01.01.2015 Views

4 - Faculty of Architecture

4 - Faculty of Architecture

4 - Faculty of Architecture

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

326<br />

ปจจัยที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัย<br />

กรณีศึกษา ชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม<br />

FACTORS WHICH CAUSE REPAIR OF RESIDENTIAL CASE STUDY OF A COMMUNITY<br />

MEASURE THAMNIMIT MUNICIPAL SAMUT SONGKHRAM PROVINCE<br />

ลัคนา อนงคไชย<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์<br />

บทนํา<br />

ที่อยูอาศัยนอกจากมีความสําคัญตอการดํารงชีวิต เปนหนึ่งในปจจัยสี่ แลว ยังเปนสวนสําคัญของ<br />

วัฒนธรรมทองถิ่น โดยบานและชุมชนดั้งเดิมในแตละทองถิ่น จะมีเอกลักษณแตกตางกัน โดยมีลักษณะ<br />

สอดคลองกับภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ในแตละทองถิ่น กลาวคือจะมีลักษณะที่สอดคลองกับสภาพภูมิประเทศ<br />

และภูมิอากาศในแตละทองถิ่นของตน บานและชุมชนดั้งเดิมสวนใหญ เนื่องจากอยูมานานจึงมักมีสภาพทรุด<br />

โทรม ที่อยูอาศัยในยุคตอมากระแสโลกาภิวัตน สงผลให วิถีชีวิตคานิยมและการอยูอาศัยเปลี่ยนแปลงไป ทําให<br />

รูปแบบที่อยูอาศัยเปลี่ยนแปลงไปดวย การซอมแซมที่อยูอาศัยแบบดั ้งเดิมจํานวนหนึ่ง จึงปรับเปลี่ยนไปจาก<br />

รูปแบบดั้งเดิม<br />

จังหวัดสมุทรสงครามถือไดวาเปนพื้นที่ที่เหมาะแกการเพาะปลูกพืชนานาชนิด ประกอบกับชาวเมือง มี<br />

ความขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ เมืองสมุทรสงครามจึงกลายเปนแหลงผลิตพืชผลการเกษตรขนาดใหญ<br />

ในภาคกลางของประเทศไทย<br />

จากการสํารวจพื้นที่ภายใตงานวิจัยเคหะชุมชนวิถีไท โครงการสิ่งแวดลอมสถาปตยชนบท: กรณีศึกษา<br />

วิถีบานในจังหวัดสมุทรสงคราม พบวา การตั้งถิ่นฐานบานเรือนดั้งเดิมของเมืองสมุทรสงคราม โดยสวนใหญอยู<br />

ตั้งอยูบริเวณ 2 ฟากแมน้ําแมกลองอันอุดมสมบูรณ ตามแนวริมแมน้ํานี้ จะมีวัดเปนศูนยกลาง จะสราง<br />

บานเรือนอยูรอบบริเวณวัด โดยอาศัยวัดเปนศูนยกลาง<br />

เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม ถือไดวาเปนพื้นที่เมืองซึ่งมีความเกาแกชุมชนหนึ่งในสมุทรสงคราม มีการ<br />

ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ริมแมน้ํา เปนแนวยาวทั้งสองฝง มีทั้งหมด 14 ชุมชน 1 โดยมีวัดทั้งหมด 7 วัด เรียงรายเปน<br />

ศูนยกลางแตละชุมชน มีที่อยูอาศัยประมาณ 6,261 หลัง โดยชุมชนดั้งเดิมที่ตั้งอยูริมแมน้ํา สวนใหญมีสภาพ<br />

ทรุดโทรม ขาดการปรับปรุงซอมแซม<br />

จากการสํารวจทางเรือ 2 พบวา ยังมีชุมชนหนึ่งมีการซอมแซม ปรับปรุงที่อยูอาศัย ในลักษณะที่คง<br />

เอกลักษณเดิมอยู ดังนั้นจึงเปนประเด็นที่นาสนใจศึกษาถึงปจจัยที่สงเสริมการซอมแซมสภาพการอยูอาศัย วามี<br />

ปจจัยอะไรที่เปนแรงจูงใจและสนับสนุนในการซอมแซมที่อยูอาศัยอันสงผลตอคุณภาพของที่อยูอาศัยและการ<br />

1<br />

เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม,2553<br />

2<br />

การสํารวจตามโครงการวิจัยนวัตกรรม วันที่ 30 เดือน กรกฎาคม ,2553


327<br />

อยูอาศัยที่ดี ซึ่งชุมชนนั้นก็คือชุมชนวัดธรรมนิมิต เปนชุมชนที่มีการซอมแซมที่อยูอาศัยที่มีสภาพการอยูอาศัย<br />

ที่ดีที่สุดอยางเห็นไดชัด ดังนั้นผูศึกษาจึงไดเลือกชุมชนวัดธรรมนิมิตเปนพื้นที่ศึกษา ชุมชนวัดธรรมนิมิต มี<br />

จํานวนอาคารพักอาศัยทั้งชุมชนรวมประมาณ 850 หลังคาเรือน และมีชุมชนริมน้ําที่มีที่อยูอาศัยแบบดั้งเดิม<br />

อยูประมาณ 221 หลังคาเรือน สวนใหญอยูอาศัยโดยการเชา และผลจากการสํารวจเบื้องตนในชุมชนดั้งเดิมนี้ มี<br />

ที่อยูอาศัยที่มีการซอมแซมปรับปรุงอยูมากถึง 93 หลังคาเรือน<br />

รูปที่ 1.1 แสดงลักษณะที่อยูอาศัยที่มีการซอมแซมของชุมชนวัดธรรมนิมิต<br />

ดังนั้น การศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่สงเสริมการซอมแซมที่อยูอาศัย : กรณีศึกษา ชุมชนวัดธรรมนิมิต<br />

เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม” จึงมีคําถามในการวิจัย คือ การซอมแซมที่อยูอาศัยเหลานี้ เกิดขึ้นได<br />

อยางไร ใครเปนผูริเริ่ม ดําเนินการอยางไร และปจจัยที่ทําใหเกิดการซอมแซมคืออะไร และเหตุใดจึงซอมแซมโดย<br />

ยังคงรักษาเอกลักษณ ของที่อยูอาศัยแบบดั้งเดิมไวได<br />

วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาประวัติความเปนมา และลักษณะทางดานกายภาพที่อยูอาศัยในชุชนวัดธรรมนิมิต<br />

เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม


328<br />

2. เพื่อศึกษาลักษณะของผูอยูอาศัย ทั้งทางดานเศรษฐกิจสังคมในชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง<br />

จังหวัดสมุทรสงคราม<br />

3. เพื่อศึกษาการปรับปรุงซอมแซมที่อยูอาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง จังหวัด<br />

สมุทรสงคราม<br />

4. เพื่อวิเคราะหปจจัยที่ทําใหเกิดการปรับปรุงซอมแซมที่อยู อาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง<br />

จังหวัดสมุทรสงคราม<br />

กรอบแนวคิดและวิธีการดําเนินวิจัย<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ไดเลือกชุมชนวัดธรรมนิมิตเปนชุมชนที่ใชในการศึกษา ซึ่งเปนชุมชนดั้งเดิมใน<br />

เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม มีจํานวนอาคารพักอาศัยทั้งหมด 817 หลังคาเรือน ชุมชนแบงออกเปนสอง<br />

สวน คือบริเวณชุมชนริมแมน้ํา มีจํานวนอาคารพักอาศัยทั้งหมด 221 หลังคาเรือน และพื้นที่บริเวณพักอาศัย<br />

รูปแบบใหม มีจํานวนอาคารพักอาศัยทั้งหมด 596 หลังคาเรือน<br />

แผนที่ 1 แสดงขอบเขตวัดธรรมนิมิต<br />

ในการศึกษาผูวิจัยไดเลือกพื้นที่บริเวณริมน้ําซึ่งเปนพื้นที่ชุมชนดั้งเดิม ซึ่งมีทั้งหมดประมาณ 254<br />

หลังคาเรือน อีกทั้งจากการสํารวจเบื้องตนมีพื้นที่พักอาศัยที่มีการซอมแซมปรับปรุงอยู 93 หลังคาเรือน<br />

ขอบเขตพื้นที่ศึกษา<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ชุมชนตลาด<br />

ทิศใต ติดกับ ชุมชนบางจะเกร็ง 1<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ การปะปา เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ แมน้ําแมกลอง<br />

การศึกษานี้ไดศึกษาปจจัยที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัย : กรณีศึกษาชุมชนวัดธรรมนิมิต<br />

เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม โดยครอบคลุมเนื้อหาทั้งในดานกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจน<br />

วิเคราะหลักษณะการซอมแซมที่อยูอาศัย โดยมีตัวแปรตางๆ ตามวัตถุประสงค


329<br />

จากการศึกษาขอมูลเบื้องตนของพื้นที่ศึกษาในชุมชนวัดธรรมนิมิต มีลักษณะกรรมสิทธิ์การถือครอง<br />

ที่ดินหลายรูปแบบ คือ เจาของ เชาทั้งบานและที่ดิน เชาที่ดินวัด เชาที่ดินเอกชน ซึ่งมีจํานวนจํานวนเรียง<br />

ตามลําดับ ดังตาราง 1 ดังนี้<br />

ตาราง 1 แสดงจํานวนบานในพื้นที่ศึกษา<br />

กรรมสิทธิ์ จํานวน รอยละ<br />

เจาของ 46 21<br />

เชาที่ดินวัด 27 12<br />

เชาที่ดินเอกชน 116 53<br />

เชาทั้งบานและที่ดิน 32 14<br />

รวม 221 100<br />

ผลของการสํารวจขอมูลเบื้องตนทําใหพบวามีการซอมแซมที่อยูอาศัยเปนจํานวนมากซึ่งมีจํานวนที่อยู<br />

อาศัยที่ซอมแซมทั้งหมด 93 หลัง จาก 221 หลัง คิดเปนรอยละ 42.08 ดังนั้นจึงทําการเลือกกลุมตัวอยางโดย<br />

การจําแนกจากกรรมสิทธิ์การถือครองที่ดิน จากนั้นจึงไดทําการคัดเลือกกลุมตัวอยางในการศึกษาโดยการสุม<br />

ตัวอยางเชิงคุณภาพ (ไมนอยรอยละ 30) คือไมนอยกวา 28 หลังคาเรือน เพื่อนําไปสัมภาษณกลุมผูอยูอาศัยที่มี<br />

การซอมแซมที่อยูอาศัยในชุมชน ซึ่งมีการกระจายในการสุมตัวอยาง ดังตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนของการสุมตัวอยางประชากร<br />

กรรมสิทธิ์<br />

จํานวนหนวยที่อยูอาศัยที่มี จํานวนหนวยของการสุม<br />

การซอมแซมทั้งหมด ตัวอยางไมนอยกวา<br />

เจาของ 12 4<br />

เชาที่ดินวัด 11 4<br />

เชาที่ดินเอกชน 55 17<br />

เชาทั้งที่และบาน 15 5<br />

รวม 93 30<br />

โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยดังนี้<br />

1. ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับปจจัยการซอมแซมที่อยูอาอศัย ลักษณะทางกายภาพ<br />

เศรษฐกิจ สังคม ลักษณะการซอมแซม โดยอาศัยขอมูลเบื้องตนจากเอกสารวิชาการ งานวิจัยตางๆ แผนที่<br />

ภาพถายทางอากาศและจากการสํารวจดวยตนเอง<br />

2. กําหนดปจจัยในการสํารวจ ออกแบบแบบสัมภาษณและวิเคราะหพื้นที่ศึกษา เพื่อใหไดขอมูลปจจัยที่<br />

ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัยกรณีศึกษา ชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม<br />

3. จัดทําแบบสัมภาษณสําหรับบานกลุมบานที่มีการซอมแซมที่อยูอาศัย เพื่อศึกษาปจจัยที่ทําใหเกิดการ<br />

ซอมแซมที่อยูอาศัย พรอมทั้งเก็บขอมูลแบบสอบถามในลักษณะ Pilot Test<br />

4. ตรวจสอบแกไขและปรับปรุงแบบสัมภาษณหลังจากเก็บขอมูลแบบสัมภาษณลักษณะ Pilot Test ใน<br />

ขอ 3 เพื่อนําไปเก็บขอมูลแบบสัมภาษณเพื่อนําไปใชจริงอีกครั้ง


330<br />

5. วิเคราะหขอมูลแบบสอบถามโดยใชโปรแกรม SPSS/PC+ version 10.01 ในการวิเคราะหคําตอบสถิติ<br />

ที่ใช การหาคารอยละ (Percentage) และหาคาเฉลี่ย (Means) รวมกับวิธี Content Analysis เพื่อนํามาศึกษาถึง<br />

ปจจัยที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัย<br />

6. วิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆ ซึ่งมีผลตอปจจัยที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัย<br />

กรณีศึกษา ชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม โดยการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแบบ<br />

สัมภาษณในเรื่องตางๆ นําผลที่ไดจากการสํารวจมาเรียบเรียงเรื่องราวในดานตางๆที่สงผลตอการซอมแซมที่อยู<br />

อาศัย และใชวิธี crosstab ในโปรแกรม SPSS/PC+ version 10.01 เพื่อหาความสัมพันธในแตละดานที่<br />

เกี่ยวของกับปจจัยที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัย<br />

7. สรุปผลการศึกษาและเสนอแนะ<br />

ผลการศึกษา<br />

ชุมชนวัดธรรมนิมิตเปนชุมชนที่เกาแก ชื่อชุมชนมาจากการเรียกชื่อตามชื่อวัตที่กอตั้งในชุมชน เดิมที่ดิน<br />

สวนใหญจะเปนพื้นที่ปาโกงกางที่อุดมสมบูรณ มีการสรางบานเรือนพักอาศัยในชวงยุคแรกๆ โดยการจับจอง<br />

ที่ดิน บานเรือนสวนใหญกอสรางขึ้นในพื้นที่บริเวณริมแมน้ําแมกลอง โดยประกอบอาชีพประมงเปนหลัก ตอมา<br />

ไดมีการแบงที่ใหเชาเพื่อทําสวนผลไม แตเมื่อเมืองมีการพัฒนา และอาชีพปลูกพืชผลเริ่มลดลง เจาของที่ดินได<br />

แบงที่ดินเพื่อใหประชาชนเชาเพื่อปลูกบานพักอาศัย ที่ดินบางสวนก็ถวายใหเปนสมบัติของวัดธรรมนิมิต วัด<br />

ธรรมนิมิตไดมีการแบงที่ดินใหเชาเพื่อปลูกบานพักอาศัยเชนเดียวกัน ซึ่งจากลักษณะของกรรมสิทธิ์ครอบครอง<br />

ที่ดินสงผลใหบานของแตละลักษณะมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด<br />

ลักษณะของการซอมแซมบานในพื้นที่ศึกษา แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ การซอมแวมทั้งหลัง และการ<br />

ซอมแวมบางสวน<br />

กลุมเครือญาติที่ทําใหเกิดการซอมแซม แบงเปนกลุมใหญ 2 กลุม ดังนี้<br />

- กลุมบานที่ซอมแซมบานเพื่ออยูอาศัยที่เปนเจาของทั้งบานและที่ดิน<br />

ซึ่งเปนบานที่เกี่ยวโยงกับบานที่เปนบานของกลุมเครือญาติ เปนการซอมแซมที่อยูอาศัยที่มีการ<br />

ซอมแซมทั้งหลัง เปนกลุมบานเรือนไทยริมน้ํา ซึ่งเปนบานที่มีความเกาแกและอายุมาก โดยมีสาเหตุที่ทําใหมี<br />

การซอมแซมมีดังนี้<br />

1. จากภัยทางธรรมชาติ ชวงเวลาน้ําหลากน้ําจะทวมถึงใตถุนบานทําใหลําบากแกการอยูอาศัย<br />

2. ภัยจากปลวกที่ขึ้นบาน ซึ่งบานทั้งหมดเปนบานไม<br />

- กลุมบานที่ซอมแซมเพื่ออยูอาศัยที่เชาทั้งบานและที่ดิน<br />

สวนใหญเปนกลุมบานเชาที่เปนเครือญาติกัน บานสวนใหญเปนบานไมและมีลักษณะของการ<br />

ซอมแซมที่มีเหมือนกัน เปนบานที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งลูกหลานตางแยกยายไปประกอบอาชีพที่อื่นไมมี<br />

ใครอยูเพื่อดูแลรักษาบาน จึงไดมอบหมายใหพี่ชายและพี่สะไภคนโตเปนคนดูแล ซึ่งไดมีการปรับปรุงซอมแซม<br />

ใหอยูในสภาพที่ดีเพื่อใหเชาทั้งบานและที่ และสิ่งหนึ่งที่นาสนใจคือกลุมบานเหลานี้เปนบานที่มีสีในโทน<br />

เดียวกันเหมือนบานทุกหลังมาจากสีจากกระปองเดียวกัน


331<br />

สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของผูอยูอาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิต พบวาเพศโดยสวนของ ผูใหสัมภาษณ<br />

เปนผูหญิง คิดเปนรอยละ 60 ของผูใหสัมภาษณทั้งหมด อายุ โดยอยูในชวงอายุ 50 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 73.3<br />

ผูใหสัมภาษณสวนใหญไมไดทํางาน คิดเปนรอยละ 50.0 โดยสวนใหญอยูบานเฉยๆ มีสมาชิกในครัวเรือนอาศัย<br />

อยูในบานประมาณจํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 33.0 มีระดับรายไดของผูใหสัมภาษณประมาณ 5,001-10,000 บาท<br />

ตอเดือน คิดเปนรอยละ 36.0 มีระดับรายไดครัวเรือนประมาณ 5,001-10,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 23.3<br />

มีรายจายครัวเรือนประมาณ 3,001-5,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 30.0 แสดงใหเห็นวาสถานะทางเศรษฐกิจ<br />

และสังคมของผูอยูอาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิต นั้นมีรายไดเพียงพอสามารถเก็บออมเพื่อซอมแซมที่อยูอาศัยได<br />

ถึงแมวาผูอาศัยสวนใหญจะเปน<br />

ลักษณะทางสังคมของชุมชนวัดธรรมนิมิต ทางดานสังคมของผูอยูอาศัยมีความสัมพันธที่ดีกอกันใน<br />

ทุกๆ ดาน แตสิ่งที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัยที่เห็นไดชัดที่สุดคือ การซอมแซมที่อยูอาศัยของบานที่เปน<br />

เครือญาติกัน ซึ่งแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ ความสัมพันธทางเครือญาติ ซึ่งสงผลตอการซอมแซมที่อยูอาศัย<br />

คือการซอมแซมบานในวิธีการซอมแซมเหมือนกัน ความสัมพันธทางเครือญาติ ซึ่งสงผลตอการซอมแซมที่อยูอาศัย<br />

เพื่อใหเชาทั้งที่และบาน และความสัมพันธความสัมพันธของเจาของบานกับชางดั้งเดิมที่ทั้งเปนผูสรางและเปนผู<br />

ซอมแซมบาน<br />

ลักษณะทางกายภาพและสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิต ลักษณะทางกายภาพ<br />

และสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิตสวนใหญบานจะกอสรางในชวงป พ.ศ. 2451-2500<br />

รอยละ 50.0 อายุบานบานอยูในชวงอายุ 31-60 ป รอยละ 40.0 เปนบานที่เปนมรดกตกทอดของเจาของบานใน<br />

ปจจุบันรอยละ 27.0 บานสวนใหญซอมแซมจะซอมแซมในชวงป พ.ศ. 2546-2554 ซึ่งมีบานที่ซอมแซมในชวงนี้<br />

รอยละ 53.3 กลุมผูซอมแซมบานเปนชางทั่วไปในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม มีจํานวนทั้งหมด 11 หลัง รอยละ<br />

36.6 ราคาคาซอมแซมอยูในชวงระดับราคาที่นอยกวา 50,000 บาท รอยละ 30.0 ความถี่การซอมแซม สวนใหญ<br />

จะมีการซอมแซมบานเพียง 1 ครั้ง รอยละ 73.0 แหลงเงินในการซอมแซมที่อยูอาศัยจะเปนเงินออมของตัวเอง<br />

รอยละ 54.0 ระยะเวลาการอยูอาศัยอยูในชวงระยะเวลา 41-60 ป รอยละ 37.0 สถานภาพการอยูอาศัยอยูใน<br />

ฐานะเปนเจาของบาน รอยละ 67ลักษณะกรรมสิทธิ์การถือครองเปนการเชาที่ดินเอกชน รอยละ 47.0<br />

วิธีการปรับปรุงซอมแซมที่อยูอาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิต วัสดุที่ใชในการซอมแซมบาน สวนใหญเปนการ<br />

เลือกเองตามความชอบและเหมาะสมของเจาของบาน คิดเปนรอยละ 73.3 การทาสีบานเปนสีที่เจาของบาน<br />

เลือกเองตามความชอบและเหมาะสม คิดเปนรอยละ 76.7 ทัศนคติในการซอมแซมบานในชุมชนจะคํานึงถึงความ<br />

สวยงาม และมีสภาพแวดลอมที่ดีในการอยูอาศัย คิดเปนสัดสวนรอยละ 50.0<br />

สิ่งที่ทําใหเกิดการปรับปรุงซอมแซมที่อยูอาศัยในชุมชนวัดธรรมนิมิต สาเหตุในการซอมแซมที่อยูอาศัย<br />

สวนใหญจะพูดถึงเรื่องของภัยจากธรรมชาติ น้ําทวม และปลวกขึ ้นบาน ทําใหบานมีความชํารุดทรุดโทรมจึงสงผล<br />

ตอการซอมแซม คิดเปนรอยละ 60.0 สาเหตุในการเลือกรูปแบบในการซอมแซมจะเลือกรูปแบบตามคุณภาพของ<br />

บานเชาที่ดี เพื่อที่จะเปนธุรกิจบานเชาในอนาคต คิดเปนรอยละ 53.3 แนวความคิดในการซอมแซมจะไดแนวความคิด<br />

จากตนเองและชางแนะนํา มีจํานวน 14 หลัง คิดเปนรอยละ 47 แรงจูงใจในการซอมแซมมาจากการตองการให<br />

ที่อยูอาศัยมีความคงทนแข็งแรง คิดเปนสัดสวนรอยละ 43.3 ความสัมพันธของชุมชนที่สงผลทําสงผลใหเกิดการ<br />

ซอมแซมมาจากความผูกพันกับชุมชน ที่อยูอาศัยและแหลงงานเดิม คิดเปนสัดสวนรอยละ 60.0


รูปที่ 2 แสดงบานกลุมตัวอยางที่มีการปรับปรุงซอมแซม<br />

332


รูปที่ 2 แสดงบานกลุมตัวอยางที่มีการปรับปรุงซอมแซม<br />

333


334<br />

สรุปผลและขอเสนอแนะ<br />

การศึกษาเรื่อง ปจจัยที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัย กรณีศึกษา ชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง<br />

จังหวัดสมุทรสงคราม ไดศึกษาวาปจจัยอะไรเปนสิ่งที่ทําใหเกิดการซอมแซมที่อยูอาศัยของชุมชนวัดธรรมนิมิต<br />

ซึ่งมีปจจัยที่ชุมชนที่มีสภาพและลักษณะคลายคลึงกัน โดยเฉพาะชุมชนดั้งเดิมริมแมน้ําแมกลองชุมชนอื่นๆ<br />

สามารถใชเปนแนวทางการปรับปรุงซอมแซมที่อยูอาศัย ซึ่งจะนําไปสูการมีที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพเหมาะแกการ<br />

อยูอาศัยที่ดีและยังคงเอกลักษณของชุมชนดั้งเดิม คือ 1)ปจจัยทางดานเศรษฐกิจคือการออมเงินเมื่อมีความ<br />

พรอมในการจายแลวก็จะสามารถทําการปรับปรุงซอมแซมบานได 2)ปจใจสรางแรงกระตุนใหชาวชุมชนเกิด<br />

ความรักและความหวงแหนที่อยูอา 3)ความสัมพันธทางดานสังคม ซึ่งหนวยงานทองถิ่นตองหาแนวทางกระตุน<br />

เพื่อสรางกระบวนการที่นําไปสูการกระตุนใหชุมชนอื่นเห็นความสําคัญในการปรับปรุงซอมแซมที่อยูอาศัย


335<br />

ปจจัยในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติ<br />

ในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ<br />

FACTOR IN THE DECISION TO PURCHASE THE ELDERY HOUSING FOREIGNERS IN<br />

HUA HIN, PRACHUAP KHIRI KHAN PROVINCE<br />

สมเชษฐ จงจอหอ<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย ไตรรัตน จารุทัศน<br />

บทนํา<br />

อุตสาหกรรมทองเที่ยวเปนสาขาเศรษฐกิจหลักที่สามารถนํารายไดเงินตราตางประเทศเขาประเทศไดป<br />

ละกวา 5 แสนลานบาท และมีการเดินทางทองเที่ยวของคนไทย ภายในประเทศอีกกวา 4 แสนลานบาท สามารถ<br />

สรางงาน สรางอาชีพ และกระจายรายไดสูภูมิภาค สงเสริมและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทยไดเปนอยางดี และ<br />

ตลอดระยะเวลา 50 ปที่ผานมา จํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศไดมีอัตราเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วโดยเฉพาะในชวง<br />

20 ปที่ผานมา มีอัตราเพิ่ม เฉลี่ยประมาณรอยละ 7 ตอป1<br />

รูปแบบการทองเที่ยวในศตวรรษที่ 21 ไดแบงออกเปน 3 รูปแบบคือ 1. การทองเที่ยวทางธรรมชาติ<br />

2. การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร และ 3. การทองเที่ยวในรูปแบบพิเศษ ที่ผสมผสานความ<br />

ตองการของนักทองเที่ยวเปนหลัก การทองเที่ยวพํานักระยะยาวนับวาเปนรูปแบบหนึ่งของการทองเที่ยวใน<br />

รูปแบบพิเศษ ที่มีวิวัฒนาการจากความตองการของนักทองเที่ยว ที่มีพื้นฐานของการดํารงชีวิตรวมทั้งความ<br />

ตองการที่ไมเหมือนกันแตมีจุดมุงหมายที่คลายกันคือ การพักผอนหยอนใจ(Recreation) โดยที่การทองเที่ยว<br />

พํานักระยะยาวก็เปนผลมาจากโครงสรางของประชากรโลกมีการเปลี่ยนแปลง (Kotler, et al., 2006: 121) เขาสู<br />

สังคมผูสูงอายุ (Ageing Society) รวมทั้งมีการพยากรณวาในป พ.ศ. 2568 จะมีประชากรที่เปนผูสูงอายุในโลก<br />

340 ลานคนซึ่งในปจจุบันมีประชากรที่เปนผูสูงอายุอยูประมาณรอยละ 28 โดยเฉพาะประชากรที่เกิดในป<br />

พ.ศ.2489 – 2507 ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เรียกคนในยุคนี้วา “Baby Boomer” หรือ “Gen X“ และคน<br />

กลุมนี้ในปจจุบันจะเปนกลุมคนที่เกษียณอายุจากการทํางาน มีความสามารถในใชจายเงินเพื่อการพักผอน การ<br />

ทองเที่ยว สงผลทําใหมีจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาประเทศไทยเปนผูมีอายุมากกวา 60 ป มีจํานวนสูงขึ้น 2<br />

1<br />

กงกฤช หิรัญกิจ. คํากลาวรายงานของ ประธานสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทย ตอ ฯพณฯ<br />

นายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) เนื่องในงานครบรอบ ๙ ป ของสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทย; วันที่<br />

9 สิงหาคม 2553.<br />

2<br />

วารัชต มัธยมบุรุษ. องคกรปกครองสวนทองถิ่นกับการทองเที่ยวพํานักระยะยาวสําหรับนักทองเที่ยวชาว<br />

ญี่ปุนในจังหวัดเชียงใหม. มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2548


336<br />

ขอมูลสถิติจากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เรื่องขนาดตลาดของนักทองเที่ยวแนวโนมการทองเที่ยวพํานัก<br />

ระยะยาว ป 2553 ตลาดนักทองเที่ยวพํานักระยะยาว กลุมผูสูงอายุจากตางประเทศ นั้น เปนตลาดที่มีขนาด<br />

ใหญนับเปนพันลานคน เพราะในปจจุบันประชากรโลกในป 2553 มีประมาณกวา 6,823 ลานคน และ<br />

ประชากรสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป จํานวน 1,410 ลานคน มีสัดสวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้นจากรอยละ<br />

21 ในป 2553 เปนรอยละ 24 ในป 2583 และมีสัดสวนเพิ่มขึ้นทุกป<br />

ตารางที่ 1.1 แสดงจํานวนสัดสวนประชากรผูสูงอายุ 10 อันดับทั่วโลก<br />

Target Country Population Retirement No. Ratio %<br />

1. Japan 127,417,244 24,816,520 19.5<br />

2. Belguim 10,270,000 1,800,000 17.5<br />

3. France 60,700,000 10,000,000 16.5<br />

4. England 59,800,000 9,800,000 16.4<br />

5. Switzerland 7,400,000 1,150,000 15.5<br />

6. Sweden 8,900,000 1,602,000 18<br />

7. Finland 5,200,000 780,000 15<br />

8. Denmark 5,300,000 954,000 18<br />

9. Switzerland 7,400,000 1,150,000 15.5<br />

10. Netherland 16,000,000 2,400,000 15<br />

Total 308,387,244 54,452,520<br />

ที่มา : บริษัทไทยลองสเตย ป พ.ศ. 2548<br />

ในตารางที่ 1 แสดงจํานวนสัดสวนประชากรสูงอายุ 10 อันดับทั่วโลก ซึ่งแสดงใหเห็นวาประเทศญี่ปุน<br />

มีสัดสวนของประชากรสูงอายุที่มากที่สุด ถึงรอยละ 19.5 ของจํานวนประชากรประเทศ ตามมาดวยประเทศ<br />

เบลเยียม มีสัดสวนถึงรอยละ 17.5 ของประชากรประเทศ และประเทศฝรั ่งเศสมีสัดสวนถึงรอยละ 16.5 ของ<br />

ประชากรประเทศ และสวนของประเทศสวีเดนและเดนมารคมีสัดสวนที่สูงเทากันเมื่อเปรียบเทียบกับจํานวน<br />

ประชากร คือมีอัตราสวนรอยละ 18 ของประชากรประเทศ เนื่องจากกลุมประเทศสวีเดน และเดนมารค นิยมเขา<br />

มาทองเที่ยวประเทศไทยมีอัตราที่สูง<br />

นอกจากนี้ในปจจุบันประชากรของโลกมีผูเกษียณอายุการทํางานเร็วขึ้นกวาในอดีตมากทําใหสามารถ<br />

ใชเวลาในการเดินทางทองเที่ยวไปยังประเทศตางๆไดมากขึ้น และจากขอมูลดังกลาวขางตนทําใหนักทองเที่ยวที่<br />

เกษียณอายุการทํางานแลวจึงเปนอีกกลุมหนึ่งที่นาสนใจ เนื่องจากพิจารณาเห็นวาผูเกษียณอายุจากการทํางาน<br />

จะมีกําลังในการใชจายเงินสําหรับการทองเที่ยวหรือเขามาพํานักในระยะยาวในประเทศไทย ทําใหเกิดการใช<br />

จายที่เพิ่มมากขึ้นดวย และทําใหประเทศไทยมีเงินตราตางประเทศเขามาใชจายเพิ่มขึ้นดวย ซึ่งรัฐบาลสงเสริม<br />

ธุรกิจในภาคของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวตางประเทศเขามาทองเที่ยวในประเทศ


337<br />

ไทย ซึ่งสงผลใหมีเงินตราตางประเทศเขามาหมุนเวียนในประเทศไทยไดเปนจํานวนมาก เพื่อกระตุนสภาพ<br />

เศรษฐกิจของไทยโดยเรงดวน และถือเสมือนเปนวาระแหงชาติ<br />

สําหรับประเทศไทยในสายตาของชาวตางชาติที่มองหาซื้อที่อยูอาศัยเพื่อการลงทุน หรือเพื่อใชเปนที่<br />

พํานักในระยะสั้นและถาวรเปนตลาดที่มีความนาสนใจ และเปนที่นิยมในระดับสูง เมื่อเทียบกับประเทศในยาน<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใตดวยกัน สังเกตไดจากสัดสวนชาวตางชาติที่เขามาซื้อที่อยูอาศัยในกรุงเทพฯ หรือตาม<br />

แหลงทองเที่ยวตางๆ ประกอบดวยชาวตางชาติหลากหลายเชื้อชาติจากแทบทุกประเทศทั่วโลก และจํานวน<br />

ชาวตางชาติที่เขามาซื้ออสังหาริมทรัพยในประเทศไทย มีอัตราการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง ทั้งๆ ที่กฎหมาย<br />

ของประเทศไทยที่เกี่ยวของกับการซื้อขายอสังหาริมทรัพยใหกับชาวตางชาติ ก็ไมไดเปดเสรีอยางในหลายๆ<br />

ประเทศที่ตองการสงเสริมใหตางชาติเขามาลงทุน อะไรเปนปจจัยสําคัญที่ชาวตางชาติสนใจเขามาลงทุน และ<br />

อนาคตของตลาดดังกลาวจะเติบโตตอไปไดอีกแคไหน เปนเรื่องที่ขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐบาลที่จะเขามากระตุน<br />

สงเสริม ตลอดจนควบคุม ดูแล ใหตลาดโตอยางมีคุณภาพและตอเนื่อง<br />

โดยสรุปพบวาแนวโนมของการทองเที่ยวพํานักระยะยาวสําหรับนักทองเที่ยวชาวตางชาติในอําเภอหัว<br />

หิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีแนวโนมที่จะมีจํานวนนักทองเที่ยวที่จะมาพํานักระยะยาวเพิ่มขึ้น อันมีสาเหตุ<br />

หลัก คือ<br />

1. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากรของโลกโดยเฉพาะชาวตางชาติ ที่มีจํานวนผูสูงอายุเพิ่มมาก<br />

ขึ้นในชวงป 2545-2553 ซึ่งมีชาวตางชาติที่จะถึงอายุเกษียณ 60 ป เพิ่มขึ้นประมาณ 1,410 ลานคน<br />

2. คาครองชีพหรือคาใชจายในการเดินทางมาทองเที่ยวในประเทศไทยมีอัตราที่ถูกเมื่อเทียบกับคาครอง<br />

ชีพของตางประเทศ ทําใหประเทศไทยเปนอีกหนึ่งประเทศที่ชาวตางชาตินิยมเขามาทองเที่ยว<br />

3. โครงสรางทางสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย และชาวตางชาติมีความสนใจและเขามาทองเที่ยว<br />

และมีธรรมชาติที่สวยงาม<br />

4.ในอําเภอหัวหินมีสถานที่ทองเที่ยวที่ชาวตางชาตินิยมเขามาพักผอนหยอนใจและสภาพ<br />

ภูมิอากาศและสภาพภูมิประเทศเหมาะสม น้ําทะเลสวย<br />

แนวโนมที่ชาวตางชาติ ที่จะเดินทางมาพํานักระยะยาวในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ มี<br />

จํานวนเพิ่มขึ้นทุกป ซึ่งทางสํานักงานการทองเที่ยวแหงประเทศไทย หรือหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของคือ<br />

หนวยงานทางภาครัฐ รวมกับหนวยงานภาคเอกชน จะตองเตรียมความพรอมอยางไรเพื่อจะตอบสนองความ<br />

ตองการของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ที่จะเขามาทองเที่ยวซึ่งจะตองคํานึงถึงขอกฎหมาย หรือกฎระเบียบที่<br />

เกี่ยวของกับการทองเที่ยวพํานักระยะยาวของประเทศไทย และการดําเนินการหรือเตรียมพรอมในการขอตอวีซา<br />

ของชาวตางชาติในอําเภอหัวหิน ดวย<br />

2. วัตถุประสงคการวิจัย<br />

2.1 เพื ่อศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การดําเนินชีวิตของผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพํานักระยะยาวใน<br />

อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ<br />

2.2 เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพํานักระยะยาว<br />

ในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ


338<br />

3. สมมติฐานของการวิจัย<br />

3.1 ผูสูงอายุชาวตางชาติมีแนวโนมที่จะเขามาพักอาศัยและตั้งถิ่นฐานในอําเภอหัวหิน จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธมากขึ้น<br />

3.2 ตลาดที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ถือไดวาเปนตลาดที่<br />

มีศักยภาพสูง โดยเฉพาะดานอุปสงค<br />

4. ขอบเขตของการวิจัย<br />

4.1 ขอบเขตดานเนื้อหา<br />

- ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจการ ดําเนินชีวิต และปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัย<br />

ของผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพํานักระยะยาวในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ<br />

- ศึกษาปญหา และความคาดหวังในเรื่องที่พักอาศัยของกลุมเปาหมายที่พักอาศัยในอําเภอหัว<br />

หิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ<br />

4.2 ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง<br />

- ศึกษาเฉพาะกลุมนักทองเที่ยวสูงอายุชาวตางชาติที่มีอํานาจในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัย<br />

โดยแบงเปน 2 กลุมคือ กลุมที่ซื้อที่พักอาศัยเรียบรอยแลว และกลุมที่พํานักอยูในอําเภอหัว<br />

หินแตยังไมไดซื้อที่พักอาศัยระยะยาว<br />

- ศึกษาเฉพาะกลุมนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เขามาในพักอาศัยในอําเภอหัวหิน โดยมี<br />

ระยะเวลาการพักอาศัยมากกวา 1 เดือน<br />

- ศึกษาขอมูลจากเจาหนาที่โครงการที่กําลังเปดขายในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ<br />

5. วิธีดําเนินการวิจัย<br />

5.1 การคัดเลือกกลุมตัวอยาง<br />

- กลุมผูพักอาศัยที่เปนชาวตางชาติ มีอายุ 60 ปขึ้นไป<br />

- กลุมชาวตางชาติที่มีความสนใจที่จะซื้อที่พักตากอากาศที่เขามาในอําเภอหัวหินจังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ โดยผานตัวแทนหรือนายหนาของบริษัทจากตางประเทศ<br />

- ประชากรและกลุมตัวอยาง<br />

เปนประชากรชาวตางชาติ ที่มีอายุตั้งแต 60 ป บริบูรณขึ้นไป มาใชชีวิตเพื่อการทองเที่ยว<br />

พํานักระยะยาวในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ตั้งแต 1 เดือนขึ้นไป โดยผูวิจัยไดกําหนดขนาด<br />

ของกลุมตัวอยาง โดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางที่ทําการศึกษาตามการกําหนดของ Yamane ที่ระดับ<br />

ความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 0.05 ไดขนาดของกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 376 ตัวอยาง


339<br />

6. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

6.1 นักลงทุนที่ตองการลงทุนในธุรกิจที่พักอาศัยนของผูสูงอายุชาวตางชาติ ในอําเภอหัวหิน จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ<br />

6.2 ชาวตางชาติที่ซื้อที่พักอาศัยในระยะยาว ที่นักลงทุนไดเขาใจในปญหาลักษณะความตองการในการอยู<br />

อาศัยที่เหมาะสม<br />

6.3 หนวยงานทองถิ่นจะไดมีแนวทางในการวางแผนและพัฒนารองรับการขยายตัวของเมืองไดในอนาคต<br />

6.4 องคกรของรัฐ เชน การทองเที่ยวแหงประไทย สามารถนําขอมูลที่ไดจากการวิจัยในครั้งนี้ไปพัฒนาใน<br />

ดานที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวของผูสูงอายุชาวตางชาติ ที่ตองการเขามาทองเที่ยวพํานักระยะยาว<br />

ไดอยางเหมาะสม<br />

สรุปผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพํานัก<br />

ระยะยาวในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาดานสังคม เศรษฐกิจ การดําเนิน<br />

ชีวิตของผูสูงชาวตางชาติที่เขามาพักพํานักระยะยาวในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ และศึกษาปจจัยที่<br />

มีผลตอการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติวามีปจจัยอะไรบาง และมีปญหาหรือความตองการ<br />

ที่พักอาศัยอยางใด<br />

โดยการศึกษาครั้งนี้มีสมมุติฐานที่วา เปนผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพํานักอาศัยแบบไมถาวรและอยู<br />

อาศัยเปนระยะเวลายาวไมนอยกวา 1 เดือนขึ้นไป มีความพอใจตองการพักอาศัยใน อําเภอหัวหิน เปนสถานที่<br />

พักเพื่อการทองเที่ยวพํานักระยะยาว และทางผูวิจัย มีความเห็นวาจากการพักอาศัยอาศัย 1 เดือน ขึ้นไป ซึ่ง<br />

กลุมประชากรดังกลาว มีความพอใจตองการพักอาศัยในอําเภอหัวหิน เปนนอยางมาก เพราะมีสถานที่เหมาะ<br />

สําหรับผูสูงอายุในการมาพักผอน หรือมาเพื่อการทองเที่ยวพํานักระยะยาว<br />

หลังจากนั้นผูวิจัยจะทําการกําหนดกรอบเนื้อหาของการศึกษา และจะดําเนินการสํารวจภาคสนามจาก<br />

พื้นที่ ซึ่งผูวิจัยจะทําการสังเกตจากการเขามาพํานักอาศัยระยะยาว และจากการใชแบบสอบถามเพื่อ เก็บ<br />

รวบรวมขอมูลตางๆ โดยเมื่อเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางไดแลว จะนํามาวิเคราะหโดยใชโปรแกรม<br />

คอมพิวเตอรในเชิงสถิติเพื่อบรรยายคาความถี่และรอยละของตัวแปรที่ศึกษา การหาความสัมพันธระหวางตัว<br />

แปรสําคัญ รวมถึงเอกสารที่เกี่ยวของนํามาวิเคราะห เพื่อสรุปผลการศึกษาโดยแยกเปนประเด็นตางๆ และ<br />

สุดทายจะนํามาสรุปอภิปรายผลการศึกษา โดยในสวนสรุปอภิปรายผลการศึกษานี้ จะมีการเสนอแนะแนวทาง<br />

ตางๆ เพื่อที่จะสามารถนําประโยชนของการศึกษาไปประยุกตใชกับงานดานตางๆไดตอไป สามารถแบงออกเปน<br />

2 ขอ คือ<br />

1. สรุปอภิปรายผลการศึกษา<br />

1.1 ขอมูลลักษณะทางสังคม และเศรษฐกิจ ของผูสูงอายุชาวตางชาติ<br />

1.2 ขอมูลสภาพการอยูอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติ


340<br />

2. ขอเสนอแนะ<br />

2.1 ขอเสนอแนะจากผูสูงอายุชาวตางชาติ<br />

2.2 ขอเสนอแนะเพิ่มเติมจากงานวิจัย<br />

2.3 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป<br />

โดยมีรายละเอียดตางๆดังตอไปนี้<br />

5.1 ขอมูลลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ของผูสูงอายุชาวตางชาติ<br />

จากการดําเนินการศึกษาและเก็บขอมูลสภาพทั่วไปทางดานสังคม เศรษฐกิจของผูสูงอายุ โดยการ<br />

แบงกลุมแบบอยูอาศัยทองเที่ยว พักอาศัยชั่วคราว และพักอาศัยระยะยาว พบวาลักษณะทั่วไปทางดานสังคม<br />

เศรษฐกิจ ของผูสูงอายุชาวตางชาติ ทั้ง 2 กลุม มีความคลายคลึงกันในทุกๆดาน โดยพบวาในแตละดานมี<br />

จํานวนแนวทางเดียวกันเสมอสามารถสรุปได ดังนี้<br />

5.1.1 สภาพทางดานสังคม<br />

จากการศึกษา จากแบบสอบถามจํานวน 400 ตัวอยาง พบวาเปนผูสูงอายุชาวตางชาติเปนเพศชาย<br />

259 คน เปนเพศหญิง 141 คน อันดับแรกไดแกประเทศอังกฤษ จํานวน 68 คน อันดับที่ 2 ประเทศ<br />

ฟนแลนด จํานวน 65 คน อันดับที่ 3 ประเทศสวีเดน จํานวน 58 คน อันดับที่ 4 ประเทศเดนมารค จํานวน 49<br />

คน อันดับที่ 5 ประเทศสวิซเซอรแลนด จํานวน 31 คน อันดับที่ 6 ประเทศนอรเวย จํานวน 23 คน อันดับที่<br />

