08.06.2013 Views

ธรรมะใกล้ตัว

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ก่อนเกิดเป็นดังตฤณ<br />

คนในสมัยพุทธกาลมีโอกาส<br />

ได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า<br />

แล้วคนในสมัยเราจะเข้าเฝ้า<br />

พระพุทธเจ้าได้อย่างไร<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

Free Online Magazine<br />

่ ๐๖๙<br />

๒๘ พ.ค. ๕๒<br />

dharma at hand ฉบับที<br />

ธรรมะสำหรับคนยุคใหม่ ที่อยู่ใกล้แค่เอื้อม<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/<br />

รูปชวนคิด<br />

ใครจะคาดคิดว่าสิ่งที่เราเห็น<br />

สิ่งที่เราพบเจอกันอยู่ทุกวัน<br />

มันจะเป็นสิ่งที่ช่วยเตือนสติเราได้<br />

ธรรมะนั้นอยู่ไม่ไกลจริงๆ<br />

ของฝากจากหมอ<br />

ไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ ใครๆ ก็กลัว<br />

หนังสือพิมพ์ประโคมข่าว<br />

ชาวโลกแตกตื่น<br />

เรามาหาทางรับมือกันดีกว่า<br />

หน้า ๑๔ หน้า ๓๒ หน้า ๒๙


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

๑๐<br />

ก่อนเกิดเป็นดังตฤณ ๑๔<br />

• เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า<br />

โหรา (ไม่) คาใจ ๑๘<br />

• ขอเพียงล้มแล้วลุกได้ทุกครั้้ง<br />

คำคมชวนคิด ๒๑<br />

สัพเพเหระธรรม ๒๓<br />

• ดีใจ ได้ทำทาน<br />

ของฝากจากหมอ ๒๙<br />

• ไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ ความเข้าใจ ความรู้สึก<br />

รูปชวนคิด ๓๒<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

ที่ปรึกษาและผู้จุดประกาย: ศรันย์ ไมตรีเวช<br />

หัวหน้าบรรณาธิการ<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว: อลิสา ฉัตรานนท์<br />

ธรรมะจากพระผู้รู้: อนัญญา เรืองมา<br />

เตรียมเสบียงไว้เลี้ยงตัว: อนัญญา เรืองมา<br />

เขียนคนให้เป็นเทวดา: อนัญญา เรืองมา<br />

ไดอารี่หมอดู: จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

กวีธรรม: ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

คำคมชวนคิด: ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

สัพเพเหระธรรม: ชนินทร์ อารีหนู<br />

ธรรมะจากคนสู้กิเลส: พราวพรรณราย<br />

มัลลิกะมาลย์ ทองเลี่ยมนาค<br />

ของฝากจากหมอ: พริม ทัพวงศ์<br />

แง่คิดจากหนัง: เกสรา เติมสินวาณิช<br />

นิยาย/เรื่องสั้นอิงธรรมะ: สุปราณี วอง<br />

เที่ยววัด: เกสรา เติมสินวาณิช<br />

ธรรมะปฏิบัติ: ชนินทร์ อารีหนู<br />

ธรรมะกับไลฟ์สไตล์: ศดานันท์ จารุพูนผล<br />

กองบรรณาธิการ: กนกเรขา กฤษฎารักษ์<br />

กานต์พัทธ์ รัชพันธ • กิษรา รัตนาภิรัต<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ • ชนินทร์ อารีหนู<br />

ณัฐชญา บุญมานันท์ • ณัฐธีรา ปนิทานเต<br />

ณัฐพร สกุลอุทัยศักดิ ์ • ปรียาภรณ์ เจริญบุตร<br />

ปิยมงคล โชติกเสถียร • พราวพรรณราย<br />

มัลลิกะมาลย์ ทองเลี่ยมนาค<br />

พรหมเนตร สมรักษ์ • พิจิตรา โตวิวิชญ์<br />

พิทา จารุพูนผล • พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

มยุรฉัตร พงษ์ผาตินันท์ • เมธี ตั ้งตรงจิตร<br />

เยาวลักษณ์ เกิดปราโมทย์ • วรางคณา บุตรดี<br />

วิบูรณ์ศักดิ์ ใจภักดี • วิมล ถาวรวิภาส<br />

วิมุตติยา นิวาดังบงกช • ศดานัน จารุพูนผล<br />

ศศิธร ศิวะนันทากรณ์ • ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ • สาริณี สาณะเสน<br />

