13.07.2015 Views

สาระศาสตร์ ครั้งที่ 13

สาระศาสตร์ ครั้งที่ 13

สาระศาสตร์ ครั้งที่ 13

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>13</strong> : 52สาระศาสตร :การประชุมวิชาการประจําปสถาปตยกรรมและศาสตรเกี่ยวเนื่อง <strong>ครั้งที่</strong> <strong>13</strong>วารสารวิชาการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร ฉบับที่ <strong>13</strong>คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติสาระศาสตร : การประชุมวิชาการประจําป สถาปตยกรรมและศาสตรเกี่ยวเนื่อง <strong>ครั้งที่</strong> <strong>13</strong>,กรุงเทพฯ, 2552873 หนา1. สถาปตยกรรม I. ชื่อเรื่องISSN : 1685-5299จัดทําโดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยพิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1 จํานวน 100 เลม พ.ศ. 2552


คณะกรรมการวิชาการรองศาสตราจารย พรรณชลัท สุริโยธิน ประธานกรรมการผูชวยศาสตราจารย ดร.นวณัฐ โอศิริ รองประธานกรรมการผูชวยศาสตราจารย พิรัส พัชรเศวต กรรมการผูชวยศาสตราจารย ดร.เสริชย โชติพานิช กรรมการผูชวยศาสตราจารย กิตติอร ศิริสุข กรรมการผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิญญา บุญประกอบ กรรมการผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิวัฒน รัตนวราหะ กรรมการผูชวยศาสตราจารย จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณพิลาศ กรรมการอาจารย ดร.วรภัทร อิงคโรจนฤทธิ์ กรรมการอาจารย ฉมาวงศ สุริยจันทรกรรมการนางวิภู เปรมประยูรกรรมการและเลขานุการนางสาวกรรณิการ ศรีแจ กรรมการและผูชวยเลขานุการคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกศาสตราจารยเกียรติคุณ อรศิริ ปาณินทร ศาสตราภิชาน กิตติ พัฒนพงศพิบูลศาสตราภิชาน ปรีดิ์ บุรณศิริ รองศาสตราจารย ดร.ฐานิศวร เจริญพงศรองศาสตราจารย ดร.ชัยสิทธิ์ ดานกิตติกุล รองศาสตราจารย ดร.อลิศรา มีนะกนิษฐรองศาสตราจารย บุญสนอง รัตนสุนทรากุล รองศาสตราจารย จันทนี เพชรานนทรองศาสตราจารย กุสุมา ธรรมธํารงค ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศักดิ์สิทธิ์ เฉลิมพงษผูชวยศาสตราจารย ดร.ดาวิษี บุญธรรม ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิรดี เกษมศุขผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนากร แนนหนา ผูชวยศาสตราจารย ดร.รุจิโรจน อนามบุตรผูชวยศาสตราจารย ดร.สุรเชษฐ เชษฐมาส ดร.โสภา วิศิษฐศักดิ์ดร.พรธรรม ธรรมวิมลดร.วิภากร ธรรมวิมลดร.ธีรธร ธาราไชย ดร.ทรงเกียรติ เที้ยธิทรัพยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายในภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรศาสตราจารย กิตติคุณ ม.ร.ว.แนงนอย ศักดิ์ศรี ศาสตราจารย กิตติคุณ ผุสดี ทิพทัสศาสตราจารย ดร.บัณฑิต จุลาสัยศาสตราจารย ดร.สุนทร บุญญาธิการรองศาสตราจารย อวยชัย วุฒิโฆสิต รองศาสตราจารย ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศรองศาสตราจารย ดร.ทิพยสุดา ปทุมานนท รองศาสตราจารย นาวาโท ไตรวัฒน วิรยศิริผูชวยศาสตราจารย พรชัย เลาหชัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปนรัชฎ กาญจนัษฐิติผูชวยศาสตราจารย กวีไกร ศรีหิรัญ อาจารย เผา สุวรรณศักดิ์ศรี


