24.11.2014 Views

คําจํากัดความที่ใชในการวิจัย 1. ระบบกอสราง

คําจํากัดความที่ใชในการวิจัย 1. ระบบกอสราง

คําจํากัดความที่ใชในการวิจัย 1. ระบบกอสราง

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

584<br />

คําจํากัดความที่ใชในการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ระบบกอสรางทั่วไป หรืออาคารทั่วไป หมายถึง ระบบกอสราง หรืออาคาร ที่มีวิธีการออกแบบและ<br />

กอสรางระบบดั้งเดิม เชน ระบบเสาคานชนิดหลอในที่ ผนังกออิฐฉาบปูนหนา 0.10 เมตร เลือกใชวัสดุประกอบ<br />

อาคารทั่วไปที่ไมไดคํานึงถึงประสิทธิผลในการประหยัดพลังงาน<br />

2. การกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป (semi-prefabrication) หมายถึง การใชวัสดุกอสรางสําเร็จรูปบาง<br />

ประเภทมาทดแทนบางสวน เชน การใชชิ้นสวนประกอบผนังสําเร็จรูป แผนฉนวนสําเร็จรูป ผนังยิปซัมบอรด เปนตน<br />

ประโยชนที่ไดรับจากงานวิจัย<br />

<strong>1.</strong> การเลือกใชวัสดุและระบบกอสรางอาคารประหยัดพลังงานที่เหมาะสม<br />

2. เทคนิคและวิธีการกอสรางอาคารระบบกึ่งสําเร็จรูปเพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

3. อาคารตนแบบสําหรับการออกแบบและกอสรางอาคารประหยัดพลังงาน<br />

วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการใชวัสดุและระบบการกอสรางเพื่อการประหยัด<br />

พลังงานในระบบปรับอากาศ<br />

2. วิเคราะหผลการศึกษาเพื่อประยุกตใชในการออกแบบและกอสรางอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

3. ประเมินผลการออกแบบและกอสรางอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน ในหัวขอตางๆ ดังนี้<br />

<strong>1.</strong> คาใชจายที่ใชในการกอสราง<br />

2. ระยะเวลาที่ใชในการกอสราง<br />

3. ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานในอาคาร<br />

ผลการวิจัย<br />

1) ผลการวิเคราะหระบบกอสรางที่มีผลตอการลดระยะเวลาและคาใชจายโดยรวมในการกอสราง<br />

รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานในอาคาร<br />

ดานระยะเวลา การกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป ไดแก การประกอบโฟมบล็อกหนา 0.25<br />

เมตร 0.20 เมตร และแผนฉนวนสําเร็จรูป(insulated panel) หนา 0.25 เมตร มีระยะเวลาการกอสรางที่เร็วกวา<br />

การกอสรางระบบทั่วไปกออิฐฉาบปูนหนา 0.10 เมตร ประมาณ 3.5 เทา 5 เทา และ 11 เทา ตามลําดับ<br />

ดานประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน การกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป ไดแก การประกอบ<br />

โฟมบล็อกหนา 0.25 เมตร 0.20 เมตร และแผนฉนวนสําเร็จรูป(insulated panel)หนา 0.25 เมตร มี<br />

ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน มากกวาการกอสรางระบบทั่วไปกออิฐฉาบปูนหนา 0.10 เมตร ประมาณ<br />

16.2 เทา 14.24 เทา และ 25.3เทา ตามลําดับ<br />

ดานคาใชจายโดยรวมในการกอสราง การกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป ไดแก การประกอบ<br />

โฟมบล็อกหนา 0.25 เมตร 0.20 เมตร และแผนฉนวนสําเร็จรูป(insulated panel)หนา 0.25 เมตร มีคาใชจาย<br />

เริ่มตนสูงกวาการกอสรางระบบทั่วไปกออิฐฉาบปูนหนา 0.10 เมตร ประมาณ 3 เทา 2 เทา และ 3.5 เทา


585<br />

ตามลําดับ แตเนื่องจากมีระยะเวลาการกอสรางที่นอยกวา มีความยืดหยุนในการกอสราง มีคุณภาพงาน และมี<br />

ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานสูงกวา ทําใหมีคาใชจายโดยรวมที่ประหยัดกวาการกอสรางระบบทั่วไปกออิฐ<br />

ฉาบปูน<br />

2) ผลการออกแบบ และกอสรางอาคารตนแบบ<br />

จากผลการวิเคราะหขางตนทําใหไดขอสรุปในการใชวัสดุเพื่อการออกแบบและกอสรางอาคารตนแบบ ดังนี้<br />

- ผนังของหองเรียน A ใชโฟมบล็อกหนา 0.25 เมตร หองเรียน B ใชโฟมบล็อกหนา 0.20 เมตร<br />

- หลังคาของหองเรียน A และ B ใชแผนฉนวนสําเร็จรูป(insulated panel) หนา 0.25 เมตร<br />

รูปที่ 1 แสดงลักษณะและรายละเอียดของผนังโฟมบล็อกขนาด 0.25x0.30x<strong>1.</strong>20


586<br />

รูปที่ 2 แสดงลักษณะ และรายละเอียดของผนังโฟมบล็อกขนาด 0.20x0.40x<strong>1.</strong>20<br />

รูปที่ 3 ลักษณะของแผนฉนวนกึ่งสําเร็จรูปหนา 0.25 เมตร(ซาย) และฉนวนโฟมโพลีสไตรลีน(ขวา)<br />

(วอลล เทคโนโลยี,2554)<br />

ขอมูลทั่วไปของแผนฉนวนสําเร็จรูป (insulated panel) (วอลล เทคโนโลยี,2554)<br />

• ผิวหนาเหล็กดานนอกเปนเหล็กอลูซิงค (Aluminum-zinc Coated) ดานในเปนเหล็กซิงคเคลือบ<br />

กัลปวาไนส ไสกลางเปนฉนวนประเภทโพลีสไตรลีน (Polystyrene)ชนิดไมลามไฟ (F-Grade) มีความหนาแนน<br />

เฉลี่ยของฉนวน <strong>1.</strong>00 ปอนด ตอ ลูกบาศกฟุตมีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอนประมาณ 40 Btu/ ft 2 .h o F<br />

(R-value= 0.025 ft 2 .h o F/Btu)


587<br />

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของวัสดุประกอบอาคาร<br />

วัสดุ<br />

ขนาดชิ้น<br />

สวนวัสดุ(cm. 3 )<br />

จํานวน<br />

ตอตร.ม.<br />

(กอน,แผน)<br />

น้ําหนักตอ<br />

ตร.ม.<br />

(kg./m 2 )<br />

น้ําหนักรวม<br />

ปูนฉาบ<br />

(kg./m 2 )<br />

รวมราคาวัสดุ<br />

คาแรง วัสดุปดผิว<br />

ตอตร.ม(บาท)<br />

งานกอ<br />

อิฐมอญ 0.10 ม. 7x16x3.5 145 130 180 - 200 425 - 440<br />

อิฐมอญ 0.20 ม. 14x16x3.5 290 260 330 635<br />

คอนกรีตบล็อก 0.10 ม. 7x19x39 14 90 130 390<br />

โฟมคอนกรีต 0.20 ม. 20x40x60 8.33 46.5 90 – 100 450 - 646<br />

คอนกรีตมวลเบา 0.10 ม. 7.5x20x60 4.17 30 60 800-1000<br />

โฟมบล็อก 0.20 ม. 20x40x120 2.08 2.52 17.52 880<br />

โฟมบล็อก 0.25 ม. 25x30x120 2.78 3.61 18.61 1,300<br />

ไมฝาสําเร็จรูป 0.01 ม. <strong>1.</strong>1x60x120 <strong>1.</strong>38 10.49 - 480<br />

insulated panel 0.25 ม 25 x 120 x 600 0.14 13 - 1200-1600<br />

EIFS 20x120x240 0.28 22.32 - 1600<br />

พื้นที่ (ตร.ม/คน/วัน)<br />

วัสดุกอ<br />

วัสดุประกอบ<br />

แผนภูมิที่ 1 แสดงปริมาณงานที่ไดรวมการปดผิวภายนอกของวัสดุกอสรางอาคาร (ตร.ม/คน/วัน)


588<br />

วัสดุกอ<br />

วัสดุประกอบ<br />

แผนภูมิที่ 2 แสดงคาการตานทานความรอน (R-Value) ของวัสดุกอสรางอาคาร<br />

B<br />

A<br />

H<br />

A<br />

C<br />

H<br />

รูปที่ 4 หุนจําลองแสดงมุมมองดานบนอาคาร<br />

กอสรางหองเรียนตนแบบ<br />

รูปที่ 5 หุนจําลองแสดงมุมมองดานของอาคาร<br />

กอสรางหองเรียนเพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

ตนแบบ<br />

รูปที่ 6 แบบกอสรางแสดงพิกัดของชิ้นสวนประกอบผนังและหลังคาของหองเรียน A


589<br />

รูปที่ 7 แบบกอสรางแสดงพิกัดของชิ้นสวนประกอบผนังและหลังคาของหองเรียน B<br />

รูปที่ 10 บรรยากาศการทํางานกอสรางดวยแรงงาน<br />

ชางทองถิ่น<br />

รูปที่ 11 การเวนชองเปดเพื่อติดตั้งประตูของผนัง<br />

หองเรียน B<br />

รูปที่ 12 บรรยากาศหนางานกอสรางกอนการติดตั้ง<br />

หลังคาฉนวนสําเร็จรูป<br />

รูปที่ 13 แสดงติดตั้งหลังคาฉนวนสําเร็จรูป (insulated<br />

panel)


590<br />

3) ผลการประเมินผลการกอสรางอาคารเพื่อการประหยัดพลังงานตนแบบ<br />

จากการสังเกตการทํางานบริเวณหนางานกอสราง พบวาโฟมบล็อกหนา 0.20 เมตร กอสรางงายและ<br />

รวดเร็วกวาโฟมบล็อกหนา 0.25 เมตร แมวาโฟมบล็อกหนา 0.20 เมตรมีประสิทธิภาพในการตานทานความรอนที่ต่ํากวา<br />

แตเมื่อเทียบกับศักยภาพและราคาคากอสรางแลว การวิจัยเลือกใชโฟมบล็อกหนา 0.20 เมตรในการกอสรางผนังหองที่<br />

เหลือตอไป ดานปญหาการกอสรางพบวา ในขั้นตอนการหลอคอนกรีตที่ชองวางของโฟมบล็อกดวยแรงงานคนมีระยะ<br />

เวลานานเกินแผนการกอสรางประมาณ 1 สัปดาห อยางไรก็ตามจากการประเมินผลพบวาหากการกอสรางอาคาร<br />

ตนแบบมีแผนการดําเนินงานที่ดี มีการใชเครื่องจักรที่เหมาะสมตั้งแตตน จะใชระยะเวลาในการกอสรางหองเรียน B<br />

ขนาด 95 ตารางเมตรประมาณ 16 วัน มีคากอสรางโดยรวมประมาณ 8,580 บาท/ตารางเมตร ในขณะการกอสราง<br />

หองเรียนทั่วไปใชเวลาในการกอสรางประมาณ 90 วัน และมีคากอสรางโดยรวมประมาณ 11,552 บาท/ตารางเมตร (การ<br />

ประเมินระยะเวลาและคาใชจายในการกอสรางหองเรียนทั่วไป อางอิงขอมูลการกอสรางอาคารเรียนสปช.105/29 จาก<br />

กลุมออกแบบและกอสราง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยคํานวนจากการเทียบ<br />

อัตราสวน กรณีมีผูใชงานในหองเรียน 80 คน เทากับหองเรียนตนแบบ)<br />

ขอสรุปผลการวิจัย<br />

การออกแบบและกอสรางอาคารประหยัดพลังงานดวยระบบกึ่งสําเร็จรูปจากการประยุกตใชวัสดุชิ้นสวน<br />

โฟมกึ่งสําเร็จรูปหนา 20 ซ.ม.เปนผนัง และแผนฉนวนสําเร็จรูป(insulated panel)เปนหลังคา มีศักยภาพสูงและสามารถ<br />

นําไปประยุกตใชกับการกอสรางอาคารประหยัดพลังงานอื่นตอไปได เนื่องจากสามารถลดระยะเวลาและลดคาใชจาย<br />

โดยรวมในการกอสรางได า มีความยืดหยุนในการทํางานสูง สามารถทํางานรวมกับงานกอสรางและงานระบบสวนอื่น<br />

ไดงาย ทําใหกอสรางมีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงาน มีคุณสมบัติดานการกันความรอนและ<br />

ความชื้น ลดการรั่วซึมของอากาศ ลดภาระการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศได มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย<br />

เนื่องจากวัสดุมีน้ําหนักเบาขนสงและกอสรางงาย การตัดชิ้นสวนระหวางการติดตั้งนอย ลดมลภาวะทางเสียง และฝุน<br />

ละออง และสามารถนําเศษวัสดุกลับมาใชใหมได สวนในขั้นตอนการใชจะไมเกิดผลกระทบเรื่องสารพิษสะสมในวัสดุ<br />

ดานความสวยงาม สามารถลดปญหาคุณภาพไมไดมาตราฐานของการกอสราง เนื่องจากวัสดุระบบกึ่งสําเร็จรูปมีการ<br />

ควบคุมคุณภาพจากโรงงาน กอสรางดวยวิธีการประสานรอยตอที่รองรับตามความตองการดานความงามของเจาของ<br />

และผูออกแบบอาคารได


บรรณานุกรม<br />

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. การเลือกใชวัสดุกอสรางและฉนวนเพื่อการอนุรักษ<br />

พลังงาน.กรุงเทพ, 2549.<br />

บรรณาธิการแนวหนา. การแกปญหาวิกฤติพลังงาน(Online). แหลงที่มา: http://thaidragonnews.com/index.php?<br />

option=com_content&view=article&id=4061:2011-01-19 (19 มกราคม 2554)<br />

สุนทร บุญญาธิการ. การออกแบบประสานระบบ มหาวิทยาลัยชินวัตร. กรุงเทพฯ: จีเอ็มแม็ก มีเดีย, 2545.<br />

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ศึกษาธิการ, กระทรวง. การประมาณราคาคากอสราง ระยะเวลาการ<br />

ทํางาน และแบบอาคารเรียน สปช.105/29 (2 ชั้น 4 หองเรียน ใตถุนโลง) ปการศึกษา 2553 (online) , 2 มีนาคม<br />

2554. แหลงที่มา: http://www.bopp-obec.info/2553/re_basic.php<br />

591


592<br />

การศึกษาระบบสัญจรและการวางผังภายในมหาวิทยาลัยที่มีผลตอการปลดปลอย<br />

กาซคารบอนไดออกไซด กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา<br />

A STUDY OF PERSONAL RAPID TRANSPORTATION CASE STUDY of CAMPUS<br />

RAJABHAT RAJANAGARINDRA UNIVERSITY BANGKLA<br />

ณชากร บุตรศรี<br />

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ศาสตราจารย ดร.สุนทร บุญญาธิการ<br />

<strong>1.</strong> บทนํา<br />

<strong>1.</strong>1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

สภาวะโลกรอน (Global Warming) คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสงผลใหอุณหภูมิเฉลี่ยของ<br />

โลกสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเกิดจากมนุษยไดปลอยกาซและสารประกอบตางๆ ออกสูชั้นบรรยากาศ<br />

ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) กาซมีเทน (CH 4 ) กาซไนตรัสออกไซด (N 2 O)และสารประกอบคลอโร<br />

คารบอน (CFC) ในรูปของการเผาไหมเชื้อเพลิง การขนสง และการผลิตสินคาในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

ผลกระทบที่เกิดจากการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูชั้นบรรยากาศ ดังกลาวผูวิจัยจึงมีแนวคิด<br />

ที่จะลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูชั้นบรรยากาศ โดยทําการศึกษาระบบสัญจรและการวางผัง<br />

บริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา เนื่องจากผูบริการของมหาวิทยาลัยตองการปรับปรุงพื้นที่การ<br />

ใชงานภายในมหาวิทยาลัยใหม เพื่อออกแบบเสนทางการสัญจรภายในมหาวิทยาลัยและใชยานพาหนะที่<br />

เหมาะสม เพราะเล็งเห็นวาการวางผังมหาวิทยาลัยที่ไมเหมาะสมนั้นเปนตัวการหนึ่งที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอน<br />

การสํารวจของผูวิจัยเบื้องตนพบวา นักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมีการนํายานพาหนะเขามาใชภายใน<br />

พื้นที่มหาวิทยาลัยเปนจํานวนมาก เพราะรถรับสงภายในมหาวิทยาลัยมีปริมาณไมเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา<br />

และเสนทางที่รถวิ่งนั้นขาดการวางผังเสนทางการเดินรถในการวิ่ง ดังนั้นการนํายานพาหนะเขามาใชในพื้นที่<br />

มหาวิทยาลัยเปนทางหนึ่งที่อํานวยความสะดวกในการเดินทางของนักศึกษามากขึ้น และเกิดผลกระทบตอ<br />

สภาพแวดลอมภายในมหาวิทยาลัยเพราะยานพาหนะดังกลาวไดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเปนจํานวนมาก<br />

วิธีการแกปญหาที่ดีที่สุด คือ<br />

1) การวางผังเสนสัญจรทางภายในมหาวิทยาลัยใหมเพื่อลดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น<br />

2) การวางผังเสนทางรถรับสงภายในมหาวิทยาลัย<br />

3) การรณรงคใหนักศึกษาหันมาเดินเทาหรือใชรถรับสงภายในมหาวิทยาลัยมากขึ้น เพื่อลดการ<br />

ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากยานพาหนะ


593<br />

<strong>1.</strong>2 วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาระบบการวาผังและเสนทางสัญจรภายในมหาวิทยาลัย<br />

2. วิเคราะหอิทธิพลของการใชและการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

3. นําเสนอระบบสัญจรและการวางผังภายในมหาวิทยาลัยตัวอยางที่ลดการปลดปลอย<br />

คารบอนไดออกไซด<br />

<strong>1.</strong>3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

<strong>1.</strong> ทราบระบบการวาผังและเสนทางสัญจรภายในมหาวิทยาลัย<br />

2. ทราบปจจัยที่ชวยลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

3. การประยุกตใชเสนทางสัญจรที่เหมาะสมภายในมหาวิทยาลัยที่เพื่อลดการปลดปลอย<br />

คารบอนไดออกไซดสูชั้นบรรยากาศ<br />

สวนที่ 2: เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ผูวิจัยไดศึกษาการวางผังของมหาวิทยาลัย 4 แหงทั้งภาครัฐและเอกชน ไดแก มหาวิทยาลัยสยาม<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร โดย<br />

วิเคราะหขอมูล ในสวนของพื้นที่ การวางผัง ระบบสัญจร จํานวนประชากร และยานพาหนะที่ใชภายใน<br />

มหาวิทยาลัย ดังนี้<br />

2.1 มหาวิทยาลัยสยาม<br />

ภาพที่ 1 แผนผังมหาวิทยาลัยสยาม


594<br />

ขอมูลทั่วไป: มหาวิทยาลัยสยาม เปนมหาวิทยาลัยเอกชน 1 ใน 5 สถาบันแรกของประเทศไทย จัดตั้ง<br />

ขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2508 โดยอาจารย ดร.ณรงค มงคลวนิช และไดรับการสถาปนาอยางเปนทางการเมื่อป พ.ศ. 2516<br />

โดยใชชื่อวา “วิทยาลัยเทคนิคสยาม” ภายหลังไดรับการ สถาปนาเปน “มหาวิทยาลัยเทคนิคสยาม” ในป พ.ศ.<br />

2526 และตอมาไดใชชื่อวา “มหาวิทยาลัยสยาม” เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2532 มีพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัย ทั้งหมด<br />

มี 36 ไร 7งาน 83 ตารางวา (576 ตารางเมตร) มีอาคารภายในมหาวิทยาลัยทั้งหมด 20 อาคาร มีจํานวนทั้งศึกษา<br />

ทั้งหมด 10,404 คน<br />

ขอมูลดานการวางผัง: การวางผัง อาคารภายในมหาวิทยาลัย อาคารเรียนสวนใหญมีขนาดติดกัน<br />

เพราะพื้นที่ภายในมีอยูคอนขางจํากัด ดังนั้นอาคารที่สรางเสร็จจึงมีลักษณะคลายคลึงกับตึกแถวเรียงกัน<br />

ขอมูลระบบสัญจร: การวางผังภายในมหาวิทยาลัยมีอาคารติดกันเปนสวนใหญ ดังนั้นจึงลดปญหา<br />

การใชยานพาหนะภายในมหาวิทยาลัย เพราะนักศึกษาสวนใหญเลือกที่จะเดินมากกวาขับรถ นอกจากนี้<br />

ผูบริหารของมหาวิทยาลัยมีมาตรการใหมีรถรับสงภายในมหาวิทยาลัยโดยใชรถพลังงานไฟฟา ดังนั้นจึงลด<br />

ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นไดบางสวน<br />

2.2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร<br />

ภาพที่ 2 แผนผังมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร


595<br />

ขอมูลทั่วไป: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พัฒนาจาก โรงเรียนฝกหัดครูชั้นสูง ซึ่งกอตั้งเมื่อ พ.ศ.<br />

2492 และตอมาพัฒนาเปน วิทยาลัยวิชาการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2497 และพัฒนาเปนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ<br />

โรฒ เมื่อ พ.ศ. 2517 มีพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัย 105 ไร (1,680ตารางเมตร) มีอาคารภายในมหาวิทยาลัย<br />

ทั้งหมด 26 อาคาร มีจํานวนทั้งศึกษาทั้งหมด 18,560 คน<br />

ขอมูลดานการวางผัง: เนื่องจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เปนมหาวิทยาลับที่<br />

ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานของรัฐบาล สงผลใหอาคารสวนใหญภายในมหาวิทยาลัยมีการสรางไปทําไป<br />

การวางผังรวมทํายาก การวางผังอาคารภายในมหาวิทยาลัยเริ่มจากตึกอํานวยการและสรางอาคารลอมรอบ<br />

บริเวณดังกลาว ดังนั้นจึงมีอาคารเรียนกระจายตัวอยูทั่วพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัย<br />

ขอมูลดานการสัญจร: ระบบทางสัญจรภายในมหาวิทยาลัยมีการกระจายตัวของถนนลอมรอบตัว<br />

อาคาร สงผลใหบริเวณภายในมหาวิทยาลัยหลายสาย ดังนั้นจึงเปนเสนทางสัญจรที่ขาดระบบการจัดการเรื่อง<br />

การวางผัง ทําใหนิสิตและอาจารยผูสอนเกิดความสับสนเพราะขาดระบบการวางผังที่ชัดเจน<br />

2.3 มหาวิทยาลัยนเรศวร<br />

ภาพที่ 3 แผนผังมหาวิทยาลัยนเรศวร<br />

ขอมูลทั่วไป: มหาวิทยาลัยนเรศวร กอตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2533 มีพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัย<br />

105 ไร (1,680 ตารางเมตร) มีอาคารภายในมหาวิทยาลัยทั้งหมดแบงออกเปน 6 กลุมอาคาร ไดแก กลุม<br />

วิทยาศาสตรสุขภาพ กลุมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุมมนุษยศาสตรและสังคม อาคารสวนกลาง อาคาร


596<br />

หอพักอาคารและนิสิต และศูนยกีฬา มีประตูเชาออกภายในมหาวิทยาลัย 6 ประตู จํานวนทั้งศึกษาภายใน<br />

มากกวา 30,000 คน<br />

ขอมูลดานการวางผัง: มหาวิทยาลัยนเรศวรเปนมหาลัยที่มีขนาดกลางถึงขนาดใหญ เบื้องตนที่<br />

กอสรางมหาลัยนั้นผูบริหารไดมีการวางผังเฉพาะชวงแรกเทานั้น ตอมาเมื่อมีงบประมาณเขามาบริหารภายใน<br />

มหาวิทยาลัย ผูบริหารจึงมีนโยบายใหสรางอาคารเรียนกระจายออกไปใหเต็มบริเวณพื้นที่ ดังนั้นปจจัยเรื่องการ<br />

วางผัง รวมทั้งการออกแบบสรางอาคารภายในมหาวิทยาลัยจึงยึดหลักการกอสรางตามงบประมาณเปนหลัก<br />

สงผลใหภาพรวมการวางผังภายในมหาวิทยาลัยไมตอเนื่อง<br />

ขอมูลระบบสัญจร: เนื่องจากการออกแบบและการวางผังภายในมหาวิทยาลัยมีการกระจายตัวของ<br />

อาคารคอนขางสูง ทําใหอาคารตางๆอยูหางกัน สงผลใหมีปญหาดานระบบสัญจร คือ การที่อาคารอยูหางกันทํา<br />

ใหตองใชยานพาหนะในการเดินทางมากขึ้นและยานพาหนะดังกลาวจะปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออก<br />

สูชั้นบรรยากาศเปนจํานวนมาก<br />

2.4 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา<br />

ภาพที่ 4 แผนผังมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา(ผังเดิม)


597<br />

ขอมูลทั่วไป: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา แหงนี้เดิมเปนที่ตั้งของโรงเรียนฝกหัดครู<br />

กสิกรรมชาย ตอมาเมื่อโรงเรียนฝกหัดครูกสิกรรมชายยายไปตั้งใหมที่จังหวัดปราจีนบุรี ทางราชการไดปรับปรุง<br />

โดยการขยายสถานที่เดิมใหกวางขวางขึ้น โดยขอใชที่ดินจากทางการทหารและจัดซื้อเพิ่มเติม จัดสรางหอนอน<br />

และเรือนพักครูแลวยายนักเรียนสตรีแผนกฝกหัดครูซึ่งเรียนรวม อยูกับนักเรียนสตรีประจําจังหวัดฉะเชิงเทรา"ดัด<br />

ดรุณี" มาเรียนแทนในป พ.ศ. 2483 โดยใชชื่อโรงเรียนวา"โรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด" เปดสอน<br />

หลักสูตรครูประกาศนียบัตรจังหวัด (ครู ว.) จึงถือไดวามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทรไดถือกําเนิดในป พ.ศ.<br />

2483 มีพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัย 500 ไร (8,000 ตารางเมตร) แบงพื้นที่การใชสอยทั้งหมดออกเปน 7 สวน คือ<br />

1) พื้นที่การศึกษา 2) พื้นที่โรงเรียนสาธิต 3) พื้นที่พักอาศัย 4) พื้นที่กีฬาและสันทนาการ 5) พื้นที่วิจัยและธุรกิจ<br />

6) พื้นที่รองรับรอบแขกพิเศษ 7) พื้นที่อาคารปฏิบัติการและสาธารณูปโภค มีจํานวนทั้งศึกษาทั้งหมด 15,620<br />

คน<br />

ขอมูลดานการวางผัง: เปนมหาลัยที่มีขนาดใหญ แบงพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยออกเปน 2 สวน<br />

<strong>1.</strong> สวนที่ 1 เปนที่ตั้งของอาคารบริหาร อาคารเรียนของคณะตางๆ โรงเรียนสาธิต และสวนที่พักอาศัย<br />

ซึ่งเปนพื้นที่หลักของวิทยาเขตแหงนี้<br />

2. สวนที่ 2 เปนพื้นที่เพิ่มเติม และไดรับการพัฒนาเปนพื้นที่ธุรกิจและพาณิชกรรมในปจจุบัน<br />

พื้นที่รอบโครงการโดยสวนใหญ เปนพื้นที่เกษตรกรรมและทุงนา ซึ่งเปนพื้นที่ราบและโลง ทําใหที่ตั้งโครงการ<br />

สามารถไดรับอิทธิพลจากลมประจําทิศไดเปนอยางดี<br />

ขอมูลดานระบบสัญจร: การวางผังอาคารเดิมของมหาวิทยาลัยมีการกระจายตัวคอนขางมากทําให<br />

เกิดความสิ้นเปลืองในการบริหารจัดการเสนทางสัญจรภายในมหาวิทยาลัยเปนถนนและเนื่องจากอาคารที่มีการ<br />

กระจายตัวสูงทําใหมีพื้นที่ถนนภายในมหาวิทยาลัยสูงเกิดพื้นผิวที่รอนเมื่อโดนแดด (Heat Island) นอกจากนี้<br />

จากระยะทางในการติดตอสัญจรไกลทําใหการสัญจรภายในจึงมักใชรถยนตเปนหลัก ทําใหเกิดการสิ้นเปลือง<br />

พลังงานในระบบสัญจร<br />

สวนที่ 3: วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาการวางผังมหาวิทยาลัยทั้ง 4 แหง ทั้งภาครัฐและเอกชน ไดแก มหาวิทยาลัยสยาม<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร โดยศึกษาความแตกตางกันของผังบริเวณมหาวิทยาลัยระหวาง<br />

ภาครัฐและเอกชน<br />

2. หาอิทธิพลตัวแปรที่มีผลตอการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ดังนี้<br />

ตัวแปรตน: ศึกษาผังบริเวณมหาวิทยาลัย<br />

- จํานวนรถยนต<br />

- พื้นที่จอดรถ<br />

- อาคารภายในมหาวิทยาลัย ระยะทางเดินระหวางอาคาร<br />

- นักศึกษาเลือกวิธีการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย อยางไรบาง เชน เดิน จักรยาน<br />

รถจักรยานยนต รถยนต เปนตน<br />

- ปริมาณตนไมใหญภายในมหาวิทยาลัย (พื้นที่สีเขียว)


598<br />

ตัวแปรตาม: ปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในระบบสัญจร<br />

ตัวแปรควบคุม: พฤติกรรมการใชชีวิตของนักศึกษา<br />

- เวลาที่นักศึกษาใชชีวิตอยูภายในมหาวิทยาลัย (8:00-16:00 น.)<br />

- พฤติกรรมการใชชีวิตภายในมหาวิทยาลัย ไดแก หองเรียน หองปฏิบัติการ<br />

หองสมุด หองคอมพิวเตอร หองคอมพิวเตอร เปนตน<br />

3. พัฒนาและแกปญหาโดยจัดระบบสัญจรควบคูกับการวางผังเพื่อลดการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด<br />

สวนที่ 4: ผลวิเคราะหขอมูล<br />

ผลการศึกษาการวางผังภายในมหาวิทยาลัยทั้ง 4 แหง ทั้งภาครัฐและเอกชน ไดแก มหาวิทยาลัยสยาม<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บาง<br />

คลา ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลได ดังนี้ 1) การวางผังของมหาวิทยาลัยเอกชนมีพื้นที่จํากัดในการกอสรางสงผลใหการ<br />

วางผังของตัวอาคารมีความหนาแนนคอนขางสูง ทําใหลดปญหาการใชยานพาหนะภายในมหาวิทยาลัย<br />

2) การวางผังของมหาวิทยาลัยของรัฐสวนใหญเปนการวางผังอาคารแบบกระจายตัว เพราะ ตองการใชพื้นที่<br />

ภายในมหาวิทยาลัยมากที่สุด ดังนั้นจึงทําใหเกิดปญหาทางดานการสัญจรเพราะอาคารตั้งอยูหางกัน สิ่งที่<br />

ตามมา คือ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย ไดแก อาจารย นิสิต นักศึกษา หรือบุคลากรตางๆที่เขามาติดตอ<br />

ภายในมหาวิทยาลัยตองใชยานพาหนะในการเดินทาง<br />

ผูวิจัยไดนําขอมูลการวิเคราะหผังมหาวิทยาลัยของภาคเอกชนและภาครัฐมาปรับใชกับมหาวิทยาลัย<br />

ราชภัฏราชนครินทร เนื่องจากผูบริหารมหาวิทยาลัยมีนโยบายปรับปรุงผังบริเวณภายในมหาวิทยาลัยใหมเพื่อให<br />

คุณภาพชีวิตของบุคลากรภายในมหาลัยดีขึ้น โดยคํานึงถึงนโยบายของมหาวิทยาลัยเปนหลัก ดังนี้<br />

ภาพที่ 5 แนวความคิดในการออกแบบผังแมบทมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา


599<br />

ภาพที่ 6 แผนผังมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา (ผังใหม)<br />

ผูวิจัยไดวิเคราะหศึกษาพื้นที่วางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลาและปรับเปลี่ยน<br />

พื้นที่ถนนที่ปราศจากตนไมใหมีถนนที่เปนพื้นที่สีเขียว เพื่อลดการสัญจรดวยรถยนตและลดพื้นผิวถนนที่ไดรับ<br />

ความรอนจากดวงอาทิตย จากการศึกษาสภาพอาคารเดิมที่มีอยูในมหาวิทยาลัยพบวา มีอาคารบางสวนที่<br />

เหมาะสมจะทําการเก็บรักษาไว และมีอาคารที่ควรรื้อถอนเพื่อเปดเปนพื้นที่โลงสําหรับพัฒนาศักยภาพสูงสุด<br />

ของที่ดินมหาวิทยาลัย เชนอาคารเรือนชั้นเดียว เปนตน นอกจากนี ้มีการคงสภาพบอน้ําที่ทําหนาที่รับน้ําฝนและ<br />

กักเก็บน้ําของมหาวิทยาลัยเมื่อปรับรื้ออาคารเกาออกแลว พบวามหาวิทยาลัยมีพื้นที่สีเขียวปริมาณมาก ควรมี<br />

การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวใหมีประโยชนสูงสุด และกําหนดแนวทางการพัฒนาการวางผังอาคารใหกระชับ<br />

โดยการรวมบริการประสานภารกิจ แนวคิดในการวางผังเพื่อใหมหาวิทยาลัยดังกลาว เปนมหาวิทยาลัยตน<br />

แบบอยางยั่งยืน มีบรรยากาศที่ดีของการเรียนรู มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูง มีและ<br />

เนนการใชสวนบริการกลางรวมกัน (Shared facilities)<br />

สวนที่ 5: สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ<br />

การออกแบบและวางผังบริเวณมหาวิทยาลัยเปนสถาปตยกรรมที่เกิดจากการวางผังอาคาร ยุคอนาคต<br />

ที่เอื้ออํานวยตอทั้งผูที่อยูอาศัย สังคม รวมถึงสภาพแวดลอมของโลกใบนี้ ไมทําลายสิ่งแวดลอม มีประสิทธิภาพ<br />

สูง ตลอดจนมีความเหมาะสมในแตละภูมิภาค นับเปนนวัตกรรมแบบยั่งยืนที่สมบูรณพรอมทั้งปจจุบันและ<br />

อนาคต ทําใหการใชชีวิตภายในมหาวิทยาลัยของนักศึกษาเปน Unity นักศึกษาเจอหนากัน สรางพฤติกรรมที่<br />

แนนแฟนเกิดการทํางานเปนทีม และทํากิจกรรมรวมกันมากขึ้น


600<br />

บรรณานุกรม<br />

ภาษาไทย<br />

ธรรมธร ไกรกอกิจ. ระบบสัญจรในโครงการเพื่อการอนุรักษพลังงาน : กรณีศึกษา วัดพระศรีรัตนมหา<br />

ธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาสถาปตยกรรม<br />

ศาสตร บัณฑิตวิยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2549.<br />

วรสัณฑ บูรณากาญจน. การปฏิวัติแกนความคิดทางสถาปตยกรรม Paradigm Shift in Architecture.<br />

วารสารอาษา 10:51/11:51 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ. ISBN 0857-0350 P.72-<br />

76.<br />

ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม. การวิจัยการออกแบบเพื่อกายภาพบําบัด<br />

และสรางดัชนีระบบนิเวศ. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2550.<br />

สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน. มหาวิทยาลัย. สถิติจํานวนนักศึกษา[ออนไลน]. 2553, แหลงที่มา<br />

http://academic.rru.ac.th[2010, November 15]<br />

สุนทร บุญญาธิการ. พลังงานใกลตัว. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

America Society of Heating, Refrigerating and Air Conditioning Engineerings. ASHRAE Applications<br />

Handbook. I-P Edition. Atlanta Geogia: (n.p.), 200<strong>1.</strong>


601<br />

การออกแบบวางผังอาคารและโรงเรือนธุรกิจรีไซเคิลเอกชนในประเทศไทย<br />

DESIGN AND PLANNING ON RECYCLE BUSSINESS BUILDING IN THAILAND<br />

กรองทิพย โสมาลา<br />

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ดร.วรสัณฑ บูรณากาญจน<br />

สวนที่ 1: บทนํา<br />

<strong>1.</strong>1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

ปญหาดานการจัดการขยะเปนประเด็นสําคัญควบคูกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ ธุรกิจรี<br />

ไซเคิลเอกชนเปนสวนหนึ่งที่ชวยลดปญหาดานสิ่งแวดลอมและยังชวยใหเกิดการสรางรายไดในระบบเศรษฐกิจ<br />

การเริ่มประกอบธุรกิจรีไซเคิลเอกชนบางกลุมเริ่มจากแนวคิดของเถาแก การซื้อมาขายไป การลองผิดลองถูก ซึ่ง<br />

เปนการเริ่มตนโดยขาดขอมูลและศักยภาพอยางเพียงพอ การประกอบธุรกิจรีไซเคิลเอกชนตองคํานึงถึงปจจัย<br />

ครบวงจรตลอดจนมีความเขาใจถึงธุรกิจ วัฒนธรรมองคกร และการบริหารงานที่มีเอกลักษณเฉพาะ ไดแก<br />

การตลาด ขายไดขายไมได ขายขาดทุนแตกําไร การควบคุมตนทุน การบริหารคน ความสัมพันธในชุมชน การตั้ง<br />

อัตรากําไร และกฎหมายที่เกี่ยวของรวมถึงปญหาดานสิ่งแวดลอม<br />

การประกอบธุรกิจรีไซเคิลเอกชนในประเทศไทยมีความจําเปนตองมีความพรอมในทุกๆดานดังกลาว<br />

ขางตน แตบทความนี้จะนําเสนอเฉพาะผลการวิจัยดานการออกแบบและวางผังของธุรกิจรีไซเคิลเอกชนเทานั้น<br />

<strong>1.</strong>2 วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาและเก็บขอมูลธุรกิจรีไซเคิลเอกชนในประเทศไทย ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ<br />

2. วิเคราะหระบบการบริหารจัดการและรูปแบบกายภาพของธุรกิจรีไซเคิล ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ<br />

ขนาดใหญ เพื่อหาแนวทางการสรางมูลคาเพิ่มในการคัดแยกขยะและพัฒนาระบบธุรกิจรีไซเคิล<br />

3. สรุปการวางผังอาคารและโรงเรือนธุรกิจรีไซเคิล ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ ที่มี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

<strong>1.</strong>3 ระเบียบวิธีวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาและเก็บขอมูลจากธุรกิจรีไซเคิลเอกชน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญซึ่งดําเนินการอยูใน<br />

ปจจุบัน โดยใชแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการสงเสริมดานการตลาด การประชาสัมพันธ การสรางเครือขาย<br />

กระบวนการคัดแยกขยะ ความเปนไปไดในการลงทุนตลอดจนปญหาอุปสรรคที่พบ<br />

2. ศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวของดานการบริหารจัดการและรูปแบบกายภาพของธุรกิจรีไซเคิล ขนาดเล็ก ขนาด<br />

กลาง และขนาดใหญ


602<br />

ตัวแปร - การจัดการดานการตลาดของผูประกอบการดานการคัดแยกขยะ<br />

- การจัดการและคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล<br />

- สถานที่ตั้งในการดําเนินธุรกิจ<br />

- การประชาสัมพันธของภาคเอกชนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ<br />

- การนําเทคโนโลยีมาใชในกระบวนการจัดการขยะ<br />

- การสรางเครือขายความรวมมือของผูประกอบการ<br />

- กฎหมายที่เกี่ยวของในการดําเนินธุรกิจ<br />

- ความคุมทุนในการดําเนินธุรกิจ<br />

3.สรุปการวางผังอาคารและโรงเรือนธุรกิจรีไซเคิล ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ ตนแบบธุรกิจใน<br />

อนาคต<br />

<strong>1.</strong>4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

<strong>1.</strong> การบริหารจัดการคัดแยกขยะรีไซเคิลเอกชนในประเทศไทย ปญหาและอุปสรรค ตลาดของระบบธุรกิจ<br />

รีไซเคิลเอกชน<br />

2. ระบบการบริหารจัดการ และรูปแบบกายภาพของธุรกิจรีไซเคิล ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ<br />

ขนาดใหญและสงเสริมการสรางมูลคาเพิ่มในการบริหารจัดการคัดแยกขยะเพื่อการรีไซเคิลในระยะสั้น ระยะปาน<br />

กลาง และระยะยาวใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด<br />

3. การวางผังอาคารและโรงเรือนธุรกิจรีไซเคิล ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ ของระบบธุรกิจรี<br />

ไซเคิลเอกชนที่มีประสิทธิภาพ<br />

สวนที่ 2: เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ขยะเกิดจากสิ่งของที่เหลือใชจากการดําเนินกิจกรรมตางๆ เชน การผลิต การอุปโภคบริโภคสินคาและ<br />

บริการซึ่งนับวันมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกป เพราะมาจากปจจัยหลายประการ เชน การเพิ่มขึ้นของประชากร<br />

พฤติกรรมการอุปโภคบริโภคสินคา การเพิ่มขึ้นของชุมน การขยายตัวของที่อยูอาศัย การเจริญเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม รวมทั้งคานิยมทางสังคมที่สงเสริมการบริโภควัตถุนิยมเพิ่มมากขึ้น ดวยเหตุนี้จึงเกิด<br />

ปริมาณขยะและของเสียเพิ่มขึ้นตามมา<br />

ขอมูลหนังสือสถิติสิ่งแวดลอมของประเทศไทย พ.ศ. 2549 สํานักงานสถิติแหงชาติ พบวาระหวางป<br />

2539-2547 ปริมาณขยะทั่วประเทศเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องปละ 160,438 ตัน หรือเฉลี่ยรอยละ <strong>1.</strong>2 ป พ.ศ. 2547<br />

มีปริมาณขยะเกิดขึ้นทั้งสิ้น 14.6 ลานตัน ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากพื้นที่นอกเขตเทศบาลมากที่สุด รอย<br />

ละ 45.3 รองลงมาเปนขยะที่เกิดขึ้นในเขตเทศบาลและเมืองพัทยาและในกรุงเทพมหานคร รอยละ 3<strong>1.</strong>3 และ<br />

23.4 ตามลําดับ ขยะที่พบสวนใหญเปนขยะที่ใชแลวและสามารถนํากลับมาใชใหม รอยละ 20-30 ของปริมาณ<br />

ขยะมูลฝอยทั่วประเทศ หรือประมาณ 3.7-4.4 ลานตัน ถาหากนําขยะเหลานี้ไปกําจัดหรือทําลายจะกอใหเกิด<br />

การสูญเสียทางดานเศรษฐกิจและสิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติเปนอยางยิ่ง


603<br />

แผนภูมิที่ 1-1 องคประกอบขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศโดยน้ําหนัก (กรมควบคุมมลพิษ, 2547)<br />

ผลการศึกษา พบวาองคประกอบสวนใหญของขยะ ประกอบดวย ขยะอินทรียหรือขยะที่ยอยสลายได<br />

เชน เศษอาหาร พืชผักและผลไม ประมาณรอยละ 64 ขยะรีไซเคิลหรือขยะที่นํากลับมาใชใหม เชน แกว กระดาษ<br />

โลหะ พลาสติก อลูมิเนียมและยาง ประมาณรอยละ 30 ขยะอันตราย เชน ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟฟา<br />

ประมาณรอยละ 3 และขยะทั่วไป เชน ถุงพลาสติก และอื่นๆ ประมาณรอยละ 3<br />

จากปริมาณขยะและของเสียที่เกิดขึ้น จําเปนตองหาวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยใหนอยลง วิธีการกําจัด<br />

ขยะมีหลายวิธี เชน การฝงกลบ การเผา และการฝง เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลใชวิธีการฝงกลบ<br />

รองลงมาเปนการกําจัดหรือบําบัดดวยวิธีคัดแยกไปทําประโยชนใหม<br />

ดังนั้นขยะมูลฝอยเปนสาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมและมีผลตอสุขภาพอนามัยของ<br />

ประชาชน แนวทางในการแกไขอยางหนึ่งคือ “การคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล” เพื่อลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นและยัง<br />

เปนการสงเสริมใหนําสิ่งของที่เหลือใชแลวกลับมาใชประโยชนไดอีก นอกจากนี้หากสามารถวางกลยุทธในการ<br />

จัดการเพื่อสรางมูลคาเพิ่มดานการคัดแยกขยะ เพื่อพัฒนาระบบธุรกิจรีไซเคิลเอกชนในประเทศไทยรวมถึงการ<br />

ประชาสัมพันธและสรางเครือขายที่มีประสิทธิภาพจะทําใหการดําเนินงานของแตละสวนเปนไปอยางมี<br />

ประสิทธิภาพและสามารถสรางความเขมแข็งทางดานเศรษฐกิจใหกับประเทศอยางแทจริง<br />

สวนที่ 3: วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

3.1 เก็บขอมูลตัวอยางการออกแบบวางผังอาคารและโรงเรือนธุรกิจรีไซเคิลเอกชนในประเทศไทย<br />

ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ 25-30 ตัวอยางเพื่อเปนกรณีศึกษา<br />

3.2 เก็บขอมูลตัวอยางการดําเนินงาน เริ่มจากการลงทุนทําธุรกิจ คํานวณจากตนทุนในการทําธุรกิจ<br />

ไดแก วัสดุรีไซเคิล แรงงาน และระบบขนสง วิธีการคัดแยกขยะเริ่มตั้งแตตรวจสอบขยะที่นํามาขายในแตละวัน<br />

การคัดแยกขยะ การจัดเก็บขยะในสต็อค การทํางานดังกลาวตองมีผูควบคุมดูแลอยางใกลชิด ทั้งธุรกิจขนาดเล็ก<br />

ขนาดกลาง และขนาดใหญ


604<br />

3.3 วิเคราะหขอมูลทางดานกายภาพของธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ ระยะเวลาในการ<br />

บริหารจัดการ เพื่อนําเสนอรูปแบบการจัดการพื้นที่และอาคารที่มีประสิทธิภาพ<br />

สวนที่ 4: ผลวิเคราะหขอมูล<br />

ธุรกิจรับซื้อขยะรีไซเคิล คือ ธุรกิจที่ใหบริการการรับซื้อของเกา ขยะ วัสดุเหลือใชและของเสียที่ไมเปน<br />

อันตราย รูปแบบธุรกิจมีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ผูประกอบการรายเล็กรับซื้อของเกาเพื่อสงขยะไปให<br />

ผูประกอบการรายใหญ 2) ผูประกอบการนําไปคัดแยกและสงไปขายตอบริษัทที่แปรรูปขยะรีไซเคิล การคัดแยก<br />

ขยะรีไซเคิลสวนใหญมีการแบงประเภทขยะหรือวัตถุดิบที่นํามาคัดแยก ไดแก กระดาษ แกว โลหะ อลูมิเนียม<br />

และพลาสติก สวนใหญลูกคาที่นําขยะมาจําหนายนั้นเปนลูกคาที่แตกตางกัน เชน ลูกคาที่มาจากแหลงกําเนิด<br />

ขยะมูลฝอยโดยตรง กลุมคัดแยกพอคาคนกลาง ไดแก ประชาชนทั่วไป ผูคุยเขี ่ยขยะ พนักงานเก็บขยะ รถเรรับ<br />

ซื้อของเกา และรานรับซื้อของเกา<br />

ระบบธุรกิจรีไซเคิลเอกชนที่พบเห็นทั่วไปมี 3 ขนาด คือ ระบบธุรกิจรีไซเคิลขนาดเล็ก ระบบธุรกิจรี<br />

ไซเคิลขนาดกลาง และระบบธุรกิจรีไซเคิลขนาดใหญ ขึ้นอยูความแตกตางดานเงินลงทุนในการทําธุรกิจ ปริมาณ<br />

ขยะที่คัดแยกเพื่อขาย และตองมีรูปแบบการบริการที่เกี่ยวของกับการขนสงที่เหมาะสมเพื่ออํานวยความสะดวก<br />

แกลูกคาในการเดินทาง ปจจัยที่เกี่ยวของในการทําธุรกิจมี ดังนี้ 1) ปจจัยดานสถานที่ตั้ง สถานที่ตั้งควรอยู<br />

บริเวณที่เขาถึงไดงาย ตั ้งอยูติดถนนมีพื้นที่สําหรับขนถายขยะ 2) ปจจัยดานความหลากหลายของผูใหบริการ<br />

ผูประกอบการควรรับซื้อขยะทุกประเภทเพื่อเอื้ออํานวยความสะดวกแกลูกคา 3) ปจจัยดานราคารับซื้อ ถารับซื้อ<br />

สินคาในราคาที่สูงจะทําใหลูกคานําสินคามาขายมากยิ่งขึ้น<br />

แหลงวัตถุดิบของขยะรีไซเคิล แบงออกเปน 3 กลุม คือ 1) กลุมซาเลง ซาเลงจะรับซื้อขยะจากชุมชน<br />

หรือบานเรือนแลวนําไปสงที่บริษัทรับซื้อของเกา 2) กลุมโรงงานอุตสาหกรรม วัสดุสวนใหญเปนวัสดุที่ไมสามารถ<br />

นํากลับมาใชใหมได การซื้อขายนั้นจะมีบริษัทมารับซื้อสินคาที่บริษัท 3) กลุ มลูกคาทั่วไป สวนใหญลูกคาจะ<br />

รวบรวมขยะรีไซเคิลภายในครัวเรือน เมื่อขยะรีไซเคิลมีปริมาณที่มากพอจึงนําไปขายตามรานรับซื้อของเกาหรือ<br />

ผานซาเลง


605<br />

ตารางที่ 1 แสดงลักษณะประกอบธุรกิจรีไซเคิลเอกชน<br />

รายการ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ<br />

<strong>1.</strong> การซื้อขยะตนทาง <strong>1.</strong>ตรวจสอบวัสดุที่นํามา<br />

ขาย<br />

2. ใชตาชั่งขนาดเล็กชั่ง<br />

วัสดุที่นํามาขาย<br />

3. จายเงินใหกับลูกคา<br />

<strong>1.</strong>ตรวจสอบวัสดุที่นํามา<br />

ขาย<br />

2.ใชตาชั่งขนาดเล็ก-ขนาด<br />

กลางชั่งวัสดุที่นํามาขาย<br />

3.จายเงินใหกับลูกคา<br />

<strong>1.</strong>ตรวจสอบวัสดุที่นํามา<br />

ขาย<br />

2.ใชตาชั่งขนาดกลาง-<br />

ขนาดใหญชั่งวัสดุที่นํามา<br />

ขาย (ชั่งทั้งรถบรรทุก)<br />

4. จัดเก็บวัสดุโดยแบง 4. แยกประเภทเขา Stock 3.จายเงินใหกับลูกคา<br />

ตามประเภทวัสดุ บันทึกเขา Store<br />

4. แยกประเภทเขา Stock<br />

บันทึกเขา Store<br />

2. การควบคุมสินคา -ใชสมุดในการจดบันทึก<br />

ทํา Stock<br />

3. เงินลงทุน 100,000-1,000,000<br />

บาท<br />

-บันทึกขอมูลโดยใชระบบ<br />

คอมพิวเตอร<br />

1,000,000-10,000,000<br />

บาท<br />

-บันทึกขอมูลโดยใชระบบ<br />

คอมพิวเตอร<br />

มากกวา 10,000,000<br />

บาท<br />

4. เงินสดหมุนเวียน 20,000-25,000 บาท/วัน 50,000-100,000 บาท/ มากกวา 100,000 บาท/<br />

5. ขายวัสดุตอวัน 1,000,000 บาท 4,000,000-5,000,000<br />

บาท<br />

มากกวา 10,000,000<br />

บาท<br />

6. พนักงาน 3-5 คน 10-30 มากกวา 30<br />

7. คาขนสง ไมมี คิดตามระยะทาง คิดตามระยะทาง<br />

8. คาแรง<br />

- พนักงานทั่วไป 200 บาท/คน/วัน -200 บาท/คน/วัน 200 บาท/คน/วัน<br />

- พนักงานขับรถ 250 บาท/คน/วัน 250 บาท/คน/วัน<br />

- ผูจัดการ 20,000 บาท/เดือน<br />

9. คาใชจายถาวร<br />

- ตํารวจทองที่ 1,000 บาทตอเดือน 1,000 บาทตอเดือน 1,000 บาทตอเดือน<br />

- ตํารวจทางหลวง 500 บาทตอครั้ง 500 บาทตอครั้ง 500 บาทตอครั้ง<br />

- ตํารวจตรวจคน 500 บาทตอคน 500 บาทตอคน 500 บาทตอคน<br />

เขาเมือง (แรงงาน<br />

ตางดาว)<br />

- คาธรรมเนียม 5,000บาท/ป 5,000บาท/ป 5,000บาท/ป<br />

- คาสาธารณูปโภค 3,000 บาท/เดือน 50,000 บาท/เดือน 100,000 บาท/เดือน<br />

10. ระยะเวลาคืนทุน 6-12 เดือน 3-5 ป 7 ป


606<br />

แหลงวัตถุดิบ<br />

ตรวจสอบ<br />

ขนสง<br />

ลูกคา/โรงงาน<br />

ตรวจสอบ<br />

ขนสง<br />

กองเก็บ<br />

ประเภทโลหะ<br />

ประเภทแกว<br />

คัดแยก<br />

ประเภทกระดาษ<br />

ประเภทพลาสติก<br />

ประเภทอื่นๆ<br />

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการคัดแยกขยะของธุรกิจรีไซเคิล<br />

การวางผังจัดเก็บสินคาเปนกระบวนการที่มีความสําคัญมากที่สุด วัสดุที่มีน้ําหนักเบาเคลื่อนยายได<br />

งาย ไดแก กระดาษและพลาสติก ควรจัดเก็บวัสดุไวบริเวณดานในสุดของอาคาร วัสดุที่มีน้ําหนักมากเคลื่อนยาย<br />

ลําบาก ไดแก โลหะและขวดแกว ควรจัดเก็บวัสดุไวบริเวณดานหนาสุดของอาคาร วัสดุที่ถูกแดดถูกฝนและไม<br />

เกิดความเสียหาย ไดแก เศษเหล็ก เศษแกว และเศษวัสดุอื่นๆ ควรจัดเก็บวัสดุไวบริเวณดานนอกของอาคาร<br />

(ลานวางเศษวัสดุ) เพื่อชวยประหยัดพื้นที่เก็บของภายในอาคารอาคารที่ขาดการวางผังจัดเก็บวัสดุนั้นทําใหเกิด<br />

ความยุงยากในการจัดเก็บวัสดุมากและสงผลกระทบถึงตนทุน


607<br />

ขยะอื่นๆ<br />

ประตูทางเขา-ออก<br />

พลาสติก<br />

จุดตรวจ<br />

รับสินคา<br />

ขวดแกว<br />

กระดาษ<br />

โลหะ<br />

อาคารสํานักงาน<br />

ภาพที่ 2 แสดงผังธุรกิจรีไซเคิลที่ขาดการวางผัง<br />

การดําเนินธุรกิจรีไซเคิลเอกชนมีความแตกตางกัน ดังนี้<br />

1) ธุรกิจรีไซเคิลขนาดเล็ก สวนใหญจะเริ่มตั้งแตอาคารพาณิชย หรือที่ดินขนาด 1 ไร พื้นที่สวนใหญ<br />

นั้นมีการจัดเก็บขยะรีไซเคิลไวเปนสัดสวน ดังนี้ สวนจัดเก็บขยะโลหะมีคา ขยะขวดแกว ขยะพลาสติก ขยะ<br />

กระดาษ และขยะอื่นๆ พื้นที่แตละสวนแบงออกเปนพื้นที่กวาง 6 เมตร ยาว 5 เมตรอยางละเทาๆกัน ดังนั้นพื้นที่<br />

ที่ใชจัดเก็บสินคาแตละประเภทอยูที่ 30 ตารางเมตร และสวนที่เหลือเปนพื้นที่จุดตรวจรับสินคา ปริมาณขยะที่<br />

เก็บ 4-5 ตันตอวัน นอกจากนี้ผูประกอบการอาจบริการนอกสถานที่ โดยจัดพาหนะไปรับซื้อขยะรีไซเคิลจาก<br />

ลูกคาและนํามาคัดแยกที่สถานประกอบการก็ไดขึ้นอยูกับความสะดวก<br />

5 m<br />

ประตูทางเขา-ออก<br />

4 m<br />

อาคารสํานักงาน 20<br />

m 2<br />

5 m<br />

4 m<br />

4 m<br />

4 m<br />

โลหะมีคา<br />

จุดตรวจรับสินคา<br />

20 m 2<br />

20 m 2<br />

ขวดแกว<br />

กระดาษ<br />

20 m 2<br />

20 m 2<br />

พลาสติก<br />

อื่นๆ<br />

20 m 2 20 m 2<br />

4 m<br />

4 m<br />

4 m<br />

ภาพที่ 3 แสดงการผังธุรกิจรีไซเคิลขนาดเล็ก


608<br />

2) ธุรกิจรีไซเคิลขนาดกลาง สวนใหญมีพื้นที่ขนาด 1 ไร แบงเปนพื้นที่สํานักงานประมาณ 20-30%<br />

พื้นที่สําหรับเก็บวัสดุประมาณ 60-70% พื้นที่ถังน้ําดับเพลิงประมาณ 10% สวนใหญจัดเก็บขยะรีไซเคิลเปน<br />

สัดสวน ดังนี้ สวนจัดเก็บขยะโลหะ ขยะกระดาษ ขยะขวดแกว ขยะพลาสติก และขยะอื ่นๆ ไดแก กองเศษวัสดุ<br />

เศษแกว เศษเหล็ก เปนตน พื้นแตละสวนในการจัดเก็บขยะรีไซเคิลเทากัน ปริมาณขยะที่เก็บ 20-50 ตันตอวัน<br />

5 m<br />

6 m<br />

อาคารสํานักงาน<br />

30 m 2<br />

7 m<br />

ประตูทางเขา-ออก<br />

ปอมยาม<br />

กองเศษวัสดุ<br />

กองเศษแกว<br />

กองเศษเหล็ก<br />

ลานวางเศษ<br />

วัสดุ<br />

4 m<br />

4 m<br />

4 m<br />

4 m<br />

โลหะ/ทองแดง 28 m 2 ขวดแกว Reuse 28 m 2<br />

กระดาษขาว-ดํา 28 m 2 ขวดแกว Recycle28 m 2<br />

กระดาษออน 28 m 2<br />

พลาสติกรวม 28 m 2<br />

กระดาษกลอง 28 m 2<br />

พลาสติก 28 m 2<br />

บอน้ํา<br />

ดับเพลิง+<br />

ปม+<br />

ควบคุม<br />

ผลิต<br />

สินคา<br />

ภาพที่ 4 แสดงการผังธุรกิจรีไซเคิลขนาดกลาง<br />

3) ธุรกิจรีไซเคิลขนาดใหญ สวนใหญมีพื้นที่ขนาด 5 ไรขึ้นไป แบงเปนพื้นที่สํานักงานประมาณ 20-<br />

30% พื้นที่สําหรับเก็บวัสดุประมาณ 60-70% พื้นที่ถังน้ําดับเพลิงประมาณ 10% พื้นที่สวนใหญจัดเก็บขยะรี<br />

ไซเคิลเปนสัดสวน ดังนี้ สวนจัดเก็บขยะโลหะ ขยะกระดาษ ขยะพลาสติก ขยะขวดแกว ขยะอิเล็กทรอนิกสและ<br />

เครื่องใชไฟฟา และโรงงานเผาขยะผลิตไฟฟา พื้นแตละสวนในการจัดเก็บขยะรีไซเคิลเทากัน ปริมาณขยะที่เก็บ<br />

200 ตันตอวัน<br />

ประตูทางเขา-ออก<br />

44<br />

m<br />

อาคาร<br />

เหล็กหนา ลานวาง<br />

สํานักงาน<br />

เศษเหล็ก<br />

32 m 2 เหล็กยอย<br />

เหล็กบาง<br />

8 m<br />

6<br />

พลาสติก 72 m 2<br />

แกว 72 m 2<br />

6<br />

กระดาษ 72 m 2<br />

อิเล็กทรอนิกส 72 m 2 พลาสติก 72 m 2 โรงเผาขยะ 72 m 2<br />

8 m<br />

บอน้ําดับเพลิง+ปมควบคุมผลิตสินคา<br />

ภาพที่ 5 แสดงการผังธุรกิจรีไซเคิลขนาดใหญ


609<br />

สวนที่ 5: สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ<br />

การดําเนินงานของธุรกิจรีไซเคิลเอกชนนั้น หลังจากผูประกอบการรับซื้อวัสดุเรียบรอยแลวพนักงานจะ<br />

นําวัสดุที่ซื้อมากองรวมกันแลวคัดแยกประเภทวัสดุเพื่อจัดเก็บเขาสต็อค เมื่อปริมาณวัสดุรีไซเคิลมีมากพอ<br />

ผูประกอบการจะนําวัสดุเหลานั้นไปสงโรงงานที่รับซื้อวัสดุรีไซเคิลขนาดใหญ โดยปกติธุรกิจรีไซเคิลขนาดเล็กเก็บ<br />

วัสดุไวในสต็อค ประมาณ 1-2 วัน ธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญเก็บวัสดุไวในสต็อค ประมาณ 2 วัน หลังจาก<br />

นั้นจะนําวัสดุไปสงโรงงานที่รับซื้อ สวนวัสดุที่ไมสามารถขายได ผูประกอบการจะนําวัสดุเหลานั้นไปเผาทําลายที่<br />

เตาเผาขยะของโรงงาน<br />

บรรณานุกรม<br />

กรมการปกครอง. 2539. คูมือการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชประโยชน. กรุงเทพฯ :<br />

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.<br />

กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. 2542. เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูล<br />

ฝอยชุมชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.<br />

นันทพร สงสุวรรณ. 2543. โอกาสทางธุรกิจจากขยะรีไซเคิลและผลกระทบทางออม. สารนิพนธสํานัก<br />

พัฒนาบัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.<br />

วราภรณ ปญญาวดี. 2539. การนําของเสียกลับมาใชใหม: มุมมองดานเศรษฐศาสตร. วารสาร<br />

เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร ปที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.): 84.<br />

วสันต เอารัตน. 2537. มาตรการทางกฎหมายในการสงเสริมการหมุนเวียนพลาสติกกลับมาใชใหม.<br />

วิทยานิพนธบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

สุนีย มัลลิกะมาลย และคณะ. 2543. การจัดการขยะชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ: รูปแบบและมาตรการ<br />

ทางสังคมเศรษฐศาสตรการจัดการและกฎหมาย. สํานักนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย.<br />

วรสัณฑ บูรณากาญจน. การปฏิวัติแกนความคิดทางสถาปตยกรรม Paradigm Shift in Architecture.<br />

วารสารอาษา 10:51/11:51 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ. ISBN 0857-0350 P.72-<br />

76.


610<br />

รูปแบบการบริหารจัดการศูนยรีไซเคิล องคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

THE MUNICIPAL SOLID WASTE MANAGEMENT FOR LOCAL ADMINISTRATION<br />

กรองกาญจน รัตนวงษกิจ<br />

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ดร.วรสัณฑ บูรณากาญจน<br />

สวนที่ 1: บทนํา<br />

<strong>1.</strong>1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

ปจจุบันปญหาดานการจัดการขยะกําลังเปนปญหาใหญ องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองการแกปญหา<br />

ดานนี้อยางจริงจัง โดยการลดปริมาณขยะของทองถิ่นที่เกิดขึ้นในแตละวันใหไดมากที่สุด วิธีการลดขยะที่เกิดขึ้น<br />

นั้นสามารถทําไดหลายวิธี เชน การรณรงคใหคัดแยกขยะกอนทิ้ง การนําขยะทําปุยหมักชีวภาพ วิธีการดังกลาว<br />

ทําใหปริมาณขยะลดลงไดระดับหนึ่ง นอกจากนี้หากภาครัฐมีการสงเสริมใหประชาชนทองถิ่นคัดแยกขยะใน<br />

ครัวเรือนมากขึ้น จะทําใหปริมาณขยะที่เกิดขึ้นนอยลงและยังสรางรายไดประชาชนที่อาศัยอยูในทองถิ่นอีกดวย<br />

กลาวคือ ประชาชนจะมีรายไดเสริมจากการขายขยะประมาณเดือนละ 500-800 บาทตอหลังคาเรือน<br />

ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นสามารถแยกเปนประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท คือ 1) ขยะมูลฝอยที่ตองทําลาย<br />

เชน ขยะอันตราย เปนตน 2) ขยะมูลฝอยที่สามารถนํากลับมาใชใหม เชน ขวดแกว ถุงพลาสติก ถุงกระดาษ เปน<br />

ตน การนําขยะมาใชใหมถือวาเปนสวนหนึ่งที่ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในดานการรักษาสิ่งแวดลอมและ<br />

เปนการสรางเสริมรายได สรางอาชีพใหแกประชาชน<br />

แผนภูมิที่ 1 แสดงสัดสวนปริมาณขยะในทองถิ่น (กรมควบคุมมลพิษ, 2550)


611<br />

ดังนั้นหากมีการวางกลยุทธในการจัดการเพื่อสรางมูลคาเพิ่มดานการคัดแยกขยะ รวมถึงการ<br />

ประชาสัมพันธหรือสรางเครือขายการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ จะทําใหการดําเนินงานดานการกําจัดขยะของแต<br />

ละภาคสวนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสามารถสรางความเขมแข็งใหความมั่นคงของชาติทางดานเศรษฐกิจ<br />

อยางแทจริง<br />

<strong>1.</strong>2 วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> ศึกษารูปแบบระบบการจัดการขยะรีไซเคิลองคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

2. วิเคราะหโครงสรางความตองการและแนวโนมการบริหารจัดการขยะชุมชนของทองถิ่น<br />

3. เสนอรูปแบบโครงสรางระบบการบริหารจัดการขยะชุมชนเพื่อลดปริมาณจัดเก็บขยะขององคกร<br />

ปกครองทองถิ่น<br />

<strong>1.</strong>3 ระเบียบวิธีวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษารูปแบบระบบการจัดการขยะรีไซเคิลองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยมีตัวแปรที่เกี่ยวของ คือ<br />

ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นแตละวัน จํานวนรถเก็บขยะของเทศบาล วิธีการกําจัดขยะของเทศบาล ไดแก การฝง การ<br />

ทําปุยหมัก และการเผา ประเภทของขยะที่เก็บไดในแตละวัน มูลคาของขยะแตละประเภทที่นําไปขาย ะ โดยเก็บ<br />

ตัวอยางเทศบาล 25-30 เทศบาลเพื่อเปนกรณีศึกษา<br />

2. วิเคราะหเปรียบเทียบโครงสรางการบริหารจัดการขยะชุมชนทองถิ่นและเอกชน โดยการสัมภาษณ<br />

เจาหนาที่ทองถิ่น ไดแก 1) ผูบริหารและพนักงานในเทศบาล 2) ชาวบาน 3) ผูประกอบการเก็บขยะ ประเด็นที่<br />

สัมภาษณ คือ ลักษณะของปญหาขยะที่พบบอยที่สุดในการกําจัดขยะและขอเสนอแนะเพื่อหาแนวทางแกไข<br />

3. นําเสนอรูปแบบโครงสรางระบบการบริหารจัดการขยะชุมชนทองถิ่น ประกอบดวย ตัวแปรที่เกี่ยวของ<br />

และรูปแบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ<br />

<strong>1.</strong>4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

<strong>1.</strong> ทราบรูปแบบระบบการจัดการขยะรีไซเคิลองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่สงผลใหปริมาณขยะแตละ<br />

พื้นที่มีจํานวนลดลง<br />

2. ทราบโครงสรางการบริหารจัดการขยะชุมชนทองถิ่นและเอกชน ไดแก คาใชจายในการกําจัดขยะ ลด<br />

ปริมาณขยะและพื้นที่ที่ฝงกลบขยะ และลดงบประมาณการจัดเก็บขยะ รวมถึงปริมาณกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้น<br />

3. รูปแบบการบริหารจัดการขยะชุมชน ออกแบบผังเมือง กําหนดตําแหนงศูนยจัดการขยะตอขนาดชุมชน<br />

ในทองถิ่น<br />

สวนที่ 2: เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

การลดปริมาณขยะมูลฝอยใหไดผลนั้น เริ่มจากการคัดแยกขยะมูลฝอยกอนทิ้ง เพื่อไมใหเกิดการ<br />

ปนเปอน ทําใหไดวัสดุเหลือใชที่มีคุณภาพสูง สามารถนํากลับมาใชใหมอีกครั้ง ( Reused หรือ Recycle) ไดงาย


612<br />

รวมถึงปริมาณขยะมูลฝอยที่นําไปกําจัดนั้นมีปริมาณนอยลง การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยนั้นตองคํานึงถึง<br />

ความเหมาะสมของแตละชุมชน เชน ครัวเรือน รานคา หางสรรพสินคา สํานักงาน บริษัท สถานที่ราชการตาง ๆ<br />

เปนตน รวมทั้งปริมาณ และลักษณะคุณสมบัติขยะมูลฝอยที่แตกตางกันดวย<br />

การจัดการขยะมูลฝอย ตองจัดใหมีระบบที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพดวยการแปรสภาพขยะมูลฝอย เชน<br />

วิธีคัดแยกเอาวัสดุที่สามารถหมุนเวียนใชประโยชนไดออกมา วิธีการบดใหมีขนาดเล็กลงและวิธีอัดเปนกอนเพื่อ<br />

ลดปริมาตรของขยะมูลฝอยไดรอยละ 20-75 ของปริมาตรเดิม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของเครื่องมือและ<br />

ลักษณะของขยะมูลฝอย ตลอดจนใชวิธีการหอหุมหรือการผูกรัดกอนขยะมูลฝอยใหเปนระเบียบมากยิ่งขึ้น ผลที่<br />

ไดรับจากการแปรสภาพมูลฝอยนี้ ชวยใหการเก็บรวบรวม ขนถาย และขนสงไดสะดวกขึ้น ลดจํานวนเที่ยวของ<br />

การขนสง และรีดน้ําออกจากขยะมูลฝอย ทําใหไมมีน้ําชะมูลฝอยรั่วไหลในขณะขนสง ตลอดจนเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพการกําจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีฝงกลบ โดยสามารถจัดวางซอนไดอยางเปนระเบียบทําให<br />

ประหยัดเวลาและคาวัสดุในการกลบทับ เปนตน การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหมมีอยูหลายวิธีขึ้นอยู<br />

กับสภาพและลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอย ผูวิจัยสรุปแนวทางการคัดแยกขยะและนํากลับมาใชใหมได 5 วิธี<br />

คือ<br />

<strong>1.</strong> การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหม (Material Recovery) เริ่มจากการนํามูลฝอยที่สามารถ<br />

คัดแยกไดกลับมาใชใหม มาผานกระบวนการแปรรูปใหม (Recycle) หรือแปรรูป (Reuse)<br />

2. การแปรรูปเพื่อเปลี่ยนเปนพลังงาน (Energy Recovery) เปนการนําขยะมูลฝอยที่สามารถ<br />

เปลี่ยนเปนพลังงานความรอนหรือเปลี่ยนเปนรูปกาซชีวภาพมาเพื่อใชประโยชน<br />

3. การนําขยะมูลฝอยเศษอาหารที่เหลือจากการรับประทาน เปนการนําขยะมูลฝอยเศษอาหารที่<br />

เหลือจากการรับประทาน ไปเลี้ยงสัตว เชน การเลี้ยงสัตวดวยมูลฝอยอินทรีย การทําสบูจากน้ํามันพืชที่ใชแลว<br />

และการทําน้ํายาลางจานจากเปลือกผลไมรสเปรี้ยว<br />

4. การนําขยะมูลฝอยไปปรับสภาพใหมีประโยชนตอการบํารุงรักษาดิน เชน การนําขยะมูลฝอยสด<br />

หรือเศษอาหารมาหมักทําปุย<br />

5.การนําขยะมูลฝอยปรับปรุงพื้นที ่โดยนําขยะมูลฝอยมากําจัดโดยวิธีฝงกลบ จะไดพื้นที่สําหรับใชปลูก<br />

พืช สรางสวนสาธารณะ สนามกีฬา เปนตน<br />

การกําหนดนโยบายของภาครัฐถือวาเปนสิ่งจําเปนและสําคัญมากที่จะทําใหปญหาของขยะมูลฝอย<br />

ลดลงไปได การกําหนดแนวนโยบายของประเทศไทยเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดลอมนั้น มีการกําหนดไวใน<br />

หลาย ๆ ลักษณะเชน กฎหมาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพ<br />

สิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2540-2559 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542-2549 ซึ่งในแตละสวนได<br />

มีการกลาวไวเปนนโยบายกวาง ๆ สําหรับนโยบายเกี่ยวกับการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมนั้น ปจจุบันไดมีการ<br />

กําหนดไวในนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมนั้น ปจจุบันไดมีการกําหนดไวในนโยบายการ<br />

บริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทยของกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม มี<br />

สาระสําคัญสรุป ดังนี้


613<br />

<strong>1.</strong> ควบคุมการผลิตขยะมูลฝอยของประชาชน<br />

2. สนับสนุนงบประมาณ บุคลากร และนักวิชาการ แกทองถิ่นเพื่อใหมีการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบ<br />

วงจร ตั้งแตการเก็บ ขนสง และกําจัดที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล<br />

3. สงเสริมและสนับสนุนใหหนวยงานราชการสวนทองถิ่นมีความรวมมือกันในการจัดการขยะมูลฝอย<br />

โดยมุงเนนรูปแบบศูนยกําจัดขยะมูลฝอยชุมชนรวม<br />

4. สนับสนุนใหมีกฎระเบียบและเกณฑการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมเพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของถือ<br />

ปฏิบัติ<br />

5. สงเสริมและสนับสนุนใหองคกรเอกชนและประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาขยะมูลฝอยมากขึ้น<br />

สวนที่ 3: วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาระบบการจัดเก็บขยะของทองถิ่น โดยศึกษาการเก็บขอมูลจากเทศบาลตัวอยาง 25-30 เทศบาล<br />

เพื่อเปรียบเทียบปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแตละวัน<br />

2. วิเคราะหระบบขนสงโดยใชโครงสรางภาษี โครงสรางธุรกิจ โครงสรางการบริหารงานโดยใชระบบ<br />

เอกชนเปรียบเทียบกับทองถิ่นทําโดยการเก็บขอมูลและสัมภาษณ<br />

3. เสนอแผนและนโยบายการกําจัดขยะของปกครองทองถิ่น การบริหารจัดการ การจัดผังเมืองที่<br />

เหมาะสม<br />

สวนที่ 4: ผลวิเคราะหขอมูล<br />

การจัดเก็บขยะแตละพื้นที่สวนใหญแตกตางกันขึ้นอยูกับนโยบายในการเก็บขยะของทองถิ่นนั้นๆ<br />

ตัวอยางการเก็บขยะทองถิ่นของเทศบาลหนึ่ง เริ่มเก็บตั้งแตเวลา 03:00-12:00น. (ใชระยะเวลา 8 ชั่วโมงในการ<br />

จัดเก็บ) การเก็บแตละวันพนักงานเก็บขยะจะเก็บขยะวันละ 300-500 หลังคาเรือน ซึ่งมีการกําหนดบริเวณที่<br />

จัดเก็บชัดเจน การดําเนินงานควรใหมีการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล ตั้งแต<br />

การกักเก็บควรจัดเก็บขยะแยกตามประเภทหรือชนิดของขยะที่คัดแยกไว เชน แยกเก็บขยะอันตรายแยกจาก<br />

ขยะรีไซเคิล ขยะยอยสลายและขยะทั่วไป การเก็บขนขยะนั้นควรเก็บรวบรวมขยะบริเวณที่มีปริมาณขยะมาก<br />

ที่สุดกอนเปนลําดับแรก นอกจากนี้ถาบริเวณที่เก็บขยะมีการจราจรติดขัด ควรหลีกเลี่ยงการใชเสนทางบริเวณ<br />

นั้นและเปลี่ยนไปใชชวงเวลาอื่น การขนสง มีการกําหนดเสนทางใหจุดสุดทายของการเก็บขยะอยูใกลสถานีขน<br />

ถายขยะหรือพื้นที่กําจัดขยะมากที่สุด สวนเสนทางการเก็บรวบรวมขยะรีไซเคิลควรใหจุดสุดทายของการเก็บอยู<br />

ใกลโรงงานคัดแยกและแปรสภาพขยะมากที่สุด สิ่งที่สําคัญที่สุดในกระบวนการจัดการขยะรีไซเคิล คือ ควร<br />

จัดเก็บขยะใหหมดทุกวันหรือใหมีปริมาณขยะตกคางนอยที่สุด เพื่อปองกันปญหาเรื่องกลิ่น และพาหะนําโรค


614<br />

ประเภทรถเก็บที่จัดเก็บขยะนั้นมีขนาดที่แตกตางกันขึ้นอยูกับความหนาแนนของประชากรแตละพื้นที่<br />

ดังนี้<br />

1) รถเก็บขยะประเภทธรรมดาเปดขาง มีหลายขนาด ไดแก 4 ลูกบาศกเมตร 10 ลูกบาศกเมตร<br />

และ12 ลูกบาศกเมตร ขึ้นอยูกับความหนาแนนของประชากร รูปแบบนี้จะใชพนักงานในการเก็บทั้งหมด 5 คน<br />

แบงเปนพนักงานขับรถ1 คนและที่เหลือ 4 คนเปนพนักงานที่เก็บขยะ ในระหวางที่เก็บนั้นพนักงานจะแยกขยะที่<br />

เก็บไดแตละประเภทเพื่อนําไปขายยังรานรับซื้อของเกาเพื่อสรางรายไดใหกับพนักงาน การเก็บขยะแบบนี้จะใช<br />

แรงงานคนเปนสวนใหญ รถเปดขางจะเก็บขยะไดสูงสุดวันละ 3-4 ตันตอครั้ง ในการขนขยะแตละครั้งถาเกิดวา<br />

รถมีปริมาณขยะที่มากเกินพอก็จะนํามาเททิ้งที่สถานีขนถายขยะ<br />

2) รถเก็บขยะประเภทรถยนตเก็บรวบรวมขยะแบบอัดทาย มีหลายขนาด ไดแก 8 ลูกบาศกเมตร<br />

และ 10 ลูกบาศกเมตรการเก็บขยะรูปแบบนี้จะใชพนักงานในการเก็บทั้งหมด 4 คนแบงเปนพนักงานขับ<br />

รถ 1 คนและที่เหลือ 3 คน ซึ่งลดแรงงานไป 1 คน การเก็บขยะของรถขยะอัดทายนั้น พนักงานจะเก็บขยะตาม<br />

หมูบานแลวคัดแยกประเภทของขยะที่ได หากปริมาณขยะมีมากเกินไปก็ใชเครื่องกลไฮโดรลิคอัดขยะเขาไปเพื่อ<br />

เพิ่มพื้นที่ในการเก็บขยะใหมากขึ้น รถขยะอัดทายจะเก็บขยะไดสูงสุดวันละ 6-8 ตัน ในการขนขยะแตละครั้งถา<br />

เกิดวารถมีปริมาณขยะที่มากเกินพอก็จะนํามาเททิ้งที่สถานีขนถายขยะ<br />

3) รถเก็บขยะประเภทรถขยะแบบเครน รถขนขยะประเภทนี้จะมีขนาดใหญกวา รถขยะอัดทายและ<br />

รถขยะเปดกวาง การเก็บขยะรูปแบบนี้จะใชพนักงานในการเก็บทั้งหมด 2 คน เพราะใชแรงงานเครื่องจักรเปน<br />

สวนใหญ<br />

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบรถที่ใชเก็บขยะแตละประเภท<br />

ประเภทรถเก็บ<br />

ขยะ<br />

จํานวนพนักงาน<br />

(คน)<br />

ปริมาณขยะที่<br />

เก็บ (ตัน/วัน)<br />

จํานวนบานที่เก็บ<br />

(หลังคาเรือน)<br />

รายไดเฉลี่ยของ<br />

พนักงาน (บาท)<br />

รถธรรมดาเปดขาง 5 3-4 200-300 400-500<br />

รถแบบอัดทาย 4 6-8 300-500 400-500<br />

รถเครน 2 8 300-500 400-500<br />

การเก็บขยะในแตละวันนั้นเมื่อรถมีปริมาณขยะที่มากเกินพอพนักงานจะนํามาทิ้งที่สถานีขนสงขยะ<br />

หลังจากนั้นจะมีคนคัดแยกขยะปลายทางมาขอประมูลขยะที่จะทิ้งเพื่อคัดแยกขยะที่นําไปรีไซเคิลไดและนําไป<br />

ขายยังรานรับซื้อของเกา การประมูลแตละครั้งจะเสียคาใชจายประมาณ 60 บาทตอรถขนขยะ 1 คัน หลังจาก<br />

นั้นคนคัดแยกขยะจะทําการแยกขยะที่ประมูลได โดยเฉลี่ยแลวขยะ 1 ตันนั้น คนคัดแยกขยะสามารถนําไปขาย<br />

ตอใหรานขายของเกาไดประมาณ 2-3% เทานั้น คิดเปนเงินทุนทั้งหมด 200-300 บาท หากประเมินแลวไมคุมคา<br />

กับการลงทุนเปนอยางยิ่ง นอกจากนี้ขยะที่เหลือจากการคัดแยกเสร็จสิ้นก็จะนําไปฝงกลบ หรือทําเปนปุ ยชีวภาพ<br />

ขึ้นอยูกับสถานีกําจัดขยะแตละทองถิ่นวาจะมีวิธีจัดการอยางไร หากการคัดแยกขยะแตละครั้งคนคัดแยกขยะใช<br />

เวลามากในการคัดแยก หรือไมมีผูคัดแยกขยะมาประมูลเทศบาลจะใหพนักงานนําขยะเหลานั้นไปฝงกลบทันที<br />

หรือบางกรณีอาจมีคนคัดแยกขยะมาประมูลอีกรอบหลังจากฝงกลบไปแลวก็ได


615<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 1 แสดงวางผังเมืองเพื่อวางแผนในการจัดเก็บขยะ<br />

ภาพที่ 1 แสดงการวางผังเมืองจังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลามีพื้นที่ 7,393.889 ตารางกิโลเมตร แบง<br />

ออกเปน 16 อําเภอ 127 ตําบล 987 หมูบาน มีประชากร 1,357,023 คน ผูวิจัยแบงบริเวณความหนานานของ<br />

ประชากรออกเปน 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 สีเหลิองมีความหนาแนนของประชากรนอยมากจํานวนประชากร<br />

ประมาณ 5,000 คน กลุมที่ 2 สีสมความหนาแนนของประชากรปานกลางจํานวนประชากรประมาณ 10,000 คน<br />

กลุมที่ 3 สีแดงมีความหนาแนนของประชากรมากจํานวนประชากรประมาณ 15,000 คน โดยเฉลี่ยแลวความ<br />

หนาแนนของประชากรจังหวัดสงขลาอยูที่ 18<strong>1.</strong>77 คนตอตารางกิโลเมตร<br />

จังหวัดสงขลาเปนจังหวัดที่มีประชากรในแตละอําเภอแตกตางกัน ผูวิจัยไดเก็บขอมูลการบริหารจัดการ<br />

ขยะขององคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหมด 6 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองสงขลา อําเภอทิงพระ อําเภอจะนะ<br />

อําเภอหาดใหญ อําเภอเทพาและอําเภอกระแสสินธุ ผลการเก็บขอมูลเบื้องตน พบวาอําเภอหาดใหญเปนอําเภอ<br />

ที่มีจํานวนประชากรมากที่สุดของจังหวัดสงขลา คือ 370,919 คน ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย 74<strong>1.</strong>83 ตันตอ<br />

วัน อําเภอกระแสสินธุเปนอําเภอที่มีจํานวนประชากรนอยที่สุดของจังหวัดสงขลา คือ 15,458 คน ปริมาณขยะที่<br />

เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย 30.97 ตันตอวัน ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นแตกตางกัน 23.59 เทา


616<br />

แผนภูมิที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบปริมาณขยะตอจํานวนประชากรทองถิ่น<br />

แผนภูมิที่ 2 แสดงใหเห็นการเปรียบเทียบปริมาณขยะตอประชากร พบวาโดยเฉลี่ยแลว คน 1 คนจะ<br />