สิทธินันท์ ชนะรัตน์ • สุปราณี วอง<br />

อนัญญ์อร ยิ่งชล • อนัญญา เรืองมา<br />

อมรา ตั้งบริบูรณ์รัตน์ • อัจจนา ผลานุวัตร<br />

ฝ่ายรวบรวมบทความ: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

ฝ่ายสื่อเสียงอ่านนิตยสาร: อนุสรณ์ ตรีโสภา<br />

ฝ่ายสื่อเว็บไซต์: สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ<br />

ไพลิน ลายสนิทเสรีกุล • กฤษฎ์ อักษรวงศ์<br />

ฝ่ายสื่อ Word: พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

ฝ่ายสื่อ PDF: บุณยศักดิ์ ธีรวงศ์กิจ<br />

เกียรติภูมิ จารุเสน • จรรยาณี วิสุทธิกุลพาณิชย์<br />

โยธิน มรกตอัมพร • วรรณรักษ์ ปัญจชวพร<br />

ฝ่ายระบบ Send mail: สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ<br />

และทีมงานอาสาท่านอื่นๆ อีกจำนวนมาก<br />

ท่านสามารถรับนิตยสารฉบับนี<br />

้ได้<br />

ในรูปแบบ เสียงอ่าน · Word


3<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ตอนซื<br />

้อของแพงกว่าราคาจริง<br />

ประเภทซื<br />

้อของชิ<br />

้นหนึ<br />

่งเสร็จ<br />

เดินไปอีกไม่กี<br />

่ก้าวแล้วเจอของชิ<br />

้นเดียวกัน<br />

ที<br />

่แปะราคาไว้ถูกกว่าเป็นร้อยเป็นพัน<br />

คุณคงโมโหกระฟัดกระเฟียด<br />

และจดจำเงินส่วนต่างที<br />

่ต้องจ่ายด้วยความไม่รู<br />

้นั<br />

้น<br />

ไว้ในใจไปอีกนาน<br />

อาจหลายชั<br />

่วโมง อาจหลายวัน<br />

หรือบางทีอาจเป็นเดือนๆ<br />

ส่วนต่างที<br />

่ต้องจ่ายด้วยความไม่รู<br />

้นั<br />

้น<br />

ชาวบ้านเรียกกันแบบสั<br />

้นๆเข้าใจง่ายๆว่า “ค่าโง่”<br />

อันที<br />

่จริงค่าโง่มีอยู<br />

่หลายแบบ<br />

แบบที<br />

่ถูกหลอกเอาซึ<br />

่งๆหน้า<br />

แบบที<br />

่เราคำนวณพลาดเอง<br />

ตลอดจนแบบที<br />

่เกิดจากข้อมูลไม่พอ เดินไม่ทั<br />

่ว เห็นไม่ครบ<br />

ถ้าใครทำบัญชีค่าโง่เก็บไว้ดูเป็นรายปี<br />

บางทีสิ<br />

้นปีอาจตาเหลือกรู<br />

้สึกคล้ายจะเป็นลม<br />

คนที<br />

่ขัดสนหน่อยอาจเสียค่าโง่ปีละเป็นพันๆ<br />

คนที<br />

่ฐานะปานกลางอาจเสียค่าโง่ปีละเป็นแสนๆ<br />

และคนที<br />

่ฐานะมั<br />

่งคั<br />

่งอาจเสียค่าโง่ปีละเป็นสิบๆล้าน!<br />

ไม่มีใครตั<br />

้งงบล่วงหน้าไว้จ่ายค่าโง่โดยเฉพาะ<br />

เพราะถ้ารู<br />

้ดีขนาดตั<br />

้งงบได้<br />

ก็แปลว่ามีสิทธิ<br />

์ตัดงบนี<br />

้ทิ<br />

้งเสียก่อนแล้ว<br />

ความจริงก็คือคุณแทบไม่มีทางรู<br />

้ตัวเลย<br />

ว่าแต่ละปีต้องจ่ายค่าโง่เป็นจำนวนเท่าไร


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

4<br />

ถ้าเอาค่าโง่ของทุกปีมารวมกัน<br />

เชื<br />

่อเถอะครับว่าสุดท้ายคุณจะตายตาไม่หลับ<br />

เพราะเอาแต่เสียดายว่าชีวิตที<br />

่ผ่านมานี<br />

้<br />

แทนที<br />

่จะเอาเงินจำนวนหนึ<br />

่ง<br />

ไปแลกบ้าน แลกรถ แลกตั<br />

๋วเครื<br />

่องบิน<br />

กลับต้องเอามาจ่ายค่าโง่ไปเปล่าๆปลี<br />

้ๆ<br />

พอตายไป<br />

สมมุติว่าคุณระลึกได้ว่าตะกี<br />

้เป็นอะไร<br />

ตอนนี<br />

้เปลี<br />

่ยนมาเป็นอะไรแล้ว<br />

ตลอดจนสามารถล่วงรู<br />

้ได้อีกว่า<br />

นอกจากภพตะกี<br />

้ที<br />

่จากมา<br />

กับภพนี<br />

้ที<br />

่เพิ<br />

่งมาอยู<br />

่ใหม่<br />

ยังมีภพชาติอื<br />

่นในอดีตเรียงรายมากมายเกินจะนับ<br />

แถมยังมีภพชาติอื<br />

่นในอนาคตรออยู<br />

่ไม่สิ<br />

้นสุด<br />

คุณคงเปลี<br />

่ยนใจ<br />

รู<br />

้สึกว่าค่าโง่ที<br />

่นับเป็นจำนวนเงินในแต่ละชาติ<br />

มันแค่เรื<br />

่องจิ<br />

๊บๆ<br />

ทุกครั<br />

้งที<br />

่เกิดมา<br />

ยังมีค่าโง่อย่างอื<br />

่นที<br />

่เราจ่ายหนักกว่านั<br />

้นมากนัก<br />

ค่าโง่ที<br />

่สาหัสที<br />

่สุด<br />

คือการต้องจ่ายหนี<br />

้บาป<br />

อันเกิดจากการทำบาปด้วยความไม่รู<br />

้ว่าบาปมีผล<br />

เหมือนเด็กที<br />

่ทำผิดโดยไม่รู<br />

้ว่าจะถูกครูตี<br />

เมื<br />

่อจะต้องถูกตีจึงรู<br />

้สึกถึงบรรยากาศอึมครึมน่ากลัว<br />

และถึงเวลานั<br />

้นก็สายเกินกว่าจะแก้ตัวเสียแล้ว<br />

ส่วนค่าโง่ที<br />

่น่าเสียดายที<br />

่สุด<br />

คือการพบพระพุทธศาสนา<br />

แต่ไม่รู<br />

้ว่าพุทธศาสนา


5<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

คือประตูไปสู<br />

่บรมสุขอันเป็นอมตะ<br />

มัวหลงเข้าใจว่าพุทธศาสนา<br />

เป็นแค่อีกศาสนาหนึ<br />

่งที<br />

่มีไว้<br />

เพื<br />

่อให้เลือกเชื<br />

่อหรือไม่เชื<br />

่อกันตามอัธยาศัย<br />

การพบพุทธศาสนาแบบไม่เข้าใจ ไม่เข้าถึง<br />

ก็เท่ากับหมดโอกาสรู<br />

้ตัว<br />

ว่ากำลังจ่ายค่าโง่กันเป็นภพเป็นชาติ<br />

ซึ<br />

่งก็นับไม่ถูกว่ากี<br />

่แสน กี<br />

่ล้าน กี<br />

่โกฏิชาติแล้ว<br />

มูลค่าในการทำให้คนๆหนึ<br />

่งเข้าใจศาสนาพุทธ<br />

จึงตีเป็นจำนวนเงินเท่านั<br />

้นเท่านี<br />

้ไม่ได้<br />

ถ้าจะคิดเป็นมูลค่ากันจริงๆ<br />

ต้องคำนวณกันเป็นอัตราความสว่าง<br />

เช่น ถ้าช่วยให้ใครสักคน<br />

เข้าใจพุทธศาสนาระดับทานและศีล<br />

ก็ได้เป็นอัตราความสว่าง<br />

ระดับเปลี<br />

่ยนมนุษย์ให้เป็นเทวดา<br />

ซึ<br />

่งก็นับว่ามีความจัดจ้ากว่าแสงอาทิตย์ได้<br />

เพราะแสงอาทิตย์ไม่เคยช่วยให้คนๆหนึ<br />

่งเห็นสวรรค์<br />

มีก็แต่บุญเท่านั<br />

้นที<br />

่เข็นไหว<br />

แต่ถ้าช่วยให้ใครเข้าใจพุทธศาสนา<br />

ในระดับของการภาวนา<br />

ก็ได้มูลค่าเป็นอัตราความสว่าง<br />

ระดับเปลี<br />

่ยนมนุษย์ให้เป็นองค์อรหันต์<br />

พ้นทุกข์พ้นภัยจากการเวียนว่ายตายเกิดถาวร<br />

ซึ<br />

่งแสงระดับนี<br />

้มีความจัดจ้าสูงสุด<br />

เทียบแล้วความสว่างระดับทานและศีลที<br />

่ยิ<br />

่งใหญ่กว่าดวงอาทิตย์<br />

กลับกลายเป็นของจ้อยไปเลย


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

6<br />

เขียนมาทั<br />

้งหมดนั<br />

้น<br />

เกิดจากแรงบันดาลใจ<br />

ที<br />

่ช่วงหลังๆนี<br />

้เห็นคนรอบตัวหลายๆคน<br />

อิ<br />

่มเอมเปรมใจ ได้ดิบได้ดีจากการค้นพบทางธรรม<br />

แล้วมีแก่ใจให้ธรรมะกับผู<br />

้อื<br />

่นด้วยจิตคิดอนุเคราะห์<br />

พระพุทธเจ้าตรัสว่าธรรมทาน<br />

ชนะการให้ทานอื<br />

่นใดทุกชนิด<br />

ความหมายคือผลของธรรมทานนั<br />

้น<br />

เจิดจรัสจัดจ้าเหนือความสว่างทั<br />

้งปวง<br />

คุณอย่าไปคิดว่าธรรมทาน<br />

จะแปรตัวเป็นกองทุนเลี<br />

้ยงชีพทันตา<br />

เพราะไม่แน่นอน ยังต้องบวกลบคูณหารกับกรรมเก่าอีก<br />

แต่ขอให้คิดว่าธรรมทานอันเกิดจากใจจริงคิดช่วย<br />

ได้แปรรูปเป็นความสว่างแห่งจิตทันใจเดี<br />

๋ยวนี<br />

้แหละ<br />

ไม่ต้องไปบวกลบคูณหารกับอะไรไกลตัว<br />

ถ้าใครรู<br />

้สึกว่าตัวเองฉลาดกว่าเดิม<br />

หรือเฮงผิดปกติ<br />

ทั<br />

้งทำมาค้าขึ<br />

้น ทั<br />

้งได้ลาภ<br />

ทั<br />

้งได้รับความช่วยเหลืออย่างท่วมท้น<br />

ก็อย่าไปสรุปว่าผลของธรรมทานคือประมาณนี<br />

้<br />

ผลดีของธรรมทานที<br />

่ได้รับในปัจจุบัน<br />

มันเป็นแค่เศษๆเสี<br />

้ยวๆของตัวอย่างเท่านั<br />

้น<br />

ของจริงที<br />

่จะให้ผลถึงที<br />

่สุดแบบเต็มเม็ดเต็มหน่วย<br />

มันต้องว่ากันเป็นภพเป็นชาติที<br />

่เจริญรุ<br />

่งเรืองกว่านี<br />

้<br />

อย่างไม่อาจเอามาเทียบกัน<br />

และเวลาที<br />

่ธรรมทานเปล่งอานุภาพขั<br />

้นสุดท้าย<br />

ก็จะไปกระทำกับจิตใจเจ้าของทานโดยตรง


นั่นคือปรุงให้จิตเห็นตามจริงว่า<br />

ภพชาติทั้งหลายเป็นทุกข์<br />

เป็นของควรรู้ว่าน่าทิ้ง<br />

ไม่ใช่ของควรคิดว่าน่าเอา<br />

กระทั่งมีกำลังที่จะทิ้งอย่างไม่เหลือเยื่อเหลือใย<br />

ถ้าคุณทำให้คนแม้แต่คนเดียวรู้จัก<br />

เข้าใจ<br />

ตลอดจนเข้าถึงพระพุทธศาสนาได้<br />

ตามแบบที่พระพุทธเจ้าทรงประสงค์จะให้พบจริงๆ<br />

ก็ให้ชื่นใจเถอะครับ<br />

บอกตัวเองเถอะครับว่า<br />

ได้สร้างขุมทรัพย์บันลือโลกไว้ให้ตัวเองแล้ว<br />

ดังตฤณ<br />

พฤษภาคม ๕๒<br />

เรื่องน่าสนใจประจำฉบับ<br />

<br />

“ดูจิต” มีหลักการปฏิบัติที่เข้าใจง่าย<br />

และลัดสั้นอย่างไร<br />

ติดตามได้ในคอลัมน์ “ธรรมะจากพระผู้รู้”<br />

ฉบับนี้เลยค่ะ<br />

ใครนับตามได้ครบห้าข้อแล้ว ลงมือปฏิบัติด่วน !<br />

ส่วนคนที่คิดว่าตนเองด้อยวาสนา<br />

เกิดไม่ทันสมัยองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

“ก่อนเกิดเป็นดังตฤณ” ฉบับนี้<br />

“คุณดังตฤณ” จะพาเราไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้ากันค่ะ<br />

_/|\_ _/|\_ _/|\_<br />

พบกับการอ่านกรรมผ่านดวงดาว ในคอลัมน์ “โหรา(ไม่)คาใจ”<br />

ในตอน “ขอเพียงล้มแล้วลุกได้ทุกครั้ง”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

7


8<br />

มรสุมชีวิต เมื่อเข้ามา<br />

ก็ผ่านไป<br />

ไม่มีดาวดวงไหน หยุดอยู่ที่เดิมตลอดไปได้<br />

ขึ้นอยู่กับเราว่า<br />

จะเดินผ่านมันไป ด้วยใจดีๆ หรือใจดำๆ ค่ะ<br />

“สัพเพเหระธรรม” ฉบับนี้<br />

พบกับเรื่อง<br />

“ดีใจ ได้ทำทาน” โดย “คุณ<br />

Gipopo”<br />

เชื่อไหมคะว่า<br />

โอกาสในการทำทาน มีอยู่ทุกที่<br />

ทุกเวลา<br />

โดยไม่จำเป็นต้องไปวัด หรือใช้ทรัพย์สินเงินทองแม้แต่สตางค์แดงเดียว :O<br />

คอลัมน์ “ของฝากจากหมอ” ขอปรบมือต้อนรับ “คุณหมอชีระวิทย์”<br />

คุณหมอหนุ่มใจดี<br />

นักเขียนหน้ามนคนใหม่<br />

ที่จะมาไขปัญหาอินเทรนด์<br />

ในตอน “ไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ ความเข้าใจ<br />

ความรู้สึก”<br />

สิ่งละอัน<br />

พันละน้อย ที่เราเห็นจนชินตาอยู่ทุกๆ<br />

วัน<br />

อาจจะมีบางภาพ ที่เมื่อเราเปลี่ยนมุมมอง<br />

จะพบว่า “ธรรมะ” อยู่ใกล้ตัวกว่าที่เราคิด<br />

พบกับคอลัมน์ใหม่ “รูปชวนคิด”<br />

ฉบับนี้<br />

ประเดิมด้วยภาพและข้อคิดของ “คุณดังตฤณ” ค่ะ<br />

<br />

ข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจ<br />

ขอเริ่มต้นด้วยข่าวดีสำหรับผู้อยู่ต่างจังหวัด<br />

ที่ต้องการรับ<br />

CD <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>แผ่นที่<br />

๑ และ ๒ นะคะ<br />

ผู้สนใจ<br />

สามารถอ่านรายละเอียด และลงชื่อขอรับได้ที่กระทู้นี้ค่ะ<br />

http://www.howfarbooks.com/dharmamag/viewtopic.php?f=3&t=433<br />

เว็บไซต์การ์ตูนธรรมะ เผยแพร่ธรรมะด้วยการ์ตูน<br />

เปิดให้เข้าชมผลงานแล้วตั้งแต่วันที่<br />

๒๕ พ.ค. ๒๕๕๒ เป็นต้นไป<br />

เชิญชมภาพการ์ตูนธรรมะจากนักวาดอาชีพและสมัครเล่น<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


อัพเดททุกวันจันทร์ และเชิญส่งผลงานร่วมแสดงเพื่อเผยแพร่ธรรมะได้ที่<br />

http://www.cartoondhamma.com/ ค่ะ<br />

ตอนนี้เว็บแสงดาวส่องทาง<br />

www.star4life.com กลับมาแล้วนะคะ<br />

แม้จะไม่สมบูรณ์ดังเดิม เนื่องจากเนื้อหาตั้งแต่เดือนตุลาคม<br />

๒๕๕๑ หายไป<br />

แต่ทีมงานก็พยายามซ่อมแซมให้ใกล้เคียงเว็บเดิมมากที่สุด<br />

ขอเชิญสมาชิกแสงดาวและท่านที่สนใจ<br />

ไปเยี่ยมเยียนกันได้ค่ะ<br />

: )<br />

และขอปิดท้ายด้วยข่าวดีสำหรับผู้อ่านนิตยสาร<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ที่แอบบ่นว่านิตยสารเดือนละ<br />

๒ ฉบับ นั้นน้อยเกินไป<br />

ตั้งแต่เดือนมิถุนายน<br />

จะได้พบกับนิตยสารน้องใหม่<br />

“<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong> ฉบับ Lite” ธรรมะใสๆ สไตล์เบาๆ<br />

ที่จะมาช่วยเพิ่มสีสัน<br />

สลับกับ<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>ฉบับเดิม ทุกสองสัปดาห์<br />

