจํานวนครบถวน

ตามวรรคหนึ่งมามอบใหแกผูวาจางภายใน.............(………..….) วัน นับถัดจากวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจาง

หลักประกันที่ผูรับจางนํามามอบไวตามขอนี้ ผูวาจางจะคืนใหแกที่ปรึกษาโดยไมมีดอกเบี้ย

เมื่อที่ปรึกษาพนจากขอผูกพันและความรับผิดทั้งปวงตามสัญญานี้แลว

ขอ ๑๓ การจางชวง

ที่ปรึกษาจะตองไมเอางานทั้งหมดหรือแตบางสวนแหงสัญญานี้ไปจางชวงอีกทอดหนึ่ง

เวนแตการจางชวงงานแตบางสวนที่ไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางกอน การที่ผูวาจางไดอนุญาตใหจางชวงงาน

แตบางสวนดังกลาวนั้น ไมเปนเหตุใหที่ปรึกษาหลุดพนจากความรับผิดหรือพันธะหนาที่ตามสัญญานี้

และที่ปรึกษาจะยังคงตองรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเลอของผูรับชวงงาน หรือของตัวแทน

หรือลูกจางของผูรับชวงงานนั้นทุกประการ

กรณีที่ปรึกษาไปจางชวงงานแตบางสวนโดยฝาฝนความในวรรคหนึ ่ง ที่ปรึกษาตองชําระ

คาปรับใหแกผูวาจางเปนจํานวนเงินในอัตรารอยละ........(16)….....(..................................) ของวงเงินของงาน

ที่จางชวงตามสัญญา ทั้งนี้ ไมตัดสิทธิผูวาจางในการบอกเลิกสัญญา

ขอ ๑๔ การโอนสิทธิตามสัญญา

ที่ปรึกษาจะตองไมโอนสิทธิประโยชนใดๆ ตามสัญญานี้ใหแกผูอื่นโดยไมไดรับความยินยอม

เปนหนังสือจากผูวาจางกอน เวนแตการโอนสิทธิที่จะรับเงินคาจางตามสัญญานี้

ขอ ๑๕ การงดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาปฏิบัติงานตามสัญญา

ในกรณีที่มีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของผูวาจางหรือเหตุสุดวิสัย

หรือเกิดจากพฤติการณอันหนึ่งอันใดที่ที่ปรึกษาไมตองรับผิดตามกฎหมาย หรือเหตุอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

ซึ่งออกตามความในกฎหมายวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ ทําใหที่ปรึกษาไมสามารถทํางาน

ใหแลวเสร็จตามเงื่อนไขและกําหนดเวลาแหงสัญญานี้ได ที่ปรึกษาจะตองแจงเหตุหรือพฤติการณดังกลาว

พรอมหลักฐานเปนหนังสือใหผูวาจางทราบ เพื่อของดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํางานออกไปภายใน ๑๕

(สิบหา) วัน นับถัดจากวันที่เหตุนั้นสิ้นสุดลง หรือตามที่กําหนดในกฎกระทรวงดังกลาว แลวแตกรณี

ถาที่ปรึกษาไมปฏิบัติใหเปนไปตามความในวรรคหนึ่ง ใหถือวาที่ปรึกษาไดสละสิทธิเรียกรอง

ในการที่จะของดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํางานออกไปโดยไมมีเงื ่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น เวนแตกรณีเหตุเกิดจาก

ความผิดหรือความบกพรองของฝายผูวาจางซึ่งมีหลักฐานชัดแจงหรือผูวาจางทราบดีอยูแลวตั้งแตตน

การงดหรือลดคาปรับ หรือขยายกําหนดเวลาทํางานตามวรรคหนึ่ง อยูในดุลพินิจของผูวาจาง

ที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควร

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-79

สัญญานี้ทําขึ้นเปนสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยละเอียด

ตลอดแลว จึงไดลงลายมือชื ่อ พรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยาน และคูสัญญาตางยึดถือไว

ฝายละหนึ่งฉบับ

(ลงชื่อ)……………………………………..…….ผูวาจาง

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)………………………………..………….ที่ปรึกษา

(……........……...…………………….)

(ลงชื่อ)……………………..…………………….พยาน

(……........……....…………………….)

(ลงชื่อ)……………………..…………………….พยาน

(……........……...…………………….)

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-80

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาจางผูเชี่ยวชาญรายบุคคลหรือจางบริษัทที่ปรึกษา

(1) ใหระบุเลขที่สัญญาในปงบประมาณหนึ่งๆ ตามลําดับ

(2) ใหระบุชื่อของหนวยงานของรัฐที่เปนนิติบุคคล เชน กรม ก. หรือรัฐวิสาหกิจ ข. เปนตน

(3) ใหระบุชื่อและตําแหนงของหัวหนาหนวยงานของรัฐที่เปนนิติบุคคลนั้น หรือผูที่ไดรับมอบอํานาจ

เชน นาย ก. อธิบดีกรม……………… หรือ นาย ข. ผูไดรับมอบอํานาจจากอธิบดีกรม………………..

(4) ใหระบุชื่อที่ปรึกษา

ก. กรณีนิติบุคคล เชน หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด

ข. กรณีบุคคลธรรมดา ใหระบุชื่อและที่อยู

(5) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(6) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(7) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(8) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(9) เปนขอความหรือเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งหนวยงานของรัฐผูทําสัญญาอาจเลือกใชหรือตัดออก

ไดตามขอเท็จจริง

(10) ใหกําหนดตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. 2560 ขอ 162

(11) ใหกําหนดไวในกรณีที่คูสัญญาเปนหนวยงานของรัฐ

(12) ใหกําหนดตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. 2560 ขอ 174

(13) “หลักประกัน” หมายถึง หลักประกันที่ผูรับจางนํามามอบไวแกหนวยงานของรัฐ เมื่อลงนาม

ในสัญญา เพื่อเปนการประกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามสัญญา ดังนี้

(1) เงินสด

(2) เช็คหรือดราฟท ที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย ซึ่งเปนเช็คหรือดราฟทลงวันที่ที่ใชเช็คหรือดราฟทนั้น

ชําระตอเจาหนาที่ หรือกอนวันนั้นไมเกิน 3 วันทําการ

(3) หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอยางที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด

โดยอาจเปนหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกสตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได

(4) หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตใหประกอบ

กิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายชื่อ

บริษัทเงินทุนที่ธนาคารแหงประเทศไทยแจงเวียนใหทราบ โดยอนุโลมใหใชตามตัวอยางหนังสือค้ําประกัน

ของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด

(5) พันธบัตรรัฐบาลไทย

(14) ใหกําหนดจํานวนเงินหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย

การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 168

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


3-81

(15) ใหกําหนดไวในกรณีที่ปรึกษาใชหนังสือค้ําประกันมาเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา

(16) อัตราคาปรับตามสัญญาขอ 13 กรณีผูรับจางไปจางชวงบางสวนโดยไมไดรับอนุญาต

จากผูวาจาง ตองกําหนดคาปรับเปนจํานวนเงินไมนอยกวารอยละสิบของวงเงินของงานที่จางชวงตามสัญญา

หมายเหตุ: ได้เว้นไม่แสดงแบบสัญญาที่ไม่เกี่ยวกับการก่อสร้าง


ภาคผนวก 3-3 EPC TEMPLATE



3-82 | EPC Template

EPC Template

This EPC contract contemplates that a single contractor will be responsible for the entire project -- from

design through construction and testing. If the project developer desires to have the same firm also

operate the facility in commercial operation, the contractor could be designated the operator and a

separate contract executed, although that arrangement is not required by the language of the EPC

contract.

Engineering, Procurement and Construction Agreement

This Engineering, Procurement and Construction Agreement (the “Agreement”) is made

and dated as of [Date] between [Legal name and description of organization of EPC

firm] (“Contractor”), and [Legal name and description of organization of Project

developer] (“Owner”). Each of Owner and Contractor may be referred to individually

as a “Party”, and together they may be referred to as the “Parties”.

Recitals

A. Owner is [Brief description of Owner and RET project plans] .

B. Contractor is [Brief description of Contractor and professional capabilities] .

C. Owner desires to construct and operate [Description of RET facility, with particulars

as to renewable energy technology, size and intended business use] (“Facility”) and

Contractor is willing to perform design, engineering, construction work to bring the

Facility to commercial operation, all pursuant to contract with Owner. Contractor is also

willing to operate the Facility commercially under separate agreement with Owner.

D. Owner intend to finance the development of the Facility through [Brief description

of structure of financing arrangement] .

E. Contractor is further willing to act on behalf of Owner by coordinating and enforcing

the Subcontractor Protections as set forth in this Agreement.

F. The Project requires [Brief description of types of regulatory or other governmental

approvals required] (“Authorizations”).


3-83 | EPC Template

G. Owner desire that Contractor perform on behalf of Owner the duties to act as general

contractor for the design, construction, performance of start up and testing of the Facility,

and development of the operation manual(s) for the Facility upon the terms and

conditions set forth in this Agreement.

H. Following completion of the Project, Owner will own the Facility, and Contractor will

operate and maintain the Facility pursuant to the O & M Agreement.

NOW, THEREFORE, in consideration of the promises and the mutual covenants and

agreements hereinafter set forth, the Parties agree as follows.

ARTICLE 1 - DEFINITIONS

1.1 - Definitions.

Capitalized terms used herein shall have the meanings set forth in Schedule I.

ARTICLE 2 - REPRESENTATIONS

2.1 - Representations by Contractor

Contractor represents that:

2.1.1 Organization and Qualification. Contractor is a [Description of legal

organization] duly organized and validly existing under the laws of _[Jurisdiction]_.

Contractor has all necessary power and authority to carry on its business as presently

conducted and to enter into and perform its obligations under this Agreement.

2.1.2 Authorization, approvals, no defaults. The execution, delivery and

performance of this Agreement by Contractor (1) has been duly authorized by all

requisite company action, (2) to the best of Contractor’s knowledge will not conflict with

any provisions of applicable Law, and (3) will not conflict with any legal or contractual

obligation to which it is a party or by which it or its property is affected.

2.1.3 Enforceability. This Agreement constitutes the legal, valid and binding

obligation of Contractor in accordance with its terms, except as enforceability may be

limited by bankruptcy, insolvency, or similar laws affecting creditors’ rights generally.

2.1.4 Legal proceedings. There is no action, suit or proceeding, at law or in

equity, or official investigation by or before any governmental authority, arbitral tribunal

or any other body pending or, to the knowledge of Contractor threatened, against or

affecting Contractor or any of its properties, rights or assets, which could reasonably be

expected to result in a material adverse effect on Contractor’s ability to perform its

obligations under this Agreement or on the validity or enforceability of this Agreement.

2.1.5 Site Inspection. Contractor and Contractor’s agents and representatives have

visited, inspected and are familiar with the Site, its physical condition, roads, access

rights, utilities, topographical conditions and air quality conditions, except for unusual or

unknown surface or subsurface conditions, or unusual or unknown soil conditions, and

have performed all reasonable investigations necessary to determine that the Site is

suitable for the construction and installation of the Facility, and are familiar with the local

and other conditions which may be material to Contractor’s performance of its

obligations under this Agreement (including, but not limited to transportation, seasons

and climates, access, the handling and storage of materials and fuel and availability and

quality of labor and materials).


3-84 | EPC Template

2.1.6 Necessary Rights. Contractor owns or will obtain the legal right to use all

patents, rights to patents, trademarks, copyrights and licenses necessary for the

performance by Contractor of this Agreement and the transactions contemplated hereby,

without any material conflict with the rights of others.

2.1.7 Approvals. Contractor has obtained and is in compliance with all

Governmental Authorizations (other than Governmental Authorizations listed in

Schedule XI, which Contractor will obtain as indicated in that schedule) that Contractor

is required to obtain hereunder and for the valid execution, delivery and performance by

Contractor of this Agreement, and all such legal entitlements are in full force and effect.

2.1.8 Qualification. Contractor (including where applicable, through its

relationships with Subcontractors and its Affiliates) possesses the know-how and

wherewithal to oversee the design, engineering, procurement and construction work

needed to complete construction of the Facility.

2.2 - Representations by Owner. Owner represents that:

2.2.1 Organization and qualification. Owner is a [Description of legal

organization] duly organized and validly existing under the laws of __[Jurisdiction]__.

It has all necessary power and authority to carry on its business as presently conducted, to

own or hold its properties, and to enter into and perform its obligations under this

Agreement.

2.2.2 Authorization, approvals, no defaults. The execution, delivery and

performance of this Agreement by Owner (1) has been duly authorized by all requisite

company action; (2) to the best of Owner’s knowledge will not conflict with any

provisions of applicable Law, and (3) will not conflict with any legal or contractual

obligation to which it is a party or by which it or its property is affected.

2.2.3 Enforceability. This Agreement constitutes the legal, valid and binding

obligation of Owner in accordance with its terms, except as enforceability may be limited

by bankruptcy, insolvency, or similar laws affecting creditors’ rights generally.

2.2.4 Legal proceedings. There is no action, suit or proceeding, at law or in

equity, or official investigation by or before any governmental authority, arbitral tribunal

or any other body pending or, to the knowledge of Owner threatened, against or affecting

MGE Power or any of its properties, rights or assets, which could reasonably be expected

to result in a material adverse effect on Owner’s ability to perform its obligations under

this Agreement or on the validity or enforceability of this Agreement.

ARTICLE 3 - THE WORK

3.1 - Scope of Work. Contractor shall provide or perform the Work or cause the Work to

be provided or performed, in accordance with the terms of this Agreement. Without

limiting the foregoing, the Work shall include conducting, performing, providing or

procuring when and as necessary to permit progress of the Work to proceed in

accordance with the Project Schedule:

3.1.1 all design and engineering activities and services necessary to conduct the

Work and complete the Facility in accordance with this Agreement and Contractor’s

obligations under the Facility Lease;


3-85 | EPC Template

3.1.2 all design and engineering activities and services necessary to obtain all

required permits for the construction and operation of the Facility;

3.1.3 all construction activities and services necessary to conduct the Work and

complete the Facility in accordance with this Agreement (including Site preparation,

excavation and grading and proper disposal of all excavated materials if and as required

in connection with performance of the Work);

3.1.4 all materials necessary to conduct the Work and complete the Facility in

accordance with this Agreement (including all necessary transport thereof);

3.1.5 all work forces necessary to conduct the Work and complete the Facility in

accordance with this Agreement (including all skilled and unskilled labor, supervisory,

quality assurance and support service personnel);

3.1.6 all documents required to direct Owner’ personnel in the proper start-up,

operation and maintenance of the Facility, including, without limitation, the Equipment

Instruction Manual and all as-built drawings and as-built wiring diagrams (in CD-ROM

format capable of generating reproducible hard copies, stamped by an Architect/Engineer

registered in [Jurisdiction of Facility and/or other]

3.1.7 all training of Operator adequate to allow Operator to assume responsibility

for dispatch and control of the Facility;

3.1.8 all other activities, services and items, whether or not specifically described

above, in Schedule VII or elsewhere in this Agreement, if such performance, provision or

procurement is necessary for a complete and operable Facility; provided, that Contractor

shall not be responsible for performing, providing or procuring those activities, services

and items for which Owner bear express responsibility pursuant to Article 5;

3.1.9 all design, engineering, materials, work forces needed to perform the

Acceptance Tests; and

3.1.10 all activity necessary to enable Contractor to achieve the agreed

Commercial Operation Date of [Deadline for commercial operation] .

ARTICLE 4 - CONTRACTOR’S RIGHTS AND RESPONSIBILITIES

4.1 - Engineering, Procurement and Construction of the Facility; Performance of the

Work. Contractor, on behalf of the Owner, shall act as the general contractor for the

Project and shall be solely responsible for the engineering, procurement and construction

of the Work, including, without limitation, the overall oversight and coordination of

construction of the Facility in accordance with: (a) the Specifications; (b) the

Authorizations for the Facility; (c) the terms of this Agreement; (d) the Traffic Control

Plan, the Safety Plan and the Security Plan; and (e) all applicable Laws. Contractor shall

coordinate the activities of Engineer, PM/CM, the Prime Subcontractors, the Safety

Director, the QA/QC Director and other persons providing labor and materials to the

Project to design, engineer and procure the equipment and materials for and complete the

construction of the Facility and act as the interface between the Owner and such persons

all in accordance with applicable Law and Good Utility Practice.

4.2 - Retention of Qualified Subcontractors and Suppliers Contractor may subcontract

any portion of the Work to one or more Subcontractors and Suppliers. Approved

Subcontractors and Suppliers as of the date hereof are set forth in Schedule VIII.


3-86 | EPC Template

Contractor shall provide notice to Owner of all proposed Subcontractors and Suppliers

for the Project who are not identified on Schedule VIII. Owner shall have the right to

present to Contractor, within the time period specified in Section 16.20 of this

Agreement, any objections or concerns they have regarding such proposed

Subcontractors and Suppliers, which objections and concerns shall be duly considered by

Contractor; provided, however, that the final decision and responsibility as to whether to

contract with any particular Subcontractor or Supply shall reside with Contractor.

4.2.1 Project Engineer. Contractor shall retain an engineer for the Project

(“Engineer”) or perform the duties of the Engineer. Engineer or Contractor shall be

retained under a separate Engineer’s Contract. The Engineer’s Contract shall include,

among other terms and conditions: (a) the requirement that Engineer dedicate a

competent team of professionals to perform the services required under Engineer’s

Contract and keep that team available to the Project for the duration of Engineer’s

Contract (which shall not end prior to the Commercial Operation Date); and (b)

commercially reasonable levels of professional liability insurance protecting against

errors and omissions of Engineer and Engineer’s employees and agents. Engineer shall

have the primary design responsibilities with respect to the Project. Engineer’s role and

responsibilities shall be more particularly set forth in Engineer’s Contract. If Contractor

undertakes to perform the duties of the Engineer, Contractor shall have the same

obligations defined for inclusion in the Engineer’s Contract.

4.2.2 Project Manager/Construction Manager. Contractor shall retain the project

manager/construction manager for the Project (“PM/CM”) or perform the duties of the

PM/CM. PM/CM or Contractor shall be retained under a separate PM/CM’s Contract.

At a minimum, the PM/CM’s Contract shall obligate the PM/CM to (a) create and update

the Project Schedule, subject to Owner’s approval; (b) monitor and oversee the

performance of all Subcontractors and suppliers to keep the Project moving towards

completion in accordance with the Project Schedule; (c) review and recommend whether

to pay of all invoices submitted by Project suppliers and Subcontractors and review the

work related thereto, to confirm that the work for which payment is requested has been

performed; (d) inspect the Work as completed to confirm that it was constructed in

accordance with the Specifications and performed to the required standard of care; (e)

comply with the Safety Plan; and (f) inform Contractor and the Owner regarding the

progress and quality of the Work, as necessary to enable them to perform their respective

functions under this Agreement. PM/CM shall further have the role and responsibilities

with respect to the Project, as are more particularly set forth in the PM/CM’s Contract.

The PM/CM’s Contract shall make a portion of PM/CM’s compensation subject to

achieving certain Project goals, including timely completion of the Work and completion

of the Work within the Project budget. The PM/CM’s Contract shall further obligate the

PM/CM to carry commercially reasonable amounts of professional liability insurance.

4.2.3 Major Equipment Suppliers. Contractor, with the assistance of PM/CM,

will select the persons to supply the major equipment systems for the Project.

(collectively, the “Major Equipment Suppliers”). Contractor and PM/CM, after

consultation with Owner, will select the Major Equipment Suppliers through a process

that evaluates, among other things, the cost, performance specifications, environmental

impact, performance history, and demonstrated performance of their installed equipment.

Contractor will negotiate commercially reasonable forms of contracts with the Major


3-87 | EPC Template

Equipment Suppliers, which forms shall include commercially reasonable terms and

conditions, including warranties, performance guarantees and liquidated damages.

4.2.4 Prime Subcontractors. Contractor shall retain the major construction

subcontractors (“Prime Subcontractors”) for the Project. Contractor, with the assistance

of PM/CM, will select the Prime Subcontractors by an evaluation process that evaluates

potential candidates based upon relevant criteria, including experience, reputation, and

demonstrated success in relevant construction projects. The contracts between

Contractor and the Prime Subcontractors (the “Prime Subcontractor Contracts”) shall

provide for payment to the Prime Subcontractors on a cost-plus incentive basis, with the

Prime Subcontractors given incentives for completing the Project on time, within budget,

and with good safety records. Each Prime Subcontractor Contract shall also give

Contractor the right to inspect and review that Prime Subcontractor’s audited financial

statements, payroll records and other relevant information related to its invoices to

Contractor.

4.2.5 Quality Control/Quality Assurance. Contractor shall retain a qualified

person or firm to be responsible for quality control and quality assurance of the

completed Work (the “QA/QC Director”), subject to the approval of Owner, not to be

unreasonably withheld. The QA/QC Director shall be responsible, among other things,

for developing procedures for testing materials, the oversight of materials testing,

inspecting field assembled equipment (such as quality control of welding procedures and

welding testing), verifying QA/QC of materials used in the manufacture of major

equipment and verifying that all equipment and materials delivered to the Site meet the

specifications of Engineer. The QA/QC Director shall report to PM/CM, Contractor and

the Owner on a biweekly basis, or more frequently as needed. The role and specific

responsibilities of QA/QC Director with respect to the Project shall be more particularly

set forth in the agreement between Contractor and QA/QC Director (the “QA/QC

Contract”).

4.2.6 Safety Director. Contractor shall retain a qualified person or firm to serve

as the safety director for the Project (the “Safety Director”), subject to the approval of

Owner, not to be unreasonably withheld. If required by either Owner’s or Contractor’s

insurance provider, such Safety Director shall have the qualifications and authority

necessary to support the issuance of the required insurance for the Project. The Safety

Director shall be responsible to observe and enforce safe practices at the Site and related

support facilities and shall report to PM/CM, Contractor and the Owner on a biweekly

basis. The role and responsibilities of the Safety Director shall be more particularly set

forth in the agreement between Contractor and the Safety Director (the “Safety

Contract”).

4.3 Sales & Use Tax. Contractor shall pay, and invoice to Owner, as part of the Cost of

the Work, all sales, consumer, use, gross receipts, and other similar taxes, special

assessments and other fees in accordance with applicable Law.

4.4 Investigation of the Site.

4.4.1 Contractor acknowledges that it has reviewed the Ground Lease and has

made reasonable efforts to investigate the physical conditions affecting the Site,

consistent with the access that has been to Contractor and its agents. [Limitations, e.g.,


3-88 | EPC Template

“Contractor has not been granted access to and has made no investigation or inspection

of any of the off-Site staging areas, including the Lay Down Areas, the Soil Disposal

Area, or the Easement Areas, beyond drawings and other information previously

provided by Owner on which Contractor has relied.”]

4.4.2 Contractor shall ascertain the nature of the Site consistent with the access

that Owner has granted to Contractor and its agents and the general and local conditions

that may affect the Site and the cost of making the Site fit for the construction of the

Facility, provided however, that Contractor makes no representation or warranty as to

(a) any environmental matters that may exist, including without limitation, any surface or

subsurface contamination at the Site, except such surface or subsurface contamination

found in soil boring testing and subsurface water testing previously conducted by or on

behalf of Contractor; (b) the use or contents of any of the buildings that Contractor has

been asked to demolish or remove from the Site, except such use or contents revealed by

soil boring testing and subsurface water testing previously conducted by or on behalf of

Contractor; (c) any subsurface conditions of the Site; (d) any matters not disclosed in

Owner-provided drawings or other information provided to Contractor by Owner on

which Contractor has reasonably relied; or (e) any conditions at any off-Site areas or

facilities previously provided by Owner with respect to the Facility.

4.4.3 Except for environmental conditions and subsurface or other conditions that

could not have reasonably been discovered by a reasonable inspection of the Site within

the scope of access afforded Contractor by Owner, Contractor is responsible for

accommodating all Site conditions in the Specifications for and construction of the

Facility, regardless of when the Site condition is discovered, but shall not be responsible

for (a) subsurface or other conditions that could not be discovered by a reasonable

inspection of the Site, consistent with the limitations on access provided by Owner; (b)

any conditions of the off-Site Lay Down Areas, the Soil Disposal Area, the Easement

Areas or other staging areas for the Work provided by Owner, except to the extent that

such conditions were disclosed by the drawings and other information provided by

Owner to Contractor. Notwithstanding a failure by Contractor to perform its Site

investigation due diligence consistent with the access Owner has granted under this

Section 4.4, Contractor (except as expressly provided otherwise in Section 7.2.4 of this

Agreement) shall be responsible for successfully constructing the Facility without

adjustment of the Guaranteed Maximum Price.

4.5 - Hazardous Substances; Erosion.

4.5.1 Contractor shall be responsible for assuring that all Hazardous Substances

transported to or from, moved, or used or stored upon, the Site in connection with

Contractor’s performance of its obligations under this Agreement are transported, moved,

used or stored in accordance with applicable Law. Contractor shall further assure that all

Hazardous Substances are disposed of in accordance with applicable Law. Any costs of

clean up, transportation, treatment, storage or disposal of Hazardous Substances, other

than those Hazardous Substances identified in the soil boring testing and subsurface

water testing previously conducted by or on behalf of Contractor, that were on or under

the Site prior to the commencement of the Work shall be the sole responsibility and

expense of Owner.


3-89 | EPC Template

4.5.2 Contractor shall be responsible for assuring that all waste generated in the

performance of its obligations under this Agreement and all waste transported to or from,

moved or used or stored upon the Site by Contractor or any other person for whom

Contractor is responsible, within the scope of Contractor’s performance of this

Agreement, is handled in accordance with applicable Law. Contractor shall cause the

affected Subcontractors to manage and dispose of the waste in compliance with

applicable Law and Good Utility Practice.

4.5.3 Contractor shall be responsible to see that all sedimentation, erosion

control, and siltation within or adjacent to the Site caused by Subcontractors is conducted

in accordance with applicable Law. In the event Contractor fails to prevent such

sedimentation, erosion or siltation from occurring in violation of applicable Law, Owner

shall have the right, after notifying Contractor and providing it an opportunity to cure of

not less than three (3) Business Days, to correct such pollution or siltation. All expenses

incurred by the Owner in the course of such correction shall be credited against payments

owed to Contractor.

4.6 Compliance with Laws In carrying out its duties hereunder, Contractor shall comply

with all applicable Laws, including without limitation, all Laws relating to health, safety

or the protection of the environment. Owner shall have no responsibility for any costs of

environmental compliance or remediation to the extent caused by the negligent acts and

omissions or intentional or willful misconduct of Contractor or any of Contractor’s

employees or agents, including, without limitation, all Subcontractors and Suppliers.

4.7 Traffic Control Plan. Contractor shall work together with Owner to develop a

comprehensive traffic control plan for the Project (“Traffic Control Plan”), to assure all

persons supplying the Work prompt and safe access for deliveries to the Site, while

minimizing disruption to the surrounding area its regular activities or scheduled events.

Without limitation, the Traffic Control Plan shall provide, as required by the surrounding

areas and its activities: (a) for off-site parking for construction personnel and transport of

such personnel to the Site; (b) a general prohibition on deliveries of Major Equipment to

the Site during the hours of [Hours,] ; (c) that Contractor shall use its reasonable efforts

to arrange for deliveries of Major Equipment [Days and hours] ; and (d) that it shall be

consistent with any traffic control requirements set forth in any Governmental

Authorization. Owner shall use good faith efforts to assist Contractor in the development

of this plan and to assist in gaining for Contractor access to roads and other transportation

facilities necessary for timely and cost-effective completion of the Project. When

available, the draft traffic control plan shall be presented to Owner for review and

approval. Contractor acknowledges that it has studied the Site, railroads, surrounding

streets and highways and Contractor can transport all equipment to the Site and all costs

associated with the transportation and unloading of the equipment are included in the

Guaranteed Maximum Price, provided that access to the Site is available to Contractor

and the Subcontractors at all reasonable times and in accordance with the Traffic Control

Plan. Contractor shall provide to Owner its proposed Traffic Control Plan no later than

30 days following the date of this Agreement. The Parties shall use their good faith

efforts to finalize the Traffic Control Plan no later than 60 days following the date of this

Agreement.


3-90 | EPC Template

4.8 Safety Plan. Contractor, in conjunction with PM/CM, Safety Director and the Prime

Subcontractors for the Project shall develop a comprehensive safety plan to establish and

maintain appropriate safety rules and procedures in connection with the performance of

this Agreement (the “Safety Plan”). Such Safety Plan shall require, among other things

that Contractor and Owner satisfy any safety requirements of the insurers for the Project.

Contractor shall provide to Owner its proposed Safety Plan no later than 45 days prior to

the start of construction, but in any case no later than [Date] . The Parties shall use

their good faith efforts to finalize the Safety Plan no later than 15 days prior to the start of

construction.

4.9 Security Plan. Contractor shall establish appropriate security measures to maintain

the security of the Site and protect the Work in progress (the “Security Plan”). The

Security Plan shall comply with all requirements of the insurers for the Project, shall

address the reasonable concerns of the University and shall, at a minimum require that

Contractor shall cause to be erected (as required by the nature and activities of the

surrounding areas) temporary chain link fencing, and temporary security lighting to

secure the Site and Lay Down Areas. Contractor shall provide to Owner its proposed

Security Plan no later than 30 days following the date of this Agreement. The Parties

shall use their good faith efforts to finalize the Security Plan no later than 60 days

following the date of this Agreement.

4.10 Construction and Storage Confined to Permitted Areas. Contractor and the

Subcontractors and suppliers shall confine construction activities and storage to the Site,

to the Lay Down Areas provided by Owner as more particularly depicted on the diagram

attached hereto as Schedule V (the “Lay Down Areas”), to the area designated by Owner

for soil disposal in the Ground Lease (the “Soil Disposal Area”), to temporary and

permanent easements that are reasonably necessary for the construction, operation,

maintenance and repair of the Project and support facilities for the Project, that have been

provided or are in the future provided by Owner (the “Easement Areas”) and to other

areas that may hereafter be provided by Owner or other persons for such purposes.

4.11 Construction Office; Records. Contractor shall maintain a temporary construction

office at the Site during the course of construction of the Facility. Contractor shall

maintain at such office a copy of the Specifications, together with construction-related

drawings that are developed during the course of the Project. Contractor agrees to

provide space for the Safety Director in the temporary construction office. Contractor

agrees to remove the temporary construction office from the Site within six months after

the Commercial Operation Date. Contractor shall further maintain an office off the Site,

which during the Term of this Agreement and the 24 months following the Commercial

Operation Date shall serve as a repository for all documents relating to the Project.

Contractor shall provide Owner full access to such records during regular business hours

in accordance with the procedures set forth in Section 5.4.4.

4.12 No Liens. Contractor shall be responsible to see that all equipment and materials

incorporated into the Work that are purchased by Contractor or by any Subcontractor to


3-91 | EPC Template

the Project shall not be subject to any chattel mortgage, conditional sales contract, or

security agreement under which an interest or lien is retained; provided, however, that

such equipment and materials may be subject to the security interest of the vendor, to

secure the payment of the purchase price of the affected equipment and materials, so long

as such security interest is terminable upon payment in full and Contractor causes good

title to such equipment and materials, free and clear of such security interest to be

conveyed to Owner on or before the date of Final Payment. Contractor shall, as a

condition precedent to payment, provide lien waivers to Owner before final payment is

required to be made by Owner.

4.13 Compliance with Authorization Requirements. Contractor will familiarize itself with

and comply with any applicable requirements of all Government Authorizations for the

Facility, including without limitation, requirements pertaining to environmental

protection, noise abatement, erosion, traffic control, and parking.

4.14 Patents .Contractor shall, at its sole expense, pay or use reasonable efforts to ensure

that its Subcontractors and Suppliers pay all royalties, license fees or other costs incident

to their use in the performance of the Work of any invention, design, process, product, or

device that is the subject of patent rights or copyrights held by others.

4.15 Inspections; Defective Work. Contractor shall communicate regularly with PM/CM

regarding PM/CM’s inspection of completed portions of the Work for conformity with

the Specifications and for freedom from defects. Contractor shall accompany PM/CM on

such inspections as necessary under the circumstances. In the event that PM/CM notifies

Contractor of defective work that: (a) has the potential to have a material impact on the

Cost of the Work or the Project Schedule; or(b) indicates a systemic problem (i.e., a

persistent, widespread and/or material problem for the Project) with any piece of

equipment, any portion of the Work, or the performance of any Major Equipment

Supplier or Subcontractor, Contractor shall within 3 Business Days notify and provide

relevant information to the Owner. Such information shall include the nature and extent

of the problem, the cost and delay associated with the defective Work (if known), and the

steps that Contractor and PM/CM are taking to remedy the defective performance,

including any remedies that they are pursuing under the applicable contract.

4.16 Contractor Responsibility to Owner. Contractor covenants that in carrying out its

duties on behalf of Owner under this Agreement, Contractor will at all times proceed in

accordance with Good Utility Practice, will protect the interests of Owner in any dealings

with Contractor’s affiliates .

4.17 Facility Start Up and Acceptance Testing. Contractor shall be responsible for

coordinating all tasks and responsibilities associated with Acceptance Testing and

Facility Start Up.

4.17.1 Testing Methodology. The testing methodology for Acceptance Testing is

set forth in Article 11 and in Schedule III.

4.17.2 Acceptance Standards; Consequences of Under-Performance. The

Acceptance Tests for the Work and the consequences for the Work falling short of the


3-92 | EPC Template

Acceptance Test Capacity Guarantee standards are set forth in Article 11 and Schedule

III.

4.18 Other Authorizations. Except for the Governmental Authorizations, Contractor shall

be required to obtain all other Authorizations (e.g., street opening permits, plumbing

permits, etc.) required for the performance of the Work.

4.19 Confidentiality. Contractor shall make available to Owner any record produced or

collected under this Agreement. Owner agrees to treat as confidential materials that

Contractor reasonably identified, and clearly designated, as confidential. Owner agrees

that if it shall receives an order (in whatever form) compelling it by Law to disclose any

such confidential record produced or collected under this Agreement, it shall (to the

extent permitted by Law) afford Contractor, and any Subcontractors who were the source

of the requested record, notice of such request to afford Contractor or such others an

opportunity to contest the order.

4.20 Insurance. Contractor shall obtain and maintain insurance as set forth in

Schedule II.

4.21 Contractor Guarantee. On the Effective Date, Contractor shall obtain and deliver a

guarantee from [Name of parent firm or other Guarantor] . (“Parent Guarantee”) of

performance for the obligations of Contractor, in the form of Schedule X. The

obligations of Owner pursuant to Article 5 hereunder are expressly conditioned upon the

receipt of such Parent Guarantee.

ARTICLE 5 - OWNER’ RIGHTS AND RESPONSIBILITIES

5.1 Transfer of Control Responsibility to Owner. On the Commercial Operation Date,

Owner, through Operator and in accordance with the terms of a separate O & M

Agreement, shall assume sole responsibility for the dispatch and control of the Facility.

except that Contractor shall have the right and obligation to (a) provide technical,

operational and general supervisory guidance, (b) complete any remaining Punch List

items on a schedule that is mutually agreeable to the Parties; and (c) otherwise perform

its remaining obligations under this Agreement.

5.2 Owner’s Responsibilities During the Project. Owner shall:

5.2.1 Make payment of the Cost of the Work in accordance with Article 9.

5.2.2 Require employees and agents to abide by all rules applicable to the Site and

the Facility, including but not limited to rules pertaining to safety, security procedures or

requirements, and designated entrances.

5.2.3 Reasonably cooperate with Contractor and provide any other assistance

reasonably necessary to enable Contractor to perform the Work as required hereunder.

5.2.4 Provide adequate temporary construction easements and permanent

easements for the Facility and any necessary support facilities for the Facility.

5.2.5 At all times promptly respond, including making appropriate representatives

available with decision-making authority, to any reasonable requests by any of the Parties


3-93 | EPC Template

to this Agreement for meetings, for review and comments regarding relevant documents

provided to them for review and comment.

5.2.6 At all times, use commercially reasonable efforts to proceed in a manner

that supports the Project Schedule.

5.2.7 Promptly take all actions reasonably requested by Contractor to assist

Contractor in obtaining any Authorizations for the Facility.

5.2.8 Not unreasonably withhold their support from other actions reasonably

requested by Contractor to promote the timely completion of the Facility or to promote

the completion of the Facility within the Project budget.

5.3 Denial of Authorizations. Subject to the specific rights and obligations of the Parties

set forth in Section 7.2.4 and Article 14, if Contractor or Owner is denied a required

Authorization, or any such Authorization is obtained but contains restrictions,

qualifications or conditions that would have a material adverse impact on the benefits or

obligations of the Parties under this Agreement, the Parties agree to use commercially

reasonable efforts, within 30 days of the denial of the required Authorization or issuance

of the unduly restrictive Authorization, to reform this Agreement, or to take other

mutually agreeable actions (including, for example and without limitation, one Party

indemnifying or making whole the other Party), that provide each Party with economic or

other benefits that are substantially equivalent to those set forth in this Agreement. If the

Parties are unable to so reform this Agreement or agree upon other mutually acceptable

arrangements, Section 13.5 (Force Majeure; Failure of Authorizations) shall apply.

5.4 Owner’s Additional Rights and Responsibilities. In addition to its responsibilities as

Owner under Section 5.2 of this Agreement, Owner shall have the following

responsibilities with respect to the Project:

5.4.1 Financing. Owner will take all actions necessary to obtain the financing it

needs to enable it to satisfy its payment obligations under this Agreement.

5.4.2 Inspection of Contractor’s Records. At any time from the execution of this

Agreement to 7 years after the Final Completion Date, Contractor (or an Affiliate of

Contractor duly designated as the custodian of Contractor’s books and records) shall,

upon reasonable prior notice from Owner with respect to the subject matter and schedule,

provide a designated representative of Owner during normal business hours with such

reasonable access to Contractor’s books and records as is reasonably necessary to enable

the person providing notice to review Contractor’s costs incorporated into the Cost of the

Work and Contractor’s calculation thereof. Such review shall be at the cost and expense

of the person(s) conducting the review. In conducting such review, the person(s)

reviewing such books and records shall follow reasonable security procedures designed

to protect against the release of trade secrets and other confidential information.

5.4.4 Owner’s Right to Inspect Work. Owner and its agents and employees shall,

upon reasonable prior notice to Contractor and subject to adherence to the safety

procedures and other procedures and requirements applicable to the Site (including

without limitation, and such procedures and requirements established in connection with

any insurance coverage obtained in connection with the Project), have access to inspect

all Work; provided, however, that any inspection of the Work shall be conducted at a

reasonable time and in a manner that does not delay or increase the Cost of the Work by


3-94 | EPC Template

disrupting the Work. Contractor shall have the right to condition such inspection upon the

persons conducting the inspection observing procedures to preserve the safety and

security of the Site and to comply with any applicable requirements of Project insurers.

Notwithstanding any review or inspection by the State of the Work, Contractor shall not

be relieved of its responsibility for the design, construction and performance of the

Project as expressly set forth in this Agreement solely by virtue of the State’s inspection

or review.

5.5 Contractor’s Rights and Responsibilities.

5.5.1 Financing. Contractor will take all actions necessary to obtain the financing

it Power needs to enable it to satisfy its payment obligations under this Agreement.

5.5.2 Government Authorizations. Contractor, on behalf of Owner shall apply for

and obtain all necessary Authorizations for the construction and operation of the Facility

that are identified by Government Authorities as being required for the Facility, based

upon the submitted Engineering Plan for the Facility.

ARTICLE 6 - OWNERSHIP OF ASSETS

6.1 Ownership of the Facility; Risk of Loss. Ownership of the Facility, and of each item

of material, equipment, machinery, supplies and other items incorporated therein, shall

pass from Contractor to Owner in accordance with the percentage Ownership interest

obtained with each payment pursuant to Article 9, except as provided below.

ARTICLE 7 - COST OF THE WORK; PROJECT FINANCING

7.1 Guaranteed Maximum Price. The maximum amount the Owner shall be obligated to

pay Contractor for completion of the Work shall be the sum of [Fixed Price of

Contract] (“Guaranteed Maximum Price”), subject only to the adjustments defined in

this Article 7 of this Agreement. Owner’s responsibility for the Guaranteed Maximum

Price shall be adjusted only pursuant to (a) Section 7.2 of this Agreement relating to the

Guaranteed Maximum Price; (b) the right of the Utility Regulator to affect the Costs of

the Work, as set forth in Article 14; and (c) the impact of Change Orders made by the

Parties as set forth in Article 8, but excluding increases to the Cost of the Work resulting

from Change Orders necessary to remedy errors and omissions by Contractor or its

Subcontractors.

7.2 Exclusions from the Guaranteed Maximum Price. The following items (the

“Excluded GMP Costs”) are not covered by the Guaranteed Maximum Price and such

costs shall be payable by Owner in excess of the Guaranteed Maximum Price, except as

expressly provided otherwise below: (a) any incremental Cost of the Work resulting from

uninsured Force Majeure, which, at Owner’s election, may be shared equally with

Contractor, in which case, termination for a Force Majeure Event because of the shared

costs shall not be permitted; (b) any increase or decrease in the Cost of the Work

resulting from the imposition of additional requirements or reallocation of the Cost of the


3-95 | EPC Template

Work by the Utility Regulator, which shall be handled in accordance with Section 14.l;

(c) any increase or decrease in the Cost of the Work resulting from any Change Order

made pursuant to Section 8.4, 8.5, or 8.8, which shall be allocated as set forth in such

Sections; and (d) any increase in the Cost of the Work resulting from the Owner’s failure

to cooperate reasonably with Contractor the other Parties to this Agreement, including

without limitation owner’s failure to carry out its duties under Sections 5.2 or 5.4.

ARTICLE 8 - ADDENDA AND CHANGE ORDERS

8.1 General. “Addenda” are changes to the Work before construction begins. “Change

Orders” are changes to the Work after construction begins. Addenda and Change Orders

shall be handled as follows:

8.1.1 Any Party may request an Addendum or Change Order in writing.

8.1.2 Approval or rejection of Addenda and Change Orders that increase or

decrease the Cost of the Work or change in schedule that could have the effect of

delaying Mechanical Completion must be approved by Owner and Contractor prior to

execution of such Addenda or Change Order.

8.1.3 Addenda and Change Orders that increase or decrease the Cost of the Work

shall be approved or rejected in accordance with the procedures set forth in Sections 8.2

and 8.3 and in accordance with the time periods provided for the State in Section 16.20.

8.2 Process. Any of the Parties may request in writing an Addendum or a Change Order

consisting of additions to, deletions from, or other revisions to the Work, provided that

such changes are within the general scope of the Work. All requests for Addenda or

Change Orders by an Owner shall be submitted to Contractor, with copies to PM/CM and

Engineer (as appropriate). All requests for Addenda or Change Orders by Contractor

shall be submitted to Owner, with copies to PM/CM and Engineer.

8.3 Initial Evaluation of Addendum and Change Order Requests; Applicable Standards.

Any Addendum or Change Order request from an Owner shall be evaluated by

Contractor, with the input and assistance of PM/CM and Engineer. Each Addendum or

Change Order request shall initially be evaluated to determine whether it: (a) adds value

to the Facility without increasing the Cost of the Work or delaying Mechanical

Completion of the Facility; (b) adds value to the Facility without delaying Mechanical

Completion of the Facility, but increases the Cost of the Work; or (c) does not add value

to the Facility or adds value to the Facility, but will delay Mechanical Completion of the

Facility or compromise performance of the Facility; or (d) (in the case of an Addendum

only) decreases Cost of Work without delaying Mechanical Completion. All Addenda

and Change Orders in category (a) or Addenda in category (d) shall be approved; all

Addenda and Change Orders in category (c) shall be rejected (unless mutually agreed

otherwise, including the allocation of the cost, by all Parties); and all Addenda and

Change Orders in category (b) shall be approved, if and only if the increased Cost of the

Work is allocated as set forth below in this Article 8.

8.4 Addenda or Change Orders Requested by Owner. If Owner requests an Addendum

or a Change Order to address solely Owner’s needs, including without limitation changes


3-96 | EPC Template

to address aesthetic or design requirements, and such Addendum or Change Order is

approvable under Section 8.3 above and approved by Contractor, but increases the Cost

of the Work, then Owner shall bear the entire incremental Cost of the Work (including

costs of delays and rework) resulting from such Addendum or Change Order.

8.5 Addenda and Change Orders Required by Acts of Governmental Authorities. If any

action of any Governmental Authority requires an Addendum or a Change Order that

increases or decreases the Cost of the Work the Owner shall be responsible for any

incremental Cost of the Work.

8.6 Addenda and Change Orders Requested by Contractor. If Contractor requests an

Addendum or a Change Order that is approved by the Owner, then Owner and Contractor

shall share equally any increase or decrease in the Cost of the Work resulting from such

Addendum or Change Order.

8.7 Addenda and Change Orders Resulting from Errors or Omissions of Contractor.

Owner shall not be responsible for any increased Cost of the Work resulting from

Addenda and Change Orders that are necessary because of errors of Contractor and/or its

Subcontractors in coordinating the design, scheduling or construction of the Facility.

8.8 Markup on Addenda and Change Orders. On any Addenda and Change Orders under

Sections 8.4, and 8.5, Contractor and its Subcontractors shall be entitled to a markup not

to exceed ten percent (10%) in the aggregate of the Cost of the Work covered by the

Addendum or Change Order.

8.9 Tracking of Cost Impact of Addenda and Change Orders. Contractor shall institute

and maintain a ledger type system to track the impact of all increases and decreases to the

Owner’ Allocated Shares of the Cost of the Work resulting from any Addenda or Change

Orders approved by Contractor and Owner. Contractor shall monthly, and more

frequently upon request, report to the Owner the cumulative impact of such Addenda and

Change Orders upon their respective Allocated Shares of the Cost of the Work. If

applicable, the Parties shall modify the Project Schedule and Payment Milestones to

reflect the impact of Addenda and Change Orders.

ARTICLE 9 - PAYMENT FOR WORK

9.1 Payment Milestones; Payment Schedule.

9.1.1 Progress Report and Invoice.

9.1.1.1 On or about the fifth Business Day of each calendar month, Contractor

shall submit to Owner (i) its invoice, and (ii) a progress report covering the previous

calendar month (the “Payment Period”) containing at a minimum the following

information (“Progress Report”): (1) A description of the Work performed during the

Payment Period and all Payment Milestones achieved; (2) A description of the Work not

yet performed, if any, necessary to meet the Project Schedule for such Payment Period;

(3) A description of the Work and the related Payment Milestones anticipated to be


3-97 | EPC Template

performed or achieved during the next month; (4) A statement of the amount due

Contractor for Work for which payment was withheld from an earlier payment; (5) A

statement of all sums previously paid to Contractor; (6) Partial lien waivers from

Contractor covering all the Work through the immediately preceding Payment Period; (7)

An updated Project Schedule showing progress to date, any failures to meet the Project

Schedule, the current schedule of activities and a forecast of activities remaining to be

performed; (8) Information regarding unusual weather conditions or Force Majeure

events encountered during the Payment Period that have affected the Work; (9) A

discussion of any problems encountered during the period and the remedies effected or

planned; (10) Bulk quantities installation curves showing planned versus completed

quantities (e.g., concrete, , piping, conduit and wire); (11) Any interim payment by

Contractor to the Subcontractors that obligates Owner to pay interest to Contractor as part

of the invoiced Milestone Payment, together with the amount of interest that is payable;

(12) Any other information reasonably requested in writing by either Owner; (13) Value

of Change Orders and Addendums added to the Payment Milestone Schedule; (14)

Itemization and allocation of any Excluded GMP Costs; and (15) If requested by Owner:

a) the dates of any Payment Milestones for Major Equipment Supplier contract payments

coming due before the next monthly Payment Due Date; and b) Contractor’s good faith

estimate of all payroll and other Subcontractor and Supplier payments (together with the

estimated payment dates) that Owner will need to make, prior to the next monthly

Payment Due Date to avoid or minimize interest charges.

9.1.1.2 In the event either Owner reasonably determines that Contractor has not

met a Payment Milestone in accordance with the Payment Milestone Schedule during the

applicable period, Owner may withhold an amount equal to the value of the Payment

Milestone not completed until such Payment Milestone is completed. In the event of any

such withholding, the dissatisfied Owner shall deliver to Contractor, not later than the

Payment Due Date for the payment from which such withholding is being made, a

written Notice specifying the basis for the withholding. Contractor shall be paid such

withheld amount, without interest, on succeeding Payment Date(s) when and to the extent

Contractor demonstrates and Owner reasonably agrees that the previously unjustified

payment has become justified. If the disputing Owner and Contractor agree before the

next Payment Due Date that any Payment Milestone payment was wrongly withheld,

then the disputing Owner shall pay to Contractor on the next Payment Due Date interest

at the Late Payment Rate on any monies that were wrongly withheld. In the event of any

withholding dispute that is not resolved by the next Payment Due Date, Contractor shall

have the right to have the PM/CM review the dispute and the disputing Owner’s reasons

for withholding payment. If the PM/CM concludes the withholding is justified, then

Contractor shall not be entitled to be paid the withheld amount unless and until it

addresses any reasons for withholding that are confirmed by the PM/CM. If the PM/CM

concludes that the withheld payment was wrongly withheld, then the withholding Owner

shall immediately pay to Contractor, the wrongly withheld amount, together with interest

at the Late Payment Rate on the withheld Payment Milestone payment(s), from the

Payment Due Date until the wrongly withheld amount is paid in full.

9.1.1.3 In the event Contractor owes Owner any amounts under this Agreement

and such amounts remain unpaid 30 Days after Notice thereof, Owner may offset such

amounts from any payment hereunder.


3-98 | EPC Template

9.1.1.4 Contractor shall not cease or reduce the rate of its performance under this

Agreement on account of any withholding under this Section 9.1.

9.1.2 Payment. Other than amounts properly withheld pursuant to Sections 9.1

and 9.2, and retainage as described in Section 9.3, Owner shall pay the applicable

payment for each Payment Milestone within 30 days after Contractor invoices the

applicable Payment Milestone (the “Payment Due Date”).

9.1.3 Interest. Owner will pay actual reasonable interest cost incurred by

Contractor to advance funds for payments to Subcontractors.

9.2 Retainage. All amounts paid by Owner to Contractor pursuant to the Payment

Milestone schedule for Non-Major Equipment and Services prior to Commercial

Operation shall be subject to retainage of ten percent (10%) until the aggregate retainage

reaches [Cap amount] , whereupon the State shall not withhold any further retainage.

Upon Mechanical Completion, one-half of the retainage withheld, less the Punch List

Holdback Amount, shall be released to Contractor.

9.3 Final Payment. Upon (a) Final Completion, (b) the provision by Contractor of lien

waivers for all remaining liens on the Project to Owner and (c) acceptance of the Work

by Owner in accordance with Section 10.6, Owner shall pay the “Final Payment”.

ARTICLE 10 - COMMENCEMENT AND PERFORMANCE OF WORK

10.1 Commencement; Schedule. Contractor shall commence performance of the Work at

the earliest reasonable time (the “Construction Commencement Date”) but no later than

30 days following the last to occur of the following: (a) issuance of any Authorizations

required for the Facility; (b) completion of the final foundation drawings for the Project;

(c) availability of suitable weather conditions for the commencement of construction; and

(d) Owner having in place all insurance policies required of them under this Agreement.

10.2 Mechanical Completion. “Mechanical Completion” shall occur when, except for

minor items of the Work that would not affect the performance or operation of the

Facility such as painting, landscaping and so forth (a) all materials and equipment for the

Facility have been installed substantially in accordance with the Specifications; (b) all

systems required to be

installed by Contractor have been installed and tested (excluding Acceptance Testing);

(c) all the equipment and systems can be operated in a safe and prudent manner and have

been installed in a manner that does not void any Subcontractor equipment or system

warranties; (d) the Facility is ready to commence start-up, Acceptance Testing, and

operations; (e) a Punch List of the uncompleted items is established by Contractor and

mutually agreed upon by the Parties, provided that if Contractor and Owner disagree as to

whether a particular item shall appear on the Punch List, the Independent Engineer shall

promptly decide the dispute; (g) all Work, other than Punch List items and Acceptance

Testing and any other Work sequenced after Mechanical Completion, has been

completed; and (h) the Independent Engineer certifies each of the foregoing in writing to

the Owner.


3-99 | EPC Template

10.3 Commercial Operation. “Commercial Operation” shall be deemed to have occurred

as of the first point in time after (i) Mechanical Completion of the Facility has occurred,

as determined by the Independent Engineer; (ii) completion of Acceptance Testing

pursuant to Section 11.2, or alternatively satisfaction of Contractor’s Acceptance Test

related obligations in Section 11.3 (including, if applicable, payment of liquidated

damages pursuant to Section 11.3); and (iii) when the Facility is used and useful for the

purpose of delivering electric energy to Owner (other than electric energy delivered

during Facility Start Up and Acceptance Testing). If the Owner disputes that

Commercial Operation has occurred, it shall provide written notice to that effect to

Contractor, specifying the basis for disputing Commercial Operation and the Parties in

dispute shall thereafter utilize the dispute resolution procedures in Article 12 to resolve

the dispute. Failure of the Owner to provide such written notice within ten (10) Business

Days after receipt of notice of Commercial Operation shall constitute waiver of the

Owner’s right to dispute that Commercial Operation has occurred.

10.4 Punch List. A list of the uncompleted items for the Project shall be established by

Contractor prior to Mechanical Completion (the “Punch List”). The Punch List may be

amended from time to time, upon written Agreement of the Parties, prior to Final

Completion. The Punch List shall include all deliverables through Final Completion.

The “Punch List Holdback Amount” shall be two times the aggregate of the value of the

Punch List items agreed to by the Parties, or determined by the Independent Engineer, if

the Parties cannot agree. The Punch List Holdback Amount shall be withheld from

payments due upon Mechanical Completion, and the agreed value of each Punch List

item shall be paid to Contractor upon completion of the Punch List item and any

remaining Punch List Holdback Amount shall be paid to Contractor upon completion of

all Punch List items.

10.5 Final Completion. “Final Completion” occurs after Commercial Operation has

occurred and any remaining Punch List items have been finished. Contractor will notify

Owner when it considers that Final Completion has occurred. If the Owner disputes that

Final Completion has occurred, it shall provide written notice to that effect to Contractor

specifying the basis for disputing Final Completion and the Parties in dispute shall

thereafter use the dispute resolution procedures in Article 12 to resolve the dispute.

Failure of the Owner to provide such written notice within 10 Business Days after the

initial notice from Contractor shall constitute waiver of the Owner’s rights to dispute that

Final Completion has occurred.

ARTICLE 11 - ACCEPTANCE TESTING; CAPACITY GUARANTEE;

COMPLETION GUARANTEE; WARRANTIES; LIMITATION OF LIABILITY

11.1 Acceptance Tests. Contractor will be responsible for coordinating the Acceptance

Tests of the Facility as more particularly set forth in Section 11.2 and Schedule III of this

Agreement (the “Acceptance Tests”). Such Acceptance Tests shall be conducted by one


3-100 | EPC Template

or more qualified independent testing companies approved by the Parties (the “Testing

Engineer”).

11.2 Acceptance Testing.

11.2.1 General. Within 60 days following Mechanical Completion, Contractor

shall cause the Testing Engineer to conduct the initial Acceptance Test, subject to Section

11.2.3 below. The Acceptance Tests shall be conducted in accordance with Schedule III.

11.2.2 Procedure.

11.2.2.1 The procedures for conduct of the Acceptance Test are set forth in

Schedule III. Either Party may propose changes to a test procedure at any time up to 60

days prior to commencement of the initial Acceptance Test, and each Party agrees to

cooperate in good faith in evaluating such change. No change shall be effective,

however, without written acceptance of Owner and Contractor.

11.2.2.2 Contractor shall give Owner and Engineer 30 days’ advance written

notice of the time it expects the qualified independent testing company to conduct the

initial Acceptance Test. Owner, Engineer and their representatives may observe any

Acceptance Test conducted by the Testing Engineer in order to confirm the Testing

Engineer’s compliance with the procedures set forth in Schedule III.

11.2.3 Acceptance Testing Period; Repeat Tests. Contractor, subject to the

provisions of this Section 11.2.3 and Schedule III, may repeat an Acceptance Test as

Contractor deems appropriate; provided, that all Acceptance Tests must be completed by

60 days after the Facility achieves Mechanical Completion (the “Acceptance Testing

Period”), unless: (a) the Parties agree otherwise in writing; or (b) the Acceptance Testing

Period is extended by Force Majeure, but not beyond the Delay Default Date. Contractor

shall bear the costs of performing the repeat Acceptance Tests. Contractor shall give

Owner and Engineer not less than the following advance notice of each Acceptance Test

following the initial Acceptance Test: (i) if the Acceptance Test is a prompt retest which

merely continues a previously commenced Acceptance Test or promptly follows a failed

Acceptance Test, not less than 24 hours advance notice; and (ii) if the Acceptance Test is

a new Acceptance Test that follows an interim period of more than 10 Business Days

during which no Acceptance Testing has occurred, then not less than 3 Business Days

advance notice, unless a shorter period is agreed to by the Parties.

11.2.4 Acceptance Test Results.

11.2.4.1 After the Testing Engineer completes an Acceptance Test, Contractor

shall give written notice thereof to Owner and Engineer and shall provide Owner and

Engineer with all gross and reduced data for such test in accordance with Schedule III.

11.2.4.2 If the Testing Engineer determines that the Acceptance Test was

successfully completed, Contractor shall ensure that the Testing Engineer notifies Owner

and Engineer thereof promptly following determination to that effect, including providing

them a copy of the written test report.

11.2.5 Contractor to Promptly Commence and Complete Acceptance Testing.

Contractor shall promptly commence and complete Acceptance Testing following

Mechanical Completion.

11.3 Acceptance Test Capacity Guarantee. At the end of Acceptance Testing Period

under Section 11.2.3, the Facility shall have demonstrated the capability to produce


3-101 | EPC Template

[Specification of performance standard for production of electricity], based upon the

Acceptance Testing results. Contractor hereby guarantees that the Facility shall perform

at not less than 97% of the Promised Capacity by the end of the Acceptance Testing

Period (the “Acceptance Test Capacity Guarantee”). Contractor and the Testing Engineer

shall be entitled to conduct and verify satisfaction of the Acceptance Tests in stages and

in such order as may be appropriate given the available testing conditions. In the event

that the Facility fails to meet the Acceptance Test Capacity Guarantee, the following shall

apply:

11.3.1 If either the actual tested performance is less than 97% but greater than

90% of the Promised Capacity (the “Minimum Required Capacity”), Contractor may, at

its sole option, elect to either (i) make (or cause to be made) the modifications,

improvements, redesign, repairs or reconstruction (“Remedial Measures”) necessary to

cause the Facility to meet the Acceptance Test Capacity Guarantee as evidenced by

repeat Acceptance Tests; or (ii) pay liquidated damages to Owner as follows: For each

0.1% below 97% of the Promised Capacity, the liquidated damages shall be [Liquidated

damages amount] . Contractor’s obligations under this Section to undertake Remedial

Measures and/or pay liquidated damages shall be counted toward and subject to the

Damages Cap set forth in Section 11.10.

11.3.2 If the actual tested capacity of the Facility is less than the Minimum

Required Capacity, Contractor shall conduct Remedial Measures until the earlier in time

to occur of the following: (a) the actual tested capacity of the Facility is at least equal to

the Minimum Required Capacity; or (b) Contractor reaches the Damages Cap set forth in

Section 11.10.

11.4 Guaranteed Mechanical Completion Date; Delay Default Date. Contractor hereby

guarantees (the “Mechanical Completion Date Guarantee”) that the Facility shall have

achieved Mechanical Completion on or before the Guaranteed Mechanical Completion

Date. In the event that the Facility has not achieved Mechanical Completion on or before

the Guaranteed Mechanical Completion Date, then Contractor shall pay to Owner

liquidated damages as follows: (a) $5,000/day for each day or a portion thereof for the

first 30 days beyond the Guaranteed Mechanical Completion Date that the Project has not

achieved Mechanical Completion; (b) $10,000/day for each day in excess of 30 days

beyond the Guaranteed Mechanical Completion Date that the Project has not achieved

Mechanical Completion. If the Facility fails to achieve Mechanical Completion by the

Delay Default Date, then this shall be an Contractor Event of Default as provided in

Section 13.1.5.

11.5 Compliance with Standards. In the event the Facility contains any design or

construction defects (“Defects”) that cause it to fail to meet any design, construction or

Mechanical Completion standard in the Specifications or the Agreement, then Contractor

shall, at no expense to Owner (except in the case of omitted equipment and materials, as

provided in this Article 11), make (or cause to be made) the Remedial Measures

necessary to remedy the Defects. In the event the Remedial Measures include supplying

equipment and materials that were necessary to the Facility, but omitted from its

construction, Owner shall pay for the costs of such omitted equipment and materials as

part of the Cost of the Work if such Remedial Measure is implemented to address Defects


3-102 | EPC Template

discovered before the Facility achieves Mechanical Completion. If the Remedial

Measure is implemented to address Defects discovered after the Facility achieves

Mechanical Completion, Owner shall not be obligated to pay any portion of the cost of

the omitted equipment and materials.

11.6 Contractor’s Warranties. Contractor warrants to Owner as follows:

11.6.1 Contractor shall perform the Work, including its design and engineering

services hereunder, and will procure all materials hereunder using its best skill and

attention, in accordance with Good Utility Practice associated with engineering and

procurement of facilities such as the Facility.

11.6.2 Contractor shall perform its construction services hereunder in a good and

workmanlike manner and otherwise in accordance with Good Utility Practice associated

with constructing facilities such as the Facility. The Facility will, at all times through the

Commercial Operation Date, comply with all Laws. Contractor shall have no obligation

for breach of warranty under this Section 11.6 to the extent any deficiencies are the result

of Force Majeure, normal wear and tear, misuse or negligence by Owner or someone

other than Contractor acting on Owner’s behalf.

11.6.3 All materials procured or furnished by Contractor hereunder shall be new

(unless otherwise agreed by Owner in writing), of good quality and in accordance with

the specifications set forth in this Agreement and the Schedules.

11.7 Repair and Replacement of Defective Work. If any breach arises under Contractor’s

warranties in Section 11.6, Contractor shall, at its sole cost and expense and subject to the

Damages Cap, promptly correct, replace or repair, at Owner’s selection, any defect in

design, engineering, materials, workmanship or operability in the Facility discovered

during the Warranty Period. Any such correction, replacement or repair prior to

Mechanical Completion shall not be considered a Remedial Measure. Contractor’s

correction, replacement, or repair shall be made with due regard to Owner’s operational

requirements.

11.8 Subcontractor Warranties; Subcontractor Protections for Owner. Contractor shall

use its good faith efforts, in its negotiations with all Subcontractors for the Facility, to see

that such Subcontractors provide commercially reasonable remedies, including

warranties, performance guarantees, and, where appropriate, liquidated damages.

Contractor shall enforce all contractual remedies and enforce any other remedies against

the Subcontractors, including, without limitation, those arising from Subcontractors’

negligent acts or omissions (collectively, the “Subcontractor Protections”). Contractor

shall enforce, at its sole expense, all warranties contained within the Subcontractor

Protections for the Subcontractor warranty periods provided for the specific equipment to

which such warranties pertain. The applicable warranty periods that are known as of the

date of this Agreement are set forth in Schedule IX. Upon request from any Party,

Contractor shall, following the negotiation of all Subcontractor contracts, update

Schedule IX to reflect the final negotiated warranty periods. Contractor agrees to assign

to Owner on and as of the Commercial Operation Date any warranties, performance

guarantees and related liquidated damages provisions contained in any contracts between


3-103 | EPC Template

Contractor and Subcontractors to the extent such assignments are permitted under the

terms thereof.

11.9 Contractor Enforcement of Subcontractor Protections. Contractor agrees to act on

Owner’ behalf, at no additional cost to Owner, to enforce any Subcontractor Protections

with respect to Work; provided, however, that Contractor may use its reasonable

discretion on how best to approach the resolution of any particular problem, and provided

further that such enforcement obligation shall only last for the duration of the

Subcontractor Protection in question. In the event that litigation is necessary to enforce

any Subcontractor Protection, Contractor shall pursue such litigation at its own expense.

11.10 Limitation of Liability

11.10.1 .Notwithstanding any provision in this Agreement to the contrary, in no

event shall the total liability of Contractor or Guarantor to Owner for liquidated damages

and Remedial Measures under Section 11.3 and 11.4 exceed in the aggregate [Cap

amount] , provided that this limitation shall not apply to direct damages following an

Contractor Event of Default pursuant to Article 13, or indemnification obligations

pursuant to Section 11.11, and this limitation in no way affects Contractor’s absolute

obligation to bring the Facility to Mechanical Completion. In addition to the foregoing

liability, Contractor shall deliver to the State [Percent] of any amounts recovered from

or received from vendors, design professionals and contractors or from the insurance

companies or other indemnitors for errors and omissions, late completion penalties,

liquidated damages and performance guarantees (collectively, “Subcontractor

Recoveries”). If Owner’s claim relates to the Guaranteed Maximum Price, then the

remedy of Contractor paying the excess over $90,000,000 of the State’s Allocated Share

of the Cost of the Work as set forth in Section 7.1 shall apply. If the State’s claim arises

under any other provision of this Agreement and the [Percent] share of Subcontractor

Recoveries fully compensates Owner for its actual direct damages (which actual direct

damages, in the case of Sections 11.3 and 11.4 of this Agreement, shall be the amount of

liquidated damages calculated using the formulas in those sections), then Owner shall not

be entitled to receive any further amounts from Contractor. However, if the amounts

received from all Subcontractor Recoveries are not adequate to compensate Owner for its

actual direct damages, Owner shall be entitled to demonstrate and recover its actual direct

damages from Contractor, subject to (as to claims under Section 11.3 and Section 11.4)

the [Amount] liquidated damages liability cap contained in this Section 11.10. The

limitation of liability to Owner for liquidated damages and Remedial Measures as

described in this Section 11.10 is sometimes referred to herein as the “Damages Cap”.

11.10.2 APART FROM THE GUARANTEES AND OTHER REMEDIES

PROVIDED IN THIS AGREEMENT, CONTRACTOR HEREBY DISCLAIMS

ANY OTHER WARRANTIES, OR PERFORMANCE GUARANTEES,

INCLUDING WITHOUT LIMITATION, WARRANTIES OF

MERCHANTABILITY OR FITNESS FOR A PARTICULAR PURPOSE.

11.10.3 Owner shall not be liable for any lost profits or indirect, special, multiple,

or punitive damages.


3-104 | EPC Template

11.11 Indemnification. Owner shall assume and retain all liability, including claims,

demands, losses, costs, damages and expenses of every kind and description, or damages

to persons or property arising out of or in connection with or occurring during the course

of this Agreement, where such liability is proximately caused by the acts or omissions of

any of the officers, employees or agents of Owner while acting within the scope of their

employment. Contractor shall indemnify Owner against any and all loss or damages that

Owner may incur as a result of any claim of Persons other than Owner, Contractor, or

their respective employees and agents, to the extent same (a) arise out a breach by

Contractor of its obligations under this Agreement, or (b) are caused by the negligence or

intentional or willful misconduct of Contractor, the Subcontractors or their agents or

employees. Contractor shall indemnify and hold harmless Owner from all liabilities,

damages, costs or expenses incurred by Owner by reason of any lien filed against the

Facility by any Subcontractor of Contractor in connection with the performance of the

Work. Any Party entitled to indemnification or other protection under this Section 11.11

shall keep the benefited party apprised of the status of all claims with respect to which it

is entitled to such indemnification or protection, and shall not settle any such claim

without the consent of the benefited party, such consent not to be unreasonably withheld

or unduly delayed.

ARTICLE 12 - DISPUTE RESOLUTION

12.1 In General. The Parties shall attempt to settle every dispute arising out of or in

connection with this Agreement (“Dispute”), by following the dispute resolution process

set forth below in this Article 12, to the extent permitted by Law.

12.1.1 Mutual Discussions. If any dispute or difference of any kind whatsoever

(a "Dispute") arises between the Parties in connection with, or arising out of, this

Agreement, the Parties within 30 days shall attempt to settle such Dispute in the first

instance by mutual discussions between Owner and Contractor.

12.1.2 Further Procedures. If the Dispute cannot be settled within 30 days by

mutual discussions, then the Dispute shall be finally settled under the provisions of this

Section 12.1.2 or Section 12.1.3. If the Parties fail to resolve any dispute through

discussions within [Number] Business Days, either Party shall have the right to provide

written notice of the Dispute to the president or chief executive officer (“Senior

Management”) of the other Party. Upon a timely referral, the Senior Management of the

Parties shall consider the Dispute, review such relevant information as they may

determine and issue their decision (which decision shall be confirmed in writing) within 5

Business Days after receiving the referral. If the Senior Management of the Parties

cannot resolve the issue within the five Business Day period, then the Parties shall have

the rights set forth below in Section 12.1.3.

12.1.3 Arbitration. Subject as hereinafter provided, any Dispute arising out of. or

in connection with, this Agreement and not settled by Section 12.1.1 or Section 12.1.2 of

this Agreement may (regardless of the nature of the Dispute) be submitted by either Party

to arbitration and finally settled in accordance with UNCITRAL Rules of International

Arbitration.


3-105 | EPC Template

12.2 Continued Performance. During the conduct of dispute resolution procedures

pursuant to this Article 12, (a) the Parties shall continue to perform their respective

obligations under this Agreement, and (b) no Party shall exercise any other remedies

hereunder arising by virtue of the matters in dispute.

ARTICLE 13 - DEFAULTS; REMEDIES; TERM; TERMINATION

13.1 Contractor Default. The occurrence of any of the events set forth below shall

constitute a “Contractor Event of Default” under this Agreement:

13.1.1 Bankruptcy. Contractor becomes insolvent, or become the subject of any

bankruptcy, insolvency or similar proceeding, which, in the case of any such proceeding

that a third party brings against either of them, has not been terminated, stayed, or

dismissed within 60 Business Days after it was commenced, unless the affected Party

provides evidence to Owner of that Party’s ability to perform all of its obligations under

this Agreement; or

13.1.2 Failure to Maintain Insurance. Contractor fails to maintain the insurance

coverages required under Section 4.20 as set forth in Schedule II hereto; or

13.1.3 Failure to Perform. Contractor shall have defaulted in its performance

under any other material provision of this Agreement and shall have failed to cure such

default within 30 days following delivery to Contractor of a Notice from Owner to cure

such default, or if a cure cannot be effected within such 30 day period, such period shall

extend for a reasonable period of time, but not to exceed a total of 60 days, so long as

Contractor is proceeding diligently to cure such default throughout such period; or

13.1.4 Representation False. Any material representation made by Contractor

herein shall have been false or misleading in any material respect when made; or

13.1.5 Failure to Achieve Mechanical Completion. If Mechanical Completion is

not achieved by the Delay Default Date; or

13.1.6 Failure to Obtain Authorization. The Project cannot proceed to completion

as the ultimate result of a refusal of Governmental Authority to approve the Project or

any other Authorization, which refusal is due solely to the negligence or willful

misconduct of Contractor.

13.2 Owner’s Default Remedies Against Contractor. If a Contractor Event of Default

shall have occurred and be continuing, either Owner shall have the right to terminate this

Agreement by notice to Contractor. In the event of such termination:

13.2.1 If requested by an Owner, Contractor shall withdraw from the Site, shall

assign to the Owner (without future recourse to Contractor) such of Contractor’s

subcontracts as Owner may request, and shall remove such materials, equipment, tools

and instruments used and any debris or waste materials generated by Contractor in the

performance of the Work as Owner may direct, and Contractor shall promptly deliver to

Owner all designs, drawings, and other documents related to the Project. In the event of

such termination, Contractor shall deliver to Owner all materials and data for which title

has passed to Owner. To the extent any specific item of the Work is partially complete at

the time of termination, at the option of either Owner, Contractor shall complete such

partially completed Work. In such event, Owner shall pay Contractor the amount that


3-106 | EPC Template

Owner would have otherwise paid to Contractor for such item of Work had such

termination not occurred, less any damages payable hereunder.

13.2.2 Owner, without incurring any liability to Contractor, shall have the right to

have the Facility brought to Final Completion. In such event, Contractor shall be liable to

Owner for the reasonably incurred costs to Owner of achieving Mechanical Completion,

including costs of accelerated or expedited construction activities actually performed in

an attempt to achieve Mechanical Completion (by the Guaranteed Mechanical

Completion Date if not yet past, or otherwise as expeditiously as practicable), and/or to

mitigate any delay by Contractor, and actual costs for administering any subcontract and

for legal fees associated with the termination. With respect to the costs of performing any

of the Work that follows after Mechanical Completion, Contractor’s liability shall be

limited to the amounts set forth in Section 11.10. Such costs and fees for which

Contractor is liable as set forth above (and for failure to perform as may be requested

pursuant to Section 13.2.1 above) may be deducted by Owner out of monies due, or that

may at any time thereafter become due, to Contractor. If such costs exceed the sum that

would have otherwise been payable to Contractor under this Agreement, then Contractor

shall be liable for, and shall promptly, but in any event not more than 10 days after

Notice from Owner, pay to Owner the amount of such excess excluding Changes in the

Work approved by Owner following such Contractor Event of Default.

13.2.3 Upon termination of the Work pursuant to this Article 13, Contractor shall

promptly submit to Owner an accounting of Contractor’s actual costs for the Work

performed prior to the date of termination. If Owner exercises its right to have the Work

finished, such amounts may be withheld until the Work is completed and shall be used to

offset any amounts due Owner pursuant to Section 13.2.2. Notwithstanding the foregoing

such amounts may be withheld and applied to any liability hereunder.

13.2.4 Notwithstanding the availability and/or exercise of the foregoing remedies,

Owner shall have all such other remedies available under applicable Law.

13.2.5 In exercising any of the foregoing remedies, the Owner shall use

reasonable efforts to mitigate its damages.

13.3 Owner’s Event of Default. Each of the following shall constitute an “Owner’s Event

of Default” with respect to such Owner:

13.3.1 Failure to Make a Payment to Contractor When Due. The failure of an

Owner to make the full amount of the payment to Contractor required under this

Agreement within 3 Business Days following notice of failure to pay; or

13.3.2 Bankruptcy. An Owner becomes insolvent, or become the subject of any

bankruptcy, insolvency or similar proceeding, which, in the case of any such proceeding

that a third party brings against either of them, has not been terminated, stayed, or

dismissed within 60 Business Days after it was commenced, unless the affected Party

provides evidence to Contractor of that Party’s ability to perform all of its obligations

under this Agreement; or

13.3.3 Representation False. Any material representation made by an Owner

herein shall have been false or misleading in any material respect when made; or

13.3.4 Failure to Perform. Either Owner’s failure to perform any of its respective

non-payment obligations under this Agreement, and such failure is not cured within 30

days after receipt of written notice thereof, or if a cure cannot be effected within such 30


3-107 | EPC Template

day period, such period shall extend for a reasonable period of time, but not to exceed a

total of 60 days, so long as Owner is proceeding diligently to cure such default

throughout such period; or

13.3.5 Failure to Maintain Insurance. If an Owner fails to obtain and maintain in

effect through the Commercial Operation Date such insurance as it is required by this

Agreement to obtain and maintain; or

13.3.6 Failure to Cooperate or Allow Access. If an Owner fails to cooperate with

Contractor in any situation where such cooperation is necessary to enable Contractor to

carry out obligations under this Agreement. Such failure to cooperate shall include,

without limitation, the failure to assist in obtaining required Authorizations, the failure to

afford Contractor the access to the Site, to the Lay Down Areas, to the Soil Disposal Area

or to the Easement Areas necessary for Contractor and all persons retained by Contractor

in connection with the Project to perform their Project-related duties. An Owner Event of

Default shall not include any other default by Owner of any of their obligations under this

Agreement.

13.4 Contractor Remedies for Owner Event of Default. Subject to the rights granted in

Section 13.5 below, upon the occurrence of an Owner Event of Default, Contractor shall

have the right to terminate this Agreement, to order all Subcontractors to stop Work and

remove all their tools and equipment from the Site, and/or pursue all such remedies as

may be allowed under this Agreement, at law or in equity. In addition, and without

limiting the foregoing remedies, Owner shall pay to Contractor the amounts payable upon

termination under Section 13.7 of this Agreement.

13.5 Force Majeure; Failure of Authorizations.

13.5.1 Effect. Any delays in or failure of performance by a Party, other than the

obligations to pay monies hereunder, shall not constitute a default hereunder if and to the

extent such delays or failures of performance are caused by Force Majeure events.

13.5.2 Notice of Occurrence and Effect.

13.5.2.1 Notice of Occurrence. Any Party claiming that a Force Majeure

condition has arisen shall immediately notify the other Party of the same, shall act

diligently to overcome, remove and/or mitigate the effects of the event of Force Majeure,

shall notify the other Party on a continuing basis of its efforts to overcome, remove

and/or mitigate the event of Force Majeure and shall notify the other Party immediately

when said condition has ceased.

13.5.2.2 Notice of Impact. In addition to its obligations under Section 13.5.2.1, if

Contractor claims there is a Force Majeure condition, Contractor shall (i) promptly notify

Owner, in writing of the nature, cause and cost of such Force Majeure condition, (ii) state

whether and to what extent the condition will delay the Guaranteed Mechanical

Completion Date, the Delay Default Date, the Commercial Operation Date or Final

Completion Date, (iii) state the date and time the Force Majeure condition commenced;

and (iii) state whether Contractor recommends that Owner initiate a Change Order

pursuant to Article 8.

13.5.3 Effect of Force Majeure. No failure or delay in performance under this

Agreement shall be deemed to be a breach hereof to the extent such failure or delay is

occasioned by or due to Force Majeure. With respect to delay in performance, a Force


3-108 | EPC Template

Majeure condition shall excuse such delay in performance on a day for day basis for a

period of time equal to the duration of the Force Majeure condition or the period needed

to remedy its effects, to the extent that such Force Majeure condition causes a delay in

the Work.

13.5.4 Termination. In the event that (a) Contractor or Owner are denied any

required Authorizations, or such Authorizations are obtained, but are withdrawn, or

contain restrictions, qualifications, or conditions that would have a material adverse

effect on the benefits or obligations of the Parties, and the Parties are unable to reform

this Agreement or agree upon other mutually acceptable arrangements, or (b) if a Force

Majeure event continues for more than 180 days after notice of the event of Force

Majeure is given under Section 13.5.2, or (c) the Project cannot proceed to completion as

the ultimate result of a refusal of a Governmental Authority to approve the Project or to

provide any other Authorization, which refusal or failure is not due solely to the

negligence or willful misconduct of the terminating Party, then such Party may terminate

this Agreement, in its sole discretion, within 60 days after the conditions in (a), (b) or (c),

by giving at least 10 Business Days prior written notice to the other Parties.

13.6 Right to Termination . No Party shall have the right to terminate this Agreement for

cause or otherwise except as described in Section 13.2, Section 13.4, Section 13.5,

Section 14.2 and Section 16.21.

13.7 Effect of Termination Under Sections 13.4, 13.5, 14.2 & 16.21. In the event that this

Agreement is terminated by either party pursuant to Sections 13.4 13.5, 14.2 or 16.21,

Owner shall pay to Contractor an amount equal to the sum of (1) the Cost of the Work

incurred by Contractor in connection with the Work and the Project as of the date of

termination, plus (2) to the extent not already reflected in (1), any termination charges

incurred by Contractor that are imposed by Subcontractors as a result of the Termination

and any other costs reasonably incurred by Contractor solely as a result of the termination

to the extent that this sum is not reimbursed pursuant to insurance policies maintained by

Contractor pursuant to Schedule II (it being specifically understood that Owner shall be

responsible for the payment of all deductible amounts under any said insurance policies

to the extent provided in Schedule II). Upon such payment by Owner, Owner shall have

exclusive Ownership of the Facility and the Work and Contractor shall have no further

obligations with respect thereto.

13.8 Completion; Survival. Unless earlier terminated pursuant to the terms of this Article

13, this Agreement shall be deemed to be completed when both of the following have

taken place: (a) the Final Completion Date has occurred, and (b) Owner have paid the

Cost of the Work in full pursuant to Article 9. Notwithstanding the foregoing,

Contractor’s obligations under Section 5.4.3 shall continue until the date that is 7 years

after the Final Completion Date and Contractor’s obligations under Section 11.8 shall

continue until the expiration of the applicable Subcontractor warranty periods pursuant to

Section 11.8. Notwithstanding anything in this Agreement to the contrary, the provisions

of Section 11.11 and Article 12 shall survive the completion or termination of this

Agreement and nothing in this Agreement shall be deemed to limit the applicable statute


3-109 | EPC Template

of limitations period within which any Party may bring a claim for breach of this

Agreement.