สรางปริมาณขยะ <strong>1.</strong>-2 กิโลกรัมตอวัน (กรมการปกครองสวนทองถิ่น, 2552) ขยะดังกลาวประกอบดวยขยะ<br />

อินทรีย ขยะเปยก ขยะแหง และขยะอันตรายที่ประชากรสรางขึ้นแตละวัน จากขอมูลดังกลาวพบวา อําเภอที่มี<br />

ปริมาณขยะมากที่สุดมี ดังนี้ 1) อําเภอหาดใหญมีปริมาณขยะ 270,770.87 ตันตอป 2) อําเภอเมืองสงขลามี<br />

ปริมาณขยะ 118,799.47 ตันตอป 3) อําเภอจะนะมีปริมาณขยะ 56,978.69 ตันตอป 4) อําเภอเทพามีปริมาณ<br />

ขยะ 51,027.73 ตันตอป 5) อําเภอทิงพระมีปริมาณขยะ 35,71<strong>1.</strong>60 ตันตอป 6) อําเภอกระแสสินธุ มีปริมาณ<br />

ขยะ 11,340.05 ตันตอป ตามลําดับการทิ้งขยะแตละครั้งถาประชาชนใหความสําคัญกับการคัดแยกขยะ โดย<br />

เริ่มคัดแยกขยะตั้งแตตนทาง จะทําใหลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแตละวันได นอกจากนี้หากประชาชนนําขยะ<br />

เหลานั้นไปขายใหรานรับซื้อของเกาได ซึ่งเปนการสรางรายไดใหกับครอบครัวอีกทางหนึ่ง โดยเฉลี่ยแลว<br />

ประชาชนแตละครัวเรือนจะมีรายไดจากการขายขยะเดือนละ 500-800 บาท


617<br />

ภาพที่ 2 แสดงวิธีการกําจัดขยะรีไซเคิลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

ผลการสํารวจพบวาแตละทองถิ่นมีวิธีการกําจัดที่แตกตางกัน จากแผนภาพขางบนแสดงความสัมพันธ<br />

ของการกําจัดขยะที่เทศบาลหนึ่ง ยกตัวอยาง วัสดุประเภทแกวโดยปกติแกวที่รับซื้อเพื่อรีไซเคิลแบงออกเปน 2<br />

ประเภท คือ 1) ขวดแกวดี 2) ขวดแกวแตก ขวดแกวดีจะถูกนํามาคัดแยกชนิดและประเภทที่บรรจุสินคา เชน<br />

ขวดแมโขง ขวดน้ําปลา ขวดเบียร ฯลฯ เมื่อทําการคัดแยกแตละประเภทแลว หากขวดไมเกิดการแตกบิ่นเสียหาย<br />

จะถูกสงกลับเขาโรงงาน เพื่อนําไปลางสะอาดและนํากลับมาใชอีกครั้ง (Reuse) ทุกๆปจะมีขวดที่ผานการฆาเชื้อ<br />

แลวไมต่ํากวา 28 พันลานใบ ขวดบางชนิดถูกกําจัดโดยการฝงกลบ แตขวดแกวบางชนิดเมื่อใชแลวสามารถนํา<br />

กลับมาลางทําความสะอาดเชื้อโรค แลวหมุนเวียนนํามาบรรจุสินคาใหมไดซ้ําจํานวน 30 ครั้ง สําหรับขวดแกว<br />

แตก ไดแก ขวดที่แตกชํารุดเสียหาย ขวดประเภทเหลานี้จะถูกนํามาคัดแยกสี คือ ขวดแกวขาว ขวดแกวสีชา และ<br />

ขวดแกวสีเขียว เมื่อคัดแยกสีเสร็จแลวจะถูกปอนสงเขาโรงงานหลอมเศษแกว เพื่อทุบและบดใหแตกละเอียด<br />

จากนั้นลางทําความสะอาดดวยเคมี และหลอมออกมาเปนขวดใหม ภาพที่ 2 แสดงวิธีการกําจัดขยะรีไซเคิลของ<br />

องคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูมีอํานาจการปกครองทองถิ่น ควรมีขอกําหนดเบื้องตนตอประชากรในบริเวณพื้นที่<br />

ใหคัดแยกขยะกอนทิ้งเพื่อลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้น การคัดแยกขยะจะสงผลใหปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแตละบาน<br />

ลดลงเพราะประชาชนมีสวนรวมในการคัดแยกขยะและนําขยะที่แยกประเภทไปขายใหรานรับซื้อของเกาหรือ<br />

โรงงาน เพื่อนําขยะเหลานั้นไปรีไซเคิล นอกจากจะลดปริมาณขยะแลวสิ่งที่ตามมา คือ ลดตนทุนดานการขนสง<br />

เพราะประชาชนจะนําขยะไปขายทําใหทางโรงงานแปรรูปขยะลดคาใชจายในการขนสงและลดการปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดออกสูชั้นบรรยากาศอีกดวย


618<br />

สวนที่ 5: สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ<br />

แผนภูมิที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบปริมาณขยะที่เกิดขึ้นกอนและหลังการคัดแยก<br />

แผนภูมิที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบปริมาณขยะที่เกิดขึ้นกอนและหลังการคัดแยก ผูวิจัยพบวาภาย<br />

หลังจากที่ประชาชนใหความรวมมือในการคัดแยกขยะกอนทิ้งสงผลใหปริมาณขยะที่เกิดขึ้นนั้นลดลง รอยละ 80<br />

นอกจากนี้ประชาชนยังมีรายไดเฉลี่ยจากการขายขยะรีไซเคิลครอบครัวละ 500-800 บาทตอเดือน สิ่งที่สําคัญ<br />

ที่สุด คือ ลดกระบวนการขนสง เพราะ ประชาชนจะนําขยะไปขายเองทําใหลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่<br />

เกิดขึ้น<br />

บรรณานุกรม<br />

กรมการปกครอง. 2539. คูมือการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชประโยชน. กรุงเทพฯ :<br />

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.<br />

กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. 2542. เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูล<br />

ฝอยชุมชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.<br />

วราภรณ ปญญาวดี. 2539. การนําของเสียกลับมาใชใหม : มุมมองดานเศรษฐศาสตร. วารสาร<br />

เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร ปที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.) : 84.<br />

วสันต เอารัตน. 2537. มาตรการทางกฎหมายในการสงเสริมการหมุนเวียนพลาสติกกลับมาใชใหม.<br />

วิทยานิพนธบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

วรสัณฑ บูรณากาญจน. การปฏิวัติแกนความคิดทางสถาปตยกรรม Paradigm Shift in Architecture.<br />

วารสารอาษา 10:51/11:51 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ. ISBN 0857-0350 P.72-<br />

76


619<br />

แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางกายภาพที่อยูอาศัยของ<br />

ผูสูงอายุในชนบท : กรณีศึกษาตําบลหนองกุงเซิน อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน<br />

The Improvement of Physical Housing for the Elderly in Rural Areas : A Case<br />

Study of Tambon Nong Kung Shen, Phu Wiang District, Khon Kaen Province<br />

ภัทรพล สาลี<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ไตรรัตน จารุทัศน<br />

บทนํา<br />

การเปนภาระของประชากรสูงอายุเมื่อเทียบกับวัยแรงงานในประเทศไทยมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

โดยเพิ่มจากรอยละ 10 ใน พ.ศ. 2505 เปนรอยละ 19.6 ใน พ.ศ. 2553 และจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 29.6 ใน พ.ศ.<br />

2568 และหลังจากป 2573 (20 ป ขางหนา) เปนตนไป อัตราสวนการเปนภาระในวัยสูงอายุมีแนวโนมสูงกวาวัย<br />

เด็กอยางมาก ผลการสํารวจในป 2550 ประเทศไทยมีสัดสวนของประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้นจนเกือบเปน<br />

ครึ่งหนึ่งของประชากรวัยเด็ก ซึ่งสงผลใหผูที่อยูในวัยแรงงานตองรับภาระในการเลี้ยงดู และดูแลผูสูงอายุมากขึ้น<br />

พบวาประชากรวัยแรงงาน 100 คน ตองรับภาระเลี้ยงดูผูสูงอายุ 16 คน (นอกเขตเทศบาลสูงกวาในเขตเทศบาล<br />

เล็กนอย)ขณะที่อัตราสวนการเปนภาระวัยเด็กลดลงอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนผลมาจากการลดลงของอัตราเจริญพันธุ<br />

ทั้งมวลในอดีต โดยในป 2537 อัตราการเปนภาระในวัยเด็กเทากับ 47 คน ลดลงเปน 38 คนในป 2545และลดลง<br />

เหลือ 34 คนในป 2550 หมายความวาในอนาคตวัยแรงงานจะตองรับภาระการเลี้ยงดูผูสูงอายุจะตองเสียคาใชจาย<br />

มากขึ้นกวาในปจจุบันอีก<br />

นอกจากนั้นการประมาณการสถานะสุขภาพผูสูงอายุพบวา ใน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะมีประชากร<br />

สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพระยะยาว ประมาณ 1,644,658 คน (รอยละ 18.8 ของประชากรสูงอายุทั้งประเทศ)<br />

ตองมีคนดูแลในการเดินหรือเคลื่อนที่ออกนอกบริเวณบานหรือที่พักอาศัยจํานวน412,910 คน (รอยละ 4.7 ของ<br />

ประชากรสูงอายุทั้งประเทศ) ซึ่งในกลุมนี้ มีรอยละ 0.9 ที่ไมสามารถลุกนั่ง หรือเคลื่อนยายได รอยละ 6.9 ตองการ<br />

พึ่งพาผูดูแลในการดูแลสุขภาพ (สุทธิชัย จิตะพันธกุล และคณะ 2542) นอกจากนี้ พบวารอยละ 3.4 ของ<br />

ผูสูงอายุไทยในปจจุบันมีอาการสมองเสื่อมและประมาณวาในป 2558 จะมีผูสูงอายุที่มีอาการสมองเสื่อมราว<br />

291,633 คน จากขอมูลดังกลาวนี้แสดงใหเห็นถึงความจําเปนในการเตรียมการระบบการดูแลผูสูงอายุ โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งกลุมผูสูงอายุที่เขาสูภาวะที่ตองพึ่งพาผูอื่นที่นับวันจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น แมวาผูสูงอายุสวนใหญ (รอย<br />

ละ 88 ) สามารถดูแลตนเองได


620<br />

ตารางที่ 1 แสดงแนวโนนประชากรผูสูงอายุของประเทศไทย<br />

ในการทํากิจวัตรประจําวัน แตก็มีจํานวนไมนอย (รอยละ 12) ที่ตองการผูดูแล และในจํานวนนี้มีประมาณ<br />

รอยละ <strong>1.</strong>1 ที่ไมมีผูดูแลในอดีตที่ผานมาการดูแลผูสูงอายุเปนหนาที่ของครอบครัวโดยสังคมไมไดใหความสําคัญ<br />

และคํานึงถึงความจําเปนในการจัดการดูแลผูสูงอายุ เนื่องจากครอบครัวสามารถรับภาระในการดูแลไดอยางดี<br />

ภายใตเครือขายของสมาชิกในครอบครัวที่มีเปนจํานวนมาก แตในปจจุบันการเปลี่ยนแปลงโครงสรางครอบครัว<br />

และวิถีการดําเนินชีวิตของประชาชนทําใหการดูแลผูสูงอายุเกิดความยากลําบาก<br />

และในอนาคตผูสูงอายุจะตองสามารถชวยเหลือตัวเองได การศึกษานี้จึงเปนการศึกษาเพื่อปรับปรุง<br />

สภาพที่อยูอาศัยของผูสูงอายุใหมีความสะดวก เอื้อใหเกิดความปลอดภัยตอการใชงานในกิจวัตรประจําวันของ<br />

ผูสูงอายุ<br />

วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

ศึกษาลักษณะสภาพสังคม เศรษฐกิจ และลักษณะทางกายภาพของผูสูงอายุที่อาศัยอยุในชนบท เพื่อ<br />

นําขอมูลปญหาที่พบมาออกแบบ ปรับปรุง สภาพที่อยูอาศัยของผุสูงอายุใหมีความสะดวกและปลอดภัย<br />

วิธีการการศึกษา<br />

ศึกษาลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และ ละกษณะทางกายภาพของที่อยูอาศัย จากการสัมภาษณและ<br />

การสังเกต สภาพที่อยูอาศัยของผูสูงอายุ ที่อาศัยอยูใน ต.หนองกุงเซิน อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน<br />

แนวคิดทฤษฎี<br />

แนวคิดการใหผูสูงอายุอาศัยในที่เดิม (Aging in place) แนวคิดการใหผูสูงอายุอาศัยในที่เดิม เปนการ<br />

ใหบริการผูสูงอายุโดยแนะนําใหผูสูงอายุอาศัยอยูในที่อยูอาศัยเดิมและใหมีบริการเพื่อชวยเหลือไดในกรณีที่เกิด


621<br />

ปญหาสุขภาพขึ้น ซึ่งทางเลือกทั่วไปในการรักษาพยาบาลคือการใหผูสูงอายุเปนฝายไปหาเพื่อรับการรักษาหรือ<br />

ตองยายที่อยูไปยังสถานที่ที่สามารถใหการรักษาพยาบาลได แตโดยความเปนจริงแลวผูสูงอายุมากกวา 90%<br />

ตองการอาศัยอยูในที่เดิมซึ่งเปนผูสูงอายุรูสึกวาตนเองสามารถฟนตัวไดดีกวา<br />

ภาพที่ 1 แสดงแนวความคิดเรื่อง Aging in place<br />

การออกแบบสําหรับทุกคน (Universal Design; Design for All) เปนแนวความคิดสากลที่องคการ<br />

สหประชาชาติไดพยายามเผยแพรและสงเสริม จากแนวความคิดเดิมเพื่อใหผูพิการไดรับสิ่งอํานวยความสะดวก<br />

ในการดํารงชีวิตในอาคารและสิ่งแวดลอมตามโครงการ Promotion of Non-Handicapping Physical Environment<br />

for Disabled Persons และไดมีการพัฒนาตามลําดับเปน Accessible Design, Adaptable Design, Barrier<br />

Free Design ซึ่งในที่สุดก็เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปในหลักการของ Universal Design คือ<br />

หลักการที่ 1 ความเทาเทียมกันในการใชสอยของผูใชที่ตางวัยและตางความสามารถ (Equitable Use)<br />

หลักการที่ 2 ปรับเปลี่ยนการใชได (Flexible Use)<br />

หลักการที่ 3 ใชงายดวยตนเอง (Simple and Intuitive)<br />

หลักการที่ 4 การสื่อความหมายเปนที่เขาใจ (Perceptible Information)<br />

หลักการที่ 5 ทนตอการใชที่ผิดพลาด (Tolerance for Error)<br />

หลักการที่ 6 เบาแรง (Low Physical Effort)<br />

หลักการที่ 7 มีขนาดและที่วางเพื่อการเขาถึงและใชได (Size and Space for Approach and Use)<br />

กอนหนานี้มีการใชคําวา “การออกแบบที่สามารถเขาถึงได (Accessible design)” หรือคําวา “ออกแบบ<br />

ที่ไมมีอุปสรรคกีดขวาง (Barrier-free design)” ซึ่งเริ่มตนหลักการการออกแบบจากคนพิการ หรือบุคคลที่ดอย<br />

ความสารถตางๆ หลังจากนั้นมีการคนพบวายังมีบุคคลกลุมอื่นๆ อีกที่ไมพิการ หรือดอยความสามารถ แตดวย<br />

ขอจํากัดของตนเอง เชนกลุมเด็ก ผูสูงอายุ ผูหญิงตั้ง ครรภ คนปวย ทําใหมีความจําเปนตองอยูในสภาพแวดลอม<br />

ที่เหมาะสมกับขอจํากัดเหลานั้น จนเกิดคําวา “การออกแบบสําหรับทุกคน (Universal design ;Design for All)”<br />

ซึ่งครอบคลุมการออกแบบที่คํานึงถึงขอจํากัด ลักษณะการใชสอยของคนทุกกลุมตามที่กลาวมาขางตน


622<br />

กรณีศึกษา ต.หนองกุงเซิน อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน<br />

ภาพที่ 2 แสดงภาพถายทางอากาศ ต.หนองกุงเซิน อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน<br />

การศึกษานี้ไดศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการปรับปรุงทางกายภาพที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุในชนบท ได<br />

เลือกภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีปรุชากรผูสูงอายุมากที่สุด โดยไดกําหนดพื้นที่ตําบลหนองกุงเซิน อ.ภูเวียง<br />

จ.ขอนแกน ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตดานพื้นที่ศึกษาโดยพิจารณาจากชุมชนที่มีสวนรวม และ<br />

มีผูบริหารที่เขมแข็ง รวมถึงการที่มีแผนงานของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (พม.) และ<br />

สถาบันวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดกําหนดใหเปน (Community Based Rehabilitation - CBR) เพื่อเปนพื้นที่นํารองพัฒนา<br />

ที่อยูอาศัยของผูสูงอายุในชนบท<br />

กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้คือผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ที่อาศัยอยูใน ตําบลหนองกุงเซิน<br />

อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน ที่ศึกษา จํานวน 26 หลัง<br />

ภาพที่ 3 แสดงสภาพที่อยูอาศัย ของผูสูงอายุ ต.หนองกุงเซิน อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน


623<br />

จากการลงพื้นที่สํารวจขอมูลเทศบาลตําบลหนองกุงเซิน เพื่อศึกษาสภาพและปรับปรุงที่อยูอาศัยของ<br />

ผูสูงอายุ พบวา พื้นที่ เทศบาลตําบลหนองกุงเซิน อําเภอภูเวียง เปนพื้นที่ชนบท หางไกลจากตัว อําเภอเมือง<br />

ขอนแกน ระยะทางกวา 80 กิโลเมตร ประชากรสวนใหญที่อาศัยอยู ประกอบอาชีพเกษตรกรรมถึงรอยละ 90 ซึ่ง<br />

สวนใหญมีฐานะยากจน มีประชากรชายประมาณรอยละ 40 ประชากรหญิงรอยละ 60 ซึ่งอาศัยอยูคนเดียวหรือ<br />

ตามลําพัง มากกวาอยูเปนคู ถึงรอยละ 60 ( โสด หยา หรือ หมาย ) สวนใหญมีการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา<br />

รายไดหลัก จากเบี้ยยังชีพผูสูงอายุและลูกหลานให สวนใหญมีปญหาทางดานสุขภาพ โรคประจําตัวตางๆ เชน<br />

เบาหวาน ความดัน เปนตน ผูสูงอายุอาศัยอยูในบานของตัวเองถึงรอยละ 98 มี กิจวัตรโดยสวนใหญ นั่งเลน คุย<br />

กับเพื่อนบาน และ ไปทําบุญที่วัด<br />

สภาพที่อยูอาศัยที่พบ เปนบานไมชั้นเดียว และ บานไมยกพื้นสูง ซึ่งสภาพโดยสวนใหญมีความทรุด<br />

โทรม จากการสัมภาษณและสอบถาม อุบัติเหตุโดยสวนใหญของผูสูงอายุ มาจากการลื่นหกลม ภายในหองน้ํา<br />

ทางเดินและบันได<br />

ผลจากการศึกษานี้พบวา ความตองการในการปรับปรุงสภาพที่อยูอาศัยใหมีความสะดวก และ ปลอดภัย<br />

โดยปญหาหลักๆที่ควรปรับปรุงไดแก<br />

- พื้นบานและทางเดิน ควรเปนระดับเดียวกัน และใชวัสดุที่เปยกน้ําแลวไมลื่นไมควรทําพื้นตางระดับ<br />

หรือธรณีประตู และไมทิ้งสิ่งกีดขวางใหเกะกะ ทางเดิน เพราะอาจจะเกิดการสะดุดลมได<br />

- บันได ควรจัดใหผูสูงอายุใชชีวิตประจําวันโดยไมตองใชบันไดหรือใชใหนอยที่สุดบันไดควรมีราวจับทั้ง<br />

2 ดานบันไดแตละขั้นควรสูงนอยกวา 15 ซม. และมีความลึกของบันไดมากกวา 30 ซม. และใสยางกันลื่นบริเวณ<br />

ขอบบันได ( ดูภาพที่ 4 )<br />

สภาพกอนการปรับปรุง<br />

สภาพหลังการปรับปรุง<br />

ภาพที่ 4 แสดงสภาพการปรับปรุงบันไดบานของผูสูงอายุ<br />

- ราวจับ ควรมีตลอดแนวทางเดิน ราวจับควรมีลักษณะกลม มีขนาดที่จับไดพอเหมาะ และควรอยูสูง<br />

พอที่จะจับไดถนัด (ประมาณ 75 ซม.จากพื้น)ภายในหองตาง ๆ ทุกหองควรมีราวจับเพื่อชวยพยุงตัวเวลาลุกยืน<br />

หรือเดิน ( ดูภาพที่ 5 )


624<br />

สภาพกอนการปรับปรุง<br />

สภาพหลังการปรับปรุง<br />

ภาพที่ 5 แสดงสภาพการปรับปรุงพื้นทางเดินและติดตั้งราวจับ<br />

- แสงสวางภายในบานโดยเฉพาะ หองน้ํา ทางเดินและบันไดควรจัดใหมีความสวางที่เพียงพอ ไมมืด<br />

แตก็ ไมควรสวางจาเกินไปเพราะทําใหตาพราได<br />

- เฟอรนิเจอร ควรมีความสูง;ต่ําที่พอเหมาะ การจัดวางสิ่งของก็ไมควรวางสูงจนตองเขยงขาหรือต่ําจน<br />

ตองกมหรือคุกเขาเพื่อหยิบของควรใชเครื่องอํานวยความสะดวกในการทําความสะอาดบาน เชน ใชไมถูพื้น แทน<br />

การนั่งถูพื้น ควรใหผูสูงอายุนอนบนเตียงและนั่งบนเกาอี้ที่มีความสูงระดับหัวเขา<br />

- หองน้ํา เปนหองที่สําคัญและมักจะเปนสถานที่ที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด พื้นหองน้ําควรเปนระดับ<br />

เดียวกัน ไมมีธรณีประตูหรือพื้นตางระดับ และ ผาเช็ดเทาควรจะไมหนาเกินไปเพราะอาจทําใหสะดุด หรือ<br />

เหยียบแลวลื่นไดวัสดุที่ปูพื้นหองน้ําก็ตองไมลื่นเมื่อเปยกน้ํา ควรใชโถนั่งหรือชักโครก ควรมีที่นั่งเพื่อนั่งเวลา<br />

อาบน้ําหรือสระผม มีราวจับชวยพยุงตัว ( ดูภาพที่ 6 )<br />

ก็อกน้ําควรเปนแบบคันโยกโดยใชมือดึงหรือดันเพื่อปด-เปดน้ํา ไมควรเปนแบบลูกบิดหรือแบบหมุน<br />

สภาพกอนการปรับปรุง<br />

สภาพหลังการปรับปรุง<br />

ภาพที่ 6 แสดงสภาพการปรับปรุงหองน้ําบานผูสูงอายุ


625<br />

- ประตูควรเปนแบบเลื่อน ซึ่งเปด-ปดโดยใชแบบมือจับดึงหรือดัน ไมควรใชลูกบิดประตูควรกวางพอ<br />

สําหรับการเขาออกพรอมกัน 2 คน เผื่อวาจะตองมีคนชวยพยุง หรือ กวางพอที่จะเข็น รถเข็นเขาออกไดสะดวก<br />

ขอเสนอแนะ<br />

ในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกบริเวณที่พักอาศัย ควรคํานึงถึง การนําวัสดุภายในทองถิ่นของ<br />

แตละพื้นที่มาประกอบดวย และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมดานเทคโนโลยีวัสดุพื้นถิ่นอันจะเปนการสอดคลองกับ<br />

สภาพทางเศรษฐกิจของแตละพื้นที่<br />

เอกสารอางอิง<br />

<strong>1.</strong> ผศ.ดร.วิฑูรย เหลียวรุงเรือง และคณะ, การสํารวจพื้นที่ในชุมชนเพื่อเตรียมการจัสภาพแวดลอม<br />

ที่เหมาะสม สิ่งอํานวยความสะดวก ปลอดภัยสําหรับผูสูงอายุ (เทศบาลตําบลแมเหียะ)<br />

จ.เชียงราย (มหาวิทยาลัยเชียงใหม: 2552)<br />

2. ผศ.ธีรวัลย วรรธโนทัย และคณะ, โครงการศึกษาคววามเปนไปไดในการพัฒนาการอยูอาศัย<br />

สําหรับผูสูงอายุ (กรุงเทพฯ: 2552)<br />

3. ประเสริฐ อัสสันตชัย, การสงเสริมสุขภาพและการปองกันภาวะหกลมและผลแทรกซอนใน<br />

ผูสูงอายุโดยแพทยเวชศาสตรผูสูงอายุ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพฯ: 2544)<br />

4. วิไลลักษณ ไกรสุวรรณ, แนวทางในการจัดเตรียมที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุ : กรณีศึกษา<br />

ชมรมอยูรอยป (วิทยานิพนธเคหพัฒนาศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: 2545)<br />

5. วีรยา ทัตตากร, การใชพื้นที่ภายนอกอาคารในโครงการที่พักอาศัยสําหรับผูสูงอายุ :<br />

กรณีศึกษา สถานสงเคราะหคนชราบานบางแค กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธเคหพัฒนา<br />

ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: 2545)<br />

6. ศิริพันธุ สาสัตย, การศึกษาสถานดูแลผูสูงอายุระยะยาวในประเทศไทย (วิทยานิพนธเคหพัฒนา<br />

ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: 2545)<br />

7. ณัฏฐพัฒน สุขสมัย, การปรับปรุงซอมแซมบานผูสูงอายุตามโครงการนวัตกรรมผูสูงอายุ:<br />

กรณีศึกษา ผูสูงอายุที่มีรายไดนอยในกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขา<br />

วิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: 2550)<br />

8. สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ. พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ.2546. พิมพครั้งที่1 (กรุงเทพฯ :เจ.<br />

เอส.การพิมพ, 2547). หนา <strong>1.</strong><br />

9. ไตรรัตน จารุทัศนและคณะ., มาตรฐานขั้นต่ําสําหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดลอมของ<br />

ผูสูงอายุ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มูลนิธิ<br />

สาธารณสุข (มสช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.).2548<br />

10. แบบสํารวจขอมูลพื้นฐาน สสจ. ขอนแกน จากการสํารวจ ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2552<br />

1<strong>1.</strong> สํานักงานสถิติแหงชาติ, รายงานการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550


626<br />

การจัดกิจกรรมชุมชนของโครงการอาคารชุดพักอาศัย<br />

มนตรี ลอเลิศสกุล<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสริชย โชติพานิช<br />

บทนํา<br />

ปจจุบันปริมาณการสรางที่อยูอาศัยในกรุงเทพฯ รอยละ 82 1 เกิดจากการพัฒนาโครงการที่อยูอาศัย<br />

ของผูประกอบการ(Developer) ทั้งนี้การพัฒนาโครงการที่อยูอาศัยของผูประกอบการมีโครงการบางประเภทที่<br />

ภายหลังจากที่ผูอยูอาศัยซื้อหรือเชาจะตองเขาไปพักอาศัยในโครงการที่มีขอบเขตพื้นที่โครงการพักอาศัย<br />

เดียวกัน มีพื้นที่สวนกลางบางสวนที่ตองใชรวมกันทําใหตองมีการจัดเก็บคาใชจายตางๆ เชน คาสวนกลาง คา<br />

เงินกองทุน รวมกัน โดยโครงการประเภทดังกลาวไดแก โครงการอาคารชุดพักอาศัย บานเดี่ยวและบานแฝด เปน<br />

ตน ซึ่งเรียกลักษณะประเภทที่อยูอาศัยชนิดนี้โดยรวมวา “โครงการที่อยูอาศัยแบบรวม 2 ” กอใหเกิดงานดานการ<br />

บริหารจัดการชุมชนขึ้น ประกอบดวยงานดานตางๆ สําหรับการบริหารทรัพยากรกายภาพ เสริชย โชติพานิช<br />

(2549) ไดแบงงานที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรกายภาพโครงการที่อยูอาศัย ออกเปน 2 สวนหลักสําคัญ<br />

ดวยกัน ไดแก 1) บริการอาคารพื้นฐานสวนกลาง 2) งานบริการเพื่อตอบสนองความตองการและสรางความ<br />

สะดวกสบายแกผูอยูอาศัย โดยงานในสวนบริการเพื่อตอบสนองความตองการและสรางความสะดวกสบายแกผู<br />

พักอาศัยนี้ แบงออกเปนหลายสวนงานซึ่ง “กิจกรรมชุมชน” ก็เปนสวนหนึ่งของงานจํานวนนั้น ทั้งนี้ในงานดาน<br />

กิจกรรมชุมชน ไดแก งานทําบุญ งานกิจกรรมกีฬา เปนตน กอใหเกิดคาใชจายและทรัพยากรบุคคลในการจัด<br />

กิจกรรมขึ้น<br />

ซึ่งบทความนี้เปนการศึกษาแนวคิด วัตถุประสงค วิธี ขั้นตอนตลอดจนผลจากการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

โดยเลือกลุมศึกษาในโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยในเขตพื้นที่ชั้นในกรุงเทพมหานคร จํานวน 20<br />

โครงการ<br />

แนวทางการศึกษา<br />

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) แนวคิดและวัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมชุมชน 2)<br />

ลักษณะ วิธี และขั้นตอนการดําเนินการจัดกิจกรรมชุมชน 3) ผลจากการจัดกิจกรรมชุมชน โดยเลือกลุมศึกษาใน<br />

โครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยในเขตพื้นที่ชั้นในกรุงเทพมหานครจํานวน 20 โครงการ ไดแก<br />

1<br />

ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย, “ที่อยูอาศัยสรางเสร็จจดทะเบียนในเขต กทม.-ปริมณฑล แสดงจํานวนหนวย แยก<br />

ตามประเภทที่อยูอาศัย รายไตรมาส,” วารสารศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย 15 (เมษายน-มิถุนายน 2553): 59.<br />

2<br />

เสริชย โชติพานิช, "แนวคิดการบริหารทรัพยากรกายภาพสําหรับโครงการที่อยูอาศัยแบบรวม," วารสารวิชาการ<br />

สถาปตยกรรม เลมที่ 2 (2549). หนา 103-118.


627<br />

1) ศุภาลัย พรีเมียรเพลส 2) พลัส 38 คอนโดมิเนียม 3) สายลมซิตี้รีสอรท<br />

4) บานราชดําริ 5) บานสิริสาทร 6) อะเวนิว 61<br />

7) บานสิริสุขุมวิท ซอย 10 8) เดอะคอนคอรด 9) ลุมพินีวิลลพหล-สุทธิสาร<br />

10) ลุมพินีเพลส พหล-สะพานควาย 11) ลุมพินีสวีท สุขุมวิท 41 12) บานปยะสาทร<br />

13) สิริเย็นอากาศ 14) ซิตี้ลิฟวิ่งรีสอรท 15) บานนันทสิริ<br />

16) นราธรเพลส คอนโดมิเนียม 17) สิริฤดี รวมฤดี 18) รีเจนทออนเดอะพารค 2<br />

19) สิริสาทรสวนพลู 20) เดอะแนเชอรัลเพลส สวีท งามดูพลี<br />

โดยแบงประเภทของกลุมศึกษาจากการเก็บขอมูลการจัดกิจกรรมชุมชนภายในป พ.ศ. 2553 ซึ่งจะพบลักษณะ<br />

โครงการออกเปน 2 ประเภท จึงไดกําหนดเครื่องมือและเนื้อหาในการเก็บขอมูลตามประเภทการจัดกิจกรรม<br />

ชุมชนภายในป พ.ศ. 2553 ดังนี้<br />

ตารางที่ 1 เครื่องมือและเนื้อหาในการเก็บขอมูลแบงตามประเภทโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชนในป พ.ศ. 2553<br />

การจัดกิจกรรม<br />

ชุมชนภายในป<br />

พ.ศ. 2553<br />

1) มีการจัดกิจกรรม<br />

2) ไมมีการจัด<br />

กิจกรรม<br />

เครื่องมือ แหลงขอมูล เนื้อหาในการเก็บขอมูล<br />

การขอขอมูล ผูจัดการอาคาร จํานวนหนวยพักอาศัย<br />

ขอมูลลักษณะของผูพักอาศัย (สถานะ, เชื้อชาติ)<br />

งบประมาณ – คาใชจายในการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

การสัมภาษณ ผูจัดการอาคาร นโยบายนิติบุคคล – นโยบายการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

ลักษณะวิธี และปญหาในการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

ประโยชนในการจัดกิจกรรมชุมชน, กิจกรรมชุมชนในปที่ผาน<br />

มา<br />

การเก็บ<br />

แบบสอบถาม<br />

ผูพักอาศัย ความตองการในการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

การเขารวมการจัดกิจกรรมชุมชน, ประโยชนในการจัด<br />

กิจกรรมชุมชน<br />

การขอขอมูล ผูจัดการอาคาร จํานวนหนวยพักอาศัย<br />

ขอมูลลักษณะของผูพักอาศัย (สถานะ, เชื้อชาติ)<br />

งบประมาณ – คาใชจายในการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

การสัมภาษณ ผูจัดการอาคาร นโยบายนิติบุคคล, กิจกรรมชุมชนในปที่ผานมา<br />

การเก็บ ผูพักอาศัย ความตองการในการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

แบบสอบถาม<br />

จากการทบทวนวรรณกรรม จะพบวากิจกรรมภายในอาคารชุดพักอาศัยบางประเภทเปนกิจกรรมที่<br />

สงเสริมแนวความคิดการบริหารลูกคาสัมพันธ (Customer Relationship Management) โดยการสนับสนุนจาก<br />

บริษัทบริหารชุมชน ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ไดทําการศึกษาการจัดกิจกรรมชุมชนของโครงการอาคารชุดพักอาศัย<br />

ตามแนวคิดการบริหารทรัพยากรที่มีอยู ดังนั้นในการเก็บรวบรวมขอมูลจึงไมเก็บขอมูลการจัดกิจกรรมตาม


628<br />

แนวคิดการบริหารลูกคาสัมพันธเขารวมพิจารณา เนื่องจากการจัดกิจกรรมประเภทนี้ไมไดมาจากการบริหาร<br />

ทรัพยากรในโครงการอาคารชุดพักอาศัยเอง<br />

ผลการศึกษา<br />

ลักษณะ วิธีการและการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

จากการเก็บขอมูลกลุมศึกษาพบวา ในปพ.ศ. 2553 มีโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชนจํานวน 14<br />

โครงการ และโครงการไมมีการจัดกิจกรรมชุมชน จํานวน 6 โครงการ จากโครงการอาคารชุดพักอาศัยทั้งหมด 20<br />

โครงการ<br />

พบกิจกรรมชุมชนจํานวน 11 ชนิด ไดแก ทําบุญอาคาร, ทําบุญตักบาตร, ฟงพระเทศน, ตลาดนัด<br />

ชุมชน, เพนทกรอบรูป, วันเด็ก, วันปใหม, วันวาเลนไทน, วันลอยกระทง, วันคริสตมาส และวันสงกรานต ซึ่งพบ<br />

กิจกรรมทําบุญอาคารเปนกิจกรรมชุมชนที่มีการจัดมากที่สุดในแตละโครงการ โดยในแตละโครงการอาคารชุด<br />

พักอาศัยที่ศึกษามีจํานวนในการจัดกิจกรรมชุมชนในตลอดทั้งปที่ไมเทากัน จะพบวาในโครงการที่มีการจัด<br />

กิจกรรมมากที่สุด 5 ครั้ง/ป และมีการจัดกิจกรรมนอยที่สุด 1 ครั้ง/ป (ตารางที่ 2 กิจกรรมชุมชนที่พบ)<br />

ซึ่งเมื่อพิจารณาของขนาดหนวยพักอาศัยกับจัดกิจกรรมชุมชนในแตละโครงการอาคารชุดพักอาศัยที่มี<br />

การจัดกิจกรรมชุมชน จํานวน 14 โครงการ พบขนาดจํานวนหนวยพักอาศัยที่มีจํานวนหนวยพักอาศัยมาก มี<br />

จํานวนการจัดกิจกรรมชุมชนตอปที่มากกวา ขนาดโครงการที่มีจํานวนหนวยพักอาศัยนอยกวา สรุปไดวาจํานวน<br />

หนวยพักอาศัยมีความสัมพันธแปรผันกับการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

แผนภูมิที่ 1 ความสัมพันธระหวางขนาดหนวยพักอาศัยกับจํานวนการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

หนวยพักอาศัย(หนวย)<br />

1200<br />

1000<br />

800<br />

600<br />

400<br />

200<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6<br />

พลัส 38 คอนโดมิเนียม<br />

สายลมซิตี้รีสอรท<br />

บานราชดําริ<br />

บานสิริสาทร<br />

บานสิริสุขุมวิท ซอย 10<br />

ลุมพินีสวีท สุขุมวิท 41<br />

เดอะคอนคอรด<br />

อะเวนิว 61<br />

สิริเย็นอากาศ<br />

ซิตี้ลิฟวิ่ง<br />

ศุภาลัย พรีเมียรเพลส<br />

บานปยะสาธร<br />

ลุมพินีวิลล พหล-สุทธิสาร<br />

ลุมพินีเพลส พหล-สะพานควาย<br />

จํานวนการจัดกิจกรรมชุมชนตอป


629<br />

ตารางที่ 2 กิจกรรมชุมชนที่พบ<br />

กิจกรรมชุมชน<br />

โครงการ<br />

ทําบุญอาคาร<br />

ทําบุญตักบาตร<br />

เชิญพระเทศน<br />

ปใหม<br />

วันเด็ก<br />

สงกรานต<br />

คริสตมาส<br />

ลอยกระทง<br />

วาเลนไทน<br />

ตลาดนัดชุมชน<br />

เพนททํากรอบรูป<br />

รวม<br />

กิจกรรม<br />

พลัส 38 คอนโดมิเนียม / 1<br />

สายลมซิตี้รีสอรท / 1<br />

บานราชดําริ / 1<br />

บานสิริสาทร / 1<br />

บานสิริสุขุมวิท ซอย 10 / 1<br />

ลุมพินีสวีท สุขุมวิท 41 / 1<br />

เดอะคอนคอรด / 1<br />

อะเวนิว 61 / 1<br />

สิริเย็นอากาศ / 1<br />

ซิตี้ลิฟวิ่ง / / 2<br />

ศุภาลัย พรีเมียรเพลส / / 2<br />

บานปยะสาธร / / / 3<br />

ลุมพินีวิลล พหล-สุทธิสาร / / / / 4<br />

ลุมพินีเพลส พหล-สะพานควาย / / / / / 5<br />

บานนันทสิริ 0<br />

นราธรเพลส คอนโดมิเนียม 0<br />

สิริฤดี รวมฤดี 0<br />

รีเจนท ออน เดอะ พารค 2 0<br />

เดอะแนเชอรัล เพลส สวีท งามดูพลี 0<br />

สิริสาทรสวนพลู 0<br />

จากการศึกษาดานแหลงทุนในการจัดกิจกรรมชุมชน พบวา แหลงทุนในการดําเนินการการจัดแบง<br />

ออกเปน 3 สวน ไดแก จากงบประมาณคาใชจายสวนกลาง การจัดเก็บผูเขารวมเฉพาะครั้งและจากการบริจาค<br />

ซึ่งแหลงทุนสวนใหญเกิดจากงบประมาณคาใชจายสวนกลาง เนื่องจากการจัดกิจกรรมชุมชนเปนการวางแผน<br />

ตามงบประมาณประจําป ทั้งนี้เมื่อพิจารณางบประมาณการจัดกิจกรรมชุมชนตองบประมาณประจําปของ<br />

โครงการอาคารชุดพักอาศัยพบวา มีการตั้งงบประมาณในการจัดกิจกรรมชุมชนอยูที่สวนใหญอยูที่รอยละ<br />

0.16 – 0.36 ของงบประมาณทั้งหมดประจําปของโครงการอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งจะมีเพียง 1 โครงการ ที่มีการ<br />

ตั้งงบประมาณการจัดกิจกรรมชุมชนอยูที่รอยละ 0.86 ของงบประมาณประจําป เนื่องจากมีการจัดกิจกรรมวัน<br />

ปใหมทําใหมีคาใชจายในการจัดสูง(แผนภูมิที่ 2 รอยละของงบประมาณกิจกรรมชุมชนตองบประมาณประจําป)


630<br />

แผนภูมิที่ 2 รอยละของงบประมาณกิจกรรมชุมชนตองบประมาณประจําป<br />

<strong>1.</strong>00<br />

0.90<br />

0.80<br />

0.70<br />

0.60<br />

0.50<br />

0.40<br />

0.30<br />

0.20<br />

0.10<br />

0.00<br />

งบประมาณกิจกรรม<br />

ชุมชนตองบประมาณ<br />

ประจําป (รอยละ)<br />

แนวคิดในการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

จากการสัมภาษณผูจัดการอาคาร พบนโยบายในการบริหารอาคารสรุปไดออกเปน 2 สวนคือ ดานการ<br />

บริหาร และดานผูพักอาศัย โดย ดานการบริหารประกอบดวย บริหารทรัพยสวนกลางอยางมีประสิทธิภาพ, มี<br />

จริยธรรมในการทํางาน โปรงใสตรวจสอบได, ทํางานดานบัญชี, เอกสาร และการประชาสัมพันธ, ใชเงินทรัพย<br />

สวนกลางอยางประหยัด และปฏิบัติงานภายใตกฎระเบียบและขอบังคับอยางเครงครัด ดานผูพักอาศัย<br />

ประกอบดวย สรางความปลอดภัย, สรางความสะดวกสบาย, จัดบริการตามความตองการ, สรางความเปน<br />

ชุมชน, ความสัมพันธ และสรางความเปนสวนตัว<br />

พบวามีนโยบายในการบริหารอาคารที ่แตกตางกัน จึงไดนํานโยบายที่ได จัดทําแบบสอบถามเพื่อให<br />

ผูจัดการอาคารกรอกคาระดับความสําคัญของนโยบายในแตละดาน (5 = สําคัญมากที่สุด, 4 = สําคัญ, 3 =<br />

สําคัญปานกลาง, 2 = สําคัญนอย, 1 = สําคัญนอยที่สุด) (ตารางที่ 2 สรุปการใหคะแนนความสําคัญในนโยบาย<br />

นิติบุคคล)<br />

พบในโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน และไมมีการจัดกิจกรรมชุมชนใหความสําคัญดานนโยบาย<br />

ดานการบริหารทรัพยสวนกลางอยางมีประสิทธิภาพเปนอันดับที่ 1 ซึ่งลักษณะนโยบายดานตางๆ มีความ<br />

คลายคลึงกัน (แผนภูมิที่ 3 เปรียบเทียบนโยบายดานการบริหาร)<br />

แตในสวนของนโยบายผูพักอาศัย พบวา ในโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน และไมมีการจัดกิจกรรม<br />

ชุมชนใหความสําคัญดานนโยบายดานความปลอดภัยเปนอันดับที่ 1 ซึ่งนโยบายดานสรางความเปนชุมชน,<br />

ความสัมพันธ โครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชนใหความสําคัญมากกวาโครงการที่ไมมีการจัดกิจกรรมชุมชน ใน<br />

สวนของนโยบายในการสรางความเปนสวนตัว โครงการที่ไมมีการจัดกิจกรรมชุมชนใหความสําคัญมากกวา<br />

โครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน (แผนภูมิที่ 4 เปรียบเทียบนโยบายดานผูพักอาศัย)


631<br />

ตารางที่ 2 สรุปนโยบายการใหคะแนนความสําคัญในนโยบายนิติบุคคล<br />

ดานผูพักอาศัย ดานการบริหาร<br />

โครงการ<br />

นโยบาย<br />

มีการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

ไมมีการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

คาเฉลี่ย คามัธยฐาน คาฐานนิยม คาเฉลี่ย คามัธยฐาน คาฐานนิยม<br />

(Mean) (Median) (Mode) (Mean) (Median) (Mode)<br />

บริหารทรัพยสวนกลางอยางมีประสิทธิภาพ 4.21 5.00 5.00 4.17 4.50 5.00<br />

มีจริยธรรมในการทํางาน โปรงใสตรวจสอบได 3.21 3.50 4.00 2.83 3.00 <strong>1.</strong>00<br />

ทํางานดานบัญชี, เอกสาร และการประชาสัมพันธ <strong>1.</strong>64 <strong>1.</strong>50 <strong>1.</strong>00 2.50 2.00 <strong>1.</strong>00<br />

ใชเงินทรัพยสวนกลางอยางประหยัด 2.43 3.00 3.00 2.17 2.00 2.00<br />

ปฏิบัติงานภายใตกฏระเบียบและขอบังคับอยางเครงครัด 3.50 4.00 4.00 3.33 3.50 4.00<br />

สรางความปลอดภัย 4.79 5.00 5.00 4.00 4.00 5.00<br />

สรางความสะดวกสบาย 3.43 3.50 4.00 3.83 4.00 4.00<br />

จัดบริการตามความตองการ 2.29 2.00 2.00 2.67 2.50 3.00<br />

สรางความเปนชุมชน, ความสัมพันธ 3.00 3.00 3.00 <strong>1.</strong>33 <strong>1.</strong>00 <strong>1.</strong>00<br />

สรางความเปนสวนตัว <strong>1.</strong>50 <strong>1.</strong>00 <strong>1.</strong>00 3.17 3.00 2.00<br />

พบในโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน และไมมีการจัดกิจกรรมชุมชนใหความสําคัญดานนโยบาย<br />

ดานการบริหารทรัพยสวนกลางอยางมีประสิทธิภาพเปนอันดับที่ 1 ซึ่งลักษณะนโยบายดานตางๆ มีความ<br />

คลายคลึงกัน (แผนภูมิที่ 3 เปรียบเทียบนโยบายดานการบริหาร)<br />

จากการวิเคราะหนโยบายผูพักอาศัย พบวา ในโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน และไมมีการจัด<br />

กิจกรรมชุมชนใหความสําคัญดานนโยบายดานความปลอดภัยเปนอันดับที่ 1 ซึ่งนโยบายดานสรางความเปน<br />

ชุมชน, ความสัมพันธ โครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชนใหความสําคัญมากกวาโครงการที่ไมมีการจัดกิจกรรม<br />

ชุมชน ในสวนของนโยบายในการสรางความเปนสวนตัว โครงการที่ไมมีการจัดกิจกรรมชุมชนใหความสําคัญ<br />

มากกวาโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน (แผนภูมิที่ 4 เปรียบเทียบนโยบายดานผูพักอาศัย)<br />

ผลจากการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

จากการสัมภาษณผูจัดการอาคารดานผลที่ไดรับจากการจัดกิจกรรมชุมชน แบงออกเปน 3 สวนคือ 1)<br />

ผลที่ไดรับสําหรับผูพักอาศัย เปนการสรางความสัมพันธระหวางผูพักอาศัยดวยกัน 2) ผลที่ไดรับสําหรับฝายนิติ<br />

บุคคลไดรับผลคือ เปนการสรางผลงานแกนิติบุคคล, สรางความสัมพันธระหวางนิติบุคคลกับผูพักอาศัย และ<br />

เปนกลยุทธในการสงเสริมใหเขารวมกิจกรรมอื่นๆ (กิจกรรมประชุมใหญ, กิจกรรมซอมหนีไฟ) และผลที่ไดรับ<br />

อื่น ๆ ในสวนของความเชื่อดานศิริมงคลในการจัดกิจกรรมชุมชน


632<br />

แผนภูมิที่ 3 เปรียบเทียบโครงการที่มีการจัดและไมจัดกิจกรรมชุมชนดานนโยบายดานการบริหาร<br />

โครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

โครงการที่ไมมีการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

คาคะแนน<br />

คาคะแนน<br />

แผนภูมิที่ 4 เปรียบเทียบโครงการที่มีการจัดและไมจัดกิจกรรมชุมชนดานนโยบายดานผูพักอาศัย<br />

โครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

โครงการที่ไมมีการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

คาคะแนน<br />

คาคะแนน<br />

สรุปอภิปรายผล<br />

จากผลการศึกษาพบวาประเภทของกิจกรรมที่พบเห็นจากการศึกษา แบงกิจกรรมออกเปน 3 ประเภท<br />

ดวยกันคือ กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมดานนันทนาการ และกิจกรรมตามเทศกาล และมีปจจัยในการจัด<br />

กิจกรรมชุมชนคือ นโยบายของนิติบุคคล เนื่องจากพบวานิติบุคคลที่ใหความสําคัญในนโยบายสราง<br />

ความสัมพันธในชุมชน จะใหเกิดการวางแผนการจัดกิจกรรมชุมชน โดยจะพบวานโยบายมีความสอดคลองกับ<br />

ความตองการของผูพักอาศัย ทั้งความตองการในการจัดกิจกรรมชุมชน และประเภทในการจัดกิจกรรมชุมชน ซึ่ง<br />

จากการสงแบบสอบถามพบวาผูพักอาศัยโครงการที่มีการจัดกิจกรรมชุมชนมีความตองการในการจัดกิจกรรม<br />

ชุมชนมากกวาผูพักอาศัยโครงการที่ไมมีการจัดกิจกรรมชุมชน และผูพักอาศัยทั้งโครงการที่มีการจัดและไมมีการ


633<br />

จัดกิจกรรมชุมชนมีความตองการจัดกิจกรรมทําบุญอาคารมากที่สุด สรุปไดวากิจกรรมชุมชนเกิดจากการ<br />

ตอบสนองความตองการของผูพักอาศัยผานผูบริหารชุมชน(ผูจัดการอาคาร) และพบวาขนาดของหนวยพักอาศัย<br />

สงผลตอจํานวนในการจัดกิจกรรมชุมชนในแตละป<br />

ดังนั้นในสวนของการจัดกิจกรรมชุมชน ผูวางนโยบายควรมีการพิจารณาลักษณะความตองการของผู<br />

พักอาศัย และขนาดโครงการ พรอมทั้งพิจารณาแหลงเงินทุนในการจัด เพื่อใหเกิดความคุมทุนในคาใชจายและ<br />

การดําเนินการการจัดกิจกรรมชุมชน<br />

รายการอางอิง<br />

ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย, “ที่อยูอาศัยสรางเสร็จจดทะเบียนในเขต กทม.-ปริมณฑล แสดงจํานวนหนวย แยก<br />

ตามประเภทที่อยูอาศัย รายไตรมาส,” วารสารศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย 15 (เมษายน-มิถุนายน<br />

2553): 59.<br />

เสริชย โชติพานิช, "แนวคิดการบริหารทรัพยากรกายภาพสําหรับโครงการที่อยูอาศัยแบบรวม," วารสารวิชาการ<br />

สถาปตยกรรม เลมที่ 2 (2549). หนา 103-118.


634<br />

พฤติกรรมการเลือกที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาว<br />

กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม<br />

HOUSING SELECTION FACTORS FOR THE LONGSTAY ELDERLY JAPANESE<br />

IN CHIANG MAI : A CASE STUDY<br />

ศิตางศุ เหลียวรุงเรือง<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ไตรรัตน จารุทัศน<br />

<strong>1.</strong> บทนํา<br />

ตั้งแตศตวรรษที่ 21 ประชากรโลกที่เปนผูสูงอายุจะมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นอยางมาก กลุมประชากรที่เกิด<br />

ในชวง baby boom ไดเขาสูชวงสูงอายุ ทําใหโลกมีจํานวนประชากรสูงขึ้น จาก 6,823 ลานคนในป 2553 เปน<br />

7,517 ลานคนในอีก 10 ปขางหนาคือ ในป 2563 โดยมีสัดสวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้นจากรอยละ 21 ในป<br />

2553 เปนรอยละ 24 ในป 2563 1 โดยที่ผูสูงอายุปจจุบันมีลักษณะ พฤติกรรมที่แตกตางไปจากเดิมมากเนื่องจาก<br />

การเพิ่มขึ้นของผูสูงอายุมีรายไดและมีอํานาจการใชจายของตนเอง มีอิสระที่จะตัดสินใจในการดําเนินชีวิต ใน<br />

ปจจุบันนี้ผูสูงอายุสวนใหญเปนผูมีสุขภาพดี มีการศึกษาสูง มีอายุยืนยาวกวาในอดีต และเปนกลุมที่ใชเงินที่มี<br />

อยูเพื่อการพักผอนมากกวากลุมอายุอื่นๆ ในปจจุบันมีวิทยาการทางการแพทยที่กาวหนาขึ้น ทําใหประชากรโลก<br />

มีอายุขัยเฉลี่ยที่สูงขึ้นและยังมีสุขภาพที่สมบูรณแข็งแรงอีกดวย ในขณะที่คาครองชีพในประเทศที่พัฒนาแลว<br />

สวนใหญจะมีอัตราที่คอนขางสูง บางประเทศจึงมีแนวคิดสงเสริมใหผูสูงอายุของตนออกไปใชชีวิตในตางประเทศ<br />

ที่มีคาครองชีพที่เหมาะสมและยังคงไวซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

ในปจจุบันนี้สัดสวนประชากรผูสูงอายุ 7 อันดับของโลก 2 ประเทศญี่ปุนมีสัดสวนของประชากรสูงอายุที่<br />

มากที่สุด ถึงรอยละ 20.1 ของจํานวนประชากรประเทศ นอกจากนี้ในปจจุบันประชากรโลก มีชวงอายุการทํางาน<br />

ที่ลดลง มีการเกษียณอายุเร็วกวาในอดีต ทําใหสามารถใชเวลาในการทองเที่ยวไดมากขึ้น และมีเงินบํานาญที่<br />

รัฐบาลจายใหเปนรายเดือน อันเปนรายไดที่มั่นคงมีกําลังในการใชจายสูงและสามารถไปพํานักระยะยาวได จาก<br />

ขอมูลดังกลาวนักทองเที่ยวที่เกษียณอายุการทํางานแลวจึงเปนอีกกลุมหนึ่งที่นาสนใจ และจากสถิติจํานวน<br />

นักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางเขามาเพื่อการทองเที่ยวพํานักระยะยาวนั้น มีนักทองเที่ยวพํานักระยะยาวเดิน<br />

ทางเขามาในประเทศไทยจํานวน 172,059 คน โดยชาวญี่ปุนมีจํานวนมากที่สุดถึง 33,000 คน 3 เห็นไดวา<br />

http://www2.tat.or.th<br />

1 การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. จํานวนประชากรโลก. (ออนไลน), 14 กรกฎาคม 2553, แหลงที่มา:<br />

2<br />

United Nations, Department of Economic and Social Affairs Population Division, “World Population<br />

Prospects: The 2006 Revision,” (Online). Available from: 5 February 2011: http://www.un.org/esa/population.<br />

3 บริษัทไทยจัดการลองสเตย ปพ.ศ. 2548, “จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาเพื่อการทองเที่ยวพํานักระยะยาว”


635<br />

ประเทศญี่ปุนมีจํานวนผูสูงอายุสูงที่สุดรวมทั้งการเดินทางเขามาในประเทศไทยเพื่อการทองเที่ยวพํานักระยะ<br />

ยาวมีจํานวนที่สูงที่สุดเชนกัน<br />

ทั้งนี้สาเหตุที่ประเทศไทยเปนที่นิยมในการเขามาทองเที่ยวพํานักระยะยาวของชาวญี่ปุนนั้น เนื่องจาก<br />

ประเทศไทยมีอัตราคาครองชีพที่ต่ํา การที่คนญี่ปุนเปนชนชาติที่มีชวงอายุที่ยืนที่สุดในโลก โดยเฉลี่ยสําหรับเพศ<br />

ชายจะมีอายุประมาณ 7<strong>1.</strong>1 ป สวนเพศหญิงมีอายุเฉลี่ย 84 ป ประกอบกับชาวญี่ปุนนั้นมีรูปแบบการใชชีวิตใน<br />

วัยของผูสูงอายุที่นาสนใจ โดยผูสูงอายุชาวญี่ปุนในปจจุบันจํานวนมากสนใจที่จะยังคงทํากิจกรรมตางๆหรือ<br />

ทํางานตอไปแมจะถึงวัยเกษียณแลว นอกจากนี้รัฐบาลญี่ปุนยังมองเห็นความสําคัญของประชากรผูสูงอายุเปน<br />

สิ่งสําคัญ โดยมีระบบประกันสังคมของประเทศญี่ปุนที่เกี่ยวของกับผูสูงอายุคือ ระบบประกันเงินบํานาญ ระบบ<br />

ประกันการดูแลระยะยาวและจากขอมูลดานการมาทองเที่ยวพบวา<br />

จากขอมูลสถิตินักทองเที่ยวในป พ.ศ.2548 4 พบวาจังหวัดเชียงใหมมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและ<br />

ชาวตางชาตินิยมเดินทางเปนอันดับหนึ่ง ซึ่งแสดงถึงศักยภาพของจังหวัดเชียงใหมที่มีทั้งทรัพยากรการทองเที่ยว<br />

ทางธรรมชาติหรือศิลปวัฒนธรรมที่อยูรวมกัน อีกทั้งยังมีการผสมผสานกับความเจริญของจังหวัดเชียงใหมได<br />

อยางลงตัว 5 และสํานักงานตรวจคนเขาเมืองไดสํารวจขอมูลลงวันที่ 1 มกราคม 2552 เกี่ยวกับชาวตางชาติที่<br />

พํานักระยะยาวในเมืองไทย มากกวา 30 วัน โดยใชชีวิตบั้นปลายหรือพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหมนั้น รวม<br />

ทุกสัญชาติ มีจํานวน 3,856 คน ซึ่งมีจํานวนนักทองเที่ยวชาวญี่ปุน 714 คน โดยไดรับวีซาพิเศษ (O-A) 6<br />

ผูสูงอายุที่มาพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหมนั้นยังไดมีการรวมตัวกันเปนสมาคม CLL (Chiang Mai<br />

Long Stay Life Club) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการจัดหาแนวทางสําหรับสมาชิกในการติดตอสื่อสาร แลกเปลี่ยน<br />

ขอมูลขาวสาร และมีการแนะนําแบงปนขอมูลตางๆที่จําเปนสําหรับการดําเนินชีวิตในจังหวัดเชียงใหม ใหสมาชิก<br />

ทุกคนใชชีวิตในจังหวัดเชียงใหมไดอยางมีความสุข สามารถปรับตัวสําหรับการดําเนินชีวิตใหเปนไปตามสังคมได 7<br />

ทั้งนี้ศักยภาพของจังหวัดเชียงใหม โดยพื้นฐานมีจุดแข็งและจุดเดนหลายประการที่ดึงดูดชาวตางประเทศ<br />

หรือนักทองเที่ยว ทั้งดานบรรยากาศ ธรรมชาติที่สวยงาม คาใชจายที่ไมแพง ที่สําคัญคือความมีน้ําใจของคนไทย<br />

วิถีชีวิตที่เรียบงาย จึงทําใหชาวตางชาติทั้งวัยทํางานและผูเกษียณอายุเลือกมาอยูเชียงใหมกันมากขึ้น โดยเฉพาะ<br />

ชาวญี่ปุน และจากสถานกงสุลใหญญี่ปุ น ณ นครเชียงใหมระบุวา เมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น ในประเทศไทย<br />

4 การทองเที่ยวแหงประเทศไทยภาคเหนือเขต 2, สถานการณทองเที่ยวภาคเหนือ 10 ป ระหวางป พ.ศ. 2539-2548,<br />

2549 หนา 40-49<br />

5 การทองเที่ยวแหงประเทศไทยภาคเหนือเขต 2, สถานการณทองเที่ยวภาคเหนือ 10 ป ระหวางป พ.ศ. 2539-<br />

2548, 2549, หนา 40-49<br />

6<br />

สํานักงานตรวจคนเขาเมืองจังหวัดเชียงใหม, “สถิติการขออยูตอในราชอาณาจักร แบบแยกเหตุผล ป พ.ศ. 2553,” 18<br />

มิถุนายน 2553. (เอกสารไมตีพิมพ)<br />

7 สมาคม Chiang Mai Long Stay Life Club, “เอกสารสมาคม Chiang Mai Long Stay Life Club,” 24 ตุลาคม 2553.<br />

(เอกสารไมตีพิมพ)


636<br />

พบวาจังหวัดเชียงใหมมีชาวญี่ปุนเขามาพักอาศัยมากที่สุด ในลักษณะของการพํานักระยะยาว 8 กงสุลใหญญี่ปุน<br />

ณ นครเชียงใหมไดกลาววา มีความเปนไปไดสูงที่จํานวนผูพํานักระยะยาวชาวญี่ปุนในเชียงใหมจะสูงขึ้น โดยเฉพาะ<br />

ในชวง 2 ปตอจากนี้ไป (2552-2553) คาดวาจะมีชาวญี่ปุนที่จะเกษียณอายุ 60 ป ประมาณ 7-8 ลานคน ดังนั้น<br />

ในจํานวนนี้นาจะมีบางสวนที่หวังวาจะใชชีวิตในตางประเทศ ซึ่งเชียงใหมยังเปนพื้นที่ที่มีการขยายตัวมาตลอด<br />

และเปนจุดหมายปลายทางที่ชาวญี่ปุนสวนใหญตองการมาเที่ยวหรือมาอยูแบบระยะยาว สําหรับนักทองเที่ยว<br />

ชาวญี่ปุนในจังหวัดเชียงใหม มีแนวโนมที่จะมีจํานวนนักทองเที่ยวที่จะมาพํานักระยะยาวเพิ่มขึ้น อันมีสาเหตุหลัก<br />

คือ 1) การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากรของโลก โดยเฉพาะประเทศญี่ปุนที่จะมีจํานวนผูสูงอายุจํานวน<br />

มากขึ้นในอีก 3 – 5 ป ในชวงป 2550 – 2553 ซึ่งมีการคาดวาจะมีชาวญี่ปุนที่จะถึงอายุเกษียณ 60 ป ประมาณ<br />

7 ถึง 8 ลานคน 2) คาครองชีพในประเทศไทยมีอัตราที่ถูกเมื่อเทียบกับคาครองชีพในประเทศญี่ปุน 3) โครงสราง<br />

ทางสังคมและวัฒนธรรมมีความใกลเคียงกัน นักทองเที่ยวไมจําเปนตองปรับตัวมากนัก 4) จังหวัดเชียงใหมมี<br />

ทรัพยากรการทองเที่ยวที่สมบูรณและมีจํานวนมากและเหมาะสมตอการทองเที่ยวและพักผอนหยอนใจ และ<br />

5) สภาพภูมิอากาศและสภาพภูมิประเทศเหมาะสมตอการดํารงชีวิต<br />

แนวโนมที่ชาวญี่ปุนจะเดินทางมาพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหมจะมีจํานวนมากขึ้น แตการเตรียมการ<br />

รองรับของหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของทั้ง 2 สวนคือ หนวยงานทางภาครัฐกับหนวยงานภาคเอกชนที่จะตองเตรียม<br />

ความพรอมอยางไรเพื่อจะตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวชาวญี่ปุน รวมถึงการบริการใหแกนักทองเที่ยว<br />

ชาวญี่ปุนซึ่งจะตองคํานึงถึงกฎหมาย รวมถึงกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวพํานักระยะยาวของประเทศ<br />

ไทย หากหนวยงานทั้งสองฝายจะเตรียมพรอมจะมีขอดีคือเกิดความประทับใจของนักทองเที่ยวเกิดการทองเที่ยว<br />

อยางยั่งยืน รวมถึงการพํานักระยะยาวมากขึ้น สงผลตอเศรษฐกิจของประเทศทางออม แตหากมิไดเตรียมพรอม<br />

ในการรองรับปญหาที่จะเกิดขึ้นจะเปนการไมประทับใจของนักทองเที่ยวสงผลตอการทองเที่ยว และอาจจะสงผล<br />

ทําใหนักทองเที่ยวยายที่ทองเที่ยวพํานักระยะยาวได เนื่องจากยังมีอีกหลายประเทศในเอเชียที่เปนคูแขงในการ<br />

เปนที่พํานักระยะยาวสําหรับชาวญี่ปุน รวมทั้งสงผลตอภาพลักษณการทองเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม และอาจจะ<br />

สงผลถึงตอรูปแบบการทองเที่ยวสําหรับนักทองเที่ยวกลุมอื่นอีกดวย<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ ของผูสูงอายุชาวญี่ปุน ที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม<br />

2.2 เพื่อศึกษาปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุน ที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาวในจังหวัด<br />

เชียงใหม<br />

2.3 ศึกษาปญหาที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุน ที่มาทองเที ่ยวพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม<br />

8 ประชาชาติธุรกิจ,”สํารวจเสนหเชียงใหม.ชุมชนลองสเตย,” (ระบบออนไลน). แหลงที่มา:<br />

http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid. (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)


637<br />

3. กรอบแนวคิดและวิธีการดําเนินวิจัย<br />

ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ ปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัย และปญหาที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุน<br />

การเก็บรวบรวมขอมูล<br />

ขอมูลทุติยภูมิ : แนวความคิด ทฤษฏี งานวิจัยที่เกี่ยวของ จากหนังสือ เอกสาร แหลงสืบคนตางๆ<br />

ขอมูลปฐมภูมิ : สํารวจสภาพทั่วไปของพื้นที่ศึกษา ติดตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อขอขอมูล<br />

การวิจัยภาคสนาม (Field Research) จากการสังเกตการณและเขารวมโครงการ<br />

ประชุมวิชาการนานาชาติ “3 rd Joint Symposium between CMU and KU”<br />

การสัมภาษณ และการใชสอบถาม เพื่อนําปจจัยในดานตางๆมาวิเคราะหและสรุปผลการศึกษาถึงลักษณะทาง<br />

กายภาพที่สอดคลองกับพฤติกรรมและปญหาที่แทจริง<br />

ขอบเขตประชากรและกลุมตัวอยาง<br />

ประชากร/กลุมตัวอยาง เครื่องมือ กระบวนการ<br />

นักทองเที่ยวชาวญี่ปุน และเปนสมาชิก<br />

ของสมาคม CLL จํานวน 132 คน<br />

นักทองเที่ยวชาวญี่ปุนที่เปนคณะกรรมการของ<br />

สมาคม CLL จํานวน 9 คน<br />

แบบสอบถาม สูตรคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง<br />

ของ Yamane<br />

แบบสัมภาษณ เปนผูที่ยังคงอยูในวาระที่ดํารง<br />

ตําแหนงคณะกรรมการในสมาคม<br />

4. ผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการเลือกที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาว<br />

กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม สามารถสรุปได 4 ประเด็น คือ (1) สรุปขอมูลสภาพสังคม เศรษฐกิจ การพํานักระยะ<br />

ยาว และที่อยูอาศัยในปจจุบัน (2) สรุปขอมูลปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัย (3) สรุปขอมูลปญหาที่อยูอาศัยของ<br />

ผูสูงอายุชาวญี่ปุน (4) สรุปขอเสนอแนะเรื่องที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาว<br />

กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม<br />

(4.1) สรุปขอมูลสภาพสังคม เศรษฐกิจ การพํานักระยะยาว และที่อยูอาศัยในปจจุบัน<br />

ขอมูลทั่วไป พบวาชาวญี่ปุนที่อยูในเมืองเชียงใหม สวนใหญเปนเพศชาย มีชวงอายุระหวาง 65-69 ป<br />

และมีสถานภาพสมรส ซึ่งสะทอนใหเห็นวัฒนธรรมการใชชีวิตคูของชาวญี่ปุนที่จะดูแลซึ่งกันและกัน โดยคน<br />

เหลานี้สวนใหญจะไมมีภาระอยูที่ประเทศตนหรืออาจมีบุตรที่โตเปนผูใหญแลว จึงสามารถมาใชชีวิตในตางแดน<br />

ได สวนใหญมีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี อาชีพเดิมสวนใหญเปนพนักงานบริษัท ขาราชการ และทําธุรกิจ<br />

สวนตัวมากที่สุด ผูสูงอายุสวนใหญมีลักษณะสุขภาพแข็งแรงมาก ชวยเหลือตัวเองได แสดงใหเห็นวาผูสูงอายุ<br />

ชาวญี่ปุนสวนใหญมีการศึกษาสูง ทําใหเห็นวาผูสูงอายุที่มีการศึกษาสูงทําใหมีความรูและความกลาที่จะไปอยู<br />

ตางแดน คนที่ไมมีการศึกษาจะไมกลาที่จะยายที่อยูอาศัยเพราะกลัวปญหาการปรับตัวใหเขากับวัฒนธรรมและ<br />

สภาพแวดลอมใหม และยังสามารถชวยเหลือตัวเองได ประชากรกลุมนี้เปนผูที่มีสุขภาพรางกายแข็งแรง<br />

ถึงแมวาจะเปนผูที่มีอายุมากแลวก็ตาม บางทีมักจะเห็นพวกเขาเดินอยูตามแหลงที่อยูอาศัย เชน บริเวณที่มี


โครงการคอนโดมิเนียมจํานวนมาก ทั้งบนถนนหวยแกวหรือถนนนิมมานเหมินทร กรณีถาอยูที่คอนโดมิเนียมบน<br />

ถนนหวยแกว ผูสูงอายุเหลานี้ก็จะเดินเพื่อไปซื้อของ หรือ รับประทานอาหารที่หางสรรพสินคาเซ็นทรัลกาดสวน<br />

แกว หรือ เดินไปบริเวณยานนิมมานเหมินทร เพื่อไปธนาคาร ไปรับประทานอาหาร หรือแมแตไปนั่งเลนเพื่ออาน<br />

หนังสือที่รานกาแฟอยูเสมอ เปนตน<br />

ดานสังคม ชาวญี่ปุนที่เขามาอยูในเมืองเชียงใหม มีวิถีการดําเนินชีวิตแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับแตละ<br />

บุคคล และก็มักจะดําเนินกิจกรรมตางๆในแตละสถานที่ แลวแตจุดประสงคและความตองการของตัวเอง จาก<br />

การศึกษาพบวาผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญมีงานอดิเรกคือการเลนกีฬากอลฟ เปนกีฬาที่ชาวญี่ปุนสวนใหญ<br />

ชอบ รวมทั้งการทองเที่ยวตามสถานที่สําคัญตางๆ และการทองเที่ยวตามธรรมชาติ สวนทางดานการใชภาษา<br />

นั้นผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญ จะสามารถสื่อสารเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษไดในระดับเริ่มตนเทานั้น เปน<br />

ทักษะดานภาษางายๆที่ใชในชีวิตประจําวัน ซึ่งกลุมตัวอยางจะบอกเสมอวามีอุปสรรคเรื่องภาษาในการสื่อสาร<br />

กับคนทองถิ่นเพราะวา คนสวนใหญพูดภาษาไทยไมได จึงสื่อสารกับคนไทยยาก ทําใหนักทองเที่ยวชาวญี่ปุน<br />

เกิดความสนใจ และนิยมเรียนภาษาไทยในชีวิตประจําวัน เพื่อใชติดตอสื่อสารและทํากิจกรรมอื่นๆ และเมื่อเกิด<br />

การเจ็บปวยขึ้นมาผูดูแลเมื่อเกิดเจ็บปวยสวนใหญแลวจะเปนคูสมรส ที่มาดวยกัน รองลงมาคือ การวาจางผูดูแล<br />

ทั้งนี้ผูสูงอายุชาวญี่ปุนจะเลือกพาหนะที่ใชในการเดินทางเปนรถยนตสวนตัวมากที่สุด และรองลงมาคือ<br />

รถจักรยานยนต โดยจะพิจารณาถึงความปลอดภัยและความสะดวกสบายเปนหลัก<br />

ดานเศรษฐกิจ ผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาวนั้นถือวาเปนผูมีฐานะทางการเงินดี มั่นคง<br />

เนื่องจากผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่เขามาพํานักระยะยาวนี้ ตางก็จะไดรับเงินบํานาญจากรัฐบาลประเทศญี่ปุน<br />

การศึกษาในครั้งนี้ผูสูงอายุสวนใหญจึงมีแหลงที่มาของรายไดจากเงินบําเหน็จ/ บํานาญ รองลงมา คือมีรายได<br />

มาจากเงินออมของตน ทั้งนี้กลุมผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญมีระดับรายไดตอเดือน เมื่อคิดเปนเงินไทย 50,001-<br />

100,000 บาท และมีระดับรายจายตอเดือน 50,001-100,000 บาท ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบแลวสวนใหญมี<br />

สถานภาพทางการเงินเมื่อเปรียบเทียบระหวางรายไดกับรายจายแลวมีสัดสวนที่คอนขางพอดี และรองลงมาคือ<br />

กลุมที่มีเงินเหลือเก็บ และพบวามีคาใชจายเรื่องอาหารสูงเปนอันดับแรก รองลงมาเปนคาใชจายเรื่องการจับจาย<br />

ซื้อของ และการทองเที่ยวตามลําดับ (ขอมูลจากการสัมภาษณ) จากขอมูลนี้ชี้ใหเห็นวา ผูสูงอายุชาวญี่ปุนจะใช<br />

เงินที่มีอยูไปเพื่อการพักผอน และทองเที่ยว<br />

การที่ผูสูงอายุชาวญี่ปุนเลือกมาพํานักระยะยาวในเมืองเชียงใหมนั้นสวนใหญ ใหเหตุผลที่เลือกมา<br />

พํานักระยะยาวในดานเศรษฐกิจมากที่สุด เหตุผลคือ มีคาครองชีพต่ํา และเนื่องจากประเทศญี่ปุนเปนหนึ่งใน<br />

ประเทศที่มีคาครองชีพสูง ชาวญี่ปุนในวัยที่เกษียณแลวไมสามารถใชเงินฟุมเฟอยได ดังนั้นจึงเลือกที่จะยายถิ่น<br />

ฐานไปยังประเทศที่มีคาครองชีพต่ํากวาประเทศญี่ปุน รองลงมาคือ เหตุผลดานสังคมและวัฒนธรรม โดย<br />

ธรรมชาติของจังหวัดเชียงใหมยังคงมีวิถีการดํารงชีวิตที่เรียบงาย คนเชียงใหมมีมนุษยสัมพันธดี มีน้ําใจ เปนมิตร<br />

และวัฒนธรรมมีความคลายกัน และเหตุผลตอมาคือ ดานสถานที่ มีความปลอดภัย จังหวัดเชียงใหมมีภูมิ<br />

ประเทศดี อากาศดี เนื่องจากประเทศญี่ปุนนั้นมีความปลอดภัยสูงอันดับตนๆของโลก เมื่อเปรียบเทียบเชียงใหม<br />

กับที่อื่น เชน กรุงเทพฯ หรือเมืองอื่นๆ เชียงใหมถือไดวามีความปลอดภัยสูงกวาที่อื่นๆ อีกทั้งในเรื่องของการมี<br />

สิ่งอํานวยความสะดวกทางการแพทย ที่มีมาตรฐานและสามารถรองรับกลุมคนชาวตางชาติได และยังสามารถ<br />

638


เดินทางไปเที่ยวในประเทศจีน พมา ลาว และเขมรได (จากเชียงใหม) และยังมีสวนในเรื่องการทําวีซาไปประเทศ<br />

ดังกลาวไดไมยาก คาใชจายในการทําวีซาไมแพง<br />

ชาวญี่ปุนในวัยที่เกษียณแลวมาพํานักระยะยาว สวนใหญวางแผนชวงเวลาที่มาพํานักระยะยาวใน<br />

จังหวัดเชียงใหมตลอดชีวิต แสดงใหเห็นวาชาวญี่ปุนสวนใหญมีความสุขและความพอใจกับการอาศัยอยูใน<br />

จังหวัดเชียงใหม อีกทั้งยังมั่นใจจริงๆวาจะอยูอาศัยในจังหวัดเชียงใหมไปไดอีกนานมาก<br />

ที่อยูอาศัยในปจจุบัน ผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญจะอาศัยอยูในอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม และพัก<br />

อาศัยในคอนโดมิเนียมมากที่สุด เนื่องจากคอนโดมิเนียมมีอยูเปนจํานวนมากในเขตอําเภอเมือง จึงไมจําเปนตอง<br />

เชาบานและการพักอาศัยอยูในอําเภอเมืองจะสะดวกกวาไปพักอาศัยอยูในอําเภออื่นๆ พวกเขาสามารถเดินไปที่<br />

ธนาคาร ไปรษณีย และหางสรรพสินคาได ซึ่งสถานที่เหลานี้เปนสถานที่ที่จําเปนสําหรับพวกเขาเหลานั้น แมวา<br />

จะมีเสียงรบกวนบาง แตก็สะดวกสบายดี แตมีบางสวนที่ไมอยากอยูคอนโดมิเนียมอาจเนื่องจากกลัวความสูง<br />

หรือการมีครอบครัวกับภรรยาคนไทยก็เลือกที่จะซื้อหรือเชาบาน แตชาวญี่ปุนสวนใหญก็ตองการใหมีหองครัวที่ดี<br />

ดวย เนื่องจากชอบที่จะทําอาหารเพื่อรับประทานดวยตนเอง ซึ่งสวนใหญในกรณีที่เชาที่อยูอาศัยก็จะเสียคาเชา<br />

10,000-20,000 บาท/เดือน ขึ้นอยูกับลักษณะของที่อยูอาศัยและทําเลที่ตั้ง และในกรณีซื้อที่อยูอาศัยก็จะซื้อ<br />

ในชวงราคา 2,000,000 - 3,000,000 บาท เนื่องจากผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญมีรายไดประจําที่คอนขางสูง<br />

เมื่อเทียบกับคาครองชีพในประเทศไทย ดังนั้นในอัตราคาเชาดังกลาวจึงสามารถหาบานเดี่ยวหรือคอนมิเนียมที่<br />

หรูหราอยูได อยางไรก็ตามรูปแบบของที่อยูอาศัยก็ตองขึ้นอยูกับรายไดของคนที่มาเชา จะพบวาผูสูงอายุชาวญี่ปุน<br />

จํานวนไมนอยที่มาพํานักระยะยาวในเชียงใหม เลือกที่จะพักในอพารทเมนทที่ราคาไมสูงนัก เพราะตองการประหยัด<br />

เงินเพื่อใชในเรื่องอื่นดวยและสวนใหญยังไมสามารถมีกรรมสิทธในที่อยูอาศัยได ซึ่งทั้งนี้ถือเปนขอจํากัดในดาน<br />

กฎหมายไทย<br />

สรุปไดวาผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหมนี้ ชอบที่จะมาอยูหรือเที่ยวเปนระยะ<br />

เวลานาน โดยการเดินทางมากับคูสมรส หรือ การมาแตงงานกับภรรยาชาวไทยและวางแผนที่จะอยูไปตลอดชีวิต<br />

โดยสิ่งที่ผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาว คํานึงถึงมากที่สุดในการเลือกที่อยูอาศัย สวนใหญแลวจะคํานึงถึง<br />

เรื่องความปลอดภัยมากที่สุด ทั้งความปลอดภัยจากตัวบาน/ อาคาร และความปลอดภัยจากสภาพแวดลอมโดยรอบ<br />

รองลงมาคือ คํานึงถึงสภาพแวดลอมบริเวณที่อยูอาศัย และคํานึงถึงความสะดวกในการเดินทาง ตามลําดับ<br />

(4.2) สรุปขอมูลปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัย<br />

ขอพิจารณาในการเลือกที่อยูอาศัย ผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญมีขอพิจารณาในการเลือกที่อยูอาศัยใน<br />

ดานกายภาพมากที่สุด โดยจะพิจารณาถึง ระบบสาธารณูปโภค/สาธารณูปการเปนอันดับตนๆ (โดยเฉพาะ<br />

ตองการใหมีสัญญาณโทรทัศนของ "NHK Premium" ของประเทศญี่ปุน เพื่อการรับชมโทรทัศนเปนภาษาญี่ปุน<br />

ไดและระบบสัญญาณอินเตอรเน็ตความเร็วสูงสภาพแวดลอมโดยรอบแหลงที่อยูอาศัยมีความเหมาะสมเปนที่นา<br />

พึงพอใจ สามารถอยูไดอยางมีความสุขหรือไม และเรื่องขนาดพื้นที่ รองลงมาคือ ขอพิจารณาในดานตัวบาน โดย<br />

จะพิจารณาถึง ความมั่นคงของตัวบาน รูปแบบบาน การจัดพื้นที่ใชสอยที่เหมาะสม และลักษณะการใช<br />

ประโยชนของพื้นที่ใชสอยในบาน เนื่องจากวาลักษณะการกอสรางบานของประเทศไทยและประเทศญี่ปุนจะมี<br />

ความแตกตางกันมากในเรื่องของโครงสราง เพราะแถบบริเวณประเทศญี่ปุนมักจะเกิดแผนดินไหว ดังนั้นการ<br />

สรางสรางบานจึงจําเปนตองมีโครงสรางที่แข็งแรงเพียงพอที่จะรับแรงจากการเกิดแผนดินไหวได รวมทั้งลักษณะ<br />

639


การใชประโยชนของพื้นที่ใชสอยในบานที่แตกตางกัน และขอพิจารณาดานสังคม โดยจะพิจารณาถึง การอยู<br />

รวมกันของชาติเดียวกัน ทั้งนี้จากการศึกษาไดพบวา ผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาวนี้ ตองการที่จะอยู<br />

รวมกับชุมชนที่มีคนไทยเปนสวนใหญดวย เนื่องจากจะไดเรียนรู และแลกเปลี่ยนแนวความคิดและวัฒนธรรมที่<br />

แตกตางกัน วิถีชีวิตของคนในทองถิ่นไปในตัว รวมทั้งการเดินทางของผูอยูอาศัย และชุมชนโดยรอบนาอยู<br />

โดยกอนที่จะตัดสินใจเลือกที่อยูอาศัยนั้น ผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม<br />

สวนใหญจะมีแหลงที่มาของขอมูลกอนการตัดสินใจเลือกที่อยูอาศัยโดยการหาดวยตนเอง จากนั้นก็จะมีการเลือก<br />

เปรียบเทียบโดยสวนใหญมีการเปรียบเทียบจํานวน 1-3 โครงการ กอนตัดสินใจเลือกที่อยูอาศัยและใชระยะเวลา<br />

ในการพิจารณาเลือกที่อยูอาศัย 4 สัปดาหขึ้นไป<br />

(4.3) สรุปขอมูลปญหาที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุน พบวาชาวญี่ปุนที่อยูในเมืองเชียงใหมนั้น<br />

พบวาผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม สวนใหญพบวามี ปญหาดานสังคมมากที่สุด ซึ่ง<br />

ไดแก การทะเลาะวิวาทที่กลัววาจะไดรับอันตรายไปดวย ความตองการความเปนสวนตัวเปนพิเศษ และปญหาที่<br />

จอดรถเมื่อออกไปขางนอกที่สาธารณะจะหาที่จอดรถยากและผูคนจอดรถไมเปนระเบียบ เชนบริเวณริมถนน<br />

รวมทั้งปญหาในการสื่อสารกับคนทองถิ่น ในสวนนี้อาจเกิดจากความแตกตางทางสังคมวัฒนธรรมกับสภาพการ<br />

อยูอาศัยของแตละชนชาติ รองลงมาคือ ปญหาความปลอดภัย ทั้ง ปญหาเสี่ยงตอภัยธรรมชาติ (น้ําทวม พายุ ไฟ<br />

ไหมปา ดินถลม) อาชญากรรม (ชิงทรัพย ขโมย การกอการรายตางๆ) และปญหาเพลิงไหม (โดยเฉพาะที่ชุมชน<br />

แออัด หรือแหลงที่มักมีคนมารวมตัวกันเปนจํานวนมาก) เนื่องจากผูสูงอายุชาวญี่ปุนเหลานี้ไดรับขาวสารเกี่ยวกับ<br />

ปญหาน้ําทวม พายุ และการเกิดอาชญากรรมที่เห็นอยูบอยครั้งในการนําเสนอทางสื่อตางๆ และ คนอื่นชอบ<br />

เลี้ยงสุนัขแตไมอยูในขอบเขตพื้นที่ของตนเองโดยปลอยใหมันอิสระ ทําใหเกิดความไมมั่นใจในความปลอดภัย<br />

ตอมาเปน ปญหาดานสภาพแวดลอม ซึ่งไดแก ปญหาในเรื่องกลิ่นเหม็นของทอระบายน้ํา ปญหาน้ําทวม ปญหา<br />