ประเดิมฉบับแรก วันที่<br />

๔ มิถุนายนนี้ค่ะ<br />

เป็นอันว่า ต่อไปนี้เราจะได้พบกันทุกสัปดาห์แล้วนะคะ<br />

พบกันใหม่ฉบับหน้า<br />

สวัสดีค่ะ : )<br />

ทีมงานนิตยสาร<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

9


10<br />

สวนสันติธรรม วันที่<br />

๓ เดือนพฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๒<br />

ช่วงที่<br />

๑ นาทีที่<br />

๒๔.๔๕ – ๓๑.๐๔<br />

คำถาม รบกวนหลวงพ่อช่วยสอนวิธีการดูจิตด้วยค่ะ<br />

นี่กฎของการดูจิตนะ<br />

ข้อที่<br />

๑ อย่าอยากดูนะ<br />

ให้ความรู้สึกเกิดขึ้นก่อนแล้วก็ค่อยรู้<br />

เช่นโกรธขึ้นก่อนแล้วรู้ว่าโกรธ<br />

โลภขึ้นก่อนแล้วรู้ว่าโลภ<br />

กฎข้อที่สองระหว่างดูให้ดูห่าง<br />

ๆ อย่ากระโจนลงไปดู<br />

ไม่เหมือนดูโทรทัศน์นะ ใจไหลเข้าไปอยู่ในโทรทัศน์<br />

นั่นใช้ไม่ได้<br />

ดูห่าง ๆ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

กฎข้อที่สามของการดูจิตก็คือ<br />

เมื่อดูแล้วนะไม่เข้าไปแทรกแซง<br />

ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง<br />

เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น<br />

เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ<br />

หน้าที่ของเราคือก็แค่<br />

รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ<br />

ทำตัวเป็นแค่คนดูไม่เข้าไปแทรกแซง<br />

จิตโลภขึ้นมาก็แค่รู้ว่าจิตมันโลภนะ<br />

ไม่ต้องไปหาทางทำให้หายโลภ<br />

มันมีความทุกข์ขึ้นมาเราก็รู้ว่าจิตมันมีความทุกข์<br />

ไม่ต้องพยายามทำให้จิตหายทุกข์นะ<br />

มันมีความสุขขึ้นมาก็ไม่ต้องพยายามรักษาความสุขเอาไว้<br />

มันมีจิตที่เป็นกุศลขึ้นมาก็ไม่ต้องพยายามรักษาไว้<br />

ไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นนะ<br />

เราแค่รู้ลูกเดียว<br />

ไม่รักษาไว้ แล้วก็ไม่ปฏิเสธ ไม่ต่อต้านมัน<br />

รู้ด้วยความเป็นกลาง<br />

รู้ด้วยความเป็นกลาง<br />

เพราะฉะนั้นกฎข้อที่สามก็คือ<br />

ให้รู้สภาวะทุกสิ่งทุกอย่างด้วยจิตใจที่เป็นกลาง<br />

จิตใจที่เป็นกลางเนี่ยเกิดจากการรู้ทัน<br />

ว่าจิตมันไปหลงยินดี จิตมันไปหลงยินร้าย<br />

อย่าให้มันเป็นกลางเพราะไปบังคับไว้ ไม่ใช่บังคับว่าชั้นจะต้องเป็นกลาง


ถ้าบังคับเมื่อไหร่<br />

เครียด<br />

หลวงพ่อถึงบอกว่าวิปัสสนาไม่มีคำว่าบังคับ ไม่มีคำว่าห้าม ไม่มีคำว่าต้อง<br />

มีแต่ว่ามันเป็นยังไง รู้ว่าเป็นอย่างนั้น<br />

ใจเราเห็น สมมติเราเห็นสาวสวยขึ้นมา<br />

ใจเรามีราคะ<br />

ไม่ต้องหาทางทำให้ราคะดับไป<br />

โดยเฉพาะไม่ต้องหาทางทำให้สาวดับไปด้วย<br />

ไม่ต้องหาทางให้ราคะดับไป รู้ลูกเดียวว่าใจมีราคะ<br />

ถ้าใจไม่ชอบราคะ เห็นมั้ยไม่เป็นกลาง<br />

ใจเกลียดราคะ อยากให้ราคะหายไป<br />

รู้ทันว่าใจเราเกลียดราคะ<br />

ใจเราไม่เป็นกลาง<br />

ถ้ามีความสุขเกิดขึ้น<br />

ใจเราชอบให้รู้ทันว่าใจเราชอบ<br />

เพราะฉะนั้นเวลาที่เราไปรู้สภาวะรู้อารมณ์ทั้งหลายแล้วเนี่ย<br />

ใจเรายินดีขึ้นมา<br />

คือเราชอบขึ้นมาก็ให้รู้<br />

ใจเรายินร้าย<br />

คือเกิดความเกลียดชังสภาวะนั้นขึ้นมาก็ให้รู้<br />

ถ้ารู้ทันนะ<br />

ต่อไปใจจะค่อย ๆ เป็นกลาง<br />

เราจะรู้สภาวะทั้งหลายอย่างเป็นกลาง<br />

นี่คือกฎข้อที่สาม<br />

กฎข้อที่สี่<br />

ทำบ่อย ๆ ถ้าทำบ่อย ๆ แล้ว กฎข้อที่ห้า<br />

วันนึงเราจะบรรลุมรรคผลนิพพาน<br />

เพราะเราทำเหตุที่พอสมควรแล้ว<br />

เวลาที่เราบรรลุมรรคผลนิพพานนะ<br />

จิตใจเราจะค่อย ๆ เปลี่ยนไปนะ<br />

ถึงจุดหนึ่งมันเปลี่ยนปั๊ปเลย<br />

ตอนที่เกิดมรรคผล<br />

ความทุกข์ที่มีอยู่เนี่ยตกหายไปเยอะเลย<br />

เป็นลำดับ ๆ ไป แต่ละขั้นแต่ละภูมิ<br />

เพราะฉะนั้นเวลาเราหัดรู้สภาวะ<br />

สรุปแล้วสรุป<br />

การเรียนธรรมะเนี่ยเราเรียนแล้วเพื่อวันหนึ่งเราจะไม่มีทุกข์ทางใจเกิดขึ้น<br />

วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น<br />

คือหัดรู้ใจของเรา<br />

ความทุกข์มันแอบมาอยู่ในใจของเรา<br />

เรารู้ทันนะ<br />

ต่อไปความทุกข์มันจะไปเอง เราไม่ต้องไปไล่มันหรอก<br />

ถ้าเราหัดรู้ใจของเรา<br />

ใจของเรามีความรู้สึกอะไรเกิดขึ้น<br />

รู้ไปเรื่อย<br />

ๆ นะ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

11


12<br />

มีกฎสามข้อของการรู้<br />

คือก่อนที่จะรู้เนี่ยอย่าไปเที่ยวแสวงหา<br />

อย่าไปดักดูไว้ก่อน ให้ความรู้สึกเกิดขึ้นแล้วค่อยรู้เอา<br />

กฎข้อที่สองระหว่างที่รู้เนี่ยนะ<br />

อย่ากระโจนลงไปจ้องมัน<br />

ดูห่าง ๆ ดูแบบคนวงนอกนะ<br />

ไม่ถลำลงไปจ้องมัน ถ้าไปจ้องเมื่อไหร่กลายเป็นสมถะเมื่อนั้น<br />

กฎข้อที่สามคือรู้ด้วยความเป็นกลาง<br />

ถ้าหากเรารู้สภาวะแล้วเกิดความยินดีขึ้นมาเราก็รู้ทัน<br />

เกิดความยินร้ายขึ้นมาเราก็รู้ทัน<br />

รู้ทันความยินดียินร้ายในใจของเราบ่อย<br />

ๆ<br />

ต่อไปใจเราจะเป็นกลาง เป็นกลางของมันเอง<br />

ถ้าเมื่อไรเรารู้สภาวะทั้งหลายด้วยจิตใจที่เป็นกลางไปเรื่อย<br />

ๆ<br />

เราจะเห็นสภาวะทั้งหลายตรงตามความเป็นจริง<br />

มันเป็นยังไงเรารู้ว่าเป็นอย่างนั้นโดยที่เราไม่เข้าไปแทรกแซง<br />

พระพุทธเจ้าสอนไว้ว่า เพราะรู้ตามความเป็นจริงนะ<br />

เพราะเห็นตามความเป็นจริงจึงเบื่อหน่าย<br />

เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายความยึดถือ<br />

เพราะคลายความยึดถือจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว<br />

หลุดพ้นจากอะไร หลุดพ้นจากความยึดถือในกายในใจนี้<br />

ก็จะหลุดพ้นจากความทุกข์ไปด้วย เพราะความทุกข์นี้อาศัยอยู่ในกายในใจ<br />

พวกเรารู้สึกมั้ย<br />

ความทุกข์ถ้าไม่อยู่ที่กายก็อยู่ที่ใจ<br />

ถ้าจิตของเราหลุดพ้นจากกายจากใจแล้วนะ<br />

ความทุกข์จะเข้ามาไม่ถึงจิตใจของเราอีกต่อไปแล้ว<br />

มีแต่จะร่วงหายไปเลย หลังจากนั้นเราจะมีชีวิตที่<br />

รู้<br />

ตื่น<br />

เบิกบาน ตลอดเวลา<br />

โดยที่ไม่ต้องประคอง<br />

ไม่ต้องรักษา<br />

เคยได้ยินใช่มั้ยว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


การศึกษานี่ต้องทำตลอดชีวิตใช่มั้ย<br />

การศึกษาต้องทำตลอดชีวิตเพราะวิทยาการทางโลกเนี่ยไม่มีที่สิ้นสุด<br />

แต่การศึกษาทางธรรมะนะ<br />

เมื่อไรที่เราพ้นจากความยึดถือกายยึดถือใจแล้วเนี่ย<br />

งานศึกษาของเราสำเร็จแล้ว<br />

ผู้ที่เรียนสำเร็จแล้วเนี่ยคือพระอรหันต์<br />

พระอรหันต์ถึงชื่อว่าพระอเสขะ<br />

อเสขะแปลว่าผู้ไม่ต้องศึกษาอีกต่อไปแล้ว<br />

เพราะฉะนั้นงานในทางศาสนาพุทธนะ<br />

ถ้าเราเรียนรู้จนแจ่มแจ้งว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์<br />

ใจมันจะปล่อยวางความยึดถือกายยึดถือใจ แล้วไม่ต้องเรียนอีกแล้ว<br />

ความทุกข์จะเข้ามาสู่ใจไม่ได้อีกแล้ว<br />

ไม่เหมือนการศึกษาทางโลกนะต้องศึกษาตลอดชีวิต<br />

นี่เป็นปรัชญาการศึกษาทางโลก<br />

ซึ่งมันก็จำเป็นสำหรับชาวโลกนะ<br />

เพราะโลกนี้ปรุงแต่งไปเรื่อย<br />

ๆ เราก็ต้องตามเรียนรู้ให้ทันความปรุงแต่งไปเรื่อย<br />

ๆ<br />

ส่วนธรรมะเนี่ยเราเรียนจนเราพ้นจากความปรุงแต่ง<br />

เพราะฉะนั้นเนี่ย<br />

ไม่ต้องไปเรียนอีกแล้ว เห็นมั้ยมันคนละชั้นกันนะ<br />

อย่าไปบอกอาจารย์นะเดี๋ยวอาจารย์จะเสียใจ<br />

การศึกษาทางโลกไม่มีที่สิ้นสุด<br />

การศึกษาทางธรรมะมีจุดที่สิ้นสุดนะ<br />

สิ้นสุดตรงที่ใจเราพ้นจากความทุกข์โดยสิ้นเชิง<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

13


14<br />

เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ก่อนเกิดเป็นดังตฤณ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

หลายคนชอบคิดว่าผมเป็นคนมีบุญ จึงเข้าทางสว่างตั้งแต่อายุยังน้อย<br />

แต่ผมว่า<br />

ตัวเองบุญน้อย ค่าที่มาเกิดและโตในบ้านของสามีภรรยาผู้มีความเลื่อมใสพระพุทธศาสนา<br />

มีโอกาสได้ใส่บาตรครั้งแรกตั้งแต่<br />

๑ ขวบ อยู่ในโรงเรียนที่ช่วยจัดพิธีประกาศตนเป็น<br />

ชาวพุทธตั้งแต่ก่อน<br />

๑๐ ขวบ เรียกว่าเกิดมาเพื่อเป็นชาวพุทธเต็มขั้น<br />

เปรียบเหมือน<br />

พระพุทธเจ้าประทับยืนอยู่ตรงหน้าทั้งในบ้านและที่โรงเรียน<br />

แต่กลับอาศัยเวลา<br />

ตั้ง<br />

๑๗ ปี กว่าจะรู้ว่าพระองค์เป็นใคร<br />

และจะเข้าเฝ้าพระองค์ได้อย่างไร<br />

ผมเป็นชาวพุทธประเภทอยากพบพระพุทธเจ้าใจแทบขาด จำได้ดีถึงความ<br />

ทุรนทุราย เฝ้าคิดคำนึงว่าทำไมเราบุญน้อย ทำไมเราเกิดไม่ทันพระพุทธเจ้า ต้อง<br />

แลกด้วยอะไรถึงจะมีสิทธิ์เข้าเฝ้าฟังธรรมต่อเบื้องพระพักตร์ให้ได้สักครั้งหนึ่งในชีวิต<br />

ว่างๆผมก็นั่งเศร้าซึมไปกับการตระหนักว่าอย่างไรชาตินี้ทั้งชาติก็ไม่มีโอกาสพบ<br />

องค์จริงแห่งพระศาสดาแม้แต่ครั้งเดียว...<br />

ผมอิจฉาคนสมัยพุทธกาล ที่มีโอกาสเข้าเฝ้าพระพุทธองค์<br />

แต่ผมก็เป็นพวก<br />

ปลอบตัวเองเป็นครับ พยายามคิดว่าตนโชคดีกว่าคนในสมัยพุทธกาลข้อหนึ่ง<br />

คือ<br />

ไม่ต้องเดินทางข้ามบ้านข้ามเมือง ข้ามห้วยข้ามเขา แค่นั่งอยู่ในห้องแอร์ที่บ้าน<br />

หรือสถานศึกษา เดินไปเลือกหยิบคัมภีร์พระไตรปิฎกจากชั้นวาง<br />

ก็รับรู้ธรรมะ<br />

เดียวกับเหล่าท่านผู้มีวาสนาในยุคโน้นได้แล้ว<br />

พระไตรปิฎกฉบับคัดสรรของท่านอาจารย์ธรรมรักษา ตลอดจนพระไตรปิฎกฉบับ<br />

ย่อความทั้งหมดของท่านอาจารย์สุชีพ<br />

ปุญญานุภาพ จึงกลายเป็นประตูแห่งกาลเวลา<br />

พาผมกลับไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าได้ทุกวัน ทุกเวลาตามปรารถนา ตั้งแต่ช่วงมัธยม<br />

๕<br />

ที่เซนต์จอห์น<br />

จนกระทั่งขึ้นปีหนึ่งที่เอแบค<br />

ห้องสมุดคือที่ที่ผมเข้าไปกอบโกยธรรมะ<br />

เข้าสู่หัวใจด้วยความชุ่มชื่นทุกวัน<br />

ไม่ช่วงเที่ยงก็ช่วงเย็น<br />

(ใช่ครับ! ทั้งสองสถาบันศึกษา<br />

เป็นคริสต์ที่ใจกว้างพอจะมีหนังสือของพุทธอยู่ในเขตรั้ว<br />

และผมก็ซาบซึ้งจนถึงทุกวันนี้


ในบุญคุณที่ทั้งสองสถาบันเอื้อเฟื้อสถานที่ให้จิตวิญญาณของผมเจริญเติบโตขึ้นมา<br />

เป็นพุทธเต็มตัว)<br />

แต่ละครั้งที่อ่านพระไตรปิฎก<br />

จิตของผมจะอ่อนโยนลง คล้ายถูกราดกระหม่อม<br />

ด้วยน้ำอมฤต ฉ่ำชื่นในแบบที่รู้สึกแปลกแยกจากภาวะรอบด้านอย่างประหลาด<br />

เหมือนเห็นตนเองกลายเป็นใครอีกคนหนึ่ง<br />

กำลังได้เอกสิทธิ์พิเศษ<br />

รับไอเย็นจาก<br />

ใต้ร่มไม้ใหญ่ภายในอาณาเขตเดียวกับที่พระพุทธเจ้าประทับนั่ง<br />

จินตภาพเต็มไป<br />

ด้วยความสดกระจ่าง ตลอดทั่วกายใจตื่นตัวพร้อมรับรู้ทุกถ้อยกระทงความ<br />

ตาม<br />

พระผู้อยู่เหนือเศียรเกล้าตรัสสอนทุกคำไม่ตกหล่น<br />

ผมเลือกอ่านหัวข้อที่สนใจก่อน<br />

จึงศึกษาพระไตรปิฎกแบบพลิกไปพลิกมาไม่<br />

เรียงลำดับ ถ้าใครถามว่ามีปาฏิหาริย์เกิดขึ้นระหว่างการอ่านพระไตรปิฎกได้ไหม<br />

ผมตอบทันทีเลยว่ามีได้! เพราะเมื่อเกิดคำถามใดขึ้นในใจ<br />

ผมมักพลิกไปเจอคำตอบ<br />

ชนิดทำให้ตะลึงจังงังครั้งแล้วครั้งเล่า<br />

จากที่นึกว่าบังเอิญ<br />

กลายเป็นความเคยชิน<br />

และปักใจเชื่อว่าพระไตรปิฎกเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

มีอานุภาพในการให้คำตอบแก่ผู้ตั้งใจ<br />

ศึกษาจริงๆ<br />

ในแง่ของการเจริญสติ สิ่งที่ผมจำได้ติดใจและเอาไปใช้ปฏิบัติจริงในช่วงแรกมีอยู่<br />

