08.06.2013 Views

ธรรมะใกล้ตัว

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

Free Online Magazine<br />

่ ๐๙๗<br />

๒๔ มิ.ย. ๕๓<br />

dharma at hand ฉบับที<br />

ธรรมะสำหรับคนยุคใหม่ ที่อยู่ใกล้แค่เอื้อม<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

๙<br />

ไดอารี่หมอดู<br />

๑๕<br />

ดังตฤณวิสัชนา ฉบับเปิดกรุ ๑๙<br />

ยารักษาใจ ๒๑<br />

ธนาคารความสุข ๓๓<br />

• เครื่องบินหลากสี<br />

สัพเพเหระธรรม ๓๙<br />

• แผนสอง ตอนที่<br />

๔<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

ที่ปรึกษาและผู<br />

้จุดประกาย: ศรันย์ ไมตรีเวช<br />

หัวหน้าบรรณาธิการ<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว: เยำวลักษณ์ เกิดปรำโมทย์<br />

ธรรมะจากพระผู ้รู ้: ชนินทร์ อำรีหนู<br />

ไดอารี่หมอดู:<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

โหรา (ไม่) คาใจ: จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

กวีธรรม: ศิรำภรณ์ อภิรัฐ<br />

คาคมชวนคิด: ศิรำภรณ์ อภิรัฐ<br />

สัพเพเหระธรรม: ชนินทร์ อำรีหนู<br />

ธรรมะจากคนสู ้กิเลส: ณัฐธีรำ ปนิทำนเต<br />

ของฝากจากหมอ: พริม ทัพวงศ์<br />

แง่คิดจากหนัง: เกสรำ เติมสินวำณิช<br />

นิยาย/เรื่องสั้นอิงธรรมะ:<br />

จรินทร์ธร<br />

ธนชัยหิรัญศิริ<br />

พาเที่ยว<br />

เอี่ยวธรรม:<br />

เกสรำ เติมสินวำณิช<br />

ธรรมะกับไลฟ์สไตล์: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

รูปชวนคิด: รวิษฎำ ดวงมณี<br />

กองบรรณาธิการ: กนกเรขำ กฤษฎำรักษ์<br />

กำนต์พัทธ์ รัชพันธ • กิษรำ รัตนำภิรัต<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ • ชนินทร์ อำรีหนู<br />

ณัฐชญำ บุญมำนันท์ • ณัฐธีรำ ปนิทำนเต<br />

ณัฐพร สกุลอุทัยศักดิ์<br />

• ปรียำภรณ์ เจริญบุตร<br />

ปิยมงคล โชติกเสถียร • พรำวพรรณรำย<br />

มัลลิกะมำลย์ ทองเลี่ยมนำค<br />

พรหมเนตร สมรักษ์ • พิจิตรำ โตวิวิชญ์<br />

พิทำ จำรุพูนผล • พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

มยุรฉัตร พงษ์ผำตินันท์ • เมธี ตั้งตรงจิตร<br />

เยำวลักษณ์ เกิดปรำโมทย์ • วรำงคณำ บุตรดี<br />

วิบูรณ์ศักดิ์<br />

ใจภักดี • วิมล ถำวรวิภำส<br />

วิมุตติยำ นิวำดังบงกช • ศดำนัน จำรุพูนผล<br />

ศศิธร ศิวะนันทำกรณ์ • ศิรำภรณ์ อภิรัฐ สม<br />

เจตน์ ศฤงคำรรัตนะ • สำริณี สำณะเสน สิทธิ<br />

นันท์ ชนะรัตน์ • สุปรำณี วอง<br />

อนัญญ์อร ยิ่งชล<br />

• อนัญญำ เรืองมำ<br />

อมรำ ตั้งบริบูรณ์รัตน์<br />

• อัจจนำ ผลำนุวัตร<br />

ฝ่ายรวบรวมบทความ: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

ฝ่ายสื่อเสียงอ่านนิตยสาร:<br />

อนุสรณ์ ตรีโสภำ<br />

ฝ่ายสื่อเว็บไซต์:<br />

สมเจตน์ ศฤงคำรรัตนะ<br />

ไพลิน ลำยสนิทเสรีกุล • กฤษฎ์ อักษรวงศ์<br />

ฝ่ายสื่อ<br />

Word: พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

ฝ่ายสื่อ<br />

PDF: บุณยศักดิ์<br />

ธีรวงศ์กิจ<br />

เกียรติภูมิ จำรุเสน<br />

ฝ่ายระบบ Send mail: สมเจตน์ ศฤงคำรรัตนะ<br />

ภาพปก: กวิน ฉัตรำนนท์<br />

และทีมงำนอำสำท่ำนอื่นๆ<br />

อีกจำนวนมำก<br />

ท่านสามารถรับนิตยสารฉบับนี<br />

้ได้ ใน<br />

รูปแบบ เสียงอ่าน · Word


จากใจบ.ก.ใกล้ตัว<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ทำยังไงดี - อยำกซื้อหนังโป๊แต่กลัวบำป<br />

ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ชอบดูหนังโป๊<br />

แล้ววันหนึ่งจับพลัดจับผลูหันมาเอาดีทางธรรม<br />

อยากตื่นเช้าขึ้นมาใส่บาตร<br />

สวดมนต์ แผ่เมตตา คุณอาจสงสัยว่าคนที่เริ่มเอาดี<br />

ทางธรรมยังอยากดูหนังโป๊ต่อได้ไหม มันถูกเรื่องไหม<br />

ถูกฝาถูกตัวไหม?<br />

หรือถ้ายังไม่ถึงขั้นอยากเอาดีทางธรรม<br />

แต่พอดูหนังโป๊จบ สบายตัวสบายใจดีแล้ว<br />

หันมาท่องเว็บไปเรื่อยๆ<br />

คุณเกิดสะดุดตากับกระทู้คาถามที่มักผุดให้เห็นบ่อยๆว่า<br />

ซื้อหนังโป๊ผิดศีลข้อ<br />

๓ ไหม? ดูหนังโป๊เป็นบาปติดตัวหรือเปล่า? ยิ่งถ้าติดใจ<br />

หนังโป๊จะต้องตกนรกอย่างเขาว่าหรือยังไงแน่? พระชื่อดังบางรูปประกาศชัดเลย<br />

ทีเดียวว่าการดูหนังโป๊เป็นเรื่องชั่วช้า<br />

พ่อแม่ดูแล้วจะสืบสายความชั่วร้ายไปถึง<br />

รุ่นลูกรุ่นหลาน<br />

เคยมีการพูดคุยกันในแวดวงจิตวิทยาว่าหนังโป๊เป็นทางออกหนึ่งสาหรับคนกาลัง<br />

อัดอั้น<br />

หรือเป็นสิ่งเติมเต็มความฝันสาหรับคน<br />

“อยากแบบสิ้นหวัง”<br />

เช่น<br />

หนุ่มบางคนมองรูปร่างหน้าตาตัวเองในกระจกแล้วลงความเห็นว่าชาตินี้ไม่มีทาง<br />

ได้แอ้มสาวสวยแน่ วาสนาไม่ถึง น้อยใจไปน้อยใจมา เลยกลายเป็นอาชญากรทาง<br />

เพศเพราะความเก็บกดอดน้อยใจวาสนาไม่ได้นั่นเอง<br />

ต่อเมื่อได้ดูหนังโป๊ที่ถ่ายทาราวกับคนดูได้มีสัมพันธ์สวาทกับนางเอกสาวสุดสวย<br />

เสียเอง จึงค่อยผ่อนคลายระบายความเก็บกดไปได้ เหมือนอย่างช่วงหนึ่งมีการ<br />

พูดถึงบ่อยที่สุดคือสถิติอาชญากรรมทางเพศในญี่ปุ่น<br />

ซึ่งมีน้อยมากเมื่อเทียบกับ<br />

ประเทศอื่น<br />

ทั้งที่หนังโป๊หาง่าย<br />

ภาพโฆษณาเชิญชวนซื้อบริการทางเพศดาษดื่น<br />

แม้ตู้โทรศัพท์สาธารณะยังแปะภาพพร้อมเบอร์โทร.เรียกนางบริการได้อย่างโจ๋งครึ่ม<br />

บางประเทศเสียอีกอุตส่าห์ห้ามแหลก ผิดกฎหมายไปหมด เห็นนิดเห็นหน่อยไม่ได้<br />

ต้องเซ็นเซอร์ อาชญากรรมทางเพศกลับสูงลิ่ว<br />

ราวกับบ้านเมืองไร้ขื่อแป<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

3


4<br />

ตกลงความจริงเป็นอย่างไรกันแน่ อะไรดีหรือไม่ดี อะไรชั่วหรือไม่ชั่ว?<br />

มาตรฐานดีชั่วนี่เถียงให้ตายก็ไม่จบหรอกครับ<br />

เพราะแต่ละคนจะไปจบที่ความเชื่อ<br />

ของตัวเอง แต่ผมอยากให้วัยรุ่นซึ่งยังไม่ทราบจะปลงใจเลือกข้างไหน<br />

ได้แยกแยะ<br />

อย่างนี้ดีกว่า<br />

เอาเรื่องของ<br />

“ศีล” มาเป็นตัวตั้งก่อน<br />

การผิดศีลข้อ ๓ ว่าด้วยกาเมสุมิจฉาจารนั้น<br />

นับกันที่การร่วมเพศกับหญิงที่ยัง<br />

มีญาติผู้ใหญ่เลี้ยงดู<br />

หรือกับหญิงที่มีเจ้าของแม้ด้วยการจองตัวกันด้วยแหวนหมั้น<br />

หรือพวงมาลัย การร่วมเพศในที่นี้หมายถึงการมีอวัยวะเพศเข้าถึงกัน<br />

หรือเข้าถึง<br />

ปากอีกฝ่าย พูดให้รวบรัดคือแม้คุณจะดูหนังโป๊แสนรอบ ก็ยังประเสริฐกว่าการ<br />

เอาลูกเขาเมียใครมาทามิดีมิร้ายหนเดียวเป็นไหนๆ<br />

แต่ช้าก่อนนะครับ ไม่ผิดศีล ก็ไม่ได้หมายความว่าเป็นความดีงามเสมอไป<br />

ก่อนอื่นต้องมองอย่างพุทธว่าราคะคือกิเลส<br />

ราคะคือเหตุให้เพลิดเพลินขาดสติ<br />

ราคะคือธรรมชาติที่ยังให้จิตยึดมั่นลุ่มหลง<br />

เมื่อใดจิตถูกราคะครอบงา<br />

จึงคิดเรื่อง<br />

ที่เป็นบุญเป็นกุศลไม่ออก<br />

ขืนปล่อยใจหมกมุ่นกับเรื่องที่ไม่เป็นกุศลมากๆ<br />

จิตเป็น<br />

ต้องไหลลงต่าไปเรื่อยๆ<br />

แบบเชิดหัวขึ้นสูงยากแน่นอน<br />

แบบที่เรียกหน้ามืดตามัวจน<br />

ตัวตายนั่นเอง<br />

เข้าห้องมืดสลัวบ่อยๆ ตามักชินกับความมืดสลัว และรู้สึกแปลกปลอมกับ<br />

แสงสว่างฉันใด ปล่อยจิตปล่อยใจให้อยู่กับภาพเสียงที่เข้ากับธรรมชาติฝ่ายต่า<br />

บ่อยๆ ก็ย่อมคุ้นกับธรรมชาติฝ่ายต่า<br />

และรู้สึกห่างเหินกับธรรมชาติฝ่ายสูงเป็น<br />

ธรรมดา<br />

ถามตัวเองให้ชัดๆ เสียใหม่ ใจจะได้คาตอบกระจ่าง ระหว่าง “บาปไหม”<br />

กับ “อยากไหม” คนเรายินดีให้การต้อนรับความอยาก มากกว่าสนใจเรื่องบุญ<br />

เรื่องบาปอยู่แล้ว<br />

แต่ด้วยความอยากนั่นเอง<br />

คุณเข้าข่ายผู้ชมหนังโป๊ประเภทใด<br />

ระหว่างเติมเต็มให้สมอยาก กับกระตุ้นอารมณ์ให้กระสันอยาก<br />

ถ้าไม่เข้าข้าง<br />

ตัวเอง คุณตอบตัวเองถูกไหมว่าพอสมอยากแล้วหยุด หรือพอกระสันอยากแล้ว<br />

อยากต่อยอดด้วยการลองของจริง?<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ถ้าหนังโป๊ครอบงาคุณได้ ฉุดกระชากลากถูให้คุณเข้าหามันบ่อยๆได้ กระตุ้นให้<br />