เสียงดังจากบริเวณโดยรอบ ทั้งเสียงดังจากสุนัขเหาขางบาน เพื่อนบานชอบพูดเสียงดัง โดยเฉพาะเสียงดังจาก<br />

รานอาหาร รานคาราโอเกะที่มักสงเสียงดังในเวลากลางคืน รวมทั้งปญหาสุนัขจรจัดที่มีจํานวนมาก ไมมีการ<br />

จัดการดูแลจากหนวยงานใดเลย รวมทั้งวาในบริเวณแหลงน้ําลําคลองสาธารณะมียุงเยอะ ปญหาดานทําเลที่ตั้ง<br />

สวนใหญมีปญหาเรื่องระยะทาง เพราะถาอยูนอกเมืองออกมาจะไมมีระบบขนสงมวลชนที่ดี ทําใหไมสะดวก<br />

และมีปญหารถติดดวย สวนทําเลที่อยูในเขตเมืองมักจะมีอากาศเสียจากควัน และเสียงของรถจักรยานยนต<br />

ปญหาดานตัวบาน/อาคาร พบวาปญหาในสวนนี้คือ เรื่องขนาดและพื้นที่ใชสอยไมพอ การแบงพื้นที่การใชสอย<br />

โดยผูสูงอายุชาวญี่ปุนมักจะพบปญหาเรื่องไมมีครัวในการทําอาหาร ซึ่งเปนสิ่งจําเปนสําหรับคนกลุมนี้ และใน<br />

เรื่องของปญหาตัวบานที่เกี่ยวกับความแข็งแรงของโครงสรางและการออกแบบ เนื่องจากพบวาที่กําแพงบานนั้น<br />

มีรอยแตกเกิดขึ้นและในฤดูฝนบางครั้งมีหลังคารั่ว (ฝนรั่ว) ลงมาบาง ผูสูงอายุชาวญี่ปุนมีความเห็นวา รูสึกกังวล<br />

ในเรื่องโครงสรางบาน เพราะประเทศไทยเปนประเทศที่ไมคอยมีแผนดินไหว ดังนั้นโครงสรางบานไมคอยแข็งแรง<br />

ถาเกิดแผนดินไหวขึ้นมา บานจะเสียหายได ดังนั้นควรจะปรับปรุงวิธีการกอสรางบาน เพราะเหตุการณแบบนี้<br />

อาจเกิดขึ้นได ควรปองกันไวกอน ปญหาดานการเงิน พบวามีปญหาในเรื่องภาษี เพราะคิดวาภาษีสําหรับคน<br />

ตางชาติมีอัตราที่สูง และในเรื่องกรรมสิทธิ์อาคารและที่ดิน ที่เห็นวาคนตางชาติก็ควรจะซื้อได ทั้งยังมีความ<br />

แตกตางของการเก็บคาบัตรผาน/ คาธรรมเนียมเขาไปในสถานที่โดยราคาระหวางคนตางชาติกับคนไทยที่จะคิด<br />

ราคาตางกัน ปญหาดานสาธารณูปโภค/สาธารณูปการ พบวามีปญหาในการที่ตองไปจายคาสาธารณูปโภค<br />

640


ตางๆรูสึกวาเสียเวลา ควรจะมีระบบการจายเงินอัตโนมัติผานทางธนาคาร ปญหาการไปใชบริการที่โรงพยาบาล<br />

มหาราชนครเชียงใหม แตเจาหนาที่ใชภาษาอังกฤษไมคอยไดทําใหยากตอการสื่อสารกัน จึงรูสึกวาเปนปญหา<br />

สําหรับชาวญี่ปุนที่จําเปนตองไปใชบริการในโรงพยาบาล ปญหาในเรื่องระบบอินเตอรเน็ตเพราะสวนใหญจะ<br />

เอาไวใชอานขาวและติดตอสื่อสารและสัญญาณทีวีไมคอยดี ผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่อยูคอนโดมิเนียมจะตองการ<br />

ชองทีวี "NHK Premium" ซึ่งเปนภาษาญี่ปุน บางทีไฟดับบอยทําใหลิฟทไมทํางาน ปญหาการระบายน้ําเสียไมดี<br />

เวลาฝนตกจะมีน้ําทวม ถนนยุบตัวงาย ปญหาการจอดรถ หาที่จอดยากไมเปนระเบียบบริเวณริมถนน ปญหา<br />

สภาพเสนทางเดินเทาไมคอยดี มีพื้นตางระดับเยอะไมเหมาะสําหรับผูสูงอายุ และปญหาขยะตกคาง ปญหาอื่นๆ<br />

พบวาบริษัทนายหนาเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยมีจํานวนนอยมาก ไมสะดวกกับการติดตอ ซึ่งเปนสิ่งที่ตองการ<br />

สําหรับตัวเขา และมีผูที่เปนนายหนาหรือผูประกอบการที่ไรศีลธรรมจํานวนมาก<br />

ปญหาดานสังคมและวัฒนธรรมนั้น แตละเชื้อชาติยอมมีวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งอาจมีความคลายคลึง<br />

หรือแตกตางกันไป การที่คนที่มีวัฒนธรรมแตกตางกันแตมาอยูรวมกัน อาจกอใหเกิดปญหาได ทั้งการสื่อสารกับ<br />

คนทองถิ่น โดยผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญจะพูดภาษาอังกฤษและภาษาไทยไมได ทําใหเปนอุปสรรคตอการ<br />

สื่อสารบาง<br />

(4.4) สรุปขอเสนอแนะเรื่องที่อยูอาศัยจากความเห็นผูสูงอายุชาวญี่ปุน ในประเด็นตางๆ ดังนี้ 1)<br />

อางอาบน้ํา พบวาผูสูงอายุชาวญี่ปุนจํานวนมากมีความตองการในเรื่องนี้เปนอยางมาก เนื่องจากคนญี่ปุนสวน<br />

ใหญชอบใหมีอางอาบน้ําที่สามารถแชน้ําถึงไหลได (Japanese bathtubs ”Ofuros”) ถือไดวาเปนวัฒนธรรม<br />

อยางหนึ่งของชาวญี่ปุนซึ่งแตกตางกับชาวไทยที่ไมคอยเปนที่นิยมเทาไหรนัก ทําใหไมคอยมีการสรางและ<br />

ออกแบบอางอาบน้ําไวในที่อยูอาศัยสําหรับใหคนญี่ปุนมาอยูอาศัย 2) ลักษณะพื้นบาน/ อาคาร พบวาผูสูงอายุ<br />

ชาวญี่ปุนไมคอยชอบพื้นที่ทําดวยกระเบื้องเคลือบ เพราะรูสึกวาเย็นมาก มีความคิดเห็นวาไมดีตอสุขภาพ จึง<br />

ตองการเปลี่ยนแปลงการกอสราง (แตเห็นวาสําหรับคนไทยจะคิดวาเย็นสบาย) และในกรณีที่เปนบานจึงเห็นวา<br />

ใชไมดีกวา 3) การแบงพื้นที่ใชสอยภายในบาน พบวาผูสูงอายุชาวญี่ปุน มีความตองการพื้นที่สวนหนึ่งกอนเขาสู<br />

ตัวบานเปนสวนที่วางรองเทา (Japanese home formal entry way ”Genken”) เหมือนลักษณะบานที่ประเทศ<br />

ญี่ปุน และเปนตัวกั้นความเปนสวนตัวจากมุมมองของผูที่อยูนอกบาน ซึ่งสวนใหญบานไทยจะมีลักษณะที่เมื่อ<br />

เปดประตูบานแลวก็จะเปนสวนของหองรับแขกเลย ในสวนนี้ชาวญี่ปุนมองวาไมคอยมีความเปนสวนตัวเทาไหร<br />

นัก ทั้งนี้ อาจเกิดจากความเคยชินทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของแตละชนชาติ<br />

ปจจัยที่สําคัญที่พบจากการศึกษานี้ คือ ผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญตองการที่จะอยูอาศัยในจังหวัด<br />

เชียงใหมตลอดชีวิต แสดงใหเห็นวาผูสูงอายุชาวญี่ปุนสวนใหญมีความสุขและความพอใจกับการอาศัยอยูใน<br />

จังหวัดเชียงใหม แตคนที่ตอบแบบสอบถามวายังไมไดวางแผนในอนาคตไวก็มีจํานวนมากดวย ซึ่งถาหากมี<br />

บานพักคนชราสําหรับชาวญี่ปุน มีสถานพยาบาลที่ไดมาตรฐานเดียวกับประเทศญี่ปุน และมีการแกไขปญหา<br />

ดานการจราจรที่มีประสิทธิภาพก็จะทําใหมีผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่อยากจะอาศัยอยูในจังหวัดเชียงใหมตลอดชีวิต<br />

เพิ่มมากขึ้นดวย<br />

641


642<br />

5. สรุปผลและขอเสนอแนะ<br />

การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการเลือกที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาว<br />

กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม เปนการศึกษาที่มุงเนนศึกษาถึงพฤติกรรมดานปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัย และ<br />

ปญหาที่อยูอาศัยที ่เกิดขึ้นโดยพิจารณาและสํารวจจากลักษณะ พฤติกรรม ของผูสูงอายุชาวญี่ปุน และความ<br />

ตองการของผูสูงอายุชาวญี่ปุนวามีสาเหตุอะไรจึงเลือกมาอยูเชียงใหม ปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยคํานึงถึงสิ่ง<br />

ใดบาง ปญหาที่อยูอาศัยในขณะนี้ และตองการจะไดอะไร ซึ่งผลของการศึกษาจะชวยใหผูที่เกี่ยวของกับ<br />

นโยบายการพํานักระยะยาว สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการสงเสริมใหการพํานักระยะยาวเกิดประสิทธิผล<br />

มากที่สุด มีขอเสนอแนะแบงเปน 2 ดาน คือ สิ่งจําเปนภายในที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานัก<br />

ระยะยาว และ สิ่งจําเปนภายนอกที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาว ดังนี้<br />

<strong>1.</strong>) สิ่งจําเปนภายในที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาว ประกอบดวย ที่อยูอาศัยเพื่อการ<br />

พํานักระยะยาวและสิ่งจําเปน คือ ที่อยูอาศัยควรที่จะมีอุปกรณในการดํารงชีวิตครบ เชน หองครัว ระบบปรับ<br />

อากาศ ระบบรับชมโทรทัศนจากประเทศญี่ปุน ระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง การออกแบบใหมีหองน้ําแบบ<br />

ญี่ปุน (ถาเปนคอนโด) อาจจะรวมถึงมีแมบานดวย และ ที่อยูอาศัยควรที่สามารถเดินทางไปยังสถานที่จําเปน<br />

และสําคัญสําหรับผูสูงอายุไดสะดวก ทั้งธนาคารหรือโรงพยาบาล รวมทั้งมีหรือใกลกับสวนสาธารณะเพื ่อใชใน<br />

การออกกําลังกายและมีระบบรักษาความปลอดภัยในที่อยูอาศัยสําหรับการใชชีวิตประจําวันใหเกิดความ<br />

ไววางใจตอการดํารงชีวิตได เปนตน และ 2.) สิ่งจําเปนภายนอกที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานัก<br />

ระยะยาว ประกอบดวย สถานที่จําหนายวัตถุดิบทําอาหาร ทั้งนี้หนวยงานภาครัฐควรจะมีการควบคุมในเรื่อง<br />

มาตรฐานของราคา คุณภาพสินคา และ ความสะอาดของสถานที่ ระบบขนสงมวลชน การจัดการเดินทางควร<br />

จัดทําระบบขนสงมวลชนที่ไดมาตรฐาน จัดคูมือการเดินทางสําหรับนักทองเที่ยวถึงเสนทางการเดินทางเปน<br />

ภาษาญี่ปุนหรือภาษาสากล พรอมทั้งการจัดทําราคามาตรฐานและอบรมมารยาทและกฎระเบียบในการขับรถ<br />

ของพนักงานขับรถโดยสาร ระบบสาธารณสุข ควรสงเสริมใหโรงพยาบาลมีการเตรียมการใหบริการดานภาษาแก<br />

ผูสูงอายุชาวญี่ปุนเพิ่มขึ้น โดยใชแบบฟอรมเพื่อชวยในการสื่อสารกับเจาหนาที่ หรือ ลามแปลภาษาที่สามารถ<br />

ติดตอสื่อสารภาษาญี่ปุนประจําอยูในโรงพยาบาลเปนตน และ ระบบการใหบริการของภาครัฐ จัดตั้งศูนยการ<br />

ชวยเหลือนักทองเที่ยว หรือ (One stop service center) นํามาอยูที่เดียวกันเพื่อลดขั้นตอนหรือลดการสับสน<br />

ของการขอใชบริการกับหนวยงานตางๆ สามารถทําไดรวดเร็วมากขึ้น<br />

โดยในภาพรวมแลวก็ตองสรางความเขาในรวมกันวาการพํานักระยะยาวคืออะไร ซึ่งความสับสนอาจ<br />

ทําใหการกําหนดนโยบายผิดพลาดได เมื่อเขาใจตรงกันแลวจะทําใหการดําเนินตามนโยบายเปนไปไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพมากที่สุด การที่ลักษณะความตองการของชาวตางชาติที่มีวัฒนธรรมตางกันยอมมีความตองการ<br />

ตางกัน รัฐจะตองกําหนดกลุมเปาหมายในการดําเนินนโยบายการพํานักระยะยาวใหชัดเจน โดยในการศึกษานี้<br />

กลุมตัวอยางคือผูสูงอายุชาวญี่ปุน ซึ่งมีเหตุผลที่มาพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหมเพราะตองการหาสถานที่<br />

ที่ตนสามารถอาศัยไดดวยเงินบํานาญจํานวนจํากัด ดังนั้นการสงเสริมการพํานักระยะยาวในญี่ปุนจึงสามารถทํา<br />

ไดตลอดทั้งปในทุกฤดู และในสวนนี้ผูประกอบการดานที่อยูอาศัยสําหรับการพํานักระยะยาว ยังสามารถนําไป<br />

วางแผนเพื่อพัฒนาแหลงที่อยูอาศัยใหสอดคลองกับการดําเนินชีวิตของผูสูงอายุชาวญี่ปุน เพื่อรองรับความ<br />

ตองการของตลาดในกลุมนี้ได และรัฐควรเขามาศึกษาถึงผลดีผลเสียของการพํานักระยะยาวอยางจริงจังและนํา


643<br />

ผลการศึกษามาปรับปรุงแกไขในเรื่องที่เกี่ยวของ เชน เรื่องที่อยูอาศัยของผูที่มาพํานักระยะยาว ปญหาในดาน<br />

ตางๆ ระบบการยื่นขอวีซา การอนุญาตใหมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและอาคารชุด การกําหนดมาตรฐานในการเก็บ<br />

คาธรรมเนียมตางๆ และอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ ควรเขามาศึกษาถึงความตองการดานที่อยูอาศัย<br />

สําหรับผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาพํานักระยะยาว เพื่อการจัดการกําหนดแนวทางเรื่องที่อยูอาศัยใหไดมาตรฐาน<br />

สากลโดยสิ่งสําคัญคือตองคํานึงถึงวิถีชีวิตสภาพความเปนอยูและวัฒนธรรมของชาวญี่ปุนที่อยูอาศัยดวย เปน<br />

การเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีเหมาะสมแกผูสูงอายุที่มาพํานักระยะยาว รวมถึงเปนการกระตุนใหภาครัฐสนับสนุน<br />

อยางจริงจังในการสงเสริมแนวความคิดนี้<br />

จะเห็นไดวาการศึกษาในครั้งนี้มีแนวคิดและทฤษฎีทางดานความตองการที่อยูอาศัย และดาน<br />

การตลาดเปนแนวทางหลักในการศึกษา โดยมุงเนนศึกษาถึงปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัย และปญหาในที่อยู<br />

อาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาว ซึ่งจําเปนที่จะตองคนหาและทราบใหไดถึงตนเหตุ<br />

หรือความจําเปนของแตละปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยสําหรับการพํานักระยะยาว ซึ่งทางผูศึกษาเชื่อวา<br />

ลักษณะเฉพาะและพฤติกรรมของผูสูงอายุชาวญี่ปุนนั้นเปนตนทางของเหตุทั้งหมด โดยที่เมื่อเราไดทราบถึง<br />

พฤติกรรมและความตองการที่ถูกตองของผูสูงอายุชาวญี่ปุน ผสมผสานกับปญหาที่เกิดขึ้นแลวนั้น ยังรวมถึง<br />

การทํางานตามความรับผิดชอบของหนวยงานภาครัฐและผูประกอบการดานที่อยูอาศัย และดานอื่นๆใน<br />

ภาคเอกชน ซึ่งถาหากไมไดคํานึงถึงลักษณะและความตองการผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาว<br />

ในที่นี้ถือเปนกลุมลูกคาเปาหมาย (Target Group) ก็เปรียบเหมือนการผลิตสินคามาขายโดยไมมองความ<br />

ตองการของตลาด จึงทําใหผลการดําเนินงานในอดีตไมคอยประสบความสําเร็จ หรือแตละหนวยงานมุงทํางาน<br />

ตามความสามารถของตนโดยไมมีบูรณาการการทํางานแบงปนองคความรูกัน ซึ่งจะตองทําใหมีการบริหาร<br />

จัดการที่ถูกตอง เรื่องความตองการหรือความจําเปนของแตละประเด็นใหไดตามความเหมาะสม จะไดสามารถ<br />

แกไขปญหาที ่เกิดขึ้นได ซึ่งการแกไขปญหาจะไดสะทอนใหเห็นถึงวิธีคิดของผูที่อยูในสวนอุปสงค (Demand)<br />

หรือผูที่มีความตองเสนอซื้อ ซึ่งก็คือ ผูสูงอายุชาวญี่ปุนที่มาทองเที่ยวพํานักระยะยาว ใหนําไปสูการพิจารณา<br />

วิเคราะหขอมูลของฝายอุปทาน (Supply) หรือผูที่มีความตองการเสนอขาย เพื่อตอบสนองถึงความตองการของ<br />

ผูสูงอายุในกลุมนี้ไดตรงเปาหมาย ซึ่งประกอบดวยหนวยงานภาครัฐและเอกชน อาทิ การทองเที่ยวแหงประเทศ<br />

ไทย โรงพยาบาล สํานักงานตรวจคนเขาเมือง ผูประกอบการดานโครงการที่อยูอาศัย ผูประกอบการดานการ<br />

ทองเที่ยว และสถาบันการศึกษาดานภาษา โดยมีฐานความคิดเรื่องการอยูรวมกันอยางมีความสุข ใหทุกฝายทั้ง<br />

นักทองเที่ยวผูสูงอายุชาวญี่ปุน หนวยงานภาครัฐ ผูประกอบการโครงการที่อยูอาศัย และในดานอื่นๆที่เกี่ยวของ<br />

กับการทองเที่ยวพํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม ไดรับผลประโยชนรวมกัน ทุกดานทั้งการใหบริการ ความพึง<br />

พอใจในการบริการ และความสะดวกสบาย โดยเฉพาะผูประกอบการดานที่อยูอาศัยเพื่อการพํานักระยะยาว<br />

เมื่อทราบถึงปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยและปญหาที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุนแลว จะไดนําไปสูการ<br />

วางแผนพัฒนาแหลงที่พักอาศัยใหสอดคลองกับการดําเนินชีวิตของผูสูงอายุชาวญี่ปุน และการเตรียมการ<br />

สําหรับรองรับความตองการของตลาดกลุมนี้ในอนาคตตอไปได โดยมีฐานความคิดเรื่องการอยูรวมกันอยางมี<br />

ความสุข โดยทุกฝาย ไดรับผลประโยชนรวมกัน ทั้งการใหบริการ ความพึงพอใจในการบริการการพํานักระยะ<br />

ยาวในประเทศไทย


644<br />

ภาคผนวก : การเก็บขอมูล<br />

<strong>1.</strong>สมาคม Chiang Mai Long Stay Life Club<br />

2.กิจกรรมของผูสูงอายุชาวญี่ปุน<br />

3.ลักษณะที่อยูอาศัยปจจุบันของกลุมตัวอยาง<br />

4. การเก็บขอมูล


645<br />

แนวทางการปรับปรุงที่อยูอาศัยคนพิการในจังหวัดอุดรธานีกรณีศึกษาอําเภอหนองหาน<br />

และอําเภอกุมภวาป<br />

THE IMPROVEMENT OF HOUSING FOR PEOPLE WITH DISABILITIES IN UDONTHANI<br />

PROVINCE : A CASE STUDY NONGHAN AND KUMPHAVAPI DISTRICT<br />

สราวุฒิ ลาแพงศรี<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ไตรรัตน จารุทัศน<br />

ผูพิการเปนประชากรกลุมหนึ่งในประเทศ ที่มีความแตกตางจากประชากรทั่วไป โดยหมายความถึงคน<br />

ที่มีความผิดปกติหรือบกพรองทางรางกาย ทางสติปญญา หรือทางจิตใจ 1 ในปจจุบัน ประเทศไทยมีคนพิการ<br />

ประมาณ 855,973 คน 2 คิดเปนประมาณรอยละ <strong>1.</strong>29 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่งทางภาครัฐไดให<br />

ความสําคัญตอการชวยเหลือคนพิการตลอดมา โดยมีการตราพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการขึ้น<br />

ในป พ.ศ. 2534 มีเนื้อหาถึงสิทธิของคนพิการและการชวยเหลือสนับสนุนผูพิการจากภาครัฐ นับตั้งแตการ<br />

บริการทางการแพทยและการสาธารณสุขการศึกษา การพัฒนาตนเองและการมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม<br />

การรวมกลุมในลักษณะเครือขายหรือชุมชน และที่สําคัญคือการอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย<br />

โดยตรงแกผูพิการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการบริการสาธารณะอื่นเพื่อใหคนพิการสามารถทํางาน<br />

และใชชีวิตไดใกลเคียงคนปกติ3 กรมโยธาธิการไดออกกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคาร<br />

สําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2548 เปนตน<br />

มา ซึ่งใชบังคับกับอาคารที่ขออนุญาตปลูกสรางอาคารใหมและใชกับอาคารบางประเภทเทานั้น ในขณะที่ที่อยู<br />

อาศัยของคนพิการซึ่งคนพิการจะตองใชอาศัยและดําเนินชีวิตประจําวันกลับมีการปรับปรุงเพื่อใหคนพิการ<br />

สามารถใชงานไดนอยมาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดออกระเบียบคณะกรรมการ<br />

สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑและวิธีการปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัย<br />

ใหแกคนพิการ การมีผูชวยคนพิการ การชวยเหลือคนพิการที่ไมมีผูดูแล และสิทธิของผูดูแลคนพิการ พ.ศ.<br />

2552 ที่สงเสริมใหมีการปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยใหแกคนพิการ โดยกําหนดใหสํานักงานหนวยบริการใน<br />

พื้นที่ หรือหนวยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เปนหนวยงานรับผิดชอบในการดําเนินการปรับ<br />

สภาพแวดลอมที่อยูอาศัย<br />

1<br />

พระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ 2534<br />

2<br />

ที่มา การดําเนินงานจดทะเบียนคนพิการสํานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ<br />

(ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2552)<br />

3 พระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ


646<br />

จากการศึกษากฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและ<br />

คนชรา พ.ศ. 2548 รวมถึงงานวิจัยดานการออกแบบและปรับปรุงที่อยูอาศัยสําหรับคนพิการไดมีผู<br />

ทําการศึกษาอยูเปนจํานวนมาก แตสาเหตุที่การปรับปรุงที่อยูอาศัยสําหรับคนพิการยังมีจํานวนนอย ไม<br />

ปรากฏเดนชัด ขาดการผลักดัน ซึ่งสวนหนึ่งเปนเพราะ ยังขาดรูปแบบที่เปนรูปธรรมในการออกแบบ ทําให<br />

ผูประกอบการและผูที่ทําการปรับปรุงที่อยูอาศัยไมเขาใจในตัวกฎกระทรวงฯ และยังไมมีการศึกษาแบบองครวม<br />

ที่นํางานที่ไดทําการศึกษาแลวมาสังเคราะหและบูรณาการเปนรูปแบบที่อยูอาศัยที่เหมาะสมสําหรับคนพิการ<br />

ดังนั้นการศึกษา สภาพการอยูอาศัย สภาพสังคมและสภาพเศรษฐกิจ จึงจําเปนตอการศึกษา เพื่อใหทราบถึง<br />

สภาพทางกายภาพและปญหาการใชที่อยูอาศัยของคนพิการ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงที่อยู<br />

อาศัยใหมีความเหมาะสมตอการอยูอาศัยของคนพิการ วิธีการดําเนินการปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยใหแก<br />

คนพิการ การศึกษาสภาพที่อยูอาศัยจึงจําเปนและมีความสําคัญ ใหทราบถึงวาควรปรับปรุงที่อยูอาศัยอยางไร<br />

ถึงจะมีความเหมาะสมตอคนพิการ<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> เพื่อศึกษาสภาพการอยูอาศัย สภาพสังคมและสภาพเศรษฐกิจในการใชที่อยูอาศัยของคนพิการ<br />

และคนในครัวเรือน<br />

2. เพื่อศึกษาสภาพทางกายภาพและปญหาการใชที่อยูอาศัยของคนพิการและคนในครัวเรือน<br />

3. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงที่อยูอาศัยใหมีความเหมาะสมตอการอยูอาศัยของคนพิการ<br />

และคนในครัวเรือน<br />

การศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยวิเคราะหหาพื้นที่ศึกษา โดยพิจารณาจาก สถิติการดําเนินการจดทะเบียนคน<br />

พิการซึ่งคนพิการในภูมิภาคที่มีจํานวนคนพิการมากที่สุด คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และไดพิจารณาคัดเลือก<br />

จังหวัดและอําเภอที่มีโครงการ “การพัฒนาศักยภาพคนพิการโดยชุมชน”(Community Based Rehabilitation -<br />

CBR) ซึ่งดําเนินการโดยสํานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ รวมกับสํานักงานพัฒนา<br />

สังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ซึ่งจะทําใหสามารถเขาถึงขอมูลไดเต็มที่ เนื่องจากพื้นที่ที ่มีโครงการ<br />

พัฒนาศักยภาพคนพิการ จะมีความเขมแข็งและความรวมมือจากผูพิการในพื้นที่ การเก็บขอมูลผูพิการเพื่อ<br />

ทําการศึกษานั้น ตองอาศัยความรวมมือ ของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ รวมทั้งผูพิการในพื้นที่ ดังนั้น พื้นที่ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ อําเภอกุมภวาป และอําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี จึงเปนพื้นที่ที่เหมาะสมที่จะเปน<br />

พื้นที่เปาหมายในงานวิจัย<br />

กลุมตัวอยาง เปนคนพิการที่มีสภาพความพิการอยูในระดับ 3-5 ซึ่งสามารถชวยเหลือตัวเองไดบางแต<br />

ยังมีความลําบากในการใชที่อยู โดยคํานึงถึงผูพิการที่มีปญหาในการใชที่อยูอาศัยจากประเภทของความพิการ<br />

ซึ่งมีการแบงกลุมตัวอยาง ซึ่งเปนกลุมตัวอยางที่มีความจําเปนความตองการจําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาและ<br />

ปรับสภาพที่อยูอาศัยเพื่อใหเอื้อตอการทํากิจวัตรที่สําคัญในการดํารงชีวิตของคนพิการ และเนื่องจากการเขาถึง<br />

กลุมเปาหมายนั้นมีความยากลําบาก ผูวิจัยจึงไดพิจารณาคัดเลือกกลุมเปาหมายจากอัตราสวนของผูพิการใน


647<br />

ขอบเขตพื้นที่การวิจัยโดยใชการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling) ใชการเก็บขอมูลดวย<br />

วิธีการสังเกต 4 และสัมภาษณเชิงลึก (In depth Interview) ในการจัดกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา เพื่อทําการเก็บ<br />

ขอมูลในเชิงลึกและเปรียบเทียบแตละกลุมการคัดเลือก ดังนั้นจึงคัดเลือกกรณีตัวอยางทั้งสิ้น 15 ตัวอยาง<br />

กลุมตัวอยาง<br />

พิการทางการเคลื่อนไหว<br />

5 กลุมตัวอยาง<br />

พิการซ้ําซอน<br />

5 กลุมตัวอยาง<br />

พิการทางการเห็น<br />

5 กลุมตัวอยาง<br />

แผนภาพแสดง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา จํานวน 15 กลุมตัวอยาง แบงตามประเภทความพิการ<br />

ขั้นตอนในการดําเนินการศึกษา แบงไดเปน 2 สวน ดังนี้<br />

- ขอมูลทุติยภูมิ ทําการศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับงานวิจัยจากเอกสาร สิ่งพิมพ งานวิจัยที่<br />

เกี่ยวของ และอินเตอรเน็ต<br />

- ขอมูลปฐมภูมิ ทําการศึกษาขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลประชากรกลุมตัวอยาง และการนั่ง<br />

สังเกตการแบบมีสวนรวมกับกลุมผูดูแลผูพิการ<br />

เครื่องมือที่ใชในการศึกษา แบงไดเปน 2 สวน ดังนี้<br />

-แบบสํารวจและสังเกต ใชเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก ลักษณะการอยูอาศัย, ขนาดพื้นที่ใชสอย<br />

กิจกรรมในแตละวัน และพฤติกรรมการอยูอาศัย ของผูพิการและผูดูแล<br />

-แบบสัมภาษณ ใชเก็บรวบรวมขอมูลเชิงลึก ไดแก ขอมูลดานสังคม เศรษฐกิจ ขอมูลดานที่<br />

อยูอาศัยของผูพิการ และขอมูลดานปญหาในการอยูอาศัย ของผูพิการและผูดูแล<br />

ขอจํากัดในการศึกษา<br />

- ผูวิจัยจะทําการคัดเลือกกลุมตัวอยาง โดยพิจารณาจาก สถิติการดําเนินการจดทะเบียนคน<br />

พิการซึ่งคนพิการในภูมิภาคที ่มีจํานวนคนพิการมากที่สุด และพิจารณาคัดเลือกจังหวัดและอําเภอที่มี<br />

โครงการ “การพัฒนาศักยภาพคนพิการโดยชุมชน” (Community Based Rehabilitation – CBR)<br />

- ในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้นมีการขอความรวมมือ และความยินยอมของผูเขารวมวิจัย<br />

-จากขอจํากัดในการวิจัยทั้งในดานเวลา และงบประมาณในการศึกษา ผูวิจัยจึงทําการเก็บ<br />

ขอมูลโดยการคัดเลือกเฉพาะกลุมตัวอยางที่อาศัยอยูในอําเภอกุมภวาป และอําเภอหนองหาน จังหวัด<br />

อุดรธานี เปนพื้นที่มีจํานวนผูพิการที่จดทะเบียนคนพิการที่มีสภาพความพิการอยูในระดับ 3-5 มาก<br />

ที่สุด และเปนพื้นที่ที่มีโครงการ “การพัฒนาศักยภาพคนพิการโดยชุมชน”(Community Based<br />

Rehabilitation - CBR)<br />

4<br />

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่7 (กรุงเทพฯ :โรงพิมพและปก<br />

เจริญผล, 2540). หนา 336.


648<br />

วิเคราะหผลการวิจัยและสรุป<br />

กลุมตัวอยาง เปนคนพิการที่มีสภาพความพิการอยูในระดับ 3-5 ซึ่งสามารถชวยเหลือตัวเองไดบางแต<br />

ยังมีความลําบากในการใชที่อยูอาศัย โดยการศึกษาครั้งนี้นั้นไดมีการแบงกลุมตัวอยาง โดยคํานึงถึงผูพิการที่มี<br />

ปญหาในการใชที ่อยูอาศัยจากประเภทของความพิการ ซึ่งมีการแบงกลุมตัวอยาง ซึ่งเปนกลุมตัวอยางที่มีความ<br />

จําเปนความตองการ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาและปรับสภาพที่อยูอาศัยเพื่อใหเอื้อตอการทํากิจวัตรที่<br />

สําคัญในการดํารงชีวิตของคนพิการ และเนื่องจากการเขาถึงกลุมเปาหมายนั้นมีความยากลําบาก ผูวิจัยจึงได<br />

พิจารณาคัดเลือกกลุมเปาหมายจากอัตราสวนของผูพิการในขอบเขตพื้นที่การวิจัยโดยใชการเลือกกลุมตัวอยาง<br />

แบบเจาะจง (Purposive sampling) เพื่อทําการเก็บขอมูลในเชิงลึกและเปรียบเทียบแตละกลุมการคัดเลือก<br />

ดังนั้นจึงคัดเลือกกรณีตัวอยางทั้งสิ้น 15 ตัวอยาง ที่มีรูปแบบที่อยูอาศัยเปนประเภทบานเดี่ยว การสํารวจและ<br />

เก็บขอมูลผูพิการ เพื่อเตรียมการจัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ผูวิจัยจึงไดสราง<br />

แบบสอบถาม แบบสํารวจ และการสังเกตแบบมีสวนรวม ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตางๆ ไดแก สภาพสังคม<br />

เศรษฐกิจ พฤติกรรมการอยูอาศัย สภาพปญหาการอยูอาศัย เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนปรับปรุง<br />

สภาพแวดลอมใหเหมาะสม ซึ่งผลการวิเคราะห สังเคราะห และแผนในการปรับปรุงที่อยูอาศัยสําหรับผูพิการ<br />

สามารถอธิบายไดดังนี้<br />

• สภาพการอยูอาศัย สภาพสังคมและสภาพเศรษฐกิจ<br />

กลุมความพิการทางการเคลื่อนไหว ดานสภาพการอยูอาศัย ผูพิการจะพักอาศัยอยูในที่อยูอาศัย<br />

เดิม และอาศัยอยูกับสามี ภรรยาหรือบุตรของตน โดยผูพิการยังสามารถประกอบกิจวัตรประจําวันไดบางอยาง<br />

แตจะมีเฉพาะเรื่องที่ยังไมสามารถทําดวยตัวเองได ชวงเวลาในการรับประทานอาหารและการรับประทานยา<br />

รักษา ที่ตองใหผูดูแลคอยชวยเหลือจัดหาให รวมทั้งการกายภาพบําบัดก็ตองมีการดูแล ในสวนสภาพแวดลอม<br />

ทางกายภาพในที่อยูอาศัย ผูดูแลผูพิการยังมีความตองการปรับปรุงหรือวางแผนตอเติมที่อยูอาศัยเพื่อใหสะดวก<br />

ตอผูพิการและผูดูแลแตยังขาดแคลนทุนทรัพย ดานสภาพสังคม เศรษฐกิจ ผูปวยสามารถประกอบกิจวัตร<br />

ประจําวันไดบาง มีความสัมพันธทางสังคมไดเปนปกติ แตมักไมคอยไปรวมกิจกรรมทางสังคมเนื่องดวยเกรงวา<br />

จะไปเปนภาระ สวนผูดูแลจะมีการชวยเหลือผูพิการบางในเรื่องที่ผูพิการไมสามารถทําได สวนคาใชจายในการ<br />

ดูแลรักษาผูพิการจะมีรายไดสวนใหญมาจากบุตรและเบี้ยคนพิการ โดยคาใชจายเฉลี่ยแตละเดือนประมาณ<br />

4,000 – 6,000 บาทตอเดือน<br />

กลุมความพิการซ้ําซอน (การเคลื่อนไหวเปนหลัก) ดานสภาพการอยูอาศัย ผูพิการจะพักอาศัยอยู<br />

ในที่อยูอาศัยเดิมกับญาติและลูกหลานของตน โดยผูพิการจะอยูบนเตียงนอนไมลุกไปไหนหรือตองการอะไร และ<br />

ไมทํากิจกรรมหรืองานอดิเรกใดๆ เนื่องจากไมสามารถจะใชความสามารถทําอะไรไดดวยตัวเอง ดังนั้นจึงเกิด<br />

ความเกรงใจที่จะใหผูดุแลชวยเหลือตนเองบอยๆ โดยมากมักจะนอนทั้งวันหรือลุกขึ้นมาบาง ในสวนของการ<br />

ปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมภายในที่อยูอาศัย ผูดูแลจะคํานึงถึงความปลอดภัยและความสะดวกของผูพิการมาก<br />

ขึ้น โดยการติดตั้งทางลาดและราวจับในสวนของหองน้ํา ทางเดินภายใน ทางเขาหลัก และมีการกําหนดพื้นที่<br />

หรือกั้นหองนอนสําหรับผูพิการขึ้นใหม นอกจากนี้ ผูดูแลยังสงเสริมสภาพแวดลอมที่ชวยทํากายภาพบําบัด<br />

สําหรับผูพิการ เพื่อชวยใหผูพิการแข็งแรงและชวยตัวเองไดมากขึ้น ดานสภาพสังคม เศรษฐกิจ ผูพิการเริ่มมี<br />

พฤติกรรมไมคอยชอบเขาสังคม และมักคิดวาตัวเองเปนภาระ อีกทั้งความยากลําบากในการทํากิจกรรมตางๆ


649<br />

และมีความตองการในการดูแลเปนพิเศษในการประกอบกิจวัตรประจําวัน ทําใหผูดูแลตองรับภาระงานในการ<br />

ดูแลมากขึ้น เชน การปอนอาหาร การชวยเหลือผูปวยในการขับถายปสสาวะอุจจาระ เปนตน จึงทําใหผูพิการไม<br />

อยากไปไหนทําอะไร ซึ่งผูดูแลจะมีภาวะความเครียด เพราะตองรับภาระในการดูแลและจัดการกับพฤติกรรม<br />

ปญหามากขึ้น โดยผูพิการจะมีพฤติกรรมที่เปนปญหา ไดแก ขับถายโดยไมบอก ไมชอบการอาบน้ํา ไมชอบคน<br />

เยอะ ในสวนของคาใชจายในการดูแลผูพิการจะเปนหนาที่ของบุตรหรือญาติของผูดูแล เนื่องจากผูปวยจะไม<br />

สามารถรับรู หรือวางแผนการคิดคํานวณเกี่ยวกับการใชจายตางๆได โดยคาใชจายเฉลี่ยในแตละเดือนประมาณ<br />

5,000 – 7,000บาทตอเดือน<br />

กลุมความพิการทางการเห็นดานสภาพการอยูอาศัย ผูพิการจะพักอาศัยอยูในที่อยูอาศัยเดิมกับ<br />

ญาติและลูกหลานของตน บริเวณบานสวนใหญไมไดเปนปญหาหรืออุปสรรคตอผูพิการมากนัก เพราะอาศัย<br />

ความคุนชินพื้นที่ และใชความจําและประสาทสัมผัสสวนอื่น ในการใชชีวิตประจําวัน แตก็ยังมีพื้นที่ที่ยังอาจ<br />

กอใหเกิดอันตรายตอการใชทํากิจวัตรประจําวันบาง เชน ธรณีประตูเขาหองน้ํา ปลั๊กไฟ เปนตน ในสวนของการ<br />

ปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมภายในที่อยูอาศัย ผูดูแลและผูพิการนั้นไดมีการปรับปรุงไปบางพอสมควร ทั้งการจัด<br />

พื้นที่เฉพาะของคนพิการ และลักษณะการเตือนตางๆของการใชพื้นที่บริเวณบาน ดานสภาพสังคม เศรษฐกิจ ผู<br />

พิการ สามารถประกอบกิจวัตรประจําวันไดดวยตัวเอง เชน อาบน้ ํา แปรงฟน รับประทานอาหาร ทําใหผูดูแลตอง<br />

ไมไดรับภาระงานในการดูแลมาก อยางไรก็ตาม ผูพิการถึงแมจะชวยเหลือตัวเองไดมากพอสมควร แตก็ยังไป<br />

รวมกิจกรรมสังคมตางๆไมได เนื่องจากกลัวการเปนภาระใหกับผูดุแลในการเดินทางไปทํากิจกรรม ในสวนของ<br />

คาใชจายในการดูแลรักษาผูปวยโดยเฉลี่ยประมาณ 3,000-5,000 บาทตอเดือน<br />

• สภาพปญหาการใชที่อยูอาศัย<br />

กลุมความพิการทางการเคลื่อนไหว กลุมความพิการทางการเคลื่อนไหว จากผลการสัมภาษณ<br />

ผูดูแลผูพิการเกี่ยวกับการวางแผนและการเตรียมที่อยูอาศัย พบวา ผูพิการและผูดูแลผูพิการยังมีความตองการ<br />

ปรับปรุงหรือวางแผนตอเติมที่อยูอาศัย เนื่องจากผูพิการยังไมสามารถประกอบกิจวัตรประจําวันไดดวยตัวเอง<br />

อยางไรก็ตาม ผูพิการและผูดูแลผูพิการนั้นยังไมมีทุนทรัพย และความรูเกี่ยวกับการปรับปรุงที่อยูอาศัยให<br />

เหมาะสม แตก็ยังตองการที่จะปรับปรุงที่อยูอาศัย โดยการติดตั้งอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก ไดแก เกาอี้<br />

รถเข็น, ราวจับ, เตียงนอนแบบมีที่กั้นขอบ และทางลาด จากการสํารวจ พบวา ยังมีพื้นที่ภายในที่อยูอาศัยที่<br />

อาจทําใหผูพิการมีความไมปลอดภัย ไดแก พื้นบริเวณทางเดินไมเรียบ ผิวขรุขระ และมีความตางระดับกัน,<br />

ความกวางของประตูแคบเกินไปสําหรับเกาอี้รถเข็น, วางสิ่งของมีคมหรือสารเคมีที่อาจเปนอันตรายกับผูปวยไว<br />

ในที่ตางๆ และขนาดพื้นที่ของหองน้ํามีความคับแคบ ไมมีการติดตั้งอุปกรณชวยพยุงตัวเพื่อความปลอดภัย<br />

กลุมความพิการซ้ําซอน (การเคลื่อนไหวเปนหลัก)<br />

กลุมความพิการซ้ําซอน (การเคลื ่อนไหวเปนหลัก) จากผลการสัมภาษณผูดูแลผูพิการเกี่ยวกับการ<br />

วางแผนและการเตรียมที่อยูอาศัย พบวา ผูดูแลผูพิการมีความตองการที่จะปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในที่อยู<br />

อาศัยอยางมาก เนื่องจากผูพิการมีภาวะที่ไมสามารถควบคุมรางกายและยังไมสามารถชวยเหลือตัวเองได<br />

เนื่องจากการพิการซอนจะทําใหผูพิการมีความสามารถในการใชอวัยวะนอยลง การติดตั้งอุปกรณชวยพยุงตัวใน<br />

หองน้ําและทางเดิน, อุปกรณที่ใชทํากายภาพบําบัด,ทางลาด และกายอุปกรณตางๆ จะชวยใหความสะดวกแก<br />

ผูพิการมากขึ้น จากการสํารวจ พบวา ไดมีการติดตั้งอุปกรณและจัดพื้นที่ใชสอยภายในที่อยูอาศัยสําหรับผูพิการ


650<br />

แลวบาง เพื่อชวยลดพฤติกรรมที่เปนปญหาของผูพิการ ในดานความปลอดภัยยังมีพื้นที่ที่อาจทําใหผูปวยมี<br />

ความไมปลอดภัยเกิดขึ้นได ไดแก พื้นทางเดิน ทางลาดมีผิวลื่นและมีราวจับ, บันไดทางเขามีระยะลูกตั้งมากและ<br />

ไมมีราวจับ, ทางเดินมีสิ่งกีดขวางและมืด, หองน้ําไมมีที่นั่งในสวนอาบน้ําหรืออุปกรณชวยพยุงตัว รวมทั้ง<br />

สุขภัณฑที่เหมาะสมกับผูพิการ<br />

กลุมความพิการทางการเห็น กลุมความพิการทางการเห็น จากผลการสัมภาษณผูดูแลผูพิการ<br />

เกี่ยวกับการวางแผนและการเตรียมที่อยูอาศัย พบวา ผูดูแลผูพิการไมมีความตองการที่จะปรับปรุง<br />

สภาพแวดลอมภายในที่อยูอาศัย เนื่องจากผูพิการเคยชินกับสภาพแวดลอมเดิมๆที่ใชชีวิตอยูทุกวัน อีกทั้งยังไม<br />

สามารถรับรูสิ่งใหมๆได จึงอาศัยประสบการณในการในการเรียนรูจากการสัมผัส และมีคงความเคยชินในการ<br />

ประกอบกิจวัตรประจําวันในแตละวัน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมภายในที่อยูอาศัยจึงอาจสงผลตอ<br />

ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันของผูพิการได จากการสํารวจ พบวา ผูดูแลผูพิการไดมีการ<br />

ปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในที่อยูอาศัยแลวบาง ทั้งในดานความปลอดภัย และดานการกระตุนความทรงจํา<br />

ไดแก การกําหนดอาณาเขตของการใชพื ้นที่ของผูพิการ จัดวางสิ่งของที่ใชเปนประจํา และแยกสิ่งของที่อันตราย<br />

ตอการสัมผัสใหหางจากผูพิการ สวนที่ยังเปนปญหาอยูนั้นคือทางเดินในการสัญจรสวนใหญมีสภาพขรุขระทําให<br />

สะดุดลมไดงาย เพื่อสงเสริมใหเกิดการเรียนรูและจดจํา ควรมีพื้นผิวสัมผัสที่แตกตางกันในจุดอันตรายตางๆใน<br />

การใชพื้นที่<br />

ภาพ แสดงปญหาที่อยูอาศัยของผูพิการ กรณีตัวอยาง


651<br />

ขอเสนอแนะการวิจัย<br />

จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎีทั้งในประเทศ และในตางประเทศ ที่ไดกลาวมาแลว สามารถสรุป<br />

แนวคิดที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงสภาพแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับผูพิการ โดยแนวคิดการ<br />

ปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยของคนพิการ มีหลักการ 4 ขอ ดังนี้<br />

• มีความปลอดภัยทางกายภาพความปลอดภัยทางดานรางกายและสุขภาพอนามัย เชน มีระบบการ<br />

ปกปองจากภายนอก เชน เสียง แสง ที่ดี จัดใหมีแสงสวางเพียงพอบริเวณบันไดและทางเขา มีราวจับ<br />

ในหองน้ํา พื้นกระเบื้องไมลื่น มีสัญญาณฉุกเฉินจากหัวเตียงหรือในหองน้ํา สําหรับเรียกขอความ<br />

ชวยเหลือ เปนตน ซึ่งสิ่งเหลานี้จะชวยใหคนพิการและคนดูแลสามารถดําเนินชีวิตไดโดยสะดวกขึ้น<br />

• เขาถึงไดงายการมีพื้นที่ราบเรียบ ไมลื่น ไมมีอุปสรรคหรือมีของวางขวางทางเดิน การมีทางลาด<br />

สําหรับรถเข็น การมีพื้นผิวตางสัมผัส และมีความกวางของทางเดินที่เพียงพอ คือกวางอยางนอย 90<br />

ซม. และภายในพื้นที่มีพื้นที่ที่รถลอเข็นสามารถหมุนกลับได คือมีเสนผาศูนยกลาง 150 ซม. ทําใหคน<br />

พิการสามารถเขาถึงไดทุกสถานที่ในบาน<br />

• สงเสริมและกระตุน การปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยที่มีความนาสนใจ การเลือกใชสีที่เหมาะสม มี<br />

ความสวางและชัดเจน การจัดกายอุปกรณตางๆ เพื่อชวยฟนฟูสมรรถภาพ (กายภาพบําบัด) การจัด<br />

สวน ซึ่งการจัดสภาพแวดลอมจะชวยกระตุนใหคนพิการทํากิจกรรมตางๆ ภายในบาน เพื่อคง<br />

ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวัน<br />

• ดูแลรักษางายบานสําหรับคนพิการควรจะออกแบบใหดูแลรักษางายเทาที่จะเปนไปได ดวยเหตุนี้บาน<br />

ทั่วๆ ไปควรจะเล็ก การจัดพื้นที่ตองตรงไปตรงมา ไมมีมุมอับ คนพิการสามารถเขาใจพื้นที่ตางๆ ได<br />

โดยงาย มีความเปนสวนตัวได หรือมีมุมสวนตัวที่ผูดูแลมองเห็นได


652<br />

แนวทางการปรับปรุงที่อยูอาศัยของคนพิการ กรณีตัวอยาง<br />

กอนการปรับปรุง<br />

ปญหาที่พบ<br />

<strong>1.</strong> พื้นที่นอนพักผอนตอนกลางคืน:<br />

การขึ้นไปนอนพักผอนขางบนมี<br />

ความลําบากมาก ตองใชเวลานาน<br />

และบันไดในการขึ้นมีความชันมาก<br />

2. หองน้ํา : เปดประตูเขาไปใชยาก<br />

มาก โถสวมเปนแบบนั่งยอง<br />

3. พื้นที่บริเวณภายนอกบาน : เปน<br />

พื้นดินขรุขระ ขาดพื้นที่กิจกรรม<br />

สําหรับคนพิการ<br />

หลังการปรับปรุง<br />

ขั้นตอนการปรับปรุง<br />

<strong>1.</strong> ตอเติมหองนอนดานลาง :<br />

กั้นหองนอนดานลางจากโครงสราง<br />

เดิม เพื่อใหเปนที่นอนพักผอนของผู<br />

พิการในเวลากลางคืน<br />

2. ปรับปรุงหองน้ํา : ติดตั้งสุขภัณฑ<br />

และอุปกรณที่เหมาะสม<br />

3. ปรับปรุงพื้นที่บริเวณบาน : ปรับ<br />

ทางเดินและพื้นดินโดยรอบใหเรียบ<br />

เพิ่ มพื้ นที่ กิ จกรรม เช น ราว<br />

กายภาพบําบัดใชเพื่อพยุงตัว<br />

สําหรับเขาหองน้ําดวย


653<br />

จากการศึกษา การปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยของคนพิการ สามารถสรุปแนวคิด ลักษณะทาง<br />

กายภาพ และแนวทางการปรับปรุงสภาพแดลอมที่อยูอาศัยของคนพิการ ไดดังตอไปนี้<br />

<strong>1.</strong> พื้นที่บริเวณภายนอกบาน ลักษณะทางกายภาพภายนอกบานที่ควรปรับปรุงแกไขไดแก ลักษณะ<br />

พื้นดินขรุขระ มีเศษหิน ไมเหมาะกับสภาพรางกายของคนพิการ ทั้งในถนนที่จะออกไปเพื ่อไปถนนใหญเพื่อ<br />

เดินทางไปสถานที่ตางๆ บริเวณรอบบานเปนลานดิน ทําใหไมเอื้อ หรือไมสามารถรถเข็นได เกิดความ<br />

ยากลําบากในการสัญจรไปมา และทางเขาบานจากถนนดานหนาติดถนนหลักมีลักษณะที่ชัน ขรุขระ และเปน<br />

พื้นที่ตางระดับ ทําใหไมสามารถออกไปขางนอกเองหรือเขาถึงบานไดอยางยากลําบาก<br />

แนวทางในการปรับพื้นที่บริเวณภายนอกบาน ไดแกเทพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ บริเวณที่นั่งเลนขางบาน<br />

และทางขึ้นบาน ติดตั้งพื้นผิวสัมผัส และจัดทําทางลาด ใหม ลาดเอียงไมเกิน 1:12 ปรับสภาพใหไมเกิดระดับที่<br />

มากและ และใชวัสดุลักษณะเรียบ เดินผานไดโดยไมสะดุดใหรถเข็นใชงานผานไปได ทางเขาบานใหเปน<br />

ลักษณะทางลาดเพื่อสะดวกตอการเขาถึงเขาถึง และจัดสวนและกิจกรรมเพื่อใหคนพิการสามารถออกมาทํา<br />

กิจกรรมภายนอกบานและออก กําลังกายได นอกจากนี้ยังควรติดตั้งอุปกรณชวยในการเคลื่อนไหว เชน ราวจับ<br />

เพิ่มเติม ความสูงจากพื้น 90 ซม. และทางลาดเพื่อการเขาถึงที่สะดวกปรับพื้นโดยรอบใหม โดยพื้นใหใชวัสดุมี<br />

ลักษณะเรียบ คนพิการสามารถใชงานได<br />

2. หองน้ํา ลักษณะทางกายภาพของหองน้ําที่ควรปรับปรุงแกไข ไดแก หองน้ํามีขนาดเล็ก คับแคบ ไม<br />

มีฝากระดานกั้นและไมถูกสุขลักษณะ ไมสามารถใชเกาอี้รถเข็นเขาหองน้ําได ประตูเปดใชงานไดยากลําบาก มี<br />

ลักษณะเปนสวมนั่งยอง พอนั่งแลวลุกลําบาก<br />

หองน้ํามีปญหาในการเขาถึง เนื่องจากอยูไกลจากบริเวณพักผอนและ พื้นหองน้ําตางระดับทําใหเขาถึง<br />

ไมสะดวกและไมมีอุปกรณสําหรับคนพิการหองน้ําอยูไกลจากบาน ไมสะดวกในการใช รวมถึงไมมีการเดินทอ<br />

น้ําประปาไปยังจุดตางๆ ตองตักจากบอแลวขนไป<br />

ลักษณะพื้นของหองน้ําคอนขางลื่นเพราะเปนพื้นปูนขัดมัน หรือ พื้นหองน้ําไมเรียบ มีลักษณะเปน<br />

คลื่นและสกปรกมีลักษณะเปนคลื่นและไมมีอุปกรณสําหรับคนพิการ เชน ราวจับโถแบบนั่งยอง ไมมีราวจับ<br />

ตองใชหองน้ําบานญาติ เนื่องจากไมมีหองน้ําของตัวเองและไมสะดวกในการใช หรือหองน้ําเปนแบบชั่วคราว ใช<br />

หนาบานสําหรับอาบน้ําและขับถายโดยใช กระโถน เนื่องจากหองน้ําอยูดานหลังบานซึ่งผูพิการไปไมไหว<br />

แนวทางในการปรับหองน้ํา ไดแก สรางหองน้ําใหมใหติดกับตัวบานสําหรับบานที่ไมหองน้ํา และ<br />

สําหรับบานที่มีหองน้ําอยูแลวควรขยายขนาดเพื่อใหเกาอี้เข็นคนพิการ สามารถหมุนตัวกลับได มีเสนผาน<br />

ศูนยกลางไมนอยกวา 150 ซม. และเพื่อใหคนพิการเขาถึงหองน้ําไดควรปรับพื้นที่ใหมีการสรางหองน้ําใหมติด<br />

กับตัวบานบริเวณหองครัว ควรจัดทําทางลาดและปรับใหแนวหองน้ํามีระยะที่ระดับที่ไมตางกัน ปรับพื้นของ<br />

หองน้ําใหเรียบและปูกระเบื้องเพื่อรักษาความสะอาดที่งายขึ้น ปรับหองน้ําใหมีชองระบายอากาศ และรับแสง<br />

สวาง นอกจากนี้ควรเปลี่ยนประตูหองน้ําเปนบานเลื่อนเพื่อสะดวกในการใชงานติดตั้งปมน้ําและเดินทอไปยังจุด<br />

ใชงานตางๆปรับหองน้ําใหมีอางน้ําและโถสวมแบบชักโครก พรอมเดินทอประปาเขาในหองน้ําติดตั้งทั้งโถสวม<br />

แบบนั่งราบ หรือโถสวมแบบนั่งยองสําหรับคนพิการ จัดพื้นที่สําหรับอาบน้ําพรอมที่นั่งอาบ


654<br />

3. ภายในบาน ลักษณะทางกายภาพภายในบานที่ควรปรับปรุงแกไข ไดแก พื้นที่ภายในมีจุดที่ มี<br />

ปญหาใน การเขาถึงพื้นที่บางจุดมีการยกระดับ มีบางจุดเปนพื้นตางระดับที่ทําใหผูพิการเขาไปถึงยังจุดตางๆ<br />

ลําบาก ภายในบานมีการเปลี ่ยนระดับหลายจุด บันไดทางขึ้นบานไมมีราวจับ และบางที่พื้นลื่นเพราะเปนปู<br />

กระเบื้องขัดมัน ซึ่งทําใหเสี่ยงตอการหกลม และการเกิดอุบัติเหตุอื่นๆ ไดงาย ประกอบกับ<br />

ทางเขาบานเปนประตูบานเปด และแคบ ไมสะดวกตอการใชงาน พื้นที่สําหรับคนพิการ ที่เชื่อมตอไป<br />

ยังบริเวณดานนอกอาคารอาจจะเกิดอันตรายเนื่องจากไมมีแนวที่สามารถปองกันการเดินออกไปยังพื้นที่จุด<br />

ตางๆ ที่ถนนดานหนาบานพักอาศัย<br />

สภาพบานชํารุดทรุดโทรมมาก การระบายอากาศไมดี คอนขางทึบ มืด การระบายอากาศไมดี หรือ<br />

บานมีขนาดคับแคบเกินไป แสงสวางไมเพียงพอ และการระบายอากาศไมดี มีกลิ่นอับ บางครั้งก็มีปญหาน้ําทวม<br />

แนวทางในการปรับพื้นที่บริเวณภายในบานไดแก สรางแนวรั้วหรือแนวกันชนที่สามารถบอกระยะใน<br />

การเดินเขาถึงหรือกันแนวเขาออกไดหรือเปลี่ยนประตูทางเขาบานเปนประตูบานเลื่อนความกวาง ไมนอยกวา<br />

90 ซม.หรือกั้นหองนอนไวใตถุนบาน เพื่อความสะดวกในการใชชีวิต และการเขาหองน้ํา ควรปรับพื้นบริเวณที่<br />

ตางระดับใหเปนทางลาด หรือทําขั้นบันไดเพิ่มไมใหตางระดับกันเกินไปและเปลี่ยนพื้น ภายในบานโดยใชวัสดุที่<br />

ไมลื่นมาปูทับบริเวณที่ผูพิการเดิน และใหสามารถใชงานไดสะดวกนอกจากนี้ควรเพิ่มชองเปดโดยตองมีวัสดุกั้น<br />

ไมใหคนพิการออกไปทางอื่นไดนอกจากประตูบาน ติดตั้งอุปกรณชวยในการเคลื่อนไหว เชน ราวจับ และเพิ่ม<br />

หนาตางเพื่อใหมีแสงสวางเขามาและอากาศถายเทไดสะดวกขึ้น<br />

4. หองนอน ลักษณะทางกายภาพภายของหองนอนที่ควรปรับปรุงแกไข ไดแก หองนอนเดิมของผู<br />

พิการอยูบนชั้นบนของตัวบาน และบันไดทางขึ้นบานมีความลาดชันสูง ขาดราวจับผูพิการไมสามารถขึ้นไดโดย<br />

ลําพังทําใหผูพิการขึ้นลงไมสะดวกและเสี่ยงตออุบัติเหตุ และหองนอนมีการระบายอากาศที่ไมสะดวก<br />

แนวทางในการปรับหองนอน คือ กรณีที่หองนอนอยูชั้นบนของบานยายหองนอนลงมาอยูชั้นลางใกล<br />

หองน้ําหรือทําหองน้ําเพิ่มใกลหองนอนชั้นสองกรณีที่ยังไมหองนอนควรกั้นหองนอนเพิ่ม ควร เพิ่มหนาตางใน<br />

ระดับลางเพื่อใหมีการระบายอากาศที่ดีขึ้น และสอดคลองกับระดับสายตา และเมื่อมีพื้นทีเพิ่มแลว ควรจัดวาง<br />

ของเพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงได และมีมุมใหคนพิการไดออกกําลังกายหรือทํากายภาพดวยตนเอง<br />

นอกจากนี้ควรปรับมุมลบเหลี่ยมเสาหรือใชอุปกรณ<br />

5. ใตถุน ลักษณะทางกายภาพของใตถุนบานที่ควรปรับปรุงแกไข ไดแก ใตถุนบานเปนพื้นดินซึ่งต่ํา<br />

กวาระดับพื้นบริเวณรอบตัวบาน เวลาฝนตกเกิดปญหาน้ําทวมขัง และเฉอะแฉะ และมีแสงแดดสองในชวงบาย<br />

ผูพิการจึงอยูแตชั้นบนของบาน ไมคอยเจอคนภายนอก ทําใหขาดการเรียนรูและปรับตัวเขากับสังคม<br />

แนวทางในการปรับพื้นที่บริเวณใตถุน ไดแก เทพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ บริเวณที่นั่งเลนใตถุนบาน<br />

เพื่อใหเปนที่พักผอนของผูพิการและครอบครัวและพบปะพูดคุย เพิ่มชุดมานั ่ง คสล. เพื่อใหผูพิการไดทํากิจกรรม<br />

ตางๆ ที่กระตุนการเรียนรู และพัฒนาการปรับตัวเขากับสังคมและติดตั้ง ผาใบกันสาดตก เพื่อใหพื้นที่พักผอนใต<br />

ถุนบานมีรมเงาตลอดทั้งวัน


655<br />

6. บันได ลักษณะทางกายภาพของบันไดที่ควรปรับปรุงแกไข ไดแก บันไดทางขึ้นบานสูงชันเกินไป<br />

บันไดและบันไดที่มีลูกนอนแคบไมมีราวจับและ ซึ่งอาจเกิดอุบัติเหตุไดงาย<br />

แนวทางในการปรับพื้นที่บริเวณบันได ไดแก ปรับบันไดใหมีความกวาง ไมนอยกวา 90 ซม. และขนาด<br />

ลูกตั้งสูงไมเกิน 16 ซม. ขนาดลูกนอนไมนอยกวา 28 ซม. พรอมราวจับสูง 90 ซม.<br />

กลาวโดยสรุป งานวิจัยนี้ไดนําเสนอแนวคิดดานการจัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับผูพิการ โดยได<br />

นําเอาแนวแนวคิดดังกลาวมาประยุกตใชกับผูพิการที่อาศัยอยูในที่อยูอาศัย ภายใตประเด็นทางดานสังคม และ<br />

การอยูอาศัย เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงที่อยูอาศัยใหมีความเหมาะสม แตทั้งนี้แนวคิดดังกลาวยังเปน<br />

การศึกษาเฉพาะผูพิการที่อยูอาศัยในอําเภอหนองหานและอําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานีเทานั้น ซึ่งควรจะมี<br />

การศึกษาในพื้นที่อื่นๆ เพื่อใหแนวคิดดังกลาวสามารถนํามาปฏิบัติไดจริงภายใตบริบทในประเทศไทย<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] กฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.<br />

2548, 2548.<br />

[2] รศ.กุสุมา ธรรมธํารง. โครงการศึกษาเพื่อพัฒนา สภาพอาคารสถานที่ คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

สจล. ใหสอดคลองกับ พ.ร.บ. การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ในเรื่องการจัดสิ่งอํานวยความสะดวก<br />

สําหรับคนพิการ. กรุงเทพมหานคร, 2545.<br />

[3] รศ.กําธร กุลชล และ ผศ.ดร.ชัยสิทธิ์ ดานกิตติกุล. รายงานการวิจัย แนวทางการปรับปรุงระบบ<br />

ทางเดินเทาสําหรับคนพิการและผูสูงอายุ. กรุงเทพมหานคร, 2548.<br />

[4] ชอเพชร พานระลึก. แนวทางการปรับปรุงอาคารเดิม ใหเปนไปตามกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวย<br />

ความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.2548กรณีศึกษา จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.<br />

[5] Harris, C. W., and Dines, N. T. Time-Saver Standards for Landscape Architecture. New York:<br />

McGraw-Hill, 1997.<br />

[6] Building Construction Authority. Universal Design Guidelines (Commercial Buildings).<br />

Singapore: 2006.<br />

[7] Accessibility by Design in Greater Manchester. Canada : 2005.


656<br />

จํานวนและสภาพการใชหองน้ําและหองสวมในอาคารชุมนุมคนประเภทโรงมหรสพ<br />

QUANTITY AND UTILITY OF RESTROOM AND TOILET IN PUBILIC BUILDING:<br />

ENTERTAINMENT BUILDING TYPE<br />

อิทธิพล จันดา<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย นาวาโท ไตรวัฒน วิรยศิริ<br />

<strong>1.</strong> ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

หองน้ําและหองสวมเปนสถานที่จําเปนสําหรับคนทุกคนที่ตองเขาไปใชสอยในแตละวัน สวมสําคัญตอ<br />

สุขภาพทั้งทางรางกายและจิตใจ ชวยปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค แสดงถึงความศิวิไลซและมาตรฐาน<br />

ความเปนอยูของประเทศ การใชหองน้ําและหองสวม เปนสิทธิมนุษยชนที่ถูกละเลยที่โลกจะตองจัดใหมีสวมที่<br />

ดีกวานี้และเปนดัชนีสําคัญของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย นอกจากนี้หองน้ํายังถือวาเปนพื้นที่ทางสังคม<br />

การพัฒนาเศรษฐกิจ แสดงถึงวัฒนธรรมและมาตรฐานดานสุขภาพ<br />

ความสําคัญในเรื่องของหองน้ําและหองสวมจึงมีความสําคัญและไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้น โดยมี<br />

การพัฒนามาตรฐานตางๆ กฎระเบียบ ขอกฎหมายขึ้นมาใชเพื่อคุมครองสิทธิขั้นพื้นฐาน ในเรื่องของสุขอนามัย<br />

และความปลอดภัยของประชาชนใหมีชีวิตที่ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ ซึ่งถือวาเปนสิทธิขั้นพื้นฐานประการหนึ่งที่<br />

ควรจะไดรับการคุมครอง ดูแลและเอาใจใสจากผูที่เกี่ยวของ จึงเปนหนาที่โดยตรงของภาครัฐทั้งในสวนกลาง<br />

สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น เชน พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535, พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร<br />

พ.ศ.2522 และขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องการควบคุมอาคาร พ.ศ.2544เปนตน มีเกณฑการกําหนดใน<br />

เรื่องที่เกี่ยวของกับแบบและจํานวนหองน้ําและหองสวมในอาคารแตละประเภทและพฤติกรรมการใชสอยที่<br />

แตกตางกันออกไปเพื่อเปนขอบังคับทางกฎหมายที่จะตอบสนองตอความตองการขั้นพื้นฐานของประชาชนใน<br />

ประเทศใหมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นในเรื่องของหองน้ําและหองสวม<br />

อาคารชุมนุมคนเปนอาคารที่บุคคลอาจเขาไปภายในเพื่อประโยชนในการชุมนุมคน โดยมีพื้นที่ตั้งแต<br />

หนึ่งพันตารางเมตรขึ้นไปหรือชุมนุมคนไดตั้งแตหารอยคนขึ้นไป ซึ่งอาคารที่มีจํานวนผูใชสอยมาอยูรวมกันเปน<br />

จํานวนมากในชวงเวลาเดียวกันหรือใกลเคียงกัน อยางเชน อาคารประเภทโรงมหรสพ ในบางครั้งสงผลตอการใช<br />

หองน้ําและหองสวม โดยเฉพาะพฤติกรรมในการใชหองน้ําที่แตกตางจากอาคารประเภทอื่นๆ จะเห็นไดจาก<br />

ความตองการใชหองน้ําและหองสวมของผูใชจํานวนมากที่มีความตองการใชในชวงเวลาพรอมๆกัน ทําใหเกิด<br />

ปญหาจํานวนหองน้ําและหองสวมที่มีอยูไมเพียงพอตอความตองการใชงานหรือเกิดความหนาแนนของ<br />

ผูใชบริการมากเกินไปโดยเฉพาะในหองน้ําหญิงที่เรามักจะพบเห็นกันอยูบอยๆหรือในชวงบางเวลากลับมีผูใช<br />

นอยมากเมื่อเทียบกับจํานวนหองน้ําและหองสวมที่มีอยู<br />

จากขอมูลการประมาณราคาคากอสรางหองน้ําและหองสวมสาธารณะ ของฝายประมาณราคา สํานัก<br />

สถาปตยกรรม กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ในชวงป พ.ศ.2539-พ.ศ.2544 จํานวน 5 แหง มี<br />

ราคาคากอสรางเฉลี่ย 25,000 ถึง 33,000 บาทตอตารางเมตร ประกอบกับดัชนีราคาวัสดุกอสราง หมวด


657<br />

สุขภัณฑมีแนวโนมเฉลี่ยสูงขึ้นทุกป โดยที่หองน้ําและหองสวมยังตองประกอบไปดวยงานระบบประกอบอาคาร<br />

ตางๆ เชน ระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบประปา ระบบไฟฟาและแสงสวางเปนตน ทําใหแนวโนมคาใชจายดาน<br />

ทรัพยากรที่เกี่ยวของกับการสรางหองน้ําและหองสวมมีแนวโนมสูงขึ้นดวย<br />

การศึกษาในครั้งนี้จึงนํามาซึ่งความรูความเขาใจในเรื่องที่เกี่ยวของกับจํานวนและสภาพการใชหองน้ํา<br />

และหองสวมในอาคารชุมนุมคน ประเภทโรงมหรสพ ที่เหมาะสมในการใชสอยและเห็นถึงสภาพการใชที่เกิดขึ้น<br />

เพื่อนําไปสูการปรับปรุงแนวทางการกําหนดจํานวนหองน้ําและหองสวมใหมีความเหมาะสมกับอาคารและ<br />

สามารถตอบสนองตอพฤติกรรมการใชหองน้ําและหองสวมในการดําเนินกิจกรรมใหสอดคลองกับความตอง<br />

ในชวงเวลาที่มีการใชสอยนั้นใหมีเหมาะสมมากยิ่งขึ้น<br />

2. ขอพิจารณาการแบงประเภทโรงมหรสพ<br />

ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ไดใหความหมายของอาคารประเภทโรงมหรสพ ไววา<br />

โรงมหรสพหมายถึง อาคารหรือสวนหญิงสวนใดของอาคารที่ใชเปนสถานที่สําหรับฉายภาพยนตร แสดงละคร แสดง<br />

ดนตรี หรือการแสดงรื่นเริงอื่นใดและมีวัตถุประสงคเพื่อเปดใหสาธารณชนเขาชมการแสดงนั้นเปนปกติธุระ โดยจะมี<br />

คาตอบแทนหรือไมก็ตาม จากกฎกระทรวงวาดวยการอนุญาตใหใชอาคารเพื ่อประกอบกิจการโรงมหรสพ<br />

ประเภทและระบบความปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ<br />

ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ. 2550ไดแบงโรงมหรสพออกเปน 5 ประเภทคือ ประเภท ก ข ค ง และ จ<br />

จากการศึกษาและสํารวจโรงมหรสพในเขตกรุงเทพมหานครที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการโรง<br />

มหรสพจากคณะกรรมการประกอบกิจการโรงมหรสพในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งสิ้น 299 โรง ซึ่งจัดอยูใน<br />

โรงมหรสพประเภท ค พบวารูปแบบตางๆของโรงมหรสพที่ปรากฏสามารถสรุปได 2 ประเภท คือ โรงละคร<br />

(Theatres-Stage) และ โรงภาพยนตร (Movie Theatres)<br />

3. ขอมูลทั่วไปที่เกี่ยวของกับหองน้ําและหองสวม<br />

3.1 ความเปนมาของหองน้ําและหองสวม<br />

ความหมายของ “สวม” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต มีความหมายถึง ที่ถายอุจจาระปสสาวะ<br />

(ภาษาชาวบานเรียกวา “ที่อึและที่ฉี่”) ซึ่งคําวา “สวม” เปนคําเกาแกที่ใชกันมาตั้งแตกอนสมัยรัตนโกสินทร คําวา<br />

สวมในภาษาลานนามีความหมายวา “หิ้งบูชา หรือที่นอนของพระ” สวนทางอีสานหรือลาว คําวา “สวม” จะ<br />

หมายถึง หองนอนของลูกสาวหรือเจาบาว-เจาสาว สวนคําอื่นที่มีความหมายวาสวม เชน หองสุขา เวจ (เว็จ)<br />

ถาน (สวมของพระ) สีสําราญ และอุโมงค (สถานที่ขับถายของผูหญิงที่อยูในวังหรือผูหญิงชาววังที่มิใชเจานาย)<br />

แตสําหรับเจานายชั้นสูงหรือกษัตริยจะใชคําวา “หองบังคน” เปนคําที่มาจากภาษาเขมร สวนในปจจุบัน คําวา<br />

“หองสวม” หรือ “หองสุขา” มักจะหมายถึง หองหับเล็ก ๆ ที่มิดชิด มีสวนประกอบคือโถนั่งแบบชักโครก หรือสวม<br />

ที่ตองนั่งยอง ๆ<br />

คําวา “สุขา” นาจะมาจากชื่อของ ”กรมศุขาภิบาล” ที่กอตั้งในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกสั ้น ๆ วา “กรมศุขา”<br />

มีความหมายถึง การบํารุงรักษาความสุข และมีการเปลี่ยนคําเขียนเปน สุขาภิบาล ดังนั้นหองสุขาภิบาลหรือที่<br />

เรียกอยางยอวา หองสุขา มีความหมายวา "หองที่สรางโดยสุขาภิบาลสําหรับถายอุจจาระและปสสาวะ" โดยมี<br />

หนวยงานกรมศุขาภิบาลทําหนาที่ในการรักษาความสะอาดของพระนครและปองกันโรคระบาดในสมัยนั้น


ในสมัยอดีตผูใชสวมแบงไดเปน 3 กลุมหลักๆคือ กลุมกษัตริย เจานาย ขุนนางและผูมีฐานะดี, กลุม<br />

พระสงฆและกลุมชาวบานที่เปนกลุมคนสวนใหญในสังคม จากการเขามาของวัฒนธรรมตะวันตกสวมก็ไดมี<br />

บทบาทตอชีวิตประจําวันมาขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 4 ถึงรัชกาลที่ 5 สยามเริ่มมีพลเมืองมากขึ้น การคาเศรษฐกิจ<br />

เจริญเติบโตทั้งยังเปดรับวัฒนธรรมตะวันตกที่เขามา ในยุคนั้นประชาชนทั่วไปก็ยังไมนิยมสรางสวมในที่อาศัย<br />

ของตนเอง แตจะขับถายนอกสถานที่ตามตรอกซอกซอย ถนนหนทาง หรือริมน้ําคูคลองตาง ๆ เกลื่อนกลาดไป<br />

ดวยกองอุจจาระ เปนสิ่งไมนาดู ทั้งยังสงกลิ่นเหม็นรุนแรง และเปนสาเหตุของโรคระบาด จนในป พ.ศ. 2440<br />

หรือปลายสมัยรัชกาลที่ 5 รัฐโดยกรมสุขาภิบาลซึ่งกอตั้งในปเดียวกันนั้น ไดดําเนินการจัดสรางสวมสาธารณะขึ้น<br />

ครั้งแรกหรือสมัยนั้นเรียกวา “เว็จสาธารณะ” ขึ้นตามตําบลตาง ๆ ในกรุงเทพฯ พรอมกันนั้นรัฐไดออกพระราช<br />

กําหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ พ.ศ. 2440 มีผลบังคับใหคนตองขับถายในสวมและรัฐไดจัดสรางสวมสาธารณะขึ้น<br />

ตามตําบลตางๆ เพื่อสุขอนามัยที่ดีของประชาชน<br />

ในชวงป พ.ศ. 2460-2471 มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอรจากสหรัฐอเมริกา เขามาชวยเหลือทางการแพทยและ<br />

สาธารณสุข โดยสงเสริมการจัดสรางสวมในจังหวัดตาง ๆ เพื่อปองกันโรคพยาธิปากขอ ซึ่งตอมาคนไทยก็ไดมี<br />

การประดิษฐคิดคนสวมรูปแบบตาง ๆ ขึ้นเองที่เหมาะสมกับทองถิ่นของไทย เชน “สวมหลุมบุญสะอาด” ที่มี<br />

กลไกปองกันปญหาการลืมปดฝาหลุมถาย และสวมคอหานทํางานรวมกับระบบบอเกรอะบอซึม แกปญหาเรื่อง<br />

แมลงวันและกลิ่นเหม็นยอนกลับมาของสวมหลุมแบบเกา ตอมาสวมคอหานก็แพรหลายแทนที่สวมหลุมในที่สุด<br />

และยังคงไดรับความนิยมจนปจจุบันนี้ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี ภายหลังการ<br />

เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมนโยบายดานสุขอนามัย ในดานการขับถายและ<br />

ชําระรางกายของประชาชนในสวนภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น ไดจัดทําหนังสือแบบเรียนของเด็ก เพื่อปลูกฝงดาน<br />

สุขอนามัย และทําใหประชาชนเห็นความสําคัญและมีทัศนคติที่ดีตอสวม<br />

3.2 ขอมูลกฎหมายที่เกี่ยวของกับหองน้ําและหองสวม<br />

มาตรการทางกฎหมายซึ่งมีบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับหองน้ําและหองสวม ปรากฏอยูในกฎหมายหลาย<br />

ฉบับ ซึ่งเริ่มจากบทบัญญัติในการจัดการเรื่องสวมและสิ่งปฏิกูลตามกฎหมายซึ่งเกิดขึ้นมาจากสภาวการณที่มี<br />

โรคระบาดเกิดขึ้นเรื่อยมาจนถึงปจจุบันซึ่งกฎหมายที่กําหนดเกี่ยวกับจํานวนหองน้ําและหองสวมที่สําคัญๆ<br />

สามารถแบงตามกฎหมายและขอบัญญัติตางๆ ไดดังนี้<br />

3.2.1 กฎหมายวาดวยการสาธารณสุข<br />

- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535<br />

3.3.2 กฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน<br />

- ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย<br />

สําหรับลูกจาง ลงวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.2515<br />

- กฎกระทรวงวาดวยการจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2548<br />

3.3.3 กฎหมายวาดวยโรงงาน<br />

- กฎกระทรวง ฉบับที่2 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.<br />

2355<br />

658


659<br />

3.3.4 กฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร<br />

- กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร<br />

พ.ศ. 2522<br />

- กฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพล<br />

ภาพและคนชรา พ.ศ.2548<br />

- กฎกระทรวง ฉบับที่ 69 (พ.ศ.2551)<br />

3.3.5 ขอบัญญัติทองถิ่นกรุงเทพมหานคร<br />

- ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องการควบคุมอาคาร พ.ศ.2522<br />

- ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องการควบคุมอาคาร พ.ศ.2544<br />

4. กฎหมายที่เกี่ยวของกับการกําหนดจํานวนหองน้ําและหองสวม ในอาคารประเภทโรงมหรสพ<br />

4.1 กฎหมาย, ขอบังคับภายในประเทศที่เกี่ยวของ<br />

- กฎกระทรวงฉบับที่63 (พ.ศ.2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม<br />

อาคาร พ.ศ.2522<br />

- กฎกระทรวงฉบับที่39 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.<br />

2522<br />

- กฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและ<br />

คนชรา พ.ศ. 2548<br />

- ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544<br />

4.2 กฎหมาย,มาตรฐานและทฤษฎีตางๆ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบหองน้ําและหองสวม<br />

- การออกแบบหองน้ํา<br />

- Theatre Planning ABTT<br />

- UNIFORM THE PLUMBING CODE 2005<br />

- NATIONAL STANDARD PLUMBING CODE 2003<br />

- STANDARD PLUMBING CODE 1994<br />

- DELHI BUILDING BYE-LAW AND DEVELOPMENT REGULATIONS 1983<br />

- Los Angeles Department of Building And Safety<br />

5. ผลจากการศึกษา<br />

จากการศึกษากลุมตัวอยางของโรงมหรสพ ซึ่งมีขอบเขตในการเลือกกรณีศึกษาจากอาคารหรือสวนหนึ่ง<br />

สวนใดของอาคารที่ใชแสดงมหรสพหรือฉายภาพยนตร ที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการโรงมหรสพจาก<br />

คณะกรรมการประกอบกิจการโรงมหรสพในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 12 แหง โดยการสํารวจจํานวนและ<br />

สภาพการใชหองน้ําและหองสวม ดังปรากฏในแผนภูมิตอไปนี้


660<br />

ภาพแสดงจํานวนสุขภัณฑหองน้ําและหองสวม จากการสํารวจอาคารกรณีศึกษา ทั้ง 12 แหง<br />

จํานวนสุขภัณฑหองน้ําและหองสวม จากการสํารวจอาคารกรณีศึกษา ทั้ง 12 แหง สามารถนํามา<br />

แสดงอัตราสวนสุขภัณฑตอจํานวนที่นั่งชมมหรสพ ในอาคารกรณีศึกษาทั้ง 12 แหง แยกเพศชายและหญิง ดังนี้<br />

จากตารางแสดงอัตราสวนสุขภัณฑตอจํานวนที่นั่งชมมหรสพ ในอาคารกรณีศึกษาทั้ง 12 แหง แยก<br />

เพศชายและหญิง จะพบวาอัตราสวนสุขภัณฑแตละชนิดตอจํานวนที่นั่งชมมหรสพของอาคารกรณีศึกษา มี<br />

อัตราสวนแตกตางกันในแตละแหง


661<br />

5. ผลการวิเคราะหการศึกษาจํานวนและสภาพการใชหองน้ําและหองสวมในอาคารชุมนุมคน ประเภท<br />

โรงมหรสพ<br />

จากผลการสํารวจจํานวนหองน้ําและหองสวมในสวนของโรงมหรสพ จํานวน 12 แหงมา<br />

เปรียบเทียบกับกฎหมายที่ใชกําหนดหองน้ําและหองสวม ปรากฎดังตารางดังตอไปนี้<br />

พบวาจํานวนหองน้ําและหองสวมในสวนของโรงมหรสพ เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายควบคุมอาคารที่<br />

ใชกําหนดจํานวนหองน้ําและหองสวมนั้น มี 3 แหงคือ โรงมหรสพF, K และ Lที่มีจํานวนผานเกณฑตามกฎหมาย<br />

ควบคุมอาคารและมีโรงมหรสพ 9 แหงมีจํานวนหองน้ําและหองสวมนอยกวาเกณฑกฎหมายควบคุมอาคาร<br />

ไดแก โรงมหรสพ A B C D E G H I และ J<br />

จากการสอบถามความพึงพอใจในการเขาใชบริการหองน้ําและหองสวมในโรงมหรสพ ในอาคาร<br />

กรณีศึกษา การสํารวจจากพื้นที่จริง และจากการสัมภาษณ พบวาสภาพการใชหองน้ําและหองสวมในสวนของ<br />

โรงมหรสพสวนใหญ ไมมีปญหาในการใชสอยมากนัก ซึ่งสามารถวิเคราะหโดยการแยกกลุมอาคารโรงมหรสพที่<br />

มีจํานวนหองน้ําและหองสวมผานตามกฎหมายและไมผานเกณฑไดดังนี้<br />

<strong>1.</strong> อาคารโรงมหรสพที่มีจํานวนหองน้ําและหองสวม ตามเกณฑกฎหมายกําหนด<br />

พบวาสภาพการใชหองน้ําและหองสวมไมมีปญหาในดานการใชสอย ระดับความพึงพอใจ<br />

ของผูใชบริการอยูในระดับ มากถึงมากที่สุด(โรงมหรสพF, K และ L)<br />

2. อาคารโรงมหรสพที่มีจํานวนหองน้ําและหองสวม นอยกวาเกณฑกฎหมายกําหนด<br />

พบวาการใชหองน้ําและหองสวมไมมีปญหาในดานการใชสอย ระดับความพึงพอใจของ<br />

ผูใชบริการอยูในระดับ ปานกลางถึงมากที่สุด(โรงมหรสพ A B C D E G H I และ J) พบวาจํานวนหองน้ําและ<br />

หองสวมแมจะนอยกวาเกณฑกฎหมายควบคุมอาคารกําหนด แตระดับความพึงพอใจในการเขาใชบริการ อยูใน<br />

ระดับ ปานกลางถึงพอใจมากที่สุด หองน้ําและหองสวมที่มีปญหาในการใชงานไมพอเพียงนั้นพบวาเกิดจาก


662<br />

- หองน้ําและหองสวมอยูในตําแหนงที่เขาถึงและสังเกตไดงาย แตมีจํานวนหองน้ําและหอง<br />

สวมที่ไมเพียงพอในชวงเวลาที่มีการใชงานพรอมๆกันของผูใชจํานวนมาก เทานั้น<br />

- หองน้ําและหองที่อยูไกลเขาถึงไดยากไมปรากฏปญหาในการใชงาน ผูเขาไปใชบริการนอย<br />

- หองน้ําและหองสวมไมสะอาด เนื่องมาจากการที่มีผูเขาใชบริการเปนจํานวนมาก ทําให<br />

ผูใชบริการบางสวน เลือกที่จะไปใชบริการหองน้ําและหองสวมในบริเวณใกลเคียง เชน หองน้ําในสวนของ<br />