เพียง ๓ ข้อ คือ<br />

๑) ลมหายใจเข้าออกกำลังเป็นอย่างไรให้รู้ตามนั้น<br />

๒) อิริยาบถกำลังเป็นอย่างไรให้รู้ตามนั้น<br />

๓) ความรู้สึกทางกายกำลังสบายหรืออึดอัดให้รู้ตามนั้น<br />

รู้ตามนั้น<br />

เพื่อให้ได้ข้อสรุปอันเป็นที่สุดว่ากายใจไม่เที่ยง<br />

ไม่อาจทนตั้งอยู่<br />

เพราะไม่ได้มีตัวตนอยู่จริง<br />

เหมือนพยับแดดที่ดูหลอกตาว่ามี<br />

แต่ไม่เคยมีอยู่<br />

อย่างแท้จริงเลย<br />

การเริ่มต้นเจริญสติของผม<br />

เป็นไปอย่างไม่แน่ใจนักว่าดูอย่างไรแล้วถูก เห็นอย่างไร<br />

เรียกว่าเกิดญาณหยั่งรู้<br />

และด้วยความลังเลสงสัยนั้นเอง<br />

จึงทำให้ไม่พากเพียรเต็มกำลัง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

15


16<br />

บางครั้งหายใจเข้าออกแล้วบอกตัวเองว่านี่เรากำลังเจริญสติอยู่<br />

เราจะรู้ลมหายใจครั้ง<br />

นี้และครั้งต่อๆไป<br />

แต่บางครั้งก็ถามตัวเองว่านี่เรากำลังทำอะไรกันแน่<br />

ช่างไม่เฉียดกับ<br />

ความรู้สึกว่ามีสิทธิ์ถึงมรรคถึงผลกับเขาเลย<br />

ผมปลอบใจตัวเองว่าอย่างน้อยก็พอรู้เกณฑ์การตัดสินอยู่บ้าง<br />

นั่นคือถ้าเห็นถูก<br />

เห็นตรง ต้องยิ่งเห็นยิ่งหายโง่<br />

แต่อย่าไปด่วนคิดว่าหายโง่แล้วหายโง่เลย เพราะถ้า<br />

ลืมดูเมื่อไรก็กลับมาโง่ใหม่เมื่อนั้น!<br />

และความจริงบนเส้นทางเจริญสติช่วงแรกก็คือ คุณจะรู้สึกโง่อยู่เกือบตลอด<br />

๒๔<br />

ชั่วโมงต่อวัน<br />

จะฉลาดขึ้นบ้างก็เพียงไม่กี่นาที<br />

นี่แหละช่วงของการหัดคลานออกจากท่าแบเบาะ<br />

ผมรู้สึกอบอุ่นมั่นคงยามทอด<br />

ตาอ่านพระไตรปิฎก เพราะเหมือนมีพ่อบังเกิดเกล้าเป็นหลักประกันอยู่ทั้งคน<br />

แต่กลับ<br />

ปวกเปียกป้อแป้ยามห่างพระไตรปิฎก เพราะเหมือนขาดพี่เลี้ยงคอยช่วยพยุงแบบ<br />

ตัวต่อตัว การไม่มีครูผู้ยืนยันว่าเรากำลังเจริญสติอยู่อย่างถูกต้องหรือผิดพลาด<br />

คงเปรียบได้กับการฝึกเหวี่ยงหมัดแบบมวยวัดนั่นเอง<br />

คุณเหวี่ยงอย่างไรก็ได้<br />

นึกว่าถูกอย่างไรก็ได้ แต่ลึกๆจะคอยคิดว่าถ้าให้ผู้เป็นปรมาจารย์ตัดสิน<br />

คุณจะสอบ<br />

ผ่านหรือสอบตกกันแน่<br />

อะไรบางอย่างในส่วนลึก ปลุกปลอบให้เชื่อมั่นว่าวันหนึ่งผมจะทำได้<br />

วันหนึ่งผม<br />

จะต้องประสบความสำเร็จ ก็พระพุทธเจ้าผู้รู้แจ้งท่านบอกอยู่ว่า<br />

ถ้าใครเจริญ<br />

สติตามที่ท่านชี้ทาง<br />

อย่างช้า ๗ ปีก็สำเร็จเป็นพระอรหันต์แน่ๆ แล้วทำไมจะต้อง<br />

กลัวความไม่สำเร็จเพียงเพราะคิดเองเออเองแบบคนไม่รู้จริงด้วยเล่า?<br />

มองย้อนกลับไปแล้ว ผมก็เห็นความสำคัญของศรัทธา คุณไม่มีทางใจแข็งหยอด<br />

กระปุกวันละเหรียญถ้าไม่เชื่อว่าวันหนึ่งมันจะเต็ม<br />

นั่นก็เป็นทำนองเดียวกับที่ผมคง<br />

ไม่มีแก่ใจเจริญสติวันละนิดวันละหน่อยมาอย่างต่อเนื่อง<br />

ถ้าไม่เชื่อว่าวันหนึ่งจะมี<br />

สิทธิ์บรรลุมรรคผล!<br />

คุณค่าของการมีโอกาสเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าอยู่ที่ตรงนี้แหละครับ<br />

จะเข้าเฝ้าองค์จริง<br />

หรือตัวแทนพระองค์เช่นพระไตรปิฎกก็ตาม ให้ถามตัวเองเถอะว่าคุณได้ศรัทธา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ติดมือกลับมาแค่ไหน คุณได้ความเชื่อมั่นหรือยังว่าตัวเองมีสิทธิ์บรรลุธรรมด้วย<br />

กายนี้ใจนี้?<br />

ถ้าได้ความเชื่อมั่นมาแล้วก็บอกตัวเองเถอะครับว่า<br />

คุณไม่ได้ต่ำต้อยด้อยวาสนา<br />

กว่าผู้คนในยุคพุทธกาลที่มีโอกาสพบพระพักตร์จริงแห่งองค์ศาสดาเลย<br />

เพราะแม้<br />

พระองค์จริงของท่านก็ทำหน้าที่เพียงชี้ทางนิพพาน<br />

หรืออย่างมากก็ก่อแรงบันดาลใจ<br />

ให้คุณอยากเดินหน้าต่อไปเรื่อยๆบนทางสู่นิพพานเท่านั้น<br />

บนทุกเส้นทาง การเดินเรื่อยๆนั่นแหละคือความก้าวหน้า<br />

ความก้าวหน้า<br />

นั่นแหละที่พาความสำเร็จให้ขยับเข้ามาใกล้คุณมากขึ้นทุกที!<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

17


18<br />

ขอเพียงล้มแล้วลุกได้ทุกครั้ง<br />

โดย Aims Astro<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

โหรา (ไม่) คาใจ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ถาม – ช่วงหลายปีที่ผ่านมานี้<br />

ดิฉันรู้สึกท้อแท้มาก<br />

เหมือนกับว่าชีวิตไม่มี<br />

อะไรดีเลย อายุก็สามสิบกว่าแล้ว ยังไม่มีเงินเก็บ ตอนนี้ตกงาน<br />

แถมถูกคนรัก<br />

ทิ้งไปมีคนใหม่อีกด้วย<br />

ช่วงนี้คงเป็นช่วงดวงตก<br />

เพราะดูเหมือนว่าอะไรก็แย่ไป<br />

ซะทุกอย่าง เลยอยากได้วิธีทำใจและแก้ดวงตกให้เป็นดวงขึ้นกับเขาบ้างค่ะ<br />

เชื่อไหมคะว่าคนส่วนมากที่อายุเข้าเลขสาม<br />

ก็ล้วนเคยผ่านช่วงดวงตกกันมาแล้ว<br />

ทั้งนั้น<br />

เพียงแต่ว่าอาจจะไม่ได้บอกออกมาให้ใครๆ ได้รับรู้<br />

คนที่เราเห็นว่าดูดีมีสุข<br />

บางทีเขาอาจจะกำลังเผชิญปัญหาใหญ่อยู่ก็ได้<br />

สำหรับในทางโหราศาสตร์นั้น<br />

ช่วงดวงตกจะพิจารณาจากปัจจัยหลายๆ ประการ เช่น พื้นดวงเดิมไม่ดีอยู่แล้ว<br />

เพราะทำกรรมดำมาเยอะ เกิดมาจึงมีพื้นฐานชีวิตและจิตใจที่ไม่ค่อยดี<br />

มีเรื่องร้ายๆ<br />

ในชีวิตง่าย สำหรับดวงที่พื้นฐานชีวิตปานกลางหรือค่อนข้างดี<br />

เหตุการณ์ที่ทำให้<br />

ดวงตกจะเกิดขึ้นมีดาวร้ายๆ<br />

มาสัมพันธ์ จะกินเวลาแค่ไหนก็อยู่ที่ดาวที่ทำเรื่องค่ะ<br />

ถ้าเป็นดาวเสาร์หรือราหู บางทีก็ให้ผลยาวนานเกินปี ในทางโหราศาสตร์จะ<br />

สามารถใช้ตรีวัยและทักษาอายุ เพื่อตรวจดูว่ามีดาวอะไรที่เป็นเจ้าวัยอยู่ในขณะนั้น<br />

ซึ่งจะบอกช่วงชีวิตกว้างๆ<br />

ว่าดีหรือไม่ แล้วจึงลงรายละเอียดต่อไปว่าดาวอะไร<br />

มาทำเรื่องดีหรือร้าย<br />

ถ้าดวงไม่ดีแต่กรรมปัจจุบันดีก็จะช่วยอุ้มชูให้ไม่แย่มากนัก<br />

อย่างน้อยถึงทุกข์กายแต่สบายใจ แต่ถ้ากรรมปัจจุบันไม่ดีด้วย ชีวิตก็จะมืดมนมาก<br />

หาทางออกไม่เจอ ถึงขนาดอยากตายให้พ้นๆ ไปก็มีค่ะ<br />

พูดถึงเรื่องดวงตกแล้ว<br />

ก็อยากให้กำลังใจท่านที่อยู่ในช่วงเวลานี้ว่าไม่มีใครที่จะสุข<br />

หรือทุกข์ตลอดไป เวลาที่ยากลำบากของชีวิตก็เช่นเดียวกัน<br />

ในที่สุดก็จะผ่านพ้นค่ะ<br />

โหรา (ไม่) คาใจ ฉบับนี้<br />

ขอบอกเล่าเรื่องราวของบางท่านที่เคยมีเวลาแย่ๆ<br />

ในชีวิต<br />

มาเช่นกัน เคยท้อแท้ถึงขนาดไม่อยากมีลมหายใจอยู่<br />

แต่ก็สามารถผ่านเวลาต่างๆ<br />

เหล่านั้นมาได้<br />

: )


คุณผู้หญิงท่านแรกมีชีวิตที่พลิกผันเพราะสนใจทำธุรกิจที่ตัวเองยังศึกษาไม่ถ่องแท้<br />

นัก ช่วงเวลานั้นดาวเสาร์และราหูทำมุมร้ายอยู่ในดวง<br />

เรียกได้ว่าเป็นช่วงดวงตก<br />

วิบากไม่ดีกำลังให้ผล จากคนอนาคตไกล เป็นที่คาดหมายว่าจะจบการศึกษาจาก<br />

คณะที่มีชื่อเสียง<br />

ของมหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศ กลายมาเป็นคนที่ล้มเหลว<br />