คุณเห็นดีเห็นงาม อยากเอาตามหนังที่ยั่วยุให้ผิดศีลข้อ<br />

๓ ได้ จนถึงขั้นเผลอเป็น<br />

อาชญากรด้วยอารมณ์ชั่ววูบ<br />

นั่นแหละครับ<br />

ดูหนังโป๊เป็นบาปสาหรับคุณแน่แล้ว<br />

ครั้งต่อไปเห็นปกหนังโป๊ที่ไหน<br />

ให้ทาไว้ในใจว่านั่นเป็นปากทางสู่หุบเหวแห่งความ<br />

วิบัติ นั่นคือบานประตูนรกสาหรับคุณ<br />

อย่าแตะลูกบิดประตูเลยจะดีที่สุด!<br />

ที่สังคมโลกส่วนใหญ่ไม่ให้เกียรติดาราหนังโป๊<br />

ก็เพราะไม่เคยมีใครดูหนังโป๊แล้ว<br />

อยากเป็นคนดี อยากรักษาศีล อยากช่วยให้โลกนี้มีแต่สันติสุข<br />

ไม่ค่อยมองกันว่า<br />

หนังโป๊มีส่วนช่วยให้สมอยากแบบดิบๆ แล้วยุติพฤติกรรมเบียดเบียนกัน<br />

สรุปลงเอยคือขอให้อยู่ในการวินิจฉัยด้วยความซื่อสัตย์เฉพาะตนของคุณเอง<br />

หนังโป๊อาจเป็น “ของสลัว” ที่มีส่วนช่วยให้คุณมีแก่ใจรักษาเนื้อรักษาตัว<br />

ไม่ต้อง<br />

เสี่ยงเที่ยวให้เป็นโรค<br />

ไม่ต้องประพฤติผิดศีลผิดธรรม หรือไม่หนังโป๊ก็อาจเป็น<br />

“ของมืด” ที่ส่งแรงกระตุ้นให้คุณตามัว<br />

เห็นดอกบัวเป็นกงจักร เห็นกงจักรเป็น<br />

ดอกบัวก็ได้ คุณเท่านั้นรู้แก่ใจและตอบตนเองถูก!<br />

ดังตฤณ<br />

จากบทความ “ทายังไงดี”?<br />

นิตยสาร Miracle of Life ฉบับเดือนมิถุนายน ๕๓<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

5


6<br />

หมายเหตุอันเนื่องจากนวนิยายใหม่<br />

“จิตจักรพรรดิ”<br />

ซึ่งผมแนะนาไปใน<br />

dLiteMag สัปดาห์ก่อน<br />

- ขอบพระคุณสาหรับฟีดแบ็กที่มีเข้ามาทุกทาง<br />

ทั้งอีเมล<br />

ทวิตเตอร์ และเฟซบุ๊ค<br />

ผมอ่านทุกคาของทุกท่าน<br />

เพื่อความเข้าใจในการพัฒนางานให้ดียิ่งๆขึ้น<br />

- ตัวละครและเหตุการณ์ทั้งหมด<br />

เกิดขึ้นจากจินตนาการล้วนๆ<br />

ไม่มีความเกี่ยวข้องกับใครหรือเรื่องอะไรทั้งสิ้นนะครับ<br />

- กว่าหนังสือจะวางใน 7Eleven ครบทั่วประเทศจริง<br />

ก็เป็นวันที่<br />

๒๒ มิถุนายน<br />

กราบขออภัยสาหรับท่านที่ต้องลาบากตามหาหลายสาขา<br />

ครั้งต่อไป<br />

ผมคงต้องคิดให้ดีว่าจะไม่ให้ท่านลาบากได้อย่างไร<br />

ร้านของ 7Eleven ทุกร้าน ถึงแม้ไม่มีก็สั่งได้ในไม่กี่วันครับ<br />

และแม้หนังสือราคาถูกอยู่แล้ว<br />

ถ้าสั่งจานวนมากก็จะได้ถูกลงไปอีก<br />

โดยสั่งได้ที่เบอร์<br />

๐-๒๖๗๗-๑๙๓๓, ๐-๒๖๗๗-๑๑๓๒ หรือ ๐๘-๓๖๘๘-๕๐๔๖<br />

เท่าที่ทราบถ้าไปซื้อจากสาขาใหญ่อย่างที่โรงหนังลิโด้ชั้น<br />

๒<br />

ก็จะได้ลด ๑๐% ด้วยครับ<br />

เรื่องน่ำสนใจประจำฉบับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

เมื่อโลกไม่เที่ยง<br />

และไม่อาจบังคับให้เป็นดั่งใจเราได้<br />

จะมีวิธีรับมืออย่างไรกับความเปลี่ยนแปลง?<br />

และสาหรับคนเมืองที่กังวลว่าจะหาที่สงบสาหรับการปฏิบัติไม่ได้


“หลวงพ่อ ปำโมชฺโช” มีข้อแนะนาดีๆ<br />

ที่คอลัมน์<br />

“ธรรมะจำกพระผู้รู้”<br />

ค่ะ (^/\^)<br />

คอลัมน์ “ไดอำรี่หมอดู”<br />

ฉบับนี้<br />

อ่านเรื่องผลของการรักษาศีล<br />

และการทาผิดศีลข้อที่<br />

๑ (ปาณาติปาตา เวรมณีฯ)<br />

ซึ่ง<br />

“หมอพีร์” เอง ก็มีประสบการณ์ตรงมาแบ่งปันคุณผู้อ่านด้วยค่ะ<br />

^_^<br />

ใครที่สนใจเรื่องภพภูมิ<br />

ต้องไม่พลาดคอลัมน์ “ดังตฤณวิสัชนำ ฉบับเปิดกรุ” นะคะ<br />

เพราะฉบับนี้<br />

เราจะมาเปิดกรุคาถามเรื่องนี้กัน<br />

ในตอน “ระยะเวลำที่แตกต่ำงของภพภูมิ”<br />

ค่ะ<br />

คอลัมน์ “ยำรักษำใจ”<br />

ฉบับนี้<br />

มาในรูปแบบนิทานร้อยกรองประกอบภาพ<br />

ฝีมือการวาดภาพโดยแขกรับเชิญกิตติมศักดิ์ของ<br />

“คุณวิลำศินี” ^_^<br />

นิทาน “หมึกซ่ำ” จะสนุกขนาดไหน ต้องติดตามนะคะ<br />

<br />

ข่ำวสำรและกิจกรรมที่น่ำสนใจ<br />

• ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพทอดผ้าป่าสามัคคี<br />

เพื่อสมทบทุนสร้างพระเจดีย์หลวงตาผนึก<br />

สิริมงฺคโล<br />

วัดป่าเขวาสินรินทร์ จ.สุรินทร์<br />

ในวันที่<br />

๑๑ ก.ค. ๒๕๕๓ เวลา ๙.๐๐ น.<br />

การทอดผ้าป่านี้เป็นดาริของหลวงพ่อปราโมทย์<br />

ปาโมชฺโช<br />

ท่านที่มีจิตศรัทธาที่จะร่วมเป็นเจ้าภาพ<br />

สามารถโอนเงินเข้าบัญชีด้านล่างนี้<br />

ภายในวันที่<br />

๘ ก.ค. ๒๕๕๓ ค่ะ (-/\-)<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

7


8<br />

ธนำคำรกรุงไทย สำขำสุรินทร์<br />

ประเภท ออมทรัพย์<br />

ชื่อบัญชี<br />

พระพลศรี มหำปัญโญ<br />

เลขที่บัญชี<br />

๓๑๐ – ๐ – ๓๘๑๘๐ – ๗<br />

• ขอเชิญร่วมทาบุญออนไลน์กับโครงการ Pay It Forward<br />

เพื่อส่งต่อน้าใจมอบคอมพิวเตอร์ให้กับน้องๆ<br />

ที่ยังขาดแคลน<br />

ในโครงการ “คอมเก่าของคุณ คอมใหม่ของน้อง” ของมูลนิธิกระจกเงา<br />

โดยทุกคลิกของคุณจะรวมพลังกันแปรเปลี่ยนเป็นคอมพิวเตอร์<br />

ให้กับน้องๆ ที่ยังขาดแคลน<br />

สนใจร่วมทาบุญง่ายๆ แค่คลิก<br />

หรือจะร่วมบริจาคคอมพิวเตอร์เก่าของคุณ ได้ที่นี่ค่ะ<br />

^_^<br />

http://ads.momypedia.com/payitforward/<br />

<br />

พบกันใหม่พฤหัสหน้า<br />

ที่<br />

www.dlitemag.com นะคะ<br />

สวัสดีค่ะ (^_^)<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

พระอำจำรย์ปรำโมทย์ ปำโมชฺโช<br />

ถำม - เมื่อต้องพบกับควำมไม่เที่ยงของโลก<br />

ธรรมะจะช่วยได้อย่ำงไรคะ<br />

พวกเราเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์<br />

เกิดในแผ่นดินที่ดี<br />

พวกเรามีสติปัญญาสนใจธรรมะ พวกเราได้ฟังธรรมะ มีบุญนะพวกเรา<br />

เหลืออยู่อย่างเดียวเท่านั้นแหละ<br />

ปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม<br />

ถ้าปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม คือมีสติ รู ้กายรู ้ใจเรื่อยๆไป<br />

เรียกว่าปฏิบัติธรรม<br />

ถึงวันหนึ่งเราได้มรรคได้ผลขึ้นมา<br />

เราจะรู้คุณค่าที่แท้จริงของพระศาสนา<br />

รู้เลยว่าไม่มีอะไรยิ่งใหญ่เท่ากับคาสอนของพระพุทธเจ้าเลย<br />

ทุกสิ่งทุกอย่างในโลก<br />

ถึงจะดีถึงจะวิเศษแค่ไหน<br />

เป็นเพียงเครื่องช่วยให้อยู่ในโลกอย่างสบาย<br />

มีแต่ธรรมะของพระพุทธเจ้าช่วยให้เราอยู่เหนือโลกได้<br />

อยู่เหนือโลกมันดีตรงไหน<br />

มันดีตรงที่มันพ้นจากความแปรปรวน<br />

โลกนี้เต็มไปด้วยความแปรปรวนนะ<br />

มีสุขแล้วก็ทุกข์นะ<br />

มีสรรเสริญแล้วก็นินทา มีลาภแล้วก็เสื่อมลาภ<br />

มียศแล้วก็เสื่อมยศ<br />

โลกมันเป็นอย่างนั้น<br />

โลกกระเพื่อมขึ้นกระเพื่อมลงตลอดเวลา<br />

โลกไม่เคยสงบสันติที่แท้จริง<br />

ยุคใดเรียกร้องสันติภาพมาก แสดงว่ายุคนั้นไม่มีสันติภาพ<br />

ยุคใดเรียกร้องเสรีภาพ แสดงว่ายุคนั้นไม่มีเสรีภาพ<br />

ยุคใดเรียกร้องความรักความสามัคคี แสดงว่าไม่มีความรักความสามัคคี<br />

เห็นไหม โลกมันเป็นอย่างนี้<br />

โลกมันมีแต่ความทุกข์ มีแต่ความแปรปรวน<br />

จะเก่งจะวิเศษยังไงนะ สมมุติว่าเราเรียนเก่งมากเลย แล้วรวยมากเลย<br />

ถามว่าเราจะพ้นจากความกระทบกระทั่งของโลกได้ไหม<br />

พ้นไม่ได้ เรายังอยู่ในโลก<br />

แต่ถ้าเราฝึกจิตฝึกใจของเรา เราปฏิบัติธรรม เรารู้กาย<br />

เรารู้ใจ<br />

มากเข้าๆ เนี่ย<br />

ไม่ว่ามีสิ่งใดเกิดขึ้นในโลกเนี่ย<br />

ใจมันสงบ ใจมันมีสันติสุขอยู่ได้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