ARTICLE 14 - UTILITY REGULATOR MODIFICATIONS

14.1 Utility Regulator Modifications. The Parties have been informed and acknowledge

that: (a) this Agreement will require the Parties to make substantial contractual

commitments and incur significant costs based upon the terms of this Agreement,

including the terms that recognize the possibility that the Utility Regulator may take

action that results in the reallocation of costs within the Facility or the reallocation of

risks between the Parties; and (b) this Agreement will be executed in advance of the

Utility Regulator’s approval of the Project and the contemplated sale of its electricity

output. The Parties agree that in the event that the Utility Regulator takes action that

results in the reallocation of any costs or any risks relating to the Facility in a manner that

materially affects any of the costs or obligations under this Agreement, the costs and/or

obligations shall be adjusted accordingly among the Parties to this Agreement to reflect

the effect of the Utility Regulator’s action. To the extent that the Utility Regulator or any

other Governmental Authority imposes any additional requirements or modifications that

increase the overall cost of the Work, the Owner shall bear such cost increase.

14.2 Conditional Right to Terminate Upon Material Reallocation of Costs. In the event

that the Utility Regulator reallocates costs within the Facility between the Parties in an

amount that is greater than or equal to [maximum risk amount Owner will assume] ,

then Owner shall thereupon have the right, exercisable upon not less than 3 Business

Days advance written notice to Contractor to terminate this Agreement. Notwithstanding

the foregoing, in the event that Contractor agrees to assume the excess of the amount of

costs reallocated by the Utility Regulator over ]maximum risk amount Owner will

assume] , there shall be no right to terminate this Agreement.

14.3 Parties to Defend Cost Allocation. In the event that the Utility Regulator challenges

this Agreement or any related agreement, the Parties agree to use their good faith efforts

to defend it in proceedings before the Utility Regulator.

ARTICLE 15 - GOVERNING LAW; INTERPRETATION

15.1 Governing Law. This Agreement shall be construed in accordance with the laws of

[Agreed jurisdiction] .

15.2 Interpretation.

15.2.1 Schedules are Part of Agreement. This Agreement includes the attached

Schedules I through XI.

15.2.2 Entire Agreement. This Agreement, together with the Schedules attached

hereto and the Collateral Agreements, constitutes the entire agreement and complete

understanding between Contractor and Owner with respect to the subject matter


3-110 | EPC Template

described herein and therein and supersedes all other understandings and agreements

between the Parties with respect to such subject matter.

15.2.3 Order of Interpretation. In the event of any inconsistencies between the

terms and conditions of the body of this Agreement and the Schedules, the provision of

the body of this Agreement shall prevail over the terms of any Schedule.

15.2.4 Captions. Captions or headings to Articles, Sections or paragraphs of this

Agreement are inserted for convenience of reference only, and shall not affect the

interpretation or construction hereof.

15.2.5 Additional Principles of Construction. The Agreement shall be interpreted

in a manner as to be consistent with the following principles:

15.2.5.1 Use of Good Utility Practice. It is the intent of the Agreement to require

the application of Good Utility Practice to the Work where details of such Work are not

included, are incomplete, are not specified, or are not clearly defined in the

Specifications.

15.2.5.2 Integration of Project Documents. It is the intent of the Parties that the

Specifications for the Facility, this Agreement, and the Schedules hereto (the “Project

Documents”) are to be interpreted as an integrated whole. Where work or obligations are

referenced in one of the Project Documents but not in another, Contractor shall

coordinate the design and installation of the Work as if it were shown on both to the

extent required to comply with the Acceptance Tests and Good Utility Practice.

15.3 Drafting Ambiguities. Each Party to the Agreement and its counsel have reviewed

and revised the Agreement. The rule of construction that any ambiguities are to be

resolved against the drafting parties shall not be employed in the interpretation of the

Agreement, or any amendment thereto.

ARTICLE 16 - MISCELLANEOUS

16.1 Third Party Beneficiaries. Except with respect to the provisions of the Agreement

pertaining to assignment, the Agreement is not intended to and shall not create rights of

any character whatsoever in favor of any person other than the Parties to the Agreement.

16.2 Good Faith and Fair Dealing. Whenever the Agreement grants to any Party the

right to take action, exercise discretion, or determine whether to approve a proposal of

any other Party, the Party possessing the right shall act in good faith and shall deal fairly

with each other. In the event of a Dispute, the Parties shall be obligated to make a

reasonable and diligent effort to resolve the Dispute at the appropriate level before

invoking the dispute resolution procedures in Article 12. Each of the Parties further

expressly agrees that at all times it will exercise its good faith in the administration of this

Agreement, and all actions of the Parties shall be designed to facilitate the successful

completion of the Work by Contractor and to promote the effective and efficient

administration of this Agreement, and to achieve the objective of providing efficient,

reliable and economical long term energy production. The Parties further commit to act

in a timely fashion, consistent with maintaining the Project Schedule to: (a) review all

documents, (b) respond to all requests for information, (c) support all applications for


3-111 | EPC Template

Authorizations; (d) respond to requests for access to off site support facilities and other

assistance; and (e) resolve all differences and Disputes in a timely fashion.

16.3 Severability. Every part, term or provision of the Agreement is severable from

others. Notwithstanding any possible future finding by duly constituted authority that a

particular part, term or provision is invalid, void or unenforceable (but subject to the

effect of the Parties’ agreements in Section 5.3 and Article 14), the Agreement has been

made with the clear intention that the validity and enforceability of the remaining parts,

terms and provisions shall not be affected thereby.

16.4 Survival. All representations and warranties, and all agreements by the parties in

this Agreement to indemnify each other shall survive the termination of this Agreement.

The termination of this Agreement shall not limit or otherwise affect the respective rights

and obligations of the Parties which accrued prior to the date of termination, and which

continue to exist following the termination of this Agreement.

16.5 Technical or Trade Usage. When words that have a well-known technical or trade

meaning are used to describe materials, equipment or services, such words will be

interpreted in accordance with such meaning. Reference to such standard specifications,

manuals, or codes of any technical society, organization or association, or to the code of

any governmental authority, whether such references be specific or by implication, shall

mean the latest standard specification, manual or code (whether or not specifically

incorporated by reference in the contract documents). Performance shall conform to the

standards in effect at the time of performance and may change the duties and

responsibilities of Contractor or Owner, or any of their agents, consultants, or employees

from those set forth in the Agreement.

16.6 Amendments and Waivers. This Agreement may be amended only by a written

instrument signed by a duly authorized representative of each Party. The failure of any

Party to insist on one or more occasions upon strict performance of the obligations owed

it by the other parties shall not waive or release such party’s right to insist on strict

performance of such obligation or any other obligation in the future.

16.7 Notices. Except as expressly provided otherwise in this Agreement, all notices

given to any of the Parties pursuant to or in connection with this Agreement shall be in

writing, shall be delivered by hand, by certified or registered mail, return receipt

requested, by facsimile transmission with confirmation, or by Federal Express, Express

Mail, or other nationally recognized overnight carrier. Notices are effective when

received. Notice addresses are as follows:

If to Contractor:

Contractor

Address And Street

City, State, Country (Postal Code)

Attention: Name


3-112 | EPC Template

If to Owner:

Owner

Address And Street

City2, State2, Country2 (Postal Code)

Attention: Name2

16.8 Change of Address. Any Party may, by written notice to the other Parties given in

accordance with the foregoing, change its address for notices.

16.9 Successors; Assignment. This Agreement shall be binding upon the parties and their

respective successors and permitted assigns. No party shall make any sale, assignment,

mortgage, pledge or other transfer of all or any portion of its rights or obligations under

this Agreement, whether voluntarily or involuntarily, by operation of law or otherwise,

without the prior written consent of the other Party; provided, however, that: (a) any

Party may make a collateral assignment of its interest in this Agreement to a Financing

Party; and (b) this Section 16.12 shall not require prior written consent for any voluntary

transfer in connection with a change in Ownership, or the merger, restructuring or

consolidation of Contractor, so long as the Agreement is transferred to an affiliate and the

Parent Guarantee continues to guarantee performance of the Agreement, as so voluntarily

transferred. Any successor to Contractor or Owner’ respective interests under this

Agreement shall assume in writing all responsibilities of Contractor or Owner, as the case

may be under this Agreement.

16.10 Counterparts. This Agreement may be signed in counterparts, each of which when

so executed and delivered shall be an original, but all such counterparts shall together

constitute the same instrument.

16.11 Further Assurances. Each Party agrees to execute and deliver any such

instruments and to perform any such acts as may be necessary or reasonably requested by

any other Party in order to give full effect to the terms of this Agreement.

16.12 Interest. Past due payments hereunder not contested in good faith shall bear

interest from the due date until paid at the Late Payment Rate.

16.13 Relationship to Other Agreements..

16.13.1 The Parties recognize that this Agreement and other related agreements

relating to the Facility entered into between Owner and Contractor and others (the

“Collateral Agreements”) constitute an integrated and comprehensive set of agreements

that are intended to facilitate the construction and operation of the Facility to provide

efficient, reliable and economic long-term electricity production. To the extent permitted

by Law, all of the Collateral Agreements shall be read together to achieve these

objectives and the Parties agree to support all such documents, regardless of whether they

are a party to a particular Collateral Agreement.

16.13.2 Notwithstanding Section 16.16.1, the Agreement and the Collateral

Agreements are separate and independent undertakings by the Parties. Termination of

one of these agreements shall not affect or impair the rights or obligation of the Parties


3-113 | EPC Template

under the Collateral Agreements, except as otherwise specifically provided herein and in

the Collateral Agreements.

16.14 No Partnership; Third Party Beneficiaries. The Parties hereby expressly disclaim

any intention to create a joint venture or partnership relation between the Parties. Except

as expressly stated in this Agreement, there are no third party beneficiaries to this

Agreement.

16.15 Further Documents and Actions. Each Party shall promptly execute and deliver

such further documents and assurances for and take such further actions reasonable

requested by the other Parties as may be reasonably necessary to carry out the intent and

purpose of this Agreement.

16.16 Time of the Essence; Cooperation to Control Costs. The Parties recognize that time

is of the essence in designing and completing construction of the Facility. The Parties

agree to use their good faith efforts to cooperate with each other and, where applicable,

with Subcontractors to keep the Project on schedule, to control Project costs and to

refrain from actions that drive up the Project costs or inject delay into the Project

Schedule.

16.17 State Right to Approve; Failure to Promptly Respond Deemed Approval. In all

instances in this Agreement where Owner has the right to provide feedback or approve of

the actions of Contractor with respect to the construction process, including without

limitation, the Owner’s feedback and approval rights under Article 4.2 (Subcontractors),

Article 4.2.5 (QA/QC Director), and Article 4.2.6 (Safety Director), Owner shall use its

best efforts to promptly respond, with due regard to the time sensitivity of the particular

situation. Unless expressly provided otherwise in this Agreement, in the event the Owner

fails to respond in any such situation within 10 Business Days of the delivery of the

information or notice that triggers the Owner’s right to approve or provide feedback, the

Parties agree that Owner shall be deemed to have approved the item in question or to

have waived its right to provide feedback, as the case may be.

16.18 Contingent On Issuance of CPCN and Other Authorizations. The Parties

obligations to continue to proceed in accordance with this Agreement are contingent upon

the issuance of the certificate of public convenience and necessity (“CPCN”) and any

other required Authorizations for the Facility. If the Utility Regulator has not issued the

CPCN for the Project by __[Insert Date]___, then Owner shall have the right to

terminate this Agreement by written notice to Contractor.

IN WITNESS WHEREOF, the Parties have caused this Agreement to be executed and

delivered by their duly authorized officers as of the date first set forth above.

CONTRACTOR


3-114 | EPC Template

By: _______________________________

Its: _______________________________

OWNER

By: ________________________________

Its: ________________________________


3-115 | EPC Template

Attached Schedules:

Schedule I -- Definitions

Schedule II -- Insurance

Schedule III -- Acceptance Testing

Schedule IV -- Payment Schedule

Schedule V -- Lay Down Areas

Schedule VI -- GMP Template

Schedule VII -- The Work

Schedule VIII -- Approved Construction Subcontractors and Major Equipment Suppliers

Schedule IX -- Subcontractor Warranties

Schedule X -- Form of Parent Guarantee

Schedule XI -- Governmental Authorizations to be Obtained for Project


3-116 | EPC Template

Schedule I

Definitions

“Acceptance Tests/Acceptance Testing” shall mean the performance tests, to be

performed on the Facility as more particularly set forth on Schedule III, including any

adjustments thereto as provided in this Agreement or as otherwise agreed to by the

Parties to address the conditions present at the time the Facility is available for testing.

“Acceptance Test Capacity Guarantee” shall have the meaning assigned to it in

Section 11.3. “Acceptance Testing Period” shall have the meaning set forth in Section

11.2.3.

“Addendum” or “Addenda” shall have the meaning assigned to it in Section 8.1.

“Affiliate” shall mean (i) any Person that directly or indirectly, through one or more

intermediaries, controls, is controlled by, or is under common control with a Party, and

(ii) any Person that, directly or indirectly, is the beneficial owner of five percent (5%) or

more of any class of equity securities of, or other Ownership interests in, a Party or of

which the Party is directly or indirectly the owner of five percent (5%) or more of any

class of equity securities or other Ownership interests.

“Agreement” shall have the meaning assigned to it in the first paragraph of this

Agreement.

“Authorization” shall mean any license, permit, approval, filing, waiver, exemption,

variance, clearance, entitlement, allowance, franchise, or other authorization, whether

from any Governmental Authority, corporate or otherwise.

“Business Day” shall mean any day other than a Saturday, Sunday or a day on which

either the state or national banks in the State of Wisconsin are not open for the conduct of

normal banking business.

“Change Order” shall mean a document issued pursuant to Article 8, which describes

changes in or to the Work.

“Commercial Operation” shall have the meaning given it in Section 10.3

“Commercial Operation Date” shall mean the date on which the Facility achieves

Commercial Operation.

“Construction Commencement Date” shall have the meaning assigned to it in Section

10.1.

“Contractor” shall have the meaning assigned to it in the first paragraph of this

Agreement.


3-117 | EPC Template

“Contractor Event of Default” shall have the meaning assigned to it in Section 13.1.

“Cost of the Work” shall mean the anticipated actual costs of construction, subject to

the Guaranteed Maximum Price, as defined in Section 7.1, including the exceptions and

additions permitted therein.

“CPCN” shall have the meaning assigned to it in the Recitals to this Agreement.

“Damages Cap” shall have the meaning set forth in Section 11.10.

“Defects”, individually a “Defect”, shall have the meaning assigned to it in Section 11.5.

“Delay Default Date” shall mean __[Insert Date]______, as such date may be extended

by any Force Majeure condition, but not later than __[Insert Date]_______.

“Dispute” shall have the meaning assigned to it in Section 12.1.

“Easement Areas” shall have the meaning assigned to it in Section 4.10.

“Effective Date” shall mean the date that this Agreement has been signed by Contractor

and Owner.

“Engineer” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.2.

“Equipment Instruction Manual” shall mean the manual or manuals provided by

Contractor to Owner pursuant to Section 3.1.6, including operation requirements,

guidelines and manuals established by the manufacturers of the major equipment for the

Facility.

“Excluded GMP Costs” shall have the meaning given the term in Section 7.2.

“Facility” shall mean the [Renewable energy technology] facility, as more particularly

described in the Recitals to this Agreement.

“Facility Start Up” shall mean the activities following completion of construction of the

Facility, but prior to Acceptance Testing, that are necessary to accomplish the initial start

up of the equipment within the Facility that generates electricity, steam and chilled water,

including, without limitation, the flushing of lines, pressure testing of pipes, filling

equipment with oils and other fluids, and the provision of any equipment vendor services

relating thereto.

“Final Completion” shall have the meaning assigned to it in Section 10.5.

“Final Completion Date” shall mean the date Final Completion occurs.


“Final Payment” shall have the meaning assigned to it in Section 9.3.

3-118 | EPC Template

“Financing Party” shall mean any Person, other than Parties, providing debt or equity

financing (including equity contributions or commitments) refinancing of any guarantees,

insurance or credit support for or in connection with such a financing or refinancing, in

connection with the development, construction, Ownership or leasing operation or

maintenance of the Facility, or any part thereof including any trustee or agent acting on

any such Person’s behalf.

“Force Majeure” shall mean in respect of any Party an event beyond the reasonable

control of such Party which prevents or delays such Party from performing its obligations

under this Agreement (except for the obligation to pay money) or which materially

increases its costs of performing those obligations. Examples include, to the extent they

otherwise meet the foregoing definition, the following: war, hostilities, civil disturbances,

any kind of local or national emergency, riot, fire, flood, hurricane, storm, earthquake,

concealed or subterranean conditions at the Site that could not be discovered by a

reasonable inspection of the Site, power failure or power surge, epidemic, explosion,

sabotage, act of God, acts or failures to act by Governmental Authorities (including

failure to issue, delays in issuing beyond the period provided by law (or if no such period

is provided, beyond the customary period), or revocation of Governmental

Authorizations, except to the extent any such failure, delay or revocation is due to the

negligence or willful misconduct of Contractor or its Affiliates), failure of the

Subcontractors or Suppliers to perform or deliver on a timely basis, to the extent such

failure is due to a force majeure condition affecting the Subcontractor or Supplier, strike,

slowdown or other labor unrest (other than a localized strike against an individual

employer), delay of carriers, failure of the usual modes of transportation, embargo,

change in any applicable Law from that in effect on the date hereof, any condition at the

Site that requires remediation under any applicable Law related to the environment, or

expropriation or confiscation of facilities. The effect of Force Majeure upon the

Guaranteed Maximum Price and upon the Guaranteed Mechanical Completion Date and

the Delay Default Date shall be limited as more particularly set forth in Sections 7.2 and

13.5.3. Force Majeure shall not include breach of contract by Subcontractors or

Suppliers.

“Good Utility Practice” shall mean, at any particular time, (a) any of the practices,

methods and acts engaged in or approved by a significant portion of the United States

electric power generating industry (including without limitation cogeneration facilities)

prior to such time and by constructors, Owner, operators or maintainers of facilities

similar in size and operational characteristics to the Facility, or (b) any of the practices,

methods and acts which, in the exercise of reasonable judgment in light of the facts

known at the time the decision was made, could have been expected to accomplish the

desired result at the lowest reasonable costs consistent with applicable Law and the

Authorizations, environmental considerations, good business practices, reliability, safety,

expedition and the manufacturer’s maintenance requirements, provided that “Good

Utility Practice” is not intended to be limited to the optimum practices, methods or acts to

the exclusion of all others, but rather to be a spectrum of the acceptable practices methods


3-119 | EPC Template

or acts generally accepted in such industry having due regard for, among other things, the

manufacturer’s maintenance requirements, the requirements of Governmental Authorities

and any applicable agreements.

“Governmental Authority” shall mean the national government, and any regulatory

department, body, political subdivision, commission, agency, instrumentality, ministry,

court, judicial or administrative body, taxing authority, or other authority thereof

(including any corporation or other entity owned or controlled by any of the foregoing)

having jurisdiction over either Party, the Facility or the Site, whether acting under actual

or assumed authority. Permits, orders or other approvals given by such bodies are

“Governmental Authorizations”.

“Guaranteed Mechanical Completion Date” described in Section 11.4 shall mean -

__[Insert Date]_____, as such date may be extended by any Force Majeure condition,

but not later than ___[Insert Date]________.

“Guaranteed Maximum Price” shall have the meaning assigned to it in Section 7.2.

“Hazardous Substances” shall mean, collectively, any petroleum or petroleum product,

asbestos in any form that is or could become friable, transformers or other equipment that

contain dielectric fluid containing levels of polychlorinated biphenyls (PCBs), hazardous

waste, hazardous material, hazardous substance, toxic substance, contaminant or

pollutant, as defined or regulated under any federal, state or local law relating to the

protection of the environment, including the Resource Conservation and Recovery Act,

as amended, 42 U.S.C. § 6901 et seq., the Comprehensive Environmental Response

Compensation and Liability Act, as amended, 42 U.S.C. § 9601 et seq., or any similar

state statute.

“Independent Engineer” shall mean a qualified independent engineering firm mutually

agreeable to Contractor and the State, to be selected by them not later than thirty (30)

days prior to the commencement of construction. The Parties shall employ the

Independent Engineer, whose compensation shall be a part of the Cost of the Work, to

verify that Mechanical Completion has occurred and to resolve any disputes among the

Parties as to the items that should appear on the Punch List.

“Law” shall mean (i) any law, legislation, statute, act, rule, ordinance, decree, treaty,

regulation, order, judgment, or other similar legal requirement, or (ii) any legally binding

announcement, directive or published practice or interpretation thereof, enacted, issued or

promulgated by any Governmental Authority.

“Lay Down Areas” shall have the meaning assigned to it in Section 4.10.

“Major Equipment Suppliers” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.3.

“Mechanical Completion” shall have the meaning set forth in Section 10.2.


3-120 | EPC Template

“Mechanical Completion Date Guarantee” shall have the meaning set forth in Section

11.4.

“Minimum Required Capacity” shall have the meaning assigned to it in Section 11.3.1.

“O & M Agreement” shall mean that certain Operation and Maintenance Agreement of

dated [date of separate O&M agreement, if Contractor is to perform as operator]

between contractor and Owner.

“Operator” shall mean Contractor and its successor(s) as operator of the Facility under

the separate O & M Agreement.

“Owner” shall mean [Legal name of project developer/owner] .

“Owner’s Event of Default” shall have the meaning assigned to it in Section 13.3.

“Parent Guarantee” shall have the meaning assigned to it in Section 4.21.

“Parties” shall mean Contractor and Owner when referred to collectively and “Party”

shall mean any one of the Parties referred to singly.

“Payment Due Date” shall have the meaning assigned to it in Section 9.1.2.

“Payment Milestones” shall mean those milestones set in Schedule IV.

“Payment Milestone Schedule” shall mean Schedule IV.

“Payment Period” shall have the meaning assigned to it in Section 9.1.1.1.

“Person” shall mean any individual, firm, company, association, general partnership,

limited partnership, limited liability company, trust, business trust, corporation, public

body, or other legal entity.

“PM/CM” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.2.

“PM/CM’s Contract” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.2.

“Prime Subcontractor” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.4.

“Prime Subcontractor Contracts” shall have the meaning assigned to it in Section

4.2.4.

“Progress Report” shall have the meaning assigned to it in Section 9.1.1.1.

“Project” shall mean the development of the Facility at the Site by the Contractor, and

shall include the Work.


3-121 | EPC Template

“Project Documents” shall have the meaning assigned to it in Section 15.2.5.2.

“Project Schedule” shall mean the schedule of activities (including all amendments or

supplements thereto following the Effective Date of this Agreement) during the Project

that coordinates all aspects of the Project, including without limitation, permitting,

engineering, procurement of equipment and materials, construction, Facility Start Up,

Mechanical Completion, Acceptance Testing, completion of the Punch List and Project

close out. The Project Schedule will include, without limitation, the Payment Milestone

Schedule and sub-Project schedules for each of the major participants in the Project.

“Punch List” shall have the meaning assigned to it in Section 10.4.

“Punch List Holdback Amount” shall have the meaning assigned to it in Section 10.4.

“QA/QC Director” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.5.

“QA/QC Contract” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.5.

“Remedial Measures” shall have the meaning assigned to it in Section 11.3.1.

“Safety Director” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.6.

“Safety Contract” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.6.

“Safety Plan” shall have the meaning assigned to it in Section 4.8.

“Security Plan” shall have the meaning assigned to it in Section 4.9.

“Site” shall mean the parcel of land located [location of Facility site] , the legal

description of which is [location of legal description of real property]

“Soil Disposal Area” shall have the meaning assigned to it in Section 4.10.

“Specifications” shall mean the Design Review Manual prepared by Engineer, which is

incorporated into this Agreement by this reference, and any supplements or amendments

thereto that may be agreed to by the Parties after execution of this Agreement. The

Specifications shall further include any Change Orders and other changes to the Work

authorized in accordance with Article 8 of this Agreement.

“Subcontractor” shall mean every Person (other than employees of Contractor)

employed or engaged by Contractor or any Person (other than Owner) directly or

indirectly in privity with Contractor (including every sub-subcontractor of whatever tier)

to perform any portion of the Work, whether the furnishing of labor, materials,

equipment, services or otherwise.


3-122 | EPC Template

“Subcontractor Protections” shall have the meaning assigned to it in Section 11.8

“Subcontractor Recoveries” shall have the meaning assigned to it in Section 11.10.

“Suppliers” shall mean a manufacturer, fabricator, supplier, distributor, materialman or

vendor having a direct contract with Contractor or with any Subcontractor to furnish

materials or equipment to be incorporated in the Work by Contractor or any

Subcontractor.

“Term” shall mean the duration of this Agreement, from the Effective Date until Final

Completion.

“Testing Engineer” shall have the meaning set forth in Section 11.1.

“Traffic Control Plan” shall have the meaning set forth in Section 4.7.

“Uninsured Force Majeure” shall mean any event of Force Majeure, or portion thereof,

not covered by the insurance required to be carried in connection with the Project.

“Utility Regulator” shall mean any Governmental Authority that has specific

jurisdiction over the production, sale, or pricing of the provision of electric energy or

related services.

“Warranty Period” shall mean, with respect to any component, the applicable length of

any warranties provided by the related Subcontractor.

“Work” shall mean all design, engineering, procurement, construction, erection,

installation, training, start-up and testing activities and services necessary to achieve a

complete and operable Facility in accordance with the terms of this Agreement, to

achieve Mechanical Completion, Commercial Operation, and Final Acceptance, and shall

include all activities and services described in Schedule VII and in Section 3.1.


3-123 | EPC Template

Schedule II

Insurance

Insurance During Construction

The Parties shall maintain insurance during construction as follows:

Owner shall use their best efforts to procure and establish an Owner Controlled Insurance

Program (“OCIP) to insure against the Project construction risks normally covered by the

following types of insurance policies: (a) Subcontractor’s workers compensation

insurance; (b) Subcontractor’s comprehensive third party legal liability insurance; and (c)

Contractor’s comprehensive third party legal liability. The OCIP shall include completed

operations coverage. If such insurance can be obtained at reasonable cost, Owner shall

procure such insurance at its expense; provided, however, that such OCIP expenses shall

be deemed to be included in the Guaranteed Maximum Price unless the expense of such

OCIP, including without limitation premium cost and administration expense, exceeds

the amounts budgeted for the corresponding insurance coverages in the estimated Project

budget.

In the event an OCIP is not available to Owner or in the event Owner determines that an

OCIP is prohibitively expensive for the Project, then Contractor shall purchase and

maintain and/or cause its Subcontractors (except for subcontracts involving less than

$100,000) to purchase the following types and amounts of insurance:

Comprehensive third-party legal liability insurance and other such insurance as is

appropriate for performance of this Agreement. Such insurance shall include, but not be

limited to, protection from the following occurrences:

Claims arising from Worker’s Compensation statutes or similar employee benefit acts,

or third-party legal liability claims arising from bodily injury, sickness and disease, or

death of employees. The minimum limits of such coverage shall be as required by Law.

Third-party legal liability claims against Contractor arising from its operations and the

operations of Subcontractors with such protection extended to provide comprehensive

coverage, including personal injury, completed operations, explosion and collapse

hazard, and underground hazard. The minimum combined limit for personal injury and

property damage liability shall be [Coverage amount] per occurrence and [Coverage

amount] in the aggregate.

Third-party legal liability claims arising from bodily injury and/or damage to property

of others from the ownership, maintenance or use of any motor vehicle, both on-site and

off site. The minimum combined limit for personal injury and property damage liability

shall be [Coverage amount] per occurrence.

Owner shall purchase and maintain property insurance (Builder’s Risk) covering the

Project, including improvements to real property, as well as goods and materials on the

Premises which are to be incorporated into the Project. Such property insurance shall be

for the full insurable


3-124 | EPC Template

value of the property covered and shall be written on an “All Risk” basis covering

physical loss and damage including theft, vandalism and malicious mischief, collapse,

water damage, and such other perils as may be applicable to a Project. Such insurance

shall include the interest of Owner, Contractor, and all Subcontractors as their interests

may appear.

Contractor shall purchase and maintain excess liability /umbrella liability insurance on an

occurrence basis covering claims in excess of, and following the terms of, the insurance

set forth in this Schedule with a [Coverage amount] minimum limit per occurrence and

[Coverage amount] annual aggregate limit. All insurance required by this Agreement

shall be purchased and maintained with a company or companies lawfully authorized to

do business in [Jurisdiction] . Such insurance shall be for limits of liability as specified

for the Project or legally required, whichever is greater.

All required insurance policies shall be endorsed to provide 30 days prior written notice

by certified mail, of any material change, cancellation, or non-renewal to Owner. Proof

of the required insurance and endorsements shall be made by submission to Owner, prior

to commencement of a Project, of certificates of insurance and endorsements satisfactory

to Owner. All required insurance shall be maintained until Owner has accepted the

Project and Final Payment has been made.


3-125 | EPC Template

Schedule III

Acceptance Testing

This schedule necessarily varies from project to project. It must be specific to the

particular equipment selected for the RET project, the characteristics of the renewable

energy technology being utilised, the capabilities and limitations of the project’s design

and equipment, the scope of the work to be done as part of this contract, and the nature of

the intended use.

The illustrative description of work shown below relates to the design and construction of

a cogeneration facility are offered to provide an example of the scope and detail of a

workable scope of work description.

=====

Contractor shall provide Owner at least fourteen (14) days advance notice of the date

upon which Contractor intends to start up and have the qualified independent testing

company perform the Acceptance Tests upon the Facility. In connection with such

Testing, Contractor shall further notify any Governmental Authority to whom such notice

is required. Acceptance Tests shall be conducted in accordance with the applicable

Acceptance Test protocols, as set forth below:

1. Acceptance Tests for Chilled Water Production Equipment:

Factory Tests and Associated Performance Curves (ARI Standard 550/590-98)

Certified Field tests of one chiller. If the chiller satisfies such tests, such testing

will be deemed complete. If such chiller fails to satisfy these tests, then the Parties will

proceed to test all chillers.

Cooling tower capacity testing in accordance with Cooling Tower Institute (CTI) test

protocols.

System Acceptance Testing: (a) Capacity – Demonstrate 20, 000 tons, @ 40 degrees

Fahrenheit having a temperature differential of 10 degrees from chilled water return at

50º F, with a 85º F condensing water temperature and maintaining a 32 PSIG pressure

increase between campus chilled water return pipe and campus chilled water supply; (b)

System Efficiency Test .85kW/ton; and (c) Duration of system tests in accordance with

ARI standards.

Secondary Chilled Water Pumps – As per factory tests.

2. Acceptance Tests for Steam Generation Equipment

Factory Tests, associated performance curves and associated data

Field Test of equipment coordinated with acceptance testing of electric system.

System Acceptance Testing: (a) Capacity – demonstrate 400,000 lbs/hour @ 175 PSIG

with 1 degree Fahrenheit superheat; (b) Steam Quality – USDA Food Grade Water

Treatment Chemicals; (d) Duration of system tests – over a period of one hour.


3-126 | EPC Template

3. Acceptance Tests for Electric Generation Equipment

Acceptance tests for Electric Generation Equipment shall be as provided in

Schedule 3.2 of the Facility Lease..12

Contractor will develop, using a qualified outside testing firm, appropriate additions

to the above-referenced testing protocols to allow for testing during conditions that may

exist at different times of the year, including less than ideal test conditions. MGE Power

and the State shall take all necessary actions, including without limitation, taking

delivery of all steam and chilled water output, and the State shall coordinate with the

University to ensure that necessary actions are taken, so that the Acceptance Tests can be

completed on the dates so scheduled.


Schedule IV

Payment Milestone Schedule

3-127 | EPC Template


3-128 | EPC Template

Schedule V

Lay Down Areas

See Attached Map


Schedule VI

GMP Template

3-129 | EPC Template


3-130 | EPC Template

Schedule VII

The Work

This schedule necessarily varies from project to project. It must be specific to the

particular equipment selected for the RET project, the characteristics of the renewable

energy technology being utilised, the capabilities and limitations of the project’s design

and equipment, the scope of the work to be done as part of this contract, the nature of the

intended use, and relevant regulatory authorizations or constraints.

The illustrative description of work shown below relates to the design and construction of

a cogeneration facility are offered to provide an example of the scope and detail of a

workable scope of work description.

=====

The Work shall include all design, engineering, procurement, permitting (to the extent

provided in the EPC Contract), construction, erection, installation, training, start-up and

testing activities and services necessary to achieve a complete and operable Facility with

the following equipment and systems:

Two (2) GE Packaged Power, Inc. LM6000 Gas Turbine Generator Sets with:

o GE generator

o Dual fuel system

o Water injection system for NOx control

o Inlet air anti-ice system (heater coil)

o Inlet chiller coil

_ One (1) General Electric Company Steam Turbine Generator Set with:

o GE Design Generator

o Mark VI Turbine Control System

o Lube and Control Oil System

o Gland Sealing System

Two (2) Deltak HRSGs, including HRSG modules, inlet and firing duct work, complete

ammonia unloading, storage and injection system, SCR and CO catalyst, exhaust stacks

with silencers, steam drums, pressure parts, walkways, ladders and stairs and boiler

trim.

Steam turbine condensing system consisting of a condenser, circulating water system,

and cooling towers

Two (2) York 1700 ton YK Inlet Air chiller unit (CTG IAC) and CTG IAC Chiller

Tower

Chilled water system consisting of

o Four (4) York 5000 ton Titan OM chiller units (Campus chillers)

o Marley Cooling Technologies, Inc. Cooling Towers (Campus Chilled Water Tower)

o Primary and secondary chilled water pipes and pumping


3-131 | EPC Template

Campus steam and steam condensate equipment, piping and metering for 400,000

pounds per hour of continuous steam, connections to campus steam and condensate

piping systems, poured in-place concrete box conduit systems.

Lake water piping, lake water pumping equipment, sanitary sewers and pumping, storm

sewers.

Continuous Emission Monitoring system

Process water systems consisting of an Environmental Dynamics Corp water treatment

and condensate polisher system, water storage tank, demineralization units, and a

demineralized water storage tanks _ Chemical treatment systems consisting of HRSG

feedwater and circulating water treatment systems

Wastewater collection and treatment system

Fuel supply systems including natural gas conditioning system and a 500,000 gallon

ultra low sulphur storage system _ Fire protection systems

Plant buildings including lighting and HVAC

Site Improvements, roads, sidewalks, site lighting, building relocations, fencing

Plant electrical systems including step-up transformers and high voltage interties,

emergency backup diesel generators, and blackstart capabilities.

One (1) Konecranes, Inc. top running double girder bridge crane _ Signal, data,

metering and communications wiring and equipment _ Plant control system _ Removal

and relocation of campus buildings to the extent provided in Section 7.2.4.2

City Water Supply.20


3-132 | EPC Template

Schedule VIII

Approved Subcontractors and Suppliers

Subcontractors

Sample

CATEGORY NAME POSITION/FUNCTION

Subcontractors

ABC Group, Inc.

Project Engineer

CDE International Energy Construction Manager

Major Equipment Suppliers

East Wind Manufacturing

Carib Electric

Wind Turbine Generators

Transformers


3-133 | EPC Template

Schedule IX

Subcontractor Warranties

This schedule is a technical document that necessarily varies from project to project. It

is based on the particular renewable energy technology being utilised and the specific

manufactured equipment being installed. Expected equipment and workmanship

warranties and applicable performance standards should be discussed by Contractor

and Owner.

The following example of a warranties table relates to a cogeneration project. The

format is equally useful for RET projects.

=====


3-134 | EPC Template


3-135 | EPC Template

Schedule X

Form of Parent Guarantee

In the form of guaranty below, the Contractor’s parent firm provides assurance of Contractor’s performance

and payment under the EPC contract.

This form is easily modified for use as a payment guaranty if such a guaranty is required as a condition

of financing by the project finance lender.

=====

CORPORATE GUARANTEE AGREEMENT

THIS AGREEMENT is made as of ________________, ______, by Owner’s Parent, a

[Description of legal entity] (“Guarantor”).

R E C I T A L S :

A. [Legal name and description of Contractor] (“Obligor”) and [Legal name and

description of Owner] are entering into an Engineering, Procurement and Construction

Agreement dated [the date hereof] (the “Design and Construction Agreement”) for the

development and construction of a [RET description] facility that will produce electric

capacity and energy, to be located [Location of facility] in [City, Country]

{“Project”).

B. Owner has required that the Guarantor guarantee the Obligations (defined below) as a

condition to the Owner’s willingness to enter into the Design and Construction

Agreement. The Obligor is a wholly-owned subsidiary of the Guarantor. The

development and construction of the Project and the transactions contemplated by the

Design and Construction Agreement will provide direct benefits to the Obligor and will

therefore indirectly benefit the Guarantor.

C. The term “Obligations” means all of the obligations of the Obligor to Owner under

the Design and Construction Agreement of whatever nature, however arising, whether

due or not due, absolute or contingent, liquidated or unliquidated, determined or

undetermined, secured or unsecured, and whether the Obligor is liable individually or

jointly with others, but subject to the limitations set forth in the Design and Construction

Agreement.

C O V E N A N T S :

IN CONSIDERATION OF these premises and for other good and valuable

consideration, the receipt and sufficiency of which are hereby acknowledged, it is agreed

that:

1. The Guarantor hereby (a) unconditionally guarantees the full and prompt payment and

performance of the Obligations when due, whether by acceleration or otherwise, or (if


3-136 | EPC Template

earlier) at the time any Obligor becomes the subject of bankruptcy or other insolvency

proceedings; (b) agrees to pay all costs, expenses and reasonable attorneys’ fees incurred

by Owner in enforcing

this Agreement and the Obligations and realizing on any collateral for either; provided

however, that Guarantor shall not be required to pay such amounts incurred by Owner in

any attempted enforcement by Owner of this Agreement in which Guarantor ultimately

prevails; and (c) agrees to pay to Owner the amount of any payments made to Owner or.

another in connection with any of the Obligations which are recovered from Owner by a

trustee, receiver, creditor or other party pursuant to applicable law.

2. This is a guarantee of payment and performance of the Obligations, and not of

collection. Owner shall not be obligated to: (a) take any steps whatsoever to collect from,

or to file any claim of any kind against, any Obligor, any other guarantor, or any other

person or entity liable for payment or performance of any of the Obligations; or (b) take

any steps whatsoever to protect, accept, obtain, enforce, take possession of, perfect its

interest in, foreclose or realize on collateral or security, if any, for the payment or

performance of any of the Obligations or any guarantee of any of the Obligations; or (c)

in any other respect exercise any diligence whatever in collecting or attempting to collect

any of the Obligations by any means.

3. The Guarantor’s liability for payment and performance of the Obligations shall be

absolute and unconditional; the Guarantor unconditionally and irrevocably waives each

and every defense which, under principles of guarantee or suretyship law, would

otherwise operate to impair or diminish such liability; and nothing whatever except actual

full payment and performance of the Obligations (and all other debts, obligations and

liabilities of the Guarantor under this Agreement) shall operate to discharge the

Guarantor’s liability hereunder. Without limiting the generality of the foregoing, Owner

shall have the exclusive right, which may be exercised from time to time without

diminishing or impairing the liability of the Guarantor in any respect, and without notice

of any kind to the Guarantor, to: (a) accept any collateral, security or guarantee for any

Obligations or any other credit; (b) determine how, when and what application of

payments, credits and collections, if any, shall be made on the Obligations and any other

credit and accept partial payments; (c) determine what, if anything, shall at any time be

done with respect to any collateral or security; subordinate, sell, transfer, surrender,

release or otherwise dispose of all or any of such collateral or security; and purchase or

otherwise acquire any such collateral or security at foreclosure or otherwise; and (d) with

or without consideration grant, permit or enter into any waiver, amendment, extension,

modification, refinancing, indulgence, compromise, settlement, subordination, discharge

or release of: (i) any of the Obligations, the Design and Construction Agreement, or any

other agreement relating to any of the Obligations, (ii) any obligations of any guarantor

or other person or entity liable for payment or performance of any of the Obligations, and

any agreement relating to such obligations and (iii) any collateral or security or

agreement relating to collateral or security for any of the foregoing. Notwithstanding

anything in this Agreement to the contrary, Guarantor shall have the right to assert as

defenses and shall have the benefit of all rights of set-off, claims, counter-claims,

reduction or diminution as to any obligation of Owner to Obligors and any defenses to


3-137 | EPC Template

enforcement of this Agreement (except Bankruptcy and other insolvency-related

defenses) that Obligors would be entitled to assert in defense to payment or performance

of any of the Obligations.

4. The Guarantor hereby unconditionally waives (a) presentment, notice of dishonor,

protest, demand for payment and all notices of any kind, including without limitation:

notice of acceptance hereof; notice of the creation of any of the Obligations; notice of

nonpayment, nonperformance or other default on any of the Obligations; and notice of

any action taken to collect upon or enforce any of the Obligations; (b) any subrogation to

the rights of Owner against any Obligor and any other claim against any Obligor which

arises as a result of payments made by the Guarantor pursuant to this Agreement, until

the Obligations have been paid or. performed in full and such payments are not subject to

any right of recovery; and (c) any claim for contribution against any co-guarantor, until

the Obligations have been paid or performed in full and such payments are not subject to

any right of recovery.

5. The Guarantor represents and warrants that:

a. The execution, delivery and performance of this Agreement by the Guarantor

are within the corporate powers of the Guarantor, have been duly authorized by all

necessary corporate action and do not and will not (i) require any consent or approval of

the stockholders (or other governing body) of the Guarantor which has not been obtained,

(ii) violate any provision of the articles of incorporation or by-laws (or other governing

rules of the enterprise) of the Guarantor or of any law, rule, regulation, order, writ,

judgment, injunction, decree, determination or award presently in effect having

applicability to the Guarantor or any subsidiary of the Guarantor; (iii) require the consent

or approval of, or filing or registration with, any governmental body, agency or authority,

or (iv) result in a breach of or constitute a default under, or result in the imposition of any

lien, charge or encumbrance upon any property of the Guarantor or any subsidiary of the

Guarantor pursuant to, any indenture or other agreement or instrument under which the

Guarantor or any subsidiary of the Guarantor is a party or by which it or any of its

properties may be bound or affected.

b. This Agreement constitutes the legal, valid and binding obligation of the

Guarantor enforceable in accordance with its terms, except as such enforceability may be

limited by bankruptcy or similar laws affecting the enforceability of creditors’ rights

generally.

6. This Agreement shall inure to the benefit of Owner and its successors and assigns,

including every holder or owner of any of the Obligations, and shall be binding upon the

Guarantor and the Guarantor’s successors and assigns. This is a continuing guarantee

and shall continue in effect until all Obligations and all obligations of the Guarantor

hereunder shall be paid or performed in full and such payments are not subject to any

right of recovery.

7. This Agreement constitutes the entire agreement between Owner and the Guarantor

with respect to the subject matter hereof, superseding all previous communications and

negotiations, and no representation, understanding, promise or condition concerning the


3-138 | EPC Template

subject matter hereof shall be binding upon Owner unless expressed herein. This

Agreement shall be governed by the laws of the [Country] without regard to conflicts

of law principles.

8. The Guarantor hereby consents to the exclusive jurisdiction of a competent court in

[Country] , and waives any objection based on lack of personal jurisdiction, improper

venue or forum non conveniens, with regard to any actions, claims, disputes or

proceedings relating to this Agreement, or any document delivered hereunder or in

connection herewith, or any transaction arising from or connected to any of the

foregoing. Nothing herein shall affect the State’s right to serve process in any manner

permitted by law, or limit Owner’s right to bring proceedings against the Guarantor or its

property or assets in the competent courts of any other jurisdiction or jurisdictions..

9. The Guarantor hereby waives any and all right to trial by jury in any action or

proceeding relating to this Agreement, or any document delivered hereunder or in

connection herewith, or any transaction arising from or connected to any of the

foregoing. The Guarantor represents that this waiver is knowingly, willingly and

voluntarily given.

[Name of Guarantor]

BY: _________________________________

TITLE:

ATTEST: _____________________________

TITLE:.-


3-139 | EPC Template

Schedule XI

Governmental Authorizations to be Obtained

This schedule necessarily varies from project to project. It must take account not only of

the characteristics of the renewable energy technology being utilised, and also the

capabilities and limitations of the project’s design and equipment, but also the nature of

the intended use and relevant regulatory authorizations or constraints. The items shown

below are illustrative to provide an example of the scope and detail of part of such a

listing

=====

Facility

Required Permits and Approvals

Abbreviations and Acronyms

[LIST]


ภาคผนวก 3-4: เงื่อนไขของสัญญา FIDIC

EPC/Turnkey Contract

Version 1999



3-140 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

Federation Internationale des Ingenieurs-Conseils (FIDIC)

เงื่อนไขสัญญาส าหรับงานก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ (EPC/TURNKEY) 1

1. บททั่วไป (General Provisions)

1.1 ศัพท์นิยาม (Definitions)

ถ้อยค ำและถ้อยควำมในเงื่อนไขทั่วไป รวมถึงเงื่อนไขเฉพำะต่อไปนี้ ให้มีควำมหมำยตำมที่ก ำหนดไว้

ถ้อยค ำของบุคคลหรือคณะบุคคล (Parties) ให้หมำยควำมรวมถึง นิติบุคคล หรือกลุ่มนิติบุคคลอื่น

เว้นจะก ำหนดเป็นอื่น

1.1.1 สัญญา (The Contract)

1.1.1.1 สัญญา (Contract) หมำยถึงสัญญำข้อตกลง (Contract Agreement) วัตถุประสงค์ ควำมต้องกำร

ของผู้ว่ำจ้ำง (Employer’s Requirements) เอกสำรข้อเสนอกำรประกวดรำคำ (Tender) และ

เอกสำรที่จะเกิดขึ้นภำยหลัง (ถ้ำมี) ซึ่งจะระบุไว้ในสัญญำข้อตกลงในหนังสือตอบข้อตกลง

1.1.1.2 สัญญาข้อตกลง (Contract Agreement) หมำยถึงสัญญำข้อตกลงตำมอ้ำงถึงตำมข้อย่อย 1.6

รวมถึงเอกสำรบันทึกภำคผนวก

1.1.1.3 วัตถุประสงค์ ความต้องการของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Requirements) หมำยถึง เอกสำรที่ระบุ

วัตถุประสงค์ ตำมควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำงตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและรวมถึงกำรเพิ่มเติมและกำร

ปรับเปลี่ยนเอกสำรดังกล่ำวตำมสัญญำ โดยเอกสำรดังกล่ำวจะระบุวัตถุประสงค์ขอบเขต และ/หรือ

กำรออกแบบ และ/หรือเกณฑ์ทำงเทคนิคอื่น ๆ ส ำหรับงำน

1.1.1.4 เอกสารข้อเสนอการประกวดราคา (Tender) หมำยถึงเอกสำรข้อเสนอที่ลงนำมของผู้รับจ้ำงงำน

ก่อสร้ำงและเอกสำรอื่น ๆ ทั้งหมดที่ผู้รับจ้ำงงำนก่อสร้ำงยื่นพร้อมกัน (นอกเหนือจำกเงื่อนไขและ

ข้อก ำหนดวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง) ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำหนังสือเสนอรำคำที่ผู้

รับจ้ำงจัดท ำขึ้นได้ลงนำมแล้วเสนอไว้ให้ผู้ว่ำจ้ำง

1.1.1.5 หนังสือประกันสัญญา และแผนการจ่ายเงิน (Performance Guarantees and Schedule of

Payments) หมำยถึงเอกสำรตำมที่มีชื่อเรียกนั้น ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของสัญญำ

1.1.2 คู่สัญญา หรือบุคคล (Parties and Persons)

1.1.2.1 คู่สัญญา (Party) หมำยถึงผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้รับจ้ำงก่อสร้ำง (Contractor/ผู้รับเหมำ) ตำมบริบทของตัว

สัญญำ

1.1.2.2 ผู้ว่าจ้าง (Employer) หมำยถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็นผู้ว่ำจ้ำง ตำมระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวก

ในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) และให้รวมถึง ผู้มีอ ำนำจตำม กฎหมำย

1

แปลโดย เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช อนุกรรมการฝ่ ายวิชาการ วปท. 2560

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-141 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

1.1.2.3 ผู้รับจ้าง (Contractor/ผู้รับเหมำ) หมำยถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็นผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ระบุในเอกสำร

แนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) และให้รวมถึงผู้มีอ ำนำจตำมกฏหมำย

1.1.2.4 ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Representative) หมำยถึงบุคคลซึ่งได้ได้รับแต่งตั้งจำก ผู้ว่ำจ้ำง

ตำมสัญญำที่ระบุ หรือได้รับกำรแต่งตั้งเป็นครั้งครำวจำกผู้ว่ำจ้ำง ตำมข้อย่อย 3.1 (The

Employer’s Representative) เพื่อปฏิบัติหน้ำที่แทนผู้ว่ำจ้ำง

1.1.2.5 ผู้แทนของผู้รับจ้าง (Contractors Representatives) หมำยถึงบุคคลที่ผู้รับจ้ำงระบุในสัญญำ หรือ

บุคคลที่ผู้รับจ้ำงแต่งตั้งเป็นครั้งครำว ตำมหัวข้อย่อย 4.3 (Contractors Representatives) เพื่อ

ปฏิบัติหน้ำที่แทนผู้รับจ้ำง

1.1.2.6 บุคลากรของผู้ว่าจ้าง (Employer Personnel) หมำยถึงผู้ว่ำจ้ำง หรือผู้ช่วยตำมหัวข้อย่อย 3.2

(Delegation by the Engineer) และบุคลำกรอื่น ๆ คนงำนหรือลูกจ้ำงชองผู้ว่ำจ้ำงและ ผู้ว่ำจ้ำง

และบุคลำกรอื่น ที่แจ้งให้แก่ผู้รับจ้ำง โดยผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ว่ำจ้ำงว่ำเป็นบุคลำกรของ ผู้ว่ำจ้ำง

1.1.2.7 บุคลากรของผู้รับจ้าง (Contractors Personnel) หมำยถึงผู้แทนของผู้รับจ้ำงและบุคลำกรทั้งหมด

ของผู้รับจ้ำงซึ่งปฏิบัติงำนอยู่ในพื้นที่งำน ซึ่งรวมถึงบุคลำกรคนงำนและลูกจ้ำงอื่นของผู้รับจ้ำง และ

บุคลำกรของผู้รับจ้ำงช่วงทุกรำยและผู้อื่นของผู้รับจ้ำงที่ท ำงำนก่อสร้ำงให้แก่ผู้รับจ้ำง

1.1.2.8 ผู้รับจ้างช่วง (Subcontractors) หมำยถึงบุคคลที่ถูกระบุชื่อเป็นผู้รับจ้ำงช่วงสัญญำหรือเป็นบุคคล

อื่นที่ผู้รับจ้ำง แต่งตั้งให้เป็นรับจ้ำงช่วงงำนก่อสร้ำงบำงส่วน ให้รวมถึงผู้มีอ ำนำจเป็น ผู้รับจ้ำงช่วง

ตำมกฎหมำย

1.1.2.9 คณะกรรมการพิจาณาข้อพิพาท: คณะผู้ชี้ขาด: ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (Dispute Adjudication

Board, DAB) หมำยถึงบุคคลหนึ่งหรือบุคคล 3 คนซึ่งระบุอยู่ในสัญญำตำมข้อย่อย 20.2 (กำรแต่งตั้ง

คณะผู้ชี้ขำด:DAB) หรือข้อย่อย 20.3 (Failure to Agree DAB)

1.1.2.10 FIDIC หมำยถึง สมำพันธ์ผู้ว่ำจ้ำงที่ปรึกษำสำกล (Federation International des Ingenieur

Conseil หรือ The International Federation of Counselling)

1.1.3 วันที่ ทดสอบ ระยะเวลา และแล้วเสร็จ (Date, Test, Periods and Comletion)

1.1.3.1 วันฐาน (Base Date) หมำยถึง 28 วันก่อนวันสุดท้ำยในกำรยื่นซองประกวดรำคำ

1.1.3.2 วันที่เริ่มงาน (Commencement Date) หมำยถึง วันที่ระบุตำมข้อย่อย 8.1 (Commencement

of Works)

1.1.3.3 เวลาของการแล้วเสร็จ (Time of Completion) หมำยถึงเวลำของกำรแล้วเสร็จของงำนหรือส่วน

ของงำนภำยใต้ข้อย่อย 8.2 (Time of completion) ซึ่งได้ระบุเอกสำรแนบผนวกในเอกสำร

ประกวดรำคำ โดยให้นับจำกวันที่เริ่มงำน

1.1.3.4 ทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (Test on Completion) หมำยถึงกำรทดสอบตำมที่ระบุไว้ในสัญญำหรือ

ตำมที่ตกลงกันของคู่สัญญำ หรือตำมค ำสั่งกำรเปลี่ยนแปลง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-142 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

1.1.3.5 การออกรับใบรับรอง (Taking Over certificate) หมำยถึงกำรออกใบรับรองให้ตำมข้อ 10

(Employer’s Taking Over)

1.1.3.6 ทดสอบภายหลังงานแล้วเสร็จ (Tests after Completion) หมำยถึงกำรทดสอบตำมที่ก ำหนดไว้

ในสัญญำและได้ด ำเนินกำรตำมเงื่อนไขเฉพำะเมื่องำนแล้วเสร็จทั้งหมด หรืองำนแล้วเสร็จเฉพำะ

บำงส่วน ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงได้รับงำนไว้แล้ว

1.1.3.7 ช่วงเวลาการแจ้งข้อบกพร่อง (Defects Notification Period) หมำยถึงช่วงเวลำกำรแจ้ง

ข้อบกพร่องของงำนหรือส่วนของงำน ภำยใต้หัวข้อย่อย 11.1 (Completion of Outstanding

Work and Remedying Defect) ตำมที่ระบุในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ตำม

หัวข้อย่อย 11.3 (Extension of Defect Notification Period) โดยให้นับตั้งแต่วันที่งำนส่วนนั้น

แล้วเสร็จตำมที่ระบุไว้ในหัวข้อย่อย 10.1 (Taking Over of the Works and Sections)

1.1.3.8 ใบรับรองการปฏิบัติงาน (Performance Certificate) ใบรับรองออกให้ตำมหัวข้อย่อย 11.9

(Performance Certificate)

1.1.3.9 วัน (Day) หมำยถึงวันตำมปฏิทิน และปีหมำยถึง 365 วัน

1.1.4 เงินและการจ่ายค่าจ้าง (Money and Payment)

1.1.4.1 ราคางานตามสัญญา (Contract Price) หมำยถึง จ ำนวนเงินที่ตกลงกันไว้ในข้อตกลงสัญญำส ำหรับ

กำรออกแบบ กำรด ำเนินกำร และเพื่อให้งำนแล้วเสร็จ และกำรแก้ไขข้อบกพร่องใด ๆ และรวมถึง

กำรปรับปรุง (ถ้ำมี) ตำมสัญญำ

1.1.4.2 ค่าใช้จ่าย (Cost) ค่ำใช้จ่ำยทั้งปวงที่เกิดขึ้นอย่ำงมีเหตุผลหรืออำจจะเกิดขึ้นโดยกำรท ำงำนของผู้

รับจ้ำงในหน้ำงำนหรือนอกพื้นที่งำน ให้รวมถึงค่ำด ำเนินกำร (Overhead) หรือค่ำใช้จ่ำยอื่นที่

คล้ำยกัน แต่ไม่รวมค่ำก ำไร

1.1.4.3 งบแจ้งยอดสุดท้าย (Final Statement) หมำยถึงงบแจ้งยอดตำมที่ก ำหนดไว้ ในหัวข้อย่อย 14.11

(Application for final Payment Certificate)

1.1.4.4 สกุลเงินต่างประเทศ (Foreign Currency) หมำยถึงสกุลเงินตรำต่ำงประเทศที่จ่ำยเป็นเงินรำคำค่ำ

งำนตำมสัญญำ (Contract Price) ของงำนทั้งหมดหรืองำนบำงส่วน

1.1.4.5 สกุลเงินในประเทศ (Local Currency) หมำยถึงสกุลเงินตรำของประเทศผู้เป็นเจ้ำของโครงกำร

1.1.4.6 รายการเงินจร จ านวนเงินเผื่อจ่าย (Provisional Sum) หมำยถึงจ ำนวนเงิน (ถ้ำมี) ซึ่งระบุใน

สัญญำว่ำเป็นจ ำนวนเงินเผื่อจ่ำย ส ำหรับด ำเนินกำรส่วนใด ส่วนหนึ่งในกำรจัดหำวัสดุ หรือบริกำรใน

งำนก่อสร้ำง ตำมข้อย่อย Sub-Clause 13.5 (Provisional Sums)

1.1.4.7 เงินประกันผลงาน (Retention Money) หมำยถึงจ ำนวนเงินหักสะสม ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงหักไว้ตำมข้อย่อย

14.3 (Application for Interim Payments) และจ่ำยคืนให้ตำมข้อย่อย 14.9 (Payment of

Retention Money)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-143 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

1.1.4.8 งบแจ้งยอด (Statement) เป็นงบแจ้งยอดที่ผู้รับจ้ำงยื่นเสนอตำมหัวข้อ 14 (Contract Price and

Payment) เพื่อขอใบรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำง

1.1.5 งานและพัสดุ (Work and Goods)

1.1.5.1 เครื่องมือของผู้รับจ้าง (Contractor’s equipment) หมำยถึง เครื่องมือทั้งปวง เครื่องจักรกล

พำหนะ และอื่น ๆ เพื่อใช้ในกำรก่อสร้ำง เพื่อผลส ำเร็จของงำนและซ่อมแซมบ ำรุงส่วนบกพร่องของ

งำน อย่ำไรก็ดี เครื่องมือของผู้รับจ้ำง ยกเว้นงำนก่อสร้ำงประกอบชั่วครำวเครื่องมือของงำนจ้ำง (ถ้ำ

มี) โรงงำน/โรงผลิตประกอบเพื่อกำรก่อสร้ำงวัตถุก่อสร้ำง และอื่น ๆ ที่มำประกอบเป็นงำนถำวรของ

ผู้ว่ำจ้ำง

1.1.5.2 พัสดุ (Goods) หมำยถึงเครื่องมือ วัตถุ โรงงำน/โรงผลิตประกอบเพื่อกำรก่อสร้ำง หรืออื่น ๆ ที่เป็น

สมบัติของผู้รับจ้ำง

1.1.5.3 วัสดุ (Material) หมำยถึงสิ่งของต่ำง ๆ (นอกเหนือจำกโรงงำน/โรงผลิตประกอบเพื่อกำรก่อสร้ำง) ที่

น ำมำประกอบกำรก่อสร้ำงเป็นงำนก่อสร้ำงถำวร รวมถึงกำรจัดหำวัสดุ (เฉพำะวัสดุ/ถ้ำมี) ที่ผู้รับจ้ำง

ต้องจัดหำตำมสัญญำ

1.1.5.4 งานก่อสร้างถาวร (Permanent Work) หมำยถึง งำนถำวรที่ผู้รับจ้ำงต้องท ำกำรก่อสร้ำงตำมสัญญำ

1.1.5.5 โรงงาน: โรงผลิต (Plant) หมำยถึง เครื่องมือ เครื่องจักรกล และพำหนะที่จะมำประกอบเป็นส่วน

หนึ่งของงำนถำวร

1.1.5.6 ส่วนของงาน (Section) หมำยถึงส่วนหนึ่งส่วนใดของงำนตำมที่ก ำหนดไว่ในเงื่อนไขเฉพำะ

(Particular Conditions)

1.1.5.7 งานชั่วคราว (Temporary Works) หมำยถึงงำนชั่วครำวของทุกสิ่งทุกอย่ำง (ยกเว้นเครื่องจักรของ

ผู้รับจ้ำง) ที่มีอยู่ในพื้นที่โครงกำรส ำหรับกำรก่อสร้ำงงำนถำวร และเพื่อใช้ในกำรซ่อมบ ำรุง

สิ่งก่อสร้ำงที่ช ำรุดบกพร่อง

1.1.5.8 งาน (Work) หมำยถึง งำนถำวรและงำนชั่วครำว และงำนอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน

1.1.6 ศัพท์นิยามอื่น ๆ (Other Definition)

1.1.6.1 เอกสารของผู้รับจ้าง (Contractor’s Documents) หมำยถึงรำยกำรค ำนวนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

และ โปรแกรมอื่น ๆ แบบ คู่มือ และเอกสำรทำงเทคนิคอื่นซึ่งผู้รับจ้ำงจัดหำตำมสัญญำ ตำมที่ระบุ

ในข้อย่อย 5.2 (Contractor’s Documents)

1.1.6.2 ประเทศ (Country) หมำยถึง ประเทศที่พื้นที่โครงกำรตั้งอยู่

1.1.6.3 เครื่องมือของผู้ว่าจ้าง (Employer's Equipment) หมำยถึง เครื่องมือ เครื่องจักรกลและ

ยำนพำหนะที่ผู้ว่ำจ้ำงจัดหำให้ผู้รับจ้ำง ในกำรด ำเนินกำรก่อสร้ำงตำมที่ก ำหนดไว้ในข้อก ำหนด

(Specification) ยกเว้นโรงงำน/โรงผลิต (Plant) ที่ยังไม่ได้ส่งมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง

1.1.6.4 เหตุสุดวิสัย (Force Majeure) หมำยถึงตำมที่ระบุในข้อ 19 (Force Majeure)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-144 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

1.1.6.5 กฎหมาย (Laws) หมำยถึง กฎหมำยของประเทศ กฤษฎีกำ กฎระเบียบ และกฎหมำยอื่น

กฎกระทรวง

1.1.6.6 หลักประกันการปฏิบัติงาน: หลักประกันสัญญา (Performance Security) หมำยถึงหลักประกัน

ตำมข้อย่อย 4.2 (Performance Security)

1.1.6.7 พื้นที่ก่อสร้าง (Site) หมำยถึงพื้นที่ที่จะท ำกำรก่อสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงถำวร ซึ่งจะเป็นพื้นที่ที่เครื่องมือ

และวัสดุต่ำง ๆ ถูกน ำเข้ำมำเพื่อกำรก่อสร้ำง และพื้นที่อื่นที่ก ำหนดไว้ในสัญญำให้เป็นพื้นที่ก่อสร้ำง

1.1.6.8 การเปลี่ยนแปลง (Variation) หมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงงำนโดยค ำสั่งและเห็นชอบกำรเปลี่ยนแปลง

นั้นตำมข้อ 13 (Variations and Adjustments)

1.2 การตีความ (Interpretation)

ในสัญญำนี้ เว้นแต่จะหมำยถึงเป็นอย่ำงอื่น

(ก) ค ำ เพศ (Gender) ที่เป็นเพศชำยในไวยำกรณ์ ให้รวมหมำยถึง เพศที่เป็นหญิงในไวยำกรณ์

(Genders) ด้วย

(ข) ค ำ เอกพจน์ (Singular) ให้หมำยถึง ค ำพหูพจน์ด้วย (Plural) ด้วยหรือจะสลับกันก็ได้

(ค) ค ำ Agee, Agreed หรือ Agreement ให้หมำยถึงกำรตกลงซึ่งต้องจัดท ำบันทึกเป็นหนังสือ

(ง) ค ำ written หรือ in Writing ให้หมำยถึงกำรเขียนด้วยลำยมือ พิมพ์ หรือ พิมพ์จำก

คอมพิวเตอร์และมีผลเป็นกำรบันทึกถำวร

ห้ำมใช้หัวข้อเรื่องในสัญญำนี้ ในกำรพิจำรณำแปลควำมในเงื่อนไขของสัญญำ

1.3 การสื่อสาร (Communications)

ในเงื่อนไขสัญญำนี้ ทุก ๆ แห่งที่ระบุว่ำให้หรืออกหนังสือให้อนุมัติในเรื่องใบรับรองกำรอนุญำต กำร

พิจำรณำ กำรวินิจฉัย กำรแจ้งและกำรขอให้ กำรสื่อสำรในเรื่องดังกล่ำว ให้สื่อสำรเป็นดังนี้

(ก) เขียนแล้วส่งด้วยบุคคล พร้อมใบลงนำมรับเอกสำร ส่งด้วยทำงไปรษณีย์ หรือส่งด้วยทำงระบบ

อิเล็กทรอนิกส์ ตำมที่ทั้ง 2 ฝ่ำย ตกลงไว้ในเอกสำรประกวดรำคำ

(ข) น ำส่ง ส่งหรือส ำเนำส่งทำงอิเล็กทรอนิกส์ตำมที่อยู่ของผู้รับตำมที่ก ำหนดในเอกสำรประกวด

รำคำ แต่อย่ำงใดก็ดี

(i) หำกผู้รับขอเปลี่ยนที่อยู่ใหม่ ผู้ส่งจะต้องส่งตำมที่อยู่ใหม่

(ii) หำกผู้รับไม่ได้แจ้งเป็นอื่น เมื่อมีกำรขอพิจำรณำอนุมัติหรือขออนุญำตให้ผู้ส่งค ำตอบตำมที่

อยู่ที่ปรำกฎอยู่บนหนังสือที่ส่งมำ

กำรอนุมัติกำรขอใบรับรองกำรขออนุญำต และกำรขอพิจำรณำวินิจฉัยจะต้องไม่เก็บหนังสือเฉยไว้

หรือทิ้งไว้นำนโดยไม่มีเหตุผล เมื่อมีกำรส่งใบรับรองให้แก่คู่กรณีหนึ่ง ผู้ให้กำรรับรองใบรับรองและ

ส ำเนำใบรับรองให้แก่ผู้เกี่ยวข้องด้วย เมื่อกำรส่งใบสั่งกำรแก่ผู้หนึ่ง ผู้ส่งดังกล่ำวจะต้องส่งใบส ำเนำ

ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้เกี่ยวข้องนั้นด้วย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-145 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

1.4 กฎหมายและภาษา (Law and Language)

สัญญำต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยของประเทศที่โครงกำรตั้งอยู่ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรประกวดรำคำ

หำกบทหนึ่งบทใดของสัญญำเขียนสัญญำมำกกว่ำหนึ่งภำษำ ให้ใช้ภำษำที่ก ำหนดไว้ในเอกสำรแนบ

ผนวกในเอกสำรประกวดรำคำเป็นภำษำหลัก ภำษำที่ใช้ในกำรสื่อสำรให้ภำษำที่ระบุไว้ในเอกสำร

แนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ หำกไม่มีกำรก ำหนด ในเอกสำรประกวดรำคำ ก็ให้ใช้ภำษำที่

เขียนเป็นตัวสัญญำ

1.5 ล าดับความส าคัญของเอกสาร (Priority of Documents)

เอกสำรที่ประกอบเป็นตัวสัญญำ ให้ถือตำมล ำดับศักดิ์ในตัวมันเอง เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรตีควำมให้

ถือตำมล ำดับศักดิ์ ของเอกสำร ดังนี้

(ก) สัญญำข้อตกลง (Contract Agreement)

(ข) เงื่อนไขเฉพำะของสัญญำ (Particular Conditions)

(ค) เงื่อนไขทั่วไปของสัญญำฉบับนี้ (These General Conditions)

(ง) วัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง (Employer’s Requirements)

(จ) เอกสำรข้อเสนอกำรประกวดรำคำ และเอกสำรอื่น ๆ ที่รวมเป็นส่วนหนึ่งของสัญญำ

1.6 สัญญาข้อตกลง (Contract Agreement)

คู่สัญญำต้องลงนำมในสัญญำข้อตกลงภำยใน 28 วันหลังจำกผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือตอบข้อตกลง

(Letter of Acceptance) เว้นแต่คู่สัญญำได้ตกลงเป็นอื่น สัญญำข้อตกลงจะเป็นแบบฟอร์มซึ่งแนบ

อยู่ในเงื่อนไขเฉพำะ (Particular Conditions) ผู้ว่ำจ้ำงต้องเป็นผู้จ่ำยค่ำอำกรแสตมป์และ

ค่ำธรรมเนียมตำมกฎหมำยในกำรลงนำมสัญญำข้อตกลง

1.7 การโอนสิทธิ์ (Assignment)

ไม่ว่ำคู่สัญญำฝ่ำยใดจะโอนสิทธิ์งำนทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใด ของงำน หรือผลประโยชน์ใดหรือ

ดอกเบี้ยภำยใต้สัญญำ อย่ำงไรดีคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด

(ก) กำรโอนสิทธิ์สัญญำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของสัญญำก่อนลงนำมสัญญำกับคู่สัญญำอื่น

ทั้งนี้เป็นควำมสมัครใจของคู่สัญญำอื่นนั้น

(ข) อำจเป็นหลักประกันให้แก่ธนำคำรผู้สนับสนุนกำรเงินจึงมอบกำรโอนสิทธิกำรรับเงินค่ำจ้ำง หรือ

ได้รับเงินค่ำจ้ำงภำยใต้สัญญำนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-146 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

1.8 การรักษาและการแจกจ่ายเอกสาร (Care and Supply of Documents)

เอกสำรของผู้รับจ้ำงก่อสร้ำงแต่ละฉบับต้องอยู่ในควำมดูแลและควบคุมรักษำ โดยผู้รับจ้ำงก่อสร้ำง

เว้นไว้และจนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับมอบ เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในสัญญำ ผู้รับจ้ำงก่อสร้ำง

จะต้องจัดหำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงจ ำนวน 6 (หก) ชุด

ผู้รับจ้ำงจะต้องเก็บรักษำเอกสำร ส ำเนำสัญญำ เอกสำรข้อก ำหนดวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้

ว่ำจ้ำง เอกสำรของผู้รับจ้ำง รำยกำรเปลี่ยนแปลงงำน และเอกสำรกำรติดต่อสื่อสำรอื่น ๆ ภำยใต้

สัญญำดังกล่ำว บุคคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงจะมีสิทธิเข้ำถึงเอกสำรดังกล่ำวทั้งหมดได้ตลอดเวลำตำม

ควำมเหมำะสม

หำกคู่สัญญำฝ่ำยใดตระหนักรู้ถึงข้อผิดพลำด หรือข้อบกพร่องทำงเทคนิค ในเอกสำรที่ใช้ในกำร

ก่อสร้ำง ฝ่ำยที่พบข้อบกพร่องดังกล่ำว ต้องแจ้งข้อบกพร่องทันทีให้แก่คู่สัญญำ เพื่อกำรแก้ไขต่อไป

1.9 ความลับ (Confidentiality)

คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยจะถือว่ำรำยละเอียดของสัญญำเป็นข้อมูลเฉพำะและเป็นควำมลับ ยกเว้นใน

ขอบเขตที่จ ำเป็นเพื่อกำรปฏิบัติตำมข้อผูกพันตำมกฎหมำย หรือเพื่อให้เป็นไปตำมกฎหมำยที่บังคับ

ใช้ ผู้รับจ้ำงก่อสร้ำงต้องไม่เผยแพร่ อนุญำตให้ตีพิมพ์ หรือเปิดเผยรำยละเอียดของงำนในเอกสำร

เพื่อกำรค้ำหรือทำงเทคนิคใด ๆ หรือที่อื่น หำกมิได้รับกำรยินยอมตำมข้อตกลงก่อนหน้ำนี้ของผู้ว่ำ

จ้ำง

1.10 ผู้ว่าจ้างใช้สารบบเอกสารของผู้รับจ้าง (Employer’s Use of Contractor’s Documents)

ในระหว่ำงคู่สัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องสงวนไว้ซึ่งสิทธิบัตรและลิขสิทธ์ของสำรบบเอกสำรของ ผู้รับ

จ้ำงและในสำรบบของเอกสำรกำรออกแบบ

ผู้รับจ้ำงต้องรับทรำบว่ำ ภำยหลังกำรลงนำมสัญญำกันแล้วต้องส่งมอบสิทธิบัตรและลิขสิทธ์ที่ช ำระ

ค่ำธรรมเนียมถูกต้องแล้วให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงด้วยเพิ่อใช้และเชื่อมต่อกับสำรบบของเอกสำรของผู้รับจ้ำงได้

ทั้งนี้ให้รวมถึงกำรจัดท ำและควรปรับปรุงขยำยของสิทธินั้น ในใบอนุญำตต้องมี

(ก) สำมำรถใช้งำนได้ไม่น้อยกว่ำอำยุของงำนโครงกำรหรือมำกกว่ำ

(ข) แต่งตั้งบุคคลใด ที่เหมำะสมในกำรควบคุมกำรใช้และสื่อสำรในเอกสำรของผู้รับจ้ำง เพื่อ

วัตถุประสงค์ในกำรด ำเนินกำรบ ำรุงรักษำ แก้ไข ปรับปรุง ซ่อมแซม และกำรรื้อถอนงำน และ

(ค) ในกรณีสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง อยู่ในรูปแบบคอมพิวเตอร์โปรแกรมหรือซอฟแวร์ อื่น ๆ

ให้สำมำรถใช้งำนได้กับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในพื้นที่โครงกำรและที่อื่นที่ระบุในสัญญำ ทั้งนี้ให้ผู้รับจ้ำง

ต้องรับผิดชอบในกำรเปลี่ยนคอมพิวเตอร์ที่ล่ำสมัยหรือช ำรุดอีกด้วย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-147 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

เอกสำรของผู้รับเหมำและเอกสำรกำรออกแบบอื่น ๆ ที่จัดท ำโดย (หรือในนำมของ) ผู้รับจ้ำงต้องไม่

ถูกน ำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญำตจำกผู้รับจ้ำง ในกำรคัดลอกหรือสื่อสำรกับบุคคลที่สำมโดย (หรือใน

นำมของ) ผู้ว่ำจ้ำงเพื่อวัตถุประสงค์อื่น นอกจำกจะได้รับอนุญำต ภำยใต้หัวข้อย่อยนี้

1.11 ผู้รับจ้างใช้สารบบเอกสารของผู้ว่าจ้าง (Contractor’s Use of Employer’s Documents)

ระหว่ำงคู่สัญญำต้องสงวนไว้ซึ่งสิทธิบัตรและลิขสิทธิ์เอกสำรในเรื่องข้อก ำหนด วัตถุประสงค์ ควำม

ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง รวมถึงเอกสำรอื่น ซึ่งจัดท ำโดย (หรือในนำม) ของผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงอำจ

สำมำรถคัดลอก ใช้ และเพื่อกำรติดต่อสื่อสำรในเอกสำรเหล่ำนี้ ด้วยค่ำใช้จ่ำยของตนเองเพื่อ

วัตถุประสงค์ตำมสัญญำ

1.12 รายละเอียดความลับ (Confidential Details)

ผู้รับจ้ำงจะเปิดเผยควำมลับและข้อมูลตำมค ำขอของผู้ว่ำจ้ำงอย่ำงมีเหตุผลเพื่อควำมเข้ำใจต่อ ผู้รับ

จ้ำงตำมสัญญำ

1.13 การปฏิบัติตามข้อกฎหมาย (Compliance with Laws)

ในกำรด ำเนินงำนตำมสัญญำผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยที่ใช้บังคับเว้นแต่จะก ำหนดเป็นอื่น ใน

เงื่อนไขเฉพำะ

(ก) ผู้ว่ำจ้ำงต้องได้รับอนุญำตในเรื่องแผนโครงกำร ของพื้นที่และอื่น ๆ เพื่องำนก่อสร้ำงงำนก่อสร้ำง

โครงกำร และกำรอนุญำตอื่น ๆ ตำมที่ก ำหนดไว้ในข้อก ำหนดของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงต้องรับผิดชอบ

ควำมเสียหำยและปกป้องอันตรำยอันจะเกิดขึ้นต่อผู้รับจ้ำง

(ข) ผู้รับจ้ำงจะส่งหนังสือแจ้งให้ทรำบเรื่องกำรจ่ำยภำษีทั้งปวง ค่ำธรรมเนียม และกำรขอใบอนุญำต

และกำรรับอนุมัติตำมที่กฎหมำยบังคับไว้ให้ด ำเนินกำรงำนให้แล้วเสร็จและในกำรซ่อมบ ำรุงสิ่งช ำรุด

บกพร่อง ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบควำมเสียหำยและปกป้องอัตรำยอันเกิดขึ้นต่อผู้ว่ำจ้ำงในเรื่อง

ดังกล่ำว

1.14 การร่วมมือกันและการรับผิดชอบ (Joint and Several Liability)

ในกรณีผู้รับจ้ำงเป็นนิติบุคคลร่วมค้ำ (Joint Venture) หรือนิติบุคคลค้ำร่วม (Consortium) ตำม

กฎหมำย

(ก) สมำชิกกลุ่มนิติบุคคลต้องรับทรำบว่ำ สมำชิกทุกคนต้องร่วมรับผิดชอบต่อผู้ว่ำจ้ำงในกำร

ด ำเนินงำนตำมสัญญำ

(ข) กลุ่มนิติบุคคลต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบถึงผู้ที่เป็นหัวหน้ำกลุ่มนิติบุคคล ซึ่งมีอ ำนำจท ำ

กำรแทนกลุ่มนิติบุคคล

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-148 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ค) ผู้รับจ้ำงกลุ่มนิติบุคคล ห้ำมปรับเปลี่ยนสมำชิกกลุ่มและสถำนะกำรจัดตั้งเป็นกลุ่มนิติบุคคลตำม

กฎหมำยโดยไม่ได้รับเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำง

2. ผู้ว่าจ้าง (The Employer)

2.1 สิทธิการเข้าออกสถานที่ก่อสร้าง (Right of Access to the Site)

ผู้ว่ำจ้ำงจะให้สิทธิแก่ผู้รับจ้ำงในกำรเข้ำออกและครอบครองทุกส่วนของพื้นที่ก่อสร้ำงตำมก ำหนด

เวลำในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ สิทธิและกำรครอบครองสิทธินั้นไม่ได้ให้เฉพำะ

แต่ผู้รับจ้ำง ถ้ำภำยใต้สัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงมีวัตถุประสงค์ให้ผู้รับจ้ำงครอบครองสิทธิโครงสร้ำงฐำนรำก

เครื่องมือ เครื่องจักรกลและวิธีกำรเข้ำออกพื้นที่ ผู้ว่ำจ้ำงจะปฏิบัติตำมก ำหนดเวลำตำมที่ระบุไว้ใน

ข้อก ำหนด แต่อย่ำงไรก็ดีผู้ว่ำจ้ำงอำจจะไม่ให้สิทธิและกำรครอบครองพื้นที่ก่อสร้ำง จนกว่ำผู้รับจ้ำง

ได้มอบหลักประกันสัญญำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง

หำกไม่ก ำหนดเวลำในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ผู้ว่ำจ้ำงจะให้สิทธิและกำร

ครอบครองพื้นที่ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ได้รับค ำสั่งให้เริ่มงำน

หำกผู้รับจ้ำงได้รับควำมยุ่งยำกและล่ำช้ำจนเกิดมีค่ำใช้จ่ำยจำกกำรที่ผู้ว่ำจ้ำงละเลยไม่ให้สิทธิกำร

ครอบครองพื้นที่ตำมเวลำที่ก ำหนดไว้ ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงตำมหัวข้อย่อย 20.1

(Contractor Claims)

(ก) ขยำยเวลำตำมควำมล่ำช้ำ ซึ่งหำกควำมล่ำช้ำนั้นอันเนื่องจำกเหตุผลดังกล่ำวตำมหัวข้อย่อย 8.4

(Extention of Time for Completion) และ

(ข) ค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นบวกก ำไรซึ่งจะเป็นค่ำจ้ำงตำมสัญญำ (Contract Price)

ภำยหลังจำกได้รับหนังสือแจ้ง ผู้ว่ำจ้ำงต้องด ำเนินกำรตำมหัวข้อย่อย 3.5 (Determinations)

พิจำรณำอนุมัติหรืออื่น ๆ

อย่ำงไรก็ดี หำกพบควำมผิดพลำดของผู้ว่ำจ้ำงอันเนื่องจำกควำมผิดหรือควำมล่ำช้ำของ ผู้รับจ้ำง

ให้รวมควำมผิดในเรื่องหรือควำมล่ำช้ำในกำรยื่นเอกสำรหนังสือของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงจะไม่

อำจจะขอขยำยเวลำ ค่ำใช้จ่ำยหรือค่ำก ำไร

2.2 การอนุญาต ใบอนุญาต หรือการอนุมัติ (Permit, License, or Approvals)

ผู้ว่ำจ้ำง (เมื่ออยู่ในต ำแหน่งจะกระท ำได้) ที่จะจัดหำให้อย่ำงมีเหตุผลต่อผู้รับจ้ำงในเรื่อง

(ก) ขอส ำเนำบทกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับงำนโครงกำรซึ่งยังไม่มี

(ข) เพื่อให้ผู้รับจ้ำงยื่นขออนุญำต ในอนุญำตหรือกำรอนุมัติ ตำมที่กฎหมำยบังคับใช้ของประเทศนั้น

(1) ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องจัดท ำตำมข้อย่อย 1.13 (Compliant with Laws)

(2) เพื่อกำรขนส่งพัสดุ รวมถึงพิธีกำรศุลกำกร

(3) เพื่อกำรส่งกลับเครื่องมือเมื่อกำรก่อสร้ำงแล้วเสร็จ จำกพื้นที่โครงกำร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-149 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

2.3 บุคลากรของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Personnel)