ในธุรกิจ เดิมที่เคยคาดหวังว่าจะร่ำรวยเป็นเศรษฐีนี<br />

ก็กลับกลายเป็นคนอายุยี่สิบ<br />

ต้นๆ ที่มีหนี้หลายแสนบาท<br />

แถมยังเข้าใจว่าตัวเองติดโรคร้ายที่ไม่มีทางรักษา<br />

ทิ้งการเรียนจนเกรดแย่ลง<br />

จนต้องพักไว้ก่อนชั่วคราว<br />

เกียรตินิยมที่ว่าจะได้อย่าง<br />

แน่นอนก็ไม่ได้ หนำซ้ำยังไม่รู้ว่าจะจบเมื่อไหร่อีกด้วย<br />

เมื่อปัญหาต่างๆ<br />

รุมเร้ามากและไม่มีที่พึ่งทางใจ<br />

เธอก็ตัดสินใจกินยาตายแต่ไม่ตาย<br />

ค่ะ แค่หลับไปหลายวัน ต่อมาเธอหันเข้าหาพระธรรม จนในที่สุดก็รวบรวมความ<br />

กล้าไปตรวจเลือด พบว่าไม่ได้เป็นโรคร้ายดังที่เข้าใจ<br />

ทำให้จิตใจค่อยๆ เข้มแข็งขึ้น<br />

ภายหลังได้เริ่มต้นธุรกิจสุจริต<br />

พร้อมๆ กับไปเรียนหนังสือจนจบ ถึงวันนี้นับได้ว่า<br />

เธอประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน<br />

มีชื่อเสียงและรายได้ที่งดงาม<br />

เมื่อตัวเอง<br />

สบายแล้วก็ดูแลคนในครอบครัวเป็นอย่างดี ปลูกบ้านหลังใหญ่ให้คุณแม่ ส่งเสีย<br />

ญาติพี่น้อง<br />

เธอเป็นคนมีความเมตตากรุณาและกตัญญูกตเวทีค่ะ<br />

คุณผู้หญิงอีกท่านเผชิญหน้ากับปัญหาครอบครัว<br />

ในช่วงทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก<br />

ปีสุดท้าย ก่อนหน้าที่จะเกิดเรื่องประมาณ<br />

๑ ปีครึ่ง<br />

ดิฉันตรวจดวงแล้วเตือนเรื่อง<br />

ความสัมพันธ์กับสามี ในช่วงหลังจากนั้นเมื่อมีโอกาสได้พบกัน<br />

ก็จะถามถึงชีวิตคู่<br />

ของเธอว่ายังอยู่ดีมีสุขไหม<br />

ซึ่งคำตอบคือไม่มีปัญหาอะไร<br />

จนกระทั่งเมื่อประมาณ<br />

๔ ปีก่อนก็ได้สนทนากันอีกครั้ง<br />

คราวนี้เธอเล่าว่าสามีไปมีผู้หญิงอื่น<br />

พอเธอทราบ<br />

เรื่องก็มีปากเสียงกันมาตลอด<br />

และเขาออกจากบ้านไปแล้ว เธอทุกข์ใจมากจน<br />

น้ำหนักลดไปร่วมสิบกิโลกรัม หน้าตาที่เคยสดใสกลายเป็นหม่นหมอง<br />

จะบอกเล่า<br />

ปัญหาให้ใครฟังก็ไม่ได้ เป็นช่วงเวลาที่ทรมานมาก<br />

การที่ต้องรับมือกับปัญหาชีวิตและจัดการกับเรื่องเรียนของตัวเองด้วยเป็นเรื่องยาก<br />

ค่ะ โชคดีที่ระหว่างนั้นเธอก็เริ่มสนใจการปฏิบัติธรรม<br />

ใช้ชีวิตโดยมีธรรมะเป็นที่พึ่ง<br />

เรื่อยมา<br />

จนสามารถเรียนจบได้ ส่วนเรื่องชีวิตคู่นั้น<br />

ต่อมาเมื่อได้รู้ว่าภรรยาน้อยของ<br />

สามีตั้งท้อง<br />

ในขณะที่ตัวเองไม่มีลูก<br />

ก็ยอมหย่าให้เขา ต่อมาเธอได้พบกับผู้ชาย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

19


20<br />

แสนดีคนหนึ่ง<br />

ที่เข้ามาในวันที่เธอเข้มแข็งไม่คิดเรื่องการมีคู่อีกแล้ว<br />

แต่ด้วยความดี<br />

ของเขาทำให้ทั้งคู่ตกลงแต่งงานกัน<br />

เธอมีชีวิตที่มีความสุขทิ้งอดีตที่เลวร้ายไว้เป็น<br />

เครื่องเตือนใจค่ะ<br />

ชีวิตคนเรา มีทั้งที่ดีและไม่ดี<br />

มีวันที่มืดมน<br />

มีวันที่สดใส<br />

เหมือนที่พระพุทธเจ้าท่าน<br />

ตรัสไว้ในโลกธรรม ๘ ซึ่งประกอบด้วย<br />

มีลาภ ไม่มีลาภ มียศ ไม่มียศ นินทา<br />

สรรเสริญ สุข ทุกข์ เป็นของธรรมดาโลกที่ต้องยอมรับกันให้ได้<br />

ที่สำคัญก็คือ<br />

ในขณะที่บาปกำลังให้ผล<br />

หรือเรียกง่ายๆ ว่าช่วงดวงตก ยิ่งไม่ควรหันเข้าหาสิ่งที่<br />

ไม่ดี ที่ทำให้ชีวิตมืดลง<br />

เช่น ไปดื่มเหล้า<br />

เสพอบายมุข ประชดชีวิตด้วยวิธีต่างๆ<br />

หรือแม้แต่การฆ่าตัวตาย ซึ่งล้วนทำให้ชีวิตยิ่งแย่ลงกว่าเดิม<br />

พอจิตใจเรามืดลง<br />

ดวงก็มืดตามค่ะ<br />

สิ่งที่ควรทำเมื่อเจอมรสุมชีวิตก็คือหมั่นทำทาน<br />

รักษาศีลห้าให้ครบ และที่สำคัญ<br />

ที่สุดคือการวิปัสสนา<br />

ตามรู้กายใจไปตามจริง<br />

ถ้าอยู่กับปัจจุบันได้<br />

ไม่หลงไปในโลก<br />

ของความคิด จะไม่มีทุกข์ทางใจได้เลย สำหรับบางคนที่ยังไม่มีโอกาสได้ใช้ชีวิตใน<br />

เขตบุญ เวลาดวงตกก็ดูเหมือนชีวิตจะแย่ยิ่งกว่าดวงอีกค่ะ<br />

สำหรับผู้ที่ทำบุญอย่าง<br />

สม่ำเสมอ บางครั้งดาวร้ายๆ<br />

กำลังให้ผล แต่เรื่องราวในชีวิตไม่ค่อยแย่อะไรมากนัก<br />

คนที่ปฏิบัติธรรมดีๆ<br />

ขนาดดวงไม่ดีเท่าไหร่ ยังอยู่ได้สบายมากเลยค่ะ<br />

: D<br />

เคยฟังครูบาอาจารย์ท่านสอนไว้ ใจความว่า ชีวิตของมนุษย์กับปัญหาเป็นของคู่กัน<br />

แต่ทุกข์เป็นของแปลกปลอมค่ะ ญาติธรรมท่านหนึ่งเคยเขียนข้อความดีๆ<br />

ไว้ว่า<br />

ปัญหาไหนที่แก้ไม่ได้ก็ไม่ควรไปทุกข์<br />

เพราะทุกข์ไปก็ไม่ได้ทำให้อะไรดีขึ้น<br />

ปัญหา<br />

ไหนที่แก้ไขได้ก็จัดการไป<br />

ไม่ต้องไปเดือดร้อนใจเช่นกัน และเชื่อเถิดนะคะว่าชีวิต<br />

ของเราไม่มีวันที่แย่เสมอไป<br />

อดทนไม่กี่เดือน<br />

ไม่กี่ปี<br />

ทำกรรมดีใหม่ๆ ไม่ขาด สักวัน<br />

ก็ต้องผ่านพ้นพายุฝน พบกับท้องฟ้าที่สดใส<br />

ใครที่กำลังเผชิญกับช่วงเวลาที่ยาก<br />

ลำบากในชีวิต ขอให้อดทนและให้กำลังใจตัวเองมากๆ นะคะ ต้องมีสักวันที่เราจะ<br />

ลุกขึ้นมาได้<br />

ขอเพียงไม่ยอมแพ้ค่ะ<br />

: )<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


คำคมชวนคิด<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ม้าอัสดร ม้าอาชาไนย ม้าสินธพ และช้างกุญชรผู้มหานาค<br />

ชนิดที่นายควานฝึกแล้ว<br />

จึงเป็นสัตว์ประเสริฐ<br />

บุคคลผู้มีตนอันฝึกแล้ว<br />

ประเสริฐกว่าพาหนะเหล่านั้น<br />

คาถาธรรมบท นาควรรคที่<br />

๒๓<br />

จากธรรมบท ในพระสุตตันตปิฎก<br />

จากพระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที่<br />

๒๕<br />

สืบค้นข้อมูล จาก http://84000.org<br />

<br />

If you learn from defeat, you haven’t really lost.<br />

หากท่านเรียนรู้ได้จากความพ่ายแพ้<br />

ท่านหาได้พ่ายแพ้อย่างแท้จริง<br />

โดย zig ziglar<br />

ถอดความโดย สกาว<br />

<br />

Facts are facts and will not disappear on account of your<br />

likes.<br />

ความจริงย่อมเป็นความจริง และจะไม่หายไปตามใจของท่าน<br />

โดย Jawaharlal Nehru<br />

ถอดความโดย ภริมา<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

21


22<br />

When you lose, don’t lose the lesson.<br />

ยามเมื่อท่านสูญเสีย<br />

จงอย่าสูญเสียการเรียนรู้ไปด้วย<br />

โดย นิรนาม<br />

ถอดความโดย ภริมา<br />

<br />

It’s always helpful to learn from your mistakes because<br />

then your mistakes seem worthwhile.<br />

การเรียนรู้จากความผิดพลาดมีประโยชน์เสมอ<br />

เพราะว่าหลังจากนั้นความผิด<br />

พลาดของท่านจะมีค่ามหาศาล<br />

โดย Garry Marshall<br />

ถอดความโดย ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


สัพเพเหระธรรม<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

เพื่อนยืมหนังสือไป<br />

ไม่ยอมคืน<br />

ดีใจ ได้ทำทาน<br />

โดย วิทวัชร์<br />

หนังสือเราซื้อมาอ่านถนอมอย่างดี<br />

แต่เพื่อนนี่ยืมไปเป็นปีไม่ยอมเอามาคืน<br />

คอยดูนะ เจอกันอีกทีเมื่อไหร่จะทวงไม่ไว้หน้าเลย<br />

แต่เอ ได้หนังสือคืนมาแล้ว<br />

จะทำอะไร? ก็เอาไปเก็บไว้บนหิ้งรวมกับเล่มอื่นๆนะสิ<br />

ถ้าอย่างนั้นเราจะทวงคืนมา<br />

ทำไมหรอ? อันที่จริงหนังสือเล่มนั้นเราก็อ่านจบแล้ว<br />

เล่มอื่นดีๆก็ยังมีอีกเยอะแยะ<br />

ได้คืนมาก็ไม่เป็นประโยชน์กับใคร วางแปะไว้บนหิ้งเราก็ต้องลำบากปัดฝุ่น<br />

อยู่กับ<br />

เพื่อน<br />

เพื่อนได้อ่าน<br />

ก็ดีแล้ว อาจจะมีเพื่อนของเพื่อนได้อ่านต่อ<br />

อาจจะได้ไปอยู่ใน<br />

ห้องสมุด ได้เป็นประโยชน์เป็นความรู้ให้กับคนหมู่มาก<br />

โห คิดแล้วดีกว่าต้องมาวาง<br />

อยู่เฉยๆบนชั้นหนังสือของเราตั้งเยอะ<br />

คิดได้อย่างนี้แล้วก็ดีใจจัง<br />

ประหลาดดีเนาะ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

23


24<br />

เราไม่ต้องทำอะไร แค่นั่งเฉยๆเราก็เปลี่ยนจาก<br />

ทุกข์ใจเพราะหวงหนังสือ เป็น<br />

อิ่มใจจากธรรมทาน<br />

ได้<br />

ไปถึงงานสินค้าลดราคา ปรากฏว่าของหมดเฉยเลย<br />

ว้า แย่จัง มาไม่ทัน อดได้ของถูกเลย ว่าแต่ของนี่มันสำคัญกับเราจริงๆหรอ?<br />

ถ้ามันสำคัญกับเราขนาดนั้น<br />

ทำไมเราถึงไม่มาต่อคิวรอตั้งแต่ก่อนห้างเปิดล่ะ?<br />

อันที่จริง<br />

ของหมด ก็แปลว่าของทุกชิ้นที่เคยอยู่ตรงนี้<br />

ได้กระจัดกระจายไปเป็น<br />

ประโยชน์กับผู้อื่นไปแล้ว<br />

หนึ่งในหลายคนนั้นก็คงเดือดร้อนมากกว่าเรา<br />

ลำบาก<br />

มากกว่าเรา คิดแล้วก็ดีเนอะ ของนี่ไม่ได้จำเป็นสำหรับเรามาก<br />

แต่อาจจำเป็น<br />

สำหรับเขาก็ได้ ถ้าเรามาเร็วกว่านี้อีกนึดนิง<br />

เขาก็อาจอดได้ใช้ประโยชน์จากของถูก<br />

ของดีตรงนี้ไปแล้ว<br />

ถึงเราไม่ได้ของก็ไม่เป็นไร อย่างน้อยเราก็ได้รู้ว่าจะยังมีคนอื่นอีก<br />

มากมายที่สมปรารถนา<br />

ได้ของราคาย่อมเยาติดมือกลับบ้าน ว่าแล้วก็ต้องขออมยิ้ม<br />

ร่วมยินดีด้วยคนนะ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


มดมาขึ้นถังขยะ<br />

อ๋อหรอ สิ่งที่เราไม่ใช้แล้วนี่เป็นประโยชน์กับมดตัวน้อยได้ด้วยหรอ<br />

งั้นก็ตามสบาย<br />

เถอะ เราไม่ต้องไปเสียเงินซื้อขนมปังเลี้ยงปลาที่วัด<br />

แต่เราก็เอาขยะเลี้ยงมดที่บ้าน<br />

ได้ ดีใจจัง ต่อไปนี้เราจะอมยิ้มทุกครั้งเวลาที่มองไปทางถังขยะแล้วเห็นมดเดินมา<br />