9


10<br />

ทีนี้เมื่อความแก่ความเจ็บความตาย<br />

ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก<br />

การเจอสิ่งที่ไม่รัก<br />

ความผิดหวังทั้งหลายเกิดขึ้น<br />

ไม่ทุกข์หรอก ทุกข์ก็ทุกข์น้อยกว่าคนอื่น<br />

มีบางคนนะมาเล่าให้หลวงพ่อฟัง ทาธุรกิจระดับร้อยล้าน<br />

อยู่ๆ<br />

ไม่นาน ไม่นานมานี้<br />

ไม่กี่เดือนนี้เอง<br />

อยู่ๆ<br />

แบงค์ไม่ปล่อยเงินให้แล้ว<br />

ปล่อยมาตลอดนะ ก็หมุนเวียนทางาน ทาธุรกิจมาได้เรื่อยๆ<br />

อยู่ๆ<br />

ก็ไม่ปล่อยแล้ว เพราะแบงค์ฐานะไม่ค่อยจะดี กลัว เกิดกลัวหนี้สูญขึ้นมา<br />

ธุรกิจร้อยล้านล้มไปเฉยๆ เลย ไม่มีทุนหมุนเวียน<br />

กลับไปอยู่ที่ศูนย์ใหม่<br />

คือไม่มีอะไรเหลือใหม่<br />

แต่คนนี้ยังดีนะ<br />

สมัยที่ยังร่ารวยนี่ศึกษาธรรมะ<br />

หัดดูกายดูใจของตัวเองอยู่เรื่อยๆ<br />

วันที่ธุรกิจล้มลงไปเนี่ย<br />

คิดอย่างหนึ่งนะว่าอยากฆ่าตัวตาย<br />

อยากฆ่าตัวตายนะ<br />

เสร็จแล้วใจที่มันมีธรรมะมันก็เตือนขึ้นมา<br />

ก่อนหน้านี้เราก็ไม่มีอะไร<br />

พากเพียรสร้างมันขึ้นมาได้<br />

มันได้มาแล้วมันก็เสียไป<br />

โลกมันเป็นอย่างนี้<br />

ไม่ฆ่าตัวตายนะ<br />

แล้วอย่างหนึ่งก็มาคิดดูเป็นลูกศิษย์หลวงพ่อปราโมทย์<br />

ทาธุรกิจเจ๊งแล้วฆ่าตัวตาย เดี๋ยวเสียชื่อหลวงพ่อ<br />

จริงๆ หลวงพ่อไม่ห่วงเรื่องเสียชื่อหรอกนะ<br />

แต่ว่าคุยกับมันก็ เอ้อ อย่าไปฆ่านะ เสียชื่อหลวงพ่อ<br />

รีบคล้อยตามมันไป เดี๋ยวมันฆ่าตัวตาย<br />

ตอนนี้ก็เริ่มตั้งหลักขึ้นมาใหม่ได้แล้ว<br />

ล้มแล้วมันก็ลุกได้นะคนเรา<br />

ล้มแล้วอย่าให้ใจเราล้มไปด้วย เรามีหลักยึด มีธรรมะไว้<br />

เห็นเลย โลกมันแปรปรวนอย่างนี้แหละ<br />

มันสู้ได้<br />

เตรียมตัว เตรียมตัวต่อสู้กับชีวิต<br />

ด้วยการมีธรรมะอยู่ในใจเรา<br />

อะไรล้มได้นะ สูญเสียได้ ไม่เสียกาลังใจของเรา<br />

มีสติมีปัญญารักษาใจไว้ ทาธุรกิจล้มไปก็สู้ตาย<br />

สู้ด้วยสติปัญญา<br />

เกิดความล้มพลั้งพลาดไป<br />

ล้มเหลวไปในชีวิต ทาความผิดพลาดไป ก็ตั้งต้นใหม่<br />

ทาผิดศีล ผิดธรรม มีชู้<br />

มีกิ๊กอะไร<br />

ตั้งต้นใหม่<br />

ทาธุรกิจไม่ดี ตั้งต้นใหม่<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ขอให้ใจเราดีก่อนก็แล้วกัน ค่อยฝึกไปเรื่อย<br />

เสียอะไรก็เสียได้ อย่าให้ใจเราเสีย ให้ใจเรามีธรรมะหล่อเลี้ยงไว้<br />

ธรรมะที่ดีนะ<br />

มีศีลไว้ มีใจที่สงบ<br />

มีใจที่ตั้งมั่นไว้<br />

อย่าหลงระเริงกับโลกมาก<br />

มีสติรู้กายรู้ใจ<br />

เจริญปัญญาไป แล้วไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น<br />

เราก็ไม่ล้มละลายทางธรรมะ ไม่ล้มละลายทางจิตวิญญาณ<br />

๒๐ มิถุนำยน ๒๕๕๒<br />

สวนสันติธรรม<br />

ถำม - คนที่อยู่ในเมืองใหญ่หำควำมสงบได้ยำก<br />

ควรจะภำวนำในชีวิตประจำ<br />

วันอย่ำงไรดีคะ<br />

เมื่อก่อนหลวงพ่อก็อยู่ในเมืองเหมือนพวกเรานี่แหละ<br />

อยู่กับแสงสี<br />

ภาวนาไปได้ทุกวันๆ<br />

ไปอยู่ตามวัดป่า<br />

มืดตื๊ดตื๋อเลย<br />

ภาวนาไม่ถูกนะ ดูจิตไม่เจอแล้ว มันมืดเกินไป<br />

คล้ายๆ ยังกับเราเอาลูกกะตาไปดู จริงๆ เป็นความเคยชิน<br />

ตอนภาวนาก็ภาวนาแบบที่พวกเราทาอย่างนี้แหละ<br />

มีชีวิตอยู่ที่ไหน<br />

เราก็ภาวนาอยู่ที่นั่น<br />

หลวงพ่อเกิดในกรุงเทพฯ โตอยู ่ในกรุงเทพฯ เรียนอยู ่ในกรุงเทพฯ ทางานในกรุงเทพฯ<br />

อยู่ในเมืองมาตลอด<br />

เราก็ภาวนาแบบคนในเมือง<br />

คนในเมืองเราเช้าขึ้นมาเราก็ตะเกียกตะกายไปทางาน<br />

แย่งกันเดินทาง ทางานแล้วก็ซมซานกลับบ้าน<br />

ใช้คาว่าซมซาน หมดเรี่ยวหมดแรงแล้ววันๆ<br />

หนึ่ง<br />

ในภาวะแบบนี้เราจะภาวนาได้ยังไง<br />

บุญเหลือเกินนะได้ไปเจอหลวงปู่ดูลย์เข้า<br />

ท่านสอนให้ดูจิต<br />

การดูจิตมันไม่มีรูปแบบ พิธีรีตองอะไรมากหรอก อยู่ตรงไหนเราก็ดูของเราได้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

11


12<br />

หลวงพ่อก็ดูตั้งแต่ตื่นนอนเลย<br />

ตื่นนอนขึ้นมานะ<br />

ความรู้สึกเป็นยังไง<br />

ร่างกายเป็นยังไง<br />

พวกเราสังเกตไหมเวลาตื่นนอนจิตจะตื่นก่อนร่างกาย<br />

ดูออกไหม<br />

ใครยังดูไม่ออกนะ แสดงว่าสติยังช้าอยู่<br />

จิตมันตื่นก่อน<br />

มันรู้สึกตัวขึ้นมาก่อน<br />

แล้วมันค่อยรู้สึกถึงความมีอยู่ของร่างกาย<br />

บางทีจิตคิดไปตั้งหลายเรื่องแล้ว<br />

ร่างกายค่อยปรากฏขึ้นมา<br />

นี่ถ้าเราดูจิตชานิชานาญนะ<br />

ตั้งแต่ตื่นนอนปุ<br />

๊บ เราเห็นจิตมันเคลื่อนขึ้นมาจากภวังค์<br />

มันเคลื่อนขึ้นมารับอารมณ์ทางใจ<br />

ใจมันเริ่มคิด<br />

เรามีสติรู้ทันไป<br />

เห็นมันทางาน มันคิดขึ้นมาเอง<br />

อยู่ๆ<br />

มันก็คิดขึ้นมา<br />

อยู่ๆ<br />

มันก็ผุดขึ้นมา<br />

ขึ้นมาคิด<br />

เสร็จแล้วความรู้สึกมันก็ขยายตัวออกไป<br />

กระทบร่างกาย<br />

กระทบร่างกายทีแรกมันยังไม่รู้สึกว่าเป็นร่างกายเรา<br />

รู้สึกว่าเป็นท่อนอะไรท่อนนึง<br />

มานอนกลิ้งๆ<br />

อยู่นี่<br />

เหมือนท่อนไม้ท่อนฟืนอะไรอย่างนี้<br />

ยังไม่รู้สึกเป็นตัวเป็นตนอะไร<br />

ต่อไปความคิดเกิดอีก ความคิดเกี่ยวกับกายเกิด<br />

รู้สึกนี่ร่างกายของเรา<br />

นอนอยู่ท่านี้ๆ<br />

เนี่ยหัดรู้สึกไว้ตั้งแต่ตื่นนอนนะ<br />

เสร็จแล้วมันก็คิดต่อไป วันนี้วันอะไร<br />

เราคนในเมืองต้องรู้นี่วันนี้วันอะไร<br />

จะได้ไปทางานหรือไม่ต้องทางาน<br />

วันทางานแต่ละวันเนี่ยความรู้สึกก็ไม่เท่ากัน<br />

รู้สึกไหม<br />

พวกนักทางานกินเงินเดือน ลูกศิษย์หลวงพ่อส่วนใหญ่เป็นมนุษย์เงินเดือนนะ<br />

ต้นเดือน ท้ายเดือน ชนกันบ้างไม่ชนกันบ้างนะ เรื่องธรรมดา<br />

ประหยัดหน่อยก็<br />

แล้วกัน<br />

มนุษย์เงินเดือนนะ มันก็ต้องคอยนับวันแล้วว่าวันนี้วันอะไร<br />

จะต้องไปทางานไหม<br />

ตื่นนอนมาวันจันทร์<br />

สังเกตไหม<br />

ความรู้สึกของเช้าวันจันทร์กับความรู้สึกของเช้าวันพฤหัสน่ะไม่เหมือนกัน<br />

ยิ่งเช้าวันจันทร์กับเช้าวันศุกร์นะความรู้สึกไม่เหมือนกัน<br />

วันจันทร์กับวันพุธต่างกันยังไง รู้สึกไหม<br />

วันพุธนี่สุดเซ็งเลย<br />

วันจันทร์น่ะสุดขี้เกียจนะ<br />

ไม่อยากไปทางาน วันพุธน่ะสุดจะเซ็ง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


วันอังคารก็เบื่อ<br />

วันพฤหัสนะเริ่มกระดี๊กระด๊าขึ้นมาหน่อยๆนะ<br />

วันศุกร์<br />

กระดี๊กระด๊าเยอะ<br />

ทั้งๆ<br />

ที่วันแต่ละวันนะเราก็ทางานเหมือนกันน่ะ<br />

แต่ความรู้สึกเราไม่เท่ากัน<br />

เราให้ค่าไม่เท่ากัน<br />

นี่เราคอยรู้ทันนะ<br />

ตื่นนอนมาเราก็รู้ทันใจของเราไป<br />

จะขึ้นรถไปทางาน<br />

เราก็รู้ทันใจของเรานะ<br />

จะอาบน้า<br />

จะกินข้าว จะขับถ่าย ก็รู้ทันใจของตัวเอง<br />

บางคนก็คิดผิดๆนะ ว่าอยู่ในห้องน้า<br />

ห้ามภาวนา<br />

เอาเยี่ยงเอาอย่างที่ไหน<br />

พระพุทธเจ้าไม่เคยสอน<br />

ว่าอยู่ในห้องน้าภาวนาไม่ได้<br />

บาปกรรม<br />

การภาวนาเป็นการทาความดี ภาวนาที่ไหนก็ดีทั้งนั้นแหละ<br />

ส่วนการทาความชั่วนะ<br />

ถึงไปทาอยู่ในโบสถ์มันก็ชั่วแหละ<br />

มันไม่เกี่ยวกับสถานที่หรอก<br />

อย่างเวลาเราขับถ่าย สังเกตไหม เวลาท้องผูกรู ้สึกยังไง ท้องผูกแล้วถ่ายได้ รู ้สึกยังไง<br />

เห็นไหม ความรู้สึกมันไม่เหมือนหรอก<br />

เปลี่ยนตลอดเลย<br />

เนี่ยให้เราคอยรู้ความรู้สึกของเรานะ<br />

ที่มันเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา<br />

มีการกระทบอารมณ์ทางตา ความรู้สึกก็เปลี่ยน<br />

กระทบอารมณ์ทางหู ทางลิ้น<br />

ทางจมูก ทางกาย ทางใจ ความรู้สึกก็เปลี่ยน<br />

ตลอดเวลา<br />

ทางใจเช่นมันคิด คิดเรื่องนี้ความรู้สึกอย่างนี้<br />

คิดเรื่องนี้ความรู้สึกอย่างนี้<br />

การหัดดูจิตดูใจในเบื้องต้นเรายังดูไม่ถึงจิตหรอก<br />

เบื้องต้นให้คอยรู้ความรู้สึกไปก่อน<br />

ในการเดินปัญญานะ จะต้องหัดแยกธาตุแยกขันธ์ไปเรื่อย<br />

ความรู้สึกไม่ใช่จิต<br />

เป็นอีกขันธ์หนึ่ง<br />

ถ้าความรู้สึกสุขรู้สึกทุกข์นี่เขาเรียกว่า<br />

“เวทนาขันธ์”<br />

ถ้าความรู้สึกที่เป็นกุศลที่เป็นอกุศลทั้งหลาย<br />

อะไรพวกนี้<br />

เขาเรียก “สังขารขันธ์” คนละขันธ์กัน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