ผู้ว่ำจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง และบุคลำกรของผู้รับจ้ำงอื่นซึ่งว่ำจ้ำงโดย ผู้ว่ำจ้ำง

ที่ปฏิบัติงำนอยู่ในพื้นที่โครงกำรเดียวกัน

(ก) ให้ควำมร่วมมือผู้รับจ้ำงตำมหัวข้อย่อย 4.6 (Co–operation) และ

(ข) ด ำเนินกำรคล้ำยกับบุคลำกรผู้รับจ้ำงตำมหัวย่อย 4.8 ในหัวข้อ (ก), (ข) (ค) และ (ง) (Safety

Procedure) และในหัวข้อย่อย 4.18 (Protection of the Environment)

2.4 ระเบียบการเงินของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Financial Arrangements)

ผู้ว่ำจ้ำงจะยื่นข้อเสนอภำยใน 28 วันหลังจำกได้รับหนังสือกำรแจ้งใด ๆ พร้อมหลักฐำนจำก ผู้รับ

จ้ำงในเรื่องกำรเงิน ผู้ว่ำจ้ำงจะรับไว้ท ำกำรตรวจสอบกำรจ่ำยค่ำงำนตำมสัญญำ (Contract Price)

ณ เวลำนั้นตำมข้อย่อย 14 (Contract Price and Payment) หำก ผู้ว่ำจ้ำงมีควำมประสงค์

เปลี่ยนรำยละเอียดเอกสำรตำมระเบียบกำรเงินของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำง

ทรำบพร้อมรำยละเอียดเฉพำะ

2.5 การเรียกร้องค่าชดเชยของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Claims)

ในกณีที่ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำแล้วเห็นว่ำกำรจ่ำยค่ำจ้ำงตำมเงื่อนไขสัญญำนี้หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับสัญญำ

นี้ หรือกรณีใดที่มีหนังสือแจ้งกำรขยำยเวลำกำรรับประกันซ่อมแซมสิ่งช ำรุดบกพร่อง ผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้

ว่ำจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งเฉพำะให้แก่ผู้รับจ้ำง อย่ำงไรก็ดี หนังสือแจ้งไม่ต้องจ่ำยตำมหัวข้อย่อย 4.19

(Electricity, Water and Gas) ตำมข้อย่อย 4.20 (Employer’s Equipment and Free-Issue

Material) หรือกำรบริกำรอื่นตำมที่ผู้รับจ้ำงร้องขอ

หนังสือแจ้งต้องส่งให้เร็วที่สุด และสำมำรถจะด ำเนินกำรให้ได้ภำยหลังจำกผู้ว่ำจ้ำงเริ่มรับว่ำเหตุหรือ

สถำนกำรณ์ที่จะกำรเรียกร้องค่ำชดเชย หนังสือแจ้งเตือนเกี่ยวกับกำรขยำยเวลำ กำรรับประกัน

ซ่อมแซมสิ่งช ำรุดบกพร่อง จะส่งให้ก่อนที่กำรประกันซ่อมแซมสิ่งช ำรุดจะหมดอำยุ เงื่อนไขเฉพำะจะ

ระบุเหตุหรือสำเหตุอื่นของกำรเรียกร้องค่ำชดเชย ซึ่งจะรวมจ ำนวนตำมจริงและกำรขยำยเวลำ

ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำด้วยตนเอง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสัญญำ ดังนั้นผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำร ตำม

หัวข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่ออนุมัติหรือเพื่อพิจำรณำ

(i) จ ำนวนค่ำชดเชยที่ผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับจำกผู้รับจ้ำง

(ii) กำรขยำยเวลำกำรประกันกำรซ่อมแซมสิ่งช ำรุดบกพร่อง ตำมหัวข้อย่อย 11.3 (Extension of

Defects Notification Period)

จ ำนวนค่ำเรียกร้องชดเชยนี้ อำจจะถูกหักรำคำงำนตำมสัญญำ (Contract Price) และใบรับรองกำร

จ่ำยค่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์จะระบุเก็บค่ำเรียกร้องค่ำชดเชยออกหรือหักจ ำนวนเงินนี้ออกจำก

ใบรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำง หรือมิฉะนั้นจะคิดโดยตรงกับผู้รับจ้ำง ตำมหัวข้อย่อยในเงื่อนไขนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-150 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

3. การบริหารของผู้ว่าจ้าง (The Employer’s Administration)

3.1 ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (The Employer's Representative)

ผู้ว่ำจ้ำงจะแต่งตั้งผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ซึ่งจะปฏิบัติหน้ำที่ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงมอบหมำยตำมสัญญำ ผู้แทน

ของผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้ที่ระบุ และได้รับกำรมอบหมำยให้มีอ ำนำจกระท ำกำรในนำมของผู้แทนของผู้

ว่ำจ้ำง

ผู้แทนผู้ว่ำจ้ำงจะท ำหน้ำที่ตำมที่ได้รับมอบหมำย และใช้อ ำนำจตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงมอบหมำย เว้นแต่และ

จนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้ผู้รับจ้ำงเป็นอย่ำงอื่น ให้ถือว่ำผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำงจ้ำงมีอ ำนำจเต็มตำมข้อ

ผูกพันของผู้ว่ำจ้ำงจ้ำงตำมสัญญำ ยกเว้นตำมที่ระบุในข้อ 15 (Termination by Employer)

หำกผู้ว่ำจ้ำงประสงค์จะเปลี่ยนบุคลำกรที่ได้รับกำรแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะต้อง

แจ้งให้ผู้รับจ้ำงทรำบล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ 14 วันโดยระบุ ชื่อ ที่อยู่ หน้ำที่และอ ำนำจหน้ำที่ของ

บุคลำกรนั้น และวันที่ได้รับกำรแต่งตั้ง

3.2 บุคลากรอื่นของผู้ว่าจ้าง (Other Employer’s Personnel)

ผู้ว่ำจ้ำง หรือ ผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำงอำจมอบหน้ำที่และมอบอ ำนำจหรือถอดถอนให้ผู้แทนหรือผู้ช่วยผู้

ว่ำจ้ำง อ ำนำจหน้ำที่นี้ให้รวมถึงผู้ว่ำจ้ำงสนำมประจ ำหน้ำงำน (Resident Engineer) และหรือ

ผู้ตรวจงำนอิสระ (Independent Inspector) ซึ่งแต่งตั้งให้ตรวจสอบ กำรทดสอบอุปกรณ์

เครื่องจักรกลและวัสดุก่อสร้ำง กำรมอบหมำยตัวแทนและกำรถอดถอน จะต้องกระท ำเป็นหนังสือ

และจะมีผลบังคับเมื่อคู่สัญญำได้รับหนังสือไว้แล้ว

ผู้ช่วยต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมำะสมและมีควำมสำมำรถ ควำมช ำนำญในกำรปฏิบัติหน้ำที่

และกำรใช้อ ำนำจ มีควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำในกำรสื่อสำรตำมข้อย่อย 1.4 (Law and

Language)

3.3 บุคลากรที่ได้รับมอบอ านาจ (Delegated Persons)

บุคลำกรเหล่ำนี้ รวมถึงผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำงและผู้ช่วย ซึ่งได้รับมอบอ ำนำจหน้ำที่ หรือมีอ ำนำจตำมที่

ได้รับมอบอ ำนำจเท่ำนั้นที่จะได้รับอนุญำตให้ออกค ำสั่งให้ผู้รับจ้ำงตำมขอบเขตที่ก ำหนด กำรอนุมัติ

กำรตรวจสอบ รับรอง ยินยอม กำรตรวจสอบกำรออกค ำสั่ง ค ำชี้แจงข้อเสนอ กำรร้องขอ กำร

ทดสอบ หรือกำรกระท ำที่คล้ำยคลึงกันโดยบุคคลำกรที่ได้รับมอบอ ำนำจตำมที่ได้รับมอบอ ำนำจจะมี

ผลเช่นเดียวกับกำรกระท ำนั้นเป็นกำรกระท ำ ของผู้ว่ำจ้ำง อย่ำงไรก็ตำม:

(ก) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในกำรสื่อสำรของผู้ได้รับมอบอ ำนำจเกี่ยวกับกำรกระท ำดังกล่ำว

จะไม่เป็นกำรลดภำระหน้ำที่ของผู้รับจ้ำงตำมสัญญำ รวมทั้งควำมรับผิดชอบในข้อผิดพลำดกำรละ

เว้นกำรคลำดเคลื่อนและกำรไม่ปฏิบัติตำมข้อก ำหนด

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-151 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ข) กำรไม่ยอมรับงำนใด ๆ โรงผลิตหรือวัสดุ ต้องไม่ถือเป็นกำรอนุมัติและจะไม่กระทบต่อสิทธิของผู้

ว่ำจ้ำงในกำรปฏิเสธในงำน โรงผลิตหรือวัสดุ และ

(ค) หำกผู้รับจ้ำงมีข้อซักถำมในค ำสั่งของบุคลำกรที่ได้รับมอบอ ำนำจ ผู้รับจ้ำงอำจส่งเรื่องไปยังผู้

ว่ำจ้ำง ซึ่งจะต้องยืนยัน หรือขัดแย้ง หรือเปลี่ยนแปลงในค ำวินิจฉัยตัดสินหรือค ำสั่งนั้น

3.4 ค าแนะน า: ค าสั่งการ (Instruction)

ผู้ว่ำจ้ำงอำจออกค ำสั่งให้ผู้รับจ้ำงเพื่อปฏิบัติหน้ำที่ตำมสัญญำ ค ำสั่งแต่ละค ำสั่งต้องได้รับกำรบอก

กล่ำวเป็นลำยลักษณ์อักษรและระบุถึงภำระหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อย่อย (หรือเงื่อนไขอื่น ๆ ของ

สัญญำ) ซึ่งระบุภำระหน้ำที่ หำกค ำสั่งดังกล่ำวเป็นกำรเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตำมข้อย่อย 13

(Variations and Adjustments)

ผู้รับจ้ำงจะต้องรับค ำแนะน ำจำกผู้ว่ำจ้ำงหรือตัวแทนผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ช่วยซึ่งได้มอบอ ำนำจที่เหมำะสม

ตำมข้อนี้

3.5 การพิจารณาวินิจฉัย (Determinations)

เมื่อใดก็ตำมที่เงื่อนไขเหล่ำนี้ระบุว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 นี้ เพื่อตกลงหรือก ำหนด

เรื่องใด ๆ ผู้ว่ำจ้ำงจะปรึกษำกับผู้รับจ้ำงในควำมพยำยำมที่จะบรรลุข้อตกลง หำกข้อตกลงไม่

บรรลุผล ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องมีกำรตัดสินอย่ำงเป็นธรรมตำมสัญญำโดยค ำนึงถึงสถำนกำรณ์ที่เกี่ยวข้อง

ทั้งหมด

ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้ผู้รับจ้ำงทรำบถึงข้อตกลง หรือข้อตกลงแต่ละฉบับโดยมีรำยละเอียดกำรสนับสนุน

คู่สัญญำแต่ละฝ่ำยจะให้ผลตำมข้อตกลง หรือข้อตกลงแต่ละฉบับเว้นแต่ผู้รับจ้ำงจะแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำง

ทรำบถึงข้อไม่เห็นด้วยของตนภำยใน 14 วันนับจำกวันที่ได้รับเอกสำร คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดอำจ

ส่งข้อพิพำทไปยัง DAB ตำมข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision)

4. ผู้รับจ้าง (The Contractor)

4.1 พันธะทั่วไปของผู้รับจ้าง (Contractor’s General Obligations)

ผู้รับจ้ำงต้องออกแบบ และด ำเนินกำรงำนให้เสร็จสมบูรณ์ตำมสัญญำ และรวมถึงจะแก้ไข

ข้อบกพร่องต่ำง ๆ ในงำน เมื่อแล้วเสร็จ ผลงำนจะต้องเหมำะสมกับวัตถุประสงค์ของงำนก่อสร้ำง

ตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ

ผู้รับจ้ำงต้องจัดเตรียมเอกสำรของโรงผลิต และเอกสำรของผู้รับจ้ำงที่ระบุไว้ในสัญญำ รวมถึง

บุคลำกร สิ่งขอ เครื่องอุปโภคบริโภค และสิ่งของและบริกำรอื่น ๆ ทั้งหมดที่มีลักษณะชั่วครำวหรือ

ถำวรที่จ ำเป็นส ำหรับกำรออกแบบนี้ รวมถึงกำรด ำเนินกำรให้แล้วเสร็จและกำรแก้ไขข้อบกพร่อง

งำนนี้จะรวมถึงงำนต่ำง ๆ ที่จ ำเป็นเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง หรือโดยนัยตำมสัญญำ

และงำนทั้งหมดซึ่ง (แม้ว่ำจะไม่ได้กล่ำวถึงในสัญญำ) แต่เป็นสิ่งจ ำเป็นส ำหรับควำมมั่นคงหรือเพื่อ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-152 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ควำมสมบูรณ์หรือกำรด ำเนินงำนที่ปลอดภัยและเหมำะสม

ผู้รับจ้ำงจะต้องรับผิดชอบต่อควำมเหมำะสม เพียงพอ เสถียรภำพและควำมปลอดภัยในกำร

ปฏิบัติงำนในสถำนที่ก่อสร้ำง กำรด ำเนินงำน และวิธีกำรก่อสร้ำงในงำนทั้งหมด

ผู้รับจ้ำงจะต้องส่งรำยละเอียดและวิธีกำรตำมที่ผู้รับจ้ำงเสนอในกำรด ำเนินงำนตำมโครงกำร แก่ผู้

ว่ำจ้ำง กำรเปลี่ยนแปลงในวิธีกำรเหล่ำนี้จะต้องไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมีนัยส ำคัญโดยมิได้แจ้งให้

ผู้ว่ำจ้ำงทรำบล่วงหน้ำ

4.2 หลักประกันการปฎิบัติงาน: หลักประกันสัญญา (Performance Security)

ผู้รับจ้ำงต้องส่งหลักประกันสัญญำ เพื่อเป็นหลักประกันกำรปฏิบัติงำน ตำมจ ำนวนมูลค่ำ

หลักประกันที่ก ำหนดไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ หำกจ ำนวนหลักประกันนี้

ไม่ได้ก ำหนดในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำก็ไม่ต้องบังคับใช้

ผู้รับจ้ำงต้องส่งมอบหลักประกันสัญญำภำยใน 28 วันภำยหลังวันที่ผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือตอบตกลง

และส่งส ำเนำให้ผู้ว่ำจ้ำง 1 ชุด หลักประกันสัญญำต้องออกให้จำกนิติบุคคลของประเทศที่โครงกำร

ตั้งอยู่ ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้พิจำรณำเห็นชอบให้ใช้แบบฟอร์มหลักประกันตำมที่ก ำหนดไว้ใน

ภำคผนวก หรือใช้แบบฟอร์มเป็นอื่นก็ได้ แต่ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องแน่ใจว่ำหลักประกันสัญญำ จะต้องมีอำยุผลบังคบใช้จนกว่ำผู้รับจ้ำงท ำงำนแล้วเสร็จ

และรวมถึงระยะเวลำในกำรซ่อมบ ำรุงสิ่งช ำรุดบกพร่อง เมื่อหลักประกันหมดอำยุก่อนและผู้รับจ้ำง

ยังไม่ได้ให้ใบรับรองกำรแล้วเสร็จของงำน ผู้รับจ้ำงต้องต่ออำยุหลักประกันตำมวันที่งำนจะแล้วเสร็จ

และต้องครอบคลุมกำรประกันซ่อมบ ำรุงสิ่งบกพร่องช ำรุดอีกด้วย

ผู้รับจ้ำงจะไม่เรียกร้องค่ำชดเชยให้หลักประกันสัญญำ เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้

(ก) ผู้รับจ้ำงละเลยไม่ต่ออำยุหลักประกันดังกล่ำวข้ำงต้น ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะเรียกร้องค่ำชดเชยเต็ม

จ ำนวนเงินของหลักประกัน

(ข) ผู้รับจ้ำงละเลยไม่ช ำระหนี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมที่ผู้รับจ้ำงได้ตกลงไว้หรือตำมผลจำกข้อย่อย 2.5

(Employer’s Claims) หรือข้อ 20 (Claims, Disputes, Arbitration) ภำยใน 42 วันหลังจำกมี

ข้อตกลงหรือจำกผลดังกล่ำวข้ำงต้น

(ค) ผู้รับจ้ำงละเลยไม่ท ำกำรแก้ไขสิ่งบกพร่องภำยหลัง 42 วันที่ผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือแจ้งให้ทรำบ

จำกผู้ว่ำจ้ำงให้ท ำกำรแก้ไขสิ่งบกพร่อง

(ง) ในสถำนกำรณ์ที่ผู้ว่ำจ้ำงที่จะยกเลิกสัญญำภำยใต้ข้อย่อย 15.2 (Termination by Employer)

โดยไม่ค ำนึงถึงว่ำผู้ว่ำจ้ำงต้องออกหนังสือแจ้งให้ทรำบ

ผู้ว่ำจ้ำงจะคุ้มครองและปกป้องผู้รับจ้ำงจำกควำมเสียหำย กำรสูญเสียและค่ำใช้จ่ำย (รวมถึง

ค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำยทำงกฎหมำย) อันเป็นผลจำกกำรเรียกค่ำเสียหำยจำกหลักประกันสัญญำ

ในกรณีที่ผู้ว่ำจ้ำง ไม่เรียกร้องค่ำชดเชย ค่ำเสียหำย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-153 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ผู้ว่ำจ้ำงจะคืนหลักประกันสัญญำแก่ผู้รับจ้ำงภำยใน 21 วัน ภำยหลังจำกผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือกำร

รับรองผลงำน

4.3 ผู้แทนผู้รับจ้าง (Contractor’s Representative)

ผู้รับจ้ำงจะต้องแต่งตั้งตัวแทนผู้รับจ้ำง และมอบอ ำนำจเท่ำที่จ ำเป็นให้ผู้แทนกระท ำแทนผู้รับจ้ำง

ตำมสัญญำนี้

ยกเว้นผู้แทนผู้รับจ้ำงได้ระบุชื่อในสัญญำ ก่อนวันที่ผู้รับจ้ำงเริ่มปฏิบัติงำนตำมสัญญำ ผู้รับจ้ำง

จะต้องเสนอชื่อผู้แทนผู้รับจ้ำงต่อผู้ว่ำจ้ำงเพื่อขออนุญำตแต่งตั้งตัวแทนผู้รับจ้ำง หำกกำรอนุญำตถูก

ระงับหรือถูกยกเลิกหรือผู้แทนผู้รับจ้ำงไม่ปฏิบัติหน้ำที่ในฐำนะของผู้แทนผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงจะต้อง

แต่งตั้งชื่อผู้แทนผู้รับจ้ำงคนใหม่ที่มีควำมเหมำะสม

ผู้รับจ้ำงจะไม่แต่งตั้งผู้แทนของผู้รับจ้ำงโดยไม่ได้รับควำมยินยอมจำกผู้ว่ำจ้ำงก่อนได้รับควำม

เห็นชอบ

ผู้แทนของผู้รับจ้ำงในนำมของผู้รับจ้ำงจะเป็นไปตำมข้อย่อย 3.4 (Instruction)

ผู้แทนของผู้รับจ้ำงอำจมอบอ ำนำจ ให้แก่บุคคลที่มีอ ำนำจและอำจยกเลิกกำรมอบอ ำนำจเมื่อใดก็ได้

กำรมอบอ ำนำจหรือกำรเพิกถอนจะไม่มีผลจนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับหนังสือแจ้งล่วงหน้ำจำกผู้แทน

ของผู้รับมอบอ ำนำจ โดยตั้งชื่อบุคคลนั้นและก ำหนดอ ำนำจหน้ำที่และอ ำนำจที่ได้รับมอบอ ำนำจ

หรือเพิกถอน

ตัวแทนของผู้รับจ้ำงและบุคคลเหล่ำนี้จะต้องมีควำมช ำนำญในภำษำเพื่อกำรสื่อสำรที่ก ำหนดไว้ใน

ข้อย่อย 1.4 (Law and Language)

4.4 ผู้รับจ้างช่วง (Subcontractors)

ผู้รับจ้ำงต้องไม่จ้ำงช่วงงำนทั้งหมด

ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อกำรท ำงำนและควำมบกพร่องของผู้รับจ้ำงช่วง, หรือลูกจ้ำงหรือตัวแทน

เสมือนหนึ่งเป็นกำรท ำงำนหรือควำมบกพร่อง ของผู้รับจ้ำงเอง เว้นแต่ระบุเป็นอย่ำงอื่นในเงื่อนไข

เฉพำะ ผู้รับจ้ำงะต้องแจ้งแก่ผู้ว่ำจ้ำงไม่น้อยกว่ำ 28 วันในเรื่องต่อไปนี้

(ก) กำรแต่งตั้งผู้รับจ้ำงช่วงโดยมีรำยละเอียดซึ่งรวมถึงประสบกำรณ์ที่เกี่ยวข้อง

(ข) กำรเริ่มงำนของผู้รับจ้ำงช่วงและ

(ค) กำรเริ่มงำนของผู้รับจ้ำงช่วงในสถำนที่ก่อสร้ำง

4.5 ผู้รับจ้างช่วงที่ได้รับการแต่งตั้ง (Nominated Subcontractors)

ในข้อย่อยนี้ "ผู้รับจ้ำงช่วงที่ได้รับกำรแต่งตั้ง" หมำยถึงผู้รับจ้ำงช่วงที่ผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 13

(Variations and Adjustments) มอบหมำยให้ผู้รับจ้ำงเป็นผู้รับจ้ำงช่วง ผู้รับจ้ำงต้องไม่มีภำระ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-154 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ผูกพันใด ๆ ในกำรจ้ำงผู้รับจ้ำงช่วงที่ได้รับกำรเสนอชื่อ ซึ่งหำกผู้รับจ้ำงมีกำรคัดค้ำนด้วยเหตุและผล

จะต้องแจ้งแก่ผู้ว่ำจ้ำงให้ทรำบโดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ พร้อมรำยละเอียดสนับสนุน

4.6 การร่วมมือ (Co-operation)

ตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำหรือตำมค ำสั่งของผู้ว่ำจ้ำง อนุญำตให้ผู้รับจ้ำงตำมโอกำสอันสมควรในกำร

ปฏิบัติงำน ดังนี้

(ก) บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง

(ข) ผู้รับจ้ำงรำยอื่นของผู้ว่ำจ้ำง

(ค) บุคลำกรอื่นของหน่วยงำนของรัฐ

ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงได้จ้ำงให้ท ำงำนอื่นอยู่ใกล้กับพื้นที่โครงกำรและไม่ได้รวมอยู่ในโครงกำร

ค ำสั่งใด ๆ อันจะเป็นเหตุเป็นกำรเปลี่ยนแปลงงำนและก่อให้เกิดค่ำใช้จ่ำยที่คำดไม่ถึง กำรช่วยเหลือ

ต่อบุคลำกรเหล่ำนี้และหรือผู้รับจ้ำงรำยอื่น ซึ่งอำจต้องกำรใช้เครื่องมือของผู้รับจ้ำง งำนชั่วครำว

หรือมีกำรต้องจัดท ำกำรเข้ำถึงพื้นที่ ซึ่งอยู่ในควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อกิจกรรมกำรก่อสร้ำงของตนในสถำนที่ก่อสร้ำงและประสำนงำนกิจกรรม

ของตนเองกับผู้รับจ้ำงรำยอื่นตำมขอบเขตที่ก ำหนด (ถ้ำมี) ตำมวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้

ว่ำจ้ำง (Employer Requirements)

หำกภำยใต้สัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงต้องให้ผู้ว่ำจ้ำงก่อสร้ำงฐำนรำก โครงสร้ำง โรงงำน/โรงผลิต หรือ

ทำงเข้ำออกตำมเอกสำรของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงจะต้องยื่นเสนอเอกสำรนั้นต่อผู้ว่ำจ้ำงตำมระยะเวลำ

ก ำหนดไว้วัตถุประสงค์ ข้อก ำหนดของผู้ว่ำจ้ำง

4.7 การเริ่มงาน (Setting Out)

ในกำรออกเริ่มงำนก่อสร้ำงผู้รับจ้ำงต้องออกเริ่มงำนก่อสร้ำง จำกหมุดหลักฐำนเริ่มงำน (Original

Point) แนวและระดับหรือสิ่งอ้ำงอิงตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงต้องรับผิดชอบควำมถูกต้อง

ของต ำแหน่งที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้ำง และผู้รับจ้ำงอำจต้องปรับแก้ควำมคลำดเคลื่อนต ำแหน่งที่ตั้ง

ระดับ ขนำดกว้ำงยำวสูง หรือแนวทิศทำงของสิ่งปลูกสร้ำง

4.8 ข้อปฏิบัติความปลอดภัย (Safety Procedures)

ผู้รับจ้ำงต้อง

(ก) ต้องปฏิบัติตำมข้อระเบียบควำมปลอดภัยทั้งปวง

(ข) ต้องป้องกันควำมปลอดภัยให้บุคลำกรทุกคนที่ท ำงำนอยู่ในพื้นที่โครงกำร

(ค) รักษำพื้นที่โครงกำรและงำนโครงกำรโดยปรำศจำกสิ่งกีดขวำงเป็นอัตรำยต่อผู้ท ำงำน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-155 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ง) จัดท ำรั้ว แสงสว่ำง เวรยำมงำนโครงกำรจนกว่ำแล้วเสร็จตำมข้อ 10 (Employer’s Taking

Over) และ

(จ) จัดท ำสิ่งก่อสร้ำงสิ่งชั่วครำว (รวมทั้ง ถนน ทำงเท้ำ รั้ว และยำม) ที่จ ำเป็นในกำรก่อสร้ำงเพื่อกำร

ใช้งำน และป้องกันสิ่งสำธำรณะและผู้อยู่ใกล้เคียงโครงกำร

4.9 การประกันคุณภาพ (Quality Assurance)

ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีระบบกำรประกันคุณภำพที่น่ำเชื่อถือตำมวัตถุประสงค์ในสัญญำ ระบบจะต้องมี

รำยละเอียดตำมที่ระบุไว้ในสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงต้องเป็นผู้มีหน้ำที่ตรวจสอบระบบกำรประกันคุณภำพนั้น

รำยละเอียดคู่มือระเบียบนั้น ต้องเสนอให้ผู้ว่ำจ้ำงก่อนกำรออกแบบและก่อสร้ำง คู่มือระเบียบใดที่

เป็นข้อเทคนิคจะต้องเสนอให้ผู้ว่ำจ้ำง โดยมีหลักฐำนกำรเห็นชอบของผู้รับจ้ำงเสียก่อนจัดท ำเป็น

คู่มือ

กำรปฏิบัติตำมระบบกำรประกันคุณภำพนั้นไม่ท ำให้ผู้รับจ้ำงพันจำกหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ และ

พันธะผูกพันตำมสัญญำ

4.10 ข้อมูลของพื้นที่โครงการ (Site Data)

ผู้ว่ำจ้ำงจัดให้มีข้อมูลต่ำง ๆ แก่ผู้รับจ้ำงให้ทรำบข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในกำรครอบครองของผู้

ว่ำจ้ำงในสภำพใต้ดิน และทำงอุทกวิทยำในสถำนที่ก่อสร้ำงก่อนวันท ำงำน รวมถึงประเด็นด้ำน

สิ่งแวดล้อม ผู้ว่ำจ้ำงจะจัดหำข้อมูลทั้งหมดที่ผู้ครอบครองได้มำให้แก่ผู้รับจ้ำงเช่นเดียวกับวันที่เริ่ม

ก่อสร้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบในกำรตรวจสอบและตีควำมข้อมูลดังกล่ำวทั้งหมด ผู้ว่ำจ้ำงไม่มีส่วน

รับผิดชอบต่อควำมถูกต้อง ควำมเพียงพอ หรือควำมสมบูรณ์ของข้อมูลดังกล่ำวเว้นแต่ที่ระบุไว้ในข้อ

ย่อย 5.1 (General Design Responsibilities)

4.11 ความเพียงพอและยอมรับได้ของค่าจ้างตามสัญญา (Sufficiency of Accepted Contract

Amount)

ผู้รับจ้ำงจะถือว่ำพอใจกับควำมถูกต้องและควำมเพียงพอของรำคำตำมสัญญำ

เว้นแต่จะระบุไว้ในสัญญำ ค่ำจ้ำงที่ยอมรับได้รวมพันธะของสัญญำที่ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมสัญญำ

(ซึ่งได้รวมเงินส ำรองเผื่อจ่ำยไว้แล้ว) และสิ่งต่ำง ๆ ที่จ ำเป็นในกำรก่อสร้ำงโครงกำรให้แล้วเสร็จ

รวมถึงกำรซ่อมบ ำรุงรักษำส่วนบกพร่องที่เกิดขึ้น

4.12 สภาพความยากล าบากที่คาดไม่ถึง (Unforeseenable Difficulties)

เว้นแต่ระบุเป็นอย่ำงอื่นในสัญญำ:

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-156 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ก) ผู้รับจ้ำงจะถือว่ำได้รับข้อมูลที่จ ำเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับควำมเสี่ยงควำมไม่แน่นอนและสถำนกำรณ์

อื่น ๆ ที่อำจมีผลต่อหรือส่งผลกระทบต่องำน

(ข) โดยกำรลงนำมในสัญญำผู้รับจ้ำงยอมรับควำมรับผิดชอบโดยรวมส ำหรับกำรคำดกำรณ์ถึงควำม

ยำกล ำบำกและค่ำใช้จ่ำยในกำรสร้ำงผลงำนเสร็จสมบูรณ์ และ

(ค) รำคำของสัญญำจะไม่ได้รับกำรปรับเพื่อพิจำรณำถึงควำมยำกล ำบำกหรือค่ำใช้จ่ำยที่คำดไม่ถึง

4.13 เขตทางและสิ่งอ านวยความสะดวก (Right of way and Facilities)

ผู้รับจ้ำงต้องรับภำระค่ำใช้จ่ำยทุกอย่ำงส ำหรับกำรใช้เขตทำง ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องใช้ และค่ำใช้จ่ำยอื่น ใน

กำรเข้ำถึงพื้นที่โครงกำร ผู้รับจ้ำงต้องรับภำระต่อควำมเสี่ยงและสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกอื่นที่อยู่

ภำยนอกพื้นที่โครงกำรซึ่งผู้รับจ้ำงมีควำมจ ำเป็นต้องใช้ในกำรท ำงำนก่อสร้ำง

4.14 การหลีกเลี่ยงอุปสรรคกีดขวาง (Avoidance of Interference)

ผู้รับจ้ำงต้องไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคอันไม่จ ำเป็น หรือควำมไม่เหมำะสมดังนี้

(ก) กีดขวำงต่อสำธำรณะ หรือ

(ข) กีดขวำงทำงเข้ำออกของถนนหรือทำงเท้ำสำธำรณะ

ผู้รับจ้ำงต้องคุ้มครองประกันภัยให้ผู้ว่ำจ้ำงพ้นควำมรับผิดชอบจำกควำมเสียหำย กำรสูญเสียและ

ค่ำใช้จ่ำย (รวมถึงค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) อันเป็นผลเนื่องจำกอุปสรรคกีดขวำงอันไม่สมควร

ดังกล่ำว

4.15 เส้นทางเข้าออก (Access Route)

เป็นที่เข้ำใจว่ำผู้รับจ้ำงมีควำมพอใจในควำมเหมำะสมของเส้นทำงเข้ำออกของพื้นที่โครงกำร ผู้รับ

จ้ำงต้องใช้งำนโดยมีกำรป้องกันถนนหรือสะพำนไม่ให้เกิดควำมเสียหำยอันเกิดจำกขนส่งพัสดุของผู้

รับจ้ำงหรือกระท ำอื่นจำกบุคลำกรของผู้รับจ้ำง มีมำตรกำรป้องกันควำมเสียหำยในกำรใช้รถใช้ถนน

เว้นแต่ได้ระบุไว้ในสัญญำ ดังนี้

(ก) ผู้รับจ้ำง (ในฐำนะคู่สัญญำ) ต้องรับผิดชอบกำรบ ำรุงรักษำใด ๆ ที่จ ำเป็นอันเนื่องจำกใช้งำนเส้น

ทำงเข้ำออก

(ข) ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำจัดท ำป้ำยบอกเส้นทำงกำรเดินรถ และต้องได้รับกำรอนุญำตกำรใช้ทำงจำก

หน่วยงำนที่รับผิดชอบ

(ค) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ต้องรับผิดชอบต่อกำรเรียกร้องค่ำชดเชยอันเกิดจำกกำรใช้เส้นทำงเข้ำออก

(ง) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ต้องรับประกันควำมเหมำะสมและกำรจัดให้มีเส้นทำงเข้ำออก

(จ) ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดให้มีเส้นทำงเข้ำออกนั้น ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด

4.16 การขนส่งพัสดุ (สินค้า) (Transport of Goods)

เว้นแต่จะระบุในเงื่อนไขเฉพำะ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-157 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ก) ผู้รับจ้ำง ต้องแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบไม่น้อย 21 วัน จำกวันที่จะท ำกำรขนย้ำยเครื่องจักรกล

เครื่องมือขนำดใหญ่หรือพัสดุเข้ำสู่พื้นที่โครงกำร

(ข) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบในกำรบรรจุ ยกขึ้นวำง ขนส่ง กำรรับของ ยกลงวำง กำรจัดเก็บและกำร

ป้องกันพัสดุและสิ่งที่มีควำมจ ำเป็นใช้ในกำรก่อสร้ำง

(ค) ผู้รับจ้ำงต้องประกันคุ้มกันผู้ว่ำจ้ำงพ้นควำมรับผิดชอบจำกกำรเสียหำยกำรสูญเสียและค่ำใช้จ่ำย

(รวมทั้งค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) อันเป็นผลจำกกำรขนส่งและต้องเจรจำต่อรองและจ่ำย

ค่ำชดเชยทั้งหมดอันเกิดจำกกำรขนส่งของผู้ว่ำจ้ำง

4.17 เครื่องมือของผู้รับจ้าง (Contractor’s Equipment)

ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบอุปกรณ์เครื่องมือ เมื่อน ำเข้ำมำอยู่ภำยในพื้นที่โครงกำรให้เข้ำใจว่ำเครื่องมือ

อุปกรณ์ที่น ำเข้ำมำนั้น ผู้รับจ้ำงมีวัตถุประสงค์น ำมำใช้งำนก่อสร้ำง

4.18 การปกป้องสิ่งแวดล้อม (Protection of the Environment)

ผู้รับจ้ำงต้องมีมำตรกำรที่เหมำะสมในกำรปกป้องสิ่งแวดล้อม (ทั้งภำยนอก ภำนในพื้นที่โครงกำร)

และลดควำมเสียหำยและลดกำรก่อควำมร ำคำญเดือดร้อนต่อสำธำรณชนและทรัพย์สินอันเกิด

มลภำวะเสียงและผลจำกกำรด ำเนินงำนอื่น ๆ

ผู้รับจ้ำงต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ำกำรปล่อยมลสำรปล่อยพื้นผิวและสิ่งปฏิกูลจำกกิจกรรมของผู้

รับจ้ำงต้องไม่เกินค่ำที่ระบุไว้ในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง และต้องไม่เกินค่ำที่

ก ำหนดโดยกฎหมำยที่ใช้บังคับ

4.19 ไฟฟ้า ประปา และแก๊ส (Electricity, Water and Gas)

เว้นแต่ระบุไว้ต่อไปนี้ ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบจัดให้มีไฟฟ้ำน ้ำประปำและบริกำรอื่นที่จ ำเป็นต้องมี

สำธำรณูปโภคเหล่ำนี้

ผู้รับจ้ำง ต้องมีหน้ำที่ใช้หรือเพื่อประโยชน์ในกำรก่อสร้ำงงำนตำมรำยละเอียดของรำคำที่ก ำหนดใน

ข้อก ำหนด ผู้รับจ้ำงต้องรับควำมเสี่ยงในค่ำใช้จ่ำย และต้องจัดหำภำชนะและอุปกรณ์ เพื่อกำร

ตรวจวัดกำรใช้สำธำรณูปโภคเหล่ำนี้

ปริมำณที่ใช้และค่ำใช้จ่ำยในกำรใช้ต้องได้รับพิจำรณำเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 2.5

(Employer’s Clams) และข้อย่อย 3.5 (Determinations) ผู้รับจ้ำงต้องช ำระค่ำใช้จ่ำยนี้ให้แก่ผู้ว่ำ

จ้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-158 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

4.20 เครื่องมือของผู้ว่าจ้างและการใช้วัสดุ (Employer’s Equipment and Free-Issue Material)

ผู้ว่ำจ้ำงจะจัดให้มีเครื่องมือ (หำกมี) ให้ผู้รับจ้ำงใช้ก่อสร้ำง ตำมรำยละเอียดระบุไว้ในกำรจัดหำและ

รำคำในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอื่นในเอกสำร

วัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ดังนี้

(ก) ผู้ว่ำจ้ำงจะรับผิดชอบแต่เครื่องมือของผู้ว่ำจ้ำงเอง เว้นแต่ว่ำ

(ข) ผู้รับจ้ำงจะรับผิดชอบเครื่องมือแต่ละรำยกำรของผู้ว่ำจ้ำงในทุกขณะที่บุคลำกรของ ผู้รับจ้ำง

ใช้งำน ขับขี่ บังคับ ด ำเนินกำร หรือควบคุม

ปริมำณและหรือจ ำนวน (ตำมรำคำที่ก ำหนดไว้) ในกำรใช้เครื่องมือของผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ตกลงไว้โดยผู้

ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้พิจำรณำตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) และข้อย่อย 3.5 (Determination)

แล้วผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยค่ำใช้จ่ำยนี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะจัดหำวัสดุให้เปล่ำ ตำมที่ก ำหนดไว้ใน

ข้อก ำหนดให้แก่ผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะรับผิดชอบเรื่องควำมเสี่ยงและค่ำวัสดุให้แก่ผู้รับจ้ำงตำมที่

ก ำหนดไว้ในสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องตรวจสอบด้วยตำเปล่ำ และต้องแจ้งทันทีต่อผู้ว่ำจ้ำง เมื่อวัสดุที่

จัดหำให้ไม่ครบจ ำนวนหรือช ำรุดหรือเสียหำย เว้นแต่ทั้ง 2 ฝ่ำยจะตกลงกัน ผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำร

ชดเชยวัสดุที่ช ำรุดหรือเสียหำย

หลังจำกกำรตรวจวัดด้วยตำเปล่ำ ผู้รับจ้ำงต้องเก็บรักษำ ครอบครองและควบคุมวัสดุนั้น ผู้รับจ้ำง

ต้องมีพันธะในกำรตรวจสอบ เก็บรักษำครอบครองแล้ว จะไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้ำงพ้นควำมรับผิดชอบ

ใด ๆ จำกกำรตรวจวัดด้วยตำเปล่ำ

4.21 รายงานความก้าวหน้า (Progress Reports)

เว้นแต่จะระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ ผู้รับจ้ำงต้องรำยงำนจัดท ำควำมก้ำวหน้ำรำยเดือนเสนอให้ผู้ว่ำจ้ำง

จ ำนวน 6 ชุด รำยงำนของเดือนแรกจะครอบคลุมช่วงเวลำ 30 วันปฏิทินโดยนับเริ่มวันที่เริ่มงำร

ก่อสร้ำงโครงกำร และต่อไป ผู้รับจ้ำงต่อน ำเสนอรำยงำนทุก ๆ เดือน ภำยใน 7 วัน ภำยหลัง 30 วัน

กำรรำยงำนต้องต่อเนื่องกันจนกระทั่งงำนแล้วเสร็จสมบูรณ์ของโครงกำรและต้องลงวันที่ส่งมอบของ

งำนแล้วเสร็จด้วย (Taking Over Certificate for the Work)

รำยงำนควำมก้ำวหน้ำต้องประกอบด้วย

(ก) ภำพแสดงควำมก้ำวหน้ำพร้อมละเอียดอธิบำยกำรด ำเนินงำนของแต่ละขั้นตอน ผู้รับจ้ำงต้อง

แนบหลักฐำน กำรจัดซื้อจัดหำวัสดุ กำรผลิตชิ้นส่วน ที่ขนส่งเข้ำพื้นที่โครงกำร กำรก่อสร้ำง กำร

ติดตั้งและกำรทดสอบ ให้รวมกำรท ำงำนของผู้รับจ้ำงช่วงของงำนดังกล่ำวด้วยตำมข้อ 5

(Nominated Subcontractors)

(ข) ภำพถ่ำยแสดงสถำนะกำรผลิตชิ้นส่วนและควำมก้ำวหน้ำของงำนก่อสร้ำง

(ค) ส ำหรับกำรผลิตชิ้นส่วนรำยกำรส ำคัญต้องระบุนำมผู้ผลิตสถำนที่ผลิต % ของงำนที่ผลิต แผน

เวลำของกำรผลิต คือ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-159 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(i) วันที่เริ่มผลิต

(ii) กำรตรวจสอบของผู้รับจ้ำง กำรทดสอบ

(iii) กำรทดสอบ

(iv) วันที่ขนส่งและวันที่ส่งถึงพื้นที่โครงกำร

(ง) รำยกำรละเอียดข้อย่อย 6.10 (Records of Contractor’s Personnel and Equipment)

(จ) ส ำเนำหนังสือกำรรับรองประกันคุณภำพ ผลกำรทดสอบ และหนังสือรับรองของวัสดุ

(ฉ) หนังสือโต้ตอบตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) และข้อย่อย 20.1 (Contractor’s

Claim)

(ช) สถิติกำรเกิดเหตุควำมไม่ปลอดภัย ให้รวมถึงอุบัติเหตุอันตรำยและกิจกำรเกี่ยวกับกำรป้องกัน

สิ่งแวดล้อมและกำรประชำสัมพันธ์ต่อสำธำรณชน

(ญ) เปรียบเทียบควำมก้ำวหน้ำของงำนจริงกับแผนงำนที่ก ำหนดไว้ พร้อมด้วยเหตุกำรรำยละเอียด

อุปสรรคที่เป็นเหตุท ำให้กำรท ำงำนล่ำช้ำและมำตรกำรในกำรเร่งรัดท ำงำนให้ทันกับแผนงำนที่

ก ำหนดไว้

4.22 การรักษาความปลอดภัยพื้นที่โครงการ (Security of the Site)

เว้นแต่ระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ

(ก) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบไม่อนุญำตบุคคลภำยนอกพักอยู่ในพื้นที่โครงกำร และ

(ข) ให้จ ำกัดจ ำนวนบุคลำกรของผู้รับจ้ำงและบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงและบุคคลอื่นของผู้รับจ้ำง ผู้รับ

จ้ำงต้องแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ว่ำจ้ำงให้ทรำบถึงจ ำนวนดังกล่ำว

4.23 การปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Operatios on Site)

ผู้ว่ำจ้ำงต้องท ำงำนอยู่ในเขตพื้นที่โครงกำรและพื้นที่เพิ่มเติมที่ผู้รับจ้ำงจัดหำเองซึ่งได้รับควำม

เห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำงแล้วเพื่อท ำงำนก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงต้องมีมำตรกำรที่จ ำเป็นในกำรระมัดระวังกำร

ป้องกันเครื่องมือและบุคลำกรของผู้รับจ้ำง พื้นที่ซึ่งผู้รับจ้ำงเช่ำไว้ท ำงำนนั้นต้องไม่ติดกับพื้นที่

โครงกำร

ในระหว่ำงงำนก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงต้องรักษำพื้นที่โครงกำรให้ปรำศจำกสิ่งกีดขวำงที่ไม่จ ำเป็น ผู้รับจ้ำง

ต้องรักษำเครื่องมือและวัสดุส่วนเกิน ผู้รับจ้ำงต้องก ำจัดขนไปทิ้ง เศษวัตถุก่อสร้ำง หรือ เศษวัตถุจำก

งำน ก่อสร้ำงชั่วครำวซึ่งไม่จ ำเป็นใช้งำนอีกแล้วออกจำกพื้นที่โครงกำร

ในกำรออกหนังสือรับรองผลงำนผู้รับจ้ำงต้องขนย้ำยท ำควำมสะอำดพื้นที่ เช่น เครื่องมือ เศษวัสดุ

เศษโครงสร้ำงงำนชั่วครำว ต้องขนย้ำยออกทิ้งเพื่อให้พื้นที่สะอำดและมีควำมปลอดภัย แต่อย่ำงไรก็

ดี ผู้รับจ้ำงอำจจะเก็บพัสดุบำงอย่ำงไว้เพื่อกำรซ่อมบ ำรุงสิ่งปลูกสร้ำงในช่วงเวลำกำรประกันกำร

ช ำรุดบกพร่องของงำนก่อสร้ำงนั้นตำมพันธะสัญญำของผู้รับจ้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-160 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

4.24 วัตถุโบราณใต้ดิน (Fossils)

วัตถุโบรำณที่เป็นเหรียญ สิ่งของโบรำณมีค่ำ สิ่งปลูกสร้ำงโบรำณในเชิงธรณีวิทยำ หรือในเชิง

โบรำณวัตถุทำงประวัติศำสตร์ ที่ขุดพบเจอในพื้นที่โครงงำน จะต้องแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่ผู้เกี่ยวข้องและผู้

ว่ำจ้ำงรับทรำบ โดยผู้รับจ้ำงต้องไม่เคลื่อนย้ำยวัตถุนั้นและต้องใช้ควำมระมัดระวังมิให้บุคลำกรผู้

รับจ้ำงหรือผู้อื่นโยกย้ำยหรือท ำให้เกิดควำมเสียหำยต่อวัตถุโบรำณเหล่ำนั้น

ทันทีที่ผู้รับจ้ำงขุดพบวัตถุโบรำณ ต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงก็จะมีค ำสั่งในกำรจัดกำรกับ

วัตถุโบรำณเหล่ำนั้น หำกผู้รับจ้ำงต้องได้รับงำนเพิ่มดังกล่ำว ท ำให้งำนก่อสร้ำงต้องล่ำช้ำและมี

ค่ำใช้จ่ำยเพิ่มจำกค ำสั่งผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องมีหนังสือแจ้งต่อผู้ว่ำจ้ำงในเรื่องดังกล่ำวตำมข้อย่อย

20.1 (Contractor’s Claims) ดังนี้

(ก) ขยำยเวลำทดแทนเวลำที่ต้องล่ำช้ำตำมข้อย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion)

และ

(ข) ค่ำใช้จ่ำยของงำนเพิ่มดังกล่ำวเพิ่มในรำคำจ้ำงตำมสัญญำ เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้งของผู้

รับจ้ำงข้ำงต้น ผู้ว่ำจ้ำงต้องด ำเนินกำรข้อย่อย 3.5 (Determinations) พิจำรณำต่อไป

5. การออกแบบ (Design)

5.1 พันธะทั่วไปในการออกแบบ (General Design Obligations)

ผู้รับจ้ำงจะต้องพิจำรณำก่อนวันฐำน (Base Date) ถึงวัตถุประสงต์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง

(รวมถึงเกณฑ์กำรออกแบบ และกำรค ำนวณ หำกมี) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบในกำรออกแบบ

สิ่งก่อสร้ำง และควำมถูกต้องของวัตถุประสงต์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง (รวมถึงเกณฑ์กำร

ออกแบบและกำรค ำนวณ) ยกเว้นตำมที่ระบุไว้ด้ำนล่ำง

ผู้ว่ำจ้ำงจะไม่รับผิดชอบต่อข้อผิดพลำดควำมไม่ถูกต้องหรือกำรละเว้นใด ๆ ตำมวัตถุประสงต์ ควำม

ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและจะไม่ถือว่ำเป็นกำรให้ควำมถูกต้องหรือควำม

ครบถ้วนของข้อมูลหรือข้อมูลใด ๆ ยกเว้นที่ระบุไว้ด้ำนล่ำง ข้อมูลใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงได้รับจำกผู้ว่ำจ้ำง

หรืออื่น ๆ จะไม่ช่วยลดภำระหน้ำที่ของผู้รับจ้ำงจำกควำมรับผิดชอบในกำรออกแบบและกำร

ด ำเนินงำนในงำน

อย่ำงไรก็ตำมผู้ว่ำจ้ำงจะต้องรับผิดชอบต่อควำมถูกต้องของส่วนต่ำงๆตำมวัตถุประสงต์ ควำม

ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง และข้อมูลต่อไปนี้ และข้อมูลที่ผู้ว่ำจ้ำง (หรือในนำมของผู้ว่ำจ้ำง) จัดหำให้

(ก) ส่วนข้อมูลและข้อมูลที่ระบุไว้ในสัญญำว่ำไม่สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้หรือควำมรับผิดชอบของผู้

ว่ำจ้ำง

(ข) ค ำจ ำกัดควำมของวัตถุประสงค์ของงำนหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของงำน

(ค) เกณฑ์ส ำหรับกำรทดสอบและกำรปฏิบัติงำนที่เสร็จสมบูรณ์ และ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-161 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ง) บำงส่วนข้อมูลและข้อมูลที่ไม่สำมำรถตรวจสอบได้โดยผู้รับจ้ำง เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นใน

สัญญำ

5.2 สารบบเอกสารของผู้รับจ้าง (Contractor’s Document)

สำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำงประกอบด้วยเอกสำรทำงเทคนิคตำมที่ระบุอยุ่ในเอกสำรวัตถุประสงค์

ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง เอกสำรต้องถูกต้องได้รับกำรอนุมัติตำมกฏระเบียบและเอกสำรตำมข้อ

ย่อย 5.6 (As Built Document) และข้อย่อย 5.7 (Operation and Maintenance) เว้นแต่จะระบุ

เป็นอื่นในเอกสำรวัตถุประสงค์ของผู้ว่ำจ้ำง สำรระบบเอกสำรของผู้รับจ้ำงต้องทเขียนด้วยภำษำเพื่อ

กำรสื่อสำรตำมข้อย่อย 1.4 (Law and Language)

ผู้รับจ้ำงต้องจัดท ำสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง และผู้รับจ้ำงยังต้องท ำเอกสำรอื่นเท่ำที่จ ำเป็นให้

พนักงำนของผู้รับจ้ำง พนักงำนของผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์ที่จะตรวจเอกสำรที่จัดท ำขึ้นนั้นด้วยทุกครั้งที่มีกำร

จัดท ำขึ้น

หำกเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำงระบุให้ท ำสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง ต้องท ำ

เสนอมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงเพื่อกำรศึกษำทบทวนและพิจำรณำเห็นชอบอนุมัติ ผู้รับจ้ำงจะต้องเสนอ

ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมนั้น พร้อมด้วยหนังสือดังกล่ำวตำมข้ำงล่ำงนี้ พร้อมด้วยบันทึกตำมหัวข้อ (i) “ช่วง

ระยะเวลำตรวจทำน (Review Period) ซึ่งหมำยถึงช่วงระยะเวลำให้ผู้ว่ำจ้ำงท ำกำรตรวจทำน (หำก

มีกำรก ำหนดไว้) และพิจำรณำอนุมัติและ (ii) สำระบบเอกสำรของผู้รับจ้ำงซึ่งไม่รวมเอกสำรอื่นใดที่

ระบุไว้ไม่ต้องเสนอให้ตรวจทำนและพิจำรณำขออนุมัติ

เว้นแต่ได้มีระบุไว้ในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง กำรตรวจทำนแต่ละเรื่องต้องใช้

เวลำไม่เกิน 21 วัน นับแต่วันที่ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงได้รับเอกสำรจำกผู้รับจ้ำงพร้อมทั้งหนังสือกำรส่งมอบของ

ผู้รับจ้ำง ในหนังสือส่งมอบของผู้รับจ้ำงต้องระบุว่ำได้มีกำรพิจำรณำแล้วพร้อมส่งมอบให้ผู้ว่ำจ้ำง

ตรวจทำน และพิจำรณำอนุมัติเห็นชอบตำมข้อย่อย 5.2 นี้เพื่อกำรใช้กำรงำนต่อไป หนังสือของผู้

รับจ้ำงยังระบุว่ำเอกสำรเหล่ำนี้ปฏิบัติตำมข้อสัญญำหรือเป็นเอกสำรซึ่งไม่ได้ระบุไว้ในสัญญำ

ในระยะเวลำกำรตรวจทำน ผู้ว่ำจ้ำงมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงว่ำ เอกสำรนั้นบกพร่อง (ตำมที่ระบุไว้)

ไม่ครบถูกต้องกับสัญญำ หำกเอกสำรของผู้รับจ้ำงบกพร่องผิดกับสัญญำ ผุ้รับจ้ำงต้องปรับปรุงแก้ไข

และส่งมอบให้ใหม่เพื่อกำรตรวจทำน (หำกมีกำรระบุให้พิจำรณำอนุมัติ)ตำมข้อย่อย 5.2 นี้ ด้วย

ค่ำจ้ำงของผู้รับจ้ำง

ส ำหรับส่วนงำนแต่ละส่วน และยกเว้นในกรณีที่คู่สัญญำตกลงเป็นอย่ำงอื่น:

(ก) กำรด ำเนินกำรของส่วนงำนดังกล่ำวจะต้องเริ่มต้นก่อนระยะเวลำกำรทบทวนเอกสำรเอกสำรของ

ผู้รับจ้ำงทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกำรออกแบบและกำรด ำเนินกำรดังกล่ำว

(ข) กำรด ำเนินกำรของส่วนงำนดังกล่ำวจะต้องเป็นไปตำมเอกสำรของผู้รับจ้ำงเหล่ำนี้ตำมที่ยื่นเพื่อ

พิจำรณำ และ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-162 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ค) หำกผู้รับจ้ำงประสงค์ที่จะแก้ไขกำรออกแบบหรือเอกสำรใด ๆ ที่เคยยื่นเพื่อตรวจสอบแล้วผู้รับ

จ้ำงต้องแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบทันที หลังจำกนั้นผู้รับจ้ำงจะต้องส่งเอกสำรที่แก้ไขแล้วให้กับผู้ว่ำจ้ำง

ตำมขั้นตอนข้ำงต้น

ข้อตกลงดังกล่ำว (ตำมวรรคก่อน) หรือกำรทบทวนใด ๆ (ภำยใต้ข้อย่อยหรืออื่น ๆ ) จะไม่ท ำให้ลด

ภำระหน้ำที่หรือควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำง

5.3 ภาระหน้าที่ของผู้รับจ้าง (Contractor’s Undertaking)

ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่ ออกแบบ สำรระบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง กำรด ำเนินกำรก่อสร้ำงให้งำนแล้ว

เสร็จ ซึ่งต้องเป็นไปตำมข้อก ำหนดดังนี้

(ก) ตำมกฎหมำยของประเทศนั้น และ

(ข) เอกสำรประกอบแนบในสัญญำ ตำมที่ปรับเปลี่ยนหรือขยำยควำมโดยกำรเปลี่ยนแปลง

5.4 มาตรฐานทางเทคนิคและกฏระเบียบ (Technical Standard และ Regulations)

งำนออกแบบ สำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง กำรก่อสร้ำง และกำรแล้วเสร็จของงำนก่อสร้ำง ต้อง

ปฏิบัติตำมกฏหมำยของประเทศที่โครงกำรตั้งอยู่ ซึ่งต้องถูกต้องกับมำตรฐำนทำงเทคนิค กำร

ก่อสร้ำงอำคำร และกฎหมำยสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์จำกโครงกำรที่ถูกต้องตำมกฎหมำย และ

มำตรฐำนอื่น ๆ ตำมวัตถุประสงค์ระบุไว้ในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของ ผู้ว่ำจ้ำง ซึ่ง

ถูกต้องตำมกฎหมำย

กฎหมำยเหล่ำนี้ที่เกี่ยวข้องกับงำนทั้งหมดหรือส่วนของงำน ซึ่งจะเป็นงำนต้องส่งมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง

ภำยใต้หัวข้อ 10 (Employer’s Taking Over) อ้ำงอิงตำมสัญญำ มำตรฐำนฉบับที่ใช้เป็นที่เข้ำใจว่ำ

ต้องเป็นฉบับที่ใช้กันได้ ณ วันที่ ผู้รับจ้ำงเสนอรำคำเว้นแต่จะได้ระบุเป็นอื่น

หำกมีกำรเปลี่ยนหรือมีมำตรฐำนฉบับใหม่ออกมำบังคับใช้ในประเทศนั้นภำยหลังวันที่ผุ้รับจ้ำงยื่น

ข้อเสนอเพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขดังนี้

(ก) ผู้ว่ำจ้ำงได้พิจำรรำแล้วว่ำต้องปฏิบัติตำมระเบียบ และ

(ข) ข้อเสนอเพื่อกำรเปลี่ยนแปลง

ผู้ว่ำจ้ำงจะพิจำรณำกำรเปลี่ยนแปลงตำมข้อ 13 (Variation and Adjustment)

5.5 การฝึกอบรม (Training)

ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรฝึกอบรมให้แก่พนักงำนของผู้ว่ำจ้ำงในกำรด ำเนินกำรและกำรบ ำรุงรักษำ

โครงกำรตำมที่ระบุในเอกสำรวัตถุประสงค์ของผู้ว่ำจ้ำง หำกในสัญญำได้ระบุว่ำกำรฝึกอบรมดังกล่ำว

ต้องด ำเนินกำรฝึกอบรมก่อนกำรส่งมอบงำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ฉะนั้น งำนโครงกำรจะไม่ถือว่ำงำน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-163 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

โครงกำรยังไม่แล้วเสร็จและไม่เป็นกำรส่งมอบงำนตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over the Work and

Sections) จนกว่ำกำรฝึกอบรมได้เสร็จสิ้น

5.6 แบบและเอกสารก่อสร้างจริง (As-Built Documents)

ผู้รับจ้ำงต้องจัดเตรียมและเก็บรักษำข้อมูลกำรด ำเนินกำรของงำนไว้อย่ำงครบถ้วน พร้อมทั้งแสดง

ต ำแหน่งที่ตั้งขนำดและรำยละเอียดของงำนที่ท ำอย่ำงถูกต้องตำมที่ก ำหนดไว้ บันทึกเหล่ำนี้จะถูก

เก็บไว้ ณ ศถำนที่ก่อสร้ำง และจะใช้เฉพำะเพื่อวัตถุประสงค์ตำมข้อย่อยนี้ และจะต้องจัดส่งส ำเนำ

ส อ ง ช ุ ด ใ ห ้ ก ั บ ผ ู ้ ว ่ ำ จ ้ ำ ง ก ่ อ น ท ี ่ จ ะ ม ี ก ำ ร ท ด ส อ บ เ ม ื ่ อ ง ำ น แ ล ้ ว เ ส ร็ จ

นอกจำกนี้ผู้รับจ้ำงต้องจัดเตรียมแบบก่อสร้ำงจริงให้กับผู้ว่ำจ้ำง โดยแสดงงำนทั้งหมดที่ก่อสร้ำง

และส่งให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำตำมข้อย่อย 5.2 (Contractor’s Document) ผู้รับจ้ำงต้องได้รับควำม

ยินยอมจำกผู้ว่ำจ้ำงเกี่ยวกับขนำด ระบบกำรอ้ำงอิง และรำยละเอียดที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ

ก่อนที่จะมีกำรออกใบรับรองผลงำน ผู้รับจ้ำงจะต้องจัดหำแบบก่อสร้ำงจริง โดยมีจ ำนวน ตำมที่

ก ำหนดในวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ให้กับผู้ว่ำจ้ำง งำนนี้จะไม่ถือว่ำแล้วเสร็จตำม

วัตถุประสงค์ของงำนภำยใต้ข้อย่อยที่ 10.1 (Taking Over of the Works and Sections) จนกว่ำผู้

ว่ำจ้ำงจะได้รับเอกสำรเหล่ำนี้

5.7 คู่มือการด าเนินการโครงการและการบ ารุงรักษา (Operation and Maintenance Manuals)

ก่อนเริ่มงำนกำรทดลองเพื่อกำรส่งมอบงำนแล้วเสร็จ ผู้รับจ้ำงต้องส่งมอบรำยละเอียดคู่มือกำร

ด ำเนินกำรโครงกำรและกำรบ ำรุงรักษำเพื่อที่จะส่งมอบงำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงในกำรด ำเนินโครงกำร กำร

บุรุงรักษำ กำรถอดเครื่อง กำรประกอบเครื่องคืน กำรปรับแก้ และกำรซ่อมโรงงำน

เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับรำยละเอียดคู่มือฉบับสุดท้ำยตำมรำยละเอียดข้ำงต้นเสียก่อน จึงจะถือว่ำเป็นกำร

ส่งมอบงำนตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over of Works and Sections) นอกจำกนี้ยังต้องรวม

รำยกำรอื่นตำมที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง

5.8 ข้อผิดพลาดในการออกแบบ (Design Error)

หำกมีข้อผิด ข้อตกหล่น ควำมคลุมเครือ ควำมไม่สม ่ำเสมอ ควำมไม่เพียงพอ หรือบกพร่องอื่น ซึ่ง

ตรวจพบอยู่ในสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องท ำกำรปรับปรุงแก้ไขในค่ำใช้จ่ำยของผู้

รับจ้ำง ไม่ว่ำไม่เว้นแต่กำรได้อนุญำตหรืออนุมัติภำยใต้ข้อย่อย 5.8 นี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-164 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

6. บุคลากรและคนงาน (Staff and Labour)

6.1 การจ้างบุคลากรและคนงาน (Engagement of Staff and Labour)

เว้นแต่ระบุไว้ในข้อก ำหนด (Specification) ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีและจ้ำงบุคลำกรและคนงำนใน

ท้องถิ่นหรือจำกนอกท้องถิ่น โดยจ่ำยค่ำจ้ำง ค่ำที่พัก ค่ำเบี้ยเลี้ยงและค่ำพำหนะเดินทำง

6.2 อัตราค่าจ้างและเงื่อนไขการจ้างของคนงาน (Rate of Wages and Conditions of Labour)

ผู้ว่ำจ้ำงต้องจ่ำยอัตรำค่ำจ้ำงด้วยเงื่อนไขค่ำจ้ำงไม่น้อยกว่ำอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต ่ำของงำนพำณิชย์และ

อุตสำหกรรม หำกไม่มีข้อก ำหนดอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต ่ำและเงื่อนไขกำรจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยค่ำจ้ำงและ

เงื่อนไขกำรจ้ำงไม่น้อยกว่ำอัตรำค่ำจ้ำงทั่วไปในท้องตลำด ในลักษณะงำนที่ใกล้เคียงกับงำนโครงกำร

6.3 บุคลากรของผู้ว่าจ้างที่ปฏิบัติงานในโครงการ (Persons in Service of Employer)

ผู้รับจ้ำงต้องไม่หรือพยำยำมคัดเลือกจ้ำงบุคลำกรหรือคนงำนจำกบุคลำกรหรือคนงำนของ ผู้ว่ำจ้ำง

6.4 กฎหมายแรงงาน (Labour Laws)

ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยแรงงำนต่อบุคลำกรและคนงำนของผู้รับจ้ำงในเรื่องกำรจ้ำง

สวัสดิกำร ควำมปลอดภัย สุขอนำมัย กำรเข้ำเมืองและกำรออกเมืองและกำรให้สิทธิตำมกฎหมำย

พนักงำนและคนงำน

ผู้รับจ้ำงต้องก ำชับบุคลำกรของตน ให้เคำรพกฎหมำย รวมถึงค ำนุงถึงควำมปลอดภัยในงำน

6.5 ชั่วโมงการท างาน (Working Hours)

ต้องไม่มีกำรท ำงำนในวันหยุดของท้องถิ่น หรือนอกเวลำท ำงำนปกติ ตำมที่ก ำหนดไว้ในเอกสำรแนบ

ผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) เว้นแต่

(ก) ระบุไว้ในสัญญำ

(ข) รับอนุญำตจำกผู้ว่ำจ้ำง

(ค) งำนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หรือมีควำมจ ำเป็นเพื่อป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน หรือเพื่อควำมปลอดภัย

ของงำน ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องรีบแจ้งต่อผู้ว่ำจ้ำง

6.6 สิ่งอ านวยความสะดวกให้แก่บุคลากรและคนงาน (Facilities for Staff and Labour)

เว้นแต่ได้ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีและบ ำรุงรักษำ ที่พัก

สถำนสวัสดิกำรให้แก่บุคลำกรผู้รับจ้ำงและบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ ควำม

ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องไม่ให้บุคลำกรของผู้รับจ้ำงปลูกสร้ำงที่พักอำศัยถำวรในพื้นที่โครงกำร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-165 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

6.7 สุขอนามัยและความปลอดภัย (Health and Safety)

ตลอดเวลำ ผู้รับจ้ำงต้องมีมำตรำกำรป้องกันและบ ำรุงรักษำเรื่องสุขอนำมัยและควำมปลอดภัยให้แก่

พนักงำนโดยกำรร่วมมือกับหน่วยงำนสำธำรณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีพยำบำล ชุดปฐมพยำบำล เตียงผู้ป่วย และรถยำบำลพร้อมที่จะให้บริกำร

ตลอดเวลำภำยในพื้นที่โครงกำรให้แก่พนักงำนทุกคนทุกฝ่ำยและเป็นกำรเหมำะสมที่ต้องจัดเพื่อเป็น

สวัสดิกำรและสุขอนำมัย รวมถึงกำรป้องกันโรคระบำด

ผู้รับจ้ำงต้องแต่งตั้งพนักงำนควบคุมอุบัติภัย ในพื้นที่โครงกำรเพื่อท ำหน้ำที่บ ำรุงรักษำควำม

ปลอดภัยและป้องกันอุบัติเหตุ พนักงำนนี้ต้องมีคุณสมบัติและมีอ ำนำจที่จะออกค ำสั่งและมีมำตรกำร

กำรป้องกันอุบัติเหตุ ตลอดระยะกำรก่อสร้ำงโครงกำร ผู้รับจ้ำงต้องมีสิ่งป้องกันควำมปลอดภัย

ตำมที่พนักงำนควำมปลอดภัยต้องกำรในกำรปฏิบติหน้ำที่ด้ำนควำมปลอดภัย

ผู้รับจ้ำงต้องท ำรำยงำนภำพละเอียดเริ่มกำรเกิดอุบัติเหตุทุกครั้งให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงโดยเร็วสุด ผู้รับจ้ำง

ต้องจัดเก็บรำยงำนนี้และจัดเก็บรำยงำนเกี่ยวกับ สุขอนำมัย ควำมปลอดภัย กำรให้สวัสดิกำรแก่

พนักงำน ควำมเสียหำยต่อทรัพย์สิน รำยงำนต้องมีพร้อมและทันเหตุปัจจุบันที่ผู้ว่ำจ้ำงจะขอตรวจดู

ได้ตลอดเวลำ

6.8 ผู้ก ากับควบคุมงานของผู้รับจ้าง (Contractors Superintendence)

ตลอดเวลำกำรก่อสร้ำงโครงกำรผู้รับจ้ำงท ำงำนให้ครบถ้วนตำมพันธะสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องให้มีผู้

ก ำกับควบคุมเท่ำที่จ ำเป็นเพื่อกำรวำงแผนงำนจัดเตรียม ก ำกับ บริหำรจัดกำร ตรวจสอบและ

ทดสอบงำนก่อสร้ำง

ผู้ก ำกับควบคุมต้องมีจ ำนวนอย่ำงเพียงพอ ซึ่งเป็นผู้มีควำมรู้ มีควำมสำมำรถพูดภำษำ (อังกฤษ –

ไทย) ในกำรสื่อสำรตำมข้อย่อย 1.4 (Law and Language) ในกำรจัดกำรท ำงำนเพื่อให้ได้ผลงำน

ตำมที่ต้องกำรและมีควำมปลอดภัยจำกกำรก่อสร้ำง (ผู้ก ำกับควบคุมต้องมีควำมสำมำรถในกำรคิด

หำวิธีและเทคนิคและมีควำมปลอดภัยในกำรก่อสร้ำง)

6.9 บุคลากรของผู้รับจ้าง (Contractor’s Personnel)

บุคลำกรของผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้มีควำมช ำนำญมีประสบกำรณ์ในสำขำวิชำชีพแห่งตน ผู้ว่ำจ้ำงอำจ

ขอให้ผู้รับจ้ำงย้ำย (หรือสำเหตุของกำรย้ำย) บุคลำกรที่จ้ำงท ำงำนในพื้นที่โครงกำร ทั้งนี้ให้รวม

ผู้แทนของผู้รับจ้ำง เมื่อผู้นั้น

(ก) ท ำผิดเป็นเนื่องนิตย์หรือขำดควำมระมัดระวัง

(ข) ปฏิบัติหน้ำที่อย่ำงไร้ควำมสำมำรถหรือประมำทเลินเล่อ

(ค) บกพร่องไม่ปฏิบัติตำมข้อบังคับของสัญญำ

(ง) มีพฤติกรรมเกี่ยวกับกระท ำผิดต่อ ควำมปลอดภัย สุขอนำมัย และกำรป้องกันสิ่งแวดล้อม หำก

เป็นกำรเหมำะสม ผู้รับจ้ำงต้องแต่งตั้ง (หรือเป็นเหตุต้องแต่งตั้ง)บุคคลใหม่แทน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-166 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

6.10 ทะเบียนบุคลากรและเครื่องมือของผู้รับจ้าง (Records of Contractor’s Personnel and

Equipment)

ผู้รับจ้ำงต้องท ำบัญชีทะเบียนรำยละเอียดต่อผู้ว่ำจ้ำงแสดงจ ำนวนบุคลำกรแต่ละระดับและประเภท

ของเครื่องมือที่มีอยู่ในพื้นที่โครงกำรในแต่ละเดือนเสนอให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำเห็นชอบอนุมัติ ก่อนที่

ผู้รับจ้ำงก่อสร้ำงโครงกำรจนแล้วเสร็จตำมวันที่ระบุไว้ในหนังสือรับรองผลงำน

6.11 การประพฤติมิชอบ (Disorderly Conduct)

ตลอดเวลำผู้รับจ้ำงต้องใช้ควำมระมัดระวังที่จะป้องกันกำรก่อควำมไม่สงบ ผิดกฎหมำย กำร

ประพฤติมิชอบระหว่ำงพนักงำน และต้องรักษำควำมสงบสุขของสำธำรณชนและทรัพย์สินที่อยู่

ใกล้เคียงกับโครงกำร

7. โรงงาน/โรงผลิต วัสดุและฝีมือแรงงาน (Plant, Materials and Workmanship)

(ข้อย่อย1.1.5.5 Plant หมำยถึง เครื่องมือ เครื่องจักรกล พำหนะที่จะน ำมำประกอบเป็นส่วนหนึ่ง

ของงำนถำวร)

7.1 ลักษณะวิธีการด าเนินการ (Manner of Execution)

ผู้รับจ้ำงจะด ำเนินกำรกำรผลิตโรงงำนฝโรงผลิต ผลิตภัณฑ์ กำรผลิตวัสดุและอื่น ๆ ของงำน

(ก) ตำมรูปลักษณ์ที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ

(ข) ตำมฝีมือที่ควรจะเป็นและตำมคุณลักษณะอย่ำงระมัดระวังตำมหลักปฏิบัติที่ดีทั่วไปที่ยอมรับกัน

(ค) ติดตั้งส่วนประกอบสะดวกต่อกำรใช้กำรและไม่มีวัตถุที่เป็นอันตรำยเว้นแต่จะระบุไว้ในสัญญำ

7.2 ตัวอย่าง (Samples)

ผู้รับจ้ำงจะต้องส่งตัวอย่ำงไปยังผู้ว่ำจ้ำงเพื่อตรวจสอบตำมขั้นตอนส ำหรับเอกสำรของผู้รับจ้ำงตำมที่

ระบุไว้ในข้อย่อย 5.2 (Contractor’s Documents) ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและโดยค่ำใช้จ่ำยของ

ผู้รับจ้ำงำ ตัวอย่ำงแต่ละชิ้นจะต้องมีข้อควำมก ำกับแหล่งที่มำและใช้ในงำน

7.3 การตรวจสอบ (Inspection)

บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิในทุกขณะเวลำที่มีเหตุผล

(ก) มีสิทธิเต็มที่จะเข้ำออกทุกส่วนของพื้นที่โครงกำรและแหล่งที่มำของวัสดุธรรมชำติ

(ข) ระหว่ำงกำรผลิตและกำรก่อสร้ำง (ในพื้นที่โครงกำรที่อื่น ๆ ) ที่จะต้องตรวจทำน ตรวจสอบ

ตรวจวัด และทดสอบวัสดุ และฝีมือแรงงำน เพื่อตรวจสอบวิธีกำรขบวนกำรผลิตของโรงงำน/โรง

ผลิต และวัตถุที่ผลิตได้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-167 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ผู้รับจ้ำงต้องให้บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงมีโอกำสเต็มที่ที่จะด ำเนินกำรตำมข้อดังกล่ำวข้ำงต้น รวมทั้ง

อ ำนวยกำร เข้ำ – ออก สิ่งอ ำนวยควำมสะดวก กำรอนุญำตและอุปกรณ์ป้องกันภัย ผู้รับจ้ำงต้องมี

หน้ำที่อ ำนวยควำมสะดวกและรับผิดชอบควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนของบุคลำกรผู้ว่ำจ้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งเป็นหนังสือให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงทุกครั้งเมื่องำนมีควำมพร้อมและก่อนที่จะถูกปิดทับให้

มิดชิดไม่เห็น หุ้มห่อเพื่อกำรเก็บหรือเพื่อกำรขนส่ง ผู้ว่ำจ้ำงจะท ำกำรตรวจทำน ตรวจสอบ ตรวจวัด

หรือทดสอบโดยไม่ชักช้ำหรือทันทีในกำรออกหนังสือแก่ผู้ว่ำจ้ำงว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะไม่ท ำกำรตรวจทำน

หำกผู้รับจ้ำงไม่แจ้งเป็นหนังสือ หำกผู้ว่ำจ้ำงมีควำมประสงค์ที่จะตรวจสอบ ผู้รับจ้ำงต้องรื้อเปิดของ

ที่ถูกปิดไว้ให้ผู้ว่ำจ้ำงตรวจสอบด้วยค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง

7.4 การทดสอบ (Testing)

ข้อย่อยนี้ใช้บังคับกับกำรทดสอบทุกประเภทตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ และกำรทดสอบอื่นที่

ทดสอบภำยหลังส่งมอบงำนแล้วเสร็จแล้ว (หำกมี)

ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีเครื่องมือ ผู้ช่วย เอกสำร และข้อมูลอื่น ไฟฟ้ำ อุปกรณ์ เชื้อเพลิง ของใช้

สิ้นเปลือง เครื่องมือตรวจวัด คนงำน วัตถุและพนักงำนที่มีควำมรู้ควำมช ำนำญด ำเนินกำรทดสอบ

อย่ำงมีประสิทธิภำพ ผู้รับจ้ำงต้องตกลงกับผู้ว่ำจ้ำงเรื่องเวลำและสถำนที่ที่ใช้ในกำรทดสอบ

เครื่องมือที่ประกอบเป็นงำนถำวร

ผู้ว่ำจ้ำงจะใช้ข้อ 13 (Variations and Adjusments) ในกำรเปลี่ยนสถำนที่ หรือรำยละเอียดกำร

ทดสอบ หรือสั่งให้ผู้รับจ้ำงท ำกำรทดสอบเพิ่ม กำรเปลี่ยนแปลงกำรทดสอบ โรงงำน/โรงผลิต วัสดุ

และงำนฝีมือไม่ถูกต้องตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ ค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ ที่เกิดจำกกำรทดสอบเหล่ำนี้ ผู้รับ

จ้ำงต้องเป็นผู้รับผิดชอบแม้ว่ำไม่ได้ก ำหนดไว้ในสัญญำ

ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้รับทรำบก่อนไม่น้อยกว่ำ 24 ชั่วโมงเมื่อมีควำมประสงค์เข้ำร่วมดูกำรทดสอบ หำก

ผู้ว่ำจ้ำงไม่มำร่วมตำมเวลำและสถำนที่นัดหมำย ผู้รับจ้ำงก็จะด ำเนินกำรทดสอบโดยไม่รอ และกำร

ทดสอบนั้นถือว่ำเป็นกำรทดสอบเสมือนหนึ่งผู้ว่ำจ้ำงอยู่ร่วมดูกำรทดสอบนั้น เว้นแต่ผู้ว่ำจ้ำงจะมี

ค ำสั่งเป็นอื่น

หำกผู้รับจ้ำงต้องประสบควำมล่ำช้ำและเกิดมีค่ำใช้จ่ำยขึ้นตำมค ำสั่งของผู้ว่ำจ้ำง ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงต้องเป็น

ผู้มีส่วนต้องรับผิดชอบด้วย ดังนั้นผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 20.1

(Contractor’s Claims) คือ

(ก) ขยำยเวลำกำรก่อสร้ำงด้วยเหตุล่ำช้ำนั้น หำกท ำให้กำรก่อสร้ำงต้องล่ำช้ำออกไปตำมข้อย่อย 8.4

(Extension of time for Completion) และ

(ข) ค่ำใช้จ่ำยพร้อมก ำไร ซึ่งจะรวมเพิ่มเป็นค่ำจ้ำงเพิ่มในสัญญำ

ภำยหลังผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงต้องด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations)

ตำมที่ตกลงไว้ว่ำต้องพิจำรณำเพื่ออนุมัติ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-168 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ผู้รับจ้ำงต้องรีบด ำเนิกำรทดสอบให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำเห็นชอบรำยงำนกำรทดสอบ เมื่อกำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบถูกต้อง ผู้ว่ำจ้ำงต้องลงนำมเห็นชอบผลกำรทดสอบหรือออกหนังสือรับรองผลกำร

ทดสอบ หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่ได้ร่วมดูกำรทดสอบ ผู้ว่ำจ้ำงต้องยอมรับข้อมูลนั้นถูกต้องตำมกำรทดสอบ

นั้นด้วย

7.5 การปฏิเสธ (Rejection)

หำกเป็นผลจำกตรวจทำน ตรวจสอบ ตรวจวัด เครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้ำง วัสดุและฝีมือแรงงำน

มีควำมบกพร่องหรือช ำรุดหรือไม่ถูกต้องตำมสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงอำจปฏิเสธไม่รับกำรทดสอบข้ำงต้นด้วย

กำรออกหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงรับทรำบพร้อมเหตุผลกำรปฏิเสธ ผู้รับจ้ำงต้องรีบซ่อมข้อบกพร่องนั้น

ๆ ตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ

หำกผู้ว่ำจ้ำงต้องกำรให้เครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้ำงถำวร วัสดุหรือฝีมือแรงงำนต้องท ำกำรทดสอบ

ซ ้ำใหม่ กำรทดสอบนั้นต้องอยู่ในขอบเขตงำนและมีสภำพภำวะเดิม หำกกำรทดสอบซ ้ำนั้นท ำให้เกิด

มีค่ำใช่จ่ำยเพิ่ม ผู้รับจ้ำงต้องท ำตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims)

7.6 การแก้ไขงานช ารุดบกพร่อง (Remedial Work)

ไม่ว่ำงำนที่ผ่ำนกำรทดสอบแล้วหรือได้รับหนังสือรับรองผลงำนแล้ว ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะค ำสั่งให้ผู้รับจ้ำง

ด ำเนินกำรดังนี้

(ก) ย้ำยออกจำกพื้นที่โครงกำรและทดแทนเปลี่ยน เครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้ำงถำวรหรือวัสดุซึ่งไม่

ถูกต้องตำม สัญญำ

(ข) ย้ำยออกและท ำกำรก่อสร้ำงใหม่ตำมสัญญำ

(ค) ท ำกำรก่อสร้ำงเร่งด่วนเพื่อเป็นกำรป้องกันควำมปลอดภัยอันเป็นผลจำกกำรเกิดอุบัติเหตุ หรือ

สิ่งที่ไม่คำดหมำยหรือเหตุอื่น

หำกผู้รับจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมค ำแนะน ำดังกล่ำวซึ่งเป็นไปตำมข้อย่อย 3.4 (Instruction) ผู้ว่ำจ้ำงจะมี

สิทธิจ้ำงและจ่ำยเงินให้บุคคลอื่นเพื่อด ำเนินกำร ยกเว้นในกรณีที่ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ได้รับค่ำจ้ำงในกำร

ท ำงำน ผู้รับจ้ำงจะต้องปฏิบัติตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claim) โดยจ่ำย ค่ำใช้จ่ำยทั้งหมดที่

เกิดจำกควำมล้มเหลวนี้ให้ผู้ว่ำจ้ำง

7.7 ความเป็นเจ้าของ เครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้างงานถาวรและวัตถุ (Ownership of Plant and

Materials)

แต่ละรำยกำรของเครื่องมือประกอบของงำนถำวรและวัตถุต้องถูกต้องตำมกฎหมำยซึ่งต่อไปจะเป็น

ทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง ทรัพย์สินเหล่ำนี้ต้องปรำศจำกกำรถูกกล่ำวหำในเรื่องลิขสิทธิ์หรือข้อหำกล่ำว

อันใด ๆ

(ก) เมื่อรำยกำรนั้นได้ส่งเข้ำมำอยู่ในพื้นที่ก่อสร้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-169 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ข) เมื่อผู้รับจ้ำงถูกทวงค่ำใช้จ่ำยทรัพย์สินเหล่ำนั้นตำมข้อย่อย 9.10 (Payment for Plant and

Material in Event of Suspension)

7.8 ค่าธรรมเนียม/ค่าภาคหลวง (Royalties)

เว้นแต่ได้ระบุไว้ในข้อก ำหนดเฉพำะ (Specification) ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่จ่ำยค่ำธรรมเนียม/

ค่ำภำคหลวง ค่ำเช่ำ และค่ำใช้จ่ำย เพื่อ

(ก) วัตถุดิบตำมธรรมำชำติที่น ำมำใช้งำนในพื้นที่ก่อสร้ำง

(ข) กำรน ำไปทิ้งก ำจัดเศษวัสดุจำกกำรขุดทิ้งหรือกำรรื้อทิ้ง เว้นแต่กำร กำรก ำจัดทิ้งของเศษวัสดุที่มี

อยู่ภำยในพื้นที่ก่อสร้ำง

8. การเริ่มงาน การล่าช้า และการระงับงาน (Commencement, Delays and Suspension)

8.1 การเริ่มงาน (Commencement of Works)

เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในสัญญำ:

(ก) ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องแจ้งให้ผู้รับจ้ำงทรำบล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ 7 วัน นับแต่วันที่เริ่มต้น และ

(ข) วันเริ่มด ำเนินกำร จะต้องไม่เกิน 42 วันนับจำกวันที่สัญญำมีผลบังคับใช้อย่ำงสมบูรณ์ และมีผล

ภำยใต้ข้อย่อย 1.6 (Contract Agreement)

ผู้รับจ้ำงจะเริ่มออกแบบและด ำเนินกำรงำนโดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ หลังจำกวันที่เริ่ม

ด ำเนินกำร และจะด ำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่องโดยไม่ชักช้ำ

8.2 ระยะเวลางานแล้วเสร็จ (Time for Completion)

ผู้รับจ้ำงต้องท ำงำนก่อสร้ำงทั้งหมดให้แล้วเสร็จทั้งหมดและทุกส่วนของงำน ซึ่งให้รวมถึง

(ก) ส ำเร็จลุล่วงพร้อมท ำกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จ และ

(ข) ท ำงำนให้แล้วเสร็จตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและส่วนของงำนต่ำง ๆ ที่ต้องแล้วเสร็จเพื่อกำรส่งมอบ

งำนตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over of Works and Sections)

8.3 แผนงาน (Programme)

ผู้รับจ้ำงต้องน ำเสนอรำยละเอียดแผนเวลำก่อสร้ำงให้ผู้ว่ำจ้ำงภำยใน 28 วัน ภำยหลังได้รับหนังสือ

ตำมข้อย่อย 8.1 (Commencement of Works) ผู้รับจ้ำงยังต้องเสนอแผนงำนฉบับปรับปรุงแล้ว

เปรียบเทียบกับแผนงำนฉบับที่ผ่ำนมำเพื่อให้แผนงำนทันตำมผลงำนจริงปัจจุบันที่ผู้รับจ้ำงมีพันธะ

ตำมสัญญำ ซึ่งต้องครอบคลุมถึง

(ก) ค ำสั่งงำนก่อสร้ำงซึ่งผู้รับจ้ำงมีแผนจะด ำเนินงำน ทั้งนี้ให้รวมแผนเวลำกำรออกแบบ (ถ้ำมี)

เอกสำรประกอบกำรก่อสร้ำง กำรจัดซื้อ กำรก่อสร้ำงโรงงำน/โรงผลิต กำรขนส่งชิ้นส่วนเข้ำสู่พื้นที่

กำรก่อสร้ำง กำรติดตั้ง และกำรทดสอบ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-170 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ข) แต่ละขั้นตอนของงำนของแต่ละผู้รับจ้ำงช่วง ตำมที่ก ำหนดข้อ 5 (Nominated

Subcontractors)

(ค) ล ำดับและเวลำในกำรตรวจสอบและทดสอบตำมสัญญำ และ

(ง) รำยงำนกำรสนับสนุนกำรท ำงำน

(I) บทบรรยำยทั่วไป วิธีกำรที่ผู้รับจ้ำงจะน ำมำใช้ และขั้นตอนส ำคัญในกำรก่อสร้ำง

(II) รำยละเอียดกำรประมำณจ ำนวนและประเภทพนักงำน และจ ำนวนและประเภทของ

เครื่องจักรกลที่จะน ำมำใช้งำนก่อสร้ำง

ภำยในเวลำ 21 วัน เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับแผนงำนจำกผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงใน

กรณีที่แผนงำนไม่สอดคล้องกับสัญญำ เมื่อด ำเนินงำนตำมแผนงำนที่เสนอตำมพันธะของสัญญำ

บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้มีหน้ำที่ในกำรรับทรำบแผนงำน/แผนเวลำกำรก่อสร้ำงของผู้รับจ้ำง

ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบทันที่ ในกรณีที่อำจจะมีเหตุร้ำยเกิดต่องำนก่อสร้ำงอันเป็น

เหตุต้องเพิ่มค่ำจ้ำงก่อสร้ำงหรือท ำให้งำนล่ำช้ำออกไป ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะให้ผู้รับจ้ำงคำดกำรณ์เหตุร้ำย

ที่จะเกิดขึ้นและจัดท ำข้อเสนอ ตำมข้อย่อย 13.3 (Variation Procedure)

หำก ณ เวลำใดผู้ว่ำจ้ำงมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงว่ำแผนงำนไม่สอดคล้องตำมสัญญำและไม่สอดคล้อง

กับควำมก้ำวหน้ำของงำนจริง ผู้รับจ้ำงต้องท ำกำรปรับปรุงแผนงำนใหม่เสนอให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำม

หัวข้อย่อย 8.3 นี้

8.4 การขยายเวลาการแล้วเสร็จงาน (Extension of Time for Completion)

ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่ปฏิบัติตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) เพื่อขอขยำยเวลำกำรแล้ว

เสร็จของงำนก่อสร้ำง หำกกำรขยำยเวลำตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over the Works and

Sections) หรืองำนล่ำช้ำอันเนื่องด้วยเหตุดังนี้

(ก) มีกำรเปลี่ยนแปลง (เว้นแต่มีกำรปรับระยะเวลำตำมที่ได้ตกลงกันตำมข้อย่อย 13.3) (Variation

Procedure) หรือมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมีนัยยะของปริมำณงำนในสัญญำ

(ข) เหตุแห่งควำมล่ำช้ำที่ยอมให้ขยำยเวลำตำมข้อย่อยของเงื่อนไขสัญญำนี้

(ค) เว้นแต่เกิดสภำพอำกำศที่เลวร้ำย

(ง) กำรคำดไม่ถึงกำรขำดแคลนแรงงำน หรือพัสดุขำดแคลน เหตุจำกโรคระบำดหรือมีกำรปฎิบัติ

กำรจำกรัฐ หรือ

(จ) กำรล่ำช้ำจำกโรคระบำด หรือกำรป้องกันกำรก่อเหตุ หรือจำกข้ออ้ำงของผู้ว่ำจ้ำง หรือจำก

บุคลำกรผู้ว่ำจ้ำง หรือผู้รับจ้ำงรำยอื่นของผู้ว่ำจ้ำงที่อยู่ในพื้นที่โครงกำร

หำกผู้รับจ้ำงเห็นว่ำมีสิทธิ์ขอขยำยเวลำงำนก่อสร้ำงได้ ให้ผู้รับจ้ำงท ำหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อ

ย่อย 20.1 (Contractor Claims) เมื่อผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำว่ำขยำยเวลำก่อสร้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-171 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

8.5 ความล่าช้าเกิดจากเจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจ (Delays Caused by Authorities)

โดยหำกใช้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ เช่น

(ก) ผู้รับจ้ำงมีควำมพยำยำมเอำใจใส่ปฏิบัติตำมระเบียบของหน่วยงำนรัฐของประเทศนั้น

(ข) หน่วยงำนรัฐนี้ท ำให้ล่ำช้ำ และเป็นอุปสรรคต่อกำรท ำงำนของผู้รับจ้ำง และ

(ค) กำรล่ำช้ำและอุปสรรคของเรื่องที่ไม่คำดหมำยไว้ก่อน

ฉะนั้น กำรล่ำช้ำและอุปสรรคสำมำรถพิจำรณำ เป็นเหตุให้งำนล่ำช้ำได้ตำมข้อย่อย (ข) และข้อย่อย

8.4 (Extension of Time for Completion)

8.6 อัตราความก้าวหน้า (Rate of Progress)

หำก ณ เวลำใด

(ก) ควำมก้ำวหน้ำจริงของงำน ณ ปัจจุบันล่ำช้ำมำกซึ่งที่จะท ำให้งำนก่อสร้ำงไม่แล้วเสร็จ

(ข) ควำมก้ำวหน้ำของงำนได้ตก (หรือก ำลังจะตก) ล้ำหลังแผนงำนปัจจุบันตำมข้อย่อย 8.3

(Programme)

ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดเหตุ ตำมข้อย่อย 8.4 (Extension of time for completion) ดังนั้นผู้ว่ำจ้ำง

อำจจะสั่งให้ผู้รับจ้ำงที่เสนอตำมข้อย่อย 8.3 (Programme) ปรับปรุงแผนงำนพร้อมด้วยรำยงำน

ชี้แจงกำรปรับเปลี่ยนวิธีตำมที่ผู้รับจ้ำงเสนอเพื่อเร่งกำรท ำงำนให้ก้ำวหน้ำและท ำงำนให้แล้วเสร็จ

ตำมแผน เว้นแต่ผู้ว่ำจ้ำงจะให้ข้อสังเกตในกำรปรับปรุงวิธีกำรก่อสร้ำงของ ผู้รับจ้ำง ซึ่งผู้รับจ้ำงต้อง

เพิ่มเวลำกำรท ำงำน เพิ่มจ ำนวนพนักงำนและคนงำน เพิ่มพัสดุ ซึ่งเป็นควำมเสี่ยงในค่ำใช้จ่ำยของผู้

รับจ้ำงเอง หำกกำรปรับปรุงวิธีกำรก่อสร้ำงแล้วท ำให้ผู้ว่ำจ้ำงมีค่ำใช้จ่ำยเพิ่ม ผู้รับจ้ำงต้องยอมรับข้อ

ย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ต้องจ่ำยค่ำใช้จ่ำยเพิ่มให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ในกำรที่ผู้รับจ้ำงท ำให้ผู้ว่ำจ้ำง

ได้รับควำมเสียหำยจำกท ำงำนล่ำช้ำตำมข้อย่อย 8.7 (Delay Damages)

8.7 ความเสียหายจากท างานล่าช้า: ค่าปรับ (Delay Damages)

หำกผู้รับจ้ำงท ำงำนบกพร่องต่อย่อย 8.2 (Time for Completion) ผู้รับจ้ำงต้องท ำตำมข้อย่อย 2.5

(Employer’s Claims) จ่ำยค่ำเสียหำยจำกกำรท ำงำนล่ำช้ำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ค่ำควำมเสียหำยนี้ได้ระบุ

ไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) ซึ่งจะต้องจ่ำยค่ำเสียหำย

ทุกวันและจะเหลื่อมล ้ำกับเวลำที่ก ำหนดไว้ในเอกสำรที่เกี่ยวข้อง อย่ำงไรก็ดีค่ำควำมเสียหำยนี้

รวมกันแล้วตำมข้อย่อย 8.7 นี้จะไม่เกินค่ำเสียหำย ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำร

ประกวดรำคำ

ค่ำควำมเสียหำยเหล่ำนี้เป็นเพียงควำมเสียหำยอันเนื่องจำกเป็นควำมบกพร่องของผู้รับจ้ำง ไม่ใช่เป็น

เหตุในกำรยกเลิกตำมข้อย่อย 15.2 (Termination by Employer) ก่อนกำรก่อสร้ำงงำนแล้วเสร็จ

ค่ำเสียหำยเหล่ำนี้ไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้ำงพ้นจำกพันธะหน้ำที่ในกำรก่อสร้ำงให้แล้วเสร็จหรือพ้นหน้ำที่

อื่น หรือพันธะหน้ำที่เกินควำมรับผิดชอบ ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมสัญญำ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-172 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

8.8 การระงับการท างาน (Suspension of Work)

ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีค ำสั่งให้ผู้รับจ้ำงได้ทุกเวลำให้ระงับกำรท ำงำนทั้งหมดหรือบำงส่วน ระหว่ำงกำรระงับ

ท ำงำน ผู้รับจ้ำงต้องป้องกัน เก็บรักษำและคุ้มครองภัยงำนก่อสร้ำงให้พ้นภัยจำกกำรท ำลำย สูญหำย

หรือเสียหำย ผู้ว่ำจ้ำงอำจชี้แจงเหตุกำรระงับกำรท ำงำน และเป็นควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงที่ไม่

ต้องท ำตำมข้อย่อย 8.9, 8.10, 8.11

8.9 ผลจากการระงับการท างาน (Consequences of Suspension)

หำกผู้รับจ้ำงได้รับเหตุจำกควำมล่ำช้ำและ/หรือท ำให้เกิดค่ำใช้จ่ำยเพิ่มในกำรปฏิบัติตำมค ำสั่งของวิ

ศกรตำมหัวข้อย่อย 8.8 (Suspension of Work) และหรือจำกท ำงำนต่อ ผู้รับจ้ำงต้องมีหนังสือแจ้ง

ให้ผู้ว่ำจ้ำงและใช้สิทธิข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Clams) ต่อกรณี ดังนี้

(ก) กำรขยำยเวลำอันเนื่องจำกควำมล่ำช้ำ หำกกำรแล้วเสร็จนั้นต้องล่ำช้ำออกไปตำมข้อย่อย 8.4

(Extension of Time for Completion) และ

(ข) ค่ำจ้ำงของค่ำใช้จ่ำย ซึ่งจะผนวกอยู่ในค่ำจ้ำงในสัญญำ ภำยหลังผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือดังกล่ำว

ผู้ว่ำจ้ำงจะท ำตำมข้อย่อย 3.5 (Determination) พิจำรณำวินิจฉัยเรื่องดังกล่ำว

ผู้รับจ้ำงจะไม่มีสิทธิขอขยำยเวลำก่อสร้ำงหรือเรียกร้องค่ำใช้จ่ำยเพิ่มจำกผลกำรผิดพลำดจำกกำร

ออกแบบ ฝีมือแรงงำนไม่เรียบร้อย พัสดุไม่ถูกต้อง หรือในกำรที่ผู้รับจ้ำงบกพร่อง ในกำรจัดกำร เก็บ

รักษำ คุ้มครองภัย ตำมข้อย่อย 8.8 ((Suspension of Work)

8.10 การจ่ายเงินส าหรับโรงงาน/โรงผลิต และวัสดุในกรณีการระงับการท างาน (Payment for

Plant and Materials in Even of Suspension)

ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ที่จะได้รับค่ำจ้ำงจำกมูลค่ำ (ณ วันที่ถูกระงับกำรท ำงำน) ของโรงงำน/โรงผลิต และ/

หรือวัสดุซึ่งได้ขนย้ำยมำอยู่ในพื้นที่โครงกำร หำกว่ำ

(ก) งำนที่เกี่ยวกับโรงงำน/โรงผลิต และวัสดุได้ถูกระงับไว้เกิน 28 วัน และ

(ข) ผู้รับจ้ำงได้ระบุให้โรงงำน/โรงผลิต และวัสดุเป็นทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำงแล้วโดยค ำสั่งของผู้ว่ำจ้ำง

8.11 การระงับการท างานที่ยืดเยื้อ (Prolonged Suspension)

หำกกำรระงับกำรท ำงำนตำมข้อย่อย 8.8 (Suspension of Work) ได้ยืดเยื้อนำนกว่ำ 84 วัน ผู้รับ

จ้ำงอำจร้องขอผู้ว่ำจ้ำงอนุญำตท ำงำนต่อ หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่อนุญำตภำยใน 28 วันหลังจำกกำรร้องขอ

ผู้รับจ้ำงอำจจะมีหนังสือถึงผู้ว่ำจ้ำงยกเรื่องกำรระงับงำนเป็นเรื่องกำรละเว้นงำนตำมข้อ 13

(Variations and Adjustments) ซึ่งมีผลกระทบต่อส่วนงำนก่อสร้ำง หำกกำรระงับงำนมีผลกระทบ

ต่องำนก่อสร้ำงทั้งหมด ผู้รับจ้ำงอำจมีหนังสือแจ้งขอเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 16.2 (Termination by

Contractor)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-173 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

8.12 การท างานต่อไป (Resumption of Work)

ภำยหลังผู้ว่ำจ้ำงอนุญำตให้ท ำงำนต่อไปได้ ผู้รับจ้ำงและผู้ว่ำจ้ำงจะร่วมตรวจสอบงำนทั้งหมดและ

โรงงำน/โรงผลิต และวัสดุที่มีผลกระทบจำกกำรระงับท ำงำน ผู้รับจ้ำงจะท ำซ่อมแซมส่วนที่ช ำรุดสิ่ง

บกพร่องหรือสิ่งสูญหำยคืนสภำพเดิมของงำนระหว่ำงกำรระงับงำน

9. ทดสอบงานเมื่อแล้วเสร็จ (Test on Completion)

9.1 พันธะหน้าที่ของผู้รับจ้าง (Contractor’s Obligations)

ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จตำมข้อย่อย 7.4 (Testing) ภำยหลังได้มอบส่ง

เอกสำรรำยงำนตำมข้อย่อย 5.6 (As-Built Documents) และข้อย่อย 5.7 (Operation and

Maintenance Manuals)

ผู้รับจ้ำงต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงไม่น้อยกว่ำ 21 วัน ของวันที่ที่จะท ำกำรทดสอบงำนเมื่อแล้ว

เสร็จ เว้นแต่จะตกลงกันเป็นอื่น กำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จจะด ำเนินกำรทดสอบภำยใน 14 วัน

หลังจำกวันที่ที่ตกลงกันไว้หรือวันอื่นตำมที่ได้ออกค ำสั่งไว้

นอกเหนือจำกที่ระบุในเงื่อนไขเฉพำะ กำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จจะต้องด ำเนินกำรตำมขั้นตอน

ต่อไปนี้

(ก) กำรทดสอบก่อนด ำเนินกำรซึ่งจะรวมถึงกำรตรวจสอบที่เหมำะสมและ (ทดสอบ "Dry" หรือ

"Clod") เพื่อแสดงให้เห็นว่ำแต่ละรำยกำรของโรงงำนสำมำรถท ำขั้นตอนต่อไปได้อย่ำงปลอดภัย

ตำม (ข)

(ข) ซึ่งรวมถึงกำรทดสอบกำรปฏิบัติงำนที่ระบุไว้เพื่อแสดงให้เห็นว่ำงำนหรือส่วนงำนสำมำรถท ำงำน

ได้อย่ำงปลอดภัยและตำมที่ระบุไว้ภำยใต้เงื่อนไขกำรใช้งำนทั้งหมดที่มีอยู่ และ

(ค) กำรด ำเนินกำรทดสอบ ซึ่งจะต้องแสดงให้เห็นว่ำงำนหรือส่วนของงำนด ำเนินกำรได้อย่ำง

น่ำเชื่อถือและสอดคล้องกับสัญญำ

ในระหว่ำงกำรด ำเนินกำรทดสอบ เมื่อท ำงำนภำยใต้เงื่อนไขที่เสถียร ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งให้ ผู้ว่ำจ้ำง

ทรำบว่ำงำนมีควำมพร้อมส ำหรับกำรทดสอบอื่น ๆ เมื่อแล้วเสร็จ รวมทั้งกำรทดสอบประสิทธิภำพ

เพื่อแสดงให้เห็นว่ำงำนนั้นเป็นไปตำมเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อก ำหนดของผู้ว่ำจ้ำงและมีกำรรับประกัน

ผลกำรปฏิบัติงำน

กำรด ำเนินกำรทดสอบจะต้องไม่เป็นกำรเกี่ยวพันตำมข้อ 10 (Employer’s Taking Over) เว้นแต่

จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในเงื่อนไขเฉพำะ ผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่ผลิตโดยโรงงำนระหว่ำงกำรทดสอบต้อง

เป็นทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง

ในกำรพิจำรณำผลกำรทดสอบเมื่อแล้วเสร็จ จะต้องมีกำรจัดเตรียมค่ำใช้จ่ำยที่เหมำะสมส ำหรับผล

กำรใช้โดยผู้ว่ำจ้ำงในผลงำนหรือลักษณะอื่น ๆ ของผลงำน ทันทีที่งำนหรือส่วนของงำนได้ผ่ำนกำร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-174 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ทดสอบแต่ละรำยกำรตำมที่อธิบำยไว้ในวรรค (ก) (ข) หรือ (ค) ผู้รับจ้ำงต้องส่งรำยงำนผลกำร

ทดสอบเหล่ำนี้ไปยังผู้ว่ำจ้ำง

9.2 การทดสอบที่ล่าช้า (Delayed Tests)

หำกผู้ว่ำจ้ำงประจ ำกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จ สำมำรถน ำข้อย่อย 7.4 (Testing) (5th

paragraph) และข้อย่อย 10.3 (Interference with Tests on Compilation) มำบังคับใช้ หำก

กำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จถูกประวิงให้ล่ำช้ำโดยผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะออกหนังสือสั่งให้ผู้รับ

จ้ำงด ำเนินกำรทดสอบภำยใน 21 วัน เมื่อผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือแล้วต้องด ำเนินกำรทดสอบตำมวันที่

ผู้ว่ำจ้ำงที่ก ำหนดหรือภำยในวันที่ซึ่งผู้รับจ้ำงเป็นผู้ก ำหนดโดยแจ้งเป็นหนังสือ หำกผู้รับจ้ำงไม่อำจ

ทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จภำยใน 21 วัน บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงอำจจะท ำกำรทดสอบเองบนควำม

เสี่ยงและค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง และให้ถือว่ำกำรทดสอบดังกล่ำวเสมือนว่ำผู้รับจ้ำงอยู่ร่วมในกำร

ทดสอบนั้นและต้องรับผลกำรทดสอบนั้นมีควำมละเอียดด้วย

9.3 การทดสอบซ ้า (Retesting)

หำกว่ำงำนหรือส่วนของงำนไม่ผ่ำนกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จ ข้อย่อย 7.5 (Rejection) จะน ำมำ

บังคับใช้ ผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้รับจ้ำงอำจต้องกำรทดสอบไม่ผ่ำน และกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จบนงำน

อื่นที่ควำมสัมพันธ์กัน ให้ท ำกำรทดสอบซ ้ำในสภำพภำวะและเงื่อนไขเดียวกัน

9.4 การทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จไม่ผ่าน (Failure to Pass Tests on Completion)

หำกงำนหรือส่วนของงำนไม่ผ่ำนกำรทดสอบ เมื่อแล้วเสร็จ ต้องทดสอบซ ้ำตำมข้อย่อย 9.3

(Retesting) ผู้ว่ำจ้ำงมีหน้ำที่ ดังนี้

(ก) ออกค ำสั่งให้ท ำกำรทดสอบซ ้ำต่อไปตำมข้อย่อย 9.3

(ข) หำกกำรทดสอบไม่ผ่ำน ผู้ว่ำจ้ำงอำจปฏิเสธไม่รับมอบงำน ซึ่งอำจเป็นเหตุให้ผู้ว่ำจ้ำงต้องได้รับ

กำรแก้ไขดังกล่ำวตำมที่ก ำหนดใน วรรคข้อ (ค) ข้ำงล่ำงและข้อย่อย 11.4 (Failure to Remedies

Defects) หรือ

(ค) ออกหนังสือตรวจรับมอบงำน หำกผู้ว่ำจ้ำงต้องกำรดังกล่ำว

ในเหตุวรรคข้อ (ค) ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรตำมพันธะหน้ำที่ภำยใต้สัญญำนี้ และค่ำจ้ำงตำมสัญญำ

จะถูกตัดลดตำมควำมเหมำะสม เว้นแต่กำรตัดลดได้ระบุในสัญญำ (ตำมหลักเกณฑ์กำรค ำนวนกำร

ตัดลดค่ำจ้ำงงำน) ผู้ว่ำจ้ำงอำจตัดลดค่ำจ้ำง (I) คู่สัญญำมีควำมพอใจในค่ำจ้ำงตัดลดและจ่ำยให้

ก่อนที่ออกหนังสือรับมอบผลงำน (II) พิจำรณำและจ่ำยค่ำเสียหำยตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s

Claims) และข้อย่อย 3.5 (Determinations)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-175 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

10. ผู้ว่าจ้างรับมอบงาน (Employers Taking Over)

10.1 การรับมอบงานและส่วนของงาน (Taking Over of the Works and Sections)

เว้นแต่จะระบุไว้ในข้อย่อย 9.4 (Failure to Pass Tests on Completion) ผู้ว่ำจ้ำงจะรับมอบงำน

เมื่อ

(i) งำนนั้น ได้ก่อสร้ำงแล้วเสร็จตำมสัญญำและรำยละเอียดตำมข้อย่อย 8.2 (Time for

Completion) และยกเว้นตำมระบุในข้อ (ก) ข้ำงล่ำงนี้ และ

(ii) เมื่อหรือก ำลังจะออกหนังสือรับมอบงำนตำมข้อ (II) นี้ ผู้รับจ้ำง อำจออกหนังสือแจ้งผู้ว่ำจ้ำงให้

ตรวจรับมอบงำนไม่เร็วกกว่ำ 14 วัน ก่อนงำนจะแล้วเสร็จตำมควำมเห็นของ ผู้รับจ้ำงว่ำงำนส่ง

มอบจะแล้วเสร็จ หำกงำนถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ผู้รับจ้ำงอำจจะด ำเนินกำรได้เช่นเดียวกันโดย

หนังสือส่งมอบงำนเป็นส่วน ๆ

ภำยใน 28 วันเมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือดังกล่ำวข้ำงต้นจำกผู้ว่ำจ้ำงแล้ว ผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำรดังนี้

(ก) ออกหนังสือรับมอบงำนให้แก้ผู้รับจ้ำงโดยระบุวันที่ของงำนหรือส่วนของงำนที่จะก่อสร้ำงแล้ว

เสร็จตำมสัญญำ เว้นแต่เหลืองำนเล็ก ๆ น้อยหรืองำนบกพร่องต้องซ่อมซึ่งไม่มีผลกระทบต่อกำรใช้

งำนหลักหรือส่วนของงำน (หรือแล้วแต่จะรอกำรแก้ไขให้เสร็จก็ได้) หรือ

(ข) ไม่รับหนังสือดังกล่ำวของผู้รับจ้ำงโดยระบุเหตุผลและก ำหนดงำนที่ต้องท ำให้แล้วเสร็จเสียก่อน

จึงจะออกหนังสือรับมอบงำน ฉะนั้น ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรท ำงำนให้เสร็จเรียบร้อยจึงจะออก

หนังสือรับมอบงำนให้

หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมข้อ (ก) หรือข้อ (ข) ภำยใน 28 วัน และหำกงำนหลักหรือส่วนงำนได้

ก่อสร้ำงแล้วเสร็จเป็นส่วนใหญ่แล้วตำมสัญญำ กำรออกหนังสือรับมอบงำนก็สมควรออกให้ในวัน

สุดท้ำยของวันที่ก ำหนดไว้

10.2 การรับมอบงานบางส่วน (Taking Over of Parts of the Works)

บำงส่วนของงำน (นอกเหนือจำกส่วนงำน) จะไม่ถูกน ำมำใช้หรือใช้โดยผู้ว่ำจ้ำงเว้นแต่จะระบุไว้ใน

สัญญำหรือตำมที่คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยตกลงกัน

10.3 การประวิงการทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (Interference with Tests on Completion)

หำกผู้รับจ้ำงถูกสั่งห้ำมมำกกว่ำ 14 วัน จำกกำรไม่ให้ด ำเนินกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จตำมเหตุซึ่ง

ผู้ว่ำจ้ำงรับผิดชอบให้ถือว่ำผู้ว่ำจ้ำงเสมือนหนึ่งยอมกำรส่งมอบงำนนั้นแล้ว (ตำมเหตุที่อำจเกิดขึ้น)

ในวันที่ที่ก ำหนดให้มีกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จ ผู้ว่ำจ้ำงจะออกหนังสือรับมอบงำน ผู้รับจ้ำงจะ

ด ำเนินกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จโดยเร็วก่อนวันที่กำรซ่อมบ ำรุงสิ่งบกพร่องจะหมดอำยุ ผู้ว่ำจ้ำง

ต้องให้ท ำกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จภำยในเวลำ 14 วันตำมรำยกำรที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ หำกผู้

รับจ้ำงต้องได้รับควำมล่ำช้ำและท ำให้เกิดค่ำใช้จ่ำยจำกกำรด ำเนินกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จ ผู้รับ

จ้ำงจะมีหนังสือแจ้งผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-176 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ก) ขยำยเวลำชดเชยจำกกำรล่ำช้ำหำกงำนแล้วเสร็จได้เกิดหรือจะเกิดควำมล่ำช้ำตำมข้อย่อย 8.4

(Extension of time for Completion) และ

(ข) ค่ำจ้ำงบวกก ำไรซึ่งจะเป็นค่ำจ้ำง ในสัญญำจ้ำง เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้ง ผู้ว่ำจ้ำงต้อง

ด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อเห็นชอบหรือพิจำรณำวินิจฉัย

11. การรับผิดชอบสิ่งบกพร่อง/ช ารุด (Defects Liability)

11.1 การแล้วเสร็จของงานตกค้างและการซ่อมแซมสิ่งบกพร่อง (Completion of Outstanding

and Remedying Defects)

เพื่อให้งำนนั้นพร้อมเอกสำรรำยงำนของผู้รับจ้ำง และส่วนงำนแต่ละส่วนซึ่งจะต้องมีสภำพดีตำม

สัญญำ (ยกเว้นงำนที่สึกหรอหรือเสียหำยเล็กน้อย) ณ วันหมดอำยุของใบแจ้งรำยกำรสิ่งบกพร่อง ซึ่ง

ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรโดยเร็วดังนี้

(ก) ท ำงำนตกค้ำงแล้วเสร็จตำมที่ระบุไว้ในหนังสือรับมอบ ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงสั่งกำรไว้

(ข) และท ำกำรซ่อมสิ่งบกพร่องหรือเสียหำย ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงพบก่อนวันหมดอำยุของกำรแจ้งสิ่ง

บกพร่อง/บกพร่องของงำนหรือส่วนของงำน (แล้วแต่กรณี)

หำกมีกำรพบสิ่งบกพร่องช ำรุด ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้ผู้รับจ้ำงซ่อมแซม

11.2 ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมส่วนช ารุดบกพร่อง (Cost of Remedying Defects)

อ้ำงถึงข้อย่อย 11.1 (ข) (Completion of Outstanding Work and Remedying Defects) ผู้รับ

จ้ำงต้องรับควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำย หำกจะต้องด ำเนินกำรแก้ไข

(ก) ต้องมีกำรออกแบบเพื่อกำรแก้ไขซ่อมแซมโดยผู้รับจ้ำง

(ข) โรงงำน/โรงผลิต วัสดุ หรืองำนฝีมือไม่ถูกต้องตำมสัญญำ หรือ

(ค) ควำมบกพร่องของผู้รับจ้ำง ไม่ปฏิบัติตำมสัญญำ (คำมข้อย่อย 5.5 ถึง 5.7 หรือ อื่น ๆ ) หรือ

หำกกำรด ำเนินกำรดังกล่ำวท ำให้เกิดผลและเกิดเหตุอื่น ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งทันที (เพื่อเป็นประโยชน์)

ต่อผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 13.3 (Variation Procedure)

11.3 การต่ออายุระยะเวลาการแจ้งข้อบกพร่องช ารุด (Extension of Defects Notification

Period)

ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์ตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ในกำรต่ออำยุระยะเวลำกำรแจ้งกำรซ่อมสิ่ง

บกพร่องช ำรุดของงำนหรือส่วนของงำน หำกกำรด ำเนินกำรงำนนั้น ส่วนของงำน หรือรำยกำรส ำคัญ

ของโรงงำน/โรงผลิต (ในกรณีที่เป็นและภำยหลังกำรรับมอบงำน) ไม่สำมำรถใช้งำนตำมวัตถุประสงค์

อันเนื่องจำกจำกกำรบกพร่องช ำรุด อย่ำงไรก็ดี ระยะเวลำกำรแจ้งสิ่งบกพร่องช ำรุดจะต้องไม่เกิน

กว่ำ 2 ปี

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-177 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

หำกกำรส่งหรือกำรติดตั้งโรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุ ถูกระงับตำมข้อย่อย 8.8 (Suspension of

Work) หรือข้อย่อย 16.1 (Contractor’s Entitlement to Suspend Work) ผู้รับจ้ำงมีพันธะ

หน้ำที่ตำมข้อย่อยนี้จะไม่น ำมำบังคับใช้กับสิ่งบกพร่องช ำรุดหรือกำรเสียหำยที่เกิดขึ้นมำกกว่ำ 2 ปี

เมื่อระยะเวลำกำรแจ้งสิ่งบกพร่องช ำรุดส ำหรับโรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุ อันเกิดจำกกำรหมดอำยุ

ระยะเวลำ

11.4 ข้อบกพร่องจากการซ่อมสิ่งบกพร่องช ารุด (Failure to Remedy Defects)

หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องในกำรเยียวยำซ่อมแซมสิ่งบกพร่องช ำรุดภำยในเวลำที่เหมำะสม ผู้ว่ำจ้ำง

อำจจะเป็นผู้ก ำหนดวันที่ต้องซ่อมให้แล้วเสร็จ ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งเป็นหนังสือ วันที่กำรซ่อมแซมแล้ว

เสร็จ หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องในกำรซ่อมแซมตำมวันที่ผู้ว่ำจ้ำงก ำหนดให้โดยผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบ

ค่ำใช้จ่ำยในกำรซ่อมตำมข้อย่อย 11.2 (Cost of Remedying Defects) ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะ

(ก) ผู้ว่ำจ้ำงซ่อมแซมเองหรือให้ผู้อื่นซ่อม โดยอยู่ในค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง แต่ผู้รับจ้ำงจะไม่รับควำม

เสี่ยงของงำนซ่อมตำมสิทธิ์ข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยค่ำซ่อมแซมแก่

ผู้ว่ำจ้ำง

(ข) ผู้ว่ำจ้ำงต้องให้ควำมเห็นชอบหรือพิจำรณำกำรหักค่ำจ้ำงจำกค่ำจ้ำงตำมสัญญำตำมข้อย่อย 3.5

(Determinations) หรือ

(ค) หำกสิ่งบกพร่องช ำรุดหรือควำมเสียหำยท ำให้ผู้ว่ำจ้ำงไม่สำมำรถใช้ประโยชน์จำกผลงำนก่อสร้ำง

งำนทั้งหมดหรืองำนบำงส่วน กำรบอกเลิกสัญญำงำนทั้งหมดหรือบอกเลิกเพียงบำงส่วนโดยไม่

ผลกระทบต่อสิทธิอื่นภำยใต้สัญญำนี้ หรือผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์เรียกคืนค่ำจ้ำงทั้งหมดที่ได้จ่ำยเป็นค่ำจ้ำง

ของงำนส่วนนั้นบวกค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิน และค่ำใช้จ่ำยในกำรรื้อถอน กำรท ำควำมสะอำดพื้นที่

กำรส่งคืนโรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุให้แก่ผู้รับจ้ำง

11.5 การรื้อถอนสิ่งช ารุดบกพร่อง (Renewal of Defective Work)

หำกสิ่งช ำรุดบกพร่องหรือควำมเสียหำยไม่สำมำรถซ่อมแซมให้ใช้งำนได้ในพื้นที่โครงกำร และผู้ว่ำ

จ้ำงอนุญำตให้ผู้รับจ้ำงรื้อย้ำยออกจำกพื้นที่โครงกำรเพื่อท ำกำรซ่อมแซมส่วนที่บกพร่องช ำรุด กำร

ยินยอมนี้อำจท ำให้ผู้รับจ้ำง ต้องเพิ่มหลักประกันผลงำนตำมสัญญำให้เต็มมูลค่ำของรำยกำรนี้หรือ

อำจใช้หลักประกันอื่นที่เหมำะสม

11.6 การทดสอบเพิ่มเติม (Further Tests)

หำกกำรซ่อมสิ่งบกพร่องช ำรุดหรือควำมเสียหำย มีผลกระทบกำรด ำเนินงำน ผู้ว่ำจ้ำงอำจให้ผู้รับจ้ำง

ท ำกำรทดสอบซ ้ำ ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำควำมต้องกำรนี้จะออกหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงภำยใน 28

วัน หลังจำกสิ่งบกพร่องช ำรุดหรือเสียหำยได้กำรซ่อมแล้ว กำรทดสอบเพิ่มเหล่ำนี้จะด ำเนินกำรตำม

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-178 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ขอบเขตงำนกำรทดสอบของครั้งที่แล้ว เว้นแต่กำรทดสอบนั้นอยู่บนควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำยของ

ผู้เกี่ยวข้องตำมหัวข้อย่อย 11.2 (Cost of Remedying Defects)

11.7 สิทธิ์การเข้าออก (Right of Access)

จนกว่ำได้ออกหนังสือรับรอง กำรด ำเนินงำนได้ (Performance) ผู้รับจ้ำงจึงจะมีสิทธิ์เข้ำออกเพื่อ

ปฏิบัติงำนได้ตำมหัวข้อนี้เว้นแต่ต้องปฏิบัติตำมระเบียบกำรรักษำควำมปลอดภัยของ ผู้ว่ำจ้ำง

11.8 การตรวจหาของผู้รับจ้าง (Contractor to Search)

หำกเป็นควำมประสงค์ของผู้ว่ำจ้ำง ให้ผู้รับจ้ำงตรวจหำสำเหตุสิ่งบกพร่องช ำรุดตำมค ำสั่งวิธีของผู้

ว่ำจ้ำง นอกจำกสิ่งบกพร่องช ำรุดนั้นต้องซ่อมด้วยค่ำใช้จ่ำยของผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 11.2 (Cost of

Remedying Defects) ค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจหำบวกค่ำก ำไรนั้น ผู้ว่ำจ้ำงต้องเห็นชอบหรือผู้ว่ำจ้ำง

พิจำรณำตำมหัวข้อย่อย 3.5 (Determination) ค่ำใช้จ่ำยจะรวมเป็นค่ำจ้ำงตำมสัญญำ

11.9 หนังสือรับรองการด าเนินการ (Performance Certificate)

กำรปฏิบัติงำนตำมพันธะหน้ำที่ของผู้รับจ้ำงจะพิจำรณำเป็นงำนแล้วเสร็จได้จนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงได้ออก

หนังสือรับรองกำรปฏิบัติงำนได้ให้แก่ผู้รับจ้ำง ระบุวันที่ซึ่งผู้รับจ้ำงได้ปฏิบัติพันธะหน้ำที่จนแล้วเสร็จ

ตำมสัญญำ

ผู้ว่ำจ้ำงจะออกหนังสือรับรองกำรด ำเนินงำนให้ภำยใน 28 วัน ภำยหลังวันที่ครั้งสุดท้ำยของอำยุกำร

แจ้งสิ่งบกพร่องช ำรุด หลังจำกนั้นผู้รับจ้ำงต้องส่งมอบเอกสำรรำยงำน และผลกำรทดสอบเมื่องำน

แล้วเสร็จรวมทั้งกำรซ่อมสิ่งบกพร่องช ำรุด กรณีผู้ว่ำจ้ำงไม่ออกใบรับรองกำรปฏิบัติงำน:

(ก) ใบรับรองกำรปฏิบัติงำนให้ถือว่ำเป็นกำรออกในวันที่ 28 วันหลังจำกวันที่ควรได้รับกำรออกตำม

ควำมในข้อย่อยนี้ และ

(ข) ข้อย่อย 11.11 (Clearance of Site) และวรรค (ก) ของข้อย่อย 14.14 (Cessation of

Employer’s Liability) จะไม่มีผลใช้บังคับ

เฉพำะใบรับรองกำรปฏิบัติงำนถือว่ำเป็นกำรยอมรับผลงำน

11.10 พันธะหน้าที่ซึ่งยังไม่ได้ด าเนินการ (Unfulfilled Obligations)

ภำยหลังได้ออกหนังสือรับรองกำรด ำเนินงำนได้ คู่สัญญำยังคงต้องมีควำมพร้อมในกำรด ำเนินกำรใด

ๆ ให้หน้ำที่พันธะที่ยังไม่ได้ด ำเนินกำร ณ เวลำนั้นตำมวัตถุประสงค์ของพันธะหน้ำที่ ให้สัญญำนั้น

ยังคงใช้บังคับต่อไป

11.11 การท าความสะอาดพื้นที่โครงการ (Clearance of Site)

ทันทีที่ได้รับหนังสือรับรองให้ด ำเนินงำนได้ ผู้รับจ้ำงต้องท ำกำรรื้อถอน เครื่องมือ สิ่งช ำรุดผุพัง มูล

ฝอย และโครงสร้ำงงำนชั่วครำวออกจำกพื้นที่โครงกำร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-179 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

หำกสิ่งของดังกล่ำวข้ำงต้นยังไม่ได้ขนย้ำยภำยใน 28 วัน นับแต่ผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือรับรอง

ด ำเนินงำนได้ ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะจ ำหน่ำยสิ่งของเหล่ำนั้น ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์เรียกค่ำใช้จ่ำยอันเนื่องจำกกำร

ก ำจัดสิ่งเหลือใช้ดังกล่ำวข้ำงต้นและค่ำใช้จ่ำยในกำรท ำควำมสะอำดพื้นที่โครงกำร

รำยได้จำกกำรขำยสิ่งเหลือใช้ดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงจะคืนให้แก่ผู้รับจ้ำง หำกรำยได้ไม่พอกับกำรขำยสิ่ง

เหลือใช้ดังกล่ำว ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยชดเชยให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง

12. การทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (Tests after Completion)

12.1 ขั้นตอนวิธีการทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (Procedure for Tests after Completion)

หำกกำรทดสอบหลังจำกงำนเสร็จสิ้น ได้ระบุไว้ในสัญญำให้ใช้รำยละเอียดตำมข้อนี้ เว้นแต่จะระบุไว้

เป็นอย่ำงอื่นในเงื่อนไขเฉพำะ:

(ก) ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องจัดหำไฟฟ้ำ เชื้อเพลิง และวัสดุทั้งหมดพร้อมทั้งจัดหำบุคลำกรและโรงงำน/โรง

ผลิต ของผู้ว่ำจ้ำงให้พร้อม

(ข) ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำอุปกรณ์เครื่องมือและบุคลำกรที่มีประสบกำรณ์และเหมำะสมตำมที่จ ำเป็น

เพื่อให้กำรทดสอบเสร็จสิ้นอย่ำงมีประสิทธิภำพ และ

(ค) ผู้รับจ้ำงจะต้องท ำกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้นในสถำนที่ท ำงำนของผู้ว่ำจ้ำงและ/หรือบุคลำกร

ของผู้รับจ้ำงดังกล่ำวตำมที่คู่สัญญำฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งอำจร้องขอ

กำรทดสอบภำยหลังเสร็จสิ้น จะต้องด ำเนินกำรโดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ ในทำงปฏิบัติหลังจำก

ที่โรงงำน/โรงผลิต หรือส่วนงำนถูกครอบครองโดยผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องแจ้งให้ ผู้รับจ้ำงทรำบ

ล่วงหน้ำ 21 วัน นับจำกวันที่จะด ำเนินกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้น เว้นแต่จะได้ตกลงกันเป็นอย่ำง

อื่น กำรทดสอบเหล่ำนี้จะต้องด ำเนินกำรภำยใน 14 วันหลังจำกวันดังกล่ำว หรือวันที่ก ำหนดโดยผู้

ว่ำจ้ำง

ผลกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้นจะต้องรวบรวมและประเมินผลโดยผู้รับจ้ำงซึ่งจะต้องจัดท ำรำยงำน

โดยละเอียด บัญชีที่เหมำะสมจะต้องค ำนึงถึงผลกระทบจำกกำรใช้งำนของผู้ว่ำจ้ำงก่อนหน้ำนี้

12.2 การทดสอบที่ล่าช้า (Delayed Test)

หำกผู้รับจ้ำงต้องเสียค่ำใช้จ่ำยอันเนื่องมำจำกกำรที่ผู้ว่ำจ้ำงไม่สำมำรถด ำเนินกำรทดสอบได้ภำยใน

เวลำที่ก ำหนด ผู้รับจ้ำงต้อง (i) แจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบและ (ii) มีสิทธิตำมข้อ 20.1 (Contractor’s

Claim) เพื่อกำรช ำระเงินดังกล่ำวบวกก ำไรที่สมเหตุสมผลซึ่งจะถูกเพิ่มเข้ำไปในรำคำตำมสัญญำ

หลังจำกได้รับหนังสือแจ้งนี้ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องด ำเนินกำรตำมข้อ 3.5 (Determinations) เพื่อ ตกลง

หรือก ำหนดค่ำใช้จ่ำยและผลก ำไรนี้

หำกไม่ได้รับกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้นกำรท ำงำนหรือส่วนใด ๆ ในช่วงระยะเวลำกำรแจ้งควำม

บกพร่อง (หรือระยะเวลำอื่นใดที่คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยตกลงกัน) งำนหรือส่วนงำนจะถือว่ำผ่ำนกำร

ทดสอบนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-180 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

12.3 การทดสอบซ ้า (Retesting)

หำกงำนหรือส่วนงำนไม่ผ่ำนกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้น:

(ก) ย่อหน้ำย่อย (ข) ของข้อย่อย 11.1 (Completion of Outstanding Work and Remedying

of Defects) จะใช้บังคับ และ

(ข) คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด อำจเรียกร้องให้มีกำรทดสอบซ ้ำ ส ำหรับกำรทดสอบที่ล้มเหลว และกำร

ทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จ ภำยใต้เงื่อนไขนี้

หำกและในส่วนที่ควำมล้มเหลวและกำรทดสอบใหม่นี้ มีสำเหตุมำจำกประเด็นใด ๆ ที่ระบุไว้ในอนุ

วรรค (ก) ถึง (ง) ของข้อย่อย 11.2 (Cost of Remedying Defects) และท ำให้ผู้ว่ำจ้ำงต้องเสีย

ค่ำใช้จ่ำยเพิ่มเติม ผู้รับจ้ำง ภำยใต้ข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claim) จะจ่ำยค่ำใช้จ่ำยเหล่ำนี้ให้กับ

ผู้ว่ำจ้ำง

12.4 ไม่ผ่านการทดสอบหลังจากงานเสร็จสิ้น (Failure to Pass Tests after Completion)

หำกมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้คือ

(ก) งำนหรือส่วนใด ๆ ไม่ผ่ำนกำรทดสอบ หรือกำรทดสอบภำยหลังงำนแล้วเสร็จทั้งหมด

(ข) จะมีกำรระบุจ ำนวนเงินที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นค่ำเสียหำยที่ไม่เป็นไปตำมข้อก ำหนดส ำหรับ

ข้อผิดพลำดนี้ (หรือวิธีกำรค ำนวณที่ระบุไว้) ในสัญญำ และ

(ค) ผู้รับจ้ำงจ่ำยเงินค่ำเสียหำยที่เกี่ยวข้องให้กับผู้ว่ำจ้ำงในช่วงระยะเวลำแจ้งควำมบกพร่อง

(Defects Notification Period)

จำกนั้นงำนหรือส่วนงำนจะถือว่ำผ่ำนกำรทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จ

หำกงำนหรือส่วนงำนใดไม่ผ่ำนกำรทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จ และผู้รับจ้ำงเสนอที่จะท ำกำร

ปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขงำนหรือส่วนดังกล่ำว ผู้รับจ้ำงอำจได้รับค ำสั่งจำก (หรือในนำมของ) ผู้ว่ำจ้ำง

ถึงสิทธิ์ในกำรเข้ำถึง ไม่สำมำรถก ำหนดได้ จนกว่ำจะถึงเวลำที่สะดวกของผู้ว่ำจ้ำง จำกนั้นผู้รับจ้ำง

จะต้องรับผิดต่อกำรปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขและปฏิบัติตำมกำรทดสอบนี้ ภำยในระยะเวลำอันสมควร

ที่จะได้รับกำรแจ้งโดยผู้ว่ำจ้ำงหรือในนำมของผู้ว่ำจ้ำงในเวลำที่เหมำะสม

อย่ำงไรก็ตำมหำกผู้รับจ้ำงไม่ได้รับหนังสือบอกกล่ำวในช่วงระยะเวลำแจ้งควำมบกพร่องที่เกี่ยวข้อง

ผู้รับจ้ำงจะได้รับกำรปลดเปลื้องภำระผูกพันจำกงำนหรือส่วนงำน (แล้วแต่กรณี) และจะถือว่ำผ่ำน

กำรทดสอบนี้

หำกผู้รับจ้ำงเสียค่ำใช้จ่ำยเพิ่มเติมอันเป็นผลมำจำกกำรที่ผู้ว่ำจ้ำงไม่อนุญำตให้เข้ำท ำงำน โดยไม่แจ้ง

ให้ทรำบล่วงหน้ำ เพื่อตรวจหำสำเหตุของควำมล้มเหลวในกำรทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จ หรือ

เพื่อด ำเนินกำรปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขใด ๆ ผู้รับจ้ำงต้อง (i) แจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบและ (ii) มีสิทธิ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-181 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ภำยใต้ข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) เพื่อจ่ำยค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวรวมทั้งผลก ำไรที่

สมเหตุสมผลซึ่งจะเพิ่มในรำคำตำมสัญญำ

หลังจำกได้รับหนังสือแจ้งนี้ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องด ำเนินกำรตำมข้อ 3.5 (Determinations) เพื่อตกลงหรือ

ก ำหนดค่ำใช้จ่ำยและผลก ำไรนี้

13. การเปลี่ยนแปลงและการปรับแก้ไข (Variations and Adjustments)

13.1 สิทธิในการเปลี่ยนแปลง (Right to Vary)

กำรเปลี่ยนแปลงอำจเริ่มจำกผู้ว่ำจ้ำงได้ตลอดเวลำก่อนจะออกหนังสือกำรรับมอบงำนโดยค ำสั่งของ

ผู้ว่ำจ้ำงหรือกำรร้องขอให้ผู้รับจ้ำงจัดท ำข้อเสนอ ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรและมีหน้ำที่ในทุกรำยกำร

ของกำรเปลี่ยนแปลง เว้นแต่ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งพร้อมรำยงำนให้ผู้ว่ำจ้ำงว่ำไม่พร้อมจะจัดหำ

พัสดุเพื่อกำรเปลี่ยนแปลงนั้น ทันทีที่ผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือจำกผู้ว่ำจ้ำงต้องยกเลิกค ำสั่งหรือ

เปลี่ยนแปลงค ำสั่งใหม่

(ก) เปลี่ยนปริมำณรำยกำรหนึ่งรำยกำรใดของงำนซึ่งรวมอยู่ในสัญญำ (อย่ำงไรก็ดีกำรเปลี่ยนแปลง

นั้นไม่จ ำเป็นต้องเป็นรำยกำรเปลี่ยนแปลง (Vary)

(ข) เปลี่ยนคุณภำพและคุณลักษณะอื่นของรำยกำรใด ๆ ของงำน

(ค) เปลี่ยนระดับต ำแหน่งและมิติของส่วนใด ของรำยกำรงำน

(ง) ส่วนยกเว้นของงำนใด ๆ เว้นแต่เป็นงำนของรำยอื่น

(จ) งำนเพิ่มใด ๆ โรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุ และบริกำรที่จ ำเป็นส ำหรับงำนถำวรรวมทั้งกำรทดสอบ

ที่เกี่ยวข้องเมื่องำนแล้วเสร็จ หลุมเจำะและกำรทดสอบอื่น รวมถึงกำรเจำะส ำรวจ หรือ

(ฉ) เปลี่ยนล ำดับขั้นตอนหรือช่วงระยะเวลำกำรท ำงำนก่อสร้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องไม่เปลี่ยนแปลงใด ๆ และหรือดัดแปลงส่วนใดของงำนถำวร เว้นแต่ และจนกว่ำผู้

ว่ำจ้ำงจะมีค ำสั่งอนุมัติกำรเปลี่ยนแปลงก่อน

ผู้ว่ำจ้ำงสำมำรถเปลี่ยนแปลงงำนได้ตลอดเวลำก่อนที่จะมีกำรออกใบรับรองกำรรับงำน โดยค ำสั่ง

หรือโดยกำรขอให้ผู้รับจ้ำงยื่นข้อเสนอ กำรเปลี่ยนแปลงจะต้องไม่รวมถึงกำรละเว้นกำรท ำงำนใด ๆ

ที่จะต้องด ำเนินกำรโดยผู้อื่น

ผู้รับจ้ำงจะต้องด ำเนินกำร และผูกพันตำมรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลง เว้นแต่ผู้รับจ้ำงจะแจ้งให้ ผู้ว่ำ

จ้ำงแจ้งโดยทันที (พร้อมรำยละเอียดที่สนับสนุน) ว่ำ (i) ผู้รับเจ้ำงไม่สำมำรถรับสินค้ำที่จ ำเป็น

ส ำหรับกำรเปลี่ยนแปลได้ (ii) จะมีผลในกำรลดควำมปลอดภัย หรือควำมเหมำะสมของผลงำนหรือ

(iii) มีผลกระทบต่อควำมส ำเร็จของกำรรับประกันผลกำรปฏิบัติงำน เมื่อได้รับหนังสือแจ้งนี้ผู้ว่ำจ้ำง

จะต้องยกเลิก กำรยืนยัน หรือเปลี่ยนแปลงค ำสั่ง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-182 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

13.2 วิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering)

ตลอดเวลำผู้รับจ้ำงอำจจะจัดท ำรำยงำนข้อเสนอเสนอต่อผู้ว่ำจ้ำง (ตำมควำมเห็นของ ผู้รับจ้ำง)

หำกจะยอมรับ

(i) เร่งให้งำนแล้วเสร็จเร็วขึ้น

(ii) ประหยัดค่ำก่อสร้ำง ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงในกำรด ำเนินกำร กำรบ ำรุงรักษำเมื่อเปิดด ำเนินกำรกิจกำร

(iii) เพิ่มประสิทธิภำพหรือคุณค่ำต่อโครงกำรของผู้ว่ำจ้ำง หรือ

(iv) เป็นผลประโยชน์ต่อผู้ว่ำจ้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดท ำรำยงำนข้อเสนอพร้อมด้วยรำยกำรตำมข้อย่อย

13.3 (Variation Procedure)

13.3 วิธีการเปลี่ยนแปลง (Variation Procedure)

หำกผู้ว่ำจ้ำงต้องกำรให้ผู้รับจ้ำงจัดท ำข้อเสนอก่อนที่ผู้ว่ำจ้ำงจะออกค ำสั่งเรื่องกำรเปลี่ยนแปลง ผู้รับ

จ้ำงต้องตอบสนองด้วยลำยลักษณ์อักษรโดยเร็วด้วยกำรให้เหตุผลว่ำไม่สำมำรถด ำเนินกำรตำมได้

หรือโดยกำรยืนข้อเสนอ

(ก) ค ำอธิบำยของงำนที่เสนอที่จะด ำเนินกำรพร้อมกับแผนงำนที่จะด ำเนินกำร

(ข) ข้อเสนอของผู้รับจ้ำงที่จ ำเป็นต้องปรับปรุงกับแผนงำนตำมข้อย่อย 8.3 (Programme) และ

ระยะเวลำที่แล้วเสร็จ และ

(ค) หำกข้อเสนอของผู้รับจ้ำงต้องท ำตรวจวิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงรำคำสัญญำนั้น

ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องกระท ำโดยเร็วที่สุด ภำยหลังได้รับข้อเสนอของผู้รับจ้ำงตำมข้อย่อย 13.2 (Value

Engineering) หรืออย่ำงอื่นเพื่อกำรพิจำรณำอนุมัติหรือไม่อนุมัติหรือให้ข้อคิดเห็น ผู้รับจ้ำงต้องไม่

ชักช้ำในกำรท ำงำนใด ๆ ในระหว่ำงรอกำรพิจำรณำ

ทุกค ำสั่งในกำรเปลี่ยนแปลงที่มีค่ำใช้จ่ำย จะต้องเป็นค ำสั่งจำกผู้ว่ำจ้ำงที่ออกให้แก่ผู้รับจ้ำงและผู้รับ

จ้ำงต้องออกใบเสร็จให้

เมื่อได้รับค ำแนะน ำหรืออนุมัติกำรเปลี่ยนแปลง ผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5

(Determinations) เพื่อตกลงหรือก ำหนดกำรปรับรำคำสัญญำและก ำหนดกำรช ำระเงิน กำรปรับ

ค่ำใช้จ่ำยเหล่ำนี้จะรวมถึงผลก ำไรที่สมเหตุสมผล และจะต้องค ำนึงถึงกำรส่งของผู้รับจ้ำงตำมข้อย่อย

13.2 (Value Engineering)

13.4 ค่าจ้างตามสกุลเงินที่ก าหนด (Payment in Applicable Currencies)

ถ้ำผู้รับจ้ำงขอเบิกค่ำจ้ำงมำกกว่ำหนึ่งสกุลเงิน เมื่อทั้งสองฝ่ำยได้ปรับจ ำนวนเงินตำมที่ตกลง ตำมที่

ได้พิจำรณำและอนุมัติเห็นชอบแล้วตำมจ ำนวนเงินและตำมแต่ละรำยกำรจ่ำยของสกุลเงินแล้ว ตำม

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-183 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

วัตถุประสงค์ กำรอ้ำงอิงต้องเป็นไปตำมจริงและตำมที่คำดหมำยไว้ตำมสัดส่วนของงำนและมูลค่ำ

งำน

13.5 เงินส ารองเผื่อจ่าย (Provisional Sum)

เงินส ำรองเผื่อจ่ำยแต่ละรำยกำร จะใช้ได้ทั้งหมดหรือบำงส่วนนั้นต้องเป็นไปตำมค ำสั่งของ ผู้ว่ำจ้ำง

และรำคำงำนตำมสัญญำจะต้องถูกปรับตำมนั้น จ ำนวนทั้งหมดที่จ่ำยให้ผู้รับจ้ำงจะรวมจ ำนวนเงิน

นั้นเท่ำนั้นเพื่องำน วัสดุ หรือค่ำบริกำรที่เกี่ยวข้อง เงินส ำรองเผื่อจ่ำย ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงสั่งกำร เงิน

ส ำรองเผื่อจ่ำยแต่ละรำยกำร ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีค ำสั่งดังนี้

(ก) งำนที่จะด ำเนินกำร (รวมอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต วัสดุและบริกำร) โดยผู้รับจ้ำงและคิด

รำคำตำมข้อย่อย 13.3 (Variation Procedure) และหรือ

(ข) อุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต วัสดุ หรือบริกำรที่ผู้รับจ้ำงจัดซื้อจำกผู้รับจ้ำงช่วงที่ก ำหนด

ตำมข้อ 5 (Nominated Subcontractors) หรือมิฉะนั้นจะรวมอยู่ในรำคำงำน (ค่ำจ้ำง) ในสัญญำ

(i) ตำมจ ำนวนที่จ่ำยจริง (หรือที่ค้ำงจ่ำย) โดยผู้รับจ้ำง และ

(ii) ค่ำด ำเนินกำรและก ำไรโดยค ำนวนตำมร้อยละของจ ำนวนจ่ำยจริงตำมจ ำนวนที่ก ำหนดไว้ (ถ้ำมี)

ในรำยกำรหนึ่งรำยกำรใด หำกไม่มีก ำหนดไว้ให้ใช้อัตรำร้อยละตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ

13.6 ค่างานรายวัน (Day Work)

ส ำหรับงำนเล็กหรืองำนปกติวิสัย ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะสั่งให้ท ำงำนที่มีกำรเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลำท ำงำน

ของวันท ำงำนปกติ ฉะนั้นผู้รับจ้ำงจะคิดค่ำจ้ำงงำนในอัตรำท ำงำนปกติ วิธีกำรต่อไปนี้จะน ำมำใช้ใน

รำยกำรแผนงำนรำยวันตำมสัญญำ หัวข้อย่อย 13.6 นี้จะไม่น ำมำใช้

ก่อนที่จะมีกำรสั่งซื้อสินค้ำเพื่องำนนั้น ๆ ผู้รับจ้ำงต้องแสดงใบเสนอรำคำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง เมื่อผู้รับจ้ำง

เสนอเบิกค่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องแนบใบแจ้งหนี้ กำรซื้อ รำยกำรซื้อ บัญชีรำยกำรและใบเสร็จสินค้ำ

เว้นแต่ส ำหรับหัวข้องำนในแผนงำนรำยวันนั้นไม่มีจ่ำย ผู้รับจ้ำงต้องจัดส่งรำยกำรพร้อมใบส ำเนำ

ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงทุกวันซึ่งต้องรวมท้งรำยละเอียดในกำรใช้ทรัพยำกรทั้งปวง ซึ่งไม่รวมกับกำรใช้

ทรัพยำกรของวันอื่น ๆ โดยระบุ

(ก) ชื่อ ต ำแหน่ง และจ ำนวนชั่วโมงท ำงำนของบุคลำกรของผู้รับจ้ำง

(ข) ชื่อเครื่องมือ ประเภทเครื่องมือ และจ ำนวนชั่วโมงท ำงำนของเครื่องมือของผู้รับจ้ำง

(ค) ปริมำณ/จ ำนวน และประเภทอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิตและวัสดุที่ผู้รับจ้ำงใช้

ส ำเนำของแต่ละรำยกำรที่มีควำมถูกต้องและได้รับควำมเห็นชอบกันแล้ว ผู้ว่ำจ้ำงต้องลงนำมและ

ส่งคืนให้ผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงจึงยื่นใบรำยกำรรำคำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ก่อนที่ผู้รับจ้ำงยื่นเสนอรำยกำรใหม่

ภำยใต้หัวข้อย่อย 14.3 (Application for Interim Payment Certificate)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-184 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

13.7 การปรับปรุงแก้ไขเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงตามกฎหมาย (Adjustments for Changes in

Legislation)

รำคำงำน (ค่ำจ้ำง) ตำมสัญญำจะถูกพิจำรณำปรับขึ้นหรือปรับลดตำมผลแห่งกำรเปลี่ยนแปลง

กฎหมำยใหม่ของประเทศนั้น ๆ (รวมถึงกำรเปลี่ยนกฎหมำยใหม่ และกำรยกเลิก หรือกำรแก้ไข

กฎหมำยที่มีอยู่) หรือกำรตีควำมของรัฐบำล กำรปรับปรุงแก้ไขสัญญำให้เป็นไปตำมวันที่มีผลตำม

กฎหมำยบังคับ ซึ่งสงผลกระทบตอผูรับเหมำในกำรปฏิบัติตำมขอผูกพันภำยใตสัญญำ

หำกผู้รับจ้ำงต้องรับภำระ (หรือจะต้องรับภำระ) และ/หรือต้องเสียค่ำใช้จ่ำยเพิ่มเติม (หรือจะ

เพิ่มขึ้น) เนื่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงในเรื่องกฎหมำยหรือในกำรตีควำมดังกล่ำว ซึ่งท ำขึ้นหลังจำกวัน

ฐำน ผู้รับจ้ำงจะแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบ และจะได้รับสิทธิภำยใต้ข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claim)

เพื่อ:

(ก) กำรขยำยระยะเวลำกำรล่ำช้ำดังกล่ำว หำกเสร็จสิ้นหรือจะล่ำช้ำภำยใต้หัวข้อย่อยที่ 8.4

(Extension of Time for Completion) และ

(ข) กำรช ำระเงินค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำว ซึ่งจะรวมอยู่ในรำคำตำมสัญญำ

หลังจำกได้รับหนังสือแจ้งนี้ ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อตก

ลงหรือก ำหนดเรื่องเหล่ำนี้

13.8 การปรับราคา (Adjustments for Changes in Cost)

หำกรำคำสัญญำมีกำรปรับเพิ่มขึ้นหรือลดลงในต้นทุนแรงงำนสินค้ำและปัจจัยกำรผลิตอื่น ๆ กำร

ปรับค่ำทดแทนให้ค ำนวณตำมข้อก ำหนดในเงื่อนไขเฉพำะ

14. ค่าจ้างตามสัญญาและการจ่ายเงิน (Contract Price and Payment)

14.1 ค่าจ้างตามสัญญา (The Contract Price)

เว้นแต่ได้ระบุในเงื่อนไขพิเศษ

(ก) กำรจ่ำยเงินส ำหรับงำนก่อสร้ำงจะจ่ำยบนพื้นฐำนรำคำเหมำรวม โดยอำจมีกำรปรับรำคำตำมที่

ระบุในสัญญำ และ

(ข) ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยภำษีทั้งปวง ค่ำธรรมเนียม ภำษีสรรพสำมิต ตำมที่สัญญำระบุไว้ และค่ำจ้ำง

ตำมสัญญำจะถูกปรับเพิ่มลดตำมค่ำภำษีไม่ได้ เว้นแต่ที่ระบุไว้ในข้อย่อย 13.7 (Adjustments for

Change in Ligislation)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-185 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

14.2 เงินล่วงหน้า (Advance Payment)

ผู้ว่ำจ้ำงจะมีกำรจ่ำยเงินล่วงหน้ำเสมือนหนึ่งเป็นเงินกู้ ไม่มีดอกเบี้ย ส ำหรับกำรเตรียมงำน และ

ออกแบบให้แก่ผู้รับจ้ำง โดยผู้รับจ้ำงต้องวำงหลักค ้ำประกันกำรจ่ำยเงินล่วงหน้ำ ตำมที่ระบุใน

เงื่อนไขเฉพำะ หำกมิได้ระบุให้ด ำเนินกำรตำมนี้:

(ก) จ ำนวนเงินที่ช ำระล่วงหน้ำ ตำมข้อย่อยนี้ ไม่มีผลใช้บังคับ

(ข) จ ำนวนและระยะเวลำผ่อนช ำระ ให้มีเพียงอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเท่ำนั้น

(ค) สกุลเงินและสัดส่วนที่ใช้บังคับให้เป็นรำคำที่ต้องช ำระ และ/หรือ

(ง) อัตรำกำรหักส ำหรับกำรช ำระคืนให้ค ำนวณโดยกำรหำรยอดรวมของกำรช ำระเงินล่วงหน้ำตำม

รำคำตำมสัญญำที่ระบุไว้ในสัญญำลงหักด้วยยอดเงินส ำรองเผื่อจ่ำย

ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องจ่ำยเงินงวดแรกหลังจำกได้รับ (i) Statement (ภำยใต้ ข้อย่อย 14.3 (Application

for Interim Payments)) (ii) Performance Security ตำมข้อย่อย 4.2 (Performance Security)

และ (iii) กำรรับประกันในจ ำนวนและสกุลเงินเท่ำกับกำรช ำระเงินล่วงหน้ำ กำรรับประกันนี้จะออก

โดยนิติบุคคลและจำกภำยในประเทศ (หรือเขตอ ำนำจศำลอื่น ๆ ) ที่ได้รับอนุมัติโดยผู้ว่ำจ้ำง และ

จะต้องอยู่ในรูปแบบที่แนบมำกับเงื่อนไขเฉพำะหรือในรูปแบบอื่นที่ได้รับกำรอนุมัติจำกผู้ว่ำจ้ำง เว้น

แต่และจนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับกำรรับประกันนี้โดยข้อย่อยนี้ไม่มีผลใช้บังคับ

ผู้รับจ้ำงต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ำกำรรับประกันเป็นไปอย่ำงถูกต้องและสำมำรถบังคับใช้ได้จนกว่ำ

จะได้รับกำรช ำระเงินล่วงหน้ำ แต่จ ำนวนเงินที่ได้รับอำจจะลดลงตำมปริมำณที่ผู้รับจ้ำงต้องชดใช้

หำกเงื่อนไขของกำรรับประกันระบุวันหมดอำยุและกำรช ำระเงินล่วงหน้ำยังไม่ได้รับกำรช ำระคืน

ภำยใน 28 วันก่อนวันหมดอำยุ ผู้รับจ้ำงต้องต่ออำยุของกำรค ้ำประกันให้ถูกต้องจนกว่ำจะช ำระเงิน

ล่วงหน้ำ

กำรช ำระเงินล่วงหน้ำจะช ำระคืนผ่ำนกำรหักเงินตำมสัดส่วนในกำรช ำระเงินงวด (หรือหำกไม่ได้ระบุ

ไว้ตำมที่ระบุไว้ในข้อย่อย (ง) ข้ำงต้น) ซึ่งจะใช้กับยอดเงินที่ครบก ำหนด (ไม่รวมกำรช ำระเงิน

ล่วงหน้ำและกำรหักเงินและ กำรช ำระคืนเงินคงค้ำง) จนกว่ำจะถึงเวลำช ำระเงินล่วงหน้ำ

หำกกำรช ำระเงินล่วงหน้ำยังไม่ได้รับช ำระก่อนที่จะมีกำรออกใบรับรองกำรครอบครองงำนหรือ

ก่อนที่จะเลิกจ้ำงตำมข้อ 15 (Terminate by Employer) ข้อ 16 (Suspension and Termination

by Contractor) หรือข้อ 19 (Force Majeure) (แล้วแต่กรณี) ทั้งยอดคงค้ำงที่ค้ำงช ำระจะต้องครบ

ก ำหนดและเจ้ำหนี้จะต้องจ่ำยให้กับผู้ว่ำจ้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-186 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

14.3 การออกหนังสือรับรองการจ่ายงวดค่าจ้าง ( Application for Interim Payment

Certificates)

ผู้รับจ้ำงต้องจัดส่งรำยงำนทุกเดือนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมแบบฟอร์มที่ก ำหนดให้ในรำยงำน โดยแสดง

รำยละเอียดจ ำนวนเงินค่ำจ้ำงที่ผู้รับจ้ำงคำดว่ำจะได้รับจ่ำยพร้อมกับเอกสำรประกอบกำรขอ

เบิกจ่ำย เช่น รำยงำนควำมก้ำวหน้ำรำยเดือนตำมข้อย่อย 4.21 (Progress Reports)

รำยงำนขอเบิกจ่ำยต้องประกอบด้วยรำยกำรดังนี้ พร้อมด้วยรำยละเอียดแสดงรำยกำรกำรจ่ำยเงิน

เป็น สกุลเงินต่ำง ๆ ในสัญญำ ตำมล ำดับดังนี้

(ก) กำรประมำณกำร ค่ำจ้ำงตำมสัญญำ ซึ่งได้ด ำเนินกำรแล้วตำมเอกสำร ณ สิ้นเดือนของ ผู้รับจ้ำง

(รวมทั้งงำนที่มีกำรเปลี่ยนแปลง) ตำมข้อ (ข) (ค)…. (ช) ข้ำงล่ำงนี้

(ข) จ ำนวนเงินเพิ่มหรือเงินลดตำมเงื่อนไขกำรเปลี่ยนแปลงตำมกฎหมำยและกำรปรับรำคำค่ำใช้จ่ำย

ตำมข้อย่อย 13.7 (Adjustments for Changes in Legislation) และข้อย่อย 13.8 (Adjustments

for Changes in Cost)

(ค) จ ำนวนเงินหัก ณ ที่จ่ำยตำมที่ก ำหนดในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ จนกว่ำจะ

ครบจ ำนวนหัก ณ ที่จ่ำย

(ง) จ ำนวนเงินเพิ่มและหรือเงินลดของเงินล่วงหน้ำหรือเงินกำรจ่ำยคืนตำมข้อย่อย 14.2

(Advanced Payment)

(จ) จ ำนวนเงินเพิ่มและหรือลดส ำหรับอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิตและวัสดุตำมข้อย่อย14.5

(Plant and Materials Intended for Works)

(ฉ) จ ำนวนเงินเพิ่มและเงินลดอื่น ๆ ซึ่งอำจครบงวดกำรจ่ำยตำมสัญญำหรืออื่น ๆ ในข้อ 20

(Claims, Disputes and Arbitration) และ

(ช) จ ำนวนเงินลดที่ก ำหนดไว้ในหนังสือรับรองผลงำนที่ผ่ำนมำ

14.4 ตารางแผนการจ่ายเงิน (Schedule of Payments)

หำกในสัญญำมีตำรำงแผนกำรจ่ำยเงินระบุงวดที่จะมีกำรจ่ำยเงินไว้ เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นใน

ตำรำงนี้:

(ก) งวดในตำรำงกำรช ำระเงินจะ เป็นค่ำประมำณกำรของสัญญำ ตำมวัตถุประสงค์ของวรรค (ก) ของ

ข้อย่อย 14.3 (Application for Interim Payments) ภำยใต้ข้อย่อย 14.5 (Plant and Materials

intend for the Works) และ

(ข) หำกงำนนั้นยังล่ำช้ำกว่ำแผนงำนจริงของกำรจ่ำยเงินงวด ฉะนั้น ผู้ว่ำจ้ำงต้องพิจำรณำตำมข้อ

ย่อย 3.5 (Determinations) ในกำรปรับแก้กำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำงให้สอดคล้องกับควำมก้ำวหน้ำจริง

ของงำนนั้น

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-187 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

หำกสัญญำไม่ได้รวมตำรำงแผนกำรจ่ำยเงินไว้ ให้ผู้รับจ้ำงแนบรำยกำรกำรประมำณกำรค่ำจ้ำงที่ต้อง

จ่ำยทุก ๆ 4 เดือน โดยต้องยื่นเสนอภำยในเวลำ 42 วันนับแต่วันที่เริ่มงำน ประมำณกำรค่ำจ้ำงที่ได้

ปรับแก้แล้วจะต้องส่งทุก 4 เดือน จนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงออกใบรับรองผลงำนให้

14.5 อุปกรณ์โรงงาน/โรงผลิตและวัสดุเพื่อการท างาน (Plant and Material Intended for the

Works)

หำกผู้รับจ้ำงได้รับสิทธิตำมสัญญำในกำรช ำระเงินระหว่ำงกำลส ำหรับโรงงำน/โรงผลิต และวัสดุซึ่งยัง

ไม่ได้น ำเข้ำในสถำนที่ก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงจะยังคงไม่มีสิทธิ์ได้รับเงินดังกล่ำวเว้นแต่ว่ำ:

(ก) โรงงำน/โรงผลิต และวัสดุที่เกี่ยวข้องอยู่ในประเทศและได้รับกำรท ำเครื่องหมำยว่ำเป็นทรัพย์สิน

ของผู้ว่ำจ้ำงตำมค ำสั่งของนำยจ้ำง หรือ

(ข) ผู้รับจ้ำงได้จัดส่งหลักฐำนกำรประกันและกำรรับประกันธนำคำรในรูปแบบและออกโดยธนำคำร

ที่ได้รับอนุมัติโดยผู้ว่ำจ้ำง ในจ ำนวนและสกุลเงินเท่ำกับกำรช ำระเงินดังกล่ำว กำรรับประกันนี้อำจ

อยู่ในรูปแบบเดียวกันกับแบบฟอร์มที่อ้ำงถึงในข้อย่อย 14.2 (Advance Payment) และจะมีผล

จนกว่ำโรงงำน/โรงผลิต และวัสดุจะได้รับกำรจัดเก็บอย่ำงถูกต้องในสถำนที่ก่อสร้ำง และป้องกันกำร

สูญเสียควำมเสียหำยหรือกำรเสื่อมสภำพ

14.6 หนังสือรับรองการจ่ายงวดค่าจ้าง (Issue of Interim Payment Certificates)

ผู้ว่ำจ้ำงจะไม่จ่ำยเงินค่ำจ้ำงใด ๆ หำกยังไม่ได้รับหลักประกันสัญญำจำกผู้รับจ้ำง ดังนั้น ภำยใน 28

วันเมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับใบแจ้งหนี้พร้อมเอกสำรประกอบเพื่อขอเบิกจ่ำยงวดก่อสร้ำงจำกผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำ

จ้ำงจะพิจำรณำวินิจฉัยอย่ำงเป็นธรรมจำกเอกสำรต่ำง ๆ ที่รับจำก ผู้รับจ้ำง

อย่ำงไรก็ดี ก่อนหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะหักเงิน ณ ที่จ่ำย ตำมที่ก ำหนดไว้ ใน

เอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ผู้ว่ำจ้ำงจะบอกกล่ำวให้ผู้รับจ้ำงทรำบ

กำรออกหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง จะไม่มีกำรหน่วงเหนี่ยวไว้ด้วยเหตุผล หรือแม้แต่ในเรื่อง

ดังนี้

(ก) หำกพัสดุใด ๆ หรืองำนใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงท ำไม่เป็นไปตำมสัญญำ ค่ำใช้จ่ำยใดซึ่งเกิดจำกกำร

ปรับแก้หรือมีกำรเปลี่ยนใหม่ อำจจะเก็บรั้งไว้จนกว่ำ งำนที่มีกำรปรับแก้หรือมีกำรเปลี่ยนใหม่ได้

ด ำเนินกำรเป็นที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว

(ข) หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องในกำรก่อสร้ำงหรือท ำงำนผิดจำกสัญญำจ้ำงและได้รับกำรแจ้งจำก ผู้ว่ำ

จ้ำงแล้ว เงินส่วนนี้ก็จะถูกยับยั้งไว้ จนกว่ำผู้รับจ้ำงได้ปรับแก้ไขเป้นที่เรียบร้อยแล้ว

ผู้ว่ำจ้ำงอำจสั่งให้ท ำกำรแก้ไขหรือปรับปรุงงำนใด ๆ ที่ได้ออกหนังสือรับรองผลงำนแล้วในงวด

ก่อน ๆ มิได้หมำยควำมว่ำ ผู้ว่ำจ้ำงยอมรับ อนุมัติ และพอใจกับผลงำน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-188 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

14.7 การจ่ายค่าจ้าง (Payment)

เว้นแต่จะระบุเป็นอย่ำงอื่น ในข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ผู้ว่ำจ้ำงจะจ่ำยค่ำจ้ำงให้แก่ผู้รับ

จ้ำงดังนี้

(ก) เงินงวดแรกเป็นเงินล่วงหน้ำต้องจ่ำยภำยใน 42 วั น หลังจำกได้ออกหนังสือตอบรับกำรว่ำจ้ำง

หรือภำยใน 21 วัน ภำยหลังได้รับหนังสือตำมข้อย่อย 4.2 (Performance Security) และข้อย่อย

14.2 (Advance Payment) ทั้งนี้แล้วแต่ฉบับใดออกให้ล่ำสุด

(ข) หนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำงภำยใน 56 วัน หลังจำกผู้ว่ำจ้ำงได้รับรำยงำนและหลักฐำน

รำยกำรเบิกจ่ำย

(ค) หนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดก่อสร้ำงสุดท้ำยภำยใน 42 วัน ภำยหลังผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือรับรอง

กำรจ่ำยเงิน ตำมข้อย่อย 14.11 (Application for Final Payment) และ 14.12 (Discharge)

กำรจ่ำยเงินแต่ละสกุลเงิน เมื่อครบก ำหนดให้จ่ำยผ่ำนบัญชีธนำคำรที่ก ำหนดโดยผู้รับจ้ำง ตำมที่ระบุ

ไว้ในสัญญำ

14.8 การจ่ายเงินล่าช้า (Delayed Payment)

หำกผู้รับจ้ำงไม่ได้รับค่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 14.7 (Timing of Payments) ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ได้รับดอกเบี้ย

ของจ ำนวนเงินค้ำงจ่ำยเป็นรำยเดือน ตำมจ ำนวนที่ยังไม่ได้ช ำระในช่วงเวลำที่ล่ำช้ำ

เว้นแต่จะได้ก ำหนดไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ ให้ก ำหนดอัตรำดอกเบี้ยต่อปีบวก 3% ของอัตรำดอกเบี้ย

ธนำคำรกลำงของประเทศนั้น

ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ได้รับค่ำจ้ำงจ ำนวนนี้โดยไม่ต้องแจ้งหนังสือเป็นทำงกำรหรือไม่มีผลกระทบต่อสิทธิ์ใด

14.9 การหักเงินจากเงินค่าจ้าง (Payment of Retention Money)

เมื่อมีกำรออกใบรับรองกำรรับมอบงำนและงำนได้ผ่ำนกำรทดสอบตำมที่ระบุไว้ทั้งหมด (รวมถึงกำร

ทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จแล้ว ถ้ำมี) ครึ่งแรกของเงินที่หักจะต้องจ่ำยให้ผู้รับจ้ำง หำกมีกำรออก