ศูนยการคา ในกรณีที่โรงมหรสพตั้งอยูในอาคารศูนยการคา เปนตน<br />

เนื่องจากหองน้ําและหองสวมมีเจาหนาที่ประจําคอยดูแลรักษาความสะอาดอยูสม่ําเสมอ ทําใหสภาพ<br />

การใชโดยทั่วไปอยูในเกณฑดีถึงดีมาก จะมีเพียงชวงที่มีการเขาใชพรอมๆกันในบางเวลาเทานั้น ที่ผูใชอาจจะ<br />

ตองรอใชบริการบางและสภาพการใชทั่วไป ณ ขณะนั้นก็อยูในเกณฑพอใชถึงดี ขึ้นอยูกับตําแหนงที่ตั้งของ<br />

หองน้ําและหองสวม จํานวนที่เหมาะสมสัมพันธกับตําแหนง พฤติกรรมการใชของผูใชบริการ ซึ่งจะเปนปจจัยที่<br />

สงผลตอสภาพการใชหองน้ําและหองสวมในอาคารชุมนุมคน ประเภทโรงมหรสพ<br />

6. ขอเสนอแนะ<br />

ขอเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาหองน้ํา สามารถแบงได 2 แนวทาง คือ<br />

6.1 การแกปญหาดวยการปรับทางกายภาพ<br />

- จัดใหตําแหนงการเขาถึงสะดวก ไมมีระยะที่ไกลเกินไป ตําแหนงที่มีผูเขาไปใชงานเปน<br />

จํานวนมากควรปรับใหมีจํานวนหองน้ําและหองสวมเพิ่มขึ้นตามความเหมาะสม<br />

- การปรับปรุงปายบอกตําแหนงและทิศทางของหองน้ําและหองสวมใหชัดเจน เพื่อลดความ<br />

สับสน และเพิ่มความสะดวกใหแกผูใชบริการ<br />

- ในกรณีที่อาคารโรงมหรสพที่มีเกณฑนอยกวากฎหมายที่กําหนดนั้น ผูใหบริการควรจะมี<br />

การเพิ่มจํานวนหองน้ําและหองสวมใหเปนไปตามเกณฑกฎหมายควบคุมอาคารที่กําหนดไว<br />

- การดูแลรักษาทําความสะอาดควรมีการจัดการที่เหมาะสมตอการใชงาน เชน ตําแหนงที่มี<br />

ผู ใชงานจํานวนมากหรือเขาใชสอยบอยๆ ควรมีความถี่มากขึ้นกวาตําแหนงอื่นที่มีผูเขาใชสอยนอย<br />

- เนื่องจากหองน้ําและหองสวมโรงมหรสพ เปนพื้นที่สาธารณะที่มีผูใชบริการเปนจํานวนมาก<br />

ในแตละวัน ผูใหบริการควรจะใหความสําคัญในสวนพื้นที่นี้ ใหมากขึ้น เชน ทั้งในดานของในดานความสะอาด<br />

ความสะดวก ความเพียงพอ ความปลอดภัย การบริหารจัดการและคุณภาพในการใหบริการ เพื่อสุขอนามัยที่ดี<br />

ของผูมาใชบริการ ซึ่งจะชวยสงเสริมภาพลักษณในการดําเนินธุรกิจของผูใหบริการไดดวยเชนกัน<br />

6.2 การแกปญหาดวยการออกแบบ<br />

- ผูที่มีสวนเกี่ยวของ ไมวาจะเปน ผูออกแบบหรือเจาของอาคาร ซึ่งเปนผูที่เขาใจถึง<br />

พฤติกรรมผูใชมากที่สุด ควรจะตองคํานึงถึงปญหาที่อาจจะเกิดจากการใชหองน้ําและหองสวม เพื่อใหการใชงาน<br />

และการใหบริการเปนไปอยางเหมาะสม<br />

- การดําเนินการออกแบบ กอสราง และเปดใหบริการ ควรปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย<br />

ควบคุมอาคารที่กําหนดไว


663<br />

บรรณานุกรม<br />

ภาษาไทย<br />

หนังสือ<br />

มนฤทัย ไชยวิเศษ. ประวัติศาสตรสังคม-วาดวยสวมและเครื่องสุขภัณฑในประเทศไทย. (กรุงเทพฯ : มติชน<br />

,2545)<br />

กิตติ สุนธุเสก. การออกแบบหองน้ํา. พิมพครั้งที่3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545<br />

สุพินท เรียนศรีวิไล, กฎหมายอาคาร อาษา2538 เลมที่1, พิมพครั้งที่1 กรุงเทพ: สมาคมสถาปนิกสยาม, 2538.<br />

สุพินท เรียนศรีวิไล, กฎหมายอาคาร อาษา2548 เลมที่1, พิมพครั้งที่1 กรุงเทพ: สมาคมสถาปนิกสยาม, 2548.<br />

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 หมวด 6 แบบและจํานวนของหองน้ําและหองสวม<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

หนังสือ<br />

UNIFORM PLUMBING CODE 2003<br />

NATIONAL STANDARD PLUMBING CODE 2003<br />

STANDARD PLUMBING CODE 1994<br />

DELHI BUILDING BYE-LAW AND DEVELOPMENT REGULATIONS 1983<br />

Los Angeles Department of Building And Safety 2002<br />

Roderick Ham AADipl RIBA,Theatre Planning ABTT, The Architectural, London<br />

กลยุทธการจัดการหองน้ําสาธารณะตนแบบในแหลงทองเที่ยวของประเทศไทย


664<br />

STRATEGIC MANAGEMENT OF PUBLIC LAVATORY PROTOTYPE FOR<br />

TOURIST ATTRACTION IN THAILAND<br />

ภาสกร อินทรารุณ<br />

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ศาสตราจารย ดร.สุนทร บุญญาธิการ<br />

สวนที่ 1:บทนํา<br />

<strong>1.</strong>1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

นอกจากความสวยงามของแหลงทองเที่ยวแลว ความสะอาดของสุขาสาธารณะ ก็เปนสิ่งที่นักทองเที่ยว<br />

ตองการไดรับดวย เนื่องจากสาเหตุหนึ่งที่นักทองเที่ยว เกิดความวิตกกังวลเวลาเดินทางมาทองเที่ยว โดยพยายาม<br />

หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม ซึ่งทําใหตองเขาหองน้ําสาธารณะบอยโดยไมจําเปน ทําใหเกิดภาพลักษณที่ไมดีตอการทองเที่ยว<br />

ในอนาคตได การทองเที่ยวมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย เนื่องจากเปน<br />

อุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ มีศักยภาพในการทํา<br />

รายไดใหกับประเทศไทยสูง นโยบายดานการทองเที่ยวของประเทศไทยที่จะตองเรงดําเนินการ คือ การพัฒนา<br />

ประเทศไทยใหเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพ มีมาตรฐานความปลอดภัย และการใหบริการระดับสากล โดยการ<br />

เนนเอกลักษณและวัฒนธรรมไทยควบคูกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติสงเสริมการตลาดทองเที่ยวเชิงรุก ทั้ง<br />

ในและตางประเทศ เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวคุณภาพจากทั่วโลก รวมทั้งการกําหนดแนวทางการฟนฟูและพัฒนา<br />

แหลงทองเที่ยวสินคาและบริการ ใหมีมาตรฐานและเปนที่ยอมรับในระดับสากล พรอมทั้งตั้งเปาหมายที่จะทําให<br />

ประเทศไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวแหง เอเชีย (Tourism Capital of Asia) ที่เปนแหลงทองเที่ยวที่มี<br />

คุณภาพ (Quality Tourism Destination) และเนื่องจากปจจุบันทั่วโลกใหความสําคัญกับสวมสาธารณะ เพราะ<br />

จากหองน้ําสาธารณะเปนเครื่องบงชี้ถึงระดับสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม เปนหนาตาและความเจริญของประเทศ<br />

รัฐบาลหลายประเทศไดใหนโยบายที่สําคัญในการสนับสนุนการทองเที่ยวที่ตองการใหหองน้ําสาธารณะและใน<br />

สถานที่ทองเที่ยวเปนหองน้ําที่มีคุณภาพที่คํานึงถึงปจจัยดานตางๆอยางเหมาะสม จากการสํารวจหองน้ํา<br />

สาธารณะในแหลงทองเที่ยวตางๆ พบวา หองน้ําสาธาณะในประเทศไทย ยังเปนเพียงสถานที่ ที่เปนเพียงแค<br />

สถานที่แวะเพื่อทําธุระสวนตัวเทานั้น และหลายสถานที่ทองเที่ยว มีภาระ คาใชจายในการดูแลหองน้ําสาธารณะ<br />

ที่มากกวารายไดที่มาจากการทองเที่ยว<br />

<strong>1.</strong>2 วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษากลยุทธและการจัดการหองน้ําสาธารณะในแหลงทองเที่ยว<br />

2. วิเคราะหกลยุทธและการจัดการหองน้ําสาธารณะในแหลงทองเที่ยวประเภทตางๆ<br />

3. เสนอแผนกลยุทธหองน้ําสาธารณะตนแบบที ่คํานึงถึงปจจัยสภาพแวดลอมและทรัพยากรตางๆ ใน<br />

แหลงทองเที่ยวเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน


665<br />

<strong>1.</strong>3 คําจํากัดความที่ใชในการวิจัย<br />

หองน้ําสาธารณะ คือ สถานที่ที่ใหประชาชนสามารถใชบริการเพื่อชําระลางหรือขับถายของเสีย จัดวา<br />

เปนบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่มีความสําคัญในการอํานวยความสะดวกแกประชาชน เปนสถานที่จําเปน<br />

สําหรับการออกเดินทางไกล หรือการทองเที่ยว<br />

แหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม คือ สถานที่ทองเที่ยวที่มีลักษณะเปนเมือง หรือชุมชนที่ดําเนินการ<br />

ทองเที่ยวโดยสะทอนใหเห็นถึงเอกลักษณ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตความเปนอยูของเมือง หรือชุมชนทองถิ่น<br />

นั้น ที่ดําเนินการโดยรัฐ หรือเอกชนก็ได<br />

แหลงทองเที่ยวเพื่อการนันทนาการ คือ สถานที่ที่มนุษยจัดสรางขึ้น เพื่อจัดใหบริการเพื่อใหความ<br />

เพลิดเพลิน พักผอนหยอนใจกับนักทองเที่ยว เชน สวนสนุก สวนสาธารณะ เปนตน<br />

แหลงทองเที่ยวธรรมชาติ คือ สถานที่ธรรมชาติ เชน ภูเขา น้ําตก ถ้ํา ลําธาร ทะเล หาดทราย หาดหิน<br />

ปาชายเลน ทะเลสาบ เกาะแกง น้ําพุรอน บอน้ํารอน บอน้ําแร เขตสงวนพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ วนอุทยาน<br />

สวนรุกขชาติ พื้นที่ชุมน้ํา แหลงปะการังธรรมชาติใตทะเล และซากดึกดําบรรพ เสนทางทองเที่ยวธรรมชาติ ฯลฯ<br />

ที่เปดใหสาธารณชนเขาใชสถานที่เพื่อการทองเที่ยว โดยสถานที่เหลานั้นอาจจะอยูในความรับผิดชอบของ<br />

หนวยงานของรัฐหรือเอกชนได<br />

สถานที่ประเภทสนับสนุนการทองเที่ยว คือ สถานที่ประเภทสนับสนุนกิจกรรมการทองเที่ยว เชน สถานี<br />

ขนสง ปมน้ํามัน หองน้ําริมทาง รานอาหาร โดยสถานที่เหลานั้นอาจจะอยูในความรับผิดชอบของหนวยงานของ<br />

รัฐหรือเอกชนก็ได<br />

สวนที่ 2: เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

หองน้ําสาธารณะในสถานที่แตละแหง มีการใชงานที่แตกตางกัน ถือเปนเอกลักษณเฉพาะ ขึ้นอยูกับ<br />

วัฒนธรรมของทองถิ่น สถานการณทางเศรษฐกิจปจจุบันมีการแขงขันดานการทองเที่ยวสูงขึ้น สงผลใหตองปรับ<br />

ปรุงรูปแบบการออกแบบของหองน้ ําใหเขากับนักทองเที่ยว เชน ในประเทศลาว โรงแรมหลายแหงพยายาม<br />

เปดรับนักทองเที่ยวตางชาติ จึงสรางหองน้ําแบบใชชักโครก แตพบปญหาของการขาดแคนน้ํา นอกจากนี้ยังพบ<br />

ปญหาเหลานี้ในอีกหลายประเทศ ปญหาที่ตามมา คือ ระบบนิเวศเกิดความสียหาย นอกจากนี้ยังมีปญหาเรื่อง<br />

สภาพภูมิอากาศ เชน แควนลาดักตั้งอยูบนแนวเทือกเขาหิมาลัยทางตอนเหนือสุดของประเทศอินเดีย ที่พบกับ<br />

สภาพอากาศอันรุนแรง ทั้งรอนจัดและหนาวจัด ชาวลาดักสวนใหญยังชีพดวยการทําเกษตรกรรมปลูกขาว<br />

บารเลยเปนหลัก สวมหลุมของชาวลาดักสรางเปนหองเล็กขนาดสองชั้นแยกจากตัวบาน หองสวมอยูชั้นบน<br />

เจาะรูที่พื้นหองสําหรับนั่งขับถาย จึงไมตองใชน้ําราด ของเสียที่ตกลงสูหองชั้นลางจะถูกคลุกเคลาดวยดินและ<br />

เถาจากในครัว ทั้งชวยดับกลิ่นและเรงกระบวนการยอยสลาย กลายเปนปุยชั้นดีเพื่อนําไปใชในแปลงเกษตร<br />

หองน้ําของชาวลาดักนับเปนตัวอยางที่ดี เพราะแสดงใหเห็นรูปแบบของหองน้ําที่สอดคลองกับสภาพภูมิประเทศ<br />

และภูมิอากาศ ตลอดจนวิถีชีวิตของคนในสังคมเกษตรกรรม และยังสะทอนใหเห็นวิธีคิดของผูคนใหรูจักนําทุก<br />

ทรัพยากรกลับมาใช ไมปลอยใหสิ่งใดเสียเปลาอยางไรประโยชน นอกจากนี้ แนวความคิดในการออกแบบ<br />

หองน้ําสาธารณะยุคใหม ในหลายประเทศที่พัฒนาแลว เนนการใหผูใชงานสัมผัสเครื่องสุขภัณฑนอยที่สุด เพื่อ


666<br />

ลดการแพรเชื้อโรคและมีสุขอนามัยที่ดี ผลจากการทดสอบการปนเปอนอุจจาระของสวมสาธารณะ โดยกรมอนามัย<br />

ดวยวิธีการ Swab หาเชื้อ Faucal Coli form Bacteria เปนตัวชี้วัด พบวา บริเวณที่มีอุจจาระปนเปอนมากที่สุด คือ<br />

พื้นหองน้ํา รอยละ 50 รองลงมา คือ ที่รองนั่งโถสวม รอยละ 31 ที่กดโถสวมหรือปสสาวะ รอยละ 7.7 ที่เปดกอกน้ํา<br />

อางลางมือ รอยละ 6.9 และกลอนประตูหรือลูกบิดประตูสวมดานใน รอยละ 2.7 นอกจากนี้หองน้ําหลายแหงยังไม<br />

มีถังขยะ ถังขยะภายในหองสวมควรถูกสุขลักษณะ ใชวัสดุแข็งแรงไมรั่วซึม และมีฝาปดมิดชิด ออกแบบใหมีทั้ง<br />

กระจกและอางลางมือในตัว โดยน้ําที่ลางมือจะลางปสสาวะในคราวเดียวกัน ชวยลดคาใชจายการกอสราง<br />

รวมถึงลดพื้นที่การใชงาน ที่สําคัญยังสงเสริมใหเกิดสุขอนามัยที่ดีขึ้น<br />

แนวคิด Eco Toilet<br />

ภาพที่ 1 โถปสสาวะ Eco<br />

ภาพที่ 2 การผสมผสานกันระหวางอางลางมือกับโถชักโครก<br />

หลังจากที่ลางมือจะทําการรีไซเคิลน้ําจากอางลางมือแลวนําน้ําที่ไดมาใชเปนน้ําในชักโครก ประหยัด<br />

ทรัพยากรและพื้นที่ใชสอยภายในหองน้ํา<br />

สวนที่ 3: วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

<strong>1.</strong>1 ศึกษาเกี่ยวกับการสราง การจัดการ งบประมาณ ปจจัยสภาพแวดลอม และการวางแผนกลยุทธ<br />

หองน้ําสาธารณะในกรอบความคิดของประเทศไทย และนานาชาติ ที่มีการใชอยูในปจจุบัน


667<br />

<strong>1.</strong>2 ศึกษาปญหาของหองน้ําสาธารณะในแหลงทองเที่ยวประเภทตางๆ วิธีการแกไขปญหาที่ผานมา<br />

จุดแข็ง จุดออน อุปสรรคและโอกาส รวมถึงกิจกรรมในพื้นที่<br />

<strong>1.</strong>3 ศึกษางานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนจากทรัพยากรที่เกี่ยวของกับหองน้ํา เชน<br />

แหลงน้ํา การบําบัดน้ําเสีย ของเสียจากหองน้ํา<br />

2. การสํารวจและเก็บขอมูล<br />

ผูวิจัยไดดําเนินการการสํารวจและเก็บขอมูลจากสถานที่จริง โดยการแยกประเภทสถานที่ ออกเปน 4<br />

กลุมตัวอยาง ดังนี้<br />

กลุมตัวอยางที่ 1 สถานที่ทองเที่ยวทางวัฒนธรรม<br />

กลุมตัวอยางที่ 2 สถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติ<br />

กลุมตัวอยางที่ 3 สถานที่ทองเที่ยวเพื่อการนันทนาการ<br />

กลุมตัวอยางที่ 4 สถานที่ประเภทสนับสนุนการทองเที่ยว<br />

การเก็บขอมูลของการจัดการ การพัฒนาพื้นที่ และกิจกรรมในสถานที่ทองเที่ยว รวมถึงพฤติกรรมของ<br />

นักทองเที่ยวในการใชหองน้ําสาธารณะโดยการแจกแบบสอบถาม หลังจากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห<br />

3. สรุปและนําเสนอการวางแผนกลยุทธการจัดการของหองน้ําสาธารณะตนแบบเพื่อการทองเที่ยว<br />

อยางยั่งยืน<br />

สวนที่ 4: ผลวิเคราะหขอมูล<br />

ตารางที่ 1: ขอมูลทั่วไปของหองน้ําที่ศึกษา<br />

สถานที่ ตลาดน้ําอัมพวา<br />

(สถานที่ทองเที่ยว<br />

ทางวัฒนธรรม)<br />

ลักษณะทาง<br />

กายภาพ<br />

Block 4<br />

ชาย 3 โถ 3<br />

หญิง 4<br />

อําเภอปาย<br />

แมฮองสอน<br />

(สถานที่ทองเที่ยว<br />

ทางธรรมชาติ)<br />

2 หอง<br />

ไมแบงเพศ<br />

ตลาดนัดสวน<br />

จตุจักร<br />

(สถานที่ทองเที่ยว<br />

เพื่อการ<br />

นันทนาการ)<br />

Block 4<br />

ชาย 7 โถ 10<br />

หญิง 7<br />

สถานีขนสงสายใต<br />

ใหม<br />

(สถานที่เพื่อ<br />

สนับสนุนการ<br />

ทองเที่ยว)<br />

Block 3<br />

จํานวนปที่เปดใช 8-10 10 25 3<br />

คาบริการ(บาท) 3-5 2 5 ไมเก็บคาบริการ<br />

จํานวนผูใชตอวัน<br />

(คน)<br />

ชวงผูใชสูงสุด<br />

(เสาร-อาทิตย)<br />

ความถี่ในการทํา<br />

ความสะอาด<br />

500-1000 ตอ<br />

block<br />

100 30,000 ตอblock 5,000 ตอblock<br />

17.00- 20.00 น. 18.00-20.00 น. ตลอดวัน 05.30–08.00 น.<br />

20.00–22.30 น.<br />

เชา / เย็น 1 ครั้ง 3 ครั้ง 7 ครั้ง


668<br />

การบริหาร เจาของสถานที่ อําเภอปาย สํานักงานเขต เอกชนผูรับ<br />

สัมปทาน<br />

ผลการสังเกตุ<br />

เบื้องตน<br />

หองน้ําสกปรก<br />

ไฟไมเพียงพอ<br />

กลิ่นเหม็น<br />

น้ําไมเพียงพอ<br />

ไฟดับบอยครั้ง<br />

พื้นเปยก<br />

ตลอดเวลา<br />

กลิ่นเหม็นมาก<br />

ไมมีปายบอกทาง<br />

หองน้ําอยูในสภาพ<br />

พอใช<br />

ใช<br />

สราง<br />

ภาพที่ 4 เสนอการปรับเปลี่ยนกลยุทธของหองน้ําสาธารณะ<br />

ตารางที่ 2: เปรียบเทียบหองน้ําสาธารณะในปจจุบันของไทยกับหองน้ําสาธารณะตนแบบ<br />

หองน้ําสาธารณะในปจจุบัน หองน้ําสาธารณะ Prototype<br />

ของเสีย<br />

ของเสีย<br />

• ไมมีการคํานึงถึงน้ําทิ้ง น้ําเสีย จากการใชใน • บริเวณที่มีน้ําไหลตลอดเวลาเชน น้ําตก หรือ<br />

หองน้ํา<br />

น้ําฝนที่ตกลงมา และ น้ําทิ้งสามารถนํามาใช<br />

เปนพลังงานไฟฟา<br />

• การนําน้ํากลับมาใชใหมเพื่อลดการปลดปลอย<br />

น้ําเสียลงสูทอระบายน้ําสาธารณะ โดยใชระบบ<br />

ที่ออกแบบใหนําน้ําเสียจากหองน้ําทุกหอง มา<br />

บําบัดและหมุนเวียนกลับมาใชใหม (Grey<br />

water reuse) ใหเปนน้ําดีที่ใชดูแลตนไมในพื้นที่<br />

แวดลอมเพื่อพื้นที่สวนสีเขียวในแนวคิด<br />

Ecology ที่ตนไมทุกตนจะเกื้อกูลกัน แบบตนไม<br />

ใหญดูแลตนไมเล็ก<br />

• เปลี่ยนของเสียในรางกายใหกลายเปนประโยชน<br />

โดยการใชถังบําบัดสําหรับของเสียจากหองน้ํา<br />

เพื่อนําอุจจาระและปสสาวะไปใช


669<br />

สิ่งแวดลอม<br />

• ถาสถานที่ทองเที่ยวไมไดอยูใกลแหลงน้ํา จะมี<br />

ตนทุนคาใชจายสูงในการจัดหาน้ําเพื่อมาใช<br />

ภายในพื้นที่<br />

• ใชแสงประดิษฐเพียงอยางเดียว<br />

• มีเพียงบางสถานที่ที่ใชสภาพบริบทแวดลอมเขา<br />

มาเปนสวนชวยระบบนิเวศนภายใน รวมไปถึง<br />

การหมุนเวียนสิ่งที่มีอยูตามธรรมชาติเขามาใช<br />

ภายในหองน้ําสาธารณะ<br />

ภาพลักษณ<br />

• ไมสงเสริมกับการดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามา<br />

ทองเที่ยว ประเทศไทยรวมถึงนักทองเที่ยว<br />

ภายในประเทศเอง<br />

• ใหประสบการณการทองเที่ยวที่ไมดี กับ<br />

นักทองเที่ยวชาวตางชาติ<br />

• หองน้ําสาธารณะเปนเพียงทางผานหรือจุดนัด<br />

พบระหวางทาง ไมมีความหมาย หรือ คุณคา<br />

ทางสถาปตยกรรม<br />

สิ ่งแวดลอม<br />

• มีระบบเก็บกักน้ําฝนเพื่อนํามาหมุนเวียนทํา<br />

น้ําประปาสําหรับใชในหองน้ําสาธารณะ<br />

• ชองแสงในหองน้ําสาธารณะที่โปรงใสชวยกรอง<br />

แสงสวางจากดวงอาทิตยใหพอเพียงสําหรับ<br />

หองน้ําทุกหอง ลดความจําเปนในการใชไฟฟา<br />

ลงได โดยแผนกระจกภายนอกถูกออกแบบให<br />

สามารถทําความสะอาดตนเองเพื่อรักษา<br />

คุณภาพของแสง<br />

• พลังงานที่ใชภายในหองน้ําสาธารณะทั้งหมด มา<br />

จาก พลังงานธรรมชาติที่ไมเคยนํามาใชกับ<br />

หองน้ําสาธารณะมากอน เชน พลังงาน แดดและ<br />

ลม พลังงานจากปรากฎการณน้ําขึ้น น้ําลง<br />

• ระบบปรับระดับแสงภายในหองน้ําใหเหมาะสม<br />

กับแสงสวางธรรมชาติ จะชวยหรี่แสงสวางของ<br />

แสงประดิษฐภายในหองน้ําที่มากเกินความ<br />

จําเปนโดยอัตโนมัติ<br />

• การกักเก็บพลังงานจากแสงอาทิตยโดยการ<br />

ติดตั้งแผน photovoltaic เพื่อผลิตไฟฟา และ<br />

กังหันลม เพื่อแปลงพลังงานธรรมชาติ ใหหองน้ํา<br />

สาธารณะไดใชประโยชนจากพลังงานสะอาด<br />

อยางมีประสิทธิภาพ<br />

ภาพลักษณ<br />

• บริการที่ตอบสนองกับรูปแบบการใชชีวิตของนัก<br />

เดินทางกลุมเปาหมาย และความตองการสวน<br />

บุคคล (personalized service) รวมถึงความใส<br />

ใจในรายละเอียดที่เหนือจากความคาดหมาย<br />

ของผูใช เพื่อสรางปรากฎการณแปลกใหมและ<br />

ประสบการณ ใหกับผูเขาใชบริการ<br />

• หองน้ําที่มีความชัดเจนในเอกลักษณเฉพาะตัว<br />

ซึ่งอาจเกิดจากบุคลิกที่เปนตัวของหองน้ําเอง ที่<br />

ยังคงรักษารูปแบบของวิถีชีวิตและธรรมชาติของ<br />

สถานที่นั้นๆ และผสมผสานความความ<br />

สะดวกสบาย ของความเปนสากลไดอยางลงตัว<br />

ไม ใช ห องน้ํ าที่ เป นลั กษณะการสร าง<br />

เลียนแบบ สิ่งสําคัญคือตองเปนหนึ่งเดียวของ


670<br />

กิจกรรมในสถานที่<br />

• กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในสถานที่ ลวนแลวแตทํา<br />

ใหเกิดคาใชจายที่สูงในการบํารุงรักษาหองน้ํา<br />

เปนภาระกับสถานที่ทองเที่ยวเอง<br />

โลก<br />

• การออกแบบที่แตกตางทําใหโดดเดนเปนที่<br />

สังเกต จดจํา และกระตุนใหคนที่ชื่นชมแนวคิด<br />

การออกแบบอยากเขามาทดลองใช<br />

• หองน้ําสาธารณะในแหลงทองเที่ยวทาง<br />

ธรรมชาติ วัสดุที่ใชในการออกแบบควร<br />

กลมกลืนเปนหนึ่งเดียวกับธรรมชาติของสถานที่<br />

นั้นๆ<br />

• การออกแบบดานสิ่งแวดลอม สถานที่ และ<br />

สิ่งของเครื่องใชที่เปนสากล และใชไดทั่วไปอยาง<br />

เทาเทียมกันสําหรับทุกคนในสังคม โดยไมตองมี<br />

การออกแบบดัดแปลงพิเศษ หรือเฉพาะเจาะจง<br />

เพื่อบุคคลเฉพาะกลุม<br />

กิจกรรมในสถานที่<br />

• การผลิตพลังงานหมุนเวียนแบบไมใหเสียโอกาส<br />

จากทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากผูใชบริการหองน้ํา<br />

สาธารณะ<br />

• นําการเคลื่อนไหวของผูคนมาเปนแหลงกําเนิด<br />

พลังงาน เนื่องจากหองน้ําสาธาณะเปน public<br />

space ที่มีผูใชบริการเดินเคลื่อนที่ผานไปมา<br />

หลายรอยคนตอวัน การติดตั้งแผนพื้นที่มีกลไก<br />

การขยับ และกระตุนแหลงกําเนิดพลังงานทุก<br />

ครั้งที่ผูใชบริการเดินเหยียบแผนกลไกนั้นผานไป<br />

มา ทุกครั้งของการกาวยางก็จะสงแรงไปผลิต<br />

กระแสไฟฟาไดครั้งละเล็กละนอยสะสมไปเรื่อยๆ<br />

อยางตอเนื่อง<br />

• ผลิตกระแสไฟฟาจากการเคลื่อนไหวในลานจอด<br />

รถของสถานที่ทองเที่ยว เมื่อรถยนตของ<br />

นักทองเที่ยวแลนผานพื้นผิวที่ติดตั้งระบบ<br />

ตรวจจับการเคลื่อนไหวเอาไว พลังงานจากแรง<br />

กดของรถยนต สามารถนํามาผลิตเปน<br />

กระแสไฟฟา สงไปผลิตเปนกระแสไฟฟา ยิ่ง<br />

รถยนตมีน้ําหนักมาก ก็จะยิ่งมีโอกาสผลิต<br />

พลังงานออกมาไดมากขึ้นตามไปดวย<br />

• กระดาษชําระที่ใชในหองน้ํา ผลิตจากกระดาษที่<br />

รีไซเคิลจากกิจกรรมอื่นๆในสถานที่ทองเที่ยว


671<br />

จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามที่ไดรับคืนจากนักทองเที่ยว รวมถึง การสํารวจทางกายภาพ<br />

เชิงลึกของสถานที่ พบวาสถานที่ทองเที่ยวทั้ง 4 ประเภทนั้น มีวิธีการจัดการที่ไมแตกตางกันมากนัก โดยเฉพาะ<br />

การคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและทรัพยากรตางๆ รวมถึงการตระหนักถึงประโยชนแอบแฝงที ่ไดจากกิจกรรมตางๆ ที่<br />

เกิดขึ้นภายในสถานที่ทองเที่ยว ดังที่ไดเสนอไวในตารางที่ 2 ผูวิจัยจึงไดทําการสรรหาทางเลือกเพื่อนํามาสรุป<br />

และนําเสนอเปนแผนกลยุทธการจัดการ เพื่อเปนตนแบบใหหองน้ําสาธารณะในแหลงทองเที่ยวตาง สามารถ<br />

นําไปประยุกตใชกับประเภทสถานที่ทองเที่ยวตางๆ ไดอยางเหมาะสม<br />

สวนที่ 5: สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ<br />

จากการวิเคราะหลักษณะทางกายภาพของหองน้ําสาธารณะในแหลงทองเที่ยวทั้ง 4 แหงพบวาไดขาด<br />

การวางแผนกลยุทธเพื่อการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางคุมคา รวมถึงกลยุทธการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ผล<br />

จากการศึกษาไดขอเสนอเพื่อสรางทรัพยากรขึ้นมาใชใหม เพื่อสรางความสมดุล จากการเผชิญปญหา<br />

วิกฤตการณทางดานพลังงาน จึงเริ่มความคิดที่จะแสวงหาของที่หาไดตามธรรมชาติ หรือจายใหนอยที่สุด ผูวิจัย<br />

จึงไดมีการสังเกตเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆที่เกิดขึ้นในพื้นที่หองน้ําสาธารณะที่ตองทํากันอยูเปนกิจวัตร มาเปน<br />

กลไกสรางพลังงานใหเกิดขึ้นแบบไมตองใชเงินทุน ไมตองใชแรงจูงใจเพิ่มเติม ใหผูที่ทํากิจกรรมนั้นไมรูสึกตัววา<br />

กําลังสรางพลังงานสีเขียวใหเกิดขึ้นกับหองน้ําสาธารณะ<br />

การสรางหองน้ําสาธารณะที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอมพรอมทั้งการใชทรัพยากรธรรมชาติและพื้นที่อยางมี<br />

ประสิทธิภาพใหมากที่สุดและใชตนทุนทางการเงินใหนอยที่สุดหรือไมใชเลย มีการพึ่งพาพลังงานจากแหลง<br />

ภายนอกเทาที่จําเปนเทานั้น และที่สําคัญตองสามารถสื่อสารกับผูใชบริการหองน้ําสาธารณะไดอยางชัดเจนและ<br />

กระตุนใหเกิดการรับรูถึงการใชพลังงานอยางคุมคา สรางสรรค และ มีประสิทธิภาพ เพื่อปกปองสภาพแวดลอม<br />

ทางธรรมชาติจากการเขาหองน้ําของนักทองเที่ยว และ ไมสรางภาระการจัดหาพลังงานแกภาครัฐ<br />

บรรณานุกรม<br />

กรมอนามัย สุขาภิบาล. การพัฒนาอนามัยทองถิ่นสี่ทศวรรษ ของการพัฒนาสวมไทย.<br />

กรกฎาคม 2530.<br />

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.สุขานาใช สุขใจไทยเทศ. กรุงเทพมหานคร, 2547.<br />

กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน. สุขาในปมน้ํามัน เลม1 มาตรฐานแนะนําเพื่อการจัดการหองสุขา<br />

และน้ําเสียในสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง. กรุงเทพมหานคร 2548.<br />

มนฤทัย ไชยวิเศษ. ประวัติศาสตรสังคม-วาดวย สวมและเครื่องสุขภัณฑในประเทศไทย. ศิลปวัฒนธรรม<br />

ฉบับพิเศษ. พิมพครั้งแรก กรุงเทพฯ : พิฆเณศ พริ้นทติ้ง เซ็นเตอร จํากัด, 2545.<br />

บุญตวน แกวปนตา. สวม สุขภาพ และสิ่งแวดลอมในศตวรรษที่ 2<strong>1.</strong> วารสารอนามัยสิ่งแวดลอม 2545; 7(1)<br />

: 44-59.<br />

สมใจ นิ่มเล็ก. วัฒนธรรมการขับถายของชาวสวน. ศิลปวัฒนธรรม 2548.<br />

สุนทร บุญญาธิการ และ คณะ, พลังงานใกลตัว. พิมพครั้งที่ <strong>1.</strong>บริษัท เฟสท ออฟ เซท. กรุงเทพมหานคร,<br />

2545.


672<br />

สุนทร บุญญาธิการ, บานชีวาทิตย บานพลังงานแสงอาทิตย เพื่อคุณภาพชีวิตผลิต พลังงาน,พิมพครั้งที่ <strong>1.</strong><br />

กรุงเทพมหานคร.สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2547.<br />

สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคการออกแบบบานประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกวา ,พิมพครั้งที่ 2.<br />

กรุงเทพมหานคร. สํานักพิมพ บริษัท จีเอ็ม แม็ก มีเดีย จํากัด, 2545.<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

Doncaster Metropolitan Borough Council. A Public Toilet Strategy For Doncaster.United<br />

Kingdom.2003.<br />

Jack sim. The Happy Toilet Program-A Star Grading System For Singapore Public Toilet. Singapore.<br />

2004.<br />

The Restroom Association and The National Environment Agency.A Guide To Better Public Toilet<br />

Design and Maintenance.Singapore. 2003.


673<br />

การเปรียบเทียบรูปแบบสถานีรถไฟลอยฟา<br />

The comparison of Sky train station forms<br />

นันทนภัส เพชรคงทอง<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.ทรงเกียรติ เที้ยธิทรัพย<br />

<strong>1.</strong> บทนํา/ความสําคัญและที่มาของโครงการวิจัย<br />

ปจจุบันการขยายตัวของกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ผูคนที่หลั่งไหลเขามาในตัวเมือง เมื่อ<br />

ประชากรเพิ่มขึ้น ความจําเปนในการเดินทางในชีวิตประจําวันจึงเพิ่มขึ้นตามมาและนั่นเปนสาเหตุใหเกิด<br />

การจราจรบนทองถนนหนาแนนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นรัฐบาลจึงหาแนวทางในการแกปญหานี้ โดยการเพิ่ม<br />

ทางเลือกในการเดินทางใหกับคนเมือง นั่นคือการสงเสริมใหเกิดโครงการรถไฟลอยฟาขึ้น ซึ่งนอกจากจะเปนการ<br />

สงเสริมการใชบริการขนสงมวลชนแลวยังสามารถลดปริมาณการเดินทางโดยรถยนตสวนบุคคลไดอยางมาก ทั้ง<br />

ยังสะดวก รวดเร็ว และมีความตรงตอเวลา ทําใหคนเมืองสามารถลดระยะเวลาในการเดินทางไดอยางชัดเจน<br />

และไมเพียงแกปญหาการจราจรในเขตเมืองยังมีการสรางรถไฟฟาเพื่อสนับสนุนการทองเที่ยวและความ<br />

สะดวกสบายแกนักทองเที่ยวอีกดวย แตจะมีใครทราบหรือไมวารูปแบบรถไฟฟาที่เราใชบริการอยูเปนประจํานั้น<br />

มีกี่รูปแบบแตละรูปแบบเหมือนหรือแตกตางกันอยางไรบาง เพื่อใหเห็นความสําคัญของโครงการและการ<br />

พัฒนาการออกแบบใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อประชาชนผูใชบริการรถไฟฟาฟาจะไดรับประโยชนสูงสุด<br />

จึงไดศึกษาโครงการรถไฟลอยฟาที่มีการใชงานอยูในปจจุบันทั้งหมด<br />

เมื่อรัฐบาลไดเล็งเห็นถึงประโยชนของรถไฟฟาจึงทําใหเกิดโครงการที่จะกอสรางอีกหลายโครงการทั้ง<br />

ในสวนของกรุงเทพมหานครหรือชุมชนเมืองในตางจังหวัดเปนการพัฒนาการออกแบบที่มีประสิทธิภาพและยัง<br />

เปนการสงใหประชาชนหันมาใชบริการขนสงมวลชนประเภทรางมากยิ่งขึ้น<br />

นอกจากนี้ยังมีการศึกษาตอไปถึงปจจัยที่สงผลตอการออกแบบรถไฟลอยฟา และวิเคราะหขอ<br />

ไดเปรียบและขอจํากัดของแตละรูปแบบในวิทยานิพนธอีกดวย<br />

2. วัตถุประสงคและวิธีการวิจัย<br />

การศึกษามุงเนนไปที่ 2 ประเด็นไดแก<br />

1) การจําแนกรูปแบบอาคารสถานีรถไฟฟา แสดงใหเห็นรายละเอียดแตละองคประกอบของอาคารสถานี<br />

รถไฟฟาโครงสรางเหล็กรูปพรรณแบบตางๆ<br />

2) วิเคราะหหาปจจัยที่สงผลจากขอเหมือน และขอแตกตางของ 2 โครงการ<br />

การศึกษาในครั้งนี้จะเปนการเปนการศึกษาจากอาคารตัวอยาง การสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของของ<br />

โครงการ รวบรวมขอมูลจากเอกสารทางวิชาการหรือรายงานผลการวิจัยและการทดสอบทางวิศวกรรมที่เกี่ยวกับ<br />

โครงสรางเหล็ก และการสํารวจเก็บขอมูล ในสวนของลักษณะทางกายภาพทั้งหมด โดยใชแบบสํารวจจํานวน 32<br />

ชุด เพื่อเก็บที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพทั้งหมดของแตละสถานี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษารูปแบบอาคาร<br />

สถานีรถไฟฟา และวิเคราะหขอจํากัด ขอไดเปรียบ ของรูปแบบอาคารสถานีรถไฟฟาโครงสรางเหล็กรูปพรรณ<br />

แบบตางๆ เพื่อนํามาใชในการวิเคราะหหาแนวทางที่มีขอมูลที่เปนการกําหนดเชิงปริมาณเขามาสนับสนุน และ<br />

ทําการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการรวบรวมขอมูลปฐมภูมิและการศึกษาขอมูลทุติยภูมิ


674<br />

3. ขอมูลทั่วไป<br />

โครงการรถไฟฟาบีทีเอส<br />

โครงการรถไฟฟาบีทีเอสสายสุขุมวิทและสายสีลมเริ่มขึ้นเมื่อป พ.ศ.2538 มีผูดําเนินการดานโครงสราง<br />

คือ กลุมบริษัท ซีเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) กอนเริ่มงาน<br />

กอสรางมีการยายสาธารณูปโภคตางๆ เชน สายไฟฟา ทอประปา สายโทรศัพท และตนไมที่อยูตามเสนทาง<br />

สถานที่กอสราง เกาะกลางถนน ทางวิ่งจะเปนแบบยกระดับ สูงประมาณ 17-19 เมตร จากผิวถนน ระยะหางกัน<br />

สูงสุดถึง 40 เมตร แตละสถานีมีความยาว 150 เมตร สถานีแตละแหงอยูหางกันประมาณ 800 -1000 เมตร<br />

โครงสรางเสาใชระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดกวาง 2 เมตรตั้งอยูบนเกาะกลางถนน เสาแตละตนหางกัน<br />

ประมาณ 30 – 35 เมตร บนถนนพระราม 1 คานคอนกรีตสําเร็จรูปรูปตัวไอยาว 30 เมตร ทางวิ่งรถไฟฟา<br />

ประกอบดวยคานคอนกรีตหลออัดแรงสําเร็จรูป ผลิตที่บริษัทผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปของบริษัท อิตาเลี่ยนไทย<br />

ตั้งอยูที่ อ.วิหารแดง จ.สระบุรี หางจาก กทม.ประมาณ 120 ก.ม. การผลิตใชวิธีหลอแบบ Match case นํามา<br />

ประกอบหรือยึดติดกันดวยลวดอัดแรงทุกๆชวงเสา และวิธีกอสรางแบบ balance cantilever กับชวงเสาจะมี<br />

ความยาวมากกวา 40 เมตร การติดตั้งกลางคืนเทานั้น การออกแบบทางดานสถาปตยกรรมมีลักษณะเปดโลง<br />

และเลือกใชสีออนเพื่อลดความรูสึกกระดางและหนาหนัก อาคารสถานีมีรูปแบบสถาปตยกรรมสมัยใหมและ<br />

ผสมผสานศิลปะแบบไทยไวดวย เชนในสวนยื่นของหลังคามีลักษณะคลายชานคาโบสถ และเสาหลังคาชาน<br />

ชาลามีลักษณะลาดเอียงเขาหากันเหมือนเสาบานไทยโบราณ สวนรูปแบบหลังคาสถานีที่มีการลดระดับเหลื่อม<br />

กันนั้นเพื่อใหสามารถระบายอากาศไดดีและรับแสงสวางไดมาก<br />

โครงการรถไฟฟาทาอากาศยานสุวรรณภูมิและสถานีรับสงผูโดยสารอากาศยานในเมือง<br />

โครงการเริ่มขึ้นเมื่อป พ.ศ.2546 ผูดําเนินการดานโครงสรางคือบริษัท บี กริม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด<br />

B.Grimm MBM Hong Kong Ltd. บริษัท Siemens Aktiengesellschaft จํากัด บริษัท ซีเมนต จํากัด และบริษัท<br />

ซิโน-ไทย เอ็นจิเนียริ่ง แอนด คอนสตรัคชั่น จํากัด (มหาชน) กอนเริ่มงานกอสรางมีการเวนคืนที่ดินและมีการยาย<br />

สาธารณูปโภคตางๆ เชน สายไฟฟา ทอประปา สายโทรศัพท และตนไมที่อยูตามเสนทางสถานที่กอสราง เกาะ<br />

กลางถนน โครงสรางเสา ขนาดกวาง 2 เมตรตั้งอยูบนเกาะกลางถนน เสาแตละตนหางกันประมาณ 30 – 35<br />

เมตร ขนานไปตามแนวเสนทางรถไฟทางไกลสายตะวันออก คาน ใชระบบคอนกรีตเสริมเหล็กกอสรางโดยวิธี<br />

Balance cantilever construction ทางวิ่งรถไฟฟา ใช Precast segment box girder ผลิตที่โรงงานผลิตของ<br />

บริษัท ชิโนไทย จํากัด ซึ่งเดิมมีอยูที่จังหวัดระยอง แตเนื่องจากระยะทางการขนสงจึงตองเชาโรงงานที่ตั้งอยูที่บาง<br />

ปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราแทน การออกแบบทางดานสถาปตยกรรม พยายามออกแบบใหใกลเคียงกับรูปแบบ<br />

ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ รวมถึงการเลือกใชคอนกรีตเปลือยเพื่อใหสีและลักษณะโดยรวมไปในทิศทาง<br />

เดียวกัน และตองการใชรางรถไฟสามารถขามบีทีเอสได เพื่อลดมลภาวะ และเพื่อพนอาคารพาณิชทั่วไป สี่ชั้นจึง<br />

จําเปนตองยกระดับชานชาลาใหสูงกวาโครงการบีทีเอส ออกแบบใหสถานีมักกะสันและหัวหมากเปนจุดสลับราง<br />

และเนื่องจากสถานีมักสันเปนสถานีแหงเดียวที่ผูโดยสารสามารถนําสัมภาระมาเช็คอินเขาสูบริการขนถาย<br />

สัมภาระไปยังสนามบินสุวรรณภูมิ จึงตองทําหลังคาคลุมและมีพื้นที่สวนหนึ่งเปนพื้นที่ปรับอากาศ


675<br />

4. การสํารวจและจําแนกรูปแบบ<br />

ตารางที่ 1 แสดงรูปแบบของสถานีรถไฟฟาบีทีเอส<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 1 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure โครงขอแข็ง<br />

Portal Frame ขนาดมาตรฐาน กวางประมาณ<br />

20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร เสาเอียงเขา<br />

หากัน หลังคาแบงเปน 4 สวนคลุมสองขางโปรง<br />

ตรงกลาง<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ทั้งสองฝงของชานชาลาเอียงลาด<br />

เขาหากันยึดติดกับคานดวยการ<br />

เชื่อม (fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและ<br />

ถายแรงลงสูเสาทั้งสองขางของ<br />

ชานชาลา<br />

ทําดวย metal sheet ถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอรถไฟฟา<br />

แตไมคลุมรางวิ่ง<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 2 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure Column and<br />

Truss beam มี 3 ชั้น กวางประมาณ 20 เมตร<br />

ยาวประมาณ 200 เมตร เสาตรง หลังคา<br />

แบงเปน 3 สวนแบงเปน 3 ระดับ คลุมตรง<br />

กลาง<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ตั้งตรงยึดติดกับคานดวยการ<br />

เชื่อม (fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3 สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและถาย<br />

แรงลงสูเสาทั้งสองขาง<br />

ทําดวย metal sheetถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอรถไฟฟา<br />

แตไมคลุมรางวิ่ง


676<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 3 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure Overhanging beam<br />

มีชานชาลาดานเดียว<br />

ขนาดมาตรฐาน กวางประมาณ 11 เมตร ยาว<br />

ประมาณ 150 เมตร เสาตรง มีหลังคาดานเดียว<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ตั้งตรงยึดติดกับคานดวยการ เชื่อม<br />

(fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3 สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและถาย<br />

แรงลงสูเสาทั้งสองขางของชาน<br />

ชาลา<br />

ทําดวย metal sheetถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอรถไฟฟา<br />

แตไมคลุมรางวิ่ง<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 4 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure Column and<br />

Truss beam ขนาดมาตรฐาน กวางประมาณ<br />

20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร เสาตรง<br />

หลังคาแบงเปน 2 สวนคลุมทั้งหมด<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ทั้งสองฝงของชานชาลาเอียงลาด<br />

เขาหากันยึดติดกับคานดวยการ<br />

เชื่อม (fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3 สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและถาย<br />

แรงลงสูเสาทั้งสองขางของชาน<br />

ชาลา<br />

ทําดวย metal sheetถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอ<br />

รถไฟฟาแตไมคลุมรางวิ่ง


677<br />

ตารางที่ 2 แสดงรูปแบบของสถานีรถไฟเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 1 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure โครงขอแข็ง<br />

กวางประมาณ 20 เมตร ยาว 210 เมตร<br />

คลายอุโมงคผนังปดทึบหนึ่งดานและอีกดาน<br />

เปน cladding มีการเปดชองแสงดานบนทุก<br />

ชวงเสา<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ทั้งสองฝงของชานชาลาเอียงลาด<br />

เขาหากันยึดติดกับคานดวยการ<br />

เชื่อม (fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและ<br />

ถายแรงลงสูเสาทั้งสองขางของ<br />

ชานชาลา<br />

ทําดวย metal sheet ถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอรถไฟฟา<br />

แตไมคลุมรางวิ่ง<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 2 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure โครงขอแข็ง<br />

Portal Frame กวางประมาณ 20 เมตร ยาว<br />

210 เมตร คลายอุโมงคผนังปดทึบหนึ่งดาน<br />

และอีกดานเปนเปดโลง<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ตั้งตรงยึดติดกับคานดวยการ<br />

เชื่อม (fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3 สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและถาย<br />

แรงลงสูเสาทั้งสองขาง<br />

ทําดวย metal sheetถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอรถไฟฟา<br />

แตไมคลุมรางวิ่ง


678<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 3 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure โครงขอแข็ง<br />

Portal Frame กวางประมาณ 30 เมตร ยาว<br />

272 เมตร คลายอุโมงคผนังเปดชองแสงรูป<br />

สามเหลี่ยมและอีกดานเปน cladding หลังคา<br />

ตรงกลางมี 2 ระดับเพื่อเปดชองแสงดานบน<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ทั้งสองฝงของชานชาลาเอียงลาด<br />

เขาหากันยึดติดกับคานดวยการ<br />

เชื่อม (fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและ<br />

ถายแรงลงสูเสาทั้งสองขางของ<br />

ชานชาลา<br />

ทําดวย metal sheet ถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอรถไฟฟา<br />

แตไมคลุมรางวิ่ง<br />

รูปแบบผังสถานี รูปแบบที่ 4 ลักษณะทางกายภาพ<br />

Skeleton structure โครงขอแข็ง<br />

Portal Frame กวางประมาณ 21 เมตร ยาว<br />

ประมาณ 210 เมตร ลักษณะโปรงโลงทั้ง<br />

สองดาน<br />

โครงสรางเสา โครงสรางคาน โครงสรางหลังคา<br />

เสาเหล็กกลมขนาด ศก. 30 ซม.เสา<br />

ตั้งตรงยึดติดกับคานดวยการ<br />

เชื่อม (fixed joint)<br />

คานเหล็กรูปตัวไอแบงเปน 3 สวน<br />

ไดรับการออกแบบใหโคงและถาย<br />

แรงลงสูเสาทั้งสองขางของชาน<br />

ชาลา<br />

ทําดวย metal sheetถูกออกแบบ<br />

ใหโคงครอบคลุมพื้นที่รอรถไฟฟา<br />

แตไมคลุมรางวิ่ง


679<br />

5. การวิเคราะหเปรียบเทียบ<br />

ตารางที่ 3 แสดงขอเหมือนของ 2 โครงการ<br />

ลักษณะที่<br />

เหมือนกัน<br />

โครงการรถไฟฟา<br />

บีทีเอส<br />

โครงการสถานีรถไฟทา<br />

อากาศยานสุวรรณภูมิ<br />

สาเหตุ<br />

ประเภทการ รถไฟลอยฟา ไมกระทบตอพื้นผิวการจราจร<br />

ใหบริการ<br />

การกอสรางราง Prefab boxed girder สะดวกและรวดเร็วในการ<br />

กอสราง<br />

การเลือกใชวัสดุ ชั้นชานชาลาเปนเหล็กและชั้นจําหนายตั๋วเปนคอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

เหมาะสมกับการใชงาน<br />

ทิศทางการวิ่งของ<br />

รถไฟ<br />

วิ่งไปกลับสองทิศทาง ใหบริการไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

ผูรับเหมากอสราง บริษัท อิตาเลี่ยนไทย ประมูลโครงการบีทีเอสได<br />

ขนาดของสถานี กวางประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 200 เมตร ครอบคลุมขนาดของรถไฟและ<br />

โดยประมาณ<br />

รางรถไฟ รองรับปริมาณคน<br />

จากการศึกษาเปรียบเทียบขอเหมือนของ 2 โครงการที่มีลักษณะการใหบริการที่เปนรถไฟลอยฟา<br />

เหมือนกัน พบวามีลักษณะเหมือนกันบางประการ ไดแก การกอสรางรางรถไฟฟาที่ใช Prefab boxed girder<br />

เปนองคประกอบสําคัญเนื่องจากมีความสะดวกและรวดเร็วในการกอสราง วัสดุชั้นจําหนายตั๋วเปนคอนกรีต<br />

เสริมเหล็กเนื่องจากเปนวัสดุที่สามารถรับแรงอัดไดดีอีกทั้งชางในประเทศไทยยังมีความชํานาญในการกอสราง<br />

ระบบนี้ และชั้นชานชาลาเปนเหล็กรูปพรรณ เนื่องจากเปนชั้นบนสุดจึงไมตองรับภาระน้ําหนักโครงสรางแต<br />

ตองการโครงสรางที่มีน้ําหนักเบาเพื่อลดภาระใหกับโครงสรางชั้นลาง สามารถรับแรงสั่นสะเทือนจากการวิ่งของ<br />

รถไฟฟาไดดี สามารถประกอบ และติดตั้งไดสะดวกไมวาจะเปนในชานเมืองหรือพื้นที่ที่มีความหนาแนนมากก็<br />

ตาม นอกจากนี้ทิศทางการวิ่งของรถไฟ ขนาดของสถานีโดยประมาณ ยังมีลักษณะเดียวกันดวย เนื่องจากเปน<br />

ระบบและขนาดที่เปนมาตรฐานที่นิยมใชกันในประเทศที่มีประชากรหนาแนนและนิยมใชรถไฟฟาในการเดินทาง<br />

กลาวคือการวิ่งไปกลับสองทิศทางสามารถลดจํานวนรางและขนาดสถานีซึ่งจะตองสัมพันธกันกับขนาดของราง<br />

และขบวนรถไฟฟานั่งเอง และเปนที่นาสังเกตวาผูรับเหมากอสรางยังเปนรายเดียวกันดวย ทั้งนี้เนื่องจาก<br />

ประสบการณและความนาเชื่อถือของบริษัทที่เคยรับผิดชอบโครงการรถไฟฟามากอน ดังนั้นจะเห็นวาลักษณะ<br />

รูปทรง การเลือกใชวัสดุ การกําหนดพื้นที่การใชงานและองคความรูหรือเทคโนโลยีการกอสรางที่เกิดขึ้นและมี<br />

ประสิทธิภาพจะสงผลใหมีการนําไปประยุกตใชในการกอสรางอาคารที่มีลักษณะใกลเคียงกันซึ่งเปนปจจัยที่<br />

สงผลตอรูปแบบสถานีรถไฟลอยฟา


680<br />

ตารางที่ 4 แสดงขอแตกตางของ 2 โครงการ<br />

ลักษณะที่<br />

แตกตางกัน<br />

โครงการรถไฟฟา<br />

ขนสงมวลชน<br />

กรุงเทพ<br />

โครงการระบบขนสง<br />

ทางรถไฟเชื่อมทา<br />

อากาศยานสุวรรณภูมิ<br />

สาเหตุ<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

โครงการ<br />

จุดประสงคในการ<br />

กอสราง<br />

บจก. ขนสงมวลชน<br />

กรุงเทพ<br />

แกปญหาการจรจร<br />

หนาแนนในชุมชนเมือง<br />

การรถไฟแหงประเทศไทย<br />

อํานวยความสะดวกใหกับ<br />

นักทองเที่ยว<br />

เดิมรัฐไมเห็นความสําคัญ<br />

พื้นที่และปญหาตางกัน<br />

ระบบการกอสราง ใชโครงสรางสําเร็จรูป ใชระบบหลอในที่ พื้นที่การกอสรางตางกัน<br />

จํานวนชั้น (ระดับ โดยทั่วไปมี 2 ชั้น แตมี 1 มี 2-3 ชั้น บีทีเอสสรางกอน<br />

อาคาร) สถานีที่มี 3 ชั้น<br />

เวลาการกอสราง ป พ.ศ.2538 ป พ.ศ.2546 รัฐบาลเริ่มเห็นความสําคัญ<br />

ระบบราง (รูปแบบ<br />

รางรถไฟฟา)<br />

จํานวนและการ<br />

บริหารจัดการ<br />

รถไฟฟา<br />

ระยะหางของแต<br />

ละสถานี<br />

ลักษณะทาง<br />

กายภาพโดยรวม<br />

แบงเปนรางคูและรางเดี่ยว แบงเปนรางคูและรางคูตรง<br />

กลางพรอมกับมีรางเดี่ยว<br />

สองขาง<br />

มีจํานวนรถไฟฟาทั้งหมด<br />

35 คัน มีการใหบริการ<br />

แบบเดียว<br />

หางกันประมาณ 800 -<br />

1000 เมตร<br />

มีจํานวนรถไฟฟาทั้งหมด<br />

9 คัน แบงเปน 2 ประเภท<br />

การใหบริการและมีจุด<br />

สลับรางสองสถานี<br />

หางกันประมาณ 800 -<br />

8000 เมตร<br />

แอพอทลิงคมีการใหบริการ 2<br />

แบบ<br />

จุดประสงคตางกัน<br />

พื้นที่ตางกัน<br />

โปรงโลง ปดทึบคลายอุโมงค ระยะเวลาและผูรับผิดชอบ<br />

ตางกัน<br />

การใชงานพื้นที่ มีการสรางทางเดินเชื่อม มีชั้นที่ไมไดใชงาน พื้นที่และสภาพแวดลอม<br />

ตางกัน<br />

จากการเปรียบเทียบขอแตกตางของ 2 โครงการพบวาดวยจุดประสงคโครงการที่ตางกันทําใหมีการ<br />

มอบหมายความรับผิดชอบใหหนวยงานที่ตางกันดวย กลาวคือโครงการรถไฟฟาบีทีเอสนั้นเกิดขึ้นเพราะปญหา<br />

การจราจรในกรุงเทพมหานครที่หนาแนนมากจนมีการสรางทางเลือกในการเดินทางใหกับประชาชน นั่นคือการ<br />

ใชรถไฟฟาแตเนื่องจากในขณะนั ้นยังไมมีการใหบริการและการกอสรางในรูปแบบนี้มากอนรัฐบาลในขณะนั้นจึง<br />

ไมมั่นใจวาโครงการนี้จะสามารถทํากําไรไดหรือไม จึงมีการใหสัมปทานแกบริษัทเอกชนเขามาดําเนินการ แตเมื่อ<br />

โครงการแรกผานไปดวยดีจึงมีนโยบายที่จะกอสรางโครงการในลักษณะเดียวกันเพิ่มขึ้นในจุดประสงคที่ตาง


681<br />

ออกไป ดังจะเห็นไดจากโครงการสถานีรถไฟฟาทาอากาศยานสุวรรณภูมิที่มีการเชื่อมตอเพื่อบริการนักทองเที่ยว<br />

เปนหลักและเพื่อใหบริการประชาชนที่อยูบริเวณชานเมือง ที่จะชวยลดปญหาการจราจรในเขตพื้นที่เมืองอีกดวย<br />

และเนื่องจากเปนโครงการที่ตอเนื่องมาจากโครงการทาอากาศยานสุวรรณภูมิดังนั้นรูปแบบของสถานีจึง<br />

สอดคลองกันในเรื่องของลักษณะทางกายภาพ ไดแก การเลือกใชวัสดุ รูปทรง สี และการกอสราง ซึ่งจะแตกตาง<br />

กันอยางชัดเจนกับลักษณะทางกายภาพของโครงการรถไฟฟาบีทีเอสที่ ออกแบบตามที่ตั้ง สภาพแวดลอมและ<br />

งบประมาณ ดังนั้นรูปแบบจึงมุงเนนเพื่อการใชงานเปนสวนใหญ และดวยจุดประสงคที่ตางกันทําใหการ<br />

ใหบริการตางกันดวยคือ การใหบริการของรถไฟฟาบีทีเอสจะมีเพียงลักษณะเดียวและอยูในพื้นที่ชุมชนเมืองที่มี<br />

การจราจรหนาแนนแตรถไฟฟาทาอากาศยานสุวรรณภูมิจะมี 2 ลักษณะคือรถไฟฟาดวนทาอากาศยานสุวรรณ<br />

ภูมิจะจอดโดยจอดรับ-สงผูโดยสารเฉพาะสถานีมักกะสัน (สถานีตนทาง) และสถานีสุวรรณภูมิ (สถานี<br />

ปลายทาง) เทานั้น และรถไฟฟาทาอากาศยานสุวรรณภูมิที่จะจอดทุกสถานี จึงทําใหสถานีมักกะสัน และสถานี<br />

หัวหมากมีการเปลี่ยนเสนทางของทั้ง 2 สายจึงขนาดใหญกวาสถานีอื่นๆ<br />

เนื่องจากโครงการรถไฟเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิอยูในเสนทางที่มุงตรงไปยังทาอากาศยานจึงมี<br />

สถานีสวนใหญตั้งอยูบนพื้นที่ชานเมือง ดังนั้นระยะหางระหวางแตละสถานีจึงหางกันมากวาโครงการรถไฟฟาบี<br />

ทีเอส ดังนั้นสถานีรถไฟฟาบีทีเอสจึงตองคํานึงถึงลักษณะของอาคารที่จะสงผลกระทบตออาคารขางเคียง<br />

มากกวาโครงการรถไฟเชื่อมอากาศยานสุวรรณภูมิที่มีอาคารบริเวณขางเคียงกระจายตัวไมหนาแนนมากนัก<br />

ดังนั้นจึงเห็นวาสถานีรถไฟฟาบีทีเอสจะมีลักษณะโปรงโลงมากวา เพื่อความสะดวกในการรอรถไฟฟาที่กําลังเขา<br />

มาเทียบชานชาลาและเพื่อการระบายอากาศที่ดี ไมกักเก็บมลภาวะที่เกิดขึ้นบนทองถนน<br />

รูปที่ 1 แสดงการออกแบบโครงการรถไฟฟา<br />

การออกแบบสถานีรถไฟลอยฟานั้น ประกอบดวยการออกแบบระบบราง โครงสรางหลักและลักษณะ<br />

ของชานชาลา ซึ่งจะแตกตางกันไปในแตละโครงการและจะสงผลกระทบตอกัน กลาวคือการจะออกแบบหรือ<br />

เลือกใชโครงสรางของสถานีแบบใดนั้นจําเปนจะตองทราบกอนวาโครงการรถไฟฟาสายนี้ใชระบบรางแบบใด<br />

และจะมีการจัดพื้นที่ใหผูโดยสารขึ้นและลงรถไดอยางไร ในขณะเดียวกันการออกแบบชานชาลาก็ตองคํานึงถึง<br />

ผลกระทบที่จะเกิดกับโครงสรางหลักและการใชพื้นที่บนชั้นชานชาลากับลักษณะรางรถไฟฟาอยางเหมาะสม<br />

เชนเดียวกัน


จากการวิเคราะหเปรียบเทียบลักษณะที่เหมือนและแตกตางกันของ 2 โครงการไดแก โครงการรถไฟฟา<br />

บีทีเอสและโครงการระบบขนสงทางรถไฟเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิและสถานีรับสงผูโดยสารอากาศยานใน<br />

เมืองนั้นสามารถ นั้นทําใหคนพบปจจัยที่สงผลตอการออกแบบโครงการรถไฟลอยฟา ไดแก<br />

<strong>1.</strong> จุดประสงค จุดประสงคในการจัดทําโครงการใดๆนั้น นับวาเปนสิ่งสําคัญที่สุดที่สามารถกําหนด<br />

ทิศทางของการออกแบบโครงการรถไฟลอยฟา กลาวคือจุดประสงคของโครงการเปนสิ่งที่สามารถกําหนด<br />

ผูรับผิดชอบโครงการ การเลือกที่ตั้งโครงการ การบริหารจัดการ รูปแบบอาคาร งบประมาณ และสงผลไปสูปจจัย<br />

อื่นๆในการออกแบบ<br />

2. ผูรับผิดชอบโครงการ จากการศึกษา 2 โครงการพบวาหนวยงานที่รับผิดชอบตางกัน ซึ่ง<br />

ผูรับผิดชอบโครงการจําทําการวิเคราะหเลือกที่ตั้ง ควบคุมงบประมาณ การบริหารจัดการระยะเวลาดําเนินการ<br />

รวมถึงรูปแบบอาคาร ในที่สุดพื้นที่ตั้งและงบประมาณจะเปนสิ่งที่กําหนดการใหบริการ ระบบการกอสราง<br />

ระยะหางของสถานี การใชงานพื้นที่ วัสดุ ขนาดของสถานี และลักษณะทางกายภาพทั้งหมด<br />

3. การเลือกที่ตั้งโครงการ เปนปจจัยที่สงผลตอการออกแบบอยางชัดเจน การออกแบบที่ดีจะตอง<br />

คํานึงถึงสภาพแวดลอมบริเวณขางเคียง โครงการรถไฟฟาบีทีเอสมีการคํานึงถึงที่ตั้งของแตละสถานีของโครงการ<br />

ที่ตั้งอยูบนพื้นที่ที่มีการใชงานพื้นที่หนาแนนมาก เนื่องจากเปนชุมชนเมือง นอกจากนี้ยังคํานึงถึงสภาวะอากาศ<br />

ในประเทศไทยที่มีอุณหภูมิสูงและมีฝนตกชุก ดังนั้นรูปแบบจึงตองการความโปรงโลง ระบายอากาศและน้ําฝน<br />

ออกไปไดดี เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับอาคารขางเคียง<br />

4. งบประมาณ เปนปจจัยที่สงผลตอทุกๆโครงการ ไมเฉพาะการออกแบบรถไฟลอยฟา โครงการรถไฟ<br />

ลอยฟานั้นจะมีการประเมินงบประมาณไวแลวในขั้นตน ดังนั้นการออกแบบจึงจําเปนตองควบคุมงบประมาณ<br />

เพราะไมวาจะเปนการเลือกที่ตั้ง การเลือกใชวัสดุ การกําหนดขนาดรูปรางอาคาร การเลือกใชระบบการกอสราง<br />

และระยะเวลาการดําเนินงาน จําเปนตองใชงบประมาณทั้งสิ้น<br />

5. การกําหนดการใชงานพื้นที่ การจะออกแบบใหมีประสิทธิภาพนั้นจะตองออกแบบใหสามารถใช<br />

พื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด ตลอดจนรูปรางของพื้นที่ใชสอย โดยเฉพาะการออกแบบอาคารสาธารณะนั้น เปน<br />

การออกแบบเพื่อคนจํานวนมากจึงจําเปนอยายิ่งที่จะตองศึกษาพฤติกรรมการใชงาน และบริหารจัดการแบง<br />

พื้นที่ใชงานตามความเหมาะสม<br />

6. การเลือกวัสดุ การออกแบบลักษณะอาคารรูปแบบใดๆนั้น การเลือกใชวัสดุจะเปนสิ่งที่กําหนด<br />

ลักษณะภายนอกได เนื่องจากวัสดุแตละชนิดมีคุณสมบัติ วิธีการผลิต การขนสงและการติดตั้งที่แตกตางกัน วัสดุ<br />

บางชนิดตองอาศัยชางเทคนิคที่มีความรู ความชํานาญเฉพาะ<br />

682


683<br />

รูปที่ 2 แสดงปจจัยที่สงผลตอรูปแบบสถานีรถไฟลอยฟา<br />

จะเห็นวาปจจัยทุกอยางสงผลกระทบซึ่งกันและกัน ดังนั้นในการออกแบบใหมีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น<br />

จึงจําเปนตองคํานึงถึงปจจัยเหลานี้ นอกจากนี้การออกแบบอาคารที่มีการเชื่อมตอกันกับโครงการที่มีอยูเดิมนั้น<br />

จะตองมีการออกแบบใหมีความสอดคลองกับแนวความคิดเดิมและเปนไปในทิศทางเดียวกัน และเนื่องจาก<br />

โครงการรถไฟลอยฟานั้นเปนระบบขนสงสาธารณะซึ่งเพื่อใหความสะดวกแกผูใชบริการจะตองมีการวาง<br />

โครงขายสําหรับการเดินทางไปยังพื้นที่อื่นๆใหตอเนื่องกัน ดังนั้นการออกแบบจึงตองคํานึงถึงโครงการที ่จะ<br />

เกิดขึ้นในอนาคตอีกดวย<br />

อางอิง<br />

นระ คมนามูล 2547. เทคโนโลยีขนสงสาธารณะในเมือง ระบบขนสงสาธารณะใน กทม. พิมพครั้งที่<strong>1.</strong><br />

กรุงเทพมหานคร : เซเวน พริ้นติ้ง.<br />

สามารถ ราชพลสิทธิ์. 2550. เปดปมรถไฟฟาที่คนกรุงเทพฯตองรู. พิมพครั้งที่<strong>1.</strong> กรุงเทพมหานคร :<br />

อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง.<br />

Ching, Francis D.K. 2008. Building Construction Illustrated. 4 th ed. New Jersey : John Wiley and<br />

Sons, INC.<br />

เฉลิม สุจริต. 2540. วัสดุและการกอสรางสถาปตยกรรม. พิมพครั้งที่4. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย.


684<br />

ปจจัยในการตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา กรณีศึกษา :<br />

โครงการ ไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และ ไอดีโอ คิว พญาไท<br />

Decision and Motivations in Buying Condominiums close to Mass Rapid Transit Station:<br />

Case Studies of Ideo Mix Phaholyothin and Ideo Q Phatathai<br />

กรกฎ กุฎีศรี<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ไตรรัตน จารุทัศน<br />

บทนํา<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

ที่อยูอาศัยคือ 1ในปจจัย 4 ที่มีความจําเปนในการดํารงชีวิต แมวาสภาวะเศรษฐกิจ สังคม และ<br />

การเมืองของประเทศไทยจะเปนอยางไร แตความตองการที่อยูอาศัยของไทยนั้นมีอยูตลอดเวลา ดังจะเห็นได<br />

จากตัวอยางในป 2551 ประเทศไทยจะเกิดสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวอันเปนผลกระทบจากวิกฤติ Subprime ที่<br />

เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา และขยายขอบเขตลุกลามไปยังสวนตางๆของโลก ผลกระทบนี้ทําใหรายได<br />

มวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Profit, GDP) ของไทยในป 2551เติบโตลดลงมาอยูที่ 2.6% เทียบกับป<br />

2550ที่มีอัตราการเติบโตที่ 4.9%<br />

จากขอมูลบานจดทะเบียนในป 2551นั้น ทําใหเห็นวาบานแบบอาคารชุด หรือหองชุดพักอาศัยนั้นมี<br />

จํานวนหนวยที่มากที่สุดถึง 31,535 หนวย หรือประมาณ 53.41% ของตัวเลขบานจัดสรรจดทะเบียน และมี<br />

อัตราการเพิ่มขึ้นอยางมีนัยเมื่อเทียบกับป 2550 สูงถึง 85.37%<br />

หากมองยอนกลับไปตั้งแตกอนป 2552 ขึ้นไปการเติบโตของที่อยูอาศัยประเภทหองชุดพักอาศัยนั้น<br />

คอนขางโดดเดนกวาที่อยูอาศัยแบบอื่นๆ และหากพิจารณาถึงเหตุของการเติบโตของที่พักประเภทอาคารชุดนั้น<br />

เราอาจจะพิจารณาไดจาก สภาพสังคม สภาพเศรษฐกิจ และลักษณะโครงสรางประชากร<br />

จากสภาพการจราจรในกรุงเทพมหานครทําใหผูอาศัยที่อยูในบริเวณชานเมืองตองใชเวลานานและมี<br />

คาใชจายสูงในการเดินทางเขาสูแหลงงาน จึงทําใหเกิดการพัฒนาที่อยูอาศัยในเขตเมืองเพื่อประหยัด และยน<br />

เวลาในการเดินทาง และการปรับตัวสูงขึ้นอยางรวดเร็วของที่ดินในเมือง ทําใหการพัฒนาโครงการเพื่อที่อยู<br />

อาศัยในแนวราบสําหรับประชาชนทั่วไปนั้นคอนขางเปนไปไดยาก ดังนั้นการพัฒนาที่อยูอาศัยแนวสูงจึงเปน<br />

ทางเลือกที่เกิดขึ้น<br />

นอกจากสภาพการจราจร การปรับเพิ่มขึ้นของน้ํามัน และเงินเฟอ การพิจารณาลักษณะโครงสราง<br />

ประชากรและครอบครัวของสังคมไทยในปจจุบัน ที่มีครัวเรือนแบบใหมๆ ที่มีกําลังซื้อสูงแตทวาไมใชกลุมที่ใหญ<br />

โดยคาดวาครัวเรือนในลักษณะที่เปนแบบครอบครัวพอแมลูก มีสัดสวนที่ลดลงเรื่อยๆ โดยลดลงจากประมาณ<br />

44% ของประชากรในป 1994 เหลือเพียง 32% ในป 2007 และจะตกลงมาอยูที่ราว 21% ในป 2020 นอกจากนี้<br />

คนที่อยูคนเดียว และที่อยูเปนคูสามีภรรยาที่ไมมีบุตรจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยคาดวาในป 2020 จะมี


685<br />

สัดสวน 6% และ 14% ของประชากรตามลําดับ นอกจากนั้น ครอบครัวที่ไมใชครัวเรือนเดี่ยวจะเพิ่มขึ้นตอเนื่อง<br />

แตจะเปนการเพิ่มขึ้นจากคูสามีภรรยาที่อยูแตกับหลาน (เชน หลานอยูกับคุณปูคุณยา) และคนโสดที่อยูกับญาติ<br />

มากกวาครอบครัวขยายแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ในปจจุบันที่คูสามีภรรยาไมมีบุตรนั้นเปนครัวเรือนที่อยูอาศัยใน<br />

หองชุดพักอาศัยมากที่สุด โดยในป 2007 มีสัดสวนกวา 35% แซงหนาครัวเรือนประเภทที่อยูคนเดียวที่เคยมี<br />

สัดสวนสูงสุด อีกทั้งยังเปนลักษณะ ครัวเรือนที่ยายมาอยูหองชุดพักอาศัยเพิ่มขึ้นสูงที่สุด ดวยอัตราการเติบโต<br />

เฉลี่ยสะสมราว 15% ตอป ดังนั้น สําหรับผูประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย การตัดสินใจระหวางเลือกสราง<br />

บานเดี่ยวขายหรือหองชุดพักอาศัยอาจไมพออีกตอไป แตตองสินใจตอดวยวาจะสรางประเภทไหน ถึงจะถูกใจผู<br />

ซื้อและขายไดดี เชน แทนที่จะมุงเนนหองพักประเภท studio มีพื้นที่ใชสอยไมมาก ตั้งอยูใกลแนวรถไฟฟา มา<br />

เปนจัดใหมีหองพักประเภท 1 – 2 หองนอน มีพื้นที่ใชสอยพอสมควร อาจมีครัวยอมๆ มีที่จอดรถเพียงพอ<br />

(ศูนยวิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย, สืบคนใน www.scb.co.th/eic/th/ 2553)<br />

จากเหตุผลตางๆที่ไดกลาวมาขางตน จึงเปนเหตุใหผูประกอบการทั้งรายใหญ รายยอย ตางหันมาจับ<br />

ตลาดหองชุดพักอาศัยกันเปนอยางมาก บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเมนท จํากัด เปนหนึ่งในผู ประกอบการพัฒนา<br />

อสังหาริมทรัพยที่ไดขยายธุรกิจจากแนวราบ มาสูธุรกิจหองชุดพักอาศัยในป พ.ศ.2550 โดยใชชื่อโครงการวา<br />

“IDEO” โดยมีโครงการแรกบน ถ.ลาดพราว17 ในชื่อโครงการ “IDEO ลาดพราว17” ซึ่งในการเปดตัวโครงการ<br />

IDEO ลาดพราว17 นั้นไดรับการตอบรับจากลูกคาเปนอยางดี ถึงแม ณ เวลานั้นอนันดาจะเปนเพียง<br />

ผูประกอบการหองชุดพักอาศัยรายใหมก็ตาม แตสามารถทํายอดขายไดถึง 60% ในระยะเวลาเพียง 1เดือน<br />

ภายหลังการเปดตัวโครงการแรกก็ยังไมการพัฒนาโครงการภายใตชื่อ IDEO อีก 10โครงการ<br />

วัตถุประสงคการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> เพื่อศึกษาสภาพสังคมและเศรษฐกิจสวนบุคคลของผูตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา<br />

โครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท<br />

2. เพื่อศึกษาปจจัยในการตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน<br />

และไอดีโอ คิว พญาไท<br />

ขอบเขตในการทําวิจัย<br />

ศึกษาถึงปจจัยสวนบุคคลและปจจัยสวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อหองชุดพัก<br />

อาศัยใกลสถานีรถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท กําหนดตัวแปรตนคือปจจัยสวน<br />

บุคคล 7 ดานประกอบไปดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ขนาดครอบครัว อาชีพ รายได และ<br />

ปจจัยสวนประสมทางการตลาด 7 ดาน ประกอบไปดวย Product (ตัวสินคา)Price( ราคา) Place / Distribution<br />

(ชองทางการจัดจําหนาย) Promotion (การสงเสริมการขาย) people (บุคคลากร) , process (กระบวนการ) ,<br />

physical evidence (กายภาพ) สวนตัวแปรตามไดแก การตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา<br />

โครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท (ตัดสินใจดวยตนเอง หรือ อาศัยผูอื่นใหคําแนะนําใน<br />

การตัดสินใจ) ประชากรที่เก็บขอมูลไดแก ผูที่ซื้อโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไททําการ<br />

สุมตัวอยางอยางงาย (Simple Random Sampling) และหาขนาดกลุมตัวอยางตามสูตรของยามาเน จํานวนกลุม


686<br />

ตัวอยางจํานวน 400 คน ขอบเขตในดานระยะเวลาจะทําการเก็บขอมูลระหวางเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2553<br />

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

<strong>1.</strong> เพื่อทราบลักษณะสวนบุคคลที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา<br />

โครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท<br />

2. เพื่อทราบปจจัยสวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานี<br />

รถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท<br />

3. เพื่อทราบวัตถุประสงคของการซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ<br />

พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท<br />

4. เพื่อใหผูที่สนใจ ทําธุรกิจหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา นําขอมูลและผลการศึกษาไปพัฒนา<br />

โครงการใหดียิ่งๆขึ้นไป<br />

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

การศึกษาเรื่อง ปจจัยในการตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟากรณีศึกษา : ไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน<br />

และ ไอดีโอ คิว พญาไท ผูวิจัยกําหนดกรอบในการทบทวนวรรณกรรมไวดังตอไปนี้<br />

<strong>1.</strong> ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภคและการเลือกที่อยูอาศัย<br />

2. ทฤษฎีการตัดสินใจเลือกที่อยูอาศัย<br />

3. ทฤษฎีสวนประสมการตลาด<br />

4. แนวคิดเกี่ยวกับสวนประสมทางการตลาดสําหรับธุรกิจบริการ<br />

5. แนวความคิดเกี่ยวกับหองชุดพักอาศัย<br />

รายละเอียดโครงการ<br />

1 ไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน (Ideo Mix Phaholyothin)<br />

<strong>1.</strong>1 ลักษณะโครงการ เปนอาคารชุดพักอาศัยสูง 23ชั้น 1อาคาร จํานวน 449ยูนิต มีขนาด<br />

ประมาณ 2 -3-25ไร ประกอบดวยล็อบบี้ สระวายน้ําพื้นที่สวนรานคา และ ที่จอดรถ


ภาพที่ 1 ผังโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน<br />

ที่มา http://thaiproperty.in.th/View.aspx?PostID=15574 สืบคนเมื่อ 18 มกราคม<br />

2554<br />

<strong>1.</strong>2 ที่ตั้งโครงการ เปนโครงการกลางใจเมืองอยูแนวรถไฟฟา บนถนนพหลโยธิน โดยหางเพียง<br />

25 เมตรจากสถานีรถไฟฟาสะพานควาย โดยการเดินเทาไมถึง 1 นาที ซึ่งไมไกลจากสาธารณูปโภค และ<br />

หางสรรพสินคา เชน บิ๊กซี สวนจัตุจักร พรอมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกในยานชุมชนใหญ เชน สะพานควาย<br />

อารีย<br />

<strong>1.</strong>3 รูปแบบอาคารชุดพักอาศัย เปนคอนโดมิเนียม 1 อาคาร โดยมี 23 ชั้น 1 ทาวเวอร มีหองชุด<br />

พักอาศัยหลัก 3 แบบ โดยแบงเปนแบบ 1 หองนอน 2 แบบ และ 2 หอนนอน 1 แบบ โดยมีขนาดตั้งแต 30-58<br />

ตารางเมตร รวมทั้งหมด 449 ยูนิต พรอมสวนรานคา สระวายน้ํา ที่จอดรถ และหองออกกําลังกาย<br />

687


688<br />

ภาพที่ 2 ตัวอยางรูปแบบหองพัก โครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน<br />

ที่มา : http://www.prakard.com/default.aspx?g=posts&t=36984 สืบคนเมื่อ 18 มกราคม<br />

2554<br />

<strong>1.</strong>4 ราคา และ เงื่อนไขการขาย ราคาขายเริ่มที่ 1,900,000 บาท สําหรับ 1หองนอน และ<br />

4,100,000 บาท สําหรับ 2 หองนอน แตปรับขึ้น 1,000 บาท ตอ ตารางเมตร ตอ ชั้น โดยดาวน 15% แบงเปน 20<br />

งวด พรอมเงินจอง 50,000-80,000 บาท และ เงินทําสัญญา 10% ของราคาขาย<br />

<strong>1.</strong>5 กลุมลูกคาเปาหมาย จะมีรายไดเฉลี่ยที่ 40,000 บาทตอเดือน โดยกลุมอายุเปาหมายจะเปน<br />

ชวง 25-40 ป และปรารถนาที่จะมีที่พักอาศัยเปนของตนเอง โดยที่ทํางานจะใกลแนวรถไฟฟา<br />

<strong>1.</strong>6 สภาพปจจุบันอยูในระหวางตรวจรับหอง<br />

2 โครงการไอดีโอ คิว พญาไท (Ideo Q Phayathai)<br />

2.1 ลักษณะโครงการ เปนอาคารชุดพักอาศัยขนาด 38 ชั้น 1 อาคาร มีขนาดโดยรวม 2-2-59 ไร<br />

ประกอบดวยล็อบบี้, สระวายน้ํา, หองสมุด, รานคา และ ที่จอดรถ<br />

ภาพที่ 3 ผังโครงการไอดีโอ คิว พญาไท<br />

ที่มา : http://www.ideocondo.com/phayathai/ideoq.htmlสืบคนเมื่อ18 มกราคม 2554


689<br />

2.2 ที่ตั้งโครงการ เปนโครงการกลางใจเมืองอยูแนวรถไฟฟา บนถนนพญาไท โดยหางเพียง 20 เมตร<br />

จากสถานีรถไฟฟาพญาไท และสถานีแอรพอรตลิงค โดยการเดินเทาไมถึง 3 นาที ซึ่งไมไกลจากสาธารณูปโภค<br />

และหางสรรพสินคา เชน มาบุญครอง สยามสแควร สยามพารากอน<br />

2.3 รูปแบบอาคารชุดพักอาศัย เปนคอนโดมิเนียม 1 อาคาร สูง 38 ชั้น มีหองชุดพักอาศัย<br />

3 แบบใหญๆ โดยแบงเปนแบบ 1หองนอน ขนาดตั้งแต 35-50 ตารางเมตร หองแบบ Duplex ขนาด 61 ตาราง<br />

เมตร และ 2 หองนอน โดยมีขนาดตั้งแต 70-75 ตารางเมตร รวมทั้งหมด 476 ยูนิต พรอมสวนรานคา สระวายน้ํา<br />

ที่จอดรถ และหองออกกําลังกาย<br />

ภาพที่ 4 ตัวอยางรูปแบบหองพัก โครงการไอดีโอ คิว พญาไท<br />

ที่มา : http://www.ideocondo.com/phayathai/ideoq.htmlสืบคนเมื่อ18 มกราคม 2554<br />

2.4 ราคา และ เงื่อนไขการขาย ราคาขายเริ่มที่ 2,950,000 บาท สําหรับ 1 หองนอน 5,300,000<br />

บาท สําหรับ Duplex และ 5,680,000 บาท สําหรับ 2 หองนอน โดยดาวน 25% แบงเปน 20 งวด พรอมเงินจอง<br />

50,000-70,000 บาท และ เงินทําสัญญา 10%


690<br />

2.5 กลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาเปาหมายจะเปนกลุมที่ถูกนิยามวาเปน Gen C หรือ Content<br />

Generation ซึ่งเปนกลุมที่ไวตอขอมูลขาวสารและเปนกลุมที่รับผิดชอบคาใชจายเอง โดยมีอายุตั้งแต 25-50 ป<br />

โดยมีรายไดเฉลี่ยที่ 70,000-100,000 บาทตอเดือน<br />

2.6 สภาพปจจุบัน สามารถโอนเขาไปอยูไดแลว โดยทางผูซื้อยังอยูในชวงตรวจรับหอง<br />

ทั้ง 2 โครงการนี้เนนที่ทําเลที่ตั ้ง โดยเจาะแนวรถไฟฟา เพื่องายตอการคมนาคม และ กลุมลูกคา<br />

เปาหมายก็ยังเปนกลุมวัยทํางานเปนสวนใหญที่มีกําลังการซื้อปานกลางขึ้นไป<br />

วิธีดําเนินการวิจัย<br />

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้<br />

<strong>1.</strong> การกําหนดประชากรและสุมกลุมตัวอยาง<br />

2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

4. การจัดกระทําขอมูล<br />

5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

ผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง 36-45 ป มีสถานภาพ<br />

สมรส ขนาดครอบครัวสวนใหญพักคนเดียว ประกอบอาชีพรับจางเอกชน และมีรายไดครอบครัวตอเดือนเฉลี่ยที่<br />

100,001 - 150,000 บาท ในสวนของพฤติกรรมการซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟาของผูตอบ<br />

แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา สวนใหญมีวัตถุประสงคหลักในการซื้อเพื่อพักอาศัยเอง สาเหตุที่สําคัญที่ทําให<br />

ตัดสินใจซื้อหองขุดพักอาศัยไดแกเรื่อง ทําเลที่ตั้ง โดยผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีแหลงอาศัยเดิมที่<br />

กรุงเทพมหานคร กอนจะตัดสินใจซื้อโครงการไดเดินทางมาดูกอน 2-3 ครั้ง มีระยะเวลาอาศัยในหองชุดพักอาศัย<br />

ต่ํากวา 1 ป บุคคลที่พักอาศัยดวยสวนใหญคือคูสมรส กอนที่จะตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัย ผูตอบ<br />

แบบสอบถามบางสวนเคยซื้อหองชุดในโครงการอื่นมาแลว และบุคคลที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อสวนใหญ<br />

ไดแกคูสมรส<br />

ผลการทดสอบสมมติฐานพบวาปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอการตัดสินใจตอซื้อหองชุดพักอาศัยใกล<br />

สถานีรถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05<br />

ไดแก ปจจัยดาน เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได ผลการวิเคราะหจึงยอมรับสมมติฐาน<br />

บางสวนจากสมมติฐานที่ 1 คุณลักษณะสวนบุคคลของผูบริโภคสงผลการตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกล<br />

สถานีรถไฟฟา (โดยไมยอมรับสมมติฐานยอยเพียงสองขอ ที่เสนอวา อายุ และขนาดครอบครัว สงผลการ<br />

ตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา)<br />

สวนปจจัยสวนประสมทางการตลาดพบวา ทุกปจจัยมีผลตอการตัดสินใจตอซื้อหองชุดพักอาศัยใกล<br />

สถานีรถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05<br />

จึงไมยอมรับสมมติฐานที่ 2 ปจจัยสวนประสมทางการตลาด มีผลตอ การตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานี<br />

รถไฟฟา


691<br />

อภิปรายผล<br />

ผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามที่มีหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา สวนใหญ มีอายุระหวาง<br />

36-45 ป และมีรายไดครอบครัวตอเดือนเฉลี่ยที่ 100,001 - 150,000 บาท ซึ่งจะสอดคลองกับงานวิจัยของ<br />

บุศรินทร รุงรัตนกุล (2549) โดยมีเปนไปไดวา กลุมเปาหมายของผูอาศัยในหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา<br />

มีแนวโนมปรับเปลี่ยนไปตามสภาวการณแขงขัน กลาวคือ เมื่อสภาวการณแขงขันเกี่ยวกับหองชุดพักอาศัยใกล<br />

รถไฟฟามีความรุนแรงขึ้น ผูประกอบการจึงมีแนวโนมที่จะหากลุมลูกคาเปาหมายที่มีฐานะรองลงมา แตจะเนน<br />

ในเรื่องของอัตราสวนของผูบริโภคที่มีมากขึ้น หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ เลี่ยงการแขงขันที่รุนแรง (red Ocean)<br />

เขามาสูตลาดใหมที่การแขงขันยังไมรุนแรง (blue Ocean) อีกทั้งในสวนของพฤติกรรมการซื้อหองชุดพักอาศัย<br />

ใกลสถานีรถไฟฟาของผูตอบแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา สวนใหญมีวัตถุประสงคหลักในการซื้อเพื่อพัก<br />

อาศัยเอง จะแตกตางกับงานของ บุศรินทร รุงรัตนกุล (2549) ที่ผูซื้อสวนใหญซื้อเพื่อการลงทุน<br />

ผลจากการสอบถามสาเหตุสําคัญที่ทําใหตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยที่สําคัญที่สุดไดแกเรื ่อง ทําเล<br />

ที่ตั้ง สอดคลองงานวิจัยของ บุศรินทร รุงรัตนกุล (2549) ที่เสนอวา ทําเลที่ตั้งเปนปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญตอ<br />

การยายมาอยูในอาคารชุด<br />

ขอเสนอแนะ<br />

<strong>1.</strong> ปจจัยสวนประสมทางการตลาดมีผลตอการตัดสินใจตอซื้อหองชุดพักอาศัยที่มีความสําคัญที่สุด<br />

ไดแก ปจจัยดานกายภาพ และ ปจจัยดานกระบวนการ โดยปจจัยดังกลาว ผูตัดสินซื้ออาคารชุดจัดลําดับ<br />

ความสําคัญไวสูงกวาตัวสินคา นั่นแสดงวา ผูประกอบการมีความจําเปนที่ตองใหบริการ หลังการขาย โดยเนน<br />

เปนพิเศษในเรื่องของกระบวนการทําธุรกรรม และการจัดระบบของอาคารอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมอบ<br />

สิ่งอํานวยความสะดวก การจัดภูมิทัศนของอาคารอยางตอเนื่อง สิ่งเหลานี้จะสามารถสรางความพึงพอใจอยาง<br />

ยั่งยืนตอผูซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท<br />

2. ผลการวิจัยพบวา เพศ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน มีผลตอการตัดสินใจซื้อ<br />

หองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟาโครงการไอดีโอ มิกซ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท ถึงแมในทางปฏิบัติ<br />

ผูประกอบการไมสามารถปรับเปลี ่ยนตัวแปรเหลานี้ไดเหมือนสวนประสมทางการตลาด แต ผูประกอบการ<br />

สามารถนําขอมูลเหลานี้ไปจัดกลยุทธใหเหมาะสมกับกลุมเปาหมายในโอกาสตอไป อาทิ ผลการวิจัยพบวา<br />

กลุมเปาหมายเพศหญิงมีแนวโนมที่จะตัดสินใจดวยตนเองสูงกวาเพศชายอยางมีนัยสําคัญ ดังนั้น การจัดตัว<br />

อาคาร หรือสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับลูกคาหญิงเปนพิเศษ เชน จัดที่จอดรถเฉพาะโซนสุภาพสตรี จัดสิ่ง<br />

อํานวยความสะดวกหองซาวนา จัดกิจกรรมแอโรบิค ก็จะชวยทําใหทางโครงการไดกลุมเปาหมายที่ตัดสินใจดวย<br />

ตนเองในจํานวนที่มากขึ้น นอกจากนี้ผูประกอบการยังสามารถจัดสวนประสมทางการตลาดอื่น ๆ เพื่อตอบสนอง<br />

ตอ ผูที่เปนโสด ผูที่มีการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรี ผูประกอบกิจการสวนตัว และ ผูมีรายไดครอบครัวตอ<br />

เดือน 25,001-50,000 บาท เปนพิเศษ ก็จะชวยสรางยอดขายที่เพิ่มขึ้นได เพราะกลุมคนเหลานี้มีแนวโนมที่จะ<br />

ตัดสินใจโดยทันทีดวยตนเอง สูงกวากลุมบุคคลที่มีคุณลักษณะประเภทอื่น


692<br />

ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป<br />

<strong>1.</strong> งานวิจัยชิ้นนี้ไมไดศึกษาถึงเบื้องลึกในดานความแตกตางของเหตุผลในการซื้อหองชุดพักอาศัยใกล<br />

สถานีรถไฟฟา สําหรับผูที่มีคุณลักษณะสวนบุคคลแตกตางกัน ผูที่สนใจจะทําการตอยอด เพื่อสราง<br />

หองชุดพักอาศัยตอบสนองตอความตองการของผู มีคุณลักษณะสวนบุคคลสามารถทําได<br />

2. งานวิจัยครั้งตอไปอาจทําการศึกษาแยกสองโครงการ ในพื้นที่แตกตางกัน เมื่อจะศึกษาแยกทีละ<br />

โครงการ จํานวนกลุมตัวอยางก็มีไมเพียงพอจะวิเคราะห เพราะผลที่ไดจะมีความคาดเคลื่อนมาก<br />

จนเกินไป ผูที่สนใจจะศึกษาตอยอดในเรื่องปจจัยสวนประสมทางการตลาดวามีผลตอการซื ้อหองชุด<br />

พักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา หรือไม อาจนําเครื่องมือที่ผูวิจัยทําขึ้นไปพัฒนาตอยอด โดยเลือกเก็บกับ<br />

โครงการหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟาที่มีจํานวนยูนิต มาก ก็อาจจะไดผลที่เปนประโยชนในการ<br />

เลือกใชปจจัยสวนประสมทางการตลาด เพื่อวางกลยุทธในการขายหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา<br />

3. งานวิจัยดังกลาวเปนการศึกษาระยะสั้น โดยศึกษาในชวงเดือน กุมภาพันธ 2553 ผูที่สนใจจะทําการ<br />

วิจัยใหไดคุณภาพเชิงลึกอาจประยุกตใชโดยทําการศึกษาในลักษณะของ การวิจัยในระยะยาว<br />

(longitudinal studies)เกินหนึ่งปขึ้นไป เพื่อทดสอบความไมแปรเปลี่ยนของปจจัยที่สงผลตอการ<br />

ตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา ก็สามารถจะทําใหเห็นภาพของการวิจัยที่ชัดเจนยิ่งขึ้น<br />

บรรณานุกรม<br />

กัลยา วานิชยบัญชา. การใช SPSS for Windows ในการวิเคราะหขอมูล. ฉบับปรับปรุงใหม.<br />

กรุงเทพฯ : ธรรมสาร. (2546).<br />

กิตติพงษ ไตรสารวัฒนะ: ปจจัยการตัดสินใจซื้อ ทัศนคติและความพึงพอใจของผูอยูอาศัย<br />

อาคารชุดพักอาศัยราคาปานกลางในเขตชั้นกลางของกรุงเทพมหานคร<br />

วิทยานิพนธ , เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต, คณะสถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย (2538)<br />

ธงชัย สันติวงษ. พฤติกรรมผูบริโภคทางการตลาด. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ ไทย<br />

วัฒนาพานิช จํากัด. (2542)<br />

บุศรินทร รุงรัตนกุล: เหตุจูงใจในการตัดสินใจซื้อหองชุดพักอาศัยใกลสถานีรถไฟฟา :<br />

กรณีศึกษา โครงการซิตี้โฮม รัชดา และซิตี้โฮม สุขุมวิท. วิทยานิพนธ , เคหพัฒน<br />

ศาสตรมหาบัณฑิต, คณะสถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2549)<br />

พรนริศ ชวนไชยสิทธิ์: การเปรียบเทียบปจจัยของการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียมราคาถูก :<br />

การศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษาคอนโดมิเนียมประเภทตางๆในเขต<br />

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล, วิทยานิพนธ , เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต, คณะ<br />

สถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2536)<br />

ยุดา รักไทย และธนิกานต มาฆะศิรินนท. . การตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : ดอกหญา, (2542).<br />

เทค, (2546).