7 ประเทศสหรัฐอเมริกา จํานวน 20 คน อันดับที่ 8 ประเทศเนอรเธอรแลนด จํานวน 20 คน ประเทศ<br />

เยอรมัน และประเทศเนเธอรแลนด จํานวน 16 คน เทากัน อันดับที่ 9 ประเทศฝรั่งเศส จํานวน 8 คน<br />

อันดับที่ 10 ประเทศญี่ปุน ประเทศออสเตเรียล และประเทศอิตาลี จํานวน 6 คน เทากัน กลุมตัวอยาง<br />

สวนมากเปนผูสูงอายุที่มีอายุ 60-64 ป จํานวน 327 คน รองลงมา ไดแกผูสูงอายุที่มีอายุ 65 ปขึ้นไป<br />

จํานวน 73 คน มีสถานภาพสมรส จํานวน 205 คน สถานภาพ โสด 74 คน หมาย/หยาราง จํานวน 45<br />

คน และอื่นๆ จํานวน 76 คน ผูสูงอายุสวนใหญมีบุตร 1 คน จํานวน 244 คน รองลงมามีบุตร 2 คน จํานวน<br />

73 คน และมีบุตร 3 คน จํานวน 34 คน และมีบุตรที่มากกวา 3 คนขึ้นไป จํานวน 17 คน และไมมีบุตร<br />

จํานวน 27 คน และพบวามีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษามากที่สุดเปนอันดับแรก จํานวน 170 คน รองลงมา<br />

ไดแกระดับระดับปริญญาตรี 109 คน และระดับปริญญาโท จํานวน 49 คน งานอดิเรกประเภทอื่นๆ มากที่สุด<br />

จํานวน 130 คน รองลงมาไดแกการอานหนังสือ จํานวน 116 คน ชอบเลนกีฬา จํานวน 98 คน และชอบ<br />

ทองเที่ยว จํานวน 56 คน ประเภทของที่อยูอาศัยในภูมิลําเนาเดิม บานเดี่ยว จํานวน 323 คน รองลงมาไดแก<br />

อพารตเมนท/คอนโดมิเนียม จํานวน 60 คน อันดับที่ 3 ประเภทอื่นๆ จํานวน 15 คน<br />

5.1.2 สภาพดานเศรษฐกิจ<br />

จากการศึกษาพบวา ผูสูงอายุมีสถานภาพการทํางานเกษียณอายุแลว จํานวน 271 คนรองลงมา<br />

ผูสูงอายุบางคนปจจุบันยังคงทํางานอยู จํานวน 129 คน แหลงที่มารายไดหลักในปจจุบัน มาจากเงินบําเหน็จ<br />

บํานาญ มากที่สุด จํานวน 170 คน รองลงมา กิจการ / การประกอบอาชีพ จํานวน 77 คน ระดับรายไดตอเดือน


341<br />

เงินเดือน หรือ เงินบํานาญ ผูสูงอายุสวนใหญมีรายได 50,001-100,000 บาท จํานวน 202 คน รองลงมามีรายได<br />

100,001-150,000 บาท จํานวน 98 คน และอันดันที่ 3 มีรายได 150,0001 บาท ขึ้นไป จํานวน 78 คน และ<br />

พบวาคาใชจายในแตละเดือน ผูสูงอายุสวนใหญมีคาใชจายพอดีกับรายได จํานวน 211 คน รองลงมา รองลงมา<br />

มีคาใชจาย มีเหลือเก็บ จํานวน 148 คน อันดับที่ 3 ไมเพียงพอ จํานวน 19 คน<br />

5.1.3 ดานสุขภาพ<br />

จากการศึกษา พบวาผูสูงอายุชาวตางชาติยังชวยเหลือตนเองได จํานวน 354 คน, รองลงมาตองการ<br />

การดูแลบาง จํานวน 34 คน และอันดับที่ 3 ตองการการดูแลเปนอยางมาก จํานวน 12 คน สภาพสุขภาพ<br />

ปจจุบันของผูสูงอายุชาวตางชาติพบวา ไมมีโรคประจําตัว จํานวน 386 คน และมีโรคประจําตัว จํานวน 14 คน<br />

และยังพบวาผูสูงอายุชาวตางชาติมีความตองการผูดูแลยามเจ็บปวยปจจุบัน อันดับแรกไดแกคูสมรส จํานวน<br />

286 คน รองลงมาไดแกอื่นๆ จํานวน 55 คน และอันดับที่ 3 ไดแกการวางจางพยาบาลพิเศษ, จางคนดูแล<br />

จํานวน 48 คน บุตร / หลาน เปนผูดูแล จํานวน 16 คน<br />

5.2 ขอมูลลักษณะการอยูอาศัยรวมกับบุคคลในประเทศไทยของผูสูงอายุ<br />

5.2.1 ขอมูลสภาพการอาศัยของผูสูงอายุชาวตางประเทศ<br />

ปจจุบันอยูอาศัย จากการศึกษาผูตอบแบบสอบถามผูสูงอายุชาวตางชาติอยูอาศัยกับบุคคลใน<br />

ประเทศไทย พบวาเปนการอาศัยอยูกับคูสมรส จํานวน 252 คน รองลงมาเปนการอาศัยอยูคนเดียว จํานวน 65<br />

คน และอันดับที่ 3 ไดแกการอาศัยอยูกับเพื่อน จํานวน 38 คน และประเภทอื่น ๆ เชนญาติ/บุตร จํานวน 45 คน<br />

ระยะเวลาที่คาดวาจะอยูในประเทศไทย ผูสูงอายุชาวตางชาติ มีความคิดเห็นวา จะอยูที่ประเทศ<br />

ไทย พบวาผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพํานักระยะยาว มีความตองการอาศัยอยูในประเทศไทย ระหวาง 1-5 ป<br />

มากที่สุด จํานวน 344 คน และมีความตองการพักอาศัยอยูในประเทศไทย มากกวา 5 ป จํานวน 56 คน<br />

รูปแบบการอยูอาศัย จากการลงพื้นที่แจกแบบสอบถามสวนใหญผูสูงอายุชาวตางชาติ ที่เขามาพัก<br />

อาศัย พบวาอันดับแรกไดรูปแบบการพักอาศัยอยูระหวาง 1-3 เดือน จํานวน 136 คน รองลงมาไดแกการพัก<br />

อาศัยอยูระหวาง 4-6 เดือน และอันดับที่ 3 ไดแกรูปแบบการพักอาศัย 9-12 เดือน จํานวน 64 คน อันดับที่ 4<br />

ไดแกรูปแบบการพักอาศัยต่ํากวา 1 เดือน จํานวน 47 คน อันดับที่ 5 รูปแบบการพักอาศัยอยูระหวาง 7-9 เดือน<br />

จํานวน 25 คน อันดับที่ 6 พักอยูเฉพาะชวงวันหยุดเทศกาล จํานวน 10 ราย และอันดับที่ 7 รูปแบบการพัก<br />

อาศัยแบบอื่นๆ จํานวน 1 คน<br />

5.3.3 ปจจัยในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติ<br />

จากการวิจัยเรื่อง ปจจัยในการตัดสินใจซื้อที่อยูอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพํานักระยะยาว<br />

ในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญใหความสําคัญอันดับแรกในดาน<br />

ของทําเล/ที่ตั้งเปนอันดับแรก เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมพบวา เรื่องทําเล/ที่ตั้งของที่พักอาศัยของผูสูงอายุ<br />

ชาวตางชาติ นั้นมีความตองการเขามาอาศัยพํานักระยะยาวในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ มากที่สุด


342<br />

อันดับที่ 2 ดานราคาในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติ ผูตอบแบบสอบถามใหความสําคัญ<br />

เรื่องของราคาขายที่เหมาะสมกับที่อยูอาศัย อีกดวย อันดับที่ 3 สวนดานสภาพแวดลอมความสงบ/บรรยากาศ<br />

ของที่พักอาศัยผูตอบแบบสอบถามใหความสําคัญในเรื่องของความเปนสวนตัวสูง ชอบบรรยากาศที่เงียบ/สงบ<br />

ซึ่งจะเห็นวาอําเภอหัวหิน เหมาะสําหรับใชเปนที่พักอาศัยของผูสูงอายุไดเปนอยางดี อันดับที่ 4 ดานความ<br />

ปลอดภัยและมีระบบรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสม อันดับที่ 5 เปนดานราคาที่เหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

ประเทศอื่นๆ ตามลําดับ<br />

5.4 ขอเสนอแนะ<br />

จากการวิจัยเรื่อง “ปจจัยในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติ ในอําเภอหัวหิน<br />

จังหวัดประจวบคีรีขันธ” พบวาในการวิจัยครั้งนี้มีขอมูลที่คอนขางครอบคลุมในเนื้อหาที่ตองการวิจัย ไมวาจะเปน<br />

เรื่องของปจจัยที่ผูสูงอายุชาวตางชาติใชในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัย โดยจะพิจารณาความพรอมในหลาย ๆ<br />

ดาน ไมวาจะเปนดานของทําเลที่ตั้ง ดานราคาที่เหมาะสม ดานความเงียบสงบ/บรรยากาศดี ปจจัยในดานความ<br />

ปลอดภัย และปจจัยในการดานคาครองชีพต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับตางประเทศ และในเขตพื้นที่อําเภอหัวหิน<br />

จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวายังขาดปจจัยตางๆ ที่กลาวมาแลวขางตน โดยในอนาคตการขยายตัวเมืองอําเภอ<br />

หัวหิน อยางตอเนื่อง ผูวิจัยจึงขอเสนอแนะสําหรับภาคเอกชนดังตอไปนี้<br />

1. ขอเสนอแนะสําหรับผูประกอบการในธุรกิจที่พักอาศัยของผูสูงอายุ<br />

ผูประกอบการควร กําหนดกลุมสังคมและรายไดประชากรที่ชัดเจน ควรเลือกทําเลที่ตั้งที่ความตองการของ<br />

ผูสูงอายุชาวตางชาติ และระดับราคาที่ตัดสินใจไดเมื่อเทียบกับความสามารถการซื้อที่พักอาศัย มี<br />

สภาพแวดลอมที่ดีเชนความเงียบสงบ/บรรยากาศดี ดานความปลอดภัย จะตองมีความปลอดภัยในชีวิต<br />

และทรัพยสิน คาครองชีพต่ํา เมื่อเทียบกับตางประเทศ<br />

2. ขอเสนอแนะของผูสูงอายุชาวตางชาติที่พักอาศัยมีความตองการที่เหมาะสม<br />

ผูสูงอายุชาวตางชาติมีความตองการที่พักอาศัยแบบบานเดี่ยวเปนอันดับแรก ทําเลที่ตั้งที่ความตองการของ<br />

ผูสูงอายุชาวตางชาติอิงธรรมชาติ สภาพแวดลอมที่ดีเชนความเงียบสงบ/บรรยากาศดี ดานความปลอดภัย<br />

จะตองมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และมีคาครองชีพต่ํา เมื่อเทียบกับตางประเทศ<br />

3. ขอเสนอแนะตอหนวยงานทองถิ่นในการวางแผนและพัฒนารองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคต<br />

หนวยงานทองถิ่นมีความพรอมในการพัฒนาการขยายตัวของเมือง เกี่ยวกับการทองเที่ยว ในอนาคตเพื่อรองรับ<br />

นักทองเที่ยวตางชาติที่เขามาทองมีจํานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และจัดเตรียมระบบสาธารณูปโภคที่เหมาะสมกับการ<br />

ขยายตัว เชนระบบขนสงมวลชน โรงพยาบาล เปนตน


343<br />

4. ขอเสนอแนะตอหนวยงานของรัฐ เชนการทองเที่ยวแหงประเทศไทย<br />

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย จะไดมีความพรอมในการรองรับนักทองเที่ยวผูสูงอายุชาวตางชาติที่เขามาพัก<br />

อาศัยในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เชนการจัดกิจกรรมใหเหมาะสมกับนักทองเที่ยวสําหรับกลุม<br />

ผูสูงอายุตอไป<br />

5.5 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป<br />

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เปนการศึกษา ปจจัยในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติ ในอําเภอหัว<br />

หิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ วามีปจจัยในการตัดสินใจซื้ออยางไรบาง โดยยังขาดการศึกษาในดานพฤติกรรมการ<br />

พักอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติ และความตองการที่พักอาศัยรูปแบบตางๆ สิ่งเหลานี้นาจะเปนแนวทางใน<br />

การพัฒนาดานที่พักอาศัยสําหรับผูสูงอายุชาวตางชาติ ใหเหมาะและตรงกับความตองการไดมากยิ่งขึ้น<br />

บรรณานุกรม<br />

กิติรัตน วชิรแพทย : สภาพการอยูอาศัยของผูสูงอายุชาวตางชาติในภาคอีสาน กรณีศึกษา : อําเภอเมือง จังหวัด<br />

อุดรธานี วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเคหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552.<br />

ภาธินี ศรีอาจ. สภาพการอยูอาศัยของผูสูงอายุชาวญี่ปุนในสถานที่พักเพื่อการทองเที่ยวพํานักระยะยาว:<br />

กรณีศึกษา โครงการ ริเออิ ลุมพินี เรสซเดนซ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต<br />

สาขาเคหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549<br />

บัณฑิตา พิลึกดีเดช. พฤติกรรมการอยูอาศัยในสถานที่เพื่อการทองเที่ยวพํานักระยะยาว : กรณีศึกษา โครงการ<br />

สแกนดิเนเวียน วิลเลจ จ.ชลบุรี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเคหการ จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2548.<br />

พงศธร เหราบัตย. แนวทางการปรับปรุงโครงการบานพักคนชราวาสนะเวศม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.<br />

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.<br />

วิไลลักษณ ไกรสุวรรณสาร. แนวทางการจัดเตรียมที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุ : กรณีศึกษาชมชมอยูรอยป.<br />

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.<br />

วรวรรณ นิตบงกช. ความตองการที่อยูอาศัยของผูสูงอายุที่อาศัยอยูในเขตคลองเตย.วิทยานิพนธปริญญา<br />

มหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.<br />

มาลินี วงษสิทธิ์ และคณะ. โครงการการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลใหบริการ และกิจกรรมตาง ๆ แก<br />

ผูสูงอายุ : ขอมูลพื้นฐานของชุมชนและผูสูงอายุ ตําบลแมสา อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม. กรุงเทพฯ.<br />

สถาบันประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.


344<br />

แนวความคิดและคุณลักษณะของโรงแรมเชิงนิเวศในประเทศไทย<br />

ศิริวรรณ ชละกุล<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : อาจารย ดร.ปรีชญา สิทธิพันธุ<br />

บทนํา<br />

ในปจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ (Climate Change)ของโลกมีมากขึ้น สังเกตไดจาก<br />

เหตุการณความรุนแรงของภัยธรรมชาติทั่วโลก เชน น้ําทวมในบราซิล (ในป 2004), ภัยแลงในสเปน (ป 2005),<br />

เกิดเฮอริเคนในแอนแลนติก(ในป 2005),เกิดมรสุมฤดูรอนในเอเชีย ทําใหเกิดฝนตกหนักและน้ําทวมในหลายแหง<br />

ทางตอนเหนือของอินเดีย เนปาล และบังคลาเทศ (ในป 2004) และการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั่วโลก เชน<br />

การเกิดแนวปะการังฟอกขาวของเกรทแบรรีเออ รีฟและอีกหลายแหงทั่วโลกและนอกจากนั้นนักวิทยาศาสตร<br />

พบวายุงมีการปรับตัวทางพันธุกรรมตออุณหภูมิที่สูงขึ้นทําใหเกิดชวงเวลาการแพรระบาดโรคขยายตัวออกไป 1<br />

ฯลฯ จากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงเพิ่มขึ้นสวนใหญนับตั้งแตกลาง<br />

ศตวรรษที่ 20 มีความเปนไปไดวามาจากการเพิ่มขึ้นของการปลอยกาซเรือนกระจกซึ่งเกิดจากกิจกรรมของ<br />

มนุษย<br />

ดังนั้นการชวยลดและปรับเปลี่ยนกิจกรรมตางๆของมนุษยที่เกิดขึ้นก็เปนอีกวิธีการหนึ่งที่สามารถชวย<br />

ได รวมทั้งภาคอุตสาหกรรมโรงแรมและการทองเที่ยวทั่วโลกไดเห็นถึงความสําคัญดังกลาวทําใหเกิดการประชุม<br />

เอิรท ซัมมิท ในสวนของ Agenda 21 เกี่ยวกับอุตสาหกรรมทองเที่ยวไดทําใหตระหนักวา ทรัพยากรธรรมชาติ<br />

ของโลกกําลังหมดไปเร็วกวาที่มันจะสามารถฟนตัวหรือทดแทนไดทัน และนอกจากนั้นในประเทศไทยไดมีการ<br />

ประชุม PATA CEO Challenge 2008 ขึ้นที่กรุงเทพในเดือนเมษายน โดยมี 11 ผูนําในอุตสาหกรรมทองเที่ยว<br />

และในกลุมอุตสาหกรรมโรงแรม ไดกําหนดเปาหมายดานสิ่งแวดลอมในระดับที่เขมขนขึ้น ทั้งการลดใชพลังงาน<br />

เลือกใชพลังงานหมุนเวียน ตลอดจนทรัพยากรอื่นๆ 2 จึงทําใหผูประกอบการกิจการโรงแรมในประเทศไทย ตองมี<br />

การปรับเปลี่ยนแนวคิด วิธีการดําเนินการ เพื่อตองการเปนโรงแรมที่ใหความสําคัญดานสิ่งแวดลอม หรือที่<br />

เรียกวา โรงแรมเชิงนิเวศ ( ECO Hotel) ) แตในการศึกษาเบื้องตน พบวาโรงแรมเชิงนิเวศ (ECO Hotel) ใน<br />

ประเทศไทยยังไมมีสถาบันที่กําหนดหลักเกณฑเพื่อออกใบรับรองโรงแรมประเภทนี้ ทําใหในปจจุบันมีโรงแรม<br />

1<br />

Kirstin Dow and Thomas E Downing, การเปลี่ยนแปลงสภาวะความอยูรอดของมวลมนุษย (กรุงเทพฯ:<br />

ปาเจรา, 2551), หนา 20.<br />

2<br />

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, คูมือประกอบการ-นักทองเที่ยวเพื่อความเขาใจภาวะโลกรอน (กรุงเทพฯ: กอง<br />

สงเสริมแหลงทองเที่ยว การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2553), หนา 28.


345<br />

ประเภทนี้ที่มีแนวคิดและคุณลักษณะที่หลากหลาย ไมมีความชัดเจนจึงทําใหเกิดประเด็นปญหาที่วาโรงแรม<br />

เชิงนิเวศ (ECO Hotel) คืออะไร มีแนวคิดและคุณลักษณะอยางไรบาง<br />

บทความนี้จะเปนการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของ Eco, Eco Design, Eco <strong>Architecture</strong>, Green<br />

<strong>Architecture</strong>, Sustainable <strong>Architecture</strong> และคุณลักษณะของโรงแรมโดยทําการศึกษากรณีศึกษาของโรงแรม<br />

ที่ไดรับรางวัลดานสิ่งแวดลอมจากโครงการรับรองโรงแรมดานสิ่งแวดลอมที่เปนที่ยอมรับในกลุมของ<br />

อุตสาหกรรมโรงแรมตางๆ เชน โครงการใบไมเขียวในประเทศไทย, โครงการ Green Leaf Eco- Rating<br />

Program ในประเทศแคนาดา, ระดับนานาชาติ ไดแก ECOTEL และ GREEN Globe 21 ซึ่งเปนโครงการใหการ<br />

รับรองโรงแรมทั่วโลกเพื่อหาแนวคิดและคุณลักษณะของโรงแรมเชิงนิเวศ (ECO HOTEL)<br />

1. ความหมายของ ECO, ECO Design, Green Design, Sustainable Design<br />

คําวา ECO เปนคํายอที่มีการรวมกันของคําวา Ecological ( เชิงนิเวศ ) หมายถึง ความสัมพันธของสิ่ง<br />

มีชิวิตกับสภาพแวดลอม หรือบางความหมายก็รวมเขากับ Economic (เศรษฐกิจ) ซึ่งในปจจุบันการใชคําวา<br />

ECO ไดถูกนํามาใชกันอยางมากมาย ทั้งภาคการผลิตอุตสาหกรรมตางๆ รวมทั้งผูบริโภคและผูผลิตและการ<br />

ออกแบบเพื่อสื่อถึงการใหความสําคัญกับประเด็นปญหาของสิ่งแวดลอมและการลดผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอม<br />

ในอีกแนวทางหนึ่ง สําหรับในสาขาการออกแบบ คําวา ECO Design เปนคําที่รูจักกันมาไมนานและมีการ<br />

พัฒนาแนวความคิดกันอยางคอยเปนคอยไป ในบางแนวความคิด ECO Design ไดถูกมองในประเด็น<br />

สิ่งแวดลอมเพียงดานเดียว ดังเชน<br />

แนวความคิดของ Van Hemel (1997) ไดชี้ใหเห็นวาECO Design เปนการพัฒนามาจากการผลิต<br />

ดวยเทคโนโลยีสะอาด (clean technology) ไปจนถึงผลิตภัณฑที่สะอาด (clean product) และพัฒนายอนไป<br />

จนกระทั่งถึงการปองกันการเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตั้งแตเริ่มตนการออกแบบที่เนนความสําคัญของการ<br />

พิจารณาองคประกอบทางดานสิ่งแวดลอมและผลกระทบตอวัฎจักรชีวิตผลิตภัณฑ ตั้งแตการเลือกวัสดุ การหา<br />

วัตถุดิบ การผลิต การใช การนํากลับมาใชใหม และการทําลายผลิตภัณฑนั้น 3<br />

Elizabeth Wilhide ไดเขียนหนังสือเรื่อง ECO (The essential sourcebook for environmentally<br />

friendly design and decoration) ECO Design เปนการออกแบบที่ใชประโยชนจากทรัพกรของโลกและ<br />

สามารถคืนมันกลับสูโลกโดยไมกอใหเกิดความเสียหายตอสภาพแวดลอม 4<br />

Joseph (1996) ใหแนวความคิดวา ECO Design เปนการออกแบบที่พิจารณาผลกระทบตอ<br />

สิ่งแวดลอมตลอดอายุของผลิตภัณฑ โดยแตละขั้นตอนเหลานี้จะพยายมหลีกเลี่ยงการเกิดของเสียและสารพิษ<br />

เพื่อใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ซึ่งอยูบนพื้นฐานของดารประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (life<br />

cycle assessment : LCA)<br />

3<br />

ผูชวยศาสตราจารยณัชวิชญ ติกุล, การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจในงานสถาปตยกรรม (กรุงเทพฯ:<br />

สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2553), หนา1.<br />

4<br />

Elizabeth Wilhide, ECO The essential sourcebook for environmentally friendly design and decoration<br />

(London: Quadrille Publishing Limited, 2004), pp 10-11.


346<br />

อะกิระ อะราย ผูเชี่ยวชาญดานเทคนิคจากเจดีโอ (JODG) ซึ่งเปนกิจการที่ไดรับมอบหมายจาก<br />

หนวยงานพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานและอุตสาหกรรมแนวใหม กลาววา ECO Design เปนการออกแบบที่<br />

ตองการมองใหครบตั้งแตยังไมเริ่มทําไมใชทําแลวคอยมาแก โดยเริ่มดูตั้งแตการใชวัสดุที่ผลิตวาเปนอยางไรและ<br />

มีโทษหรือไม มีวัสดุอยางอื่นที่ใชแลวดีกวาหรือเปลาจนกระทั่งมองไปถึงการกําจัดเมื่อหมดอายุการใชงาน โดย<br />

ตองเปนการบริหารจัดการแบบครบวงจรวัฎจักรชีวิตผลิตภัณฑ (หนังสือพิมพผูจัดการ, 24 พฤศจิกายน 2547)<br />

รายละเอียดของอนุกรมมาตราฐานการจัดการดานสิ่งแวดลอม (environmental management<br />

standard : EMS) ISO/TR 14062 ไดกลาวถึงหลักการออกแบบ ECO Design วาเปนการออกแบบเชิง<br />

นิเวศวิทยาโดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม ทําใหสามารถประหยัดทรัพยากรที่ใช ลดการใชสารอันตราย ลดขั้นตอนการ<br />

ผลิตและงายในการแยกชิ้นสวนเพื่อนํากลับมาใชใหมหรือใชซ้ํา รวมทั้งการกําจัดซากผลิตภัณฑหลังจากการใช<br />

งานหรือเมื่อหมดอายุการใชงานซึ่งนับเปนการแกปญหาที่ตนเหตุตั้งแตชวงออกแบบ (ปราณี, 2548)<br />

Cowan (1996) กลาววา ECO Design หมายถึง รูปแบบใดๆของการออกแบบที่สงผลกระทบตอ<br />

สิ่งแวดลอมนอยที่สุด พรอมกับการคํานึงถึงผลตอบแทนที่ไดรับจากการออกแบบในเวลาเดียวกัน<br />

Han Brezet (1997) ไดระบุวาอีโคดีไซนมาจากคําสองคํารวมกันคือ “Ecomomic”<br />

และ”Ecological“ เมื่อรวมกับ “ Design “ จึงเรียกวา “Eco design” ซึ่งเปนกระบวนการที่ผนวกแนวคิดดาน<br />

เศรษฐกิจและดานสิ่งแวดลอม เขาไปในขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑหรือกระบวนการผลิตผลิตภัณฑนั้น โดย<br />

พิจารณาตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑซึ่งสามารถลดตนทุนในแตละขั้นตอนของการพัฒนาผลิตภัณฑ และลด<br />

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไปพรอมๆกัน ทําใหสงผลดีตอธุรกิจ ชุมชนและสิ่งแวดลอม ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาที่<br />

ยั่งยืน<br />

Peneda (1997) ยังไดมีแนวความคิดเพิ่มเติมโดยกลาววา ECO Design เปนความพยายามที่จะ<br />

ออกแบบโดยมองประเด็นดานความสวยงาม (aesthetics) ดานการยศาสตร (ergonomics) และประสิทธิภาพ<br />

ในการใชงานของผลิตภัณฑนั้นๆ (functionality) ไปพรอมกับประเด็นดานเศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอม 5<br />

สวทช (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ) ไดมีหลักการพื้นฐานของการทํา Eco<br />

Design ในภาคอุตสาหกรรม คือ การนําหลัก 4R ไดแก การลด (Reduce) การใชซ้ํา (Reuse) การนํากลับมาใช<br />

ใหม (Recycle) และการซอมบํารุง (Repair) มาประยุกตใชในทุกชวงของวงจรผลิตภัณฑ คือตั้งแคการวางแผน<br />

ผลิตภัณฑ การออกแบบ การผลิต การนําไปใช และการทําลายหลังการใชงาน โดยที่ Eco Design เปนแนวทาง<br />

หนึ่งในการแสดงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม นอกเหนือจากแนวทางอื่นๆ นอกจากนั้นประเทศไทยไดจัดทํา<br />

โครงการฉลากเขียว (Green Label หรือ Eco-Label) โดยฉลากดังกลาวเปนฉลากที่ใหกับผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ<br />

และมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวาเมื่อนํากลับมาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑที่ทําหนาที่อยางเดียวกัน 6<br />

5<br />

ผูชวยศาสตราจารยณัชวิชญ ติกุล, การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจในงานสถาปตยกรรม (กรุงเทพฯ:<br />

สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2553), หนา 3.<br />

6<br />

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, ECO Design การออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน,<br />

http://www.thaigdn.net ( เมษายน 2553 ): 1.


347<br />

จากผลการศึกษาแนวคิดของ ECO Design สามารถแบงกลุมออกเปน 2 กลุม คือ กลุมของแนวคิด<br />

ทางดานการออกแบบเชิงนิเวศเพื่อลดผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอมเพียงดานเดียว และกลุมที่มีแนวคิดที่รวมแนวคิด<br />

ทางดานเศรษฐกิจเขาไปดวย สวนมากจะเปนกลุมของนักออกแบบผลิตภัณฑ หรือทางดานภาคอุตสาหกรรมการ<br />

ผลิต แตทั้งสองกลุมนี้มีเปาหมายที่เหมือนกัน คือ เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเชิงนิเวศ<br />

Green Design เปนการออกแบบของสินคาและบริการ รวมทั้งอาคารที ่มีความสํานึกตอปญหาสิ่งแวดลอม<br />

และการใชพลังงานและวัสดุอยางมีประสิทธิภาพ 7 Green Design เปน การออกแบบโดยมีองคประกอบของการ<br />

ใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพตอสิ่งแวดลอม 8 Green Design เปนการออกแบบที่ใชกับงานสถาปตยกรรมสีเขียว<br />

มักจะสอดคลองกับหลักการของสิ่งแวดลอมทางดานวัสดุกอสรางและการใชพลังงาน ตัวอยางอาคารสีเขียว เชน<br />

มีการใชแผงเซลลแสงอาทิตย, skylights, และวัสดุกอสรางที่นํากลับมาใชใหมได9<br />

Sustainable Design เปนปรัชญาการออกแบบวัตถุตามลักษณะทางกายภาพ, โดยสรางสภาพ<br />

แวดลอมเพื่อใหสอดคลองกับหลักการของเศรษฐกิจสังคมและความยั่งยืนทางนิเวศ 10<br />

Sustainable Design เปนการออกแบบที่แสดงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมมากขึ้นโดยการใชพลังงาน<br />

อยางมีประสิทธิภาพ, ลดตนทุนของกระบวนการกอสรางและไดรับการรับรองจาก LEED ® 11<br />

Sustainable Design เปนการออกแบบที่ชวยลดผลกระทบเชิงลบตอสภาพแวดลอมเทาที่จะทําไดและ<br />

ทําใหมากที่สุดเพื่อผลประโยชนทางสังคมและเศรษฐกิจ 12<br />

7<br />

www.northlakecollege.edu/sustainability/green_vocabulary.htm<br />

8<br />

en.wikipedia.7val.com/wiki/Green_computing<br />

9<br />

www.morainevalley.edu/Sustainability/glossary.htm<br />

10<br />

wikipedia, the free encyclopedia<br />

11<br />

www.williamsengineering.com/glossary<br />

12<br />

www.highland.gov.uk/yourenvironment/planning/developmentplans/localplans/glossary.htm


348<br />

2. แนวคิดทางดานสิ่งแวดลอม<br />

จากการศึกษาพบวาแนวความคิดทางดานสิ่งแวดลอมที่เปนที่นิยมกันอีก 3 แนวคิด คือ Green<br />

Design, ECO Design, Sustainable Design ทั้ง 3 แนวคิดนี้นอกจากมีความใกลเคียงกันแลวและมี<br />

ความสัมพันธที่เกี่ยวเนื่องกัน ดังแสดงในแผนภาพที่ 1<br />

แผนภาพที่ 1: แสดงความสัมพันธของ Green Design , ECO Design , Sustainable Design<br />

จากแผนภาพที่ 1 สามารถสรุปไดดังนี้<br />

Sustainable Design การออกแบบที่คํานึงถึงเรื่อง สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคม หรือชุมชน โดยทั้ง 3 สวน<br />

ตองมีความสอดคลองและสมดุลกัน จึงจะทําใหเกิดความยั่งยืน<br />

ECO Design การออกแบบที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอมในเชิงของระบบนิเวศ และระบบเศรษฐกิจ<br />

Green Design ใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมทั้งหมด โดยการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ<br />

ผลการศึกษา จากการรวบรวมขอมูลของการนําแนวคิดทั้ง 3 กลุมมาใชกับการออกแบบสถาปตยกรรม เชน<br />

Green <strong>Architecture</strong>, ECO <strong>Architecture</strong>, Sustainable <strong>Architecture</strong> สามารถแสดงรายละเอียดตางๆโดยจะ<br />

แสดงเปนตารางขอมูลที่ 1 ดังนี้


349


350<br />

3. โครงการรับรองดานสิ่งแวดลอมของกลุมอุตสาหกรรมโรงแรม<br />

การศึกษาโรงแรมดานสิ่งแวดลอมของกลุมอุตสาหกรรมโรงแรม เพื่อรวบรวมขอมูลและองคประกอบที่<br />

เกี่ยวของกับการเปนโรงแรมเพื่อสิ่งแวดลอม โดยไดคัดเลือกโครงการรับรองที่มีชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับทั่วไปใน<br />

ระดับสากล<br />

3.1 โครงการใบไมเขียว (Green Leaf Program) กอตั้งเมื่อป 1995 โดยคณะกรรมการสิ่งแวดลอมเพื่อ<br />

การทองเที่ยว( คสสท.) ซึ่งเปนการรวมือกันระหวางการทองเที่ยวแหงประเทศไทย(ททท.) สมาคมโรงแรมไทย<br />

โครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม<br />

(ส.พ.ส.) และการประปานครหลวง (กปน.) การจัดตั้งโครงการนี้เพื่อสงเสริมและเปนแนวทางใหเกิดการลงมือ<br />

ปฎิบัติในดานการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมของภาคธุรกิจการโรงแรมในประเทศไทย และเพื่อที่จะเปนที่รับรอง<br />

โรงแรมไทยตามระดับของประสิทธิภาพในการจัดการพลังงานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ปจจุบันมี<br />

โครงการมีโรงแรมที่ไดรับใบไมเขียว 5 ใบ แชน โรงแรมบันยันทรี กรุงเทพฯ, โรงแรมโซฟเทล เซ็นทรัล พลาซา,<br />

โรงแรมดุสิต รีสอรทพัทยา ฯลฯ 13<br />

3.2 โครงการ Green Leaf TM Eco-Rating กอตั้งขึ้นเมื่อป 1998 โดย Terra Choice Environmental<br />

Services และสมาคมโรงแรมแคนาดา ซึ่งเปนการจัดอันดับที่ออกแบบเพื่อบงบอกถึงโรงแรมที่มีความมุงมั่นใน<br />

การพัฒนาศักยภาพทางดานการเงินและดานสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมายกับกลุมอุตสาหกรรมโรงแรมใน<br />

ประเทศแคนาดา ปจจุบันในประเทศแคนาดาที่ไดรับรางวัลนี้ โดยมีโรงแรมที่ไดรับใบไมเขียว 5 ใบ เชน Arum<br />

Lodge , Fairmont Chateau Lake Louise 14<br />

3.3 โครงการ Nordic Swan Label กอตั้งเมื่อป 1989 มีจุดมุงหมายเพื่อรวบรวมเอาโครงการดาน ecolabeling<br />

ตางๆทีมีอยูทั้งหมดในกลุมประเทศนอรดิกใหเปนหนึ่งเดียวกัน โดยประเทศที่เขารวมประกอบดวย<br />

ฟนแลนด ไอซแลนด นอรเวย สวีเดน และเดนมารก บริหารโครงการโดย คณะกรรมการ Nordic Eco labelling<br />

3.4 โครงการ ECOTEL กอตั้งขึ้นเมื่อป 1994 บริหารโดย HVS Eco Services ซึ่งเปนแผนกหนึ่งของ<br />

HVS International ซึ่งเปนบริษัทประเมินและใหคําปรึกษาโรงแรมทั่วโลกขั้นนําที่ตั้งอยูที่สหรัฐอเมริกา การ<br />

รับรอง ECOTEL เปนการใหการรับรอวเฉพาะกับธุรกิจโรงแรมและรีสอรทเทานั้น โดยการรับรองนี้มีชื่อเสียงและ<br />

เปนที่นาสนใจมากที่สุดในกลุมของธุรกิจบริการที่ตองการทดสอบความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมของสถาน<br />

ประกอบการตนเอง<br />

3.5 โครงการ Green Globe 21 กอตั้งเมื่อป 1994 โดย World Travel and Tourism Council (WTTC)<br />

ซึ่งเปนสมาคมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเอกชน WTTC จัดตั้งขึ้นเพื่อใหเปนโครงการในเรื่องดานสิ่งแวดลอม<br />

โดยGreen Globe ถูกออกแบบมาเพื่อสงเสริมใหเกิดการพัฒนาและบรรลุผลในเรื่องของสิ่งแวดลอม สังคม และ<br />

วัฒนธรรม ทั้งนระดับโลก ระดับชาติ และระดับทองถิ่น 15<br />

13<br />

http://www.hotelthailand.com/greenleaf/<br />

14<br />

http://www.terrachoice.ca/hotelwebsite/indexcanada.htm<br />

15<br />

http://www.greenglobe21.com


351<br />

4. การศึกษากรณีศึกษา: โรงแรมที่ไดรับการรับรองดานสิ่งแวดลอมจากโครงการรับรองดาน<br />

สิ่งแวดลอมในกลุมอุตสาหกรรมโรงแรม<br />

ผูวิจัยไดคัดเลือกตัวอยางกรณีศึกษาทั้งหมด 15 โครงการทั้งในประเทศและตางประเทศโดยมีหลักเกณ<br />

การคัดเลือกตัวอยางกรณีศึกษาดังนี้<br />

1. โรงแรมที่ไดรับรางวัลดานสิ่งแวดลอมจากโครงการรับรองดานสิ่งแวดลอมในหัวขอที่ 3<br />

2. โรงแรมที่มีการดําเนินการมาแลวไมต่ํากวา 5 ป<br />

3. โรงแรมที่มีการขออนุญาติถูกตองตามกฎหมาย<br />

จากการศึกษาตัวอยางกรณีศึกษาโดยศึกษาคุณลักษณะ (ตัวแปร) ที่มีผลตอกรณีศึกษาเพื่อแยกแยะ คนหา<br />

ประเด็นความสัมพันธของหลักการตางๆ และนํามาสังเคราะหเพื่อสรุปรวบรวมประเภท หมวดหมูใหชัดเจนขึ้น<br />

โดยคุณลักษณะ(ตัวแปร)ที่มีผลตอการศึกษามี 5 หัวขอหลัก ดังนี้<br />

1. การวางผังและลักษณะทางกายภาพของพื้นที่<br />

2. สถาปตยกรรมและการออกแบบ<br />

3. วัสดุและเทคโนโลยีการกอสราง<br />

4. การจัดการดานสิ่งแวดลอม<br />

5. การมีสวนรวมของทองถิ่น<br />

ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการศึกษาตัวอยางกรณีศึกษากับ<br />

ชื่อโรงแรม การวางผังและ<br />

สักษณะทาง<br />

กายภาพ<br />

สถาปตย<br />

กรรมและ<br />

การออกแบบ<br />

วัสดุและเทคโนโลยี<br />

อาคาร<br />

การจัดการดาน<br />

สิ่งแวดลอม<br />

การมีสวน<br />

รวมใน<br />

ทองถิ่น<br />

เพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

คํานึงสภาพแวดลอมของที่ตั้ง<br />

คํานึงถึงทิศทางอาคาร<br />

ความดั้งเดิมมีเอลักษณ<br />

สอดคลองกับสภาพแวดลอมโดยรอบ<br />

สอดคลองกับสภาพภูมิอากาศ<br />

ใชวัสดุที่หาไดในทองถิ่น<br />

คํานึงถึงอายุการใชงานและการรักษา<br />

การใชวัสดุที่มหประโยชนสูงสุด<br />

ใชวัสดุที่กมุนเวียนกลับมาใชใหม<br />

ไมใชวัสดุที่มีสารพิษตอสุขภาพ<br />

ใชวัสดุทดแทนการใชวัสดุตนกําเนิด<br />

การออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

เลือกใชอุปกรณที่มีประสิทธิภาพสูง<br />

การใชพลังงานจากธรรมชาติ<br />

การประหยัดน้ํา<br />

การกําจัดของเสีย<br />

การจัดอบรมเผยแพรขอมูลดาน<br />

สิ่งแวดลอมและการชวยแหลือสังคม<br />

โรงแรมที่ 1 / / / /<br />

โรงแรมที่ 2 / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 3 / / /<br />

โรงแรมที่ 4 / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 5 / / / /<br />

โรงแรมที่ 6 / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 7 / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 8 / / / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 9 / / / / / / / / /


352<br />

ชื่อโรงแรม การวางผังและ<br />

สักษณะทาง<br />

กายภาพ<br />

สถาปตย<br />

กรรมและ<br />

การออกแบบ<br />

วัสดุและเทคโนโลยี<br />

อาคาร<br />

การจัดการดาน<br />

สิ่งแวดลอม<br />

การมีสวน<br />

รวมใน<br />

ทองถิ่น<br />

เพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

คํานึงสภาพแวดลอมของที่ตั้ง<br />

คํานึงถึงทิศทางอาคาร<br />

ความดั้งเดิมมีเอลักษณ<br />

สอดคลองกับสภาพแวดลอมโดยรอบ<br />

สอดคลองกับสภาพภูมิอากาศ<br />

ใชวัสดุที่หาไดในทองถิ่น<br />

คํานึงถึงอายุการใชงานและการรักษา<br />

การใชวัสดุที่มหประโยชนสูงสุด<br />

ใชวัสดุที่กมุนเวียนกลับมาใชใหม<br />

ไมใชวัสดุที่มีสารพิษตอสุขภาพ<br />

ใชวัสดุทดแทนการใชวัสดุตนกําเนิด<br />

การออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

เลือกใชอุปกรณที่มีประสิทธิภาพสูง<br />

การใชพลังงานจากธรรมชาติ<br />

การประหยัดน้ํา<br />

การกําจัดของเสีย<br />

การจัดอบรมเผยแพรขอมูลดาน<br />

สิ่งแวดลอมและการชวยแหลือสังคม<br />

โรงแรมที่ 10 / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 11 / / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 12 / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 13 / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 14 / / / / / / / / / / / / / / /<br />

โรงแรมที่ 15 / / / / / / / /<br />

บทสรุปของผลการศึกษา<br />

1. ในเรื่องของการวางผังและลักษณะทางกายภาพของที่ตั้งนั้นไมมีผลกับการเปนโรงแรมเชิงนิเวศ<br />

เหมือนกับที่ทุกคนเขาใจกันวา ถาเปนโรงแรมเชิงนิเวศจําเปนตองตั้งอยูในสภาพแวดลอมธรรมชาติเทานั้น<br />

โรงแรมที่ตั้งอยูในเมือง ไมเปนโรงแรมเชิงนิเวศ จากการศึกษาพบวา โรงแรมในเมืองบางโรงแรมมีการจัดการดาน<br />

สิ่งแวดลอมที่ดีกวาก็มี<br />

2. สถาปตยกรรมและการออกแบบของโรงแรมเชิงนิเวศ มีไดหลายรูปแบบ เชน สถาปตยกรรมแบบเชิง<br />

อนุรักษ หรือ สถาปตยกรรมที่มีกลมกลืนกับธรรมชาติ รวมทั้งอาคารสูงก็ตาม<br />

3. วัสดุและเทคโนโลยีอาคารมีสวนในการชวยลดผลกระทบที่อาคารมีตอสภาพแวดลอม ดังนั้นในทุก<br />

โรงแรมเชิงนิเวศจึงใหความสําคัญในหัวขอนี้<br />

4. การจัดการดานสิ่งแวดลอมเปนสิ่งสําคัญที่สุดของโรงแรมเชิงนิเวศ เนื่องจากเปนขั้นตอนที่ชวยลด<br />

ผลกระทบกับสิ่งแวดลอมมากที่สุดและสามารถประหยัดการใชพลังงานในโรงแรมไดอีกดวย<br />

5.การมีสวนรวมในทองถิ่นของโรงแรมเชิงนิเวศมีจุดมุงหมายเพื่อสรางจิตสํานึกใหกับชุมชนและสังคม<br />

ในการใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอม โดยบางโรงแรมมีการจัดการอบรมเผยแพรความรูที่เกี่ยวกับสิ ่งแวดลอม<br />

การจัดกิจกรรมรณงครวมกันกับสังคม


353<br />

บรรณานุกรม<br />

ภาษาไทย<br />

ผูชวยศาสตราจารยณัชวิชญ ติกุล. การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจในงานสถาปตยกรรม. กรุงเทพฯ :<br />

สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2553.<br />

เขียนศักดิ์ แสงเกลี้ยง. ปจจัยการออกแบบสถาปตยกรรมเพื่อการทองเที่ยวเชิงนิเวศและยั่งยืน:<br />

กรณีศึกษา โรงแรมตากอากาศ วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาคสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต<br />

วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 25421.6<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

Cathy Strongman,The Sustainable Home. New York: Merrell; 2007.<br />

Elizabeth Wilhide, ECO The essential sourcebook for environmentally friendly design and decoration.<br />

London : Quadrille Publishing Limited; 2004.<br />

Fred A. Stitt, Ecological Design Handbook. New York: The McGrew-Hill Companies;1999.<br />

James Steele, Ecological <strong>Architecture</strong>. New York: Thames & Hudson Inc; 2005.<br />

Ken Yeang, Eco Skyscrapers. Hong Kong : Everbest Printing Co.,Ltd;1994.<br />

Klaus Daniels, The technology <strong>of</strong> ecology building. Germany : chlorine-free pulp;1997.<br />

Laura C. Zeiher, The ecology <strong>of</strong> architecture. New York : Whitney Library <strong>of</strong> Design; 1995.<br />

Maisons De Campagne, Natural Flair. China : Fusion publishing; 2008.<br />

Sandra F.Mendler & William Odell, The guidebook to sustainable design. New York : John Wiley &<br />

Sons, inc; 2000.<br />

T.C,Mc Aloone, Where‘s Eco-Design Going. Copenhagen : CBS,Denmark ;2008.