ภาควิชาการวางแผนภาคและเมืองรองศาสตราจารย ดร.สุวัฒนา ธาดานิติ รองศาสตราจารย ดร.วรรณศิลป พีรพันธุรองศาสตราจารย ดร.ศิริวรรณ ศิลาพัชรนันท ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญผูชวยศาสตราจารย ดร.นพนันท ตาปนานนท ผูชวยศาสตราจารย ดร.พนิต ภูจินดาภาควิชาภูมิสถาปตยกรรมศาสตราจารย กิตติคุณ เดชา บุญค้ํา รองศาสตราจารย จามรี อาระยานิมิตสกุลรองศาสตราจารย นิลุบล คลองเวสสะ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อังสนา บุณโยภาสอาจารย กี ขนิษฐานันทภาควิชาเคหการรองศาสตราจารย สุปรีชา หิรัญโรรองศาสตราจารย ไตรรัตน จารุทัศนผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสริชย โชติพานิชภาควิชาสถาปตยกรรมภายในผูชวยศาสตราจารย สุรชัย ชลประเสริฐ ผูชวยศาสตราจารย กิตติอร ศิริสุขภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรมรองศาสตราจารย ดร.อรพินท พานทอง รองศาสตราจารย นวลนอย บุญวงษผูชวยศาสตราจารย ประเทือง ครองอภิรดีคณะผูจัดทํานางณัฐลักษณ เปรมประยูรนางสาวกรรณิการ ศรีแจนายสืบสิริ ศรีธัญรัตนนางสาวหญิง พงษขจรกิจการนางสาวนัฐศิพร แสงเยือน


คํานําวารสาร สาระศาสตร ฉบับที่ <strong>13</strong> นี้ เปนเอกสารรวบรวมบทความจากการประชุมวิชาการสาระศาสตร <strong>ครั้งที่</strong> <strong>13</strong> ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2552 ซึ่งเปนกิจกรรมสําคัญกิจกรรมหนึ่งที่คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จัดขึ้นเพื่อเปดโอกาสใหคณาจารยจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ไดนําเสนอผลงานวิจัย รวมทั้งเพื่อใหนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาเผยแพรผลงานวิทยานิพนธในศาสตรสถาปตยกรรมภูมิสถาปตยกรรม การวางแผนภาคและเมือง และเคหการในนามของคณะสถาปตยกรรมศาสตร ขอแสดงความขอบคุณคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่ไดสละเวลาพิจารณาบทความและคณะผูจัดทําวารสารเลมนี้ที่สําเร็จลุลวงเปนอยางดี หวังวาสาระทางวิชาการในวารสารเลมนี้จะสามารถเปนสื่อกลางในการเผยแพรความคิด อุดมการณและความตอเนื่องของมิติตางๆทางสถาปตยกรรมและศาสตรที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อเปนแหลงอางอิงและหลักฐานสําคัญสําหรับวงการสถาปตยกรรมในอนาคตตอไปศาสตราจารย ดร.บัณฑิต จุลาสัยคณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


สารบัญ1 การสรรหา คัดเลือกและการรักษาทรัพยากรบุคคล (สถาปนิก)ในสํานักงานสถาปนิกนายสิร จารุไพโรจน16 แนวทางการบริหารทรัพยากรกายภาพของศาลยุติธรรมในเขตกรุงเทพมหานครนางสาวกรุณา ประสาร23 การดําเนินการดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนางสาวพิมพยิหวา จํารูญวงษ31 การออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราวกึ่งสําเร็จรูปชั้นเดียว โครงการโรงเรียน 3 จังหวัดภาคใตนายกวิศ ปานมวง42 การบริหารทรัพยากรกายภาพโรงเรียนนานาชาติในกรุงเทพมหานครกรณีศึกษา : โรงเรียนเทรลอินเตอรเนชันแนล โรงเรียนนานาชาติฝรั่งเศสกรุงเทพ และโรงเรียนฮารโรวอินเตอรเนชั่นแนลนายธงชัย สัญญาอริยาภรณ48 แนวทางการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐนางสาวสุปญญา สาลี62 การบริหารทรัพยากรกายภาพของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ กรณีศึกษาหองน้ําภายในอาคารผูโดยสารนายภูริวัจน ธนัสทีปตวงษ68 การใชสอยที่วางในตลาดตรอกหมอ แขวงวัดราชบพิธ กรุงเทพมหานครนายดําเนิน เตจะใหม79 การศึกษารูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยนายพัชร ชยาสิริ


95 การลดการถายเทความรอนผานหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็กโดยการปลูกหญาปกคลุมนายพรหมพรต รุจิชัย109 การศึกษาเปรียบเทียบหลักการและการบังคับใชประมวลขอบังคับอาคารของประเทศ กรณีศึกษาตางๆ กับแนวความคิดประมวลขอบังคับอาคารของกรมโยธาธิการและผังเมืองนางสาวโจ แนวพนิช120 การปรับปรุงอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติเพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกนางสาวฐิติมา โอฬาริกบุตร<strong>13</strong>5 คุณคาของภูมิทัศนวัฒนธรรมชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพองและบานปทุมทอง สุพรรณบุรีนางสาววรนุช จําปานิล148 การใชพื้นที่ในสวนลุมพินี กรุงเทพมหานครนายพงศธร เนตรวิเชียร162 พื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารตามแนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ :กรณีศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลานายภวินท สิริสาลี179 กระบวนการคัดกรองวัดเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานครนางสาวประภัสรา นาคะ195 โครงการวางผังและปรับปรุงภูมิทัศนในพื้นที่โบราณสถาน นครจําปาศรีอําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคามนางสาวสุนิดา ชินณะวงศ212 แนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษและการทองเที่ยวจังหวัดเชียงใหมนางสาวศุภัชญา ปรัชญคุปต228 แนวทางวางผังแมบทวัดอโศการามนายวีรกิต วงศวิชิต