วิสุทธิ์ กัลปยาศิริ. ปจจัยที่มีผลตอการเลือกซื้อที่อยูอาศัย กรณีศึกษา : เขตบางเขน<br />

กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต,<br />

กรุงเทพฯ.(2545).<br />

ศิริวรรณ เสรีรัตนและคณะ. การบริหารการตลาดยุคใหม. ฉบับปรับปรุง 2546. กรุงเทพฯ :<br />

บริษัทธรรมสาร. (2546)<br />

ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย, ธอส, ตัวเลขบานจดทะเบียนเพิ่ม ในเขตกรุงเทพๆและ<br />

ปริมณฑล 5 จังหวัด สืบคนใน www.reic.or.th วันที่สืบคน 30 ธันวาคม 2553<br />

เสรี วงษมณฑา. พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : ธีระฟลมและไซเท็กซ. (2542)<br />

อดุลย จาตุรงคกุล. พฤติกรรมผูบริโภค : Consumer behavior. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือ<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.<br />

Engel, J. F., Roger, D. B. & Paul, W. M.. Consumer behavior. (7th ed.). Forth Worth :<br />

The Dryden Press. (1993)<br />

Kotler, Phillip. Marketing Management. 11 th ed. Upper Saddle River, NJ : Prentice-Hall.<br />

(2003)<br />

London, D. L., & Della, B. A. J. Consumer behavior. (4th ed.). New York : McGraw-Hill.<br />

(1993).<br />

Schiffman, Leon G; & Kanuk, Leslie Lazer. Consumer Behavior. 7th ed. New Jersey:<br />

Prantice-Hall, Inc. (2000).<br />

Yamane, Taro.. Statistics: An introductory analysis. New York: Harper and Row. (1967)<br />

693


694<br />

ศึกษาความเหมาะสมการใชที่จอดรถของอาคารพักอาศัยรวมที่เปนอาคารขนาดใหญ<br />

ในทางแนวรถไฟฟา : กรณีศึกษา อาคารพักอาศัยรวมขนาดใหญที่ถนนสุขุมวิท<br />

THE APPROPRIATE IN USING PARKING OF LARGE RESIDENTIAL BUILDINGS ALONG<br />

THE RAIL TRANSIT : A CASE STUDY OF LARGE RESIDENTIAL BUILDINGS,<br />

SUKHUMVIT ROAD<br />

บทนํา<br />

ฉัตรชัย ตั้งมหาสถิตกุล<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาอสังหาริมทรัพย<br />

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย นาวาโท ไตรวัฒน วิรยศิริ<br />

จากการขยายตัวของชุมชนเมือง อันเนื่องจากการที่เมืองเปนศูนยรวมของความเจริญดานตางๆ ทั้ง<br />

ทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ทําใหปจจุบันกรุงเทพมหานครเกิดแหลงงานขึ้นเปนจํานวนมากและมีการ<br />

เคลื่อนยายแรงงานจากชนบทสูเมืองหลวงเปนจํานวนมาก ทําใหเกิดการขยายตัวของเมือง ซึ่งการเติบโตของที่<br />

อยูอาศัยของแรงงานจะเติบโตตามการขยายตัวของเมืองและแรงงานที่ยายเขามา แตเนื่องจากการเดินทางเพื่อ<br />

เขามาในแหลงงานนั้นในจํานวนที่มากยอมทําใหเมืองเกิดปญหาการจราจรติดขัด รัฐบาลไดพยายามที่จะ<br />

แกปญหาการจราจรที่แออัดในชุมชนเมือง โดยแนวทางหนึ่งคือการกอสรางระบบขนสงมวลชนขนาดใหญ<br />

ใหบริการในเขตเมืองชั้นในอยู 3 โครงการ ไดแกโครงการรถไฟฟาบีทีเอส ,โครงการรถไฟฟามหานคร MRT และ<br />

โครงการ รถไฟฟาเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ แอรพอรตเรลลิงก จากการที่มีระบบขนสงมวลชนขนาด<br />

ใหญเพื่อนําแรงงานเขาสูแหลงงานไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น ทําใหเกิดความตองการที่อยูอาศัยในแนวรถไฟฟา<br />

มากขึ้น โดยเฉพาะโครงการที่ตั้งอยูใกลสถานีรถไฟฟา อันเปนทําเลที่ไดรับความนิยมอยางมากของผูบริโภค อีก<br />

ทั้งการที่แนวเสนทางของรถไฟฟาซึ่งปจจุบันมีเพียง 2 สาย และวิ่งผานเขตเมืองชั้นในทําใหการพัฒนา<br />

อสังหาริมทรัพยในพื้นที่ดังกลาวสวนใหญจะเปนลักษณะที่อยูอาศัยที่เปนอาคารอยูอาศัยรวมที่เปนอาคารขนาด<br />

ใหญ เนื่องจากที่ดินในเขตเมืองชั้นในมีการพัฒนาไปมากแลวทําใหมีที่ดินเหลือไมมากและราคาของที่ดินก็มี<br />

ราคาสูงขึ้นมากยอมมีผลทําใหผูประกอบการจําเปนตองใชประโยชนที่ดินและพื้นที่อาคารใหไดสูงที่สุด ทําให<br />

ผูประกอบการจําเปนตองพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยในแนวดิ่งมากกวาแนวราบ เห็นไดจากขอมูลการจด<br />

ทะเบียนที่อยูอาศัยใหมในเขตกรุงเทพฯ และเขตปริมณฑล จะเห็นไดวาการจดทะเบียนที่อยูอาศัยขนาดใหญที่<br />

เปนอพารทเมนทและอาคารชุดตั้งแตป พ.ศ. 2551 มีจํานวนมากกวาโครงการที่อยูอาศัยในลักษณะเปนโครงการ<br />

บานจัดสรรและการกอสรางบาน และจากขอมูลของสัดสวนที่อยูอาศัยประเภทตางๆ ตั้งแตมกราคม- พฤษภาคม<br />

พ.ศ.2553 จะเห็นไดวาอาคารชุดมีการสรางเสร็จจดทะเบียนมากที่สุดและมากกวาที่อยูอาศัยในแนวราบรวมกัน


695<br />

และจากสถานการณการขยายตัวของอาคารพักอาศัยที่อยูในแนวรถไฟฟามีปริมาณที่มากขึ้นนั้น ทําให<br />

ผูอยูอาศัยในบริเวณดังกลาวสามารถเดินทางไดสะดวกมากขึ้น หากการใชพื้นที่จอดรถของอาคารพักอาศัยรวมที่<br />

เปนอาคารขนาดใหญมีแนวโนมที่จะนอยกวามาตรฐานที่กําหนดไว ยอมเปนภาระทางการเงินใหแกผูอยูอาศัย<br />

มาตรฐานที่จอดรถในปจจุบันจึงเปนเครื่องมือที่ไมประสบความสําเร็จในการทําใหความตองการที่จอดรถ<br />

(Parking Demand) และจํานวนที่จอดรถ (Parking Supply) มีความสมดุลกัน มาตรการการจัดการที่จอดรถที่<br />

หลากหลายจะสามารถชวยทําใหความตองการที่จอดรถ (Parking Demand) และจํานวนที่จอดรถ (Parking<br />

Supply) มีความสมดุลกันได เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ<br />

ดังนั้นความเหมาะสมการใชที่จอดรถของอาคารพักอาศัยรวมที่เปนอาคารขนาดใหญในแนวรถไฟฟา<br />

จึงเปนสิ ่งจําเปน เพื่อใหทราบไดวาแทจริงแลว การใชประโยชนจริงของที่จอดรถในอาคารพักอาศัยรวมที่เปน<br />

อาคารขนาดใหญในแนวรถไฟฟาเปนเทาใด และมีปจจัยใดบางที่มีผลตอการใชพื้นที่ที่จอดรถ เพื่อเปนแนวทาง<br />

ในการปรับปรุงมาตรฐานหรือขอกําหนดตางๆ ใหเหมาะสมกับสภาพความเปนอยูของผูอยูอาศัย และเพื่อใหเกิด<br />

การพัฒนาโครงการลักษณะนี้ใหเกิดประสิทธิผลในอนาคตไดสูงสุด<br />

แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

แนวความคิดเกี่ยวกับการเดินทางและความสัมพันธระหวางที่อยูอาศัยกับแหลงงาน Michale J.<br />

Bruton (1975) กลาววาปจจัยที่มีผลตอการเลือกรูปแบบการเดินทางมี ลักษณะดังนี้คือลักษณะของการเดินทาง<br />

อันไดแก ระยะทางในการเดินทาง และจุดประสงคของการเดินทาง, ลักษณะของผูเดินทาง อันไดแก รายได การ<br />

เปนเจาของรถยนต ขนาดและโครงสรางของครอบครัวความหนาแนนของยานพักอาศัย อาชีพ สถานที่ตั้งของที่<br />

ทํางาน ซึ่งจากการศึกษาพบวายานพักอาศัยที่มีความหนาแนนนอย อัตราการใชระบบขนสงสาธารณะจะลดลง<br />

ประกอบกับผูที่พักอาศัยในยานดังกลาว สวนใหญเปนผูมีรายไดสูง ซึ่งมีอัตราการเปนเจาของรถยนตสูง และ<br />

สอิ้ง จอมแดงธรรม (2537) ทําการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการเดินทางกอนเขาอยูกับหลังเขาอยูอาศัยใน<br />

คอนโดมิเนียม ในกรุงเทพมหานคร เขตชั้นใน และเขตชั้นกลาง” ผลการศึกษาพบวาปจจัยที ่มีผลตอระยะทางการ<br />

เดินทางในปจจุบัน พบวา ระยะทางระหวางที่อยูอาศัยกับที่ทํางาน เปนปจจัยที่สําคัญที่สุดที่มีผลตอ ระยะ<br />

ทางการเดินทางในปจจุบัน โดยรูปแบบการเดินทางระยะสั้น ๆ จะใช รูปแบบการเดินทางโดยการเดิน ปจจัยที่<br />

สําคัญรองลงมา คือ อายุของหัวหนาครัวเรือน และ Berry & Hortan, 2513 (อางถึงใน ปณต,2539) ไดศึกษา<br />

การเดินทางไปทํางานของประชากรในเมืองและพยายามศึกษาถึงตําแหนงแหลงงานกับตําแหนงของประชากรที่<br />

เดินทางมายังแหลงงานนั้นๆ ทําใหทราบถึงปจจัยที่กําหนดรูปแบบของการเดินทางวามี 3 ลักษณะ คือเสนทาง<br />

คมนาคมและระยะทาง, อาชีพและรายไดและลักษณะทางเชื้อชาติของประชากร<br />

สําหรับมาตรฐานและขอกําหนดในการกําหนดจํานวนที่จอดรถยนตของอาคารพักอาศัยอางถึง<br />

กฎกระทรวงฉบับที่ 7(2517) ไดกําหนดใหอาคารชุด 1 ครอบครัว=หองขนาด 60 ตารางเมตร ตองมีที่จอดรถ 1<br />

คันตอ 1 ครอบครัว และกําหนดใหอาคารขนาดใหญตองมีที่จอดรถ 1 คันตอ 120 ตารางเมตร<br />

Todd Litman (2004) ทํางานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบของความตองการที่จอดรถตอความสามารถในการ<br />

ครอบครองที่อยูอาศัย” พบวา อัตราการครอบครองรถยนตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามขนาดและรายไดของครัวเรือน<br />

หากรายไดสูงขึ้นความสามารถในการครอบครองรถยนตตอคน และตอครัวเรือนจะสูงขึ้นตาม และ กิตตินันท คน


696<br />

ขยัน (2547) ไดทําการศึกษาเรื่อง “ความสัมพันธและพฤติกรรมการใชที่จอดรถของผูอยูอาศัยรายไดนอยถึง<br />

ปานกลางในอาคารอยูอาศัยรวมที่เปนอาคารขนาดใหญ : กรณีศึกษา อาคารชุดในเขตกรุงเทพชั้นใน” โดยจาก<br />

ผลการศึกษาพบวา คนที่มีรายไดสูงซึ่งเปนกลุมที่มีกําลังซื้อสูง จะเลือกอาศัยอยูในอาคารชุดที่มีความหนาแนน<br />

นอย มีขนาดพื้นที่หองเฉลี่ยใหญกวา ซึ่งทําใหระดับราคาของหองชุดที่มีที่จอดรถพอสูงกวาอาคารชุดที่มีที่จอดรถ<br />

ไมพอ และการที่อาคารชุดที่มีที่จอดรถพอมีจํานวนยูนิตนอย ทําใหจํานวนที่จอดรถตอยูนิตมีมากกวาอาคารชุดที่<br />

มีที่จอดรถไมพอถึง 3 เทา ทั้งๆที่อัตราการมีรถไมแตกตางกันมากนัก จึงทําใหการใชที่จอดรถมีปริมาณมากเปน<br />

สาเหตุที่ทําใหจํานวนที่จอดรถมีไมพอกับความตองการ สวนอาคารชุดที่มีที่จอดรถไมพอสวนใหญจะอยูไกลจาก<br />

จุดรับสงระบบขนสงมวลชนสาธารณะ ซึ่งผูประกอบการนิยมที่จะทําใหโครงการมีจํานวนหนวยพักอาศัยที่มี<br />

จํานวนมาก และใหมีราคาถูก เนนในดานปริมาณมากกวาคุณภาพชีวิต<br />

วัตถุประสงค<br />

<strong>1.</strong> อธิบายการใชประโยชนของพื้นที่จอดรถของอาคารอยูอาศัยรวมขนาดใหญในแนวรถไฟฟา<br />

เปรียบเทียบกับมาตรฐานและขอกําหนดตางๆ<br />

2. วิเคราะหปจจัยที่มีผลกระทบตอความตองการพื้นที่ที่จอดรถของอาคารอยูอาศัยรวมขนาดใหญในแนว<br />

รถไฟฟา<br />

3. เสนอแนะแนวทางการแกไขการใชพื้นที่จอดรถของอาคารชุดพักอาศัยขนาดใหญในแนวรถไฟฟาอยาง<br />

เหมาะสม<br />

ขอบเขตงานวิจัย<br />

ขอบเขตดานพื้นที่ ไดแกอาคารชุดขนาดใหญรอบสถานีรถไฟฟา ตั้งแตสถานีรถไฟฟานานาจนถึง<br />

สถานีรถไฟฟาเอกมัย โดยเปนอาคารที่ตั้งอยูหางจากสถานีรถไฟฟาระยะไมเกิน 500 เมตร และเปนโครงการที่<br />

เปดดําเนินการมาแลวไมนอยกวา 3 ป<br />

ขอบเขตดานประชากร ประชากรที่จะทําการศึกษาในครั้งนี้ คือ<br />

<strong>1.</strong>กลุมประชากรที่เปนอาคารชุดขนาดใหญในยานสุขุมวิท ที่อยูใกลสถานีรถไฟฟา ทั้งหมด 10 โครงการ<br />

2.กลุมประชากรที่เปนผูอยูอาศัยในอาคารชุดนั้นๆ<br />

ระเบียบวิธีวิจัย<br />

ประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษาในครั้งนี้ใช 2 แบบคือแบบสังเกตการณและการสํารวจ<br />

(Observation) โดยการสํารวจภาคสนาม (Field Survey) ที่จอดรถของอาคารและลักษณะทางกายภาพของ<br />

อาคารจํานวน 10 โครงการ ซึ่งเปนโครงการที่มีเงื่อนไขของขอบเขตงานวิจัยและใชแบบสอบถาม<br />

(Questionnaire) กับกลุมผูอยูอาศัยอยูในอาคารชุดรวม 10 โครงการ จํานวน 287 ตัวอยาง จากขนาดของ<br />

จํานวนประชากร 1,012 หนวย ตามสูตรของ Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และแบบสํารวจ (Survey) กับ<br />

นิติบุคคลอาคารชุดทั้ง 10 โครงการ สําหรับการเลือกกลุมประชากรจะใชวิธีวิธีการเก็บขอมูลแบบ Accidental<br />

Sampling คือเปนการเก็บขอมูลแบบสุมในอาคารโดยไมเจาะจงวาผูตอบแบบสอบถามคือใคร แตจะสอบถาม


697<br />

กับผูที่อยูอาศัยในโครงการศึกษาเทานั้น โดยใชวิธีแจกแบบสอบถามผานสํานักงานนิติบุคคลของอาคารนั้นๆ<br />

รวมทั้งการแจกแบบสํารวจดวยตนเอง ดังแสดงในตารางที่ 1<br />

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนของกลุมประชากร<br />

โครงการ สถานีรถไฟฟา ระยะทาง<br />

หางจาก<br />

สถานี<br />

รถไฟฟา<br />

(ม.)<br />

วันที่จดทะเบียน<br />

อาคารชุด<br />

จํานวน<br />

หองชุด<br />

(หนวย)<br />

ผูอยูอาศัยจริง<br />

(หนวย)<br />

รอยละ<br />

อาคาร A สถานีนานา 450 31/8/2548 54 54 100%<br />

อาคาร B สถานีนานา 400 27/9/2534 73 55 75%<br />

อาคาร C สถานีอโศก 500 29/3/2548 200 160 80%<br />

อาคาร D สถานีอโศก 450 13/10/2526 51 46 90%<br />

อาคาร E สถานีพรอมพงษ 300 15/3/2548 159 135 85%<br />

อาคาร F สถานีพรอมพงษ 450 15/6/2550 150 120 80%<br />

อาคาร G สถานีทองหลอ 300 26/1/2550 78 78 100%<br />

อาคาร H สถานีทองหลอ 200 18/8/2550 76 51 67%<br />

อาคาร I สถานีเอกมัย 10 16/11/2550 371 223 60%<br />

อาคาร J สถานีเอกมัย 450 4/10/2549 138 90 65%<br />

รวมทั้งสิ้น 1810 1012 56%<br />

สรุปผลการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> การใชประโยชนของพื้นที่ที่จอดรถของอาคารชุดที่ทําการศึกษา<br />

ผลที่ไดจากการการสํารวจสภาพการใชงานและการอยูอาศัยจริง รวมทั้งขอมูลจากแบบสอบถามพบวา<br />

สัดสวนผูพักอาศัยจริงรอยละ 75 มีการใชพื้นที่จอดรถเพียงรอยละ 61 ของพื้นที่จอดรถทั้งหมด ดังแผนภูมิที่ 1<br />

ถาการใชพื้นที่จอดรถเปนไปตามที่ประมาณการไว พื ้นที่จอดรถควรจะมีการใชรอยละ 75 ตามอัตราการพักอาศัย<br />

ที่เกิดขึ้น พบวาสัดสวนของการใชรถเทียบกับจํานวนผูอยูอาศัยคิดเปนรอยละ 8<strong>1.</strong>33 ซึ่งสอดคลองกับขอมูลการ<br />

ครอบครองรถที่มีการครอบครองที่ไดจากแบบสอบถามคิดเปนรอยละ 88.7


698<br />

แผนภูมิที่ 1 แสดงอัตราการเขาอยูอาศัยจริงกับอัตราการใชพื้นที่จอดรถยนต<br />

ผลจากการที่กลุมตัวอยางของผูพักอาศัยในอาคารชุดมีการครอบครองรถ คิดเปนรอย 88.7 นั้น จะ<br />

พบวารูปแบบการเดินทางของผูพักอาศัยสวนใหญยังคงเปนการเดินทางดวยรถยนตสวนตัว และการเดินทางดวย<br />

รถไฟฟาเปนลําดับสองที่มีอัตราการใชคอนขางมากและไมแตกตางกันมาก ทําใหทราบวาการที่ผูที่อยูอาศัยใน<br />

อาคารชุดที่ตั้งอยูใกลสถานีรถไฟฟา ยังมีการใชพื้นที่จอดรถยนตที่อยูในอัตราสูงและมีการเดินทางดวยรถไฟฟา<br />

เปนสวนรวมในบางครั้ง และสิ่งที่นาสังเกตอีกประการหนึ่งคือการที่โครงการรถไฟฟาที่เปดใชในปจจุบัน มีเพียง 3<br />

โครงการ และเสนทางยังไมสามารถครอบคลุมพื้นที่ไดทั้งหมดนั้น แตการศึกษาครั้งนี้จะเห็นวาเริ่มมีการใช<br />

รถไฟฟาในการเดินทางควบคูกับการใชรถยนตในการเดินทางมากขึ้น ซึ่งในอนาคตหากรถไฟฟาสามารถ<br />

ใหบริการครอบคลุมพื้นที่มากขึ้นนั้น อาจทําใหสัดสวนการครอบครองรถยนตลดลง เนื่องจากผูที่จะซื้ออาคารชุด<br />

ที่ไมมีรถยนตก็จะมีความจําเปนในการครอบครองรถยนตนอยลงหรืออาจจะมีรถยนตจอดในที่จอดรถยนตมาก<br />

ขึ้นในชวงเวลากลางวัน เนื่องจากผูพักอาศัยที่มีรถยนตอยูแลวเปลี่ยนไปใชการเดินทางโดยระบบรถไฟฟามากขึ้น<br />

สังเกตไดจากขอมูลการสํารวจอาคารที่พักอาศัยยังมีรถยนตที่จอดทิ้งไวในชวงเวลากลางวันของวันทํางาน เปน<br />

รอยละ 31 และจอดเพิ่มมากขึ้นในชวงวันหยุดกลางวัน เปนรอยละ 43<br />

จากการสํารวจอาคารชุดพักอาศัยทั้ง 10 แหง พบวาพื้นที่จอดรถของอาคารทั้งหมด มีการใชที่จอดรถ<br />

ไมเต็มพื้นที่ แตปญหาการใชพื้นที่จอดรถยนตยังคงมีอยู จากแบบสอบถามของผูอยูอาศัยที่อยูใกลสถานี<br />

รถไฟฟา พบวาสวนใหญมีปญหาการจอดรถขวางกัน ทําใหตองเสียเวลารอเลื่อนรถ ซึ่งสาเหตุของการเกิดปญหา<br />

นี้นั้น จากการสอบถามนิติบุคคลในอาคารที่มีปญหานี้พบวาผูอยูอาศัยไมไดจอดรถตรงชองที่มีการจัดไวให อัน<br />

เกิดจากการที่ที่จอดรถที่ไดจัดมานั้นอยูในชั้นบนๆ ซึ่งบางครั้งผูอยูอาศัยอาจจะตองการจอดรถเปนเวลาไมนาน<br />

จึงไดจอดรถซอนคันอื่น ซึ่งสอดคลองกับกับแบบสอบถามของผูอยูอาศัยวาพบเหตุการณการจอดรถที่พบมาก<br />

ที่สุดคือการจอดรถไมตรงกับชองที่จัดไว สําหรับการแกไขปญหาที่ไดสอบถามกับนิติบุคคล ไดใหความเห็นใน<br />

การจัดการปญหาโดยมีการเพิ่มที่จอดรถระยะสั้นใหมากขึ้นและมีพนักงานรักษาความปลอดภัยอํานวยความ<br />

สะดวกในการจัดการที่จอดรถ


699<br />

2. ปจจัยที่มีผลตอการใชพื้นที่จอดรถ<br />

จากแบบสอบถามของกลุมผูอยูอาศัยในอาคารชุดที่อยูใกลสถานีรถไฟฟา ปจจัยในการครอบครองรถ<br />

ซึ่งมีผลตอการใชพื้นที่จอดรถยนตนั้นไดแก<br />

ปจจัยทางกายภาพ ไดแก ขนาดหองชุด พบวาเมื่อการครอบครองหองชุดที่มีขนาดใหญขึ้น อัตราการ<br />

ครอบครองรถจะมากขึ้นตาม และเมื่อพิจารณาการครอบครองรถของหองพักที่มีขนาดพื้นที่เกิน 60 ตารางเมตร<br />

จะมีผูครอบครองรถ 100% คงเกิดจากสาเหตุที่กฎหมายไดกําหนดใหมีที่จอดรถ 1 คันตอ 1 ครอบครัว (1<br />

ครอบครัว= หองขนาด 60 ตารางเมตร) และเมื่อพิจารณาหองพักที่เกิน 60 ตารางเมตรขึ้นไป จะมีสัดสวนในการ<br />

ครอบครองรถมากกวา 1 คันขึ้นไปเปนสัดสวนที่มากขึ้นตามขนาดหองที่มากขึ้น กลาวคือยิ่งมีการครอบครอง<br />

หองที่มีขนาดใหญมากขึ้น อัตราการครอบครองรถจะมากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของการศึกษาความ<br />

ตองการที่จอดรถยนตในอาคารชุดของ Energy Pathways (1994) ที ่วา “ขนาดของอาคารชุดที่เล็กกวา จะมีการ<br />

ครอบครองรถยนตนอยกวาปกติ”<br />

ปจจัยทางสังคม ไดแก<br />

- อายุ พบวา กลุมตัวอยางที่อาศัยอยูใกลสถานีรถไฟฟามีอัตราการครอบครองรถในแตระดับกลุมอายุ<br />

มีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตามชวงอายุที่เพิ่มขึ้น ซึ่งมีทั้งขอแตกตางและสอดคลองกับผลการวิจัยอื่นๆ เชน ผลการวิจัย<br />

ของสมาคมที่อยูอาศัยที่ไมแสวงผลกําไรของแคลิฟอรเนียเหนือ (Non Profit Housing ,2001) และ Energy<br />

Pathways (1994) ที่วา “ที่อยูของผูสูงอายุและที่ที่มีผูอยูอาศัยอายุเฉลี่ยอยูในระดับสูง จะมีการครอบครอง<br />

รถยนตนอยกวาปกติ” เนื่องจากผูสูงอายุมีความจําเปนในการเดินทางลดลง หรือผลการวิจัยของ Todd Litman<br />

(2004) ที่ไดเปรียบเทียบอัตราการครอบครองรถระหวางกลุมอายุที่นอยกวา 30 ป และกลุมอายุที่มากกวา 65 ป<br />

พบวากลุมที่มีอายุนอยกวา 30 ป มีการครอบครองรถนอยกวา ซึ่งเปนไปตามการพัฒนาของระดับรายได เมื่อมี<br />

อายุมากขึ้น ตําแหนงหนาที่การงานจะสูงขึ้น รายไดจะเพิ่มขึ้น ทําใหความสามารถในการครอบครองรถมีมากขึ ้น<br />

ตาม<br />

- อาชีพ พบวากลุมพนักงานบริษัทเอกชนซึ่งเปนกลุมผูอยูอาศัยซึ่งมีจํานวนมากที่สุด และทุกอาชีพมี<br />

อัตราการครอบครองรถสูงมากคิดคาเฉลี่ยรวมประมาณรอยละ 88.7 จึงเปนปจจัยสําคัญปจจัยหนึ่งที่ทําใหมีการ<br />

ใชที่จอดรถมาก<br />

- ระยะเวลาการอยูอาศัย พบวา ความสามารถในการครอบครองรถจะเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการอยู<br />

อาศัย ซึ่งสอดคลองกับเรื่องความสัมพันธระหวางการครอบครองรถกับอายุที่วาเมื่อมีอายุมากขึ้น รายไดจะ<br />

เพิ่มขึ้น ทําใหความสามารถในการครอบครองรถมีมากขึ้นตามดวยเชนกัน<br />

- จํานวนสมาชิกในครัวเรือน พบวาสอดคลองจากงานวิจัยของ Todd Litman (2004) ที่ไดผลการวิจัย<br />

วา “อัตราการครอบครองรถยนตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามขนาดของครอบครัว” ซึ่งการครอบครองรถยนตมีเพิ่มมาก<br />

ขึ้นเรื่อยๆจากครอบครัวที่มีสมาชิก 1 คน ถึงครอบครัวที่มีสมาชิก 3 คน ซึ่งเปนกลุมที่มีอัตราการครอบครองรถ<br />

จําแนกตามจํานวนสมาชิกมากที่สุดและกลุมที่มีสมาชิกตั้งแต 4 คน จะมีรถในทุกครอบครัว<br />

- กรรมสิทธิ์การครอบครองที่อยูอาศัย พบวา กลุมที่ที ่มีกรรมสิทธิ์เปนเจาของหองชุดเอง จะมีอัตราการ<br />

ครอบครองรถ สูงกวากลุมผูที่เชาอยู เมื่อพิจารณาประกอบกับเรื่องอาชีพของผูอยูอาศัย พบวา ผูที่เชาอยูสวน<br />

ใหญจะเปนพนักงานบริษัทเอกชน ที่ใชบริการรถไฟฟาเปนหลัก จึงไมมีความจําเปนในการครอบครองรถยนต


700<br />

- การครอบครองที่อยูอาศัยอื่น พบวา ครัวเรือนที่มีที่อยูอาศัยอื่น สวนใหญจะมีรถในครอบครอง<br />

มากกวากลุมที่ไมมีที่อยูอาศัยอื่น<br />

นอกจากนี้มีความเห็นของลักษณะความคิดเห็นตอที่พักอาศัยที่อยูใกลสถานีรถไฟฟา พบวาผูอยูอาศัย<br />

ที่ใกลรถไฟฟายังเห็นวายังตองจําเปนใชรถยนตสวนตัวอยูและไมเห็นดวยที่จะลดพื้นที่จอดรถยนตลงในกรณีที่<br />

พักอาศัยอยูใกลสถานีรถไฟฟา<br />

3. เสนอแนะแนวทางการใชพื้นที่จอดรถยนต<br />

เมื่อพิจารณาอัตราระหวางจํานวนหนวยพักอาศัยตอจํานวนที่จอดรถยนต ดังตารางที่ 2 พบวา<br />

อัตราสวนของจํานวนหนวยพักอาศัยตอจํานวนที่จอดรถ มีคาแปรผกผันกับขนาดหองชุดเฉลี่ย กลาวคือเมื่ออัตรา<br />

อัตราสวนของจํานวนหนวยพักอาศัยตอจํานวนที่จอดรถที่มีคามากขึ้นนั้น ขนาดหองชุดเฉลี่ยมีคานอยลงและ<br />

ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมกับที่จอดรถ 1 คัน: 1 หนวยหองพัก นาจะอยูระหวาง 90-100 ตารางเมตร กฎหมายได<br />

กําหนดใหมีที่จอดรถ 1 คันตอ 1 ครอบครัว (1 ครอบครัว= หองขนาด 60 ตารางเมตร) ซึ่งหากการใชพื้นที่ที่<br />

เหมาะสมเปนการกําหนดพื้นที่จอดรถยนตแลว ยอมทําใหการใชพื้นที่จอดรถยนตสามารถใชไดเต็มประสิทธิภาพ<br />

ตารางที่ 2 แสดงความสัมพันธระหวางจํานวนหนวยพักอาศัยตอจํานวนที่จอดรถกับพื้นที่เฉลี่ยของหองชุด<br />

โครงการ พื้นที่เฉลี่ยของหองชุด (ตร.ม.) จํานวนหนวยพักอาศัยตอจํานวนที่<br />

จอดรถ(หนวย/คัน)<br />

อาคาร E 60.38 <strong>1.</strong>59<br />

อาคาร C 96.90 <strong>1.</strong>05<br />

อาคาร H 97.97 <strong>1.</strong>04<br />

อาคาร D 100.00 <strong>1.</strong>02<br />

อาคาร I 109.97 0.93<br />

อาคาร F 113.56 0.90<br />

อาคาร A 113.09 0.90<br />

อาคาร B 146.71 0.70<br />

อาคาร G 149.08 0.68<br />

อาคาร J 162.61 0.63<br />

จากขอมูลปจจุบันจะพบวาสัดสวนของพื้นที่จอดรถยนตคิดเปนรอยละ 80 ของพื้นที่ หากทําการลด<br />

พื้นที่จอดรถยนตลง สามารถลดพื้นที่จอดรถไดเพียงรอยละ 20 ของพื้นที่ในปจจุบันเทานั้น แตมีขอสังเกตคือ เมื่อ<br />

ผูพักอาศัยมีผูพักอาศัยมีอายุมากขึ้นและพักอาศัยนานขึ้นจะมีแนวโนมที่จะครอบครองรถยนตมากขึ้น เนื่องจาก<br />

สถานะมั่นคงและมีรายไดมากขึ้น อาจสงผลใหสัดสวนการครอบครองรถยนตของผูพักอาศัยสูงขึ้นตามไปดวย


701<br />

อาจสงผลใหพื้นที่จอดรถไมเพียงพอ ดังนั้นในการพิจารณาปรับสัดสวนของพื้นที่จอดรถยนตลง ควรมีการ<br />

พิจารณาเปรียบเทียบถึงความตองการการใชที่จอดรถที่อาจจะมากขึ้นในอนาคต<br />

ขอเสนอแนะในการวิจัย<br />

จากผลการศึกษาเรื่องความเหมาะสมการใชที่จอดรถของอาคารพักอาศัยรวมที่เปนอาคารขนาด<br />

ใหญในแนวรถไฟฟา กรณีศึกษาอาคารพักอาศัยรวมขนาดใหญที่ถนนสุขุมวิท โดยมีขอเสนอแนะที่สรุปไดดังนี้<br />

อาคารพักอาศัยขนาดใหญในแนวรถไฟฟาโดยสวนใหญผูที่อยูอาศัยเปนผูมีรายไดสูง อายุไมเกิน 40<br />

ปและสวนใหญเปนพนักงานบริษัทเอกชนนั้น สวนใหญใชรถยนตในการเดินทางและมีการใชรถไฟฟาในการ<br />

เดินทางดวย ดังนั้นหากมีการออกกฎหมายเพื่อลดพื้นที่จอดรถลงสําหรับอาคารพักอาศัยขนาดใหญที่ใกลแนว<br />

รถไฟฟานั้นยอมสงผลกับผูซื้อที่สวนใหญยังคงใหความสําคัญของที่จอดรถอยู แตหากอนาคตมีการกอสราง<br />

โครงการรถไฟฟาไดครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น ความตองการใชรถก็อาจจะมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งคงตองมีการวิจัย<br />

ตอไปในอนาคต<br />

จากการศึกษาครั้งนี้ พบวาการใชพื้นที่จอดรถยนตของอาคารพักอาศัยที่อยูใกลสถานีรถไฟฟานั้นมี<br />

การใชพื้นที่จอดรถไดไมเต็มประสิทธิภาพในบางชวงเวลานั้น เปนสิ่งที่นาจะนํามาพิจารณาวาจะมีการจัดการ<br />

อยางไรที่จะนําพื้นที่ดังกลาวมาใชประโยชนอยางเต็มประสิทธิภาพ อยางเชน การจัดการที่จอดรถในลักษณะใคร<br />

ใช ใครจาย (บัตรจอดรถยนต) หรือรูปแบบการขายพื้นที่จอดรถยนตพรอมกับการขายพื้นที่อยูอาศัยโดยใชความ<br />

สมัครใจแตไมใชการบังคับและหากพื้นที่จอดรถยนตเหลือจากการขายพื้นที่ก็สามารถนําพื้นที่ดังกลาวมาบริหาร<br />

จัดการโดยกลุมที่สนใจในการลงทุน เปนตน แตอยางไรก็ตามหากมีการดําเนินการจัดการที่จอดรถยนตใน<br />

รูปแบบใดก็ตาม สิ่งที่ตองคํานึงถึงคือรูปแบบที่จะนํามาจัดการนั้น จะตองมีการพิจารณาและดําเนินการตั้งแต<br />

การออกแบบ เพื่อใหรูปแบบการจัดการที่จอดรถมีประสิทธิภาพมากที่สุด มิใชใหเปนภาระของผูอยูอาศัยหรือนิติ<br />

บุคคลในการดําเนินการในภายหลัง ซึ่งจะทําใหการจัดการเปนไปไดยาก


702<br />

บรรณานุกรม<br />

กิตตินันท คนขยัน. ความสัมพันธและพฤติกรรมการใชที่จอดรถของผูอยูอาศัยรายไดนอยถึงปานกลางในอาคาร<br />

อยูอาศัยรวมที่เปนอาคารขนาดใหญ : กรณีศึกษา อาคารชุดในเขตกรุงเทพชั้นใน วิทยานิพนธ<br />

ปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547<br />

ปรีชญา มหัทธนทวี. แนวทางการกําหนดมาตรการควบคุมเกี่ยวกับที่จอดรถยนตสําหรับอาคาร ในพื้นที่ที่มี<br />

บริการของระบบขนสงมวลชน : กรณีศึกษา ยานศูนยกลางธุรกิจ ถนนสีลม. วิทยานิพนธปริญญา<br />

มหาบัณฑิต. ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2538.<br />

ปณต คงวิโรจน. การเปรียบเทียบความพึงพอใจของผูอยูอาศัยในโครงการอาคารชุด สําหรับผูมีรายไดนอย<br />

ระหวางโครงการภาครัฐและเอกชนกรณีศึกษา : โครงการเคหะชุมชนหลักสี่กับโครงการมหาทรัพย<br />

คอนโดทาวน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.<br />

วีระเดช พะเยาศิริพงศ. รวมกฎหมายกอสราง. กรุงเทพ, 2544.<br />

มหาดไทย, กระทรวง. กรมที่ดิน. ขอมูลการจดทะเบียนอาคารชุด. แหลงที่มา:<br />

www2.dol.go.th/~isbase/lbc/searchcondo.htm[10 มกราคม 2554]<br />

มหาดไทย, กระทรวง. กรมธนารักษ. ขอมูลราคาประเมินอาคารชุด. แหลงที่มา:<br />

www.treasury.go.th/assessment/condo_ie/district.htm[10 มกราคม 2554]<br />

สอิ้ง จอมแดงธรรม. พฤติกรรมการเดินทางกอนเขาอยูกับหลังเขาอยูอาศัยในคอนโดมิเนียม ในกรุงเทพมหานคร<br />

เขตชั้นใน และเขตชั้นกลาง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาคการวางแผนชุมชนเมืองและ<br />

สภาพแวดลอม คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง,2537.<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

Mark C. Childs. Parking Space A design, Implementation, and Use manual for Architects,<br />

Planners,and Engineers. McGraw-Hill., 1999.<br />

Michale J. Bruton. Introduce to Transportation Planning. London: Hutchinson, 1975.<br />

Non-Profit Housing Association of Northern California. Rethinking Residential Parking[Online].<br />

200<strong>1.</strong>Available from: www.nonprofithousing.org[2004,September 6]<br />

Todd Litman. Parking Requirement Impacts on Housing Affordability[Online]. 2004. Available from:<br />

http://www.vtpi.org[2004,September 6]


703<br />

การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพเพื่อพัฒนาหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรตาม<br />

หลักการสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา<br />

THE MANAGEMENT OF PHYSICAL ENVIRONMENT FOR DEVELOPING OF CLINICAL<br />

LABORATORY THROUGH THE HEALTHY WORKPLACE CONCEPT<br />

: CASE STUDY OF PHRAMONGKUTKLAO HOSPITAL<br />

ภิญญนรี สิริสาลี<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย อวยชัย วุฒิโฆสิต<br />

<strong>1.</strong> ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร (Clinical Laboratory) เปนหนวยงานบริการที่สําคัญหนวยหนึ่งของ<br />

โรงพยาบาล เนื่องจากตองทําหนาที่ใหบริการตรวจวิเคราะห ตัวอยางเชน สิ่งสงตรวจจากผูปวย เพื่อรายงานผลที่<br />

ถูกตองใหแพทยสามารถนําไปใชประกอบการดูแลรักษาผูปวยไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ ลักษณะงาน<br />

ของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรจึงเปนงานที่ตองมีทั้งความถูกตอง แมนยํา รวดเร็ว ดังนั้นบุคลากรที่ทํางาน<br />

อยูในหองปฏิบัติการจึงตองทํางานตอเนื่องเปนเวลานาน รวมทั้งยังตองเผชิญกับความเครียดทั้งรางกายและ<br />

จิตใจ จากการทํางานภายใตขอจํากัดและภาวะเรงดวน ดังนั้นการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพที่เหมาะสม<br />

และเอื้อตอการปฏิบัติงานจึงเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งสําหรับหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร แนวคิดสถานที่<br />

ทํางานสงเสริมสุขภาพ (Healthy Workplace) จึงเปนแนวคิดที่นํามาใชในการพัฒนาหองปฏิบัติการเวชศาสตร<br />

ชันสูตร เพื่อเปนหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูปฏิบัติงานและพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยของ<br />

สถานที่ทํางานใหเอื้อตอการเกิดประสิทธิภาพการทํางานอยางตอเนื่อง<br />

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาเปนโรงพยาบาลหนึ่งที่มีบริการทางการแพทยและสภาพแวดลอมทาง<br />

กายภาพที่มีศักยภาพในการพัฒนาเพื่อใหเปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ จากการสํารวจและสัมภาษณ<br />

เบื้องตนพบวาหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา มีองคประกอบและระบบที่มี<br />

ศักยภาพ หากแตไมไดถูกออกแบบเพื่อใหเปนหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรตั้งแตแรก เมื่อถูกใชใหเปนสถาน<br />

ที่ตั้งของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร ทําใหการจัดสถานที่ทํางานยังมีปญหาและอุปสรรค รวมทั้ง<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรมีความตองการที่จะพัฒนาใหเปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ เพื่อคุณภาพ<br />

ชีวิตที่ดีของบุคลากร ซึ่งจะสงผลถึงประสิทธิภาพในการทํางานตอไปในภายหนา<br />

2. วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสําคัญตอการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพสําหรับหองปฏิบัติการ<br />

เวชศาสตรชันสูตร<br />

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสําคัญตอแนวคิดสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ ของหองปฏิบัติการเวช<br />

ศาสตรชันสูตร


704<br />

3. เพื่อศึกษาการบูรณาการหลักการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพและแนวคิด สถานที่ทํางาน<br />

สงเสริมสุขภาพของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร<br />

4. เพื่อศึกษาศักยภาพของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา เพื่อเปน<br />

กรณีศึกษาในการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพเพื่อพัฒนาใหเปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ<br />

5. เพื่อนําเสนอแนวทางการจัดการหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร โรงพยาบาลพระมงกุฎกลา ให<br />

เปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ<br />

3. วิธีดําเนินการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาขั้นตอนการทํางานของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรและมาตรฐานการจัดการ<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร<br />

2. ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับปจจัยที่มีความสําคัญตอการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ และ<br />

ที ่มีความสําคัญตอสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ ของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร<br />

3. สรางเครื่องมือเก็บขอมูล เพื่อนํามาเก็บขอมูล โดยการสํารวจพื้นที่และขั้นตอนการปฏิบัติงานของ<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร รวมทั้งการสอบถามผูปฏิบัติการและผูปวย โดยกลุมตัวอยางแบงเปน 2<br />

ประเภท 1) บุคลากรมีจํานวน 45 คนเก็บขอมูลจากบุคลากรทั้งหมดในหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร 2)<br />

ผูปวยที่ใชบริการเฉลี่ยใน 1 วันจํานวน 1,000 คนคํานวณดวยวิธีของ Taro Yamane ไดขนาดกลุมตัวอยางที่<br />

ระดับความเชื่อมั่น 95% จํานวน 286 คน<br />

4. วิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสํารวจ คนควา และสัมภาษณบุคลากรของหองปฏิบัติการเวชศาสตร<br />

ชันสูตร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา<br />

5. ประเมินศักยภาพของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา โดย<br />

เปรียบเทียบกับมาตรฐานการเปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ<br />

4. เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล<br />

<strong>1.</strong> แบบสํารวจเปนแบบฟอรมที่ผูวิจัยใชประกอบการสํารวจเพื่อเก็บขอมูลที่เกี่ยวของกับการจัดการ<br />

สภาพแวดลอมทางกายภาพของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร ตามแนวคิดสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ<br />

การสํารวจนี้ผูวิจัยจะทําการสังเกตลักษณะทางกายภาพและการปฏิบัติงาน รวมทั้งสอบถามขอมูล<br />

2. แบบสอบถาม เปนแบบฟอรมในการเก็บขอมูลเกี่ยวกับขอพิจารณาของหองปฏิบัติการเวชศาสตร<br />

ชันสูตร ตามแนวคิดสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ โดยแบงแบบสอบถามเปน 2 ชุด 1) แบบสอบถามสําหรับ<br />

บุคลากร 2) แบบสอบถามสําหรับผูปวย<br />

5. ขอบเขตของการวิจัย<br />

ทําการศึกษาการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพเพื่อพัฒนาหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรในสวน<br />

ของ หองเจาะเลือด (Phlebotomy Room) หองปฏิบัติการเคมีคลินิก (Clinical Chemistry) หองปฏิบัติการ<br />

จุลทรรศนศาสตรคลินิก (Clinical Microscopy) เพื่อใหเปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ


6. แนวคิดสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ (Healthy Workplace)<br />

องคการอนามัยโลก (WHO) ไดใหคําจํากัดความของสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพไววา สถานที่<br />

ทํางานสงเสริมสุขภาพเปนสถานที่ทํางานที่มีเปาหมายในการปองกัน สงเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของ<br />

บุคลากรในสถานที่ทํางาน ทั้งในดานกายภาพ จิตใจ สังคมและองคกร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสราง<br />

สภาพแวดลอมที่เอื้อตอสุขภาวะและความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน เพื่อใหมั่นใจวาการสงเสริมสุขภาพและการ<br />

ปองกันสุขภาพเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารองคกร สนับสนุนใหเกิดลักษณะการทํางานและการดําเนิน<br />

ชีวิตที่เอื้อตอสุขภาพที่ดี เพื่อใหทุกคนในองคกรมีสวนรวมในการตัดสินใจและ ขยายผลการสงเสริมสุขภาพไปยัง<br />

หนวยงานอื่นภายในและนอกองคกร<br />

แนวคิดหลักในการสรางสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ คือ การปองกันและสงเสริมสุขภาพ โดยมี<br />

พื้นฐานมาจาก การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพเพื่อเอื้อตอการปองกันอันตรายที่เกิดจากการทํางาน และ<br />

ยังสงเสริมกิจกรรมที่กอใหเกิดสุขภาวะตอบุคลากรที่เกี่ยวของทุกภาคสวน<br />

7. ขอพิจารณาการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรที่เปน<br />

สถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ<br />

ขอพิจารณาการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพในหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร เปนหลักการ<br />

พื้นฐานที่มุงเนนการทํางานที่สามารถใหบริการทางการแพทยไดอยางถูกตอง มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ หาก<br />

จะดําเนินการเพื่อใหหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรมีสภาพแวดลอมการทํางานที่ดีและเกิดความปลอดภัยตอ<br />

ผูปฏิบัติงานทั้งดานรางกายและจิตใจแลว จําเปนตองนําแนวคิดสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพมาบูรณาการ<br />

รวมกัน โดยขอพิจารณาการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพในหองปฏิบัติการทางเวชศาสตรชันสูตร เปน<br />

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับมาตรฐานของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรจาก<br />

- มาตรฐานขององคการอนามัยโลก (World Health Organization : WHO)ไดแก Good Clinical<br />

Laboratory Practice (GCLP)<br />

- National Institutes of Health (NIH)<br />

- ISO 15190 Medical Laboratory Requirement for Safety : 2003<br />

- มาตรฐานงานเทคนิคการแพทย 2544 สําหรับหองปฏิบัติการทางการแพทย<br />

- แนวทางการประเมินบริการเทคนิคการแพทยในสถานพยาบาลประเภทที่รับผูปวยไวคางคืน กองการ<br />

ประกอบโลกศิลป<br />

สวนองคประกอบที่สําคัญสําหรับการสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพจาก<br />

- มาตรฐานขององคการอนามัยโลก ไดแก Regional Guidelines for The Development of Health<br />

Workplace<br />

- มาตรฐานของไทย ไดแก มาตรฐานของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)<br />

และกองชีวอนามัย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข<br />

จากการศึกษามาตรฐานการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพในหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร<br />

และองคประกอบสําหรับสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ สามารถจะนํามาเปนแนวทางในการจัดการ<br />

สภาพแวดลอมของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรใหเปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ ดังนี้<br />

705


706<br />

7.1 แนวทางดานการบริหารจัดการ<br />

1) นโยบายขององคกร<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรจะตองมีการกําหนดหลักการของการเปนสถานที่ทํางานสงเสริม<br />

สุขภาพไวเปนเปาหมายอยางชัดเจน โดยนโยบายนี้ควรเปดโอกาสใหบุคลากรมีสวนรวม เพื่อใหเปนนโยบายที่<br />

เหมาะสมเปนที่ยอมรับและเปนไปไดในเชิงปฏิบัติ และมีการสื่อสารนโยบายนี้ใหกับบุคลากรโดยทั่วถึง และ<br />

จะตองมีแผนงานรองรับนโยบาย ทั้งดานแผนดานสถานที่ งบประมาณ การติดตาม ประเมินผล อยางสม่ําเสมอ<br />

โดยนโยบายควรครอบคลุมทั้งการบริหารจัดการและการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพ ไดแก แผนงานดาน<br />

ความปลอดภัยของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร แผนงานดานการสงเสริมสุขภาพของหองปฏิบัติการเวช<br />

ศาสตรชันสูตร แผนงานดานการสรางระบบประเมินและตรวจติดตาม<br />

2) การจัดการองคกร<br />

เปนการจัดการการทํางานของบุคลากรใหเหมาะสมกับงานและระยะเวลาในการทํางาน รวมทั้งมี<br />

จํานวนบุคลากรเพียงพอตอการทํางาน เชน มีการปรับเปลี่ยนการเขาเวรที่เหมาะสมกับประสิทธิภาพและ<br />

ความสามารถของบุคลากร รวมถึงการเพิ่มพูนทักษะของบุคลากร ประกอบกับการพัฒนาสุขภาพเพื่อใหบุคลากร<br />

มีคุณภาพชีวิตที่ดีในการทํางาน โดยเฉพาะอยางยิ ่งบุคลากรที่มีโรคเรื้อรังที่เกิดจากการทํางาน<br />

3) การจัดการความเสี่ยง<br />

มีการบริหารความเสี่ยงเพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นและการจัดการกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแลว โดยมี<br />

การจัดเตรียมเครื่องมือปองกันอันตรายทั้งสวนรวมและสวนบุคคล รวมทั้งมีแผนปองกันและจัดการกับอุบติเหตุที่<br />

จะเกิดขึ้น โดยความเสี่ยงที ่อาจเกิดขึ้นจากการทํางานในหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร ไดแก ความเสี่ยงตอ<br />

อันตรายจากสารเคมี ความเสี่ยงตออันตรายที่เกิดจากกระแสไฟฟา ความเสี่ยงตออันตรายที่อาจเกิดไฟไหมและ<br />

ความเสี่ยงตออันตรายจากการติดเชื้อ นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงผลกระทบตอสภาพแวดลอมภายนอกดวย<br />

7.2 แนวทางดานสภาพแวดลอม<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรควรใหความสําคัญตอการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพซึ่ง<br />

ครอบคลุมถึงสถานที่ การใชเทคโนโลยี การเลือกใชวัสดุอุปกรณ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิธีการปฏิบัติงาน ที่เอื้อ<br />

ตอสุขภาพของบุคลากร โดยกําหนดเปนนโยบาย แผนงานและกิจกรรมที่ลดความเสี่ยงตออันตรายจากทั้งปจจัย<br />

ทางกายภาพและลดความเสี่ยงจากปจจัยทางสังคมวิทยา<br />

1) ที่ตั้งและการเขาถึง<br />

ที่ตั้งและการเขาถึงเปนปจจัยที่สงผลตอความสะดวกสบายและความปลอดภัยของผูรับบริการ ซึ่งที่ตั้ง<br />

ของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรควรอยูในพื้นที่ที่สะดวกตอการเขาถึง และควรอยูในบริเวณที่ผูปวยสามารถ<br />

มารับบริการไดอยางรวดเร็ว รวมทั้งตองคํานึงถึงการขนสงสิ่งสงตรวจจากผูปวยในมายังหองปฏิบัติการเวช<br />

ศาสตรชันสูตรดวย โดยปกติในการขนสงสิ่งสงตรวจจําเปนตองใชเวลานอยที่สุด และตองเฝาระวังความเสถียร<br />

ของสิ่งสงตรวจจนกระทั่งถึงเวลาวิเคราะห ความลาชาและปญหาเสถียรภาพของสิ่งสงตรวจและขอผิดพลาดใดๆ<br />

ที่เกิดขึ้นระหวางขนสงจะมีผลตอการวิเคราะห ดังนั้นระยะทางยิ่งสั้นเปนการลดความเสี่ยงลง


707<br />

2) การจัดพื้นที่ใชสอยและเสนทางสัญจร<br />

พื้นที่ใชสอยภายในหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรเปนปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพในการทํางาน<br />

การจัดพื้นที่ใชสอยควรจัดใหถูกตามลําดับการทํางานและมีการแบงพื้นที่ตามระดับความอันตราย รวมทั้งตอง<br />

คํานึงถึงเสนทางสัญจรที่เกิดขึ้นดวย วาการจัดพื้นที่ใชสอยนั้น สงผลตอเสนทางการสัญจรอยางไร ซึ่งจะสงผลตอ<br />

อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นและการเกิดการปนเปอนระหวางสิ่งสงตรวจและขยะอันตรายตางๆ<br />

3) สภาพแวดลอมทางกายภาพ<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรควรมีขนาดพื้นที่ทํางานที่เพียงพอตอการทํางาน และมีการจัด<br />

สภาพแวดลอมซึ่งไดแก ขนาดและองคประกอบของพื้นที่ วัสดุพื้นผิว แสงสวาง การระบายอากาศ ความชื้นและ<br />

อุณหภูมิภายในหอง เสียงรบกวนและการสั่นสะเทือนจากเครื่องวิเคราะห และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ เพื่อ<br />

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการทํางาน ซึ่งเปนสภาพแวดลอมควรถูกสุขลักษณะ รวมทั้งควรมีพื้นที่<br />

พักผอนสําหรับผอนคลายดวย เนื่องจากการทํางานในหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรนั้น ตองเผชิญกับความ<br />

เสี่ยงทั้งทางรางกายและจิตใจ ทางออม<br />

4) ความปลอดภัยและการจัดการขยะ<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรเปนพื้นที่ที่บุคลากรมีความเสี่ยงตออุบัติเหตุและการเกิดโรคหลาย<br />

ประการ เชน การติดเชื้อ การไดรับสารกอมะเร็ง หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรควรมีการกําจัดหรือลดความ<br />

เสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน รวมทั้งควรมีสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานดานความ<br />

ปลอดภัยและสุขอนามัยที่เหมาะสมและเพียงพอ สําหรับขยะอันตรายและขยะติดเชื้อภายในหองปฏิบัติการเวช<br />

ศาสตรชันสูตรนั้น ควรจัดใหมีพื ้นที่สําหรับพักคอยขยะ และไมควรเก็บขยะไวภายในหองปฏิบัติการเวชศาสตร<br />

ชันสูตรเกิน 1 วัน<br />

5) การรองรับการขยายตัวในอนาคต<br />

NIH ไดกําหนดพื้นที่สําหรับการขยายตัวไวรอยละ 25 ของพื้นที่ใชงานทั้งหมดในปจจุบัน<br />

8. ผลการวิเคราะหศักยภาพและปญหาของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร โรงพยาบาลพระมงกุฎ<br />

เกลา<br />

8.1 ศักยภาพและปญหาดานการบริหารจัดการ<br />

1) ศักยภาพและปญหาดานนโยบายองคกร<br />

มีนโยบายหลักของกองทัพบกที่ใหความสําคัญตอสุขภาพของกําลังพล ซึ่งมีนโยบายที่สงเสริมการ<br />

พัฒนาสุขภาพใหกําลังพลปฏิบัติ โดยมีแนวทาง 3 ดาน ไดแก แผนงานดานความปลอดภัย ซึ่งใชนโยบายหลัก<br />

ของโรงพยาบาลเพื่อกําหนดระเบียบปฏิบัติ ทําใหงายตอการควบคุมและตรวจสอบของโรงพยาบาล แผนงาน<br />

ดานการสงเสริมสุขภาพ ซึ่งบุคลากรของหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรไดเห็นถึงความสําคัญในการจัดการ<br />

พื้นที่ใหเหมาะสมกับการทํางาน แตยังไมมีแผนงานดานการสงเสริมสุขภาพที่ชัดเจนในเชิงปฏิบัติ โดยปฏิบัติตาม<br />

นโยบายหลักของกองทัพบก ทําใหบุคลากรไมมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย เพื ่อใหเปนนโยบายที่เหมาะสม<br />

เปนที่ยอมรับและเปนไปไดในเชิงปฏิบัติ ทําใหนโยบายบางสวนไมสามารถปฏิบัติไดจริง<br />

2) ศักยภาพและปญหาดานการจัดการองคกร


การจัดการองคกรสอดคลองกับขอพิจารณาการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพของหองปฏิบัติการ<br />

เวชศาสตรชันสูตรที่เปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ ที่กําหนดใหมีการจัดเวลาการทํางานของบุคลากร การ<br />

คัดเลือกงานใหเหมาะสมกับบุคลากรแตละคน และมีจํานวนบุคลากรเพียงพอตอการทํางาน และยังเห็นถึง<br />

ความสําคัญของการใหบริการโดยมีการขยายเวลาใหบริการ เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูปวย ซึ่งบุคลากรของ<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรมีความพอใจตอการจัดการองคกร แตบุคลากรมีความคิดเห็นในระดับนอยถึง<br />

ปานกลางตอการจัดสวัสดิการในการดูแลสุขภาพของบุคลากร<br />

3) ศักยภาพและปญหาดานการจัดการความเสี่ยง<br />

มีการบริหารความเสี่ยง แนวทางในการปฏิบัติในการปองกันอันตรายที่อาจเกิดจากการทํางานและมี<br />

แนวทางการปองกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ตามแนวทางหลักของโรงพยาบาล ซึ่งมีการควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ<br />

อยางเขมงวด เพื่อปองกันการเกิดอันตราย ทําใหงายตอการควบคุมดูแล ซึ่งบุคลากรของหองปฏิบัติการเวช<br />

ศาสตรชันสูตรมีความพอใจตอการบริหารความเสี่ยงและแผนการจัดการอันตราย และมีความมั่นใจวาสามารถ<br />

ทํางานไดอยางปลอดภัยในหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร แตขาดแนวทางการในการปองกันอันตรายจาก<br />

ไฟฟาที่มีตอบุคลากร เชน ไฟฟาช็อต และไฟฟาดูด ทําใหมีพื้นที่ที่ยังมีความเสี่ยงตอการเกิดไฟฟาดูดอยู<br />

8.2 ศักยภาพและปญหาดานสภาพแวดลอม<br />

1) ศักยภาพและปญหาดานที่ตั้งและการเขาถึง<br />

ที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่เหมาะสมและสอดคลองกับขอพิจารณาการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพของ<br />

หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรที่เปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ ที่กําหนดใหที่ตั้งควรอยูในพื้นที่ที่สะดวก<br />

ตอการเขาถึงของทั้งผูรับบริการและผูใหบริการ ซึ่งแสดงใหเห็นวาที่ตั้งและการเขาถึงมีศักยภาพ สามารถ<br />

ตอบสนองความพึงพอใจของผูปวยทั่วไปไดทุกชวงอายุ อยางไรก็ตามสําหรับผูปวยที่ใชรถเข็นและไมเทานั้น อาจ<br />

มีปญหาบางในชวงเวลาที่มีผูปวยแออัด และยังมีความเสี่ยงตอการเกิดอันตรายสําหรับบุคลากรผูนําสงสิ่งสง<br />

ตรวจจากหอผูปวยใน จากการสังเกตพบวาบางครั้งมีการชนกันระหวางรถเข็นผูปวยและรถเข็นสงสิ่งสงตรวจ ซึ่ง<br />

เสี่ยงตอการหกหรือการแตกของภาชนะบรรจุสิ่งสงตรวจ อันจะทําใหผูปวยหรือบุคลากรไดรับบาดเจ็บและทําให<br />

เกิดการแพรกระจายของเชื้อโรคได โดยผูปวยรอยละ 87.28 มีความเห็นวาสามารถเขาถึงหองเก็บสิ่งสงตรวจได<br />

สะดวกในระดับปานกลางถึงมาก<br />

2) ศักยภาพและปญหาดานการจัดพื้นที่ใชสอยและเสนทางสัญจรภายใน<br />

มีการแบงพื้นที่ใชสอยตามการใชงานสอดคลองกับขอพิจารณา ที่แบงพื้นที่การทํางานเปน 4 สวน<br />

ไดแก พื้นที่เก็บสิ่งสงตรวจ พื้นที่ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร พื้นที่สนับสนุนการวิเคราะหและพื้นที่ธุรการและ<br />

บริการ จากการสัมภาษณพบวาหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร ไดคํานึงถึงลําดับการทํางานเปนหลักในการจัด<br />

พื้นที่ เพื่อใหเสนทางสัญจรเปนไปในทิศทางเดียว (One-Way) และไมมีเสนทางที่ซอนทับกัน อยางไรก็ตามจาก<br />

การวิเคราะหเสนทางสัญจรพบวา ยังมีเสนทางสัญจรที่ซอนทับกันอยู เนื่องจากการจัดพื้นที่ใชสอย และยังมีการ<br />

ใชพื้นที่ปฐมพยาบาลเปนเสนทางขนสงขยะอีกดวยสวนการจัดพื้นที่ตามอันตรายจากการปฏิบัติงาน ยังมีเขต<br />

อันตรายมาก ไดแก พื้นที่เตรียมสิ่งสงตรวจ และพื้นที่ยอมสีสไลด ที่อยูติดกับเขตปลอดภัย และอางยอมสีสไลด<br />

กับโตะวางสไลดอยูหางกัน ซึ่งอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุจากการชนกันและเกิดอันตรายจากการติดเชื้อขึ้นได<br />

708


709<br />

3) ศักยภาพและปญหาดานสภาพแวดลอมทางกายภาพ<br />

- ขนาดและองคประกอบของพื้นที่ - พื้นที่พักคอยมีขนาดไมเพียงพอตอจํานวนผูปวย ทําใหเกิดความ<br />

แออัดบริเวณหนาหองซึ่งเปนเสนทางสัญจรหลัก โดยผูปวยรอยละ 92.78 มีความเห็นดานความเพียงพอของ<br />

เกาอี้พักคอยในระดับไมเหมาะสมถึงนอย พื ้นที่เจาะเลือดผูปวยทั่วไปมีขนาดและองคประกอบของพื้นที่<br />

สอดคลองกับขอพิจารณาแตรูปแบบเกาอี้ไมเหมาะสมกับผูปวยที่มีรูปรางใหญ สวนพื้นที่เจาะเลือดรถเข็นใชโตะ<br />

และเกาอี้ขนาดเดียวกับผูปวยทั่วไป ทําใหมีผูปวยไมสามารถนํารถเข็นสอดใตโตะได พื้นที่เจาะเลือด VIP มีความ<br />

ลอดคลองกับขอพิจารณา แตผูปวยทั่วไปไมสามารถใชได สวนพื้นที่ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรทุกสวนมีพื้นที่ไม<br />

เพียงพอตอการทํางาน ยกเวนสวนปฏิบัติการโลหิตวิทยา และความสูงของโตะที่ใชยืนทํางานและโตะสําหรับ<br />

กลองจุลทรรศนไมเหมาะสมกับลักษณะการยืนทํางาน แตโตะนั่งทํางานมีขนาดเหมาะสม สวนพื้นที่สนับสนุน<br />

การวิเคราะหและพื้นที่ธุรการและบริการมีขนาดและองคประกอบที่เหมาะสมตอการใชงานสอดคลองกับ<br />

ขอพิจารณา<br />

- วัสดุพื้นผิว - มีความสอดคลองกับขอพิจารณา โดยพื้นปูกระเบื้องยางแบบมวนมีความทนทานตอ<br />

การใชงาน ทําความสะอาดงาย ไมเปนอันตรายหากเกิดการหกลมและมีรอยตอระหวางแผนนอย สามารถเก็บ<br />

รอยตอระหวางแผนได แตบัวเชิงผนังไมทําใหเกิดรอยตอและที่สะสมของฝุนและเชื้อโรค รวมทั้งยังไมทนทานตอ<br />

การใชงาน และไมมีการปูพรมเพื่อความสะดวกและปลอดภัยในการยืนทํางาน เพดานเปนเปนยิปซั่มบอรด โครง<br />

เคราอะลูมิเนียมทีบาร ทําใหงายตอการซอมแซมงานระบบซึ่งอยูใตฝา สําหรับประตูซึ่งเขาสูภายในหอง และ<br />

หนาตางอยูติดกับถนนใหญ หากเปดอาจทําใหเกิดเสียงรบกวนและไดรับฝุนละอองได<br />

- แสงสวาง - แสงสวางเหมาะสมตอการใชงาน และมีแสงจากธรรมชาติแตไมทั่วทั้งหอง ซึ่งแสง<br />

ธรรมชาติและทัศนียภาพภายนอกเปนปจจัยที่สามารถชวยลดความเครียดจากการทํางานได<br />

- อุณหภูมิ - อยูในชวงที่เหมาะสม คือ ระหวาง 20-25 O C แตมีสวนพื้นที่พักคอย สวนเครื่องวิเคราะห<br />

อัตโนมัติและสวนรายงานผลของสวนปฏิบัติการเคมีคลินิก ในชวงเวลาที่มีการทํางานเรงดวน มีอุณหภูมิสูงกวา<br />

ชวงที่เหมาะสมเล็กนอย<br />

- การระบายอากาศ - ใชระบบปรับอากาศแบบ Central Air มีอัตราการระบายอากาศในพื้นที่เก็บสิ ่ง<br />

สงตรวจเฉลี่ย 3.85 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมงตอตารางเมตร สวนพื้นที่อื่นๆมีอัตราการระบายอากาศเฉลี่ย 6.95<br />

ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมงตอตารางเมตร อยูในอัตราที่เหมาะสม แตมีสวิตชปดเปดรวมอยูที่เดียว ทําใหไมสามารถ<br />

แยกเปดได และไมมีการดูดอากาศออกสูภายนอกทําใหเกิดการสะสมของเชื้อโรคและสารเคมี<br />

4) ศักยภาพและปญหาดานความปลอดภัยและการจัดการขยะ<br />

- ความปลอดภัยจากอันตรายที่เกิดสารเคมี - มีการจัดทําแผนและคูมือการปฏิบัติงานทางเคมีอยาง<br />

ปลอดภัย เจาหนาที่ทุกคนตองรูตําแหนงที่เก็บเอกสาร และขอมูลอื่นๆของสารเคมีที่ใชกัน ภาชนะบรรจุสารเคมี<br />

ทุกภาชนะตองมีปายสารเคมีและระบุอันตรายของสารที่บรรจุนั้น ผู ปฏิบัติงานทุกคนตองผานการอบรมวิธีการ<br />

ปฏิบัติงานอยางปลอดภัย และมีอุปกรณควบคุมภัยอันตรายสวนตัว (personal protective equipment , PPE)<br />

อยางไรก็ตามยังทีเจาหนาที่บางสวนที่ไมไดปฏิบัติตามขอกําหนด<br />

- ความปลอดภัยจากอันตรายที่เกิดจากกระแสไฟฟา - มีการจัดการดานความปลอดภัยจากอันตรายที่<br />

เกิดจากกระแสไฟฟา สอดคลองกับขอพิจารณาการ แตยังมีพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากไฟฟา


ไดแก บริเวณที่มีการใชปลั๊กพวงตอกับเครื่องวิเคราะหอัตโนมัติ และอางน้ําที่ถูกใชเปนที่วางถังสําหรับทิ้งสารเคมี<br />

จากเครื่องวิเคราะหอัตโนมัติในสวนปฏิบัติการโลหิตวิทยา ซึ่งมีสายไฟจากเครื่องวิเคราะหอัตโนมัติพาดผาน<br />

- ความปลอดภัยจากอันตรายที่เกิดจากไฟไหม - มีการกําหนดการจัดการดานอันตรายจากไฟไหม<br />

สอดคลองกับขอพิจารณาการ และมีอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟไหมตามขอกําหนด แตขาดไฟฉุกเฉิน<br />

รวมทั้งการติดตั้งถังดับเพลิงมือถือ (Fire Extinguisher) ไมถูกตอง ซึ่งควรสูงจากพื้น 1-<strong>1.</strong>5 เมตร และในพื้นที่เก็บ<br />

สิ่งสงตรวจไมมีถังดับเพลิงมือถือ รวมทั้งไมมีการจัดการระบบระบายอากาศที่ดีเพื่อปองกันการสะสมของแกส<br />

- ความปลอดภัยจากอันตรายที่เกิดจากการติดเชื้อ - มีแนวทางปฏิบัติสําหรับอันตรายที่เกิดจากติด<br />

เชื้อ แตไมมีการควบคุมการติดเชื้อในระดับความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Level : BSL) ซึ่งกําหนดใหมี<br />

ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพในระดับ BSL 2 เปนอยางต่ํา ทําใหเปนอันตรายตอบุคลากร และยังมีอุปกรณที่<br />

ใชแลวถูกทิ้งอยูตามโตะอีกดวย ซึ่งอาจกอใหเกิดการแพรกระจายของเชื้อโรคได<br />

5) ศักยภาพและปญหาดานการรองรับการขยายตัวในอนาคต<br />

จากการสํารวจพบวาปจจุบันไมมีพื้นที่รองรับการขยายตัวในอนาคต ถึงแมจะมีแนวทางในการหาพื้นที่<br />

เพื่อขยายตัว แตเปนแคเพียงการหาพื้นที่สําหรับสวนพักคอยที่มีขนาดไมเพียงพออยูแลว สวนพื้นที่ปฏิบัติการ<br />

ทางวิทยาศาสตรไมสามารถขยายตัวไดเลย ซึ่งหากเกิดการพัฒนาของเชื้อโรคทําใหเกิดขอจํากัดมากขึ้น ทําให<br />

วิธีการปฏิบัติการและเครื่องมือบางอยางเปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงบุคลากร ทําใหการทํางานในกลุมเปลี่ยนไป<br />

พื้นที่เดิมจึงไมเหมาะสมกับการทํางาน การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม อาจเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่<br />

ภายนอกและการเปลี่ยนแปลงกระบวนการและเทคโนโลยี ทําใหพื้นที่ในการใชงานเปลี่ยนไป จากเครื่องมือใหมๆ<br />

ซึ่งสงผลใหพื้นที่เดิมไมเหมาะสมกับการใชงาน จะทําใหพื้นที่ศึกษาไมสามารถปรับเปลี่ยนไดอยางเหมาะสม โดย<br />

NIH ไดกําหนดพื้นที่สําหรับการขยายตัวไวรอยละ 25 ของพื้นที่ใชงานทั้งหมดในปจจุบัน<br />

9. สรุปผลและขอเสนอแนะ<br />

จากผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาสภาพแวดลอมทางกายภาพสวนใหญของหองปฏิบัติการเวชศาสตร<br />

ชันสูตร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา มีศักยภาพสอดคลองกับปจจัยที่เอื้อตอการเปนสถานที่ทํางานสงเสริม<br />

สุขภาพ แตก็ยังมีปญหาที่สําคัญตอการใชงานเพื่อเปนสถานที่ทํางานสงเสริมสุขภาพ ทั้งดานการบริหารจัดการ<br />

และดานสภาพแวดลอม โดยดานการบริหารจัดการควรมีการกําหนดขอปฏิบัติในดานการเปนสถานที่ทํางาน<br />

สงเสริมสุขภาพใหชัดเจน สวนดานสภาพแวดลอมควรปรับปรุงปญหาที่พบใหเปนไปตามมาตรฐาน ซึ่งการ<br />

ปรับปรุงมีขอจํากัดที่วา หองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรนี้สรางขึ้นมาแลวบนเนื้อที่จํากัด และสภาพแวดลอม<br />

ทางกายภาพตางๆที่มีอยูเปนสิ่งถาวรยากที่ปรับปรุงหรือทุบทําลาย รวมทั้งหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรตอง<br />

ทํางานตลอด 24 ชั่วโมง ทําใหไมสามารถเปลี่ยนแปลงพื้นที่ในบางสวนได นอกจากนั้นงานวิจัยนี้เปนการยืนยัน<br />

ไดวาการวางแผน การออกแบบ กอนการดําเนินการกอสรางเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่ไมสามารถมองขามได<br />

710


711<br />

บรรณานุกรม<br />

ภาษาไทย<br />

หนังสือ<br />

ฉัตรชัย วิริยะไกรกุล. คูมือการออกแบบหองปฏิบัติการ. พิมพครั้งที่ <strong>1.</strong> กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 255<strong>1.</strong><br />

สุดารัตน มโนเชี่ยวพินิจ และคณะ. Clinical Laboratory Risk Management. 1,000 เลม. พิมพครั้งที่ 2.<br />

กรุงเทพฯ : เอช ที พี เพลส, 2549.<br />

สุดารัตน มโนเชี่ยวพินิจ และคณะ. การประกันคุณภาพ : การบริหารความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ<br />

ชันสูตรโรค. 1,000 เลม. พิมพครั้งที่ <strong>1.</strong> กรุงเทพฯ : เอช ที พี เพลส, 2544.<br />

รัตนา สุกุมลจันทร และคณะ. แนวทางการตรวจประเมินบริการเทคนิคการแพทยในสถานพยาบาล<br />

ประเภทที่รับผูปวยไวคางคืน ฉบับปรับปรุงและพัฒนาครั้งที่ 2. 500 เลม. กรุงเทพฯ : สํานักงาน<br />

กิจการโรงพิมพองคการทหารผานศึก, 255<strong>1.</strong><br />

อวยชัย วุฒิโฆสิต. การออกแบบโรงพยาบาล (General hospital design). พิมพครั้งที่ 3 (ฉบับปรับปรุง).<br />

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 255<strong>1.</strong><br />

ภาษาอังกฤษ<br />

หนังสือ<br />

Conn, L.M. Reducing Burn – out in Clinical Laboratory Shift Worker Utilizing HFE Techniques. QAS<br />

515.41, 2003, July 26<br />

Grone, O. The Budapest Declaration on Health Promotion Hospitals. WHO, Regional Office for<br />

Europe Copenhagen, 1991 ใน. Implementing health promotion in hospital: Manual and selfassessment,<br />

2006.<br />

สื่ออิเล็กทรอนิคส<br />

World Health Organization. Regional Guidelines for The Development of Healthy Workplace.<br />

www.who.int/management/programme/health_promotion/en/index.html, 1999.<br />

National Institutes of Health. Design Policies, Guidelines & Standards.<br />

http://orf.od.nih.gov/PoliciesAndGuidelines, 2009.