354<br />

แนวทางการพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัย<br />

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น : กรณีศึกษาเทศบาลนครสมุทรสาคร<br />

HOUSING DATABASE SYSTM FOR LOCAL GOVERNMENT :<br />

A CASE STUDY FOR NAKORN SAMUT SAKORN MUNICIPALITY<br />

อภิรุณ ไกรวงศ<br />

หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคหการ<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผศ.ดร. กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์<br />

อาจารยที่ปรึกษารวม : ศาสตราภิชาน ปรีดิ์ บุรณศิริ<br />

บทนํา<br />

ประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนผานครั้งสําคัญในทศวรรษที่ผานมา แรงผลักดันสวนสําคัญเกิดจาก<br />

รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติกําหนดแผน และ ขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง<br />

สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 โดยรัฐบาลมี นโยบายสงเสริม และ สนับสนุนการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น<br />

ให มีบทบาทในการจัดบริการสาธารณะของทองถิ่นเพิ่มขึ้น ประกอบกับรัฐบาลไดจัดสรรรายไดให เพิ่มขึ้นทุกป<br />

เนื่องจากมีการถายโอนภารกิจจากราชการสวนกลางใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นไปจัดทําบริการสาธารณะ<br />

รวมทั้ง การจัดการเกี่ยวกับที่อยูอาศัย และ การปรับปรุงแหลงเสื่อมโทรม<br />

หากพิจารณาตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครองสวน<br />

ทองถิ่น พ.ศ. 2542 ในหมวด 2 มาตรา 16 ที่ให กรุงเทพฯ เมืองพัทยา อปท.และเทศบาล องคการบริหารสวน<br />

ทองถิ่น มีอํานาจหนาที่ในการจัดสรรงบประมาณการบริหารจัดระบบบริการสาธารณะ เพื่อประโยชนสุขของ<br />

ประชาชนในทองถิ่นของตนเอง และ ลงในกรอบของอํานาจหนาที่ หรืออาจคิดนอกกรอบก็ไดแตตองไมขัดตอ<br />

ระเบียบ<br />

โดยสรุปการกระจายอํานาจนั้นเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงตําแหนงของผูที่มีหนาที่ในการปกครอง<br />

การโยกยายอํานาจจากผูที่อยูในตําแหนงหนึ่ง หรือระดับหนึ่งไปสูอีกระดับหนึ่ง ซึ่งตําแหนงจะแสดงถึงอํานาจใน<br />

การตัดสินใจ ปญหา อุปสรรคที่พบ อันเปนผลจากการบริหารแบบรวมศูนยอํานาจ หรือการรวบอํานาจสู<br />

สวนกลาง (centralization) ดังนั้นวัตถุประสงคของการกระจายอํานาจ (decentralization) ก็เพื่อตองการแกไข<br />

ปญหาอุปสรรคดังกลาว ไดแกการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ ( efficiency ) การเพิ่มความสอดคลองและ<br />

ตอบสนองตอความตองการของพื้นที่ (responsiveness) การเพิ่มความมีสวนรวมในการตัดสินใจและการ<br />

ตรวจสอบจากชุมชน (community participation and social accountability) ทั้งนี้จะสงผลใหคุณภาพของการ<br />

บริการดีขึ้น และไดรับการยอมรับมากขึ้นในที่สุด<br />

การที่จะมีฐานขอมูลที่ชัดเจนไดจะตองมีขอมูลที่เหมาะสม ทันสมัย ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพเพื่อใช<br />

ประกอบการตัดสินใจ ซึ่งการดําเนินการดังกลาวมีความจําเปนที่จะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูล การพัฒนา<br />

ฐานขอมูลและระบบสารสนเทศ (information system) ซึ่งประเด็นดังกลาวเดิมถูกมองวามีความยุงยาก<br />

ซ้ําซอน ตองใชงบประมาณ และ ใชเวลา แตในปจจุบันเปนยุคของสารสนเทศ(information age) ซึ่งเปนที่


355<br />

ยอมรับกันวา สารสนเทศเปนขอมูลที่ผานการกลั่นกรองอยางเหมาะสม สามารถนํามาใชประโยชนไดมากมาย<br />

ไมวาจะเปนการนํามาใชงานดานธุรกิจ การบริหาร และ กิจการอื่น ๆ องคกรที่มีขอมูลปริมาณมาก ๆ จะพบ<br />

ความยุงยากลําบากในการจัดเก็บขอมูล ตลอดจนการนําขอมูลที่ตองการออกมาใชใหทันตอเหตุการณ ดังนั้น<br />

คอมพิวเตอรจึงถูกนํามาใชเปนเครื่องมือชวยในการจัดเก็บขอมูล การประมวลผลขอมูล ซึ่งทําใหระบบการ<br />

จัดเก็บขอมูลเปนไปไดอยางสะดวก ซึ่งการจัดเก็บของแตละระบบมีวิธีการที่ไมเหมือนกันจึงจําเปนที่จะตองสราง<br />

ฐานขอมูลที่มีความเปนกลาง หรือ ใหเปน ”ขอมูลที่เปนสาธารณะ” มากที่สุด ฐานขอมูล (Data Base) จึงเขา<br />

มามีบทบาทสําคัญอยางมาก โดยเฉพาะระบบงานตาง ๆ ที่ใชคอมพิวเตอร การออกแบบ และพัฒนาระบบ<br />

ฐานขอมูล จึงตองคํานึงถึงการควบคุม และการจัดการความถูกตอง ทันสมัย มีประสิทธิภาพในการเรียกใช<br />

ขอมูล และ ทุกหนวยงานตองสามารถนําขอมูลที่มีการจัดเก็บจากแตละหนวยงานไปใชงานไดอยางอิสระและ<br />

ถูกตอง<br />

ขอบเขตงานวิจัย<br />

ดานเนื้อหา ขอบเขตของงานวิจัยจะครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวของกับเรื่องการพัฒนาระบบฐานขอมูล<br />

ที่มีความสําคัญใชสําหรับการตัดสินใจเพื่อการวางแผนพัฒนาที่อยูอาศัยลวงหนา ( Advance planning )<br />

ภายใตบทบาทและอํานาจหนาที่ของเทศบาลนครสมุทรสาคร<br />

ศึกษาจากขอบเขตงานวิจัยเรื่องการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและการปองกันแกไขปญหาชุมชน<br />

แออัดกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง จังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับขอมูล<br />

ดังนี้คือ<br />

จะสรุปและเสนอเปนหมวดหมู เปนตารางขอมูลทั้งที่คํานวณได ไดแก ตัวเลขที่มีความหมายในการ<br />

คํานวณ เชนสถิติ และ ขอมูลที่คํานวณไมได ไดแก กฎหมาย ขอกําหนด พรบ. ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ แผนที่<br />

ซึ่งเรียกกันทั่วไปวาสารสนเทศ(information)<br />

ดานแหลงขอมูล ขอมูล ขอมูลที่ใชในการวิเคราะหและสังเคราะหเปนขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ<br />

การศึกษาจะใชวิธีการเก็บขอมูลจากหลายแหลง เพื่อใหไดขอมูล ที่ถูกตองโดยเริ่มตนจากการศึกษาเอกสาร<br />

การศึกษาเว็บไซต และการใชแบบสอบถามทั้งการสอบถามในรูปแบบดั้งเดิมและการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ<br />

การคัดเลือกพื้นที่ศึกษาเทศบาลนครสมุทรสาคร<br />

เทศบาลสมุทรสาครเปนเทศบาลขนาดใหญแหงแรกของประเทศไทย มีพื้นที่ 10.33 ตารางกิโลเมตร<br />

โดยรวมพื้นที่ตําบลมหาชัย โครกกราก ทาทราย (บางสวน) โคกขาม (บางสวน) บางหญาแพรก และทาจีน<br />

(บางสวน) เขาดวยกัน ปจจุบันมีประชากร 54,367 คน (ป พ.ศ. 2553) และในเขตเทศบาล มีการกระจุกตัว<br />

หนาแนนที่สุด 5,400 คนตอตารางกิโลเมตร เปนเมืองอุตสาหกรรมที่มีการขยายตัวของธุรกิจภาคเอกชน<br />

โรงงานอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง เปนแหลงงาน รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจจํานวนมาก ทางดานกายภาพ<br />

สมุทรสาครประสบปญหาน้ําทวมเนื่องจาก ภาวะน้ําขึ้นน้ําลง น้ําทะเลหนุน รวมทั้งปญหาการทรุดตัวของแผนดิน<br />

และตั้งอยูในพื้นที่เสี่ยงภัยทางธรรมชาติ<br />

ปจจุบันมีปญหาเรื่องที่อยูอาศัยขาดการอนุรักษฟนฟูยานที่อยูอาศัยที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร<br />

ชุมชนหลายแหงขาดการบริการพื้นฐานรองรับที่เพียงพอ นอกจากนั้นปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือมีการ


่<br />

356<br />

อพยพยายถิ่นของแรงงานตางดาวทั้งที่ถูกกฎหมายและไมถูกกฎหมายประมาณ 250,000 คน ทําใหปญหาเรื่อง<br />

ที่อยูอาศัยมีแนวโนมวาจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ขณะที่เทศบาลนครสมุทรสาครมีวิสัยทัศนที่คอนขางทาทายนั้น<br />

คือ “ นครนาอยู ชุมชนเขมแข็ง การศึกษากาวไกล การบริหารทั่วถึง เศรษฐกิจเติบโต สังคมปลอดภัย ”<br />

ปจจัยที่กลาวมานี้คือเหตุผลในการคัดเลือกเทศบาลสมุทรเปนพื้นที่ศึกษา<br />

วิธีดําเนินการวิจัย<br />

สําหรับกระบวนการออกแบบงานวิจัยจะเริ่มจากการเก็บขอมูลจากแหลงตางๆรวมทั้งการใชเครื่องมือ<br />

ในการวิจัยดังนี้<br />

การศึกษาจากเอกสาร การศึกษาเอกสารเปนขั้นตอนแรกของการเก็บรวบรวมขอมูล ขอมูลจะไดจาก<br />

การอานบทความ วารสาร ตํารา เอกสารขององคกร หนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่อยูอาศัย เชน ขอมูลที<br />

เกี่ยวของกับการจัดทําสารสนเทศที่อยูอาศัยขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในตางประเทศเกี่ยวกับโครงสรางของ<br />

ระบบฐานขอมูล ตลอดจนแนวคิดในการออกแบบโครงสรางของฐานขอมูล ปญหาในการแกไขปญหา โดยขอมูล<br />

มีทั้งอยูในรูปแบบดั้งเดิมคือขอมูล เอกสารที่เกิดจากการตีพิมพ และขอมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่นําเสนอผาน<br />

อินเทอรเน็ตทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ<br />

วิธีการสัมภาษณผูมีประสบการณนําเสนอผลการศึกษาจากการสอบถามกลุมเปาหมายเพื่อขอความเห็น<br />

จากผูมีประสบการณ ผูรูเพื่อนําผลลัพธที่ไดไปใชพัฒนา และ ออกแบบโครงสรางระบบฐานขอมูล สําหรับการ<br />

วิเคราะหขอมูลจะเปนการวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive analysis) เพื่อนําไปสูการพัฒนาโครงสรางระบบ<br />

ฐานขอมูลเพื่อการพัฒนาที่อยูอาศัยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

วิธีดําเนินการศึกษา<br />

การศึกษาในเรื่องของ “ แนวทางการพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยของ<br />

องคกรปกครองสวนทองถิ่น ” การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลตามวัตถุประสงคเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่<br />

ตรงตามวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายของการศึกษานี้จึงไดกําหนดวิธีการรวบรวมขอมูลและการวิเคราะหขอมูล<br />

ตามวัตถุประสงค ศึกษาขอมูลที่ใชในการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยเมืองศึกษาจากรายงานเอกสารการจัดทํา<br />

แผนพัฒนาที่อยูอาศัยที่ไดดําเนินการมาแลว,แนวคิดรูปแบบจากตํารา,เอกสารสิ่งตีพิมพทั้งในประเทศและ<br />

ตางประเทศจาการสัมภาษณ นักวิชาการผูทรงคุณวุฒ ผูมีประสบการณ ความรู การทางดานที่อยูอาศัย, ศึกษา<br />

ขอมูลที่มีอยูในปจจุบันขอมูลประเภทใดบาง มีอยูที่ไหน หนวยงานที่จัดเก็บ การที่ไดมาซึ่งขอมูล วิธีการจัดเก็บ<br />

ระยะเวลาในการจัดเก็บ, วิเคราะหปญหาอุปสรรคตางๆในการจัดเก็บขอมูล และ การที่จะพัฒนาฐานขอมูล ให<br />

สามารถนําใชสําหรับการวางแผนพัฒนาที่อยูอาศัยของเทศบาลนครในอนาคต<br />

กรอบความคิดในการศึกษา<br />

การศึกษาเรื่องการจัดการขอมูลที่อยูอาศัยที่มีอยูในปจจุบันมีขั้นตอนการจัดการดานขอมูลที่เกี่ยวกับที่<br />

อยูอาศัยอยางไร เริ่มตนตั้งแตการไดมาของขอมูล การสํารวจ วิธีการจัดเก็บ ระยะเวลาของการจัดเก็บ รูปแบบ


357<br />

ของการจัดเก็บและการปรับปรุงใหทันสมัยใหพรอมกับการที่จะนําขอมูลไปใชไดอยูตลอดเวลา โดยไดใช<br />

แนวความคิดในเรื่องของบริการสาธารณะ (Public services) การที่จะนําขอมูลไปใชประโยชนไดอยางทั่วถึงกัน<br />

ในสวนของวิธีดําเนินการศึกษา โดยในสวนแรกนั้นจะเปนการศึกษาถึงขอมูลที่จําเปนตองใชในการ<br />

จัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยเมือง โดยไดแยกประเด็นที่มีความจําและมีความสําคัญ คือ ดานอุปสงค และ<br />

ดานอุปทาน ซึ่งทั้งสองสวนก็จะประกอบไปดวย ขอมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งเปนขอมูลที่มี<br />

ความจําเปนในการจัดทําฐานขอมูลเปนอยางมาก<br />

ในสวนตอมาผูศึกษาไดทบทวนวรรณกรรมในเรื่องของการดําเนินบทบาททางดานที ่อยูอาศัยของ<br />

ทองถิ่นในประเทศและตางประเทศเพื่อนํามาใชสรางกรอบในการวิเคราะหเพื่อหาขอเสนอแนะแนวทางการ<br />

พัฒนาฐานขอมูลดานที่อยูอาศัยในบทบาทของทองถิ่น รวมกับการสัมภาษณ “ผูใหขอมูลสําคัญ” เพื่อนําไปสู<br />

ขอเสนอแนะในการพัฒนาฐานขอมูลดานที่อยูอาศัยของทองถิ่นตอไป<br />

ผลการศึกษา<br />

การศึกษาวิเคราะหขอมูลจากตางประเทศ สถานการณที่อยูอาศัยในออสเตรเลีย<br />

บทบาทของรัฐบาลทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัย<br />

รัฐบาลสวนทองถิ่นในประเทศออสเตรเลียมีบทบาทในเรื่องที่อยูอาศัยเปนอยางมากในการพัฒนาที่อยู<br />

อาศัย โดยจะตองมีการวางแผนจะตองจัดทําแผนยุทธศาสตรที่อยูอาศัย การควบคุมอุปทาน รูปแบบการกอสราง<br />

การวางแผนดานสาธารณูปโภค การกําหนดนโยบายดานราคา และการจัดใหมีสาธารณูปโภค สาธารณูปการใน<br />

ชุมชน และมีบทบาทในการเปนผูบริหารจัดการในเรื่องที่อยูอาศัย กิจกรรมตาง ๆ ที่รัฐบาลสวนทองถิ่นดําเนินการที่<br />

กลาวมาแลวนั้นจะมีการบูรณาการรวมกันเฉพาะการวางผังเมืองและการจัดการดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ<br />

กิจกรรม ภารกิจตาง ๆ ของทองถิ่นลวนสงผลในทางที่ดีตอเรื่องที่อยูอาศัยสามารถสรุปได ดังนี ้คือ<br />

ขอมูลที่ใชในการวางแผนที่อยูอาศัยของประเทศออสเตรเลีย (รัฐนิวเซาทเวลส)<br />

รหัส ตารางฐานขอมูล แหลงขอมูล<br />

การปรับปรุง<br />

ขอมูลใหทันสมัย<br />

Demography(D) ขอมูลดานประชากร<br />

ประชากร แนวโนมประชากร กรรมการวางแผน มี<br />

Economic (E)<br />

อายุประเทศ สํานกงานสถิติแหงชาติ ไมมี<br />

ประเภทของครัวเรือนและครอบครัว สํานักงานสถิติแหงชาติ ไมมี<br />

ขนาดคาเฉลี่ยของครัวเรือน สํานักงานสถิติแหงชาติ ไมมี<br />

ขอมูลดานเศรษฐกิจ<br />

รายไดและแนวโนมของอาชีพ สํานักงานสถิติแหงชาติ ไมมี<br />

โครงสรางอุตสาหกรรม กรมแรงงาน ไมมี<br />

การวางงานและอัตราผูอยูในวัยทํางาน สํานักงานสถิติแหงชาติ มี


358<br />

Supply (S)<br />

รหัส ตารางฐานขอมูล แหลงขอมูล<br />

อุปทาน<br />

การปรับปรุง<br />

ขอมูลใหทันสมัย<br />

Market (M) ตลาดที่อยูอาศัย<br />

ลักษณะของที่อยูอาศัย (ประเภทบาน) ไมมี<br />

ลักษณะการครอบครองที่อยูอาศัย(ทั้งบานเชาราคา<br />

ถูก)<br />

จํานวนรวมและพันธบัตรที่ออกใหมสําหรับที่อยูอาศัย กรมที่อยูอาศัย มี (สํารวจและวิจัย)<br />

ที่อยูอาศัยที่กอสรางโดยภาครัฐ สํานักงานสถิติแหงชาติ มี<br />

การเปลี่ยนแปลงคาเชาและราคาบาน กรมที่อยูอาศัย มี (สํารวจและวิจัย)<br />

จํานวนครัวเรือนผูมีรายไดนอยที่มีปญหาดานที่อยู<br />

อาศัย<br />

ไมมี<br />

กรมที่อยูอาศัย มี<br />

สัดสวนของผูเชาและซื้อที่อยูอาศัยที่สามารถจายได สํานักงานสถิติแหงชาติ มี<br />

ขอมูลมัธยฐานคาเชา และมัธยฐานราคาบาน กรมที่อยูอาศัย มี (สํารวจและวิจัย)<br />

ประเทศฟลิปปนส<br />

อํานาจหนาที่ของรัฐบาลทองถิ่นในการจัดหาที่อยูอาศัยของประเทศฟลิปปนส<br />

ในประเทศฟลิปปนสรัฐบาลสวนทองถิ่นมีบทบาทในเรื่องที่อยูอาศัยโดยอาศัยอํานาจหนาที่ตาม<br />

รัฐธรรมนูญRepubilic Act No. 7160 และ พรบ. การพัฒนาเมือง และที่อยูอาศัยป 1992 Repubilic Act No.<br />

7279 ซึ่งไดกําหนดอํานาจหนาที่รัฐบาลสวนทองถิ่นในการจัดหาที่อยูอาศัยเพื่อตอบสนองความตองการของผูไร<br />

บานในทองถิ่นนั้น ๆ ซึ่ง พรบ. ดังกลาวทําใหทองถิ่นสามารถมีอํานาจหนาที่ ที่จะดําเนินการในเรื่องที่อยูอาศัย<br />

รวมทั้งการจัดทําแผนงาน อํานาจหนาทาของหนวยงานทองถิ่นตาม พรบ. Repubilic Act No. 7160 และ พรบ.<br />

การพัฒนาเมือง และที่อยูอาศัย 7279<br />

องคการพัฒนาที่อยูอาศัยในระดับทองถิ่น<br />

หนวยงานทองถิ่นในประเทศฟลิปปนสสามารถที่จัดตั้งคณะกรรมการที่อยูอาศัยในระดับทองถิ่นเพื่อทํา<br />

หนาที่ในการกําหนดนโยบาย พัฒนาและดําเนินการจัดทําแผนที่อยูอาศัยที่ผสมผสานกับผังเมืองรวมและการ<br />

พัฒนาที่ดินการจัดตั้งคณะกรรมการที่อยูอาศัยในระดับทองถิ่น คณะกรรมการประกอบดวย นายกเทศมนตรี ซึ่ง<br />

ทําหนาที่เปนประธาน รองนายกรัฐมนตรีทําหนาที่เปนรองประธาน มีวิศวกร และผูแทนจากทองถิ่น ผูประเมิน<br />

และเจาหนาที่จากกรมธนารักษ


359<br />

ขอมูลที่ตองการเพื่อใชในการวางแผนที่อยูอาศัย<br />

ขอมูลที่ตองการ ขอมูลเฉพาะดานที่ตองการ หนวยงานหรือองคกรที่รับผิดชอบ<br />

ความตองการที่อยูอาศัย<br />

(Housing Needs)<br />

ความตองการที่อยูอาศัยใหม<br />

(New housing needs)<br />

ความตองการที่จะยายที่อยูอาศัย<br />

ใหม<br />

(Relocation Needs)<br />

จํานวนประชากรการเติบโตของประชากร หนวยงานทองถิ่นสํานักงานสถิติแหงชาติ<br />

สํานักงานสัมโนประชากร<br />

ขนาดของครัวเรือน หนวยงานทองถิ่นสํานักงานสถิติแหงชาติ<br />

สํานักงานสัมโนประชากร<br />

จํานวนครัวเรือน หนวยงานทองถิ่นสํานักงานสถิติแหงชาติ<br />

สํานักงานสัมโนประชากร<br />

จํานวนที่อยูอาศัย หนวยงานทองถิ่นสํานักงานสถิติแหงชาติ<br />

สํานักงานสัมโนประชากร<br />

ครัวเรือนในพื้นที่อันตรายหรือมีภัยพิบัติ การสํารวจ โดยเทศบาลทองถิ่น<br />

ทองถิ่น และกรมประชาสงเคราะห<br />

ประชากรผูไรที่อยูอาศัย การสํารวจ โดยหนวยงานทองถิ่นและกรม<br />

ประชาสงเคราะห<br />

ครัวเรือนที่ประสบปญหาเนื่องจากมีการ<br />

กอสรางดานสาธารณูปโภคประชากรผูบุกรุก<br />

กรมโยธาธิการ สํานักการโยธาของเทศบาล<br />

กรมประชาสงเคราะห การเคหะแหงชาติ<br />

องคกรเอกชน หนวยงานทองถิ่น<br />

ความตองการที่ดิน การใชประโยชนที่ดิน และราคา Assessors Office<br />

ประเภทการใชประโยชนที่ดินและการประเมิน หนวยงานทองถิ่นขอมูลการจดทะเบียนที่ดิน<br />

ราคา<br />

เจาของที่ดิน Register <strong>of</strong> Deeds, LMB<br />

Financial<br />

Requirements<br />

การจัดหาสาธารณูปโภคและ<br />

สาธารณูปการ<br />

Available Developmental, Buyers Finance<br />

การจัดการประมาณขีดความสามารถในการ<br />

รองรับ น้ํา ไฟฟา การบําบัดน้ําเสีย ถนน การา<br />

จัดเก็บขยะ<br />

มาตรฐานที่อยูอาศัยและกฎระเบียบ มาตรฐาน<br />

การออกแบบขั้นต่ํา<br />

HUDCC, SSS, HDMF, GSIS, DB,<br />

LandBank, NHMFC,Private Banks<br />

LGUs Engineering Office,<br />

Public utility companies, DPWH<br />

หนวยงานทองถิ่น


360<br />

การศึกษาวิเคราะหขอมูลจากจากในประเทศ<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศ GIS กับการบริหารราชการจังหวัดสุพรรณบุรี (กรณีศึกษา)<br />

จังหวัดสุพรรณบุรีไดเล็งเห็นความสําคัญและประโยชนของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจึงไดไดนํา<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศเขามามาใชในการบริหารราชการในเรื่องตาง ๆใหมีความทันสมัยมากขึ้นโดยเฉพาะการนํา<br />

ระบบภูมิสารสนเทศ (GIS : Geographic Information System) มีการตั้งทีมทํางานพัฒนาระบบเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศภายในสํานักงานองคการบริหารสวนจังหวัดสุพรรณบุรี<br />

ระบบภูมิสารสนเทศ GIS เปนระบบที่เชื่อมความสัมพันธระหวาง ขอมูลกายภาพทางภูมิศาสตร(ขอมูล<br />

เชิงพื้นที่) ไดแก แผนที่ภาพถายดาวเทียม แผนที่ฐาน และแผนที่ภาพถายทางอากาศ ฯลฯ และขอมูล<br />

คุณลักษณะ(ขอมูลเชิงบรรยาย/ตาราง) ไดแก ขอมูลรายละเอียดของบาน ฯลฯ เพื่อการจัดเก็บ จัดการ วิเคราะห<br />

เกี่ยวกับพื้นที่นั้นๆ ที่สามารถอางอิงตําแหนงจริงบนพื้นผิวโลก(พิกัดทางภูมิศาสตร) โดยไดนําใชตั้งแตป 2547<br />

เปนตนมาโดยมีวิธีการและขั้นตอนตางๆดังตอไปนี้คือ<br />

ตารางที่ เปรียบเทียบขอมูลที่ใชในการประมาณการความตองการที่อยูอาศัย โครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยู<br />

อาศัยระดับเมืองและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด<br />

ขอมูล<br />

กระบี<br />

นครศีธรรมาราช<br />

ระยอง<br />

สุราษฎรธานี<br />

ลําพูน<br />

เชียงใหม<br />

ลําปาง<br />

แพร<br />

นาน<br />

พะเยา<br />

มุกดาหาร<br />

อยุธยา<br />

อางทอง<br />

ฉะเชิงเทรา<br />

ปราจีนบุรี<br />

สมุทรสาคร<br />

สมุทรสงคราม<br />

จํานวนขอมูลประชากรผูอยูอาศัยในพื้นที่ • • • • • • • • • • • •<br />

จํานวนขอมูลประชากรที่ทํางานในพื้นที่ • • • • •<br />

ลักษณะของครอบครัว • • • • •<br />

จํานวนผูอยูอาศัยในครัวเรือน • • • • • • •<br />

จํานวนผูที่ทํางานในครัวเรือน • • • •<br />

รูปแบบที่อยูอาศัยในปจจุบัน • • • • • •<br />

การจําแนกอาชีพของประชากร<br />

• • • •<br />

กาจําแนกกรรมสิทธิ์ • • • •<br />

การจําแนกรายได • • • • • • • • • •<br />

การจําแนกรายจายภาระการเชา/ซื้อคาที่อยูอาศัย • • • • • • •<br />

ปญหาที่อยูอาศัยในปจจุบัน • • • • • • • • •<br />

การคาดการที่อยูอาศัยในอนาคต • • • • • • • • • • • •


361<br />

ขอมูล<br />

กระบี<br />

นครศีธรรมาราช<br />

ระยอง<br />

สุราษฎรธานี<br />

ลําพูน<br />

เชียงใหม<br />

ลําปาง<br />

แพร<br />

นาน<br />

พะเยา<br />

มุกดาหาร<br />

อยุธยา<br />

อางทอง<br />

ฉะเชิงเทรา<br />

ปราจีนบุรี<br />

สมุทรสาคร<br />

สมุทรสงคราม<br />

เหตุผลที่ทําใหเกิดความตองการ • • • • • • • •<br />

ระยะเวลาที่คาดวาจะจัดซื้อที่อยูอาศัย • • • • • • • • •<br />

รูปแบบที่อยูอาศัยที่ตองการ • • • • • • • • • • •<br />

ลักษณะการครอบครองกรรมสิทธิ์ • • • •<br />

ขนาดแปลงที่ดินที่ตองการ • • • • •<br />

ปจจัยที่มีผลตอการเลือกที่อยูอาศัย • • • •<br />

ทําเลที่ตองการซื้อ/เชาที่อยูอาศัย • • • • •<br />

การขยายตัวของประชากร • • • • • • • • •<br />

การขาดแคลนที่อยูอาศัย • • • • •<br />

การเติบโตของอุตสาหกรรม • • •<br />

ความสามารถในการจาย • • • • •<br />

Housing Stock<br />

• •<br />

ภาพรวมการขยายตัวของเมือง • • • • •<br />

ผลจากการศึกษาขอมูลที่เปนแนวทางในการศึกษาเพื่อเปนขอมูลสําหรับการตั้งตนแบบฐานขอมูล<br />

ศึกษาเอกสารการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและปองกันชุมชนแออัดของทางการเคหะแหงชาติที่ไดสามารถ<br />

แยกออกเปน ดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม “ผลศึกษาจากตางประเทศ” ฐานขอมูลเกี่ยวกับที่อยูอาศัยของ<br />

ตางประเทศการทบทวนวรรณกรรมในเรื่องการจัดทําฐานขอมูลดานที่อยูอาศัยของ ออสเตรเลียและฟลิปนส ทํา<br />

ใหพบวาในประเทศที่มีระบบการจัดการทางดานที่อยูอาศัยที่กาวหนานั้นการจัดการดานที่อยูอาศัย หรือ<br />

ฐานขอมูลอะไรก็แลวแต มีการจัดเก็บที ่เปนระบบระเบียบและมีการจัดเก็บที่ตอเนื่องของขอมูลจึงเปนผลให<br />

ขอมูลมีความทันสมัยและมีความถูกตองพรอมใชงานรวมถึงไดมีการจักทําเปนคูมือใหสําหรับหนวยงาน และ<br />

เจาหนาที่ที่ดูแลในดานที่อยูอาศัยไวใชงานและในประเทศไทยหลายๆที่ก็ไดเริ่มการนําระบบสารสนเทศเขามาใช<br />

งานในดานที่อยูอาศัยมากขึ้นซึ่งจังกวัดสุพรรณบุรีก็เปนจังหวัดหนึ่งที่ไดมีการนําระบบสารสนเทศมาใชงานใน<br />

หลายๆดานและในดานที่อยูอาศัยก็ยังไมมีความสมบรูณเต็มที่แตก็ถือไดวาเปนการนําระบบสารสนเทศเขามามี<br />

สวนตัดสินใจในการทํางานไดดีในระดับหนึ่ง


โดยสรุปผลจากการศึกษา ในปจจุบันการจัดการดานขอมูลที่อยูอาศัยของ เทศบาลนครสมุทรสาคร<br />

หนวยงานแตละหนวยงานทําการจัดเก็บออกเปนของแตละหนวยงานแยกเก็บกันโดยขอมูลของแตละสวนงาน<br />

ไมไดมีการวางแผนใหเปนระบบเดียวกัน การจัดเก็บทั้งในรูปแบบของขอมูลที่เปนกระดาษ และบางสวนงานมี<br />

การเก็บขอมูลที่มีความซัมซอน ซึ่งถาในการเก็บขอมูลมีการบริหารที่ดีมีการวางระบบที่ดีแลวนั้นการที่จะนํา<br />

ขอมูลที่ใชงานก็จะมีประโยชนมากยิ่งขึ้นกวาในปจจุบันที่ตางหนวยงานตางทําการจัดเก็บของตนเอง เมื่อขอมูลมี<br />

การทันสมัยและถูกตองการตัดสินใจหรือการพิจารณาก็งบประมาณจะมีความรวดเร็วยิ่งขึ้นตามไปดวยและ<br />

ปญหาที่มีความสําคัญอีกประการหนึ่งคือขอมูลที่มีอยู อยูในหลายๆหนวยงานและหลายผูรับผิดชอบ<br />

362


363<br />

แนวทางการพัฒนาพื้นที่วางสาธารณะบริเวณเขตทางรถไฟเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ<br />

สถานีพญาไทถึงสถานีราชปรารภ<br />

แพร ลาดสุวรรณ<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบชุมชนเมือง<br />

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.พนิต ภูจินดา<br />

1. แนวความคิดเกี่ยวกับพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร (Node)<br />

1.1. องคประกอบของพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร<br />

APA (2006: 279) กลาววา สถานีโดยสาร หรือพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรของการขนสงมวลชนระบบ<br />

ราง ควรมีการออกแบบที่ทําใหการขนสงระบบรางมีความสะดวกสบาย และเหมาะสมกับเปนทางเลือกในหนึ่งการ<br />

เดินทางจากการเดินทางโดยรถยนตสวนบุคคล ซึ่งความเหมาะสมขององคประกอบในการออกแบบสถานีโดยสาร<br />

ขึ้นอยูกับประเภท และความถี่ในการใหบริการ จํานวนผูโดยสาร และสภาพภูมิอากาศของพื้นที่ อยางไรก็ตาม<br />

องคประกอบพื้นฐานของพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร ประกอบดวย โครงสราง และชานชาลาของสถานีโดยสาร<br />

โครงขายเสนทางเดินเทา ที่จอดรถ และพื้นที่สําหรับจอดแลวจร (Park and ride) รวมถึงบริการตางๆ ที่มารองรับ<br />

พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร เชน สถานีรถโดยสารประจําทาง เปนตน<br />

Simpson (1994: 101) กลาววา หนาที่ของสถานีโดยสาร หรือพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรของการ<br />

ขนสงมวลชนประเภทราง ประกอบดวย<br />

1) เปนจุดพักรอในการเดินทาง (Waiting area)<br />

2) เปนพื้นที่บริการในการเปลี่ยนถายการสัญจรของระบบขนสงมวลชนประเภทตางๆ<br />

3) เปนพื้นที่ขายตั๋วโดยสาร และพื้นที่สําหรับโฆษณาประชาสัมพันธของบริการทางดานตางๆ ของ<br />

ระบบขนสงมวลชน<br />

4) เปนพื้นที่รองรับสําหรับการเปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง เชน ที่จอดรถ และสถานีรถโดยสารประจํา<br />

ทาง เปนตน<br />

5) เปนพื้นที่สําหรับการใชประโยชนที่ดินที่มีความหนาแนนสูง เนื่องจากสถานีโดยสาร หรือพื้นที่จุด<br />

เปลี่ยนถายการสัญจรเปนพื้นที่ที่มีความสะดวกในการเขาถึงมาก ทําใหมีผูคนเดินทางเขาออก<br />

พื้นที่อยางรวดเร็ว ซึ่งเหมาะสมกับการเปนที่ตั้งของศูนยการคา สํานักงาน หรือการใชพื้นที่การคาที่<br />

มีมูลคาสูง เปนตน


364<br />

นอกจากนี้ นเรศ ทองงามขํา (2549: 36) กลาววา เงื่อนไขทางกายภาพของพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร<br />

ที่ดีตองมีองคประกอบที่สําคัญ ดังนี้<br />

1) พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดีตองประกอบดวย รูปแบบของการเดินทางที่หลากหลาย<br />

2) พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดีตองมีโครงขายการสัญจรที่ครอบคลุมจุดหมายปลายทางอยาง<br />

หลากหลาย<br />

3) พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดีตองอยูในตําแหนงที่เปนจุดสังเกต หรือมองเห็นไดงายจากหลาย<br />

ทิศทาง มีปายสัญลักษณที่แสดงใหเห็นอยางชัดเจน<br />

4) พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดีตองมีพื้นที่เพียงพอสําหรับรองรับเสนทางการสัญจร และพื้นที่<br />

สําหรับการเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางอยางมีประสิทธิภาพ โดยใหเกิดการเดินทางในทุกประเภทมี<br />

ความสะดวก และเชื่อมตอรูปแบบการเดินทางไดทุกประเภท รวมทั้งใหมีความปลอดภัยในการ<br />

เดินทาง<br />

5) พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดีตองมีพื้นที่สําหรับสิ่งอํานวยความสะดวกสาธารณะ<br />

1.2. ผลกระทบของพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรตอพื้นที่เมือง<br />

Emerson (อางถึงใน อมรรัตน สันตวิริยะพันธุ, 2548: 22) กลาววา การกอสรางเสนทางขนสงมวลชน<br />

ระบบรางไดสงผลกระทบตอการใชที่ดินในพื้นที่โดยรอบสถานี หรือพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร (Impacts on<br />

Development around Station Areas) เนื่องจากเปนพื้นที่มีความสามารถในการเขาถึงไดดีที่สุด ทั้งการเดินเทา<br />

รถยนต และการขนสงมวลชนระบบราง<br />

ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรมีทั้งที่เปนผลกระทบทางดานบวก และลบ<br />

ซึ่ง Simpson (1994: 38-45) กลาวไววา การพัฒนาระบบขนสงมวลชนประเภทรางในพื้นที่เมือง (Urban Rail) และ<br />

สถานีโดยสาร หรือพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร ทําใหเกิดผลกระทบทางดานบวกตอพื้นที่ ดังนี้<br />

1) ความสามารถในการเขาถึงพื้นที่มากขึ้น สงผลใหเปนการเปดโอกาสใหผูคนตางเขามาใชพื้นที่ เกิด<br />

ความหนาแนนมากขึ้น รวมทั้งยังสงผลใหรูปแบบ และโครงสราง (Urban grained) รวมถึงมวล<br />

อาคาร และพื้นที่วางของเมืองแตละเมืองมีลักษณะแตกตางกันออกไป<br />

2) กระตุนใหเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งในพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร<br />

3) เพิ่มทางเลือกในการใชชีวิตของประชาชนมากขึ้น เมื่อความเร็วในการเดินทางเพิ่มขึ้น มีการเชื่อมตอ<br />

ในพื้นที่อื่นๆ ของเมืองมากขึ้น<br />

4) เกิดการปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมของเมือง ทั้งจากโครงสรางของพื้นที่จุดเปลี่ยน<br />

ถายการสัญจร แนวเสนทาง และระบบขนสงตางๆ ที่เขามารองรับ เชน ทางเดินเทา และทาง<br />

จักรยาน เปนตน<br />

5) เพิ่มรูปแบบการเดินทางใหมีความหลากหลาย สงผลใหชวยลดปริมาณการจราจรบนถนน ซึ่งพื้นที่<br />

จุดเปลี่ยนถายการสัญจรเปนตัวการสําคัญที่ทําใหเกิดการหลีกเลี่ยงการใชถนน เนื่องจากเปนการ<br />

เพิ่มรูปแบบการเดินทางใหกับประชาชน


1.3. การพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดี (A good node)<br />

จากที่ไดกลาวในขางตน จะเห็นไดวาพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรของการขนสงมวลชนประเภทรางนั้น<br />

ไดกอใหเกิดผลกระทบทั้งทางดานบวก และในแงลบตอพื้นที่ชุมชนเมือง จึงทําใหเกิดแนวคิดในการพัฒนาใหพื้นที่<br />

จุดเปลี่ยนถายการสัญจรเปนพื้นที่ที่ดี และยังเปนพื้นที่ที่กอใหเกิดความเปนสถานที่ดีใหกับเมือง โดยอาศัยการ<br />

ผสมผสานในการเปนพื้นที่สําหรับกิจกรรมในการเปลี่ยนถายรูปแบบการสัญจรที่หลากหลายใหมีความสะดวกสบาย<br />

และรวดเร็วตอในการเดินทาง รวมทั้งออกแบบ และปรับปรุงใหเกิดกิจกรรมภายในพื้นที่ ไมวาจะเปนกิจกรรม<br />

การคา และธุรกิจ หรือกิจกรรมการพักอาศัยบริเวณโดยรอบ สงผลใหพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรกลายเปนพื้นที่<br />

ศูนยรวมกิจกรรมที่สามารถดึงดูดผูคนใหเดินทางเขามาใชพื้นที่ไดโดยอาศัยการผสมผสานระหวางพื้นที่สาธารณะ<br />

การใชที่ดิน และระบบโครงขายการคมนาคมขนสงที่มีประสิทธิภาพ (JICA, 2005)<br />

1.3.1. Transit-Oriented Development (TOD)<br />

แนวคิด Transit-Oriented Development (TOD) (FAIA, 2006: 3-7) เปนแนวคิดในการสราง<br />

รูปแบบการใชที่ดินที่มีความสอดคลองกับระบบการขนสง การพัฒนาจุดเปลี่ยนถายการสัญจรหลักของ<br />

พื้นที่ใหมีการเชื่อมตอกับจุดเปลี่ยนถายยอยของพื้นที่ อาศัยการควบคุมความหนาแนนของที่อยูอาศัย<br />

พื้นที่พาณิชยกรรม และรานคาตางๆ ใหมีความเหมาะสมตอขนาดของพื้นที่ โดยมีการวางแผนไมให<br />

กระจายตัว และใหอยูในแนวเสนทางของระบบการคมนาคมสายหลัก โดยเฉพาะพื้นที่โดยรอบของสถานี<br />

โดยสาร หรือจุดเปลี่ยนถายการสัญจร และอาศัยถนน และทางเดินเทาเปนเสนทางเชื่อมตอ องคประกอบ<br />

การออกแบบพื้นฐานตาม Transit-Oriented Development (TOD) ประกอบดวย รูปแบบการขนสง<br />

ภายในพื้นที่จุดรับและสงผูโดยสาร ควบคุมลักษณะความหนาแนนของที่อยูอาศัยใหมีความเหมาะสม<br />

และทางคนเดินเทาที่เปนมิตรกับสภาพแวดลอม เชน ทางเดินเทา ทางจักรยาน รถราง หรือรถโดยสาร<br />

ประจําทาง เปนตน รวมทั้งมีการควบคุม และลดการใชพื้นที่จอดรถโดยรอบพื้นที่ที่เปนจุดเปลี่ยนถายการ<br />

สัญจร หรือโดยรอบพื้นที่ในระยะ 400–800 เมตร นอกจากนี้บริเวณที่เปนพื้นที่ศูนยรวมกิจกรรม ซึ่งพื้นที่ที่<br />

เหมาะสมกับการพัฒนาพื้นที่แบบ Transit Oriented Development (TOD) ไดแก<br />

1) พื้นที่สําหรับการบูรณะฟนฟู และการเพิ่มการใชประโยชนเขาไปในพื้นที่<br />

2) พื้นที่ที่เกิดการพัฒนาขึ้นมาใหม ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพมากสําหรับการพัฒนาเปนพื้นที่ที่<br />

อยูบริเวณขอบของพื้นที่ชุมชนเดิม หรือพื้นที่ที่มีกิจกรรมอยูอยางหนาแนน การวาง<br />

แผนพัฒนาในดังกลาวควรดําเนินการควบคูกับการขยายตัวของระบบโครงขายการขนสง<br />

บริเวณโดยรอบพื้นที่ดวย<br />

365


366<br />

ภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธของ TOD กับ ผูดําเนินการ<br />

1.3.2. Station Plaza<br />

Station Plaza คือ แนวคิดในการออกแบบพื้นที่บริเวณสถานีโดยสารใหมีบริการ และสิ่ง<br />

อํานวยความสะดวกสําคัญสําหรับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเดินทาง เพื่อใหเกิดการเชื่อมตอระหวาง<br />

รูปแบบการเดินทาง และบริการที่หลากหลาย รวมทั้งเปนการสรางใหเกิดเอกลักษณที่สําคัญใหกับพื้นที่<br />

จุดเปลี่ยนถายการสัญจร ไมวาจะเปนเอกลักษณทางดานการจราจร พื้นที่พักผอนหยอนใจ พื้นที่การคา<br />

และธุรกิจ หรือพื้นที่สําหรับการจัดกิจกรรมบันเทิง และงานเทศกาลตางๆ เปนตน หนาที่ของ Station<br />