13


14<br />

เพราะฉะนั้นความรู้สึกอะไรเกิดขึ้นในจิตในใจนะ<br />

เราคอยรู้ไป<br />

ถ้าเกิดขึ้นในกาย<br />

รู้ที่กายได้ชัดก็รู้ที่กาย<br />

ความรู้สึก<br />

เช่น ยุงกัดแล้วเจ็บ รู้ว่าเจ็บ<br />

เห็นร่างกายมันเจ็บ<br />

เห็นความเจ็บเป็นส่วนหนึ่งจากร่างกาย<br />

กายกับความเจ็บเป็นคนละอันกัน<br />

จิตที่เป็นคนรู้ว่ามันมีความเจ็บเกิดขึ้น<br />

ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่ง<br />

ต้องหัดอย่างนี้นะ<br />

การเดินปัญญานั้นจะต้องแยกธาตุแยกขันธ์เรื่อยไป<br />

ลาพังภาวนาให้จิตสงบนะมันตื้นเกินไป<br />

ไม่มีพระพุทธเจ้าเขาก็สอนกันได้ สอนสมาธิ<br />

แต่สมาธิเป็นสิ่งที่ควรทานะ<br />

มีประโยชน์ พระพุทธเจ้าไม่ได้ห้าม<br />

ถึงท่านไม่ใช่เป็นต้นบัญญัติการทาสมาธิ แต่ท่านก็เห็นว่ามีประโยชน์ ท่านก็ให้ทา<br />

สวนสันติธรรม<br />

๒๐ กุมภำพันธ์ ๒๕๕๓<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ไดอารี่หมอดู<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

สวัสดีทุกคนที่อ่านไดอารี่หมอดูค่ะ<br />

ไดอำรี่หมอดูประจำฉบับที่<br />

๙๗<br />

โดย หมอพีร์<br />

มิถุนายน ๒๕๕๓<br />

ช่วงนี้ฤดูฝนแล้วดูแลสุขภาพร่างกายด้วยนะคะ<br />

คนไหนรู้สึกร่างกายเหมือนจะ<br />

อ่อนแอลงนิดหน่อย ก็ลองไปทาบุญประเภทปล่อยสัตว์กับทาบุญด้วยยาบ่อย ๆ<br />

ไว้ก่อน จะเป็นสิ่งที่ดีค่ะ<br />

อย่างน้อยก็เป็นเหตุให้เจอหมอดี เจอยาดีในอนาคต<br />

หรือแม้กระทั่งร่วมบริจาคสร้างโรงพยาบาล<br />

หรือเครื่องมือแพทย์ก็ได้นะคะ<br />

ได้ยินรุ่นพี่หลายคนทาบุญกันค่ะ<br />

ตอนนี้หลวงตามหาบัวท่านกาลังสร้างโรงพยาบาล<br />

อยู่<br />

นอกจากตัวโรงพยาบาลเองแล้วยังมีในส่วนของเครื่องแพทย์ด้วยค่ะ<br />

(http://www.luangta.com/info/news_text.php?cginews_id=282&type=)<br />

มีลูกค้าคนหนึ่งอายุประมาณห้าสิบต้น<br />

ๆ เธอมีวิบากเป็นเศษกรรมเรื่องฆ่าสัตว์<br />

และยังมีวิบากกรรมของการลงโทษคนอื่นมาด้วย<br />

วันหนึ่งเธอปวดท้องแบบไม่ทราบ<br />

สาเหตุขึ้นมา<br />

รักษายังไงก็ไม่หาย หมอบอกเลยว่าเธอต้องผ่าตัด ด้วยความที่ก็<br />

เป็นคนธรรมดาที่ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับการแพทย์<br />

เลยจาเป็นต้องเชื่อหมอ<br />

ยอมผ่าตัด<br />

ตามที่คุณหมอบอก<br />

ไม่ได้เกิดความระแวงในตัวหมอคนนี้เลย<br />

ทาให้ไม่ได้ไปเช็ค<br />

ร่างกายเพิ่มเติมที่โรงพยาบาลอื่นอีก<br />

เตรียมตัวผ่าตัดเหมือนที่คุณหมอบอก<br />

หลังจากผ่าตัดเสร็จเธอเล่าว่า เชื่อไหมคะว่า<br />

คุณหมอเดินมาบอกว่าไม่พบอาการ<br />

ผิดปรกติอะไรในช่องท้อง เธอเลยประมาณว่าอ้าปากค้างแบบงง ๆ และไม่รู้จะทา<br />

อย่างไรต่อไปดี โรงพยาบาลเอกชนค่าใช้จ่ายก็แพง แถมยังเจ็บตัวฟรี ๆ ไม่ได้มี<br />

อะไรดีขึ้นเลย<br />

เธอก็เลยถือเป็นการฟาดเคราะห์ครั้งใหญ่<br />

ตัดสินใจไม่ฟ้องกลับ<br />

มันเป็นบทเรียนสาคัญของเธอเลย เหมือนกับว่าคราวหน้าถ้าจะต้องเจ็บตัวขนาดนี้<br />

จะยอมเช็คที่โรงพยาบาลอื่นเพิ่มเติมสักนิดดีกว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

15


16<br />

ดวงเธอตกในปีนั้นพอดีและยังมีดวงสังคมมรณะด้วย<br />

ดวงสังคมมรณะจะทาให้เจอ<br />

คนไม่ดี ไม่เก่งได้ง่าย ๆ มันเป็นจังหวะที่ต้องใช้กรรมของเธอพอดี<br />

จึงเป็นเหตุที่<br />

เธอเจอหมอที่ไม่เก่ง<br />

การที่เราทาบุญด้วยยา<br />

ปล่อยสัตว์ ช่วยคนเจ็บป่วย<br />

สร้างโรงพยาบาล สร้างอาคารผู้ป่วย<br />

บริจาคซื้อเครื่องมือแพทย์<br />

ช่วยออก<br />

ค่าใช้จ่ายให้คนเจ็บป่วย บริจาคเลือด ช่วยคนที่เจออุบัติเหตุ<br />

เวลาที่เราประสบ<br />

เคราะห์กรรม ก็จะมีคนช่วยให้รอดชีวิต หรือได้รับเครื่องอานวยความสะดวกใน<br />

การรับความช่วยเหลือ ทาให้พ้นจากทุกข์ทางร่างกายต่าง ๆ ไปได้<br />

อานิสงส์ในการช่วยคนเจ็บป่วย ช่วยชีวิต หรือช่วยต่ออายุขัยไม่ว่าจะเป็นคนหรือ<br />

สัตว์ ยังมีผลอีกมากมายกว่านี้<br />

เช่น ถ้าเราโชคร้ายเป็นโรคร้าย ต้องเจ็บป่วย<br />

ไม่สบายหรือต้องเจออุบัติเหตุ ย่อมส่งผลให้เป็นไม่หนักมาก รู้ตัวตั้งแต่ต้นทาง<br />

โรคไม่ลุกลามมากขึ้น<br />

ได้พบหมอที่เก่งวินิจฉัยโรคไม่ผิด<br />

ไม่แพ้ยา รักษาหายง่าย<br />

หายไว ไม่มีโรคแทรกซ้อน ไม่ต้องพบทุกข์ทางร่างกายมาก<br />

เคยเจอลูกค้าอยู่สองรายที่ทาบุญแบบนี้ไว้ดีมาก<br />

ส่งผลให้ไม่ได้รับความทรมาน<br />

คนที่หนึ่งเป็นผู้ชาย<br />

ประสบอุบัติเหตุรถที่ขับพลิกคว่าตัวเองกระเด็นออกนอกรถ<br />

ส่งผลให้ได้รับบาดเจ็บหนัก พี่สาวมาช่วยหลังจากนั้นสลบจาอะไรไม่ได้<br />

ทราบอีกที<br />

ตอนฟื้นแล้ว<br />

เขาบอกว่าไม่รู้สึกเจ็บปวดอะไรเลย<br />

วันที่สองนั่งเล่นเกมส์กดได้แล้ว<br />

ไม่อักเสบไม่บวมเพิ่ม<br />

หลังจากนั้นไม่มีรอยแผลหลงเหลือไว้ให้เห็นเลย<br />

เขาบอก<br />

ว่าหมอเก่งมากเย็บโดยไม่เหลือแผลไว้ให้ผมเห็นเลย ลองมองตัวเขาก็ไม่เห็นมีแผล<br />

ใหญ่ มีเพียงร่องรอยขีดข่วนนิดหน่อย ซึ่งไม่บอกก็ไม่รู้<br />

ส่วนคนที่สองเป็นผู้หญิง<br />

เธอเดินข้ามถนนไม่เห็นรถวิ่งมา<br />

รถชนแรงมาก เธอจา<br />

ได้แค่ ว่าเลือดไหลออกหูแล้วก็สลบไป สองสามวันฟื้นขึ้นมาอีกที<br />

มีอาการแค่เจ็บ<br />

หูนิดหน่อย เหมือนหูอื้อ<br />

ๆ ไปเท่านั้นเอง<br />

ไม่รู้สึกทรมานอะไรเลย<br />

พีร์มีประสบการณ์ตรงครั้งหนึ่ง<br />

เคยเหมือนกันค่ะเมื่อก่อนเรียนอยู่ที่อาชีวะลาปาง<br />

ทางกลับบ้านคือหน้าศาลจังหวัดต้องข้ามถนน รถแถวนั้นเขาจะขับไม่เร็วเท่าไหร่<br />

จึงตัดสินใจเดินข้าม แค่จะก้าวขาลงถนนเท่านั้น<br />

มอเตอร์ไซด์ชนโครมตัวลอยตก<br />

อยู่กับพื้น<br />

ชีวิตเหมือนฝัน หันไปมองทางขวาตลอดก็ไม่เห็นมีรถแม้แต่คันเดียว<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ในตอนนั้น<br />

รู้ซึ้งถึงคาว่า<br />

กรรมบังตาจริง ๆ ยังไงก็ไม่เห็นว่ามีมอเตอร์ไซด์ตอนนั้น<br />

เหมือนนอนนิ่งสักพักหนึ่ง<br />

เห็นคนเริ่มเดินมามุงเลยลุกขึ้น<br />

และกรรมจริง ๆ ค่ะ<br />

พี่ผู้หญิงคนที่ชนโวยวายเพื่อปัดความรับผิดชอบทันที<br />

ตอนนั้นเจ็บแค่ขานิดหน่อย<br />

ไม่เป็นไรหายาทาเองได้ เลยไม่อยากมีเรื่องอะไรเลยปล่อยให้เลยตามเลย<br />

เชื่อได้ว่าประสบการณ์ของหลายคนที่ต้องใช้กรรมจะเป็นเหมือนพีร์แน่เลย<br />

ว่ามอง<br />

ไม่เห็นรถที่จะชน<br />

เล่าให้ใครต่อใครฟังเขาก็ไม่เชื่อถามว่าไม่เห็นจริง<br />

ๆ เหรอ<br />

อีกครั้งหนึ่งเกือบเป็นอุบัติเหตุใหญ่เลยเหมือนกัน<br />

คือรถข้าง ๆ เราไม่อยู่ในกระจก<br />

หลัง มองไม่เห็นเลย คนที่ขับรถจะรู้ค่ะ<br />

จะมีบ้างครั้งที่มุมของกระจก<br />

จะมี<br />

จุดบอดทาให้ไม่สามารถเห็นรถคันอื่นได้ในบางจังหวะ<br />

หลายคนคิดว่าการทาบุญแบบนี้จะทาให้ไม่เป็นโรคเลย<br />

ซึ่งไม่ใช่นะคะ<br />

มันเป็นเหตุ<br />

ให้ได้พบหมอที่ดี<br />

ได้ยาดีไม่แพ้ยา โรคไม่กาเริบหนักต่างหาก ไม่ใช่ว่าจะไม่เป็น<br />

โรคเลย กรรมปัจจุบันก็สาคัญนะคะ ต้องดูแลอาหารการกิน ออกกาลังกาย<br />

เป็นสิ่งสาคัญที่สุดสิ่งหนึ่งที่ทาให้เราห่างไกลโรคเหมือนกัน<br />

ในด้านสุขภาพ การออกกาลังกาย ดูแลอาหารการกิน ทาบุญด้วยยา ปล่อยสัตว์<br />

จะเป็นตัวแปรของชีวิตเรามากที<br />

่สุดค่ะ<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

17


18<br />

รายการวิทยุออนไลน์ “คุ้ยแคะแกะกรรมกับหมอพีร์”<br />

ขอเชิญชวนคุณผู้อ่าน<br />

แวะไปร่วมฟังหมอพีร์พูดคุยและคุ้ยแคะแกะกรรม<br />

ในบรรยากาศสบาย ๆ ที่<br />

www.goodfamilychannel.com นะคะ<br />

ท่านที่สนใจพูดคุยกับหมอพีร์ในรายการ<br />

ส่งคาถามมาได้ที่<br />

diarymordo@hotmail.com นะคะ<br />

หรือติดต่อดูดวงกับหมอพีร์ได้ที่<br />

mor-phee@hotmail.com<br />

๐๘๗-๙๓๔-๗๘๗๑ และ ๐๘๖-๓๐๔-๑๙๒๔<br />

๓๗๙๘/๘๓ หมู่บ้านสรานนท์<br />

ซอยลาดพร้าว ๑๐๑<br />

ถ.ลาดพร้าว แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ดังตฤณวิสัชนา ฉบับเปิดกรุ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ถำม - ที่ว่ำพอทำบำปและตกนรกเป็นหมื่น<br />