712<br />

การจัดการหนวยจายกลาง<br />

PRACTICAL GUIDELINES FOR CENTRAL STERILE SUPPLY DEPARTMENT (CSSD)<br />

IN HOSPITAL<br />

นวพร สุขแกว<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย อวยชัย วุฒิโฆสิต<br />

บทนํา<br />

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการติดเชื้อของผูปวยในโรงพยาบาลนั้น เกิดไดจาก 3 ปจจัย คือ <strong>1.</strong>โฮสท (Host)<br />

คือคนไขหรือผูเกี่ยวของ 2.ตัวเชื้อโรค (Agent) 3. สิ่งแวดลอม (Environment) โดยสิ่งแวดลอมนั้นแบงออกเปน 2<br />

ประเภท คือ สิ่งแวดลอมที่มีชีวิต และสิ่งแวดลอมที่ไมมีชีวิต 1, 2 อยางไรก็ตามปจจัยที่เกิดจากตัวเชื้อโรคและตัว<br />

ผูปวยเองนั้น ไมสามารถควบคุมไดมากนัก แตปจจัยอยางวิธีการปฏิบัติตัวในการผาตัด เครื่องมือและอุปกรณ<br />

การแพทยที่ใชในการผาตัดนั้น สามารถควบคุมเพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อได โดยเครื ่องมือและอุปกรณ<br />

การแพทยที่ใชในการผาตัดนั้นจะตองผานการทําความสะอาดและทําใหปราศจากเชื้อกอนนํามาใชกับผูปวย ซึ่ง<br />

หนวยงานที่รับผิดชอบกิจกรรมเหลานี้คือหนวยจายกลาง<br />

หนวยจายกลางเปนหนวยงานสําคัญหนวยงานหนึ่งที่มีหนาที่รับผิดชอบในการจัดเตรียมเครื่องมือและ<br />

อุปกรณทางการแพทยใหมีคุณภาพและปราศจากเชื้อ โดยนําเครื่องมือฯที่ใชแลวเขาสูกระบวนการ ลาง ทําความ<br />

สะอาด จัดหอ อบทําลายเชื้อและทําใหปราศจากเชื้อดวยวิธีตางๆ เก็บรักษา และจําหนาย โดยวิธีการทําความ<br />

สะอาดเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยนั้น แบงตามความเสี่ยงตอการติดเชื้อ 3 ระดับ คือ Critical items,<br />

Semi-critical items และ Non-critical items เครื่องมือฯที่ผานการทําลายเชื้อแลวจะไมกอใหเกิดการติดเชื้อใน<br />

ผูปวยจากการใชเครื่องมือฯนั้น<br />

หนวยจายกลางที่มีอุปสรรคและมีการจัดการที่ขาดประสิทธิภาพนั้น เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเครื่องมือ<br />

และอุปกรณทางการแพทยติดเชื้อโรค หากนําเครื่องมือและอุปกรณเหลานั้นมาใชกับผูปวยอาจกอใหอันตรายกับ<br />

ผูปวยได ซึ่งสงผลตอความเชื่อมั่นของประชาชนที่จะเขารับการรักษาจากโรงพยาบาล และสงผลกระทบตอ<br />

สุขภาพอนามัยและความสูญเสียทางทางเศรษฐกิจทั้งของผูรับบริการ ผูใหบริการ โรงพยาบาล และสังคม<br />

สวนรวม<br />

1<br />

สมหวัง ดานชัยวิจิตร, โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection) (กรุงเทพฯ: โครงการตํารา-ศิริราช คณะ<br />

แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2529)<br />

2 กรุณา คุณะวรรณ, การติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตําแหนงผาตัด และปจจัยที่เกี่ยวของในโรงพยาบาลเลิดสิน<br />

กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547)


ดังนั้นหนวยจายกลาง ควรเปนหนวยที่มีการวางแผน ออกแบบ จัดแบงพื้นที่ ระบบการสัญจรที่<br />

เหมาะสมกับลักษณะการทํางาน รวมระบบบริหารจัดการที่เหมาะสมจะเปนสวนเสริมใหโรงพยาบาลมีการ<br />

บริการที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงตอการติดเชื้อ ลดขั้นตอนการทํางานที่ซ้ําซอน ตลอดจนลด<br />

คาใชจาย และเพื่อใหการปฏิบัติงานอยูในมาตรฐานเดียวกัน<br />

วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

เพื่อศึกษามาตรฐานการจัดการหนวยจายกลางทั้งในและตางประเทศ ในเรื่องการจัดผังพื้น, ทางเขา –<br />

ออกของเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย, ทางเขา - ออกของบุคลากรที่ปฏิบัติงานภายในหนวยจายกลาง,<br />

ทางเขา – ออกของบุคลภายนอก และลําดับขั้นตอนของเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยที่ถูกสงเขามาที่<br />

หนวยจายกลาง, ไดรับการทําใหปราศจากเชื้อ จนกระทั่งนําไปเก็บรักษาไวเพื่อรอแจกจาย<br />

ขั้นตอนการศึกษาและวิเคราะหขอมูล<br />

การศึกษาครั้งนี้เลือกใชทฤษฎีวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดการหนวยจายกลาง โดย<br />

แบงเปนมาตรฐานที่ใชในประเทศไทยและมาตรฐานสากล ไดแก<br />

1) มาตรฐานโรงพยาบาลที่เกี่ยวของกับหนวยจายกลางที่ใชในประเทศไทย<br />

- มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราช<br />

สมบัติครบ 60 ป (2549) โดยสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาล<br />

- กฎหมายที่เกี่ยวของกับสถานพยาบาล ไดแก พระราชบัญญัติสถานพยาบาล<br />

2541 และกฎกระทรวงตางๆ<br />

2) มาตรฐานสากลระดับโลก<br />

- มาตรฐานโรงพยาบาลนานาชาติของสหรัฐอเมริกา (JCI)<br />

- มาตรฐานขององคการอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ไดแก<br />

Practical Guidelines for Infection Control in Health Care Facilities และ<br />

Prevention of hospital-acquired infections ( A practical guide 2nd edition)<br />

การเลือกโรงพยาบาลที่จะเปนกลุมตัวอยางในการวิจัย เลือกจากโรงพยาบาลในประเทศไทย ทั้งใน<br />

ภาครัฐและเอกชน ซึ่งปจจุบันขอมูลจากสํานักงานนโยบายและยุทธศาสตร ป 2551 พบวามีสถานบริการ<br />

สาธารณะสุขในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณะสุขทั้งสิ้น 10,453 แหงทั่วประเทศ และขอมูลจาก<br />

สํานักงานสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ ป 2552 พบวามีสถานพยาบาล/โรงพยาบาลเอกชน ใน<br />

ประเทศไทย ทั้งสิ้น 332 แหง หลังจากนั้นทําการคัดเลือกกลุมตัวอยางจากโรงพยาบาลขนาดตั้งแต 150 เตียงขึ้น<br />

ไป โดยใชการคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบไมอิงทฤษฎีความนาจะเปน (Non-Probability Sampling) ใชการเลือก<br />

แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยแบงตามขนาดจํานวนเตียง ดังนี้<br />

1) โรงพยาบาลในมหาวิทยาลัยและโรงเรียนแพทยของคณะแพทยศาสตรหรือวิทยาลัย<br />

แพทยศาสตรตางๆ ซึ่งสวนใหญสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยเปนศูนยบริการทางการแพทยระดับตติยภูมิ<br />

(Tertiary Care) มีอยูทั้งหมด 12 แหง เลือกมาจํานวน 2 แหง ไดแก ขนาด 1500 เตียงขึ้นไป จํานวน1 แหง และ<br />

ขนาด 1000-1500 เตียง จํานวน1 แหง<br />

713


714<br />

2) โรงพยาบาลศูนย (รพศ.) เปนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเปนโรงพยาบาล<br />

ประจําจังหวัดประจําภูมิภาคที่มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) มีจํานวนเตียงประมาณ 500<br />

เตียง มีอยูทั้งหมด 25 แหง เลือกมา 1 แหง<br />

3) โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) เปนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเปน<br />

โรงพยาบาลประจําจังหวัดทั่วไปหรือโรงพยาบาลประจําอําเภอขนาดใหญที่มีขีดความสามารถระดับทุติยภูมิ<br />

(Secondary Care) มีจํานวนเตียง 120 - 500 เตียง มีอยูทั้งหมด 64 แหง เลือกมา 1 แหง<br />

4) โรงพยาบาลที่จัดตั้งโดยเอกชน มีทั้งที่เปนบริษัทจํากัด และบริษัทมหาชนจํากัดดวย<br />

โรงพยาบาลเอกชนบางแหงเปนโรงพยาบาลเฉพาะดาน โดยเลือกเฉพาะโรงพยาบาลที่มีจํานวนเตียง 250-500<br />

เตียง ทั้งหมดมีอยู 21 แหง (ขอมูลจาก กองประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ณ 30 กันยายน<br />

2552) เลือกมา 2 แหง<br />

ผลการศึกษา<br />

จากการศึกษาขอมูลจากกลุมตัวอยาง พบวา หนวยจายกลางสวนใหญมีการแบงเขตสะอาด เขต<br />

สกปรก และเขตปราศจากเชื้อครบแตไมชัดเจนในดานการใชงาน เนื่องจากมีพื้นที่บางสวนใชรวมกันระหวาง เขต<br />

สะอาดและเขตปราศจากเชื้อ และที่ไมเหมาะสมที่สุดคือมีการใชพื้นที่ในเขตสะอาดรวมกับพื้นที่เขตสกปรก และ<br />

ยังพบวามีปญหาในเสนทางสัญจรภายในหนวยจายกลางที่ทับซอนกัน ดังนั้นจึงจะขออภิปรายดังตอไปนี้<br />

<strong>1.</strong> พื้นที่ที่ทําการศึกษาวิจัย<br />

สามารถสรุปขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลกลุมตัวอยาง ดังตารางตอไปนี้<br />

ตารางที่ <strong>1.</strong>1 ขอมูลลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่ทําการศึกษาวิจัย<br />

โรงพยาบาล ขนาดของโรงพยาบาล พื้นที่หนวยจายกลาง จํานวนหองผาตัด เนื้อที่ของ<br />

(เตียง) (ตารางเมตร) (หอง) โรงพยาบาล(ไร)<br />

A 2,268 2,400 60 73<br />

B 1,439 1,260 10 136<br />

C 555 350 8 53<br />

D 150 450 7 23<br />

E 391 360 10 23<br />

F 510 200 7 20<br />

พิจารณาขนาดของโรงพยาบาลตอพื้นที่หนวยจายกลาง จากตารางที่ <strong>1.</strong>1 จะเห็นไดวาจํานวนเตียงตอ<br />

พื้นที่หนวยจายกลาง มีขนาดใกลเคียงกันเปนสัดสวน ประมาณ 1:1 ยกเวนโรงพยาบาล D ซึ่งจํานวนเตียงตอ<br />

พื้นที่หนวยจายกลางเปน 1:3 เนื ่องจากหนวยจายกลางนั้นถูกกําหนดขนาดพื้นที่ใชสอยจากแบบกอสรางอาคาร<br />

หนวยจายกลางสําหรับโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาลจังหวัดซึ่งออกแบบไวสําหรับโรงพยาบาลที่มีเตียง<br />

ผูปวยใน 300-500 เตียง จึงทําใหมีพื้นที่หนวยจายกลางมาก โรงพยาบาล F มีสัดสวนจํานวนเตียงตอพื้นที่หนวย<br />

จายกลาง เปน 1: 0.4 ซึ่งพื้นที่หนวยจายกลางตอจํานวนเตียงนอยกวาเกินครึ่งเนื่องจากพื้นที่ปฏิบัติงานบางสวน<br />

ไมไดอยูในหนวยจายกลาง เชน หองผา (Linen room) หองเตรียมถุงมือ และหองเก็บวัสดุปราศจากเชื้อชนิดใช<br />

ครั้งเดียวแลวทิ้ง (Sterile disposables store) ปจจุบันพบวาพื้นที่หนวยจายกลางของโรงพยาบาลมีไมพอเพียง


715<br />

เนื่องจากโรงพยาบาลมีการขยายตัวมาก จึงไดมีการกอสรางหนวยจายกลางแหงใหมขึ้น เพื่อรองรับการขยายตัว<br />

ในอนาคตซึ่งอยูในระหวางดําเนินการ<br />

ขอเสนอแนะ<br />

จากการสัมภาษณผูใชงานระบุวาพื้นที่หนวยจายกลางสวนใหญยังไมพอเพียงกับการใชงาน ดังนั้น<br />

สรุปไดวา จํานวนเตียงตอพื้นที่หนวยจายกลาง ควรเปน 1:1 หรือมากกวา เพื่อรองรับการขยายตัวของ<br />

โรงพยาบาลในอนาคต<br />

2. ทางเขา-ออกของเครื่องมือและอุปกรณการแพทยและบุคลากร<br />

สามารถสรุปขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลกลุมตัวอยาง ดังตารางตอไปนี้<br />

ตาราง 2.1 การแยกทางเขา-ออกของเครื่องมือและอุปกรณการแพทยและบุคลากรโรงพยาบาลทางเขา-ออกเขต<br />

สกปรกและเขตสะอาด<br />

โรงพยาบาล<br />

ทางเขา-ออกเขตสกปรกและเขตสะอาด<br />

อุปกรณ (Work flow)<br />

บุคลากร (People flow)<br />

แยก ไมแยก แยก ไมแยก<br />

A - - <br />

B - - <br />

C - -<br />

D - -<br />

E - - <br />

F - -<br />

จากตารางที่ 2.1 สรุปไดดังนี้<br />

หนวยจายกลางรอยละ 100 มีการแยกทางเขา-ออกของอุปกรณเขตสกปรกและเขตสะอาด โดยมี<br />

ทางเขาอุปกรณสกปรกอยูภายในเขตสกปรกและทางออกของอุปกรณปราศจากเชื้ออยูในเขตปราศจากเชื้อ,<br />

หนวยจายกลางรอยละ 50 มีการแยกทางเขา-ออกของบุคลากรที่ปฏิบัติหนาที่ในเขตสกปรก และเขตสะอาด<br />

ออกจากกัน<br />

ขอเสนอแนะ<br />

ทางเขาอุปกรณสกปรกตองแยกกันกับทางสงของปราศจากเชื้อ โดยเปนไปใน ลักษณะ one way จาก<br />

เขตสกปรกไปสูเขตสะอาด เพื่อปองกันการปนเปอน, ทางเขา-ออกของบุคลากรนั้น บุคลากรที่ปฏิบัติงานในเขต<br />

สะอาดและเขตสกปรกสามารถใชทางเขารวมกันได แตควรมีโถงทางแยกไปยังพื้นที่ปฏิบัติงานเพื่อปองกันการ<br />

แพรเชื้อโรค แตวิธีที่ดีที่สุดคือแยกทางเขาของบุคลากรเขตสะอาดและบุคลากรเขตสกปรกออกจากกัน, ทางเขา<br />

อุปกรณสกปรกไมควรใชรวมกันกับทางเขาบุคลากรเขตสกปรก เพื่อหลีกเลี่ยงการติดเชื้อจากการไมไดใสชุด<br />

ปองกัน, ทางเขาบุคลากรเขตสะอาดไมควรใชรวมกันกับทางรับของปราศจากเชื้อ เพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปอนใน<br />

หอชุดอุปกรณที่ปราศจากเชื้อ


716<br />

3. การเขาถึงของบุคลากรระหวาง เขตสกปรก เขตสะอาด และเขตปราศจากเชื้อ<br />

สามารถสรุปขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลกลุมตัวอยาง ดังตารางตอไปนี้<br />

ตาราง 3.1 การเขาถึงของบุคลากรระหวาง เขตสกปรก เขตสะอาด และเขตปราศจากเชื้อ<br />

การเขาถึง เขตสกปรก เขตสะอาด และเขตปราศจากเชื้อ<br />

โรงพยาบาล เขตสกปรก-เขต<br />

สะอาด<br />

เขตสะอาด-เขต<br />

ปราศจากเชื้อ<br />

เขตสกปรก-เขต<br />

ปราศจากเชื้อ<br />

A * <br />

B <br />

C * <br />

D * <br />

E * <br />

F <br />

หมายเหตุ : * หมายถึง มีการกั้นพื้นที่ระหวางเขตสะอาดกับเขตปราศจากเชื้อชัดเจน แตตัวบุคลากรที่ปฏิบัติ<br />

หนาที่ในเขตปราศจากเชื้อตองผานบริเวณเขตสะอาดไปกอนจึงจะเขาไปปฏิบัติงานในเขตปราศจากเชื้อได ซึ่งไม<br />

เหมาะสม<br />

จากตารางที่ 3.1สรุปไดดังนี้<br />

หนวยจายกลางรอยละ 84 บุคลากรที่ปฏิบัติงานในเขตสกปรกไมสามารถเขาถึงเขตสะอาดได<br />

หนวยจายกลางรอยละ 16 บุคลากรที่ปฏิบัติงานในขตสะอาดไมสามารถเขาถึงเขตปราศจากเชื้อได<br />

หนวยจายกลางรอยละ 100 บุคลากรที่ปฏิบัติงานในเขตสกปรกไมสามารถเขาถึงเขตปราศจากเชื้อได<br />

จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา หนวยจายกลางทั้งหมดมีการแยกเขตสกปรกและเขตปราศจากเชื้อออก<br />

จากกันอยางชัดเจน บุคลากรในแตละเขตไมสามารถเขาถึงกันได ซึ่งทุกโรงพยาบาลปฏิบัติไดถูกตองแลว<br />

สําหรับเขตสกปรกและเขตสะอาดมีหนวยจายกลางเพียง 1 แหงที่ บุคคลากรในเขตสกปรก สามารถ<br />

เขาถึงเขตสะอาดได เนื่องจากบุคลากรที่ปฏิบัติงานในเขตสกปรกนั้น ตองเดินผานเขตสะอาดไปยังบริเวณที่<br />

ปฏิบัติงาน และมีการใชเสนทางรวมกันระหวางเสนทางสงอุปกรณสกปรกและเสนทางบุคลากรเขตสะอาดซึ่งไม<br />

เหมาะสม<br />

สําหรับเขตสะอาดและเขตปราศจากเชื้อนั้น มีการแยกกันโดยการกั้นหองชัดเจนโดยการใชเครื่องทําให<br />

ปราศจากเชื้อ แบบ Double door เนื่องจากเขตปราศจากเชื้อตองมี การควบคุมอุณหภูมิและสภาวะหองที่<br />

ปลอดเชื ้อ แตกลับพบวาบุคลากรที่ปฏิบัติหนาที่ในเขตปราศจากเชื้อตองผานบริเวณเขตสะอาดไปกอนจึงจะเขา<br />

ไปปฏิบัติงานในเขต ปราศจากเชื้อได ซึ่งเขตสะอาดนั้นสวนใหญยังไมไดปราศจากเชื้อ ฉะนั้นการเดินผาน<br />

บริเวณที่ยังไมปราศจากเชื้อ เขาไปสูบริเวณที่ปราศจากเชื้อ จะมีโอกาสนําเชื้อโรคเขาไปสูเขตปราศจากเชื้อได


717<br />

ขอเสนอแนะ<br />

เขตสกปรก เขตสะอาด และเขตปราศจากเชื้อนั้น ควรมีการแบงแยกอยางชัดเจน และไมควรให<br />

บุคลากรที่ปฏิบัติหนาที่ในเขตใดเขตหนึ่งขามไปยังเขตใดเขตหนึ่ง วิธีที่เหมาะสมในการนําอุปกรณขามเขต คือ<br />

การสงอุปกรณผานทางชองสงของ หรือ ผานทางการใชเครื่องลางอุปกรณอัติโนมัติและเครื่องทําใหปราศจากเชื้อ<br />

แบบ Double door แทน<br />

บุคลากรไมควรสัญจรขามเขตกัน ควรมีการแบงพื้นที่ปฏิบัติงานใหชัดเจน<br />

4. การรับอุปกรณที่มาจากแผนกผาตัด และการรับอุปกรณฝากนึ่ง<br />

สามารถสรุปขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลกลุมตัวอยาง ดังตารางตอไปนี้<br />

ตาราง 4.1 การรับอุปกรณที่มาจากแผนกผาตัด และ การรับอุปกรณฝากนึ่ง<br />

โรงพยาบาล อุปกรณที่รับมาจากแผนกผาตัด อุปกรณฝากนึ่ง<br />

ลาง+หอมาแลว ไมลาง<br />

รับฝากไปทําให<br />

ปราศจากเชื้อ<br />

ไมรับ<br />

A - -<br />

B - -<br />

C * - -<br />

D N/A N/A -<br />

E N/A N/A N/A N/A<br />

F - -<br />

หมายเหตุ : * หมายถึง บุคลากรจากแผนกผาตัดเปนผูนําอุปกรณสกปรกมายังหนวยจายกลาง และทําการลาง<br />

จัดชุด และหออุปกรณเองในพื้นที่หนวยจายกลาง และกลับออกไป โดยสงหอชุดอุปกรณเหลานั้นใหบุคลากร<br />

หนวยจายกลางไปทําใหปราศจากเชื้อตอไป ดังนั้นจึงไมนํามารวมในการคํานวนรอยละของกิจกรรม<br />

จากตารางที่ 4.1สรุปไดดังนี้<br />

หนวยจายกลางรอยละ 75 ไมไดทําหนาที่ลางอุปกรณสกปรกและหอชุดอุปกรณจากแผนกผาตัด<br />

หนวยจายกลางรอยละ 100 รับอุปกรณฝากนึ่งจากแผนกอื่น ๆ<br />

จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา หนวยจายกลางทุกหนวยงาน รับอุปกรณฝากนึ่งจากแผนกอื่นๆ แตไมมี<br />

พื้นที่รับฝากของนึ่งที่ชัดเจน เนื่องจากอุปกรณฝากนึ่งเปนอุปกรณที่ผานการลางทําความสะอาด จัดชุด และหอ<br />

ชุดอุปกรณมาแลว จึงไมควรใหมีเสนทางทับซอนกับเขตสกปรก และหนวยจายกลางมากกวาครึ่ง ไมไดทําหนาที่<br />

ลางและหออุปกรณจากแผนกผาตัด<br />

ขอเสนอแนะ<br />

ควรมีการคํานึงถึงพื้นที่และตําแหนงบริเวณรับฝากของนึ่งที่ไมปะปนกับเขตสกปรกในหนวยจายกลาง<br />

ขอเสนอแนะสําหรับแนวทางการจัดผังพื้นหนวยจายกลางสําหรับโรงพยาบาลทั่วไป<br />

<strong>1.</strong> แนวทางการจัดเสนทางไหลเวียนของเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย<br />

การจัดเสนทางไหลเวียนของเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยควรเปนไปในลักษณะ ONE WAY


718<br />

จากการศึกษาพบวา ทุกๆหนวยจายกลางมีการรับของฝากนึ่งจากแผนกตางๆ แตไมมีพื้นที่และเสนทางกําหนด<br />

ไว ดังนั้น จึงเสนอใหมีพื้นที่และเสนทางรับฝากของนึ่ง(Clean receiving) โดยสามารถเขาถึงไดโดยตรงยังบริเวณ<br />

พักชุดอุปกรณกอนเขาเครื่อง ทําใหปราศจากเชื้อ เนื่องจากของฝากนึ่งนั้นไดมีการทําความสะอาด จัดเซ็ทและหอ<br />

ชุดอุปกรณมาเรียบรอยแลว<br />

โดยเสนทางสัญจรของอุปกรณทั้งหมด จะเริ่มจากเขตสกปรกไปยังเขตสะอาดซึ่งเปนไปตาม<br />

หลักการทั่วไปที ่กําหนดไว<br />

ภาพที่ <strong>1.</strong>1 ลักษณะการไหลเวียนของเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยภายในหนวยจายกลาง<br />

ภาพที่ <strong>1.</strong>2 แผนผังการไหลเวียนของเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยภายในหนวยจายกลาง


719<br />

จากภาพที่ <strong>1.</strong>2 เสนอใหมีเสนทางสําหรับสงอุปกรณ 2 เสนทาง คือ<br />

<strong>1.</strong> เสนทางอุปกรณสกปรก<br />

2. เสนทางของฝากนึ่ง<br />

โดยใหใชเสนทางทั้งสองแยกกัน โดยเสนทางอุปกรณสกปรก ใหเขาทางบริเวณเขตสกปรกในสวนของ<br />

พื้นที่รับเครื่องมือและอุปกรณที่ใชแลวหอง (Soiled Reception) และของฝากนึ่ง ใหเขาทางบริเวณเขตสะอาด<br />

โดยผานทางโถงทางเขาเขตสะอาดเพื่อไปยังสงยังบริเวณรับฝากของนึ่ง (Clean receiving)เมื่ออุปกรณทั้งหมด<br />

ถูกทําใหปราศจากเชื้อแลว จะนําไปเก็บไวยังหองเก็บของ ปราศจากเชื้อ เพื่อแจกจายที่บริเวณแจกจายชุด<br />

อุปกรณ<br />

2.แนวทางการจัดทางเขา-ออกและเสนทางสัญจรบุคลากร<br />

เนื่องจากปจจุบันหนวยจายกลางหลายแหง มีจัดพื้นที่ทางเขา-ออกไมชัดเจนทําใหมีการสัญจรทับ<br />

เสนทางกันระหวางเขตสกปรกและเขตสะอาด จึงขอเสนอแนะเสนทางที่เหมาะสมตามผังตอไปนี้<br />

ภาพที่ 2.1 แผนผังทางเขา-ออกและเสนทางสัญจรของบุคลากรภายในหนวยจายกลาง<br />

จากภาพที ่ 2.1 เสนอใหมีแยกทางเขา-ออกหนวยจายกลางเพื่อปองกันการปะปนกันระหวางบุคคล<br />

ภายนอกและบุคลากรหนวยจายกลาง โดยแยกทางเขาสําหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนปฏิบัติงาน กับ<br />

ทางเขาสําหรับบุคลากรในสวนสํานักงานและสําหรับเจาหนาที่จากแผนกอื่นมาสงของฝากนึ่งหรือมาสงอุปกรณ<br />

การแพทยอื่นๆโดยที่บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนปฏิบัติงานจะมีการแยกหอง Staff locker clean และ Staff<br />

locker soiled เพื่อปองกันการปนเปอน เมื่อเปลี่ยนเสื้อผาสําหรับปฏิบัติงาน สามารถเขาถึงยังพื้นที่ปฏิบัติงานได<br />

อยางอิสระโดยแยกเปนเขตสะอาด ไดแก บริเวณจัดเตรียมชุดและหออุปกรณ (Prep/ sterilization area) บริเวณ


720<br />

หองนึ่ง (Sterile area) เขตเก็บของปราศจากเชื้อ ไดแก หองเก็บของปราศจากเชื้อ (Sterile store) และเขต<br />

สกปรก ไดแก บริเวณลางทําความสะอาดเครื่องมือ (Decontaminate area),<br />

สําหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนสํานักงานและผูมาติดตอ สงของฝากนึ่งและสงวัสดุทางการแพทย<br />

อื่นๆไมจําเปนตองเปลี่ยนเสื้อผา สามารถเขาถึงพื้นที่การใชงานไดทันที<br />

และเมื่อบุคลากรปฏิบัติงานเสร็จแลวสามารถกลับออกมาเสนทางเดิม<br />

บรรณานุกรมและเอกสารอางอิง<br />

กรุณา คุณะวรรณ. การติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตําแหนงผาตัด และปจจัยที่เกี่ยวของในโรงพยาบาลเลิด<br />

สิน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตรชุมชน<br />

คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.<br />

สมหวัง ดานชัยวิจิตร. โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection). พิมพครั้งที่ <strong>1.</strong> กรุงเทพฯ: โครงการ<br />

ตํารา-ศิริราช คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2529.<br />

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ.). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับ<br />

เฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ป[Online]. 2549. แหลงที่มา:http://www.ha.or.th/<br />

DATAUPDOWN/HAHPHStandardF8.pdf [17 กุมภาพันธ 2553]<br />

เกรียงศักดิ์ เต็งอํานวยและคนอื่น. แนวทางพัฒนางานหนวยจายกลาง. กรุงเทพมหานคร : บริษัทชงเธียร<br />

มารเก็ตติ้ง จํากัด, 255<strong>1.</strong><br />

American Society for Healthcare Central Service Professionals of the American Hospital Association<br />

(ASHCSP). Training Manual for Health Care Central Service Technicians. 5 th ed. CA :<br />

Jossey-Bass A Wiley, 2006.<br />

Joint Commission International. Joint Commission International Accreditation Standards for Hospitals.<br />

3 rd ed. U.S.A.: Department of Publications Joint Commission Resources, 2008.<br />

Rutala, W. A., Weber, D.J., and the Healthcare Infection Control Practices Advisory Committee<br />

(HICPAC). Guideline for Disinfection and sterilization in Healthcare Facilities, 2008 [Online].<br />

2008. Available from:<br />

http://www.cdc.gov/ncidod/dhqp/pdf/guidelines/Disinfection_Nov_2008.pdf[2010, March 3]<br />

World health organization. Practical guidelines for infection control in health care facilities [Online].<br />

2003. Available from: http://www.wpro.who.int/NR/rdonlyres/ 006EF250-6B11-42B4-BA17-<br />

C98D413BE8B8/0/practical_guidelines_infection_ control.pdf [2010, March 3].<br />

World health organization. Prevention of hospital-acquired infections[Online]. 2003. Available from:<br />

http://www.who.int/csr/resources/publications/whocdscsreph200212.pdf [2010, March 31].<br />

Joint Commission International. Joint Commission International Accreditation Standards for Hospitals.<br />

3 rd ed. U.S.A. : Department of Publications Joint Commission Resources, 2008.


721<br />

การออกแบบปรับปรุงหองผาตัดกระดูกโรงพยาบาลรัฐ กรณีศึกษา หองผาตัดกระดูก<br />

โรงพยาบาลหาดใหญ<br />

THE DESIGN IMPROVEMENT OF ORTHOPEDIC SURGERY ROOM.<br />

CASE STUDY: ORTHOPEDIC SURGERY ROOM AT HATYAI HOSPITAL<br />

พิษณุ อนุชาญ<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย อวยชัย วุฒิโฆสิต<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

โรงพยาบาลหาดใหญเปนโรงพยาบาลศูนย ขนาด 640 เตียง ที่ไดรับการรับรองคุณภาพ HA และ ISO<br />

9002 โดยแผนกผาตัดมีหองผาตัดทั้งหมด 6 หอง และมีหองผาตัดกระดูก 2 หอง ซึ่งตามสภาพการใชงานใน<br />

ปจจุบันมีจํานวนไมเพียงพอ ทําใหเกิดปญหาในเรื่องของการชวยเหลือผูปวย ซึ่งทางโรงพยาบาลมีโครงการ<br />

ปรับปรุงหองผาตัดกระดูกเพิ่มเติมในอนาคต โดยการนําหองผาตัดเดิมที่มีอยูนํามาปรับปรุงใหเปนหองผาตัด<br />

กระดูก ดังนั้นเพื่อที่ปรับปรุงหองผาตัดใหถูกตองตามมาตรฐานการออกแบบหองผาตัด โดยทําการศึกษาทั้ง<br />

ทางดานสถาปตยกรรมและระบบวิศวกรรมตางๆที่เกี่ยวของ เพื่อหาขอเสนอแนะในการออกแบบปรับปรุงหอง<br />

ผาตัดกระดูก<br />

วัตถุประสงคของการศึกษา <strong>1.</strong>เพื่อเปรียบเทียบและสรุปเปนมาตรฐานการออกแบบหองผาตัดกระดูก<br />

เพื่อนําไปอางอิงในการปรับปรุง หองผาตัดกระดูกโรงพยาบาลหาดใหญ 2.ศึกษาสภาพปญหาและแนวทางการ<br />

ออกแบบปรับปรุงหองผาตัดกระดูกโรงพยาบาลหาดใหญ ในปจจุบัน รวมถึงแนวทางในการกอสรางปรับปรุงหอง<br />

ผาตัดกระดูกเพิ่มเติมของโรงพยาบาลหาดใหญใหเหมาะสมและปลอดภัยจากการติดเชื้ออีกดวย<br />

สาเหตุที่ทําการกําหนดขอบเขตของการศึกษาแบบเจาะลึกเฉพาะเรื่องภายในหองผาตัดกระดูก เชน<br />

เรื่องการจัดอุปกรณที่จําเปน วัสดุและงานระบบ เพราะจะนําผลที่ไดจากการศึกษานี้เปนแนวทางในการปรับปรุง<br />

การกอสราง การจัดพื้นที่ การกําหนดวัสดุ และงานระบบทั้งหมดชองหองผาตัดกระดูกโรงพยาบาลหาดใหญ<br />

เกณฑการคัดเลือกโรงพยาบาลที่เปนตัวอยางจํานวน 4 โรงพยาบาลซึ่ง 3 โรงพยาบาลเปนโรงพยาบาล<br />

ในเขตกรุงเทพมหานครและ1โรงพยาบาล เปนโรงพยาบาลในสวนภูมิภาค เหตุผลในการเลือกคือตองมีลักษณะ<br />

เปนโรงพยาบาลในโรงเรียนแพทย มีความพรอมทั้งทางดานการรักษาและวิชาการ ผานการรับรองมาตรฐาน HA<br />

และการเลือกโรงพยาบาลที่เปนกรณีศึกษา ผูวิจัยไดทําการเลือกอยางเฉพาะเจาะจง เนื่องจากผูวิจัยทราบถึง<br />

ปญหาสภาพการใชงานในปจจุบัน ในเรื่องหองผาตัดจํานวนไมเพียงพอและทางโรงพยาบาลมีนโยบายในการ<br />

กอสรางปรับปรุงหองผาตัดกระดูก (Ortho3) เพิ่มเติม<br />

การเก็บรวบรวมขอมูลขอมูลที่ใชสําหรับการศึกษาจะแบงออกเปน 2 กลุมคือ ขอมูลเชิงทฤษฏี เปน<br />

การศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ และขอมูลภาคสนามที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางในการลง<br />

พื้นที่ศึกษา การใชแบบสัมภาษณในการเก็บขอมูล รวมทั้งการสังเกตจากผูวิจัยเอง โดยผูวิจัย จากนั้นนํามา


722<br />

วิเคราะหเปรียบเทียบ ทําใหไดผลสรุปเพื่อนําไปเปนมาตรฐานการออกแบบหองผาตัดกระดูก เพื่อเสนอเปน<br />

แนวทางในการออกแบบปรับปรุงการหองผาตัดกระดูกโรงพยาบาลหาดใหญ ตอไป<br />

ผลการศึกษาเบื้องตน<br />

หลังจากไดเปรียบเทียบมาตรฐานการออกแบบหองผาตัดกระดูก จากเอกสารที่คนควากับหองผาตัด<br />

กระดูก โรงพยาบาลทั่วไป ทําใหไดขอสรุปมาตรฐานการออกแบบหองผาตัดกระดูกเพื่อที่จะนําไปเปนมาตรฐาน<br />

การออกแบบปรับปรุงหองผาตัดกระดูก โรงพยาบาลหาดใหญ ดังนี้<br />

สรุปมาตรฐานการออกแบบหองผาตัดกระดูก<br />

งานสถาปตยกรรม<br />

<strong>1.</strong>ขนาดพื้นที่ใชสอยหองผาตัดกระดูก ควรมีพื้นที่ประมาณ 55-74 ตาราเมตร หรือขนาดประมาณ 8x8 เมตร<br />

2.ลักษณะรูปทรงของแบบหองควรเปนหองสี่เหลี่ยมจัตุรัส เนื่องจากเนื่องจากหองผาตัดกระดูกนั้นที่มีรูปทรงเปนหอง<br />

สี่เหลี่ยมจัตุรัส สามารถจัดทาหรือเตียงผาตัดในแนวดานใดดานหนึ่งก็ได คือสามารถจัดทาเตียงไดหลากหลายกวา และ<br />

อุปกรณมีขนาดใหญ เชน ตองสองกลองจะตองใช ไมโครสโคป (Microscope) เครื่องฟูลออโรสโคป หรือเครื่องมืออื่นๆ จะ<br />

มีเนื้อที่ในการวางของ ทําใหใชสอยงายกวาเวลาที่เข็นเตียงเขาไปแลว ถาเปนกรณีหองเปนสี่เหลี่ยมผืนผาเตียงจะถูกบังคับ<br />

ใหอยูดานใดดานหนึ่ง<br />

3.พื้นที่การทํางานของแพทยพยาบาลที่ทําการผาตัดเพื่อสะดวกในการปฏิบัติงานควรมีรัศมีอยางนอย 2-2.5 เมตรโดยรอบ<br />

4.บริเวณที่เปนมุมหองรวมถึงมุมระหวางพื้นหองกับผนังหอง และผนังหองกับเพดานหอง จะตองมีการปาดมุมเปน<br />

ลักษณะโคงเพื่อปองกันไมใหฝุนละอองหรือคราบสกปรกติดตามซอกมุม ทําใหดูแลรักษาและทําความสะอาดไดงาย<br />

5.ความสูงของฝาเพดานไมควรนอยกวา 3 เมตร<br />

พื้น<br />

<strong>1.</strong>วัสดุที่เหมาะสมกับพื้นหองผาตัดคือ ไวนิลที่ไรรอยตอ (seamless vinyl) มีความยืดหยุนและยังลดเสียงที่เกิดขึ้นไดและ<br />

จะทําใหรูสึกสบายเมื่อเดินผาน นอกจากนี้การเสียดสี การเกิดรอยจากการกลิ้งผานหรือปฏิกิริยาจากสารเคมี เพราะวา<br />

แผนไวนิลมีความยืดหยุนจึงทําใหพื้นที่อยูดานใตไมแตกหักหรือเปนรอยไดงายๆ แผนไวนิลที่เปนเนื้อเดียวกันนี้จะมีความ<br />

ยืดหยุนพอที่จะทําใหบริเวณรอยตอระหวางผนังกับพื้นเวาเขาไปได พื้นผิวตองไรตะเข็บหรือรอยตอที่อาจเปนที่สะสมของ<br />

ของเหลว หรือแหลงเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรียดวย<br />

2.ผิวเปนวัสดุเรียบ ไมมีรอยตอ ไมมีรูพรุน เพื่อปองกันการสะสมของฝุนละออง น้ําหรือสารคัดหลั่งตามซอกมุมตางๆและ<br />

กันการดูดซึมของสิ่งสกปรก<br />

3.สามารถทําความสะอาดไดงาย พื้นผิวไมลื่น เพื่อปองกันอันตรายจากการลื่นลม<br />

4.วัสดุปูผิวพื้นพยายามใชสีออน เพื่อใหบรรยากาศไมมืดทึบ<br />

5.มีความทนทานตอกรด ดาง และทนการขัดสีไดดี เนื่องจากจะตองถูกทําความสะอาดดวยน้ํายาฆาเชื้อที่มีฤทธิ์เปนกรด<br />

โดยใชเครื่องขัดลางและดูดน้ํา<br />

6.พื้นไมควรแข็งหรือออนนุมมากเกินไป เพราะอาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหบุคลากรในแผนกผาตัดเกิดความเมื่อยลา ปวด<br />

เทา หรือปวดหลังได<br />

7.รับน้ําหนักไดดี เพื่อความสะดวกในการเคลื่อนยายผูปวยและอุปกรณที่มีน้ําหนักมาก เชน เตียงผาตัด เครื่องฟลูออโรส<br />

โคป เปนตน


723<br />

8.ผิวหนาทั้งหมดของพื้นควรมีตัวนําไฟฟาขนาดกลางระหวางคนและอุปกรณเพื่อไมใหสัมผัสถึงพื้น<br />

9.ควรมีสายดินฝงที่พื้นหอง โดยอาจเปนเสนโลหะหรือเสนทองเหลืองฝงในพื้นเปนลายตาราง เพื่อเปนสายดิน จะได<br />

สามารถปองกันการระเบิดจากยาสลบบางชนิดที่ติดไฟงาย และยังปองกันการโดนกระแสไฟฟาดูดจากเครื่องไฟฟาที่ใชใน<br />

การผาตัด<br />

ผนัง<br />

<strong>1.</strong>ผนังหองผาตัดควรปูดวยแผนลามิเนตยาวตลอดความสูงของผนังหอง บริเวณรอยตอเชื่อมติดโดยซิลิโคน เปนวัสดุเรียบ<br />

ไมมีรอยตอ ไมมีรูพรุน สามารถทําความสะอาดไดงาย แตดูดซับเสียงไดดี<br />

2.สีควรเปนสีออนเย็นตา เชน สีฟา สีเขียวออน อุปกรณควบคุมตาง ๆ ที่ติดผนัง เปนแบบที่สามารถทําความสะอาดและ<br />

ทําลายเชื้อไดสะดวก<br />

3.มี Wall Guard ที่ความสูง อยางนอย 0.90 เมตร มีขนาดความกวางประมาณ 0.20 เมตร ยาวตลอดแนวผนัง เพื่อ<br />

ปองกันการกระแทกของ เครื่องมือ หรือเตียง<br />

4.ผนังหองผาตัดกระดูกทั้ง 4 ดาน ภายในจะตองมีการบุแผนตะกั่ว เพื่อปองกันรังสีX-ray จากเครื่องฟูลออโรสโคป โดยมี<br />

แผนตะกั่วหนาประมาณ 0.6 มม. ที่ 100KV ( หรือ 0.3 มม. ที่ 150 KV)<br />

5.อุปกรณควบคุมตาง ๆ ที่ติดผนัง เปนแบบที่สามารถทําความสะอาดและทําลายเชื้อไดสะดวก<br />

ประตู<br />

<strong>1.</strong>ประตูหองผาตัดควรมีจํานวนใหนอยที่สุด เพื่อรักษาระดับความดันของหองผาตัดกระดูก<br />

2.ประตูหองผาตัด ควรเปนประตูเลื่อนเปดดานขางได แบบกดปุมเปด –ปด หรือมีระบบเซ็นเซอรเปด-ปดอัตโนมัติหรือ<br />

เปนแบบบานสวิงคูแบบมีโชค เพื่อชวยผอนแรง<br />

3.ประตูควรที่มีการเข็นเตียงผูปวยผาน มีความกวางไมต่ํากวา <strong>1.</strong>80 เมตร ความสูงไมนอยกวา 2.00 เมตร<br />

4.ประตูหองผาตัดสําหรับแพทย พยาบาล มีความกวางไมนอยกวา 0.80 เมตรความสูงไมนอยกวา 2.00 เมตร<br />

5.ประตูสําหรับนําเครื่องมือที่ใชแลว มีความกวางไมต่ํากวา 0.80 เมตร ความสูงไมนอยกวา 2.00 เมตร<br />

6.ชองทางนําเครื่องมือ สําหรับเครื่องมือที่ใชแลวและสารคัดหลั่งจากการผาตัดออกจากเขตปลอดเชื้อ ควรเปนแบบประตู<br />

2 ชั้น เพื่อความสะอาดและปลอดเชื้อโรคขนาดประมาณ 0.80 x <strong>1.</strong>20 สูงจากพื้นถึงวงกบบนประมาณ 0.80เมตร<br />

7.ประตูเขาหองผาตัด ตอนลางทึบตอนบนกระจกฝา มีชองกระจกใสในระดับสายตาสําหรับสังเกตการณภายในหองผาตัด<br />

เปนแถบกวางประมาณ 0.15 x 0.85 เมตร. สูงจากพื้นหองประมาณถึงขอบกระจกลาง <strong>1.</strong>10 เมตร<br />

8.วัสดุที่ใชทําวงกบ กรอบบาน ควรเปนวัสดุที่ทําความสะอาดงาย เชน ประตูสเตนเลสสตีล หรือประตูกรุผิวดวย ลามิเนต<br />

โดยมี Rail Guard สําหรับปองกันการกระแทกจากเครื่องมือหรือเตียงเข็นผูปวย<br />

9.ประตูหองผาตัดกระดูกตองมีการบุแผนตะกั่วบริเวณกรอบบานประตู หองผาตัด เพื่อ ปองกันรังสี X-ray ได โดยมีแผน<br />

ตะกั่วหนาประมาณ 0.6 มม. ที่ 100KV ( หรือ 0.3 มม. ที่ 150 KV) และกระจกที่ใชตองฉาบกันรังสี(ฉาบสารตะกั่ว)<br />

2.เฟอรนิเจอรภายในหองผาตัดควรติดลอ เพื่อทําใหเคลื่อนยายไดสะดวก<br />

ระบบไฟฟา<br />

<strong>1.</strong>ปลั๊กไฟตองไดมาตรฐานตาม Hospital grade มีแรงขับ 220 v และ 280 v ขนาดความจุไมนอยกวา 10 Apm และเปน<br />

ระบบไฟฟาที่จายมาในระบบ 2 phase และ 3 phase<br />

2.ความสูงของปลั๊ก เตาเสียบ จะตองสูงอยางพื้นภายในหองผาตัด <strong>1.</strong>50 เมตร เพื่อปองกันการ สปารค ของไฟอาจทําให<br />

แกสเกิดการระเบิดได<br />

3.ตําแหนงปลั๊กไฟ ควรกระจายไปทั่วๆหองเพื่อสะดวกตอการใชงาน โดยสายไฟ 1 เสนจากแผงควบคุม ตอ ปลั๊กไฟ 1


724<br />

ปลั๊กเทานั้น<br />

4.ปลั๊กไฟทุกตัวควรปลั๊กที่ติดตั้ง UPS backup ในกรณีที่ไฟตกหรือดับ ถาไมสามารถติดตั้งไดทุกตัว ควรติดตั้งไวเฉพาะ<br />

เครื่องมือที่สําคัญเทานั้น และตองผานแผง Isolating panel เพื่อปองกันไฟดูด ไฟรั่ว<br />

5.ติดตั้งอุปกรณที่ใชปรับแรงดันไฟฟา (Stabilizer) ทุกจุดของเครื่องมืออุปกรณการแพทย เพื่อปรับแรงดันไฟแยกออกจาก<br />

เตาเสียบธรรมดาทั่วไปใหเห็นอยางชัดเจน<br />

6.ติดตั้งเตาเสียบที่มีความพรอมสําหรับเครื่องมือที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง เชนเครื่อง เลเซอรหรือเครื่องมือผาตัดดวยกลอง<br />

เครื่อง ฟูลออโรสโคป<br />

7.ระบบไฟฟาทั้งหมดจะตองมีไฟ Backup generator 100% สามารถทําใหแสงสวางทันทีหลังจากไฟฟาดับอยางนอย 3<br />

วินาที<br />

8.ระบบไฟฟาควรเปนระบบสามสาย และมีสายดิน<br />

2.ในสวนบริเวณ Scrub-up ซึ่งวิธีการควบคุมการไหลของน้ําเวลาที่ใชน้ํายาเหลวฟอกมือ โดยใชการควบคุมดวยการ<br />

สัมผัสของหัวเขา ใชเทาเหยียบหรือติดตั้งระบบเซ็นเซอร<br />

3.บริเวณ Scrub-up ติดตั้งนาฬิกาแขวนไวเหนืออางลางมือ<br />

4.ติดตั้งกระจกเงาบริเวณ Scrub-up ตรวจดูความเรียบรอยของหมวก ผาปดปาก จมูก ผม กอนฟอกมือ<br />

ระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ<br />

<strong>1.</strong>ระบบปรับอากาศควรใชเครื่องปรับอากาศแยกสวนแบบเดินทอ สามารถปรับไดระหวาง 20-28 องศาเซลเซียส โดย<br />

ความชื้นสัมพัทธ อยูระหวางรอยละ 43-55 % R.H<br />

และมีการติดตั้งระบบกรองอากาศดวย Hepa filter<br />

2. ควรติดตั้งระบบ Laminar Air Flow<br />

3.ระบบปรับอากาศจะตองมี Filter ดานในจะมี Pre-Filter และ Middle – Filter โดยจะติดอยูที่เครื่องของตัวเครื่องปลอย<br />

ลมเย็นออกมาตรงหัวจายแอร ซึ่งตัวจะมี Hepa Filter เปนตัวกรองสุดทาย ขนาดของ Hepa Filter จะมีขนาดประมาณ<br />

0.60x0.60 เมตร หรือ0.60 x <strong>1.</strong>20 เมตร โดยตําแหนงจุดจายลมควรจายลมทั้งหมดจากเพดาน จะตองอยูใกลกับเตียง<br />

ผาตัด การติดตั้งควรเปนไปตามมาตรฐาน NFPA 99<br />

4.หองผาตัดกระดูก Filter จะตองสามารถกรองอากาศไดถึง 99.99% Exhaust ออก 25 % Return75%<br />

5.การติดตั้งพัดลมดูดอากาศและมีชองดูดอากาศทิ้ง การติดตั้งควรอยูบริเวณใกลกับระดับพื้น โดยมีหนาการรับลมกลับ<br />

อยางนอย 2 จุด อัตราการจายลม (Total Air Change) ไมควรนอยกวา 25 ACH หัวจายลมควรเปนแบบจายลมทิศทาง<br />

เดียว Unidirectional) เชน หนากากแบบ Perforated เปนตน ควรหลีกเลี่ยงหัวจายลมที่มีการเหนี่ยวนําลมสูง เชน หัวจาย<br />

ลมติดเพดานแบบสี่ทางที่ใชในงานระบบปรับอากาศทั่วไป หรือหนากากจายลมแบบติดผนัง<br />

6.ติดตั้งบานเกล็ดอลูมิเนียม หรือ PVC ครอบปดไวอีกชั้นหนึ่ง ขนาดของชองดูอากาศกลับ (Return air) และชองดูด<br />

อากาศทิ้ง (Exhaust air) ถาตองการขนาดชองนี้จริงๆจะตองคํานวณจากขนาดตัวเครื่อง Supply เทาไหร และReturn<br />

เทาไหร<br />

7.ขนาดของชองดูอากาศกลับ (Return air) มีพัดลมดูดอากาศขนาดเสนผาศูนยกลางใบพัดไมต่ํากวา 10 นิ้ว ติดตั้งระดับ<br />

ใกลพื้นหอง ขนาดของชองดูอากาศกลับตามมาตรฐานทั่วไปประมาณ 0.30 x0.60 เมตร มีความสูงจากพื้นไมนอยกวา<br />

0.10 เมตร แตไมควรเกิน 0.30 เมตร และควรอยูบริเวณดานลางตรงมุมหอง เพื่อปองกันอากาศปนปวน ชองดูดลมกลับ<br />

(Return air) ควรมีอยางนอย 2 จุด


725<br />

8.ชองดูดอากาศทิ้ง (Exhaust air) จะตองมีแยกไวอีกตัวหนึ่ง ซึ่งจะอยูตรงมุมหอง โดยจะดูดอากาศออกทิ้งขางนอก ขนาด<br />

ของ ชองดูดอากาศทิ้ง (Exhaust air) มีความสูงจากพื้นไมนอยกวา 0.10 เมตร แตไมควรเกิน 0.30 เมตร ขนาดความ<br />

กวางไมนอยกวา 0.30 เมตร ควรมีอยางนอย 1 ชอง ตอ 1 หองผาตัด<br />

9.ความดันภายในหองเปนบวกเมื่อเทียบกับหองรอบๆ โดยการจายลมเขาหองมากกวาลมออกจากหอง15%<br />

10.ควรติดตั้งเครื่องวัดความดันแตกตางภายในเพื่อตรวจสอบไดตลอดเวลา อยางไรก็ตาม การอุดรอยรั่วของผนัง, เพดาน,<br />

ชองเจาะที่พื้น ตลอดจนกรอบประตู มีผลอยางมากตอการสรางความดัน<br />

1<strong>1.</strong>ควรติดตั้งเครื่องอานอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธใหสามารถอานไดสะดวก<br />

ระบบแกสทางการแพทย<br />

<strong>1.</strong>ระบบแกสทางการแพทย ประกอบดวย Oxygen 2 ชุด Nitrous Oxide 1 ชุด Vacuum 2 ชุด(ถาใหเหมาะสมวิสัญญี<br />

แพทย ควรมี1 ชุด สําหรับพยาบาลผาตัด 2 ชุด แยกกันใหชัดเจน)มีระบบผลิตอากาศอัด อยางนอย 1จุด สําหรับใชกับ<br />

สวานไฟฟา (Power drill)<br />

มีOutlet ทอแกส แขวนใตฝาเพดานหรือผังติดผนัง<br />

2.สายสงและ hose เปน Medical grade ไมกอใหเกิดไฟฟาสถิต<br />

3.มีระบบระบายแกสที่ออกจากการดมยาสลบ (Scavenging Systems) ตองอยูในตําแหนงที่ใชไดสะดวก<br />

4.มีวาลวสําหรับปดเปดควบคุมกาซไวที่ฝาผนังบริเวณทางเดินหนาหองผาตัด เมื่อเกิดปญหากาซหมด ตองมีสัญญาณ<br />

เตือนทั้งเสียงและไฟเตือนในแผนกผาตัด เพื่อแจงใหหนวยงานควบคุมการสํารองกาซทราบไดทันที<br />

5.มีมาตรแสดงความดันของกาซ เพื่อใหผูตรวจสอบหรือผูพบเห็นทราบถึงระดับความดันกาซที่อาจกอใหเกิดอันตราย<br />

ระบบปองกันอัคคีภัย<br />

<strong>1.</strong>ระบบปองกันอัคคีภัยในหองผาตัดจะถูกควบคุมรวมอยูใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ป พ.ศ.2522 และขอบัญญัติ<br />

กรุงเทพมหานคร เรื่องควบคุมอาคาร ป พ.ศ.2544<br />

ระบบสื่อสารภายในหองผาตัด<br />

<strong>1.</strong>ควรมีโทรศัพทติดตั้งในหองผาตัดเพื่อความสะดวกในการติดตามบุคลากรในแผนกผาตัด และเพื่ออํานวยความสะดวก<br />

ใหกับศัลยแพทยขณะผาตัดไดติดตอสื่อสารเรื่องที่มีความจําเปนเรงดวนไดโดยไมตองเปลี่ยนเสื้อผาตัด ถอดถุงมือ เพื่อ<br />

ออกมารับโทรศัพท<br />

2.ติดตั้งโทรทัศนวงจรปด โดยทําการถายทอดการผาตัดที่นาสนใจไปสูหองประชุม หรือหองเรียน ที่มีผูเขารวมประชุม<br />

จํานวนมากใหทุกคนสามารถเห็นขั้นตอนในการผาตัดไดอยางชัดเจน ในเวลาเดียวกันโดยไมตองเขาไปแออัดอยูในหอง<br />

ผาตัด และยังสามารถบันทึกเหตุการณในรูปของวิดีทัศนซึ่งสามารถนํามาใชทบทวนการทํางาน หรือเปรียบเทียบกับการ<br />

ผาตัดประเภทเดียวกันได<br />

ระบบเทคโนโลยีดานขอมูลขาวสาร<br />

<strong>1.</strong>ระบบคอมพิวเตอรแบบออนไลนใชในการบันทึกขอมูลผูปวย เชน ประวัติผูปวย การตรวจรางกาย ผลการตรวจทาง<br />

หองปฏิบัติการ รวมถึงการดูฟลม x-ray ของผูปวย โดยไมจําเปนจําตองนําแผนฟลมเขามา<br />

2.หองผาตัดควรมีระบบคอมพิวเตอรแบบออนไลนไดเพื่อติดตามเฝาระวังสัญญาณชีพผูปวย ควรติดตั้งคอมพิวเตอรไว<br />

ใกลกับเครื่องดมยาสลบและโตะบันทึกเอกสารของพยาบาลหองผาตัด<br />

3.เครื่องคอมพิวเตอรสําหรับบันทึกขอมูลนี้ควรติดตั้งอยูในตําแหนงที่ใชงานไดสะดวก เพื่อความสะดวกสําหรับบุคลากรใน<br />

หองผาตัดในการบันทึกขอมูล และควรเชื่อมตอกับระบบคอมพิวเตอรของโรงพยาบาลได


726<br />

การจัดวางตําแหนงผัง<br />

<strong>1.</strong>ตําแหนงของตูดูฟลม x-ray หรือ จอมอนิเตอรสําหรับดูฟลม ควรอยูตรงปลายเตียง อาจมีสองจุดดานผนังในกรณีที่ไม<br />

สามารถติดตั้งบริเวณผนังปลายเตียงผาตัด หรือแขวนบน pendant<br />

2.ตําแหนงประตูเข็นผูปวยเขา ควรอยูบริเวณตรงกลางผนัง<br />

3.ตําแหนงการแขวนนาฬิกา ควรอยูปลายเตียงผาตัด เพราะแพทยจะมองเห็นไดสะดวกแตไมควรติดตั้งไวบริเวณผนังหัว<br />

เตียง เพราะวา ผนังหัวเตียงจะมีเครื่องมือของวิสัญญีแพทยเยอะพอสมควร<br />

4.ตําแหนงของเครื่องดมยาและ Pipeline วิสัญญีแพทยจะตองอยูเหนือหัวเตียงเสมอ<br />

5.ระบบระบายแกสที่ออกจากการดมยาสลบ (Scavenging Systems) ควรอยูบริเวณใกลกับเครื่องดมยา ของวิสัญญี<br />

แพทย<br />

6.ตําแหนงปลั๊กไฟควรกระจายไปทั่วหอง เพื่อความสะดวกในการใชงาน<br />

7.ปลั๊กของเครื่องฟูลออโรสโคปควรมี 2 จุด บริเวณ ผนังดานซายและขวาของเตียงผาตัดเพื่อสะดวกตอการใชงาน<br />

8.ตําแหนง Compressed Air ถามี 1 จุด ควรติดตั้งบริเวณผนังดานหัวเตียงผาตัด แตถาตําแหนง Compressed Air ถามี<br />

2 จุด ควรติดตั้งบริเวณผนังดานซาย และขวา ของเตียงผาตัด<br />

9.โตะผาตัดโดยทั่วไป โตะผาตัดจะกําหนดใหเปนโตะใหญใน CASEผาตัดใหญ และจะมีโตะผาและโตะเครื่องมือ สวน<br />

ใหญจะอยูปลายเทา<br />

เมื่อนํามาตรฐานการออกแบบหองผาตัดกระดูก มาเปรียบเทียบกับหองผาตัดกระดูกภายในหองผาตัดกระดูก<br />

(Ortho1) โรงพยาบาลหาดใหญ ทําใหทราบถึงสวนที่เหมาะสมและไมเหมาะสมในดานสถาปตยกรรมและดานระบบ<br />

วิศวกรรม ดังนั้นจึงขอสรุปผลในสวนที่ยังไมเหมาะสม เพื่อนําเสนอการปรับปรุงหองผาตัดกระดูก (Ortho1) โรงพยาบาล<br />

หาดใหญ ใหเหมาะสมและมีความเปนไดตามมาตรฐานการออกแบบหองผาตัดที่ไดศึกษาและคนควา ดังนี้<br />

สวนที่เหมาะสมและไมเหมาะสมในดาน<br />

สถาปตยกรรมและดานระบบวิศวกรรม ภายในหอง<br />

ผาตัดกระดูก(Ortho1) โรงพยาบาลหาดใหญ<br />

งานสถาปตยกรรม<br />

หองผาตัดกระดูก(Ortho1) โรงพยาบาลหาดใหญ ขนาด<br />

พื้นที่ใชสอย40.95 ตารางเมตร ทําใหมีปญหาในกรณีที่มี<br />

การผาตัดใหญ<br />

รูปรางหองผาตัดกระดูก(Ortho1) มีลักษณะเปน<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา ซึ่งไมเหมาะสมสําหรับหองผาตัดกระดูก<br />

หองผาตัดกระดูกรูปรางหองตองเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

บริเวณที่เปนมุมหองทําการลบมุมหองปาดเฉียง 45 องศา<br />

บางมุมเทานั้นซึ่งไมเหมาะสม<br />

พื้น<br />

ผิววัสดุที่ใชปูเปนกระเบื้องหินขัดทําใหพื้นคอนขางแข็ง เมื่อ<br />

ใชไปนานๆทําใหเกิดการแตกราวตามแนวเสนตีแนว<br />

ทองเหลือง<br />

ขอเสนอในการปรับปรุงหองภายในหองผาตัดกระดูก<br />

(Ortho1) โรงพยาบาลหาดใหญ<br />

งานสถาปตยกรรม<br />

หองผาตัดกระดูก(Ortho1)โรงพยาบาลหาดใหญ ขนาด<br />

พื้นที่ใชสอย40.95 ตารางเมตร ทําใหมีปญหาในกรณีที่มี<br />

การผาตัดใหญ ถาจะทําใหหองผาตัดกระดูกเหมาะสมและ<br />

ถูกตองตามมาตรฐานการออกแบบหองผาตัด ขนาดหอง<br />

ตองใหญกวานี้ แตเนื่องจากไมมีบริเวณพื้นที่ใหขยายตอ<br />

เติมทําใหไมสามารถที่จะทําใหหองผาตัดกระดูก(Ortho1)<br />

ถูกตองตามมาตรฐานได<br />

หองผาตัดกระดูกรูปรางหองตองเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส แต<br />

เนื่องจากรูปรางหองผาตัดกระดูก(Ortho1)มีลักษณะเปน<br />

สี่เหลี่ยมผืนผาแตไมสามารถปรับปรุงใหเหมาะสมตาม<br />

มาตรฐานการออกแบบเนื่องจากไมมีบริเวณพื้นที่ใหขยาย<br />

ตอเติม


727<br />

ผนัง<br />

ผนังบุดวยกระเบื้องเซรามิค ผิววัสดุเรียบ มีความมัน<br />

เล็กนอย มีรอยตอของกระเบื้อง<br />

ผนังทั้ง4 ดานไมมีการบุแผนตะกั่วภายในทําใหไมสามารถ<br />

ปองกันรังสี X-rayได<br />

ไมมี Wall Guard สําหรับการปองกันการกระแทกจากเตียง<br />

หรือเครื่องมืออุปกรณทางการแพทย<br />

ประตู<br />

-ประตู วงกบและกรอบบานเปนไม บานประตูไมทาแล็ค<br />

เกอร ซึ่งไมเหมาะสมในหองผาตัดกระดูกเพราะอาจเกิด<br />

การโปงพองหรือหดตัวจากการทําความสะอาดดวยน้ําหรือ<br />

น้ํายา<br />

-ประตูสําหรับนําเครื่องมือที่ใชแลวไมมี Rail Guard เพื่อ<br />

ปองกันการกระแทกจากเตียงและเครื่องมือ<br />

ไมมีการบุแผนตะกั่ว ทําใหไมสามารถปองกันรังสี X-ray ได<br />

-ประตูสําหรับเครื่องมือที่ใชแลว ไมมีชองกระจกใสในระดับ<br />

สายตาตามที่มาตรฐานกําหนดไว<br />

ฝาเพดาน<br />

-ฝาเพดานมีรอยคราบเชื้อราที่เกิดจากความชื้นทําใหฝา<br />

ชํารุด การซอมแซมโดยใชเทปกาวปดนั้นไมเหมาะสม<br />

เฟอรนิเจอร<br />

-ฟอรนิเจอรที่ใชเปนเหล็กทาสี ไมมีบานเลื่อนสําหรับเปด-<br />

ปดทําใหเปนที่สะสมของฝุนละออง<br />

งานระบบไฟฟา<br />

ความสูงของปลั๊กไฟ ไมถูกตองตามมาตรฐานการออกแบบ<br />

หองผาตัด ซึ่งมาตรฐานกําหนดไวที่ความสูง <strong>1.</strong>50 เมตร<br />

ระบบเตาเสียบธรรมดา ไมมีปลั๊กไฟสําหรับเครื่องมือที่มี<br />

เทคโนโลยีขั้นสูง เชน เครื่องเลเซอรหรือเครื่องมือผาตัดดวย<br />

กลอง เครื่อง ฟูลออโรสโคปและไมไดติดตั้งอุปกรณที่ใช<br />

ปรับแรงดันไฟฟา(Stabilizer)<br />

ปลั๊กไฟไมไดติดตั้ง ระบบ UPS ไวในกรณีที่เกิดไฟดับหรือ<br />

ระบบไฟฟาขัดของ<br />

ผนัง<br />

จากปญหาการแตกราวของผนังหองผาตัดกระดูก<br />

เนื่องจากการถูกกระแทกจากเครื่องมือหรือเตียงผาตัด<br />

ดังนั้นเพื่อปองกันการแตกราวหรือชุดรุดของแผนกระเบื้อง<br />

เซรามิคควรติดตั้ง Wall Guard เพื่อปองกันการกระแทก<br />

จากเตียง หรืออุปกรณทางการแพทย การติดตั้ง Wall<br />

Guard ควรสูงจากพื้นประมาณ 0.90 เมตร โดยมีความ<br />

กวางประมาณ 0.25 เมตร ตลอดแนวผนังทั้ง 4 ดาน<br />

ประตู<br />

-ประตูหองผาตัดทั้ง 3บานที่เปนประตูที่ทําดวยไมทาแล็ค<br />

เกอร ควรเปลี่ยนเปนประตูสแตนเลสสตีลหรือประตูที่กรุผิว<br />

ดวยลามิเนต<br />

-ประตูสําหรับเครื่องมือที่ใชแลว ไมมีชองกระจกใสในระดับ<br />

สายตาตามที่มาตรฐานกําหนดไว<br />

ฝาเพดาน<br />

-ฝาเพดานที่มีการชํารุดควรซอมแซมดวยการเปลี่ยนฝา<br />

เพดานใหมเฉพาะบริเวณนั้นแทนการซอมแซมโดยใชเทป<br />

กาวปดซึ่งเปนวิธีที่ไมเหมาะสม<br />

งานเฟอรนิเจอร<br />

-เสนอแนะใหใชบริเวณระหวางชวงเสาบริเวณดานปลาย<br />

เตียงผาตัด ทําเปนชั้นวางเครื่องมือ ตลอดแนวผนัง โดยมี<br />

ความสูงประมาณ <strong>1.</strong>50 เมตร พรอมบานเลื่อนกระจก<br />

สําหรับเปด-ปด<br />

งานระบบไฟฟา<br />

ปลั๊กไฟ ควรเปลี่ยนเปนปลั๊กไฟตามมาตรฐาน Hospital<br />

grade ติดตั้งปลั๊กไฟสําหรับเครื่องมือที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง<br />

เชน เครื่องเลเซอรหรือเครื่องมือผาตัดดวยกลอง เครื่องฟู<br />

ลออโรสโคป และติดตั้งอุปกรณที่ใชปรับแรงดันไฟฟา<br />

(Stabilizer)<br />

ความสูงของปลั๊กไฟ ควรติดตั้งใหมีความสูง <strong>1.</strong>50 เมตร<br />

ตามมาตรฐานการออกแบบหองผาตัด เนื่องจากเพื่อ<br />

ปองกันการระเบิดของแกสทางการแพทยในกรณีที่ระบบ<br />

ระบายอากาศทิ้งดูดแกสทางการแพทยออกไปไดไมหมด


728<br />

งานระบบสุขาภิบาล<br />

-ไมมีเครื่องกรองน้ําที่มีประสิทธิภาพสูงภายในแผนกผาตัด<br />

แตจะใชระบบน้ําประปา<br />

-ไมไดติดตั้งกระจกเงาบริเวณ Scrub-up ตรวจดูความ<br />

เรียบรอยของหมวก ผาปดปาก จมูก ผม กอนฟอกมือ<br />

ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ<br />

-ระบบปรับอากาศใชเครื่องแบบ Split Type จํานวน 2<br />

เครื่อง ซึ่งไมถูกตองตามมาตรฐานการออกแบบหองผาตัด<br />

ทําใหไมสามารถปรับความดันได ไมมีตัวกรองอากาศแบบ<br />

HEPA ไมมีระบบการจายกระแสลมที่ราบเรียบ (Laminar<br />

air flow System) มีชองดูดลมกลับ (Return air) อยูบน<br />

เพดานซึ่งตําแหนงการติดตั้งไมเหมาะสมสําหรับใชในหอง<br />

ผาตัด แตปจจุบันยกเลิกใชไปแลวมีชองดูดอากาศทิ้ง<br />

(Exhaust)ใกลระดับพื้น แตปจจุบันแตยกเลิกใชไปแลว<br />

งานระบบสุขาภิบาล<br />

-ติดตั้งเครื่องกรองน้ําที่มีประสิทธิภาพสูงภายในแผนก<br />

ผาตัดเพื่อใหถูกตองตามมาตรฐานการออกแบบหองผาตัด<br />

-ติดตั้งกระจกเงาบริเวณ Scrub-up ตรวจดูความเรียบรอย<br />

ของหมวก ผาปดปาก จมูก ผม กอนฟอกมือ<br />

ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ<br />

-ระบบปรับอากาศควรกลับมาใชเปนระบบศูนยรวม<br />

แบบเดิม ทําการติดตั้งระบบ Lamina air flow หรือติดตั้ง<br />

ระบบกรองอากาศดวย Hepa filter และทําการติดตั้งระบบ<br />

ดูดอากาศกลับ (Return air) ใหมบริเวณผนังหองโดย<br />

ติดตั้งสูงจากพื้นอยางนอย 0.10 เมตร แทนของเดิมที่ติดตั้ง<br />

บนฝาเพดานซึ่งไมเหมาะสมสําหรับหองผาตัดกระดูก<br />

หลังจากไดศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับมาตรฐานการออกแบบหองผาตัดกระดูก ทั้งจากเอกสารที่<br />

คนควา รวมทั้งขอมูลจากการสํารวจและสัมภาษณ ทําใหไดผลสรุปที่เหมาะสมสําหรับเพื่อการเสนอแนะการ<br />

ออกแบบปรับปรุงหองผาตัดกระดูก (Ortho3) โรงพยาบาลหาดใหญ ดังนี้


ขอเสนอแนะในครั้งตอไป<br />

การศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดทําการศึกษารายละเอียดดานงานสถาปตยกรรมและระบบวิศวกรรมภายใน<br />

หองผาตัดกระดูก เพื่อใชผลจากการศึกษานี้เปนขอแนวทางในการทําวิจัยในครั้งตอไป เพื่อลดความยุงยากใน<br />

การหาขอมูลกอนการทําวิจัย และในขณะเดียวกันก็สามารถใชเปนแนวทางในการหาขอกําหนดที่ใชในการ<br />

ออกแบบหองผาตัดกระดูกโรงพยาบาลรัฐหรือเอกชนทั่วไปดวย<br />

สามารถนําไปศึกษาเปนแนวทางในการวิจัย เพื่อหาขอกําหนดมาตรฐานที่ใชในการออกแบบแผนก<br />

ตางๆ ของโรงพยาบาล ที่มีลักษณะใกลเคียงกัน เชน แผนกอุบัติเหตุ แผนกคลอด แผนก ICU.หรือหองผาตัด<br />

ประเภทอื่นๆที่สําคัญ เชน หองผาตัดสมอง หองผาตัดหัวใจ เปนตน<br />

729


730<br />

รายการอางอิง<br />

ภาษาไทย<br />

เตชัส เมฆสุวรรณ. แนวทางการออกแบบเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการใชพื้นที่ควบคุมพิเศษใน<br />

สวนของหองผาตัดภายในโรงพยาบาลของรัฐ. วิทยานิพนธ สถาปตยกรรมศาสตรมหา-บัณฑิต. คณะ<br />

สถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2549.<br />

นนท เจิดอําไพ. วิทยานิพนธ โครงการโรงพยาบาลโรคกระดูก 100 เตียง. ปการศึกษา 2549.<br />

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

มาโนชญ จันทศรและ กฤษณ กาญจนฤกษ. AO/ASIF Instruments and Implants.<br />

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ บพิธการพิมพ. 2540.<br />

วรรณี สัตยวัฒน, การพยาบาลผูปวยออรโธปดิคส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไพศาลศิลปการพิมพ,<br />

พิมพครั้งที่5, 2539.<br />

วริทธิ์ อึ้งภากรณ. คูมือการออกแบบหองสะอาด. กรุงเทพมหานคร: บริษัทมิตรภาพการพิมพและ<br />

สติวดิโอ จํากัด, 2552.<br />

สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแหงประเทศไทย. มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ:<br />

กรุงเทพมหานคร, พิมพครั้งที่2,2552.<br />

สุเทพ ลิ้มพุทธอักษร และคณะ. การศึกษา คนควา วิจัย เพื่อหาเกณฑการออกแบบแผนกผาตัด<br />

ของโรงพยาบาลรัฐบาล. กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง<br />

สาธารณสุข. 2547.<br />

สุภาพร เลิศรวมพัฒนา. แนวทางการปฏิบัติงานบุคลากรหองผาตัด. กรุงเทพมหานคร:<br />

โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.<br />

อวยชัย วุฒิโฆสิต. การออกแบบโรงพยาบาล. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย. 255<strong>1.</strong><br />

อุษาวดี อัศดรวิเศษ. ประเด็นและแนวโนมในการพยาบาลผาตัด2. คณะพยาบาลศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล, 2547.<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

Alden B. Mills. Functional Planning of General Hospitals. New York, Printed in the<br />

United States of America, 1969.<br />

Edna Cornelia Berry and Mary Louise Kohn. Introduction to Operating-room Technique.<br />

New York, Printed in the United States of America, 1966.<br />

Stephen A. Kliment,. Building type Basics For Healthcare facilities. New York,<br />

Printed in the United States of America, 2000.


731<br />

การประเมินผลการระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติในหอผูปวยของโรงพยาบาล<br />

Assessment of Natural Ventilation Performance in Hospital Wards<br />

อุษณ จันทรทรัพย<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ดร.วรภัทร อิงคโรจนฤทธิ์<br />

บทนํา<br />

ตั้งแตอดีตถึงปจจุบันคุณภาพของอากาศเปนปจจัยที่สําคัญตอการควบคุมสภาวะแวดลอมที่จําเปนตอ<br />

สุขภาพของมนุษย อากาศโดยทั่วไปมักมีการปนเปอนทั้งที่เกิดจากธรรมชาติ และจากที่มนุษยสรางขึ้น ไมวาจะ<br />

อยูในรูปแบบของฝุนควัน ไอ หรือกาซ แตการปนเปอนทางอากาศที่จะกลาวถึงในตอนนี้คือ การปนเปอนของเชื้อ<br />

โรคหรือจุลชีวะทางอากาศ เชน แบคทีเรีย, ไวรัส และรา ซึ่งเปนตัวการสําคัญตอการแพรกระจายของโรคติดตอ<br />

ชนิดตางๆ ดังนั้น การควบคุมสิ่งแวดลอมเพื่อปองกันการแพรกระจายของจุลชีวะขนาดเล็กดังกลาวจึงเปนสิ่ง<br />

สําคัญ [1]<br />

การปนเปอนของเชื้อโรคในอากาศหรือจุลชีวะทางอากาศ ซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กคือ รา ไวรัส<br />

แบคทีเรีย และไรฝุน เปนสิ่งที่ตองคํานึงถึง เนื่องจากจุลชีวะเหลานี้สามารถดํารงชีวิตและขยายพันธุไดดีในพื้นที่<br />

ภายในอาคารที่แสงแดดซึ่งมีรังสีอุลตราไวโอเลตสองไมถึง พื้นที่ที่ปราศจากการดูแลคุณภาพอากาศที่ดี ในหอง<br />

ปรับอากาศซึ่งเปนหองปดและไมมีการถายเทอากาศที่ดี ซึ่งมีสาเหตุมาจากการประหยัดพลังงาน เพื่อลด<br />

คาใชจายในเรื่องของระบบปรับอากาศ สภาวะแวดลอมเหลานี้ลวนสงผลตอการแพรกระจายของเชื้อโรคใน<br />

อากาศไดอยางรวดเร็ว [2]<br />

จากการศึกษาพบวา ประเภทอาคารที่มีแนวโนมตองการการดูแล แกไข ปรับปรุงและอยูในประเด็น<br />

ของการศึกษาวิจัยจากผูทําการศึกษาทั่วโลก [3-16] คือ อาคารประเภทโรงพยาบาล เนื่องจาก นอกจากเรื่อง<br />

โรคอาคารปวยที่เกิดขึ้นภายในอาคารแลว ยังมีเรื่องของเชื้อโรค และสิ่งปนเปอนตางๆเขามาเกี่ยวของกับการ<br />

ดํารงของชีวิต โดยเฉพาะโรคที่สามารถเผยแพรผานทางอากาศได เชน โรควัณโรค เปนตน สงผลใหเกิด<br />

ความยากลําบากในการควบคุมและปองกันโรค<br />

ปจจุบันการติดเชื้อทางอากาศของวัณโรค (TB) นับเปนสาเหตุของการปวยและเสียชีวิตในหลาย<br />

ประเทศทั่วโลก แมวาความชุกและอัตราการตายไดลดลงในหลายปที่ผานมา แตจํานวนผูปวยวัณโรครายใหม<br />

ยังคงเพิ่มขึ้นอยางชาๆโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต [15-16] ผูปวยและผูดูแลสุขภาพ(HCWs)<br />

มีความเสี ่ยงสูงโดยเฉพาะการติดเชื้อวัณโรคเนื่องจากการมีโอกาสสัมผัสกับผูปวยติดเชื้อวัณโรคบอย ดังนั้นเพื่อ<br />

เปนการลดการติดเชื้อวัณโรค องคการอนามัยโลก(WHO) และศูนยปองกันและควบคุมโรค (CDC) จึงไดเสนอ<br />

แนวทางการควบคุมการติดเชื้อ โดยแบงลําดับขั้นในการควบคุมการแพรกระจายเชื้อเปนสามระดับ [17]<br />

การระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติ ซึ่งอยูในขั้นที่สองของการควบคุมการแพรกระจายเชื ้อเปนหนึ่งใน<br />

กลยุทธในการควบคุมสภาพแวดลอมจากการติดเชื้อทางอากาศในสถานดูแลสุขภาพในทรัพยากรที่มีอยูอยาง


732<br />

จํากัด [1,2,17-20] การระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติมีการใชแรงธรรมชาติ เชน อาศัยแรงลมและความตาง<br />

ของอุณหภูมิ ในการขับอากาศผานตัวอาคาร โดยวิธีการดังกลาวเปนระบบที่งายโดยอาศัยประตูและหนาตาง<br />

เปนชองทางลมเขา-ออก เปนทางเลือกที่ใชตนทุนต่ํา ในการเจือจางและลดการปนเปอนของอากาศเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับการระบายอากาศดวยวิธีกล แตอยางไรก็ตามก็มีความไมแนนอนในเรื่องของความเร็วลม ทิศ<br />

ทางการไหลของอากาศ และอุณหภูมิของอากาศ ซึ่งยากตอการคาดเดา<br />

กอนการทําการวิจัย ผูวิจัยไดทําการศึกษาและทําความเขาใจในรูปแบบการเคลื่อนไหวและทิศทางการ<br />

เคลื่อนที่ของอากาศภายในโรงพยาบาล พบวา ปจจุบันมีการศึกษาจํานวนมากที่ตรวจสอบดานตางๆที่<br />

เกี่ยวของกับการออกแบบและประสิทธิภาพของระบบระบายอากาศในสถานดูแลสุขภาพผานการทดลองโดย<br />

การจําลอง (simulation) เชน การวิจัยการระบายอากาศที่มีผลตอการเคลื่อนที่ของเชื้อโรคผานทางอากาศของ<br />

อาคารประเภทโรงพยาบาล โรงเรียน สํานักงาน บานพักอาศัย และหองแยกโรค [4] เปนตน แตผลที่ไดจากการ<br />

จําลองเหลานี้ ยังไมไดมีการเพิ่มเติมปจจัยอื่นๆที่อาจพบไดในสถานการณจริง เชน ผลที่เกิดขึ้นจากชองเปดของ<br />

หนาตางและประตู การใชระบบการระบายอากาศดวยวิธีกลเขามาชวยเสริมใหการทํางานมีประสิทธิภาพมาก<br />

ขึ้น ผลกระทบจากพฤติกรรมการใชงานของผูใชอาคารที่มีผลตอรูปแบบการระบายอากาศ<br />

ที่ผานมานี้ การศึกษาในเรื่องการประเมินประสิทธิภาพการระบายอากาศดวยวิธีทางธรรมชาติใน<br />

สถานการณจริงของโรงพยาบาลปรากฏเพียงแคจํานวนหนึ่งเทานั้น ตัวอยางเชน Qian et al [5] พบวาอัตรา<br />

การระบายอากาศที่เพียงพอ สามารถทําไดในหองแยกผูปวยเดี่ยวในประเทศฮองกง และการติดตั้งพัดลม<br />

ระบายอากาศสามารถชวยเสริมสรางสภาวะความดันต่ําที่เพียงพอ ในกรณีที่แรงกระทําจากลมธรรมชาติไม<br />

เพียงพอ Escombe et al [12] พบวาหนาตางและประตูมีอัตราการถายเทอากาศ (ACH) ที่ 28 ACH โดย<br />

ทําการศึกษาจากโรงพยาบาลแปดแหงใน Lima, Peru และเมื่อไมนานมานี้ องคการอนามัยโลก (WHO) ได<br />

ประกาศแนวทางการดําเนินงานสําหรับการระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติ [23] โดยมีการกลาวถึงตัวอยางของ<br />

การระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติในสถานดูแลสุขภาพในแนวทางดังกลาวดวย ผลจากการทบทวน<br />

วรรณกรรมพบวาแนวทางการออกแบบที่มีอยูสวนมาก ไดอธิบายถึงเกณฑโดยทั่วไปในการออกแบบ<br />

โรงพยาบาล ที่มีการสงเสริมการระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติ ขณะที่ประสิทธิผลที่ไดจากการระบายอากาศ<br />

ดวยวิธีธรรมชาติในสถานการณจริงยังไมเคยมีการรายงานผลเผยแพรออกมา หรือมีแตเปนสวนนอย กลาวโดย<br />

สรุป ผลการทํางานที่ไดจากสถานการณจริงในการตรวจสอบการระบายอากาศดวยวิธีทางธรรมชาติใน<br />

โรงพยาบาลนั้น ยังไมไดรับการตรวจสอบอยางละเอียด หากผูออกแบบไดทําความเขาใจและรับรูถึงปจจัย<br />

ตางๆที่มีผลตอการออกแบบและประสิทธิภาพของการระบายอากาศในสถานการณจริง นั่นจะชวยใหการ<br />

ออกแบบที่ ได มี ประสิ ทธิ ภาพสามารถป องกั นและควบคุ มการติ ดเชื้ อทางอากาศได<br />

ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมุงศึกษาเพื่อใหเขาใจในขั้นตอนการควบคุมสิ่งแวดลอมในปจจุบันของประเทศ<br />

ไทยและการประเมินผลของการใชการระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติสําหรับควบคุมการติดเชื้อทางอากาศในหอ<br />

ผูปวยของโรงพยาบาล โดยมีจุดประสงคเพื่อใหคําแนะนําการปฏิบัติรวมไปถึงการออกแบบที่สงเสริมการใชงาน<br />

ของการระบายอากาศดวยวิธีธรรมชาติในโรงพยาบาล โดยผลจากการศึกษา จะเปนแนวทางในการพัฒนา<br />

( design guideline ) เพื่อใหเกิดประโยชนและการพัฒนาตอไปในอนาคต รวมไปถึงการนําไปประยุกตใชกับ<br />

การอาคารประเภทอื่นๆได<br />

วิธีวิจัย<br />

งานวิจัยชิ้นนี้เปนการวิจัยเชิงจําลองสถานการณ (Simulation Research) รวมกับการการวิจัยเชิง<br />

ทดลอง (experimental research) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรตน คือ ปจจัยแผนผัง<br />

อาคาร ปจจัยตําแหนงชองเปด ปจจัยรูปแบบชองเปด และปจจัยทิศทางกระแสลม กับตัวแปรตามคือการ


733<br />

ไหลเวียนกระแสลม ความเร็วลมภายในอาคาร และอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ (ACH)ของกรณีศึกษา โดย<br />

รูปแบบของกรณีศึกษาและความเร็วกระแสลมภายนอกเปนตัวแปรคงที่ การศึกษาตัวแปรอาศัยการจําลอง<br />

สถานการณดวยโปรแกรม Tecplot version 2008 และ HEATX (โดย Malcom J. Andrews จากมหาวิทยาลัย<br />

Texas A&M ประเทศสหรัฐอเมริกา) แลวนําผลการทดลองมาวิเคราะห เพื่อสรุปแนวทางการออกแบบสําหรับ<br />

หอผูปวยในโรงพยาบาลตอไป มีรายละเอียดดังนี้<br />

1) กลุมตัวอยางกรณีศึกษา<br />

กลุมตัวยางโรงพยาบาลที่เปนกรณีศึกษาในงานวิจัยชิ้นนี้ มีจํานวน 5 แหง แบงออกเปนภาคกลาง 2<br />

แหง ภาคใต 2 แหง และภาคตะวันออกเฉียงใต 1 แหง มีจํานวนหอผูปวยกรณีศึกษาทั้งหมด 6 แบบ<br />

โรงพยาบาลที่เปนกรณีศึกษาทั้งหมดเปนโรงพยาบาลของรัฐ มีรายละเอียดดังนี้<br />

สวนพยาบาลดูแล หอพักผูปวยแบบรวม<br />

ทางเขา-ออก<br />

ทางเดิน<br />

หอพักผูปวยแบบรวม<br />

สวนพยาบาลดูแล สวนพยาบาลดูแล<br />

หอพักผูปวยแบบรวม<br />

ทางเขา-ออก ทางเดิน<br />

สวนพยาบาลดูแล<br />

รูปภาพที่ 1 แสดงผังพื้นหอผูปวยโรงพยาบาล ก. รูปภาพที่ 2 แสดงผังพื้นหอผูปวยโรงพยาบาล ข.<br />

สวนพยาบาลดูแล หอพักผูปวยแบบรวม<br />

หอพักผูปวยแบบรวม<br />

ทางเดิน<br />

ทางเขา-ออก<br />

ทางเดิน<br />

ทางเขา-ออก<br />

ทางเขา-ออก<br />

สวนพยาบาลดูแล หอพักผูปวยแบบเดี่ยว<br />

รูปภาพที่ 3 แสดงผังพื้นหอผูปวยโรงพยาบาล ค.<br />

รูปภาพที่ 4 แสดงผังพื้นหอผูปวยโรงพยาบาล ง.<br />

หอพักผูปวยแบบรวม<br />

ทางเขา-ออก<br />

ทางเดิน<br />

หอพักผูปวยแบบเดี่ยว สวนพยาบาลดูแล<br />

ทางเขา-ออก<br />

หอพักผูปวยแบบรวม<br />

สวนพยาบาลดูแล<br />

รูปภาพที่ 5 แสดงผังพื้นหอผูปวยโรงพยาบาล จ. รูปภาพที่ 6 แสดงผังพื้นหอผูปวยโรงพยาบาล ฉ.