Plaza ประกอบดวย พื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจร (Intermodal Transfer Function) โดยเปนหนาที่พื้นฐาน<br />

ของ Station Plaza ในการสงเสริมใหเกิดระบบขนสงมวลชนที่มีประสิทธิภาพ และพื้นที่สําหรับกิจกรรม<br />

สาธารณะ (Plaza Amenity Function) ซึ่งเปนหนาที่ที่ชวยเสริมใหผูใช หรือผูโดยสารมีความสะดวกสบาย<br />

ในการใชระบบขนสงประเภทตางๆ โดยหนาที่ในการเปนพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจร (Intermodal Transfer<br />

Function) นั้นประกอบดวย บริการขั้นพื้นฐานของระบบขนสง และบริการเสริมสําหรับระบบการจอด<br />

แลวจร เพื่อรองรับกับระบบขนสงประเภทอื่นๆ ซึ่งทั้ง 2 องคประกอบไมจําเปนตองมีในทุกสถานีโดยสาร<br />

หรือพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรขึ้นอยูกับจํานวนผูโดยสาร และลักษณะของสถานีโดยสารตามสภาพ<br />

การใชพื้นที่ทั้งในปจจุบัน และอนาคต รวมถึงระบบโครงขายการสัญจรของพื้นที่ในปจจุบัน โดยพื้นที่<br />

สําหรับเปลี่ยนถายการสัญจร (Intermodal Transfer) ควรมีขนาดของพื้นที่ที่เหมาะสมกับการใหบริการ<br />

ระบบขนสงประเภทตางๆ และใหมีการเปลี่ยนแปลงการใชสอยในชวงเวลาที่แตกตางกัน (Multi-purpose<br />

space) จากองคประกอบดังกลาวสามารถแบงออกหนาที่ของพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรไดเปน<br />

2 ลักษณะ คือ<br />

1) ระบบความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพในการเดินทาง เนื่องจาก Station Plaza จะดึงดูด<br />

ปริมาณการจราจรจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงเวลาเรงดวน จึงควรมีการจัดการ<br />

การใชพื้นที่ Station Plaza อยางมีประสิทธิภาพ


367<br />

2) บริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ประกอบดวย สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับ<br />

รถยนตสวนบุคคล (พื้นที่สําหรับจอดแลวจร) และระบบการขนสงของเอกชน (รถบริการ<br />

สาธารณะสําหรับพนักงาน หรือนักทองเที่ยว) รวมถึงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับ<br />

ทางเดินเทา และทางจักรยาน เชน ที่จอดรถจักรยาน ความกวางของทางเดินเทา และสิ่ง<br />

อํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการ เปนตน เนื่องจากทางเดินเทา และทางจักรยานเปน<br />

รูปแบบการเดินทางที่สําคัญในพื้นที่การเปลี่ยนถายการสัญจร สามารถพัฒนาใหเสนทาง<br />

เดินเทา และทางจักรยานเปนเสนทางเชื่อมตอระหวางสถานีโดยสารกับพื้นที่ชุมชน หรือกับ<br />

รูปแบบการขนสงประเภทอื่นๆ<br />

บทบาทที่สําคัญในการเปนสัญลักษณในการเดินทางเขาสูพื้นที่ (Gateway) สะทอนถึง<br />

คุณลักษณะ และสภาพแวดลอมทางกายภาพของพื้นที่ชุมชนนั้นไดเปนอยางดีอีกดวย ซึ ่งองคประกอบ<br />

ของพื้นที่สําหรับกิจกรรมสาธารณะ ประกอบดวย<br />

1) พื้นที่สําหรับพัก และรอ (Rest and Waiting)<br />

2) พื้นที่บริการสาธารณะ และพื้นที่การคา (Public and Commercial Services) เนื่องจาก<br />

Station Plaza เปนพื้นที่โลงวางสาธารณะอีกแหงหนึ่งของเมือง โดยบทบาทที่สําคัญ คือ<br />

การใหบริการสิ่งอํานวยความสะดวกสาธารณะตางๆ ดังนั้น บริการสาธารณะ<br />

ภาพที่ 2 หนาที่ของ Station Plaza (ที่มา: JICA, 2005: 12)


2. แนวความคิดเกี่ยวกับความเปนสถานที่ (Place)<br />

ความเปนสถานที่ของเมือง (Place) คือ การใหความสําคัญกับพื้นที่เมือง และการสรางความเขาใจใน<br />

ลักษณะทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของผูคนภายในเมืองที่ถายทอดออกมาเปนเอกลักษณ หรือคุณคาของพื้นที่<br />

เมืองนั้น ประกอบดวย 2 องคประกอบหลัก คือ องคประกอบทางกายภาพ (Permanencies) และคุณคาทาง<br />

จิตใจ หรือจิตวิญญาณของสถานที่ (Spiritual value) ซึ่งเปนองคประกอบที่มองไมเห็นดวยตา แตเกิดจากวิถีชีวิต<br />

ของผูคนเกิดเปนเรื่องราว และความหมายจากการอยูอาศัยกันมาอยางตอเนื่องจนเปนความทรงจํารวมกัน ทําให<br />

เกิดเอกลักษณของพื้นที่ และเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป (Rossi, 1999)<br />

นอกจากนี้ เมืองทุกเมืองประกอบดวยสวนตางๆ หลายสวน แตละสวนเรียกวา “ยาน” ซึ่งสามารถ<br />

พิจารณาความแตกตางของแตละยานไดจากลักษณะเดน การขยายตัว และรูปแบบของยาน แตในความเปนจริง<br />

การพบยานที่มีลักษณะเฉพาะที่แยกประเภทไดอยางชัดเจนนั้นมีโอกาสเปนไปไดยาก เนื่องจากความ<br />

สลับซับซอนของเมือง และการผสมผสานกิจกรรมหลายๆ ชนิดไวดวยกัน ซึ่งกิจกรรมนั้นไดแสดงออกถึงความ<br />

เปนกิจกรรมหลักของพื้นที่ที่ทําใหเกิดลักษณะเฉพาะของยานแตละยาน ดังนั้น เพื่อใหสามารถจําแนกลักษณะ<br />

ความแตกตางของยานภายในเมือง จําเปนตองพิจารณาเพิ่มเติมถึงองคประกอบทางสถาปตยกรรม หรือ<br />

ลักษณะทางกายภาพที่ปรากฏของยาน เชน รูปทรงของอาคาร ความหนาแนนของอาคาร วัสดุที่ใช รวมทั้งการ<br />

ผสมผสานระหวางลักษณะของอาคารที่ตางประเภทกัน เปนตน รวมทั้งสภาพภูมิทัศนที่ทําใหเกิดความตอเนื่อง<br />

ของยาน (วรรณศิลป พีรพันธุ, 2538: 16-18)<br />

คุณคาของวิถีชีวิต ความเปนยาน สภาพแวดลอมโดยรอบสถานที่สําคัญ และประเพณี ซึ่งความเปน<br />

สถานที่ไมจําเปนตองใหความสําคัญเพียงเฉพาะกลุมอาคารเทานั้น แตวิถีชีวิต หรือกิจกรรมเปนสวนหนึ่งที่<br />

แสดงออกถึงความเปนสถานที่ของพื้นที่นั้นๆ ดวย โดยองคประกอบในความเปนสถานที่ของพื้นที่นั้น<br />

ประกอบดวย<br />

1) ลักษณะเฉพาะทางกายภาพของพื้นที่ คือ โครงสรางทางกายภาพที่แทจริงของสถานที่ ลักษณะ<br />

จริงของอาคาร ภูมิทัศน และคุณลักษณะของสุนทรียภาพ<br />

2) กิจกรรม และปรากฏการณใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่ซึ่งสังเกตไดวาผูคนมีปฏิสัมพันธตอพื้นที่<br />

อยางไร<br />

3) การสื่อความหมาย หรือสัญลักษณ หมายถึง นัยสําคัญของพื้นที่ มักเปนคุณคาเชิงนามธรรม<br />

ไดแก ความเปนเอกลักษณ และความทรงจําอันเกิดจากความสัมพันธที่เกิดขึ้นระหวางผูคนกับ<br />

พื้นที่<br />

ดังนั้น องคประกอบในความเปนสถานที่ของพื้นที่เมือง หรือยานจึงประกอบดวย ลักษณะทางกายภาพ<br />

(Physical Reality) กิจกรรม (Activity) และการสื่อความหมาย (Meaning) โดยในแตละองคประกอบมี<br />

รายละเอียด ดังนี้<br />

368


369<br />

2.1. ลักษณะทางกายภาพของเมือง (Physical Reality)<br />

ความสําคัญตอลักษณะทางกายภาพของเมืองนั้น ไดเนนใหเกิดความเปนสถานที่จากจินตภาพของ<br />

องคประกอบทางกายภาพที่ชัดเจน โดยเฉพาะอาคาร หรือสิ่งกอสรางที่มีมาแตอดีต และเปนที่จดจําไดจนเปน<br />

สัญลักษณ และชื่อเสียงของพื้นที่ ทฤษฎีที่ไดรับการยอมรับมากที่สุดทฤษฎีหนึ่งเกี่ยวกับองคประกอบทาง<br />

กายภาพที่ทําให “พื้นที่” หนึ่งเกิดจินตภาพที่เดนชัด และถูกจดจําเปน “สถานที่” คือ ทฤษฎีจินตภาพของเมือง<br />

(The Image <strong>of</strong> The City) โดย Kevin Lynch (Lynch, 1960: 47-90) ซึ่งกลาวไววา องคประกอบที่เปนสิ่ง<br />

กําหนดจินตภาพหรือภาพลักษณ จะมีความแตกตางกันไปตามลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม รวมถึง<br />

ผูคน และกิจกรรมตางๆที่เกิดขึ้นในพื้นที่ อยางไรก็ตาม องคประกอบทางกายภาพจะมีผลมากที่สุดตอผูสังเกตใน<br />

การกําหนดภาพลักษณและลักษณะเฉพาะของพื้นที่ผานการถายทอดทางแผนที่ในใจ (Mental map) โดย<br />

องคประกอบทางกายภาพที่มีความเปนองครวม เปนหนึ่งเดียวกัน และแตกตางจากสภาพแวดลอมภายนอก<br />

อยางชัดเจน จะสามารถปลุกความทรงจําของผู สังเกตใหเกิดขึ้นไดอยางชัดเจน ทั้งนี้ ลินชไดกลาวสรุปไววา<br />

จินตภาพของเมืองที่ดีนั้นเกิดจากองคประกอบพื้นฐานทางกายภาพ 5 ประเภท ไดแก<br />

1) เสนทาง (Paths) หมายถึง เสนทางที่ผูคนใชในการเดินทางสัญจรไปมา เชน ถนน ทางเดิน คลอง<br />

และทางรถไฟ เปนตน โดยเปนองคประกอบสําคัญที่ทําใหผูคนสามารถสังเกตเห็นถึง<br />

องคประกอบทางสภาพแวดลอมของเมืองทั้งอาคารบานเรือน พืชพรรณ หรือกิจกรรมตางๆ ที่<br />

เกิดขึ้นระหวางการเดินทางได<br />

2) ขอบ (Edges) หมายถึง แนว หรือสิ่งที่แบงพื้นที่ 2 แหงออกจากกันเปนแนวยาวตอเนื่อง เชน<br />

แมน้ํา ทะเล ทางรถไฟ ผนัง และกําแพง โดยมักจะใชเปนที่แบงขอบเขตของพื้นที่ของเมือง<br />

3) ยาน (Districts) หมายถึง พื้นที่ หรือบริเวณที่มีกิจกรรม หรือลักษณะทางกายภาพที่คลายคลึงกัน<br />

และมีความแตกตางจากบริเวณอื่นๆ<br />

4) ศูนยรวมกิจกรรม (Nodes) หมายถึง บริเวณ หรือตําแหนงของพื้นที่ที่เปนที่ตั้งของกิจกรรมจํานวน<br />

มาก เชน สี่แยก จุดตัดของเสนทางคมนาคม เปนตน ซึ่งศูนยรวมกิจกรรมมักจะเปนที่พลุกพลาน<br />

ที่มีความสําคัญในการใชงาน หรือลักษณะที่สําคัญทางกายภาพ เชน รานคาหัวมุมถนน หรือ<br />

สถานีรถไฟ เปนตน<br />

5) ภูมิสัญลักษณ (Landmarks) หมายถึง สิ่งที่สามารถมองเห็นไดจากภายนอก และสังเกตไดงาย<br />

ทั้งในระยะใกล และระยะไกลในมุมมองตางๆ รวมทั้งใชเปนตําแหนงในการอางอิง หรือบอก<br />

ทิศทางได


370<br />

ภาพที่ 3 องคประกอบทางจินตภาพของ Kevin Lynch (ที่มา: Trancik, 1986: 113-115)<br />

อยางไรก็ตาม การพิจารณาถึงความเปนสถานที่ของเมืองนั้นไมสามารถพิจารณาไดแตเพียงทางดาน<br />

ลักษณะทางกายภาพเทานั้น เนื่องจากเมืองมีความสลับซับซอนของกิจกรรมที่สะทอนออกมาใหเห็นจากการใช<br />

พื้นที่ ดังนั้น ระบบกิจกรรมจึงเปนองคประกอบหนึ่งที่สําคัญตอการพิจารณาความเปนสถานที่ของเมือง<br />

2.2. กิจกรรม (Activity)<br />

Chapin (1972: 221-253) ใหความเห็นวา ระบบกิจกรรมเปนพฤติกรรมของบุคคล ครอบครัว สถาบัน<br />

ที่เกิดขึ้นและปรากฏใหเห็นในรูปแบบทางพื้นที่หรือการใชพื้นที่ ซึ่งเปนผลมาจากพฤติกรรมเชิงที่ตั้ง (location<br />

behavior) แบงออกเปน 3 กลุม คือ<br />

1. กิจกรรมเชิงธุรกิจ (Firm activities) เปนกิจกรรมที่กอใหเกิดผลผลิต ไดแก กิจกรรมการผลิตสินคา<br />

และบริการตางๆ<br />

2. กิจกรรมเชิงสถาบัน (Institute activities) เปนกิจกรรมทางสังคมที่เกิดจากการรวมกลุมของคนกลุม<br />

ตางๆภายในชุมชน ไดแก กิจกรรมการพัฒนามนุษย กิจกรรมพื้นฐานของชุมชนและกิจกรรมเพื่อสวัสดิการเฉพาะ<br />

กลุม และ<br />

3. กิจกรรมบุคคลและครอบครัว (Individual and household activities) เปนกิจกรรมเกี่ยวกับการอยู<br />

อาศัย ไดแก กิจกรรมในชีวิตประจําวัน กิจกรรมการพบปะสังสรรค และการนันทนาการ เปนตน<br />

ระบบกิจกรรมเปนสิ่งที่ซอนอยูในวิถีชีวิต และพฤติกรรมของแตละบุคคล ครอบครัว และสังคม ซึ่ง<br />

กิจกรรมนั้นถูกถายทอดโดยตรงจากวิถีชีวิต และภูมิหลังทางวัฒนธรรม สิ่งสําคัญคือระบบกิจกรรมไมสามารถ<br />

เกิดขึ้นไดหากปราศจากพื้นที่ที่ใชทํากิจกรรม และเวลา (Rapoport, 1977: 478) นอกจากนี้ กิจกรรมยังขึ้นอยูกับ<br />

ลักษณะทางเศรษฐกิจสังคม (Socio-economic) สภาพแวดลอมของที่ตั้ง ระยะเวลาที่อาศัยอยูในถิ่นที่อยูนั้น<br />

ชวงเวลาของชีวิต และโอกาสในการทํากิจกรรม เกิดเปนโครงสรางรูปแบบของกิจกรรม (Structure <strong>of</strong> Activities<br />

Pattern) ของคนในชุมชนในระดับวัน สัปดาห ฤดูกาล และชวงชีวิต จากกิจกรรมที่เกิดขึ้นทําใหเกิดบทบาทโดด<br />

เดนกลายเปนเอกลักษณเฉพาะของพื้นที่นั้น (Golledge and Stimson, 1997: 288-289)


371<br />

2.3. ความหมาย (Meaning)<br />

พื้นที่ที่มีการรวมตัวของกิจกรรมประเภทใดประเภทหนึ่งอยางเขมขน จะเปนพื้นที่ที่มีการดึงดูดที่ทําให<br />

เกิดการพบปะของผูคน และการใชพื้นที่ที่เขมขนกวาบริเวณอื่น ทั้งยังทําใหเกิดลักษณะของการหมุนเวียน และ<br />

การสะสมของการใชพื้นที่นั้นซ้ําๆ นําไปสูความมีชื่อเสียงในดานใดดานหนึ่ง ทําใหพื้นที่ดังกลาวไดมีการแตงตั้ง<br />

ใหเปนที่หมาย หรือเปนที่รูจัก และเปนที่ตองการของคนภายนอก (วิมลศรี ลิ้มธนากุล, 2537: 13-15)<br />

2.4 ลักษณะของพื้นที่วางสาธารณะในชุมชนเมือง<br />

พื้นที่วางสาธารณะในชุมชนเมือง (Urban Open Space) หมายถึงที่เวนวางที่เปดโลงซึ่งอยูในเขตเมือง<br />

ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ เปนที่เวนวางเพื่อใหเกิดประโยชน ประกอบกับมีกฎหมาย ขอบังคับรองรับ หรืออาจถูก<br />

กําหนดใหเปนที่วางในความรับผิดชอบของเอกชน เชน สวนหยอม ลานเอนกประสงค ลานกิจกรรม ฯลฯ รวมไป<br />

ถึงถนนทางเดินเทา ซึ่งมีปจจัยในหลายบริบท ที่สงผลตอลักษณะของพื้นที่วาง ไดแก<br />

ก. รูปรางของบริเวณพื้นที่วาง<br />

ข. ขอบเขตของพื้นที่วาง จะถูกกําหนดวยองคประกอบ 3 อยางใน 3 มิติ ไดแก<br />

- ระนาบผนัง หรือระนาบทางแนวตั้ง ไดแกกําแพง รั้ว ฯลฯ<br />

- ระนาบพื้น หรือ ระนาบทางแนวนอน ซึ่งจะถูกกําหนดโดยแนวอาคาร แนวถนน ทางเทา หรือ<br />

ดวย ลวดลายวัสดุปูพื้น<br />

- ระนาบเพดาน หรือระนาบระดับเหนือศีรษะ ไดแกเต็นท หลังคาที่ยื่นออกมาจากตัวอาคาร แนว<br />

รมเงาของตนไม<br />

ค. ขนาดของพื้นที่วาง<br />

ง. ตําแหนงของพื้นที่วาง<br />

จ. องคประกอบทางสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรม<br />

2.4.1 ความสําคัญและประโยชนใชสอยของพื ้นที่วางสาธารณะในชุมชนเมือง<br />

พื้นที่วางสาธารณะเกิดขึ้นดวยความจําเปนตอวิถีชีวิตของคนที่อยูรวมกันในเมืองจากวัตถุประสงค<br />

หลายประการ ไดแก<br />

- เพื่อการคา เปนสถานที่ซื้อขายแลกเปลี่ยน การผลิตสินคา สถานที่รับฝากของและเปนบริเวณเพื่อ<br />

ธุรกิจ ตลาดเพื่อการคาอาจมีมากกวาหนึ่งแหงในเมืองหนึ่ง บางแหงอาจไมมีพื้นที่วางเฉพาะเพื่อการคาขาย แต<br />

ใชถนนมาเปนบริเวณทําการซื้อขายแทน<br />

- เพื่อการสื่อสาร เปนสถานที่เพื่อทํากิจกรรมทางสังคมเปนจุดที่มีการเปลี่ยนการสื่อสาร การถายทอด<br />

กระจายขาว เปนสถานที่ผูคนจะมาพบปะกัน หรือมาเยี่ยมเยียนใหขาวสารกัน<br />

- เพื่อการนันทนาการ ทั ้งการพักผอนหยอนใจแบบไมใชแรง (passive) หรือแบบใชแรง (active)<br />

สําหรับคนเมืองซึ่งมีการดํารงชีวิตคอนขางซับซอน ภายในสังคมเมืองที่ประชากรเพิ่มสูงขึ้น รูปแบบการทํางาน<br />

เปลี่ยนไป วิถีชีวิตที่ตองแขงขันกับเวลา การตองเผชิญกับมลพิษจากการจราจร จําเปนตองไดรับการพักผอนหรือ<br />

การสันทนาการ (Ratcliffe:1975,177-179)<br />

- เพื่อสนองตอบตอความเชื่อศรัทธา เชนบริเวณที่มีการประกอบพิธีกรรมศาสนา เปนตน


- เพื่อผลทางดานการมองเห็น เนนใหเห็นความสําคัญ เชน บริเวณพื้นที่โลงหนาอาคารสําคัญ หรือ<br />

อนุสาวรียตาง ๆ และในบางครั้งเพื่อเปนที่รองรับคนจากตัวสถาปตยกรรม<br />

ลักษณะของพื้นที่วางที่มีคุณของชาวเมือง อาจพิจารณาจากหลักเกณฑนี้ (สิทธิพร 2541:170)<br />

1. ความมีเอกภาพและกลมกลืน<br />

2. ความขัดแยงระหวางยานพาหนะ และคนเดินเทามีนอยที่สุด<br />

3. การปองกัน แดด ฝน ลม เสียง ฯลฯ<br />

4. ทิศทาง (Orientation) ไมสับสนสําหรับผูใช<br />

5. การใชที่ดินที่สนับสนุนเกื้อกูล (compatibility) กับบริเวณขางเคียง<br />

6. การมีพื้นที่สําหรับพักรอ สังเกตการณ และพบปะสังสรรค<br />

7. การสรางความรูสึกปลอดภัย และบรรยากาศที่สดชื่น มีชีวิตชีวา<br />

มีการจําแนกกิจกรรมของเมืองไวเปนประเภทหลัก ๆ ดังนี้ (Gehl, 1987: 11-14)<br />

1. กิจกรรมจําเปน (necessary activities) หมายถึงกิจกรรมที่มีความจําเปนตอการ ดําเนินกิจวัตร<br />

ประจําวันของคน เปนกิจกรรมที่คนไมมีทางเลือกในการเขาไปใชประโยชนในพื้นที่ ไดแก กิจกรรม<br />

ที่เกี่ยวกับการเดินเปนหลัก เชน เดินไปโรงเรียน หรือไปทํางาน รอรถประจําทางหรือรอคน ซื้อของ<br />

ทํากิจธุระตาง ๆ<br />

2. กิจกรรทางเลือก (recreational activities or optional) เปนความตองการของคนที่จะทํา และเปน<br />

กิจกรรมที่คนตัดสินใจแลวแตชวงเวลาและสถานที่อํานวยดวย โดยเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการ<br />

พักผอนหยอนใจเปนหลัก เชน เดินเลน ยืน-นั่งเลน เพื่อความเพลิดเพลิน ฯลฯ<br />

3. กิจกรรมทางสังคม (social activities or resultant) เปนกิจกรรมผลลัพธที่เกิดตอเนื่องจาก<br />

กิจกรรมทั้งสองขางตน คือ ตองอาศัยการที่มีคนอยูในพื้นที่โลงนั้นเสียกอน อันไดแก การละเลน<br />

การทักทาย การสนทนากิจกรรมรวมกันของกลุมคนหรือชุมชน รวมไปถึงการมีปฏิสัมพันธ<br />

ทางออม (passive contact) เชนการดูหรือฟงคนอื่น ๆ ที่อยูในบริเวณเดียวกัน<br />

372


373<br />

3. การศึกษาขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่ยานธุรกิจการคาประตูน้ํา<br />

NODE<br />

การฟนฟูพื้นที่โลงวางยานประตูน้ํา<br />

ภาพที่ 4 conceptual framework<br />

PLACE<br />

พื้นที่ยานประตูน้ําเปนธุรกิจ<br />

การคาปลีกและสงขนาดใหญแหงหนึ่งของ<br />

กรุงเทพมหานคร พรอมทั้งอาคารสํานักงาน<br />

และที่พักอาศัยขนาดใหญ ที่มีพื้นที่อยูใจ<br />

กลางเมืองการเขาถึงสะดวกทั้งระบบขนสง<br />

มวลชนกับระบบขนสงสวนบุคคล<br />

3.1. ลักษณะจุดเปลี่ยนถายการสัญจรของยานประตูน้ํา<br />

เปนพื้นที่ที่ในอนาคตจะเปน<br />

พื้นที่รองรับการคมนาคม<br />

ขนสงขนาดใหญ จากการมี<br />

เปนจุดตัดระหวางรถไฟฟา<br />

BTS กับ รถไฟฟาAirport<br />

Link และพื้นที่โดยรอบมีการ<br />

สงเสริมการคาขายหลาย<br />

รูปแบบโดยโครงการของ<br />

รัฐบาล<br />

3.2. ความเปนสถานที่ของยานประตูน้ํา<br />

เปนพื้นที่ที่มีการคาขายเสื้อผาสงและปลีก ขนาดใหญจนสงเสริมใหพื้นที่ดังกลาวมีความเขมขนของ<br />

กิจกรรมอยางชัดเจน และเอื้อตอการทองเที่ยวกับการเคลื่อนตัวของเศรษฐกิจภายในยานและพื้นที่โดยรอบ ทั้งที่<br />

พักอาศัยขนาดใหญ แหงทองเที่ยว รวมไปถึงอาคารสํานักงานเปนสําคัญ


374<br />

3.3. แนวความคิดในการฟนฟูยานประตูน้ํา<br />

จากการศึกษาแนวคิดหลักและวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ การแสดงความเปนยานที่มีเอกลักษณและ<br />

สงเสริมบทบาทของเมือง ควรมีการเขาถึงที่สะดวกชัดเจนโดยการคมนาคมขนสงมวลชนและมีการเชื่อมโยง<br />

กิจกรรมภายในยานกับพื้นที่โดยรอบสะดวก การสงเสริมกิจกรรมที่มีความเขมขนสูงจนเปนเอกลักษณของยาน<br />

ควรมีการฟนฟูใหมีแรงดึดดูดในการประกอบกิจกรรมไดนานในแตละชวงเวลา ใหผูใชพื้นที่เคลื่อนตัวชาจะเปน<br />

การสงเสริมกิจกรรมการคาภายในยานใหมีศักยภาพมากขึ้น<br />

BTS<br />

Airport Link<br />

ตลาดประตูน้ํา<br />

ภาพที่ 5 conceptual plan<br />

บรรณานุกรม<br />

หนังสือ<br />

ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ. วาทกรรมของเมืองผานโครงสรางเชิงสัณฐาน. วารสารวิชาการคณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

ฉบับภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง, 2548.<br />

คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก, สํานักงาน. การศึกษาแผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขต<br />

กรุงเทพมหานคร และพื้นที่ตอเนื่อง: รายงานฉบับสุดทาย. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท., 2544.<br />

บุศรา อินทรเชียรศิริ. การเปรียบเทียบแนวเสนทางการพัฒนาการขนสงมวลชนระบบรางที่มีตอพื้นที่ดาน<br />

ตะวันออกของกรุงเทพฯ. ปริญญาเอกการวางแผนภาคและเมืองดุษฎีบัณฑิต สาขาการวางแผนภาค และ<br />

เมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ, 2548.<br />

พนิต ภูจินดา. โครงการกิจกรรมและการสัญจรบนทางเทายานธุรกิจสีลม. กรุงเทพมหานคร:<br />

คณะสถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550<br />

ไพจิตร จิตรเกษมราตรี. แนวทางการออกแบบพื้นที่โลงในยานพาณิชยกรรม กรณีศึกษา: เขตสัมพันธวงศ.<br />

กรุงเทพมหานคร: รายงานการศึกษา, สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง, มหาวิทยาลัยศิลปากร,2536.


ภาษาอังกฤษ<br />

Altman, Irwin and Zube, H., Ervin, 1989. Public Places. New York: Plenum Publishing, Inc.,<br />

American Planning Association (APA). Planning and Urban Design Standard. New Jersey: John<br />

Wiley & Sons, 2006.<br />

Berry, Brian J.L. and Horton, Frank. Geography Perspectives on Urban System. 2 nd .ed. New York:<br />

McGraw-Hill Book,1978.<br />

Bertolini, Luca and Spit, Tejo. Cities on Rails: The Redevelopment <strong>of</strong> Railway Station Areas. London: E<br />

& FN Spon, 1998.<br />

Carr, S. and others. Public Space. Cambridge University Press, 1955.<br />

FAIA and Shibley, G. Robert. Time-saver Standards for Urban Design. New York: McGraw-Hill Book,<br />

2001.<br />

Gehl, Jan. Life Between Buildings: Using Public Space. Denmark: The Danish Architectural<br />

Press,2001.<br />

Hecksher, A. Open paces: The life <strong>of</strong> American Cities. New York: Harper & Row, 1997.<br />

Lynch, Kevin. The Image <strong>of</strong> the City. Cambridge, MA. : The MIT Press, 2000.<br />

375


376<br />

งานออกแบบอาคารตามแนวทาง LEED 2009<br />

กรณีศึกษาอาคารสํานักงานขนาดเล็ก จังหวัดปทุมธานี<br />

Building Design Guided by LEED 2009<br />

A case study <strong>of</strong> low rise <strong>of</strong>fice building in Patumthani province<br />

พจจิตร เลิศชาญวุฒิ<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย พรรณชลัท สุริโยธิน<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

การออกแบบอาคารที่สอดคลองกับสภาพภูมิอากาศในแตละพื้นที่ เปนแนวทางหนึ่งเพื่อสรางสภาวะ<br />

นาสบายใหผูอาศัยและยังชวยลดคาใชจายดานสาธารณูปโภคโดยเฉพาะดานพลังงาน เนื่องจากการลดการใช<br />

พลังงานในอาคารและใชประโยชนจากพลังงานธรรมชาติอยางเหมาะสมจะสามารถลดความตองการใชพลังงาน<br />

ไฟฟาในอาคารได ไมวาจะเปนทางดานแสงสวางจากแสงประดิษฐหรือจากเครื่องปรับอากาศและระบายอากาศ<br />

แตการออกแบบเพื่อใหรับแสงธรรมชาติ (Daylight) เขาสูอาคารใหมากจะเปนการนํารังสีอาทิตย (Solar<br />

Radiation) และถายเทความรอน (Heat Transfer) เขาสูอาคารเชนกัน ซึ่งจะเพิ่มภาระการทําความเย็นใหกับ<br />

เครื่องปรับอากาศ (Cooling Load)<br />

จากขอมูลการใชพลังงานไฟฟาในประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2523 – 2551 (ค.ศ. 1980 – 2008)<br />

รวบรวมขอมูลโดย (U.S. Energy Information Administration (EIA) [1] [14] พบวามีปริมาณการใชงานสูงขึ้น<br />

ทุกป<br />

รูปที่ 1 แผนภูมิแสดงปริมาณการใชไฟฟาในประเทศไทย พ.ศ. 2523 – 2551<br />

ที่มา: U.S. Energy Information Administration (EIA) Thailand Total Electricity Net Consumption<br />

Available From: http://www.eia.doe.gov<br />

รูปที่ 1 แผนภูมิแสดงปริมาณการใชพลังงานในประเทศไทย พ.ศ. 2553 - 2551<br />

ที่มา: U.S. Energy Information Administration (EIA) Thailand Total Electricity Net Consumption<br />

Available From: http://www.eia.doe.gov


377<br />

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานรายงานปริมาณการใชไฟฟาป พ.ศ. 2552 อยูที่<br />

ระดับ 134,793 กิกะวัตตชั่วโมง เพิ่มจากปพ.ศ. 2551 รอยละ 0.3 และพยากรณการใชไฟฟาจนถึงป พ.ศ. 2564<br />

วามีแนวโนมการใชพลังงานสูงขึ้นตามการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย[3] [4] สอดคลองกับขอมูลความ<br />

ตองการใชพลังงานของโลก ที่จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2 ตอป ซึ่งไดบันทึกเปรียบเทียบไวตั้งแต ค.ศ. 1980 –<br />

2007 และพยากรณความตองการใชพลังงานถึง ค.ศ. 2030 ทําใหการพยากรณสําหรับป ค.ศ. 2040 มีปริมาณ<br />

ใชงานมากเปนเทาตัว เมื่อเปรียบเทียบกับป ค.ศ. 2007 [14]<br />

World Marketed Energy Consumption, 1980 - 2030<br />

รูปที่ 2 แผนภูมิแสดงปริมาณการใชพลังงานและพยากรณการใชพลังงานโลก<br />

ที่มา: World Marketed Energy Consumption. Available From: http://www.eia.doe.gov/iea<br />

วิกฤตการณดานพลังงานและสิ่งแวดลอมเปนปญหาใหญที่ทุกประเทศกําลังเผชิญ เนื่องจาก<br />

การใชพลังงานอยางฟุมเฟอย จนเปนเหตุใหเกิดกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศ นอกจากจะทําใหเกิด<br />

สภาวะโลกรอน (Global Warming) แลว ยังเปนปญหาตอเศรษฐกิจและสุขอนามัยของโลกดวย จึงจําเปนตอง<br />

หาทางลดการใชไฟฟาและน้ํามันภายใน 10 ถึง 15 ป และเปลี่ยนพฤติกรรมการใชพลังงานใหมีประสิทธิภาพ<br />

มากขึ้น [12] [14] จากปญหาดังกลาวทําใหเกิดความจําเปนในการอนุรักษพลังงานและการออกแบบที่เปนมิตร<br />

ตอสิ่งแวดลอม ฉะนั้นการออกแบบอาคารใหมีความเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ จะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

การทํางานใหอาคาร และเปนการประหยัดพลังงานในภาพรวม ทั้งยังลดผลกระทบจากตัวอาคารตอผูใชอาคาร<br />

และสิ่งแวดลอมดวย<br />

ในตางประเทศที่มีการพัฒนาหลักเกณฑการประเมินความยั่งยืนของอาคาร มีมาตรฐานการรับรอง<br />

อาคารที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ไดรวมตัวกันกอตั้งสภาอาคารเขียวโลก World Green Building Council<br />

(WGBC) โดยแตละประเทศมีหลักเกณฑและระบบการประเมินที่แตกตางกัน ทั้งนี้หลักการใหญของสภาอาคาร<br />

เขียวโลกนั้นคือ “The World GBC supports national Green Building Councils whose common mission is<br />

to create a sustainable built environment through market transformation” [13] หมายถึงการสรางความ<br />

ตองการอาคารเขียวขึ้นโดยไมใชการบังคับหรือออกกฎหมายมาเปนเกณฑบังคับ แตเปนการสรางความตองการ


378<br />

ผานปจจัยทางการตลาด ตามที่คุณทวีจิตร จันทรสาขา นายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ ป<br />

พ.ศ. 2553-2555 กลาวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไววา “เนื่องจากบางองคกรไดใชแนวทางเพื่อสิ่งแวดลอมและการลดภาวะ<br />

โลกรอนเปนเครื่องมือทางการตลาด สรางภาพพจนใหแกองคกร อยางไรก็ดีการที่ผูประกอบการในภาคธุรกิจ<br />

ตางๆ ไดหันมาแสดงความรับผิดชอบตอสังคมตามกระแสรักษโลกที่เกิดขึ้น ..........” [21]<br />

นักลงทุนและผูประกอบธุรกิจที่กอผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเชน อุตสาหกรรมการผลิตน้ํามัน โลหะ<br />

รถยนต ไดใหความสําคัญตอผลกระทบที่เกิดจากผลผลิตที่ได รวมทั้งปญหาทางดานพลังงานและภาวะโลกรอน<br />

การมีอาคารที่ใสใจตอสังคมและสิ่งแวดลอม จึงเปนการเริ่มตนรักษาสิ่งแวดลอมที่ผูประกอบการเห็นวาไดทั้ง<br />

ประโยชนทางดานการประหยัดพลังงานและดานการตลาด อีกทั้งสามารถสรางภาพลักษณที่ดีใหกับองคกรได<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

เนื่องจากหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียวมีตนแบบมาจากตางประเทศ การที่นําระบบมาใชกับ<br />

โครงการกอสรางในประเทศไทย จึงจําเปนจะตองวาจางผูชํานาญการเฉพาะดานจากตางประเทศหรือบริษัท<br />

ตางชาติในประเทศไทยรวมทั้งผูชํานาญการชาวไทยซึ่งมีไมมาก ในการใหคําปรึกษาโครงการดานการออกแบบ<br />

และควบคุมงานกอสรางใหเปนไปตามหลักเกณฑ ผูวิจัยจึงเห็นวาจะศึกษาหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียว<br />

LEED – NC 2009 ซึ่งเปนเกณฑที่นิยมใชกันทั่วโลก ทั้งในดานแนวทางการออกแบบ เกณฑการประเมินคะแนน<br />

(Rating System) กับอาคารกรณีศึกษา<br />

1) ศึกษาและวิเคราะหสัดสวนราคาโครงการที่เพิ่มขึ้นกรณีที่ใชแนวทางการออกแบบ และ<br />

กอสรางตามเกณฑประเมินอาคารเขียว LEED – NC 2009<br />

2) เพื่อเสนอรูปแบบโครงการที่เหมาะสมกับสถานที่กอสราง<br />

3) ทดลองทําการประเมินผลคะแนนในระดับต่ําสุด Certified และระดับ Silver เพื่อใหทราบถึง<br />

ขอดีและขอดอยกับแนวการประเมินโครงการนี้<br />

เกณฑการประเมินอาคารเขียวที่ใชทั่วไป<br />

สภาอาคารเขียวโลกสนับสนุนใหประเทศสมาชิกมีหลักเกณฑประเมินและรับรองอาคารเขียวของแตละ<br />

ประเทศ ซึ่งแตละหลักเกณฑมีจุดมุงหมายที่คลายกันคือการใชทรัพยากรของตัวอาคารอยางมีประสิทธิภาพ และ<br />

ลดผลกระทบของตัวอาคารตอสิ่งแวดลอมและผูใชอาคาร [13]<br />

BREEAM (BRE Environmental Assessment Method) ไดรับการพัฒนาโดย Building Research<br />

Establishment (BRE) [15] ประเทศอังกฤษ เปนเกณฑประเมินอาคารเขียวที่ใชในประเทศอังกฤษและทั่วโลก<br />

ขณะที่ BER (Building Energy Rating System) ของสหภาพยุโรป (European Union) โดย Energy<br />

Performance <strong>of</strong> Building Directive (EPBD) และ Association for Environment Conscious Building<br />

(AECB) ป ค.ศ. 2009 ไดเสนอใหอาคารที่จะสรางใน EU ที่มีพื้นที่ตั้งแต 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป จะตองทําการ<br />

ประเมินการใชพลังงานของอาคาร [6] LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) [16]<br />

พัฒนาหลักเกณฑโดยสถาบันอาคารเขียวประเทศสหรัฐอเมริกา (USGBC) ซึ่งเปนเกณฑที่หลายประเทศใชเปน<br />

ตนแบบอาคารเขียว Green Star (Building Challenge Assessment Method) พัฒนาโดย Green Building


Council <strong>of</strong> Australia (GBCA) [19] ประเทศออสเตรเลีย แบงการประเมินออกเปน 3 ระดับ และกําหนดให<br />

อาคารราชการในประเทศทุกอาคาร จะตองไดรับการประเมิน Green Star เกณฑนี้มีใชในประเทศนิวซีแลนด<br />

เชนกัน<br />

ในทวีปเอเชียที่ประเทศอินเดีย Energy and Resource Institute <strong>of</strong> India ไดพัฒนาเกณฑการประเมิน<br />

อาคารเขียวขึ้นเรียกวา GRIHA โดยเนนเทคนิคการกอสรางตามภูมิปญญาทองถิ่นของอินเดีย และถือวาอาคารที่<br />

ไมไดติดตั้งเครื่องปรับอากาศเปนอาคารเขียวเชนกัน Confederation <strong>of</strong> Indian Industry (CII) ไดจัดตั้งสถาบัน<br />

อาคารเขียวอินเดีย (IGBC) ขึ้น ภายใตการควบคุมดูแลและรับรองโดย USGBC. [6]<br />

ป ค.ศ. 2001 CASBEE (Comprehensive Assessment System for Built Environment Efficiency)<br />

[18] พัฒนาโดย Housing Bureau และ Ministry <strong>of</strong> Land, Infrastructure, Transport and Tourism ประเทศ<br />

ญี่ปุน โดยมีเกณฑการประเมิน 4 หมวดงาน และเนนขั้นตอนตรวจสอบอาคารที่ไดเสนอขอประเมิน CASBEE ซึ่ง<br />

แตกตางจาก LEED ที่ประเมินจากขั้นตอนพัฒนางานออกแบบจนถึงการกอสรางอาคาร ประเทศสาธารณรัฐ<br />

ประชาชนจีน ป ค.ศ. 2005 กําหนดใหอาคารขนาดใหญตองใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และบังคับใหเปน<br />

หัวขอสําคัญในการระงับการตอใบประกอบวิชาชีพผูเกี่ยวของในวงการกอสราง ประเทศจีนมีเกณฑประเมิน<br />

อาคารเขียว 2 ระบบ คือ GB/T 50378 - 2006 (Evaluation Standard For Green Building) ซึ่งคลายกับ LEED<br />

และ GOBAS (Green Olympic Building Assessment System) ที่มีตนแบบมาจาก CASBEE ของญี่ปุน [6] ป<br />

พ.ศ. 2553 สถาบันอาคารเขียวไทย (TGBI) โดยวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ และ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ จัดทําเกณฑการประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอม<br />

ไทย มกราคม 2553 TREES – NC Version 1.0 (Thai’s Rating <strong>of</strong> Energy and Environmental Sustainability<br />

for New Construction and Major Renovation) [5] ซึ่งมีหลักเกณฑการประเมินและการรับรองระดับ<br />

คลายคลึงกับ LEED ตัวอยางหลักเกณฑที่มีใชในประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และประเทศไทย ซึ่งใช<br />

เกณฑการประเมินที่แบงเปนขั้นตามคะแนนที่ไดรับจากแตละหมวดงาน<br />

379


380<br />

Rating Systems<br />

& Initiation<br />

BREEAM<br />

UK – 1990<br />

LEED<br />

USA – 1998<br />

Minergie<br />

Switzerland -<br />

1998<br />

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียว<br />

Categories Criteria Certifications<br />

Courts, EcoHomes,<br />

Education,<br />

Industrial,<br />

Healthcare,<br />

Multi-Residential,<br />

Offices, Prisons,<br />

Retail<br />

New Construction,<br />

Existing Buildings,<br />

Commercial Interiors,<br />

Core and Shell,<br />

Homes,<br />

School, Retail,<br />

Neighborhood<br />

Development<br />

New Construction<br />

Management,<br />

Health & Well-being,<br />

Energy, Water, Material,<br />

Site Ecology,<br />

Pollution,<br />

Transport, Land consumption<br />

Sustainable Sites<br />

Water Efficiency<br />

Energy & Atmosphere<br />

Material & Resources<br />

Indoor Air Quality<br />

Innovation & Design<br />

(1). Minergie<br />

- Dense building envelope<br />

- Efficient heating system<br />

- Comfort ventilation<br />

(2). Minergie-P<br />

additional criteria to (1):<br />

- Building envelope<br />

- Efficiency <strong>of</strong> household appliances<br />

(3). Minergie-Eco<br />

additional criteria to(1):<br />

- Daylight conditions<br />

- Low emissions<br />

- Pollutants<br />

(4). Minergie-P-Eco<br />

Minergie-P & Minergie-Eco<br />

Pass<br />

Good<br />

Very good<br />

Excellent<br />

Outstanding<br />

Certified<br />

Silver<br />

Gold<br />

Platinum<br />

Minergie<br />

Minergie-P<br />

Minergie-Eco<br />

Minergie-P-Eco


CASBEE<br />

Japan – 2001<br />

Green Star<br />

Australia – 2003<br />

Germany – 2007<br />

TREES – NC<br />

Thailand – 2010<br />

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียว (ตอ)<br />

New Construction<br />

Office – Existing<br />

Office – Interior<br />

Office – Design<br />

Offices, Industrial,<br />

Existing Buildings,<br />

Retail, Portfolio,<br />

School<br />

New Construction &<br />

Major Renovation<br />

Building Environment Efficiency<br />

factor“ BEE=Q/L<br />

Q = Ecological Quality <strong>of</strong> Buildings<br />

L = Ecological Effects on Buildings<br />

Q1 - Interior space L1 - Energy<br />

Q2 – Operation L2 - Resources<br />

Q3 – Environment L3 – Material<br />

(1) Energy Efficiency<br />

(2) Resource Consumption<br />

Efficiency<br />

(3) Building Environment<br />

(4) Building Interior<br />

Management, Indoor Comfort<br />

Energy, Transport,<br />

Water, Material,<br />

Land Consumption & Ecology,<br />

Emissions, Innovations<br />

Ecological, Economical,<br />

Social, Technical,<br />

Process, Site<br />

Building Management<br />

Site and Landscape<br />

Water Conservation<br />

Energy & Atmosphere<br />

Materials & Resources<br />

Indoor Environmental Quality<br />

Environmental Protection<br />

Green Innovation<br />

C (poor)<br />

B<br />

B+<br />

A<br />

S (excellent)<br />

381<br />

4 Stars: Best<br />

Practice<br />

5 Stars: Australian<br />

Excellence<br />

6 Stars: World<br />

Leadership<br />

Bronze<br />

Silver<br />

Gold<br />

Certified<br />

Silver<br />

Gold<br />

Platinum


382<br />

การประเมินอาคารเขียวในระบบ LEED 2009<br />

1) คุณสมบัติเบื้องตนของโครงการ<br />

โครงการที่จะใช LEED ในการประเมินอาคารเขียวนั้น จะตองมีคุณสมบัติเบื้องตนตามขอกําหนด<br />