ใบรับรองกำรรับมอบส ำหรับครึ่งแรกของเงินที่เรียกเก็บจะจ่ำยเมื่อส่วนของงำนผ่ำนกำรทดสอบ

ทั้งหมด

ทันทีที่หมดอำยุกำรค ้ำประกันข้อบกพร่องผลงำน กำรหักเงินส่วนที่เหลือต้องได้รับกำรรับรองจำกผู้

ว่ำจ้ำงเพื่อจ่ำยให้แก่ผู้รับจ้ำง หำกมีกำรออกหนังสือรับรอง กำรส่งมอบงำนส ำหรับงำนส่วนนั้น กำร

หักเงินส่วนครึ่งหลังจะต้องมีกำรออกหนังสือรับรองและจ่ำยคืนให้ผู้รับจ้ำงทันทีเมื่อวันที่สิ้นสุดอำยุ

กำรค ้ำประกันข้อบกพร่องผลงำนส่วนนั้น

อย่ำงไรก็ดี งำนที่ต้องท ำต่อตำมข้อ 11 (Deflect Liability) หรือ ข้อ 12 (Tests after Completion

) ผู้ว่ำจ้ำงต้องเก็บหนังสือกำรรับมอบจนกว่ำงำนนั้นได้รับกำรแก้ไขเป็นที่เรียบร้อย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-189 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ร้อยละที่เกี่ยวข้องส ำหรับแต่ละส่วนเป็นร้อยละของส่วนที่ระบุไว้ในสัญญำ หำกไม่ได้ระบุมูลค่ำร้อย

ละของสัญญำไว้ จะไม่มีกำรจ่ำยครึ่งหนึ่งของเงินที่หักไว้ภำยใต้หัวข้อย่อยนี้ส ำหรับงำนในส่วน

ดังกล่ำว

14.10 รายงานเมื่องานแล้วเสร็จ (Statement at Completion)

ภำยใน 84 วัน ภำยหลังได้รับรองหนังสือกำรส่งมอบงำน ผู้รับจ้ำงต้องส่งรำยงำนกำรแล้วเสร็จของ

งำนจ ำนวน 6 ชุด ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ตำมข้อย่อย 14. 3 (Application for Interim Payment

Certificates) เพื่อแสดงว่ำ

(ก) มูลค่ำงำนทั้งหมดตำมสัญญำจนถึงวันที่รับรองส่งมอบงำน

(ข) จ ำนวนเงินที่ค้ำงจ่ำยที่ผู้รับจ้ำงสมควรจะได้รับ

(ค) ประมำณกำรจ ำนวนเงินค้ำงจ่ำยที่ผู้รับจ้ำงจะได้รับต่อไปตำมสัญญำจ้ำง

ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งแก่ผู้รับจ้ำงตำมข้อย่อย 14.6 (Issue of Interim Payment Certificates) และ

จ่ำยเงินตำมข้อย่อย 14.7 (Timing of Payments)

14.11 การออกหนังสือการจ่ายเงินงวดสุดท้าย (Application for Final Payment Certificate)

ภำยใน 56 วัน ภำยหลังได้รับหนังสือรับรองกำรปฏิบัติงำน ผู้รับจ้ำงต้องส่งรำยงำนฉบับสุดท้ำย

พร้อมด้วยเอกสำร จ ำนวน 6 ชุดแสดงรำยละเอียดให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำอนุมัติ

(ก) จ ำนวนเงินค่ำจ้ำงของงำนทั้งหมดตำมสัญญำ และ

(ข) จ ำนวนเงินรวมซึ่งผู้รับจ้ำงสมควรได้รับอีกภำยใต้สัญญำ

หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่เห็นชอบหรือไม่สำมำรถปรับแก้ส่วนหนึ่งส่วนใดของรำยงำน ผู้รับจ้ำงจะต้องส่งข้อมูล

เพิ่มเติมให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำเปลี่ยนแก้ในร่ำงรำยงำน ซึ่งจะต้องเห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ำย ดังนั้น ผู้รับจ้ำงจะ

ปรับแก้รำยงำนที่ได้ตกลงเห็นชอบตำมเงื่อนไขสัญญำ เรื่อง รำยงำนสุดท้ำย (Final Statement)

อย่ำงไรก็ดี ในกำรหำรือระหว่ำงผู้ว่ำจ้ำงและผู้รับจ้ำง กำรปรับแก้ร่ำงรำยงำนตำมที่ตกลงกันแล้ว

หำกเกิดข้อโต้แย้ง ผู้ว่ำจ้ำงจะส่งส ำน ำรำยงำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง (อีกส ำเนำให้ผู้รับจ้ำง) ค่ำจ้ำงงวดที่มี

กำรรับรองแล้วในรำยงำน หำกภำยหลังข้อโต้แย้งนั้นมีข้อยุติตำมข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute

Adjudication Board’s Decision) หรือข้อย่อย 20.5 (Amicable Settlement) ดังนั้นผู้รับจ้ำงจะ

จัดท ำใหม่แล้วส่งมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง (และส ำเนำส่งผู้ว่ำจ้ำง) เป็นรำยงำนฉบับสุดท้ำย

14.12 การปฏิบัติตามสัญญา (Discharge)

เมื่อส่งรำยงำนฉบับสุดท้ำย ผู้รับจ้ำงจะส่งหนังสือแจ้งกำรปฏิบัติงำนเพื่อยืนยันว่ำในรำยงำนฉบับ

สุดท้ำย มีควำมถูกต้องครบสมบูรณ์ของจ ำนวนเงิน ทั้งยังค้ำงจ่ำยต่อผู้รับจ้ำง ภำยใต้หรือมีส่วน

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-190 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

เกี่ยวข้องกับสัญญำจ้ำง หนังสือแจ้งกำรปฏิบัติงำนอำจระบุว่ำมีผลบังคับใช้เมื่อผู้รับจ้ำงได้

หลักประกันผลกำรปฏิบัติงำนและเงินค่ำจ้ำงค้ำงจ่ำย

14.13 การช าระเงินงวดสุดท้าย (Final Payment)

ตำมข้อย่อย (ค) ของข้อย่อย 14.7 (Timing of Payments) ผู้ว่ำจ้ำงจะจ่ำยเงินให้ผู้รับจ้ำงตำม

จ ำนวนที่ครบก ำหนดช ำระหักล้ำงจ ำนวนเงินที่ผู้ว่ำจ้ำงจ่ำยให้ก่อนหน้ำนี้ และกำรหักเงินใด ๆ ตำม

ข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims)

14.14 การสิ้นสุดภาระความรับผิดของผู้ว่าจ้าง (Cessation of Employer’s Liability)

ผู้ว่ำจ้ำงไม่ต้องรับผิดต่อผู้รับจ้ำงเรื่องใด ๆ หรือสิ่งใด ๆ หรือเกี่ยวข้องกับสัญญำหรือท ำงำน เว้นแต่

ผู้รับจ้ำงได้ระบุไว้

(ก) ในรำยงำนฉบับสุดท้ำย

(ข) เว้นแต่เรื่องหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภำยหลังได้ออกหนังสือรับมอบผลงำนตำมที่ระบุในรำยงำนตำมข้อ

ย่อย 14.10 (Statement at Completion)

อย่ำงไรก็ดีหัวข้อย่อย 14.4 นี้ไม่จ ำกัดควำมรับผิดของผู้ว่ำจ้ำง ทำงกฎหมำย กำรฉ้อโกง ขำดควำม

รอบคอบ ประมำท ท ำผิดจริยธรรมของผู้ว่ำจ้ำง

14.15 สกุลเงินค่าจ้าง (Currencies of Payment)

ค่ำจ้ำงตำมสัญญำจ้ำงจะจ่ำยด้วยสกุลเงินค่ำจ้ำงตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำร

ประกวดรำคำ เว้นแต่ระบุในเงื่อนไขเฉพำะ หำกมีกำรจ่ำยค่ำจ้ำงมำกกว่ำหนึ่งสกุลเงินให้ด ำเนินกำร

ดังต่อไปนี้

(ก) หำกสัญญำระบุให้จ่ำยค่ำจ้ำงสกุลเงินของท้องถิ่นเท่ำนั้น

(i) สัดส่วนของสกุลท้องถิ่นกับสกุลเงินต่ำงประเทศ และกำรใช้อัตรำแลกเปลี่ยนคงที่ ซึ่งจะต้อง

ระบุ ไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ หรืออย่ำงอื่นตำมที่เห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ำย

(ii) ค่ำจ้ำงและกำรหักลดตำมข้อย่อย 13.5 (Provisional Sums) และข้อย่อย 13.7 (Adjustments

for Changes in Legislation) ควรกระท ำบนสกุลเงินที่เหมำะสมและสัดส่วนที่เหมำะสม

(iii) ค่ำจ้ำงอื่นและกำรหักลดอื่นตำมวรรคย่อย (ก) (ข) (ค) (ง) ของข้อย่อย 14.3 (Application for

Final Payment Certificates) จะต้องปฏิบัติตำมสกุลเงินและสัดส่วนตำมวรรคย่อย (ก) (i) ข้ำงต้น

(ข) ค่ำควำมเสียหำยที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ จะต้องกระท ำตำมสกุล

เงินและสัดส่วนของสกุลเงิน ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ

(ค) ค่ำอื่น ๆ ที่ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยให้ผู้ว่ำจ้ำง จะต้องจ่ำยตำมสกุลเงินที่ผู้ว่ำจ้ำงได้จ่ำย ทั้ง 2 ฝ่ำย

สำมำรถจ่ำยค่ำหนี้ตำมสกุลเงินที่ได้ตกลงกันไว้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-191 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ง) เมื่อผู้รับจ้ำงจ่ำยหนี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมสกุลเงินเฉพำะเกินกว่ำจ ำนวนที่ผู้ว่ำจ้ำงจ่ำยให้ผู้รับจ้ำง

ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะจ่ำยส่วนต่ำงหนี้ให้แก่ผู้รับจ้ำงในสกุลเงินอื่นได้

(จ) หำกไม่มีกำรก ำหนดอัตรำแลกเปลี่ยนในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำให้คู่สัญญำใช้

อัตรำแลกเปลี่ยนของธนำคำรกลำงที่ได้ก ำหนดไว้

15. ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา (Termination by Employer)

15.1 การแจ้งให้แก้ไข (Notice to Correct)

หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องไม่ปฏิบัติตำมพันธะสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีบันทึกบอกกล่ำวให้ผู้รับจ้ำงท ำกำร

แก้ไขให้ถูกต้องตำมสัญญำภำยในก ำหนดเวลำที่เหมำะสม

15.2 ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา (Termination by Employer)

ผู้ว่ำจ้ำงสำมำรถบอกเลิกสัญญำเมื่อผู้รับจ้ำง

(ก) ผู้รับจ้ำงไม่ปฏิบัติตำม ข้อย่อย 4.2 (Performance Security) หรือภำยใต้ข้อย่อย 15.1 (Notice

to Correct)

(ข) ละทิ้งงำนก่อสร้ำงหรือแสดงออกว่ำไม่ตั้งใจจะท ำงำนต่อตำมพันธะหน้ำที่ตำมสัญญำ

(ค) ปรำศจำกเหตุผลในกำรไม่ปฏิบัติตำม

(i) ไม่ด ำเนินงำนตำมข้อ 8 (Commencement, Delays and Suspension)

(ii) ไม่ท ำตำมค ำสั่งตำมข้อย่อย 7.5 (Rejection) หรือข้อย่อย 7.6 (Remedial Work) ภำยใน 28

วัน เมื่อได้รับค ำสั่งนั้น

(ง) ให้งำนต่อผู้รับจ้ำงช่วงทั้งหมด หรือมอบหมำยงำนในสัญญำโดยไม่มีข้อตกลงจ้ำงตำมข้อก ำหนด

(จ) เริ่มจะเป็นผู้ล้มละลำยหรือเป็นผู้ล้มละลำยหรือเลิกกิจกำร

ได้รับเอกสำรหรือรับค ำสั่งทำงรำชกำรร่วมกับผู้ให้สนับสนุนทำงกำรเงินหรือถูกผู้รับช่วงกิจกำรต่อ

คณะกรรมกำรบริษัทหรือผู้จัดกำรบริษัทเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้สนับสนุนกรเงิน หรือกำรกระท ำใด ๆ

หรือมีเหตุเกิด (ตำมกฎหมำยที่ใช้บังคับ) ซึ่งมีผลกระทบคล้ำยคลึงกันต่อเหตุข้ำงต้น หรือ

(ฉ) ให้หรือเสนอจะให้ (ทำงตรงหรือทำงอ้อม) สินบน ของขวัญ เงินรำงวัล ค่ำป่วยกำร ส่วนต่ำงหรือ

สิ่งของมีค่ำแก่บุคคลเพื่อเป็นแรงจูงใจเอื้อประโยชน์ให้บุคลำกรของผู้รับจ้ำง ตัวแทนผู้รับจ้ำง ผู้รับ

จ้ำงช่วง ผู้รับจ้ำงให้หรือเสนอจะให้ (ทำงตรงหรือทำงอ้อม)แก่บุคคลใด ๆ ตำมเรื่องดังกล่ำวข้ำงต้น

ของข้อ (ฉ) แต่อย่ำงไรก็ดี กำรจูงใจในกำรกระท ำที่ถูกต้องตำมกฎหมำยของบุคลำกรของผู้รับจ้ำง

ไม่สำมำรถจะเลิกสัญญำจ้ำงได้

เรื่องใด ๆ เหล่ำนี้หรือแรงจูงใด ๆ เหล่ำนี้ ภำยใน 14 วัน ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีหนังสือบอกเลิกสัญญำกับผู้

รับจ้ำงและให้ผู้รับจ้ำงพ้นจำกสถำนที่ก่อสร้ำง แต่อย่ำงไรก็ดีตำมข้อควำมย่อย (จ) หรือ (ฉ) ผู้ว่ำจ้ำง

อำจมีหนังสือบอกเลิกจ้ำงได้ทันที

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-192 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

กำรเลิกสัญญำของผู้ว่ำจ้ำงย่อมไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อสิทธิ์อันชอบของผู้ว่ำจ้ำงภำยใต้สัญญำนี้เว้น

แต่ได้ก ำหนดเป็นอื่น

ดังนั้น ผู้รับจ้ำงต้องพ้นจำกสถำนที่ก่อสร้ำง และต้องส่งมอบพัสดุ เอกสำรต่ำง ๆ และเอกสำร

ออกแบบต่ำง ๆ ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง อย่ำงไรก็ดีผู้รับจ้ำงจะใช้ควำมสำมำรถของตนปฏิบัติตำมค ำสั่งที่มี

เหตุผล ในหนังสือค ำสั่งข้อควำม

(i) ในเรื่องหน้ำที่ขอบเขตงำนของผู้รับจ้ำงช่วงและ

(ii) เพื่อกำรป้องกันชีวิตและทรัพย์สินหรือเพื่อควำมปลอดภัยของงำน

ภำยหลังกำรยกเลิกสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะด ำเนินงำนให้แล้วเสร็จ และ/หรือมอบหมำยให้ผู้อื่น

ด ำเนินกำรแทนดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงและตัวแทนผู้ว่ำจ้ำงเหล่ำนี้อำจจะใช้วัสดุใด ๆ เอกสำรใด ๆและ

เอกสำรงำนออกแบบของผู้รับจ้ำง

ดังนั้น ผู้ว่ำจ้ำงจะมีหนังสือบอกกล่ำวให้ผู้รับจ้ำงขนย้ำยเครื่องมือและสิ่งปลูกสร้ำงชั่วครำวออกจำก

พื้นที่โครงกำร โดยผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบเรื่องควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำย อย่ำงไรก็ดี ณ เวลำนี้หำก

ผู้รับจ้ำงมีหนี้ค้ำงจ่ำยกับผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะขำยทรัพย์สินเหล่ำนี้เพื่อชดเชยจ่ำยหนี้แก่ผู้ว่ำจ้ำง

ส่วนผู้รับจ้ำงยังต้องจ่ำยในส่วนที่ขำด

15.3 การประเมินค่า ณ วันที่บอกเลิกสัญญา (Valuation at Date of Termination)

โดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะกระท ำได้ ภำยหลังมีหนังสือบอกเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 15.2 (Termination

by Employer) มีผลบังคับใช้ ผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อควำม

เห็นชอบหรือพิจำรณำกำรประเมินค่ำงำนก่อสร้ำง พัสดุ และเอกสำรทั้งปวงของผู้รับจ้ำง และหนี้ค้ำง

จ่ำย ผู้รับจ้ำงซึ่งเกิดจำกกำรท ำงำนของผู้รับจ้ำง

15.4 การจ่ายค่าจ้างหลังเลิกสัญญา (Payment After Termination)

ภำยหลังออกหนังสือบอกเลิกสัญญำจ้ำงตำมข้อย่อย 15.2 (Termination by Employer) มีผล

บังคับใช้ ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะ

(ก) ด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims)

(ข) ชลอกำรจ่ำยค่ำจ้ำงครั้งต่อไปจนกว่ำค่ำก่อสร้ำงงำนที่แล้วเสร็จและงำนซ่อมบ ำรุงสิ่งช ำรุด

บกพร่อง ค่ำเสียหำย(ค่ำปรับ) ท ำงำนล่ำช้ำ (ถ้ำมี) และค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ ที่ค้ำงจ่ำยกับผู้ว่ำจ้ำง ซึ่งเกิด

จำกกำรท ำงำนและหรือ

(ค) คิดค่ำสูญหำย หรือค่ำเสียหำยอันเกิดจำกผู้ว่ำจ้ำงพร้อมทั้งค่ำใช้จ่ำยงำนเพิ่มเติมรวมกันเป็นหนี้

แก่ผู้รับจ้ำง ตำมข้อย่อย 15.3 (Valuation at Date of Termination) ผู้ว่ำจ้ำงต้องจ่ำยค่ำจ้ำง

เหล่ำนี้ให้แก่ผู้รับจ้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-193 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

15.5 สิทธิ์ของผู้ว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา (Employer’s Entitlement to Termination)

ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์ที่จะบอกเลิกสัญญำได้ทุกเวลำตำมที่มีควำมเห็นชอบ โดยกำรออกหนังสือบอกเลิก

สัญญำกับผู้รับจ้ำง กำรเลิกสัญญำจะมีผลบังคับใช้ภำยหลัง 28 วัน ซึ่งก ำหนดไว้ในหนังสือบอกเลิก

สัญญำหรือเมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้คืนหลักประกันสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงจะไม่บอกเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 15.5 นี้

เพื่อด ำเนินกำรเอง หรือว่ำจ้ำงผู้รับจ้ำงรำยอื่นเข้ำด ำเนินกำร

ภำยหลังกำรบอกเลิกสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมหัวข้อย่อย 16.3 (Cessation of Work and

Removal of Contractor’s Equipment) และผู้รับจ้ำงจะได้ค่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 19.6 (Optional

Termination Payment and Release)

16. การหยุดงานและการบอกเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Suspension and Termination by

Contractor)

16.1 สิทธิ์การหยุดงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Entitlement to Suspend Work)

ถ้ำผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำม ตำมข้อย่อย 2.4 (Employer’s Financial Arrangement) หรือข้อย่อย

14.7 (Timing for Payment) ผู้รับจ้ำงอำจจะออกหนังสือสั่งหยุดงำนหรือชะลอกำรท ำงำนให้แก่

ผู้ว่ำจ้ำง ไม่น้อยกว่ำ 21 วัน จนกว่ำผู้รับจ้ำงจะได้รับหนังสือรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำงหรือมีเหตุผลอัน

เชื่อได้ตำมหนังสือของผู้รับจ้ำง

กำรกระท ำของผู้รับจ้ำงจะไม่มีผลกระทบต่อสิทธิ์กำรเปลี่ยนแปลงกำรจ่ำย ภำยใต้ย่อย 14.8

(Delayed Payment) และบอกเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 16.2 (Termination by Contractor)

หำกผู้รับจ้ำงภำยหลังได้รับหนังสือกำรรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำง หลักฐำนหรือกำรจ่ำยเงินดังกล่ำว

(ตำมที่ระบุไว้ในหัวข้อย่อยที่เกี่ยวข้องและในค ำบอกกล่ำวข้ำงต้น) ก่อนที่จะได้รับบอกกล่ำวให้เลิก

จ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องกลับเข้ำท ำงำนตำมปกติโดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้

ถ้ำผู้รับจ้ำงได้รับควำมล่ำช้ำและ/หรือต้องเสียค่ำใช้จ่ำยจำกกำรถูกระงับงำนชั่วครำว (หรือลดอัตรำ

กำรท ำงำน) ตำมข้อย่อยนี้ ผู้รับจ้ำงจะออกหนังสือบอกเลิกสัญญำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ซึ่งผู้รับจ้ำงต้อง

ปฏิบัติตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) และ

(ก) กำรขยำยเวลำกำรก่อสร้ำงตำมที่ได้หยุดงำน หำกงำนจะแล้วเสร็จ หรือจะต้องล่ำช้ำออกไปตำม

ข้อย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ

(ข) ค่ำจ้ำงบวกค่ำใช้จ่ำยอื่นซึ่งบวกก ำไร และต้องรวมเป็นรำคำงำนตำมสัญญำ

เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้งดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงต้องด ำเนินกำร ตำมข้อย่อย 3.5 (Determination)

เพื่อให้ข้อยุติหรือพิจำรณำวินิจฉัยในเรื่องเหล่ำนี้

16.2 การยกเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Termination by Contractor)

ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์บอกเลิกสัญญำ ดังนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-194 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ก) ภำยใน 42 วัน ผู้รับจ้ำงไม่ได้รับหนังสือตอบอย่ำงมีเหตุผลล่ำช้ำตำมข้อย่อย 16.1

(Contractor’s Entitlement to Suspend Work) และผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมข้อย่อย 2.4

(Employer’s Financial Arrangement)

(ข) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมภำยในเวลำ 56 วัน หลังจำกได้รับงบแจ้งยอดและเอกสำรประกอบ ในกำร

ออกหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง

(ค) ผู้รับจ้ำงไม่ได้เงินค่ำจ้ำงตำมหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง ภำยใน 42 วัน ภำยหลังวันที่

หมดอำยุตำมที่ระบุตำมข้อย่อย 14.7 (Payment) ซึ่งจะต้องจ่ำยให้แก่ผู้รับจ้ำง (เว้นแต่จะต้องมีกำร

หักลดตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims)

(ง) ผู้ว่ำจ้ำงกระท ำผิดอย่ำงมีนัยยะ ไม่ปฏิบัติตำมนิติพันธะของสัญญำ

(จ) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมข้อย่อย 1.6 (Contract Agreement) หรือข้อย่อย 1.7 (Assignment)

(ฉ) กำรหยุดงำนยืดเยื้อมีผลกระทบต่องำนทั้งหมดตำมข้อย่อย 8.11 (Prolonged Suspension)

หรือ

(ช) ผู้ว่ำจ้ำงเกิดล้มละลำย หรือมีหนี้สินล้นพ้นตัว เข้ำสู่กำรบังคับหนี้ ได้รับค ำสั่งข้อกล่ำวหำทำง

รำชกำรร่วมกับเจ้ำหนี้ หรือถูกยึดกิจกำร คณะกรรมกำรบริษัทหรือผู้จัดกำรบริษัทของเจ้ำหนี้ หรือ

กำรกระท ำใด ๆ หรือเหตุอันเกิดขึ้น (ภำยใต้กฏหมำยบังคับ) ซึ่งมีผลกระทบต่อกำรกระท ำดังกล่ำว

จำกเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ใด ๆ เหล่ำนี้ ภำยใน 14 วัน ผู้รับจ้ำงอำจแจ้งด้วยหนังสือต่อ ผู้ว่ำ

จ้ำงบอกเลิกสัญญำ แต่อย่ำงไรก็ดี ตำมข้อ (ฉ) หรือข้อ (ช) ข้ำงต้น ผู้รับจ้ำงอำจบอกเลิกสัญญำได้

ทันที

กำรที่ผู้รับจ้ำงเลือกบอกเลิกสัญญำย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อสิทธิ์ของผู้รับจ้ำงตำมสัญญำหรือเป็นอื่น

16.3 การเลิกท างานหรือการขนย้ายเครื่องมือผู้รับจ้าง (Cessation of Work and Remaval of

Contractor’s Equipment)

หลังจำกออกหนังสือบอกเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 15.5 ( Employer’s Entitlement to

Termination) และข้อย่อย 16.2 (Termination by Contractor) หรือข้อย่อย 19.6 (Option

Termination, Payment and Release) มีผลบังคับใช้แล้ว ผู้รับจ้ำงจะด ำเนินกำรทันทีดังนี้

(ก) หยุดท ำงำนในขั้นตอนต่อไป เว้นแต่งำนที่ได้รับค ำสั่งจำกผู้ว่ำจ้ำงให้จัดท ำกำรป้องกันอันตรำย

ต่อชีวิตและทรัพย์สิน หรือเพื่อป้องกันควำมปลอดภัยต่องำน

(ข) ผู้รับจ้ำงส่งมอบเอกสำร เครื่องมือประกอบโรงงำน/โรงผลิต (Plant) วัตถุและงำนอื่น ๆ ที่ผู้รับ

จ้ำงได้รับงวดงำนค่ำจ้ำงแล้ว และ

(ค) ขนย้ำยพัสดุต่ำง ๆ ของผู้รับจ้ำงออกจำกพื้นที่ก่อสร้ำง เว้นแต่สิ่งที่ป้องกันภัยหรืออันตรำย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-195 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

16.4 ค่าจ้างเมื่อเลิกสัญญา (Payment of Termination)

หลังกำรออกหนังสือบอกเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 16.2 (Termination by Contractor) มีผลบังคับ

ใช้ ผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำรทันทีดังนี้

(ก) คืนหลักประกันสัญญำให้แก่ผู้รับจ้ำง

(ข) จ่ำยค่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 19.6 (Optional Termination Payment and Release) และ

(ค) จ่ำยเงิน(ชดเชย) แก่ผู้รับจ้ำงในเรื่องขำดทุนก ำไร หรือกำรสูญหำยอื่น ๆ ค่ำเสียหำยอื่น ๆ อันเกิด

จำกผลกำรเลิกสัญญำ

17. ความเสี่ยงและความรับผิดชอบ (Risk and Responsibility)

17.1 การคุ้มครองภัย (Indemnities)

ผู้รับจ้ำงต้องคุ้มครองควำมปลอดภัยให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง ตัวแทนผู้ว่ำจ้ำง จำกกำรถูก

เรียกร้องค่ำเสียหำย อันตรำย กำรสูญเสียและค่ำใช้จ่ำย (รวมทั้งค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) อัน

เกี่ยวกับเรื่องดังนี้

(ก) กำรบำดเจ็บทำงร่ำงกำย กำรเจ็บป่วย เชื้อโรค หรือกำรเสียชีวิต ต่อบุคคลอันเกิดจำกกำรเข้ำ-

ออกพื้นที่โครงกำร หรือจำกผลงำนกำรออกแบบของผู้รับจ้ำง กำรก่อสร้ำง และผลส ำเร็จของงำน

ก่อสร้ำงและกำรซ่อมแซมส่วนบกพร่อง เว้นแต่เกิดกำรละเลย กำรกระท ำรุนแรง หรือฝ่ำฝืนสัญญำ

ของผู้ว่ำจ้ำง บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง ตัวแทนผู้ว่ำจ้ำง และ

(ข) เกิดควำมเสียหำยหรือกำรสูญหำยต่อทรัพย์สินอสังหำริมทรัพย์ หรือบุคคล (นอกเหนือจำกงำน)

ซึ่งได้เกิดควำมเสียหำยหรือกำรสูญเสีย ดังนี้

(i) เกิดขึ้นจำกกำรเข้ำ ออก หรือจำกเหตุผลกำรออกแบบของผู้รับจ้ำง (ถ้ำมี) หรือจำกกำรก่อสร้ำง

หรือจำกงำนก่อสร้ำงที่แล้วเสร็จ และจำกงำนซ่อมแซมสิ่งบกพร่องช ำรุด

(ii) เกิดจำกกำรละเลย กำรกระท ำรุนแรง กำรฝ่ำฝืนสัญญำของผู้รับจ้ำง บุคลำกรผู้รับจ้ำง ตัวแทน

ผู้รับจ้ำง หรือบุคลำกรจ้ำงอื่น ๆ ของผู้รับจ้ำง

ผู้ว่ำจ้ำงจะให้ควำมคุ้มครองและควำมปลอดภัยแก่ผู้รับจ้ำง บุคลำกรของผู้รับจ้ำง ตัวแทนของผู้

รับจ้ำง จำกกำรถูกเรียกร้องค่ำเสียหำย ควำมเสียหำย ค่ำสูญหำยและค่ำใช้จ่ำย (รวมค่ำธรรมเนียม

และค่ำใช้จ่ำย) เกี่ยวกับ

(1) บำดเจ็บทำงร่ำงกำย กำรเจ็บป่วย กำรแพร่เชื่อ หรือกำรเสียชีวิตอันเนื่องจำกกำรละเลย กำร

กระท ำรุนแรง หรือกำรฝ่ำฝืนสัญญำของผู้ว่ำจ้ำง บุคลำกรผู้ว่ำจ้ำง ตัวแทนของผู้ว่ำจ้ำง และ

(2) เรื่องที่ไม่ต้องรับผิดจำกกรมธรรม์ประกันภัยหรือไม่ได้ระบุไว้ในข้อควำมย่อย ค (i) ค (ii) และ

ค (iii) ของข้อย่อย 18.3 (Insurance against Injury to Person and Damage to Property)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-196 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

17.2 การบ ารุงรักษางานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Care of the Works)

ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบเต็มที่ในกำรบ ำรุงรักษำงำน พัสดุ นับแต่วันที่เริ่มงำนก่อสร้ำงจนถึงกำรมี

หนังสือรับรองส่งมอบงำนก่อสร้ำง (หรือเสมือนหนึ่งออกให้ตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over of the

Works and Sections) เมื่อกำรบ ำรุงรักษำงำนส่งมอบผ่ำนแก่ผู้ว่ำจ้ำง หำกมีกำรออกหนังสือ

รับรองกำรส่งมอบงำน (หรือเสมือนหนึ่งจะออกหนังสือรับรอง ส่งผลงำนบำงส่วน กำรบ ำรุงรักษำ

งำนบำงส่วนนั้น ได้ส่งมอบผ่ำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง

เมื่อควำมรับผิดชอบกำรบ ำรุงรักษำงำนได้ส่งผ่ำนผู้ว่ำจ้ำงแล้ว ผู้รับจ้ำงก็จะรับผิดชอบกำรบ ำรุงรักษำ

ส่วนงำนที่ยังไม่ได้ส่งมอบ ณ วันที่ระบุไว้ในหนังสือรับรองส่งมอบงำน จนกว่ำจะมีกำรส่งมอบงำนที่

เหลือทั้งหมด

หำกมีกำรสูญหำยหรือเกิดควำมเสียหำย ต่องำน พัสดุ หรือเอกสำรของผู้รับจ้ำงในระยะเวลำที่ผู้

รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่รับผิดชอบ จำกเหตุใด ๆ ที่มิได้ระบุไว้หัวข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risk) ผู้รับ

จ้ำงต้องท ำกำรแก้ไขกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยบนควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง เพื่องำน

พัสดุและเอกสำรของผู้รับจ้ำงให้ถูกต้องตำมสัญญำ

ผู้รับจ้ำงต้องรับผิด กำรสูญหำยใด ๆ หรือควำมเสียหำยใด ๆ อันเกิดจำกกำรกระท ำของ ผู้รับจ้ำง

ภำยหลังได้ออกหนังสือรับรองส่งมอบงำน ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดต่อกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำย ซึ่ง

เกิดขึ้นภำยหลัง แม้ว่ำได้มีกำรออกหนังสือรับมอบงำนแล้ว ซึ่งผู้รับจ้ำงยังต้องรับผิดชอบ

17.3 ความเสี่ยงของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Risk)

ควำมเสี่ยงของผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 17.4 ต่อจำกนี้ มีดังนี้

(ก) สงครำม กำรเป็นศัตรู (เป็นกำรประกำศหรือมิได้ประกำศสงครำมก็ตำม) กำรรุกรำน กำรปฏิบัติ

ของศัตรูต่ำงชำติ

(ข) กำรจรำจล กำรก่อกำรร้ำย กำรปฏิวัติ กำรยึดอ ำนำจของทหำร สงครำมกลำงเมือง

ภำยในประเทศ

(ค) กำรก่อควำมวุ่นวำยหรือกำรประท้วงภำยในประเทศ โดยประชำชน (ไม่ใช่คนงำนหรือบุคลำกร

ของผู้รับจ้ำงหรือผู้รับจ้ำงช่วง)

(ง) กำรต่อสู้ด้วยกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิด กำรแผ่รังสีหรือกำรเป็นพิษจำกวัตถุรังสีภำยในประเทศ

เว้นแต่อำจเกิดจำกกำรใช้วัตถุดังกล่ำวของผู้รับจ้ำง

(จ) คลื่นควำมดันจำกเครื่องบินหรือจำกใกล้เคียงกับเครื่องบินที่มีควำมเร็วซุปเปอร์โซนิค

17.4 ผลลัพธ์ความเสี่ยงของผู้ว่าจ้าง (Consequence of Employer’s Risk)

สืบเนื่องจำกควำมเสี่ยงตำมข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risks) ข้ำงต้น อันมีผลท ำให้เกิดกำรสูญเสีย

หรือควำมเสียหำยต่องำน พัสดุ หรือเอกสำรของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรออกหนังสือทันที

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-197 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ให้ผู้ว่ำจ้ำง และต้องท ำกำรแก้ไข กำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยอันสืบเนื่องตำมควำมต้องกำรของผู้

ว่ำจ้ำง

หำกผู้รับจ้ำงได้รับผลกระทบจำกกำรแก้ไขกำรสูญหำย หรือควำมเสียหำย ผู้รับจ้ำงจะแจ้งด้วย

หนังสืออีกฉบับต่อผู้ว่ำจ้ำงและจะปฏิบัติตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) ดังนี้

(ก) ขยำยเวลำชดเชยกับเวลำในกำรแก้ไข หำกเวลำกำรแล้วเสร็จของงำนต้องถูกขยำยออกไป ตำม

ข้อย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ

(ข) ค่ำจ้ำงในกำรซ่อมแก้ไขซึ่งจะเป็นค่ำใช้จ่ำยบวกเพิ่มในสัญญำจ้ำง ตำมวรรค (ฉ) และ (ช) ของข้อ

ย่อย 17.3 (Employer’s Risks) อำจจะบวกเพิ่มค่ำก ำไรด้วย เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้งเพิ่ม ผู้ว่ำ

จ้ำงจะด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) ให้มีข้อยุติ

17.5 ทรัพย์สินทางปัญญา และลิขสิทธิ์ (Intellectual and Industrial Property Rights)

หัวข้อย่อย 17.5 นี้ กำรละเมิดลิขสิทธิ์ (Infringement) หมำยถึงกำรละเมิดลิขสิทธิ์ของโปรแกรม

กำรออกแบบ กำรลอกเลียนแบบ เครื่องหมำยกำรค้ำ ชื่อกำรค้ำ ควำมลับทำงกำรค้ำ หรือทรัพย์สิน

ทำงปัญญำ ผลิตภัณฑ์ทำงอุตสำหกรรม ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับงำน และกำรเรียกร้อง (Claims)

หมำยถึงกำรเรียกร้องค่ำเสียหำย กำรละเมิดลิขสิทธิ์

เมื่อใดก็ตำม หำกคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งไม่ได้แจ้งด้วยหนังสือต่อคู่สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่งภำยใน 28 วันเมื่อ

ได้รับแจ้งค่ำเรียกร้องกำรละเมิดลิขสิทธิ์ คู่สัญญำฝ่ำยแรกเสมือนว่ำสละสิทธิ์กำรคุ้มครองภำยใต้ข้อ

ย่อย 17.5 นี้

ผู้ว่ำจ้ำงจะให้ควำมคุมครองแก่ผู้รับจ้ำงจำกกำรละเมิดสิทธิ์ในกรณีดังนี้

(ก) เป็นเหตุสุดวิสัยของผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมสัญญำ หรือ

(ข) เป็นผลของงำนใด ๆ ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงจ ำเป็นต้องใช้

(i) เป็นวัตถุประสงค์เกินกว่ำที่ได้ระบุไว้ หรือมีเหตุผลอนุมำนจำกสัญญำ

(ii) เกี่ยวเนื่องจำกสิ่งที่ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำ เว้นแต่ถูกเปิดเผยต่อผู้รับจ้ำงก่อนวันที่ระบุในสัญญำ

ผู้รับจ้ำงจะให้ควำมคุ้มครองต่อผู้ว่ำจ้ำงจำกกำรเรียกค่ำลิขสิทธิ์ ซึ่งเกิดจำกส่วนเกี่ยวข้องจำก

(i) กำรผลิต กำรใช้ กำรขำย กำรน ำเข้ำพัสดุหรือ

(ii) กำรออกแบบใด ๆ ซึ่งเป็นงำนรับผิดชอบของผู้รับจ้ำง

หำกคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งต้องได้รับกำรคุ้มครองตำมข้อย่อย 17.5 นี้ คู่สัญญำฝ่ำยที่ให้ควำมคุ้มครองอำจ

(ในค่ำใช้จ่ำยของตน) จะขอเจรจำเพื่อหำข้อยุติเรียกค่ำเรียกร้องในลิขสิทธิ์และข้อพิพำททำงศำลใด

ๆ หรือข้อพิพำททำงอนุญำโตตุลำกำรใด ๆ ซึ่งอำจเกิดขึ้น คู่สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่งในกำรร้องขอและ

ค่ำลิขสิทธิ์ เพื่อช่วยเจรจำข้อขัดแย้งของค่ำลิขสิทธิ์ คู่สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่งนี้ (และบุคลำกรของฝ่ำยนี้)

จะต้องไม่เข้ำมำร่วม ซึ่งอำจจะท ำควำมเสียหำยในเรื่องฝ่ำยคู่สัญญำให้ควำมคุ้มครอง เว้นแต่

คู่สัญญำฝ่ำยให้ควำมคุ้มครองไม่ปฏิบัติตำมในกำรเจรจำต่อรอง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-198 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

17.6 การจ ากัดความรับผิด (Limitation of Liability)

ไม่ว่ำคู่สัญญำฝ่ำยใดต้องงรับผิดต่อคู่สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่งในเรื่องกำรสูญเสียกำรใช้งำน สูญเสียค่ำก ำไร

สูญเสีย สัญญำใด ๆ ทำงอ้อมหรือกำรสูญเสียต่อเนื่องกันหรือค่ำเสียหำย ซึ่งท ำให้คู๋สัญญำอีกฝ่ำย

หนึ่งต้องได้รับควำมยุ่งยำกตำมสัญญำมำกกว่ำตำมข้อย่อย 16.4 (Payment on Termination)

และข้อย่อย 17.1 (Indemnities)

ควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงต่อผู้ว่ำจ้ำง ภำยใต้หรือเกี่ยวกับสัญญำนอกเหนือจำกข้อย่อย 4.19

(Electricity, Water and Gas) ข้อย่อย 4.20 (Employer’s Equipment and Free Issue

Material) หัวข้อย่อย 17.1 (Indemnities) และหัวข้อย่อย 17.5 (Intellectual and Industrial

Property Rights) จะต้องไม่เกินจ ำนวนทั้งหมดตำมที่ระบุไว้เงื่อนไขเฉพำะหรือระบุ (จ ำนวนรวมไว้)

จ ำนวนรำคำงำนในสัญญำ

ข้อย่อย 17.6 นี้ ต้องไม่จ ำกัดควำมรับผิดชอบในเรื่องกำรทุจริตหรือเจตนำท ำผิด หรือประมำท หรือ

ประพฤติมิชอบของฝ่ำยผู้กระท ำผิด

18. การประกันภัย (Insurance)

18.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปของการประกันภัย (General Requirements for Insurance)

ในข้อ 18 นี้ ผู้เอำประกัน (Insuring Party) หมำยถึงกำรประกันแต่ละประเภท ผู้เอำประกันมีผล

บังคับใช้และคงไว้ซึ่งกำรประกันภัยตำมที่ระบุไว้ในหัวข้อย่อยที่เกี่ยวข้อง

กรณีใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงเป็นผู้เอำประกัน แต่ละกรมธรรม์ประกันภัยมีผลกำรคุ้มครองตำมเงื่อนไข

ประกันซึ่งได้รับกำรเห็นชอบของผู้ว่ำจ้ำง เงื่อนไขกำรประกันภัยนี้ต้องประกอบด้วยเงื่อนไขที่

เห็นชอบด้วยทั้งสองฝ่ำย ก่อนออกหนังสือตกลงจ้ำง เงื่อนไขประกันภัยนี้จะมีผลคุ้มครองตำมเงื่อนไข

ของข้อ 18 นี้

กรณีใดที่ผู้ว่ำจ้ำงเป็นผู้เอำประกัน แต่ละกรมธรรม์มีผลคุ้มครองและที่เงื่อนไขคุ้มครองสอดคล้องกับ

รำยละเอียด ระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ

ถ้ำกรณีกำรประกันภัยเป็นผู้เอำประกันร่วมกัน กำรคุ้มครองต้องแยกกันของแต่ละกรมธรรม์ แม้ว่ำ

จะเป็นแยกกำรคุ้มครองและแยกกรมธรรม์ให้แต่ละฝ่ำยของกำรประกันร่วม หำกกำรเพิ่มค่ำคุ้มครอง

ควำมเสียหำยของผู้เอำประกันร่วม เช่นกำรเพิ่มควำมคุ้มครองตำมข้อก ำหนดของข้อ 18.1 นี้

(i) ผู้รับจ้ำงจะเป็นท ำหน้ำที่ภำยใต้กำรคุ้มครองในฐำนะกำรเพิ่มผู้เอำประกันร่วม เว้นแต่ ผู้ว่ำจ้ำง

จะท ำหน้ำที่แทนบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง

(ii) กำรเพิ่มผู้เอำประกันเพิ่ม จะไม่มีสิทธิ์รับค่ำสินไหมโดยตรงกันกับผู้ให้กำรประกัน หรือมีหน้ำที่

ติดต่อโดยตรงกับผู้ให้ประกัน และ

(iii) ผู้เอำประกันร่วมต้องให้ผู้เอำประกันร่วมปฏิบัติตำมเงื่อนไขของกรมธรรม์ ทุกกรมธรรม์ที่เอำ

ประกันกำรสูญหำยและกำรเสียหำย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-199 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ผู้ให้ประกันต้องจ่ำยค่ำประกันตำมสกุลเงินในกำรจ่ำยค่ำเสียหำยของกำรสูญหำยหรือเสียหำย กำร

ช ำระเงินที่ได้รับจำก บริษัทประกันจะถูกน ำไปใช้ในกำรแก้ไขควำมสูญเสียหรือควำมเสียหำย

ในระยะเวลำที่ระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ (ค ำนวณจำกวันที่เริ่มต้น) ให้ภำคีผู้ประกันตนที่เกี่ยวข้องยื่น

ต่อภำคีอีกฝ่ำยหนึ่ง:

(ก) มีหลักฐำนแสดงว่ำ กำรประกันภัยที่ระบุไว้ในหัวข้อ 18 นี้มีผลบังคับใช้

(ข) ส ำเนำกรมธรรม์กำรคุ้มครองตำมระบุไว้ในข้อย่อย 18.2 (Insurance of Works and

Contractor’s Equipment) และข้อย่อย 18.3 (Insurance Against Injury to Persons and

Damage to Property)

เมื่อมีกำรจ่ำยค่ำกรมธรรม์แต่ละกรมธรรม์ ผู้เอำประกันต้องแสดงหลักฐำนกำรจ่ำยประกันภัย แก่ผู้

เอำประกันอีกฝ่ำยหนึ่ง และผู้เอำประกันแจ้งเป็นหนังสือต่อผู้ว่ำจ้ำงอีกด้วย

คู่สัญญำแต่ละฝ่ำยต้องปฏิบัติตำมเงื่อนไขที่ระบุไว้ในแต่ละกรมธรรม์ ผู้เอำประกันต้องแจ้งผู้ให้

ประกันทรำบทุกเรื่องที่มีกำรเปลี่ยนแปลงในกำรด ำเนินงำนก่อสร้ำง เพื่อให้แน่ใจว่ำ กำรคุ้มครองภัย

ยังคงเป็นไปตำมเงื่อนไขของหัวข้อ 18 นี้

ไม่ว่ำคู่สัญญำใดต้องกำรเปลี่ยนสำระคุ้มครองในกรมธรรม์ใด ๆ ต้องแจ้งคู่สัญญำอีกหนึ่งเห็นชอบ

ด้วย ถ้ำผู้ให้ประกันท ำ(หรือจะท ำ)กำรเปลี่ยนแปลงคู่สัญญำ ฝ่ำยต้องกำรเปลี่ยนแปลงต้องแจ้งผู้ให้

ประกันบอกผู้เอำประกันอีกฝ่ำยให้เห็นชอบด้วย

หำกคู่สัญญำผู้เอำประกันภัยไม่ปฏิบัติตำมและมีผลบังคับใช้กับกำรประกันภัยใด ๆ ที่จ ำเป็นต้องมีผล

และรักษำไว้ภำยใต้สัญญำ หรือไม่ให้หลักฐำนที่น่ำพอใจและส ำเนำของกรมธรรม์ตำมข้อย่อยนี้

คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งอำจ (ในตัวเลือกและปรำศจำกอคติใด ๆ ต่อสิทธิหรือกำรเยียวยำอื่น ๆ ) ประกัน

ผลกระทบส ำหรับควำมคุ้มครองที่เกี่ยวข้องและจ่ำยเบี้ยประกันเนื่องจำก คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งผู้เอำ

ประกันภัยจะต้องจ่ำยเงินค่ำเบี้ยประกันภัยเหล่ำนี้ให้แก่อีกฝ่ำยหนึ่งและจะต้องปรับรำคำตำมสัญญำ

ไม่มีข้อจ ำกัดควำมรับผิดชอบหนี้สินหรือควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงหรือผู้ว่ำจ้ำงภำยใต้เงื่อนไขอื่น

ๆ ของสัญญำหรืออื่น ๆ จ ำนวนเงินที่ไม่ได้รับกำรประกันหรือไม่ได้รับกำรกู้คืนจำก บริษัทประกัน

จะต้องเป็นไปตำมภำระหน้ำที่ควำมรับผิดหรือควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำง และ/หรือผู้ว่ำจ้ำง

อย่ำงไรก็ตำมหำกคู่สัญญำผู้เอำประกันภัยไม่สำมำรถมีผลบังคับใช้ และมีผลบังคับใช้กำรประกันภัย

ที่มีอยู่ ซึ่งจ ำเป็นต้องมีผลและรักษำไว้ภำยใต้สัญญำและอีกฝ่ำยหนึ่งไม่อนุมัติกำรละเลยหรือกำร

ประกันผลกระทบส ำหรับควำมคุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับกำรผิดนัดนี้ เงินที่สำมำรถกู้คืนได้ภำยใต้

กรมธรรม์นี้จะต้องช ำระโดยคู่สัญญำที่ท ำประกันภัย

กำรจ่ำยค่ำประกันของฝ่ำยหนึ่งให้แก่อีกฝ่ำยหนึ่งให้ปฏิบัติตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims)

หรือหัวข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-200 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

18.2 การประกันงานก่อสร้างและเครื่องมือของผู้รับจ้าง(Insurance for Works and Contractor’s

Equipment)

ผู้เอำประกัน ต้องท ำประกันงำนก่อสร้ำง อุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต วัสดุ และเอกสำรของผู้

รับจ้ำงต้องไม่น้อยกว่ำค่ำก่อสร้ำงงำนใหม่ ซึ่งต้องรวมค่ำกำรรื้อถอน กำรรื้อย้ำย เศษวัสดุ ค่ำวิชำชีพ

และค่ำก ำไร กำรประกันนี้จะมีผลคุ้มครองจำกวันที่ซึ่งหลักฐำนต้องส่งมอบให้ภำยใต้ข้อย่อย 18.1

(General Requirement for Insurance) จนถึงวันที่ออกหนังสือรับรองกำรส่งมอบงำน

ผู้เอำประกันต้องประกันภัยให้กำรคุ้มครองจนกว่ำวันที่ได้ออกหนังสือรับรองกำรปฏิบัติงำนเสร็จ

สมบูรณ์ ส ำหรับกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำย ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องรับผิดอันเกิดจำกเหตุร้ำยก่อนที่จะ

ได้รับหนังสือกำรรับมอบงำนเพื่อกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำย อันเป็นเหตุเกิดจำกกำรปฏิบัติงำน

อื่น ๆ (ให้รวมถึงข้อ 11 (Deflect Liability) และ ข้อ 12 (Tests after Completion))

ผู้เอำประกันภัยต้องประกันภัยให้คุ้มครองเครื่องมือไม่ให้สูญหำยในมูลค่ำไม่น้อยกว่ำกำรที่ผู้รับจ้ำง

ต้องจัดหำมำแทนรวมค่ำขนส่งมำยังพื้นที่โครงกำร เครื่องมือแต่ละชิ้นของผู้รับจ้ำง ต้องมีผลกำร

คุ้มครองในขณะขนส่งเข้ำสู่พื้นที่โครงกำรและหมดอำยุกำรคุ้มครองเมื่อไม่จ ำเป็นต้องใช้เครื่องมือใน

กำรก่อสร้ำง

เว้นแต่ได้ก ำหนดไว้ในเงื่อนไขสัญญำ กำรประกันภัยในหัวข้อนี้ (18.2) ต้องมีองค์ประกอบดังนี้

(ก) ต้องมีผลกำรคุ้มครองและมีอำยุกำรคุ้มครอง โดยผู้รับจ้ำงเป็นผู้เอำประกัน

(ข) ผู้ว่ำจ้ำงต้องเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จำกผลกำรคุ้มครองของกำรประกันภัย กำรจ่ำยค่ำจ้ำง

ก่อสร้ำง จะถูกยึดหน่วงไว้ระหว่ำงผู้ว่ำจ้ำงกับผู้รับจ้ำงเพื่อวัตถุประสงค์ในกำรเจรจำตกลงค่ำสูญหำย

หรือค่ำเสียหำยซึ่งกันและกัน

(ค) มีกำรคุ้มครองกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยจำกเหตุซึ่งได้ระบุไว้ในรำยกำรบัญชีของข้อย่อย

17.3 (Employer’s Risks)

(ง) ต้องคุ้มครองกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยบำงส่วนของงำนซึ่งผู้ว่ำจ้ำงเข้ำใช้งำนหรือเข้ำ

ครอบครองบำงส่วนของงำน แล้วเกิดกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยจำกควำมเสี่ยงตำมที่ระบุไว้ใน

ข้อ (ค) (ช) และ (ซ) ของข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risk) ไม่รวมควำมเสี่ยงแต่ละกรณีซึ่งไม่

สำมำรถเอำประกันในกำรใช้งำนเชิงพำณิชย์ พร้อมด้วยกำรหักเงินต่อครั้งแต่ไม่เกินจ ำนวนเงินตำมที่

ระบุไว้ ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (หำกมิได้ระบุไว้ จะไม่น ำวรรค (ง) มำบังคับ

ใช้) และ

(จ) อย่ำงไรก็ดี ไม่รวมกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยต่อกำรเข้ำครอบครองของ

(1) งำนบำงส่วนที่อยู่ในสภำพช ำรุดอันเนื่องจำกเกิดจำกกำรออกแบบหรือฝีมือกำรก่อสร้ำง (แต่

รวมงำนบำงส่วนซึ่งได้เกิดควำมสูญหำยหรือควำมเสียหำยอันเนื่องจำกผลโดยตรงกับสภำพช ำรุดและ

ไม่ระบุไว้ในถ้อยควำม (2) ข้ำงล่ำงนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-201 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(2) งำนบำงส่วนที่อยู่ในสภำพช ำรุดอันเนื่องจำกกำรเข้ำครอบครองงำนบำงส่วนอื่น หำกงำน

บำงส่วนนี้อยู่ในสภำพช ำรุดอันเนื่องจำกกำรช ำรุดจำกกำรออกแบบ วัสดุก่อสร้ำงหรือฝีมือกำร

ก่อสร้ำง

(3) งำนบำงส่วนซึ่งได้ส่งมอบแก่ผู้ว่ำจ้ำง เว้นแต่ว่ำ ผู้รับจ้ำงยังต้องรับผิดต่อกำรสูญหำยหรือ

ควำมเสียหำย และ

(4) พัสดุนั้นไม่อยู่ในประเทศตำมข้อย่อย 14.5 (Plant and Materials intended for the

Works)

หำกมำกกว่ำ 1 ปีหลังจำกวันฐำน กำรคุ้มครองตำมที่ระบุไว้ในวรรค (ง) ข้ำงต้นจนไม่สำมำรถจัดหำ

ได้ง่ำยตำมเชิงพำณิชย์ ผู้รับจ้ำงซึ่งเป็นผู้เอำประกันจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงพร้อมด้วยหลักฐำน

เฉพำะ ดังนั้น ผู้ว่ำจ้ำงต้องด ำเนินกำร

(ก) ใช้ข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ให้ผู้รับจ้ำงจ่ำยค่ำเสียหำยตำมจ ำนวนอย่ำงเหมำะสม

เทียบเท่ำมูลค่ำที่สมควรตำมที่ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำย

(ข) ถือเสมือนว่ำ เว้นแต่ผู้รับจ้ำงได้รับค่ำคุ้มครองตำมรำคำท้องตลำดตำมที่เห็นชอบ ตำมข้อยกเว้น

ของข้อย่อย 18.1 (General Requirements for Insurance)

18.3 การประกันคุ้มครองการบาดเจ็บต่อบุคคลและค่าเสียหายต่อทรัพย์สิน (Insurance against

Injury to Person and Damage to Property)

ผู้เอำประกัน ต้องประกันคุ้มครองทุกฝ่ำยในกำรรับผิด ควำมเสียหำย กำรเสียชีวิต หรือกำรบำดเจ็บ

ต่อร่ำงกำยและทรัพย์สิน เว้นแต่กำรประกันทรัพย์สินตำมข้อย่อย 18.2 (Insurance for Works

and Contractor’s Equipment) หรือคุ้มครองบุคคลใด ๆ ซึ่งอำจจะเกิดขึ้นจำกงำนก่อสร้ำงของผู้

รับจ้ำงตำมสัญญำ และซึ่งเกิดเหตุก่อนออกหนังสือ กำรรับรอง กำรปฏิบัติงำนของผู้รับจ้ำง

กำรประกันจะคุ้มครองจ่ำยค่ำคุ้มครองแบบจ ำกัดต่อครั้งแต่ไม่น้อยกว่ำตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบ

ผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ซึ่งหัวข้อย่อย 18.3 จะไม่น ำมำบังคับใช้

เว้นแต่ได้ระบุในเงื่อนไขเฉพำะ กำรประกันภัยต่ำง ๆ กำรคุ้มครองตำมที่ระบุภำยใต้ข้อยย่อย 18.3 นี้

เป็นดังนี้

(ก) ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้เอำประกัน (ผู้ซื้อประกัน) เป็นผู้รักษำประกันภัย

(ข) ต้องมีชื่อทั้ง 2 ฝ่ำยเป็นผู้รับผลประโยชน์จำกกำรประกันภัยร่วมกัน

(ค) ต้องมีผลคุ้มครองรับผิดกำรสูญหำยและควำมเสียหำยจนถึงทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง (เว้นแต่กำร

ประกันทรัพย์สินภำยใต้ข้อย่อย 18.2) อันเกิดจำกกำรปฏิบัติงำนของผู้รับจ้ำงตำมสัญญำและ

(ง) อย่ำงไรก็ดีอำจจะไม่รวมควำมรับผิดต่อผลอันเกิดจำก

(1) สิทธิกำรเป็นเจ้ำของของผู้ว่ำจ้ำงในงำนก่อสร้ำงงำนถำวรทั้งปวง ที่อยู่ เหนือ ข้ำงล่ำง ใน หรือ

บนพื้นดินและซึ่งเป็นที่ตั้งของสิ่งก่อสร้ำงถำวร

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-202 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(2) ควำมเสียหำยซึ่งไม่สำมำถหลีกเลี่ยงได้ จำกผลที่ผู้รับจ้ำงต้องก่อสร้ำงตำมพันธะกำรก่อสร้ำง

และกำรซ่อมบ ำรุงที่ช ำรุดเสียหำยและ

(3) รำยกำรที่ระบุไว้ข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risks) เว้นแต่ได้รวมถึงกำรคุ้มครองที่จัดหำได้

ตำมรำคำท้องตลำด

18.4 การประกันบุคลากรของผู้รับจ้าง (Insurance for Contractor’s Personnel)

ผู้รับจ้ำงมีหน้ำที่จัดซื้อประกันภัยและเป็นผู้รักษำกำรประกันภัย คุ้มครองกำรเรียกร้องควำมเสียหำย

กำรสูญเสียและค่ำใช้จ่ำย (รวมค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) ที่เกิดขึ้นต่อกำรบำดเจ็บ กำรเจ็บป่วย

กำรเป็นโรค หรือกำรเสียชีวิตของบุคคลใด ๆ ซึ่งจ้ำงโดยผู้รับจ้ำงหรือบุคคลอื่นของผู้รับจ้ำง

ผู้รับจ้ำงและผู้ว่ำจ้ำงต้องได้รับกำรประกันภัยภำยใต้กรมธรรม์ของสัญญำนี้ด้วย เว้นแต่กำรประกันนี้

ไม่รวมกำรสูญหำยหรือเรียกร้องค่ำเสียหำยจำกกำรกระท ำอันเกิดจำกกำรยกเว้นของผู้ว่ำจ้ำงหรือ

บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง

ผู้รับจ้ำงต้องรักษำสัญญำกำรประกันภัยโดยมีมีผลบังคับใช้ตลอดเวลำที่บุคลำกรท ำงำนก่อสร้ำง

ส ำหรับบุคลำกรของผู้รับจ้ำงช่วง ผู้รับจ้ำงช่วงต้องเป็นผู้จัดซื้อเอง แต่ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้รับผิดชอบ

กำรคุ้มครองภัยโดยต้องเป็นไปตำมข้อย่อย 18.4 นี้

19. เหตุสุดวิสัย (Force Majeure)

19.1 ค านิยามของเหตุสุดวิสัย (Definition of Force Majeure)

ในข้อ 19 นี้ เหตุสุดวิสัย หมำยถึง กำรคำดไม่ถึงของเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์

(ก) เป็นเหตุกำรณ์ที่คู่สัญญำไม่สำมำรถควบคุมได้

(ข) เป็นสถำนกำรณ์ที่คู่สัญญำไม่สำมำรถปัองกันก่อนลงนำมสัญญำ

(ค) เป็นสถำนกำรณ์ที่คู่สัญญำไม่สำมำรถหลีกเลี่ยงได้หรือเอำชนะได้

(ง) เป็นสถำนกำรณ์อย่ำงมีนัยยะ เกิดผลกระทบต่อบุคคลอื่น

เหตุสุดวิสัยอำจรวมแต่ไม่จ ำกัดต่อประเภทเหตุกำรณ์หรือประเภทสถำนกำรณ์ซึ่งคำดไม่ถึง ดังนั้น ไม่

ว่ำประเภทเหตกำรณ์นั้นจะสอดคล้องกับข้อ (ก) ถึงข้อ (ง) ข้ำงต้น

(1) สงครำม กำรปองร้ำย (ไม่ว่ำจะได้ประกำศเป็นสงครำมหรือไม่) กำรรุกรำน กำรกระท ำจำก

ศัตรูจำกนอกประเทศ

(2) กำรต่อต้ำน กำรก่อกำรร้ำย กำรปฏิวัติ กำรกบฏ กำรยึดอ ำนำจทำงทหำรหรือสงครำมกลำง

เมือง

(3) กำรจรำจล กำรชุมนุมวุ่นวำย กำรขัดขืน กำรหยุดงำน หรือกำรจับตัวคุมขังอันไม่ใช่บุคลำกร

ของผู้รับจ้ำง หรือบุคคลอื่นของผู้รับจ้ำง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-203 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(4) สงครำมด้วยอำวุธปืน วัตถุระเบิด กำรแผ่รังสีหรือกำรปนเปื้อนด้วยสำรพิษ กำรก่อให้เกิด

คลื่นวิทยุ ยกเว้นควำมจ ำเป็น กำรใช้กระสุน วัตถุระเบิด กำรแผ่รังสี กำรก่อเกิดคลื่นวิทยุ และ

(5) มหันตภัยธรรมชำติ เช่น แผ่นดินไหว พำยุเฮอริเคน พำยุใต้ฝุ่น ภูเขำไฟระเบิด

19.2 การแจ้งบอกเหตุสุดวิสัย (Notice of Force Majeure)

หำกคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งต้องกำรรับกำรปกป้องจำกกำรปฏิบัติงำนตำมพันธะสัญญำในเรื่องเหตุสุดวิสัย

คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งต้องมีหนังสือแจ้งให้อีกฝ่ำยหนึ่ง ให้ทรำบถึงสถำนกำรณ์เหตุสุดวิสัยและอธิบำย

มำตรกำรปกป้องเหตุสุดวิสัยนั้นภำยใน 14 วัน เมื่อคู่สัญญำได้ตระหนักถึงเหตุสุดวิสัยนั้นแล้ว

คู่สัญญำได้รับกำรบอกกล่ำวแล้ว ก็จะได้รับกำรยกเว้นกำรปฏิบัติกำร ตรำบเท่ำที่กำรปกป้องเหตุ

สุดวิสัยจำกกำรปฏิบัติกำรนั้น ๆ

ไม่ว่ำกรณีใด ๆ คู่สัญญำจะน ำข้อบังคับนี้มำร้องเรียนค่ำจ้ำงใด ๆ จำกสัญญำย่อมกระท ำไม่ได้

19.3 หน้าที่การลดผ่อนผันการล่าช้า (Duty of Mininise Delay)

ตลอดเวลำ แต่ละฝ่ำยต้องใช้ควำมพยำยำมอย่ำงมีเหตุผล ในกำรลดควำมล่ำช้ำใด ๆ ในกำรปฏิบัติ

ตำมสัญญำในเรื่องเหตุสุดวิสัย

คู่สัญญำต้องแจ้งให้ทรำบซึ่งกันและกัน เมื่อเหตุสุดวิสัยนั้นได้สงบ เข้ำสู่เหตุกำรณ์ปกติ

19.4 ผลตามมาของเหตุสุดวิสัย (Consequence of Force Majeure)

หำกผู้รับจ้ำงได้ปฏิบัติตำมพันธะสัญญำในกำรป้องกันอันเกิดจำกเหตุสุดวิสัยและท ำหนังสือแจ้งตำม

ข้อย่อย 19.2 (Notice to Force Majeure) และผู้รับจ้ำงได้รับผลกระทบ กำรล่ำช้ำของงำนมี

ค่ำใช้จ่ำยจำกกำรเกิดเหตุสุดวิสัย ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) กำร

เรียกร้องค่ำชดเชย คือ

(ก) ขยำยเวลำกำรก่อสร้ำงตำมเวลำที่ล่ำช้ำไป หำกควำมล่ำช้ำตำมข้อย่อย 8.4 (Extension of

Time for Completion) และ

(ข) หำกเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ ตำมที่ระบุไว้ ตำมข้อ (1) ถึง (4) ของข้อย่อย 19.1 (Definition

of Force Majeure) และตำมข้อ (2) ถึง (4) เกิดขึ้นในประเทศของโครงกำรก็ต้องจ่ำยค่ำชดเชยของ

เหตุนั้น ๆ

หลังจำกได้หนังสือแจ้ง ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) ให้ควำม

เห็นชอบหรือพิจำรณำวินิจฉัยในเรื่องเหล่ำนี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-204 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

19.5 เหตุสุดวิสัยมีผลกระทบต่อผู้รับจ้างช่วง (Force Majeure Affecting Subcontractor)

หำกผู้รับจ้ำงช่วงอยู่ภำยใต้สัญญำใด ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงกำรและมีกำรยกเว้นจำกเหตุ

สุดวิสัยบนเงื่อนไขเพิ่มเติมหรือขยำยควำมรับผิดชอบกันตำมที่ก ำหนดของข้อย่อย 19.5 นี้

ข้อเพิ่มเติมหรือข้อขยำยควำมเกี่ยวกับเหตุสุดวิสัย ผู้รับจ้ำงหลักจะไม่ได้รับยกเว้นควำมรับผิดชอบ

จำกหัวข้อ 19.5 นี้

19.6 ทางเลือกการยกเลิก การจ่ายค่าจ้างและการยกเว้น (Optional Termination, Payment and

Release)

หำกกำรก่อสร้ำงมีควำมก้ำวหน้ำไปได้ดี แต่ถูกชะลอมำมำกกว่ำ 84 วัน อันเนื่องจำกเหตุสุดวิสัย

และมีหนังสือแจ้งให้ทรำบตำมข้อย่อย 19.2 (Notice of force Majeure) หรือมีกำรเพิ่มเวลำหยุดช

งักชั่วครำวมำกกว่ำ 140 วัน และมีกำรแจ้งให้ทรำบด้วยหนังสือ คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดอำจบอก

เลิกสัญญำได้

ในเหตุกำรณ์เช่นนี้ กำรบอกเลิกสัญญำจะมีผลบังคับภำยหลัง 7 วัน แห่งกำรบอกกล่ำวด้วยหนังสือ

และผู้รับจ้ำงจะด ำเนินตำมข้อย่อย 16.3 (Cessation of Works and Removal of Contractor’s

Equipment)

จำกกำรบอกเลิกสัญญำดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงจะท ำกำรประเมินค่ำของงำนก่อสร้ำงที่ได้กระท ำแล้ว และ

ออกหนังสือรับรอง กำรจ่ำยค่ำจ้ำงซึ่งจะรวมในเรื่องดังนี้

(ก) จ ำนวนค่ำจ้ำงที่ต้องจ่ำยของงำนก่อสร้ำงใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงได้กระท ำตำมสัญญำ

(ข) ค่ำของอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต (Plant) วัสดุที่ได้สั่งซื้อเพื่องำนก่อสร้ำงดังกล่ำวซึ่งได้

ส่งถึงผู้รับจ้ำงแล้ว หรือวัสดุใดที่ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อกำรส่งมอบ อุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรง

ผลิต และวัสดุเหล่ำนี้จะกลำยเป็นทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง เมื่อผู้ว่ำจ้ำงต้องจ่ำยและผู้รับจ้ำงจะต้อง

เปลี่ยนให้ใหม่แก่ผู้ว่ำจ้ำง

(ค) ค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ หรือควำมรับผิดซึ่งอยู่ในสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นอย่ำงมีเหตุผลจำกผู้รับจ้ำงที่คำดว่ำ

จะด ำเนินงำนก่อสร้ำงให้แล้วเสร็จ

(ง) ค่ำใช้จ่ำยกำรรื้อถอนขนย้ำยสิ่งปลูกสร้ำงชั่วครำวของผู้รับจ้ำงและเครื่องมือของผู้รับจ้ำงออกจำก

พื้นที่โครงกำร และกำรคืนพัสดุเหล่ำนี้ให้แก่ผู้รับจ้ำงภำยในประเทศ (หรือ ที่ใด ๆ ที่มีค่ำใช้จ่ำย

มำกกว่ำนี้) และ

(จ) ค่ำใช้จ่ำย กำรส่งคืนบุคลำกรและคนงำนของผู้รับจ้ำงซึ่งท ำงำนก่อสร้ำงโครงกำรนี้

19.7 พ้นภาวะการปฏิบัติงานภายใต้กฏหมาย (Release from Performance under the Law)

ไม่ว่ำเงื่อนไขอื่นใดของหัวข้อนี้ หำกเหตุกำรณ์ใด ๆ หรือสถำนกำรณ์ใด ๆ นอกเหนือกำรควบคุมของ

คู่สัญญำ (รวมถึงแต่ไม่จ ำกัดเหตุสุดวิสัย) ได้เกิดขึ้นซึ่งเป็นไปไม่ได้หรือไม่ถูกกฏหมำย ท ำให้คู่สัญญำ

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-205 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ที่จะท ำตำมให้หรือตำมพันธะสัญญำ หรืออยู่ภำยใต้กฏหมำยที่บังคับใช้ต่อสัญญำ ท ำให้คู่สัญญำพ้น

ภำระในกำรปฏิบัติงำนต่อไปตำมสัญญำ ดังนั้น ฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดก็ต้องมีหนังสือแจ้งให้อีกฝ่ำยหนึ่ง

ทรำบถึงเหตุอันเกิดขึ้นหรือตำมสถำนกำรณ์นั้น

(ก) คู่สัญญำต้องหยุดปฏิบัติงำนต่อไป โดยไม่กระทบต่อสิทธิของฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดในกำรกระท ำผิด

สัญญำใด ๆ ที่ผ่ำนมำและ

(ข) ค่ำจ้ำงทั้งปวงที่ผู้ว่ำจ้ำงต้องจ่ำยให้แก่ผู้รับจ้ำงยังคงเหมือนเดิมซึ่งจะต้องจ่ำยตำมข้อย่อย 19.6

(Optional Termination, Payment and Release) หำกมีกำรยกเลิกสัญญำภำยใต้หัวข้อย่อย

19.6

20. การเรียกร้องข้อพิพาทและอนุญาโตตุลาการ (Claims, Disputes and Abitration)

20.1 การเรียกร้องของผู้รับจ้าง (Contractor’s Claims)

หำกผู้รับจ้ำงมีควำมเห็นว่ำ อำจจะขอขยำยต่อเวลำกำรก่อสร้ำงและหรือเพิ่มค่ำจ้ำงก่อสร้ำงภำยใต้

สัญญำนี้

ผู้รับจ้ำงต้องมีหนังสือด่วนที่สุดแจ้งผู้ว่ำจ้ำงในเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อกำรเรียกร้อง

ค่ำชดเชยภำยในเวลำไม่มำกกว่ำ 28 วัน นับแต่วันที่ผู้รับจ้ำงรู้เหตุหรือควรจะรู้เหตุของสถำนกำรณ์

นั้น

หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องไม่แจ้งกำรเรียกร้องค่ำชดเชยในช่วงเวลำดังกล่ำว ก็จะไม่มีสิทธิ์ขยำยระยะเวลำ

ก่อสร้ำงออกไปและไม่อำจขอค่ำชดเชยเพิ่มได้และผู้ว่ำจ้ำงจะตัดขำดไม่รับผิดกำรชดเชยค่ำใช้จ่ำย

เว้นแต่เรื่องต่อนี้ของข้อย่อย 20.1 จะน ำมำบังคับใช้

ผู้รับจ้ำงจะต้องแจ้งเป็นหนังสืออื่นตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและหลักฐำนในกำรเรียกร้องค่ำชดเชย

ทั้งหมดนี้จะต้องมีส่วนเกี่ยวกับสถำนกำรณ์

ผู้รับจ้ำงจะต้องเก็บรักษำบันทึกประวัติเหตุกำรณ์ซึ่งมีส่วนส ำคัญและจ ำเป็นเพื่อกำรเรียกร้อง

ค่ำชดเชยจำกเหตุกำรณ์ที่เกิดอยู่ในพื้นที่โครงกำรหรือที่อื่น ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงยอมรับว่ำเป็นจริง ปรำศจำก

กำรรับผิดของผู้ว่ำจ้ำง ภำยหลังที่ผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้งภำยใต้หัวข้อ 20.1 นี้ เฝ้ำติดตำมกำรเก็บ

รักษำบันทึกประวัติและสั่งให้ผู้รับจ้ำง เก็บบันทึกประวัติเพิ่มเติม แต่ผู้รับจ้ำงต้องยินยอมให้ผู้ว่ำจ้ำง

เข้ำตรวจสอบบันทึกประวัติได้และอำจส่งส ำเนำบันทึกประวัตินี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง

ภำยในเวลำ 42 วัน ผู้รับจ้ำงเริ่มตระหนัก (หรือได้ตระหนักแล้ว) กับกำรเกิดเหตุกำรณ์หรือ

สถำนกำรณ์นี้ในกำรเรียกร้องค่ำชดเชย หรือภำยในระยะเวลำอื่น ผู้รับจ้ำงอำจจะน ำเสนอและได้รับ

กำรเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำง

ผู้รับจ้ำงจะส่งรำยละเอียดพร้อมหลักฐำนกำรเรียกร้องกำรชดเชยให้ผู้ว่ำจ้ำงในกำรขยำยเวลำ

ก่อสร้ำงและค่ำชดเชยเพิ่มเติม หำกเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์กำรเรียกร้องนี้เกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง

ต่อไป

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-206 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

(ก) รำยละเอียดกำรเรียกค่ำชดเชยค่ำจ้ำงนี้ จะถูกพิจำรณำกำรจ่ำยค่ำจ้ำงงวด

(ข) ผู้รับจ้ำงยังคงส่งค่ำชดเชยค่ำจ้ำงเพิ่มทบต้นทุกเดือนและระยะขยำยเวลำเพิ่มทบต้นทุกเดือน

ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงเรียกขอ

(ค) ผู้รับจ้ำงต้องส่งหนังสือฉบับสุดท้ำยในกำรเรียกร้องกำรชดเชย ภำยใน 28 วัน หลังจำกเหตุกำรณ์

หรือสถำนกำรณ์สิ้นสุดลง หรือภำยในระยะเวลำช่วงอื่นที่ผู้รับจ้ำงเสนอและผู้ว่ำจ้ำงเห็นชอบในกำร

ด ำเนินกำรดังกล่ำวข้ำงต้น

ภำยใน 42 วัน ภำยหลังได้รับกำรเรียกร้องค่ำชดเชยหรือได้รับหลักฐำนเพิ่มเติมสนับสนุนกำร

เรียกร้องค่ำชดเชยที่ผ่ำนมำ หรือภำยในระยะเวลำอื่นซึ่งผู้ว่ำจ้ำงน ำเสนอและได้รับควำมเห็นชอบ

จำกผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะอนุมัติหรือไม่อนุมัติพร้อมด้วยข้อคิดเห็น ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะเรียกร้องหลักฐำน

เพิ่ม

หนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำงแต่ละฉบับจะต้องรวมรำยกำรกำรเรียกร้องค่ำชดเชยที่ค้ำงจ่ำย ซึ่ง

เกิดขึ้นอย่ำงมีนัยแห่งเหตุผลตำมสัญญำ เว้นแต่จนกว่ำหลักฐำนที่ประกอบกำรเบิกมีควำมเพียงพอ

ต่อกำรชดเชย ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ขอเรียกร้องค่ำชดเชยงำนส่วนนั้น

ผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อตกลงหรือก ำหนด (i) กำรต่ออำยุ (ถ้ำ

มี) ของระยะเวลำที่เสร็จสิ้น (ก่อนหรือหลังหมดอำยุ) ตำมข้อย่อยข้อ 8.4 (Extension of Time for

Completion) และ/หรือ (ii) กำรช ำระเงินเพิ่มเติม (ถ้ำมี) ซึ่งผู้รับจ้ำงมีสิทธิตำมสัญญำ

ข้อก ำหนดของข้อย่อยนอกเหนือจำกข้อย่อยอื่น ๆ ที่อำจใช้กับกำรเรียกร้อง หำกผู้รับจ้ำงไม่ปฏิบัติ

ตำมข้อก ำหนดนี้หรือข้อย่อยอื่นที่เกี่ยวกับกำรเรียกร้องใด ๆ กำรต่อเวลำและ/หรือกำรช ำระเงิน

เพิ่มเติมใด ๆ จะค ำนึงถึงขอบเขต (ถ้ำมี) ซึ่งควำมล้มเหลวได้ป้องกันหรือมีอคติในกำรตรวจสอบ

ยกเว้นกรณีที่ข้อเรียกร้องดังกล่ำวได้รับกำรยกเว้นตำมวรรคสองของข้อย่อยนี้

20.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินข้อพิพาท:คณะผู้ชี้ขาด (DAB) (Appointment of the

Dispute Adjudication Board, DAB)

ข้อพิพำททั้งปวงต้องตัดสินโดย คณะผู้ชี้ขำด ตำมข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication

Board Decision) คู่กรณีต้องแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำดภำยใน 28 วันภำยหลังฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดได้แจ้งเป็น

หนังสือให้อีกฝ่ำยหนึ่งตำมข้อย่อย 20.4

คณะผู้ชี้ขำด จะประกอบด้วยบุคคลตำมเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ จ ำนวน 1 คน

หรือ 3 คน จำกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมำะสม (กรรมกำร) หำกจ ำนวนกรรมกำรไม่ได้ระบุไว้หรือ

คู่กรณีไม่เห็นด้วย ก็ให้คณะผู้ชี้ขำด มีกรรมกำร 3 คน

ถ้ำคณะผู้ชี้ขำด มีกรรมกำร 3 คน ให้คู่กรณีแต่ละฝ่ำยเสนอกรรมกำรฝ่ำยละคน โดยควำมเห็นชอบ

ของคู่กรณี คู่กรณีจะปรึกษำกับกรรมกำรทั้ง 2 นี้ และแต่งตั้งกรรมกำรคนที่ 3 ให้เป็นประธำน

คณะกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-207 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

อย่ำงไรก็ดี ถ้ำรำยชื่อกรรมกำรมีกำรระบุไว้ในสัญญำ กรรมกำร 3 คน ของคณะผู้ชี้ขำดต้องคัดเลือก

และแต่งตั้งจำกบัญชีรำยชื่อนี้ เว้นแต่กรรมกำรนั้นไม่สำมำรถหรือไม่เต็มใจที่จะรับกำรแต่งตั้งเป็น

กรรมมกำรคณะผู้ชี้ขำด

ข้อตกลงของคู่กรณีหรืออย่ำงหนึ่งอย่ำงใดของกรรมกำรทั้งหมดหรืออย่ำงหนึ่งอย่ำงใดของกรรมกำร

แต่ละคน ต้องกระท ำตำมข้อก ำหนดของเงื่อนไขข้อตกลงทั่วไปของข้อพิพำท ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำร

ภำคผนวกและได้มีกำรแก้ไขตำมควำมเห็นชอบของทั้ง 2 ฝ่ำยแล้ว

ข้อตกลงเรื่องค่ำตอบแทนของคณะกรรมกำรและตัวกรรมกำรแต่ละคนและให้รวมค่ำตอบแทนของ

ผู้เชี่ยวชำญผู้ให้ค ำปรึกษำต่อคณะผู้ชี้ขำด กรณีต้องมีควำมเห็นชอบพร้อมกัน ณ เวลำที่มีกำรแต่งตั้ง

คณะผู้ชี้ขำด คู่กรณีต้องจ่ำยค่ำตอบแทนคนละครึ่ง

ทุกเวลำตำมที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอำจจะขอควำมเห็นรวมในเรื่องพิพำท คู่กรณี ไม่อำจขอ

ค ำปรึกษำจำกคณะผู้ชี้ขำดในเรื่องใด ๆ โดยไม่ได้รับควำมเห็นชอบจำกคู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่ง

ทุกเวลำตำมที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอำจแต่งตั้งบุคคลที่มีควำมเหมำะสมหรือเปลี่ยนบุคคล

(หรือต ำแหน่งที่ว่ำงลง) แทนกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด เว้นแต่ได้ตกลงเป็นอื่น กำรแต่งตั้งจะมีผลกำร

ปฏิบัติหน้ำที่ หำกว่ำกรรมกำรท ำงำนหย่อนสมรรถภำพ (แก่) หรือเกิดตำย พิกำร ลำออกหรือเมื่อ

หมดหน้ำที่ กำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำด คนใหม่ให้เป็นไปตำมระเบียบเดิมโดยแต่งตั้งจำกบุคคลที่ได้คัด

สรรตำมที่ทั้ง 2 ฝ่ำยตกลงยินยอมตำมหัวข้อย่อย 20.2 นี้

กำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำดใหม่แทนคณะผู้ชี้ขำดที่ถูกถอดถอนโดยกำรเห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ำยเท่ำนั้น ไม่ใช่

เป็นฝ่ำยกระท ำของฝ่ำยผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้รับจ้ำง กำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำดใหม่แทนคณะผู้ชี้ขำดที่ก ำลังจะ

หมดวำระ จะให้คณะผู้ชี้ขำดผู้ครบวำระได้ให้ค ำวินิฉัยเสียก่อนตำมข้อย่อย 20.4 (Obtaining

Dispute Adjudication Board’s Decision) เว้นแต่ข้อพิพำทอื่นได้อ้ำงถึง กรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด

ในขณะนั้นตำมข้อย่อย 20.4 ซึ่งข้อพิพำทนั้นได้ก ำหนดวันที่ให้กรรมกำรคณะผู้ชี้ขำดผู้นั้นต้องให้ค ำ