เป็นทาง ต่อไปนี้เวลาเราทิ้งเศษอาหาร<br />

เราร่วมยินดีกับเพื่อนร่วมโลกตัวน้อยที่ได้<br />

เห็นของเหลือใช้ของเราเป็นแหล่งอาหารอันอุดมสมบูรณ์ ทำไมเราถึงไม่เคยรู้เลยนะ<br />

ว่าทานอันอิ่มใจนั้นทำได้โดยไม่ต้องเสียเงิน<br />

ไม่ต้องใช้ทรัพย์ และไม่ต้องลงทุน<br />

อะไรเลย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

25


26<br />

ยุงกัด<br />

(*) ภาพโดย Andy Zapata Jr.<br />

จาก http://www.baguiocity.com/fotooftheday/asearch.php?cfoto=<br />

ตอนที่เราไปบริจาคเลือด<br />

เค้าเอาเลือดเราไปหนึ่งถุงแล้วบอกว่าเลือดเรานี่เอาไปช่วย<br />

ต่อชีวิตคนได้สามคน เราฟังแล้วก็ปลื้มนะ<br />

แต่พอถึงตอนนี้<br />

ยุงหนึ่งตัวจะมาขอเลือด<br />

เราสองหยดไปต่อชีวิตตัวเองนี่มีความผิดถึงขั้นตายเลยหรอ<br />

หากจะมียาจกเข็ญใจ<br />

หิวเสียดท้องเดินผ่านมา ขอน้ำลายสองแหมะ ผมสองเส้นของเราไปประทังชีวิต<br />

เราปฏิเสธเค้ายังไม่พอ ยังจะต้องทำร้ายเค้าอีกหรอ?<br />

ผีจะมาหักคอเรา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เรารึอุตส่าห์ตั้งใจว่าจะปิดไฟเข้านอน<br />

ที่ไหนได้ดันไปนึกถึงหนังผีที่พึ่งดูไปตอน<br />

กลางวัน เฮ้อ ถ้าเราหลับตาไปมันจะโผล่มาหักคอเรามั้ยนะ<br />

ภาษาผีเราก็ฟังไม่ออก<br />

ภาษาคนมันก็คงฟังไม่รู้เรื่อง<br />

สวดมนตร์เราก็ได้แค่กระท่อนกระแท่น วิชาอาคมเรา<br />

ก็ไม่มี แถมอยู่คนเดียวจะเอาอะไรมาสู้กับผีได้<br />

ดูอย่างในหนังนะ หนีไปไหนก็หนีผี<br />

ไม่พ้น สู้ยังไงก็สู้ผีไม่ได้<br />

เฮ้อ ถอนหายใจ ไหนๆก็ไม่รอดแล้ว เอางี้แล้วกัน<br />

วางแผนใหม่ ต่อให้คืนนี้จะมีผีโผล่มาหักคอเราจริง<br />

ผีจะมาหักคอเราไปทำไม<br />

ก็ตามแต่ หักคอเราแล้วมันจะได้ประโยชน์อะไรก็ตามแต่ เราก็จะไม่ว่าอะไร<br />

เราจะไม่สู้<br />

จะไม่หนี จะยิ้มรับ<br />

ตายไปก็จะไม่โกรธ จะให้อภัย และจะอโหสิกรรม<br />

ให้ทุกอย่าง ขอให้เขาตาสว่างได้เหมือนเรา ว่าไม่มีประโยชน์อันใดพึงสมควรแก่การ<br />

ต้องเบียดเบียนผู้อื่น<br />

ขอให้เขาได้เกิดเป็นมนุษย์ ได้มีโอกาสทำบุญ ได้มีโอกาส<br />

ฟังธรรม และหลุดพ้นจากเครื่องทรมานทั้งปวงด้วยเถอะ<br />

ดีใจ ได้ทำทาน<br />

เค้าบอกว่า ถ้าเราทำบุญทำทานเยอะๆ ชาติหน้าเราก็จะเกิดมารวยได้เป็นเศรษฐี<br />

เกิดมาหน้าตาดีได้เป็นดารา เกิดมาสบายได้ไปอยู่บนสวรรค์<br />

แต่เอ แล้วมันดี<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

27


28<br />

จริงหรอ? ทำไมเราถึงรู้สึกว่าคนมีเงินแต่ไม่มีความสุขก็มีเยอะแยะ<br />

ดารามี<br />

ความทุกข์ต้องมาร้องไห้ระบายออกทีวีก็มีบ่อยอยู่<br />

คนมีบารมียิ่งใหญ่โด่งดัง<br />

ซะขนาดไหน แต่ลึกๆก็ยังไม่มีความพอใจ อ้างว้างสับสนในตัวเองได้อยู่ดี<br />

ไม่เห็นอยากจะเป็นเลย เบื่อแล้ว<br />

ไม่รู้จะเอาบุญไปทำไมเยอะแยะ<br />

ให้ทานเสร็จ<br />

แม้แต่บุญของทานเราก็ไม่ปรารถนา ทานอันให้ดีแล้วจะไปเป็นประโยชน์กับใคร<br />

ก็ช่าง กุศลอันพึงมีแก่ทานนี้จะไปอยู่ที่ไหน<br />

ตกกับใครก็ช่าง แต่เราไม่อยากได้แล้ว<br />

จะให้อย่างเดียว จะวางอย่างเดียว ไม่ต้องการอะไรทั้งนั้น<br />

ยังมีทานอันเป็นเหตุแห่งการไม่ต้องกลับมาทุกข์อีก ยังมีทานอันประเสริฐดังที่ท่าน<br />

พุทธทาสบัญญัติชื่อเรียกให้ว่า<br />

“สุญญตาทาน”<br />

ทานที่ว่านั้นคือทานอันเป็นอัศจรรย์<br />

เป็นทานที่ไม่ต้องมีผู้ให้<br />

ไม่ต้องมีผู้รับ<br />

เป็นทานที่ไม่ใช่ทานของใคร<br />

และไม่ได้เป็นไปเพื่อใครเลย<br />

ทานที่ว่านั้นคือการสละ<br />

ความเห็นผิด สละความยึดมั่นถือมั่น<br />

สละความทุกข์ออกจากใจ สิ่งใดได้ชื่อว่าเป็น<br />

“ตัวกู ของกู” ก็ขอบริจาคสละคืนให้รอบด้าน สิ่งใดได้ชื่อว่าเป็น<br />

“ตัวกู ของกู”<br />

ก็ขอให้เป็นทานไปเสีย ทานที่เราพึงสรรเสริญนี้<br />

คือทานเพื่อการไม่หลงเก็บ<br />

ไม่หลง<br />

หวง ไม่หลงรักษา คือทานเพื่อความว่างจากความมีความเป็นทั้งปวงอย่างแท้จริง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ของฝากจากหมอ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ ความเข้าใจ ความรู้สึก…<br />

โดย ชีระวิทย์<br />

Image : Waldemar Osmala Junior<br />

Web : http://www.luxology.com<br />

ปัจจุบันนี้<br />

โลกเราเปลี่ยนแปลงไปเร็วนัก<br />

แม้แต่เชื้อไวรัส<br />

ก็เปลี่ยนสายพันธุ์ได้เร็วเช่นกัน<br />

ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่เกิดจากการผสมกันของ<br />

๓ สายพันธุ์<br />

ทั้งหวัดหมูเดิม<br />

หวัดนก และหวัดใหญ่ ได้ถือกำเนิดขึ้น<br />

ถูกค้นพบตั้งแต่<br />

พฤศจิกายน ๒๐๐๘ รู้จักกันในชื่อไข้หวัดหมู<br />

(Swine Flu)<br />

แต่ผู้ติดเชื้อหายได้เองโดยไม่มีใครเสียชีวิต<br />

จึงไม่เป็นข่าวครึกโครมแบบทุกวันนี้<br />

โรคไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ เริ่มจากหมู<br />

แต่ติดต่อสู่มนุษย์ที่สัมผัสโรคได้<br />

ผู้ป่วยโรคนี้มีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ร้อยละ<br />

๕-๗<br />

ขณะที่โรคไข้หวัดนก<br />

มีอัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ ๖๐<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

29


30<br />

การติดเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่<br />

๒๐๐๙ จากหมูนั้นไม่ง่ายเลย<br />

ต้องไปสัมผัสโดยตรงเท่านั้น<br />

ถ้าไม่ใช่คนที่เลื้ยงหรือฆ่าหมูเองก็ติดเชื้อยากมาก<br />

แม้ว่าบางครั้งอาจจะมีการปนเปื้อนไวรัสไข้หวัดใหญ่<br />

๒๐๐๙ จากเนื้อหมู<br />

แต่การปรุงให้สุกจะทำให้ไวรัสซึ่งมีส่วนประกอบของโปรตีนเสียไป<br />

ดังนั้นถ้าได้รับความร้อนสูงพอ<br />

จะไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้<br />

เราจึงยังสามารถรับประทานเนื้อหมูได้ตามปกติ<br />

อย่างไรก็ดี ควรจะหลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่<br />

ไม่ใช้เครื่องใช้ส่วนตัว<br />

เช่น แก้วน้ำ ช้อนอาหาร ผ้าเช็ดมือ ผ้าเช็ดหน้าร่วมกัน<br />

ใช้ช้อนกลางทุกครั้งเมื่อรับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น<br />

หมั่นล้างมือบ่อยๆ<br />

ด้วยน้ำและสบู่<br />

รับประทานอาหารที่มีประโยชน์<br />

ดื่มน้ำสะอาด<br />

และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ<br />

ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการติดเชื้อที่อาจจะเกิดขึ้น<br />

ถึงแม้จะโชคร้ายติดเชื้อก็ตาม<br />

การรักษาและยาที่ใช้อยู่ก็ได้ผลดี<br />

ทำให้เรายังอุ่นใจได้มาก<br />

แต่เมื่อมีการออกข่าวว่ามีการระบาดของ<br />

“เชื้อโรค”<br />

นี้<br />

มีผู้คนล้มเจ็บเป็นหลักพัน<br />

เสียชีวิตถึง ๖๘ ราย จากไข้หวัดหมูสายพันธุ์ใหม่<br />

ในประเทศเม็กซิโก เมื่อปลายเมษายน<br />

ปี ๒๐๐๙ นี้<br />

ข่าวดังกล่าวได้สร้าง “ความหวาดกลัว” ให้แพร่กระจายไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว<br />

ความกลัวเข้าสู่ใจของผู้คน<br />

รวดเร็วยิ่งว่าการระบาดของเชื้อโรคจริงๆเสียอีก<br />

ยังไม่ทันจะมีการระบาดจริง เราก็รับความกลัวเข้าไปเสียแล้ว<br />

อาจมีคำถามว่าเราตอบสนองต่อความกลัว หรือตอบสนองต่อเชื้อโรคกันแน่<br />

มีข่าวว่าประเทศอียิปต์สั่งฆ่าหมูทั้งหมดที่มีอยู่ในประเทศ<br />

ซึ่งเป็นมาตรการป้องกันการระบาดของไข้หวัดใหญ่<br />

๒๐๐๙<br />

หรือการกักบริเวณนักท่องเที่ยวและพนักงานของโรงแรมเมโทรปาร์ก<br />

ที่เกาะฮ่องกง<br />

ไม่ให้ออกไปไหนเป็นเวลา ๗ วัน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หลังพบชายชาวเม็กซิกันวัย ๒๕ ปีที่มาพักโรงแรมนี้<br />

ติดเชื้อไข้หวัดใหญ่<br />

๒๐๐๙ เป็นต้น<br />

การกระทำเหล่านี้เป็นเรื่องถูกต้องหรือไม่<br />

ใช้อะไรตัดสิน<br />

ถ้ามองกันแบบโลกๆ ใช้ปัญญาทางโลก<br />

ก็มีมาตรการจัดการแบบหนึ่ง<br />

จึงได้ผลไปแบบหนึ่ง<br />

แต่ถ้ามองทางธรรม ผู้ที่มุ่งหวังการหลุดพ้นจากโลกสมมุติเข้าสู่โลกวิมุตติ<br />

ก็คงมีวิธีคิด และมาตรการต่างกันไป<br />

มองแบบนักปฏิบัติธรรม ผู้ที่เห็นความเป็นจริงที่ปรากฏในจิตใจ<br />

ก็เห็นถึงความกลัว ความมีตัวมีตน ความกลัวตาย ก็แค่นั้นเอง<br />

เมื่อรู้ถึง<br />

“ความกลัว” อย่างถูกต้อง รู้ด้วยใจที่ตั้งมั่น<br />

มีสติพอ<br />

แค่สักว่ารู้<br />

ความกลัวก็จะดับไป มีความเป็นกลาง<br />

สามารถประเมินเหตุและผลต่างๆ ได้<br />

และมีชีวิตอยู่กับโลก<br />

ด้วยความเป็นสุข<br />

แม้ไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ เป็นโรคที่ให้ความรู้สึกที่น่ากลัว<br />

แต่เราอย่าลืมว่า จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยเชื้อโรคอื่นๆ<br />

เช่นโรคเอดส์ หรือโรคมะเร็ง<br />

มากกว่าการเสียชีวิตจากโรคไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ เสียอีก<br />

เพราะเหตุใดเล่าเราจึงไม่รู้สึกกลัวมากเท่าไร<br />

เป็นเรื่องธรรมดาเมื่อวันหนึ่งเรารู้จักและคุ้นเคยกับไข้หวัดใหญ่<br />

๒๐๐๙<br />

จนเกิดความเคยชินแล้ว<br />

ความสนใจลดลง ความกลัวก็จะหายไปเอง<br />

แถมเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ก็กลายพันธุ์ได้เสียด้วย<br />