Minimum Program Requirement (MPRS) ดังนี้<br />

ก) อาคารจะตองไดรับการออกแบบใหถูกตองตามกฎหมายอาคารและสิ่งแวดลอมที่<br />

เกี่ยวของตามทองถิ่นนั้นๆ<br />

ข) สถานที่กอสรางตองเปนพื้นที่จริง เมื ่อกอสรางอาคารแลวไมสามารถเคลื่อนยายไปสราง<br />

ที่อื่นได คือจะตองมีการกอสรางฐานรากอาคาร<br />

ค) มีขอบเขตที่ดินหรือบริเวณโครงการชัดเจน เพื่อใชในการคํานวณพื้นที่<br />

ง) มีพื้นที่อาคารอยางนอย 93 ตารางเมตร หรือ 1,000 ตารางฟุต<br />

จ) มีการใชอาคารแบบ Full Time Equivalent Occupancy (FTE)<br />

ฉ) บันทึกขอมูลการใชพลังงานไฟฟาและน้ํา เปนระยะเวลาอยางนอย 5 ป<br />

ช) พื้นที่อาคารโดยรวมจะตองไมนอยกวา 2% ของพื้นที่กอสรางโครงการ<br />

2) การแบงประเภทอาคารและการประเมินระดับ<br />

LEED 2009 แบงประเภทการใชงานออกเปน 9 ประเภทคือ Operation & Maintenance (OM), Core<br />

& Shell (CS), New Construction (NC), School, Neighborhood Development (ND), Retail, Healthcare,<br />

Homes, Commercial Interiors (CI)<br />

LEED Reference Guide for Green Building 2009 Edition ใชสําหรับโครงการ CS NC และ School<br />

เทานั้น อาคารทั้ง 3 ประเภทมีหมวดงานดังนี้<br />

หมวดที่ 1. ที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณโดยรอบ Sustainable Site (SS) 26 คะแนน<br />

หมวดที่ 2. การใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ Water Efficiency (WE) 10 คะแนน<br />

หมวดที่ 3. การใชพลังงานและบรรยากาศ Energy & Atmosphere (EA) 35 คะแนน<br />

หมวดที่ 4. วัสดุและทรัพยากรในการกอสราง Materials & Resources (MR) 14 คะแนน<br />

หมวดที่ 5. คุณภาพของสภาวะแวดลอมภายในอาคาร<br />

Indoor Environmental Quality (IEQ)<br />

15 คะแนน<br />

หมวดที่ 6. นวัตกรรมในการออกแบบ Innovation in Design (ID) 6 คะแนน<br />

หมวดที่ 7. การใหความสําคัญตอสิ่งแวดลอม Regional Priority (RP) 4 คะแนน<br />

การประเมินแบงเปน 4 ระดับ ตามผลรวมคะแนนที่ไดรับในแตละหมวดงาน<br />

Certified 40-49 คะแนน Silver 50-59 คะแนน<br />

Gold 60-79 คะแนน Platinum 80 คะแนนขึ้นไป<br />

3) วิธีการประเมินอาคารเขียวในระบบ LEED<br />

การศึกษางานออกแบบอาคารตามแนวทาง LEED 2009 เพื่อใชกับอาคารกรณีศึกษาสํานักงาน 2 ชั้น<br />

จะศึกษาในรายละเอียดของ LEED – NC เทานั้น เนื่องจากเปนอาคารกอสรางใหม หมวดงานแตละหัวขอจะมี<br />

ขอบังคับที่จะตองดําเนินงานกอน (Prerequisite) สรุปรายละเอียดพอเปนสังเขปไดดังนี้


หมวดที่ 1. ที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณโดยรวม (SS)<br />

บริหารจัดการและวางแผนปองกันกิจกรรมที่จะกอใหเกิดมลพิษระหวางการกอสรางเชน ปองกันมิให<br />

ดินไหล ไมขวางทางระบายน้ําตามธรรมชาติ โดยจะตองเปนไปตามกฎหมายของทองถิ่นนั้นๆ เริ่มจากการเลือก<br />

สถานที่กอสรางโครงการ ควรเลือกสถานที่ที่ไมกระทบตอระบบนิเวศนเดิม หรือเลือกที่จะพัฒนาปรับปรุงสถานที่<br />

เสื่อมโทรม เชนพื้นที่ๆ เคยเปนที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรม กรณีเปนโครงการในเมือง ควรหาทางเชื่อมตอกับ<br />

ระบบขนสงมวลชนที่มีอยูเดิม รวมทั้งสนับสนุนใหใชรถประหยัดพลังงาน (Eco Car) จักรยานและใชรถรวม<br />

(Carpool) เพื่อลดการใชรถสวนตัว เปนการลดมลพิษจากรถยนต เพิ่มสัดสวนพื้นที่โลงในโครงการมากกวาที่<br />

กฎหมายกําหนดอีก 25% เปนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในโครงการ ลดสภาวะปรากฏการณความรอน (Heat Island<br />

Effect) โดยการใชวัสดุพื้นผิวที่ระบายน้ําไดสะดวก หรือจัดสวนบนหลังคาอาคาร (Green Ro<strong>of</strong>) และใชวัสดุ<br />

หลังคาที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง Solar Reflectance Index (SRI) รวมทั้งสนับสนุนใหปลูกพรรณไมที่<br />

ใชน้ํานอย เพื่อประหยัดน้ํา และลดอุณหภูมิผิวอาคาร ลดการใชแสงสวางบริเวณภายนอกอาคารเพื่อลดการ<br />

สะทอนแสงในเวลากลางคืน<br />

หมวดที่ 2. การใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ (WE)<br />

ประหยัดการใชน้ําได 20% โดยคํานวณจากปริมาณการใชน้ําตามปกติของ Baseline Building ลด<br />

กิจกรรมการใชน้ําประปาในอาคารและนอกอาคาร สงเสริมใหใชแหลงน้ําจากน้ําฝนและลดการบําบัดน้ําเสียที่ไม<br />

จําเปน ในรูปของการนําน้ํากลับมาใชใหม ในการชําระซักลางในหองน้ําหรือรดน้ําตนไมและบริเวณสวน เลือกใช<br />

อุปกรณและสุขภัณฑที่ประหยัดน้ํา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําในโครงการ หมวดงาน WE แบงออกเปน 3<br />

หมวดยอยคือ ลดการใชน้ําประปาในสวนของ Landscape ได 50% นวัตกรรมเทคนิคการบําบัดน้ําเสีย และลด<br />

การใชน้ําประปาในอาคารได 30%, 35% หรือ 40%<br />

หมวดที่ 3. การใชพลังงานและบรรยากาศ (EA)<br />

จัดใหมีเจาหนาที่รับผิดชอบและจัดการเกี่ยวกับขอกําหนดของเจาของและโครงการ Basis <strong>of</strong> Design<br />

(BOD) รับรองผลการทดสอบและเสนอวิธีปรับแตงการทํางานงานระบบอาคารโดย Commissioning Authority<br />

(CxA) ซึ่งจะตองไมใชผูออกแบบหรือผูรับจางกอสรางโครงการ มีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพตาม<br />

ขอกําหนดเกณฑขั้นต่ําสําหรับอาคารประเภทสํานักงานมี 3 ทางเลือกโดยขึ้นอยูกับพื้นที่อาคารคือ 1. Whole<br />

Building Energy Simulation แสดงผลการใชพลังงานใหมีประสิทธิภาพดีกวา 10% ของ Baseline Building ซึ่ง<br />

ออกแบบตามขอกําหนด ASHRAE Standard 90.1 – 2007 (American Society <strong>of</strong> Heating, Refrigerating<br />

and Air Conditioning Engineers) 2. ASHRAE Advanced Energy Design Guide for Small Office<br />

Building 2009 ใชกับสํานักงานที่มีพื้นที่ปรับอากาศไมเกิน 20,000 ตารางฟุต หรือ 1,858 ตารางเมตร<br />

แนวทางนี้จะตองพิจารณาโซน (Zone) ที่ตั้งตัวอาคารวาอยูในโซนใด อาคารในประเทศไทยเทียบอยูในโซน 1<br />

และ 3. ASHRAE Advanced Building Core Performance Guide สําหรับอาคารที่มีพื้นที่ปรับอากาศไมเกิน<br />

10,000 ตารางฟุต หรือ 9,260 ตารางเมตร<br />

สงเสริมไมใชสารทําความเย็น Chlor<strong>of</strong>luorocarbons (CFC) ในระบบปรับอากาศ ใชพลังงานในอาคาร<br />

ใหมีประสิทธิภาพดีกวามาตรฐาน ASHRAE 90.1 – 2007 ตั้งแต 12% ถึง 48% ในหัวขอเปลือกอาคาร ระบบ<br />

ปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบไฟฟาและแสงสวาง และระบบอื่นๆ ที่ใชพลังงานไฟฟา โดยการจําลองการ<br />

383


384<br />

ใชพลังงานของอาคาร (Simulation) Baseline Building และ Proposed Building ในโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

สงเสริมใหใชพลังงานทดแทน (Renewable Energy) ที่สามารถจัดหาไดในพื้นที่<br />

หมวดที่ 4. วัสดุและทรัพยากรในการกอสราง (MR)<br />

จัดพื้นที่สําหรับเก็บวัสดุเพื่อการนํามาใชใหม หรือนํากลับมาผลิตใหม สงเสริมใหใชวัสดุที่ใชแลว วัสดุที่<br />

มีการรีไซเคิล และยอยสลายไดงาย เพื่อลดวัตถุดิบและขยะที่เกิดจากกระบวนการผลิตใหม สนับสนุนการใช<br />

วัตถุดิบที่สามารถผลิตหรือเติบโตไดเร็วในระยะเวลา 10 ป รวมทั้งวัสดุที่ไมเปนอันตรายตอผูใชงาน ลดการทิ้ง<br />

ขยะโดยมีแผนการจัดการขยะ เพื่อมิใหขยะสวนใหญตองนําไปใชถมที่ ซึ่งเปนวิธีกําจัดขยะที่งายที่สุด และยังเนน<br />

ความสําคัญในการใชวัสดุพื้นถิ่นที่หาไดในระยะรัศมี 800 กิโลเมตร เพื่อเปนการประหยัดพลังงานและคาขนสง<br />

วัสดุโดยรวม<br />

หมวดที่ 5. คุณภาพของสภาวะแวดลอมภายในอาคาร (IEQ)<br />

ผานเกณฑมาตรฐานคุณภาพอากาศขั้นต่ํา ASHRAE 62.1 – 2007 ซึ่งเปนเกณฑที่ใชในการออกแบบ<br />

ปริมาณอากาศที่ถายเทในอาคารเพื่อสรางสภาวะนาสบายและสุขภาพที่ดีของผูใชอาคาร การติดตั้งอุปกรณ<br />

ควบคุมระดับกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ในพื้นที่ๆ มีคนอยูหนาแนนยังคํานึงถึงคุณภาพอากาศระหวางการ<br />

กอสรางที่อาจมีผลกระทบตอเนื่องมาถึงผูใชอาคาร สงเสริมใหติดตั้งแผนกรองฝุนในระบบปรับอากาศ เพื่อลด<br />

กลิ่นและฝุนละอองตกคางในระบบ หลีกเลี่ยงการใช Volatile Organic Compound (VOC) ซึ่งเปนสารระเหยที่<br />

ประกอบอยูในวัสดุกอสรางทั้งผนังและฝาเพดาน ประเภทสี วัสดุเคลือบเงา และวัสดุยาแนวตางๆ โดยผูใชอาคาร<br />

สามารถควบคุมระดับแสงและอุณหภูมิรวมทั้งตั้งคาอุปกรณเองได เพื่อสรางสภาวะนาสบายของแตละพื้นที่<br />

สนับสนุนการใชแสงสวางตามธรรมชาติ (Daylight) และการมองเห็นภายนอก (View) จากภายในอาคาร<br />

หมวดที่ 6. นวัตกรรมในการออกแบบ (ID)<br />

สงเสริมการคิดคนเทคนิคใหมๆ ที่ไมไดกลาวถึงในเกณฑ LEED หรือมี LEED AP (Accredited<br />

Pr<strong>of</strong>essional) เปนที่ปรึกษาในโครงการที่จะทําการประเมินดวย<br />

หมวดที่ 7. การใหความสําคัญตอสิ่งแวดลอม (RP)<br />

พัฒนาประสิทธิภาพการทํางานใหมีประสิทธิภาพสูงสุดในหมวดงานการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ<br />

(WE 1, 2, 3) และการใชพลังงานและบรรยากาศ (EA 1, 3, 5)<br />

ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับอาคารกรณีศึกษา<br />

โครงการกอสรางอาคารกรณีศึกษาแบงพื้นที่กอสรางเปน 2 สวน คือ พื้นที่ 3.5 ไร ขนาดที่ดินกวาง 35<br />

เมตร ยาว 160 เมตร ใชเปนพื้นที่กอสรางอาคารสํานักงาน 2 ชั้น (Baseline Building) พื้นที่ 65 ไร ขนาดที่ดิน<br />

กวาง 75 เมตร ยาว 1,500 เมตร ปจจุบันเปนที่ตั้งโรงงาน A ซึ่งกอสรางแลวเสร็จเมื่อตนป พ.ศ. 2510 และ<br />

โรงงานพรอมสํานักงานเดิมอีก 1 หลัง ในการออกแบบ Baseline Building ผูออกแบบไดใชขอมูลสภาพอากาศ<br />

กรุงเทพมหานครที่รอนชื้นออกแบบโดยคํานึงถึงสภาพภูมิอากาศรอนชื้น อุณหภูมิอากาศเฉลี่ย 27.7°C ความชื้น<br />

สัมพันธตอปเฉลี่ย 79.9% ระดับน้ําฝนเฉลี่ย 1,492 มม. ตอป และ 124 มม. ตอเดือน พื้นที่ใชสอยของอาคารถูก<br />

จัดวางรอบสนามหญา และเปดชองลมใหลมเขาระหวางตัวอาคาร โดยมีแกนยาวทางดานตะวันออกตะวันตก<br />

แบงพื้นที่ออกเปน 3 สวน


385<br />

ทิศเหนือ ติดคูระบายน้ําเปนทรัพยสินสวนบุคคล และถนนใชรวมในโครงการ อาคาร N เปน<br />

อาคารชั้นครึ่งใชเปนสวนกั้นพื้นที่ระหวางอาคารใหมและบริเวณของอาคารเดิม สวนนี้<br />

ใชเปนหองสมุด หอง Lab และ Training<br />

ทิศใต ติดซอยสาธารณะ อาคาร S ใชเปนสํานักงานทั้งชั้นบนและลาง มีความลึก ตัวหอง 8<br />

เมตร ทางเดินจัดวางอยูรอบในอาคารติดกับ Court สนามหญา สวนผนังรอบนอก<br />

อาคารจําเปนจะตองมีกันสาด<br />

ทิศตะวันออก ติดที่ดินสวนบุคคล อาคาร E ใชเปนสํานักงานฝายบริหาร ชั้นลาง โถงรับรองและที่<br />

ทํางานฝายบริหาร ชั้นบนพื้นที่ทํางานสํารอง แสงแดดชวงเชาจะสองเขาถึงโถงรับรอง<br />

ซึ่งตั้งอยูสวนหนาของอาคาร<br />

ตะวันตก ติดที่ดินสวนบุคคล อาคาร W ชั้นลางเปดโลงเปนโถงรับรองของอาคาร และหอง<br />

ประชุมยอย สวนชั้นบนเปนหองสันททนาการ การใชสอยดานทิศตะวันตกจะไมมี<br />

สํานักงาน เนื่องจากแดดตอนชวงบายเขาตัวอาคารลึกมาก จําเปนตองมีระแนงบัง<br />

แดดภายนอกอาคาร<br />

S<br />

น้ํา<br />

บอ<br />

น้ํา<br />

E<br />

W<br />

น้ํา<br />

N<br />

รูปที่ 3 แสดงผังอาคารชั้น 1


386<br />

เปดทําการวันจันทรถึงวันเสาร ตั้งแตเวลา 8.00 น. – 17.00 น. ผูใชประจําอาคาร 60 คนตอ<br />

วัน และไมประจํา 40 คนตอวัน เฉลี่ยผูใชอาคาร 8 ชม. (Full – Time Equivalent) จํานวน 85 คนตอวัน<br />

ตารางที่ 2 แสดงพื้นที่อาคาร<br />

พื้นที่ ชั้น 1 (M 2 ) ชั้น 2 (M 2 ) อื่นๆ (M 2 )<br />

มีระบบปรับอากาศ 654.06 440.56 68.87<br />

ไมมีระบบปรับอากาศ 654.00 488.00 13.82<br />

พื้นที่นอกอาคาร 405.50 - 3,664.83<br />

รวมพื้นที่อาคาร 1,308.06 928.56 82.69<br />

รวมพื้นที่อาคารชั้น 1 & ชั้น 2 2,236.62<br />

พื้นที่โครงการขนาด 35 ม. X 160 ม. 5,600 ตรม.<br />

ราคาคากอสรางพื้นฐาน Baseline Building<br />

งานทั่วไป 10,353,000 บาท<br />

งานโครงสราง<br />

13,476,930 บาท<br />

งานสถาปตยกรรม<br />

14,676,065 บาท<br />

งานระบบไฟฟาและแสงสวาง<br />

7,253,000 บาท<br />

งานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ 4,774,257 บาท<br />

งานระบบสุขาภิบาลและดับเพลิง<br />

2,072,500 บาท<br />

การวิเคราะหอาคารตามเกณฑ LEED<br />

อาคารกรณีศึกษาเปนอาคารสํานักงานขนาดเล็ก ในการออกแบบเพื่อใหผานเกณฑ LEED<br />

Certified นั้น สามารถดําเนินการไดโดยไมตองใชงบประมาณมากจากอาคารที่ไดออกแบบใหสอดคลองกับ<br />

สถานที่ตั้งและสภาพภูมิอากาศ กรณีประเมินอาคารระดับ Certified นั้น มีสัดสวนแตกตางจาก Baseline<br />

Building เปนราคาเพิ่ม 2.90% หรือประมาณ 1,500,000 บาท และระดับ Silver แตกตาง 4.65% จะเห็นไดวา<br />

สวนที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากหมวดงาน EA พลังงานและบรรยากาศ ซึ่งระบบปรับอากาศของอาคารขนาดเล็กมี<br />

ขอจํากัดในดานประสิทธิภาพและความสามารถในการรองรับขอกําหนดมาตรฐานขั้นต่ํา ในการใชพลังงานใหมี<br />

ประสิทธิภาพ ซึ่งในอาคารขนาดใหญจะมีคาใชจายเพิ่มประมาณ 1% ถึง 2% ในระดับ Silver [16] ในแตละหมวด<br />

งานเปน Credit ที่สามารถดําเนินการไดโดยไมมีคาใชจายเพิ่ม โดยเฉพาะหมวดที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณ หรือ<br />

หมวดที่สามารถทําไดโดยบริหารจัดการในชวงกอสรางเชน วัสดุและทรัพยากรในการกอสราง


ตารางที่ 3 แสดงหมวดงานที่ดําเนินการไดและราคาที่แตกตางจาก Baseline Building<br />

387


388<br />

ตารางที่ 3 แสดงหมวดงานที่ดําเนินการไดและราคาที่แตกตางจาก Baseline Building (ตอ)<br />

ตารางที่ 4 แสดงเปรียบเทียบรายการงานเพิ่มจาก Baseline Building<br />

สรุปผลการศึกษา<br />

การประเมินระดับ Certified สําหรับอาคารสํานักงานขนาดเล็ก อาจสามารถดําเนินการไดโดยราคาที่<br />

เพิ่มไมกระทบงบประมาณกอสราง ถาอาคารไดถูกออกแบบใหเหมาะสมกับที่ตั้งตัวอาคาร และงานระบบปรับ<br />

อากาศไดถูกพิจารณาใหสอดคลองตามเกณฑ LEED ตั้งแตเริ่มตนการออกแบบ ซึ่งจะทําใหสามารถพัฒนาจาก<br />

Certified 40-49 คะแนน เปน Silver 50-59คะแนน อีกทั้งควรพิจารณาถึงวัสดุกอสรางเพื่อใชในการรีไซเคิลและ<br />

การนํากลับมาใชใหม ซึ่งเปนหมวดงานที่ไมตองลงทุนมาก แตตองมีการบริหารจัดการที่ดีระหวางการกอสราง


389<br />

ตารางที่ 4 แสดงเปรียบเทียบรายการงานเพิ่มจาก Baseline Building<br />

Credit Point Easy Point Certified Silver<br />

Sustainable Site 26 6-7 20,000 200,000<br />

Water efficiency 10 4-5 12,000 -<br />

Energy & Atmosphere 35 0-1 1,470,500 -<br />

Materials & Resources 14 6-8 (182,000) -<br />

Indoor Environmental Quality 15 5-7 202,660 569,600<br />

Innovations 6 1-2 - 150,000<br />

Regional Priority 4 - - -<br />

รวมราคาเพิ่ม 1,523,160 2,442,760<br />

คากอสรางโครงการ Baseline Building ไมรวมคาดําเนินการ/กําไร/ภาษี 52,605,752<br />

คิดเปนสวนงานเพิ่ม 2.90% 4.65%<br />

สรุปผลการศึกษา<br />

การประเมินระดับ Certified สําหรับอาคารสํานักงานขนาดเล็ก อาจสามารถดําเนินการไดโดยราคาที่<br />

เพิ่มไมกระทบงบประมาณกอสราง ถาอาคารไดถูกออกแบบใหเหมาะสมกับที่ตั้งตัวอาคาร และงานระบบปรับ<br />

อากาศไดถูกพิจารณาใหสอดคลองตามเกณฑ LEED ตั้งแตเริ่มตนการออกแบบ ซึ่งจะทําใหสามารถพัฒนาจาก<br />

Certified 40-49 คะแนน เปน Silver 50-59คะแนน อีกทั้งควรพิจารณาถึงวัสดุกอสรางเพื่อใชในการรีไซเคิลและ<br />

การนํากลับมาใชใหม ซึ่งเปนหมวดงานที่ไมตองลงทุนมาก แตตองมีการบริหารจัดการที่ดีระหวางการกอสราง<br />

สวนการบริหารจัดการดูแลงานระบบอาคารใหทํางานตามขอกําหนดหลังการสงมอบอาคารนั้น มีความ<br />

สําคัญไมนอยไปกวาการที่เครื่องจักรอุปกรณทํางานอยางมีประสิทธิภาพ จึงเปนการดีที่จะติดตามตรวจสอบและ<br />

ปรับแตงอุปกรณงานระบบใหเหมาะสมกับการใชงานจริง (M&V) ซึ่งกระบวนการนี้ ควรไดรับการพิจารณาตั้งแต<br />

เริ่มโครงการ เพื่อมิใหตองมีคาใชจายในการดูแลงานอาคารหลังการสงมอบอาคารแลว ซึ่งในหลายโครงการ<br />

ขั้นตอนนี ้จะอยูในชวงรับประกันอาคาร


390<br />

ตารางที่ 5 แสดงผลประเมินระดับ Certified และ Silver<br />

Certified 40-49 points Silver 50-59 Gold 60-79 points Platinum 80+points<br />

Total<br />

Achievability<br />

LEED Criteria Prerequisites Credits Achievable Need Further<br />

Sustainable Site 1 26 12 1<br />

Water efficiency 1 10 4 0<br />

Energy & Atmosphere 3 35 8 2<br />

Materials & Resources 1 14 4 3<br />

Indoor Environmental 2 15 12 2<br />

Innovations - 6 0 3<br />

Regional Priority<br />

Total<br />

-<br />

8<br />

4<br />

110<br />

0<br />

40<br />

0<br />

11<br />

Accumulated Score 40 5<br />

Anticipated Level Must Pass Certified Silver<br />

ขอเสนอแนะ<br />

CxA และ LEED AP สามารถใหคําแนะนํากับโครงการที่จะเสนอ LEED ไดดี และสามารถชวยคุม<br />

งบประมาณใหเหมาะสมกับโครงการ แตการจางLEED AP และ CxA มาเปนที่ปรึกษาและจัดการโครงการดาน<br />

อาคารเขียวนั้น คอนขางจะสูงสําหรับโครงการขนาดเล็กและขนาดกลาง ในกรณีอาคารกรณีศึกษาซึ่งมีมูลคาการ<br />

กอสรางไมเกิน 50 ลานบาท จะมีคาใชจายสวนนี้ประมาณ 1.5 ลานบาท (เสนอราคาคาบริการโดยบริษัท<br />

ตางชาติในประเทศไทยที่มีผลงานอาคารที่รับรองโดย USGBC แลว) ที่เปนเชนนี้เนื่องจากการคิดคาบริการ<br />

วิชาชีพที่ปรึกษา LEED หรือในระบบอื่นๆยังไมมีเกณฑบังคับและมิไดคํานวณจากพื้นที่กอสรางหรือระดับขั้นที่<br />

ประเมินเทานั้น แตยังพิจารณาระยะเวลาที่ทําการออกแบบและกอสรางโครงการเปนหลัก ซึ่งอาคารทั่วไปจะใช<br />

เวลาประมาณ 18 เดือน ฉะนั้นถาสถาปนิก วิศวกร ผูออกแบบมีความเขาใจในเกณฑของ LEED หรือหลักเกณฑ<br />

การประเมินอาคารเขียวในระบบอื่นๆ ก็จะทําใหสามารถทํางานออกแบบ แนวทางอาคารเขียวอยางมี<br />

ประสิทธิภาพตั้งแตเริ่มตนงาน (Green Building through Integrated Design)<br />

รายการอางอิง<br />

ภาษาไทย<br />

เอกรินทร โมษกรนัฏ. Emission Baseline สําหรับการจัดการดานการใชไฟฟา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ<br />

ไทย. รายงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย,<br />

2550.<br />

อุตุนิยมวิทยา, กรม. สถิติภูมิอากาศของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2550 (แฟมขอมูล). กรุงเทพฯ: กรมอุตุนิยมวิทยา<br />

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ผูผลิต), 2551.<br />

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. รายงานประจําป 2552 EPPO, หนา 27<br />

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. รายงานการพยากรณความตองการไฟฟา (มีนาคม<br />

2550), หนา 1 – 2


391<br />

สถาบันอาคารเขียวไทย (TGBI). เกณฑการประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอมไทย สําหรับการ<br />

กอสรางและปรับปรุงโครงการใหม. สถาบันอาคารเขียว, มกราคม 255<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

Kubba, Sam. LEED Practices, Certification, and Accreditation Handbook. USA: Elsevier Inc, 2010.<br />

Yudelson, Jerry. Green Building Through Integrated Design. USA: McGraw-Hill Companies, 2009.<br />

American Society <strong>of</strong> Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers (ASHRAE). Advanced<br />

Energy Design Guide For Small Office Buildings. Atlanta, GA: ASHRAE, 2007.<br />

American Society <strong>of</strong> Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers (ASHRAE).<br />

ANSI/ASHRAE/IESNA Standard 90.1 - 2004. Atlanta, GA: ASHRAE, 2004.<br />

American Society <strong>of</strong> Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers (ASHRAE). 62.1 – 2007<br />

Ventilation for Acceptable Indoor Air Quality. Atlanta, GA: ASHRAE, 2004.<br />

U.S. Green Building Council. LEED Reference Guide for Green Building Design and Construction<br />

2009 Edition. Washington, DC: U.S. Green Building Council, 2009.<br />

สื่ออิเล็กทรอนิกส<br />

International Energy Agency (IEA). Available From: http://www.iea.org/index.asp<br />

World Green Building Councils (WGBC) Available From: http://www.worldgbc.org<br />

U.S. Energy Information Administration (EIA) Thailand Total Electricity Net Consumption. Available<br />

From: http://www.eia.doe.gov<br />

Building Research Establishment (BRE). BREEAM. Available From: http://www.breeam.org/<br />

U.S. Green Building Council (USGBC). LEED. Available From: http://www.usgvc.org/<br />

Swiss Confederation and the Swiss Cantons. MINERGIE. Available From: http://www.minergie.ch/<br />

Japan Sustainable Building Consortium (JSBC). CASBEE. Available From: http://www.ibec.or.jp/<br />

Green Building Council Australia (GBCA). Green Star. Available From: http://www.gbca.or.au/<br />

German Sustainable Building Council (DGNB). ………... Available From: http://www.dgnb.de/<br />

Technology PromotionMag. “อาคารเขียว” นวัตกรรมอนุรักษพลังงานเพื่อโลกยุคใหม June – July 2009.<br />

Available From: http://www.tpa.or.th/publisher/pdffiledownloads,/Tn~%20205B%20p8-<br />

11pdf.<br />

World Weather and Climate Graph. Bangkok, Thailand. Available From:<br />

http://www.climatetemp.info/thailand/bangkok/html<br />

Green Building Certification Institute (GBCI). Available From: http://www/gbci.org


392<br />

แนวทางการออกแบบอาคารโฮมมารทสีเขียวใหสอดคลองกับเกณฑประสิทธิภาพพลังงานของ LEED<br />

Design Guideline for Green HOME MART in Compliance with LEED’s Energy Efficiency<br />

อุราวัลย รุกขไชยศิริกุล<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรจน เศรษฐบุตร<br />

บทนํา (Introduction)<br />

การดําเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืนขององคกรขนาดใหญระดับประเทศอยาง SCG มี<br />

นัยสําคัญในการแสดงความรับผิดชอบตอสังคมโดยเฉพาะทางดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม การบริหารการจัดการ<br />

ดานสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบในทุกกระบวนการ การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดและการบริการที่<br />

เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โครงการงานวิจัยนี้เปนการศึกษาอาคารหาง SCG HOME MART ซึ่งเปนอาคารคาวัสดุ<br />

กอสรางสังกัดธุรกิจ SCG DISTRIBUTION เครือ SCG ลักษณะเปนอาคารหลังเดียว พื้นที่อาคาร ตั้งแต 1,200 -<br />

3,000 ตร.ม. ตั้งอยูในพื้นที่เมืองใหญที่มีกําลังซื้อสินคาประเภทวัสดุกอสราง และมีอัตราการขยายตัวของกลุม<br />

ธุรกิจอสังหาริมทรัพยสูง<br />

ปญหาคืออาคารหาง SCG HOME MART ที่มีอยู ณ ปจจุบัน ถูกออกแบบโดยไมไดคํานึงถึงเรื่องสมรรถนะ<br />

ดานพลังงาน มีการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมเดิมที่ใชระบบธรรมชาติมาเปนการใชระบบปรับอากาศแทน ในขณะที่<br />

องคประกอบอาคารไมไดมีการปรับปรุงใหสอดคลองกัน และในสวนของการบริหารจัดการของผูใชอาคารที่ไมคํานึงถึง<br />

การประหยัดพลังงานจึงสงผลใหมีปริมาณการใชพลังงานเพิ่มขึ้นอยางชัดเจน<br />

นโยบายของบริษัทตองการเพิ่มเรื่องการประหยัดทรัพยากร โดยเฉพาะเรื่องพลังงาน ในอาคารหาง<br />

SCG HOME MART ที่สอดคลองกับประสิทธิภาพการใชพลังงานของเกณฑ LEED : NC 2009<br />

งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินสมรรถนะดานพลังงานของอาคารและสรางแนวทางการ<br />

ออกแบบหาง SCG HOME MART ตนแบบที่คํานึงถึงการประหยัดพลังงาน และที่สําคัญตองสอดคลองกับ<br />

เกณฑการประเมินอาคารเขียวระดับนานาชาติอยางเชน LEED (Leadership in Energy and Environmental<br />

Design) โดยสภาอาคารเขียวแหงสหรัฐอเมริกา (US Green Building Council)<br />

ไดสํารวจอาคาร SCG HOME MART ทั้ง 93 ราน มี 6 รานคาที่นํามาพิจารณาเนื่องจากมีลักษณะของ<br />

Modern trade ที่ครบทุกการบริการเปนหาง SCG new standard ที่เตรียมพรอมเพื่ออนาคต ดังนี้ ลักษณะการ<br />

ออกแบบอาคาร ขนาดอาคาร ลักษณะพื้นที่ใชสอย ชวงเวลาการใชงานของอาคาร สัดสวนพื้นที่ชองเปดตอพื้นที่<br />

ผนังอาคาร (WWR) วัสดุประกอบอาคาร เปนตน เพื่อนํามาสรางเปนตนแบบอาคารอางอิง (SCG Baseline<br />

Reference Building) สําหรับการจําลองการใชพลังงานดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Visual DOE 4.1<br />

ผลการจําลองอาคารอางอิงไดถูกนํามากําหนดเปนขอมูลการใชพลังงานเฉลี่ยของอาคาร ณ ปจจุบัน<br />

(SCG Baseline) เพื่อเปนฐานขอมูลใชปรับปรุงการออกแบบอาคารหาง SCG HOME MART ตนแบบ (New<br />

Green HOME MART Proposed Building) ที่สามารถลดการใชพลังงานลงไดอยางนอย 12% จากเกณฑของ


ASHRAE90.1 2007 โดยเนนการลงทุนที่มีความเปนไปได ของการเลือกใชวัสดุประกอบอาคารตางๆ โดยทํา<br />

การวิเคราะหระยะเวลาคืนทุน (Payback period) และมูลคาตลอดอายุการใชงาน 20 ป (Life – cycle Cost<br />

Analysis)<br />

ปจจัยที่มีผลตอการใชพลังงานของอาคารทั่วไปมีอยู 3 ประเด็น คือ 1) วัสดุประกอบอาคาร 2) ระบบ<br />

ไฟฟาแสงสวาง และ 3) ระบบปรับอาคาร ผลการศึกษานี้ไดมีการปรับเฉพาะวัสดุประกอบอาคารเทานั้น อาคาร<br />

ที่มีการใชวัสดุที่มีคุณสมบัติในการตานทานความรอนสูงยอมมีความสามารถในการปองกันหรือลดการถายเท<br />

ความรอนเขาสูอาคารไดดีกวาอาคารที่มีการใชวัสดุที่มีคุณสมบัติในการปองกันความรอนต่ํา<br />

จากการเลือกตัวอยางศึกษาวัสดุประกอบอาคารโดยผานการจําลองดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Visual<br />

DOE 4.1 เกณฑของระบบไฟฟาไดใชเกณฑมาตรฐาน ASHRAE90.1 2007 ที่กําหนด LPD16 วัตต/ ตร.ม. และ<br />

ระบบปรับอากาศของอาคารกรณีศึกษา SCG HOME MART ไมไดนํามาเกี่ยวของกับการจําลองผลการใช<br />

พลังงานในครั้งนี้ ผลการวิเคราะหเชิงเทคนิคดังกลาวแสดงใหเห็นวา การปรับเฉพาะวัสดุประกอบอาคารของหาง<br />

SCG HOME MART นั้นสามารถทําใหลดการใชพลังงานไดยากกวาการปรับระบบอื่น ดังนั้นแนวทางการ<br />

ออกแบบราน SCG HOME MART ตนแบบ ที่มีการทําการทดลองดานวัสดุประกอบอาคารที่สามารถลดการใช<br />

พลังงานลงได 13% คือ การมีคาความตานทานความรอนของเปลือกอาคาร(R – Value) เทากับ 7.85 hr-ft 2 -<br />

F/Btu, คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน(U–Value) ผนัง เทากับ 0.127 Btu/ hr-ft 2 -F, U –Value หลังคา 0.09<br />

Btu/ hr-ft 2 -F, U-Value ของกระจก 1.96 Btu/ hr-ft 2 -F, คาสัมประสิทธิ์การบังเงาของกระจก (Shading<br />

Coefficient) เทากับ 0.25 และคา WWR เทากับ 9% ทําใหคากอสรางเพิ่มขึ้นกี่เปอรเซ็นต, ระยะเวลาคืนทุน<br />

Saving<br />

วิธีวิจัย (Method)<br />

เพื่อใหงานวิจัยเปนไปตามเปาหมายและวัตถุประสงค ผูวิจัยไดดําเนินการและวางแผนเปนขั้นตอนดังนี้<br />

1. ดําเนินการสํารวจเก็บขอมูลการใชพลังงานของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART<br />

เพื่อรวบรวมขอมูลตางๆ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

2. ทําการจําลองการใชพลังงานอาคาร โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร Visual Doe4.1งานวิจัยนี้ใช<br />

แนวทางการวิจัยเชิงจําลองสถานการณจริง (Simulation Research) ดวยการจําลองการใชพลังงานแลว<br />

เปรียบเทียบผลกับผลการวัดจริง<br />

3. ศึกษาถึงขอมูลทางกายภาพของวัสดุประกอบอาคารตางๆ<br />

4. ทําการจําลองการใชพลังงานของอาคารทางเลือกแบบตางๆโดยใชโปรแกรม VisualDoe4.1<br />

พรอมนําผลการจําลองที่ไดมาเปรียบเทียบกับฐานการใชพลังงานของอาคารตัวแทน (ASHRAE Baseline)<br />

พรอมทั้งวิเคราะหและอภิปรายขอมูล<br />

5. วิเคราะหความคุมคาทางเศรษฐศาสตร โดยวิเคราะหเปรียบเทียบงบประมาณที่ตองลงทุน<br />

แลวจึงคํานวณหาจุดคุมทุนของแตละแนวทาง โดยคํานวณคาใชจายตลอดอายุการใชงาน หรือ Life-Cycle Cost<br />

(LCC) ที่ใชในอาคารทางเลือกแบบตางๆ<br />

6. รวบรวมและสรุปผลการทดลองและประเมินผล เพื่อนําเสนอขอเสนอแนะในการวิจัยรวมไป<br />

ถึงแนวทางในการนําไปประยุกตกับอาคารทั่วไปในการใชงานจริง<br />

393


394<br />

ขอมูลเบื้องตนของอาคารกรณีศึกษา<br />

ลักษณะทางกายภาพของอาคาร อาคารกรณีหาง SCG HOME MART ตั้งอยูบน ถนนราชพฤกษ<br />

อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยูบนพื้นที่ 7 ไร ติดตอกับสภาพแวดลอมโดยรอบดังตอไปนี้<br />

ทิศออกเฉียงเหนือ เปนดานหลังอาคารติดกับลานโลงภายใน<br />

ทิศตกเฉียงใต เปนดานหนาอาคารติดตอกับถนนราชพฤกษ<br />

ทิศตะวันออกเฉียงใต ติดตอกับอาคารพาณิชยขนาดใหญ 2ชั้น<br />

ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดตอกับอาคารเก็บสินคาสูง 8.00 ม.<br />

ภาพที่ 1 แสดงผังบริเวณโดยรอบที่ดิน และลักษณะการวางอาคารของอาคารกรณีศึกษา SCG HOME MART<br />

ภาพที่ 2 แสดงผังพื้นชั้น 1, 2 และหลังคาของอาคารกรณีศึกษา SCG HOME MART<br />

ภาพที่ 3 แสดงรูปดานหนาของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART ติดกับถนนราชพฤกษทิศตกเฉียงใต


395<br />

ภาพที่ 4 แสดงรูปดานขางขวาของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับ<br />

อาคารเก็บสินคาสูง 8.00 ม.<br />

ภาพที่ 5 แสดงรูปดานหลังของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART ทิศออกเฉียงเหนือ ติดกับลานโลง<br />

ภายในโครงการ<br />

ภาพที่ 6 แสดงรูปดานขางซายของอาคารกรณีศึกษา SCG HOME MART ทิศตะวันออกเฉียงใต ติดกับ<br />

อาคารพาณิชยขนาดใหญ 2 ชั้น


396<br />

สวนประกอบ พื้นที่ (ตร.ม.)<br />

สวนพื้นที่ขาย 1435.5<br />

สวนออฟฟส 285.5<br />

สวนเก็บสินคา 299<br />

สวนพักอาศัย 319<br />

รวม 2339<br />

ตารางที่ 1 แสดงพื้นที่ตาง ๆ ของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART<br />

ลักษณะโดยรวมของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART มีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผา สัดสวน<br />

พื้นที่ชองเปดตอผนังพื้นที่อาคาร (WWR) ประมาณ 20-30 % มีขนาดพื้นที่ใชสอยรวม 2,339.00 ตารางเมตร<br />

อาคารมีโครงสรางเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก มีหลังคาเปนโครงสรางเหล็ก Truss มุงดวย Metal Sheet ระบบ<br />

เปลือกอาคารเปนผนังกออิฐบล็อคฉาบปูนและหนาตางกระจกใส ซึ่งการศึกษานี้ไดดําเนินการดวยการสํารวจ<br />

และเก็บรวบรวมขอมูลอาคาร แลวนํามาจําลองสภาพการณดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร พรอมทั้งวิเคราะหสภาพ<br />

ปญหาและเสนอแนวทางเลือกสําหรับเปนแนวทางในการปรับปรุงอาคาร อาคารกรณีศึกษาทําการศึกษาหาง<br />

SCG HOME MART โดยมีพื้นที่ตางๆ รายละเอียดดังตอไปนี้<br />

AREA TYPE Area (m2) %<br />

1. Conditioned Area 2,077.60 84.72<br />

2. Un-Conditioned Area 374.71 15.28<br />

Total 2,452.31 100<br />

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนพื้นที่ปรับอากาศและพื้นที่ไมปรับอากาศของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART<br />

ลักษณะพฤติกรรมการใชงานภายในอาคาร


397<br />

อาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART ชั้นลางเปนสวนขาย และสํานักงาน ชั้น 2 เปนสวนพัก<br />

อาศัย และสํานักงาน ผูใชอาคารมีทั้งหมด 3 กลุม ดังนี้<br />

1. เจาของรานและสมาชิกครอบครัว มีทั้งหมด 5 คน<br />

2. เจาหนาที่ประจํารานทั้งหมด 50 คน<br />

3. ลูกคาที่มาใชบริการ<br />

จํานวนลูกคาที่มาใชบริการหาง SCG HOME MART ที่มีการเก็บบันทึก<br />

ป เดือน รานคา จํานวนลูกคา SCGMAT วันที่เยี่ยมชม ผูบันทึก/Recorder<br />

2010 ตุลาคม บริษัท<br />

14 10/29-31/2010 ชาตรี/ขวัญกมล /อรรณพ/<br />

พฤศจิกายน สมารท<br />

359 11/1-30/2010 ธีรยุทธ/ยุพิน/ปณณฑัต/<br />

ธันวาคม<br />

โฮมโปร<br />

ธุมากร/ธนศักดิ์/สุวิทย<br />

1265 12/1-31/2010<br />

ดักส<br />

อดทน/กิตติคุณ<br />

2011 มกราคม จํากัด<br />

1005 1/1-31/2011<br />

กุมภาพันธ 1094 2/1-29/2011<br />

ตารางที่ 3 สรุปจํานวนลูกคาที่มาใชบริการอาคารของพื้นที่ชั้นลาง (สวนขาย และสํานักงาน)<br />

แผนภูมิที่ 1 แสดงจํานวนลูกคามาใชบริการอาคารของชั้นลางสวนพื้นที่ขายที่ไดมาจากการเก็บสถิติของทางราน<br />

ลักษณะการใชงานภายในอาคารสามารถแบงได 3 ประเภท คือ การใชสอยของพื้นที่, การใชงาน<br />

ของระบบแสงสวาง และการใชงานของอุปกรณไฟฟาที่รวมระบบปรับอากาศดวย ซึ่งในแตละประเภทจะมี<br />