วินิจฉัยนั้นด้วยต่อข้อพิพำทเหล่ำนี้

20.3 การไม่ปฏิบัติตามค าวินิฉัยของคณะผู้ชี้ขาด (Failure to Agree DAB)

เงื่อนไขดังต่อไปนี้จะมีผลกำรบังคับใช้

(ก) คู่กรณีไม่ตกลงในกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด ตำมวันที่ระบุไว้ในวรรคแรกของข้อย่อย

20.2

(ข) คู่กรณีใดไม่เสนอชื่อกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด (เพื่อกำรแต่งตั้ง) ตำมวันที่ก ำหนดไว้

(ค) คู่กรณีไม่ตกลงเห็นชอบกำรแต่งตั้งกรรมกำรคนที่ 3 (ประธำนกรรมกำร ตำมวันที่ระบุไว้

(ง) คู่กรณีไม่ตกลงเห็นชอบในกำรแต่งตั้งกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด หรือแทนกรรมกำรที่ว่ำงลงภำยใน

42 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมกำร 3 คน หรือกรรมกำรที่หย่อนสมรรถภำพกำรท ำงำน ตำย พิกำร

ลำออกหรือยกเลิกกำรแต่งตั้ง

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-208 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ดังนั้นกำรแต่งบุคคลหรือที่มีนำมระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ตำมกำรร้อง

ขอคู่กรณีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด หรือทั้ง 2 ฝ่ำย ในกำรแต่งตั้งเป็นกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด กำรแต่งตั้งครั้งนี้

จะเป็นผลสรุปครั้งสุดท้ำย คู่กรณีทั้งคู่ต้องจ่ำยค่ำตอบแทนกันคนละครึ่งในกำรแต่งตั้งกรรมกำร

บุคคลหรือกรรมกำรจำกบัญชีรำยชื่อ

20.4 การรับค าวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขาด (Obtaining DAB’s Decision)

หำกข้อพิพำทใด ๆ เกิดขึ้นระหว่ำงคู่กรณีจำกข้อสัญญำ หรือจำกปฏิบัติงำนรวมถึงข้อพิพำทจำกกำร

รับรองใด ๆ กำรวินิจฉัย ค ำสั่ง ควำมเห็น หรือกำรประเมินของผู้ว่ำจ้ำง คู่กรณีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด อำจ

อ้ำงถึงข้อพิพำทเป็นหนังสือส่งถึงคณะผู้ชี้ขำดเพื่อกำรวินิฉัย พร้อมส ำเนำถึงผู้ว่ำจ้ำงและคู่กรณีอีก

ฝ่ำยหนึ่ง กำรด ำเนินกำรดังกล่ำวให้ระบุอ้ำงถึงตำมข้อย่อย 20.4 นี้

ส ำหรับคณะผู้ชี้ขำด มีคณะกรรมกำร 3 คน คณะผู้ชี้ขำดเสมือนหนึ่งได้รับกำรฟ้องร้อง ณ วันที่

ประธำนคณะผู้ชี้ขำดได้รับเรื่องกำรฟ้องร้องนั้น

คู่กรณีต้องจัดหำข้อมูลเอกสำรส่งให้คณะผู้ชี้ขำดทันที และเข้ำตรวจสอบในสถำนที่โครงกำรและต้อง

อ ำนวยควำมสะดวกตำมควำมเหมำะสมตำมที่คณะผู้ชี้ขำดร้องขอ เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรตัดสินค ำ

วินิจฉัยข้อพิพำท คณะผู้ชี้ขำดจะไม่กระท ำตนเสมือนหนึ่งว่ำเป็น อนุญำโตตุลำกำร (Arbitrator)

ภำยในเวลำ 84 วัน นับแต่วันได้รับค ำฟ้องหรือภำยในระยะเวลำอื่นตำมที่คณะผู้ชี้ขำดจะเห็นชอบ

ตำมคู่กรณี คณะผู้ชี้ขำดจะตัดสินค ำวินิจฉัยอย่ำงมีเหตุผลและต้องระบุได้ให้ค ำวินิจฉัย ตำมข้อย่อย

นี้ 20.4 นี้ ค ำวินิจฉัยจะมีผลผูกพันธ์คู่กรณีทันที เว้นแต่จะมีกำรประนีประนอมจนได้ข้อยุติหรือมีค ำ

ตัดสินเป็นหนังสือตำมข้ำงล่ำงนี้ หรือมีกำรยกเลิกสัญญำ หรือกำรไม่ยอมรับค ำวินิจฉัย ผู้รับจ้ำงยัง

รับผิดชอบก่อสร้ำงต่อไปตำมสัญญำ

หำกคู่กรณีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดไม่ยอมรับค ำวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขำด ภำยใน 28 วันภำยหลังได้รับค ำ

วินิจฉัย คู่กรณีจะมีหนังสือแจ้งให้คู่สัญญำอีกฝ่ำยว่ำไม่ยอมรับค ำวินิจฉัย

หำกคณะผู้ชี้ขำด ไม่มีค ำวินิจฉัยภำยใน 84 วัน (หรือตำมจะตกลงกันเป็นอื่น) ภำยหลังได้รับค ำฟ้อง

กรณีนี้ภำยใน 28 วันของกำรให้ค ำวินิจฉัย ฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดของคู่กรณีจะมีหนังสือแจ้งให้อีกฝ่ำยหนึ่ง

ว่ำไม่ยอมรับค ำวินิจฉัย

ในเหตุกำรณ์หนึ่งเหตุกำรณ์ใด หนังสือกำรไม่ยอมรับค ำวินิจฉัยต้องอ้ำงถึงข้อย่อย 20.4 นี้ และจะตั้ง

เรื่องพิพำท เรื่องกำรไม่ยอมรับค ำวินิจฉัยเว้นแต่จะได้ระบุไว้ข้อย่อย 20.7 (Failure to Comply

with Dispute Adjudication Board’s Decision) และข้อย่อย 20.8 (Expire of Dispute

Adjudication Board’s Appointment) ไม่ว่ำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดมีสิทธิ์ด ำเนินกำรทำง

อนุญำโตตุลำกำร เว้นแต่ต้องมีหนังสือกำรไม่ยอมรับค ำวินิจฉัยตำมข้อย่อย 20.4 นี้

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-209 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

หำกคณะผู้ชี้ขำดได้มีค ำวินิจฉัยข้อพิพำทให้แก่คู่กรณี แต่ไม่มีหนังสือแจ้งกำรไม่ยอมรับค ำวินิจฉัย

จำกคู่กรณีภำยใน 28 วัน หลังจำกได้รับค ำวินิจฉัย ดังนั้นค ำวินิจฉัยจะเป็นข้อยุติและข้อผูกพันต่อ

คู่กรณี

20.5 ข้อยุติการประนีประนอม (Amicable Settlement)

เมื่อใดที่มีหนังสือไม่ยอมรับค ำวินิจฉัยตำมข้อย่อย 20.4 คู่กรณีต้องพยำยำมให้มีข้อยุติข้อพิพำทด้วย

กำรเจรจำประนีประนอมก่อนจะมีกำรฟ้องร้องทำงอนุญำโตตุลำกำร แต่อย่ำงไรก็ดี เว้นแต่คู่กรณี

ยินยอม มิฉะนั้น กำรฟ้องร้องทำงอนุญำโตตุลำกำร จะด ำเนินกำรได้ภำยหลัง 56 วัน หลังจำกมี

หนังสือไม่ยอมรับค ำวินิจฉัย ถึงแม้ว่ำจะไม่มีกำรพยำยำมที่จะหำข้อยุติด้วยกำรเจรจำประนีประนอม

20.6 อนุญาโตตุลาการ (Arbitration)

ข้อพิพำทใด ๆ ที่มีค ำวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขำด ยังไม่มีข้อยุติและข้อผูกพันโดยจะมีกำรหำข้อยุติด้วย

วิธีอนุญำโตตุลำกำรสำกล

(ก) ข้อพิพำทจะสรุปข้อยุติด้วยวิธีกำรอนุญำโตตุลำกำรตำมระบบหอกำรค้ำสำกล

(ข) ข้อพิพำทจะยุติด้วยวิธีอนุญำโตตุลำกำรแบบ 3 คน ซึ่งกำรแต่งตั้งตำมข้อบังคับเหล่ำนี้ และ

(ค) กำรอนุญำโตตุลำกำร จะด ำเนินกำรโดยใช้ภำษำตำมที่ระบุไว้ข้อย่อย 1.4 (Law and Language)

ตุลำกำรต้องมีอ ำนำจในกำรเริ่มต้น ตรวจทำนและแก้ไข หนังสือรับรองใด ๆ กำรพิจำรณำวินิจฉัย

ค ำสั่ง ควำมเห็น หรือกำรประเมินของผู้ว่ำจ้ำง ถ้ำกำรวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขำด ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับ

ข้อพิพำท จะไม่มีกำรกีดกันผู้ว่ำจ้ำงเมื่อถูกเรียกให้เป็นพยำน และให้หลักฐำนก่อนมีกำรพิจำรณำ

อนุญำโตตุลำกำรในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวเรื่องข้อพิพำท

ไม่ว่ำคู่กรณีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดมีข้อจ ำกัดในกำรด ำเนินกำรอนุญำโตตุลำกำร เพื่อเป็นหลักฐำน ข้อโต้แย้ง

ก่อนมีคณะผู้ชี้ขำด เพื่อประกอบพิจำรณำค ำวินิจฉัย หรือกำรไม่ยอมรับในหนังสือไม่ยอมรับค ำ

วินิจฉัย ค ำวินิจฉัยใด ๆ ของคณะผู้ชี้ขำด จะกลำยเป็นหลักฐำนในขบวนกำรอนุญำโตตุลำกำร

ขบวนกำรอนุญำโตตุลำกำรอำจจะด ำเนินกำรก่อนหรือหลังงำนก่อสร้ำงแล้วเสร็จ พันธะของคู่กรณี

ผู้ว่ำจ้ำง และคณะผู้ชี้ขำด จะต้องไม่เปลี่ยนแปรด้วยเหตุผลในระหว่ำงขบวนกำรอนุญำโตตุลำกำร

20.7 การไม่ปฏิบัติตามค าวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขาด (Failure to Comply with DAB’s Decision)

ในเหตุผลดังต่อไปนี้

(ก) ไม่ว่ำคู่กรณีใดได้มีหนังสือ ไม่ยอมรับค ำวินิจฉัย ภำยในระยะเวลำที่ระบุไว้ในข้อย่อย 20.4

(Obtaining Dispute DAB’s Decision)

(ข) เรื่องสืบเนื่องซึ่งยุติแล้วกับผลของคณะผู้ชี้ขำดแล้ว และ

(ค) คู่สัญญำไม่ปฏิบัติตำมค ำวินิจฉัย

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-210 | เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999

ดังนั้น คู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่ง โดยไม่กระทบกับสิทธิ์กับคู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่ง หำกไม่ปฏิบัติต่อกำร อนุญำโต

ตุลำภำยใต้ข้อย่อย 20.6 (Arbitration) ข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s

Decision) และข้อย่อย 20.5 (Amicable Settlement) จะไม่ใช้บังคับกับกำรอ้ำงอิงนี้

20.8 การหมดอายุการแต่งตั้งกรรมการคณะผู้ชี้ขาด (Expiry of DAB’s Appointment)

หำกกำรพิพำทเกิดขึ้นระหว่ำงคู่กรณีซึ่งเกี่ยวข้องกับสัญญำจ้ำงหรือเกิดจำกงำนก่อสร้ำงและไม่มี

คณะผู้ชี้ขำด ไม่ว่ำจะเป็นเหตุผลจำกกำรหมดอำยุของกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด หรือ

ยกเว้น

(ก) ข้อย่อย 20.4 (Obtaining DAB’s Decision) และข้อย่อย 20.5 (Amicable Settlement) จะ

ไม่น ำมำบังคับใช้และ

(ข) กำรพิพำทอำจจะเป็นผลทำงตรงในกำรฟ้องร้องอนุญำโตตุลำกำร ตำมข้อย่อย 20.6

(Arbitration)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์



ภาคผนวก 3-5: การปรับปรุง FIDIC 2017



3-211 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-212 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-213 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-214 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-215 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-216 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-217 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-218 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-219 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-220 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-221 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-222 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-223 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-224 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-225 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-226 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-227 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-228 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-229 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-230 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-231 | การปรับปรุง FIDIC 2017

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


3-232 | การปรับปรุง FIDIC 2017

(Arbitration)

สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์


ภาคผนวก 3-6: Engineering,

Procurement & Construction (EPC) EPC

Construction Management Guide



ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-233

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

1 of 25

DRAFT January 31, 2017

This guide describes suggested non-mandatory approaches for meeting requirements. Guides are

not requirements documents and are not construed as requirements in any audit or appraisal for

compliance with the parent policy.

TABLE OF CONTENTS

1.0 PURPOSE AND SCOPE ................................................................................................................ 2

2.0 IMPLEMENTATION ..................................................................................................................... 2

3.0 RESPONSIBILITIES ...................................................................................................................... 2

4.0 PROCEDURE ................................................................................................................................. 2

4.1 Process Work Flow Chart ................................................................................................... 2

4.2 Process Work Flow – WRPS acting as PM/Constructor .................................................... 2

4.3 Process Work Flow – WRPS as PM/CMT ......................................................................... 9

5.0 DEFINITIONS .............................................................................................................................. 15

5.1 Administrative change ...................................................................................................... 15

5.2 Construction Representative ............................................................................................. 15

5.3 Non-administrative change. .............................................................................................. 15

5.4 Issue Authorization and Maintenance for Use .................................................................. 16

5.5 Project Management/Constructor Team (PM/Constructor).............................................. 16

5.6 Project Management & Construction Management Team (PM/CMT)............................. 16

6.0 RECORDS .................................................................................................................................... 16

7.0 SOURCES ..................................................................................................................................... 17

7.1 Requirements .................................................................................................................... 17

7.2 References ......................................................................................................................... 17

TABLE OF FIGURES

Figure 1. Process Work Flow Chart. ......................................................................................................... 19

Figure 2. Construction Execution Process Work Flow Chart. ................................................................... 24

Figure 3. Construction Action Log Process Work Flow Chart. ................................................................. 25


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-234

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

2 of 25

DRAFT January 31, 2017

1.0 PURPOSE AND SCOPE

The purpose of this procedure is to establish the WRPS construction management requirements

for EPC projects. This procedure applies to all EPC construction projects executed by WRPS.

Section 4.3 describes the application of this procedure where WRPS EPC has elected to contract

out the construction.

This procedure shall be implemented on any EPC project where, WRPS, acting as the Project

Manager, elects to self-perform as the Constructor to construct the facility. If the Project elects to

contract with an outside entity to act as the Constructor, that entity shall be certified to ASME

NQA-1 2008, with the 2009 Addenda and perform as Constructor to its own processes and

procedures. In that case, this procedure shall be used (in conjunction with other WRPS EPC

procedures) to benchmark the Constructor’s procedures. The results of that benchmarking shall

be the basis for requiring the Constructor to modify its procedures, as necessary, to provide

reasonable assurance that its work products will be of equivalent quality, with sufficient planning

to carry out the work safely, efficiently, on schedule, and meeting any other characteristic

deemed by the Project to be essential. Furthermore, where WRPS has contracted with an outside

entity to act as Constructor, WRPS will provide Construction Management oversight services.

Section 4.3 of this procedure, coupled with the Construction Management Plan (TFC-EPC-PLN-

03) define this service as it applies to this guide.

2.0 IMPLEMENTATION

This procedure is released as a Draft for Low Activity Waste Pretreatment System (LAWPS)

Project (T5L01) use only.

Formal issued date to be determined

3.0 RESPONSIBILITIES

Responsibilities are contained within Section 4.0. Individual tasks may be delegated to qualified

personnel.

4.0 PROCEDURE

4.1 Process Work Flow Chart

See Table of Figure Section, Figure 1 – Process Work Flow Chart.

4.2 Process Work Flow – WRPS acting as PM/Constructor

Figure 1 illustrates the process flow related to pre-construction activities.

A. Acquisition Planning

The first step in the construction work process is acquisition planning. Types of decisions made

are whether the subcontract will be fixed-price versus cost reimbursable, or competitively bid

versus sole source. Issues such as subcontractor experience, personnel qualifications, and

program requirements (e.g., Evaluated Supplier) will be discussed to fully understand the


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-235

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

3 of 25

DRAFT January 31, 2017

expectations required of the subcontractor. Acquisition planning requirements and process are

defined in TFC-BSM-CP_CPR-C-05.

Action by

Project Manager

Project Manager/BTR

Construction Manager

Project Manager

Action

1. Involve the CM or designee in the Acquisition Planning Process.

2. Authorize pre-construction and subcontract execution activities.

3. Initiate pre-construction activities.

4. Conduct a meeting with appropriate Team members and

Procurement personnel to identify how the work will be

subcontracted.

B. Constructability

Constructability reviews should be performed for all projects. The goal of the constructability

reviews is to optimize benefits to the entire project, not just to a single department or discipline.

Action by

Action

CM 1. Ensure Construction participates and performs constructability

reviews on projects and the design documents per TFC-EPC-

CM-D-01.

C. Construction Statement of Work

The Construction SOW document is a critical procurement document that defines the work scope,

processes and requirements of the subcontractor so completed construction work achieves TOC

expectations.

TFC-PRJ-CM-C-18 defines the process for developing a SOW and the contents necessary for

inclusion in the SOW.

Action by

Action

Project Manager/BTR 1. Provide the definition of the work to be performed by a

subcontractor to the CM.

CM 2. With concurrence of the Project Manager, determine who is

best suited to be assigned the responsibility of the SOW

Coordinator.

SOW Coordinator 3. Develop the SOW and related appendices in accordance with

TFC-PRJ-CM-C-18.

D. Request for Proposal Issuance and Subcontract Award

The process for procurement of a subcontractor, from SOW entry into Asset Suite, approval

process, issuing an RFP, through subcontract award is addressed in TFC-BSM-CP_CPR-C-05.

The Team will assist procurement during this process by reviewing technical requirements and

providing answers to subcontractor questions during the proposal phase. The Team will also


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-236

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

4 of 25

DRAFT January 31, 2017

provide support for the procurement Construction Pre-Proposal Conference as delineated in

TFC-PRJ-CM-C-05.

Action by

Procurement Specialist/

BTR/CMT

Action

1. Schedule and conduct Construction Pre-Proposal Conference in

accordance with TFC-PRJ-CM-C-05.

Procurement Specialist 2. Receive proposal(s) and distribute.

Procurement Specialist/

BTR/SEB

3. Review and approve the subcontractor technical proposal in

accordance with TFC-BSM-CP_CPR-C-05.

4. Ensure appropriate Team members review the subcontractor

proposal(s).

BTR 5. Fill out and submit the applicable Technical Evaluation form to

the Procurement Specialist.

Procurement Specialist 6. Process the subcontract release and notify the subcontractor.

E. Pre-Construction/Mobilization

7. Perform distribution of the notice of award.

Documentation for various construction documents shall be in accordance with

TFC-BSM-IRM_DC-C-07 and TFC-PRJ-CM-D-02.

Action by

Action

BTR 1. Inform the Procurement Specialist of readiness to proceed.

Procurement Specialist 2. Prepare, issue and distribute Notice to Proceed.

CM/BTR 3. Prepare a letter to the subcontractor for Pre-Construction

(Kick-Off) Meeting with agenda found in TFC-PRJ-CM-C-

05.

4. Submit the Pre-Construction (Kick-Off) Meeting letter to C&C

Document Control.

C&C Document Control 5. Perform distribution of the Pre-Construction (Kick-Off)

Meeting letter.

CM/BTR 6. Conduct a Pre-Construction (Kick-Off) Meeting outlining

subcontractor requirements for performing work using the

“Pre-Construction (Kick-Off) Meeting Minutes,” Form (A-

6006-174) to record minutes of meeting in accordance with

TFC-PRJ-CM-C-05.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-237

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

5 of 25

DRAFT January 31, 2017

Action by

Action

Procurement Specialist/BTR 7. Obtain necessary clearances and keys for the subcontractor so

mobilization can proceed (the subcontractor obtains any

badges, clearances, dosimeters, etc.).

F. Contract Execution

Figure 2 illustrates the process flow related to construction execution.

G. Construction Execution

Documentation for various construction documents shall be in accordance with TFC-BSM-

IRM_DC-C-07. All construction communication documents will be submitted to ^LAWPS

VENDOR at LAWPSVENDOR@rl.gov.

H. Execution of the SOW

Action by

Project Manager

CM and BTR

Action

1. Review subcontractor planned work and ensure necessary field

support through the CM.

2. Ensure that all subcontract submittals required prior to start of

construction work and baseline construction schedule have been

received.

3. Ensure that the Design Document List (DDL) is complete and

the Work Breakdown Structure (WBS) authorizations and

assignments have been made.

4. The team will have oversight and monitoring responsibility for

safety, quality, progress, cost, change control, and compliance

with EPC guides.

CM or Designee

5. Assist the subcontractor performing the work in all matters

pertaining to the work and ensure the work performed follows

the SOW while being in compliance with applicable TOC and

EPC procedures.

6. Ensure subcontractor understands what work, if any, will be

performed under the work package planning guide TFC-EPC-

CM-C-03.

7. Assist the Procurement Specialist, BTR and/or Project Engineer

in performance of the following:

• Track submittals.

• Initiate, track, and status subcontractor back-charges per

TFC-PRJ-CM-C-12.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-238

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

6 of 25

DRAFT January 31, 2017

Action by

Action

• Manage subcontractor initiated “Request for Information”

(RFI) as per guide TFC-EPC-CM-C-09.

• Conduct subcontractor progress meetings using the “Project

Status Meeting Minutes” Form (A-6004-778) in accordance

with TFC-PRJ-CM-C-05.

• Review of Daily Activity and Manpower Report (DAMR)

• Assist in preparation of work control documents in

accordance with TFC-OPS-MAINT-C-01.

• Responding to subcontractor correspondence.

I. Subcontractor Submittals

Action by

Action

C&C Document Control 1. Ensure documentation, including logs, for submittals are

handled in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-07.

2. Distribute submittals to appropriate reviewers for review

and comment.

Reviewers 3. Review submittals for subcontract compliance and comment

as necessary. Return the completed submittal to C&C

Document Control.

4. Consolidate submittal comments, generate a master

document set, and review disposition with the Project

Manager, CM, or Procurement Specialist per TFC-BSM-

IRM_DC-C-07.

5. Transmit dispositioned submittals to the subcontractor.

J. Subcontractor Request for Information

Subcontractor is required to submit a Request for Information (RFI) using “Request for

Information” as per guide TFC-EPC-CM-D-09.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-239

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

7 of 25

DRAFT January 31, 2017

K. Subcontractor Payments

Action by

Action

BTR/CMT 1. Receive and process subcontractor payment invoice.

2. Review the subcontractor schedule status information,

including the pay item schedule, and concur with estimates,

quantities, and percentage complete of subcontractor

invoice.

BTR/Procurement Specialist 3. Approve and process subcontractor payment request per

TFC-BSM-CP_CPR-C-05.

L. Revising Contract/Amending the Statement of Work

A Contract Action Log (CAL) is established to assure reconciliation of funds and definitions for

any type of action required to support added/changed contract scope. See Figure 3 for

construction action log process.

Any questions concerning if the work can be covered by the CAL process will be reviewed and

approved by the Project Manager and Manager of Construction.

Any new scope not associated with the original scope of work will be addressed in accordance

with the requirements of TFC-EPC-CM-D-12.

The construction manager, in concert with other project personnel, will review the

subcontractor’s estimate. Once approved, the Construction Manager/BTR will be responsible to

increase the base contract in accordance with the direction in the Terms and Conditions of the

Contract. When the Project Team directs the subcontractor to perform work for the identified

CAL, the Subcontractor will be authorized to invoice all work associated with the issuance of the

CAL.

Action by

Action

Construction Manager/BTR 1. Enter the description of work assigned in the CAL and notify

the following:

• Project Manager

• Cost Accounts Manager (CAM)

• Budget Analyst (BA).

2. Request an estimate from the subcontractor.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-240

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

8 of 25

DRAFT January 31, 2017

M. Construction Acceptance Testing and Turnover

Construction Acceptance Test(s) CAT(s) if required by the Company shall be specified in the

subcontractor’s SOW.

Action by

Commissioning Manager

CM

Action

1. Ensure CAT(s) are developed in accordance with TFC-EPC-CM-

D-17.

2. Ensure CAT(s) are performed in accordance with

TFC-EPC-CM-D-17.

3. After notification from the subcontractor that the work is

mechanically complete, notify the following;

• Project Manager

• Commissioning Manager

• Testing Lead

• Work Area Construction Manager

• BTR

• Other entities as deemed appropriate.

N. Construction Completion and Turnover

Action by

CM

Action

1. Ensure completion and transfer is performed in accordance with

TFC-EPC-CM-D-11, and TFC-PRJ-CM-C-08.

O. Subcontract Closeout

Action by

CM

Action

1. Ensure subcontractor closeout is performed in accordance with

TFC-PRJ-CM-C-15 and ensure the “Construction Subcontract

Closeout Checklist” (CSCC) Form (A-6003-226) is complete.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-241

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

9 of 25

DRAFT January 31, 2017

P. Construction & Commissioning Document Control

Action by

Action

C&C Document Control 1. When identified as records custodian, maintain project field

files using the “Project Records Index” Form (A-6002-510)

as a guide.

NOTE: Certain construction documents will require a

document number for tracking purposes. Those requiring a

document number will be specified in various Construction

procedures and shall be numbered in accordance with TFC-

BSM-IRM_DC-C-07.

2. Control construction documents in accordance with TFC-

BSM-IRM_DC-C-07.

3. Perform record management in accordance with TFC-BSM-

IRM_DC-C-02.

4. The records custodian identified in the Company Level

Records Inventory and Disposition Schedule (RIDS) is

responsible for record retention in accordance with TFC-

BSM-IRM_DC-C-02.

5. After the system is commissioned convert drawings from

Design Agency title block to Hanford (DOE) title block and

transfer drawings to Hanford Engineering and Operations.

4.3 Process Work Flow – WRPS as PM/CMT

The following instructions relate to the process work flow defined in Section 4.1.

A. Acquisition Planning

CMT Action by Action

Approve Process

Task Project

Manager

1. Involve the TCM or designee in the Acquisition

Planning Process.

2. Authorize pre-construction and subcontract

execution activities.

Oversight

Construction

Manager

Task Project

Manager

3. Initiate pre-construction activities.

4. Conduct a meeting with appropriate Team

members and Procurement personnel to identify

how the work will be subcontracted.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-242

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

10 of 25

DRAFT January 31, 2017

B. Constructability

CMT Action by Action

Review TCM 1. Ensure Construction participates and performs

constructability reviews on projects and the design

documents per TFC-EPC-CM-D-01.

C. Construction Statement of Work

CMT Action by Action

Review Task Project Manager 1. Provide the definition of the work to be performed

by a subcontractor to the TCM.

TCM 2. With concurrence of the Task Project Manager

and/or the Work Area Project Manager and/or

Manager of Construction, determine who is best

suited to be assigned the responsibility of the SOW

Coordinator.

Review/Approve SOW Coordinator 3. Develop the SOW and related appendices in

accordance with TFC-PRJ-CM-C-18.

D. Request for Proposal Issuance and Subcontract Award

CMT Action by Action

Oversight

Procurement

Specialist

1. Schedule and conduct Construction Pre-Proposal

Conference in accordance with TFC-PRJ-CM-C-

05.

2. Receive proposal(s) and distribute.

3. Review and approve the subcontractor technical

proposal in accordance with TFC-BSM-CP_CPR-

C-05.

4. Ensure appropriate Team members review the

subcontractor proposal(s).

Review Project Manager 5. Fill out and submit the applicable Technical

Evaluation form to the Procurement Specialist.

Procurement

Specialist

6. Process the subcontract release and notify the

subcontractor.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-243

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

11 of 25

DRAFT January 31, 2017

CMT Action by Action

7. Perform distribution of the notice of award.

E. Pre-Construction/Mobilization

CMT Action by Action

Project Manager 1. Inform the Procurement Specialist of readiness to

proceed.

Procurement 2. Prepare, issue and distribute Notice to Proceed.

Specialist

CM 3. Prepare a letter to the subcontractor for Pre-

Construction (Kick-Off) Meeting with agenda found

in TFC-PRJ-CM-C-05.

4. Submit the Pre-Construction (Kick-Off) Meeting

letter to C&C Document Control.

C&C Document

Control

5. Perform distribution of the Pre-Construction (Kick-

Off) Meeting letter.

Oversight Project Manager 6. Conduct a Pre-Construction (Kick-Off) Meeting

outlining subcontractor requirements for performing

work using the “Pre-Construction (Kick-Off)

Meeting Minutes,” Form (A-6006-174) to record

minutes of meeting in accordance with TFC-PRJ-

CM-C-05.

Assist

Procurement

Specialist

7. Obtain necessary clearances and keys for the

subcontractor so mobilization can proceed (the

subcontractor obtains any badges, clearances,

dosimeters, etc.).

F. Execution of the SOW

CMT Action by Action

Review Project Manager 1. Review subcontractor planned work and ensure

necessary field support through the TCM.

CM 2. Ensure that all subcontract submittals required

prior to start of construction work and baseline

construction schedule have been received.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-244

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

12 of 25

DRAFT January 31, 2017

CMT Action by Action

Review/Approve 3. Ensure that the Design Document List (DDL) is

complete and the Work Breakdown Structure

(WBS) authorizations and assignments have been

made.

4. The team will have oversight and monitoring

responsibility for safety, quality, progress, cost,

change control, and compliance with EPC

procedures.

Oversight CM or Designee 5. Assist the subcontractor performing the work in

all matters pertaining to the work and ensure the

work performed follows the SOW while being in

compliance with EPC procedures.

6. Ensure subcontractor understands that all work is

performed under the EPC work control process.

7. Assist the Procurement Specialist, BTR and/or

Project Engineer in performance of the following:

• Track submittals

• Initiate, track, and status subcontractor backcharges

per TFC-PRJ-CM-C-12.

• Manage subcontractor initiated “Request for

Information” (RFI)

• Conduct subcontractor progress meetings using

the “Project Status Meeting Minutes” Form (A-

6004-778) in accordance with TFC-PRJ-CM-C-

05.

• Review of Daily Activity and Manpower Report

(DAMR)

• Assist in preparation of work control documents

in accordance with TFC-OPS-MAINT-C-01.

• Responding to subcontractor correspondence.

G. Subcontractor Submittals

CMT Action by Action

Oversight

C&C Document

Control

1. Ensure documentation, including logs, for

submittals are handled in accordance with TFC-

BSM-IRM_DC-C-07.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-245

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

13 of 25

DRAFT January 31, 2017

CMT Action by Action

2. Distribute submittals to appropriate reviewers for

review and comment.

Review Reviewers 3. Review submittals for subcontract compliance

and comment as necessary. Return the completed

submittal to C&C Document Control.

Review

C&C Document

Control

4. Consolidate submittal comments, generate a

master document set, and review disposition with

the Task Project Manager, TCM, or Procurement

Specialist per TFC-BSM-IRM_DC-C-07.

5. Transmit dispositioned submittals to the

subcontractor.

H. Subcontractor Payments

CMT Action by Action

Project Controls 1. Receive and process subcontractor payment

invoice.

2. Review the subcontractor schedule status

information, including the pay item schedule, and

concur with estimates, quantities, and percentage

complete of subcontractor invoice.

Approve

BTR/ Procurement

Specialist

3. Approve and process subcontractor payment

request per TFC-BSM-CP_CPR-C-05.

I. Required CAL information

CMT Action by Action

Construction

Manager

1. Enter the description of work assigned in the

CAL and notify the following:

• Task Project Manager

• Cost Accounts Manager (CAM)

• Budget Analyst (BA).

Review 2. Request an estimate from the subcontractor.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-246

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

14 of 25

DRAFT January 31, 2017

J. Construction Acceptance Testing and Turnover

CMT Action by Action

Approve

Commissioning

Manager

1. Ensure CAT(s) are developed in accordance with

TFC-EPC-CM-C-17.

Oversight CM 2. Ensure CAT(s) are performed in accordance with

TFC-EPC-CM-C-17.

3. After notification from the subcontractor that the

work is substantially complete, notify the

following;

• Task Project Manager

• Manager of Construction

• Commissioning Manager

• Testing Lead

• Work Area Construction Manager

• BTR

• Other entities as deemed appropriate.

K. Construction Completion and Turnover

CMT Action by Action

Oversight/Approve CM 1. Ensure completion and transfer is performed in

accordance with TFC-EPC-CM-D-11, and TFC-

PRJ-CM-C-08.

L. Subcontract Closeout

CMT Action by Action

Approve CM 1. Ensure subcontractor closeout is performed in

accordance with TFC-PRJ-CM-C-15 and ensure

the “Construction Subcontract Closeout

Checklist” (CSCC) Form (A-6003-226) is

complete.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-247

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

15 of 25

DRAFT January 31, 2017

M. Construction & Commissioning Document Control

CMT Action by Action

C&C Document

Control

1. When identified as records custodian, maintain

project field files using the “Project Records

Index” Form (A-6002-510) as a guide.

NOTE: Certain construction documents will

require a document number for tracking purposes.

Those requiring a document number will be

specified in various Construction procedures and

shall be numbered in accordance with TFC-BSM-

IRM_DC-C-07.

2. Control construction documents in accordance

with TFC-BSM-IRM_DC-C-07.

Oversight 3. Perform record management in accordance with

TFC-BSM-IRM_DC-C-02.

4. The records custodian identified in the Company

Level Records Inventory and Disposition

Schedule (RIDS) is responsible for record

retention in accordance with TFC-BSM-

IRM_DC-C-02.

5.0 DEFINITIONS

5.1 Administrative change

A change to the contract that may involve schedule or cost, but does not involve scope.

• An example of a schedule change would be a schedule extension due to weather delays.

• An example of a cost change would be overtime to perform previously authorized

activities.

5.2 Construction Representative

A Construction Representative can be the Work Area Construction Manager, Task Construction

Manager, Construction Field Lead or Field Work Supervisor.

5.3 Non-administrative change.

A change to the contract that adds or removes fabrications, scope, or evolutions of existing scope.

• An example of a fabrication addition would be to build three top hats instead of two top

hats.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-248

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

16 of 25

DRAFT January 31, 2017

• An example of a scope addition would be to install perimeter lighting not included in the

original contract.

• An example of an addition to evolutions of existing scope would be to install additional

square footage of a parking lot.

5.4 Issue Authorization and Maintenance for Use

The EPC Execution Construction Manager is responsible for the maintenance of this procedure

and will review the procedure annually to determine any necessary updates. Should an individual

employee have a suggestion for improvement or modification to this procedure, he or she may

mark-up a copy of the procedure and send it to the EPC Execution Construction Manager for

review. The EPC Execution Construction Manager will review the recommended changes and

respond back to the employee on plans to address the suggestions. Changes to the procedure will

be distributed to other WRPS Functional Leads and other affected EPC Managers for their

concurrence. When the reviews are complete, the EPC Execution Construction Manager will

consolidate and recommend changes to this procedure to the EPC Project Execution Manager

who has the authority to issue revisions to this procedure.

5.5 Project Management/Constructor Team (PM/Constructor)

The Owner (WRPS) Project Management Team in place during the Project Execution –

Procurement, Construction and Cold Commissioning Phase – (CD-4) that Constructs, provides

verification the work effort meets project requirements, and ensures the Client is receiving value

for money from both cost and schedule perspectives.

5.6 Project Management & Construction Management Team (PM/CMT)

The Owner (WRPS) Project Management team in place during the Project Execution –

Procurement, Construction and Cold Commissioning Phase – (CD-4) that provides construction

management oversight services for the EPC Project construction works when the Constructor is

not WRPS. The PM/CMT provides oversight of the Constructor’s work effort, verification the

work effort meets project requirements, and ensures the Client is receiving value for money from

both cost and schedule perspectives. Where CMT is referred to in this procedure, it refers to the

full Project Management/Construction Management Team (PM/CMT).

6.0 RECORDS

The following records may be generated during the performance of this procedure:

• Daily Activity and Manpower Report Form (A-6003-220)

• Lost Time/Work Delay Form (A-6003-675)

• Pre-Construction (Kick-Off) Meeting Minutes Form (A-6006-174)

• Request for Information Form (A-6003-417)

• Project Status Meeting Minutes Form (A-6006-173)

• Construction Completion Document Form (A-6003-182)

• Exception List Form (A-6003-586)

• Construction Subcontract Closeout Checklist Form (A-6003-226)

• Project correspondence

• Project Records Index Form (A-6002-510).


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-249

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

17 of 25

DRAFT January 31, 2017

The records custodian identified in the Company Level Records Inventory and Disposition

Schedule (RIDS) is responsible for record retention in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-

02.

7.0 SOURCES

7.1 Requirements

7.2 References

1. Tank Operations Contract, Contract Number DE-AC27-08RV14800

2. TFC-EPC-PLN-01, Complex Engineering, Procurement and Construction Project

Execution

3. RPP-MP-003, “Integrated Environment, Safety, and Health Management System

Description for the Tank Operations Contractor.”

4. TFC-PLN-02, “Quality Assurance Program Description.”

5. TFC-PLN-84, “Tank Operations Contractor Project Execution Plan.”

6. TFC-PLN-113, “Construction Management.”

7. TFC-PRJ-PM-C-02, “Project Management.”

8. TFC-EPC-PLN-03 “EPC Construction Management Plan”

1. TFC-BSM-CP_CPR-C-05, “Procurement of Services.”

2. TFC-BSM-IRM_DC-C-02, “Records Management.”

3. TFC-BSM-IRM_DC-C-07, “Vendor Processes.”

4. TFC-PRJ-CM-C-03, “Construction Daily Activity & Manpower Reports.”

5. TFC-PRJ-CM-C-05, “Construction Meetings.”

6. TFC-PRJ-CM-C-08, “Construction Completion and Turnover.”

7. TFC-PRJ-CM-C-12, “Construction Supplier Backcharges.”

8. TFC-PRJ-CM-C-15, “Construction Subcontract Closeout.”

9. TFC-PRJ-CM-C-16, “Construction Acceptance Testing.”

10. TFC-PRJ-CM-C-17, “Constructability Review Process.”

11. TFC-PRJ-CM-C-18, “Development of Technical Requirements for Construction

Statements of Work.”


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT GUIDE

Manual

Document

Page

Issue Date

3-250

EPC

TFC-EPC-CM-D-13, REV A

18 of 25

DRAFT January 31, 2017

12. TFC-PRJ-CM-D-02, “Construction & Commissioning Document Control Processes.”

13. TFC-EPC-CM-D-01, “EPC Constructability Guide”

14. TFC-EPC-CM-D-11, “EPC Mechanical Completion and Transfer to Operations Guide”

15. TFC-EPC-CM-D-12, “EPC Field Change Request Guide”

16. TFC-EPC-CM-D-17, “EPC Construction Acceptance Testing Guide”


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT

Manual

Document

Page

Issue Date

3-251

EPC

TFC-EPC-CM-C-13, REV A

19 of 25

DRAFT 6/09/2015

Figure 1. Process Work Flow Chart.

PM/CMT will provide

oversight and/or review

activities throughout

process

A. Acquisition Planning

TPM involves the TCM or designee in the

Acquisition Planning Process.

TPM authorizes pre-construction and subcontract execution activities.

CM initiates pre-construction activities.

TPM will conduct a meeting with appropriate team members and Procurement

personnel to identify how the work will be subcontracted.

B. Constructability

TCM ensures Construction participates and performs constructability reviews on

project and design documents per TFC-EPC-CM-C-01.

C. Construction Statement of Work

TPM provides the definition of the work to be performed by a

subcontractor to the TCM.

TCM with concurrence of the TPM and/or the Work Area Project Manager

and/or Manager of Construction, determine who is best suited to be assigned

the responsibility of the SOW Coordinator.

SOW Coordinator will develop the SOW and related

appendices in accordance with TFC-PRJ-CM-C-18.

D. Request For Proposal Issuance

and Subcontract Award

PS will schedule and conduct Construction Pre-Proposal

Conference in accordance with TFC-PRJ-CM-C-05.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT

Manual

Document

Page

Issue Date

3-252

EPC

TFC-EPC-CM-C-13, REV A

20 of 25

DRAFT 6/09/2015

PS will receive proposal(s) and distribute.

PS will review and approve the subcontractor technical proposal in accordance

with TFC-BSM-CP_CPR-C-05.

Ensure appropriate team members review the subcontractor

proposal(s).

PM will fill out and submit the applicable Technical

Evaluation form to the PS.

PS will process the subcontract release and notify the

subcontractor.

Perform distribution of the notice of award.

E. Pre-Construction/Mobilization

PM will inform the PS of readiness to proceed.

PS will prepare, issue, and distribute Notice to Proceed.

TCM will prepare a letter to the subcontractor for Pre-Construction (Kick-Off)

Meeting with agenda found in TFC-PRJ-CM-C-05.

Submit the Pre-Construction (Kick-Off) Meeting letter to C&C

Document Control.

C&C Document Control distributes Pre-Construction

(Kick-Off) Meeting letter.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT

Manual

Document

Page

Issue Date

3-253

EPC

TFC-EPC-CM-C-13, REV A

21 of 25

DRAFT 6/09/2015

G. Subcontractor Submittals

Ensure documentation, including logs, for submittals are

handled in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-07.

Distribute submittals to appropriate reviewers for review and

comment.

Reviewers will review submittals for subcontract compliance and comment as

necessary. Return the completed submittal to C&C Document Control.

C&C Document Control will consolidate submittal comments, generate a master document

set, and review disposition with the TPM, TCM, or PS per TFC-BSM-IRM_DC-C-07.

Transmit dispositioned submittals to the subcontractor.

H. Subcontractor Payments

Project Controls will receive and process subcontractor

payment invoice.

Review the subcontractor schedule status information, including the

pay item schedule, and concur with estimates, quantities, and percentage

complete of subcontractor invoice.

Accounts payable will approve and process subcontractor

payment request per TFC-BSM-CP_CPR-C-05.

Task CM will enter the description of work assigned in the

CAL and notify the following:

• Task Project Manager

• Cost Accounts Manager (CAM)

• Budget Analyst (BA)

I. Required CAL Information

TCM requests an estimate from the subcontractor.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT

Manual

Document

Page

Issue Date

3-254

EPC

TFC-EPC-CM-C-13, REV A

22 of 25

DRAFT 6/09/2015

J. Construction Acceptance Testing and Turnover

Commissioning Manager ensures CAT(s) are developed in

accordance with TFC-EPC-CM-C-17.

TCM ensures CAT(s) are performed in accordance with

TFC-EPC-CM-C-17.

After notification from the subcontractor that the work is

substantially complete, the TCM will notify the following:

• Task Project Manager

• Manager of Construction

• Commissioning Manager

• Testing Lead

• Work Area Construction Manager

• Other entities as deemed appropriate.

K. Construction Completion and Turnover

TCM ensures completion and turnover is performed in accordance

with TFC-EPC-CM-C-11.

L. Subcontract Closeout

TCM ensures subcontractor closeout is performed in accordance with

TFC-PRJ-CM-C-15 and ensures the “Construction Subcontract Closeout Checklist” (CSCC)

Form (A-6003-226) is complete.

M. Construction & Commissioning Document Control

C&C Document Control when identified as records custodian, maintain project

field files using the “Project Records Index” Form (A-6002-510) as a guide.

Control construction documents in accordance with

TFC-BSM-IRM_DC-C-07.

Perform record management in accordance with

TFC-BSM-IRM_DC-C-02.

The records custodian identified in the Company Level Records Inventory

and Disposition Schedule (RIDS) is responsible for record retention in

accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-02.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT

Manual

Document

Page

Issue Date

3-255

EPC

TFC-EPC-CM-C-13, REV A

23 of 25

DRAFT 6/09/2015

WRPS CMT OVERSEEING EPC

CONSTRUCTOR: PM/CMT

LEGENDS:

WRPS SELF PERFORMING WORK:

PM/CONSTRUCTOR

-EPC CONSTRUCTOR ACTIVITIES

-WRPS PM/CMT ENGAGEMENT

WITH EPC CONSTRUCTOR

DA- Design Authority

PS-Procurement Specialist

TPM-Task Project Manager

TCM-Task Construction Manager

CAT-Construction Acceptance Testing

C&C-Construction and Commissioning

CM-Construction Manager

SOW-Statement of Work

PM-Project Manager

WBS-Work Breakdown Structure

DDL-Design Document List

-WRPS CONSTRUCTOR TEAM

ACTIVITIES

-NOT APPLICABLE

NOTE: All deliverables are

considered to be a record

and are processed in

accordance with

TFC-BSM-IRM_DC-C-01,

Document Control,

TFC-BSM-IRM_DC-C-02,

Records Management,

and TFC-ENG-DESIGN-C-25,

Technical Document Control.


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT

Manual

Document

Page

Issue Date

3-256

EPC

TFC-EPC-CM-C-13, REV A

24 of 25

DRAFT 6/09/2015

Figure 2. Construction Execution Process Work Flow Chart.

WRPS

Construction

Setup

Execute Work

Construction

Walk Down

& Punch List

Construction

Completion

Document

Operation

Testing (If

Required)

Construction

Completion

Document

Closeout &

Final

Payment

Construction

Performance

Review

Master Submittal Lists

Establish Final Construction Schedule

Project Document Control Stations

Control Design Document List

Control WBS Staff Authorization /

Assignments

Pre-Construction (Kick-Off) Meeting

Mobilization

Facility & Material Turnover

Submittal Tracking / Reporting

Notice to Proceed

Oversee/Manage Subcontractor

Fabrication Oversight / Coordination

Status/Progress Reporting

Safety Assurance

Manage WRPS Support Interface

Manage Third Party Interface

Quality Control Coordination / Oversight

Work Package Prep & Execution

Manage RFI

Construction Design Configuration

Control

Contract Change Control

Maintain Construction Document Control

Manage & Support Accruals, ETC &

EAC

Manage & Support Construction Baseline

Change Request, as needed

Construction Completion Documentation

Construction Subcontract Closeout

Checklist

Construction Performance Review


ENGINEERING, PROCUREMENT &

CONSTRUCTION (EPC)

EPC CONSTRUCTION

MANAGEMENT

Manual

Document

Page

Issue Date

3-257

EPC

TFC-EPC-CM-C-13, REV A

25 of 25

DRAFT 6/09/2015

Figure 3. Construction Action Log Process Work Flow Chart.



ภาคผนวก 3-7: คู่มือคณะกรรมการผู้วินิจฉัย

ชี้ขาดข้อพิพาท

(Dispute Adjudication Board Manual)



3-258

คู่มือ(คณะ)กรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท

DISPUTE AVIODANCE/ADJUDICATION

BOARD MANUAL

โดย

คณะกรรมการจัดตั้งและสรรหา ”คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท”

(Dispute Aviodance/Adjudication Board: DAAB) ในวงการก่อสร้าง

สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

ธันวาคม 2560


3-259


3-260

คู่มือ

(คณะ)กรรมการป้องกัน

และวินิจฉัยข้อพิพาท

DISPUTE

AVIODANCE/ADJUDICATION

BOARD MANUAL

โดย

คณะกรรมการจัดตั้งและสรรหา

”คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท”

(Dispute Aviodance/Adjudication Board: DAAB)

ในวงการก่อสร้าง


3-261

คู่มือ(คณะ)กรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท

DISPUTE AVOIDANCE/ADJUDICATION

BOARD MANUAL

ISBN: ....................................................

พิมพ์ครั้งแรก ธันวาคม 2560

จ านวนพิมพ์ ............... เล่ม

จัดท าโดย คณะกรรมการจัดตั้งและสรรหา

”คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท”

(Dispute Aviodance/Adjudication Board: DAAB)

ในวงการก่อสร้าง

พิมพ์ที่ บริษัท .................................. จ ากัด

.......................................................

จังหวัด............................

โทรศัพท์ ..........................โทรสาร .................................

เอกสารเผยแพร่ (ห้ามจ าหน่าย)

© สงวนลิขสิทธิ์


3-262

สารบัญ

เรื่อง หน้า

สารบัญ

(ก)

กิตติกรรมประกาศ

(ง)

คํานํา นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย (จ)

คํานํา ประธานคณะกรรมการจัดตั้งและสรรหา

”คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท”

(ช)

คํานํา

(ซ)

1. บทนํา 1-1

2. คําอธิบายโดยย่อเกี่ยวกับผู้ป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท (DAAB) 2-1

3. การพิจารณาในขั้นตอนก่อนการดําเนินการ 3-1

เอกสารท้ายบทที่ 3.1 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ DAAB 3-2

เอกสารท้ายบทที่ 3.2 แผนภูมิแสดงการรวมค่าใช้จ่าย

ในงบประมาณโครงการ 3-4

เอกสารท้ายบทที่ 3.3 การประมาณการค่าใช้จ่ายของ DAAB 3-5

4. การพิจารณาในการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา 4-1

เอกสารท้ายบทที่ 4.1 เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา – ส่วน A:

ข้อมูลสัญญา 4-2

เอกสารท้ายบทที่ 4.2 แบบสัญญาในส่วนที่เกี่ยวกับ DAAB 4-6

เอกสารท้ายบทที่ 4.3 ตัวอย่างจดหมายถึงสมาชิก DAAB 4-8

(ก)


3-263

สำรบัญ

เอกสำรท้ำยบทที่ 4.4 เงินส ำรองเผื่อจ่ำยแก่ DAAB 4-12

5. กำรเลือกสมำชิก DAAB 5-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 5.1 กำรเลือกสมำชิก DAAB 5-2

เอกสำรท้ำยบทที่ 5.2 แหล่งที่มำของสมำชิก DAAB ที่มีศักยภำพ

และสถำบันที่ได้รับกำรรับรอง 5-8

เอกสำรท้ำยบทที่ 5.3 แผนภูมิแสดงกำรแต่งตั้งสมำชิก DAAB 5-10

เอกสำรท้ำยบทที่ 5.4 แบบข้อตกลงไตรภำคี ส ำหรับ DAAB 1 คน 5-11

เอกสำรท้ำยบทที่ 5.5 แบบข้อตกลงไตรภำคี ส ำหรับ DAAB 3 คน 5-12

6. ค่ำตอบแทนของสมำชิก DAAB 6-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 6 รำยละเอียดค่ำตอบแทน 6-1

7. กำรตรวจสถำนที่ก่อสร้ำง 7-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 7.1 ก ำหนดกำรตรวจเยี่ยมสถำนที่ก่อสร้ำง 7-2

เอกสำรท้ำยบทที่ 7.2 ตัวอย่ำงรำยงำนกำรตรวจเยี่ยมสถำนที่ก่อสร้ำง 7-3

8. ข้อมูลที่จัดให้ DAAB ระหว่ำงช่วงเวลำกำรตรวจสถำนที่ก่อสร้ำง 8-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 8 ข้อมูลระหว่ำงกำรตรวจเยี่ยมสถำนที่ก่อสร้ำง 8-2

9. ควำมคิดเห็นที่ไม่เป็นทำงกำรของ DAAB 9-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 9 รำยละเอียดควำมเห็นอย่ำงไม่เป้นทำงกำร 9-2

10. ข้อเสนอแนะและกำรตัดสินใจของ DAAB 10-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 10.1 กำรตัดสินใจและข้อวินิจฉัย 10-2

เอกสำรท้ำยบทที่ 10.2 แผนภูมิแสดงวิธีกำรวินิจฉัยข้อพิพำท 10-6

11. ระยะเวลำน้อยที่สุดในกำรพิจำรณำหำข้อยุติในกำรเจรจำ 11-1

(ข)


3-264

สำรบัญ

12. อนุญำโตตุลำกำร 12-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 12.1 ข้อพิจำรณำในเอกสำรเงื่อนไขของสัญญำ FIDIC)

12-1

เอกสำรท้ำยบทที่ 12.2 กำรอนุญำโตตุลำกำร (Arbitration) 12-3

เอกสำรท้ำยบทที่ 12.3 Non-Administered Arbitration

Self-Administered/Non-Administered/Ad-Hoc 12-11

เอกสำรท้ำยบทที่ 12. 4 Fee Scale of the International Court of

Arbitration of International Chamber of Commerce (ICC) 12-12

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1 เอกสารความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ DAAB

ภำคผนวก 1.1 ที่มำของข้อพิพำท และแนวทำงระงับในอดีตถึงปัจจุบัน A1-1

ภำคผนวก 1.2 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคณะกรรมกำรวินิจฉัยข้อพิพำท A1-12

ภำคผนวก 1.3 แนวคิดและจุดเด่นของคณะกรรมกำรวินิจฉัยข้อพิพำท A1-18

ภำคผนวก 1.4 ทำงเลือกของกำรระงับข้อพิพำท มำตรฐำนระดับสำกล A1-25

ภาคผนวก 2 เงื่อนไขของสัญญา FIDIC ว่าด้วยการเรียกร้อง ข้อพิพาท

และอนุญาโตตุลาการ A2-1

ภาคผนวก 3 ศัพท์นิยาม (Definitions) A3-1

(ค)


3-265


3-266

กิตติกรรมประกาศ

ในนำมของสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย ขอขอบพระคุณ

คณะกรรมกำรจัดตั้งและสรรหำ ”คณะกรรมกำรป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพำท”

(Dispute Aviodance/Adjudication Board: DAAB) ในวงกำรก่อสร้ำง ที่อุทิศ

เวลำ ก ำลัง และสติปัญญำในกำรระดมสมอง ให้ควำมเห็น รวมถึงให้ควำม

อนุเครำะห์สถำนที่ และอ ำนวยควำมสะดวกในกำรจัดประชุมสัญจร เพื่อกำร

จัดท ำ คู่มือ(คณะ)กรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท (DISPUTE

ADVIODANCE/ADJUDICATION BOARD MANUAL) รวมถึงบริษัท และ

หน่วยงำน องค์กร ที่ให้ควำมอนุเครำะห์ช่วยเหลือ สนับสนุนกำรจัดพิมพ์ คู่มือ ฯ

มำ ณ ที่นี้

(ง)


3-267


3-268

คํานํา

นายกสมาคมที่ปรึกษาแหงประเทศไทย

วงการกอสรางไดมีการพัฒนากาวหนาไปมากทั้งในดานเทคโนโลยี

การออกแบบและวิธีการกอสราง รวมไปถึงเทคโนโลยีดานการบริหารโครงการ

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผลงานการกอสรางนั้นสําเร็จออกมาอยางมีคุณภาพ

ถูกตอง มั่นคง แข็งแรง ใชประโยชนไดตามที่ตองการ ภายใตกรอบเวลาและ

งบประมาณที่กําหนดไว อยางไรก็ตามนอกเหนือจากการพัฒนาทั้งสองแลว

วงการกอสรางยังไดพัฒนารูปแบบการดําเนินงานโครงการหรือสัญญากอสรางให

เหมาะสมสอดรับกับความตองการในยุคใหมไปดวย รูปแบบการดําเนินการ

โครงการกอสรางดังกลาวมีหลากหลายแบบ ตั้งแต Design-Bid-Build, Design-

Build, EPC/Turnkey, Build-Operate-Transfer และอื่น ๆ สัญญากอสรางแต

ละแบบไดกําหนดบทบาทความรับผิดชอบของเจาของงาน วิศวกรที่ปรึกษา และ

ผูรับจางกอสรางที่แตกตางกันออกไป ทําใหปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางการ

กอสรางนั้นแตกตางกันไปดวย ซึ่งอาจจะทําใหเกิดขอพิพาท ขอเรียกรองที่ไม

เหมือนกัน ผลกระทบในการแกไขขอพิพาทและขอเรียกรองอาจจะทําใหเสียเวลา

และคาใชจายจํานวนมากโดยไมจําเปน

สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทย ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญ

ในกระบวนการปองกันและวินิจฉัยขอพิพาทจึงไดตั้งคณะทํางานขึ้นมาเพื่อ

เตรียมการสรางบุคลากรและองคความรูในเรื่องนี้ เพื่อผลประโยชนในการพัฒนา

วงการกอสรางของประเทศ หนังสือคูมือ(คณะ)กรรมการปองกันและวินิจฉัยขอ

(จ)


3-269

คํานํา

พิพาท (DISPUTE AVIODANCE/ADJUDICATION BOARD MANUAL) จึงเปน

ผลงานชิ้นแรกที่เปนกาวสําคัญในการพัฒนากระบวนการปองกันและวินิจฉัยขอ

พิพาทในวงการกอสรางไทย ที่ตองการสรางแนวทางการการแกปญหาดังกลาว

อยางรวดเร็ว เพื่อการแลวเสร็จของโครงการกอสรางจะไดเปนประโยชนสูงสุด

ของการลงทุน

สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทยขอขอบคุณคณะทํางาน

จัดตั้งและสรรหา ”คณะกรรมการปองกันและวินิจฉัยขอพิพาท” ที่ไดเสียสละ

เวลา นําความรูความสามารถมาจัดทําเอกสารฉบับนี้ ดวยความเต็มใจ

ดร.วิทูร เจียมจิตตตรง

นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทย

(ฉ)


3-270

ค าน า

เนื้อหำในคู่มือ(คณะ)กรรมกำรป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพำทเพื่อระงับข้อ

พิพำทในวงกำรก่อสร้ำง ฉบับนี้ ได้ปรับปรุงและเรียบเรียงจำก Dispute Board Manual

Version 1.0 มีนำคม 2555 (ค.ศ. 2012) จัดท ำโดย องค์กำรควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศแห่ง

ญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency) เนื้อหำเดิมในคู่มือดังกล่ำว จัดท ำขึ้น

เพื่อให้องค์กร หรือหน่วยงำนที่ใช้ เอกสำรเงื่อนไขของสัญญำ FIDIC: the General Conditions

of Contract of the Multilateral Development Bank Harmonized Edition

(MDB Harmonized Edition) of the Conditions of Contract for Construction ซึ่ง

จัดท ำโดย International Federation of Consulting Engineers (FIDIC) เป็น

หลัก ลักษณะโครงกำรจะเป็นโครงกำรเงินกู้ อย่ำงไรก็ตำมเนื้อหำโดยรวมในเอกสำรเงื่อนไขของ

สัญญำฉบับนี้ จะมีเนื้อหำโดยรวมคล้ำยเอกสำรเงื่อนไขของสัญญำฉบับอื่น ๆ ของ FIDIC

โดยเฉพำะในเรื่องของ ข้อพิพาท (Dispute)

คณะผู้จัดท ำคู่มือ หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ คู่มือนี้จะสำมำรถใช้เป็นแนวทำงในกำร

ปฏิบัติงำนในหน้ำที่ของ (คณะ) กรรมกำรป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพำท (Disput

Avoidance/Adjudication Board: DAAB) ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย ได้พอสมควร อย่ำงไร

ก็ตำม หำกผู้ใช้มีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะประกำรใด กรุณำแจ้งให้ทรำบแก่สมำคมวิศวกร

ที่ปรึกษำแห่งประเทศไทย เพื่อด ำเนินกำรพิจำรณำ แก้ไข ปรับปรุง ให้เหมำะสมแก่กำรใช้งำน

ในประเทศไทยต่อไป

ด้วยควำมนับถือและขอบคุณยิ่ง

เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช

บรรณาธิการผู้จัดท า

(ช)


3-271


3-272

1. บทน ำ

ทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐานระดับสากล 1

1.1 หลักกำรและเหตุผล

เนื่องด้วยในปัจจุบันลักษณะของงานในวงการก่อสร้างและบทบาทของ

ผู้เกี่ยวข้องทุกส่วนในแต่ละโครงการมีความซับซ้อนมากขึ้น เพราะปัจจัยหลาย

ประการ จึงอาจนาไปสู่ความขัดแย้งระหว่างองค์กรและบุคคลในวงวิชาชีพ ทั้ง

ด้านความคิดเห็นและการปฏิบัติ จนอาจก่อให้เกิดข้อพิพาทได้ง่าย ดังที่มีกรณี

เกิดขึ้นบ่อยครั้งในวงการก่อสร้างทุกวันนี้ ข้อพิพาทต่างๆ ส่งผลเสียหายในวง

กว้างและคิดเป็นมูลค่ามหาศาล อีกทั้งยังทาให้โครงการล่าช้าโดยใช่เหตุ จนส่งผล

กระทบต่อสังคมส่วนรวมทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ในอดีต เรา

มักคุ้นเคยกับการระงับข้อพิพาทในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ (Arbitration)

และกระบวนการศาล แต่ก็เป็นที่ตระหนักกันอยู่ว่าไม่ได้ผลเป็นที่น่าพอใจนัก

เพราะเป็นการพยายามแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุเท่านั้น ด้วยตระหนักในข้อนี้

สหพันธ์วิศวกรที่ปรึกษานานาชาติ (International Federation of Consulting

Engineers – FIDIC) จึงได้นาวิธีการระงับข้อพิพาทที่มีประสิทธิภาพและ

ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ม า ก ขึ้ น ก ล่ า ว คื อ ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร Dispute

Advoidance/Adjudication Board (DAAB) ซึ่งกาลังเป็นที่สนใจและนิยมนามา

1

เอกสารเชิญ เข้าร่วมประชุมระดมสมอง เรื่องทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐานระดับสากล

วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม 2560

1-1


3-273

1. บทน า

ประยุกต์ใช้กันแพร่หลายขึ้น โดยระบุในข้อสัญญาเพื่อการป้องกันและระงับ

ปัญหาข้อพิพาทโดยผู้รู้และเข้าใจในงานก่อสร้างอย่างถ่องแท้ ตั้งแต่ช่วงเตรียม

โครงการจนถึงระหว่างดาเนินการ บุคคลเหล่านี้จะเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาดในฐานะ

ผู้แทนของผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อช่วยกันกาหนดมาตรฐานในการทางาน การ

ตัดสินใจ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม อันจะทาให้เกิดบรรทัดฐานที่เป็น

ธรรมที่สุดในวงการก่อสร้างต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้คู่สัญญาพึงตระหนักว่า การ

ตัดสินใจหรือการกระทาการใดๆย่อมมีผลกระทบต่อโครงการทั้งสิ้น จึงจาเป็น

ต้องให้แน่ใจว่ามีกระบวนการดาเนินงานบนพื้นฐานของความเป็นกลางและชอบ

ธรรม เพื่อหลีกเลี่ยงกรณีที่คู่สัญญาต่างพยายามหาช่องทางแสวงหาประโยชน์แก่

ตนเองมากที่สุดเพียงฝ่ายเดียว อันย่อมเป็นสาเหตุนาไปสู่ข้อพิพาทได้ในที่สุด

ด้วยเหตุผลข้างต้น สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย (วปท.)

จึงก าหนดให้ DAAB เป็นพันธกิจหลักประการหนึ่งในวาระนี้ โดยมุ่งหวังให้มีส่วน

สาคัญในการช่วยลดหรือขจัดข้อพิพาทในวงการก่อสร้างในทุกระดับและทุก

ประเภท ข้อพิพาทอาจเป็นเรื่องของการแตกต่างทางความเห็นระหว่างบุคคล

ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย หรือ

ตามสัญญา บางกรณีไม่ใช่เป็นเพียงแค่การแตกต่างทางความคิดเห็นเท่านั้น แต่

เป็นเรื่องของการไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดไปจากที่สัญญาก าหนด หรือ

เป็นการท าให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลนั้น แต่ไม่

ชดใช้ให้ ข้อพิพาทก็เลยเกิดขึ้น

คู่มือนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยผู้ใช้ในการด าเนินการและการ

ด าเนินงานของคณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท ("DAAB") ที่จ าเป็น

1-2


3-274

1. บทน า

ตามข้อ 20 ของเงื่อนไขในสัญญาก่อสร้าง FIDIC 2

รูปแบบของคู่มือเล่มนี้เป็นเนื้อหาหลักที่เก็บรวบรวมโดยย่อเพื่อให้

เป็นแบบ บทสรุป ซึ่งมีการเสริมด้วยเอกสารแนบท้ายบท และภาคผนวกเพื่อให้

ค าแนะน าโดยละเอียดและให้รายละเอียด อ านวยความสะดวก แก่ผู้ใช้ในแต่ละ

หัวข้อ

รูปแบบของ DAAB ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นวิธีการที่ประสบ

ความส าเร็จในการหลีกเลี่ยงและแก้ไขข้อพิพาทในสัญญาโดยไม่ใช้

อนุญาโตตุลาการ หรือการด าเนินคดีก่อนที่จะเสร็จสิ้นการก่อสร้าง อย่างไรก็ตาม

เช่นเดียวกับในแง่ของการบริหารสัญญาใด ๆ วิธีการของ DAAB ต้องได้รับความ

ใส่ใจอย่างรอบคอบ และทันเวลาเพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการจัดตั้งและด าเนินการตาม

แนวความคิดนี้

คุณลักษณะเฉพาะของ DAAB และเหตุผลที่ส าคัญในความส าเร็จคือ

เป็นเครื่องมือในการป้องกันข้อพิพาท และหากข้อพิพาทไม่สามารถป้องกันได้

ข้อพิพาทที่ถูกตัดสินใจโดย DAAB จะสามารถด าเนินการได้โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะ

เป็นไปได้ โดยทั้งหมดนี้จะสามารถคงความส าคัญให้กับความส าเร็จของโครงการ

ในสัญญา โดยไม่มีวิธีอื่นในการจัดการกับข้อพิพาทในสัญญาซึ่งมีคุณลักษณะใน

การป้องกันเช่นนี้

2

20. การเรียกร้องข้อพิพาทและอนุญาโตตุลาการ (Claims, Disputes and Abitration)

1-3


3-275

1. บทน า

แนวคิดของ DAAB ถูกใช้โดยหน่วยงานที่ใช้เงื่อนไขของสัญญา

FIDIC ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และได้มีการพัฒนาเรื่อยมา แต่ก็มีบาง

กรณีที่ DAAB ไม่ประสบความส าเร็จในการหลีกเลี่ยงการอนุญาโตตุลาการ และมี

การฟ้องร้องตามที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ซึ่งไม่เข้าใจแนวความคิดของ DAAB

(หรือแนวคิดตามแบบฟอร์มเงื่อนไขของสัญญา FIDIC) และการด าเนินงานที่

เหมาะสม

มีแนวคิดเรื่อง "DAAB โดยเฉพาะกิจ" ซึ่งจัดตั้งขึ้นเฉพาะภายหลัง

จากที่คู่สัญญาไม่สามารถตกลงกันได้ด้วยการประนีประนอม และพยายามสร้าง

ฐานข้อมูลหลังจากที่มีข้อพิพาทอยู่แล้ว DAAB เฉพาะกิจนี้จะขาดคุณลักษณะที่

ส าคัญที่สุด ซึ่งเป็นหัวใจหลักในการป้องกันข้อพิพาท ภายใต้หลักของ DAAB

คู่สัญญาสามารถขอรับความเห็นอย่างไม่เป็นทางการของ DAAB ในการช่วยให้

สามารถยุติข้อพิพาทด้วยการเจรจา อนึ่ง DAAB เฉพาะกิจนี้มักน าไปสู่ปัญหา

เนื่องจากเวลาในการจัดตั้ง DAAB มีน้อยในการที่คู่สัญญาจะสามารถตกลงกันได้

เนื่องจากความรุนแรงของข้อพิพาท

จึงมีขอแนะน ามิให้ใช้ DAAB เฉพาะกิจ ด้วยเหตุผลที่ DAAB เฉพาะ

กิจ ไม่สามารถให้ความช่วยเหลือคู่สัญญาในการหลีกเลี่ยงข้อพิพาทอย่างเป็น

ทางการได้ เนื่องจากไม่มีความคุ้นเคยในสัญญา หรืองานในโครงการ และจะใช้

เวลานานกว่าที่จะสามารถตัดสินข้อพิพาทเช่น DAAB หลัก โดยปกติจะมีใช้

DAAB เฉพาะกิจในกรณีที่การปฏิบัติงานของสัญญามีความล่าช้า หรือในกรณีที่

เสร็จสิ้นการก่อสร้าง (ซึ่งน าไปสู่ค่าใช้จ่ายในการยืดก าหนดระยะเวลาของเงินค้ า

ประกันสัญญาออกไปเป็นเวลานาน) และจะมีไว้ส าหรับใช้ในกรณีมีข้อพิพาทเรื่อง

1-4


3-276

1. บทน า

เดียวเท่านั้น หากมีการจัดตั้งขึ้นก่อนงานแล้วเสร็จ DAAB เฉพาะกิจ จะไม่

สามารถครอบคลุมในงานส่วนที่เหลือ และมักจ าเป็นต้องจัดตั้ง DAAB ใหม่

ส าหรับข้อพิพาทที่จะมีต่อไป ซึ่งน าไปสู่ความล่าช้า และค่าใช้จ่ายที่ไม่จ าเป็นใน

การท าความคุ้นเคยกับสัญญาและงานในโครงการ นอกจากนี้ยังจะประสบปัญหา

ในเรื่องของการรวบรวมข้อมูลในการหลีกเลี่ยงการอนุญาโตตุลาการ ดังนั้นคู่มือนี้

จึงเหมาะส าหรับ DAAB หลักเท่านั้น

1.2 ข้อพิพำท 3

ข้อพิพาทอาจเป็นเรื่องของการแตกต่างทางความเห็นระหว่างบุคคล

ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย หรือ

ตามสัญญา บางกรณีไม่ใช่เป็นเพียงแค่การแตกต่างทางความคิดเห็นเท่านั้น แต่

เป็นเรื่องของการไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดไปจากที่สัญญาก าหนด หรือ

เป็นการท าให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลนั้น แต่ไม่

ชดใช้ให้ ข้อพิพาทก็เลยเกิดขึ้น

โดยธรรมดาธรรมชาติแล้ว คงไม่มีใครต้องการให้เกิดข้อพิพาทขึ้น

เพราะเมื่อเกิดข้อพิพาทขึ้นแล้ว ความเสียหายก็จะเกิดขึ้นมากกว่าการระงับความ

แตกต่างที่เกิดขึ้นเสียแต่แรก

3 ช ำน ำญ พิเชษฐพันธ์ และ คณะ, การบริหาร สัญญาจ้างที่ปรึกษางานก่อสร้าง (MANAGING

CONSTRUCTION CONTRACT AGREEMENT), กรุงเทพ: เฟิสท์ ออฟเซท (2559)

1-5


3-277

1. บทน า

ส าหรับการก่อสร้างแล้ว หากเกิดข้อพิพาทขึ้น อาจท าให้เกิดความ

เสียหายได้ เพราะสิ่งก่อสร้างอาจต้องหยุดชะงักลง ความล่าช้าในการแล้วเสร็จก็

จะตามมา สิ่งก่อสร้างที่จะต้องใช้เงินจ านวนมากก็จะไม่ได้ใช้ ประโยชน์ที่จะได้

จากสิ่งก่อสร้างที่คาดหวังไว้ก็จะไม่ได้

สัญญาจ้างก่อสร้างจึงได้สร้างกลไกในการระงับข้อพิพาทตั้งแต่ต้น

เขียนเป็นเงื่อนไขไว้ด้วยว่าในระหว่างกระบวนการระงับข้อพิพาท ผู้รับจ้าง

ก่อสร้างจะต้องท าการก่อสร้างต่อไป ไม่ให้เกิดความล่าช้า ซึ่งเป็นเรื่องที่ฝืนความ

เป็นจริง และปฏิบัติได้ยาก เพราะเมื่อมีข้อพิพาทกัน มีข้อโต้แย้งกัน ก็เป็น

ธรรมดาอยู่เองที่ผู้รับจ้างก่อสร้างจะไม่ท าการก่อสร้างต่อไป เงื่อนไขทั่วไปของ

สัญญาจ้างก่อสร้างจึงได้ก าหนดวิธีการไว้โดยละเอียดเพื่อไม่ให้เกิดข้อพิพาท

เขียนข้อตกลงไว้ชัดเจน และเป็นธรรม โดยในเรื่องของความเป็นธรรม มีส่วนที่ท า

ให้หลีกเลี่ยงข้อพิพาทไปได้มาก

เงื่อนไขทั่วไปในสัญญาจ้างก่อสร้างที่อาจยกเป็นตัวอย่างให้เห็น

วิธีการหลีกเลี่ยงข้อพิพาท ได้แก่ เงื่อนไขที่เกี่ยวกับการเพิ่มลดงาน และการขยาย

เวลาก่อสร้าง

ในโครงการก่อสร้าง การเพิ่ม ลด หรือเปลี่ยนแปลงงาน เกิดขึ้นได้

ตลอดเวลา และเกิดขึ้นได้กับทุกโครงการ เกิดขึ้นจนเรียกได้ว่าเป็นเรื่องปกติที่เกิด

ขึ้นกับทุกโครงการ โครงการไหนไม่มีการเพิ่มลดงาน ต้องถือว่าเป็นโครงการที่

ผิดปกติ เงื่อนไขทั่วไปของสัญญาจ้างก่อสร้างทุกสัญญาจะมีเงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิ

ของผู้ว่าจ้างในการสั่งเพิ่มลดงานไว้ด้วย นอกจากนี้แล้ว ยังก าหนดต่อไปไว้ด้วยว่า

1-6


3-278

1. บทน า

เมื่อมีการสั่งเพิ่มหรือลดงานแล้ว ให้คิดค่าจ้างส าหรับงานเพิ่มหรือลดในอัตรา

ตามที่ก าหนดในบัญชีรายละเอียดของราคา (Bill of Quantities) ถ้างานไหนไม่มี

ในบัญชีรายละเอียดของราคาก็ให้ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างตกลงราคากันก่อน หาก

ตกลงกันไม่ได้ ให้ที่ปรึกษาเป็นคนก าหนดราคา โดยถือว่าราคาท้องตลาดเป็น

ราคาที่ก าหนดบ้าง หรือถือเอาราคาที่เป็นธรรมเป็นราคาที่ก าหนดบ้าง ถ้าสัญญา

ก าหนดให้ที่ปรึกษาก าหนดราคาที่เป็นธรรม อาจเป็นปัญหากับที่ปรึกษาอยู่บ้างใน

การตัดสินใจว่าราคาเท่าใดเป็นราคาที่เป็นธรรม แต่กว่าจะถึงขั้นก าหนดเวลาที่

เป็นธรรม ก็ต้องผ่านหลักเกณฑ์ในการก าหนดราคาอย่างอื่นมาก่อน เช่น ก าหนด

ราคาตามบัญชีรายละเอียดของราคา ก าหนดราคาโดยผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างตกลง

กัน ซึ่งการก าหนดราคาโดยการตกลงกันของผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างก่อสร้างในกรณี

ที่ไม่มีราคาในบัญชีรายละเอียดของราคา มักจะเป็นกรณีที่ได้ข้อยุติ เพราะที่

ปรึกษามีบทบาทส าคัญในการช่วยให้ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างก่อสร้างท าความตกลง

กัน

สัญญาจ้างก่อสร้างจะมีบทปรับเมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จล่าช้ากว่า

ก าหนด เพื่อเป็นสภาพบังคับให้ผู้รับจ้างก่อสร้างท าการก่อสร้างให้แล้วเสร็จ

ภายในเวลาที่ก าหนดไว้ในสัญญา บางประเทศไม่เพียงแต่มีบทปรับเท่านั้น แต่ยัง

มีการให้เงิน “โบนัส” เมื่อท าการก่อสร้างแล้วเสร็จก่อนก าหนดด้วย ทั้งนี้ การ

แล้วเสร็จของงานก่อสร้างภายในเวลาที่ก าหนด มีความส าคัญเป็นอย่างยิ่งของ

เจ้าของโครงการ ที่ว่าส าคัญนั้น บางโครงการถ้าการก่อสร้างไม่แล้วเสร็จภายใน

เวลาที่ก าหนด สถาบันการเงินอาจไม่ให้กู้เงินต่อไป บางโครงการเป็นโครงการ

อาคารชุด ซึ่งต้องตกลงขายให้กับลูกค้าก่อนการก่อสร้างแล้วเสร็จ และมี

1-7


3-279

1. บทน า

ก าหนดเวลาส่งมอบห้องชุดให้ลูกค้าแน่นอน หากการก่อสร้างไม่แล้วเสร็จ ส่งมอบ

ห้องชุดให้ลูกค้าไม่ได้ ลูกค้าอาจบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าเสียหายจากเจ้าของ

โครงการด้วย เจ้าของโครงการอาจมีคดีความกับลูกค้าตามมา

เมื่อมีการเพิ่มหรือลดงานแล้ว ระยะเวลาการก่อสร้างแล้วเสร็จก็ต้อง

ปรับเปลี่ยนไปตามงานที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง โดยปกติแล้ว เมื่องานลดลง ระยะเวลา

การก่อสร้างแล้วเสร็จจะไม่มีการลดลงตามไปด้วย สัญญาจ้างก่อสร้างทั่วไปก็จะ

ไม่พูดถึงการลดเวลาการก่อสร้าง แต่เมื่องานก่อสร้างเพิ่มขึ้น ระยะเวลาก่อสร้างก็

ต้องเพิ่มขึ้น หากไม่เพิ่มขึ้นก็จะไม่เป็นธรรมกับผู้รับจ้างก่อสร้าง เพราะต้องท างาน

เพิ่มขึ้นโดยมีความเสี่ยงต่อการถูกปรับเพิ่มขึ้น สัญญาจ้างก่อสร้างจึงต้องมี

หลักเกณฑ์ต่อไปในการพิจารณาการเพิ่มระยะเวลาส าหรับการก่อสร้าง ซึ่งส่วน

ใหญ่จะก าหนดว่าหากงานที่เพิ่มขึ้นนั้นมีผลกระทบต่อการแล้วเสร็จของงาน ที่

เรียกว่า Crittical Path แล้ว ระยะเวลาก่อสร้างก็ต้องขยายให้ผู้รับจ้างก่อสร้าง

ซึ่งจะมีผลท าให้ผู้รับจ้างก่อสร้างมีเวลาท าการก่อสร้างมากขึ้น โดยไม่ต้องเสีย

ค่าปรับ

ขั้นตอนและวิธีการที่ก าหนดไว้ในเงื่อนไขทั่วไปในสัญญาจ้างก่อสร้าง

อย่างนี้ สามารถหลีกเลี่ยงไม่ท าให้เกิดข้อพิพาทได้

แม้ว่าสัญญาจ้างก่อสร้างจะก าหนดรายละเอียดไว้มาก สามารถ

หลีกเลี่ยงข้อพิพาทได้ไม่น้อย แต่ข้อพิพาทก็ยังอาจเกิดขึ้นได้อยู่ดี

สัญญาจ้างก่อสร้างจึงก าหนดวิธีการระงับข้อพิพาทไว้ โดยที่ให้มี

ผลกระทบต่องานก่อสร้างน้อยที่สุด การที่จะให้ผลกระทบกับงานก่อสร้างได้น้อย

1-8


3-280

1. บทน า

ที่สุด ก็ได้แก่การหลีกเลี่ยงที่จะไม่ให้ข้อพิพาทนั้นต้องเป็นคดีความไปสู่การ

พิจารณาพิพากษาของศาล

กำรอนุญำโตตุลำกำร (Arbitration)

แต่เดิมวิธีการระงับข้อพิพาท โดยไม่ต้องฟ้องร้องกันต่อศาล แล้วก็

ยังคงให้ความเป็นธรรมกับคู่กรณี แถมด้วยความสะดวกรวดเร็วด้วย ได้แก่การ

อนุญาโตตุลาการ

การอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) คือ การตัดสินข้อพิพาทของ

คน ๆ เดียวหรือหลายคน (ส่วนใหญ่ 3 คน) ที่ไม่ใช่ผู้พิพากษาอาชีพ ไม่จ าเป็นต้อง

เป็นนักกฎหมาย จะเป็นใครก็ได้ที่คู่พิพาทเลือกมาฝ่ายละ 1 คน ที่ว่าจะเป็นใครก็

ได้ ก็ต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ ไม่ใช่เด็ก เมื่อเลือกมาฝ่ายละ 1 คนแล้ว ก็ได้เป็น 2

คน แล้ว 2 คนนี้ก็ไปเลือกอีก 1 คน เป็นคนที่ 3 ท าหน้าที่เป็นประธาน

คนทั้งสามนี้เรียกว่า “อนุญาโตตุลาการ” (Arbitrator)

การที่จะเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการได้ คู่กรณีต้องตกลงกัน

จะตกลงกันก่อนมีข้อพิพาทก็ได้ ตกลงกันหลังจากที่เกิดข้อพิพาทแล้วก็ได้ แต่ต้อง

ตกลงกันเป็นหนังสือ จะเป็นทางโทรสารก็ได้ เป็นอีเมลก็ได้ จะตกลงกันให้ใช้วิธี

พิจารณาของสมาคม สถาบัน หรือหน่วยงานไหนก็ได้ จะเป็นของต่างประเทศก็ได้

แล้วก็จะตกลงกันว่าให้ใช้ภาษาอังกฤษพิจารณาก็ได้ ให้พิจารณากันในประเทศ

อื่นก็ได้อีกเหมือนกัน

การอนุญาโตตุลาการนี้กฎหมายไทยรับรองด้วย รับรองไปถึงว่าเมื่อ

ตกลงกันให้เสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการแล้ว จะฟ้องร้องต่อศาลยังไม่ได้

1-9


3-281

1. บทน า

ต้องเสนอเรื่องให้อนุญาโตตุลาการก่อน ถ้าฟ้องก่อน ศาลจะไม่รับฟ้อง หรือ

จ าหน่ายคดีออกจากสารบบความของศาล

ค าตัดสินของอนุญาโตตุลาการเรียกว่า “ค าชี้ขาด” (Award) ไม่ได้

เรียกว่า “ค าพิพากษา” เหมือนของศาล กฎหมายรับรองว่า “ค าชี้ขาด” ของ

อนุญาโตตุลาการให้เป็น “ที่สุด” หมายถึงว่า ไม่มีอุทธรณ์ฎีกาเหมือนของศาล

ตัดสินเป็นอย่างไรแล้วจบเด็ดขาด

แต่ที่ว่าจบเด็ดขาดนั้นมีข้อยกเว้น ถ้าค าชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ

ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ศาลก็พิจารณาค าชี้

ขาดของอนุญาโตตุลาการ แล้วพิจารณาพิพากษาเปลี่ยนแปลงได้

แต่เดิมรัฐบาลไทยให้การสนับสนุนการอนุญาโตตุล าการ

คณะรัฐมนตรีมีมติให้หน่วยงานของรัฐท าสัญญากับเอกชนเสนอข้อพิพาทให้

อนุญาโตตุลาการพิจารณาตัดสินได้ เราเรียกกันติดปากว่า “ยุติธรรมทางเลือก”

(Alternative Dispute Resolution หรือ ADR) เพราะตัดสินได้ไวดี ไม่สิ้นเปลือง

ค่าใช้จ่าย กระบวนการพิจารณาไม่ยุ่งยาก ไม่ต้องใช้ทนายความ ซึ่งหมายความว่า

ไม่ต้องเสียค่าทนายด้วย

การอนุญาโตตุลาการนี้เติบโตมากในต่างประเทศ เพราะค่าใช้จ่าย

รวมทั้งค่าทนายความในต่างประเทศแพงมาก ธุรกิจในต่างประเทศเลยใช้บริการ

ของอนุญาโตตุลาการจนชิน ท าให้การอนุญาโตตุลาการมีหลักเกณฑ์และพัฒนา

ความเป็นธรรมขึ้นเรื่อย ๆ

1-10

ประเทศไทยเราก็ส่งเสริมสนับสนุนกันเต็มที่ รัฐบาลก็สนับสนุน


3-282

1. บทน า

กฎหมายก็มีออกมารองรับ แต่ก็เติบโตไปอย่างช้า ๆ ไม่ค่อยทันต่างประเทศ มา

ในช่วงหลัง ๆ การอนุญาโตตุลาการในประเทศไทยถอยหลังอย่างรุนแรงเมื่อ

หน่วยงานของรัฐแพ้คดีในการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการบ่อย ๆ โดยเฉพาะ

คดีที่มีชื่อเสียงมากคดีหนึ่งที่เรียกกันติดปากว่าคดี “ค่าโง่ทางด่วน” มีผลท าให้

คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2552 ห้ามหน่วยงานของรัฐท าสัญญา

กับเอกชนโดยการให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท หลังจากนี้การ

อนุญาโตตุลาการในประเทศไทยก็ค่อย ๆ เงียบหายไป แม้จะยังมีอยู่บ้างก็แต่

เพียงน้อยนิด

มติของคณะรัฐมนตรีที่ว่านี้ ว่าไว้อย่างนี้

โครงการขนาดใหญ่หรือการให้สัมปทานของรัฐได้มีการตกลงให้ใช้

วิธีการอนุญาโตตุลาการในการระงับข้อพิพาท ส่วนใหญ่หน่วยงานของรัฐจะ

เป็นฝ่ายแพ้คดีหรือเป็นฝ่ายต้องชดใช้ค่าเสียหาย จึงให้ปรับปรุงมติ ครม.