244 สภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : กรณีศึกษาบริเวณเซียงกงและสวนหลวงนางสาวอนัญญา สมเดช254 การใชพื้นที่ภายในหองพักของอาคารพักอาศัยรวมประเภทใหเชากับเชาซื้อสําหรับผูมีรายไดนอยนางสาวจันทราวรรณ อุดมลาภประสิทธิ์269 ผูอยูอาศัยกับทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย : กรณีศึกษา ชุมชนสุโขทัยซอย 9 เขตดุสิตกรุงเทพมหานครนายอิทธิกร อรุโณรัตน284 แนวทางการแกปญหาการปลูกสรางที่อยูอาศัยเมื่อวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นกวาอัตราปกตินายสิงหา สิงหรานนท290 การติดตามผลการนําระบบการกอสรางสําเร็จรูป แบบผนังรับน้ําหนักมาใชในโครงการบานจัดสรรระดับราคาปานกลางนายศุภวิศท สุขวดี300 การกอสรางอาคารชุด 8 ชั้น ที่นําระบบผนัง ค.ส.ล.สําเร็จรูปและระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่มาใชนางสาวอินทิรา บางภิภพ314 สภาพการพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนางสาววรรณภาพร วงฉยา328 การจัดใหมีที่จอดรถและการใชพื้นที่จอดรถในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม กรุงเทพมหานครนายคําแหง ทองอินทร343 สภาพการอยูอาศัยในหอพักนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตนางสาวณัฐฐิกา วีรประพันธ358 ปจจัยการเลือกที่อยูอาศัยของผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่กรณีศึกษา พนักงานขับรถโดยสารวาที่ ร.ต.บวรศักดิ์ อัศวดิตถ


370 พัฒนาการรูปแบบอาคารที่อยูอาศัยตามแนวราบในเคหะชุมชนของการเคหะแหงชาติระหวางป พ.ศ. 2516-2549นายสรวุฒิ อัครวัชรางกูร385 ปญหาการซอมแซมที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกนางสาวสมปอง จึงสุทธิวงค396 รูปแบบที่อยูอาศัยและการอยูอาศัยในชุมชนคลองบางนอยนอกตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามนางสาวจาราภิวันท ทวีสิทธิ์412 ปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยประเภทบานจัดสรร ระดับราคาปานกลางในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการนางสาวธิดารัตน ใจเที่ยง419 อุปสงคดานที่อยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยนายปณัย แสนคําเครือ429 แนวทางการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในที่พํานักระยะยาวสําหรับผูพิการ พื้นที่ศึกษา : เมืองพัทยานายรัฐพล ปญจอาภรณ442 การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยกับการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกาและคลังสินคาริมน้ํา กรณีศึกษา ยานทรงวาด กรุงเทพมหานครนางสาวนิรมล เหงาตระกูล458 การฟนฟูบูรณะยานพาณชิยกรรมเกา กรณีศึกษา ยานสี่แยกบานทุงอําเภอเมือง จังหวัดแพรนายพงศพล วองเลศสกุล473 การวางผังและออกแบบจุดเปลี่ยนถายการสัญจรในยานพาณิชยกรรมริมน้ํา กรณีศึกษา ยานตลาดพลู กรุงเทพมหานครนางสาวธีมาพร วัชราทิน490 พลวัตเชิงพื้นที่และการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเการิมน้ํา กรณีศึกษายานปากคลองตลาด กรุงเทพฯนางสาวปาริษา มูสิกะคามะ