734<br />

2.) การกําหนดตัวแปรในการวิจัย<br />

สําหรับการวิจัยชิ้นนี้ไดกําหนดปจจัยหลักๆ ที่มีอิทธิพลตอการไหลเวียนกระแสลมภายในอาคารและ<br />

สอดคลองตามวัตถุประสงคของการวิจัย โดยอาศัยขอมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ สามารถสรุป<br />

ปจจัยที่ทําการศึกษาไดดังตารางที่ 1<br />

ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดตัวแปรจากการศึกษาอิทธิพลของตัวแปรตอประสิทธิภาพการไหลเวียนกระแสลมในทิศทางตางๆ<br />

* ดานทิศ 0 องศา ของหอผูปวยโรงพยาบาลในปจจุบันมีปญหาเรื่องการไหลเวียนของกระแสลม เนื่องจากมีพื้นที่ใช<br />

สอยสวนที่มีการระบายอากาศดวยวิธีกลและพื้นที่อื่นๆ เชน หองพักพยาบาล หองพักผูปวยแบบเดี่ยว มาบดบังทิศ ทางการ<br />

ไหลเวียนของกระแสลม สงผลใหพื้นที่ภายในหอผูปวยโรงพยาบาลโดยรวมมีปริมาณกระแสลมนอยกวาที่ควรจะเปน แนวทางการ<br />

แกไขสามารถแบงออกเปนสองแนวทางหลัก คือ การเจาะชองเปดที่ระดับพื้นที่ใชงาน ไดแก ชองเปดแบบปจจุบัน แบบตอเนื่อง<br />

และแบบเปนชวง และการเจาะชองเปดที่ระดับเหนือพื้นที่ใชงาน โดยเปรียบเทียบตําแนงชองลมออก ที่ระยะความสูง<br />

0.00 ,0.40 ,0.80 และ <strong>1.</strong>20 เมตร จากระดับพื้นหอง


735<br />

3.) การออกแบบการทดลอง<br />

สําหรับการวิจัยในครั้งนี้ ไดทําการสรางแบบจําลองตัวแปรชองเปดที่ผนัง ที่มีผลตอการ<br />

ไหลเวียนกระแสลมของหอผูปวยโรงพยาบาลกรณีศึกษา 6 แบบ แบงออกไดเปน 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 ทําการศึกษา<br />

ชองเปดที่ระดับพื้นที่ใชงาน เปนการเปรียบเทียบระหวางตัวแปรชองเปดแบบที่ 1 : แบบปจจุบัน(แบบไมเจาะ<br />

ชองเปด) ชองเปดแบบที่ 2 : แบบตอเนื่อง และชองเปดแบบที่ 3 : แบบเปนชวง เมื่อกระแสลมพัดมาจาก 6<br />

ทิศทาง ชุดที่ 2 ทําการศึกษาชองเปดที่ระดับเหนือพื้นที่ใชงาน เปนการเปรียบเทียบตําแหนงชองเปดที่ระยะ<br />

0.00, 0.40, 0.80 และ <strong>1.</strong>20 เมตร ของกรณีศึกษา 2 แบบ คือ กรณีศึกษาแบบที่ 1: ไมมีทางเดินภายนอกอาคาร<br />

และกรณีศึกษาแบบที่ 2: มีทางเดินภายนอกอาคาร เมื่อกระแสลมพัดมาจากทิศ 0 องศา โดยทั้ง 2 ชุดการ<br />

ทดลองมีการกําหนดความเร็วลมภายนอกอาคารที่ 0.50, <strong>1.</strong>00, <strong>1.</strong>50 และ 2.00 m/s ผลการวิจัยประกอบดวย<br />

ขอมูล 2 ลักษณะ คือ ขอมูลความเร็วลมภายในอาคาร และขอมูลอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ ( ACH )<br />

- ขอมูลความเร็วลมภายในอาคาร ทําการบันทึกความเร็วลมตําแหนงตางๆภายในอาคาร ณ<br />

ตําแหนงตรงกลางของหองหรือตรงกลางของโซนที่มีผูคนใชงาน ที่ระดับความสูง 0.80 ม. จากระดับพื้น โดย<br />

เก็บขอมูลเฉพาะพื้นที่ภายในอาคารหอผูปวยโรงพยาบาล<br />

- ขอมูลอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ ( ACH ) แสดงในรูปตารางขอมูล โดยอาศัยคาความเร็วลมที่<br />

ไดจากขอมูลสวนแรก ปริมาตรหอง และพื้นที่ชองเปดลมเขา มาทําการคํานวณเพื่อใหไดคาออกมา ดังจาก<br />

สูตร [22]<br />

0 .8×<br />

vair × ainlet<br />

× 3600<br />

ACH =<br />

volume<br />

โดยที่ ACH = คาอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ<br />

v air = ความเร็วลมเขาเฉลี่ย ณ ชองเปด (m/s)<br />

a inlet = ขนาดพื้นที่ชองเปดที่เล็กกวา (m 2 )<br />

volume = ปริมาตรหอง (m 3 )<br />

ผลการวิจัย<br />

จากการจําลองสถานการณการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติของหอผูปวยโรงพยาบาลในปจจุบัน 6<br />

แหง ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร สามารถแจกแจงผลการวิจัย ไดดังนี้<br />

<strong>1.</strong>) ขอมูลความเร็วลมภายในอาคาร<br />

การทดลองชุดที่ 1 จากการทดลองสามารถแสดงขอมูลความเร็วลมภายในอาคาร ใน<br />

ลักษณะความเร็วลมเฉลี่ยของพื้นที่ทั้งหมดจากลมทุกทิศ ดังแสดงในแผนภูมิที่ 1 และ 2


736<br />

แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยของพื้นที่ทั้งหมดจากลมทุก<br />

ภายในหอผูปวยโรงพยาบาลทั้ง 6 แบบ ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50,<strong>1.</strong>00,<strong>1.</strong>50,2.00 m/s ของชองเปด 3 แบบ<br />

แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยของพื้นที่ทั้งหมดจากลมทุก<br />

ทิศภายในหอผูปวยโรงพยาบาลทั้ง 6 แบบ ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50,<strong>1.</strong>00,<strong>1.</strong>50,2.00 m/s ของชองเปด 3 แบบ<br />

160.00<br />

150.78 148.82 146.37 144.24<br />

140.00<br />

รอยละของความเร็วลม<br />

120.00<br />

100.00<br />

80.00<br />

60.00<br />

40.00<br />

20.00<br />

ความเร็วลม<br />

0.00<br />

0.50 <strong>1.</strong>00 <strong>1.</strong>50 2.00<br />

ความเร็วลมภายนอกอาคาร (m/s)<br />

แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยของพื้นที่ทั้งหมดจากลม<br />

ทุกทิศภายในหอผูปวยโรงพยาบาลทั้ง 6 แบบ ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50 m/s ของชองเปด 3 แบบ<br />

แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยของพื้นที่ทั้งหมดจาก<br />

ลมทุกทิศภายในหอผูปวยโรงพยาบาลทั้ง 6 แบบ ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50 m/s ของชองเปด 3 แบบ<br />

180.00<br />

166.08 16<strong>1.</strong>28<br />

รอยละของความเร็วลม<br />

160.00<br />

140.00<br />

120.00<br />

100.00<br />

80.00<br />

60.00<br />

40.00<br />

124.97<br />

ความเร็วลม<br />

20.00<br />

0.00<br />

ชองเปดแบบปจจุบัน ชองเปดแบบตอเนื่อง ชองเปดแบบเปนชวง<br />

รูปแบบชองเปด


737<br />

การทดลองชุดที่ 2 จากการทดลองสามารถแสดงขอมูลความเร็วลมภายในอาคาร ใน<br />

ลักษณะความเร็วลมเฉลี่ยของพื้นที่ทั้งหมดจากลมทิศ 0 องศา ดังแสดงในแผนภูมิที่ 3 และ 4<br />

แผนภูมิที่ 3 แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยภายในจากลมทิศใต<br />

(0องศา) ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50,<strong>1.</strong>00,<strong>1.</strong>50,2.00 m/s ของชองเปด 2 กรณี<br />

แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยภายใน<br />

จากลมทิศใต (0องศา) ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50,<strong>1.</strong>00,<strong>1.</strong>50,2.00 m/s ของชองเปด 2 กรณี<br />

รอยละของความเร็วลม<br />

70.00<br />

60.00<br />

50.00<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

0.00<br />

43.30<br />

6<strong>1.</strong>95<br />

35.43<br />

50.70<br />

34.75<br />

49.68<br />

33.98<br />

48.78<br />

ชองเปดแบบ<br />

1 : ไมมีทางเดิน<br />

ภายนอก<br />

ชองเปดแบบ<br />

2 : มีทางเดิน<br />

ภายนอก<br />

0.50 <strong>1.</strong>00 <strong>1.</strong>50 2.00<br />

ความเร็วลมภายนอก (m/s)<br />

แผนภูมิที่ 4 แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยภายในจากลมทิศใต<br />

(0องศา) ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50 m/s แยกตามระดับความสูงของชองเปด 2 กรณี<br />

แผนภูมิแสดงรอยละความเร็วลมเฉลี่ยเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยภายใน<br />

จากลมทิศใต (0องศา) ที่ความเร็วลมภายนอก 0.50 m/s แยกตามระดับความสูงของชองเปด<br />

2 กรณี<br />

รอยละของความเร็วลม<br />

70.00<br />

60.00<br />

50.00<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

0.00<br />

44.80<br />

65.40<br />

45.00<br />

64.80<br />

44.20<br />

62.80<br />

39.20<br />

54.80<br />

ชองเปดแบบ<br />

1 : ไมมีทางเดิน<br />

ภายนอก<br />

ชองเปดแบบ<br />

2 : มีทางเดิน<br />

ภายนอก<br />

0.50 <strong>1.</strong>00 <strong>1.</strong>50 2.00<br />

ระดับความสูงชองเปด (m)


738<br />

2.) ขอมูลอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ ( ACH ) ในการคํานวณคาอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ จะ<br />

ทําการเลือกตัวแปรที่สงผลใหความเร็วลมเฉลี่ยภายในอาคารมีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ ทิศทางของกระแสลม<br />

และความเร็วลมภายนอกอาคาร ซึ่งคาความเร็วลมที่ไดจากการทดลองชุดที่ 1 พบวา ณ ความเร็วลมจาก<br />

ภายนอกอาคารที่ 0.50 m/s จะใหความเร็วลมเฉลี่ยภายในอาคารมีประสิทธิภาพมากที่สุด ทําใหไดคาอัตรา<br />

การเปลี่ยนถายอากาศ ดังแสดงในแผนภูมิที่ 5<br />

แผนภูมิที่ 5 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนถายอากาศภายในหอผูปวยโรงพยาบาล 6 รูปแบบ เมื่อ<br />

กระแสลมพัดมาในทิศทางตางๆ ดวยความเร็วลมภายนอก 0.50 m/s ของชองเปด 3 รูปแบบ<br />

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนถายอากาศภายในหอผูปวยโรงพยาบาล 6<br />

รูปแบบ เมื่อกระแสลมพัดมาในทิศทางตางๆ ดวยความเร็วลมภายนอก 0.50 m/s ของชอง<br />

เปด 3 รูปแบบ<br />

อัตราการเปลี่ยนถายอากาศ (ACH)<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

20.46<br />

16.34<br />

15.78<br />

23.14<br />

23.15<br />

22.50<br />

3<strong>1.</strong>79<br />

23.85<br />

22.07<br />

25.91<br />

22.61<br />

22.05<br />

24.43<br />

25.22<br />

20.62<br />

4<strong>1.</strong>21<br />

35.68<br />

34.57<br />

แบบ ก. แบบ ข. แบบ ค. แบบ ง. แบบ จ. แบบ ฉ.<br />

ชองเปดแบบปจจุบัน<br />

ชองเปดแบบตอเนื่อง<br />

ชองเปดแบบเปนชวง<br />

รูปแบบหอผูปวยโรงพยาบาล<br />

ผลการวิเคราะหและอภิปรายผล<br />

จากการจําลองสถานการณการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติของหอผูปวยโรงพยาบาลในปจจุบัน 6<br />

แบบ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Tecplot version 2008 และ HEATX มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธ<br />

ระหวางรูปแบบชองเปดที่ระดับพื้นที่ใชงาน คือรูปแบบชองเปดแบบปจจุบัน(แบบไมเจาะชองเปด) แบบตอเนื่อง<br />

และแบบเปนชวง และรูปแบบชองเปดที่ระดับเหนือพื้นที่ใชงาน คือตําแหนงชองเปด ที่ระดับความสูง 0.00,<br />

0.40, 0.80, <strong>1.</strong>20 เมตร จากพื้นดิน รวมไปถึงทิศทางกระแสลม กับผลลัพทคือการไหลเวียนกระแสลม ความเร็ว<br />

ลมภายในอาคาร และอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ (ACH) ของกรณีศึกษา สามารถแบงการวิเคราะหและ<br />

อภิปรายผลออกเปนกรณี ดังนี้<br />

<strong>1.</strong>) ขอมูลความเร็วลมและการไหลเวียนกระแสลมภายในอาคาร<br />

จากการศึกษาพบวาความเร็วลมของอากาศ ที่เหมาะสมสําหรับการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาตินั้น<br />

ควรมีคาอยูที่ 0.1- 0.3 m/s (ที่มา : Singapore: Guidelines for good indoor air quality in office<br />

premises,2010) ซึ่งเมื่อพิจารณาความเร็วลมและการไหลเวียนกระแสลมภายในอาคารจากการทดลองชุดที่ 1


739<br />

และ 2 จากกรณีศึกษา 6 แบบ และกรณีศึกษา 2 รูปแบบ ตามลําดับ พบวา ความเร็วลมจากภายนอก<br />

อาคารที่ 0.50 m/s จะใหความเร็วลมเฉลี่ยภายในอาคารมีประสิทธิภาพมากที่สุด จากการเปรียบเทียบเปนรอย<br />

ละ (รอยละของความเร็วลมคํานวณจากการเปรียบเทียบกับความเร็วลมภายนอกอาคารตั้งตนกับความเร็วลม<br />

เฉลี่ยภายในอาคาร ณ ตําแหนงตางๆภายในอาคาร บริเวณกลางหองหรือตรงกลางพื ้นที่ที่มีผูคนใชงาน) โดย<br />

การทดลอง ชุดที่ 1 พบวา รูปแบบชองเปดที่ระดับพื้นที่ใชงานแบบตอเนื่องจะมีคาความเร็วลมเฉลี่ย<br />

ภายในแยกตามทิศทางกระแสลมภายนอกมากที่สุด ตามมาดวยชองเปดแบบเปนชวง และชองเปดแบบ<br />

ปจจุบัน(แบบไมเจาะชองเปด) โดยมีคาความเร็วเฉลี่ยอยูที่ 0.83 m/s (166.08 %) , 0.81 m/s (16<strong>1.</strong>28 %)<br />

และ 0.62 m/s (124.97 %) ตามลําดับ โดยเฉลี่ยกระแสลมภายนอกที่พัดมาจากทิศใต จะใหความเร็วลมเฉลี่ย<br />

ภายในอาคารมีประสิทธิภาพมากที่สุด ตามมาดวยทิศตะวันตกเฉียงใต และทิศเหนือ ตามลําดับ<br />

การทดลอง ชุดที่ 2 พบวา รูปแบบชองเปดที่ระดับเหนือพื้นที่ใชงานตําแหนงระดับความสูงของชอง<br />

เปดที่ 0.00 เมตร จะมีประสิทธิภาพมากที่สุดสําหรับหอผูปวยโรงพยาบาลแบบที่ 2: มีทางเดินภายนอก คิดเปน<br />

รอยละ 65.40 (0.33 m/s) ตามมาดวยที่ระดับ 0.40 เมตร คิดเปนรอยละ 64.80 (0.32 m/s) และที่ระดับความ<br />

สูง 0.40 เมตร จะมีประสิทธิภาพมากที่สุดสําหรับหอผูปวยโรงพยาบาลแบบที่ 1: ไมมีทางเดินภายนอก คิดเปน<br />

รอยละ 45.00 (0.23 m/s) ตามมาดวยที่ระดับ 0.00 เมตร คิดเปนรอยละ 44.80 (0.22 m/s) หากเปรียบเทียบ<br />

ประสิทธิภาพความเร็วลมเฉลี่ยรวมจากทุกระยะความสูงของตําแหนงชองเปดและทุกความเร็วลมจากภายนอก<br />

อาคารของชองเปด 2 กรณี พบวา หอผูปวยโรงพยาบาลแบบที่ 2: มีทางเดินภายนอก มีประสิทธิภาพที่ดีกวา<br />

หอผู ป วยโรงพยาบาลแบบที่ 1: ไม มี ทางเดิ นภายนอก อยู ร อยละ 15.92<br />

2.) ขอมูลอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ ( ACH )<br />

จากการศึกษาพบวาอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ ที่เหมาะสมสําหรับหอผูปวยโรงพยาบาลนั้นไม<br />

ควรมีคาที่ต่ํากวา 6 ACH (ที่มา: 2003 ASHRAE Applications Handbook) ซึ่งจากการทดลอง ชุดที่ 1 พบวา<br />

คาอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ จะมีคาที่แปรผกผันกับขอมูลความเร็วลมและการไหลเวียนกระแสลมภายใน<br />

อาคารดังที่กลาวมาแลว ในกรณีของชองเปดแบบปจจุบัน(แบบไมเจาะชองเปด) คือจะมีคาเฉลี่ยมากที่สุด โดยมี<br />

คาอยูระหวาง 20.46 - 4<strong>1.</strong>21 ACH ตามมาดวยชองเปดแบบตอเนื่อง มีคาอยูระหวาง 16.34 - 35.68 ACH<br />

และชองเปดแบบเปนชวง มีคาอยูระหวาง 15.78 - 34.57 ACH ซึ่งในแบบสุดทายปรากฎวา ผลที่ต่ําสุดยังอยู<br />

ต่ํากวาเกณฑที่ยอมรับได จึงไมสามารถนํา ไปใชในการ ออกแบบเพื่อการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติในหอ<br />

ผูปวยโรงพยาบาลได<br />

บทสรุป<br />

จุดประสงคของรายงานวิจัยฉบับนี้ เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางรูปแบบชองเปดที่ระดับพื้นที่ใช<br />

งาน คือรูปแบบชองเปดแบบปจจุบัน(แบบไมเจาะชองเปด) แบบตอเนื่อง และแบบเปนชวง และรูปแบบชอง<br />

เปดที่ระดับเหนือพื้นที่ใชงาน คือตําแหนงชองเปด ที่ระดับความสูง 0.00, 0.40, 0.80, <strong>1.</strong>20 เมตร จากพื้นดิน<br />

รวมไปถึงทิศทางกระแสลม กับผลลัพทคือการไหลเวียนกระแสลม ความเร็วลมภายในอาคาร และอัตราการ<br />

เปลี่ยนถายอากาศ (ACH)ของกรณีศึกษา โดยใชวิธีการจําลองสถานการณของการระบายอากาศโดยวิธี<br />

ธรรมชาติในหอผูปวยกรณีศึกษา 6 แบบ ทําการบันทึกความเร็วลมตําแหนงตางๆภายในอาคาร ณ ตําแหนง<br />

ตรงกลางของหองหรือตรงกลางของโซนที่มีผูคนใชงาน ที่ระดับความสูง 0.80 ม. จากระดับพื้น โดยจะเก็บ


740<br />

ขอมูลเฉพาะพื้นที่ภายในอาคารหอผูปวยโรงพยาบาล เพื่อใชในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการระบาย<br />

อากาศของรูปแบบชองเปดรูปแบบตางๆ จากผลการศึกษา พบวาความเร็วลมจากภายนอกอาคารที่ 0.50 m/s<br />

จะใหความเร็วลมเฉลี่ยภายในอาคารมีประสิทธิภาพมากที่สุด จากการเปรียบเทียบเปนรอยละ(รอยละของ<br />

ความเร็วลมคํานวณจากการเปรียบเทียบกับความเร็วลมภายนอกอาคารตั้งตนกับความเร็วลมเฉลี่ยภายใน<br />

อาคาร ณ ตําแหนงตางๆภายในอาคาร บริเวณกลางหองหรือตรงกลางพื้นที่ที่มีผูคนใชงาน) นั่นแสดงวา ที่<br />

ความเร็วลมจากภายนอกอาคารไมสูงมาก ลมจะสามารถไหลเวียนผานเขาไปในตัวอาคารไดมากกวาการมี<br />

ความเร็วลมภายนอกที่มากเมื่อเทียบกับความเร็วลมจากภายนอก ตามทฤษฎีลมที่มีการเคลื่อนที่แบบราบเรียบ<br />

เปนแนวขนาน (ลามินาร) เมื่อลมภายนอกมีความเร็วมากจนถึงจุดหนึ่งก็จะไหลไปตามแนวผิวของอาคาร โดยไม<br />

ไหลเขาไปในชองเปด(ขึ้นอยูกับขนาดของชองเปด แตในงานวิจัยชิ้นนี้จะมีอัตราการไหลเขาลดลง) กอนจะหักเห<br />

กลับสูแนวเดิมของกระแสลมตั้งตน สําหรับกรณีชองเปดที่ระดับพื้นที่ใชงานแบบตอเนื่อง ใหคาความเร็วลม<br />

เฉลี่ยภายในอาคารที ่ 0.83 m/s (166.08 %) ซึงมีคาที่มากกวาคามาตราฐาน แมวาในความเปนจริงคา<br />

ความเร็วลมจะตองลดต่ําลงอีก เนื่องจากปจจัยตางๆที่เกิดขึ้น เชน ชนิดของชองเปด พฤกติกรรมการใชงาน<br />

ของผูใชอาคาร ขณะที่คาอัตราการเปลี่ยนถายอากาศ แมวาชองเปดแบบตอเนื ่องมีคาเฉลี่ยมากที่สุดรองจาก<br />

ชองเปดแบบปจจุบัน โดยมีคาระหวาง 12.95 – 44.29 ACH แตหากเปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยรวมระหวาง<br />

ความสม่ําเสมอของการไหลเวียนอากาศภายในอาคาร ความเร็วลมเฉลี่ย และอัตราการเปลี่ยนถาย อากาศแลว<br />

พบวา ชองเปดที่ระดับพื้นที่ใชงานแบบตอเนื่อง ใหผลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เหมาะสําหรับการใชงานใน<br />

หอผูปวยในปจจุบัน สําหรับกรณีชองเปดที่ระดับเหนือพื้นที่ใชงาน พบวา ที่ระดับความสูงชองเปดที่ระยะ<br />

0.00 และ 0.40 เมตรใหความเร็วลมเฉลี่ยและการไหลเวียนของอากาศภายในอาคารที่มีประสิทธิภาพมาก<br />

เพียงพอตอการใชงานในชิวิตประจําวัน คือ 0.22 (44.80%) – 0.33(65.40%) จากผลการวิจัยนี้ นําไปสูแนวทาง<br />

การออกแบบหอผูปวยโรงพยาบาล เพื่อสงเสริมใหอาคารมีประสิทธิภาพในการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติให<br />

ดียิ่งขึ้น รวมไปถึงการนําไปประยุกตใชกับการอาคารประเภทอื่นๆได<br />

บรรณานุกรม<br />

<strong>1.</strong> ทรงยศ ภารดี ,การควบคุมสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ, เอกสารประกอบการบรรยาย<br />

2. สรอยสุดา เกสรทอง , SBS โรคจากการทํางานในตึก , พิมพครั้งที่ 1 ,หนา193 .กรุงเทพฯ: โรงพิมพ กรุงเทพฯ<br />

: ใกลหมอ,2549.<br />

3. Center for Disease Control and Prevention, Guidelines for Environmental Infection Control in<br />

Healthcare Facilities, US Department of Health and Human Services Centers for Disease<br />

Control and Prevention, Atlanta, Georgia, USA, 2005.<br />

4. Li, Y., Leung, G.M., Tang, J.W., Yang, X., Chao, C.Y.H., Lin, J.Z., Lu, J.W., Nielsen, P.V., Niu, J.,<br />

Qian, H., Sleigh, A.C., Su, H.J.J., Sundell, J., Wong, T.W., and Yuen, P.L., “Role of ventilation<br />

in airborne transmission of infectious agents in the built environment – a multidisciplinary<br />

systematic review,” Vol. 17, Indoor Air, 2007, pp. 2-18.


5. Qian, H., Li, Y., Seto, W.H., Ching, P., Ching, W.H., and Sun, H.Q., “Natural Ventilation for<br />

Reducing Airborne Infection in Hospitals,” Vol. 45, Building and Environment, 2010, pp.<br />

559-565.<br />

6. Cheong, K.W.D., and Phua, S.Y., “Development of ventilation design strategy for effective removal<br />

of pollutant in the isolation room of a hospital,” Vol. 41, Building and Environment, 2006,<br />

pp. 1161-1170.<br />

7. Qian, H., Li, Y., Nielsen, P.V., and Hyldgaard, C.E., “Dispersion of exhalation pollutants in a twobed<br />

hospital ward with a downward ventilation system,” Vol. 43, Building and Environment,<br />

2008, pp.344-354.<br />

8. Tang, J.W., Li, Y., Eames, I., Chan, P.K.S., and Ridgway, G.L., “Factors involved in the aerosol<br />

transmission of infection and control of ventilation in healthcare premises,” Vol. 64, Journal<br />

of Hospital Infection, 2006, pp.100-114.<br />

9. Méndez, C., San José, J.F., Villafruela, J.M., and Castro, F., “Optimization of a hospital room by<br />

means of CFD for more efficient ventilation,” Vol. 40, Energy and Buildings, 2008, pp.849-<br />

854.<br />

10. Rui, Z., Guangbei, T., and Jihong, L., “Study on biological contaminant control strategies under<br />

different ventilation models in hospital operating room,” Vol 43, Building and Environment,<br />

2008, pp.793-803.<br />

1<strong>1.</strong> Perino, M., “Short-term airing by natural ventilation – modeling and control strategies,” Vol. 19,<br />

Indoor Air, pp.357-380.<br />

12. Escombe, A.R., Oeser, C.C., Gilman, R.H., Navincopa, M., Eduardo, T., Pan, W., Martinez, C.,<br />

Chacaltana, J. Rodriguez, R., Moore, D.A.J., Friedland, J.S., and Evans, C.A., “Natural<br />

Ventilation for the Prevention of Airborne Contagion,” Vol. 4, No. 2, PLOS Medicine, 2007,<br />

pp.309-316.<br />

13. Aluclu, I., and Dalgic, A., “A Case Study on Natural Ventilation Characteristics of the Diyarbakir<br />

Surici (Old City) Municipality Building in Turkey,” Vol. 40, Building and Environment, 2005,<br />

pp.1441-1449.<br />

14. Gong, N., Tham, K.W., Melikov, A.K., Wyon, D.P., Sekhar, S.C., and Cheong, K.W., “The<br />

Acceptable Air Velocity Range for Local Air Movement in The Tropics,” Vol. 12, No. 4,<br />

International Journal of Heating, Ventilating, Air-Conditioning and Refrigerating Research,<br />

2006, 1065-1076.<br />

15. Joshi R, Reingold AL, Menzies D, Pai M [2006]. Tuberculosis among health-care workers in low<br />

and middle-income countries: a systematic review. PLoS Med 3(12): e494.<br />

741


16. Kim SJ, Kim IS, Kim HJ, Kim SK, Rieder HL [2007]. Risk of occupational tuberculosis in National<br />

Tuberculosis Programme laboratories in Korea. Int J Tuberc Lung 11(12):138-142.<br />

17. วณิชยา กิตติไกรศักดิ์ ,วรภัทร อิงคโรจนฤทธิ์ , การควบคุมการแพรกระจายเชื้อวัณโรค , เอกสาร<br />

ประกอบการบรรยาย การอบรมเชิงปฎิบัติการ หัวขอ การประเมิณความเสี่ยงและการทําแผนการ<br />

ปฎิบัติงาน เพื่อการควบคุมการเผยแพรกระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาล วันที่ 28-30 มิถุนายน<br />

2553.<br />

18. สรอยสุดา เกสรทอง , ผลกระทบตอสุขภาพจากปญหาคุณภาพอากาศ, เอกสารประกอบการบรรยาย<br />

19. สํานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข , แนวทางการดําเนินงานควบคุมวัณโรคแหงชาติ , พิมพ<br />

ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอักษรกราฟฟคแอนดดีไซน, 2552.<br />

20. สํานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข , แนวปฎิบัติการผสมผสานวัณโรคและโรคเอดส , พิมพ<br />

ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2552.<br />

2<strong>1.</strong> World Health Organization, Guidelines for the Prevention of Tuberculosis in Healthcare Facilities<br />

in Resource-Limited Settings, WHO, 1999.<br />

22. World Health Organization, Infection prevention and control of epidemic- and pandemicproneacute<br />

respiratory diseases in health care: WHO Interim Guidelines, WHO, 2007.<br />

23. World Health Organization, Natural Ventilation for Infection Control in Health-care Settings,WHO,<br />

2009.<br />

742


743<br />

แนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟ<br />

ศักดา สันธนะวิทย<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย อวยชัย วุฒิโฆสิต<br />

อาจารย ที่ปรึกษารวม : ดร.ปรีชญา สิทธิพันธุ<br />

บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

“โรงพยาบาล” เปน สถานที่ที่ทุกคนจะตองเกี่ยวของอยูดวยเสมอตั้งแตเกิดจนถึงตาย โรงพยาบาลเปน<br />

สถานที่ ที่ใหการบําบัดรักษา ฟนฟู ตลอดจนปองกันโรครายตางๆใหกับมนุษย โรงพยาบาลเปนปจจัยหนึ่งสําคัญ<br />

ในสังคม ที่มีหนาที่ในการใหบริการทางการแพทย1 โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตกรุงเทพมหานครที่มีขอกําหนดทาง<br />

กฎหมายตางๆ กฎกระทรวงที่ออกตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข จากสถิติความถี่ของการเกิดอัคคีภัยจําแนกตามสิ่งที่<br />

เกิดอัคคีภัยระหวางป พ.ศ.2535-2543 พบวาโดยเฉลี่ยแลวอาคารที่มีความถี่ในการเกิดอัคคีภัยมากที่สุด คือ<br />

อาคารสูง 2 ซึ่งโรงพยาบาลในปจจุบันนั้นก็เปนอาคารหนึ่งที่มีโอกาสเกิดอัคคีภัยไดดวยเชนเดียวกัน เพราะเมื่อ<br />

เกิดอัคคีภัยขึ้นทําใหเกิดความวุนวายสับสนอลหมานของผูคน ทําใหตองสูญเสียชีวิตไปจากการเกิดอัคคีภัยซึ่ง<br />

เปนจํานวนไมนอยในการเกิดแตละครั้ง<br />

แนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟ ที่เกี่ยวกับงาน<br />

ทางดานสถาปตยกรรมทั้งในเรื่องของการวางผังอาคาร การจัดพื้นที่ใชงาน เสนทางสัญจรทั้งภายใน ภายนอก<br />

อาคาร แสงสวาง วัสดุตกแตง ชองเปด ลักษณะรูปแบบของกรอบตัวอาคาร และที่วางภายในอาคาร ซึ่งงานที่<br />

กลาวมาทั้งหมดนี ้ลวนเปนปจจัยที่สงผลกระทบตอความปลอดภัยจากอัคคีภัยในอาคารทั้งสิ้น กลาวคือเปนการ<br />

ลดความเสี่ยงของการบาดเจ็บหรือการเสียชีวิตของมนุษยใหมีระดับต่ําที่สุดถึงไมมีการเสียชีวิตเลยในขณะเดียว<br />

กันตองการลดความเสียหายจากอัคคีภัยที่เกิดขึ้นภายในอาคารและปองกันไมใหไฟที่เกิดขึ้นมีการกระจายไปยัง<br />

อาคารใกลเคียง<br />

ดังนั้นผูวิจัยจึงทําการศึกษาแนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการ<br />

ลุกลามของไฟเพื่อสรุปและเสนอแนะแนวทาง ที่จําเปนตอการปองกันภยันตรายตางๆ อันจะเกิดตอ สุขภาพ ชีวิต<br />

รางกาย และทรัพยสินของผูใชอาคาร<br />

1 วีรชัย อนันตเธียร, “การศึกษาเปรียบเทียบสภาพการใชสอยอาคารหอผูปวยระหวางหอผูปวยแบบวงกลมและแบบ<br />

เสนตรงในโรงพยาบาลทั่วไปของเอกชน:ตามทัศนะของแพทยและพยาบาล,”(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาสถาปตยกรรม<br />

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย,2531)<br />

2 สถิติรายป การประกันอัคคีภัยประเทศไทย, [Online] http://www.firefara.org/fara-fs-hb6.html, และ<br />

http://www.doi.go.th/nonlife/451023.htm [21 มีนาคม 2553]


744<br />

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาแนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการ<br />

ลุกลามของไฟที่เกี่ยวกับงานทางดานสถาปตยกรรม การวางผังอาคาร การจัดพื้นที่ใชงาน เสนทางสัญจรทั้ง<br />

ภายใน ภายนอกอาคาร แสงสวาง วัสดุตกแตง ชองเปด ลักษณะรูปแบบของกรอบตัวอาคาร และที่วางภายใน<br />

อาคาร โดยกําหนดวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล จากเอกสาร เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ที่มีความเกี่ยวของกับการ<br />

ออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟ และกลุมตัวอยางของประชากรที่เปน<br />

สถาปนิก วิศวกร และพนักงาน ใชวิธีการเลือกตัวอยาง แบบเจาะจง(Purposive Sampling) และ แบบเชิงกอน<br />

หิมะ (Snowball Sampling) เนื่องจากกลุมตัวอยางเปนผูที่มีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ซึ่งไมอาจทราบ<br />

จํานวนประชากรที่แทจริงทั้งหมดได<br />

การเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางของประชากรนี้โดยการสัมภาษณ กลุมประชากรตัวอยาง โดย<br />

ใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางในการสัมภาษณ สถาปนิก วิศวกร หรือพนักงานที่ปฏิบัติหนาที่ดานการตรวจ<br />

สอบสภาพอาคารเพื่อการปองกันและระงับอัคคีภัย รวมถึงสุขอนามัยและสิ่งแวดลอมแบบสัมภาษณจะเปนมี<br />

ลักษณะเปนการสัมภาษณแบบปลายปด เพื่อใหไดขอมูลที่มีความชัดเจน และมีบางสวนที่มีลักษณะปลายเปด<br />

เพื่อใหผูใหขอมูลสามารถชี้แจงเหตุผล หรือแสดงความคิดเห็นในบางประเด็นที่เกี่ยวกับทางการออกแบบแบง<br />

สวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟ แบบสัมภาษณแบงออกเปน 2 สวนคือ<br />

<strong>1.</strong> ความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของ<br />

ไฟเพื่อการปองกันและระงับอัคคีภัยรวมถึงสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม<br />

2. ขอมูลการปฏิบัติแนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟ<br />

ที่เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัยรวมถึงสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม<br />

การศึกษานี้ไดเลือกอาคารที่มีแนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการ<br />

ลุกลามของไฟ ที่อยูภายในกรุงเทพมหานครเปนกรณีศึกษาจํานวน 3 โรงพยาบาล ดังนี้<br />

<strong>1.</strong> โรงพยาบาลหัวเฉียว<br />

2. โรงพยาบาลอินเตอรเนชั่นแนล สุขุมวิท (เนื่องจากเหตุผลทางธุรกิจ)<br />

3. สถาบันการแพทย สยามินทราธิราช โรงพยาบาลศิริราช (อยู ระหวางการกอสราง)<br />

ซึ่งทั้ง 3 โรงพยาบาลนี้มีการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟ อยู<br />

เปนกรณีศึกษาเพื่อที่จะนําขอมูลที่ไดมาประกอบกับงานวิจัยในครั้งนี้<br />

<strong>1.</strong> โรงพยาบาลหัวเฉียว<br />

โรงพยาบาลหัวเฉียวเปนโรงพยาบาลขนาด 323 เตียง สูง22 ชั้น เริ่มกอตั้งขึ้นโดยมูลนิธิปอเต็กตึ๊งเปด<br />

ใหบริการในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2521เปนโรงพยาบาลสูงที่สุดแหงแรกของประเทศไทย ออกแบบโดยบริษัท<br />

สถาปนิก110 ซึ่งในการออกแบบสมัยนั้นมีกฎหมายการปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ เพื่อ<br />

ความปลอดภัยในการทํางานสําหรับลูกจาง พ.ศ.2515 เปนมาตรฐานการปองกันอัคคีภัยในไทยเทานั้น ทําให<br />

ผูออกแบบตระหนักถึงความปลอดภัยของผูใชอาคารและชื่อเสียงของบริษัท ดวยความรูการปองกันอัคคีภัยใน<br />

สมัยนั้นจึงทําการออกแบบอาคารโดยตัวอาคารทําดวยคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหมด วัสดุเฟอรนิเจอรภายในของ<br />

โรงพยาบาลทั้งหมดเปนวัสดุทนไฟ(Fireproof) พื้นของแตหละชั้นมีการปองกันไฟลุกลามขึ้นไปสูชั้นตางๆของ


745<br />

อาคาร<br />

แนวผนังกั้นไฟ<br />

ภาพที่ <strong>1.</strong>1 แสดงแปลนเสนแนวผนังกั้นไฟ<br />

ภาพที่ <strong>1.</strong>2 แสดงการปองกันไฟลุกลามสูชั้นบน (Horizontal Projections)<br />

2. โรงพยาบาลอินเตอรเนชั่นแนลสุขุมวิท (เนื่องจากเหตุผลทางธุรกิจ)<br />

โรงพยาบาลขนาด200เตียงอาคารสูง12ชั้นรวมที่จอดรถชั้นใตดินอาคารโรงพยาบาลอินเตอรเนชั่นแนล<br />

ไดรับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลระดับสากล (JCI):ตั้งแต 2 กุมภาพันธ 2545 โรงพยาบาลเอกชนที่ใหญที่สุด<br />

ในภาคพื้นเอเชียอาคเนย พื้นที่รวม 1,000,000 ตารางฟุต ระบบปองกันอัคคีภัยและความปลอดภัยมาตรฐาน<br />

National Fire Protection Association (NFPA) เนื่องจากอาคารมีการตอเติมขยายการใหบริการอีกทั้งแปลน<br />

ขอมูลทางการออกแบบเปนความลับทางธุรกิจจึงไมสามารถนําชื่อมาอางอิงไดแตจากการสัมภาษณเจาหนาที่ๆ<br />

ดูแลการปองกันอัคคีภัยภายในอาคารสามารถนํามาสรุปไดดังนี้ เนื่องจากอาคารเปนลักษณะสี่เหลี่ยมผืนผามี<br />

ความยาวมากทําใหมีการแบงอาคารออกเปน 4 โซน โดยมีประตูทนไฟเปนสวนกั้นระหวางโซนโดยมีการปองกัน<br />

จากพื้นถึงทองพื้นอาคารอีกชั้น นอกจากนี้บริเวณสวนที่กั้นเหนือฝาเพดานทอระบบตางๆก็มีการอุดกั้นปองกัน


746<br />

ไมใหควันและไฟนั้นไมใหสามารถหลุดขามโซนมาได อีกทั้งไดนํามาตารฐาน NFPA มาใชเพื่อปองกันอัคคีภัยอีก<br />

ดวยเชน ในสวนทางเดินใชวัสดุที่ทนไฟ มีการปองกันไฟลุกลามขามชั้นซึ่งมีอยูสองแบบคือ การปองกันอัคคีภัยใน<br />

แนวตั้งและแนวนอน (Vertical Horizontal Projections)<br />

ภาพที่ 2.1 แสดงแปลนการแบงอาคารออกเปนโซนเพื่อการปองกันอัคคีภัยลุกลาม<br />

ภาพที่ 2.2 แสดงแปลนประตูกั้นไฟระหวางโซนเพื่อการปองกันอัคคีภัย


747<br />

ภาพที่ 2.3 แสดงรูปตัดประตูกั้นไฟระหวางโซนเพื่อการปองกันอัคคีภัย<br />

ภาพที่ 2.3 แสดงรูปตัดการปองกันอัคคีภัยลามขามชั้นในแนวตั้งและแนวนอน


748<br />

3. สถาบันการแพทย สยามินทราธิราช โรงพยาบาลศิริราช (อยูระหวางการกอสราง)<br />

สถาบันการแพทย สยามินทราธิราช โรงพยาบาลศิริราชโรงพยาบาล 14 ชั้น (212,450 ตร.ม.) อยู<br />

ระหวางการกอสราง ออกแบบโดยบริษัท ตนศิลปสถาปนิก โดยมีผูตรวจสอบอาคารมาเปนที่ปรึกษาในการ<br />

ออกแบบอาคารปองกันอัคคีภัย กรณีศึกษานี้ไดใชกฎหมายควบคุมอาคารในดานการปองกันและการระงับ<br />

อัคคีภัย มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร และNational Fire Protection Association (NFPA) หลักการออกแบบ<br />

การปองกันอัคคีภัยทําการแบงอาคารออกเปน 3 โซน โดยการแบงพื้นที่แตละสวนไมเกิน 2,100 ตร.ม.ตาม<br />

แนวนอน (Horizontal Exist)การแบงแตละโซน จะมีการแบงตามการรักษาพยาบาลไมไดแบงทั้งอาคารและเนน<br />

ในสวนของหองที่มีความเสี่ยงที ่จะเปนเชื้อไฟหรือเปนตนเหตุกอใหเกิดอัคคีภัยไดอีกทั้งมีการปองกันชองDUCTที่<br />

สามารถเปนตัวนําควันและไฟใหไปลุกลามยังจุดตางๆไดตอไป<br />

ภาพที่ 3.1 แสดงแปลนการแบงอาคารออกเปนสวนๆเพื่อการปองกันอัคคีภัย<br />

ภาพที่ 3.2 แสดงแปลนหองพักปองกันอัคคีภัยในแนวนอน(Horizontal Projections)


749<br />

ภาพที่ 3.2 แสดงรูปตัดการเกิดอัคคีภัยทั้งภายนอกและภายในชองDUCT<br />

ภาพที่ 3.2 แสดงรูปตัดการปองกันอัคคีภัยทั้งภายนอกและภายในชองDUCT


750<br />

ผลการศึกษา<br />

ผลการวิจัยสรุปไดวา อาคารโรงพยาบาลที่เปนกรณีศึกษาทําใหทราบถึงแนวทางการออกแบบแบงสวน<br />

กั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟภายในโรงพยาบาลทั้งสาม ซึ่งมีความแตกตางกันในชวง<br />

เวลานั้นๆแนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟในชวงแรกๆ<br />

โรงพยาบาลหัวเฉียวในการกอสรางสมัยนั้นยังไมมีขอมูลมากนักผูออกแบบจึงไดหาขอมูลที่เกี่ยวกับ<br />

แนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อปองกันอัคคีภัยโดยการใชวัสดุอุปกรณตั้งแตการ<br />

กอสรางอาคารจนถึงวัสดุอุปกรณและเฟอรนิเจอรที่เปนวัสดุไมติดไฟและทนไฟเพื่อความปลอดภัยของผูใช<br />

อาคารและผูออกแบบเอง<br />

โรงพยาบาลอินเตอรเนชั่นแนลสุขุมวิท (เนื่องจากเหตุผลทางธุรกิจ) เปนแนวทางการออกแบบแบงสวน<br />

กั้นแยกของโรงพยาบาลอีกชวงเวลาหนึ่งที่ไดนําระบบมาตรฐานของ National Fire Protection Association<br />

(NFPA) มาเพื่อยกระดับการใหความมั่นใจแกผูใชอาคารในดานอัคคีภัย<br />

สถาบันการแพทยสยามินทราธิราช โรงพยาบาลศิริราช (อยูระหวางการกอสราง) เปนแนวทางการ<br />

ออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลที่มีการนําเอากฎหมายควบคุมอาคารในดานการปองกันและการระงับ<br />

อัคคีภัย มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร และNational Fire Protection Association (NFPA) มาใชในการออก<br />

แบบกอสรางการแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลที่มีการพัฒนาการปองกันอัคคีภัยทําใหผูใชภายในอาคารมี<br />

ความปลอดภัยมากขึ้น<br />

สรุปผลการศึกษา<br />

แนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟสถาปนิกตองใหความ<br />

สําคัญกับพื้นที่ใชสอยของอาคารโรงพยาบาลที่จะถูกออกแบบการจัดวางพื้นที่การใชงานตางๆเพื่อรองรับและ<br />

สนับสนุน กิจกรรมตางๆ ที ่อยูภายในโรงพยาบาลเพื่อใหการดําเนินงานภายในโรงพยาบาล พอจะแบงพื้นที่ตาม<br />

ลักษณะกิจกรรมการใชไดดังนี้3<br />

1) พื้นที่สวนใหบริการดานการแพทย ( HEALTH SERVICE PLACE AREA)<br />

2) ทางสัญจรหลัก (PRIMARY CIRCULATION)<br />

3) พื้นที่พิเศษ (SPECIAL AREAS)<br />

4) แกนบริการ (SERVICE CORE)<br />

ดังนั้นแนวทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟ นอกจากการ<br />

ปองกันในพื้นที่ทั้ง4สวนนี้แลวยังตองคํานึงถึงกฎหมายควบคุมอาคารในดานการปองกันและการระงับอัคคีภัย<br />

มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร พื้นที่ๆมีความเสี่ยงสูงที่กอใหเกิดอัคคีภัย วัสดุกอสรางตกแตงภายในที่จะเปน<br />

เชื้อเพลิงในการลุกลามของไฟ และการแบงลดพื้น ที่การใชงานในแตหละสวนเพื่อลดความเสียหายที่อาจกอให<br />

เกิดไปในวงกวาง และสามารถมาระงับเหตุหรือสามารถขนยายผูคนภายในอาคารออกไปไดอยางปลอดภัย แนว<br />

ทางการออกแบบแบงสวนกั้นแยกของโรงพยาบาลเพื่อควบคุมการลุกลามของไฟนั้นเปนเพียงการออกแบบเชิง<br />

3 มาลินี ศรีสุวรรณ, ความรูเกี่ยวกับการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทตางๆ (กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยศิลปากร,2542)


751<br />

รับ(Passive)จะใหความสําคัญกับการปองกันไมใหเกิดปญหาเพื่อบรรเทาปญหาจากเพลิงไหมใหลดนอยลง<br />

ผูออกแบบจะตองออกแบบทั้งเชิงรุก (Active) และเชิงรับ(Passive)ควบคูกัน โดยการออกแบบเชิงรุก(Active)จะ<br />

มุงเนนแนวคิดในการปองกันอัคคีภัยเมื่อเกิดมีอัคคีภัยเกิดขึ้นแลวจะใชระบบหรือเครื่องจักรไปแกปญหาควบคูกัน<br />

ไปเพื่อใหอาคารโรงพยาบาลนั้นมีประสิทธิภาพในการปองกันอัคคีภัยไดเปนอยางดี<br />

บรรณานุกรม<br />

กฎหมายไทย, พระราชบัญญัติ/พระราชกําหนด, สถานพยาบาล พ.ศ. 2541, พระราชบัญญัติ<br />

สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 [Online] แหลงที่มา: http://www.lawamendment.go.th /ow.asp?ID=7451<br />

[21มีนาคม 2553]<br />

คณะกรรมการกฤษฎีกา, สํานักงาน. พระราชบัญญัติปองกันและระงับอัคคีภัย, [Online]<br />

แหลงที่มา: http://www.krisdika.go.th/lawChar.jsp?head=3&item=3&process=showTitleOfLaw&id<br />

=2&group=ป&lawCode=ป39&linkID=2B#2B [21 มีนาคม 2553]<br />

คณะกรรมการควบคุมอาคาร, สํานักงาน. พระราชบัญญัติควบคุมอาคารพ.ศ. 2522<br />

พระราชบัญญัติควบคุมอาคารฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติควบคุมอาคารฉบับที่ 3 พ.ศ. 2543<br />

(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพอาสารักษาดินแดน, 2544)<br />

จรัญพัฒนภูวนันท, อาคารสูง (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)<br />

ชุมพร บุญประยูรและอนันต ตัณมุขยกุล, “อัคคีภัย: ชนิดและธรรมชาติของอัคคีภัย,” ในการ<br />

ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยของโรงพยาบาล (กรุงเทพมหานคร: บ. L.T. เพรสจก.)<br />

ธีระเดช ปลื้มใจ, “การตรวจสอบสภาพอาคารดานสถาปตยกรรม ตามกฏหมายควบคุมอาคาร<br />

กรณีศึกษา : อาคารโรงพยาบาล,” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย<br />

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย,2550)<br />

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, [Online] แหลงที่มา: http://rirs3.royin.go.th/<br />

dictionary.asp [31 มกราคม 2554]<br />

ภูมิสถาปนิกประเทศไทย, สมาคม. ระเบียบการปฏิบัติงานทางวิชาชีพภูมิสถาปตยกรรม,<br />

[Online] แหลงที่มา: http://www.thailandscape.net/standard.pdf [24 กุมภาพันธ 2548]<br />

มาลินีศรีสุวรรณ, ความรูเกี่ยวกับการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทตางๆ (กรุงเทพ:<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร,2542)<br />

วีรชัย อนันตเธียร, “การศึกษาเปรียบเทียบสภาพการใชสอยอาคารหอผูปวยระหวางหอผูปวย<br />

แบบวงกลมและแบบเสนตรงในโรงพยาบาลทั่วไปของเอกชน:ตามทัศนะของแพทยและพยาบาล<br />

,”(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย,2531)<br />

วิศวกรรมสถานฯ, สมาคม. มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย (กรุงเทพมหานคร: บริษัทโกลบอลกราฟ<br />

ฟคจํากัด, 2545)


เลอสมสถาปตานนท, องคประกอบ: สถาปตยกรรมพื้นฐาน (กรุงเทพมหานคร: บริษัทโพสตพับลิช<br />

ชิงจํากัด,2543)<br />

สถิติรายปการประกันอัคคีภัยประเทศไทย, [Online] แหลงที่มา: http://www.firefara.org/farafs-hb6.html,<br />

และ http://www.doi.go.th/nonlife/451023.htm [21 มีนาคม 2553]<br />

เสริชยโชติพานิช, “การบริหารทรัพยากรกายภาพ,” เอกสารประกอบการสอนวิชาการบริหาร<br />

ทรัพยากรกายภาพ (ม.ป.ท., ม.ป.ป.)<br />

Cassidy,Kevin A. Fire Safety and Loss Prevention. U.S.A.:Butterworth-Heinemann, 1992.<br />

National Fire Protection Association. Nation Fire Codes Subscription Service. Volume 7.<br />

Massachusetts: National Fire Protection Association, 1997.<br />

National Fire Protection Association. NFPA Inspection Manual. 7 th ed. Massachusetts:<br />

National Fire Protection Association, 1994.<br />

National Fire Protection Association. NFPA 101 Life Safety Code. 2000 edition.<br />

Massachusetts: National Fire Protection Association, 2000.<br />

The building center of Japan. The study on development of a building safety system<br />

focusing on fire prevention in the kingdom of Thailand. Final Report Volume 3, Japan: Nippon Koei<br />

CO.;LTD.,2003.<br />

752


753<br />

นวัตกรรมการออกแบบหองสมุดสารนิเทศสารานุกรมไทยตนแบบ จ.นครราชสีมา<br />

INNOVATIVE DESIGN PROTOTYPE FOR ENCYCOPEDIA LYBRARY INFORMATION,<br />

NAKHON RATCHASIMA<br />

เจนจิรา นาเมืองรักษ<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ศาสตราจารย ดร.สุนทร บุญญาธิการ<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

หองสมุดสาธารณะเปนอาคารที่จําเปนตอสาธารณะ ซึ่งเปนประโยชนดานการคนควาหาความรู ที่<br />

เขาถึงไดงายของชุมชน นอกจากนี้หองสมุดสาธารณะยังเปนศูนยรวมที่ทําใหเกิดการเชื่อมโยงของชุมชน เปนที่<br />

พบปะสังสรรค นําไปสูกิจกรรมตางๆที่เปนประโยชนตอสวนรวม อาคารดังกลาวจึงตองสามารถเปนสื่อกลางการ<br />

เรียนรูทางภูมิปญญาของชุมชนได<br />

การออกแบบกอสรางหองสมุดสาธารณะทั่วไปในปจจุบัน ขาดความรูความเขาใจ สวนใหญแลวจึงมี<br />

รูปแบบที่ไมเหมาะสม ไมสามารถใชประโยชนไดอยางคุมคา ไมตรงกับความตองการที่แทจริงของชุมชน ขาด<br />

การจูงใจใหเขาไปใชสอยหาความรู ขาดการคํานึงถึงประโยชนตอสวนรวมทางดานความตองการของสังคมที่<br />

แทจริง โดยเฉพาะอยางยิ่งขาดการไมคํานึงถึงการออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน การดูแลรักษาสิ่งแวดลอม<br />

การสรางสภาวะบรรยากาศขณะใชงานอาคาร การดูแลรักษาอาคารหลังจากการเขาใชงาน<br />

การวิจัยนี้จึงเกิดขึ้นมาเพื่อตองการออกอาคารหองสมุดสาธารณะตนแบบ มุงเนนในตัวแปรสําคัญที่<br />

ถูกการออกแบบหองสมุดสาธารณะทั่วไปมองขาม ผสานดวยแนวความคิดแนวใหมกอเกิดเปนนวัตกรรมการ<br />

ออกแบบและกอสรางยุคใหม เพื่อตองการใหผลจากการออกแบบหองสมุดสาธารณะ เหมาะสมกับการเปน<br />

อาคารหองสมุดสาธารณะเพื่อชุมชน ที่สมบูรณแบบเพื่อเปนตนแบบแนวทางใหการออกแบบกอสรางหองสมุด<br />

สาธารณะเพื่อชุมชนที่มีคุณคา และมีศักยภาพสูงในการใชงานตอๆไป<br />

วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> วิเคราะห จัดหาโปรแกรม วิธีการบริหารจัดการอาคาร ประเมินผล ใหไดตัวแปร เพื่อนํามา<br />

ประยุกตใชในการออกแบบ กอสราง อาคารหองสมุดสาธารณะชุมชน ต.จันทึก อ. ปากชอง จ.<br />

นครราชสีมา<br />

2. ศึกษาตัวแปรการออกแบบหองสมุดสาธารณะที่มีศักยภาพดานพลังงาน ทางดานการใชงาน การ<br />

ใหประโยชนตอบสนองความตองการของชุมชนสูง อยูไดดวยตัวเอง<br />

3. สรุปผล เสนอรูปแบบและวิธีการกอสรางหองสมุดสาธารณะชุมชนตนแบบ ที่มีศักยภาพดาน<br />

พลังงาน ดานการใชงาน ใหประโยชนตอบสนองความตองการของชุมชนสูง อยูไดดวยตัวเอง


754<br />

ขอบเขตของการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> ศึกษาขอมูลของอาคารหองสมุดสาธารณะขนาดพื้นที่ไมเกิน 500 ตร.ม.<br />

2. ศึกษาตัวแปร สังคม สิ่งแวดลอม รวมถึงปจจัยตางๆ ในเขตบริเวณพื้นที่กอสรางเทานั้น (อ.ปากชอง<br />

จ.นครราชสีมา)<br />

ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> วิเคราะหและกําหนดโปรแกรม วิธีการบริหารจัดการหองสมุด วิเคราะหรูปแบบ ลักษณะ เทคนิคการ<br />

ออกแบบ วิธีการกอสราง นํามาสรุปเปนแนวคิดในการออกแบบ และดําเนินการกอสรางอาคาร<br />

หองสมุดสาธารณะ<br />

2. ศึกษาและรวบรวมขอมูล ทฤษฎี และงานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของในการออกแบบหองสมุดสาธารณะ<br />

สัมภาษณคนในชุมชน รวมทั้งสํารวจหองสมุดสาธารณะทั่วไป เพื่อสรรหาตัวแปรที่สงผลตอการ<br />

ออกแบบหองสมุดสาธารณะที่ใหประโยชนตอชุมชนทางดานศักยภาพดานพลังงาน ดานการใชงาน<br />

และใหประโยชนตอบสนองความตองการของชุมชน และการอยูไดดวยตัวเอง<br />

3. ประเมินผล สรุปผลการใชงานอาคาร และ เสนอแนะแนวทางกอนนําไปเปนตนแบบในการกอสราง<br />

จริงตอไป<br />

ประโยชนไดรับ<br />

<strong>1.</strong> ไดมาซึ่งตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการออกแบบและกอสรางที่มีศักยภาพดานพลังงาน ดานการใชงาน<br />

การใหประโยชนตอบสนองความตองการของชุมชน และการอยูไดดวยตัวเอง<br />

2. เทคนิคการออกแบบ การใชวัสดุ แนวทางการกอสราง และวิธีการบริหารจัดการอาคาร หองสมุด<br />

สาธารณะที่ประหยัดพลังงาน และอยูไดดวยตัวเอง<br />

3. วิธีการออกแบบหองสมุดสาธารณะชุมชนตนแบบ<br />

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ<br />

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบระหวางลักษณะของหองสมุดสาธารณะทั่วไปกับลักษณะหองสมุดตนแบบยุคใหม<br />

ลักษณะของหองสมุดสาธารณะทั่วไป ลักษณะหองสมุดตนแบบยุคใหม<br />

<strong>1.</strong> สามารถเปนที่เก็บหนังสือไวใหคนมายืมอานได<br />

เทานั้น<br />

2. มีแสงสวางที่พอเพียงตอการอาน<br />

3. ออกแบบกอสรางโดยไมไดคํานึงถึงความยั่งยืน<br />

4. กลายเปนภาระแกสังคมในที่สุด<br />

<strong>1.</strong> ผูใชสามารถใชสอยอาคารไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

2. สภาวะแวดลอมสมบูรณแบบ อํานวยตอการอาน<br />

และเรียนรู<br />

3. ใหประโยชนแกชุมชน<br />

4. ยั่งยืน อยูไดดวยตัวเอง ไมสรางภาระแกชุมชน<br />

5. สวยงาม ทันสมัย<br />

6. คุมคาราคาคากอสราง<br />

7. ประหยัดพลังงาน<br />

8. สงเสริมกิจกรรม ตอบสนองความตองการ และวาม<br />

เปนอยูของชุมชนอยางแทจริง


755<br />

แผนภูมิที่ 1 โปรแกรมและองคประกอบของหองสมุดที่เกิดจากการวิเคราะห และประยุกตผลการศึกษา<br />

ตารางที่ 2 แนวคิดในการออกแบบหองสมุดสาธารณะตนแบบ<br />

รูปทรงอาคารโดดเดน ดึงดูด สวยงาม สะดุดตา<br />

- รูปทรงเรขาคณิต<br />

- หนาตา รูปลักษณไมคลายอาคารที่เห็นอยู<br />

โดยทั่วไป<br />

ทําเปลือกอาคารใหดีมีคุณภาพที่สุด<br />

โดยการเลือกใชวัสดุยุคใหมที่เหมาะสม<br />

- มีคาความเปนฉนวนสูง<br />

- แข็งแรงทนทาน<br />

- ติดตั้งงาย<br />

- สวยงาม<br />

- รักษาดูแลงาย<br />

แฝงดวยเอกลักษณของชุมชน ตอบสนองความตองการของชุมชน<br />

- การมีหลังคาจั่ว มีชาน มีระเบียง มีใตถุน ซึ่งเปนเอกลักษณบาน<br />

ไทย<br />

- จัดสวนวางตําแหนงใหมีรานคาของหองสมุดใหขายอยูตําแหนง<br />

ที่เหมาะสม<br />

- ลานกิจกรรม อเนกประสงค<br />

อากาศบริสุทธิ์ ไรกลิ่น ไรเสียงรบกวน ดวยกระบวนการออกแบบ<br />

ประสานเทคโนโลยี<br />

- การใชระบบปรับอากาศควบคุมคุณภาพอากาศ<br />

- หลบหลีกสียงรบกวนจากภายนอก จัดการ ควบคุมคุณภาพ<br />

เสียงของภายในใหเหมาะสม<br />

หองน้ํามาเปนจุดดึงดูด เปนหองน้ําลอยฟา สวยงาม โดดเดน โชวได<br />

- พลิกผันคานิยมเดิมไมใหเหมือนใคร จากที่หองน้ําที่เคยตองเปนมุมมองที่อุจาด ควรหลบเลี่ยงไปจากมุมมองที่<br />

เห็นเปนหนาตาของอาคาร ใหกลายเปนหองน้ําสุขาวดี นาเชยชม<br />

- วางหนาอาคารใหเปนจุดสนใจ ใหหองน้ําไมใชสิ่งหนาเกลียด แตหองน้ําเปนสิ่งสวยงาม โดดเดน ดึงดูด นาใช<br />

งาน และใหประโยชนกับชุมชนได


756<br />

ทฤษฏีที่เกี่ยวของ<br />

ตัวแปรที่สําคัญที่มีอิทธิพลตอการออกแบบอาคารหองสมุดสาธารณะตนแบบยุคใหม<br />

ดานความยั่งยืน การใชทุนธรรมชาติ โปรแกรม การบริหาร จัดการ ของอาคาร<br />

ดานการใชงาน แสงสวางที่พอเหมาะ สภาวะนาสบาย คุณภาพเสียงที่ดี<br />

ดานการประหยัดงาน ปริมาณการใชพลังงานไฟฟาที่ใชในการทําความเย็นตอพื้นที่ใชสอยของอาคาร<br />

ความเย็นสามารถคํานวณไดจากสมการ ดังตอไปนี้<br />

E = U *S/ A * ΔT*1/COP<br />

เมื่อ<br />

E = ปริมาณพลังงานไฟฟาที่ใชในการทําความเย็นตอพื้นที่ใชสอยของอาคาร (energy/area)<br />

หนวยเปนวัตตตอตารางเมตร (W/m 2 )<br />

U = คาเฉลี่ยของคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของเปลือกอาคาร หนวยเปนวัตตตอตาราง<br />

เมตรตอความแตกตางอุณหภูมิ 1 องศาเซลเซียส (W/m 2 •°C)<br />

S/A = สัดสวน (ratio) ระหวางพื้นที่ผิวเปลือกอาคาร (surface) ตอพื้นที่ใชสอย (usable area)<br />

ΔT = คาความแตกตางระหวางอุณหภูมิอากาศของสภาพแวดลอมภายนอกอาคารและอุณหภูมิ<br />

อากาศภายในอาคาร หนวยเปนองศาเซลเซียส (°C)<br />

COP = ตัวเลขประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ มาจากคําวา Coefficient of performance<br />

หมายถึง อัตราสวนระหวางพลังงานความเย็นที่ไดจากเครื่องปรับอากาศ (energy output) ตอพลังงาน<br />

ไฟฟาที ่ใช (energy input)<br />

จากสมการจะเห็นไดวาตัวแปรหลักที่สงตอปริมาณภาระการทําความเย็น คือ<br />

- วัสดุเปลือกอาคาร ซึ่งจะมีผลตอคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน (U)<br />

- รูปทรงอาคาร ซึ่งจะมีผลตอพื้นที่วัสดุของอาคารนั้น (S/A)<br />

- สภาพแวดลอม ซึ่งจะมีผลตอคาความแตกตางอุณหภูมิของอุณหภูมิอากาศระหวางผิวทั้งสองดานของ<br />

วัสดุ (ΔT)<br />

- ประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ (cop)<br />

ผลของการศึกษาตัวแปรในการออกแบบ<br />

การเลือกใชวัสดุ และเทคนิคการกอสรางที่เหมาะสม มีผลอยางมากตอการเปนหองสมุดสาธารณะที่ดี<br />

สมบูรณแบบ และมีศักยภาพสูง การเลือกใชวัสดุที่มีคาความเปนฉนวนสูง และ กันการถายเทความชื้นไดดี ไม<br />

กักเก็บ และสะสมความชื้นนั้น จะสงผลตอ<br />

คุณภาพในดานสภาวะนาสบายภายในอาคาร<br />

ทําใหลดภาระทําความเย็น และรีดความชื้นของ<br />

ระบบปรับอากาศ ก็จะสงผลตอการประหยัด<br />

พลังงานไฟฟา การเลือกใชวัสดุที่มีคุณภาพ<br />

ติดตั้งงาย จะสงผลใหคุมคากับงบประมาณที่<br />

เสียไป ประหยัดคาแรงงานและเครื่องมือในการ<br />

ติดตั้ง ประหยัดคาบํารุงรักษา แข็งแรง ทนทาน<br />

ยั่งยืน<br />

ภาพที่ 1 เปรียบเทียบคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน (U-value) ของผนังทึบ 3 ชนิด<br />

(ปรับปรุงจาก: ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลําดับที่1, หนา 198)


757<br />

รูปทรงอาคาร มีผลตอคาใชจายในการเสีย<br />

ไปกับปริมาณของวัสดุเปลือกอาคาร กลาวคือ<br />

ในขณะที่อาคารมีพื้นที่ใชสอยเทากันนั้น หากอาคาร<br />

มีพื้นที่ผิวอาคารมากก็จะเปลืองวัสดุ และคาใชจาย<br />

ในการกอสรางมากกวาอาคารที่มีพื้นที่ผิวนอย ใน<br />

กรณีที่เปนอาคารที่ใชระบบปรับอากาศ รูปทรงอาคาร<br />

ยิ่งเปนตัวแปรสําคัญที่มีผลตอการสิ้นเปลืองในภาระ<br />

ของระบบปรับอากาศในอาคาร เพราะยิ่งมีพื้นที่ผิว<br />

เปลือกอาคารมากก็จะมีผลตอปริมาณการถายเท<br />

ความรอน และความชื้น จากภายนอกเขามาสูภายใน<br />

มากขึ้น ทําใหระบบปรับอากาศตองทํางานหนักมาก<br />

ขึ้นจึงทําใหสิ้นเปลืองพลังงานมากที่สุด<br />

แผนภูมิที่ 2 คาอัตราสวนพื้นที่เปลือกอาคารตอพื้นที่<br />

ใชสอยในอาคารที่มีรูปทรงตาง(ปรับปรุงจากการออก<br />

แบบประสานระบบมหาวิทยาลัยชินวัตร, หนา74)<br />

การปรุงแตงสภาพแวดลอมให<br />

เหมาะสม ไมวาจะเปนการใชประโยชนจากตนไม<br />

ใหญ การใชประโยชนจากพืชคลุมดิน แหลงน้ํา<br />

วัสดุปูพื้นผิว เนินดิน และ การใชประโยชนจาก<br />

ลม ลวนเปนวิธีที่ชวยใหสภาพแวดลอมเย็น ลง<br />

ลดความรุนแรงของอุณหภูมิในชวงกลางวัน<br />

หองสมุดที่ใชระบบปรับอากาศนี้สามารถควบคุม<br />

สภาวะนาสบายอยางไดผล พรอมทั้งชวยลด<br />

ภาระการทํางานของเครื่องปรับอากาศไดเปน<br />

อยางดี ทําใหประหยัดพลังงาน ลดคาใชจายดาน<br />

อัตราการใชไฟฟา แตคงไวซึ่งสภาวะนาสบาย<br />

อาคารนาใชงาน นาอานหนังสือ<br />

ภาพที่ 2 เปรียบเทียบiลักษณะการปรุงแตงสภาพแวดลอมที่เหมาะสม และไมเหมาะสม<br />

โปรแกรม และวิธีการบริหาร จัดการหองสมุด อาคารหองสมุดสาธารณะจําเปนตองเปนอาคารที่ยั่งยืน<br />

อยูไดดวยตัวเองได รวมทั้งตองสรางประโยชนแกชุมชนดวย โปรแกรม และการบริหาร จัดการหองสมุดที่ดี จะ<br />

เปนสิ่งที่ชวยสนองตอบความจําเปนดังกลาว และตอบสนองความตองการที่แทจริงของชุมชนที่มีตอหองสมุด<br />

สาธารณะไดนอกจากการเปนหองสมุดที่ดี มีคุณภาพ และมีรายไดที่จะเขาสูตัวหองสมุดอยางสม่ําเสมอซึ่งเปน<br />

ผลจากโปรแกรม และการบริหารจัดการนั้นแลว ยังมีผลตอการมีความสุขในเบื้องลึกของจิตใจ รวมทั้งความพึง<br />

พอใจของประชาชนในชุมชนดวยที่ไดรับประโยชนโดยตรงจากหองสมุดนี้


758<br />

ผลของการวิเคราะห<br />

แผนภูมิที่ 3 แสดงแนวคิด และวิธีการออกแบบหองสมุดที่จะนําไปสูการเปนหองสมุดตนแบบ<br />

ออกแบบและกอสรางหองสมุดสาธารณะตนแบบดวยแนวคิดแนวใหม<br />

แบบรางครั้งที่ 1<br />

+ =<br />

ก ข ฃ<br />

ภาพ ก - ฃ แสดงแบบและขั้นตอนการออกแบบบางสวนในระยะแบบรางครั้งที่ 1<br />

แนวความคิด : พยายามนําเอารูปทรงที่มีพื้นผิวนอยมาใช พยายามจัดวางอาคาร และพื้นที่ใชสอยให<br />

ไดใชประโยชนจากสภาพแวดลอมไมวาจะเปน การใชประโยชนความเย็นจากดิน เนินดิน การใชประโยชนจาก<br />

แสงแดด โดยคํานึงถึงตําแหนงการติดตั้ง solar cell ในอนาคต


759<br />

แบบรางครั้งที่ 2<br />

ค<br />

ฅ<br />

ฆ<br />

ภาพ ค - ฆ แสดงแบบและขั้นตอนการออกแบบบางสวนในระยะแบบรางครั้งที่ 2<br />

แนวความคิด : แกไขปรับแบบจากเดิม และไดเลือกวิธีการกอสรางที่เปนเทคนิคใหม คือ การใช<br />

โครงสรางระบบผนัง และ หลังคาเปนวัสดุแผนฉนวนสําเร็จรูปไสโฟมหนา 8 นิ้ว ซึ่งมีคุณสมบัติความเปนฉนวน<br />

สูง แข็งแรง ทนทาน รับน้ําหนักไดดี ติดตั้งงาย โดยคํานึงถึงขนาด และสัดสวนของอาคารใหใชวัสดุนี้โดยใหเหลือ<br />

เศษนอยที่สุด ระบุใหมีขนาดแตละชิ้นมีขนาดที่เหมาะสม เพื่องายตอการขนยาย และ ติดตั้ง<br />

แบบรางครั้งสุดทาย<br />

ง<br />

จ<br />

ฉ<br />

ช<br />

ซ<br />

ภาพ ง – ซ แสดงแบบและขั้นตอนการออกแบบบางสวนในระยะแบบรางครั้งสุดทาย<br />

แนวความคิด : เสริมฟงชั่นการใชงานที่สนองตอความยั่งยืน และความตองการของชุมชน เชน รานคา<br />

ลานกิจกรรม หองน้ําเสริมรายได ออกแบบภูมิทัศน ปรุงแตงสภาพแวดลอม ใหเอื้อตอ ภาวะนาสบาย และ การ<br />

ประหยัดพลังงานของอาคาร และออกแบบชองแสงใหเหมาะสม โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพของแสง ของแตละ<br />

ตําแหนง แตละทิศทาง รวมทั้งเลือกใชกระจกที่มีประสิทธิภาพสูง


760<br />

หมวดงานโครงสราง<br />

6%<br />

หมวดงานอื่นๆ<br />

หมวดงานระบบ<br />

20%<br />

ประกอบการอาคาร 4%<br />

หมวดงานสถาปตยกรรม<br />

14%<br />

หมวดงานเปลือก<br />

อาคารภายนอก, 56%<br />

แผนภูมิที่ 4<br />

ภาพที่ 3 ประโยชนใชสอยหลักๆของโครงการ อัตราสวนคาใชจายการกอสรางหองสมุดตนแบบ<br />

ขั้นตอน และ วิธีการกอสรางหองสมุดสาธารณะตนแบบ อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา<br />

ฌ<br />

ญ<br />

ฎ<br />

ฏ<br />

ฐ<br />

ฑ<br />

ฒ<br />

ณ<br />

ภาพที่ ฌ - ณ แสดงขั้นตอนการกอสรางจริงหองสมุดสาธารณะชุมชนตนแบบ<br />

<strong>1.</strong> ปรับหนาดินใหงายตอการขึ้นอาคาร โดยคงไวซึ่งระดับใกลเคียงระดับเดิม<br />

2. ขึ้นฐานสวนอาคารหลักเปนคอนกรีตหนา 60 ซม. โดยไมตองมีเสาเข็มเนื่องจากพื้นที่ที่ใชสราง<br />

อาคารเคยมีการถมที่และบดอัดหนาดินมาแลวประมาณ 6–7 ป จึงมีลักษณะดินที ่แนน และ<br />

แข็งแรงมาก และตัวอาคารซึ่งจะมีสวนประกอบหลักเปนแผนฉนวนสําเร็จรูปไสโฟม ซึ่งมีน้ําหนัก<br />

เบามาก<br />

3. ขึ้นโครงสรางเสาหลักรับพื้นชั้น 2 ซึ่งพื้นเปนโครงสรางคอนกรีตเทกับที่ ประหยัด รวดเร็ว แข็งแรง<br />

4. ขึ้นโครงสรางผนัง และหลังคาดวยแผนฉนวนสําเร็จรูปไสโฟม หนา 8 นิ้ว ดวยแรงคน และอุปกรณ<br />

การยึดกันดวยอุปกรณการติดตั้งจากผูผลิต ซึ่งทําไดงาย และ รวดเร็ว เปน dry process<br />

5. อาคารหองน้ําใชผนังโฟม EIFS หนา 8 นิ้ว บุตาขาย fiber ฉาบดวยbasecoat ไรเสา คาน มีคา<br />

ความเปนฉนวนสูง<br />

6. ใชประโยชนจากดิน ขุดปรับแตง เพิ่มพื้นที่การใชงาน และตกแตงภูมิทัศน ปรุงแตงสภาพแวดลอม


761<br />

แผนภูมิที่ 5<br />

การคํานวณเปรียบเทียบประสิทธิผลในกาออกแบบ<br />

ระหวางอาคารหองสมุดทั่วไปกับหองสมุดตนแบบ<br />

ซึ่งคํานวณเฉพาะสวนผนังทึบ<br />

ด<br />

คาใชจายในการกอสรางอาคารหองสมุด<br />

สาธารณะชั้นดีทั่วไปอยูที่ 14,000-18,000 บาท/ตร.ม.<br />

แตอาคารหองสมุดสาธารณะตนแบบนี้ หากรับการ<br />

ออกและกอสรางตามแผน และถูกหลัก จะเหลือ<br />

คาใชจายในการกอสรางเพียง 9,000 – 12,000 บาท/<br />

ตร.ม. เทานั้น ซึ่งลดคาใชจายในการกอสรางลงไดถึง<br />

ประมาณ 40% ดวยการออกแบบและกอสรางดวย<br />

ระบบนี้สามารถลดระยะเวลาการกอสราง ลด<br />

คาแรงงาน ลดคาสิ้นเปลืองวัสดุ และประหยัด<br />

พลังงานไดถึง 60 เทา หากเปรียบเทียบกับระบบการ<br />

กอสรางดวยระบบทั่วไปในขนาดที่ใกลเคียงกัน โดยที่<br />

ยังคงไวซึ่งคุณภาพการใชงาน อาคารที่มีประสิทธิภาพ<br />

สูง<br />

ผลการออกแบบและกอสรางหองสมุดตนแบบ<br />

ต<br />

ถ<br />

ท<br />

ธ<br />

ภาพที่ ด – ธ แสดงผลสรุปของการแบบหองสมุดสาธารณะชุมชนตนแบบ<br />

นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากการประยุกตใชผลการวิจัยสูการเปนวิธีการออกแบบหองสมุดสาธารณะชุมชน<br />

ตนแบบ<br />

- นวัตกรรมการเลือกใชรูปทรงของอาคารหองสมุด<br />

- นวัตกรรมการเลือกใชวัสดุ<br />

- นวัตกรรมเทคนิคและวิธีการกอสราง<br />

- นวัตกรรมการปรุงแตงสภาพแวดลอม<br />

- นวัตกรรมการจัดการ บริหาร ของหองสมุดยุคใหม


762<br />

จากที่ไดทําการวิจัยเพื่อศึกษานวัตกรรมในการออกแบบหองสมุด ซึ่งมีการแสดงใหเห็นถึงวิธีการ<br />

ออกแบบยุคใหมที่เหมาะสมสําหรับการเปนลักษณะของหองสมุดที่มีคุณภาพสูง เพื่อนําวิธีการออกแบบและ<br />

เทคนิคการกอสรางไปใชเปนตนแบบของหองสมุดอื่นๆอีกตอๆไป เพื่อยกระดับคุณภาพของหองสมุดสาธารณะ<br />

และพัฒนาการทางดานวิชาการและความรูสูชุมชนทําใหไดทราบถึงตัวแปรสําคัญ แนวทาง และวิธีการตางๆ ที่มี<br />

ผลตอการออกแบบและกอสราง ที่ทําใหไดมาซึ่งแบบหองสมุดสาธารณะชุมชนตนแบบที่มีคุณภาพสูง<br />

บรรณานุกรม<br />

ภาษาไทย<br />

นัฐพล จิรัฐติกาลกิจ. แนวทางการออกแบบประสารระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานพลังงานในอาคาร<br />

สาธารณะขนาดเล็ก. วิทยานิพนธปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2546.<br />

ผุสดี ทิพทัส. เกณฑในการออกแบบสถาปตยกรรม. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2536.<br />

สุนทร บุญญาธิการ. การออกแบบประสานระบบมหาวิทยาลัยชินวัตร. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพจุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2546.<br />

สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคการออกแบบบานประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกวา. กรุงเทพมหานคร:โรง<br />

พิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2542.<br />

สุนทร บุญญาธิการ. บานชีวาทิตย บานพลังงานแสงอาทิตย เพื่อคุณภาพชีวิตผลิตพลังงาน. กรุงเทพมหานคร:<br />

โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2547.<br />

สุนทร บุญญาธิการ และ วรสัณฑ บูรณากาญจน. ความพอเพียงในการใชพลังงาน. หัวขอบรรยายโครงการ<br />

ประชุมวิชาการระดับชาติขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะ<br />

ทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2553<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

ASHRAE . Handbook of Fundamentals (1997). Atlanta: American Society of Heating,Refigerating and<br />

Air-conditioning Engineers, 1997.<br />

ASHRAE . Handbook of Fundamentals (2001). Atlanta: American Society of Heating,Refigerating and<br />

Air-conditioning Engineers, 200<strong>1.</strong><br />

Stein, Benjamin and Reynolds. Mechanical and Electrical Equipment for Buildings. 7th ed. NewYork:<br />

John Wiley & Sons, 1992.