อีกไม่นานเชื้อไข้หวัดใหญ่<br />

๒๐๐๙ นี้<br />

จะกลายเป็นเพียงประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งเท่านั้นเอง<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

31


32<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

สิ่งละอัน<br />

พันละน้อย ที่เราพบเห็นผ่านตากันจนเคยชินในทุกวันของชีวิต<br />

แท้จริง อาจจะมีบางมุม... ที่ชวนสะกิดใจ<br />

ให้เราได้ย้อนหันมาเห็นเหมือนกันว่า<br />

ธรรมะนั้น<br />

สอนเราอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน<br />

รอบ ๆ ตัว และใกล้ ๆ ตัวเรานี่เอง<br />

ธงชัยพระอรหันต์<br />

ความโบกสะบัดพลิ้วประดุจธง<br />

ทำให้เราเข้าใจได้ว่าทำไมท่านถึงเรียก ธงชัยพระอรหันต์<br />

ภาพ และคำ โดย ดังตฤณ<br />

<br />

รูปชวนคิด


หน้าตารู้คิดแบบเหม่อๆ<br />

วิธีที่ลิงเหม่อ<br />

ใกล้เคียงกับคนที่ชอบเหม่ออยู่ไม่น้อยเหมือนกัน<br />

ภาพ และคำ โดย ดังตฤณ<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

33


34<br />

สุดท้ายของชีวิต<br />

ไม่ว่าจะพระหรือฆารวาส<br />

วันหนึ่ง<br />

ก็ได้มาอยู่เคียงบ่าเคียงไหล่กันอย่างนี้<br />

ภาพ และคำ โดย ดังตฤณ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

หากคุณเป็นคนหนึ่ง<br />

ที่เห็นภาพของผู้คนและสิ่งแวดล้อมต่าง<br />

ๆ รอบตัว<br />

ที่แม้จะดูแสนธรรมดา<br />

แต่สะท้อนธรรมะให้ปรากฏเด่นชัดขึ้นในใจคุณ<br />

อย่าเก็บภาพ และข้อความนั้นไว้เพียงลำพัง<br />

ทีมงานขอเชิญชวนให้คุณส่งภาพและข้อคิดนั้น<br />

มาร่วมเป็นกำลังใจให้กับเพื่อร่วมทางไปพร้อม<br />

ๆ กับนิตยสารของเรา


กติกามีดังนี้<br />

๑. ผูสงตองใสขอความประกอบภาพ<br />

ที่เรียบเรียงขึ้นดวยตนเอง<br />

๒. ลักษณะของขอความควรกระชับ และใหขอคิดที่เปนประโยชนตอผูอาน<br />

โดยเฉพาะความเจริญทางดานจิตใจ<br />

๓. ไมมีขอความที่ขัดแยงกับพุทธพจน<br />

หรือพระไตรปฎก<br />

๔. ถานำภาพมาจากที่อื่น<br />

ตองเปนภาพที่ไมมีลิขสิทธิ์<br />

และไดรับอนุญาตจาก<br />

เจาของภาพแลว และตองใหเครดิตที่มาของภาพดวย<br />

๕. ไมมีขอความที่จาบจวง<br />

ดูหมิ่น<br />

สถาบันพระหมากษัตริย สถาบันพระมหากษัตริย์<br />

สถาบันสงฆ<br />

หรือศาสนาอื่น<br />

๖. งดรับภาพและขอความที่เกี่ยวของกับการเมือง<br />

หรือขอความที่นำไปสูความ<br />

ขัดแยงทะเลาะวิวาท<br />

สารบัญ <br />

ธรรมะใกลตัว<br />

35


ร่วม ส่ง บทความ<br />

นิตยสาร เล่ม นี จะ ้ เป็น นิตยสาร คุณภาพ ได้ ก็ ด้วย เนื้อหา<br />

ดี ๆ ภายใน ฉบับ ที่<br />

จัดสรร ลง อย่าง ต่อ เนื่อง<br />

นะ คะ<br />

หาก คุณ ผู้<br />

อ่าน ท่าน ใด มีค วาม สามารถ ใน การ เขียน มี<br />

ศรัทธา และ ความ เข้าใจ ใน คำ สอน ของ พุทธ ศาสนา ไม่<br />

ว่า จะ ใน ระดับ เบื้องต้น<br />

เบื้อง<br />

กลาง หรือ เบื้อง<br />

ปลาย<br />

และ มี ใจ รัก ที อยาก ่ จะ สื่อสาร<br />

ถ่ายทอด สิ่ง<br />

นั้น<br />

ให้ กับ ผู อื ้ ่น<br />

ได้ ทราบ และ ได้ ประโยชน์ จาก สิ่ง<br />

เหล่า นั้น<br />

เช่น เดียว กับ<br />

ที่<br />

เรา อาจ เคย ได้ รับ จาก ผู้<br />

อื่น<br />

มา แล้ว ก็ ขอ เชิญ ทุก ท่าน<br />

ส่ง บทความ มา ร่วม เป็น ส่วน หนึ่ง<br />

ของ <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ด้วย กัน นะ คะ<br />

คุณ อาจ ไม่ จำเป็น ต้อง เป็น นัก เขียน ฝีมือ เลิศ แต่ หาก มี<br />

ใจ ที่<br />

คิด อยาก จะ ถ่ายทอด มี สิ่ง<br />

ที่<br />

คิด ว่า อยาก แบ่งปัน<br />

ความ รู้ความ<br />

เข้าใจ นั้น<br />

ให้ กับ คน อื่น<br />

ๆ ก็ ลอง เขียน ส่ง<br />

เข้า มา ได้ เลย ค่ะ<br />

<br />

๑. คอ ลัมน์ที่<br />

เปิด รับ บทความ<br />

คอลัมน์: ธรรมะ จากคน สู้<br />

กิเลส<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส ให้ คุณๆ ได้ เล่า ประสบการณ์ จริง<br />

ของ ตน เอง ว่า ผ่าน อะไร มา บ้าง มี อะไร เป็น ข้อคิด ที เป็น ่<br />

ประโยชน์ บ้าง อะไร ทำให้ คน ธรรมดา คน หนึ่ง<br />

กลาย<br />

เป็น คน ดี ขึ้น<br />

มา และ ทำให้ คน มี กิเลส เยอะ กลาย เป็น<br />

คน กิเลส บาง ลง ได้ มี แต่ คน ที่<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ตัว เอง แล้ว<br />

เท่านั้น<br />

จึง จะ เขียน ธรรมะใกล้ ตัว ได้ สำเร็จ<br />

คอลัมน์: นิยาย/เรื่องสั้นอิง<br />

ธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส กว้าง สำหรับ คน ที่<br />

ชอบ คิด ชอบ<br />

เขียน โดย เฉพาะ อดีต นัก ฝัน ที่<br />

เพิ่ง<br />

ผัน ตัว มา อยู่<br />

ใน<br />

โลก ธรรมะ เพื่อ<br />

สร้างสรรค์ เรื่องราว<br />

ให้ คน ได้ ข้อคิด ข้อ<br />

ธรรม ผ่าน ความ สนุก ของ รูป แบบ นิยาย หรือ เรื่องสั้น<br />

ได้ อย่าง เพลิดเพลิน<br />

คอลัมน์: คำคมชวน คิด<br />

เนื้อหา:<br />

รวบรวม ข้อคิด หรือ คำคม ของ บุคคล ต่าง ๆ<br />

ที่<br />

เคย ได้ยิน มา แล้ว สะดุดใจ มาบ อก ต่อ ยิ่ง<br />

ถ้า ใคร<br />

สามารถ สร้างสรรค์ วรรค ทอง ได้ เอง ยิ่ง<br />

ดี เพราะ จะ<br />

ได้ ฝึก ริเริ่ม<br />

วลี สะดุดใจ ซึ่ง<br />

เป็น แม่บท ของ กรรม ที ทำให้ ่<br />

มีค วาม คิด สร้างสรรค์ ได้ อย่าง สุด ยอด เนื่องจาก<br />

แง่ คิดดีี<br />

ๆ จะ ช่วย ให้ คน อ่าน คิด ดี หรือ ได้คิด เพื่อ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ชีวิต วิบาก ที ย้อน ่ กลับ มาส นอง ตอบแทน<br />

คุณ ก็ คือ การ ผุด ไอ เดียเหมือน น้ำพุ ไม่ รู้<br />

จบ รู้<br />

สิ้น<br />

กับ ทั้ง<br />

เป็น ที่<br />

ยอม รับ ใน วง กว้าง ด้วย<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

หรือ แปล มา จาก<br />

ภาษา อังกฤษ กรุณา ระบุ แหล่ง ที่มา<br />

หรือ ชื่อ<br />

ของ บุคคล<br />

ผู้<br />

เป็น เจ้าของ คำคม ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: สัพเพเหระธรรม<br />

เนื้อหา:<br />

เรื่องราว<br />

เรื่อง<br />

เล่า อาจ มา จาก ฉาก หนึ่ง<br />

ใน<br />

ชีวิต ของ คุณ ที่<br />

มี เกร็ด ข้อคิด ทาง ธรรม หรือ ข้อคิด ดี ๆ<br />

อันเป็น ประโยชน์ อาจ เป็น เรื่อง<br />

เล่า สั้น<br />

ๆ ใน รูป แบบ ที่<br />

เสมือน อ่านเล่น ๆ แต่ อ่าน จบ แล้ว ผู อ่าน ้ ได้ เกร็ด ธรรม<br />

หรือ ข้อคิด ดี ๆ ติด กลับ ไป ด้วย<br />

คอลัมน์: กวีธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

พื้นที่<br />

ที่<br />

เปิด กว้าง สำหรับ กวี ธรรมะ ทั้งหลาย<br />

โดย ไม่ จำกัด รูป แบบ และ ความ ยาว ของ บท กวี หรือ<br />

หาก จะ คัด เอา บท กวี ที่<br />

น่า ประทับใจ ให้ แง่ คิด อะไร<br />

ใน เชิง บวก ก็ สามารถ นำ มา ลง ได้ เช่น กัน แต่ ถ้า ให้ ดี<br />

กลั่นกรอง<br />

ออก มา ด้วย ตน เอง ได้ ก็ ยิ่ง<br />

ดี ค่ะ<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

ต้อง ระบุ ที่มา<br />

ที่<br />

ไป อย่าง ชัดเจน ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: เที่ยววัด<br />