วันที่ 27 มกราคม 2547 ข้อ 1 เป็น “สัญญาทุกประเภทที่หน่วยงานของรัฐ

ท ากับเอกชนในไทยหรือต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นสัญญาทางปกครองหรือไม่

ไม่ควรเขียนผูกมัดในสัญญาให้มอบข้อพิพาทให้คณะอนุญาโตตุลาการเป็นผู้ชี้

ขาด หากมีความจ าเป็น ให้เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติเป็นราย ๆ

ไป”

ข้อความในมติคณะรัฐมนตรีที่ว่า “หากมีความจ าเป็น ให้เสนอ

คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติเป็นราย ๆ ไป” เท่ากับเป็นการห้ามเด็ดขาด เพราะ

ถ้าจะต้องมีความจ าเป็น ต้องขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี และต้องขออนุมัติเป็น

ราย ๆ ไปด้วย เพราะฉะนั้น หากไม่ใช่เรื่องใหญ่ ส าคัญ และจ าเป็นจริง ๆ คงไม่มี

1-11


3-283

1. บทน า

หน่วยงานของรัฐหน่วยงานไหนที่จะขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี

ข้อสัญญาจ้างก่อสร้างของหน่วยงานของรัฐที่แต่เดิมเขียนให้ระงับ

ข้อพิพาทโดยการอนุญาโตตุลาการก็เปลี่ยนเป็นในท านองว่า

1-12

กรณีที่มีข้อพิพาทเกิดขึ้นผู้รับจ้างต้องท างานตามสัญญานี้ต่อไปโดยไม่

อาจอ้างข้อขัดแย้งหรือข้อพิพาทดังกล่าวเพื่อเป็นเหตุหยุดงานหรือไม่ปฏิบัติ

ตามสัญญา เว้นแต่กรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หรือผู้ว่าจ้างแจ้งให้หยุดงาน

ซึ่งจะเห็นว่าไม่มีการก าหนดให้เสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ

และไม่มีการก าหนดให้เสนอข้อพิพาทต่อศาลด้วย เพราะการเสนอข้อพิพาทต่อ

ศาลเป็นไปตามกฎหมายอยู่แล้วโดยไม่มีความจ าเป็นต้องก าหนดไว้ในสัญญา

น ามาใช้อีก

ดังนั้น ส าหรับหน่วยงานของรัฐแล้ว การอนุญาโตตุลาการจึงไม่ได้

ส่วนกรณีของเอกชนนั้น เอกชนต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจใน

ประเทศยังคงมีความนิยมอยู่ เมื่อท าสัญญากับเอกชนในประเทศมักจะมีข้อ

สัญญาให้เสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ แต่ส่วนใหญ่จะก าหนดให้พิจารณา

ข้อพิพาทในต่างประเทศ เช่น ประเทศสิงคโปร์และยังก าหนดให้ใช้ข้อบังคับการ

พิจารณาของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศด้วย เช่น ของ ICC (International

Chamber of Commerce) ซึ่งหากคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเป็นบริษัทไทยก็มักจะ

หลีกเลี่ยงไม่รับเงื่อนไขดังกล่าว เว้นแต่จ าเป็นจริง

ในระหว่างบริษัทเอกชนไทยกับไทยด้วยกัน มักไม่นิยมให้เสนอข้อ

พิพาทให้อนุญาโตตุลาการเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด


3-284

กำรเจรจำ (Amicable Settlement)

1. บทน า

เมื่อเกิดข้อขัดแย้งหรือแตกต่างกันขึ้น การเจรจาเพื่อหาข้อยุติเป็น

เรื่องปกติธรรมดาส าหรับนักธุรกิจไทย สัญญาที่ท าขึ้นในประเทศจึงไม่ค่อยจะได้

ก าหนดไว้เป็นเงื่อนไขให้เจรจากันก่อน แต่ของต่างประเทศมักจะก าหนดไว้เป็น

เงื่อนไขให้เจรจาท าความตกลงกันก่อน

การเจรจาท าให้ข้อพิพาทยุติลงด้วยความสมัครใจของคู่กรณี ไม่มี

ใครบังคับ และไม่มีใครตัดสิน ถ้าคู่กรณีไม่สมัครใจตกลงกัน การระงับข้อพิพาท

ด้วยการเจรจาก็จะไม่เกิดขึ้น

แม้เมื่อข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมีการฟ้องร้องกันในศาล ศาลก็มักจะ

แนะน าให้คู่ความเจรจาหาทางตกลงกัน บางกรณีศาลจะกรุณาช่วยไกล่เกลี่ยให้

ด้วย

การเจรจาเพื่อหาทางตกลงกัน ศาลจะถือเป็นความลับ และไม่น า

ข้อความที่เจรจากันนั้นไปประกอบการพิจารณาวินิจฉัยคดีในกรณีที่คู่ความไม่

สามารถตกลงกันได้ แต่ถึงอย่างนั้นก็ตาม คู่ความมักไม่กล้าพูดอะไรที่ท าให้ตน

เสียหายเพราะกลัวว่าศาลจะน าไปประกอบการพิจารณาคดี เช่น หากฝ่ายหนึ่ง

ยอมรับความตนเป็นหนี้ และยินยอมชดใช้เงินบางส่วน ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายนั้นต่อสู้ว่าตน

ไม่เป็นหนี้ ปัญหาเช่นนี้ท าให้ศาลจัดให้มีผู้ไกล่เกลี่ยต่างหากจากผู้พิพากษาที่

พิจารณาคดีเพื่อที่ผู้พิพากษานั้นจะไม่ทราบข้อความที่คู่ความเจรจากัน

ในกรณีที่เกิดข้อพิพาทขึ้นระหว่างคู่สัญญา ที่ปรึกษามีบทบาทที่

ส าคัญในการให้ความเห็นและเสนอแนะ ท าให้ข้อพิพาทยุติได้เป็นจ านวนมาก

1-13


3-285

1. บทน า

บทบาทอันส าคัญนี้ ท าให้สัญญาจ้างก่อสร้างของต่างประเทศก าหนดบทบาท ที่

ปรึกษาให้เป็นผู้ชี้ขาดปัญหาในการก่อสร้างหลายอย่าง บทบาทอันส าคัญนี้ของ

ที่ปรึกาจะได้กล่าวถึงต่อไป

1-14

กำรไกล่เกลี่ยข้อพิพำท (Conciliation หรือ Mediation)

การระงับข้อพิพาทด้วยการไกล่เกลี่ยเหมือนกับการเจรจาอย่างหนึ่ง

คือ คู่กรณีตกลงสมัครใจเห็นชอบกับข้อยุติ ไม่มีใครบังคับ ไม่มีใครตัดสิน ถ้า

คู่กรณีไม่สมัครใจตกลง หรือยังไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอเพื่อการตกลง การระงับข้อ

พิพาทด้วยการไกล่เกลี่ยก็ไม่เกิดขึ้น

การไกล่เกลี่ยแตกต่างจากการเจรจาตรงที่มีคนที่สามเป็นผู้ช่วย

แนะน าข้อดีในการตกลงกัน รวมทั้งแนะน าว่าเงื่อนไขในการตกลงกันควรเป็น

อย่างไร จะเกิดผลดีกับคู่กรณีอย่างไร วิธีการอย่างหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในการไกล่

เกลี่ย คือ ผู้ไกล่เกลี่ยจะแนะน าให้คู่กรณีผ่อนสั้นผ่อนยาว ลดข้อเรียกร้องของแต่

ละฝ่ายลงบ้างเพื่อให้ข้อพิพาทนั้นยุติลง

ในกรณีที่มีการยื่นข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการหรือต่อศาล

กระบวนการเจรจาและการไกล่เกลี่ยอาจเกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะด้วยการตั้งใจ

หรือไม่ตั้งใจก็ตาม ทั้งศาลและอนุญาโตตุลาการมักจะแนะน าให้คู่กรณีเจรจา

กันเองบ้าง หรือไม่ก็จัดให้มีผู้ไกล่เกลี่ยช่วยในการไกล่เกลี่ยหาข้อยุติบ้าง คู่กรณีจะ

ไม่ประสงค์เจรจาหรือไม่ประสงค์จะให้ใครช่วยไกล่เกลี่ยก็ได้

แม้ว่าข้อพิพาทจะยังไม่มีการยื่นให้อนุญาโตตุลาการหรือศาล

พิจารณา คู่กรณีก็อาจขอให้บุคคลหนึ่งบุคคลใด ซึ่งมักจะเป็นคนที่คู่กรณีเชื่อถือ


3-286

ช่วยไกล่เกลี่ยให้ก็ได้

กำรวินิจฉัยโดยผู้ชี้ขำด (Adjudicator)

1. บทน า

การวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการที่ต่างประเทศใช้กัน

มาเป็นเวลานานแล้วนั้น มีการพัฒนาวิธีการหรือกระบวนการวินิจฉัยกันเรื่อยมา

เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมกับคู่พิพาทมากยิ่งขึ้น ท าให้มีระเบียบข้อบังคับมากขึ้น

การปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับที่มากขึ้นก็ยุ่งยากมากขึ้นตามไปด้วย เกิดความ

จ าเป็นที่จะต้องใช้ผู้รู้ระเบียบข้อบังคับเหล่านั้น จึงจ าเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญทาง

กฎหมายหรือทนายความให้เข้ามาช่วยจัดการให้ ข้อดีของกระบวนการอนุญาโต

ตุลาการที่ไม่ต้องใช้ทนายความเหมือนศาลก็ไม่เป็นข้อดีอีกต่อไป และข้อดีของ

กระบวนการอนุญาโตตุลาการที่รวดเร็วที่แต่เดิมมักจะใช้เวลาไม่เกิน 6 เดือนก็

เกิดความล่าช้ามาก แม้ความล่าช้านั้นจะยังรวดเร็วกว่ากระบวนการพิจารณาคดี

ของศาล แต่ก็ไม่รวดเร็วทันกับความจ าเป็นทางธุรกิจ โดยเฉพาะเกี่ยวกับการ

ก่อสร้าง แนวความคิดที่จะใช้วิธีการระงับข้อพิพาทโดยผู้ชี้ขาดจึงเกิดขึ้นเพื่อให้มี

ข้อดีเหมือนกับการอนุญาโตตุลาการแต่เดิม

แนวความคิดนี้ เป็นแนวความคิดใหม่ที่เกิดขึ้นในสัญญาจ้างก่อสร้าง

มาตรฐานของ FIDIC มีลักษณะเหมือนการอนุญาโตตุลาการ แต่เรียกเสียใหม่ว่า

เป็น Dispute Adjudication Board หรือ DAAB มีการก าหนดรายละเอียดไว้

อย่างยืดยาว วิธีการดังกล่าวนี้ไม่ค่อยเป็นที่นิยมน ามาใช้ในประเทศไทย แม้จะมี

หลายโครงการน าสัญญา FIDIC มาใช้ ก็ไม่ได้น า DAAB มาใช้ด้วย

ความจริงการวินิจฉัยข้อพิพาทโดยผู้ชี้ขาดนี้ไม่ใช่ของใหม่ สัญญา

1-15


3-287

1. บทน า

ของ FIDIC ฉบับเก่า ๆ เคยก าหนดไว้ในเงื่อนไขทั่วไปให้ที่ปรึกษา ซึ่ง FIDIC

เรียกว่า Engineer เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท เช่น โครงการในประเทศไทย

โครงการหนึ่งนานมาแล้ว เคยน าสัญญา FIDIC ฉบับดังกล่าวมาใช้ในประเทศไทย

และเกิดข้อพิพาทขึ้น มีการเสนอข้อพิพาทให้ที่ปรึกษาวินิจฉัย ที่ปรึกษาวินิจฉัย

แล้ว คู่สัญญาไม่ยอมรับ จึงมีการฟ้องร้องกันในศาล จนไปถึงศาลฎีกา

1-16

กำรวินิจฉัยโดยที่ปรึกษำ (Consultant)

อ านาจของที่ปรึกษาในการวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาต่าง ๆ ที่ปรากฏใน

สัญญาจ้างก่อสร้างมีหลายอย่าง อย่างหนึ่งอาจได้แก่การวินิจฉัยข้อพิพาทระหว่าง

เจ้าของโครงการผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างก่อสร้าง กรณีดังกล่าวนี้อาจท าให้ ที่ปรึกษา

อยู่ในฐานะที่ถูกมองว่าเป็นผู้มีอคติเข้าข้างฝ่ายผู้ว่าจ้าง เพราะผู้ว่าจ้างคนดังกล่าว

เป็นคนเดียวกันกับผู้ว่าจ้างที่ว่าจ้างที่ปรึกษา และเป็นคนจ่ายค่าจ้างให้แก่ที่

ปรึกษา เป็นกรณีที่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกัน ซึ่งอาจมีผลท าให้การวินิจฉัยชี้ขาด

ข้อพิพาทของที่ปรึกษาไม่เป็นที่ยอมรับของผู้รับจ้างก่อสร้าง

เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับความไม่เป็นกลางของที่ปรึกษา สัญญา

จ้างที่ปรึกษาของ FIDIC จึงมีข้อความเขียนว่า

Where the services include the exercise of powers or performance of

duties authorized or required by the terms of a contract between the

Client and any third party, the Consultant may, if authorized to certify,

determine or exercise discretion to do so fairly between the Client and

third party not as an arbitrator but as an independent professional

exercising his judgement with reasonable skill, care and diligence.

ข้อความที่ก าหนดให้ “determine fairly as an independent

professional” บ่งบอกให้เห็นว่าต้องไม่เข้าข้างผู้ว่าจ้าง ต้องตัดสินข้อพิพาท


3-288

1. บทน า

อย่างเป็นธรรม ตรงไปตรงมา เงื่อนไขนี้จึงเป็นเงื่อนไขคุ้มครองที่ปรึกษาให้ปฏิบัติ

หน้าที่อย่างอิสระในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ เมื่อวินิจฉัยตามเงื่อนไขดังกล่าวนี้

แล้ว ที่ปรึกษาก็จะไม่ตกเป็นฝ่ายผิดสัญญาเพราะเงื่อนไขของสัญญาให้ความ

คุ้มครองอยู่แล้ว

ดังนั้น เมื่อสัญญาก่อสร้างระหว่างผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างก่อสร้างให้

อ านาจที่ปรึกษาในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท ที่ปรึกษาจึงต้องวินิจฉัยให้ถูกต้อง

และเป็นธรรม และไม่ต้องเป็นกังวลว่าจะตกเป็นฝ่ายผิดสัญญา

1-17


3-289


3-290

2. ค ำอธิบำยโดยย่อเกี่ยวกับ

คณะกรรมกำรป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพำท

(DAAB)

คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท ( Dispute

Aviodance/Adjudication Board: DAAB) เป็นสมาชิกที่ส าคัญในสัญญา มี

วัตถุประสงค์เพื่อช่วยคู่สัญญา และวิศวกรในการป้องกันไม่ให้ความขัดแย้ง

กลายเป็นข้อพิพาท หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงข้อพิพาทได้ DAAB จะตัดสินใจ

เกี่ยวกับข้อพิพาทที่มีผลผูกพันกันระหว่างคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายและวิศวกร การ

ตัดสินใจจะต้องมีผลทันที แม้ว่าคู่สัญญาจะตัดสินใจส่งข้อพิพาทไปยัง

อนุญาโตตุลาการตามสัญญาก็ตาม

เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ จะต้องมีการจัดตั้ง DAAB ตั้งแต่เมื่อ

เริ่มต้นสัญญา ก่อนที่จะมีข้อขัดแย้งใด ๆ และควรท างานต่อไปจนกว่าจะมีการ

ออกหนังสือรับรองผลงาน เมื่อระยะเวลาการแจ้งข้อบกพร่องของงานหมดอายุ

แล้ว คู่สัญญาจะต้องไม่รอจนกว่าจะเกิดข้อโต้แย้งใด ๆ ก่อนที่จะมีการเริ่ม

ด าเนินการ และจัดตั้งคณะกรรมการ ฯ

สมาชิก DAAB ทั้งหมดจะได้รับการคัดเลือกตามข้อตกลงของ

คู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ค่าใช้จ่ายของ DAAB จะแบ่งกันฝ่ายละครึ่งโดยคู่สัญญา

DAAB อาจเป็นบุคคลคนเดียว แต่ส าหรับสัญญาที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมาก

แนะน าให้ใช้ DAAB 3 คน สมาชิก DAAB ควรมีประสบการณ์เกี่ยวกับประเภท

ของการก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับสัญญา และในการบริหารสัญญาดังกล่าว DAAB

2-1


3-291

2. ค าอธิบายโดยย่อเกี่ยวกับ คณะกรรมการผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท (DAAB)

ต้องเป็นอิสระจากทั้งสองฝ่าย และไม่สามารถผูกสัมพันธ์กับทั้งสองฝ่ายหรือ

วิศวกร

DAAB จะด าเนินงานโดยสรุป ดังนี้ (1) การเข้าตรวจเยี่ยมตาม

ก าหนดเวลาที่ก าหนดไว้ในโครงการ และ (2) ศึกษาข้อมูลที่ได้รับจากคู่สัญญาใน

ระหว่างช่วงเวลาการตรวจเยี่ยมโครงการเป็นระยะ ๆ สิ่งส าคัญคือ DAAB จะต้อง

จัดตั้งขึ้นโดยเร็วที่สุดหลังจากลงนามในสัญญา และ DAAB เริ่มต้นการเข้าตรวจ

เยี่ยมโครงการทันที หรือหลังจากเริ่มต้นการก่อสร้าง ณ สถานที่ก่อสร้าง

ในบางครั้งคู่สัญญาอาจมีความกังวลว่าบทบัญญัติของ DAAB จะไม่

เป็นไปตามกฎหมายในประเทศของตน ซึ่งอาจสะท้อนถึงความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ

กระบวนการของ DAAB ในกระบวนการของ DAAB เป็นขั้นตอนการบริหาร

สัญญาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อพิพาทอย่างเป็นทางการ ซึ่งจะถูกส่งไปยัง

อนุญาโตตุลาการตามเงื่อนไขของสัญญา การตัดสินใจของ DAAB ในข้อพิพาท

อย่างเป็นทางการต่อการน าเสนอนั้น จะกลายเป็นข้อสรุปและมีผลผูกพันต่อ

คู่สัญญา เว้นแต่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับการตัดสินนั้นโดยทันที

หากมีการแจ้งให้ทราบแล้ว กรณีข้อพิพาทนั้นจะด าเนินการต่อด้วยวิธีการทาง

อนุญาโตตุลาการ เพื่อขอค าชี้ขาดจากอนุญาโตตุลาการที่แต่งตั้ง และเป็นขั้นตอน

สุดท้ายตามข้อย่อย 20.6 ในเงื่อนไขของสัญญา FIDIC

2-2


3-292

2. ค าอธิบายโดยย่อเกี่ยวกับ คณะกรรมการผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท (DAAB)

คู่สัญญาควรศึกษา และปรึกษาเกี่ยวกับบทบัญญัติแห่งข้อบังคับ

ของข้อที่ 20 กับที่ปรึกษาทางกฎหมายของตน ก่อนจะรับค าเชิญเข้าประกวด

ราคา ระบบ DAAB ได้รับการตรวจสอบการใช้งานในหลายประเทศทั่วโลก พบว่า

เป็นเรื่องยากที่จะเกิดปัญหา ด้วยระบบกฎหมายต่าง ๆ เช่นกฎหมายทั่วไป

กฎหมายแพ่ง กฎหมายอิสลาม และระบบกฎหมายผสม อย่างไรก็ตามหากพบ

ปัญหาทางกฎหมายขั้นพื้นฐาน คู่สัญญาควรขอค าแนะน าจากที่ปรึกษาด้าน

กฎหมาย/การเงิน ทันทีก่อนที่จะรับเชิญเข้าประกวดราคา

2-3


3-293


3-294

3. ข้อพิจารณาในขั้นตอนก่อนด าเนินการโครงการ

ก่อนเริ่มด ำเนินกำรตำมสัญญำนั้น สิ่งส ำคัญส ำหรับผู้ว่ำจ้ำงเพื่อให้มี

กำรจัดเตรียมทำงกำรเงินที่เพียงพอส ำหรับค่ำใช้จ่ำยของ DAAB เป็นสิ่งส ำคัญที่

จ ำเป็นจะต้องจัดสรรค่ำใช้จ่ำยในกำรปฏิบัติงำนของ DAAB โดยผู้ว่ำจ้ำง

รำยละเอียดได้กล่ำวไว้ในเอกสำรแนบท้ำยบทที่ 3.1 แผนภูมิแสดงกำรรวม

ค่ำใช้จ่ำยในงบประมำณโครงกำรแสดงในเอกสำรแนบท้ำยบทที่ 3.2 และข้อมูล

ช่วยในกำรประมำณค่ำใช้จ่ำยของ DAAB ได้แสดงไว้ในเอกสำรแนบท้ำยบทที่ 3.3

ข้อส ำคัญอีกประกำรหนึ่งในกำรวำงแผน เพื่อให้มั่นใจว่ำค ำแนะน ำ

ผู้เข้ำประกวดรำคำ และกำรประชุมก่อนกำรประกวดรำคำใด ๆ กับผู้เสนอรำคำ

จะได้เน้นเรื่อง DAAB และได้รวมไว้ในงำนโครงกำรตั้งแต่เริ่มงำนก่อสร้ำง คือ

แนะน ำให้รวบรวมข้อมูลเหล่ำนี้ไว้ในเอกสำรค ำแนะน ำผู้เข้ำประกวดรำคำนี้ด้วย

แล้ว

============

3-1


3-295

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

3-2

3.1 มีการใช้ DAAB ในโครงการนี้หรือไม่

เอกสารแนบท้ายบทที่ 3.1

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ DAAB

ในงำนก่อสร้ำงมักเกิดควำมขัดแย้งที่ไม่คำดคิดระหว่ำงคู่สัญญำ

ดังนั้นจึงแนะน ำให้มีจัดตั้ง DAAB ภำยใต้เงื่อนไขของสัญญำ FIDIC กำรก ำหนด

ค่ำใช้จ่ำย DAAB จะระบุไว้เป็นมำตรฐำน นอกจำกนี้ยังมีข้อแนะน ำส ำหรับสัญญำ

อื่น ๆ (เช่นโรงผลิต/โรงงำน) ที่อำจมีปัญหำที่คำดไม่ถึงระหว่ำงกำรด ำเนินงำน

ในทำงกลับกัน DAAB จะไม่จ ำเป็นส ำหรับสัญญำจัดหำสินค้ำ ฯลฯ

3.2 จ านวนสมาชิก DAAB ที่ควรค านึงถึง (1 หรือ 3?)

ผู้ว่ำจ้ำงต้องตัดสินใจในจ ำนวนสมำชิก DAAB ก่อนประกำศหนังสือ

เชิญไปยังผู้เข้ำประกวดรำคำ

มีข้อแนะน ำให้มีกำรจัดตั้งสมำชิก DAAB จ ำนวน 3 คน ส ำหรับ

โครงกำรที่มีรำคำตำมสัญญำเกินกว่ำ 1,700 ล้ำนบำท (50 ล้ำนเหรียญสหรัฐ)

นอกจำกนี้ควรค ำนึงถึงควำมซับซ้อนของโครงกำร ในขณะที่โครงกำรถนนชนบท

อำจพิจำรณำ DAAB จ ำนวน 1 คน โครงกำรไฟฟ้ำพลังน้ ำที่มีควำมซับซ้อนควรมี

DAAB จ ำนวน 3 คน แม้ว่ำรำคำสัญญำจะไม่เกิน 1,700 ล้ำนบำทก็ตำม เนื่องจำก

DAAB ที่มีสมำชิกหลำยคนจะมีประสบกำรณ์ที่หลำกหลำยในด้ำนควำมช ำนำญ

ในงำนด้ำนวิศวกรรมที่แตกต่ำงกัน (งำนโยธำ ไฟฟ้ำ เครื่องกล ฯลฯ) ในคู่มือกำร


3-296

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

ใช้ FIDIC Contracts Guide (2000) มีข้อเสนอแนะว่ำ DAAB แบบ 3 คนจะ

ได้รับกำรพิจำรณำว่ำเหมำะสมส ำหรับสัญญำที่เกี่ยวข้องกับกำรจ่ำยเงินค่ำจ้ำง

รำยเดือนเฉลี่ยเกินกว่ำ 70 ล้ำนบำท (2 ล้ำนเหรียญสหรัฐ) หำกกำรจ่ำยเงินรำย

เดือนเฉลี่ยไม่เกิน 35 ล้ำนบำท (1 ล้ำนเหรียญสหรัฐ) อำจพิจำรณำจ ำนวนสมำชิก

เพียง 1 คน

3.3 จะประมาณการค่าใช้จ่ายของ DAAB อย่างไร?

ค่ำใช้จ่ำยของ DAAB จะรวมค่ำธรรมเนียม และค่ำใช้จ่ำยของ

สมำชิกใน DAAB แต่ละคน รำยละเอียดดังแสดงใน เอกสำรแนบท้ำยบทที่ 3.3

3-3


3-297

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

เอกสารแนบท้ายบทที่ 3.2

แผนภูมิแสดงการรวมค่าใช้จ่ายในงบประมาณโครงการ

3-4


3-298

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

เอกสารแนบท้ายบทที่ 3.3

การประมาณค่าใช้จ่ายของ DAABB (DAAB Cost Estimate)

The principal cost of a DAAB is the fees of the members.

The MDAAB Conditions do not prescribe a particular amount for a

DAAB member's fee. The MDAAB Conditions set forth a structure for

a fee in two parts: a Retainer Fee, which, briefly, covers all the work

by the DAAB member not covered by the second part, the Daily Fee.

Briefly, the Daily Fee is for Site visits and works on formal disputes

referred to it for decision and not accomplished during a Site visit.

The other cost of a DAAB is its expenses. Under the

Retainer Fee concept, most of the costs are minimal, such as

expenses of photocopying and long distance telephone calls,

document courier service, postage; however, if any DAAB member is

not resident in the country of the project, significant expense can

arise from air fares and perhaps hotel accommodations.

Typically, DAAB members invoice for fee in advance, and

often for convenience of all concerned, invoices for fee are issued

quarterly in advance, and expenses are invoiced as early as possible

3-5


3-299

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

after being incurred. As most DAAB members are self-employed often

air fares are invoiced in advance, and hotel accommodation will be

requested to be arranged by the Contractor or the Employer if

discounted rates can be obtained. Also, sometimes the DAAB asks

that the hotel charges be paid directly to the hotel by one or both

of the Contract Parties.

It depends on the laws whether the members of the

DAAB shall invoice VAT. In some countries VAT laws assume that the

services of a DAAB member are to be given at its respective domicile.

Any taxes properly levied in the Country (the country

where the project is situated) on payments made to the member are

to be reimbursed to the member. This includes any assessment of

income tax liability in the country against a member who is resident

outside the country.

3-6

Daily Fee

As noted above, there is no set amount required by the

Harmonised Conditions. It should be set by a balanced consideration

of the level and extent of experience, and particular expertise of the


3-300

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

DAAB member, and the foreseen complexity of the Works under the

Contract. Most prospective DAAB members are willing to quote a

proposed Daily Fee, and are willing to discuss the proposal, although

top class DAAB members do not offer "cut price" service. It is not

good practice to make selection by accepting the lowest fee

quotation offered. Selection should be based on quality and

experience rather than price.

The Contract Parties and the Engineer all will have readily

available a general indication of the cost of top level consultants as

an indicator of what Daily Fee level for DAAB members is appropriate.

The Harmonised Conditions indicate a "default" fee if the Parties are

unable to agree a different fee, and that is the amount (at the time

being) of the daily fee for arbitrators under the arbitration system of

the International Centre for Settlement of Investment Disputes

("ICSID"), a United Nations organ. That fee is available on the ICSID

website, www.icsid.worlDAABarLk.org. As of 01 January 2012, that fee

is US$3000 per day.

It is observed that this amount is readily accepted by

most DAAB members. However, in many instances, suitable DAAB

3-7


3-301

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

members are willing to serve for less than that amount, but it is

potentially unwise to seek to set a Daily Fee for less than one-half

of the ICSID fee especially if DAAB members are sought from outside

the country of the project, because it is likely to be difficult to attract

top quality experts for any lesser amount. If more than one person

is on the DAAB, it is good practice to pay each the same fee, although

sometimes the Chairperson receives somewhat more than the other

two members in recognition of the Chairperson's duty of organising

the internal operations of the DAAB; however, there is no "standard

practice" on this point.

3-8

Retainer Fee

As of the time of publication of this Manual, JICA has

observed that many DAABs operate with a retainer at less than this

amount, especially if the Daily Fee is at or near the ICSID daily fee

for arbitrators. It may be that a DAAB member will be willing to accept

twice the Daily Fee, or even a single day's Daily Fee each month.

Much will (and should) depend upon the complexity of the Contract.

For example, the task (which is covered by the Retainer Fee) of

studying the Contract and remaining familiar with it likely will be less


3-302

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

time-consuming for a typical road project than it will be for a large

hydroelectric project. ; construction of a school is likely to be less

complex than the construction of a hospital.

On both the Daily Fee and the Retainer Fee, it is to be

remembered when deciding on fees that the Contract Parties are

investing in the DAAB as a means of trying to avoid the much more

costly and time- consuming process of international arbitration or

litigation. To use an old English expression, it is important not to be

"Penny wise but Pound foolish".

DAAB Expenses

In considering these, it is important to note that there will

be some costs arising from the Site visits, such as local transport and

DAAB member sleeping accommodation ( whether at Site or in a

hotel) in addition to the airfare and such cost should be allowed for

in the Provisional Sum discussed in the main text of the Manual at

4.2 (i). Hotel cost and local transport cost may be reduced if either

the Contractor or the Employer can negotiate a special room rate for

the DAAB members at a local hotel which then would accommodate

all DAAB members on their visits

3-9


3-303

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

If DAAB members come from outside the country of the

project, there also likely will be significant air fare expense for each

such DAAB member, and while under the Appendix to Clause 20 of

the Harmonised Conditions it will be at "less than First Class" it is

likely to be unrestricted Business Class fare, which will be a significant

cost if the duration of the Contract is lengthy, and the home cities of

the DAAB members are far from the project Site. Such foreign DAAB

members may also have significant local transportation expense to

and from the airports in their home countries.

3-10

Budgeting technique

To assist in budgeting for the use of the DAAB, two

hypothetical examples have been prepared, one for a single person

DAAB with a resident in the country for a relatively simple road

project, and the other for a 3 person DAAB with three entirely foreign

members for a complex hydropower project.

(i) Sample Cost Estimate for a simple road project - 1-

Person DAAB

• DAAB member is a resident in the country.


3-304

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

• Daily Fee is US$2,000/ day and Retainer Fee is

US$2,000/month.

• Construction Term: 2 years

• Number of DAAB Member: 1

• Frequency of Site visits: 3 times each year, at intervals

of 4 months, thus the visits will be conducted 6 times before TOC

(taking-Over Certificate). This meets the conditions that intervals shall

not be more than 140 days between the Site visits according to

Procedural Rule 1 annexed to General Conditions of Dispute Board

Agreement which is appended to MDAAB Edition. (This requires more

than 5.1 times.)

• Termination: at the time of expiry of Defects

Notification Period, one year after the TOC. Retainer Fee for this

period is two thirds of the Retainer Fee before TOC. This reduction is

because it is not expected that there will be further Site visits as

construction will have been substantially complete when the TOC is

issued. It also assumes that the Parties will have been diligent and

that no claims or disputes are pending action by the DAAB at the

3-11


3-305

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

time of the TOC, so that the only reason the DAAB would be required

to do further work after the TOC is any possible dispute which arises

during the Defects Notification Period.

• Suppose there will be 2 Referrals of formal Disputes

to the DAAB during construction.

Cost estimate for the regular Site visits is shown below:

Cost Category

1-person DAAB

Monthly Retainer Fee US$2,000 x 24 months US$48,000

Monthly Retainer

during DNP

Daily fee for Site Visits (3

days for Site visit, half day

x 2 for travel)

Site Visit Expenses

(Inland Transportation,

accommodation, etc.)

Sub-Total (1)

US$1,300 x 12 months

US$2,000 x 4 days x 6 times

US$1,000 x 6times

US$15,600

US$48,000

US$6,000

US$117,600

3-12


3-306

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

Cost estimate for the referrals is shown below:

Cost Category

Additional Daily Fee at

Regular Site Visits

Reviewing Submission

and Drafting Decision

Sub-Total (2)

US$2,000 x 1 days x 2 times

US$2,000 x (3 days + 3 days) x 2

times

1-person DAAB

US$4,000

US$24,000

US$28,000

Total Sub-Total (1) + Sub-Total (2) US$145,600

Although the costs of DAAB shall be shared equally by

the Employer and the Contractor, some Tenderers may include this

cost in their Tender prices while others may exclude this cost to keep

their Tender prices competitive. In any event, the Employer shall

include the total amount of the above in the cost estimation for the

project at the time of appraisal by the Financier. When the Employer

prepares Tender Documents with the consultant, one half of the

above estimate should be included under the Provisional Sum.

However, it should be

Noted that use of the Provisional Sum requires a prior

3-13


3-307

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

instruction by the Engineer as mentioned in Sub-Clause 13. 5 of the

MDAAB Conditions. It may be necessary to let the Provisional Sum

be used without prior instruction by the Engineer for the cost of the

DAAB, to make the periodic payments faster and easier. A

recommended wording to be included in the Particular Conditions to

ensure this is included in Appendix 4.3 - Provisional Sum for Payment

to DAAB.

( ii) Sample Cost Estimate for a complex hydro power

project - 3-Person DAAB

• DAAB members are from foreign countries.

• Daily Fee is US$3,000/ day and Retainer Fee is

US$3,000/month.

• Construction Term: 4 years

• Number of DAAB Member: 3

• Site visit: 3 days and average travel time: 3 days

• Frequency of Site visits: 3 times each year, thus the

visits will be conducted 9 times (one time/4 months) before TOC

(taking-Over Certificate). This meets the conditions that intervals shall

3-14


3-308

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

not be more than 140 days according to Procedural Rule 1 annexed

to General Conditions of Dispute Board Agreement which is

appended to MDAAB Conditions.

• Termination: at the time of expiry of Defects

Notification Period, one year after the Taking- Over Certificate.

Retainer Fee for this period is two thirds of the Retainer Fee before

TOC.

• Suppose there will be 3 Referrals during construction.

Cost estimate for the regular Site visits is shown below:

Cost Category For 1 DAAB member for calculation purpose 3-person DAAB

Monthly Retainer

Fee

Monthly

Retainer

Daily fee for

during

Site Visits (3

DNP

days for Site

visit,

1 + 2 days for

travel)

US$3,000 x 48 months = US$144,000

US$2,000 x 12 months = US$24,000

US$3,000 x (3 days + 3days) x 9 times =

US$162,000

US$432,000

US$72,000

US$486,000

3-15


3-309

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

Cost Category For 1 DAAB member for calculation purpose 3-person DAAB

Site Visit

Expenses (Air

US$7,000 x 9 times = US$63,000

US$189,000

tickets,

Sub-Total (1)

accommodati

US$393,000 US$1,179,000

on, etc.)

Cost estimate for the referrals is shown below:

Cost Category For 1 DAAB member for calculation purpose 3-person DAAB

Additional Daily

Fee at Regular

Site Reviewing Visits

US$3,000 x 1 days x 3 times = USD$9,000

US$3,000 x (3 days + 3 days) x 3 times =

US$27,000

US$162,000

Submission US$54,000

and Sub-Total Drafting (2) US$63,000 US$189,000

Decision Total Sub-Total (1) + Sub-Total (2) US$1,368,000

3-16


3-310

3. ข้อพิจำรณำในขั้นตอนก่อนด ำเนินกำรโครงกำร

The same consideration shall be made as described in

the previous example.

3-17


3-311


3-312

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

เมื่อที่ปรึกษาและผู้ว่าจ้างจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

จ าเป็นต้องให้ความส าคัญในเรื่องของ DAAB ซึ่งจะต้องตัดสินใจในขั้นตอนนี้

ข้อมูลของสัญญา

ผู้ว่าจ้างจะต้องจัดเตรียมเอกสาร "เงื่อนไขเฉพาะ - ส่วน A: ข้อมูล

ของสัญญา" ก่อนที่จะเชิญผู้เสนอราคา แบบฟอร์มนี้ออกแบบมาเพื่อรับรองว่าที่

ปรึกษาและผู้ว่าจ้างจะให้ข้อมูลที่จ าเป็นแก่ผู้เสนอราคา แบบฟอร์มจะถูกอ้างถึง

หลายแห่งในเงื่อนไขทั่วไปของสัญญา เหตุผลในการอ้างอิงของแบบฟอร์ม เพื่อให้

สอดคล้องกับข้อย่อยตามที่ระบุในเงื่อนไขทั่วไปนั้น ข้อมูลของสัญญาเฉพาะที่

เกี่ยวข้องกับ DAAB ได้แสดงไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 4.1 เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ

ใช้งานได้สะดวก ผู้ว่าจ้าง (และที่ปรึกษา) ควรตระหนักถึงความจ าเป็นในการระบุ

ข้อมูล รวมถึงข้อมูลเฉพาะที่จ าเป็น เอกสารแนบท้ายบทที่ 4.2 จะแสดง

ค าแนะน าเพิ่มเติมในการกรอกแบบฟอร์ม

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา: รวมถึงรายการเงินส ารองเผื่อ

จ่าย (Provisional Sum) ส าหรับค่าใช้จ่ายของ DAAB

เป็นสิ่งส าคัญที่จะรวมค่าใช้จ่ายของ DAAB ไว้ในงบประมาณของ

โครงการ และกลไกส าคัญที่อยู่ในข้อตกลงสัญญากับผู้รับจ้าง เพื่อให้มีการ

เบิกจ่ายให้ผู้รับจ้างในจ านวนครึ่งหนึ่งของผู้ว่าจ้างในการช าระเงินทั้งหมดให้กับ

สมาชิก DAAB (s) การแบ่งค่าใช้จ่ายนี้เป็นไปตามวรรคสามในตอนท้ายของส่วนที่

6 ของภาคผนวกข้อ 20 ในเงื่อนไขของ FIDIC

4-1


3-313

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

รายละเอียดเกี่ยวกับการใช้รายการเงินส ารองเผื่อจ่าย (Provisional

Sum) ตามวัตถุประสงค์นี้ แสดงไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 4.3

===========

เอกสารแนบท้ายบทที่ 4.1

เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา – ส่วน A: ข้อมูลสัญญา

Particular Conditions – Part A: Contract Data

The form entitled “Particular Conditions – Part A: Contract Data”

should not be enlarged upon by adding further details to the form,

except as absolutely necessary, and then with prior legal advice.

4-2

Date by which the DAAB shall be appointed ( Sub- Clause

20.2)

It is strongly recommended to establish a DAAB as early as possible

thus the Employer and the Engineer are advised to leave “28 days

after the Commencement Date” as being the default deadline.

The Size of DAAB (Sub-Clause 20.2)

The number of DAAB members will have been already decided by

the Employer and the Engineer when the project appraisal was made


3-314

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

by the Financier because this information is essential for the estimate

of costs of the DAAB. Even if the Employer is tempted, for reasons of

cost to have a 1-person DAAB, very careful consideration should be

given to the benefits of having a 3-person DAAB because the cost

increase is minimal when compared with the total value of the

Contract, and will give the Employer the benefit of a deeper range

of experience and expertise in the DAAB, and will assure that illness

or injury of one person does not impede the operation of the DAAB.

Listing of potential DAAB sole Members (Sub-Clause 20.2)

The form “Particular Conditions – Part A: Contract Data” has on its

last page a blank space to be filled in by the Employer if a sole

member DAAB has been chosen. This is to be used ONLY if a sole

member DAaB is being used. If a 3 person DAAB is being used, the

blank should not be completed.

If the Employer wishes to include a nominee or nominees, it must

be understood that the names are suggestions only. The Tenderer is

free to reject any or all of them because mutual agreement must be

achieved on the identity of a sole member DAAB. If the Employer

wishes to include a nominee or nominees, then the c. v. of each

4-3


3-315

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

nominee should be included in the material sent with the Invitation

to Tender, and the Tenderer should be invited to propose one or

more nominees in its Tender, such proposal to be accompanied by

the c.v. of each nominee.

This process of exchange of nominees should include checking with

any prospective nominee to assure availability and lack of conflict of

interest as among the Tenderer, the Employer, and the Engineer. c.v.s

obtained should include details of previous experience on DAABs and

on the type of construction involved in the Contract.

If a Tenderer is of a different nationality than the Employer, best

practice is that a sole member DAAB should be of a different

nationality than either the Employer or the Engineer, to avoid any

possible perception of bias based upon nationality.

If ‘None’ is entered in the blank, or if nominees are exchanged by

the Invitation and the Tender, then the Employer, the Engineer, and

the Tenderer should assure that during discussions prior to award of

the Contract, agreement is reached on the identity of the person

4-4


3-316

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

chosen, and that person is available and suitable, as described

above.”

A sample letter to the prospective DAAB member for nomination is

attached as Appendix 4. 3. This letter should be sent out and

acceptance should be obtained in time before putting nominees’

names in the Tender Documents.

It is important to each Party that its proposed DAAB member should

be considered carefully before nomination. Neither Party should rely

solely upon published lists of DAAB members or published lists of

arbitrators and should perform “ due diligence” in selection.

Preferably this should include a personal interview with the intended

nominee if not already well known to the Party; if cost prohibits faceto-face

meeting, consideration should be given to using Skype, or at

least telephone discussion.

Also, “ due diligence” includes obtaining references, and making

discreet enquiries, and for the Employer this should include

discussion with the Engineer which has been selected to serve the

Contract. The same “due diligence” concept applies to decision by

the Parties on the Chairperson of a 3-person DAAB: even though both

4-5


3-317

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

of the first two DAAB members chosen will have jointly suggested a

person to chair the DAAB, each Contract Party should satisfy itself

that the Chairperson proposed is satisfactory.

Third Party Appointment (Sub-Clause 20.3)

It is essential that the DAAB implementation not be impeded or

frustrated by failure to act of either Party, so it is required to name

an appointing entity or official which will act if the Parties fail to act.

There are many reputable organisations which offer this service,

usually for a small fee.

A list of these is attached in Appendix 5. 2. It is suggested that such

entity should not be of the nationality of either Party so that if it

becomes necessary to refer to the appointing entity or official, there

can be no suggestion of lack of impartiality of the appointer.

In case either Party intends to file a request for nomination of a DAAB

member to an appointing entity it is strongly recommended to inform

the appointing entity properly about the project and the

requirements (in terms of experience, skills and profession) to be met

4-6


3-318

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

by a future probable DAAB Member. The appointing entities will take

account of this information when making its choice.

It is noteworthy that the appointment by the appointing entity is

usually final and binding on the Parties.

4-7


3-319

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

เอกสารแนบท้ายบทที่ 4.2

แบบสัญญาในส่วนที่เกี่ยวกับ DAAB

Form of Contract Data relating to DAAB

4-8


3-320

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

4-9


3-321

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

DRAFT

4-10

เอกสารแนบท้ายบทที่ 4.3

ตัวอย่างจดหมายถึงสมาชิก DAAB

A sample letter to the prospective DAAB members

Employer Letterhead

Dear Mr./Madam XXXX

Re: [Name of Project & identification of specific Contract name and

number]; Dispute Advoidance/Adjudication Board

We are in the process of obtaining Tenders for the above Contract,

which we hope to conclude by approximately mm/yyyy, and at that

time or immediately thereafter to establish a Dispute Board for the

Contract. The Contract will have the FIDIC MDB Harmonised

Conditions of Contract. Copies of Clause 20 of those Conditions,

including its Appendix and the Annex to the Appendix are enclosed

with this letter in case you are not familiar with those dispute

resolution provisions.

Your name has been suggested as a potential nominee by us for

consideration of membership in the DAAB. We would appreciate


3-322

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

receiving your advice of whether you are interested in principle in

such service, and your anticipated availability. If you are available

and interested, please kindly forward your latest c. v. including

specific experience relevant to the type of construction indicated

by the above Contract title.

As you will see from the enclosures, the appointment of a person for

DAAB service requires the agreement of the successful Tenderer, and

its identity would be disclosed to you to assure that there is no

conflict of interest in your performance of the proposed DAAB

service. Also, you would be required to sign a written agreement with

the Contract Parties.

Should you have any specific questions regarding our enquiry, please

address them to the [email address/fax number] set out here.

Thank you for your consideration of this letter. May we please

request your kind written response within 10 days of receipt.

Yours faithfully,

END DRAFT

4-11


3-323

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

4-12

เอกสารแนบท้ายบทที่ 4.4

เงินส ารองเผื่อจ่ายแก่ DAAB

Provisional Sum for payment to DAAB

Preparation of Provisional Sum

The costs of DAAB will have been estimated by the Employer and

the Engineer at the time of the appraisal of the project, and must be

included in the Bill of Quantities by the Engineer and Employer as a

Provisional Sum based on the estimate of cost of the DAAB. The

Provisional Sum should be one-half of that estimate of cost which

will be born by the Employer. (It is emphasized that the Provisional

Sum should be only one-half of the estimated cost of the DAAB,

even though the Financier’s loan is to include 100% of the estimated

cost of DAAB) Thus the Provisional Sum will be the source of the

funds for payment of the DAAB. However, in order to ensure the

payment to the DAAB members by use of the Provisional Sum, the

General Conditions Sub- Clause 13. 5 should be amended in the

Particular Conditions. A recommended provision is as follows:

“Sub-Clause 13. 5 shall be amended by adding at the end, ‘As an

exception to the above, the Provisional Sum for the cost of the


3-324

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

Dispute Board shall be used to pay to the Contractor of the

Employer's one-half share of the invoices of the Dispute Board for its

fees and expenses, in accordance with Clause 20. No prior instruction

of the Engineer shall be required with respect to the work of the

Dispute Board. The Contractor shall produce the Dispute Board

invoices and satisfactory evidence of having paid 100% of such

invoices as part of the substantiation of those Statements submitted

under Sub-Clause 14. 3 which contain requests for payment under

the Provisional Sum toward the cost of the Dispute Board. The

Engineer's certification of such Statements shall be based upon such

invoices and such evidence of their payment by the Contractor.’

The process of the payment to DAAB members is shown in Appendix

1 too.

What shall be done during post-Tender discussion?

The Employer and the Contractor together with the Engineer must

jointly review the build-up of the Provisional Sum to assure that the

Contractor understand the items and amounts in the Provisional

Sum. Note that while the Parties can estimate what the fees (and for

DAAB members resident outside the country, the air fares and hotel

4-13


3-325

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

expenses) the actual cost may vary quite a bit depending upon what

fees can be agreed with the DAAB and where any foreign DAAB

member is

based. The estimate should not overlook local transportation in a

foreign DAAB member’s country, for transport to and from the airport

of departure. Allowance should be made for postage, long distance

telephone, document reproduction, air courier service for

documents, local transportation within the country of the project,

use of Site accommodation and mess hall by the DAAB during the

regular Site visits. Some of these costs likely will arise not only for

the DAAB itself, but for the Employer and the Engineer and their

staffs. Allowance should be included for possible formal disputes

which may require visits by the DAAB which are separate from the

planned regular visits of the DAAB, and may lead to some off-Site

meetings of the DAAB to prepare Decisions on formal disputes.

Also, it is important to include allowance for adequate durations for

regular Site visits, which are likely to be at least 2 to 3 days, plus

travel time from home base to Site and return.

As mentioned elsewhere in this Manual, if the Employer’s contractual

arrangements for the assistance of the Engineer do not include for

4-14


3-326

4. การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา

assistance in connection with the operation of the DAAB, the cost of

such assistance should be included here ( and the contractual

arrangements with the Engineer modified accordingly).

4-15


3-327


3-328

5. การเลือกสมาชิก DAAB

คู่สัญญาจะต้องแต่งตั้ง DAAB หรือชื่อหน่วยงาน DAAB ที่แต่งตั้ง

ภายในระยะเวลาที่ก าหนดไว้ในส่วน A ของเงื่อนไขเฉพาะ ตามที่ระบุไว้ใน ข้อ

ย่อย 20.3 ของเงื่อนไขทั่วไป FIDIC

ข้อก าหนดตามสัญญาที่สมาชิกแต่ละคนของ DAAB จะต้องปฏิบัติ

ตามคือ

สมาชิกจะต้องมีประสบการณ์ในประเภทของงานซึ่ง

ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามสัญญา

สมาชิกจะต้องมีประสบการณ์ในการตีความเอกสารสัญญา

สมาชิกจะต้องมี ทักษะ ความช านาญในภาษาของสัญญา

สามารถสื่อสารได้ที่ก าหนดไว้ในสัญญา

การเลือกสมาชิก DAAB เป็นกระบวนการที่ส าคัญมาก และ

จ าเป็นต้องได้รับความสนใจจากผู้บริหารระดับสูงของคู่สัญญา นอกจากนี้ควรให้

ความสนใจเป็นพิเศษในช่วงเริ่มงานและมีความต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุข้อตกลงกับ

บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณาถึงความพร้อมใช้งานตามความเหมาะสมและ

ข้อตกลงในการให้บริการ การด าเนินการนี้ต้องใช้เวลามาก รายละเอียด

ข้อเสนอแนะส าหรับการคัดเลือกแสดงไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 5.1

5-1


3-329

5. การเลือกสมาชิก DAAB

เมื่อสมาชิก DAAB ได้รับการแต่งตั้งแล้ว จะต้องมีข้อตกลงเป็นลาย

ลักษณ์อักษร ระหว่างผู้ว่าจ้างผู้รับจ้าง รวมถึงสมาชิก DAAB แต่ละราย ข้อตกลง

นี้เรียกว่า "ข้อตกลงบุคคลสามฝ่าย (ข้อตกลงไตรภาคี) ข้อตกลงนี้รวมถึงรูปแบบ

ของข้อตกลง และถึงเงื่อนไขทั่วไปของข้อตกลงของคณะกรรมการผู้วินิจฉัยชี้ขาด

ข้อพิพาท รวมถึงระเบียบขั้นตอนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในข้อ 20 ของเงื่อนไขสัญญา

FIDIC ซึ่งเป็นส่วนส าคัญที่สมาชิก DAAB แต่ละคนจะแยกกันเริ่มต้นท า

ความคุ้นเคยกับเอกสารสัญญาโดยเร็วที่สุด และเริ่มต้นการตรวจเยี่ยมสถานที่

ก่อสร้างครั้งแรก ตัวอย่างแบบฟอร์มข้อตกลงกับสมาชิก DAAB) แสดงไว้ใน

เอกสารแนบท้ายบทที่ 5.4 และ 5.5

5-2

============

เอกสารแนบท้ายบทที่ 5.1

การเลือกสมาชิก DAAB

Selection of DAAB members

The procedure of selection of DAAB members is shown in the

flowchart of appointing DAAB members, Appendix 5.2.

5.1. Where can you find competent DAAB members?

The Parties are free to appoint a competent DAAB member

whom they know from previous experience. However, if the

Parties do not know particular persons who are competent as


3-330

5. การเลือกสมาชิก DAAB

a DAAB member for the particular type of contract, there are

various sources of suggestions, including of course the

Engineer. Also, the FIDIC President's List of Approved Dispute

Adjudicators, which is at www.fidic.org has a list, with c.v.s, of

those persons who have passed scrutiny by FIDIC's Assessment

Panel for Adjudicators in order to qualify for entry on the FIDIC

President's List. Some of the national Member Associations of

FIDIC, such as Japan's Association of Japanese Consulting

Engineers ("AJCE") have National Lists. Please see Appendix 5.1.

5.2. Who should you choose as DAAB members?

The key to a successful DAAB is that DAAB members obtain

respect from the Parties. In this consideration, it is a common

practice that each of the Parties nominates a respectful

candidate for a DAAB member from the same nationality

whom they think as competent and reliable. This is a

reasonable practice as far as the other Party approves and in

this case the Chairperson must be someone from different

nationalities of the Parties and the Engineer.

5-3


3-331

5. การเลือกสมาชิก DAAB

5.3. What shall be done if the other Party has rejected a proposed

DAAB member?

Reasons should be given for any rejection of a proposed DAAB

member, and those reasons discussed with the other Party. It

may be that an alternative candidate can be agreed. Always it

is preferable or the Parties to agree on each member of the

DAAB, rather than have the selection made by a third Party.

However if serious and good faith negotiation fail to meet the

deadline in the Contract Data, then the MDAAB Conditions

require that the DAAB shall be appointed by the appointing

entity or official named in the Contract Data.

Sometimes the Parties exchange lists of candidates (of three

potential members, for example), each list containing detailed

c.v.s for each person on the list. Then each Party selects one

from the list of the other Party. If all persons on the list are

rejected or one Party is silent regarding the other Party's list,

then one or both Parties should apply to the appointing entity

or official for establishment of the DAAB.

5-4


3-332

5. การเลือกสมาชิก DAAB

5.4. What shall be done if the first two members fail to

recommend or the Parties fail to agree to the

recommendation by the date stipulated in the Contract

Data?

Either or both Parties should apply to the appointing entity

or official for the completion of the establishment of the

DAAB. However, it is much better practice to achieve mutual

agreement on the identity of DAAB members than to

abandon mutual selection and leave the selection to a third

party which has no ongoing connection with the

performance of the Contract.

5.5. When and how to negotiate and agree on the Retainer Fee

and Daily Fee with DAAB members?

In accordance with the paragraph 6, Payment of the General

Conditions of Dispute Board Agreement, "if the Parties fail to

agree on the retainer fee or the daily fee, the appointing

entity or official named in the Contract Data shall determine

the amount of fees to be used." As a practice, when the

Parties and/or the Engineer inquire the availability and

willingness of the potential nominee, they ask for the

nominee's proposal for fees, unless the Employer and the

5-5


3-333

5. การเลือกสมาชิก DAAB

Contractor have already agreed on a proposed fee structure

for the DAAB member(s). Usually, on a 3 person DAAB, each

DAAB member receives the same fee, although sometimes

the Chairperson is given a somewhat larger fee to reflect

administrative duties

Most importantly, the appointment of DAAB members

should not be based on a price competition or any form of

competitive tender. The Parties should select DAAB

members who are the most suitable from the view point of

quality, experience, competence and integrity. In this sense,

the DAAB is comparable to independent technical advisory

panel sometimes used on large or technically complex

projects financed by MDAABs' funding.

5.6. Is there no DAAB in place if the Parties fail to agree on the

DAAB members?

Sub-Clause 20.8 entitles the Parties to directly refer a dispute

to arbitration if there is no DAAB in place. However, the

wording presupposes that the Parties have undertaken all

actions to appoint a DAAB before they may rely on Sub-

Clause 20.8.Also, of course, the Parties will have deprived

themselves of the dispute prevention function of the DAAB,

5-6


3-334

5. การเลือกสมาชิก DAAB

and it is more likely that the Employer will find itself

embroiled in the lengthy and expensive process of

arbitration, the costs of which are most likely not eligible for

financing by the Financier.

5.7. Agreement with DAAB members

Three Party Agreement

The form of agreement is included in the MDAAB Conditions

2010. There are two types of sample forms, one for 1-person

DAAB member and the other for each member of a 3-person

DAAB. In case of a 3-person DAAB, the Parties should have

such agreement made separately with each of the

members. The sample forms are also attached as Appendix

5.3 and 5.4 for an easy reference.

Signing of Agreement

The Dispute Board Agreement(s) are to be signed within 28

days after the Commencement Date of the Contract

between the Employer and the Contractor. To meet this

deadline it is common to use email or fax signatures, with

original signed documents to follow in due course.

By this Agreement the Parties accept and are bound by the

Procedural Rules in the Annex to the Appendix to Clause

5-7


3-335

5. การเลือกสมาชิก DAAB

20. The Procedural Rules give the DAAB broad and flexible

powers to deal with formal disputes.

เอกสารแนบท้ายบทที่ 5.2

แหล่งที่มาของสมาชิก DAAB ที่มีศักยภาพและสถาบันที่ได้รับการรับรอง

Sources of potential DAAB members and Appointing

Institutions

Potential DAAB members Lists: The following are some

organizations which provide lists of potential DAAB members.

FIDIC (International Federation of Consulting Engineers)

President's List of Approved Dispute Adjudicators at

http)://www.fidic.org/

National Member Association of FIDIC. Such as:

AJCE ( Association of Japanese Consulting Engineers). FIDIC

Member Association Japan National List of Dispute Adjudicators at

http://www.aice.orip/en/index.htm

VBI (German Association of Consulting Engineers), FIDIC Member

Association German National List of Dispute Adjudicators at

http://www.vbi.de/english/

5-8


3-336

5. การเลือกสมาชิก DAAB

DRBF (Dispute Resolution Board Foundation) at

http://www.drb.org/Member/index.html Members Resumes for

potential candidates

DAAB member appointing services: The following organizations

provide DAAB member appointing service.

FIDIC ( International Federation of Consulting Engineers) at

http://www.fidic.org/

ICC ( International Chamber of Commerce) , Dispute Resolution

Services at

http://www.iccwbo.org/court/dispute_boards/id4527/index.html

ICC provides services not only of appointing DAAB members but of

Decision upon a challenge of a DAAB member and Review of a DAAB

or CDAAB Decision as to form if the ICC Rules are used.

5-9


3-337

5. การเลือกสมาชิก DAAB

เอกสารแนบท้ายบทที่ 5.3

แผนภูมิแสดงการแต่งตั้งสมาชิก DAAB

Flowchart of appointing DAAB members

5-10


3-338

5. การเลือกสมาชิก DAAB

เอกสารแนบท้ายบทที่ 5.4

แบบข้อตกลงไตรภาคี ส าหรับ DAAB 1 คน

Form of Three-Party Agreement for 1-person DAAB

5-11


3-339

5. การเลือกสมาชิก DAAB

เอกสารแนบท้ายบทที่ 5.5

แบบข้อตกลงไตรภาคี ส าหรับ DAAB 3 คน

Form of Three-Party Agreement for 3-person DAAB

5-12


3-340

6. ค่าตอบแทนของสมาชิก DAAB

รายละเอียดเรื่องค่าตอบแทนสมาชิก DAAB ได้อธิบายไว้ในข้อ 20

ของเงื่อนไขเอกสารสัญญา FIDIC โดยทั่วไปการช าระเงินจะกระท าโดยผู้รับจ้าง

และผู้รับจ้างได้รับการชดใช้ค่าชดเชยครึ่งหนึ่งจากผู้ว่าจ้างโดยการใช้ยอดเงินจาก

รายการส ารองเผื่อจ่าย (Provisional Sum) ในบัญชีแสดงปริมาณวิสดุและราคา

(Bill of Quantities: BOQ) ค่าตอบแทนโดยการช าระค่าธรรมเนียมตามที่ได้ตก

ลงร่วมกัน และค่าใช้จ่ายที่สมเหตุสมผล รายละเอียดดังแสดงไว้ใน

เอกสารแนบท้ายบทที่ 6

============

เอกสารแนบท้ายบทที่ 6

รายละเอียดค่าตอบแทน

การช าระเงินให้กับ DAAB ประกอบด้วยค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย

รายวัน ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่สมเหตุสมผล (นิยาม และประมาณการ

ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้อธิบายไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 3.2)

1.1 ใบแจ้งหนี้ ส าหรับค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่าย (ส่วนที่ 6 ใน

ภาคผนวกของเงื่อนไขของสัญญา)

(1) สมาชิกต้องส่งใบแจ้งหนี้ ค่าใช้จ่ายรายเดือนและค่าเดินทาง

เป็นรายไตรมาสล่วงหน้า

6-1


3-341

6. ค่าตอบแทนของสมาชิก DAAB

(2) จะต้องยื่นใบแจ้งหนี้ส าหรับค่าใช้จ่ายอื่น ๆ และค่าธรรมเนียม

รายวัน ภายหลังจากที่มีการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง หรือการพิจารณาให้

ความเห็น หรือการตัดสิน

ตามที่กล่าวใน ข้อ (1) ข้างต้น ค่าโดยสารทางอากาศอาจมีการ

เปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาระหว่างวันที่เข้าท าการตรวจเยี่ยมโครงการ หรือในวัน

นัดหมาย นอกจากนี้ยังไม่ครอบคลุมถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในค่า

โดยสารทางอากาศ หากมีการเปลี่ยนแปลงก าหยดการตรวจเยี่ยมโครงการ หรือ

อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่ง DAAB จะพิจารณาและตัดสินใจ ส าหรับ ข้อ (2) ข้างต้น

ค่าใช้จ่าย และค่าบริการรายวันส าหรับงานที่ท าในระหว่างช่วงเวลาการตรวจ

เยี่ยมโครงการ จะยกยอดไปช าระในการตรวจเยี่ยมโครงการครั้งต่อไป ดังนั้นจึงมี

ข้อเสนอแนะ และเป็นข้อปฏิบัติที่ DAAB จะเรียกเก็บเงินล่วงหน้าเป็นรายไตร

มาส ส าหรับค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมรายวันในงานที่ท า จะถูกเรียกเก็บเป็น

รายเดือน และจะมีการเรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมรายวันส าหรับ

การตรวจเยี่ยมโครงการหลังจากนั้น

(3) ใบแจ้งหนี้ทั้งหมดข้างต้น จะส่งมาพร้อมกับค าอธิบายเกี่ยวกับ

กิจกรรมที่ด าเนินการในช่วงเวลาที่เกี่ยวข้องและจะส่งถึงผู้รับจ้าง โดยไม่

จ าเป็นต้องจัดท าส าเนารายงานการเข้าตรวจเยี่ยมโครงการต่างหากอีกฉบับหนึ่ง

ซึ่งจะจัดส่งก่อนออกเดินทางจากโครงการ ดูขั้นตอนตามข้อปฏิบ้ติข้อ 3 ใน

ภาคผนวกข้อ 20 ของเงื่อนไขเอกสารสัญญา

6-2


3-342

6. ค่าตอบแทนของสมาชิก DAAB

1.2 การจ่ายเงิน

(1) ผู้รับจ้างต้องช าระแก่ DAAB เต็มจ านวน (100%) ภายใน 56

วันตามปฏิทิน หลังจากได้รับใบแจ้งหนี้แต่ละฉบับ แม้ว่าจะไม่มีข้อก าหนดใน

เงื่อนไขของสัญญา แต่ก็ควรแจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบว่าผู้ว่าจ้างจะต้องจ่ายเงินให้กับ

DAAB

(2) รายงานค่าใช้จ่ายรายเดือนของผู้รับจ้าง ภายหลังการช าระเงิน

ดังกล่าว ควรรวมเป็นจ านวนเงินที่ต้องช าระให้กับผู้รับจ้างภายใต้ยอดเงินตาม

เงินส ารองเผื่อจ่าย (Provisional Sum) ในบัญชีอแสดงปริมาณวัสดุและราคา

ผู้ว่าจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้างแก่ผู้รับจ้างตามสัญญา

6-3


3-343


3-344

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

การตรวจเยี่ยมสถานที่เป็นกิจกรรมที่ส าคัญที่สุดของ DAAB

เนื่องจากสามารถท าหน้าที่ได้ดีที่สุดในการป้องกันไม่ให้เกิดข้อพิพาทในระหว่าง

การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างนี้ การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างเป็นประจ าต้องมี

ระยะเวลาอย่างน้อย 70 วัน แต่ไม่เกิน 140 วัน ระยะเวลาที่แน่นอนจะเป็นการ

ตกลงกันระหว่าง DAAB และคู่สัญญา สิ่งส าคัญคือผู้ว่าจ้าง วิศวกรและผู้รับจ้าง

ทุกฝ่ายจะต้องเข้าร่วมการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างนี้ และอยู่ ณ สถานที่

ก่อสร้างจนกว่าจะมีการส่งรายงานการตรวจเยี่ยม มีข้อแนะน าให้ตัวแทนของผู้

ว่าจ้างและผู้รับจ้างซึ่งมีอ านาจในการหารือและให้ความเห็นในมติของข้อขัดแย้ง

ใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในสัญญาหรือการตีความ

เมื่อ DAAB ตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างร่วมกับคู่สัญญาและวิศวกร

เพื่อดูสถาพปัจจุบันและความคืบหน้าของงาน บริเวณที่มีปัญหาจะได้รับความ

สนใจพิจารณาเป็นพิเศษ เช่นสภาพทางธรณีวิทยา (หิน) ที่พบในการขุดเจาะ

อุโมงค์ นอกจากนี้ DAAB ยังได้เข้าร่วมหารือกับคู่สัญญา และวิศวกรและผู้รับจ้าง

ช่วงและผู้จ าหน่ายสินค้าที่เหมาะสม ดังนั้น DAAB จะมีความคุ้นเคยและทราบ

ความคืบหน้าในการท างาน และ DAAB สามารถหารือกับคู่สัญญาและวิศวกร

เกี่ยวกับประเด็นปัญหาต่าง ๆ รวมทั้งความขัดแย้งที่เกิดขึ้น และช่วยเหลือ

คู่สัญญาและวิศวกรในการหาทางหลีกเลี่ยงข้อพิพาท

รายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาและการด าเนินการในการตรวจ

เยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง แสดงไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 7.1

7-1


3-345

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

เอกสารแนบท้ายบทที่ 7.1 ก าหนดการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

Date Time Place Contents Responsible Participants

Sun 6 14:00 Airport Foreign DAAB member met

at and taken from int'l

airport to hotel

Mon 7 08:00 Hotel DAAB picked up and taken

to Site Briefing & tour

Mr.x

Mr. X

Cont.

DAAB, Emp, Cont. Eng

12:30 Site Office Lunch Mr. Y DAAB, Emp, Cont, Eng

13:30 Complete Site tour and

discuss progress & problems

Mr.x

DAAB, Emp, Cont, Eng

18:30 Camp Dinner & to Hotel Mr. Y DAAB, Emp, Cont, Eng

Canteen

Tues 8 09:00 Hotel DAAB picked up and taken Mr.x DAAB, Emp, Cont, Eng

to Site. Continue

discussions; review of any

disagreements & progress

on any claim

12:30 Site

Canteen

Lunch Mr. Y DAAB, Emp, Cont, Eng

13:30 18:30 Afternoon session & to

Hotel

Mr.x

Wed 9 09:00 Hotel DAAB picked up to Site DAAB

office & prepare draft

report, Review of draft

report, DAAB prepares final

version of Site Visit Report

14:00 Foreign DAAB member Mr.x

taken to int'l airport and

depart

DAAB, Emp, Cont, Eng

DAAB, Emp, Cont, Eng

Cont

7-2


3-346

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

เอกสารแนบท้ายบทที่ 7.2 ตัวอย่างรายงานการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

หมายเหตุ: ค า "Dispute Review Board" หมายรวมถึง "Dispute

Board" และ "DRB" หมายรวมถึง "DAB" และ “Dispute Adjudication Board”

“DAAB” และ “Dispute Avoidance/Adjudication Board” “DAAB”

Dispute Review Board

Site Visit No. __

[DATE]

Summary of the Visit

The DRB members arrived in xxx on [DATE] and checked in at the xxx

Hotel.

Day 1, xxx to Site

The DRB travelled from THE HOTEL to the Site by car leaving at 08:00

hours and arriving at the Contractor’s offices at 10. 30 hours after

having toured the Works with the Parties and the Engineer.

The Contractor and the Engineer provided the DRB with copies of

their respective Monthly

Reports for May 2008.

7-3


3-347

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

DRB Visit No. __; Agenda

1. Scope of maintenance activities required under Clause 3. 1 of

Technical Specification No. 1 (Volume 2.1).

2. Interpretation of the Method of Calculation for IPC 43.

3. Interpretation of Method of payment for IPC 43.

4. Employer to advise DRB regarding the status of ongoing discussions

with the Contractor pursuant to the Employer’s Notice of Dispute

issued on [DATE].

On being advised that senior members of the Employer’s and the

Contractor’s staffs planned to attend the following day especially to

discuss Agenda Items 2, 3 and 4 concerning the method of

calculation of IPC 43 for interpretation of Addendum No. 2 to the

Contract, the DRB took up the Agenda Item No. 1.

As a general matter, the DRB was advised that good progress was

being made on the Works at the Underpass and that the Contractor

expects to meet the date for its substantial completion.

Agenda Item 1. Scope of maintenance activities required under

Clause 3.1 of Technical Specification No. 1 (Volume 2.1).

The matter of the Contractor’ s Maintenance Obligations required

under Clause 3. 1 of the Technical Specification was discussed at

length during the most recent Site Visit. The DRB had recommended

7-4


3-348

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

then that the National Norm in question be translated into English.

The Contractor provided the DRB and the Engineer with copies of the

translation in the interim period following that Site Visit. The DRB also

requested that if the Parties had any disagreements concerning what

is required by the Norm that it be advised of the details of the

disagreement.

This agenda item was discussed by the day 1 participants and again

on day 2 when members of the Employer and the Contractor’ s

headquarters organisations were present. The disagreement involves

the interpretation of the Technical Specification and the National

Norm regarding the scope of the work included under the

Contractor’s maintenance obligations.

The Contractor asserts that the Norm makes a distinction between

maintenance work and repair work for damage caused by third

parties, and that the Contract does not require him to repair such

damage.

The Engineer and the Employer consider that both categories of work

are included in the Contractor’s contractual obligations.

The DRB asked if under National practice, the costs of damages were

not recoverable under the vehicle owner’ s statutory insurance

policies. The Employer advised that the Government maintains a

7-5


3-349

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

service contract with a company that is charged with patrolling the

roads and amongst its duties, it is to establish the causes of accidents

and to recover damages to the roads and road hardware through

claims against motorists’ third party liability insurance policies. The

amounts recovered from insurance policies are passed to those

contractors who are still under a maintenance obligation, or if no

such contractor is extant, then to the Employer.

The Contractor stated that it had not had contact with this service

company. The Employer proposed to organise a meeting with that

company, the Parties and the Engineer in order to coordinate the

procedure of obtaining reimbursement from insurance companies.

The DRB welcomed the Employer’s proposal as the obvious way

forward to resolve this matter. After a review of the Technical

Specifications and National Norm the DRB concluded that it was the

Contractor’ s obligation to carry out both maintenance and repair

work described in those documents. The Contractor is entitled to

receive the full benefits of any recoveries made by the service

company from the insurers to offset its costs for the repair of

accidental damage.

The DRB expressed surprise that despite many reminders made by

the Engineer, the Parties and the Engineer would permit repair works

7-6


3-350

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

involving public safety considerations to be delayed and advised that

repair works should be carried out immediately in order to remedy

all safety hazards caused by any defective work or accidental

damage.

Agenda Item 2. Interpretation of the Method of Calculation for IPC

43.

Agenda Item 3. Interpretation of Method of payment for IPC 43.

The DRB then turned to Agenda Items 2 and 3 that deal with IPC 43

and the Employer’s Notice of Dispute. The DRB was furnished with

additional correspondence including: (i) the Contractor’s reply to the

notice dated xxx; (ii) the Engineer’s reply to the Contractor dated

xxx; and (iii) the Employer’s letter of xxx.

The DRB was advised that the Engineer and the Contractor are in

agreement concerning IPC 43. The IPC was issued in accordance with

their common understanding of the agreements reached, a matter

that was dealt with exhaustively by the DRB during its most recent

Site

Visit. IPC 43 was issued on the basis that payment for the work carried

out was recalculated using the total value of the work certified for

that period, effecting a currency split of 85% yyy and 15% zzz, then

applying the Contract price adjustment formula by use of the original

7-7


3-351

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

indices and setting “n” for all coefficients at the end of the IPC

period. The value in the IPC is first calculated in yyy and the amount

certified is then converted to yyy and zzz using the contractual rate

of exchange, a calculation that produced an excess in yyy and a

deficit in zzz contract yyy/zzz split of 50/50. The zzz deficit was offset

by yyy using the current rate of exchange on the date of IPC 43.

The Employer disagrees with the method of calculation and the

method of payment for the zzz deficit. The Employer maintains that

the recalculation of the IPCs should be made on a month-by-month

basis utilising the month- by- month current “ n” values for the

coefficients.

Regarding the payment of the zzz deficit it should be paid by

converting the zzz deficit into yyy utilising the Contract rate and that

amount of yyy deducted from the total yyy to be paid under the

revised currency split. The Contractor and the Engineer maintain their

agreement and disagree with the Employer. The Employer’ s

calculation and payment methods reduce the payment to the

Contractor by about zzz 2. 7 million. The Employer has been

withholding payment for the change in currency split because of this

disagreement.

7-8


3-352

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

The Contractor and the Employer agreed that as an interim measure

the Employer would pay the withheld amount and would do so by

adding it to the payment for IPC 48. However, both Parties reserved

their respective positions described above. The disagreement is the

subject of continued settlement negotiations.

Day Two, Site

The DRB arrived at the Contractor’s office at 09:00 hrs. After the DRB

briefed the newly arriving attendees on the progress of the meeting

held on Day 1 of the Site Visit most of the remainder of the meeting

was devoted to Agenda Items 1 and 4.

At the request of the Employer the DRB made an inspection of the

completed portion of the Works, in company with the Resident

Engineer following the close of the day’s proceedings.

The Contractor was in attendance. Items noted as defective and or

requiring completion, maintenance or repair were:-

_ Damaged W-beam posts and guardrail on median and shoulders at

about eight locations.

_ Minor damage to W-beam guardrail on the median at about four

locations but also requiring replacement of missing or damaged antiglare

fins.

7-9


3-353

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

_ On both carriageways to East of Interchange 1 median barriers

which have defective support posts require immediate repair and reerection.

_ Supply and erection of overhead gantry and signs remain to be

erected on recently constructed foundations to East of Interchange

1. This work is urgent to clarify the exit ramp to xxx.

_ Repairs are urgently needed to severely damaged W-beam guardrail

at the Interchange 1 entry ramp to the Bypass for traffic coming on

the E70 from xxx.

_ Defective median kerbs were observed some bridges particularly at

the Railway Overpass. A solution is needed for this.

_ There is a requirement for the full length of both the carriageways

to be cleaned ofloose sand, and rubbish at least every two weeks.

This is particularly needed at the West end of the project. If the

bridge decks are not cleaned regularly damage may occur to the

expansion joints.

_ It is understood that reflective marker drums are to be erected to

define ramp gore areas at all off ramps. These should be installed

urgently because accident damage is evident at such locations.

7-10


3-354

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

At 18:00 hours the DRB concluded its private working session in order

to prepare its draft of this Site Visit Report. A draft of the report was

sent to the Parties and the Engineer shortly after 18:00 hours.

Day Three, Site to xxx

The DRB departed for xxx at 08: 00 hours for a meeting with the

Employer, the Contractor and the Engineer schedule for 11:00 hours

at the Employer’s premises in xxx. The DRB reviewed its draft of the

Site Visit report with the Parties and the Engineer.

The DRB was pleased to note that the Parties have agreed to make

interim payment of the disputed part of the sum arising from

Addendum No. 2. The progress achieved in reaching an agreement

should not be sacrificed by the Parties reverting to their original

positions if there is any compromise possible on the calculation and

payment of the adjustment in currency ratio.

The DRB again urged the Parties to make earnest and urgent efforts

to resolve the disagreements over the status of the remaining claims,

and if possible to avoid reference of the disputes on those matters

to the DRB, as the processing of such disputes will require significant

time and expense during a period that is practically certain to extend

beyond the Contract completion date.

7-11


3-355

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

The meeting ended at 12: 00 hours and the DRB then moved to the

Contractor’s offices in xxx to put this Site Visit Report in its final form

and to arrange for its distribution.

The DRB wishes to thank the Engineer and the Contractor for the

kindnesses and assistance extended to the DRB during this Site Visit.

Day Four, xxx

The DRB members departed from xxx by air.