763<br />

การประเมินสมดุลกาซคารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตของอาคาร<br />

กรณีศึกษา อาคารหองสมุดสารนิเทศสารนุกรมไทยตนแบบ จังหวัดนครราชสีมา<br />

CARBONDIOXIDE BALANCE ASSESSMENT IN LIFE-CYCLE OF BUILDING<br />

CASE STUDY : ENCYCOPEDIA LYBRARY INFORMATION, NAKHONRATCHASIMA PROVINCE<br />

วราภรณ บุตรจันทร<br />

หลักสูตรปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร<br />

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ดร.วรสัณฑ บูรณากาญจน<br />

บทนํา<br />

ปญหาภาวะโลกรอนไดกลายเปนปญหาที่ประเทศตางๆ ทั่วโลกไดใหความสําคัญ จากผลกระทบของ<br />

ปญหาภาวะโลกรอนที่ทวีความรุนแรงและขยายผลกระทบเปนวงกวางขึ้น สาเหตุหลักของโลกรอนคือการสะสม<br />

ของกาซเรือนกระจก โดยเฉพาะคารบอนไดออกไซด (รอยละ 72 ของกาซเรือนกระจกทั้งหมด) และมีเทน (รอย<br />

ละ 18) ในชั้นบรรยากาศโลก เนื่องจากความไมสมดุลของปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่มี<br />

ปริมาณมากกวาการดูดซับ สงผลใหอุณหภูมิพื้นผิวโลกสูงขึ้น ซึ่งการสะสมของกาซเหลานี้สวนใหญเกิดจาก<br />

กิจกรรมของมนุษย<br />

การเกิดกาซคารบอนไดออกไซด เกิดจากกิจกรรมทางอุตสาหกรรม รวมทั้งกิจกรรมในการดํารงชีวิต<br />

ประชําวันของมนุษย การใชพลังงานในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) กระทรวงพลังงานระบุวา กิจกรรมการใช<br />

พลังงานของผูใชพลังงานรวม มีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากถึงรอยละ 56 ของปริมาณการ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดรวมทั้งหมดในป และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป การใชพลังงานโดยรวม เกิดจาก<br />

การใชชีวิตประจําวันของมนุษย ไมวาจะเปนการใชพลังงานไฟฟา การขนสง ตลอดจนการกอสรางอาคาร ลวนมี<br />

การใชพลังงาน และพลังงานก็มีสวนสําคัญในการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดขึ้นสูชั้นบรรยากาศ<br />

Recycle<br />

ชวงกอนการใชงาน<br />

อาคาร<br />

ชวงการใชงาน<br />

อาคาร<br />

ภาพที่ 1 แสดงวัฏจักรชีวิตของอาคาร<br />

กิจกรรมที่เกี่ยวของกับอาคารมีการใชพลังงานอยูทุกชวงวัฏจักรชีวิตของอาคาร จากชวงชีวิตของ<br />

อาคารรูปภาพที่ 2 แบงเปน 3 ชวง คือ ชวงกอนการใชงานอาคาร ชวงการใชงานอาคาร และชวงหลังการใช<br />

อาคาร และไดจัดกิจกรรมที่เกี่ยวของกับอาคารออกเปน 5 ขั้นตอน ไดแก การผลิตวัสดุ การขนสง การกอสราง<br />

การใชอาคาร และการรื้อถอนอาคาร โดยงานวิจัยนี้เปนการศึกษาเปรียบเทียบพื้นที่ตนไมในการดูดซับ<br />

คารบอนไดออกไซดใหสมดุลการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดการการใชพลังงานของวัฏจักรชีวิต<br />

อาคารทั้ง 5 ขั้นตอนของอาคารสาธารณะตนแบบและอาคารสาธารณะทั่วไป<br />

- ชวงกอนการใชงานอาคาร<br />

การใชพลังงาน - ชวงการใชงานอาคาร<br />

- ชวงหลังการใชงานอาคาร<br />

ปริมาณการ<br />

ปลดปลอย C0 2<br />

ภาพที่ 2 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย<br />

Reuse<br />

ชวงหลังการใชงาน<br />

อาคาร<br />

เทากับ<br />

Waste<br />

พื ้นที่ตนไมในการ<br />

ดูดซับ C0 2


764<br />

อาคารมีชวงการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในทุกชวงวัฏจักรชีวิตของอาคาร ดังนั้นหากมีการ<br />

ประเมินสมดุลคารบอนไดออกไซดขึ้นในอาคาร ซึ่งเปนการประเมินเปรียบเทียบการชดเชยผลกระทบตอ<br />

สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น โดยเปรียบเทียบปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นจากการใช<br />

พลังงานโดยรวมในวัฎจักรของชีวิตอาคาร กับปริมาณความสามารถในการดูดซับคารบอนไดออกไซดของพื้นที่<br />

ตนไม ยอมจะสงผลตอปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากการใชพลังงานในปจจุบันได<br />

การวิจัยนี้จึงเกิดขึ้นมาเปนแนวทางการออกแบบเพื่อสมดุลกาซคารบอนไดออกไซดของอาคาร ซึ่งจะเปนแนว<br />

ทางการลดสภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นในปจจุบัน<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

<strong>1.</strong> เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดและเก็บรวบรวมขอมูลการ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดของอาคาร ในแตละขั้นตอนของวัฏจักรชีวิตของอาคาร ไดแก ขั้นตอนการ<br />

ผลิตวัสดุ การขนสง การกอสราง การใชอาคาร และการรื้อถอนอาคาร<br />

2. เพื่อวิเคราะหความสมดุลคารบอนไดออกไซด ที่เกิดขึ้นจากปริมาณการการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดของวัฏจักรชีวิตของอาคารและความสามารถในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของพื้นที่<br />

ตนไมของตนแบบและเปรียบเทียบกับอาคารทั่วไป<br />

3. เสนอแนวทางการออกแบบเพื่อสมดุลกาซคารบอนไดออกไซดของอาคารตนแบบ<br />

ขอบเขตของการศึกษา<br />

<strong>1.</strong> ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใชอาคารหองสมุดสารนิเทศสารานุกรมไทย ตนแบบ จ.นครราชสีมา ขนาด<br />

พื้นที่ใชสอยประมาณ 250 ตารางเมตร สถานที่ตั้ง อําเภอปากชองจังหวัดนครราชสีมา ละติจูดที่ 16 องศา 16<br />

ลิปดาเหนือ สูงจากระดับน้ําทะเล 356 เมตร 1 และเปรียบเทียบอาคารตนแบบกับอาคารทั่วไปที่มีพื้นที่ใชสอยและ<br />

การใชงานอาคารเหมือนกัน<br />

2. การศึกษาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ในชวงกอนการใชงานอาคารในขั้นตอนการผลิต<br />

วัสดุ การขนสงและการกอสราง การศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาเฉพาะการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิด<br />

จากวัสดุเปลือกอาคารเทานั้นไมไดรวมถึงโครงสรางและฐานรากของอาคาร<br />

3.การศึกษาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในชวงการใชงานอาคารศึกษาการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดที่เกิดจากภาระการทําความเย็นของอาคาร โดยใชฐานขอมูลอุณหภูมิอากาศและอุณหภูมิ<br />

ดิน อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมาป พ.ศ. 2553 ของกรมอุตุนิยมวิทยา 1<br />

นิยามและคําจํากัดความที่เกี่ยวของกับงานวิจัย<br />

สมดุลคารบอนไดออกไซด หมายถึง ความเทากันของปริมาณการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดและความสามารถในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของพื้นที่ตนไม<br />

1 กรมอุตุนิยมวิทยา. รายงานภูมิอากาศประเทศไทย(ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.tmd.go.th/climate/climate.php .<br />

(วันที่คนขอมูล: 30 กันยายน 2553).


765<br />

อาคารตนแบบ หมายถึง อาคารที่ออกแบบและกอสรางโดยใหความสําคัญในเรื่องของการประหยัด<br />

พลังงาน และมีประสิทธิผลในการประหยัดพลังงาน<br />

อาคารทั่วไป ในงานวิจัยชิ้นนี้หมายถึง อาคารที่ออกแบบและกอสรางดวยระบบการกอสรางโดยทั่วไป<br />

และขาดประสิทธิผลในการประหยัดพลังงาน<br />

การประเมินสมดุลคารบอนไดออกไซด เปนแนวความคิดในการออกแบบสถาปตยกรรมที่ตองมี<br />

การพิจารณาถึงปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดและการชดเชยผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น<br />

ตลอดทั้งวัฏจักรชีวิตอาคาร<br />

วัฏจักรชีวิตของอาคาร เปนกระบวนการตั้งแตเริ่มตนจนถึงการสิ้นสุดของอาคาร ซึ่งในการประเมิน<br />

จักรชีวิตของอาคารครั้งนี้เริ่มประเมินจากขั้นตอนในผลิตวัสดุ การขนสง การกอสราง การใชงานอาคารและการ<br />

รื้อถอนทําลาย<br />

โดยทั่วไปอาคาร มีชวงอายุการใชงานประมาณ 30-50 ป อายุการใชงานขึ้นอยูกับลักษณะโครงสราง<br />

อาคาร การใชงาน และการบํารุงรักษา การประเมินการใชงานอาคารในการศึกษาวิจัยนี้จึงประเมินผลกระทบที่<br />

เกิดขึ้นในชวงการใชงานอาคาร 1ป และประเมินการสมดุลคารบอนไดออกไซดในระยะเวลา 50 ป<br />

ชวงกอนการใชงาน<br />

อาคาร<br />

พลังงานในการกอสราง<br />

- พลังงานที่ใชในการผลิตวัสดุ<br />

- พลังงานที่ใชในการขนสง<br />

- พลังงานที่ใชในการกอสราง<br />

การใชพลังงาน<br />

ในวัฏจักรชีวิตของ<br />

อาคาร<br />

ชวงการใชงาน<br />

อาคาร<br />

ชวงหลังการใชงา<br />

นอาคาร<br />

พลังงานที่ใชในอาคาร<br />

พลังงานในการรื้อถอน<br />

-ภาระการทําความเย็นของ<br />

เครื่องปรับอากาศ<br />

เปลือกอาคาร ไฟฟาแสงสวาง<br />

การรั่วซิม ผูใชอาคาร<br />

คอมพิวเตอรและอุปกรณ<br />

- พลังงานที่ใชในการรื้อถอน<br />

ภาพที่ 3 แสดงการใชพลังงานที่ใชแตละขั้นตอนของวัฏจักรชีวิตในชวงอายุอาคาร<br />

ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

<strong>1.</strong>ศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูล ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับปริมาณการใชพลังงานและการ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในแตละขั้นตอนของการประเมินวัฏจักรของอาคาร<br />

การกักเก็บคารบอนไดออกไซด การสังเคราะหแสงของตนไมสามารถการเก็บคารบอนในรูปน้ําตาล<br />

(C 6 H 12 O 6 ) ซึ่งเปนการหมุนเวียนของคารบอนในรูปคารบอนไดออกไซดผานกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ดัง<br />

สมการ<br />

6CO 2 + 6H 2 O C 6 H 12 O 6 + 6O 2<br />

ขอมูลจากโครงการ Billion Tree campaign ของโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP:<br />

United Nations Environment Program, 2011) ที่วาดวยการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดกลาววา พื้นที่


766<br />

ตนไม 1 เฮกตาร(hectare) จะสามารถดูดซับคารบอนไดออกไซด ไดเทากับ 6 ตันคารบอนไดออกไซด ตอป2 หรือ<br />

เทียบเทา พื้นที่ตนไม 1 ตารางเมตรจะสามารถดูดซับคารบอนไดออกไซด ไดเทากับ 0.6 กิโลกรัม<br />

คารบอนไดออกไซด ตอป<br />

การลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ศึกษาพลังงานทดแทนโดยศึกษา จากการเก็บกัก<br />

กาซมีเทนจากการยอยสลายของอุจจาระจากสวม จากขอมูล อุจจาระ 1 kg หากหมักในสภาวะไรออกซิเจนจะ<br />

เกิดกาซ มีเทน 0.020-0.028 ลูกบาศกเมตร และกาซมีเทนมีคาความรอน 39.4 เมกะจูล/ลบ.ม. ซึ่งเทียบเทา<br />

พลังงานไฟฟา 9.7 kWh 3<br />

ปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในแตละขั้นตอนของวัฏจักรชีวิตของอาคารนั้นเกิดจาก<br />

การใชพลังงานในแตละขั้นตอน ซึ่งในแตละขั้นตอนมีกระบวนการปลดปลอยจากแหลงพลังงานและปริมาณการ<br />

ปลดปลอยที่แตกตางกัน ในการคํานวณปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากขั้นตอนตางๆ ดังนี้<br />

<strong>1.</strong>1 ขั้นตอนการผลิตวัสดุ เก็บรวบรวมขอมูลการผลิตวัสดุจากผูผลิต โดยอางอิงจากขอมูลขั้นตอน<br />

ของการกอสรางเพื่อทราบถึงชนิดและปริมาณของวัสดุที่ตองใชเพื่อนํามาพิจารณาหาปริมาณการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดของอาคารตนแบบและอาคารทั่วไป โดยการคํานวณ ดังนี้ คาการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในขั้นตอนการผลิต(kg-CO 2 )เทากับคาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในการผลิต<br />

วัสดุเปลือกอาคาร(kg-CO 2 /kg) 4 คูณกับน้ําหนักของวัสดุเปลือกอาคารที่ใช(kg)<br />

<strong>1.</strong>2 ขั้นตอนการขนสง เก็บรวบรวมขอมูลของระยะทางในการขนสงวัสดุในการกอสรางอาคาร ดวย<br />

รถบรรทุกที่ใชเชื้อเพลิงน้ํามันดีเซล ในการวิจัยนี้กําหนดระยะทางในการขนสงเทากับ 50 กิโลเมตร และ<br />

คํานวณหาปริมาณของวัสดุที่ใชในการกอสราง จํานวนเที่ยวในการขนสงวัสดุเขาสถานที่กอสราง เพื่อหาปริมาณ<br />

น้ํามันดีเซลที่ในการขนสงจากระยะการขนสงรวมทั้งหมดหารดวยอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงของรถบรรทุก 5<br />

และปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในขั้นตอนของการขนสงวัสดุกอสรางของอาคารตนแบบและ<br />

อาคารทั่วไป โดยการคํานวณดังนี้ คาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในขั้นตอนการขนสง(kg-CO 2 )<br />

2<br />

United Nations Environment Programme. Billion Tree Campaign(Online). Available from<br />

http://www.unep.org/billiontreecampaign/ FactsFigures/FastFacts/index.asp (March 14, 2011).<br />

3<br />

สํานักอานามัยและสิ่งแวดลอม. สถานการณและประเด็นปญหาสําคัญดานอนามัยสิ่งแวดลอม<br />

(ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://env.anamai.moph.go.th(วันที่คนขอมูล: 30 มีนาคม 2554).<br />

4<br />

International Panel on Climate Change . 2008, IPCC NGGIP emission factors database (Online).<br />

Available from www. ipcc-nggip.iges.or.jp/EFDB/find_ef_ft.php (March 14, 2011)<br />

5<br />

วัชรินทร ดงบัง และ สุพจน ศิริเสนาพันธ. การศึกษาอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงของรถบรรทุกหนัก<br />

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมเครื่องกลแหงประเทศไทย ครั้งที่21 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.


767<br />

เทากับปริมาณน้ํามันดีเซลที่ใช(L.) คูณกับ คาความจุความรอนของน้ําในดีเซล( MJ/L.) 6 คูณกับคาการ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากน้ํามันดีเซล (kg-CO 2 /MJ ) 4<br />

<strong>1.</strong>3 ขั้นตอนการกอสราง เก็บรวบรวมขอมูลจากขั้นตอนการกอสรางอาคาร และคํานวณหาปริมาณ<br />

งานที่ใชในการกอสราง เพื่อ นํามาหาระยะเวลาที่ใชในการกอสราง เพื่อคํานวณหาปริมาณการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในขั้นตอนการกอสรางจากแรงงานคนที่ใชในการกอสราง โดยคํานวณจากการปลดปลอย<br />

กาซคารบอนไดออกไซดจากปริมาณการใชน้ํา ไฟฟา และน้ํามันที่ใชที่เกิดจากปริมาณงานในการกอสราง และ<br />

คนงานกอสรางของอาคารตนแบบและอาคารทั่วไป โดยการคํานวณดังนี้ คาการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในขั้นตอนการกอสราง(kg-CO 2 )เทากับปริมาณพลังงานที่ใชในการกอสรางคูณกับคาการ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากพลังงานที่ใช (kg-CO 2 )<br />

<strong>1.</strong>4 ขั้นตอนการใชอาคาร ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลจากการคํานวณปริมาณการใชพลังงาน<br />

ไฟฟาและปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นจากการใชงานอาคาร โดยคํานวณปริมาณ<br />

การใชพลังงานไฟฟาที่เกิดจากภาระในการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศของอาคารตนแบบและอาคาร<br />

ทั่วไป โดยคํานวณจากการวิเคราะหอัตราการใชพลังงานดวยวิธี การคํานวณภาระการทําความเย็นของ<br />

เครื่องปรับอากาศอันเนื่องมาจากความแตกตางของอุณหภูมิ(Cooling Load Temperature Difference.CLTD)<br />

เปนวิธีการประมาณคาภาระการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศดวยการคํานวณ ดังสมการดังนี้ (ASHRAE,<br />

1989)<br />

คาความรอนจากแหลงความรอนภายนอกอาคาร (External Load)<br />

คาความรอนจากผนัง (Wall) q wall = UA(CLTD wall )<br />

คาความรอนจากพื้น (Floor) q floor = UA(t 0 - t i )<br />

คาความรอนจากกระจก (Glass) q glass-solar = A(SC)(SHGF)(CLF)<br />

q glass-cond = UA(CLTD glass )<br />

คาความรอนจากหลังคา (Roof) q roof = UA(CLTD roof )<br />

คาความรอนจากการรั่วซึมของอากาศ (Infiltration) q v-lat = 4.5 x cfm x (H 0 - H i )<br />

คาความรอนจากแหลงความรอนภายในอาคาร (Internal Load)<br />

คาความรอนจากไฟฟาแสงสวาง (Artificial Lighting) q l = Input x CLF<br />

คาความรอนจากผูใชอาคาร (Occupants) Sensible q p-sen = No.xSens.H.G.x CLF<br />

Latent q p-lat = No.xLat.H.G.<br />

คาความรอนจากผูใชอาคาร (Occupants) Sensible q p-sen = No.xSens.H.G.x CLF<br />

Latent q p-lat =No.xLat.H.G.<br />

จํากัด, 2545.<br />

6<br />

สุนทร บุญญาธิการและคณะ. พลังงานใกลตัว. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรุงเทพ บริษัทเฟริ์ส ออฟเซท


768<br />

พลังงานไฟฟาที่ใชจากภาระการทําความเย็นของเครื่อง = ภาระในการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศ<br />

COP<br />

คาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในขั้นตอนการใชงานอาคาร(kg-CO 2 )เทากับปริมาณ<br />

พลังงานไฟฟา(kWh)คูณกับ คาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการผลิตกระแสไฟฟาในประเทศไทย<br />

(kg-CO 2 /kWh) 7<br />

ในการคํานวณชวงการใชงานของอาคารตนแบบและอาคารทั่วไปเทากัน กําหนดใหจํานวนผูเขาใช<br />

อาคารในหนึ่งชั่วโมงเทากับ 25 คน และคา COP ของอาคารทั่วไปเทากับ 2.8 สําหรับอาคารตนแบบคา COP<br />

เทากับ 4 ระยะเวลาการใชงานกําหนดใหมีการใชงานวันละ 11 ชั่วโมง เวลา 8.00-18.00 น. ใชงานตลอดทั้งป<br />

เทากับ 3,487 ชั่วโมง<br />

คํานวณการปลดปลอยกาซมีเทนที่เกิดจากการใชงานอาคารตลอดระยะเวลาการใชงานอาคารตลอด<br />

ระยะเวลาการใชงานอาคาร 50 ป หองน้ําสาธารณะจากรูปแบบอาคารที่ใชในการวิเคราะห มีทั้งหมด 12 หอง<br />

กําหนดใหมีการใชงานรอยละ 50 หองน้ํา การใชงานครั้งละ 6 นาทีตอคน ใน 1 ชั่วโมง มีคนเขาใชเทากับ 60 คน<br />

คิดคนเขาใชในการอุจจาระเปน รอยละ 30 จากจํานวนผูเขาใช ใน 1 วันจะได จํานวนคนที่อุจจาระเทากับ 198<br />

kg และไดอุจจาระเทากับ 79.2 kg 3<br />

<strong>1.</strong>5 ขั้นตอนการรื้อถอนอาคาร ศึกษาขอมูลขั้นตอนการรื้อถอนอาคารจากการทุบทําลายวัสดุดวย<br />

เครื่องจักรที่ใชพลังงานเชื้อเพลิงน้ํามันดีเซล เพื่อนํามาพิจารณาปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ในขั้นตอนการรื้อถอนอาคารของอาคารตนแบบและอาคารทั่วไป โดยการคํานวณ ดังนี้ คาการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในขั้นตอนการขนสง(kg-CO 2 ) เทากับ ปริมาณน้ํามันดีเซลที่ใช(L.) คูณกับคาความจุความ<br />

รอนของน้ําในดีเซล( MJ/L.) 2 คูณกับ คาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากน้ํามันดีเซล (kg-CO 2 /MJ) 4<br />

2.เปรียบเทียบปริมาณการใชพลังงานและปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ของแตละ<br />

ขั้นตอนที่เกิดขึ้นของอาคารตนแบบ เปรียบเทียบกับอาคารทั่วไป และศึกษาวิธีการเพื่อสมดุลกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตของอาคารโดยศึกษาจากความสามารถในการดูดซับคารบอนไดออกไซดของ<br />

พื้นที่ตนไม คํานวณและวิเคราะหความสมดุลระหวางปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดกับพื้นที่<br />

ตนไม<br />

3.เสนอแนวทางการออกแบบเพื่อสมดุลคารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตของอาคารจากการวิเคราะห<br />

เปรียบเทียบ<br />

7<br />

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน. การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการใชพลังงานของไทย.<br />

(ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://www.eppo.go.th/info/9emission_stat.htm. (วันที่คนขอมูล: 1 กันยายน 2553).


769<br />

รูปแบบอาคารกรณีศึกษาที่ใชในการวิเคราะห<br />

ภาพที่ 4 แสดงรูปแบบอาคารกรณีศึกษาที่ใชในการวิเคราะห<br />

ตารางที่ 1 แสดงพื้นที่เปลือกอาคารและพื้นที่ใชสอยของอาคารกรณีศึกษาที่ใชในการวิเคราะห<br />

เปลือกอาคาร<br />

อาคารหองสมุดหลัก อาคารหองน้ําหญิง รัศมี 3.50<br />

ม.<br />

อาคารหองน้ําชาย รัศมี 3.00<br />

ม.<br />

พื้นที่เปลือก<br />

อาคารรวม<br />

(ตร.ม.) (ตร.ม.) (ตร.ม.) (ตร.ม.)<br />

ผนังทึบ 207.99 59.32 46.16 313.47<br />

หลังคา 289.24 35.92 26.26 35<strong>1.</strong>42<br />

พื้น 84.43 38.5 28.5 15<strong>1.</strong>43<br />

กระจก 14.8 <strong>1.</strong>13 <strong>1.</strong>13 17.06<br />

พื้นที่เปลือกอาคาร(S) 596.46 134.87 102.05 833.38<br />

พื้นที่ใชสอยในอาคาร(A) 177.6 38.5 28.5 244.6<br />

S/A 3.36 3.50 3.58 3.41<br />

ตารางที่ 2 แสดงวัสดุเปลือกอาคารและคาตานทานความรอนของอาคารหองสมุดหลัก<br />

อาคารตนแบบ คา U อาคารทั่วไป(กออิฐฉาบปูน) คา U อาคารทั่วไป(กออิฐมวเบา) คา U<br />

เปลือกอาคาร วัสดุ (h.ft 2 .F/Btu) วัสดุ (h.ft 2 .F/Btu) วัสดุ (h.ft 2 .F/Btu)<br />

ผนังทึบ Sandwich Panel หนา 0.20ม. 0.03 กออิฐมอญ หนา 0.10 ม. 0.66 กออิฐมวลเบาหนา 0.10 ม. 0.51<br />

หลังคา Sandwich Panel หนา0.20ม. 0.03 กระเบื้องลอนคู 0.45 กระเบื้องคอนกรีต 0.43<br />

พื้น โฟมคอนกรีต 0.13 คอนกรีต 0.71 คอนกรีต 0.71<br />

กระจก กระจกฮีตสต็อป หนา 6 มม. 0.27 กระจกใสหนา 6 มม. <strong>1.</strong>06 กระจกสีเขียวหนา 6 มม. <strong>1.</strong>06<br />

คา sc= 0.21<br />

คา sc=0.96<br />

คา sc=<br />

0.32<br />

ตารางที่ 3 แสดงวัสดุเปลือกอาคารและคาตานทานความรอนของอาคารหองน้ําชายและหองน้ําหญิง<br />

อาคารตนแบบ คา U อาคารทั่วไป(กออิฐฉาบปูน) คา U อาคารทั่วไป(กออิฐมวเบา) คา U<br />

เปลือกอาคาร วัสดุ (h.ft2.F/Btu) วัสดุ (h.ft2.F/Btu) วัสดุ (h.ft2.F/Btu)<br />

ผนังทึบ ฉนวนโฟม EPS หนา 0.20 ม. 0.03 กออิฐมอญ หนา 0.10 ม. 0.63 กออิฐมวลเบาหนา 0.10 ม. 0.49<br />

หลังคา ฉนวนโฟม EPS หนา 0.20 ม. 0.03 กออิฐมอญ หนา 0.10 ม. 0.55 กออิฐมวลเบาหนา 0.10 ม. 0.44<br />

พื้น โฟมคอนกรีต 0.13 คอนกรีต 0.71 คอนกรีต 0.71<br />

กระจก กระจกฮีตสต็อป หนา 6 มม. 0.27 กระจกใสหนา 6 มม. <strong>1.</strong>06 กระจกสีเขียวหนา 6 มม. <strong>1.</strong>06<br />

คา sc= 0.21 คา sc= 0.96 คา sc= 0.32


770<br />

ผลการวิจัย<br />

ผลการวิเคราะหปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ในการวิจัยเพื่อการประเมินสมดุลคารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตของอาคาร เปนการศึกษาปจจัยที่<br />

มีผลตอการปลดปลอยและและปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากของวัสดุเปลือกอาคาร<br />

ซึ่งเปนการศึกษาเปรียบเทียบอาคารตนแบบ อาคารทั่วไปนั้น ไดแบงการศึกษาขอมูลของวัฏจักรชีวิตอาคาร<br />

ออกเปน 5 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนการผลิตวัสดุ ขั้นตอนการขนสง ขั้นตอนการกอสราง ขั้นตอนการใชอาคารซึ่ง<br />

แตละขั้นตอนของวัฏรจักรชีวิตอาคารนั้นจะมีปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไมเทากันขึ้นอยูกับ<br />

ระยะเวลาและปริมาณการใชพลังงาน สวนขั้นตอนการรื้อถอนอาคารมีการใชพลังงานเทากัน<br />

Kg-CO 2<br />

(พื้นที่ใชสอยอาคาร244.60 ตารางเมตร)<br />

แผนภูมิที่ 1 ผลการเปรียบเทียบปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตออาคาร ของวัสดุเปลือกอาคาร ในวัฏจักรชีวิต<br />

ของอาคาร แตละขั้นตอน ตอการใชงานอาคาร 1ป<br />

ในชวงขั้นตอนของการใชงานอาคารนั้นจะมีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุด ดังนั้นผล<br />

การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยเพื่อประเมินสมดุลคารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตของอาคารนั้นจะเนน<br />

ความสําคัญในเรื่องของ การใชงานอาคารและวิเคราะหปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

เปรียบเทียบตลอดชวงชีวิตของการใชงานอาคารในระยะเวลา 50 ป<br />

Kg-CO 2<br />

(พื ้นที่ใชสอยอาคาร244.60 ตารางเมตร)<br />

แผนภูมิที่ 2 สรุปผลการเปรียบเทียบปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตออาคาร ในแตละชวง ในวัฏจักรชีวิตอาคาร<br />

จากการใชงานอาคาร 50ป<br />

วิเคราะห ชวงวัฏจักรชีวิตของอาคารเปรียบเทียบกับการใชงานในชวงของการใชงานอาคาร 50 ป<br />

พบวาชวงการใชงานในอาคารมีการใชพลังงานมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนและหลังตัวอาคาร ซึ่ง<br />

ปริมาณการใชพลังงานนี้สงผลตอปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เพิ่มขึ้นสูชั้นบรรยากาศดวย<br />

ดังนั้น ในการออกแบบอาคารหากมีประเมินการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดที่ปลดปลอยออกมาและชดเชย<br />

ผลกระทบที่เกิดขึ้น<br />

ผลการวิเคราะหสมดุลกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดของวัฏจักรชีวิตอาคารมีผลตอจํานวณพื้นที่ตนไมใน<br />

การดูดซับคารบอนไดออกไซด อาคารมีการใชพลังงานและการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดในทุกขั้นตอน<br />

ของวัฏจักรชีวิตอาคาร ดังนั้นเมื่อวิเคราะหจากปริมาณการใชพลังงานในวัฏจักรชีวิตของอาคารระยะเวลา 50 ป<br />

โดยการเปรียบเทียบความสมดุลปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นในชวงกอนการใชงานอาคาร และหลัง


771<br />

การใชงานอาคารรวมกับ ชวงการใชงานอาคาร1ป จากขอมูลพื้นที่ตนไมขนาด1ตารางเมตร สามารถดูดซับ<br />

คารบอนไดออกไซดได 0.6 กิโลกรัมคารบอนไดออกไซด ตอป เมื่อประเมินสมดุลกาซคารบอนไดออกไซดในชวง<br />

อายุการใชงานอาคารตลอด 50 ป<br />

Kg-CO 2<br />

(พื ้นที่ใชสอยอาคาร244.60 ตารางเมตร)<br />

แผนภูมิที่ 3 สรุปผลการเปรียบเทียบปริมาณการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดตออาคาร ของวัสดุเปลือก<br />

อาคาร ในวัฏจักรชีวิตของอาคาร แตละขั้นตอน ตอการใชงานอาคาร 50 ป<br />

จากผลการวิเคราะหสมดุลคารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตของอาคาร พบวาหากตองการสราง<br />

อาคารโดยคํานึงถึงการสมดุลคารบอนไดออกไซดนั้น ตองใชพื้นที่ในการปลูกตนไมเปนจํานวนมาก และเมื่อมี<br />

การนําปริมาณการปลดปลอยกาซมีเทนในการใชหองสวมของอาคารในชวงของการใชงานอาคารมาวิเคราะห<br />

สมดุลคารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตอาคาร พบวาดวยอาคารตนแบบที่ใชพลังงานจากกาซชีวภาพที่ไดจาก<br />

การปลดปลอยแกสมีเทนเปรียบเทียบกับอาคารทั่วไปที่ไมไดใชประโยชนจากกาซมีเทน<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

ตารางที่ 4 ตารางสรุปผลการวิจัย<br />

อาคาร<br />

ตนแบบ<br />

อาคาร<br />

ทั่วไป<br />

ผนังกอ<br />

อิฐมอญ<br />

ฉาบปูน<br />

อาคาร<br />

ทั่วไป<br />

ผนังกอ<br />

อิฐมวล<br />

ฉาบปูน<br />

ชวงกอนการใชงานอาคาร ชวงการใชงานอาคาร ชวงหลังการใชงานอาคาร<br />

วัฏจักรชีวิตอาคาร<br />

ผลิต ขนสง กอสราง ใชงาน รื้อถอน<br />

การปลดปลอยCO 2 ตอปตออาคาร(kg-CO 2 ) 17,543.74 5,969.72 307.05 448<strong>1.</strong>95 808.61<br />

การปลดปลอยCO 2 ตอ 50 ปตออาคาร(kg-CO 2 ) 17,543.74 5,969.72 307.05 224,097.51 808.61<br />

CH 4 ที่เกิดขึ้นจากอุจจาระในใชหองสวมจากการใชงานอาคาร 1 ป(m 3 ) - - - 703.4 -<br />

พลังงานทดแทน(กาซชีวภาพ)ที่ผลิตได ตอ ป(kWh) - - - 6826.28 -<br />

การปลดปลอยCO 2 เทียบเทา CH 4 ในขั้นตอนการใชงานอาคาร(1ป) - - - -3,76<strong>1.</strong>28 -<br />

การปลดปลอยCO 2 สุทธิเพื่อประเมินสมดุล CO 2 ตออาคาร(kg-CO 2 )(50ป) 350.87 119.39 6.14 720.95 16.17<br />

พื้นที่ตนไมในการดูดซับ CO 2 ตออาคาร (ไร) พื้นที่ใชสอยของอาคาร 244.60 ตารางเมตร ตอ พื้นที่ตนไม <strong>1.</strong>26 ไร<br />

พื้นที่ตนไมในการดูดซับ CO 2 ตอพื้นที่ใชสอยของอาคาร 1m 2 (m 2 ) พื้นที่ใชสอยของอาคาร 1 ตารางเมตร ตอ พื้นที่ตนไม 8.24 ตารางเมตร<br />

การปลดปลอยCO 2 ตอปตออาคาร(kg-CO 2 ) 38,575.88 15,604.87 733.78 23,685.33 808.61<br />

การปลดปลอยCO 2 ตอ 50 ปตออาคาร(kg-CO 2 ) 38,575.88 15,604.87 733.78 1,184,266.74 808.61<br />

CH 4 ที่เกิดขึ้นจากอุจจาระในใชหองสวมจากการใชงานอาคาร 1 ป(m 3 ) - - - 703.4 -<br />

พลังงานทดแทน(กาซชีวภาพ)ที่ผลิตได ตอ ป(kWh) - - - - -<br />

การปลดปลอยCO 2 เทียบเทา CH 4 ในขั้นตอนการใชงานอาคาร(1ป) - - - 11,599.77 -<br />

การปลดปลอยCO 2 สุทธิเพื่อประเมินสมดุล CO 2 ตออาคาร(kg-CO 2 ) 1098.29 35285.10 16.17<br />

พื้นที่ตนไมในการดูดซับ CO 2 ตออาคาร (ไร) พื้นที่ใชสอยของอาคาร 244.60 ตารางเมตร ตอ พื้นที่ตนไม 37.9 ไร<br />

พื้นที่ตนไมในการดูดซับ CO 2 ตอพื้นที่ใชสอยของอาคาร 1m 2 (m 2 ) พื้นที่ใชสอยของอาคาร 1 ตารางเมตร ตอ พื้นที่ตนไม 248.02 ตารางเมตร<br />

การปลดปลอยCO 2 ตอปตออาคาร(kg-CO 2 ) 41,586.24 15,249.09 71<strong>1.</strong>09 17,696.51 57,546.42<br />

การปลดปลอยCO 2 ตอ 50 ปตออาคาร(kg-CO 2 ) 41,586.24 15,249.09 71<strong>1.</strong>09 884,825.46 57,546.42<br />

CH 4 ที่เกิดขึ้นจากอุจจาระในใชหองสวมจากการใชงานอาคาร 1 ป(m 3 ) - - - 703.4 -<br />

พลังงานทดแทน(กาซชีวภาพ)ที่ผลิตได ตอ ป(kWh) - - - - -<br />

การปลดปลอยCO 2 เทียบเทา CH 4 ในขั้นตอนการใชงานอาคาร(1ป) 11,599.77<br />

การปลดปลอยCO 2 สุทธิเพื่อประเมินสมดุล CO 2 ตออาคาร(kg-CO 2 ) 1150.93 29296.28 16.17<br />

พื้นที่ตนไมในการดูดซับ CO 2 ตออาคาร (ไร) พื้นที่ใชสอยของอาคาร 244.60 ตารางเมตร ตอ พื้นที่ตนไม 3<strong>1.</strong>73 ไร<br />

พื้นที่ตนไมในการดูดซับ CO 2 ตอพื้นที่ใชสอยของอาคาร 1m 2 (m 2 ) พื้นที่ใชสอยของอาคาร 1 ตารางเมตร ตอ พื้นที่ตนไม 207.57 ตารางเมตร


จากการวิเคราะหปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในแตละขั้นตอนในวัฏจักรชีวิตของ<br />

อาคารที่เกิดจากวัสดุเปลือกอาคาร พบวาปจจัยที่มีอิทธิพลตอปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ในวัฏจักรชีวิตของอาคารคือ ชนิดของเปลือกอาคาร ปริมาณวัสดุ ระยะเวลาและประสิทธิภาพของวัสดุเปลือก<br />

อาคารที่ใช ซึ่งเปนผลจากการออกแบบและกอสรางอาคาร ชวงที่มีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมาก<br />

ที่สุดคือชวงการใชงานอาคาร<br />

ผลการประเมินสมดุลกาซคารบอนไดออกไซดในจักรชีวิตของอาคารตนแบบและอาคารทั่วไป พบวา<br />

อาคารทั่วไปที่กอสรางดวยผนังกออิฐฉาบปูนตองใชพื้นที่ตนไมในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุด<br />

ดวยพื้นที่ประมาณ 25 ไร รองลงมาคือ อาคารทั่วไปที่กอสรางดวยผนังกออิฐมวลเบา ตองใชพื้นที่ตนไม 20 ไร<br />

นอยที่สุด คือ อาคารตนแบบ ตองใชพื้นที่ตนไม 5 ไร ซึ่งนอยกวา 4 เทาและ 5เทาตามลําดับ<br />

ผลการวิจัยนําไปสูแนวทางการออกแบบอาคารโดย ในการสมดุลกาซคารบอนไดออกไซดนั้น หากมี<br />

แนวทางการออกแบบอาคารที่คํานึงถึงการใชพลังงานในชวงการใชงานอาคาร ซึ่งเปนชวงระยะเวลาที่ยาวนาน<br />

สงผลตอปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุดนั้น การใชงานอาคารนอกจากจะมีการ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดนั้น ยังมีการการปลดปลอยกาซเรือนกระจกอื่นๆดวย เชน กาซมีเทน ซึ่งเกิด<br />

จากการใชหองสวมของอาคาร และกาซมีเทนมีศักยภาพที่ทําใหเกิดโลกรอนมากกวาคารบอนไดออกไซต<br />

ประมาณ 23 เทา การออกแบบอาคารโดยนําประโยชนจากกาซชีวภาพที่ไดจากหองสวมนั้น จึงมีสวนสําคัญมาก<br />

ที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบ การประเมินสมดุลกาซคารบอนไดออกไซดในวัฏจักรชีวิตของอาคารและนํา<br />

พลังงานทดแทนจากกาซชีวภาพที่เกิดการใชงานในอาคารมาใช จากการนําปริมาณกาซมีเทนที่ปลดปลอยมาใช<br />

กาซชีวภาพที่ไดในขั้นตอนการใชงานของอาคารตนแบบ เมื่อเปรียบเทียบอาคารตบแบบกับการใชอาคารทั่วไปที่<br />

ไมมีการการประโยชนจากกาซมีเทน สามารถสรุปไดวา การสรางอาคารที่มีการชดเชยผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ<br />

สิ่งแวดลอม อาคารตนแบบตองใชพื้นที่ตนไมในการดูดซับในการกอสรางอาคารพื้นที่ 244.6 ตารางเมตตร เพียง<br />

<strong>1.</strong>2 ไร ซึ่งหากกอสรางอาคารดวยการออกแบบทั่วไปตองใชพื้นที่ตนไมในการดูดซับมากกวา 30 ไร หรือหาก<br />

เปรียบเทียบตอพื้นที่ใชสอย 1 ตารางเมตร อาคารตนแบบตองใชพื้นที่ปลูกตนไม เพียง 8.24 ตารางเมตร แต<br />

หากเปนการกอสรางอาคารทั่วไปตองใชพื้นที่ปลูกตนไมมากกวา 200 ตารางเมตร การออกแบบอาคารมีสวน<br />

สําคัญในการลดปญหาสภาวะโลกรอนได ดวยการออกแบบอาคารโดยคํานึงถึงการสมดุลคารบอนไดออกไซดนี้<br />

จึงสงผลตอการลดปญหาสภาวะโลกรอนที่กําลังทวีความรุนแรงขึ้นในปจจุบันได<br />

772


773<br />

บรรณานุกรม<br />

ภาษาไทย<br />

กรมอุตุนิยมวิทยา. รายงานภูมิอากาศประเทศไทย(ออนไลน). เขาถึงไดhttp://www.tmd.go.th/climate/climate.php.<br />

(วันที่คนขอมูล: 30 กันยายน 2553).<br />

กัมปนาท กระภูชัย. แนวทางการสรางแบบประเมินอาคารปรับอากาศเพื่อประสิทธิภาพการประหยัด<br />

พลังงานในภูมิอากาศเขตรอนชื้น. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.<br />

วรสัณฑ บูรณากาญจน. การปฏิวัติแกนความคิดทางสถาปตยกรรม Paradigm Shift in Architecture,<br />

วารสารอาษา สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ. 255<strong>1.</strong><br />

วัชรินทร ดงบัง และ สุพจน ศิริเสนาพันธ. การศึกษาอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงของรถบรรทุกหนัก.<br />

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมเครื่องกลแหงประเทศไทย ครั้งที่ 21 ภาควิชา<br />

วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.<br />

สุนทร บุญญาธิการและคณะ. พลังงานใกลตัว. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรุงเทพ บริษัทเฟริ ์ส ออฟเซท<br />

จํากัด, 2545.<br />

สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคการออกแบบบานประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกวา. พิมพครั้งที่ 2.<br />

กรุงเทพฯ : โอเอส พริ้นติ้งเฮาส, 2545.<br />

สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคการออกแบบบานประหยัดพลังงาน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2542.<br />

สุรชัย. วิศวกรรมโยธา. สัมภาษณ, 24 มกราคม 2554.<br />

สํานักอานามัยและสิ่งแวดลอม. สถานการณและประเด็นปญหาสําคัญดานอนามัยสิ่งแวดลอม(ออนไลน).<br />

เขาถึงไดจาก: http://env.anamai.moph.go.th(วันที่คนขอมูล: 30 มีนาคม 2554).<br />

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน. การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการใชพลังงานของไทย<br />

(ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://www.eppo.go.th/info/9emission_stat.htm. (วันที่คนขอมูล: 1<br />

กันยายน 2553).<br />

อมรรัตน พงศพิศิษฎสกุล. การออกแบบบานพักอาศัยเพื่อการประหยัดพลังงานดวยแนวคิด<br />

สถาปตยกรรมยั่งยืน.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสถาปตยกรรม ภาควิชา<br />

สถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.<br />

อัจฉรียา ชัยยะสมุทร. การประเมินวัฏจักรชีวิตและการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดของวัสดุผนัง<br />

ทึบในอาคารบานพักอาศัย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสถาปตยกรรม ภาควิชา<br />

สถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 255<strong>1.</strong><br />

ภาษาอังกฤษ<br />

America Society of Heating, Refrigerating and Air Conditioning Engineerings. ASHRAE Applications<br />

Handbook. I-P Edition. Atlanta Geogia : (n.p.), 200<strong>1.</strong>


774<br />

Buranakarn, Vorasun. Evaluaion of Recycling and Reuse of Building Materials using the Emergy<br />

Analysis Method. Dissertation (Ph.d.), Department of Architecture, University of Florida,<br />

1998.<br />

International Panel on Climate Change . 2008, IPCC NGGIP emission factors database (Online).<br />

Available from www. ipcc-nggip.iges.or.jp/EFDB/find_ef_ft.php (March 14, 2011)<br />

Stein, Benjamin and Reynolds. Mechanical and Electrical Equipment for Buildings. 7th ed. NewYork :<br />

John Wiley & Sons, 1986.<br />

United Nations Environment Programme. Billion Tree Campaign(Online). Available from<br />

http://www.unep.org/billiontreecampaign/FactsFigures/FastFacts/index.asp (March 14, 2011)


775<br />

การศึกษาการออกแบบทางกายภาพและจัดสิ่งอํานวยความสะดวก<br />

เพื่อปรับปรุงภายในหองพักอาศัยสําหรับลูกคาชาวญี่ปุน<br />

กรณีศึกษา : โครงการเซอรวิสอพารทเมนทในพื้นที่ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี<br />

The Study of Design & Facilities Arrangement Improvement of Guest Room Unit for<br />

Japanese Resident : A Case Study of Serviced Apartment in Sri Racha District,<br />

Chonburi Province<br />

พรอมวุทธิ์ ภัทรนุธาพร<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย นาวาโท ไตรวัฒน วิรยศิริ<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

เนื่องมาจากนโยบายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8-9 (พ.ศ.2540-2549) ที่สําคัญ<br />

2 ขอ คือ นโยบายขอ(2)การจัดตั้งเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออกที่มีชื่อเรียกวา EASTERN SEABOARD<br />

ในเขตพื้นที่ของ จ.ชลบุรี โดยการพัฒนา 8 นิคมอุตสาหกรรม ซึ่งครึ่งหนึ่งตั้งอยูรอบพื้นที่ อ.ศรีราชา นโยบายขอ<br />

(3)การยายทาเรือพาณิชยหลักของประเทศคือทาเรือคลองเตยมายังทาเรือน้ําลึกแหลมฉบัง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี<br />

ซึ่งเปนนโยบายในการกระจายความเจริญสูพื้นที่โดยรอบกรุงเทพมหานคร เพื่อตองการลดความแออัดหนาแนน<br />

ของประชากร สงผลใหมีการกระจายตัวของกลุมคนทํางานทั้งชาวไทยและชาวตางชาติมาในพื้นที่ โดยเฉพาะ<br />

ชาวญี่ปุนเพราะบริษัทที่เกี่ยวของมีการยายสํานักงานและโรงงานมาตั้งอยูในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่ไดรับการ<br />

พัฒนา<br />

จังหวัด จํานวน(คน) ป จํานวน(คน)<br />

กรุงเทพมหานคร 33,152 2009 3,264<br />

ชลบุรี 3,264 2008 2,996<br />

เชียงใหม 2,442 2007 2,812<br />

ปทุมธานี 998 2006 2,615<br />

ตารางที่ <strong>1.</strong>1 (ซาย) แสดงสถิติจํานวนชาวญี่ปุนที่พํานักอยูในประเทศไทยแยกตามจังหวัดและ (ขวา) แสดงสถิติจํานวน<br />

ชาวญี่ปุนที่พํานักอยูใน จังหวัดชลบุรี ที่ขึ้นทะเบียนตอสถานเอกอัคราชทูตญี่ปุนประจําประเทศไทย<br />

ที่มา: ตารางสถิติจํานวนชาวญี่ปุนที่พํานักอยูในประเทศไทย[ออนไลน]. กรุงเทพมหานคร: สถานเอกอัคราชทูตญี่ปุน<br />

ประจําประเทศไทย, 2552. http://www.th.embjapan.go.jp/jp/consular/zairyuto.htm#??<br />

เมื่อพิจารณาจากตารางที่ <strong>1.</strong>1 (ซาย) ขางตน จะเห็นไดวา จ.ชลบุรี มีจํานวนชาวญี่ปุนที่พักอาศัยอยูสูง<br />

เปนอันดับที่2 ของประเทศ รวมทั้งมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกปตามตารางที่ <strong>1.</strong>1 (ขวา) ซึ่งจากการศึกษาพบวาเปน<br />

กลุมชาวตางชาติที่มีรายไดเฉลี่ยตอหัวสูง 50,000-150,000 บาท/เดือน (65.4%) และ150,001-300,000 บาท/<br />

เดือน ขึ้นไป (24.6%) และเลือกอาศัยอยูในโครงการประเภทเซอรวิสอพารทเมนทในพื้นที่มากที่สุด โดยมีบริษัท


776<br />

ชวยออกคาใชจายให1 รวมทั้งในป พ.ศ.2549-2550 บริษัท ไนทแฟรงค ชารเตอร (ประเทศไทย) จํากัด ไดเขามา<br />

ทําการศึกษา พบวา “แนวโนมตลาดเซอรวิสอพารทเมนทใน อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ยังเติบโตอยางตอเนื่องในอัตรา<br />

2-3% ทั้งในดานอุปทานและอุปสงค ประกอบกับบริษัทและโรงงานสวนใหญในนิคมอุตสาหกรรมในยานอ.ศรี<br />

ราชานั้นจะจัดสงผูบริหารชาวตางชาติเขามาดูแลโครงการในระยะเวลา 6 เดือน-1 ป ซึ่งสวนใหญเปนผูบริหาร<br />

ระดับกลาง-สูง เชนชาวญี่ปุน เกาหลี ยุโรป อเมริกา ซึ่งเปนกลุมที่มีกําลังซื้อสูงมาก เนื่องจากไดรับเงินเดือนและ<br />

คาสวัสดิการจากบริษัทแมจํานวนมาก ตองการความสะดวกสบายและความเปนสวนตัวเปนหลัก ซึ่งตลาด<br />

เซอรวิสอพารทเมนทระดับบนสวนใหญจะมีอัตราการเขาพักที่ 90% ตลอดทั้งป จํานวนยูนิตรวมนั้นพบวายังไม<br />

เพียงพอตอความตองการ มีเพียง1559 ยูนิตเทานั้น ที่เหลือสวนใหญจึงกระจายตัวออกไปเชาโครงการพวกทาวน<br />

เฮาส ตึกแถว บานจัดสรรแทน เพื่อรอเวลาที่หองวาง จากผลสํารวจ พบวากลุมลูกคาหลักจะเปนชาวญี่ปุน ซึ่งมี<br />

ความตองการโครงการประเภทเซอรวิสอพารทเมนท มากกวาโครงการประเภทอื่นทั้งหมด และในชวงปพ.ศ.<br />

2548-2550 จะมีโครงการประเภทนี้เปดเพิ่มขึ้นอีกหลายสิบโครงการรอบๆตัวเมือง มีอัตราการขยายตัวถึง 15%<br />

ซึ่งมากกวาในกรุงเทพมหานครหลายเทา อีกทั้งยังเปนเมืองที่อยูชิดริมชายทะเลเปนจุดขาย ทําใหเปนที่สนใจของ<br />

ชาวตางชาติมากเหมาะที่จะทําการลงทุนในโครงการประเภทนี้2 ”<br />

จากที่กลาวมาในเบื้องตน จึงมีความนาสนใจที่จะทําการศึกษาถึงรูปแบบการออกแบบทางกายภาพ<br />

และการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกภายในหองพักอาศัย ในพื้นที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เพื่อพัฒนาปรับปรุงและ<br />

สรางเปนแนวทางประกอบการตัดสินใจสําหรับผูประกอบการที่สนใจตองการจะลงทุน หรือผูออกแบบอาคาร<br />

บริการประเภทนี้ในพื ้นที่ศึกษา หรือพื้นที่ที่มีลักษณะทางกายภาพใกลเคียงกัน ตอไปในอนาคต<br />

ผลการศึกษา<br />

การศึกษาครั้งนี้เพื่อหาขอมูลที่เกี่ยวของมาเปรียบเทียบใหทราบถึง คาสูงสุด ต่ําสุด คาเฉลี่ย คาความถี่<br />

สูงสุด และเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่เปนสากลเพื่อเสนอเปนแนวทางในการลงทุน ออกแบบและปรับปรุง โดย<br />

<strong>1.</strong>เก็บขอมูลฑุติยภูมิทางดานพื้นฐานและทฤษฎีจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ หนังสือ สิ่งพิมพ<br />

ออนไลน เอกสารวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวของ และจากมาตรฐานที่เปนสากลประกอบไปดวย <strong>1.</strong>มาตรฐานที่อยู<br />

อาศัยในอาคารพักอาศัยประเภทอาคารชุดการเคหะแหงชาติ 2.กําหนดรายการมาตรฐานแหงประเทศไทย ที่อยู<br />

อาศัยและสิ่งแวดลอมระดับต่ําสุด (กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย, ม.ป.ป.)3.มาตรฐานที่<br />

อยูอาศัยขั้นต่ําของการเคหะแหงชาติ 4.Office of Housing and Urban Development Washington, D.C.และ<br />

5.มาตรฐานการทองเที่ยวไทย : มาตรฐานที่พักเพื่อการทองเที่ยว ประเภทบริการหองชุด (Serviced Apartment)<br />

(กรุงเทพ : สํานักพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา)<br />

1 ดาริน ศิริวัลลภ. การศึกษาปจจัยที่มีผลตอความตองการและความพึงพอใจทางดานสวนประสมการตลาดของที่อยู<br />

อาศัยสําหรับชาวญี่ปุนในอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการวิสาหกิจขนาดกลาง<br />

และขนาดยอมคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 255<strong>1.</strong><br />

2<br />

บริษัท ไนทแฟรงค ชารเตอร (ประเทศไทย) จํากัด ,Knight Frank Chartered Thailand Co., Ltd., “บทวิจัยภาพรวม<br />

ตลาดโครงการเซอรวิสอพารทเมนท ของ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ชวงป พ.ศ.2549-2550”


777<br />

2.เก็บขอมูลปฐมภูมิทางดานภาคสนาม (Field Research) จากการลงสํารวจ โดยเลือกกลุมตัวอยาง<br />

หองพักอาศัยจํานวน 25 กรณีศึกษา คือ หองแบบสตูดิโอ 12 กรณีศึกษา หองแบบ 1-หองนอน 9 กรณีศึกษา<br />

และหองแบบ-2 หองนอน 4 กรณีศึกษา จากโครงการเซอรวิสอพารทเมนท 8 แหงในพื้นที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี<br />

ดวยวิธีแบบเฉพาะเจาะจง แบบบังเอิญและแบบบอกตอ เก็บขอมูลดวยวิธีเฝาสังเกต จดบันทึก ถายภาพและ<br />

สัมภาษณ<br />

3.นําผลการศึกษาที่ไดมาทําการวิเคราะหเพื่อใหทราบถึง คาสูงสุด ต่ําสุด คาเฉลี่ย คาความถี่สูงสุด<br />

เพื่อสรุปเปนตารางแนวทางในการออกแบบทางกายภาพและจัดสิ่งอํานวยความสะดวกจากกรณีศึกษาในพื้นที่<br />

โดยแบงหัวขอยอยออกเปน 8 สวนตามตารางที่ <strong>1.</strong>2 ดานลาง<br />

ตารางที่ <strong>1.</strong>2 แสดงแนวทางในการออกแบบทางกายภาพและจัดสิ่งอํานวยความสะดวกจากกรณีศึกษา<br />

ในพื้นที่ศึกษา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี<br />

<strong>1.</strong> ขอมูลทั่วไปของโครงการ<br />

เกณฑ คาสูงสุดที่พบ คาต่ําสุดที่พบ<br />

<strong>1.</strong> ที่ตั้งโครงการ<br />

2. ลักษณะโครงการ<br />

3. จํานวนชั้นของโครงการ<br />

4. จํานวนอาคารตอโครงการ<br />

5. จํานวนหองพักอาศัย<br />

6. รูปแบบหองพักอาศัย<br />

7. ปที่เปดดําเนินการ<br />

8. อายุอาคาร<br />

9. ระดับโครงการ<br />

10. ระบบการกอสราง<br />

ต.ศรีราชา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี<br />

แบบโรงแรมผสมเซอรวิสอพารทเมนท<br />

19 ชั้น<br />

2 หลัง/โครงการ<br />

300 ยูนิต/โครงการ<br />

3 รูปแบบ/โครงการ<br />

โครงการแรกที่เปด คือ ป พ.ศ.2533<br />

โครงการลาสุดที่เปด คือ ป พ.ศ. 2551<br />

โครงการสวนใหญเปดในชวง ปพ.ศ. 2545-2551<br />

21 ป<br />

3 ดาว<br />

ระบบเสา พื้นคอนกรีตระบบอัดแรง หรือ<br />

POSTENSION<br />

2. ขอมูลเกี่ยวกับการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อบริการลูกคาในพื้นที่สวนกลาง<br />

ต.สุรศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี<br />

แบบเซอรวิสอพารทเมนทอยางเดียว<br />

3 ชั้น<br />

มากกวา 2 หลัง/โครงการ<br />

79 ยูนิต/โครงการ<br />

2 รูปแบบ/โครงการ<br />

3 ป<br />

4 ดาว<br />

ระบบเสา-คาน พื้นคอนกรีตสําเร็จรูป<br />

และหลอสําเร็จ<br />

เกณฑ พบทุกโครงการ พบบางโครงการ(เรียงจากมากไปหานอย)<br />

<strong>1.</strong> สิ่งอํานวยความสะดวก<br />

เพื่อบริการลูกคาในพื้นที่<br />

สวนกลาง<br />

<strong>1.</strong>ลอบบี้หรือโถงตอนรับ 2.รานอาหาร<br />

3.สระวายน้ํา 4.หองออกกําลังกายหรือฟตเนส<br />

5.FRONT OFFICE 6. BUSINESS CENTRE<br />

7.หองประชุม 8.ลานจอดรถยนต<br />

9.บริการรถรับ-สง 10.บริการรถเชา<br />

1<strong>1.</strong>บริการ ROOM SERVICE 12.บริการขนกระเปา<br />

13.บริการอินเตอรเน็ตพื้นที่สวนกลาง<br />

14.บริการ GUEST RELATION<br />

15.บริการเจาหนาที่พูดภาษาญี่ปุนได<br />

16.ระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชม.<br />

17.ระบบกลองวงจรปด 18.ลิฟต<br />

19.ระบบ SMOKE DETECTOR<br />

20.ระบบ SPRINKLE SYSTEM<br />

<strong>1.</strong>หอง SAUNA หรือ STREAM ROOM<br />

2.หองอานหนังสือ หรือ READING ROOM<br />

3.รานคา หรือ MINIMART<br />

4.สระแบบ JACUZZI<br />

5.บริการ BABY SITTING หรือ พี่เลี้ยงเด็ก<br />

6.บริการใหเชา DVD ภาษาญี่ปุน 7.หองสปา<br />

8.สนามเด็กเลน 9.LOUNGE<br />

10.ลานจอดรถใหญ 1<strong>1.</strong>สระวายน้ําเด็ก<br />

12. KID ROOM<br />

13.สวน<br />

14.หองเลนสนุกเกอร หรือ บิลเลียด<br />

15. MINI GOLF<br />

16. FUNCTION ROOM


778<br />

3. ขอมูลเกี่ยวกับอัตราคาเชาหองพักอาศัย<br />

เกณฑ คาสูงสุดที่พบ คาต่ําสุดที่พบ คาเฉลี่ย<br />

ก. หองพักแบบหองสตูดิโอ<br />

2. อัตราคาเชาแบบรายวัน<br />

3. อัตราคาเชาแบบราย 7 คืน 8 วัน<br />

4. อัตราคาเชาแบบรายเดือน<br />

5. อัตราคาเชารายเดือนตอพื้นที่<br />

(บาท/ตารางเมตร/เดือน)<br />

ข. หองพักแบบหอง 1-หองนอน<br />

2. อัตราคาเชาแบบรายวัน<br />

3. อัตราคาเชาแบบราย 7 คืน 8 วัน<br />

4. อัตราคาเชาแบบรายเดือน<br />

5. อัตราคาเชารายเดือนตอพื้นที่<br />

(บาท/ตารางเมตร/เดือน)<br />

2,700 บาท<br />

18,300 บาท<br />

48,000 บาท<br />

1,266.67 บาท<br />

/ตารางเมตร/เดือน<br />

4,000 บาท<br />

27,400 บาท<br />

55,000 บาท<br />

833.34 บาท<br />

/ตารางเมตร/เดือน<br />

1,400 บาท<br />

9,200 บาท<br />

28,000 บาท<br />

690.90 บาท<br />

/ตารางเมตร/เดือน<br />

2,100 บาท<br />

14,100 บาท<br />

31,030 บาท<br />

569.51 บาท<br />

/ตารางเมตร/เดือน<br />

<strong>1.</strong> รูปแบบการตั้งอัตราคาเชา<br />

2. อัตราคาเชาแบบรายวัน<br />

3. อัตราคาเชาแบบรายเดือน<br />

4. ขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการวางผังหองพักอาศัยกรณีศึกษา<br />

เกณฑ รูปแบบที่พบมากที่สุด<br />

ก. รูปแบบการวางผัง<br />

หองพัก<br />

แบบหองสตูดิโอ<br />

2,045.45 บาท<br />

13,866.67 บาท<br />

40,090.90 บาท<br />

952.58 บาท<br />

/ตารางเมตร/เดือน<br />

2,86<strong>1.</strong>12 บาท<br />

18,358.34 บาท<br />

42,92<strong>1.</strong>12 บาท<br />

728.44 บาท<br />

/ตารางเมตร/เดือน<br />

มี 2 แบบดวยกัน คือ <strong>1.</strong>แบบรายวัน 2.แบบรายเดือน<br />

ราคาสุทธิที่คิดรวมภาษีมูลคาเพิ่ม (Tax.) 7% คาบริการ (Service Charge) 5 -10% คา<br />

น้ําประปา คาไฟฟา และ คาบริการอาหารเชาแลว<br />

ราคาไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม (Tax.) 7% คาบริการ (Service Charge) 5-10% คาน้ําประปา<br />

คาไฟฟา และ คาบริการอาหารเชา<br />

ภาพที่ 6.1 แสดงรูปแบบการวางผังหองพักอาศัยแบบสตูดิโอที่พบมากที่สุด<br />

ที่มา : จากการสํารวจและวาดโดยผูวิจัย<br />

<strong>1.</strong>การวางผังหองพักที่แบงพื้นที่ 4 สวน คือ สวนอเนกประสงค, หองน้ํา, ครัว และระเบียง มีตําแหนง<br />

หองน้ําและหองครัวอยูภายในหองพักติดกับโถงทางเดิน โดยเปดประตูเขามาทางสวนครัว สวน<br />

เอนกประสงคแบงแยกยอยออกเปน 2 สวน คือ สวนนั่งเลน และสวนพักผอน โดยสวนนั่งเลนอยูชิดสวน<br />

หองครัว สวนพักผอนอยูชิดระเบียง มีระเบียงกวางเต็มความกวางของหองพัก โดยตัวหองมีขนาดความ<br />

กวาง 4-5.7 เมตร ยาว 6.5-10.35 เมตร ขนาดหองพัก 40-55 ตารางเมตร


779<br />

4. ขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการวางผังหองพักอาศัยกรณีศึกษา(ตอ)<br />

เกณฑ รูปแบบที่พบมากที่สุด<br />

ข. รูปแบบการวางผัง<br />

หองพักแบบ1-หองนอน<br />

ภาพที่ 6.2 แสดงรูปแบบการวางผังหองพักอาศัยแบบ1-หองนอนที่พบมากที่สุด ที่มา : จากการสํารวจและวาดโดยผูวิจัย<br />

<strong>1.</strong>การวางผังหองพักแบบทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส แบงพื้นที่ออกเปน 2 สวนใหญ คือ <strong>1.</strong>สวนหองนั่งเลน มี สวน<br />

ครัว สวนนั่งเลน และระเบียง 2.สวนหองพัก มี สวนหองพัก หองน้ําและระเบียง โดยหองน้ํา 1 หอง อยู<br />

ภายในสวนหองพักติดกับโถงทางเดิน หองครัว 1 หอง อยูภายในสวนหองนั่งเลนติดกับโถงทางเดิน โดย<br />

เปดประตูเขามาทางสวนหองครัว มี 2 ระเบียงเต็มความกวางหองทั้งสวนหองนั่งเลนและสวนหองพัก ตัว<br />

หองมีขนาดความกวาง 7.40-8.10 เมตร ยาว 7.60-9.15 เมตร ขนาดหองพักประมาณ 60-70 ตารางเมตร<br />

2.การวางผังหองพักแบบทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส แบงพื้นที่ออกเปน 2 สวนใหญ คือ <strong>1.</strong>สวนหองนั่งเลน มี สวน<br />

ครัว สวนนั่งเลน และระเบียง 2.สวนหองพัก มี สวนหองพัก และหองน้ํา โดยหองน้ํา 1 หอง อยูภายในสวน<br />

หองพักติดกับโถงทางเดิน หองครัว 1 หอง อยูภายในสวนหองนั่งเลนติดกับโถงทางเดิน โดยเปดประตูเขา<br />

มาทางสวนหองครัว มี 1 ระเบียงเต็มความกวางหองนั่งเลน ระเบียงของสวนหองนอนถูกลดขนาดลงและ<br />

ใชเปนที่ตั้งเครื่องคอยลรอนแทน<br />

ค. รูปแบบการวางผัง เนื่องจากมีกลุมตัวอยางเพียง 4 กรณีศึกษา รวมทั้งมีรูปแบบที่แตกตางและหลากหลายทางการจัดวางผัง<br />

หองพักแบบ 2-หองนอน และขนาดพื้นที่จึงไมสามารถสรุปรูปแบบการวางผังที่แนนอนได<br />

5. วิเคราะหและสรุปขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการวางผังหองน้ําของหองพักอาศัยกรณีศึกษา<br />

เกณฑ รูปแบบที่พบมากที่สุด<br />

รูปแบบการวางผัง<br />

หองน้ําของหองพักอาศัย<br />

กรณีศึกษา<br />

ภาพที่ 6.3 แสดงรูปแบบการวางผังหองน้ําที่พบมากที่สุด ที่มา : จากการสํารวจและวาดโดยผูวิจัย<br />

รูปแบบที่พบมากที่สุดมี 2 แบบ ไดแก<br />

<strong>1.</strong>รูปแบบที่ประกอบไปดวย 4 สวนที่สําคัญ คือ <strong>1.</strong>อางลางหนา 2.โถสวม 3.ที่ยืนอาบน้ํา 4.อางอาบน้ํา<br />

2.รูปแบบที่ประกอบไปดวย 3 สวนที่สําคัญ คือ <strong>1.</strong>อางลางหนา 2.โถสวม 3.อางอาบน้ํา


780<br />

6. ขอมูลเกี่ยวกับการจัดแบงพื้นที่ใชสอยภายในหองพักอาศัยกรณีศึกษา<br />

เกณฑ คาสูงสุดที่พบ<br />

(ตารางเมตร)<br />

คาต่ําสุดที่พบ<br />

(ตารางเมตร)<br />

ก. หองพักแบบหองสตูดิโอ<br />

<strong>1.</strong> พื้นที่สวนอเนกประสงค(สวนนั่งเลนและหองพัก) 33.33<br />

2. พื้นที่สวนหองน้ํา<br />

7.90<br />

3. พื้นที่สวนครัว<br />

8.50<br />

4. พื้นที่สวนระเบียง<br />

7.40<br />

5. พื้นที่ใชสอยรวม<br />

55.00<br />

ข. หองพักแบบหอง 1-หองนอน<br />

<strong>1.</strong> พื้นที่สวนอเนกประสงค (สวนหองพัก)<br />

23.28<br />

2. พื้นที่สวนอเนกประสงค (สวนนั่งเลน)<br />

29.50<br />

3. พื้นที่สวนหองน้ํา<br />

10.45<br />

4. พื้นที่สวนครัว<br />

10.04<br />

5. พื้นที่สวนระเบียง<br />

9.00<br />

6. พื้นที่ใชสอยรวม<br />

70.00<br />

7. วัสดุและการตกแตงภายในหองพักอาศัยกรณีศึกษาที่พบสูงที่สุด<br />

16.72<br />

3.57<br />

3.31<br />

2.50<br />

30.00<br />

17.15<br />

12.28<br />

4.28<br />

3.36<br />

2.06<br />

48.00<br />

คาเฉลี่ย<br />

(ตารางเมตร)<br />

26.63<br />

6.42<br />

6.26<br />

4.46<br />

43.00<br />

19.06<br />

20.82<br />

7.20<br />

5.70<br />

6.77<br />

58.78<br />

จํานวนกรณีศึกษา<br />

ที่ไมผานมาตรฐาน<br />

1<br />

-<br />

4<br />

-<br />

-<br />

-<br />

-<br />

-<br />

6<br />

1<br />

-<br />

เกณฑ ก. หองพักแบบหองสตูดิโอ ข. หองพักแบบหอง 1-หองนอน<br />

วัสดุปูพื้น<br />

<strong>1.</strong> สวนอเนกประสงค(นั่งเลนและหองพัก)<br />

<strong>1.</strong>1 สวนอเนกประสงค (สวนนั่งเลน)<br />

<strong>1.</strong>2 สวนอเนกประสงค (สวนหองพัก)<br />

2. สวนครัว<br />

3. สวนหองน้ํา<br />

4. สวนระเบียง<br />

วัสดุปูผนัง<br />

<strong>1.</strong> สวนอเนกประสงค(นั่งเลนและหองพัก)<br />

<strong>1.</strong>1 สวนอเนกประสงค (สวนนั่งเลน)<br />

<strong>1.</strong>2 สวนอเนกประสงค (สวนหองพัก)<br />

2. สวนครัว<br />

3. สวนหองน้ํา<br />

4. สวนระเบียง<br />

ไมปารเกแบบเขาลิ้น 5 X 30 ซม<br />

-<br />

-<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

กระเบื้องCeramic Tile 60 X 60 ซม.<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

ผนังกออิฐฉาบปูนเรียบทาสี<br />

-<br />

-<br />

ผนังกออิฐฉาบปูนเรียบทาสี<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

ผนังกออิฐฉาบปูนเรียบทาสี<br />

-<br />

ไมปารเกแบบเขาลิ้น 5 X 30 ซม<br />

ไมปารเกแบบเขาลิ้น 5 X 30 ซม<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

กระเบื้องCeramic Tile 60 X 60 ซม.<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

-<br />

ผนังกออิฐฉาบปูนเรียบทาสี<br />

ผนังกออิฐฉาบปูนเรียบทาสี<br />

กระเบื้อง Mosaic Tile 5 X 5 ซม.<br />

กระเบื้องCeramic Tile 30 X 30 ซม.<br />

ผนังกออิฐฉาบปูนเรียบทาสี


781<br />

7. วัสดุและการตกแตงภายในหองพักอาศัยกรณีศึกษาที่พบสูงที่สุด(ตอ)<br />

เกณฑ ก. หองพักแบบหองสตูดิโอ ข. หองพักแบบหอง 1-หองนอน<br />

วัสดุบุฝาเพดาน<br />

<strong>1.</strong> สวนอเนกประสงค(นั่งเลนและหองพัก)<br />

<strong>1.</strong>1 สวนอเนกประสงค (สวนนั่งเลน)<br />

<strong>1.</strong>2 สวนอเนกประสงค (สวนหองพัก)<br />

2. สวนครัว<br />

3. สวนหองน้ํา<br />

4. สวนระเบียง<br />

วัสดุสวนเฟอรนิเจอรและสุขภัณฑ<br />

<strong>1.</strong> สวนอเนกประสงค(นั่งเลนและหองพัก)<br />

<strong>1.</strong>1 สวนอเนกประสงค (สวนนั่งเลน)<br />

<strong>1.</strong>2 สวนอเนกประสงค (สวนหองพัก)<br />

2. สวนครัว<br />

ฝายิปซั่มบอรดฉาบเรียบทาสี<br />

-<br />

-<br />

ฝายิปซั่มบอรดฉาบเรียบทาสี<br />

ฝายิปซั่มบอรดฉาบเรียบทาสีชนิดกันชื้น<br />

-<br />

-<br />

ฝายิปซั่มบอรดฉาบเรียบทาสี<br />

ฝายิปซั่มบอรดฉาบเรียบทาสี<br />

ฝายิปซั่มบอรดฉาบเรียบทาสี<br />

ฝายิปซั่มบอรดฉาบเรียบทาสีชนิดกันชื้น<br />

-<br />

เฟอรนิเจอรไมสีธรรมชาติ<br />

-<br />

-<br />

ตัวตูวัสดุไมอัดประสาน (Particle Board)<br />

ปดผิวดวย HPL ลายไมธรรมชาติ Top<br />

หินเทียม (Solid surface) สีเทา<br />

3. สวนหองน้ํา<br />

สุขภัณฑสีขาวและ CHROME<br />

8. ขอมูลเกี่ยวกับการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกภายในหองพักอาศัยกรณีศึกษา<br />

-<br />

เฟอรนิเจอรไมสีธรรมชาติ<br />

เฟอรนิเจอรไมสีธรรมชาติ<br />

ตัวตูวัสดุไมอัดประสาน (Particle Board)<br />

ปดผิวดวย HPL ลายไมธรรมชาติ Top หิน<br />

เทียม (Solid surface) สีเทา<br />

สุขภัณฑสีขาวและ CHROME<br />

เกณฑ ก. หองพักแบบหองสตูดิโอ ข. หองพักแบบหอง 1-หองนอน<br />

<strong>1.</strong> สวนหองพัก<br />

<strong>1.</strong>1 พบทุกกลุม<br />

ตัวอยางกรณีศึกษา<br />

<strong>1.</strong>2 พบบางกลุม<br />

ตัวอยางกรณีศึกษา<br />

(จากมากไปหานอย)<br />

2. สวนครัว<br />

2.1 พบทุกกลุม<br />

ตัวอยางกรณีศึกษา<br />

2.2 พบบางกลุม<br />

ตัวอยางกรณีศึกษา<br />

(จากมากไปหานอย)<br />

<strong>1.</strong>เครื่องปรับอากาศ 2.ชุดโตะแตงตัว 3.เตียงนอน<br />

4.ชุดโตะหัวเตียง 5.ชุดเครื่องนอน 6.ชั้นวางของ<br />

7.โทรทัศน 8.เครื่องเลน DVD 9.เคเบิ้ลทีวี<br />

10.ชอง NHK World 1<strong>1.</strong>ตูนิรภัย 12.คียการด<br />

13.กริ่งบริเวณประตู 14.อินเตอรเน็ต 15.โทรศัพท<br />

16.รูปภาพประดับ 17.ระเบียง 18.ถังขยะ<br />

<strong>1.</strong>ชุดโตะทานอาหาร 2.ชุดโซฟา 3.เตียงเด็ก<br />

4.กระถางตนไมประดับ 5.รม 6.ไฟฉาย<br />

7.เครื่องซักผา<br />

<strong>1.</strong>น้ําดื่มบรรจุขวด 2.กาตมน้ํารอนไฟฟา 3.ตูเย็น<br />

<strong>1.</strong>อางลางจาน 2.ชุดอุปกรณทานอาหาร 3.เตา<br />

ไมโครเวฟ 4.เครื่องปงขนมปงไฟฟา 5.มินิบาร<br />

6.ชุดอุปกรณทําอาหาร 7.เตาไฟฟา 8.ตูเก็บอาหาร<br />

<strong>1.</strong>เครื่องปรับอากาศ 2.ชุดโตะทานอาหาร 3.ชุดโซฟา<br />

4.ชุดโตะแตงตัว 5.เตียงนอน 6.ชุดโตะหัวเตียง<br />

7.ชุดเครื่องนอน 8.ชั้นวางของ 9.โทรทัศน 10.เครื่องเลน<br />

DVD 1<strong>1.</strong>เคเบิ้ลทีวี 12.ชอง NHK World 13.ตูนิรภัย<br />

14.คียการด 15.กริ่งบริเวณประตู 16.อินเตอรเน็ต<br />

17.โทรศัพท 18.รูปภาพประดับ 19.ระเบียง 20.ถังขยะ<br />

<strong>1.</strong>เตียงเด็ก 2.กระถางตนไมประดับ 3.เตารีดไฟฟา<br />

4.โตะรีดผา 5.เครื่องซักผา 6.รม 7.ไฟฉาย<br />

<strong>1.</strong>อางลางจาน 2.ชุดอุปกรณทําอาหาร 3.ชุดอุปกรณ<br />

ทานอาหาร 4.เตาไฟฟา 5.น้ําดื่มบรรจุขวด 6.กาตมน้ํา<br />

รอนไฟฟา 7.เตาไมโครเวฟ 8.เครื่องปงขนมปงไฟฟา<br />

9.ตูเก็บอาหาร 10.ตูเก็บอาหาร 1<strong>1.</strong>ตูเย็น 12.มินิบาร<br />

-


782<br />

8. ขอมูลเกี่ยวกับการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกภายในหองพักอาศัยกรณีศึกษา(ตอ)<br />

เกณฑ ก. หองพักแบบหองสตูดิโอ ที่พบสูงที่สุด ข. หองพักแบบหอง 1-หองนอน ที่พบสูงที่สุด<br />

3. สวนหองน้ํา<br />

3.1 พบทุกกลุม<br />

ตัวอยางกรณีศึกษา<br />

3.2 พบบางกลุม<br />

ตัวอยางกรณีศึกษา<br />

(จากมากไปหานอย)<br />

<strong>1.</strong>อางลางมือ 2.ชุดของใชในหองน้ํา<br />

3.ชุดคลุมอาบน้ํา 4.รองเทาแตะ 5.โถสวม<br />

6.กระดาษชําระ 7.สายฉีดชําระ 8.ที่เปาผม<br />

<strong>1.</strong>อางอาบน้ํา 2.เครื่องทําน้ํารอน 3.ที่ยืนอาบน้ํา<br />

4.เครื่องทําน้ําอุน<br />

<strong>1.</strong>อางลางมือ 2.อางอาบน้ํา 3.ชุดของใชในหองน้ํา<br />

4.ชุดคลุมอาบน้ํา 5.รองเทาแตะ 6.โถสวม 7.กระดาษ<br />

ชําระ 8.สายฉีดชําระ 9.เครื่องทําน้ํารอน 10.ที่เปาผม<br />

<strong>1.</strong> ที่ยืนอาบน้ํา<br />

ที่มา : จากการสํารวจและสรุปโดยผูวิจัย<br />

4.นําแนวทางที่ไดไปเปรียบเทียบกับขอมูลฑุติยภูมิทางดานมาตรฐานที่เปนสากล(มาตรฐานที่พักเพื่อ<br />

การทองเที่ยว ประเภทบริการหองชุด (Serviced Apartment) ของสํานักพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการ<br />

ทองเที่ยวและกีฬา) เพื่อประเมินผลการออกแบบทางกายภาพและจัดสิ่งอํานวยความสะดวกที่ตองปรับปรุงตาม<br />

ตารางที่ <strong>1.</strong>3<br />

ตารางที่ <strong>1.</strong>3 แสดงเปรียบเทียบผลการศึกษาการออกแบบทางกายภาพและจัดสิ่งอํานวยความสะดวก<br />

กลุมตัวอยางหองพักอาศัยกรณีศึกษาในพื้นที่ กับมาตรฐานที่เปนสากล<br />

มาตรฐานที่พักเพื่อการทองเที่ยว ประเภทบริการหองชุด (Serviced Apartment)<br />

ของสํานักพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา<br />

จํานวนกรณีศึกษาที่ไมผาน<br />

เกณฑ<br />

หมวดที่ 3 หองพักแบบ สตูดิโอ 1-หองนอน<br />

เกณฑ ตัวชี้วัด 3ดาว 5ดาว 3ดาว 5ดาว<br />

<strong>1.</strong> เฉพาะ<br />

หองพักแบบ<br />

สวีต 1-หอง<br />

2. ขนาดของ<br />

หองพัก<br />

มีพื้นที่ไมนอยกวา 60 ตารางเมตร (ไมรวมหองน้ํา และระเบียง) - - - 9<br />

มีหองน้ําในสวนของหองรับแขก ที่สามารถใชไดโดยตรง - - - 4<br />

มีโทรทัศนสี ขนาดไมนอยกวา 25 นิ้ว พรอมรีโมทคอนโทรล หรือสิ่งทดแทน - - - 3<br />

36 ตารางเมตรขึ้นไป (รวมหองน้ํา) - 2 - -<br />

***มีพื้นที่สําหรับปรุงอาหาร 6 ตารางเมตรขึ้นไป พรอมอุปกรณ 4 4 6 6<br />

มีพื้นที่รับแขก แยกจากพื้นที่ทานอาหาร และมีพื้นที่รวมกัน 9 ตารางเมตรขึ้นไป - 5 - -<br />

***มีแผนผังทางหนีไฟแสดงอยางชัดเจนที่ประตู 5 5 2 2<br />

4.องคประกอบ<br />

ภายในหองพัก มีหองพักซึ่งมีองคประกอบ และเฟอรนิเจอรสําหรับคนพิการอยางนอย1 หอง - 12 - 9<br />

5.เฟอรนิเจอร<br />

ภายในหองพัก<br />

6.<br />

เครื่องใชไฟฟา<br />

ภายในหองพัก<br />

***มีที่วางสัมภาระอยางเพียงพอ 7 7 9 9<br />

มีโตะ และเกาอี้ทํางาน - 12 - 1<br />

มีกระจกเงาซึ่งสามารถสองไดทั้งตัว - 11 - 9<br />

มีชุดรับแขก แยกจากชุดทานอาหาร โดยแตละชุด ไมนอยกวา 4 ที่นั่ง - 12 - 9<br />

***มีอางลางจาน อยางนอย 1 หลุม พรอมพื้นที่สําหรับคว่ําจาน 2 2 - -<br />

มีตูเย็นขนาดไมเล็กกวา 4 คิว - 1 - -<br />

มีเครื่องตมน้ํารอน หรือชงกาแฟ - 1 - -<br />

***มีเตาไฟฟา หรือเตาไมโครเวฟ 1 - - -<br />

มีเตาไฟฟา หรือเตาไมโครเวฟ ทุกหองพัก - 1 - -<br />

มีเตารีดไฟฟาที่อยูในสภาพใชงานไดดี และปลอดภัย - 12 - 6


783<br />

7.ของใช<br />

ภายในหองพัก<br />

8. หองน้ํา<br />

ภายในหองพัก<br />

มีผาปูเตียงที่อยูในสภาพดี และสะอาด 3 ผืน / เตียง หรือดูเอ 1 ผืน / เตียง - 12 - 9<br />

มีเสื้อคลุมอาบน้ําที่สะอาด 2 ชุด - 6 - -<br />

***มีที่แขวนเสื้อผาที่อยูในสภาพดี ไมนอยกวา 8 อัน 7 7 - -<br />

มี Laundry List - 2 - -<br />

มี Laundry Bag (ควรเปนถุงผาเพื่อลดปริมาณการใชพลาสติก) - 2 - -<br />

มีบริการขัดรองเทา หรือ Shoe Shine Kit - 12 - 9<br />

****มีมินิบารที่บรรจุเครื่องดื่ม และของขบเคี้ยว 5 - 6 -<br />

มีมินิบารที่บรรจุเครื่องดื่ม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล และของขบเคี้ยว - 8 - 6<br />

มีที่ใสน้ําแข็ง และที่คีบน้ําแข็งที่สะอาด - 1 - -<br />

***มีฝกบัวอาบน้ําหรืออางอาบน้ํา และอุปกรณพรอมมาน หรือผนังกั้น 4 - 4 -<br />

มีฝกบัวอาบน้ําหรืออางอาบน้ํา และอุปกรณพรอมมาน หรือผนังกั้น<br />

- 4 - 4<br />

ตองมีทั้งฝกบัวอาบน้ําและอางอาบน้ํา ซึ่งมีมาน หรือผนังกั้นแยกจากกัน<br />

มีโทรศัพทพวง - 12 - 9<br />

มีเครื่องชั่งน้ําหนักที่ใชงานไดดี - 12 - 9<br />

มีอางลางมือ พรอมกระจกเงา และกระจกขยาย - 12 - 9<br />

มีผาเช็ดมือ ที่อยูในสภาพดี และสะอาด 2 ผืน - 12 - -<br />

***มีกระดาษชําระในภาชนะที่สะอาด ไมเปยกน้ํา 4 4 - -<br />

***มี Sanitary Bag 4 4 - -<br />

***มีหมวกคลุมอาบน้ําที่สะอาด 2 ใบ 11 11 - -<br />

มีแปรงสีฟนที่สะอาด พรอมยาสีฟน 2 ชุด - 6 - 8<br />

***มีถังขยะที่สะอาด 4 4 - -<br />

ที่มา : จากการสํารวจและสรุปโดยผูวิจัย<br />

5.นําผลการศึกษาที่ไดมาประเมินคะแนนเปรียบเทียบตามมาตรฐานที่เปนสากล (ประเมินตาม<br />

มาตรฐานที่พักเพื่อการทองเที่ยว ประเภทบริการหองชุด (Serviced Apartment) ของสํานักพัฒนาการทองเที่ยว<br />

กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา)<br />

ตารางที่ <strong>1.</strong>4 แสดงผลประเมินคะแนนของหองพักอาศัยกรณีศึกษาแบบสตูดิโอตามมาตรฐานที่เปนสากล<br />

รายการ หองพักกรณีศึกษาที่<br />

สวนหองพัก 01 02 05 08 11 14 18 19 20 21 23 25<br />

คะแนนรวมระดับ3ดาว 121 119 124 123 121 122 118.5 116.5 118.5 116.5 122 122.5<br />

ผาน/ไมผานเกณฑระดับ3ดาว <br />

คะแนนรวมระดับ5ดาว 134.5 132.5 135 135 133 125 123 124.5 131 127.5 132.5 135.5<br />

ผาน/ไมผานเกณฑระดับ5ดาว <br />

ที่มา : จากการสํารวจและสรุปโดยผูวิจัย<br />

หมายเหตุ คะแนนเต็มของมาตรฐานระดับ3ดาว คือ 126.5 คะแนน<br />

ระดับการผานเกณฑมาตรฐานระดับ3ดาว (รอยละ 95 ของคะแนนเต็ม) คือ 121 คะแนนขึ้นไป<br />

คะแนนเต็มของมาตรฐานระดับ5ดาว คือ 152 คะแนน<br />

ระดับการผานเกณฑมาตรฐานระดับ5ดาว (รอยละ 95 ของคะแนนเต็ม) คือ 144.5 คะแนนขึ้นไป

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!