พฤติกรรมของการใชงานที่แตกตางกัน ของการใชงานตลอดระยะเวลา 5 เดือน ตั้งแตเดือนตุลาคม ป 2553 –<br />

เดือนกุมภาพันธ 2554 ตามขอมูลดังนี้<br />

ก) พื้นที่ชั้นลาง (สวนขาย และสํานักงาน)<br />

ข) พื้นที่ชั้นสอง (สํานักงาน และสวนพักอาศัย)


398<br />

ภาพที่ 7 แสดงองคประกอบของการใชสอยภายในอาคาร<br />

จะพบวาพื้นที่ชั้นลางของอาคารในชวงเวลากลางวันมีการใชงานบริเวณนี้เปนสวนใหญ ทําใหเกิด<br />

การใชพลังงานไฟฟาในระบบอุปกรณไฟฟาและการใชแสงประดิษฐมาก สวนในเวลากลางคืนจะไมมีการใชงาน<br />

บริเวณนี้เลย พื้นที่ชั้นสองของอาคาร ในชวงเวลากลางวัน มีการใชงานเฉพาะสวนของสํานักงานเทานั้น สวน<br />

พื้นที่พักอาศัยนั้นมีการใชงานในเวลากลางคืนเปนสวนใหญ<br />

รายละเอียดโครงสรางประกอบอาคาร<br />

จากการสํารวจอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART สามารถสรุปโครงสรางของอาคารไดดังนี้<br />

ประเภท ตําแหนง รายการวัสดุประกอบอาคาร<br />

พื้น<br />

1. สวนขาย + สํานักงาน<br />

2. สวนพักอาศัย<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กหนา 0.10 มม.ปูดวยกระเบื้องเซรามิค<br />

ขนาด 0.60 x 0.60 cm. ตัดขอบ สีครีม<br />

ผนัง<br />

1. ภายในและภายนอก สวนขาย<br />

,สํานักงาน และสวนพักอาศัย<br />

2. ภายนอกดานหนาอาคารเทานั้น<br />

กอคอนกรีตบล็อกขนาด 7x19x39 cm.ฉาบปูนเรียบ ทาสีขาว<br />

ติดตั้งแผนอะลูมิเนียมคอมโพสิตสีแดง ขนาดความหนา 4<br />

mm.<br />

ฝา<br />

เพดาน<br />

1. สวนขาย ติดตั้ง Insulation 6" Stay cool premium<br />

2. สวนพักอาศัย+ สํานักงาน ติดตั้งยิปซั่มบอรด ฉาบเรียบ<br />

หลังคา ทั้งอาคาร Metal-sheet สีเทา


399<br />

หนาตาง ทั้งอาคาร<br />

บานเลื่อน วงกบและกรอบบานอะลูมิเนียม ทําสี ลูกฟกกระจก<br />

ใส<br />

ประตู<br />

1. สวนดานหนาและขางอาคาร<br />

2. สวนหลังอาคาร ประตูเหล็กมวนทึบ<br />

บานเปดและบานเลื่อน วงกบและกรอบบานอะลูมิเนียม ทําสี<br />

ลูกฟกกระใส<br />

ตารางที่ 4 สรุปวัสดุประกอบอาคารของอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART<br />

ภาพที่ 8 แสดงรูปภาพของโครงสรางหลังคาของอาคารกรณีศึกษา SCG HOME MART<br />

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวา ผนังอาคารสวนใหญเปนผนังกอคอนกรีตบล็อคฉาบปูน ซึ่งวัสดุ<br />

เหลานี้มีคุณสมบัติในการปองกันการถายเทความรอนไมดี โดยคาความตานทานความรอน (R-value) ของผนัง<br />

กอคอนกรีตบล็อคชั้นเดียว (R1 ฟลมอากาศดานนอก 0.044 m2 oC/W, R2 ฉาบปูนเรียบ 10 มม. 0.028 m2<br />

oC/W ,R3 ผนังกอคอนกรีตบลอก 7 cm. 0.149 m2 oC/W, R4 ฉาบปูนเรียบ 10 มม. 0.028 m2 oC/W, R5<br />

ฟลมอากาศดานใน 0.12 m2 oC/W ดังนั้น R รวมของผนัง 0.369 m2 oC/W สงผลใหคา Uw = 2.71 (W / m 2 o C)<br />

และผนังภายนอกทาสีออน จะไดวา TDeq10 ํซ เมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุอื่นๆ ในปจจุบันที่มีอยูในตลาดซึ่งมี<br />

การพัฒนาใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นกวาเดิม จึงเปนเหตุผลที่มีการพิจารณาเรื่องการทดลองทางเลือกของวัสดุ<br />

ประกอบอาคาร<br />

นอกจากการเลือกใชวัสดุที่มีคุณสมบัติในการปองกันการถายเทความรอนไมดีแลว ยังพบวาไมมีการ<br />

ติดตั้งฉนวนปองกันความรอนที่เพียงพอใหกับสวนของผนัง ซึ่งจากเกณฑในคูมือแบบประเมินอาคารประหยัด<br />

พลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสําหรับอาคารที่ไมใชอาคารพักอาศัยไดเสนอใหติดตั้งฉนวนปองกันความ<br />

รอนที่หลังคาที่มีคา R มากกวา 3.9 m2 oC/W (DEDE, 2007) หรือเทียบเทากับฉนวนใยแกวที่มีความหนา<br />

ประมาณ 10เซนติเมตร จึงจะสามารถปองกันการถายเทความรอนไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนตน<br />

ดังนั้น การที่จะเลือกใชวัสดุไดอยางเหมาะสมผูออกแบบควรมีความเขาใจในเรื่องคุณสมบัติตางๆ ของ<br />

วัสดุ เชน คาความตานทานความรอน คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน สําหรับผนังทึบ และคาสัมประสิทธิ์<br />

การบังเงา คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน สําหรับผนังกระจก รวมถึงประสิทธิภาพในการปองกันความชื้น<br />

การดูแลรักษา และวิธีการติดตั้งที่เหมาะสมสําหรับวัสดุแตละชนิดดวย<br />

ขอมูลการใชปริมาณพลังงานไฟฟาภายในอาคาร


400<br />

ปริมาณการใชพลังงานไฟฟาภายในอาคาร<br />

การศึกษาการใชพลังงานไฟฟาในกิจกรรมตางๆ ภายในอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME<br />

MART นี้สามารถแบงไดเปน 3 สวน ไดแก ระบบแสงสวางประดิษฐ , ระบบอุปกรณไฟฟา และ ระบบปรับอากาศ<br />

ซึ่งแตละสวนจะมีรายละเอียดของขอมูลการใชพลังงานไฟฟาที่แตกตางกัน เวลาทําการเปด – ปด ของรานดังนี้<br />

วันจันทร – วันเสาร เปดทําการตั้งแต 08.00 – 18.00 น.<br />

วันอาทิตย เปดทําการตั้งแต 08.00 – 17.00 น.<br />

รูปภาพที่ 11 แสดงแผนภูมิสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาในสวนตาง ๆ ของอาคารกรณีศึกษา<br />

ตั้งแต เดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ. 2553 จากการสํารวจปริมาณการใชพลังงานไฟฟาภายใน<br />

อาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART ยอนหลังไป 1 ป ตั้งแตเดือนมกราคม - เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553<br />

พบวามีปริมาณการใชพลังงานไฟฟาเพิ่มขึ้นทุกเดือน โดยเริ่มเปดใชงานอาคารเดือนมกราคม พ.ศ.2553 มี<br />

ปริมาณการใชไฟฟาต่ําสุดอยูที่ 93,307.81 บาท หรือ 32,436 กิโลวัตต-ชั่วโมง และเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2553 มี<br />

ปริมาณการใชไฟฟาสูงสุดอยูที่151,541.87 บาทหรือ 50,514 กิโลวัตต-ชั่วโมง คิดเปนรอยละ 35.79 ซึ่งปจจัยที่<br />

ทําใหคาไฟฟาสูงขึ้นเกิดจากสภาพภูมิอากาศ และการตกแตงรานเพิ่มเติมในชวงเวลา 18:00-24:00น. จึงสงผล<br />

ทําใหมีการใชปริมาณไฟฟาเพิ่มสูงขึ้น ดังนั ้นจําเปนตองมีการหาแนวทางในการปรับปรุงอาคารเพื่อใหอาคาร<br />

ประหยัดพลังงาน<br />

ปริมาณการใชพลังงานไฟฟาตอเดือน<br />

มกราคม<br />

กุมภาพันธ<br />

มีนาคม<br />

เมษายน<br />

พฤษภาคม<br />

มิถุนายน<br />

กรกฎาคม<br />

สิงหาคม<br />

กันยายน<br />

ตุลาคม<br />

พฤศจิกายน<br />

ธันวาคม<br />

รวม<br />

93,307.81 93,384.76 109,379.36 126,282.80 112,507.65 142,242.34 151,541.87 131,294.63 130,212.81 120,220.95 108,315.74 121,517.25<br />

1440207.97<br />

แปลงปริมาณการใชพลังงานไฟฟาตอเดือนเปน ยูนิต หาร 3 บาท<br />

32,436<br />

31,129<br />

36,460<br />

42,095<br />

37,503<br />

47,412<br />

50,514<br />

43,765<br />

43,405<br />

40,074<br />

36,106<br />

40,506<br />

481,405<br />

(หมายเหตุ : อาคารไดเปดใชบริการ 1 ปเทานั้น)<br />

ตารางที่ 5 แสดงปริมาณการใชพลังงานไฟฟาและคาไฟฟาของอาคารกรณีศึกษาตั้งแต เดือนมกราคม –<br />

ธันวาคม พ.ศ. 2553


ผลจากการเก็บขอมูลจากใบเสร็จคาไฟฟาภายในอาคารกรณีศึกษาในชวงเดือนกรกฎาคมมีปริมาณ<br />

การใชพลังงานไฟฟาสูงสุดที่ 50,514 กิโลวัตต-ชั่วโมงตอปซึ่งนํามาเปรียบเทียบกับเดือนมิถุนายนถึงเดือน<br />

ตุลาคมที่อยูในชวงฤดูฝนเชนกัน พบวาในเดือนมิถุนายนมีปริมาณการใชพลังงานไฟฟาอยูที่ 47,412กิโลวัตต-<br />

ชั่วโมงตอป ลดลงจากเดือนกรกฎาคมคิดเปนรอยละ 6.14 เดือนสิงหาคมมีปริมาณการใชพลังงานไฟฟาอยูที่<br />

43,765 กิโลวัตต-ชั่วโมงตอป ลดลงจากเดือนกรกฎาคมคิดเปนรอยละ 13.36 เดือนกันยายนมีปริมาณการใช<br />

พลังงานไฟฟาอยูที่ 43,405 กิโลวัตต-ชั่วโมงตอป ลดลงจากเดือนกรกฎาคมคิดเปนรอยละ 14.07 และเดือน<br />

ตุลาคมมีปริมาณการใชพลังงานไฟฟาอยูที่ 40,074 กิโลวัตต-ชั่วโมงตอป ลดลงจากเดือนกรกฎาคมคิดเปนรอย<br />

ละ 20.66 สรุปไดวาการตกแตงอาคารเพิ่มเติมในเดือนกรกฎาคมมีผลกระทบตอปริมาณการใชพลังงานไฟฟา<br />

ของอาคารเฉลี่ยรอยละ 13.56<br />

ระบบปรับอากาศภายในอาคาร<br />

การปรับอากาศภายในอาคารจําแนกตามประเภทการใชสอย ดังนี้ สวนพักอาศัยใชเครื่องปรับอากาศ<br />

แบบแยกสวน (Split Type) จํานวน 6 เครื่อง โดยแตละเครื่องมีภาระการ ทําความเย็นประมาณ 12,000 บีทียูตอ<br />

ชั่วโมง หรือ 1 ตัน ใชพลังงานรวมทั้งหมด 2,220 วัตต ประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ (EER) จะเทากับ<br />

10.82 ซึ่งคิดเปนกิโลวัตตตอตันความเย็นจะเทากับ 1.1 ซึ่งไมเกินเกณฑมาตรฐานของกฎหมายอนุรักษพลังงาน<br />

ที่กําหนดไวไมเกิน 1.61 กิโลวัตตตอตันความเย็น สวนสํานักงานใชเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type)<br />

จํานวน 1 เครื่อง โดยเครื่องมีภาระการทําความเย็นประมาณ 403,000 บีทียูตอชั่วโมง หรือ 400 ตัน ใชพลังงาน<br />

รวมทั้งหมด 2,700 วัตต ประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ (EER) จะเทากับ 10.82 ซึ่งคิดเปนกิโลวัตตตอตัน<br />

ความเย็นจะเทากับ 1.1 ซึ่งไมเกินเกณฑมาตรฐานของกฎหมายอนุรักษพลังงานที่กําหนดไวไมเกิน 1.61 กิโลวัตต<br />

ตอตันความเย็น สวนขายใชเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type) จํานวน 5 เครื่อง โดยแตละเครื่องมี<br />

ภาระการทําความเย็นประมาณ 12,000บีทียูตอชั่วโมง หรือ 1 ตัน ใชพลังงานรวม ทั้งหมด 2,220 วัตต<br />

ประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ (EER) จะเทากับ 10.82 ซึ่งคิดเปนกิโลวัตตตอตันความเย็นจะเทากับ 1.1 ซึ่ง<br />

ไมเกินเกณฑมาตรฐานของกฎหมายอนุรักษพลังงานที่กําหนดไวไมเกิน 1.61 กิโลวัตตตอตันความเย็น<br />

ระบบแสงสวางภายในอาคาร<br />

จากการสํารวจและวิเคราะหระบบแสงสวางภายในอาคารกรณีศึกษา มีแสงสวางที่ทําใหเกิดผล<br />

กระทบตออาคาร 2 ทาง คือ แสงธรรมชาติและแสงประดิษฐจากหลอดไฟฟา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้<br />

สวนพักอาศัยชั้น 2 และสวนสํานักงานทั้งชั้น 1 และชั้น 2 ใชดวงโคมชนิดหลอดฟลูออเรสต<br />

เซนตแบบแผงฝงในฝาเพดาน ( T8 ) ขนาด 1x32 วัตต มีจํานวนทั้งหมด 69 ดวง ซึ่งคิดเปนจํานวนพลังงานไฟฟา<br />

ทั้งหมดที่ใชในระบบแสงสวางของสวนนี้จะเทากับ 2,208 วัตต คิดเฉลี่ยพลังงานไฟฟาตอพื้นที่สวนพักอาศัย และ<br />

สวนออฟฟสทั้งหมด ( 903.5 ตร.ม.) จะเทากับ 2.45 วัตตตอตารางเมตร ซึ่งอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐานของ<br />

กฎหมายอนุรักษพลังงานที่กําหนดไวไมเกิน 16 วัตตตอตารางเมตร<br />

สวนพื้นที่ขายใชดวงโคม 2 ชนิดคือ 1. หลอดไฟโลเบยแบบกลมที่หอยติดบนฝาเพดานขนาด<br />

1x250 วัตต มีจํานวนทั้งหมด 27 ชุด ซึ่งคิดเปนจํานวนพลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ใชในระบบแสงสวางของสวนพื้นที่<br />

ขาย ( 1,435.5 ตร.ม.)จะเทากับ 6,750 วัตต คิดเฉลี่ยพลังงานไฟฟาตอพื้นที่อาคารสวนพื้นที่ขายจะเทากับ 4.71<br />

วัตตตอตารางเมตร และดวงโคมชนิดหลอดฟลูออเรสตเซนตแบบติดบนรางขนาด 1x32 วัตต ( T8 ) มีจํานวน<br />

401


402<br />

ทั้งหมด 75 ดวง ซึ่งคิดเปนจํานวนพลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ใชในระบบแสงสวางของสวนพื้นที่ขาย ( 1,435.5 ตร.ม.)<br />

จะเทากับ 2,400 วัตต คิดเฉลี่ยพลังงานไฟฟาตอพื้นที่อาคารสวนพื้นที่ขายจะเทากับ 1.68 วัตตตอตารางเมตร<br />

ซึ่งอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐานของกฎหมายอนุรักษพลังงานที่กําหนดไวไมเกิน 16 วัตตตอตารางเมตร<br />

สวนเคานเตอรบริการใชดวงโคม Downlight ติดบนฝา ขนาด 1 x60 วัตต มีจํานวน 10 โคม<br />

ซึ ่งคิดเปนจํานวนพลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ใชในระบบแสงสวางของสวนพื้นที่เคานเตอรบริการจะเทากับ 600 วัตต<br />

คิดเฉลี่ยพลังงานไฟฟาตอพื้นที่อาคารสวนพื้นที่ขายจะเทากับ 0.42 วัตตตอตารางเมตร ซึ่งอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน<br />

ของกฎหมายอนุรักษพลังงานที่กําหนดไวไมเกิน 16 วัตตตอตารางเมตร<br />

ภาพที่ 9 แสดงผังตําแหนงระบบไฟฟาของอาคารกรณีศึกษา SCG HOME MART<br />

แสงธรรมชาติ<br />

เนื่องจากอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART มีการวางผังของอาคารเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ขนาดใหญ และไมไดวางอาคารตามแนวทิศเหนือและทิศใต ผนังดานหนาของอาคารมีชองเปดบางสวนหันไป<br />

ทางทิศตะวันตกเฉียงใต ผนังดานหลังของอาคารมีชองเปดบางสวนหันไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับลาน<br />

เปดโลง ผนังดานขวาของอาคารไมมีชองเปดหันไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตติดกับอาคารพาณิชยมีระยะหาง<br />

5.00 เมตร และผนังดานซายของอาคารมีชองเปดบางสวนหันไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับอาคารเก็บ<br />

สินคา ดังนั้นผนังทางดานหนา,ดานขวาและดานหลังที่จะไดรับผลกระทบจากแสงสวางภายนอก โดยมีพื้นที่ชอง<br />

แสงของผนังแตละดานประมาณ 35 % ของผนังแตละดาน( ยกเวนดานขวาเปนผนังทึบทั้งหมด) และยังมีชอง<br />

แสงดานบนหลังคา ปจจัยที่มีผลตอระดับการสองสวางภายในอาคารไดแก ลักษณะชองเปด ,คาการสองผาน<br />

ของกระจก ,แผงกันแดดของอาคาร ,ทิศทางของอาคาร และคาการสะทอนแสงของพื้น ,ผนังและฝาเพดาน<br />

การวิเคราะหระดับความสองสวางของแสงธรรมชาติที่มีผลตอความสองสวางภายใน<br />

การวิเคราะหระดับสวางของแสงธรรมชาติที่มีผลตอความสองสวางภายในอาคารโดยการใช<br />

เครื่องมือวัดแสงลักซมิเตอร เพื่อศึกษาการกระจายตัวของแสงธรรมชาติที่สองผานเขามาในอาคาร และการหา<br />

คาความสองสวางภายในโดยใชคาความสองสวางเฉลี่ย และคา daylight factor (DF) ในแตละจุด โดยทําการ<br />

แบงพื้นที่วัดแสงออกเปนจุดๆ ใหครอบคลุมทั้งดานสั้น และดานยาวโดยวัดคาความสองสวางของแสงที่ระดับ<br />

0.80 เมตร (ระดับโตะทํางาน) จากพื้นหองโดยวัดคาเปนลักซ (Brown, 1985: 66) แลวนําไปเปรียบเทียบกับคา<br />

มาตรฐาน ของ IES (Illuminating Engineer Society) เพื่อประเมินระดับความสองสวางภายในอาคารจากแสง<br />

ธรรมชาติตอไป ซึ่งทาง IES ไดกําหนดคา D.F. สําหรับอาคารพาณิชยกรรมไวที่ประมาณ 22% (คาแสงที่วัด<br />

ไมไดรวมแสงแดด)


403<br />

ระบบอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในอาคาร<br />

เนื่องจากอาคารกรณีศึกษาเปนอาคารสํานักงาน ,พาณิชยกรรม และพักอาศัย ดังนั้นจึงมีการ<br />

ใชอุปกรณเครื่องใชไฟฟาจํานวนมาก ไดแก คอมพิวเตอร เครื่องถายเอกสาร โทรสาร โทรทัศน ตูเย็น พัดลม เตา<br />

รีด ฯลฯ โดยแสดงรายละเอียดไวดังนี้<br />

อุปกรณเครื่องใชไฟฟา<br />

ประเภทอุปกรณ จํานวน พลังงานรวม ( วัตต )<br />

คอมพิวเตอร 25 230 x 25 5,750<br />

โทรทัศน 10 10x 63 630<br />

เครื่องเสียง 2 2x60 120<br />

ตูเย็น 4 4x 65 260<br />

พัดลม 10 10 x 68 680<br />

เตารีด 2 2x 750 1,500<br />

หมอหุงขาว 2 2x700 1,400<br />

กระติกน้ํารอน 2 2x 600 1,200<br />

รวม 57 11,540<br />

ตารางที่ 6 แสดงอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในอาคารกรณีศึกษาหาง SCG HOME MART<br />

ขอมูลการคํานวณคาการถายเทความรอนรวมผานผนังและหลังคา (OTTV&RTTV)<br />

จากขอมูลอาคารทั้งหมดนํามาคํานวณหาคาการถายเทความรอนรวมผานผนังของอาคาร (overall<br />

thermal Transfer หรือ OTTV) มีคาสูงกวาที่กฎหมายอนุรักษพลังงานกําหนด คือ อาคารเกาตองไมเกิน 43.6<br />

วัตตตอตารางเมตร แตอาคารกรณีศึกษาพบวามีคา OTTV อยูที่ประมาณ 38.85 วัตตตอตารางเมตร อาคาร<br />

(OTTV) ไมเกิน 43.6 วัตตตอตารางเมตร ,สวนหาคาการถายเทความรอนรวมผานหลังคาของอาคาร (ro<strong>of</strong><br />

thermal Transfer หรือ RTTV) มีคาต่ํากวาที่กฎหมายอนุรักษพลังงานกําหนด คือ อาคารเกาตองไมเกิน 22.9<br />

วัตตตอตารางเมตร ซึ่งอาคารกรณีศึกษามีคา RTTV อยูที่ประมาณ 13.75 วัตตตอตารางเมตร ผานเกณฑหลังคา<br />

อาคาร (RTTV) ไมเกิน 22.9 วัตตตอตารางเมตร<br />

เกณฑมาตรฐานควบคุมอาคารดานการอนุรักษพลังงานประเภทอาคารอาคารสรรพสินคาขายปลีก/<br />

ขายสงกําหนดใหพลังไฟฟาสองสวางสูงสุดไมเกิน 18 วัตตตอตารางเมตร จากการคํานวณ<br />

อาคารกรณีศึกษามีคา 7.84 วัตตตอตารางเมตร ซึ่งต่ํากวามาตรฐานที่กําหนดไวดังนั้นไมตองมีการปรับปรุง<br />

แกไข<br />

มาตรฐานปริมาณคาการสองสวางภายในอาคาร คาระดับความสองสวางตามมาตรฐาน IES<br />

กําหนดใหสําหรับพื้นที่หองทํางานหองประชุมกําหนดใหระดับความสองสวางอยูที่ 200 – 500 ลักซ สวนพื้นที่<br />

หองน้ํา บันได และทางเดินกําหนดใหระดับความสองสวางอยูที่ 100 – 200 ลักซ


404<br />

ศึกษาทฤษฏีเกณฑมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) จาก<br />

US Green Building Council ประเทศสหรัฐอเมริกา (เกณฑ LEED New Construction Version 3.0(2009))<br />

งานวิจัยที่มีความเกี่ยวของ เพื่อคํานวณหาคาBuilding Energy Consumption เปนฐานขอมูลการใชพลังงาน<br />

ของอาคารประหยัดพลังงานอาคารตนแบบ( Base Case Building) ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร VisualDOE4.1<br />

สรางอาคาร New Green SCG HOME MART ( Proposed Building ) คํานวณหาคาการใชพลังงานเพื่อเปน<br />

แนวทางในกําหนดรูปแบบ, แนวทางในการปรับปรุง และการเลือกใชวัสดุประกอบอาคาร การออกแบบอาคาร<br />

โฮมมารทสีเขียว ใหสอดคลองกับมาตรฐานการประหยัดพลังงาน LEED<br />

2. ผลการศึกษา<br />

อาคาร New Green SCG HOME MART ที่ตองมีการใชพลังงาน ( Building energy consumption )<br />

ลดลงขั้นต่ํา 12% จากเกณฑของ ASHRAE 90.1 2007 ดังผลสรุปดังนี้<br />

วัสดุโครงสราง<br />

ASHRAE<br />

90.1<br />

SCG<br />

Baseline<br />

LEED Baseline1<br />

(13 %)<br />

LEED Baseline 2<br />

( 15%)<br />

U- ROOFS 0.36 0.42 0.09 0.05<br />

U -WALL 0.705 2.75 0.137 0.044<br />

U -กระจก 6.81 6 1.96 1.94<br />

SHGC -กระจก 0.25 0.8 0.2175 0.261<br />

LIGHTINGS (LPD) 16 16 16 16<br />

WWR 40% 9% 9% 9%<br />

พื้นที่ผนังรวม 2086 2086 2086 2086<br />

พื้นที่หนาตางรวม 834.4 189.5 189.5 189.5<br />

พื้นที่ใชสอยรวม( ตร.ม.) 2339 2339 2339 2339<br />

Energy (Kwh) 402,773 462,412 351,377 343,452<br />

คาไฟฟา/ป (บาท) 1,208,319 1,387,236 1,054,131 1,030,956<br />

คาไฟฟาที่ลดลงจาก SCG<br />

.- 333,105 (13 %) 356,280 ( 13% )<br />

Baseline(บาท) 178,917<br />

การลงทุน 21,051,000 23,001,000 23,381,000<br />

คากอสรางเพิ่ม 1,950,000 2,330,000<br />

ถาปรับ SCG Baseline ใหผานเกณฑประสิทธิภาพพลังงานของ LEED<br />

คากอสรางเพิ่มกี่ % 8.45% 9.97%<br />

คืนทุนในอีกกี่ป 5.85ป 6.54 ป<br />

ตารางที่ 7 สรุปคาตางๆ เพื่อลดการใชไฟฟาพลังงานได 13 % จากเกณฑของ SAHRAE 90.1 2007


405<br />

สามารถระบุแนวทางการเลือกวัสดุประกอบอาคารดังนี้<br />

R ฟลมอากาศภายนอก ( 15 m.p.h.) = 0.17<br />

R ผนังอิฐ มวลเบา 15cm. = 0.40<br />

R-11 / Metal Stud 16” O.C.= 11x0.50 = 5.50<br />

R 5/8 inch (16mm.) Gypsum Board = 0.56<br />

R ฟลมอากาศภายใน (Sill Air ) = 0.68<br />

Rt = 7.31 hr-ft 2 -F / Btu U = 0.137 Btu/ hr-ft 2 -F<br />

ภาพที่ 10 แสดงสวนประกอบชั้นของผนัง ภาพจาก Energy Management Handbook<br />

ROOF insulation installed compressed over the purlin<br />

R- Value 6”O.C. = 10.9<br />

U –Value = 0.09<br />

ภาพที่ 11 แสดงสวนประกอบชั้นของโครงสรางหลังคา ภาพจาก Energy Management Handbook<br />

แนวทางการเลือกขอมูลกระจก ดังนี้<br />

6 mm.Euro Gray + 0.76 mm.#Clear PVB+ 6 mm. Clear With LOW-E LSN #4 +<br />

A/S 12 mm.+ 6 mm.Clear G<br />

U-Value<br />

1.96<br />

SC<br />

0.25<br />

ราคา 5,000 บาท/ตร.ม.<br />

ตารางที่ 8 แสดงรายละเอียดของขอมูลกระจกที่เปนแนวทางเลือกใช<br />

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย<br />

จากผลการสํารวจอาคารขางตนไดนําเสนอปญหาหลัก ไมวาจะเปนเรื่องการวางทิศทางอาคาร การ<br />

ออกแบบอุปกรณบังแดด การเลือกใชวัสดุผนัง การเลือกใชกระจก เปนตน แนวทางการออกแบบอาคาร<br />

โฮมมารทสีเขียวใหสอดคลองกับเกณฑมาตรฐาน LEED ที่พบจากการเลือกใชวัสดุประกอบอาคารดังกลาวนั้น<br />

สามารถลดการใชพลังงานลงได ถึง 13% อยูที่ราคา 333,105 บาท ตอ ป มีคากอสรางที่เพิ่มขึ้น 1,950,000บาท<br />

มีระยะเวลาการคืนทุนของคากอสรางที่เพิ่มขึ้นภายใน 5.85ป ทั้งนี้อาคาร New Green SCG HOME MART นั้น<br />

สามารถประหยัดพลังงานการใชไฟฟาลงไดเปนไปตามเกณฑการประหยัดพลังงานของมาตรฐาน LEED มีการ<br />

ลงทุนเพิ่มที่ไมสูงและสามารถชวยในการประหยัดพลังงานอยางคุมคา นอกจากการเลือกแนวทางการ<br />

ปรับเปลี่ยนวัสดุเปลือกอาคารอยางเดียวเทานั้นจากการทดลองครั้งนี้ ซึ่งยังสามารถลดการใชพลังงานลงไดอีก<br />

จากการเปลี่ยนระบบไฟฟาแสงประดิษฐที ่มีการใชพลังงานลดลงจาก T8 เปน T5 หรือจะเปนการเปลี่ยนระบบ<br />

ปรับอากาศที่มีการใชพลังงานลดลงไดอีกทางหนึ่งดวย


บรรณานุกรม<br />

ผศ.ดร.อรรจน เศรษฐบุตร , ผศ.ธนิต จินดาวณิค, ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , การประชุมเชิงวิชาการเครือขายพลังงานแหงประเทศไทยครั้งที่ 3 23 – 25<br />

พฤษภาคม 2550 โรงแรมใบหยกสกาย จังหวัดกรุงเทพ ฯ “ การพัฒนาเกณฑขั้นต่ําของคุณสมบัติการ<br />

ปองกันความรอนของเปลือกอาคารในอาคารบานเดี่ยว “<br />

Givoni, B. (1994). Passive and low energy cooling <strong>of</strong> buildings. New York: John Wiley & Sons.<br />

Chenvidyakarn, T. (2007). Review article: Passive design for thermal comfort in hot humid climates.<br />

Journal <strong>of</strong> <strong>Architecture</strong>/Planning Research and Studies, 5(1), 3-27.<br />

ผูชวยศาสตราจารย เฉลิมวัฒน ตันตสวัสดิ์ “ การออกแบบโดยวิธีธรรมชาติและแนวความคิดอาคารเขียว”<br />

กรินทร ภูนวล , “ การปรับปรุงระบบเปลือกอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงาน : กรณีศึกษาอาคารสํานัก<br />

พหลโยธิน ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) “ ( Building envelope improvement for energy<br />

conservation : a case study <strong>of</strong> Thai Farmers Bangk building, Phaholyothin ), 2540 , จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย<br />

นัฐพล จิรัฐติกาลกิจ , “ แนวทางการออกแบบประสานระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานพลังงาน ใน<br />

อาคารสาธารณะขนาดเล็ก ( An integrated design approach to increase energy efficiency in<br />

small public buildings )” 2546 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

ศักดา เชี่ยวนันทวงศ , การออกแบบบานแถวเพื่อใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ( Townhouse design<br />

with energy efficiency ) , 2547, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

พรรณชลัท สุริโยธิน. วัสดุและการกอสรางกระจก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,<br />

2543.<br />

รัฐศักดิ์ พรหมมาศ. การลดภาระการทําความเย็นของปลองระบายอากาศแสงอาทิตยดวยวิธีการคํานวณ<br />

OTTV. ประจวบคีรีขันธ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร วิทยาเขตวังไกลกังวล, 2542.<br />

อรรจน เศรษฐบุตร. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง Transient thermal analysis. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย.<br />

406


407<br />

แนวทางการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศนบริเวณมุมมองสําคัญของสถานที่ทองเที่ยว<br />

ทางประวัติศาสตรในเขตเมืองเชียงใหม<br />

VISUAL QUALITY IMPROVEMENT FOR KEY VIEW POINTS OF HISTORICAL<br />

TOURIST’S ATTRACTION IN CHIANGMAI CITY<br />

สุพิชฌาย เมืองศรี<br />

หลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.อังสนา บุณโยภาส<br />

บทนํา<br />

ภูมิทัศนที่สวยงามของสถานที่ทองเที่ยวนั้นดึงดูดและสรางความประทับใจใหแกผูมาเยือน ดังเห็นได<br />

จากภาพถายภูมิทัศนที่สวยงามจากชางภาพมืออาชีพ ที่เลือกสรรมุมมองที่ดีที่สุดของสถานที่นั้น แลวเผยแพร<br />

ออกสูสื่อตางๆ ภาพเหลานี้ลวนมีสวนจูงใจนักทองเที่ยวใหอยากเดินทางมาสัมผัส และเมื่อไดมาเยือนก็ยอม<br />

ตองการเห็นและถายภาพความสวยงามของภูมิทัศนดังกลาวในมุมมองเดียวกับที่ปรากฏในสื่อเพื่อเปนที่ระลึก<br />

ดังนั้นสถานที่ทองเที่ยวหลายแหงจึงไดกําหนดจุดถายภาพไว โดยตําแหนงดังกลาวถือเปนจุดมุมมองสําคัญ<br />

ของแตละสถานที่ หากมีสิ่งใดๆมารบกวนในภูมิทัศนก็จะมีผลใหเกิดการลดทอนคุณคาและความงามของภูมิ<br />

ทัศนไป<br />

แมวาสถานที่ทองเที่ยวจะประกอบดวยองคประกอบหลัก 3 ประการไดแก สิ่งดึงดูดใจ(Attraction)<br />

เสนทางการเขาถึง (Accessibility) และสิ่งอํานวยความสะดวก (Amenity) (บุญเลิศ 2548: 28-29, อางถึงใน<br />

สมบัติ, ดนัย, จักรกริช 2550) แตการพัฒนาสถานที่ทองเที่ยวในปจจุบันมักใหความสําคัญกับการพัฒนาเสนทาง<br />

การเขาถึงและสิ่งอํานวยความสะดวกเปนหลัก โดยไมคํานึงถึงความเหมาะสมของตําแหนงและปริมาณ จน<br />

นํามาซึ่งปญหาทางภูมิทัศน เชน การบดบัง การรบกวน และการลดทอน คุณภาพเชิงทัศนของมุมมองสําคัญ<br />

นั้นๆ หากปลอยใหเปนเชนนี้ตอไปจะนํามาซึ่งผลกระทบตอการทองเที่ยวในอนาคตได<br />

วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

เมืองเชียงใหมเปนเมืองทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมอยางมาก เนื่องดวยมีทรัพยากรการทองเที่ยวที่<br />

สวยงามและมีคุณคา แตในปจจุบันมุมมองสําคัญในเมืองเชียงใหมกําลังประสบปญหาดานคุณภาพเชิงทัศน<br />

อยางมาก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหาที่เกิดขึ้น และหาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน<br />

บริเวณมุมมองสําคัญดังกลาว รวมถึงศึกษาทัศนคติของคนกลุมตางๆตอแนวทางในการปรับปรุง เพื่อสรางความ<br />

สมดุลระหวางการพัฒนาเพื่อการทองเที่ยว กับการอนุรักษคุณคาของสถานที่ทองเที่ยว โดยเลือกศึกษาเฉพาะ<br />

สถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตร เนื่องจากเปนสิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณของเมืองเชียงใหมไดอยางชัดเจน และ<br />

ดําเนินการวิจัยภายใตกรอบกระบวนการการประเมินเชิงทัศน ในการวิเคราะห และประเมินผลกระทบเชิงทัศนที่<br />

เกิดขึ้นบริเวณมุมมองสําคัญของสถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตรในเมืองเชียงใหม 3 แหงไดแก วัดพระธาตุ<br />

ดอยสุเทพราชวรวิหาร วัดพระสิงหวรมหาวิหาร และวัดเจดียหลวงวรวิหาร


408<br />

ผลการวิจัยครั้งนี้จะเปนประโยชนอยางยิ่ง ในการเปนแนวทางการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศนของวัดทั้ง<br />

3 แหง อีกทั้งยังสามารถนําเอากระบวนการและแนวทางการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศนที่นําเสนอนี้ ไปประยุกตใช<br />

กับสถานที่ทองเที่ยวแหงอื่นและประเภทอื่นๆตอไปได ทั้งนี้เพื่อเปนการดํารงรักษาคุณคาของภูมิทัศนในมุมมอง<br />

สําคัญของสถานที่ทองเที่ยวใหคงอยูสืบไป<br />

ระเบียบวิธีวิจัย<br />

การวิจัยนี้แบงออกเปน 3 สวนหลักๆ<br />

(ภาพที่ 1) ไดแก (1)การกําหนดพื้นที่ศึกษาจาก<br />

สถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตรในเมือง<br />

เชียงใหมที่มีชื่อเสียงมากที่สุด และกําหนดจุด<br />

มุมมองสําคัญของสถานที่นั้นๆ (2)การวิเคราะห<br />

และการประเมินผลกระทบเชิงทัศนในแตละ<br />

มุมมองสําคัญ เพื่อสรุปองคประกอบ และ<br />

ลักษณะของผลกระทบเชิงทัศนที่เกิดขึ้นใน<br />

ปจจุบัน โดยประยุกตมาจากกระบวนการ<br />

วิเคราะหระดับความขัดแยงในภูมิทัศน<br />

(Contrast Rating) ซึ่งพัฒนาโดยกรมที่ดินของ<br />

สหรัฐอเมริกา (3)การกําหนดแนวทางการ<br />

ปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศนบริเวณมุมมองสําคัญ<br />

ของสถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตร ที่<br />

สอดคลองกับความคิดเห็นของผูมีสวนเกี่ยวของ ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนกระบวนการทํางาน<br />

การกําหนดพื้นที่ศึกษา และจุดมุมมองสําคัญ<br />

1. การกําหนดพื้นที่ศึกษา มีเกณฑสําคัญที่ใชพิจารณาคือ ตองเปนสถานที่ทองเที่ยวที่ไดรับความ<br />

นิยม สามารถใชเปนตัวแทนของเมืองเชียงใหมไดเปนอยางดี และมีจุดมองสําคัญที่หลากหลาย โดยเกณฑ<br />

สุดทาย คือ ระดับความรุนแรงของผลกระทบเชิงทัศนที่เกิดขึ้นในปจจุบัน<br />

จากการจัดอันดับสถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตรตามความถี่ที่ปรากฏในสื่อตางๆในชวงป พ.ศ.<br />

2552-2553 ที่ผานมา ไดสถานที่ทองเที่ยวที่มีความนิยมมากที่สุด 5 อันดับไดแก วัดพระธาตุดอยสุเทพราช<br />

วรวิหาร วัดพระสิงหวรมหาวิหาร วัดเชียงมั่น วัดเจดียหลวงวรวิหาร และวัดโพธารามมหาวิหาร ตามลําดับ ซึ่ง<br />

เมื่อพิจารณาจากเกณฑขางตนแลวเห็นวา วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร วัดพระสิงหวรมหาวิหาร และวัด<br />

เจดียหลวงวรวิหารมีความเหมาะสมมากกวา วัดเชียงมั่น และวัดโพธารามมหาวิหาร เนื่องจากมุมมองสําคัญใน<br />

2 วัดหลังมีนอยกวาวัดอื่นๆ และระดับของผลกระทบเชิงทัศนนั้นไมมากเพียงพอสําหรับการศึกษา<br />

2. การกําหนดจุดมุมมองสําคัญ จากการรวบรวมรูปภาพของสถานที่ทองเที่ยวที่ปรากฏในสื่อตางๆ<br />

ของวัดทั้งสามแหง แลวประเมินหามุมมองและตําแหนงที่ถายภาพมุมมองนั้นๆ หลังจากนั้นจึงทําการสํารวจเพื่อ<br />

ตรวจสอบความถูกตองจากสถานที่จริง พรอมกับถายภาพจากจุดมุมมองสําคัญเหลานี้เปนภาพมุมกวาง 180


409<br />

องศา โดยใหองคประกอบหลักของภาพอยูตรงกลาง พรอมกับบันทึกขอมูลขององคประกอบตางๆที่ปรากฏใน<br />

มุมมองนั้นในเรื่องของ ตําแหนง ขนาด ความสูง รูปลักษณ เปนตน เพื่อใชวิเคราะหผลกระทบในขั้นตอนตอไป<br />

ผลการประมวลรูปภาพจากมุมมองสําคัญของแตละวัดพบวา วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหารมี<br />

จํานวน 5 มุมมอง วัดพระสิงหวรมหาวิหารมีจํานวน 4 มุมมอง และวัดเจดียหลวงวรวิหารมีจํานวน 8 มุมมอง<br />

จากนั้นไดคัดเลือกมุมมองที่นํามาใชในการศึกษา โดยมีหลักการสําคัญคือ ในมุมมองนั้นตองมีองคประกอบที่<br />

รบกวนเพียงพอที่จะทําการศึกษา และจะตองมีศักยภาพในการดําเนินการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน หากมุมมอง<br />

มีองคประกอบของภาพใกลเคียงกัน ใหใชมุมมองที่เปนที่นิยมมากกวา และมีขอบเขตของพื้นที่ที่มองเห็นไม<br />

ซอนทับกับมุมมองอื่นที่เลือกไว<br />

มุมมองที่เลือกมาใชในการศึกษาตามหลักการขางตนมีดังนี้ วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหารมีมุมมอง<br />

ที่เลือก 1 มุมมอง คือ บริเวณหนาบันไดพญานาค สวนวัดพระสิงหวรมหาวิหารมีมุมมองที่เลือก 2 มุมมองคือ<br />

บริเวณดานหนาวัดและมุมมองดานหนาอุโบสถ และวัดเจดียหลวงวรวิหารมีมุมมองที่เลือก 3 มุมมองคือ บริเวณ<br />

ดานหนาวัด หนาเจดียทางทิศตะวันออก และหนาเจดียทางทิศตะวันตกเฉียงใต ซึ่งแสดงตําแหนงและภาพของ<br />

มุมมองสําคัญที่เลือกในภาพที่ 2<br />

วัดพระธาตุดอยสุเทพ<br />

ราชวรวิหาร<br />

วัดพระสิงหวรมหาวิหาร<br />

วัดเจดียหลวงวรวิหาร<br />

ตําแหนงจุดมุมมองสําคัญ ตําแหนงจุดมุมมองสําคัญที่เลือกใชในการศึกษา<br />

ภาพที่ 2 แสดงตําแหนงจุดมุมมองสําคัญ และภาพภูมิทัศนในมุมมองที่เลือกใชในการศึกษา


410<br />

การวิเคราะหและการประเมินเชิงทัศน<br />

1. การวิเคราะหความสามารถในการมองเห็น (Visibility Analysis) เปนกระบวนการประเมินขั้นตน<br />

เพื่อหาขอบเขตพื้นที่ที่สามารถมองเห็นไดจากตําแหนงของผูสังเกต (Smardon, Palmer and Felleman, 1986)<br />

เพื่อระบุขอบเขตพื้นที่ของผลกระทบ และองคประกอบที่อยูในพื้นที่ดังกลาว ขั้นตอนนี้คอมพิวเตอรสามารถชวย<br />

วิเคราะหไดอยางแมนยําและรวดเร็ว แตมีขอจํากัดสําหรับพื ้นที่ที่เปนที่ราบ โดยมีปจจัยในเรื่องสภาพภูมิอากาศ<br />

รวมถึงการใชประโยชนบนพื้นที่นั้นๆ ที่อาจสงผลตอความชัดเจนในการมองเห็นพื้นที่ในระยะตางๆไดแตกตางกัน<br />

(The Landscape Institute and The Institute <strong>of</strong> Environmental Management and Assessment, 2002)<br />

โดยการวิจัยนี้ไดทําการวิเคราะหในโปรแกรม ARCGIS 9.3 โดยใชคําสั่ง Viewshed เพื่อประมวลหา<br />

พื้นที่ที่สามารถมองเห็นไดจากจุดมุมมองสําคัญตางๆ ดังภาพที่ 3 ซึ่งไดจาการนําผลการสํารวจมาสราง<br />

ฐานขอมูลเชิงพื้นที่ที่ระบุความสูงขององคประกอบตางไว แลวทําการวิเคราะหผลพื้นที่ที่สามารถมองเห็นจากจุด<br />