ๆ ปีนรก ซึ่งเมื่อเทียบกันแล้วเป็น<br />

ล้ำน ๆ ปีของโลกมนุษย์นั้น<br />

คุณดังตฤณมีควำมเห็นอย่ำงไรครับ<br />

เรื่องระยะเวลาต่างภพภูมิ<br />

เป็นสิ่งที่ผมไม่ค่อยแน่ใจครับ<br />

เฉพาะอย่างยิ่งการเปรียบเทียบความยาวนาน<br />

โดยเอาหน่วยเวลาเป็นปีบนโลกเป็นแกนอ้างอิง<br />

คล้ายจะก้ากึ่งอยู่ระหว่างความไม่แน่ใจ<br />

แต่เคยได้ยินหลวงปู่เส็งท่านเล่าให้ฟัง<br />

ว่าท่านเคยเจอเปรตซึ่งเป็นโพธิสัตว์<br />

พลาดท่าไปเป็นหมอทาแท้งอยู่ชาติหนึ่ง<br />

ปรากฏว่าต้องใช้กรรมในร่างเปรตอยู่อย่างนั้น<br />

นับเป็นเวลาประมาณไม่ได้<br />

ที่ท่านเล่าคือเป็นมาจะนับกัปป์แล้ว<br />

ซึ่งก็ไม่ทราบว่าจะกาหนดอายุกัปป์ด้วยจานวนปีเท่าใดของมนุษย์แน่<br />

บางทีการกาหนดเวลาความเป็นอัตภาพหนึ่งๆ<br />

อาจไม่ได้หมายถึงร่างใดร่างเดียวด้วย<br />

เช่นที่หลวงปู่องค์หนึ่ง<br />

เล่าให้ฟังว่าท่านเป็นสุนัขมานับหมื่นชาติติดต่อกัน<br />

หากประมาณเป็นเวลา ก็คงได้หลายหมื่นปี<br />

หรืออาจเป็นแสนปี<br />

ซึ่งก็เหมือนกับที่ท่านว่าไว้<br />

คือถ้าพลาดท่าถอยหลังลงคลองแล้ว ก็ต้องลอยคอในคลอง<br />

หรือเลียบๆคลองไปนานแสนนาน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

19


20<br />

เพราะอัตภาพต่าๆย่อมจูงจิตให้อยู่ในความมืดบอด<br />

มืดหลงอย่างนั้น<br />

จะให้โงหัวขึ้นมาเจอกับกุศลกรรม<br />

คงเป็นไปได้ยาก<br />

มีพระองค์หนึ่งท่านว่าบางทีติดอยู่ในภูมิของลิงอยู่นาน<br />

เหตุผลก็ไม่ใช่อะไร เพราะติดใจรสชาติในกามแบบลิง<br />

ตอนนั้นจาได้ว่าอ่านแล้วสะท้อนใจมาก<br />

เรามองกามของลิงเป็นของต่า<br />

น่าสังเวช<br />

ก็คงไม่ต่างจากที่พระพรหมท่านมองกามของมนุษย์และเทวดาน่าสังเวชอย่างนั้น<br />

แต่เพราะสิ่งน่าสังเวชนั้นเอง<br />

ที่ทาให้ติดหลงอยู่ในชั้นภูมิเดิมของตน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ยารักษาใจ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ปลำหมึกซำซ่ำ<br />

โดย วิลำศินี<br />

ช่วงนี้ต้องลุยงานเขียนบทการ์ตูนเมจิกมิ้งค์ที่ฉายทาง<br />

TPBS ค่ะ<br />

งานหลัก ก็ยุ่งหัวหมุนจนต้องเบรคคนที่เดินมาหาให้ถอยกลับไปก็หลายที<br />

ยารักษาใจ ฉบับนี้เลยชวนน้องของขวัญ<br />

* พากันเปิดกรุ<br />

เอานิทานร้อยกรองที่แต่งกันไว้<br />

เมื่อปีที่แล้ว<br />

แต่ยังไม่เคยเผยแพร่ที่ไหน<br />

หยิบมาให้อ่านคั่นเวลาไปพลางๆ<br />

นะคะ :)<br />

ถัดจากนี้จะไม่พูดพล่ามทา<br />

เพลง<br />

ขออนุญาตบรรเลงเลยนะคะ :)<br />

* หมายเหตุ น้องของขวัญคือดีไซน์เนอร์กิติมศักดิ์<br />

ตั้งแต่งานทาภาพประกอบหนังสือธรรมตามกาล<br />

ช่วยทาสไลด์งาน ignitebkk วาดเมจิกมิ้งค์<br />

น้องซัน และหนูนา และการ์ตูนปลาหมึกซาซ่าเรื่องนี้<br />

ต้องยกเครดิตให้เจ้าตัวทั้งหมด<br />

ที่ทาให้ร้อยกรองของวิลาศินีไม่กี่บรรทัด<br />

เป็นนิทานที่น่าอ่านและ<br />

สว่างไสวขึ้นมาได้ค่ะ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

21


22<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

23


24<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

25


26<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

*ทาโกะสึโบะ หมายถึง<br />

เครื่องมือดักจับปลาหมึกของ<br />

ชาวญี่ปุ่น<br />

มีลักษณะเป็นไห<br />

ปากกลม ให้หัวปลาหมึก<br />

สามารถลอดเข้าไปได้ แต่<br />

เมื่อ<br />

ปลาหมึกไปพองตัวอยู่<br />

ข้างใน จะไม่สามารถออก<br />

มาได้เพราะติดหัวและหนวด


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

27


28<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

29


30<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

31


32<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ธนาคารความสุข<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

เครื่องบินหลำกสี<br />

โดย aston27<br />

ผมได้รับโอกาสให้ไปพูดในงาน Ignite Thailand เมื่อไม่นานมานี้เองครับ<br />

แนวคิดของงานครั้งนี้<br />

เขาเน้นเรื่องความคิดบวก<br />

ผมนั่งนึกอยู่นานหลายวัน<br />

ว่าจะพูดอะไร นึกวนไปเรื่องโน้น<br />

กระโดดมาเรื่องนี้<br />

ก็ยังไม่ลงตัวสักที<br />

แต่จู่ๆ<br />

ก็ได้รับ Fwd mail จากพี่สาวผมฉบับหนึ่ง<br />

เป็น Fwd mail ที่เคย<br />

ได้รับครั้งหนึ่งเมื่อนานมาแล้ว<br />

เป็นภาพของเครื่องบินของสายการบินต่างๆ<br />

ที่ผม<br />

รู้จักบ้าง<br />

ไม่รู้จักบ้าง<br />

เคยขึ้นบ้าง<br />

ไม่เคยบ้าง<br />

ครั้งนี้ผมมองดูรูปเครื่องบินหลากสี<br />

หลายลวดลายเหล่านี้<br />

ด้วยมุมมองที่ต่าง<br />

ออกไป และมีความคิดบางอย่างถูกจุดประกายขึ้น<br />

ถ้าลองสังเกตให้ดี ก็อาจเห็น<br />

บางสิ่งที่ซ่อนอยู่ภายใต้สีสันลวดลายที่สวยงามของเครื่องบินเหล่านี้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

33


34<br />

ความจริงอย่างแรกที่ผมเห็นคือ<br />

เครื่องบินนั้นแรกเริ่มเดิมที<br />

มันไม่ได้มีสีสันอะไร<br />

หรอกครับ มันก็เป็นเหล็กเปลือยๆ เหมือนๆ กัน สีสันที่มันมี<br />

ล้วนแต่ถูกปรุงแต่ง<br />

ขึ้นตามจินตนาการและความต้องการของมนุษย์<br />

ว่าโดยย่อ มนุษย์คือผู ้สร้างอัตตาตัวตนของเครื่องบิน<br />

เหมือนที่มนุษย์ทากับตัวเอง<br />

ความจริงต่อมาที่ผมเห็นคือ<br />

ตอนเกิดมา เครื่องบินเขาไม่ได้เลือกหรอกนะครับ<br />

ว่าเขาจะเกิดมาเพื่อทาอะไร<br />

ไม่ได้บอกว่าจะมาเพื่อทาลาย<br />

เป็นเครื่องบินโจมตี<br />

ทิ้งระเบิด<br />

หรือเพื่อสรรค์สร้างสิ่งที่ดีให้กับโลก<br />

เช่น บินผาดโผน สร้างความบันเทิง<br />

ให้ผู้คน<br />

หรือขนส่งสิ่งของบรรเทาทุกข์ให้กับผู้คนที่ประสบเหตุเภทภัยต่างๆ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ทั้งหมด<br />

ล้วนแต่เป็นภารกิจ ที่ถูกกาหนดโดยมนุษย์<br />

ผมเปรียบว่า มนุษย์เป็น<br />

คนสร้างตัวตนให้เครื่องบินแต่ละลา<br />

และใช้เครื่องบินสร้างกรรมใหม่ขึ้นมา<br />

เหมือน<br />

ที่มนุษย์สร้างตัวตนหรือเปลือกของตัวเองขึ้นมาและสร้างกรรมให้ชีวิตตัวเอง<br />

ผมนึกสนุกต่อไปว่า สมมติเครื่องบินลาหนึ่งเป็นเสมือนชีวิตของบุคคลหนึ่ง<br />

หรือ<br />

กลุ่มหนึ่งในสังคม<br />

มันก็น่าสนใจนะครับว่า เครื่องบินลาหนึ่งจะสามารถบินไปสู่จุด<br />

สูงสุดได้ที่ตรงไหน<br />

ภายใต้อัตภาพของความเป็นมนุษย์ Abraham Maslow เคยนาเสนอแนวคิด<br />

ทฤษฎีว่าด้วยลาดับขั้นความต้องการของมนุษย์<br />

ไว้ในรูปของพีระมิด ตั้งแต่ขั้น<br />

พื้นฐานไปจนถึงขั้นสูงสุด<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

35


36<br />

มาสโลว์เรียกยอดสุดของพีระมิดว่า Self Actualization หรือการตระหนักรู ้ถึง<br />

ความจริง ว่าด้วยตัวตนของเราเอง ผมสรุปซื่อๆ<br />

ว่า มาสโลว์กาลังบอกว่า คนเรา<br />

จะมีความสุขอย่างแท้จริง ก็ต่อเมื่อเราได้รู้จักตัวตนที่แท้จริงของเรานั่นแหละ<br />

สิ่งที่มาสโลว์นาเสนอไม่ใช่ของใหม่แต่อย่างใด<br />

เพราะ ๒,๕๐๐ กว่าปีก่อน<br />

พระพุทธเจ้าเคยสอนวิธีการเรียนรู้ความจริงว่าด้วยตัวตนของมนุษย์ไว้ใน<br />

มหาสติปัฏฐานสูตร บอกขั้นตอน<br />

วิธีการและผลลัพธ์ไว้เสร็จสรรพ ที่เรารู้จักกันใน<br />

ชื่อว่า<br />

“วิปัสสนา”<br />

นิยามที่แท้จริงของวิปัสสนา<br />

ซึ่งยังเป็นที่เข้าใจคลาดเคลื่อนอยู่มาก<br />

ว่าโดยย่อก็<br />

คือ การพัฒนาสติให้เจริญขึ้น<br />

จนสามารถเห็นความจริงของกายและใจ เห็นว่าความ<br />

เป็นตัวตนที่แท้จริงไม่มี<br />

ที่มีอยู่เป็นแค่เปลือก<br />

เป็นสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาด้วยความคิด<br />

อีกทั้งยังไม่เที่ยง<br />

ไม่ทนอีกต่างหาก<br />

วิธีที่เราจาแนก<br />

แยกแยะ แจกแจง ตัวตนของมนุษย์ออกเป็นส่วนๆ เพื่อ<br />

ทาลายความหลงผิดว่ามีตัวตน เรียกว่า วิภัชชวิธี เพื่อให้เห็นภาพผมจะใช้วิธีจาแนก<br />

แยกแยะ แจกแจง สิ่งที่เราเชื่อว่านี่คือเครื่องบิน<br />

เราจะเริ่มด้วยการสมมติว่า<br />

ถ้าเราถอดเครื่องบินออกเป็นส่วนๆ<br />

อย่างที่เห็นใน<br />

ภาพต่อไปนี้<br />

เราจะเห็นอะไรครับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เราเห็นแต่เครื่องยนต์<br />