Attendance

The Site Visit meetings held in the Employer’s office in xxx and the

Contractor’s offices in xxx were attended as follows:-

Day 1 Day 2 Day 3

The Employer

A Project General Director _ _ _ (*)

B Project Director

_ _ _

C Project Manager

_ _ _

D Project Officer

_ _ _

E Contract Management Expert _ _ _

The Contractor

F Project Manager

_ _ _

G Senior Quantity Surveyor

_ _ _

7-12


3-356

7. การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

H Marketing Director

The Engineer

I Resident Project Manager

J Quantity Surveyor Expert

K Dep Resident Project Manager

(*) indicates part time attendance

_ _ _

_ _ _

_ _ _

_ _ _

Member Chairman Member

7-13


3-357


3-358

8. ข้อมูลที่จัดให้ DAAB ในระหว่างการตรวจสถานที่ก่อสร้าง

ข้อมูลที่ให้ไว้กับ DAAB ระหว่างช่วงระหว่างการตรวจเยี่ยม

โครงการ

ในการปฏิบัติงาน DAAB จะต้องได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาในเรื่อง

ที่เกิดขึ้นระหว่างช่วงเวลาระหว่างการตรวจเยี่ยมโครงการตามที่ก าหนดไว้ใน

กฎระเบียบขั้นตอนที่ 4 ของภาคผนวก ในภาคผนวกข้อ 20 ของเงื่อนไข FIDIC

ซึ่งระบุว่า:

ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างจะต้องจัดเอกสารทั้งหมด จ านวนหนึ่งชุด แก่

DAAB โดย DAAB อาจขอเอกสารสัญญา รวมถึงเอกสารรายงานความก้าวหน้า

การก่อสร้าง ค าสั่งการเปลี่ยนแปลงงาน ใบรับรองและเอกสารอื่นที่เกี่ยวกับการ

ปฏิบัติงานในสัญญา การสื่อสารทั้งหมดระหว่าง DAAB กับผู้ว่าจ้างหรือผู้รับจ้าง

จะถูกส าเนาไปยังคู่สัญญา หาก DAAB ประกอบด้วยบุคคลสามคน ผู้ว่าจ้างและ

ผู้รับจ้างจะต้องส่งส าเนาเอกสารที่ร้องขอเหล่านี้ รวมถึงการติดต่อสื่อสารทั้งหมด

นี้ไปให้กับบุคคล DAAB ทั้งสาม

ค าแนะน าโดยละเอียดแสดงไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 8

============

8-1


3-359

8. ข้อมูลที่จัดให้ DAAB ในระหว่างการตรวจสถานที่ก่อสร้าง

เอกสารท้ายบทที่ 8

ข้อมูลระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง

Information during Intervals between Site Visits

It should be noted that, in accordance with Procedural

Rules 3, all communications between the DAAB and the Employer

or the Contractor shall be copied to the other Party. If the DAAB

comprises three persons, The Employer and the Contractor shall

send copies of documents requested and the communications as

below to each of these persons.

8.1 What kind of information shall be given to DAAB?

Between each periodical Site visit which is usually

several months, the project may make certain progress and claims

may arise. For the DAAB, keeping familiarity with the progress of

the Works and other relevant events between each periodical Site

visit is essential for prevention and early resolution of claims and

disagreements. The DAAB should be provided with copies of

updated CPM programme, monthly progress reports, Variations

and any other Amendments to the Contract Documents, and claim

notices issued by either Party, all at the times they are issued.

Progress on issues identified in the previous Site Visit Reports is of

special interest to the DAAB and should be reported to the DAAB

8-2


3-360

8. ข้อมูลที่จัดให้ DAAB ในระหว่างการตรวจสถานที่ก่อสร้าง

as it occurs. The DAAB may ask some question about the

information provided, to which the Employer or the Contractor

must promptly answer, or, if they can not, then so advise the DAAB

and prepare the answer by no later than the next periodical Site

visit. Documents should be distributed directly to each DAAB

member, not via Chairperson. Emails/letters/calls should be

addressed to Chairperson but emails/letters simultaneously

copied to other DAAB members.

8.2 How to forward the information?

Telephone is necessary in case of emergency, but

ordinary information may be delivered through email or facsimile.

However, monthly reports which contain photos, CPM

programmes, or other data not easily transmitted by email or

facsimile may be sent by air courier to the DAAB members.

Recently ftp Internet storage websites using URL designations

beginning with "ftp://" have become increasingly popular for

storage of construction project Contract Documents and other

related data and correspondence which are protected by

password. The cost for utilizing an ftp site or other electronic file

transfer services) is modest and less expensive than constant use

of air courier. However, the effective use of an ftp site requires

8-3


3-361

8. ข้อมูลที่จัดให้ DAAB ในระหว่างการตรวจสถานที่ก่อสร้าง

constant input by personnel to keep the site current as the

Contract performance progresses. Also it is not easy to work with

documents in an ftp site and often printing is necessary. To give a

single example, it is a lot easier to compare a Monthly Progress

Report for February with the one for January if both are at hand in

hard copy, and much time is saved.

Remember that especially if a retainer fee is eliminated or deleted

by agreement, each DAAB member is going to be charging for all time

spent on DAAB matters.

Finally, it is important for the Parties to avoid the “mind set" that the

DAAB is only available to the Parties and the Engineer during the

regularly scheduled Site Visits (or unscheduled Site visits in case the

DAAB presence is beneficial in connection with some unanticipated

construction event such as a landslide or a tunnel collapse). In

today's rapid communication world, the DAAB is available whenever

its assistance may help the Parties or the Engineer to overcome a

disagreement. Early involvement of the DAAB is the likeliest timing

to avoid "deadlock" on Site over some disagreement on contractual

issues. It is unhelpful to the entire team if a disagreement arises a

week after a DAAB Site visit and the matter is "shelved" or allowed

to fester until the next scheduled DAAB Site visit, which may be

8-4


3-362

8. ข้อมูลที่จัดให้ DAAB ในระหว่างการตรวจสถานที่ก่อสร้าง

several months away: do not "shelve" disagreements about Contract

interpretation or application!

8-5


3-363


3-364

9. ความเห็นไม่เป็นทางการของ DAAB

เมื่อใดก็ตามที่คู่สัญญาอาจร่วมกันร้องขอให้ DAAB ให้ความเห็น

หรือค าแนะน าอย่างไม่เป็นทางการ มุมมองที่ไม่เป็นทางการของ DAAB อาจมี

คุณค่ามากต่อคู่สัญญา และวิศวกร โดยไม่มีผลผูกพันกับฝ่ายใดรวมทั้ง DAAB

เพียงเพื่อจะเป็นวิธีการที่จะได้รับมุมมองจากประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ

ของสมาชิก DAAB โดยไม่เสียเวลาและค่าใช้จ่ายจากการได้รับค าตัดสินใจที่มีผล

ผูกพัน คู่สัญญา (และวิศวกร) สามารถเจรจาต่อรองตามความคิดเห็นที่ไม่เป็น

ทางการของ DAAB เพื่อบรรลุข้อตกลงที่เป็นมิตร ไม่มีความคิดเห็นที่ไม่เป็น

ทางการใด ๆ ที่คู่สัญญาจะน าปัญหาเรื่องเดียวกันกลับมาหารือต่อไป หรือหาก

จ าเป็น ก็จะมีการน าเรื่องดังกล่าวส่งต่อเพื่อการพิจารณากรณีข้อพิพาทอย่างเป็น

ทางการต่อไป

รายละเอียดแสดงไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 9

============

9-1


3-365

9. ความเห็นไม่เป็นทางการของ DAAB

เอกสารแนบท้ายบทที่ 9

รายละเอียดความเห็นอย่างไม่เป็นทางการ

Paragraph 4 (f) of the Appendix to Clause 20 states:

DAAB Informal Opinion

“[The Member shall] not give advice to the Employer, the

Contractor, the Employer’s Personnel or the Contractor’s Personnel

concerning the conduct of the Contract, other than in accordance

with the annexed Procedural Rules.”

Also, Paragraph 4(k) of the same Appendix says;

“[The Member shall] be available to give advice and opinions, on

any matter relevant to the Contract when requested by both the

Employer and the Contractor, subject to the agreement of the Other

Members (if any).”

However, Procedural Rule 4 (in the Annex to the Appendix to Clause

20) states:

9-2


3-366

9. ความเห็นไม่เป็นทางการของ DAAB

The purpose of site visits is to enable the DAAB to become and

remain acquainted with the progress of the Works and of any actual

or potential problems or claims, and, as far as reasonable, to

endeavour to prevent potential problems or claims from becoming

disputes.”

(Emphasis added)

Thus clearly the DAAB is expected to be “pro-active”, to take the

initiative with respect to potentialproblems or claims. As indicated in

paragraph 4(f), the DAAB is not to involve itself in the Parties’ or the

Engineer’s performance of their work under the Contract except in

respect of potential or actual disagreement. The DAAB is free to

suggest to the Parties that it can provide an informal opinion on such

potential or actual disagreement. If either Party is reluctant, the DAAB

can seek to persuade them of the value of the DAAB offering its

advice or opinion, as it is anyway informal and non-binding. It would

be rare that a Party rejects such a proposal.

It should be understood that for either Party to withhold participation

in the other Party’s request iscontrary to the spirit and intention of

9-3


3-367

9. ความเห็นไม่เป็นทางการของ DAAB

the Contract, which is that both parties shall in good faith avoid

confrontation and seek amicable resolution of any disagreements

about Contract interpretation and operation.

(i) When to obtain DAAB’s advice or opinion?

DAAB advice or opinion can be obtained at anytime. If it is during

intervals between Site visits, it can be by email if it has been agreed

by the Parties. If a regular Site visit is imminent, the question can be

proposed to the DAAB for inclusion in the Agenda for that Site visit.

During a Site visit, either Party can seek the agreement of the other

to put a question to the DAAB while the DAAB is on Site. The DAAB

itself may offer to give advice or opinion if it senses from discussions

that such might be helpful to the Parties or the Engineer to resolve

a disagreement and avoid a formal Dispute.

The availability of the DAAB for informal views is valuable. However,

it is not a substitute for serious effort by the parties and the Engineer

to resolve disagreements through discussion and negotiation. An

example of appropriate use is where the Contractor and the Engineer

are in disagreement regarding the reasonable interpretation of a

9-4


3-368

9. ความเห็นไม่เป็นทางการของ DAAB

section of the Specification, they may ask (without offering their own

respective views) for its informal opinion on the interpretation of that

section, and use the DAAB response as a basis for further private

discussions and negotiations.

The parties should always be willing to enable the Engineer to

participate in consulting the DAAB for informal views, irrespective of

whether the disagreement is between the two parties or between

the Engineer itself and one of the parties.

(ii) Is DAAB’s informal opinion binding?

DAAB’ s advice or informal opinions are not given through the

procedure defined in Sub- Clause 20. 4 [Obtaining Dispute Board’s

Decision] of MDB Edition, but rather under Rule 2 of the Annex to the

Appendix to Clause 20. Consequently, it must be remembered that

DAAB informal

views are not binding on anyone, including the DAAB itself, and the

DAAB remains free to modify its views if a matter on which it gives an

informal view becomes a formal dispute as a result of a formal

referral to the DAAB for decision.

9-5


3-369

9. ความเห็นไม่เป็นทางการของ DAAB

To clarify this, usually DAAB adds such remarks as follows in its advice

or informal opinions:

“The DAAB has been asked to give its advice or opinion on the matter

of …..which it is pleased to do, on the understanding that the advice

or opinion is not binding on the Parties or the Engineer or the DAAB,

and the DAAB remains free to alter its advice or opinion on the basis

of further information provided to it in the future whether in the

course of another request for advice or opinion or as part of a

possible future Referral to the DAAB for Decision under Sub- Clause

20.4.”

9-6


3-370

10. ข้อแนะน ำและกำรตัดสินใจของ DAAB

มูลเหตุชี้น ำข้อพิพำทอย่ำงเป็นทำงกำร จะต้องได้รับกำรพิจำรณำ

ในรูปแบบที่มีผลผูกพันโดย DAAB ข้อแนะน ำควรท ำเฉพำะเมื่อกำรเจรจำอย่ำง

จริงจังล้มเหลว และด้วยควำมพยำยำมแล้ว DAAB ไม่สำมำรถให้ควำมช่วยเหลือ

คู่สัญญำ และวิศวกร DAAB เพื่อหลีกเลี่ยงกำรเสียเวลำ และค่ำใช้จ่ำยในกำรส่ง

ต่อข้อมูล และกำรด ำเนินกำรตำมกฎหมำยต่อไป ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีกำรบันทึก

และจัดส่งให้เป็นลำยลักษณ์อักษรเมื่อมีกำรร้องขอ

เว้นแต่คู่สัญญำจะระงับข้อพิพำทโดยกำรเจรจำต่อรองหลังจำกที่

ได้รับข้อแนะน ำ DAAB จะมีค ำตัดสินซึ่งมีผลผูกพัน และคู่สัญญำจะต้องปฏิบัติ

ตำมทันที (ดูรำยละเอียดในบทที่ 2) คู่สัญญำฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งอำจแจ้งให้ทรำบโดย

ทันทีเกี่ยวกับกำรไม่เห็นด้วยในค ำตัดสินในเวลำที่เหมำะสมตำมสัญญำข้อตกลงว่ำ

ด้วยกำรอนุญำโตตุลำกำร อย่ำงไรก็ตำมจนกว่ำอนุญำโตตุลำกำรจะวินิจฉัยเป็น

อย่ำงอื่น กำรวินิจฉัยของ DAAB จะมีผลผูกพัน และคู่สัญญำมีหน้ำที่ต้องปฏิบัติ

ตำม หำกคู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยไม่ยอมรับในค ำตัดสิน และแจ้งให้ทรำบภำยใน

ระยะเวลำที่ก ำหนดดังกล่ำว กำรตัดสินของ DAAB จะถือเป็นสิ้นสุดและมีผล

ผูกพัน

10-1


3-371

10. ข้อแนะน ำและกำรตัดสินใจของ DAAB

ในข้อย่อย 20.4 ของเงื่อนไข FIDIC ระบุชัดเจนว่ำ DAAB จะไม่ท ำ

หน้ำที่เป็นอนุญำโตตุลำกำร ค ำแนะน ำเพิ่มเติมมีอยู่ในเอกสำรแนบท้ำยบทที่

10.1 ขั้นตอนกำรแก้ปัญหำข้อพิพำททั้งหมดภำยใต้เงื่อนไขของ FIDIC แสดงไว้ใน

เอกสำรแนบท้ำยบทที่ 10.2

============

เอกสำรแนบท้ำยบทที่ 10.1

กำรตัดสินใจและข้อวินิจฉัย

Referral and DAAB Decision

Procedural Requirements

There are only few procedural requirements for the DAAB operation.

They are as follows:

• The DAAB shall be deemed to be not acting as arbitrator(s),

Sub-Clause 20.4, third paragraph.

• Within 84 days after receiving such reference, the DAAB shall

give its decision which shall be reasoned and shall state that

it is given under this Sub-Section, Sub-Clause 20.4, fourth

paragraph.

10-2


3-372

10. ข้อแนะน ำและกำรตัดสินใจของ DAAB

• The DAAB shall act fairly and impartially as between the

Employer and the Contractor, giving each of them a

reasonable opportunity of putting his case and responding

to the other's case, and adopt procedures suitable to the

dispute, avoiding unnecessary delay or expense, Procedural

Rule 5.

• The DAAB may conduct a hearing on the dispute, and may

request that written documentation and arguments from the

Employer and the Contractor be presented to it prior to or

at the hearing, Procedural Rule 6.

Under Procedural Rules 7 & 8, the DAAB has all the control and

freedom to deal with the dispute that any third Party could

reasonably be dealt with. Or the referral may be made without

hearing while the Parties shall have a reasonable opportunity to

present their cases. Thus the DAAB procedure is far more flexible

than any arbitration rules or court procedure.

Documentation for the referral could be done by letters or by simple

memo, without need for a multiple volumes of documents. If a

hearing is held, it can be (and often has been) held at a round table

with everyone in work clothes, without the trappings of a Courtroom.

10-3


3-373

10. ข้อแนะน ำและกำรตัดสินใจของ DAAB

Again, the DAAB is NOT an arbitral tribunal; it is not a Court; it is part

of the Contract team trying to assist in resolving disagreements

without having the Parties engulfed in costly and lengthy arbitral

proceedings.

Time Limit for DAAB to publish its decision

It is important for the Parties to consider carefully the use of the

suggested 84 day time limit.

The 84 days starts from the day of the Referral and the DAAB is

required to publish its decision before the expiry of the next 84 days.

This number of days reflects the FIDIC MDAAB wish to have the

Decision promptly. Usually this is what both Parties desire. But there

is a risk that if the DAAB fails to meet the agreed deadline, one Party

may immediately give Notice of Dissatisfaction and begin the march

to arbitration (See, Sub-Clause 20.5, fifth paragraph, last sentence.).

The Parties must note that the 84 day limit will apply only if the

Parties do not agree otherwise.

In complex Disputes, it may be beneficial for both Parties to agree a

longer period, especially if for some reason the DAAB is not already

thoroughly familiar with all of the facts and Parties’ arguments from

Site visits or other previous discussions with the Parties and the

10-4


3-374

10. ข้อแนะน ำและกำรตัดสินใจของ DAAB

Engineer. For example, on some Contracts it has been found

acceptable to agree a shorter time limit for complex disputes, such

as 30 days, but to have the time limit start after close of any hearing

and submission of all written documents, including any post-hearing

document submissions requested by the DAAB. This gives the Parties

and the DAAB greater flexibility and time for careful presentations

and consideration of them by the DAAB. Eighty-four days has proven

to be a very short time, especially if the DAAB is 3 persons and any

of them are resident outside the country of the project for which the

Contract is made.

10-5


3-375

10. ข้อแนะน ำและกำรตัดสินใจของ DAAB

เอกสำรแนบท้ำยบทที่ 10.2

แผนภูมิแสดงวิธีกำรวินิจฉัยข้อพิพำท

Flowchart of dispute resolution procedure

10-6


3-376

11. ระยะเวลาขั้นต ่าในการเจรจาหาข้อยุติ

ภายหลังการตัดสินของ DAAB หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดยื่นค าบอกกล่าว

เกี่ยวกับความไม่พอใจในค าตัดสินไปแล้ว แม้ว่าคู่สัญญาจะต้องปฏิบัติตามค าชี้

ขาดทันที และด าเนินการต่อไปจนกว่าจะมีการแก้ไขโดยคณะอนุญาโตตุลาการที่

ได้รับการแต่งตั้งตามสัญญา กรณีข้อพิพาทนี้ จะไม่มีการยื่นค าร้องขอ

อนุญาโตตุลาการศาลจนกว่าจะครบก าหนดขั้นต่ า 56 วันของการเจรจาระงับข้อ

พิพาท

สาเหตุที่ใช้เวลานาน ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

มีเหตุผลหลายประการเช่น (1) ช่วยเหลือผู้แทนของคู่สัญญาในการ

ก าหนดการตัดสินใจขององค์กรเพื่อมอบอ านาจให้ผู้แทนซึ่งมีอ านาจในการตกลง

(2) เพื่อให้มีช่วงเวลาสงบข้อพิพาท (3) ให้เป็น "โอกาสสุดท้าย" แก่คู่สัญญา ใน

การหลีกเลี่ยงข้อพิพาทต่อไป รวมถึงค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการจัดตั้งคณะ

อนุญาโตตุลาการเพื่อพิจารณาและตัดสินข้อพิพาท

11-1


3-377

11. ระยะเวลาขั้นต่ าในการเจรจาหาข้อยุติ

ตามข้อก าหนดในข้อย่อย 20.5 ของเงื่อนไข FIDIC คู่สัญญาจะ

ปฏิบัติอย่างไรในช่วงระยะเวลาเจรจาพิจารณาข้อพิพาท หากก่อนหน้านั้น

ผู้บริหารระดับสูงที่สุดของแต่ละคู่สัญญาไม่ได้มีส่วนร่วมในความพยายามในการ

แก้ไขปัญหาข้อพิพาทนั้น โดยปราศจากข้อยุติในค าตัดสิน บางครั้งอาจมีใช้เวลา

เพียงครึ่งวัน หรือหนึ่งวัน ในการพิจารณาเสมือนจริง ("mock arbitration" or

"mini-trial") ต่อหน้าผู้บริหารสูงสุดของแต่ละคู่สัญญา เพื่อการหารือส่วนตัว และ

แก้ปัญหาอย่างเป็นมิตร บ่อยครั้งที่คู่สัญญาเห็นด้วยกับผู้ไกล่เกลี่ยที่ช านาญใน

การท างานร่วมกับผู้บริหารระดับสูงของคู่สัญญาในการให้ค าแนะน าอย่างเป็น

มิตร ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลไกเหล่านี้ รวมถึงวิธีการแก้ปัญหาข้อพิพาทที่

คล้ายคลึงกันนี้ เช่น การพิจารณาระงับข้อพิพาททางเลือก 1 (ADR: Alternative

Dispute Resolution) รายละเอียดสามารถดูได้ที่ http://www.iccwbo.com

นอกจากนี้บางครั้งคู่สัญญาอาจพิจารณาอย่างรอบคอบในค าตัดสินของ DAAB ที่

ได้พิจารณาไว้แล้วว่าสามารถน าใช่เป็นส่วนในการตัดสินใจที่จะเจรจาต่อรองและ

ประนีประนอมในที่สุด

11-2


3-378

11. ระยะเวลาขั้นต่ าในการเจรจาหาข้อยุติ

คู่สัญญาพึงทราบว่าไม่มีการจ ากัดเวลาในการต่อรองที่จะมีต่อไป

ระยะเวลาที่กล่าวถึงขั้นต้นเป็นเพียงระยะเวลาขั้นต่ า

1

http://thac.or.th/2015/12/15/alternative-dispute-resolution/

กระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือก

การระงับข้อพิพาททางเลือก (Alternative Dispute Resolution – ADR) หมายถึง การระงับข้อพิพาทโดย

ไม่ใช้วิธีฟ้องศาล ซึ่งโดยหลักๆจะแบ่งได้ 4 วิธีได้แก่ การเจรจา (Negotiation) การประนีประนอมข้อพิพาท

(Mediation) การไกล่เกลี่ย (Concillia15tion) และ การใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการ (Arbitration)

11-3


3-379

12. อนุญาโตตุลาการ

การอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาทด้านการก่อสร้างจะมีค่าใช้จ่ายสูง

ใช้ระยะเวลานาน และเป็นเหตุแห่งความบาดหมางของคู่สัญญาในการด าเนินการ

โครงการให้สัมฤทธิ์ผล นอกจากนี้ยังเป็นข้อบาดหมางต่อความสัมพันธ์ระหว่าง

ผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างก่อสร้าง เมื่อใดก็ตามที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จะมีข้อควร

พิจารณาในเอกสารเงื่อนไขของสัญญา FIDIC รายละเอียดแสดงไว้ในเอกสารท้าย

บทที่ 12.1 นี้

============

เอกสารท้ายบทที่ 12.1

ข้อพิจารณาในเอกสารเงื่อนไขของสัญญา FIDIC

ผู้ว่าจ้างจะระบุข้อมูลเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการไว้ในเงื่อนไขเฉพาะ

- ส่วน A:

ข้อมูลของสัญญาได้แสดงไว้ในเอกสารแนบท้ายบทที่ 4.1

• สถาบันอนุญาโตตุลาการและกฎ ระเบียบเกี่ยวกับ

อนุญาโตตุลาการ (หัวข้อย่อย 20.6 (a))

ข้อพิพาทใด ๆ ที่ยังไม่ได้ยุติด้วยการเจรจาต่อรอง หรือการตัดสิน

ของ DAB จะยังไม่ "เป็นที่สิ้นสุดและมีผลผูกพัน" ให้ตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ

หากเป็นสัญญากับผู้รับจ้างต่างชาติอนุญาโตตุลาการจะต้องเป็นอนุญาโตตุลาการ

ระหว่างประเทศ

12-1


3-380

12. อนุญาโตตุลาการ

มีสองทางเลือกส าหรับผู้ว่าจ้าง:

(1) การอนุญาโตตุลาการสามารถด าเนินการโดยสถาบันระหว่าง

ประเทศที่ซึ่งก าหนดไว้ในเอกสารข้อมูลของสัญญา และด าเนินการภายใต้กฎของ

อนุญาโตตุลาการของสถาบันดังกล่าว เช่น สถาบันอนุญาโตตุลาการของสภา

หอการค้าระหว่างประเทศ (International Chamber of Commerce - ICC)

หรือสถาบันอนุญาโตตุลาการของหอการค้าสตอกโฮล์มหอการค้า (Stockholm

Chamber of Commerce - SCC)

(2) การอนุญาโตตุลาการสามารถด าเนินการได้ตามระเบียบ

อนุญาโตตุลาการของคณะกรรมาธิการการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ

ว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ (UNCITRAL) ซึ่งไม่จ าเป็นต้องใช้สถาบันอื่น และ

สามารถด าเนินการโดยโดยคณะอนุญาโตตุลาการนั้นได้ อย่างไรก็ตามมีสถาบัน

ระหว่างประเทศจ านวนมากที่จะด าเนินการการอนุญาโตตุลาการตามแบบของ

UNCITRAL โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า UNCITRAL

มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญระหว่างกฎระเบียบของส านัก

อนุญาโตตุลาการเชิงพาณิชย์ระหว่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในการ

อนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน และอื่น ๆ 1 รวมถึงผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย ซึ่งควร

ได้รับการตัดสินใจก่อนว่าจะเลือกใช้วิธีใด

1

เอกสารท้ายบทที่ 12.3 Self-Administered/Non-Administered/Ad-Hoc

https: / / www. cpradr. org/ dispute- resolution- services/ services- offered/ arbitrationadditional/non-administered-arbitration

12-2


3-381

12. อนุญาโตตุลาการ

สถานที่การอนุญาโตตุลาการ

สถานที่ในการอนุญาโตตุลาการจะเป็นสถานที่ตั้งซึ่งเป็นกลาง โดย

จะระบุไว้ในเอกสารข้อมูลของสัญญา

============

เอกสารท้ายบทที่ 12.2

การอนุญาโตตุลาการ 2 (Arbitration)

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการ

(1) อนุญาโตตุลาการคืออะไร?

อนุญาโตตุลาการ คือ วิธีการระงับข้อพิพาทที่คู่กรณีตกลงกันเสนอข้อพิพาทที่

เกิดขึ้นแล้วหรือที่จะเกิดขึ้นในอนาคตให้บุคคลภายนอกซึ่งเรียกว่า อนุญาโตตุลา

การ ท าการพิจารณาชี้ขาด โดยคู่กรณีผูกพันที่จะปฏิบัติตาม ค าชี้ขาดของ

อนุญาโตตุลาการ

(2) อนุญาโตตุลาการมี่ประเภท?

อนุญาโตตุลาการ แบ่งได้หลายประเภท ดังนี้

1) อนุญาโตตุลาการในศาลกับอนุญาโตตุลาการนอกศาล

2

สุเทพ พงษ์พิทักษ์ https://www.facebook.com/Suthep.Pongpitak/posts/831776466873331

12-3


3-382

12. อนุญาโตตุลาการ

1.1) อนุญาโตตุลาการในศาล คือ กรณีที่คู่กรณีซึ่งมีคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณา

ของศาลตกลงกันให้มีอนุญาโตตุลาการชี้ขาดได้ โดยความเห็นชอบของศาล

(มาตรา 210-220 และ 222 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง) แต่วิธีนี้ไม่

เป็นที่นิยมเพราะเมื่อมีคดีขึ้นไปสู่ศาลแล้ว คู่ความมักไม่ต้องการให้บุคคลอื่นมา

ช่วยชี้ขาดให้ แต่ต้องการให้ศาลตัดสินคดีนั้นมากกว่า

1.2) อนุญาโตตุลาการนอกศาล คือ กรณีที่คู่กรณีตกลงกันเสนอข้อพิพาทให้

อนุญาโตตุลาการพิจารณาชี้ขาด โดยไม่ได้ฟ้องคดีต่อศาล ซึ่งอาจตกลงกันไว้

ล่วงหน้าก่อนมีข้อพิพาทหรืออาจตกลงกันภายหลังจากที่มีข้อพิพาทแล้วก็ได้

การอนุญาโตตุลาการส่วนใหญ่ในนานาประเทศรวมทั้งประเทศไทยนั้นเป็นการ

อนุญาโตตุลาการนอกศาล ซึ่งจะอยู่ภายใต้บังคับของ พระราชบัญญัติ

อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545

2) อนุญาโตตุลาการเฉพาะกิจกับอนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน

2.1) อนุญาโตตุลาการเฉพาะกิจ (Ad Hoc Arbitration) เป็นกรณีที่คู่พิพาท

ด าเนินการระงับข้อพิพาทตามวิธีอนุญาโตตุลาการด้วยตนเอง กล่าวคือ โดยตั้ง

อนุญาโตตุลาการและก าหนดวิธีพิจารณาต่างๆเอง และให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาด

ข้อพิพาทของตน

2.2) อนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน (Institutional Arbitration) เป็นกรณีที่

คู่พิพาทตกลงระงับข้อพิพาทกันโดยใช้บริการของสถาบันอนุญาโตตุลาการ ซึ่ง

สถาบันดังกล่าวนี้อาจเป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้บริการด้านอนุญาโตตุลาการ

โดยเฉพาะ ส าหรับประเทศไทย เช่น สถาบันอนุญาโตตุลาการของส านักงานศาล

ยุติธรรม สภาอนุญาโตตุลาการของหอการค้าแห่งประเทศไทย ส่วนใน

12-4


3-383

12. อนุญาโตตุลาการ

ต่างประเทศ เช่น สถาบันอนุญาโตตุลาการของสภาหอการค้าระหว่างประเทศ

(International Chamber of Commerce - ICC) สมาคมอนุญาโตตุลาการของ

สหรัฐอเมริกา (American Arbitration Association - AAA) หรืออาจเป็นส่วน

หนึ่งขององค์กรเฉพาะด้านที่ให้บริการกับสมาชิกและ/หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ส าหรับ

ประเทศไทย เช่น อนุญาโตตุลาการของส านักงาน ก.ล.ต. อนุญาโตตุลาการของ

สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ส่วนในต่างประเทศ เช่น อนุญาโตตุลาการของ

NASD

3) อนุญาโตตุลาการในประเทศกับอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ

3.1) อนุญาโตตุลาการในประเทศ เป็นกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโต

ตุลาการในประเทศใดประเทศหนึ่ง ไม่ว่าคู่กรณีจะมีสัญช าติ ใด

3.2) อนุญาโตตุลาการต่างประเทศ เป็นกระบวนการระงับข้อพิพาทโดย

อนุญาโตตุลาการที่ด าเนินการภายนอกประเทศ ไม่ว่าคู่กรณีจะมีสัญชาติใด

(3) ท าไมจึงต้องใช้หรือต้องมีกระบวนการอนุญาโตตุลาการ?

สาเหตุที่ต้องมีหรือใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการก็เนื่องมาจากเหตุผล

ดังต่อไปนี้

1) ความรวดเร็ว

เนื่องจากการฟ้องคดีต่อศาลนั้นมีขั้นตอนมากและคู่ความยังสามารถอุทธรณ์ ฎีกา

ต่อไปได้ท าให้เสียเวลามาก แต่กระบวนการอนุญาโตตุลาการจะสิ้นสุดรวดเร็ว

และไม่มีขั้นตอนยุ่งยาก

12-5


3-384

12. อนุญาโตตุลาการ

2) ความยุ่งยากและสลับซับซ้อนของคดี

เนื่องจากโดยปกติผู้ที่เป็นอนุญาโตตุลาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุญาโตตุลาการที่

คู่กรณีเลือกมักจะเป็นผู้ที่มีความรู้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่พิพาทเป็นอย่างดี ท า

ให้เข้าใจเรื่องที่พิพาทและพยานหลักฐานต่างๆได้รวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้การชี้ขาดข้อ

พิพาทท าได้รวดเร็วและยุติธรรม ในขณะที่ถ้าเป็นการด าเนินคดีในศาลคู่ความไม่

สามารถเลือกผู้พิพากษาที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆมาพิจารณาคดีให้ตนได้

ซึ่งก็ต้องมีการใช้พยานผู้เชี่ยวชาญมาเบิกความ ท าให้การพิจารณาคดีเป็นไปอย่าง

ยากล าบากและล่าช้า และอาจมีปัญหาในการรับฟังพยานหลักฐาน เพราะต้อง

ขึ้นอยู่กับว่าพยานผู้เชี่ยวชาญเบิกความอธิบายได้ชัดเจนถูกต้องมากน้อยเพียงใด

3) การรักษาชื่อเสียงและความลับ

เนื่องจากหลักการพิจารณาคดีของศาลต้องท าโดยเปิดเผย ประชาชนทั่วไป

สามารถเข้าฟังการพิจารณาของศาลได้ สื่อมวลชนก็อาจรับฟังและน าเสนอข่าวได้

ง่าย ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อภาพพจน์ทางธุรกิจและการรักษาความลับของคู่กรณี

เว้นแต่ว่าจะมีการพิจารณาคดีเป็นการลับ ซึ่งก็จะมีเป็นบางคดีเท่านั้น แต่

หลักการด าเนินกระบวนพิจารณาของการอนุญาโตตุลาการนั้นกระท าเป็น

ความลับ เฉพาะคู่กรณีและผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่มีสิทธิเข้าร่วมการพิจารณา

บุคคลภายนอกไม่มีโอกาสรู้ข้อเท็จจริงโดยตรง จึงไม่รู้ว่าคู่กรณีมีข้อพิพาทกัน

หรือไม่ หรือมีกันอย่างไร จึงเป็นการรักษาชื่อเสียงของคู่พิพาทและความลับทาง

ธุรกิจของคู่กรณีได้เป็นอย่างดี

12-6


3-385

12. อนุญาโตตุลาการ

4) การรักษาความสัมพันธ์ระหว่างคู่พิพาท

เนื่องจากแนวทางการพิจารณาคดีของศาลนั้นเป็นการต่อสู้คดีกัน ท าให้คู่กรณีมี

ความรู้สึกเป็นศัตรูกัน อีกทั้งยังใช้เวลาต่อสู้กันยาวนาน เพราะคดีสามารถอุทธรณ์

ฎีกาต่อไปได้ ซึ่งส่งผลเสียต่อความสัมพันธ์ทางธุรกิจ แต่กระบวนการ

อนุญาโตตุลาการนั้นเป็นการระงับข้อพิพาทที่เปิดโอกาสให้คู่กรณีพบปะเจรจา

ปัญหาที่พิพาทกันโดยตรง บรรยากาศในการพิจารณามีลักษณะเป็นกันเอง ไม่

เคร่งเครียด อีกทั้งไม่มีระบบที่ให้คู่กรณีโต้แย้งเอาแพ้ชนะกัน จึงสามารถรักษา

ความสัมพันธ์ระหว่างคู่พิพาทซึ่งอยู่ในวงการธุรกิจ ที่ส่วนใหญ่จะต้องคบค้าและ

ประกอบธุรกิจกันต่อไปอีกในอนาคต

(4) กฎหมายอนุญาโตตุลาการกับกระบวนการอนุญาโตตุลาการของสมาคมตลาด

ตราสารหนี้ไทย

ในการด าเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการของสมาคมนั้นจะต้องน ากฎหมายว่า

ด้วยอนุญาโตตุลาการ ซึ่งได้แก่พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มา

ใช้ด้วย ทั้งนี้ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

เรื่อง การอนุญาโตตุลาการ ข้อ 2

2. ขั้นตอนการด าเนินกระบวนพิจารณาโดยวิธีอนุญาโตตุลาการของสมาคม

(1) ผู้มีสิทธิเสนอค าร้อง

ได้แก่ สมาชิกสมาคมและคู่พิพาทกับสมาชิก

12-7


3-386

12. อนุญาโตตุลาการ

(2) ข้อพิพาทที่สามารถเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการ

ต้องเป็นข้อพิพาทที่เกิดจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายตราสารหนี้ระหว่าง

สมาชิก หรือสมาชิกกับลูกค้า

(3) วิธีการเสนอข้อพิพาท

ให้ยื่นค าร้องเสนอข้อพิพาท (Statement of Claim) ต่อสมาคมตามแบบที่

สมาคมก าหนด

(3.1) ในกรณีที่ค าร้องไม่ครบถ้วนหรือไม่ชัดเจน สมาคมจะแจ้งให้ผู้ร้องแก้ไขให้

เรียบร้อยภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับหรือควรได้รับการแจ้งจากสมาคม

(3.2) ในกรณีที่ค าร้องถูกต้องครบถ้วน สมาคมจะส่งส าเนาค าร้องพร้อมเอกสาร

หลักฐานต่างๆ ไปยังคู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อให้ยื่นค าคัดค้าน (Statement of

Defence) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับส าเนาค าร้องเสนอข้อพิพาท

(4) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (Mediation)

ในกรณีที่มีคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งประสงค์จะให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดย

อนุญาโตตุลาการคนใดคนหนึ่งของสมาคม ก่อนเข้ากระบวนการอนุญาโตตุลาการ

สมาคมจะมีหนังสือแจ้งให้คู่พิพาทอีกฝ่ายทราบเพื่อให้ตอบรับภายใน 15 วันนับ

แต่วันที่ได้รับแจ้งจากสมาคม

- หากคู่พิพาทไม่ตอบรับภายในเวลาที่ก าหนด สมาคมจะด าเนินกระบวนการ

อนุญาโตตุลาการต่อไป

- หากตอบรับกลับมาแล้วด าเนินการไกล่เกลี่ยส าเร็จให้ท าสัญญาประนีประนอม

ยอมความและให้คู่พิพาทลงลายมือชื่อในสัญญาดังกล่าว แต่ถ้าไกล่เกลี่ยไม่ส าเร็จ

ก็ให้น าเรื่องกลับเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไป

12-8


3-387

12. อนุญาโตตุลาการ

(5) การแต่งตั้งและคัดค้านอนุญาโตตุลาการ

( 5. 1) ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง อ นุ ญ า โ ต ตุ ล า ก า ร ( Appointment of arbitrator)

ให้มีอนุญาโตตุลาการ 3 คนเป็นผู้ชี้ขาด ประกอบด้วย บุคคลที่คณะกรรมการ

สมาคมเลือกจากบัญชีรายชื่ออนุญาโตตุลาการของสมาคมท าหน้าที่เป็นประธาน

จ านวน 1 คน และบุคคลซึ่งคู่พิพาทแต่งตั้งอีกฝ่ายละ 1 คน ซึ่งจะมาจากบัญชี

รายชื่ออนุญาโตตุลาการของสมาคมหรือไม่ก็ได้

(5.2) การคัดค้านอนุญาโตตุลาการ (Challenge of arbitrator)

คู่พิพาทอาจยื่นหนังสือคัดค้านการตั้งอนุญาโตตุลาการได้ ในกรณีที่มีเหตุอันควร

สงสัยในความเป็นอิสระหรือความเป็นกลาง ภายใน 15 วันนับแต่รู้หรือควรรู้ถึง

เ ห ตุ นั้ น แต่ ต้ องก่อนวั น ที่ อนุ ญ า โ ต ตุ ล า การสั่ ง ปิ ด การพิ จ า ร ณ า

(6) การพิจารณา

คณะอนุญาโตตุลาการต้องท าค าชี้ขาด (Award) ให้เสร็จ ภายใน 180 วันนับแต่

วันที่แต่งตั้งอนุญาโตตุลาการคนสุดท้าย เว้นแต่คู่พิพาทจะตกลงกันเป็นอย่างอื่น

(7) ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย

ให้คู่พิพาทช าระ ดังนี้

(7.1) ค่าธรรมเนียม ในอัตรา 1% ของทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง แต่ไม่เกิน 10,000

บาท

(7.2) ค่าตอบแทนอนุญาโตตุลาการ ใช้อัตราผันแปรตามทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง

ดังนี้

ไม่เกิน 500,000 บาท อัตรา 2.5% แต่ไม่ต่ ากว่า 10,000 บาท

500,001 บาท – 1,000,000 บาท อัตรา 2.0% แต่ไม่ต่ ากว่า 12,500บาท

12-9


3-388

12. อนุญาโตตุลาการ

1,000,001 บาท – 5,000,000 บาท อัตรา 1.5% แต่ไม่ต่ ากว่า 20,000 บาท

5,000,001 บาท – 10,000,000 บาท อัตรา 1.0% แต่ไม่ต่ ากว่า 75,000 บาท

10,000,001 บาท – 50,000,000 บาท อัตรา 0.5% แต่ไม่ต่ ากว่า 100,000 บาท

มากกว่า 50,000, 000 บาท อัตรา 250,000 บาท

อนึ่งในการค านวณ ถ้าค านวณได้เป็นเศษให้ปัดเศษขึ้นจนเต็มจ านวน

(8) การวางเงินประกัน

ให้คู่พิพาทวางเงินประกันค่าธรรมเนียมและค่าตอบแทนอนุญาโตตุลาการตาม

จ านวนที่คณะกรรมการสมาคมก าหนด ภายใน 15 วันนับแต่สมาคมแต่งตั้ง

ประธานคณะอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ คณะอนุญาโตตุลาการอาจเรียกให้คู่พิพาท

วางเงินประกันเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร

(9) การขอยุติกระบวนการอนุญาโตตุลาการ

ไม่ว่าเวลาใดๆนับแต่วันเสนอข้อพิพาทจนถึงก่อนคณะอนุญาโตตุลาการมีค าชี้ขาด

คู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายร่วมกัน อาจยื่นค าร้องขอให้ยุติ

กระบวนการอนุญาโตตุลาการได้ โดยผู้ยื่นค าร้องมีหน้าที่ช าระค่าตอบแทนและ

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น หรือในกรณีที่คู่พิพาทร่วมกันค าร้องให้ก าหนดผู้ที่มีหน้าที่ช าระ

ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายมาด้วย

============

12-10


3-389

12. อนุญาโตตุลาการ

เอกสารท้ายบทที่ 12.3

Non-Administered Arbitration 3

Self-Administered/Non-Administered/Ad-Hoc

A self- administered process is designed to proceed

without the involvement of a separate administering entity. Instead,

the neutral(s) and parties, themselves, administer the proceedings.

The process may also involve an ADR provider entity, which simply

assists with the selection of neutrals if called upon by the parties’

agreement or if for some reason the parties are unable to select a

neutral. The selected neutral manages all aspects of the proceedings

not controlled by the parties under their agreement, including

keeping the necessary files, arranging the location of the proceedings,

and agreeing upon a neutral fee and collection process. The

proceedings may follow institutional rules and procedures, such as

those outlined in CPR’s Rules for Non-Administered Arbitration and

the CPR Mediation Procedure, or may adhere to a procedure defined

by and agreed to by the parties. A major advantage of this approach

is that such proceedings typically cost less than institutional

3

https://www.cpradr.org/dispute-resolution-services/services-offered/arbitration-additional/non-administeredarbitration

12-11


3-390

12. อนุญาโตตุลาการ

processes because there is no need to pay an institution a

percentage of the claim as a filing fee, or indeed any fees, if the

parties can proceed on their own without an institution’ s

intervention.

============

เอกสารท้ายบทที่ 12.4

Fee Scale of the International Court of Arbitration of

International Chamber of Commerce (ICC) 4

ICC Arbitration Rules

One convenience of ICC arbitration is that a user can estimate with

some accuracy the cost of the arbitral Tribunal and its administration

by the ICC. This is done by determining the amount in dispute

(including any counterclaims) and applying the "A" and "B" charts

found in Appendix III to the ICC Rules, "Arbitration Costs and Fees".

4

Dispute Board Manual: Japan International Cooperation Agency

https://www.jica.go.jp/activities/schemes/finance_co/procedure/guideline/pdf/DisputeBoar

dManual_201203_e.pdf

12-12


3-391

12. อนุญาโตตุลาการ

(For rough calculation, that Appendix has a "combined" chart showing

both "A" and "B", but it is not to the same level of precision as the

separate "A" and "B" charts. Several points should be noted in using

these charts:

* "Arbitrator's Fees" are for one arbitrator, so if the Tribunal has 3

arbitrators, the fees must be multiplied by 3;

* There is a range of fees shown for "Arbitrator's Fees" -- a "Minimum"

and a "Maximum".

Under Article 37(2) of the Rules, the ICC Court has the power to

prescribe higher or lower fees, but this typically occurs only in

unusual circumstances, and generally the fees are set within the

range shown. Article 2(2) of Appenix III indicates the factors used by

the ICC Court in choosing the precise fee from within the range:

"diligence and efficiency of the arbitrator, the time spent, the rapidity

of the proceedings, and the complexity of the dispute and the

timiness of the submission of the draft award" . Obviously, these

factors cannot be known at the outset of the arbitration;

nevertheless, the charts are a useful device for assessing the limits of

risk, and are an attractive alternative to arbitration systems which do

not provide any clear way of assessing the likely cost of arbitrator's

fees.

12-13


3-392

12. อนุญาโตตุลาการ

* The "Arbitrator's Fees" do not include the expenses of the arbitrator,

such as travel cost, or taxes such as Value Added Tax, nor do they

include for the cost of experts which the Tribunal may retain to assist

it.

* The "Arbitrator's Fees" are distinct from the legal fees of each party

to the arbitration.

Especially when considering the power of the Tribunal to award costs

against a losing party, it is important for the user to remember that

this power extends not only to the Arbitrator's Fees and the ICC

"Administrative Expenses" but also to the winning party's legal fees

and expenses, which often much exceed the Arbitrator's Fees and

the ICC "Administrative Expenses". This risk should be fully discussed

by a user with the user's own legal advisors before commencing

arbitration. (This area of risk applies not only to ICC arbitration but

also to international commercial arbitration generally.

12-14


3-393

12. อนุญาโตตุลาการ

12-15


3-394

12. อนุญาโตตุลาการ

12-16


3-395

12. อนุญาโตตุลาการ

12-17


3-396

บรรณานุกรม

ช ำน ำญ พิเชษฐพันธ์ และ คณะ, กำรบริหำร สัญญำจ้ำงที่ปรึกษำงำนก่อสร้ำง

( MANAGING CONSTRUCTION CONTRACT AGREEMENT), กรุงเทพ:

เฟิสท์ ออฟเซท (2559)

ช ำน ำญ พิเชษฐพันธ์ และ คณะ, กำรบริหำรข้อเรียกร้องและข้อพิพำทใน

โครงกำรก่อสร้ำง (CONSTRUCTION CLAIM & DISPUTE MANAGEMENT),

กรุงเทพ: เฟิสท์ ออฟเซท (2560)

Brian Totterdill: FIDIC Users Guide : Thomas Telford 2001

DRBF: Construction Dispute Review Board Manual : McGraw Hill

1996

Gwyn Owen: Introduction To Fidic Dispute Adjudication Board

Provisions, Conditions Of Contract For Construction, FIDIC 1999.

June 2003

FIDIC: Conditions of Contract for Construction 1999 Edition

FIDIC: General Conditions of Contract of the Multilateral

Development Bank Harmonized Edition (MDB Harmonized

Edition)

FIDIC: The FIDIC Contracts Guide : 2000

Gwyn Owen: Introduction To Fidic Dispute Adjudication Board

Provisions, Conditions Of Contract For Construction, FIDIC 1999.

June 2003

(i)


3-397

บรรณำนุกรม

Japan International Cooperation Agency: Dispute Board Manual,

Version 1.0, JICA March 2012

(ii)


3-398

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1.1 ที่มาของข้อพิพาท และแนวทางระงับในอดีตถึงปัจจุบัน 1

โดย อาจารย์ ช านาญ พิเชษฐพันธ์

1 เอกสารประกอบการบรรยายการประชุมระดมสมอง เรื่องทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐาน

ระดับสากล วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม 2560

A1-1


3-399

ภาคผนวก

A1-2


3-400

ภาคผนวก

A1-3


3-401

ภาคผนวก

A1-4


3-402

ภาคผนวก

A1-5


3-403

ภาคผนวก

A1-6


3-404

ภาคผนวก

A1-7


3-405

ภาคผนวก

A1-8


3-406

ภาคผนวก

A1-9


3-407

ภาคผนวก

A1-10


3-408

ภาคผนวก

A1-11


3-409


3-410

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพืพาท

โดย คุณวณิธชนันท์ วิจักขณ์สังสิทธิ์

A1-12


3-411

ภาคผนวก

A1-13


3-412

ภาคผนวก

A1-14


3-413

ภาคผนวก

A1-15


3-414

ภาคผนวก

A1-16


3-415

ภาคผนวก

A1-17


3-416

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1.3 แนวคิดและจุดเด่นของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท

โดย คุณมงคล วุฒิธนากุล

A1-18


3-417

ภาคผนวก

A1-19


3-418

ภาคผนวก

A1-20


3-419

ภาคผนวก

A1-21


3-420

ภาคผนวก

A1-22


3-421

ภาคผนวก

A1-23


3-422

ภาคผนวก

A1-24


3-423


3-424

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1.4 ทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐานระดับสากล

โดยคุณสาคร เครือใหม่

A1-25


3-425

ภาคผนวก

A1-26


3-426

ภาคผนวก

A1-27


3-427

ภาคผนวก

A1-28


3-428

ภาคผนวก

A1-29


3-429

ภาคผนวก

A1-30


3-430

ภาคผนวก 2

เงื่อนไขของสัญญา FIDIC ว่าด้วยการเรียกร้อง ข้อพิพาท

และอนุญาโตตุลาการ

20. การเรียกร้อง ข้อพิพาท และอนุญาโตตุลาการ (Claims, Disputes

and Abitration)

20.1 การเรียกร้องของผู้รับจ้าง (Contractor’s Claims)

หากผู้รับจ้างมีความเห็นว่า อาจจะขอขยายต่อเวลาการก่อสร้างและ

หรือเพิ่มค่าจ้างก่อสร้างภายใต้สัญญานี้

ผู้รับจ้างต้องมีหนังสือด่วนที่สุดแจ้งผู้ว่าจ้างในเหตุการณ์หรือ

สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อการเรียกร้องค่าชดเชยภายในเวลาไม่มากกว่า

28 วัน นับแต่วันที่ผู้รับจ้างรู้เหตุหรือควรจะรู้เหตุของสถานการณ์นั้น

หากผู้รับจ้างบกพร่องไม่แจ้งการเรียกร้องค่าชดเชยในช่วงเวลาดังกล่าว

ก็จะไม่มีสิทธิ์ขยายระยะเวลาก่อสร้างออกไปและไม่อาจขอค่าชดเชย

เพิ่มได้ และผู้ว่าจ้างจะตัดขาดไม่รับผิดการชดเชยค่าใช้จ่าย เว้นแต่

เรื่องต่อนี้ของข้อย่อย 20.1 จะน ามาบังคับใช้

ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งเป็นหนังสืออื่นตามที่ระบุไว้ในสัญญาและหลักฐาน

ในการเรียกร้องค่าชดเชย ทั้งหมดนี้จะต้องมีส่วนเกี่ยวกับสถานการณ์

A2-1


3-431

ภาคผนวก 2

ผู้รับจ้างจะต้องเก็บรักษาบันทึกประวัติเหตุการณ์ซึ่งมีส่วนส าคัญและ

จ าเป็นเพื่อการเรียกร้องค่าชดเชยจากเหตุการณ์ที่เกิดอยู่ในพื้นที่

โครงการหรือที่อื่น ซึ่งผู้ว่าจ้างยอมรับว่าเป็นจริง ปราศจากการรับผิด

ของผู้ว่าจ้าง ภายหลังที่ผู้ว่าจ้างได้รับหนังสือแจ้งภายใต้หัวข้อ 20.1 นี้

เฝ้าติดตามการเก็บรักษาบันทึกประวัติและสั่งให้ผู้รับจ้าง เก็บบันทึก

ประวัติเพิ่มเติม แต่ผู้รับจ้างต้องยินยอมให้ผู้ว่าจ้างเข้าตรวจสอบบันทึก

ประวัติได้และอาจส่งส าเนาบันทึกประวัตินี้ให้แก่ผู้ว่าจ้าง

ภายในเวลา 42 วัน ผู้รับจ้างเริ่มตระหนัก (หรือได้ตระหนักแล้ว) กับ

การเกิดเหตุการณ์หรือสถานการณ์นี้ในการเรียกร้องค่าชดเชย หรือ

ภายในระยะเวลาอื่น ผู้รับจ้างอาจจะน าเสนอและได้รับการเห็นชอบ

จากผู้ว่าจ้าง

ผู้รับจ้างจะส่งรายละเอียดพร้อมหลักฐานการเรียกร้องการชดเชยให้

ผู้ว่าจ้างในการขยายเวลาก่อสร้างและค่าชดเชยเพิ่มเติม หากเหตุการณ์

หรือสถานการณ์การเรียกร้องนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไป

(ก) รายละเอียดการเรียกค่าชดเชยค่าจ้างนี้ จะถูกพิจารณาการจ่าย

ค่าจ้างงวด

(ข) ผู้รับจ้างยังคงส่งค่าชดเชยค่าจ้างเพิ่มทบต้นทุกเดือนและระยะ

ขยายเวลาเพิ่มทบต้นทุกเดือน ตามที่ผู้ว่าจ้างเรียกขอ

A2-2


3-432

ภาคผนวก 2

(ค) ผู้รับจ้างต้องส่งหนังสือฉบับสุดท้ายในการเรียกร้องการชดเชย

ภายใน 28 วัน หลังจากเหตุการณ์หรือสถานการณ์สิ้นสุดลง หรือ

ภายในระยะเวลาช่วงอื่นที่ผู้รับจ้างเสนอและผู้ว่าจ้างเห็นชอบใน

การด าเนินการดังกล่าวข้างต้น

ภายใน 42 วัน ภายหลังได้รับการเรียกร้องค่าชดเชยหรือได้รับหลักฐาน

เพิ่มเติมสนับสนุนการเรียกร้องค่าชดเชยที่ผ่านมา หรือภายใน

ระยะเวลาอื่นซึ่งผู้ว่าจ้างน าเสนอและได้รับความเห็นชอบจากผู้รับจ้าง

ผู้ว่าจ้างจะอนุมัติหรือไม่อนุมัติพร้อมด้วยข้อคิดเห็น ผู้ว่าจ้างอาจจะ

เรียกร้องหลักฐานเพิ่ม

หนังสือรับรองการจ่ายงวดค่าจ้างแต่ละฉบับจะต้องรวมรายการการ

เรียกร้องค่าชดเชยที่ค้างจ่าย ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมีนัยแห่งเหตุผลตาม

สัญญา เว้นแต่จนกว่าหลักฐานที่ประกอบการเบิกมีความเพียงพอต่อ

การชดเชย ผู้รับจ้างมีสิทธิ์ขอเรียกร้องค่าชดเชยงานส่วนนั้น

ผู้ว่าจ้างจะด าเนินการตามข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อตกลง

หรือก าหนด (i) การต่ออายุ (ถ้ามี) ของระยะเวลาที่เสร็จสิ้น (ก่อนหรือ

หลังหมดอายุ) ตามข้อย่อยข้อ 8.4 (Extension of Time for

Completion) และ/หรือ (ii) การช าระเงินเพิ่มเติม (ถ้ามี) ซึ่งผู้รับจ้างมี

สิทธิตามสัญญา

A2-3


3-433

ภาคผนวก 2

ข้อก าหนดของข้อย่อยนอกเหนือจากข้อย่อยอื่น ๆ ที่อาจใช้กับการ

เรียกร้อง หากผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามข้อก าหนดนี้หรือข้อย่อยอื่นที่

เกี่ยวกับการเรียกร้องใด ๆ การต่อเวลาและ/หรือการช าระเงินเพิ่มเติม

ใด ๆ จะค านึงถึงขอบเขต (ถ้ามี) ซึ่งความล้มเหลวได้ป้องกันหรือมีอคติ

ในการตรวจสอบ ยกเว้นกรณีที่ข้อเรียกร้องดังกล่าวได้รับการยกเว้น

ตามวรรคสองของข้อย่อยนี้

20.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท: คณะกรรมการวินิจฉัย

(DAB) (Appointment of the Dispute Adjudication Board,

DAB)

ข้อพิพาททั้งปวงต้องตัดสินโดย คณะกรรมการวินิจฉัย ตามข้อย่อย

20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board Decision) คู่กรณี

ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยภายใน 28 วันภายหลังฝ่ายหนึ่งฝ่าย

ใดได้แจ้งเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายหนึ่งตามข้อย่อย 20.4

คณะกรรมการวินิจฉัย จะประกอบด้วยบุคคลตามเอกสารแนบผนวก

ในเอกสารประกวดราคา จ านวน 1 คน หรือ 3 คน จากบุคคลที่มี

คุณสมบัติเหมาะสม (กรรมการ) หากจ านวนกรรมการไม่ได้ระบุไว้หรือ

คู่กรณีไม่เห็นด้วย ก็ให้คณะกรรมการวินิจฉัย มีกรรมการ 3 คน

A2-4


3-434

ภาคผนวก 2

ถ้าคณะกรรมการวินิจฉัย มีกรรมการ 3 คน ให้คู่กรณีแต่ละฝ่ายเสนอ

กรรมการฝ่ายละคน โดยความเห็นชอบของคู่กรณี คู่กรณีจะปรึกษา

กับกรรมการทั้ง 2 นี้ และแต่งตั้งกรรมการคนที่ 3 ให้เป็นประธาน

คณะกรรมการวินิจฉัย

อย่างไรก็ดี ถ้ารายชื่อกรรมการมีการระบุไว้ในสัญญา กรรมการ 3 คน

ของคณะกรรมการวินิจฉัยต้องคัดเลือก และแต่งตั้งจากบัญชีรายชื่อนี้

เว้นแต่กรรมการนั้นไม่สามารถหรือไม่เต็มใจที่จะรับการแต่งตั้งเป็น

กรรมมการคณะกรรมการวินิจฉัย

ข้อตกลงของคู่กรณีหรืออย่างหนึ่งอย่างใดของกรรมการทั้งหมดหรือ

อย่างหนึ่งอย่างใดของกรรมการแต่ละคน ต้องกระท าตามข้อก าหนด

ของเงื่อนไขข้อตกลงทั่วไปของข้อพิพาท ตามที่ระบุไว้ในเอกสาร

ภาคผนวกและได้มีการแก้ไขตามความเห็นชอบของทั้ง 2 ฝ่ายแล้ว

ข้อตกลงเรื่องค่าตอบแทนของคณะกรรมการและตัวกรรมการแต่ละคน

และให้รวมค่าตอบแทนของผู้เชี่ยวชาญผู้ให้ค าปรึกษาต่อ

คณะกรรมการวินิจฉัย กรณีต้องมีความเห็นชอบพร้อมกัน ณ เวลาที่มี

การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย คู่กรณีต้องจ่ายค่าตอบแทนคนละ

ครึ่ง

A2-5


3-435

ภาคผนวก 2

A2-6

ทุกเวลาตามที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอาจจะขอความเห็นรวมใน

เรื่องพิพาท คู่กรณี ไม่อาจขอค าปรึกษาจากคณะกรรมการวินิจฉัยใน

เรื่องใด ๆ โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง

ทุกเวลาตามที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอาจแต่งตั้งบุคคลที่มีความ

เหมาะสมหรือเปลี่ยนบุคคล (หรือต าแหน่งที่ว่างลง) แทนกรรมการ

คณะกรรมการวินิจฉัย เว้นแต่ได้ตกลงเป็นอื่น การแต่งตั้งจะมีผลการ

ปฏิบัติหน้าที่ หากว่ากรรมการท างานหย่อนสมรรถภาพ (แก่) หรือเกิด

ตาย พิการ ลาออกหรือเมื่อหมดหน้าที่ การแต่งตั้งคณะกรรมการ

วินิจฉัย คนใหม่ให้เป็นไปตามระเบียบเดิมโดยแต่งตั้งจากบุคคลที่ได้คัด

สรรตามที่ทั้ง 2 ฝ่ายตกลงยินยอมตามหัวข้อย่อย 20.2 นี้

การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยใหม่แทนคณะกรรมการวินิจฉัยที่ถูก

ถอดถอนโดยการเห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ายเท่านั้น ไม่ใช่เป็นฝ่ายกระท าของ

ฝ่ายผู้ว่าจ้างหรือผู้รับจ้าง การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยใหม่แทน

คณะกรรมการวินิจฉัยที่ก าลังจะหมดวาระ จะให้คณะกรรมการวินิจฉัย

ผู้ครบวาระได้ให้ค าวินิฉัยเสียก่อนตามข้อย่อย 20.4 (Obtaining

Dispute Adjudication Board’s Decision) เว้นแต่ข้อพิพาทอื่นได้

อ้างถึง กรรมการคณะกรรมการวินิจฉัย ในขณะนั้นตามข้อย่อย 20.4

ซึ่งข้อพิพาทนั้นได้ก าหนดวันที่ให้กรรมการคณะกรรมการวินิจฉัยผู้นั้น

ต้องให้ค าวินิจฉัยนั้นด้วยต่อข้อพิพาทเหล่านี้


3-436

ภาคผนวก 2

20.3 การไม่ปฏิบัติตามค าวินิฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย (Failure to

Agree DAB)

เงื่อนไขดังต่อไปนี้จะมีผลการบังคับใช้

(ก) คู่กรณีไม่ตกลงในการแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย ตามวันที่ระบุ

ไว้ในวรรคแรกของข้อย่อย 20.2

(ข) คู่กรณีใดไม่เสนอชื่อกรรมการคณะกรรมการวินิจฉัย (เพื่อการ

แต่งตั้ง) ตามวันที่ก าหนดไว้

(ค) คู่กรณีไม่ตกลงเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการคนที่ 3 (ประธาน

กรรมการ ตามวันที่ระบุไว้

(ง) คู่กรณีไม่ตกลงเห็นชอบในการแต่งตั้งกรรมการคณะกรรมการ

วินิจฉัย หรือแทนกรรมการที่ว่างลงภายใน 42 วัน นับแต่วันที่

คณะกรรมการ 3 คน หรือกรรมการที่หย่อนสมรรถภาพการ

ท างาน ตาย พิการ ลาออก หรือยกเลิกการแต่งตั้ง

ดังนั้นการแต่งบุคคลหรือที่มีนามระบุไว้ในเอกสารแนบผนวกใน

เอกสารประกวดราคา ตามการร้องขอคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด หรือทั้ง 2

ฝ่าย ในการแต่งตั้งเป็นกรรมการคณะกรรมการวินิจฉัย การแต่งตั้งครั้ง

นี้จะเป็นผลสรุปครั้งสุดท้าย คู่กรณีทั้งคู่ต้องจ่ายค่าตอบแทนกันคนละ

ครึ่งในการแต่งตั้งกรรมการบุคคล หรือกรรมการจากบัญชีรายชื่อ

A2-7


3-437

ภาคผนวก 2

20.4 การรับค าวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย (Obtaining DAB’s

Decision)

หากข้อพิพาทใด ๆ เกิดขึ้นระหว่างคู่กรณีจากข้อสัญญา หรือจากการ

ปฏิบัติงาน รวมถึงข้อพิพาทจากการรับรองใด ๆ การวินิจฉัย ค าสั่ง

ความเห็น หรือการประเมินของผู้ว่าจ้าง คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด อาจ

อ้างถึงข้อพิพาทเป็นหนังสือส่งถึงคณะกรรมการวินิจฉัยเพื่อการวินิฉัย

พร้อมส าเนาถึงผู้ว่าจ้างและคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง การด าเนินการดังกล่าว

ให้ระบุอ้างถึงตามข้อย่อย 20.4 นี้

ส าหรับคณะกรรมการวินิจฉัย มีคณะกรรมการ 3 คน คณะกรรมการ

วินิจฉัยเสมือนหนึ่งได้รับการฟ้องร้อง ณ วันที่ประธานคณะกรรมการ

วินิจฉัยได้รับเรื่องการฟ้องร้องนั้น

คู่กรณีต้องจัดหาข้อมูลเอกสารส่งให้คณะกรรมการวินิจฉัยทันที และ

เข้าตรวจสอบในสถานที่โครงการและต้องอ านวยความสะดวกตาม

ความเหมาะสมตามที่คณะกรรมการวินิจฉัยร้องขอ เพื่อวัตถุประสงค์ใน

การตัดสินค าวินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการวินิจฉัยจะไม่กระท าตน

เสมือนหนึ่งว่าเป็น อนุญาโตตุลาการ (Arbitrator)

A2-8


3-438

ภาคผนวก 2

ภายในเวลา 84 วัน นับแต่วันได้รับค าฟ้องหรือภายในระยะเวลาอื่น

ตามที่คณะกรรมการวินิจฉัยจะเห็นชอบตามคู่กรณี คณะกรรมการ

วินิจฉัยจะตัดสินค าวินิจฉัยอย่างมีเหตุผลและต้องระบุได้ให้ค าวินิจฉัย

ตามข้อย่อยนี้ 20.4 นี้ ค าวินิจฉัยจะมีผลผูกพันธ์คู่กรณีทันที เว้นแต่จะ

มีการประนีประนอมจนได้ข้อยุติ หรือมีค าตัดสินเป็นหนังสือตาม

ข้างล่างนี้ หรือมีการยกเลิกสัญญา หรือการไม่ยอมรับค าวินิจฉัย ผู้รับ

จ้างยังรับผิดชอบก่อสร้างต่อไปตามสัญญา

หากคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ยอมรับค าวินิจฉัยของคณะกรรมการ

วินิจฉัย ภายใน 28 วันภายหลังได้รับค าวินิจฉัย คู่กรณีจะมีหนังสือแจ้ง

ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายว่าไม่ยอมรับค าวินิจฉัย

หากคณะกรรมการวินิจฉัย ไม่มีค าวินิจฉัยภายใน 84 วัน (หรือตามจะ

ตกลงกันเป็นอื่น) ภายหลังได้รับค าฟ้อง กรณีนี้ภายใน 28 วันของการ

ให้ค าวินิจฉัย ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดของคู่กรณีจะมีหนังสือแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่ง

ว่าไม่ยอมรับค าวินิจฉัย

ในเหตุการณ์หนึ่งเหตุการณ์ใด หนังสือการไม่ยอมรับค าวินิจฉัยต้องอ้าง

ถึงข้อย่อย 20.4 นี้ และจะตั้งเรื่องพิพาท เรื่องการไม่ยอมรับค าวินิจฉัย

เว้นแต่จะได้ระบุไว้ข้อย่อย 20.7 (Failure to Comply with Dispute

Adjudication Board’s Decision) และข้อย่อย 20.8 (Expire of

A2-9


3-439

ภาคผนวก 2

A2-10

Dispute Adjudication Board’s Appointment) ไม่ว่าฝ่ายหนึ่งฝ่าย

ใดมีสิทธิ์ด าเนินการทางอนุญาโตตุลาการ เว้นแต่ต้องมีหนังสือการไม่

ยอมรับค าวินิจฉัยตามข้อย่อย 20.4 นี้

หากคณะกรรมการวินิจฉัยได้มีค าวินิจฉัยข้อพิพาทให้แก่คู่กรณี แต่ไม่มี

หนังสือแจ้งการไม่ยอมรับค าวินิจฉัยจากคู่กรณีภายใน 28 วัน

หลังจากได้รับค าวินิจฉัย ดังนั้นค าวินิจฉัยจะเป็นข้อยุติและข้อผูกพัน

ต่อคู่กรณี

20.5 ข้อยุติการประนีประนอม (Amicable Settlement)

เมื่อใดที่มีหนังสือไม่ยอมรับค าวินิจฉัยตามข้อย่อย 20.4 คู่กรณีต้อง

พยายามให้มีข้อยุติข้อพิพาทด้วยการเจรจาประนีประนอมก่อนจะมี

การฟ้องร้องทางอนุญาโตตุลาการ แต่อย่างไรก็ดี เว้นแต่คู่กรณียินยอม

มิฉะนั้น การฟ้องร้องทางอนุญาโตตุลาการจะด าเนินการได้ภายหลัง 56

วัน หลังจากมีหนังสือไม่ยอมรับค าวินิจฉัย ถึงแม้ว่าจะไม่มีการพยายาม

ที่จะหาข้อยุติด้วยการเจรจาประนีประนอม

20.6 อนุญาโตตุลาการ (Arbitration)

ข้อพิพาทใด ๆ ที่มีค าวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย ยังไม่มีข้อยุติ

และข้อผูกพันโดยจะมีการหาข้อยุติด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการสากล

(ก) ข้อพิพาทจะสรุปข้อยุติด้วยวิธีการอนุญาโตตุลาการตามระบบ

หอการค้าสากล


3-440

ภาคผนวก 2

(ข) ข้อพิพาทจะยุติด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการแบบ 3 คน ซึ่งการแต่งตั้ง

ตามข้อบังคับเหล่านี้ และ

(ค) การอนุญาโตตุลาการ จะด าเนินการโดยใช้ภาษาตามที่ระบุไว้ข้อ

ย่อย 1.4 (Law and Language)

ตุลาการต้องมีอ านาจในการเริ่มต้น ตรวจทานและแก้ไข หนังสือรับรอง

ใด ๆ การพิจารณาวินิจฉัย ค าสั่ง ความเห็น หรือการประเมินของผู้

ว่าจ้าง ถ้าการวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับ

ข้อพิพาท จะไม่มีการกีดกันผู้ว่าจ้างเมื่อถูกเรียกให้เป็นพยาน และให้

หลักฐานก่อนมีการพิจารณาอนุญาโตตุลาการในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยว

เรื่องข้อพิพาท

ไม่ว่าคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมีข้อจ ากัดในการด าเนินการ

อนุญาโตตุลาการ เพื่อเป็นหลักฐาน ข้อโต้แย้ง ก่อนมีคณะกรรมการ

วินิจฉัย เพื่อประกอบพิจารณาค าวินิจฉัย หรือการไม่ยอมรับในหนังสือ

ไม่ยอมรับค าวินิจฉัย ค าวินิจฉัยใด ๆ ของคณะกรรมการวินิจฉัย จะ

กลายเป็นหลักฐานในขบวนการอนุญาโตตุลาการ

ขบวนการอนุญาโตตุลาการอาจจะด าเนินการก่อนหรือหลังงาน

ก่อสร้างแล้วเสร็จ พันธะของคู่กรณี ผู้ว่าจ้าง และคณะกรรมการ

วินิจฉัย จะต้องไม่เปลี่ยนแปรด้วยเหตุผลในระหว่างขบวนการ

อนุญาโตตุลาการ

A2-11


3-441

ภาคผนวก 2

20.7 การไม่ปฏิบัติตามค าวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย (Failure to

Comply with DAB’s Decision)

ในเหตุผลดังต่อไปนี้

(ก) ไม่ว่าคู่กรณีใดได้มีหนังสือ ไม่ยอมรับค าวินิจฉัย ภายในระยะเวลา

ที่ระบุไว้ในข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute DAB’s Decision)

(ข) เรื่องสืบเนื่องซึ่งยุติแล้วกับผลของคณะกรรมการวินิจฉัยแล้ว และ

(ค) คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามค าวินิจฉัย

ดังนั้น คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง โดยไม่กระทบกับสิทธิ์กับคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง

หากไม่ปฏิบัติต่อการ อนุญาโตตุลาภายใต้ข้อย่อย 20.6 (Arbitration)

ข้ อ ย่ อ ย 20. 4 ( Obtaining Dispute Adjudication Board’ s

Decision) และข้อย่อย 20.5 (Amicable Settlement) จะไม่ใช้บังคับ

กับการอ้างอิงนี้

20.8 การหมดอายุการแต่งตั้งกรรมการคณะกรรมการวินิจฉัย (Expiry of

DAB’s Appointment)

หากการพิพาทเกิดขึ้นระหว่างคู่กรณีซึ่งเกี่ยวข้องกับสัญญาจ้างหรือเกิด

จากงานก่อสร้างและไม่มีคณะกรรมการวินิจฉัย ไม่ว่าจะเป็นเหตุผล

จากการหมดอายุของการแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย หรือยกเว้น

(ก) ข้อย่อย 20.4 (Obtaining DAB’s Decision) และข้อย่อย 20.5

(Amicable Settlement) จะไม่น ามาบังคับใช้และ

A2-12


3-442

ภาคผนวก 2

(ข) การพิพาทอาจจะเป็นผลทางตรงในการฟ้องร้องอนุญาโตตุลาการ

ตามข้อย่อย 20.6 (Arbitration)

A2-13


3-443


3-444

ภาคผนวก 3

ศัพท์นิยาม (Definitions)

1. FIDIC หมายถึง สมาพันธ์ผู้ว่าจ้างที่ปรึกษาสากล (Federation

International des Ingenieur Conseil หรือ The International

Federation of Counselling)

2. JICA หมายถึง องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น

(Japan International Cooperation Agency)

3. คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท (กปพ): คณะกรรมการ

วิ นิ จ ฉั ย : ( Dispute Avoidance/ Adjudication Board: DAAB,

Dispute Adjudication Board: DAB or DB) หมายถึงบุคคลหนึ่งหรือ

บุคคล 3 หรือ 5 คน (จ านวนเลขคี่) ซึ่งระบุอยู่ในเงื่อนไขของสัญญา

FIDIC ตามข้อย่อย 20.2 (การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย: DAB) หรือ

ข้อย่อย 20.3 (Failure to Agree DAB)

4. สัญญา (Contract) หมายถึงสัญญาข้อตกลง (Contract Agreement)

หนังสือตอบตกลงหนังสือเสนอราคา (Letter of Tender) เงื่อนไข

สัญญานี้ ข้อก าหนด (Specifications) แบบก่อสร้าง แผนงาน

A3-1


3-445

ภาคผนวก 3

(Schedule) และเอกสารที่จะเกิดขึ้นภายหลัง (ถ้ามี) ซึ่งจะระบุไว้ใน

สัญญาข้อตกลงในหนังสือตอบข้อตกลง

5. สัญญาข้อตกลง (Contract Agreement) หมายถึงสัญญาข้อตกลง

ตามอ้างถึงตามข้อย่อย 1.6 ของเงื่อนไขของสัญญา FIDIC

6. หนังสือสนองรับ (ตอบตกลง) (Letter of Acceptance) หมายถึง

หนังสือตอบตกลงอย่างเป็นทางการ ลงนามโดยผู้ว่าจ้างของหนังสือ

เสนอราคา (Letter of Tender) ให้รวมถึงหนังสือแนบผนวก หนังสือ

บันทึกข้อความ รวมกันเป็นข้อตกลงและได้มีการลงนามของคู่สัญญา

หากไม่มีหนังสือตอบตกลง ก็หมายถึงสัญญาข้อตกลงและวันที่ที่ออก

หนังสือ หรือวันที่ได้รับหนังสือตอบตกลงให้หมายถึงวันที่ลงนามสัญญา

ข้อตกลง

7. หนังสือเสนอราคา (Letter of Tender) หมายถึงหนังสือเสนอราคาที่

ผู้รับจ้างจัดท าขึ้นได้ลงนามแล้วเสนอไว้ให้ผู้ว่าจ้าง

8. ข้อก าหนด (Specification) หมายถึงเอกสารข้อก าหนดเพื่อการ

ก่อสร้าง ซึ่งแนบอยู่ในสัญญา รวมถึงเอกสารเพิ่มเติม และแก้ไข

เอกสารข้อก าหนดใช้เป็นข้อก าหนดประกอบการก่อสร้างในโครงการ

A3-2


3-446

ภาคผนวก 3

9. แบบก่อสร้าง (Drawings) หมายถึงแบบก่อสร้างของงานโครงการแนบ

อยู่ในสัญญาและให้รวมถึงแบบก่อสร้างเพิ่มเติม และแก้ไข ซึ่งออกโดย

ผู้ว่าจ้างตามเงื่อนไขของสัญญา

10. แผนงาน (Schedule)) หมายถึงเอกสารแผนงานที่ผู้รับจ้างจัดท าขึ้น

และแนบเสนอกับหนังสือเสนอราคาและได้รวมอยู่ในสัญญา แผนงาน

อาจรวมบัญชีปริมาณงาน (Bill of Quantity) ข้อมูล รายการบัญชีและ

อัตราราคาต่อหน่วยและหรือราคางาน

11. เอกสารประกวดราคา (Tender) หมายถึงหนังสือเสนอราคาและ

เอกสารอื่นที่ผู้รับจ้างจัดท าขึ้นและเสนอต่อผู้ว่าจ้าง ซึ่งแนวรวมอยู่ใน

สัญญา

12. เอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา (Appendix to Tender)

หมายถึง แผ่นของเอกสารจัดท าขึ้นแนบเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของ

หนังสือเสนอราคา (Letter of Tender)

13. บัญชีปริมาณงาน (Bill of Quantity, BOQ) และตารางแผนงานการ

ท างานรายวัน (Day Work Schedule) หมายถึงเอกสารตามอ้างถึง

ข้างต้น ซึ่งประกอบอยู่ในเอกสารแผนงาน

A3-3


3-447

ภาคผนวก 3

14. สถานที่ก่อสร้าง พื้นที่ก่อสร้าง พื้นที่โครงการ (Site) หมายถึงพื้นที่ที่

จะท าการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างถาวร ซึ่งจะเป็นพื้นที่ที่เครื่องมือ และวัสดุ

ต่าง ๆ ถูกน าเข้ามาเพื่อการก่อสร้าง และพื้นที่อื่นที่ก าหนดไว้ในสัญญา

ให้เป็นพื้นที่ก่อสร้าง

15. คู่สัญญา ( Party) หมายถึงผู้ว่าจ้างหรือผู้รับจ้าง ก่อสร้าง

(Contractor/ผู้รับเหมา) ตามบริบทของตัวสัญญา

16. ผู้ว่าจ้าง (Employer) หมายถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็นผู้ว่าจ้าง

ตามระบุไว้ในเอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา (Appendix

to Tender) และให้รวมถึง ผู้มีอ านาจตามกฎหมาย

17. ผู้รับจ้าง (Contractor/ผู้รับเหมา) หมายถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็น

ผู้รับจ้าง ตามที่ระบุในเอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา

(Appendix to Tender) และให้รวมถึงผู้มีอ านาจตามกฏหมาย

18. วิศวกร (Engineer) หมายถึงบุคคลซึ่งได้ได้รับแต่งตั้งจากผู้ว่าจ้างให้

ปฎิบัติหน้าที่เป็นวิศวกรเพื่อวัตถุประสงค์ของสัญญาที่ระบุอยู่ใน

เอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา หรือบุคคลอื่นซึ่งมีการ

แต่งตั้งเป็นครั้งคราวของผู้ว่าจ้าง และแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบ

A3-4


3-448

ภาคผนวก 3

19. ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Representative) หมายถึงบุคคล

ซึ่งได้ได้รับแต่งตั้งจาก ผู้ว่าจ้างตามสัญญาที่ระบุ หรือได้รับการแต่งตั้ง

เป็นครั้งคราวจากผู้ว่าจ้าง เพื่อปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ว่าจ้าง

20. ผู้แทนของผู้รับจ้าง (Contractors Representatives) หมายถึงบุคคล

ที่ผู้รับจ้างระบุในสัญญา หรือบุคคลที่ผู้รับจ้างแต่งตั้งเป็นครั้งคราว เพื่อ

ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้รับจ้าง

21. บุคลากรของผู้ว่าจ้าง (Employer Personnel) หมายถึงผู้ว่าจ้าง หรือ

ผู้ช่วย และบุคลากรอื่น ๆ คนงานหรือลูกจ้างของผู้ว่าจ้างและ ผู้แทน

ของผู้ว่าจ้างและบุคลากรอื่น ที่แจ้งให้แก่ผู้รับจ้าง โดยผู้ว่าจ้างหรือ

ผู้แทนของ ผู้ว่าจ้างว่าเป็นบุคลากรของผู้ว่าจ้าง

22. บุคลากรของผู้รับจ้าง (Contractors Personnel) หมายถึงผู้แทนของ

ผู้รับจ้างและบุคลากรทั้งหมดของผู้รับจ้างซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่งาน

ซึ่งรวมถึงบุคลากรคนงานและลูกจ้างอื่นของผู้รับจ้าง และบุคลากรของ

ผู้รับจ้างช่วงทุกรายและผู้อื่นของผู้รับจ้างที่ท างานก่อสร้างให้แก่ผู้รับ

จ้าง

23. ผู้รับจ้างช่วง (Subcontractors) หมายถึงบุคคลที่ถูกระบุชื่อเป็นผู้

รับจ้างช่วงสัญญาหรือเป็นบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง แต่งตั้งให้เป็นรับจ้างช่วง

A3-5


3-449

ภาคผนวก 3

งานก่อสร้างบางส่วน ให้รวมถึงผู้มีอ านาจเป็น ผู้รับจ้างช่วงตาม

กฎหมาย

A3-6


3-450


เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช

สัญญา ออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง

(อีพีซี) ฉบับประสบการณ์

Engineering, Procurement and Construction

(EPC) Contract For Beginners

หนังสือเล่มนี้ เขียนขึ้นจากประสบการณ์เป็นศูนย์ ในเรื่องของสัญญา และ

EPC ฉะนั้น ผู้อ่านจะได้รับความรู้ และประสบการณ์เริ่มจากศูนย์ โดยอาจไม่

ทราบอะไรเลยเกี่ยวกับสัญญา หรือ EPC เหมาะส าหรับผู้เริ่มต้นที่จะมา

ท างานหรือมีส่วนร่วมในเอกสารสัญญา การจัดท าเอกสารประกวดราคา

ตลอดจนการจัดท าข้อก าหนดในงานก่อสร้าง

เริ่มตั้งแต่ สัญญาคืออะไร มีความส าคัญอย่างไร สัญญาประเภทต่าง ๆ ท าไม

ต้องเป็น EPC การจัดท าเอกสาร EPC เริ่มจากเจ้าของงาน ผู้ว่าจ้างเขียน

TOR เพื่อหาที่ปรึกษาจัดท าเอกสาร EPC การจัดท า TOR และเอกสาร EPC

เพื่อคัดเลือก และจัดหาผู้รับจ้างก่อสร้าง รวมถึงการจัดท าข้อก าหนดใน

โครงการ EPC

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!