มุมมองสําคัญตางๆของวัดเจดียหลวงวรวิหาร ดวยคําสั่ง Viewshed ซึ่งใชคอมพิวเตอรประมวลผลทั้งหมด<br />

ภาพที่ 3 แสดงพื้นที่ที่สามารถมองเห็นจากจุดมุมมองสําคัญของวัดเจดียหลวงวรวิหารทั้งภาพ 2มิติ และ 3มิติ<br />

2. การระบุองคประกอบหลักและองคประกอบรบกวน มีหลักเกณฑสําคัญ คือ องคประกอบหลักตอง<br />

เปนสาระสําคัญในภาพและตองเปนสิ่งกอสรางที่ขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานโดยกรมศิลปากร ซึ่งกรณีวัดพระ<br />

ธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร คือ บันไดพญานาค วัดพระสิงหวรมหาวิหาร คือ วิหาร อุโบสถ เจดีย และหอไตร<br />

วัดเจดียหลวงวรวิหาร คือ วิหาร เจดียราย เจดียหลวง ศาลหลักเมือง พระนอน อุโบสถ และตนยางนา สวน<br />

องคประกอบอื่นถือวาเปนองคประกอบรบกวนซึ่งกระทบตอคุณภาพเชิงทัศน โดยแบงระดับผลกระทบออกเปน 4<br />

ระดับดวยกัน ไดแก การรบกวน (Disturbance) การคุกคาม (Threaten) การบดบัง (Obstruction) และความ<br />

แปลกแยก (Alienation) (สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2551 : 27)<br />

3. การประเมินผลกระทบเชิงทัศน เปนการศึกษาระดับความรุนแรงของผลกระทบทางสายตาในแตละ<br />

มุมมองสําคัญ โดยแบงการประเมินออกเปน 2 สวนคือ สวนแรกเปนการประเมินระดับความรบกวน ซึ่งมีปจจัย<br />

ในการประเมิน 5 ประการคือ สี (Color) เสน (Line) รูปราง (Form) ขนาด (Scale) และที่วาง (Space) โดยทํา<br />

การประเมินทุกองคประกอบรบกวนที่ปรากฏในแตละมุมมอง และสวนที ่สองเปนการประเมินระดับการถูกบดบัง<br />

ขององคประกอบรบกวน แบงระดับการถูกบดบังเปน 5 ระดับไดแก ระดับสูงมาก ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต่ํา<br />

และระดับต่ํามาก แลวนําผลจากทั้งสองสวนมาประเมินรวมกันเพื่อสรุปเปนระดับผลกระทบเชิงทัศนของแตละ<br />

มุมมอง<br />

จากผลการประเมินสามารถจัดแบงประเภทกลุมขององคประกอบรบกวนตามลักษณะทางกายภาพ<br />

การใชงาน และรูปแบบของการรบกวน ไดทั้งหมด 7 กลุมดังนี้


411<br />

กลุมที่1 อาคารที่มีรูปลักษณทั่วไป ไดแก อาคารเรียน กุฏิ อาคารสํานักงาน เปนตน<br />

กลุมที่2 อาคารที่รูปลักษณของสถาปตยกรรมลานนา<br />

กลุมที่3 กลุมอาคารประเภทรานคา<br />

กลุมที่4 องคประกอบที่อยูดานหนาองคประกอบหลัก เชน รั้ว จุดไหวพระ กลองรับบริจาค ระฆัง เปนตน<br />

กลุมที่5 สิ่งอํานวยความสะดวกที่เตรียมไวเพื่อบริการนักทองเที่ยว เชน เกาอี้ ปายขอมูลตางๆ เปนตน<br />

กลุมที่6 รถยนตที่สามารถผานเขามาในมุมมองได<br />

กลุมที่7 องคประกอบอื่นๆ เชน สิ่งที่ใชประดับตกแตง ตนไมที่บดบัง โครงสรางสาธารณูปโภค เปนตน<br />

การกําหนดแนวทางการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน<br />

ประกอบดวยขั้นตอนและผลการดําเนินงานดังนี้<br />

1. การวิเคราะหแนวทางการลดผลกระทบเชิงทัศน ซึ่งพบวามีวิธีการในการลดผลกระทบเชิงทัศนที่มี<br />

ความเปนไปได มี 4 วิธี คือ การเอาองคประกอบนั้นออกไป (Remove) การยายตําแหนง (Relocate) การ<br />

ออกแบบใหม (Redesign) และการปดบังองคประกอบนั้น (Screening) ทั้งนี้ในแตละวิธีการมีความเปนไปได<br />

และเหมาะสมกับองคประกอบแตละกลุมแตกตางกัน ดังนี้<br />

กลุมที่1 อาคารที่มีรูปลักษณทั่วไป มีแนวทางที่เปนไปไดในการลดผลกระทบ คือ การออกแบบใหม เชน<br />

เปลี่ยนสีอาคารใหมีโทนสีที่เขมขึ้น เปลี่ยนรูปแบบหลังคาใหมีระดับลดลง หรือใชพืชพรรณในการปดบัง<br />

กลุมที่2 อาคารที่มีรูปแบบสถาปตยกรรมลานนา มีแนวทางในการลดผลกระทบไดเพียงอยางเดียว คือ<br />

ใชพืชพรรณบังอาคารเหลานี้ ไมอาจใชวิธีการออกแบบใหมไดเพราะอาคารประเภทนี้มีเอกลักษณเฉพาะ<br />

กลุมที่3 อาคารกลุมประเภทรานคา มีแนวทางในการลดผลกระทบที่เปนไปไดคือ ใชพืชพรรณบัง หรือ<br />

ทําการออกแบบใหมใหมีโทนสีที่เขมขึ้นและดูกลมกลืนกัน หรือยายตําแหนงรานคาไปไวในตําแหนงอื่นที่<br />

กอใหเกิดผลกระทบนอยลงและเปนตําแหนงที่มีความเปนไปได<br />

กลุมที่4 องคประกอบที่อยูดานหนาองคประกอบหลัก มีแนวทางในการลดผลกระทบที่เปนไปไดคือ การ<br />

ออกแบบใหมโดยยังคงการใชงานเหมือนเดิม หรือยายตําแหนงไปไวในที่ที่มีความเหมาะสมเชนกัน<br />

กลุมที่ 5 สิ่งอํานวยความสะดวกที่เตรียมไวเพื่อบริการนักทองเที่ยว มีแนวทางในการลดผลกระทบที่<br />

เปนไปไดคือยายไปในตําแหนงที่เกิดผลกระทบนอยกวา หรือออกแบบใหมใหดูไมโดดเดน กลมกลืนกับพื้นหลัง<br />

กลุมที่ 6 รถยนตซึ่งไมอาจเปลี่ยนรูปลักษณได และการยายที่จอดรถออกไปนอกสถานที่ทองเที่ยวไม<br />

สามารถยอมรับได ดังนั้นวิธีการที่เปนไปได คือ การยายที่จอดรถและเสนทางสัญจรไปอยูนอกขอบเขตการ<br />

มองเห็นจากจุดมุมมองสําคัญ หรือใชการปดบังชวย<br />

กลุมที่ 7 องคประกอบอื่นๆ ตองทําการพิจารณาถึงความเปนไปไดในการลดผลกระทบเปนประเด็นๆไป<br />

2. การกําหนดแนวทางเลือกในการลดผลกระทบเชิงทัศน เปนการเลือกวิธีที่เปนไปไดในการลด<br />

ผลกระทบของแตละองคประกอบมาใชในการปรับปรุงภูมิทัศนตามความเหมาะสม โดยแตละมุมมองได<br />

ออกแบบแนวทางเลือกไวจํานวน 4 แนวทาง เพื่อเปดโอกาสใหผูที่เกี่ยวของกับพื้นที่ไดเลือกแนวทางที่ยอมรับได<br />

มากที่สุด


412<br />

3. การสรางแบบจําลอง นําแนวทางเลือกที่กําหนดไวในขอ 2 มาสรางภาพจําลอง โดยสรางซอนทับ<br />

ภาพเดิม (Photomontages) ดวยการนําภาพที่สรางใหม มาวางทับลงบนรูปภาพที่ถายจากสถานที่จริง เพื่อใหมี<br />

ความสมจริง และแสดงการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนที่จะเกิดขึ้นไดชัดเจนที่สุด(The Landscape Institute, The<br />

Institute <strong>of</strong> Environmental Management and Assessment, 2002) ในการศึกษานี้ไดสรางแบบจําลองสาม<br />

มิติในโปรแกรมสเกตอัพ (Sketchup) เพื่อแสดงรูปทรง และขนาดขององคประกอบทั้งเกาและใหม โดย<br />

กระบวนการนี้จําเปนตองใชแผนที่แสดงขอบเขตการมองเห็นมาประกอบ เพื่อใหสามารถวางตําแหนง<br />

องคประกอบตางๆไดเหมาะสม เชน ตําแหนงที่เหมาะสมในการยายองคประกอบออกนอกเขตพื้นที่การมองเห็น<br />

หรือตําแหนงที่มีประสิทธิภาพในการวางองคประกอบที่ใชบดบังดีที่สุด จากนั้นนําทัศนียภาพที่ไดจากโปรแกรม<br />

สเกตอัพซอนทับกับภาพพาโนรามาของมุมมองนั้นๆ แลวใชเทคนิคในการตกแตงภาพใหสมจริงชวย<br />

ภาพที่ 4 แสดงภาพจําลองที่สรางขึ้นในโปรแกรมสเกตอัพ ภาพที่ 5 แสดงภาพจําลองที่ตกแตงใหมีความเสมือนจริง<br />

ในการกําหนดรูปแบบของแตละแนวทางเลือก มีหลักเกณฑที่ใชรวมกันในแตละมุมมอง คือ ทางเลือก<br />

แรกเปนแนวทางที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุดและมองเห็นองคประกอบรบกวนไดนอยที่สุด สวนใหญจะเปนการยาย<br />

ตําแหนง และใชตนไมบดบังเพื่อลดผลกระทบ แตกตางจากแนวทางเลือกที่สี่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงนอยที่สุด<br />

และยังยอมใหห็นองคประกอบรบกวนได โดยใชวิธีออกแบบใหมใหลดความโดดเดนและสรางความกลมกลืนกับ<br />

ภูมิทัศนโดยรวม สวนทางเลือกที่สองและสามอยูตรงกลางระหวางทางเลือกที่หนึ่งและสี่ โดยทางเลือกที่สองจะ<br />

มีการเปลี่ยนแปลงมากกวาทางเลือกที่สาม ดังภาพที่ 6-11 แสดงใหเห็นถึงความแตกตางของแตละแนว<br />

ทางเลือก<br />

ภาพที่ 6 แสดงแนวทางเลือกในการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณหนาบันไดพญานาค วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร<br />

ภาพที่ 7 แสดงแนวทางเลือกในการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณดานหนาวัดพระสิงหวรมหาวิหาร


413<br />

ภาพที่ 8 แสดงแนวทางเลือกในการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณดานหนาอุโบสถ วัดพระสิงหวรมหาวิหาร<br />

ภาพที่ 9 แสดงแนวทางเลือกในการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณดานหนาวัดเจดียหลวงวรวิหาร<br />

ภาพที่ 10 แสดงแนวทางเลือกในการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณดานหนาเจดียทางทิศตะวันออก วัดเจดียหลวงวรวิหาร<br />

ภาพที่ 11 แสดงแนวทางเลือกในการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณดานหนาเจดียทางทิศตะวันตกเฉียงใต วัดเจดียหลวงวรวิหาร<br />

4. การสรางแบบสอบถาม เพื่อใหทราบถึงความคิดเห็นของกลุมคนที่มีสวนเกี่ยวของตอแนวทางใน<br />

การปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศนในมุมมองสําคัญของแตสถานที่ทองเที่ยวนั้นๆ จึงไดสรางแบบสอบถามในรูปสมุด<br />

ภาพ ซึ่งบรรจุภาพจําลองแนวทางเลือกตางๆของแตละมุมมองประกอบกับขอคําถาม โดยคําถามแบงเปน 3 สวน<br />

ดังนี้<br />

สวนที่1 การประเมินระดับความเห็นดวย กับรูปแบบของแนวทางเลือกตางๆ ซึ่งเปนการประเมินโดยใช<br />

คาคะแนน (Rating Scale) โดยแบงระดับความเห็นดวยออกเปน 5 ระดับ คือ ไมเห็นดวยอยางยิ่ง(1) ไมเห็น<br />

ดวย(2) เฉยๆ(3) เห็นดวย(4) เห็นดวยอยางยิ่ง(5) และทายสุดใหสามารถบอกถึงเหตุผลเพิ่มเติมได<br />

สวนที่ 2 การประเมินระดับความเห็นดวยตอวิธีการที ่ใชในการลดผลกระทบเชิงทัศนของทุกทางเลือก<br />

โดยใชวิธีการการใหคาคะแนน และแบงระดับความเห็นดวยเชนเดียวกับในสวนที่ 1


414<br />

สวนที่ 3 เปนขอเสนอแนะเพิ่มเติมในการปรับปรุงภูมิทัศนในแตละมุมมอง ซึ่งเปนคําถามปลายเปด<br />

5. การเก็บรวบรวมขอมูลแบบสอบถาม ไดกําหนดกลุมเปาหมายไว 4 กลุมหลักๆ และแบงสัดสวน<br />

แบบสอบถามดังนี้ คือ นักทองเที่ยวชาวตางชาติ 20 ชุด นักทองเที่ยวชาวไทย 30 ชุด คนทองถิ่น 35 ชุด และคน<br />

ในพื้นที่ศึกษา(พระสงฆ ผูประกอบการ) รวม 15 ชุด รวมเก็บแบบสอบถามทั้งสิ้น 100 ชุด<br />

6. การประมวลผลจากแบบสอบถาม เปนการนําขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามทั้งหมดมาสราง<br />

ฐานขอมูลในโปรแกรม SPSS เพื่อนําไปประมวลผลและวิเคราะหทางสถิติตอไป<br />

ภาพที่ 12 กราฟแสดงระดับความเห็นดวย<br />

ของแนวทางเลือกตางๆ<br />

ภาพที่ 13 กราฟแสดงระดับความเห็นดวย<br />

ตอวิธีการลดผลกระทบ<br />

สัญลักษณ<br />

นักทองเที่ยวชาวตางชาติ<br />

นักทองเที่ยวชาวไทย<br />

คนทองถิ่น<br />

คนในพื้นที่ศึกษา<br />

โดยการวิจัยนี้ใชคาเฉลี่ย (Mean) ของแตละขอคําถาม แลวแสดงผลเปนกราฟเสน เพื่อวิเคราะห<br />

หาความสัมพันธและความแตกตางทางความคิดเห็นของแตละกลุมที่มีตอแนวทางเลือกตางๆดังกราฟในภาพที่<br />

12 แกนตั้งแสดงคาระดับความเห็นดวย สวนแกนนอนแสดงแนวทางเลือกตางๆ และความคิดเห็นตอวิธีในการ<br />

ปรับปรุงเชิงทัศนที่แตกตางกันของแตละกลุมคนดังกราฟในภาพที่ 13 ซึ่งแกนตั้งแสดงคาระดับความเห็นดวย<br />

สวนแกนนอนแสดงวิธีการในการลดผลกระทบ ซึ่งผลการวิเคราะหนี้จะนําไปสูขอสรุปและแนวทางการปรับปรุง<br />

คุณภาพเชิงทัศนของมุมมองสําคัญ ที่สอดรับกับความคิดเห็นของทุกกลุมคนตอไป<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

ผลจากการวิจัยนี้แสดงวาในแตละกลุมคนมีความคิดเห็นตอการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศนที่แตกตาง<br />

กัน ตามปจจัยทางวัฒนธรรม บทบาทของแตละบุคคลตอสถานที่ และความผูกพันกับพื้นที่ ซึ่งมีผลตอการให<br />

ความสําคัญกับองคประกอบตางๆไมเหมือนกัน โดยสรุปประเด็นตางๆตามกลุมขององคประกอบรบกวนไดดังนี้<br />

กลุมที่1 อาคารที่มีรูปลักษณทั่วไปนั้น แมวาไมไดมีคุณคาทางประวัติศาสตร แตมีผลตอความผูกพัน<br />

ระหวางคนกับสถานที่ เห็นไดจากคนในพื้นที่ศึกษาเปนกลุมที่มีความผูกพันกับสถานที่มากที่สุดเห็นดวยกับการ<br />

ยอมใหมองเห็นอาคารมากกวาการนําองคประกอบอื่นมาบดบัง ตรงขามกับแนวคิดของนักทองเที่ยว<br />

ชาวตางชาติซึ่งเปนกลุมคนที่ผูกพันกับสถานที่นอยที่สุด หากจะพิจารณาถึงองคประกอบที่มาบดบังอาคาร<br />

เหลานี้ คนสวนใหญเห็นดวยกับแนวทางการใชพืชพรรณมากกวาองคประกอบที่เปนสิ่งกอสราง ซึ่งขัดแยงกับ<br />

กลุมคนในพื้นที่ศึกษาที่เลือกใชแนวกําแพงในการบดบังอาคาร อาจเนื่องดวยสิ่งกอสรางดูแลรักษาไดงายกวา


415<br />

กลุมที่2 อาคารที่มีรูปแบบสถาปตยกรรมลานนาซึ่งแมวาจะเปนอาคารที่ถูกสรางขึ้นมาใหม แตดวย<br />

รูปลักษณที่แสดงถึงเอกลักษณเฉพาะ และไมใชรูปแบบของอาคารสําหรับบุคคลทั่วไป เปนรูปแบบที่ตอง<br />

เกี่ยวพันกับศาสนาหรือพระมหากษัตริย ซึ่งถือไดวาเปนของสูงและมีคายิ่ง ทําใหคนในกลุมของนักทองเที่ยวชาว<br />

ไทย คนทองถิ่น และคนในพื้นที่ศึกษาซึ่งเปนกลุมคนที่มีพื้นฐานทางวัฒนธรรมเดียวกัน เห็นดวยกับการที่ยอมให<br />

มองเห็นอาคารเหลานี้ในมุมมองสําคัญได แตกตางจากกลุมของนักทองเที่ยวชาวตางชาติซึ่งเปนกลุมที่มี<br />

วัฒนธรรมตางไปจากกลุมอื่นๆ ทําใหไมเขาใจความหมายของรูปแบบอาคารประเภทนี้ จึงเห็นดวยกับการใชพืช<br />

พรรณเพื่อบังอาคารเหลานี้ออกจากมุมมอง<br />

กลุมที่3 กลุมอาคารประเภทรานคาเปนองคประกอบที่มีความสําคัญกับกลุมคนในพื้นที่ศึกษา<br />

โดยเฉพาะผูประกอบการอยางมาก เนื่องจากเปนแหลงรายไดหลัก ดังนั้นคนในกลุมนี้จึงเห็นดวยกับวิธีการที่<br />

ยังคงรานคาไวในตําแหนงเดิมและจะตองมองเห็นรานคาได มากกวาวิธีการใชตนไมบังหรือยายตําแหนงรานคา<br />

ไปไวที่อื่น ดวยเหตุวาหากมีการเปลี่ยนแปลงใดๆจะมีผลกระทบตอรายได นอกจากนี้ยังมองถึงประเด็นในดาน<br />

คาใชจายที่จะนํามาปรับปรุงภูมิทัศนอีกดวย จึงทําใหคนกลุมนี้เห็นดวยกับทางเลือกที่มีการเปลี่ยนแปลงนอย<br />

ที่สุด ซึ่งเปนแนวคิดที่ตรงกันขามกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เห็นดวยกับการใชพืชพรรณมาบังองคประกอบ<br />

กลุมนี้ไว และเห็นดวยกับการยายไปไวในตําแหนงอื่นที่กลุมคนนี้รับรูไดวาอยูบริเวณไหนและสามารถเขาถึงได<br />

งาย แสดงใหเห็นวารานคาไมไดเปนสิ่งจําเปนกับนักทองเที่ยวมากนักแตมุมมองที่สวยงามเปนสิ่งสําคัญกวา<br />

สําหรับการไดมาเที่ยวชมสถานที่ทองเที่ยว<br />

กลุมที ่4 องคประกอบที่อยูดานหนาองคประกอบหลักในสวนที่เปนจุดไหวพระ กลุมคนที่เปนชาวไทยมี<br />

ความคิดเห็นไปในแนวโนมเดียวกันวาควรคงไวในตําแหนงเดิม ซึ่งวางอยูในแนวแกนหลักของผังวัดและควรอยู<br />

แนวเดียวกับองคพุทธรูป มากกวาการยายไปอยูตําแหนงอื่น แตกตางจากกลุมคนชาวตางชาติซึ่งมีความเชื ่อและ<br />

ศาสนาที่ตางไป มองเห็นวาจุดไวพระไมจําเปนจะตองอยูในตําแหนงเดิมเสมอไป และหากคงอยูที่เดิมการเปลี่ยน<br />

สีใหมีความเขมขึ้นดูไมโดดเดน เปนแนวทางที่ดีมากกวาการไมดําเนินการลดผลกระทบใดเลย<br />

กลุมที่5 สิ่งอํานวยความสะดวกที่เตรียมไวเพื่อบริการนักทองเที่ยวสวนใหญมีขนาดเล็ก มีความจําเปน<br />

ในดานการใชงาน และควรอยูในตําแหนงที่ยังมองเห็นไดชัดเจนและเขาถึงไดงาย ดังนั้นแนวทางการลด<br />

ผลกระทบทําไดโดยออกแบบรวมไปกับองคประกอบอื่นใหดูกลมกลืนกัน โดยเลือกสีที่อยูในโทนเขมเพื่อไมให<br />

เห็นโดดเดนจนเกินไป<br />

กลุมที่6 รถยนตถือเปนองคประกอบที่ทุกลุมคนเห็นดวยอยางยิ่งวาเปนองคประกอบรบกวน และเห็น<br />

ดวยกับแนวทางที่จะยายตําแหนงทางเขารถยนตและไมใหผานเขามาในมุมมอง รวมถึงการหามจอดรถบริเวณ<br />

ดานหนาองคประกอบหลักอีกดวย ดังนั้นการจัดการสัญจรภายในสถานที่ทองเที่ยวเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่ตอง<br />

พึงระวังไมใหปรากฏอยูในมุมมองสําคัญ<br />

กลุมที่7 องคประกอบอื่นๆจําพวกสิ่งประดับตกแตงสถานที่ คนสวนใหญคอนขางเห็นดวยวาควรกําจัด<br />

องคประกอบจําพวก ธง ไมประดับ ปายที่ไมมีความจําเปนออกจากมุมมองโดยเฉพาะที่อยูบริเวณดานหนา<br />

องคประกอบหลัก สวนกลุมคนในพื้นที่ศึกษาเห็นดวยในระดับที่นอยกวากลุมอื่นๆ อาจเนื่องดวยมีแนวคิดวาสิ่ง<br />

เหลานี้ไมไดเปนสิ่งรบกวนภูมิทัศน หากเปนเพียงองคประกอบเพื่อเสริมสรางบรรยากาศเทานั้น สําหรับตนไมที่<br />

บดบังองคประกอบหลักคนสวนใหญเห็นดวยกับการตัดแตงตนไมไมใหบดบัง แสดงใหเห็นวาการดูรักษาพืช


416<br />

พรรณเปนประเด็นที่จําเปนไมควรละเลย สวนโครงสรางสาธารณูปโภคเปนองคประกอบที่ตองคํานึงถึงตําแหนง<br />

ในการติดตั้งไมใหอยูในมุมมองสําคัญ เพราะคนสวนใหญเห็นดวยกับการยายสิ่งเหลานี้ออกจากมุมมอง<br />

ผลจากการวิจัยนี้สามารถนําไปเปนแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศนของสถานที่ทองเที่ยวทาง<br />

ประวัติศาสตรตางๆได รวมถึงทราบประเด็นที่ควรพิจารณาในการออกแบบองคประกอบที่อยูในภูมิทัศนของ<br />

มุมมองสําคัญไมใหสงผลกระทบตอความงามและคุณคาของสถานที่ นอกจากนั้นกระบวนการของการวิจัยนี้ยัง<br />

สามารถนําไปปรับใชกับสถานที่ทองเที่ยวประเภทอื่นๆตอไปได ซึ่งเปนวิธีการที่ใชเทคโนโลยีเขามาชวยเพื่อ<br />

ประหยัดเวลาและคาใชจายในการลงพื้นที่สํารวจ อีกทั้งยังชวยประมวลผลและกําหนดตําแหนงไดอยางถูกตอง<br />

เปนไปไดจริง สอดคลองกับบริบทของพื้นที่ ยิ่งไปกวานั้นยังเปนวิธีการที่ทําใหไดซึ่งแนวทางการปรับปรุงคุณภาพ<br />

เชิงทัศนที่เปนที่ยอมรับของทุกฝาย<br />

บรรณานุกรม<br />

สมบัติ ประจญศานต, ดนัย นิลสกุล, และจักรกิช พรหมราษฎร. แนวทางการจัดการภูมิสถาปตยกรรม<br />

ทางการทองเที่ยวในเขตอีสานใต. มปป.: มปป., 2550.<br />

สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. คูมือประเมินผลกระทบทางสายตาจาก<br />

สิ่งกอสรางประเภทอาคาร. กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551.<br />

Smardon, Richard C., James F. Plmer and John P. Felleman. Foundations for Visual Project Analysis.<br />

New York: John Wiley & Sons, 1986.<br />

The landscape institute and Institute <strong>of</strong> environmental management & assessment. Guidelines for<br />

Landscape and Visual Impact Assessment. Second edition. London: Spon Press, 2002.


417<br />

ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของอุปกรณกันแดดแบบผนัง 2 ชั้น :<br />

กรณีศึกษาอาคารพักอาศัยในกรุงเทพมหานคร<br />

Energy Saving From Double-Skin Shading Devices Of Residential in Bangkok<br />

ประวิตร กิตติชาญธีระ<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรจน เศรษฐบุตร<br />

บทนํา<br />

เนื่องดวยปจจุบัน คนจํานวนมากมีความเขาใจที่ไมถูกตองเกี่ยวกับการปองกันความรอนผานเปลือก<br />

อาคารเพราะมีความเขาใจวาการใสฉนวนกันความรอนหลายๆชั้นในผนังอาคารพักอาศัยจะยิ่งชวยลดความรอน<br />

และประหยัดพลังงานได แตจากการศึกษางานวิจัย 1 บานที่มีหนาตาง กระจก เปนพื้นที่มากโดยไมมีการบังแดดที่<br />

ถูกตองแลว นําไปทําการกอสรางหรือปรับปรุงโดยการติดตั้งฉนวนกันความรอนที่ผนังหรือหลังคากลับพบวาจะ<br />

ยิ่งทําใหสิ้นเปลืองพลังงานมากขึ้น ซึ่งการใชฉนวนกันความรอนนั้น เหมาะสมกับอาคารสํานักงานหรืออาคารที่มี<br />

การใชงานในเวลากลางวันเทานั้นแตบานพักอาศัยจะเปนการใชงานในเวลากลางคืนเสียเปนสวนใหญ ซึ่ง<br />

หมายความวาการที่เราใชฉนวนหนาๆ หลายชั้นเทากับจะยิ่งทําใหเกิดการเก็บกักความรอนมากยิ่งขึ้นเพราะวา<br />

ความรอนและแสงสองผานเขามาทางกระจกรวมถึงการแผรังสีเขามาในเวลากลางวันทําใหความรอนที่สะสมอยู<br />

ในอาคารหรือโครงสรางอาคารไมสามารถคายออกสูภายนอกบานไดเนื่องจากมีฉนวนเปนเสมือนกลองเก็บกัก<br />

ความรอน ทําใหกอใหเกิดภาระการทําความเย็นมากยิ่งขึ้นมาก<br />

นอกจากนี้ยังพบวาการประหยัดพลังงานของบานพักอาศัยนอกจากจะขึ้นอยูกับการใชกระจกที่มี<br />

ประสิทธิภาพสูงแลวนั้น ยังขึ้นอยูกับการบังแดดที่ถูกวิธีเพื่อปองกันความรอนจากรังสีดวงอาทิตยที่ผานเขามาใน<br />

อาคารในเวลากลางวันและสะสมในโครงสรางอาคาร เพราะฉะนั้นจึงตองมีการศึกษาถึงเรื่องอุปกรณกันแดด<br />

แบบผนัง 2 ชั้นเพื่อศึกษาผลของการประหยัดพลังงานเมื่อเทียบกับการใชกระจกประสิทธิภาพสูงและผนังที่ใส<br />

ฉนวนกันความรอน ซึ่งอุปกรณกันแดดแบบผนัง 2 ชั้นสามารถปดทึบไดเต็มที่ในเวลากลางวัน เพื่อทําหนาที่<br />

ปองกันการแผรังสี และแสงที่สองผานเขาสูตัวอาคาร และสามารถเปดรับทัศนียภาพและอากาศที่อยางเต็มที่ใน<br />

กลางคืน และดวยเหตุนี้จึงเล็งเห็นวาแนวคิดของงานวิจัยเพื่อการศึกษาประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของ<br />

อุปกรณกันแดดแบบผนัง 2 ชั้น : กรณีศึกษา อาคารพักอาศัยในกรุงเทพมหานครจะเปนประโยชน โดยองค<br />

ความรูที่ไดจากการวิจัยนี้จะสามารถนําไปปรับปรุงแบบบานประหยัดพลังงานที่มีอยูแลวในปจจุบันใหมี<br />

1 ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรจน เศรษฐบุตร “การพัฒนาเกณฑขั้นต่ําของคุณสมบัติการปองกันความรอนของ<br />

เปลือกอาคารในอาคารบานเดี่ยว” ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , การ<br />

ประชุมเชิงวิชาการเครือขายพลังงานแหงประเทศไทยครั้งที่ 3 23 – 25 พฤษภาคม 2550 โรงแรมใบหยกสกาย จังหวัดกรุงเทพ ฯ “


418<br />

ประสิทธิภาพในการใชพลังงานใหดีขึ้นแลวยังสามารถนําแนวทางจากการวิจัยนี้ไปใชประกอบเปนตนแบบ<br />

แนวทางในการออกแบบและติดตั้งอุปกรณกันแดดแบบผนัง 2 ชั้นทั้งในเชิงเทคนิคและเชิงเศรษฐศาสตรตอไป<br />

วิธีการวิจัย<br />

งานวิจัยใชการสํารวจรูปแบบบานจัดสรรมาตรฐานทั่วไปในทองตลาดและศึกษาเอกสารตางๆที่<br />

เกี่ยวของกับการปองกันความรอนของเปลือกอาคารของบานพักอาศัยเพื่อนํามาสรางเปนรูปแบบอาคารตัวแทน<br />

(Reference Building) แลวจึงทําการวิเคราะหขอมูลของอาคารตนแบบ (Base Case) โดยจะแบงออกเปน 5<br />

ขั้นตอนหลักดังตอไปนี้<br />

1. การสํารวจเก็บขอมูลตัวอยางบานพักอาศัย ทําการสํารวจเพื่อรวบรวมขอมูลตางๆจาก<br />

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับบานพักอาศัย เชน แบบบานมาตรฐานสําหรับบานพักอาศัยในทองตลาด เพื่อ<br />

ศึกษาลักษณะรูปแบบการวางผังการใชสอย พื้นที่อาคาร การใชวัสดุกอสรางเปลือกอาคาร งานระบบอาคาร<br />

และ ชวงเวลาการใชงานของบาน ลักษณะการใชสอยพื้นที่ ชวงเวลาที่ใชงานอาคาร สัดสวนเนื้อที่ใชสอยที่ปรับ<br />

อากาศและไมปรับอากาศและสัดสวนชองเปดตอพื้นที่ผนังอาคาร (window-to-wall ratio – WWR) รวมไปถึง<br />

ศึกษาถึงดานสภาพแวดลอมในอาคารในการใชพลังงาน<br />

2. จําลองการใชพลังงานและสภาพการถายเทความรอนผานเปลือกอาคาร งานวิจัยนี้ใช<br />

แนวทางการวิจัยเชิงจําลองสถานการณจริง (Simulation Research) โดยจะใชเทคนิคการจําลองสภาพการ<br />

ถายเทความรอนผานเปลือกอาคารที่เปนทั้งผนังทึบและกระจกและทําการหาคาการใชพลังงานของอาคารอางอิง<br />

(Reference Building)ที่ไดจากการเก็บขอมูลตัวอยางบานพักอาศัยโดยอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

VisualDoe4.1 และใชฐานขอมูลสภาพอากาศเฉลี่ยรายชั่วโมงจากกรมอุตุนิยมวิทยาเพื่อนําผลที่ไดมาพัฒนา<br />

เปนฐานการใชพลังงาน<br />

3. ศึกษาถึงขอมูลทางกายภาพของวัสดุประกอบอาคารตางๆ ราคาในสวนของเปลือกอาคาร<br />

ตอราคาคากอสรางทั้งหมด เพื่อใชประกอบในการออกแบบ และชวยในการกําหนดขอบเขตของการนําเสนอ<br />

อาคารทางเลือกแบบตางๆ รวมไปถึงการติดตั้งแผงกันแดดแบบ 2 ชั้น (ภาพที่ 1.1) กับกระจกอนุรักษพลังงาน<br />

ชนิดตางๆ และฉนวนกันความรอนในผนังอาคาร<br />

ภาพที่ 1.1 ตัวอยางแผงกันแดดแบบผนัง 2 ชั้น<br />

4. การจําลองการใชพลังงานของอาคารทางเลือกแบบตาง ๆ หลังจากไดกําหนดอาคาร<br />

ทางเลือกเปนที่เรียบรอย ขั้นตอนตอไปคือการจําลองการใชพลังงานของอาคารทางเลือกแบบตางๆ ดวย<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอร VisualDoe4.1 และนําผลการจําลองที่ไดมาเปรียบเทียบกับฐานการใชพลังงานของ


419<br />

อาคารตัวแทน (Base Case) พรอมทั้งวิเคราะหและอภิปรายขอมูลรวมทั้งทําการคํานวณคาการประหยัด<br />

พลังงานรายปที่คาดวาจะไดจากทางเลือกตางๆ เมื่อเทียบกับฐานการใชพลังงาน (Baseline)<br />

5. วิเคราะหความคุมคาทางเศรษฐศาสตรพรอมสรุปผล โดยการนําคาพลังงานที่สามารถลดได<br />

ในแตละแนวทาง โดยวิเคราะหเปรียบเทียบงบประมาณที่ตองลงทุน แลวจึงคํานวณหาจุดคุมทุนของแตละ<br />

แนวทาง โดยคํานวณคาใชจายตลอดอายุการใชงาน หรือ Life-Cycle Cost (LCC) แลวจึงหาความคุมคาในการ<br />

ลงทุนที่จะใชในการติดตั้งอุปกรณกันแดดแบบผนัง 2 ชั้น ที่จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการใชพลังงาน โดย<br />

แนวทางที่ไดจากการวิจัยจะเปนทางเลือกใหกับสถาปนิกและผูออกแบบตอยอดทางความคิดในการออกแบบ<br />

แผงกันแดดไดในอนาคต<br />

ผลการศึกษา<br />

จากการประมวลภาพรวมของกลุมอาคารศึกษาทางดานกายภาพพบวาลักษณะโดยรวมสวนใหญของ<br />

แบบบานพักอาศัย 2 ชั้นจะมีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผา สวนชั้นลางมีที่วางใตอาคารสําหรับจอดรถ ชั้นบนมีหองนอน<br />

ใหญ 1 หอง และหองนอนเล็ก 1 หอง และหองทํางาน 1 หอง สัดสวนพื้นที่ชองเปดตอผนัง พื้นที่อาคาร (WWR)<br />

30 % ใชเปนกระจกใสชั้นเดียวที่ความหนา 6 มม. และวัสดุเปลือกอาคารเปนผนังกออิฐฉาบปูน 1 ชั้น โดยที่<br />

อาคารตนแบบ (Base Case) มีพื้นที่ใชสอย รวม 255 ตารางเมตร คิดเปนพื้นที่ใชสอยภายใน (Net area) 213<br />

ตารางเมตร ตามภาพที่ 1.2<br />

ภาพที่ 1.2 แสดงแปลนและรูปดานของอาคารตนแบบ (Base Case)


420<br />

ทางดานสภาพแวดลอมภายในอาคาร ผูวิจัยไดกําหนดคาคงที่ไวดังตอไปนี้<br />

- จํานวนผูอาศัย 4 คนตอหลัง<br />

- มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศเฉพาะชั้น 2 (หองนอน) เทานั้น<br />

- ตั้งคาอุณหภูมิปรับอากาศที่ 24 องศาเซลเซียส<br />

- มีการกําหนดเวลาการใชเครื่องปรับอากาศในหองนอนดังนี้<br />

o วันจันทร-ศุกร จะใชเครื่องปรับอากาศเวลา 20:00 – 06:00 น.<br />

o วันหยุดสุดสัปดาห จะใชเครื่องปรับอากาศเวลา 21:00 – 08:00 น.<br />

- ตั้งแตวันจันทร-ศุกรกําหนดใหมีผูอาศัยเต็มจํานวนใน ระหวางเวลา 18:00 – 07:00 น.<br />

- วันหยุดสุดสัปดาหกําหนดใหมีผูอาศัยคิดเปนจํานวน 80% ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง<br />

- การใชพลังงานไฟฟาแสงสวางคํานวณจากแบบกอสราง คิด เปน 7.53 Watt/sq.m.<br />

- การใชพลังงานไฟฟาอุปกรณคิดเปน 8.61 Watt/sq.m.<br />

- อุปกรณเครื่องใชไฟฟาที่ใชประกอบดวย โทรทัศน 3 เครื่อง วิทยุเครื ่องเสียง 2 ชุด พัดลมตั้งโตะ<br />

1 เครื่อง คอมพิวเตอรและพรินเตอร 2 ชุด เตาไมโครเวฟ 1 เครื่อง หมอหุงขาว 1 เครื่อง เครื่องทํานารอน 2 เครื่อง<br />

เครื่องปมน้ํา 1 เครื่อง<br />

สรุปการใชพลังงานไฟฟาตอปของอาคารตนแบบ WWR30 อยูที่ 19,044 kWh/year โดยที่คาเฉลี่ย<br />

ตอตารางเมตรเทากับ 89.41 kWh/sq.m. ตอป ซึ่งไดลองเปรียบเทียบกับ WWR สัดสวนตางๆ ตามตารางที่ 1.1<br />

Single Clear Glass 6 mm.<br />

หนวยการใชไฟฟา<br />

สัดสวนชองเปดตอผนังพื้นที่อาคาร (Window to Wall<br />

ตอป<br />

Ratio, %)<br />

(kWh/year)<br />

WWR<br />

10<br />

WWR<br />

20<br />

WWR<br />

30<br />

WWR<br />

40<br />

ไฟฟาแสงสวาง<br />

(Lighting) 1,767 1,767 1,767 1,767 1,767 1,767 1,767 1,767 1,767 1,767<br />

ไฟฟาอุปกรณ<br />

(Appliances) 6,701 6,701 6,701 6,701 6,701 6,701 6,701 6,701 6,701 6,701<br />

พลังงานปรับอากาศ<br />

(Cooling) 6,772 7,785 8,619 9,653 10,573 11,482 12,370 13,299 14,414 15,033<br />

พัดลม (A/C Fan) 1,531 1,760 1,957 2,198 2,411 2,621 2,830 3,048 3,289 3,435<br />

Single Clear Glass<br />

6 mm 16,771 18,013 19,044 20,319 21,452 22,571 23,668 24,815 26,171 26,936<br />

kWh/m2 79 85 89 95 101 106 111 117 123 126<br />

ตารางที่ 1.1 แสดงผลการใชไฟฟาของกระจกใสชั้นเดียวกับ WWR ขนาดตางๆ<br />

WWR<br />

50<br />

WWR<br />

60<br />

WWR<br />

70<br />

WWR<br />

80<br />

WWR<br />

90<br />

WWR<br />

100


421<br />

จากผลการจําลองการใชพลังงานโดยเปลี่ยนเฉพาะชนิดกระจกจากอาคารตนแบบที่ใชเปนกระจกใส<br />

ชั้นเดียว หนา 6 มม. เปนอาคารทางเลือกที่ใชกระจก Double Low-E Glass คา U-Value = 2.3 W/m 2 K คา SC<br />

= 0.5 และอาคารทางเลือกที่ใชกระจก Double Reflective Glass คา U-Value =3.4 W/m 2 k คา SC = 0.27 ซึ่ง<br />

ผลจากจําลองดวยโปรแกรม VisualDoe4.1 พบวาอาคารตนแบบจะใชพลังงานไฟฟาตอปมากกวากระจก<br />

Double Low-E และ กระจก Double Reflective Glass เนื่องจากกระจก 2 ชนิดหลังเปนกระจกประสิทธิภาพสูง<br />

ที่มีคา SC ต่ํากวากระจกทั่วไป ดังกราฟที่ 1.2<br />

ภาพที่ 1.3 เปรียบเทียบการใชพลังงานของกระจก 3 ชนิด<br />

กราฟที่ 1.3 แสดงการเปรียบเทียบการใชกระจกทั้ง 3 ชนิดกับบานพักอาศัย 2 ชั้นแบบมาตรฐานที่ไมมี<br />

การบังแดด จากกราฟแสดงใหเปนวาเมื่อ WWR มีคาสูงขึ้น การใชพลังงานไฟฟาจะสูงตามไปดวย โดยเฉพาะ<br />

กรณีหากใชกระจก Single Clear Glass 6 mm. จะมีคาการใชพลังงานสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด เนื่องจากมีคา U-<br />

Value = 6.12 W/m2K คา SC = 0.95 สวนกระจก Double Reflective Glass นั้นจะมีคาการใชพลังงานนอย<br />

ที่สุดเพราะมีคา SC ต่ําที่สุด ซึ่งหมายความวาถาอยากใหผนังอาคารมีพื้นที่กระจกเปนจํานวนมากและสามารถ<br />

ประหยัดพลังงานไฟฟาตอปไดดวยนั้น ควรเลือกใชกระจกที่มีคา U-Value และ SC ที่นอย หรือในอีกนัยยะหนึ่งก็<br />

คือจะตองมีการบังแดดดวยอุปกรณบังแดดใดๆ<br />

ผูวิจัยจึงไดทําการจําลองหาคาการใชพลังงานไฟฟาตอปเมื่อมีการติดตั้งอุปกรณกันแดดแบบผนัง 2 ชั้น<br />

ที่สัดสวนการบังแดดที่ 20%, 40%, 60%, 80% และ 100% ควบคูไปกับการใชกระจกใสชั้นเดียวของอาคาร<br />

ตนแบบที่มีคา WWR ขนาดตางๆกัน ดวยโปรแกรม VisualDoe4.1 ดังเชน ภาพที่ 1.4 แสดงสัดสวนของการ<br />

บังแดดที่ 60%, 80% และ 100% ตามลําดับ<br />

ภาพที่ 1.4 แสดงสัดสวนของการบังแดดที่ 60%, 80% และ 100% ตามลําดับ


422<br />

โดยทั้งนี้ไดปรับสัดสวนการบังแดดจาก 20%-100% พบวาอุปกรณกันแดดจะมีประสิทธิภาพเทียบเทาหรือดีกวา<br />

การใชกระจกอนุรักษพลังงานเมื่อมีการบังแดดที่ 60% ขึ้นไป ดังภาพที่ 1.5 และ 1.6<br />

ภาพที่ 1.5 เปรียบเทียบการบังแดดที่ 60% กับกระจกชนิดตางๆ<br />

ภาพที่ 1.6 เปรียบเทียบการบังแดดที่ 100% กับกระจกชนิดตางๆ<br />

จากภาพที่ 1.6 ทําใหทราบถึงประสิทธิภาพของอุปกรณกันแดดแบบผนัง 2 ชั้นเมื่อบังแดดที่100% พบวา<br />

คาการใชพลังงานจะลดลงอยางเห็นไดชัดเมื่อพื้นที่กระจกเพิ่มมากขึ้น ซึ่งหมายความวาถาบานพักอาศัยที่มี<br />

สัดสวนพื้นที่กระจกตอพื้นที่ผนังมากนั้น การติดตั้งแผงกันแดดถือวาเปนทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดตรงขามกับ<br />

การใชกระจกอนุรักษพลังงานซึ่งคาการใชพลังงานจะสูงขึ้นตามพื้นที่กระจกที่เพิ่มมาก<br />