หน้าปัด มาตรวัดต่างๆ แต่เราไม่เห็นเครื่องบิน<br />

ใช่ไหม<br />

หรือพิจารณาเห็นล้อเครื่องบิน<br />

ล้อก็เป็นล้อ ไม่ใช่เครื่องบิน<br />

เก้าอี้ที่นั่ง<br />

ก็ไม่ใช่<br />

เครื่องบิน<br />

ถ้าเห็นเป็นส่วนๆ อย่างนี้<br />

ก็พอเห็นได้ว่าเครื่องบินไม่ได้มีตัวตนจริงๆ<br />

มันเป็น<br />

ผลจากส่วนประกอบหลายๆ ส่วนที่ถูกยึดเชื่อมเข้าไว้ด้วยกันต่างหาก<br />

คล้ายกับตัวตนของมนุษย์ ที่ในทางพุทธ<br />

เราพูดกันบ่อยๆ ว่าไม่ได้มีจริงนะครับ<br />

มันเป็นแค่องค์ประชุมของส่วนต่างๆ อันได้แก่ กาย ส่วนหนึ่ง<br />

กับจิตใจอีกสี่ส่วน<br />

ซึ่งการจะเห็นว่าส่วนต่างๆ<br />

มันแยกเป็นคนละส่วนกันจริงๆ เราอาศัยสติ รู้กาย<br />

รู้ใจ<br />

ลงไปตามที่มันเป็นจริง<br />

ณ ปัจจุบัน ด้วยจิตที่ตั้งมั่น<br />

และเป็นกลาง<br />

อันนี้ตรงกับสิ่งที่มาสโลว์บอกครับ<br />

ว่า Self Actualization เป็นเรื่องของปัญญา<br />

(Creativity) เป็นการมีชีวิตอยู่กับปัจจุบัน<br />

(Spontaneity) การรู้หรือยอมรับตาม<br />

ความจริง (Acceptance of Facts) ด้วยความเป็นกลาง (Lack of Prejudice)<br />

การมีสีสัน อัตตาตัวตนที่แตกต่างกัน<br />

เป็นสิ่งธรรมดาของโลกนะครับ<br />

ตราบใด<br />

ที่เรายังมีอัตตา<br />

ก็ยังมีตัวตน เพียงแต่ถ้ารู้ทันว่าอะไรเป็นเปลือกเป็นสีสัน<br />

อะไรเป็น<br />

แก่นเป็นเนื้อแท้<br />

อะไรคือสาระ อะไรคือของชั่วคราวที่ลวงตา<br />

เราจะมองโลกใบเดิม<br />

และผู้คนเดิมๆ<br />

กระทั่งชีวิตตัวเอง<br />

ด้วยสายตาที่เปลี่ยนไป<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

37


38<br />

อย่างน้อยผมก็หวังว่า วันนี้ผมคงได้ช่วยจุดประกายให้เรามองข้ามเส้นแบ่งแยก<br />

ของอัตตาของมนุษย์ เห็นคนที่มีเปลือกหรือสีสันที่ต่างจากเรา<br />

ด้วยใจที่เป็นมิตร<br />

และเมตตามากขึ้น<br />

และขอให้พบความพอดีในการอยู่ร่วมกันบนโลกของความ<br />

แตกต่างกันต่อไปนะครับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


สัพเพเหระธรรม<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ตอนที่<br />

4<br />

เป้ำหมำยแผนสอง<br />

แผนสอง (inochi no poka-yoke)<br />

โดย malimali<br />

ลองทบทวนเรื่องราวทั้งหลายในชีวิตเราดู<br />

เราจะพบว่า มันเป็นธรรมดา<br />

ที่เราจะรู้สึกว่า<br />

อยากได้บางอย่าง ไม่อยากได้บางอย่าง<br />

บางเรื่องไม่ควรเอา<br />

ก็ยังจะเอาอยู่นั่นแหละ<br />

หรือบางเรื่องไม่อยากเอา<br />

มันก็สะบัดไม่หลุดสักที<br />

เราจะเอาไปทาไม?<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

39


40<br />

คาตอบก็คือ<br />

ก็เอามาเป็นของเราไงล่ะ!<br />

โอ้โห ทำไมฟังดูกำปั้นทุบดินยิ่งกว่ำเดิมอีกล่ะ?<br />

จะเอำ ก็ต้องเอำเป็นของเรำอยู่แล้ว<br />

จะบอกทำไม?<br />

ความรู้สึกที่เป็น<br />

“ของเรา” หรือ “ไม่ใช่ของเรา” นี่<br />

มันเป็นยังไง<br />

ไม่ต้องมานั่งอธิบายกันให้ยืดยาว<br />

เพราะความรู้สึกนี้<br />

มันฝังลึกราวกับสลักลงในดีเอ็นเอกันเลยทีเดียว<br />

สาหรับใครที่อยากจะแน่ใจว่า<br />

ความเป็น “ของเรา” ในที่นี้เป็นอย่างไร<br />

ก็ลองดูอย่างนี้ก็แล้วกัน...<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ลองนึกสถานการณ์ง่ายๆขึ้นมาหนึ่งเรื่อง<br />

สมมติว่า เป็นเรื่องอกหักเรื่องหนึ่ง...<br />

ถ้าเกิดกับคนไม่รู้จัก<br />

เราจะรู้สึกว่า<br />

เป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้น<br />

ในโลกนี้<br />

ถ้าเกิดกับเพื่อนหรือคนใกล้ชิด<br />

เราจะรู้สึกอิน<br />

เห็นใจเขา ในระดับหนึ่ง<br />

ตามความสนิท<br />

แต่ถ้ำเกิดกับตัวเอง<br />

เรำจะอิน มำกที่สุด<br />

สิ่งที่แตกต่างในเรื่องเดียวกัน<br />

ไม่ใช่เป็นเพราะเรารู้เรื่องของเรำละเอียดที่สุด<br />

แต่เป็นเพราะเราให้ความสาคัญกับเรื่องของเรำ<br />

มากกว่าเรื่องของคนอื่น<br />

ที่เรามองว่า<br />

ไม่ใช่เรื่องของเรำ<br />

ทีนี้เริ่มเห็นความเป็น<br />

“ของเรำ” บ้างแล้วใช่<br />

ไหมล่ะ?<br />

เรื่อง<br />

“ของเรา” มันก็คือเรื่องนี้แหละ<br />

และเรากาเรากาทุกข์เสมอๆ ถ้าเราไม่ได้สังเกต<br />

มันให้ดี<br />

เหมือนกับเราทางานเสียภาษีให้กับประเทศ<br />

โดยที่เราไม่เคยตั้งคาถามว่าประเทศคืออะไร<br />

ใครควบคุมดูแลอยู่<br />

เอาเงินภาษีเราไปทาอะไร<br />

บ้าง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

41


42<br />

ความเชื่อมั่นในประเทศนี้<br />

ทาให้เรามีความสุข หรือมีความเดือดร้อนอะไรบ้าง<br />

อย่าปล่อยให้มันตรวจสอบเรา<br />

ว่าเรายังทาตามคาสั่ง<br />

ทาตามกฎที่มันตั้งไว้อยู่หรือเปล่า<br />

เราต้องตรวจสอบมันกลับไป<br />

ตั้งแต่เกิดมา<br />

เราก็ได้รับการสั่งสอนว่า<br />

นี่คือของเรา<br />

นี่เป็นของเรา<br />

ตั้งแต่ยังจาความไม่ได้<br />

ร่างกายของเรา พ่อแม่ของเรา ครอบครัวของเรา<br />

แฟนของเรา สามีภรรยาของเรา ลูกของเรา<br />

เงินของเรา ทรัพย์สินของเรา บ้านของเรา รถของเรา<br />

รวมไปถึง ใจของเรำ ด้วย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


โดยธรรมชาติ เรามักแปลคาว่า “ของเรา”<br />

ในเรื่องของการครอบครอง<br />

การควบคุม<br />

มีสิทธิที่จะทาให้เป็นไปตามที่ใจต้องการ<br />

แฟนของเรา ลูกของเรา พ่อแม่ของเรา<br />

โรงเรียนของเรา บ้านของเรา ร้านของเรา<br />

งานของเรา ความฝันของเรา โครงการของเรา<br />

ความคิดของเรา อารมณ์ของเรา เรื่องราวต่างๆของเรา<br />

การเป็น “ของเรา” จึงเต็มไปด้วยความคาดหวัง<br />

การยึดแน่นทางอารมณ์<br />

เมื่อเราพบว่า<br />

สิ่งที่เป็น”ของเรา”<br />

เกิดมีอะไรไม่ถูกใจ”ของเรา”ขึ้นมา<br />

เมื่อสิ่งที่เราต้องการมาเป็นของเรา<br />

มันยังไม่เป็น “ของเรา” แบบนั้น<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

43


44<br />

เมื่อเราพบว่าสิ่งที่เป็น<br />

“ของเรา” มันจะไม่กลายเป็น “ของเรา” แล้ว<br />

เราจึงต้องทาอะไรสักอย่างเพื่อให้เป็นไปตามที่เราว่าควรจะเป็น<br />

แต่ ถ้าจะให้พูดว่า มันไม่ใช่ของเราๆอยู่ท่าเดียว<br />

เป็นนกแก้วนกขุนทอง<br />

เราก็ไม่เก็ตหรอก นกแก้วนกขุนทองก็คงจะบอกว่าไม่เก็ตเหมือนกัน<br />

ก็แน่นอน<br />

ที่ใจมันยังปฏิเสธ<br />

ก็เพรำะเห็นๆอยู่ทนโท่<br />

รู้สึกอยู่ชัดๆ<br />

ว่ำเป็น “ของเรำ”<br />

ทาไม “ของเรา” จึงสาคัญนักล่ะ?<br />

คาตอบที่ทุบดินรอบที่สามก็คือ<br />

“การมีของเรา” ทาให้ “การมีเรา” ชัดเจน มีตัวมีตน!<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เราอาจจะคิดแย้งว่า เราก็มีเรา<br />

อยู่ของเรามาตั้งแต่เกิดอย่างนี้อยู่แล้ว<br />

แล้วจะทาไมล่ะ<br />

มันไม่ใช่เรื่องปรกติที่ใครๆเขำก็มีตัวตนของตัวเองเหรอ?<br />

ให้ละคาว่า ใครๆก็มีตัวตนเป็นของตัวเอง เป็นเรื่องปรกติไว้ก่อน<br />

แล้วมาคิดดูว่า เคยไหมที่รู้สึกว่า<br />

ลุกลน ต้องทาอะไรสักอย่าง เพื่อตอบสนองอะไรสักอย่าง<br />

ลุกลน เมื่อมีคนมองเราไม่ดี<br />

เคว้งคว้าง ไม่รู้ว่าต้องการอะไรต่อไป<br />

เคว้งคว้าง เหมือนขาดอะไรไปก็ไม่รู้<br />

ไร้คุณค่า เมื่อชีวิตไม่ได้สิ่งนั้นสิ่งนี้อย่างที่ต้องการ<br />

ไร้คุณค่า เมื่อไม่มีอะไรต่อมิอะไรให้ใครเห็น<br />

ไร้คุณค่า ไม่มีใครเข้าใจ<br />

ไร้คุณค่า ไม่มีใครเห็นสิ่งที่เราทา<br />

ไร้คุณค่า ไม่มีใครเห็นสิ่งที่เรามี<br />

ไร้ตัวตน เมื่อไม่มีใครมาสนใจ<br />

ไร้ตัวตน ไม่มีคนคุยด้วย ไม่มีใครเหลียวแล<br />

ไร้ตัวตน ไม่มีที่ยืนในสังคม<br />

เหล่านี้แหละ<br />

เรากลัวว่า ความเป็นเรา มันจะหายไป<br />

แล้วมันทุกข์ไหมล่ะ?<br />

มันทาให้เราต้องหาหลักฐาน หาทรัพย์สิน สิ่งของ<br />

หาคนที่จะอยู่กับเรา<br />

หาคนที่สนใจเรา<br />

หาความรัก ความเข้าใจ ความปรารถนาดี การชื่นชมสรรเสริญ<br />

ซึ่งเป็นเครื่องยืนยันว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

45


46<br />

“เรา” มีที่ยืนอยู่บนโลกนี้จริงๆ<br />

แล้วมันทุกข์ไหมล่ะ?<br />

และการหาที่ยืนบนโลกนี้แหละ<br />

ที่เป็นเครื่องยืนยันกลับอีกชั้นหนึ่งว่า<br />

มี “การมีเรา” อยู่<br />

เพราะถ้าไม่มี “เรา”<br />

เราก็ไม่ต้องหาที่ยืนอะไรให้เมื่อยกายเมื่อยใจ<br />

แต่มันมี “เรา” ไปแล้วนี่สิ<br />

ก็เลยต้องเมื่อยกันอยู่อย่างนี้<br />

แล้วมันทุกข์ไหมล่ะ?<br />

การมี “เรา” จึงเป็นตาน้าต้นสาย<br />

ในการที่ทาให้การเอา<br />

– ไม่เอา มาเป็นของเรา<br />

เป็นเรื่องสลักสาคัญระดับชีวิต<br />

เราอยากยืนยันกับโลกนี้<br />

และคนอื่นๆว่า<br />

เรามีตัวตน<br />

และเป็นตัวตนที่ชัดเจน<br />

สวยงาม<br />

เราเลือกตัวตนในแบบที่ชอบได้<br />

มีแต่สิ่งที่เราพึงพอใจมาครอบครองได้<br />

เรำก็จึงดึงเอำแต่สิ่งที่พึงพอใจเข้ำตัว<br />

นี่แหละ<br />

ฉันเอง ตัวตนของฉัน<br />

และคงไม่มีใครอยากจะเป็นคนโง่ คนอัปลักษณ์<br />

อับโชคด้านการเงินการงาน อับเฉาเรื่องสุขภาพ<br />

เพราะนั่นคือสิ่งที่เราไม่พึงพอใจ<br />

ไม่อยากได้<br />

เราไม่อยากยอมรับกับโลกว่า<br />

เรามีสิ่งยี้ๆเหล่านี้อยู่เป็นส่วนหนึ่งของเรา<br />

เรำก็จึงผลักไสไล่ส่งสิ่งที่ไม่พึงพอใจออกจำกตัว<br />

ไม่น่ะ นี่ไม่ใช่ชั้น<br />

ไม่ใช่ของช้ำนนน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เมื่อมี<br />