เนื้อหา:<br />

รับ หมด ไม่ ว่า จะ เป็น วัด สวย หรือ สถาน ที่<br />

ปฏิบัติธรรม ข้อมูล ข่าวสาร จาก ทั่ว<br />

ประเทศ นั้น<br />

ไม่ มี<br />

วัน ที่<br />

ใคร คน เดียว จะ รู้<br />

ได้ หมด ถ้า ช่วย เป็น หู เป็น ตา ให้<br />

แก่ กัน ก็ คง จะ มี ประโยชน์ อย่าง มหาศาล<br />

กติกา: นอกจาก ข้อมูล เกี่ยว<br />

กับ สถาน ที่<br />

บรรยากาศ<br />

ปฏิปทา ฯลฯ ของวัด แล้ว ต้อง ขอ รบกวน ส่ง ภาพ<br />

สวย ๆ มา ประกอบ บทความ อีกทั้ง<br />

ไม่ พา ชม หรือ<br />

แทรก ธรรมะ ด้าน การปฏิบัติ ที่<br />

ขัดแย้ง กับ แนวทาง ของ<br />

นิตยสาร นะ คะ<br />

คอลัมน์: ธรรมะปฏิบัติ<br />

เนื้อหา:<br />

ร่วม บอก เล่า ประสบการณ์ จริง ประสบการณ์<br />

ตรง จาก การ ปฏิบัติธรรม เพื่อ<br />

เป็น ทั้ง<br />

ธรรม ทาน และ


เป็น ทั้ง<br />

กำลังใจ สำหรับ ผู้<br />

ที่<br />

กำลัง ร่วม เดินทาง อยู่<br />

บน<br />

เส้น อริยมรรค เส้น เดียวกัน นี้<br />

คอลัมน์: ของ ฝากจาก หมอ<br />

เนื้อหา:<br />

นำ เสนอ ข่าวสาร ใน วงการ แพทย์ หรือ<br />

สาระ น่า รู้<br />

อันเป็น ประโยชน์ เกี่ยว<br />

กับ สุขภาพ ที่<br />

คน<br />

ทั่วไป<br />

สนใจ หรือ นำ ไป ใช้ได้ เพื่อ<br />

เป็น วิทยาทาน ให้ กับ<br />

ผู้อ่าน<br />

จาก แง่มุม ต่าง ๆ ทีแพทย์<br />

่ แต่ละ แขนง มีค วาม รู้<br />

ความเชี่ยวชาญ<br />

ต่าง ๆ กัน<br />

กติกา:<br />

• หาก เป็น บทความ ที่<br />

แนะนำ ให้ มี การ ทดลอง กิน<br />

ยา หรือ แนะนำ ให้ ผู้<br />

อ่าน ปฏิบัติ ตาม ด้วย ขอ<br />

จำกัด เฉพาะ ผู้<br />

เขียน ที่<br />

เป็น ผู้<br />

เรียน หรือ ทำ งาน<br />

ใน สาขา วิชาชีพ ที่<br />

เกี่ยวข้อง<br />

เท่านั้น<br />

เพื่อ<br />

ป้องกัน<br />

การ นำเสนอ ข้อมูล ที คลาดเคลื ่ ่อน และ อาจ ส่งผล<br />

ต่อ ผู้<br />

อ่าน ได้ ค่ะ<br />

• หาก นำ เสนอ ประเด็น ที่<br />

ยัง เป็น ที่<br />

ถกเถียง อยู่<br />

ใน<br />

วงการ แพทย์ ขอ ให้ มี การ อ้างอิง ด้วย เช่น มา<br />

จาก งาน วิจัย ชิ้น<br />

ไหน หรือ หาก เป็น เพียง ความเห็น<br />

ส่วนตัว ของ หมอ ก็ กรุณา ระบุ ให้ ชัดเจน ด้วย ค่ะ<br />

<br />

๒. อ่าน สัก นิด ก่อน คิด เขียน<br />

เนื่องจาก<br />

ใน แต่ละ สัปดาห์ มี งาน เขียน ส่ง เข้า มา เป็น<br />

จำนวน มาก ชิ้น<br />

ขึ้น<br />

เรื่อย<br />

ๆ ดังนั้น<br />

เพื่อ<br />

เป็นการ ช่วย ลด<br />

เวลา และ ลด ภาระ ให้ กับ อาสา สมัคร ใน การ เข้า มา<br />

ช่วยกัน คัดเลือก และ พิสูจน์ อักษร ของ ทุก บทความ<br />

ต้อง ขอ รบกวน ผู ส่ง ้ บทความ เรียบเรียง งาน เขียน ตาม<br />

แนวทาง ดังนี้<br />

ด้วย นะ คะ<br />

๒.๑ ตรวจ ทาน คำ ถูก ผิด ให้ เรียบร้อย<br />

ก่อน ส่ง บทความ รบกวน ผู เขียน ้ ทุก ท่าน ช่วย ตรวจ ทาน<br />

ให้ แน่ใจ ก่อน นะ คะ ว่า ไม่ มี จุด ไหน พิมพ์ ตกหล่น พิมพ์<br />

เกิน พิมพ์ ผิด พลาด หรือ เขียน ตัวสะกด ไม่ ถูก ต้อง ผ่าน<br />

สายตา ของ ผู้<br />

เขียน แล้ว<br />

หาก ไม่ แน่ใจ ตัวสะกด ของ คำ ไหน สามารถ ตรวจ สอบ<br />

ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เลย ค่ะ<br />

เว็บ เครือ ข่าย พจนานุกรม ราชบัณฑิต ยสถาน<br />

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html<br />

๒.๒ จัด รูป แบบ ตาม หลัก งาน เขียน ภาษา ไทย<br />

เพื่อให้<br />

ทุก บทความ มี ลักษณะ ของ การ จัด พิมพ์ ที่<br />

สอดคล้อง กัน ขอ ให้ ใช้ การ จัด รูป แบบ ใน ลักษณะ ดังนี้<br />

นะ คะ<br />

• เครื่องหมาย<br />

คำ ถาม (?) และ เครื่องหมาย<br />

ตกใจ (!)<br />

เขียน ติดตัว หนังสือ ด้านหน้า และ วรรค ด้าน หลัง<br />

เช่น “อ้าว! เธอ ไม่ ได้ ไป กับ เขา หรอก หรือ? ฉัน<br />

นึก ว่า เธอ ไป ด้วย เสีย อีก ”<br />

• การ ตัด คำ เมื่อ<br />

ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่<br />

สำหรับ คน ที่<br />

นิยม เขียน แบบ เคาะ [Enter] เพื่อ<br />

ตัด ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่ แทน การ รวบ คำ อัตโนมัติ ของ<br />

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ อยาก ให้ ช่วย ดู การ ตัด<br />

คำ ด้วย นะ คะ ว่า ตัด ได้ อย่าง เหมาะสม คือ อ่าน<br />

ได้ ลื่น<br />

ไม่ สะดุด ไม่ แยก คำ หรือ ไม่ ขึ้น<br />

บรรทัด<br />

ใหม่ ผ่า กลาง วลี ที่<br />

ควร อ่าน ต่อ เนื่อง<br />

กัน โดย ไม่<br />

จำเป็น เช่น<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำ แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า ผลก รรม<br />

ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ”<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำ แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า<br />

ผลก รรม ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ” (อ่าน ง่าย กว่า ค่ะ)<br />

หรือ ดู หลักเกณฑ์ อื่น<br />

ๆ ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เพิ่มเติม<br />

ด้วย ก็ได้ ค่ะ<br />

ราชบัณฑิต ยสถาน > หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ<br />

http://www.royin.go.th/th/profile/index.php<br />

๒.๓ ความ ถูก ต้อง ของ ฉันทลักษณ์ สำหรับ ชิ้น<br />

งาน ร้อยกรอง<br />

สำหรับ ท่าน ที่<br />

แต่ง ร้อยกรอง เข้า มา ร่วม ใน คอลัมน์<br />

กวีธรรม ขอ ให้ ตรวจ ทาน ให้ แน่ใจ สัก นิด นะ คะ ว่า<br />

บทกลอน นั้น<br />

ถูก ต้อง ตาม ฉันทลักษณ์ แล้ว หรือ ยัง จะ<br />

ได้ ช่วย กัน ใส่ใจ และ เผยแพร่ แต่ ใน สิ่ง<br />

ที่<br />

ถูก ต้อง ให้ ผู้<br />

อื่น<br />

กัน ค่ะ<br />

คุณ ผู้<br />

อ่าน สามารถ ตรวจ สอบ หรือ หาความ รู้<br />

เพิ่มเติม<br />

เกี่ยว<br />

กับ ฉันทลักษณ์ ของ กวี ไทย ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

ด้วย นะ คะ


ร้อยกรอง ของ ไทย<br />

(โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย)<br />

http://thaiarc.tu.ac.th/poetry/index.html<br />

๒.๔ ความ ยาว ของ บทความ และ การ จัด ย่อหน้า<br />

ปกติ แล้ว เรา ไม่ จำกัดความ ยาว ของ ชิ้น<br />

งาน ใน ทุก คอ<br />

ลัมน์ค่ะ แต่ ก็ อยาก ให้ ผู้<br />

เขียน ใช้ ดุลยพินิจ ดู ด้วย ค่ะ ว่า<br />

ความ ยาว ประมาณ ใด น่า จะ เหมาะสม โดย ลอง ดู จาก<br />

บทความ ที ลง ่ ใน เล่ม และ ลอง เทียบเคียง ความ รู้สึก<br />

ใน<br />

ฐานะ ผู้<br />

อ่าน ดู นะ คะ<br />

สำหรับ เรื่องสั้น<br />

หรือ นวนิยาย ทีอาจ<br />

่ มีค วาม ยาว มาก<br />

กว่า บทความ อื่น<br />

ๆ และ มี การ เปลี่ยน<br />

ฉาก อยู บ้าง ่ อย่า<br />

ลืม เบรก สายตา ผู้<br />

อ่าน โดย การ ขึ้น<br />

ย่อหน้า ใหม่ เมื่อ<br />

ถึง<br />

จุด หนึ่ง<br />

ๆ ของ เรื่อง<br />

ที่<br />

เหมาะสม ด้วย นะ คะ เพราะ<br />

การ เขียน เป็น พรืด เห็น แต่ ตัวหนังสือ ติด ๆ กันลง มา<br />

ยาว ๆ จะ ลด ทอน ความ น่า อ่าน ของ บทความ ไป อย่าง<br />

น่า เสียดาย ค่ะ<br />

หาก บทความ ใด อ่าน ยาก ๆ หรือ มี จุด บกพร่อง ที ต้อง ่<br />

แก้ไข เยอะ มาก ๆ ทาง ทีม งาน อาจ จะ ต้อง ขอ อนุญาต<br />

เก็บ ไว้ เป็นอัน ดับ หลัง ๆ ก่อน นะ คะ<br />

<br />

๓. ส่ง บทความ ได้ที่<br />

ไหน อย่างไร<br />

๓.๑ กระดาน ส่ง บทความ<br />

เมื่อ<br />

เขียน อ่าน ทาน และ ตรวจ ทาน บทความ พร้อม ส่ง<br />

เรียบร้อย แล้ว งาน เขียน ทุก ชิ้น<br />

สามารถ โพ สท์ส่ง ได้ที่<br />

กระดาน “ส่ง บทความ ” ได้ เลย ค่ะ ที่:<br />

http://dungtrin.com/forum/viewforum.php?f=2<br />

โดย หัวข้อ กระทู้<br />

ขอ ให้ ใช้ ฟอร์แมท ลักษณะ นี้<br />

นะ คะ<br />

(ชื่อ<br />

คอลัมน์) ชื่อ<br />

เรื่อง<br />

โดย ชื่อ<br />

ผู้<br />

แต่ง<br />

เช่น<br />

(สัพเพเหระ ธรรม) เทพธิดา โรง ทาน โดย คน ไกล วัด<br />

(ธรรมะ ปฏิบัติ) เส้นทาง การ ปฏิบัติ 1 โดย satima<br />

(ของ ฝาก จาก หมอ) เครียด ได้...แต่ อย่า นาน โดย หมอ อติ<br />

เพื่อ<br />

ช่วย ให้ ทีม งาน สามารถ จัด หมวด หมู่<br />

ของ ชิ้น<br />

งาน<br />

ได้ เร็ว ขึ้น<br />

ค่ะ<br />

๓.๒ แนบไฟล์ Word มา ด้วย ทุก ครั้ง<br />

หาก แปะ เนื้อความ<br />

ลง ใน กระทู้<br />

เลย ฟอร์แมท ต่าง ๆ<br />

เช่น ตัว หนา ตัว บาง ตัว เอียง จะ หาย ไป ค่ะ เพื่อ<br />

ความ<br />

สะดวก รบกวน ทุก ท่าน แนบไฟล์ Word ทีพิมพ์<br />

่ ไว้ มา<br />

ด้วย นะ คะ (ใน หน้า โพสต์ จะ มี ปุ่ม<br />

Browse ให้ เลือก<br />

Attach File ได้ เลย ค่ะ)<br />

ใคร มี รูป ประกอบ ก็ Attach มา ด้วย วิธี เดียวกัน นี้<br />

เลย<br />

นะ คะ<br />

และ หาก ไฟล์มี ขนาด ใหญ่ ทำเป็น zip เสีย ก่อน ก็ จะ<br />

ช่วย ประหยัด พื้นที่<br />

ได้ ไม่ น้อย ค่ะ<br />

<br />

๔. ส่ง แล้ว จะ ได้ ลง หรือ ไม่<br />

ปกติ แล้ว เวที แห่ง นี เป็น ้ เวที ที เปิด ่ กว้าง หาก บทความ<br />

นั้น<br />

ให้ เนื้อหา<br />

สาระ ที เป็น ่ ไป เพื่อ<br />

เกื้อกูล<br />

กัน ใน ทาง สว่าง<br />

และ เป็น แนวทาง ที่<br />

ตรง ตาม แนวทาง คำ สอน ของ<br />

พระพุทธเจ้า หรือ เป็น ประโยชน์ ต่อ ผู้<br />

อ่าน จาก ผู้<br />

รู้<br />

จริง<br />

ใน ด้าน ที่<br />

เชี่ยวชาญ<br />

ก็ จะ ได้ รับ การ ลง แน่นอน ค่ะ<br />

ทั้งนี้<br />

รวม ถึง ความ ยาก ง่าย ใน การ อ่าน พิจารณา<br />

บทความ การ แก้ไข จุด บกพร่อง ต่าง ๆ ใน งาน พิสูจน์<br />

อักษร หาก เป็น ไป อย่าง คล่องตัว ก็ จะ ช่วย ให้ พิจารณา<br />

ชิ้น<br />

งาน ได้ ง่าย ขึ้น<br />

ด้วย ค่ะ<br />

แต่ หาก บทความ ใด ยัง ไม่ ได้ รับ คัดเลือก ให้ ลง ก็ อย่า<br />

เพิ่ง<br />

หมด กำลังใจ นะ คะ วัน หนึ่ง<br />

คุณ อาจ รู้<br />

อะไร ดี ๆ<br />

และ เขียน อะไร ดี ๆ ใน มุม ที่<br />

ใคร ยัง ไม่ เห็น เหมือน คุณ<br />

อีก ก็ได้ ค่ะ : )<br />

และ ถ้า อยาก เริ่ม<br />

ต้น การ เป็น นัก เขียน ธรรมะ ที ดี ่ ก็ ลอง<br />

ติดตาม อ่าน คอลัมน์ เขียน ให้ คนเป็น เทวดา ที คุณ ่ ‘ดัง<br />

ตฤณ ’ มา ช่วย เขียน เป็น นัก เขียน ประจำ ให้ ทุก สัปดาห์<br />

ดู นะ คะ<br />

ขอ อนุโมทนา ใน จิต อัน มี ธรรม เป็น ทาน ของ ทุก ท่าน ค่ะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

มาร่วมเป็นอีกหนึ่งกำลัง<br />

ที่ช่วยสร้างภาพใหม่ให้กับพระพุทธศาสนา<br />

ด้วยการร่วมส่งบทความ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ท้ายเล่ม<br />

หรือที่<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!