ผลจากการวิเคราะหชี้ใหเห็นวาเมื่อมีการบังแดดที่ 100% ในเวลากลางวันที่ไมมีผูอยูอาศัยอยูในบาน<br />

จะชวยประหยัดพลังงานมากที่สุด และยังประหยัดพลังงานมากกวาการใชกระจกประสิทธิภาพสูงใด ๆ ทั้งสิ้น<br />

สรุปไดวา กระจก Single Clear 6 mm.ที่มีการกันแดดในเวลากลางวันอยางถูกวิธี จะชวยใหสามารถประหยัด<br />

พลังงานมากกวาการใชกระจกประสิทธิภาพสูงที่ไมมีการกันแดดที่ดี โดยเฉพาะอาคารที่มีสัดสวนพื้นที่กระจกตอ<br />

พื้นที่ผนังเปนจํานวนมาก (WWR80 – WWR100) จะเปนลักษณะการบังแดดที่ครอบคลุมทั้งหมด จนทําให<br />

กระจกมีคุณสมบัติการถายเทความรอนไมแตกตางจากผนังทึบที่มีคา U-Value สูง แตไมไดรับการแผรังสีดวง


423<br />

อาทิตยเขาหากระจกในเวลากลางวัน ดังนั้นเมื่อพื้นที่กระจกมีมากขึ้นหมายความวาการระบายความรอนสะสม<br />

จากภายในออกสูภายนอกในเวลากลางคืนจึงเกิดขึ้นไดมากกวาการถายเทความรอนผานผนังทึบที่มีคาการกัน<br />

ความรอนสูงทําใหคาการใชพลังงานลดลงตามไปดวย ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงจําเปนที่จะตองทําการวิเคราะหผลของ<br />

อาคารทางเลือกที่มีการใสฉนวนกันความรอนที่ผนังควบคูไปดวย จึงไดจําลองอาคารทางเลือกที่ใสฉนวนใยแกว<br />

หนา 3 นิ้ว ที่ดานในผนัง ซึ่งคา U-Value = 0.387 W/m 2 K เปรียบเทียบกับอาคารตนแบบที่ไมมีการใสฉนวนกัน<br />

ความรอนใดๆ ซึ่งคา U-Value = 2.828 W/m 2 K ดังกราฟที่ 1.5<br />

ภาพที่ 1.7 เปรียบเทียบอาคารทางเลือกที่ใชฉนวนกันความรอนกับอาคารตนแบบ<br />

กราฟที่ 1.7 เปนการเปรียบเทียบบานพักอาศัยทั่วไปที่ใชผนังกออิฐมอญชั้นเดียว (Base Case) กับ<br />

ผนังที่มีการเพิ่มฉนวนกันความรอนที่ผนังดานใน โดยที่กระจกยังคงเปนกระจกชนิดเดียวกันคือ Single Clear<br />

Glass 6 mm. จากกราฟนี้แสดงใหเห็นวา ผนังที่มีฉนวนกันความรอนจะใชพลังงานไฟฟานอยกวาผนังกออิฐ<br />

ธรรมดาเมื่อสัดสวนพื้นที่ชองเปดตอพื้นที่ผนังมีคานอย ( WWR10-WWR30) แตเมื่อสัดสวนพื้นที่กระจกเพิ่มมาก<br />

ขึ้นนั้น ผนังที่มีฉนวนกันความรอนกลับใชพลังงานไฟฟามากกวาผนังธรรมดาเนื่องดวยวาเมื่อพื้นที่กระจกเพิ่ม<br />

มากขึ้นนั้นทําใหรับแสงและการแผรังสีความรอนจากดวงอาทิตยเขามามากในเวลากลางวัน แตกลับไมสามารถ<br />

ระบายออกไดดีเทาที่ควรเนื่องจากมีผนังที่เปนฉนวนเปนเสมือนตัวเก็บกักความรอนทําใหเกิดภาวะสะสมความ<br />

รอนเปนเหตุทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานหนักขึ้นสงผลใหการใชพลังงานไฟฟาเพิ่มมากขึ้น<br />

ดังนั้นผูวิจัยจึงไดสรางรูปแบบอาคารทางเลือกเพิ่มมาอีกหนึ่งกรณีคือใสฉนวนกันความรอนใหกับผนัง<br />

อาคารพรอมทั้งติดตั้งแผงกันแดดไมควบคูไปดวย ดังแสดงในกราฟที่ 1.6 และกราฟที่ 1.7 แสดงผลการบังแดด<br />

60% และการบังแดด 100% ที่มีการใสฉนวนกันความรอน


424<br />

ภาพที่ 1.8 เปรียบเทียบอาคารทางเลือกที่บังแดด 60% พรอมใสฉนวนกันความรอน<br />

ภาพที่ 1.8 แสดงการเปรียบเทียบคาการใชพลังงานไฟฟาระหวางอาคารที่ติดตั้งแผงกันแดดไมที่ 60%<br />

โดยที่ใชผนังกออิฐ 1 ชั้นธรรมดา ไมมีฉนวนกันความรอน เปรียบเทียบกับอาคารที่ติดตั้งแผงกันแดดไมที่ 60%<br />

พรอมใสฉนวนใยแกว 3 นิ้วที่ผนังดานใน พบวาเมื่อติดตั ้งการกันแดด 60% ใหกับผนังที่มีฉนวนกันความรอนอยู<br />

แลวนั้นกลับทําใหคาการใชพลังงานไฟฟาสูงขึ้นมากกวาผนังที่ไมมีฉนวนกันความรอน<br />

เมื่อใชแผงกันแดดที่ 60% กับผนังที่มีฉนวนกันความรอนกับอาคารที่มีคา WWR 50 -100 % จะมีการ<br />

ใชพลังงานคอนขางคงที่หมายความวา พื้นที่กระจกยิ่งมาก พื้นที่ผนังที่เปนฉนวนยิ่งนอยลง ซึ่งทําใหคา U-Value<br />

เฉลี่ยของอาคารเริ่มสูงขึ้น ซึ่งในความรูของผูออกแบบอาจจะคิดวาจะตองเปลืองพลังงานมากขึ้น แตผลที่พบคือ<br />

คา U ที่สูงขึ้น กลับไมมีผลตอการใชพลังงานที่มากขึ้นเลย ถาหากบังแดดไดอยางนอย 60% ดังนั้น การใชผนังที่<br />

มีฉนวนหนา เพื่อลดคา U-Value ของอาคารพักอาศัยในเขตภูมิอากาศของไทย จึงไมจําเปน และไมถูกตองเสมอ<br />

ไป และเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับกรณีที่ไมมีการติดตั้งอุปกรณกันแดด (กราฟที่ 1.5) จะพบวาการที่ใชพลังงานที่<br />

มากขึ้นเมื่อ WWR สูงขึ้นนั้น สืบเนื่องมาจากการแผรังสีดวงอาทิตยที่มาสะสมมากขึ้นในตัวอาคารเพราะหาก<br />

ไมไดเปดเครื่องปรับอากาศเวลากลางวัน จึงไมเกี่ยวกับการใชพลังงานในเวลากลางวันแตอยางใด แตเปนการใช<br />

พลังงานในเวลากลางคืนเปนสวนใหญ<br />

ภาพที่ 1.9 เปรียบเทียบอาคารทางเลือกที่บังแดด 100% พรอมใสฉนวนกันความรอน<br />

ภาพที่ 1.9 แสดงการเปรียบเทียบระหวางการบังแดดที่ 100% โดยที่ใชผนังกออิฐ 1 ชั้น เปรียบเทียบกับ<br />

ผนังที่ใสฉนวนกันความรอน จากกราฟนี้แสดงใหเห็นวาเมื่อใสแผงกันแดด 100% กับผนังกออิฐ 1 ชั้น กับผนังที่


425<br />

ใสฉนวนกันความรอนนั้น คาการใชพลังงานไฟฟาจะมีคาใกลเคียงกัน โดยที่เมื่อใสแผงกันแดด 100 % สามารถ<br />

อธิบายไดชัดเจนมากวา ยิ่ง WWR มีคาสูงขึ้น หมายความวา พื้นที่ผนังทึบที่เปนฉนวนมีนอยลง พื้นที่กระจกที่<br />

ระบายความรอนดีกวามีมากขึ้น สงผลใหคา U Value เฉลี่ยของผนังมีคามากขึ้น การถายเทความรอนระหวาง<br />

ภายในและภายนอกมีมากขึ้น แตกลับมีคาไฟลดลง<br />

ภาพที่ 1.10 เปรียบเทียบการใชพลังงานตอปสําหรับอาคารที่มีคา U(eff) แตกตางกัน<br />

กราฟนี้แสดงคา U(eff) ของพื้นที่รวมผนังอาคารซึ่งตามหลักทั่วไป ยิ่งคา U-Value มากนั้นจะสงผลใหความรอน<br />

สามารถถายเทระหวางภายในกับภายนอกใหมาก แตขอมูลที่ไดจากกราฟกลับพบวา ผนังที่ใชเปนกระจก<br />

Double Low-E, ผนังที่ติดตั้งอุปกรณกันแดดที่ 100% และผนังที่ติดตั้งอุปกรณกันแดดที่ 100% ควบคูไปกับ<br />

ฉนวนกันความรอน นั้นกลับสวนทางกันคือ ยิ่งคา U-Value สูงการใชพลังกับยิ่งลดลงเพราะวาการใชกระจก<br />

Low-E และแผงกันแดด 100% สามารถตัดรังสีความรอนจากภายนอกในเวลากลางวันไมใหมาสะสมในอาคาร<br />

และนอกจากนี้คา U-Value ที่สูงจะชวยใหความรอนที่สะสมในเวลากลางวันและความรอนภายใน (Internal<br />

Heat Gain) สามารถระบายออกสูภายนอกไดทําใหไมเปลืองภาระการปรับอากาศในเวลาหัวค่ํา<br />

การวิเคราะหเชิงเศรษฐศาสตร<br />

งานวิจัยชิ้นนี้จะทําการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร (Economic Analysis) แสดงการคํานวณระยะเวลา<br />

คุมทุน (Payback period) และผลตอบแทนการลงทุน (Rate <strong>of</strong> return) แสดงผลการ คํานวณคาใชจายตลอด<br />

ชวงอายุการใชงานอาคาร 20 ป (Life-cycle cost)<br />

การคํานวณ LCC (Life Cycle Cost , คาตนทุนตลอดอายุวัฏจักร) คือการคํานวณหาคาใชจายรวม<br />

ตลอดอายุการใชงานของอาคารซึ่งปะกอบไปดวยสองสวนหลักคือ มูลคาของการลงทุน (Owning) , คาใชจายใน<br />

การดําเนินงานตลอดอายุการใชงาน (Operating) โดยมีสูตรการคํานวณดังตอไปนี้


426<br />

1 + e<br />

n<br />

1 + e<br />

PV = A x 1 + i x 1 + i - 1 ........... (1) 2<br />

1 + e<br />

1 + i - 1<br />

LCC = PV + คากอสรางเริ่มตนในปแรก ........... (2)<br />

อัตราสวนพื้นที่กระจกตอพื ้นที่<br />

ผนังทั้งหมด WWR (%)<br />

WWR<br />

10<br />

WWR<br />

20<br />

WWR<br />

30<br />

WWR<br />

40<br />

คาการลงทุนในการใชแผงกันแดดไม<br />

พรอมติดตั้ง (บาท/ตร.ม.) 3,650 3,650 3,650 3,650 3,650 3,650 3,650 3,650 3,650 3,650<br />

พื ้นที่กระจกรวม 4 ดาน<br />

(ตร.ม.) 15.4 30.8 46.2 61.6 77 92.4 107.8 123.2 138.6 154<br />

คาการลงทุนในการใชแผงกันแดดไม<br />

พรอมติดตั้ง (บาท) 56,210 112,420 168,630 224,840 281,050 337,260 393,470 449,680 505,890 562,100<br />

ตารางที่ 1.2 คาลงทุนในติดตั้งแผงกันแดดใหกับ WWR ขนาดตางๆ<br />

จากตารางที่ 1.2 แสดงใหเห็นถึงคาการลงทุนในการใชแผงกันแดดพรอมติดตั้งกับอาคารที่คา WWR<br />

ขนาดตางๆ โดยสัดสวนพื้นที่ของอุปกรณกันแดดที่ติดตั้งจะเทากับพื้นที่กระจกของอาคาร โดยอาคารตนแบบ<br />

WWR30 มีพื้นที่กระจก 46.20 ตารางเมตร คาการลงทุนในการติดตั้งแผงกันแดดคิดเปนเงิน 3,650 บาท /ตร.ม.<br />

เพราะฉะนั้นคาการลงทุนของการติดตั้งแผงกันแดดที่ WWR30 เปนเงินทั้งสิ้น 168,630 บาท สวน WWR100 จะ<br />

อยูที่ 562,100 บาท<br />

จากวิเคราะหและสรุปผลแสดงใหเห็นวาคาเปรียบเทียบ อาคารตนแบบ (Base Case) กับอาคารที่<br />

ติดตั้งอุปกรณกันแดดที่คา WWR 30 จะเห็นไดวาสามารถประหยัดคาใชจายไฟฟาตอปจะอยูที่ 17% แตเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับอาคารทางเลือกที่มีการกันแดดที่ 100% กับอาคารตนแบบที่ไมมีการกันแดดใดๆ โดยกําหนดให<br />

อาคารมีคา WWR100 นั้นพบวาคาการใชพลังงานไฟฟาตางกันถึง 49% และไดคํานวณหาระยะเวลาคืนทุนของ<br />

แผงกันแดด พบวาสําหรับกรณี WWR30 ที่มีจะใชแผงกันแดดนั้นระยะเวลาการคืนทุนอยูที่ 22 ป แตถาเปนกรณี<br />

WWR100 นั้นระยะเวลาการคืนทุนจะอยูที่ 17 ป<br />

WWR<br />

50<br />

WWR<br />

60<br />

WWR<br />

70<br />

WWR<br />

80<br />

WWR<br />

90<br />

WWR<br />

100<br />

2 PV = มูลคาปจจุบันของคาไฟฟา (บาท)<br />

A = คาไฟฟารายป (บาท)<br />

e = อัตราเงินเฟอ (~5%)<br />

i = อัตราดอกเบี้ย (~7%)<br />

n = จํานวนอายุการใชงานของอาคาร (20 ป)


427<br />

ภาพที่ 1.11 เปรียบเทียบคา Life Cycle Cost ของเปลือกอาคาร 2 ชนิด<br />

จากผลการวิเคราะหการลงทุนทางดานเศรษฐศาสตรของการติดตั้งแผงกันแดด 100% กับการใช<br />

กระจก Double Low-E พบวาคา Life Cycle Cost ของทั้งคูมีคาใกลเคียงกันเมื่อ WWR มีคานอย แตสําหรับ<br />

อาคารที่ WWR มีคามาก (80% ขึ้นไป) คา Life Cycle Cost ของแผงกันแดดอยูที่ 1,556,082 บาท ซึ่งนอยกวา<br />

การใชกระจก Double Low-E ซึ่งอยูที่ 1,632,933 บาท ในการวิเคราะหระยะเวลาคืนทุนนั้นพบวาสําหรับ<br />

อาคารที่มี WWR100 การใชกระจก Double Low-E จะมีระยะเวลาคืนทุนจะนานถึง 37 ป แตการติดตั้งแผงกัน<br />

แดดนั้นจะทําใหระยะเวลาคืนทุนสั้นลงเปน 14 ป ทําใหไดขอสรุปในเชิงเศรษฐศาสตรวา การติดตั้งอุปกรณกัน<br />

แดดแบบผนัง 2 ชั้นจะเหมาะกับบานพักอาศัยที่ตองการพื้นที่กระจกตอสัดสวนผนังเปนพื้นที่มาก โดยจะ<br />

สามารถประหยัดพลังงานและมีความคุมคาในการลงทุนเชิงเศรษฐศาสตรดีที่สุด<br />

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย<br />

1. อาคารพักอาศัยที่มีคา WWR สูงพบวาการใชพลังงานจะมากขึ้น สืบเนื่องมาจากการแผรังสีดวงอาทิตยที่มา<br />

สะสมในตัวอาคารในเวลากลางวัน ทําใหเกิดภาระการทําความเย็นมากขึ้นในเวลากลางคืน<br />

2. กระจกใสชั้นเดียว หนา 6 มม.ที่มีการกันแดดในเวลากลางวันอยางดี จะชวยประหยัดพลังงานมากกวาการใช<br />

กระจกประสิทธิภาพสูงที่ไมมีการกันแดดที่ดี<br />

3. บานพักอาศัยที่มีสัดสวนพื้นที่กระจกตอพื้นที่ผนังมาก การติดตั้งแผงกันแดดจะดีที่สุดเพราะการใชพลังงานจะยิ่ง<br />

ลดลง ซึ่งตรงขามกับการใชกระจกอนุรักษพลังงานซึ่งคาการใชพลังงานจะสูงขึ้นตามพื้นที่กระจกที ่เพิ่มขึ้น<br />

4. อาคารทางเลือกที่ใชฉนวนใยแกว 3 นิ้ว กรณีที่ WWR มีคาสูงจะทําใหใชพลังงานไฟฟาสูงกวาการใชผนังธรรมดา<br />

เพราะจะรับแสงแดดและความรอนเขามามากแตไมสามารถระบายออกไดดี เปนเหตุทําใหเครื่องปรับอากาศ<br />

ทํางานหนักขึ้น<br />

5. สําหรับบานพักอาศัยในเขตรอนชื้น การที่ใสฉนวนหลายชั้นเพื่อลดคา U-Value ของผนัง จะไมมีผลตอการลด<br />

พลังงานไฟฟาเสมอไป ถาหากมีการบังแดดที่ดีตั้งแต 60%ขึ้นไป ใหกับอาคารที ่มีคา WWR50 – WWR100%


428<br />

6. อาคารที่มีการใชแผงกันแดดที่ 100% ควบคูกับการใชฉนวนกันความรอน พบวาเมื่อ WWR สูงขึ้นทําใหพื้นที่ผนัง<br />

ทึบที่เปนฉนวนมีนอยลง แตมีพื้นที่กระจกที่ระบายความรอนดีกวามากขึ้น ทําใหการถายเทความรอนระหวาง<br />

ภายในและภายนอกดีขึ้น สงผลใหคาไฟลดลง<br />

7. ผลจากการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรพบวา คา Life Cycle Cost ของแผงกันแดดจะมีคานอยกวาการใชกระจก<br />

Double Low-E เมื่ออาคารนั้นมีคา WWR สูง (80% ขึ้นไป)<br />

8. อาคารพักอาศัยที่ตองการระยะเวลาการคืนทุนเร็ว การใชแผงกันแดดถือเปนทางเลือกที่ดีที่สุด เพราะจะคืนทุน<br />

เร็วกวาการใชกระจก Double Low-E ถึง 23 ป<br />

ผูวิจัยหวังวาขอมูลที่ไดจากงานวิจัยชิ้น จะเปนประโยชนสําหรับสถาปนิกและผูออกแบบเพื่อเปนขอมูล<br />

ในการเลือกใชแผงกันแดดตามสัดสวนตางๆ หรือเลือกกระจกที่มีประสิทธิภาพสูงสําหรับชองเปดของอาคาร โดย<br />

ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจุดประสงคของการเลือกใชวัสดุชนิดนั้นๆใหมีประสิทธิภาพมากที่สุดรวมถึงสัดสวนพื้นที่กระจกตอ<br />

ผนังอาคารที่มีคาแตกตางกันไปตามความเหมาะสม<br />

บรรณานุกรม<br />

ผศ.ดร.อรรจน เศรษฐบุตร , ผศ.ธนิต จินดาวณิค, ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , การประชุมเชิงวิชาการเครือขายพลังงานแหงประเทศไทยครั้งที่ 3 23 –<br />

25 พฤษภาคม 2550 โรงแรมใบหยกสกาย จังหวัดกรุงเทพ ฯ “ การพัฒนาเกณฑขั้นต่ําของ<br />

คุณสมบัติการปองกันความรอนของเปลือกอาคารในอาคารบานเดี่ยว “<br />

ผศ.ดร.อรรจน เศรษฐบุตร, ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย , Journal <strong>of</strong> Architectural/ Planning Research and Studies Volume 5 (1).<br />

<strong>Faculty</strong> <strong>of</strong> Architectural and Planning, Thammasat University 2007 “การพัฒนาเกณฑขั้น<br />

ต่ําของคุณสมบัติการปองกันความรอนของเปลือกอาคารในอาคารทาวนเฮาส “<br />

สวิชญา ดาวประกายมงคล. “แนวทางการเลือกใชกระจกเปนผนังอาคารสํานักงานปรับอากาศเพื่อให<br />

สอดคลองกับกฎกระทรวงการออกแบบเพื่อการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2552”. วิทยานิพนธ<br />

ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรม<br />

ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552.


429<br />

พัฒนาการการออกแบบการใหแสงสวางธรรมชาติในอาคารประเภทหองสมุด<br />

DEVELOPMENT OF DAYLIGHTING DESIGN STRATEGIES IN LIBRARY<br />

ไพลิน ไพจิตรสัตยา<br />

หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาจารยที่ปรึกษา : ดร.วรภัทร อิงคโรจนฤทธิ์<br />

บทนํา (Introduction)<br />

การออกแบบชองแสงเปนโจทยสําคัญขอหนึ่งในงานออกแบบสถาปตยกรรม เพราะเปนทั้งการสราง<br />

มุมมอง การใหแสงสวางธรรมชาติเขามาภายในและมีอิทธิพลตอผูใชงานโดยตรง แมจะมีทฤษฎีหรือแนวทางใน<br />

การออกแบบชองแสงใหคนควาอยูมากมาย แตในการสรางงานสถาปตยกรรมนั้นมีปจจัยที่เกี่ยวของอีกหลาย<br />

ดานทั้งเรื่องโครงสราง งานระบบ หรือวัสดุที่เลือกใชลวนสงผลตอประสิทธิภาพของชองแสงทั้งสิ้น และปจจุบัน<br />

ระยะเวลาในการทํางานที่จํากัดทําใหสถาปนิกมีเวลาในการศึกษา คนควา ทดลองในขั้นตอนการออกแบบที่<br />

นอยลง การศึกษาวิจัยวิเคราะหรูปแบบวิธีการในการออกแบบชองแสงจากงานสถาปตยกรรมที่ถูกสรางขึ้นแลว<br />

จากอดีตจนถึงปจจุบัน จึงชวยใหสถาปนิกสามารถเรียนรู เพิ ่มเติมประสบการณ จากการศึกษาที่เนนเรื่อง<br />

องคประกอบทางสถาปตยกรรมที่เกี่ยวของ เพื่อนําไปพัฒนาหรือปรับใชในการทํางานของสถาปนิก<br />

จากการทบทวนวรรณกรรมที่ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบการใหแสงสวางธรรมชาติในงาน<br />

สถาปตยกรรม พบวางานวิจัยสวนใหญเปนงานวิจัยเชิงปริมาณ ทดลองเพื่อศึกษาผลของตัวแปร อาทิเชน คุณ<br />

พิรุฬหรัตน บุริประเสริฐ หัวขอวิจัยเรื่อง “รูปแบบของชองเปดดานขางเพื่อการนําแสงธรรมชาติมาใชในอาคาร<br />

สํานักงาน” ปพ.ศ.2543 เนนศึกษาตัวแปรสัดสวนพื้นที่กระจกและความตอเนื่องของชองเปดที่สงผลตอการใช<br />

พลังงาน, คุณบรรณสิทธิ์ จิตตะยโศธร หัวขอวิจัยเรื่อง “การนําแสงธรรมชาติเขาสูอาคารโดยการใชระบบทอนํา<br />

แสงทางดานขางของอาคาร”ปพ.ศ.2550 ศึกษาปจจัยที่มีผลตอปริมาณแสงที่ผานทอนําแสงเขาสูอาคาร<br />

นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่ศึกษาตัวแปรอื่นๆเชน คุณสมบัติของกระจก รูปทรงของเอเทรียมที่สงผลตอปริมาณแสง<br />

ในอาคาร ผลของการวิจัยที่ไดเปนขอมูลใหกับผูออกแบบสามารถนําไปประยุกตใชกับอาคารที่มีความคลายกัน<br />

งานวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคการใชแสงธรรมชาติในตางประเทศที่พบสวนมากเนนประเด็นเพื่อการประหยัด<br />

พลังงาน อาทิเชน Danny H.W.Li, Joseph C. Lam หัวขอวิจัยเรื่อง “An investigation <strong>of</strong> Daylighting<br />

performance and energy saving in daylit corridor: 2002” ทําการศึกษาจากพื้นที่กรณีศึกษาเพื่อวัดพลังงาน<br />

ที่ประหยัดไดจากการใชแสงธรรมชาติรวมกับระบบควบคุมแสงประดิษฐ งานวิจัยบางสวนเปนการศึกษาถึง<br />

พฤติกรรมของผูใชตอการนําแสงธรรมชาติเขาสู อาคาร เชน Catherine Dubios, Claude Demers, Andre<br />

Potivin ศึกษาเรื่อง“Daylit Space and Comfortable Occupants: A variety <strong>of</strong> luminous ambiences in<br />

support <strong>of</strong> diversity <strong>of</strong> individuals: PLEA2009” เปนการสํารวจจากสถานที่จริงเพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใช<br />

ตอพื้นที่ที่มีแสงสองถึงโดยกําหนดพื้นที่ศึกษาเปนรานอาหารแหงหนึ่งในสถาบันศึกษา


430<br />

จากขอมูลดังกลาวไมพบวามีที่การศึกษาการออกแบบชองแสง เพื่อใหสถาปนิกสามารถใชเปนแนวทาง<br />

ในการคาดการณถึงประสิทธิผลของการใหแสงสวางธรรมชาติของการออกแบบชองแสงแตละรูปแบบที่เลือกใช<br />

ดังนั้นการศึกษารูปแบบของชองแสงและประสิทธิผลของการออกแบบนั้นๆ เพื่อวิเคราะหหารูปแบบที่ถูกนํามาใช<br />

และคาดการณประสิทธิผลของรูปแบบนั้น เพื่อที่จะนําขอมูลที่ศึกษามาประยุกตใชในการทํางานจริงไดใน<br />

อนาคต ทําใหเกิดคําถามวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบชองแสงที่ถูกสรางขึ้นตั้งแตในอดีตเรื่อยมาจนปจจุบันนั้น วามี<br />

รูปแบบชองแสงและแผงบังแดดเปนอยางไร ทั้งยังใหประสิทธิผลการใหแสงสวางธรรมชาติเปนอยางไร เพื่อนํา<br />

ผลของงานวิจัยมาเปนตัวอยางใหกับการทํางานจริง<br />

วิธีวิจัย (Method)<br />

งานวิจัยฉบับนี้วิธีการสํารวจเก็บขอมูลกรณีศึกษา เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลการออกแบบการใหแสงสวาง<br />

ธรรมชาติ และนําขอมูลที่ไดมาทําการวิเคราะหรูปแบบจากองคประกอบของการใหแสงสวางธรรมชาติเขามาใช<br />

ในอาคาร ซึ่งเปนขอมูลการกอสรางและใชงานจริง เพื่อใหผลของงานวิจัยชิ้นนี้เปนขอมูลที่สามารถนําไป<br />

ประยุกตใชได ขั้นตอนการวิจัยแบงออกเปนขั้นตอนตางๆดังนี้<br />

1) การเลือกอาคารกรณีศึกษาเปนอาคารประเภทหองสมุดเพราะเปนอาคารที่มีการใชงานในชวงเวลา<br />

กลางวัน และเปนอาคารที่ตองการใชแสงธรรมชาติมากที่สุดอาคารหนึ่งทั้งประโยชนทางดานความสองสวางและ<br />

การสรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่ใหกับผูใชอาคาร จากการคนควาเบื้องตนพบวาเปนอาคารประเภท<br />

หองสมุดมีการกอสรางในเกือบทุกชวงเวลา โดยกําหนดเกณฑกรณีศึกษาที่มีลักษณะการใชงานเปนหองสมุดทั้ง<br />

อาคารหรือไมนอยกวาครึ่งของพื้นที่อาคาร โดยสามารถเลือกกรณีศึกษาเปนอาคารประเภทหองสมุดที่ถูกสราง<br />

ในกรุงเทพมหานครฯ ระหวางป พ.ศ.2464-2553 ได 21 กรณีศึกษา ดังนี้<br />

ตารางที่ 1 แสดงรายชื่ออาคารที่กําหนดเปนกรณีศึกษา พรอมป พ.ศ. ที่กอสราง<br />

กรณีศึกษา กอสรางป พ.ศ. รายชื่ออาคาร<br />

1 2464 หองสมุดเนลสันเฮย<br />

2 2499 หองสมุดประชาชนสวนลุมพินี<br />

3 2509 หอสมุดแหงชาติ<br />

4 2509 หอสมุดศิริราช<br />

5 2511 หองสมุดสตางค มงคลสุข มหาวิทยาลัย มหิดล<br />

6 2512 หองสมุดประชาชนซอยพระนาง<br />

7 2518 สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคําแหง<br />

8 2518 หอสมุดสาขา วังทาพระ สํานักหอสมุดกลาง ม.ศิลปากร<br />

9 2521 สํานักวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

10 2522 สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

11 2528 สํานักหอสมุดกลาง ม.ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร<br />

12 2531 สํานักหอสมุด ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี


431<br />

กรณีศึกษา กอสรางป พ.ศ. รายชื่ออาคาร<br />

13 2532 หอสมุดดํารงราชานุภาพ<br />

14 2536 หองสมุดประชาชนแสงอรุณ<br />

15 2537 สํานักหอสมุดกลาง พระจอมเกลาฯลาดกระบัง<br />

16 2540 หอสมุดปรีดี พนมยงค หองสมุดธรรมศาสตร<br />

17 2545 สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

18 2548 สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.ราชภัฏพระนคร<br />

19 2549 ศูนยการเรียนรู มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

20 2551 หองสมุดวิลเลี่ยม วอรเรน<br />

21 2552 หอสมุด มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

จากกรณีศึกษาที่กําหนดทั้ง 21 กรณี สามารถแบงตามชวงป พ.ศ.ที่กอสรางไดดังนี้<br />

ภาพที่ 1 อาคารประเภทหองสมุดที่ถูกสรางในกรุงเทพมหานครฯ ระหวางป พ.ศ. 2464-2553<br />

จากขอมูลดังกลาวพบวาอาคารหองสมุดที่เลือกเปนกรณีศึกษามีหลากหลายประเภท ทั้งหองสมุด<br />

เอกชน หองสมุดสมาคมและหองสมุดมหาวิทยาลัย ซึ่งเห็นไดวารูปแบบในการออกแบบชองแสงที่แตกตางกัน


432<br />

จากการสํารวจขอมูลผังอาคารเบื้องตนเพื่อกําหนดกรอบพื้นที่ที่ทําการศึกษา โดยเลือกบริเวณที่นั่ง<br />

อานหนังสือ เพราะเปนพื้นที่ที่ถูกจัดใหอยูใกลกับชองแสง และเลือกศึกษารูปแบบของการใหแสงสวาง<br />

ธรรมชาติเปน ชองแสงดานขางเทานั้น เก็บขอมูลรูปแบบและองคประกอบของชองแสง เก็บขอมูลดวยการ<br />

ถายภาพและการจดบันทึก<br />

2) ศึกษาองคประกอบของการออกแบบการใหแสงสวางธรรมชาติ กําหนดกรอบการศึกษาที่รูปแบบ<br />

ของชองแสงและองคประกอบของแผงบังแดด ดวยการแจงแบบรูปดาน รูปตัดของพื้นที่บริเวณที่ทําการศึกษา<br />

จากขอมูลที่ไดทําการประเมินประสิทธิผลของการใหแสงสวางธรรมชาติของการออกแบบชองแสงและ<br />

แผงบังแดดกรณีศึกษาทั้ง 21 กรณี จากการคํานวณดวยโปรแกรม Dialux 4.7 โดยกําหนดวันและเวลาเดียวกัน<br />

ในทุกกรณีเพื่อรวบรวมเปนขอมูลของกรณีศึกษานั้นๆ<br />

ภาพที่ 2 แสดงรูปดานภายนอก รูปตัดขวาง รูปตัดตามยาว ทั้ง 21 กรณี


433<br />

3) วิเคราะหขอมูลการออกแบบดวยการจัดแบงกลุมขอมูล โดยใชหลักการในการออกแบบดังนี้<br />

3.1) Window to Wall Ratio: WWR โดยทําการคํานวณหาอัตราสวนพื้นที่ของหนาตางตอพื้นที่ผนัง<br />

เพื่อแบงกลุมกรณีศึกษาที่มีคา WWR อยูในชวงที่แตกตางกัน สามารถแบงไดสามกลุม คือ WWR= 0.70-1.00,<br />

WWR= 0.46-0.69และ WWR= 0.30-0.45 และหาคาเฉลี่ยของคา WWR ของขอมูลทั้ง 3 กลุม ดังตารางที่ 2<br />

3.2) Vertical Shading Angle: VSA โดยทําการวัดคา VSA ของแผงบังแดดทางนอนของแตละกรณี<br />

สามารถแบงไดสามกลุม คือ VSA=29°-59°, VSA= 60°-89° และ VSA=90° และทําการหาคาเฉลี่ยของคา VSA<br />

และ HSA เพื่อเปนตัวกําหนดขอมูลของรูปแบบตอไป ดังตารางที่ 2<br />

3.3) Horizontal shading angle: HSA โดยทําการวัดคา HSA ของแผงบังแดดทางตั้งของแตละกรณี<br />

สามารถแบงไดสามกลุม คือ VSA=0°-4°, VSA= 5°-19° และ VSA=20°-40° และทําการหาคาเฉลี่ยของคา<br />

HSA เพื่อเปนตัวกําหนดขอมูลของรูปแบบตอไป ดังตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 การแบงกลุมขอมูลจากคา WWR, VSA และ HSA<br />

4) จากการจัดกลุมขอมูลการออกแบบชองแสงและแผงบังแดดของกรณีศึกษาทั้ง 20 กรณีแลว และหา<br />

คาเฉลี่ยของแตละกลุมขอมูล เพื่อใชกําหนดรูปแบบขึ้นใหมที่มีความหลากหลายและเชื่อมโยงจากขอมูล<br />

กรณีศึกษาและสามารถศึกษาถึงความเกี่ยวพันธของประสิทธิภาพการใหแสงสวางตอรูปแบบที่สรางขึ้นไดเมื่อนํา<br />

ขอมูลขางตนมาใชในการกําหนดรูปแบบเพื่อทําการศึกษาสามารถแจงรายละเอียดไดดังนี้


434<br />

- กลุมขอมูลตามอัตราสวนพื้นที่ชองแสงตอพื้นที่ผนังสามารถจัดกลุมได 3 กลุมดังภาพ<br />

ภาพที่ 3 ภาพรูปดานแสดงขนาดพื้นที่ชองแสงทั้ง 3 กลุม<br />

- กลุมขอมูลตามคามุมแผงบังแดดทางนอน Vertical Shading Angle: VSA สามารถจัดกลุมได 3<br />

กลุมดังภาพ<br />

ภาพที่ 4 ภาพรูปตัดแสดงแผงบังแดดทางนอนทั้ง 3 กลุม<br />

- กลุมขอมูลตามคามุมแผงบังแดดทางตั้ง Horizontal Shading Angle: HSA สามารถจัดกลุมได 3<br />

กลุมดังภาพ<br />

ภาพที่ 5 ภาพแปลนแสดงแผงบังแดดทางตั้งทั้ง 3 กลุม<br />

5) นําลักษณะที่ไดมาสรางรูปแบบชองแสงและแผงบังแดดใหสําหรับหองจําลองที่กําหนดขึ้น สามารถ<br />

สรางรูปแบบไดทั้งหมด 27 รูปแบบ และสรางหองจําลองตามแตละรูปแบบ เพื่อทําการประเมินประสิทธิภาพใน<br />

การใหแสงสวางธรรมชาติดวยโปรแกรม (Dialux 4.7) โดยกําหนดรูปแบบหองขนาด 8.00 x 10.00 ม. รูปแบบ<br />

ชองแสงและแผงบังแดดแตกตางกันไปตามรูปแบบที่กําหนด และวางตําแหนงชองแสงใน 4 ทิศคือ ทิศเหนือ ทิศ<br />

ใต ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก<br />

ผลการศึกษา<br />

สรุปผลที่ไดจากการวัดคาการสองสวาง (Illuminances) แนวกลางหองที่ระนาบทํางาน<br />

+0.75 ม. ทุกระยะ 0.50 ม. จากหนาตางคาเฉลี่ยการสองสวางตลอดทั้งปและคํานวณอัตราความสม่ําเสมอของ<br />

แสง (Uniformity Ratio) แลวจึงนําคาที่ไดมาเขียนกราฟเพื่อหารูปแบบที่ใหประสิทธิภาพที่ดีทั้งดานปริมาณคือ<br />

คาการสองสวางและดานคุณภาพคือความสม่ําเสมอของแสง จากชองแสงแตละรูปแบบในแตละทิศ<br />

ภาพที่ 6 ภาพตัวอยางหองจําลองตามรูปแบบ WWR=0.82, VSA=41.5, HAS=1


435<br />

แผนภูมิที่ 1, 2 แสดงตัวอยางผลการคํานวณคาการสองสวางรูปแบบ WWR=0.82, VSA=70.5, HAS= 1<br />

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย<br />

เมื่อพิจารณาแผนภูมิคาการสองสวางของรูปแบบทั้ง 27 รูปแบบพบวาแมขนาดพื้นที่หนาตางที่แตกตางกัน<br />

หรือการมีระยะการยื่นแผงบังแดดที่ไมเทากัน การใหแตมีลักษณะการใหแสง ที่ใกลเคียงกันได และในอีกดาน<br />

หนึ่งคือผลของแผงบังแดดที่มีตอการใหแสงสวางธรรมชาติตอพื้นที่ภายในดวยรูปแบบเดียวกันจะมีประสิทธิภาพ<br />

ที่แตกตางเมื่อตางทิศกัน ดังนั้นเพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการใหแสงของแตละรูปแบบและความสัมพันธระหวาง<br />

ขนาดชองแสง แผงบังแดดและทิศทางการวางชองแสง จึงใชคาเฉลี่ยการสองสวางตลอดทั้งปมาเปรียบเทียบกัน<br />

ในแตละทิศเพื่อศึกษาความเกี่ยวโยงของตัวแปรขางตน ไดขอสรุปดังนี้


ตารางที่ 3 ตัวอยางคาการสองสวางเฉลี่ยทั้งปทั้ง 27 รูปแบบ กรณีหันชองแสงไปทางทิศเหนือ<br />

436


437<br />

จากขอมูลในตารางที่ 3 แสดงใหเห็นวา การใหแสงของชองแสงที่มีคา WWR = 0.82 และ<br />

0.59 ประกอบกับการใชแผงบังแดดทางนอน และแผงบังแดดทางตั้งที่มีมุมระยะยื่นที่แตกตางกัน จะใหคาการ<br />

สองสวางเฉลี่ยอยูในชวงที่ใกลเคียงกัน คือ 128–1224 lux และ 160–1109 lux และเมื่อพิจารณาคาความ<br />

สม่ําเสมอ Uniformity Ratio ของชองแสงทั้งสองขนาดก็ไดคาที่ใกลเคียงกันเชนกันคือ 0.27-0.51 และ 0.24-<br />

0.52 ซึ่งตางจากการใหแสงของชองแสงที่มีคา WWR = 0.37 ที่ใหคาการสองสวางอยูในชวง 66-576 lux และ<br />

uniformity ratio อยูในชวง 0.17-0.57 เนื่องจากขนาดชองแสงเล็กยิ่งใหคาสองสวางที่ต่ํากวาคาการสองสวาง<br />

เฉลี่ยมาก สําหรับกรณีการหันชองแสงไปทางทิศเหนือการยื่นแผงบังแดดทางตั้งในระยะมุม 1°-30.6° นั้นสงผล<br />

ตอการใหแสงไมตางจนชัดเจนมากตอชองแสงทั้ง 3 ขนาด และเมื่อพิจารณารูปแบบที่ใหประสิทธิการการใหแสง<br />

สวางที่ดี ทั้งดานปริมาณและคุณภาพโดยพิจารณาจากคาการสองสวางเฉลี่ยและอัตราสวนความสม่ําเสมอ<br />

โดยแยกตามทิศทางการวางไดดังนี้<br />

กรณีหันชองแสงไปทางทิศเหนือ คือ รูปแบบที่ใชขนาดชองแสงที่มีอัตราสวนพื้นที่ชองแสงตอ<br />

พื้นที่ผนัง 0.82 และมีแผงบังแดดทางนอนที่มี Vertical Shading angle = 70.5° และแผงบังแดดทางตั้งมี<br />

Horizontal Shading Angle = 30.6° ซึ่งใหคาการสองสวางเฉลี่ยทั้งปที่ 318 lux และใหคา uniformity ratio<br />

เทากับ 0.43 นั้นคือ<br />

ภาพที่ 7 รูปแบบการออกแบบชองแสงที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดกรณีหันชองแสงไปทางทิศเหนือ<br />

กรณีหันชองแสงไปทางทิศใต คือรูปแบบที่ใชขนาดชองแสงที่มีอัตราสวนพื้นที่ชองแสงตอ<br />

พื้นที่ผนัง 0.37 และมีแผงบังแดดทางนอนที่มี VSA = 70.5° และแผงบังแดดทางตั้งมี HSA = 1° ซึ่งใหคาการ<br />

สองสวางเฉลี่ยทั้งปที่ 306 lux และใหคา uniformity ratio เทากับ 0.56 นั้นคือ<br />

ภาพที่ 8 รูปแบบการออกแบบชองแสงที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดกรณีหันชองแสงไปทางทิศใต<br />

กรณีหันชองแสงไปทางทิศตะวันออก คือรูปแบบที่ใชขนาดชองแสงที่มีอัตราสวนพื้นที่ชอง<br />

แสงตอพื้นที่ผนัง 0.37 และมีแผงบังแดดทางนอนที่มี VSA = 90° และแผงบังแดดทางตั้งมี HSA = 12.8° ซึ่งให<br />

คาการสองสวางเฉลี่ยทั้งปที่ 1,000 lux และใหคา uniformity ratio เทากับ 0.50 นั้นคือ


438<br />

ภาพที่ 9 รูปแบบการออกแบบชองแสงที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดกรณีหันชองแสงไปทางทิศตะวันออก<br />

กรณีหันชองแสงไปทางทิศตะวันตก คือรูปแบบที่ใชขนาดชองแสงที่มีอัตราสวนพื้นที่ชองแสง<br />

ตอพื้นที่ผนัง 0.82 และมีแผงบังแดดทางนอนที่มี VSA = 41.5° และแผงบังแดดทางตั้งมี HSA = 1° ซึ่งใหคาการ<br />

สองสวางเฉลี่ยทั้งปที่ 310 lux และใหคา uniformity ratio เทากับ 0.51 นั้นคือ<br />

ภาพที่ 10 รูปแบบการออกแบบชองแสงที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดกรณีหันชองแสงไปทางทิศตะวันตก<br />

บรรณานุกรม<br />

บรรณสิทธิ์ จิตตะยโศธร. การนําแสงธรรมชาติเขาสูอาคารโดยการใชระบบทอนําแสงทางดานขางของ<br />

อาคาร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร ภาควิชาสถาปตยกรรม<br />

ศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550.<br />

พิรุฬหรัตน บุริประเสริฐ. รูปแบบของชองเปดดานขางเพื่อการนําแสงธรรมชาติมาใชในอาคารสํานักงาน<br />

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.<br />

อวิรุทธ อุรุพงศา. การใชแสงธรรมชาติผานชองแสงดานขางสวนบน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแสงสวางใน<br />

หองเรียนในชนบท. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร ภาควิชา<br />

สถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544<br />

Ayona Datta, Daylighting in Cambridge Libraries: Shifting Focus Over Time. College <strong>of</strong> <strong>Architecture</strong><br />

and Environmental design, Arizona State University, 2006.<br />

Catherine Dubios, Claude Demers, Andre Potivin, Daylit Space and Comfortable Occupants: A<br />

variety <strong>of</strong> luminous ambiences in support <strong>of</strong> diversity <strong>of</strong> individuals. PLEA, 2009.<br />

Danny H.W.Li, Joseph C. Lam, An investigation <strong>of</strong> Daylighting performance and energy saving in<br />

daylit corridor. City University <strong>of</strong> Hong Kong, 2003.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!