“เรา” เช่นนี้<br />

จึงมีศูนย์กลางในการผลักออก หรือดึงเข้า<br />

ตามความความต้องการ – ไม่ต้องการ ที่เกิดขึ้น<br />

แล้วถ้ำในโลกนี้มี<br />

สอง “เรำ” ล่ะ?<br />

แล้วถ้ำ สำม “เรำ” ล่ะ?<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

47


48<br />

เอาเข้าจริง ในโลกจริงๆมีไม่รู้ตั้งกี่ล้าน<br />

“เรา”<br />

โอ้โฮ ยุ่งจนจินตนาการไม่ถูกเลยล่ะ<br />

แต่...<br />

ถ้าให้สมมติว่า ในโลกนี้มี<br />

“เรา” อยู่คนเดียว<br />

ก็ใช่ว่า จะสุขสมปรารถนา<br />

เอาทุกอย่างมาครอบครองได้สมใจอยากซะที่ไหนกัน?<br />

แค่ดินฟ้าอากาศ ก็ควบคุมให้เป็นอย่างใจไมได้แล้ว<br />

แถมยังจะเหงาเงก ผลักเหงาขนาดไหนมันก็ไม่ไป<br />

ไม่มีคนอื่นมารับรู้ว่าเรามีตัวตนอยู่ในโลกนี้ด้วยอีกต่างหาก<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เห็นหรือยัง?<br />

มันเป็นเพราะ “เรา” จริงๆเลยน้อออ<br />

กาปั้นทุบดินแรก<br />

เราชอบความรู้สึกสุข<br />

ไม่ชอบความรู้สึกทุกข์<br />

กาปั้นทุบดินสอง<br />

เราเอานู่น<br />

เอามี เพื่อเอามาเป็นของเรา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

49


50<br />

กาปั้นทุบดินสาม<br />

การเอามาเป็นของเรา ทาเพื่อยืนยันการมีตัวตน<br />

คาตอบกาปั้นทุบดินทั้งสาม<br />

ช่วยให้เราค้นพบเป้าหมายตัวจริง สาหรับแผนสอง อย่างนี้แหละ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


อ่านย้อนหลังได้ที่นี่<br />

ตอนที่<br />

๑<br />

ตอนที่<br />

๒ – ๓<br />

ตอนที่<br />

๔<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

51


ร่วมส่งบทความ<br />

นิตยสาร เล่ม นี จะ ้ เป็น นิตยสาร คุณภาพ ได้ ก็ ด้วย เนื้อหา<br />

ดี ๆ ภายใน ฉบับ ที่<br />

จัดสรร ลง อย่าง ต่อ เนื่อง<br />

นะ คะ<br />

หาก คุณ ผู้<br />

อ่าน ท่าน ใด มีค วาม สามารถ ใน การ เขียน มี<br />

ศรัทธา และ ความ เข้าใจ ใน คำา สอน ของ พุทธ ศาสนา ไม่<br />

ว่า จะ ใน ระดับ เบื้องต้น<br />

เบื้อง<br />

กลาง หรือ เบื้อง<br />

ปลาย<br />

และ มี ใจ รัก ที อยาก ่ จะ สื่อสาร<br />

ถ่ายทอด สิ่ง<br />

นั้น<br />

ให้ กับ ผู อื ้ ่น<br />

ได้ ทราบ และ ได้ ประโยชน์ จาก สิ่ง<br />

เหล่า นั้น<br />

เช่น เดียว กับ<br />

ที่<br />

เรา อาจ เคย ได้ รับ จาก ผู้<br />

อื่น<br />

มา แล้ว ก็ ขอ เชิญ ทุก ท่าน<br />

ส่ง บทความ มา ร่วม เป็น ส่วน หนึ่ง<br />

ของ <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ด้วย กัน นะ คะ<br />

คุณ อาจ ไม่ จำาเป็น ต้อง เป็น นัก เขียน ฝีมือ เลิศ แต่ หาก มี<br />

ใจ ที่<br />

คิด อยาก จะ ถ่ายทอด มี สิ่ง<br />

ที่<br />

คิด ว่า อยาก แบ่งปัน<br />

ความ รู้ความ<br />

เข้าใจ นั้น<br />

ให้ กับ คน อื่น<br />

ๆ ก็ ลอง เขียน ส่ง<br />

เข้า มา ได้ เลย ค่ะ<br />

<br />

๑. คอ ลัมน์ที่<br />

เปิด รับ บทความ<br />

คอลัมน์: ธรรมะ จากคนสู้กิเลส<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส ให้ คุณๆ ได้ เล่า ประสบการณ์ จริง<br />

ของ ตน เอง ว่า ผ่าน อะไร มา บ้าง มี อะไร เป็น ข้อคิด ที เป็น ่<br />

ประโยชน์ บ้าง อะไร ทำาให้ คน ธรรมดา คน หนึ่ง<br />

กลาย<br />

เป็น คน ดี ขึ้น<br />

มา และ ทำาให้ คน มี กิเลส เยอะ กลาย เป็น<br />

คน กิเลส บาง ลง ได้ มี แต่ คน ที่<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ตัว เอง แล้ว<br />

เท่านั้น<br />

จึง จะ เขียน ธรรมะใกล้ ตัว ได้ สำาเร็จ<br />

คอลัมน์: นิยาย/เรื่องสั้นอิง<br />

ธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส กว้าง สำาหรับ คน ที่<br />

ชอบ คิด ชอบ<br />

เขียน โดย เฉพาะ อดีต นัก ฝัน ที่<br />

เพิ่ง<br />

ผัน ตัว มา อยู่<br />

ใน<br />

โลก ธรรมะ เพื่อ<br />

สร้างสรรค์ เรื่องราว<br />

ให้ คน ได้ ข้อคิด ข้อ<br />

ธรรม ผ่าน ความ สนุก ของ รูป แบบ นิยาย หรือ เรื่องสั้น<br />

ได้ อย่าง เพลิดเพลิน<br />

คอลัมน์: คำาคมชวน คิด<br />

เนื้อหา:<br />

รวบรวม ข้อคิด หรือ คำาคม ของ บุคคล ต่าง ๆ<br />

ที่<br />

เคย ได้ยิน มา แล้ว สะดุดใจ มาบ อก ต่อ ยิ่ง<br />

ถ้า ใคร<br />

สามารถ สร้างสรรค์ วรรค ทอง ได้ เอง ยิ่ง<br />

ดี เพราะ จะ<br />

ได้ ฝึก ริเริ่ม<br />

วลี สะดุดใจ ซึ่ง<br />

เป็น แม่บท ของ กรรม ที ทำาให้ ่<br />

มีค วาม คิด สร้างสรรค์ ได้ อย่าง สุด ยอด เนื่องจาก<br />

แง่ คิดดีี<br />

ๆ จะ ช่วย ให้ คน อ่าน คิด ดี หรือ ได้คิด เพื่อ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ชีวิต วิบาก ที ย้อน ่ กลับ มาส นอง ตอบแทน<br />

คุณ ก็ คือ การ ผุด ไอ เดียเหมือน น้ำาพุ<br />

ไม่ รู้<br />

จบ รู้<br />

สิ้น<br />

กับ ทั้ง<br />

เป็น ที่<br />

ยอม รับ ใน วง กว้าง ด้วย<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

หรือ แปล มา จาก<br />

ภาษา อังกฤษ กรุณา ระบุ แหล่ง ที่มา<br />

หรือ ชื่อ<br />

ของ บุคคล<br />

ผู้<br />

เป็น เจ้าของ คำาคม ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: สัพเพเหระธรรม<br />

เนื้อหา:<br />

เรื่องราว<br />

เรื่อง<br />

เล่า อาจ มา จาก ฉาก หนึ่ง<br />

ใน<br />

ชีวิต ของ คุณ ที่<br />

มี เกร็ด ข้อคิด ทาง ธรรม หรือ ข้อคิด ดี ๆ<br />

อันเป็น ประโยชน์ อาจ เป็น เรื่อง<br />

เล่า สั้น<br />

ๆ ใน รูป แบบ ที่<br />

เสมือน อ่านเล่น ๆ แต่ อ่าน จบ แล้ว ผู อ่าน ้ ได้ เกร็ด ธรรม<br />

หรือ ข้อคิด ดี ๆ ติด กลับ ไป ด้วย<br />

คอลัมน์: กวีธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

พื้นที่<br />

ที่<br />

เปิด กว้าง สำาหรับ กวี ธรรมะ ทั้งหลาย<br />

โดย ไม่ จำากัด รูป แบบ และ ความ ยาว ของ บท กวี หรือ<br />

หาก จะ คัด เอา บท กวี ที่<br />

น่า ประทับใจ ให้ แง่ คิด อะไร<br />

ใน เชิง บวก ก็ สามารถ นำา มา ลง ได้ เช่น กัน แต่ ถ้า ให้ ดี<br />

กลั่นกรอง<br />

ออก มา ด้วย ตน เอง ได้ ก็ ยิ่ง<br />

ดี ค่ะ<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

ต้อง ระบุ ที่มา<br />

ที่<br />

ไป อย่าง ชัดเจน ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: เที่ยววัด<br />

เนื้อหา:<br />

รับ หมด ไม่ ว่า จะ เป็น วัด สวย หรือ สถาน ที่<br />

ปฏิบัติธรรม ข้อมูล ข่าวสาร จาก ทั่ว<br />

ประเทศ นั้น<br />

ไม่ มี<br />

วัน ที่<br />

ใคร คน เดียว จะ รู้<br />

ได้ หมด ถ้า ช่วย เป็น หู เป็น ตา ให้<br />

แก่ กัน ก็ คง จะ มี ประโยชน์ อย่าง มหาศาล<br />

กติกา: นอกจาก ข้อมูล เกี่ยว<br />

กับ สถาน ที่<br />

บรรยากาศ<br />

ปฏิปทา ฯลฯ ของวัด แล้ว ต้อง ขอ รบกวน ส่ง ภาพ<br />

สวย ๆ มา ประกอบ บทความ อีกทั้ง<br />

ไม่ พา ชม หรือ<br />

แทรก ธรรมะ ด้าน การปฏิบัติ ที่<br />

ขัดแย้ง กับ แนวทาง ของ<br />

นิตยสาร นะ คะ<br />

คอลัมน์: ธรรมะปฏิบัติ<br />

เนื้อหา:<br />

ร่วม บอก เล่า ประสบการณ์ จริง ประสบการณ์<br />

ตรง จาก การ ปฏิบัติธรรม เพื่อ<br />

เป็น ทั้ง<br />

ธรรม ทาน และ


เป็น ทั้ง<br />

กำาลังใจ สำาหรับ ผู้<br />

ที่<br />

กำาลัง ร่วม เดินทาง อยู่<br />

บน<br />

เส้น อริยมรรค เส้น เดียวกัน นี้<br />

คอลัมน์: ของ ฝากจากหมอ<br />

เนื้อหา:<br />

นำา เสนอ ข่าวสาร ใน วงการ แพทย์ หรือ<br />

สาระ น่า รู้<br />

อันเป็น ประโยชน์ เกี่ยว<br />

กับ สุขภาพ ที่<br />

คน<br />

ทั่วไป<br />

สนใจ หรือ นำา ไป ใช้ได้ เพื่อ<br />

เป็น วิทยาทาน ให้ กับ<br />

ผู้อ่าน<br />

จาก แง่มุม ต่าง ๆ ทีแพทย์<br />

่ แต่ละ แขนง มีค วาม รู้<br />

ความเชี่ยวชาญ<br />

ต่าง ๆ กัน<br />

กติกา:<br />

• หาก เป็น บทความ ที่<br />

แนะนำา ให้ มี การ ทดลอง กิน<br />

ยา หรือ แนะนำา ให้ ผู้<br />

อ่าน ปฏิบัติ ตาม ด้วย ขอ<br />

จำากัด เฉพาะ ผู้<br />

เขียน ที่<br />

เป็น ผู้<br />

เรียน หรือ ทำา งาน<br />

ใน สาขา วิชาชีพ ที่<br />

เกี่ยวข้อง<br />

เท่านั้น<br />

เพื่อ<br />

ป้องกัน<br />

การ นำาเสนอ ข้อมูล ที คลาดเคลื ่ ่อน และ อาจ ส่งผล<br />

ต่อ ผู้<br />

อ่าน ได้ ค่ะ<br />

• หาก นำา เสนอ ประเด็น ที่<br />

ยัง เป็น ที่<br />

ถกเถียง อยู่<br />

ใน<br />

วงการ แพทย์ ขอ ให้ มี การ อ้างอิง ด้วย เช่น มา<br />

จาก งาน วิจัย ชิ้น<br />

ไหน หรือ หาก เป็น เพียง ความเห็น<br />

ส่วนตัว ของ หมอ ก็ กรุณา ระบุ ให้ ชัดเจน ด้วย ค่ะ<br />

<br />

๒. อ่าน สัก นิด ก่อน คิด เขียน<br />

เนื่องจาก<br />

ใน แต่ละ สัปดาห์ มี งาน เขียน ส่ง เข้า มา เป็น<br />

จำานวน มาก ชิ้น<br />

ขึ้น<br />

เรื่อย<br />

ๆ ดังนั้น<br />

เพื่อ<br />

เป็นการ ช่วย ลด<br />

เวลา และ ลด ภาระ ให้ กับ อาสา สมัคร ใน การ เข้า มา<br />

ช่วยกัน คัดเลือก และ พิสูจน์ อักษร ของ ทุก บทความ<br />

ต้อง ขอ รบกวน ผู ส่ง ้ บทความ เรียบเรียง งาน เขียน ตาม<br />

แนวทาง ดังนี้<br />

ด้วย นะ คะ<br />

๒.๑ ตรวจ ทาน คา ถูก ผิด ให้ เรียบร้อย<br />

ก่อน ส่ง บทความ รบกวน ผู เขียน ้ ทุก ท่าน ช่วย ตรวจ ทาน<br />

ให้ แน่ใจ ก่อน นะ คะ ว่า ไม่ มี จุด ไหน พิมพ์ ตกหล่น พิมพ์<br />

เกิน พิมพ์ ผิด พลาด หรือ เขียน ตัวสะกด ไม่ ถูก ต้อง ผ่าน<br />

สายตา ของ ผู้<br />

เขียน แล้ว<br />

หาก ไม่ แน่ใจ ตัวสะกด ของ คำา ไหน สามารถ ตรวจ สอบ<br />

ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เลย ค่ะ<br />

เว็บ เครือ ข่าย พจนานุกรม ราชบัณฑิต ยสถาน<br />

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html<br />

๒.๒ จัด รูป แบบ ตาม หลัก งาน เขียน ภาษา ไทย<br />

เพื่อให้<br />

ทุก บทความ มี ลักษณะ ของ การ จัด พิมพ์ ที่<br />

สอดคล้อง กัน ขอ ให้ ใช้ การ จัด รูป แบบ ใน ลักษณะ ดังนี้<br />

นะ คะ<br />

• เครื่องหมาย<br />

คา ถาม (?) และ เครื่องหมาย<br />

ตกใจ (!)<br />

เขียน ติดตัว หนังสือ ด้านหน้า และ วรรค ด้าน หลัง<br />

เช่น “อ้าว! เธอ ไม่ ได้ ไป กับ เขา หรอก หรือ? ฉัน<br />

นึก ว่า เธอ ไป ด้วย เสีย อีก ”<br />

• การ ตัด คา เมื่อ<br />

ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่<br />

สำาหรับ คน ที่<br />

นิยม เขียน แบบ เคาะ [Enter] เพื่อ<br />

ตัด ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่ แทน การ รวบ คำา อัตโนมัติ ของ<br />

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ อยาก ให้ ช่วย ดู การ ตัด<br />

คำา ด้วย นะ คะ ว่า ตัด ได้ อย่าง เหมาะสม คือ อ่าน<br />

ได้ ลื่น<br />

ไม่ สะดุด ไม่ แยก คำา หรือ ไม่ ขึ้น<br />

บรรทัด<br />

ใหม่ ผ่า กลาง วลี ที่<br />

ควร อ่าน ต่อ เนื่อง<br />

กัน โดย ไม่<br />

จำาเป็น เช่น<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า ผลก รรม<br />

ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ”<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า<br />

ผลก รรม ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ” (อ่าน ง่าย กว่า ค่ะ)<br />

หรือ ดู หลักเกณฑ์ อื่น<br />

ๆ ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เพิ่มเติม<br />

ด้วย ก็ได้ ค่ะ<br />

ราชบัณฑิต ยสถาน > หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ<br />

http://www.royin.go.th/th/profile/index.php<br />

๒.๓ ความ ถูก ต้อง ของ ฉันทลักษณ์ สาหรับ ชิ้น<br />

งาน ร้อยกรอง<br />

สำาหรับ ท่าน ที่<br />

แต่ง ร้อยกรอง เข้า มา ร่วม ใน คอลัมน์<br />

กวีธรรม ขอ ให้ ตรวจ ทาน ให้ แน่ใจ สัก นิด นะ คะ ว่า<br />

บทกลอน นั้น<br />

ถูก ต้อง ตาม ฉันทลักษณ์ แล้ว หรือ ยัง จะ<br />

ได้ ช่วย กัน ใส่ใจ และ เผยแพร่ แต่ ใน สิ่ง<br />

ที่<br />

ถูก ต้อง ให้ ผู้<br />

อื่น<br />

กัน ค่ะ<br />

คุณ ผู้<br />

อ่าน สามารถ ตรวจ สอบ หรือ หาความ รู้<br />

เพิ่มเติม<br />

เกี่ยว<br />

กับ ฉันทลักษณ์ ของ กวี ไทย ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

ด้วย นะ คะ


ร้อยกรอง ของ ไทย<br />

(โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย)<br />

http://thaiarc.tu.ac.th/poetry/index.html<br />

๒.๔ ความ ยาว ของ บทความ และ การ จัด ย่อหน้า<br />

ปกติ แล้ว เรา ไม่ จำากัดความ ยาว ของ ชิ้น<br />

งาน ใน ทุก คอ<br />

ลัมน์ค่ะ แต่ ก็ อยาก ให้ ผู้<br />

เขียน ใช้ ดุลยพินิจ ดู ด้วย ค่ะ ว่า<br />

ความ ยาว ประมาณ ใด น่า จะ เหมาะสม โดย ลอง ดู จาก<br />

บทความ ที ลง ่ ใน เล่ม และ ลอง เทียบเคียง ความ รู้สึก<br />

ใน<br />

ฐานะ ผู้<br />

อ่าน ดู นะ คะ<br />

สำาหรับ เรื่องสั้น<br />

หรือ นวนิยาย ทีอาจ<br />

่ มีค วาม ยาว มาก<br />

กว่า บทความ อื่น<br />

ๆ และ มี การ เปลี่ยน<br />

ฉาก อยู บ้าง ่ อย่า<br />

ลืม เบรก สายตา ผู้<br />

อ่าน โดย การ ขึ้น<br />

ย่อหน้า ใหม่ เมื่อ<br />

ถึง<br />

จุด หนึ่ง<br />

ๆ ของ เรื่อง<br />

ที่<br />

เหมาะสม ด้วย นะ คะ เพราะ<br />

การ เขียน เป็น พรืด เห็น แต่ ตัวหนังสือ ติด ๆ กันลง มา<br />

ยาว ๆ จะ ลด ทอน ความ น่า อ่าน ของ บทความ ไป อย่าง<br />

น่า เสียดาย ค่ะ<br />

หาก บทความ ใด อ่าน ยาก ๆ หรือ มี จุด บกพร่อง ที ต้อง ่<br />

แก้ไข เยอะ มาก ๆ ทาง ทีม งาน อาจ จะ ต้อง ขอ อนุญาต<br />

เก็บ ไว้ เป็นอัน ดับ หลัง ๆ ก่อน นะ คะ<br />

<br />

๓. ส่ง บทความ ได้ที่<br />

ไหน อย่างไร<br />

๓.๑ กระดาน ส่ง บทความ<br />

เมื่อ<br />

เขียน อ่าน ทาน และ ตรวจ ทาน บทความ พร้อม ส่ง<br />

เรียบร้อย แล้ว งาน เขียน ทุก ชิ้น<br />

สามารถ โพ สท์ส่ง ได้ที่<br />

กระดาน “ส่ง บทความ ” ได้ เลย ค่ะ ที่:<br />

http://dungtrin.com/forum/viewforum.php?f=2<br />

โดย หัวข้อ กระทู้<br />

ขอ ให้ ใช้ ฟอร์แมท ลักษณะ นี้<br />

นะ คะ<br />

(ชื่อ<br />

คอลัมน์) ชื่อ<br />

เรื่อง<br />

โดย ชื่อ<br />

ผู้<br />

แต่ง<br />

เช่น<br />

(สัพเพเหระ ธรรม) เทพธิดา โรง ทาน โดย คน ไกล วัด<br />

(ธรรมะ ปฏิบัติ) เส้นทาง การ ปฏิบัติ 1 โดย satima<br />

(ของ ฝาก จาก หมอ) เครียด ได้...แต่ อย่า นาน โดย หมอ อติ<br />

เพื่อ<br />

ช่วย ให้ ทีม งาน สามารถ จัด หมวด หมู่<br />

ของ ชิ้น<br />

งาน<br />

ได้ เร็ว ขึ้น<br />

ค่ะ<br />

๓.๒ แนบไฟล์ Word มา ด้วย ทุก ครั้ง<br />

หาก แปะ เนื้อความ<br />

ลง ใน กระทู้<br />

เลย ฟอร์แมท ต่าง ๆ<br />

เช่น ตัว หนา ตัว บาง ตัว เอียง จะ หาย ไป ค่ะ เพื่อ<br />

ความ<br />

สะดวก รบกวน ทุก ท่าน แนบไฟล์ Word ทีพิมพ์<br />

่ ไว้ มา<br />

ด้วย นะ คะ (ใน หน้า โพสต์ จะ มี ปุ่ม<br />

Browse ให้ เลือก<br />

Attach File ได้ เลย ค่ะ)<br />

ใคร มี รูป ประกอบ ก็ Attach มา ด้วย วิธี เดียวกัน นี้<br />

เลย<br />

นะ คะ<br />

และ หาก ไฟล์มี ขนาด ใหญ่ ทำาเป็น zip เสีย ก่อน ก็ จะ<br />

ช่วย ประหยัด พื้นที่<br />

ได้ ไม่ น้อย ค่ะ<br />

<br />

๔. ส่ง แล้ว จะ ได้ ลง หรือ ไม่<br />

ปกติ แล้ว เวที แห่ง นี เป็น ้ เวที ที เปิด ่ กว้าง หาก บทความ<br />

นั้น<br />

ให้ เนื้อหา<br />

สาระ ที เป็น ่ ไป เพื่อ<br />

เกื้อกูล<br />

กัน ใน ทาง สว่าง<br />

และ เป็น แนวทาง ที่<br />

ตรง ตาม แนวทาง คำา สอน ของ<br />

พระพุทธเจ้า หรือ เป็น ประโยชน์ ต่อ ผู้<br />

อ่าน จาก ผู้<br />

รู้<br />

จริง<br />

ใน ด้าน ที่<br />

เชี่ยวชาญ<br />

ก็ จะ ได้ รับ การ ลง แน่นอน ค่ะ<br />

ทั้งนี้<br />

รวม ถึง ความ ยาก ง่าย ใน การ อ่าน พิจารณา<br />

บทความ การ แก้ไข จุด บกพร่อง ต่าง ๆ ใน งาน พิสูจน์<br />

อักษร หาก เป็น ไป อย่าง คล่องตัว ก็ จะ ช่วย ให้ พิจารณา<br />

ชิ้น<br />

งาน ได้ ง่าย ขึ้น<br />

ด้วย ค่ะ<br />

แต่ หาก บทความ ใด ยัง ไม่ ได้ รับ คัดเลือก ให้ ลง ก็ อย่า<br />

เพิ่ง<br />

หมด กำาลังใจ นะ คะ วัน หนึ่ง<br />

คุณ อาจ รู้<br />

อะไร ดี ๆ<br />

และ เขียน อะไร ดี ๆ ใน มุม ที่<br />

ใคร ยัง ไม่ เห็น เหมือน คุณ<br />

อีก ก็ได้ ค่ะ : )<br />

และ ถ้า อยาก เริ่ม<br />

ต้น การ เป็น นัก เขียน ธรรมะ ที ดี ่ ก็ ลอง<br />

ติดตาม อ่าน คอลัมน์ เขียน ให้ คนเป็น เทวดา ที คุณ ่ ‘ดัง<br />

ตฤณ ’ มา ช่วย เขียน เป็น นัก เขียน ประจำา ให้ ทุก สัปดาห์<br />

ดู นะ คะ<br />

ขอ อนุโมทนา ใน จิต อัน มี ธรรม เป็น ทาน ของ ทุก ท่าน ค่ะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

มาร่วมเป็นอีกหนึ่งกำาลัง<br />

ที่ช่วยสร้างภาพใหม่ให้กับพระพุทธศาสนา<br />

ด้วยการร่วมส่งบทความ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ท้ายเล่ม<br />

หรือที่<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!