507 การศึกษาความสัมพันธระหวางบริบทกับลักษณะของยานตลาดที่ประสบความสําเร็จในปจจุบันเพื่อการฟนฟูยานตลาดพระโขนงนางสาวพรนภา พรพันธุไพบูลย522 การพัฒนาพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในศูนยกลางเมืองใหม กรณีศึกษาพื้นที่ศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมกับมักกะสันนายชณัฐ กาญจนะ537 การปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในเมือง กรณีศึกษา พื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิ กรุงเทพมหานครรอยโท ฉัฐวัฒน บุญรําไฟ553 แนวทางการออกแบบพื้นที่เพื่อรองรับจุดเปลี่ยนระบบขนสงรถไฟฟามวลชนบริเวณสถานีเตาปูน เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานครนายสุเชาว ทุมมากรณ566 การพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรยานชานเมือง กรณีศึกษาพื้นที่รังสิต ปทุมธานีนายปยะภัทร เต็มแยม581 การออกแบบและผสมผสานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนกับการเรียนการสอนรูปแบบเดิม และผลสัมฤทธิ์จากการใชสื่อ กรณีศึกษา : สื่อคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องภาพและพื้นภาพ รายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนางสาวแสงเดือน แกวแกมเสือ595 การศึกษาองคประกอบและเทคนิควิธีปองกันปญหาการควบแนนบริเวณผิวกระจกชองแสงดานบนสําหรับอาคารพักอาศัยปรับอากาศนายกุลวุฒิ จิณวุฒิ609 โครงสรางเหล็กชวงกวางสําหรับอาคารขายรถมือสองนายกฤต เสถียรพัฒนากูล624 ความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานนายรัฐพล พัฒนศิริ630 จํานวนงานบริการดานการดูแลรักษาทรัพยากรกายภาพของหมูบานจัดสรรนางสาวภคพร ชอนทอง


636 ตนทุนคาใชจายพื้นที่สวนกลางอาคารชุดพักอาศัย 8 ชั้น ในเขตพื้นที่ธุรกิจกรุงเทพมหานครนางสาวนฤมล อาภรณธนกุล643 การจัดทําประตูหนาตางมาตรฐานของประเทศไทยนางสาวโสธิดา งามวิวัฒนสวาง655 การสรางบานพอเพียงในประเทศไทย (การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ)นางสาวปวริศา เพ็ญชาติ667 บานพักอาศัยเพื่อแกปญหาสภาวะโลกรอน : กรณีศึกษา บานสูโลกรอนน.ส.หวานทิพย พงษประพันธ682 แนวคิดในการใชแสงและน้ําออกแบบสปาเพื่อการสรางสรรคบรรยายกาศนางสาวภัทรภร พันธุภักดี696 การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว :กรณีศึกษาศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดงและจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐมนายคมปราชญ บุตรศรี711 สภาพปญหาทางดานกายภาพของโรงพยาบาลรัฐ กรณีศึกษา โรงพยาบาลปทุมธานีนางสาววรัตม บุณยบุตร718 ปจจัยเลือกวิธีบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรรโครงการบานแถว กรณีศึกษาโครงการบานแถว ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครนายสุรเดช เติมเจิม725 ระบบการบริหารจัดการเมืองยุคทุนธรรมชาติ กรณีศึกษาเมืองตรังนายเดชอัศม กางอิ่ม738 การปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญของธนาคารกรุงเทพจํากัด (มหาชน)นายฐาปกรณ เจริญศุภผล748 การบริหารทรัพยากรกายภาพ กรณีศึกษา อาคารสํานักงานวิริยะประกันภัยนายณัฏฐศิกษ บุณยะวัฒน


754 การประยุกตใชวัสดุโฟมซีเมนตเปนองคประกอบโครงสรางบานพักอาศัยประหยัดพลังงานนายณัฐพร พรหมสุทธิ768 ปจจัยหลักที่มีผลตอการจัดรูปแบบภูมิสถาปตยกรรมเพื่อกระตุนความรูสึกอยากออกกําลังกายนางสาวพัชรชนก หิรัญกาญจน782 องคประกอบคุณภาพงานบริการอาคารนางวิรดา ตั้งวงศเกษม792 ปจจัยสําคัญในการออกแบบหองประชุมเพื่อสรางคุณภาพเสียงที่ดีนายสราวุฒิ โสนะมิตร807 กรณีศึกษาการปฏิบัติงานดานการบริหารทรัพยากรกายภาพของธนาคารในประเทศไทยผูชวยศาสตราจารย ดร.เสริชย โชติพานิช / อาจารย วีรสันต เลิศอริยานันท818 ขีดความสามารถทางสังคม สําหรับการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพยขนาดเล็ก กรณีศึกษา พื้นที่ชายหาดชะอําอาจารย อรุณ ศิริจานุสรณ836 พื้นที่ซอนเรน กับแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเมืองบริเวณยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิอาจารย ปาณิทัต รัตนวิจิตร845 เทศะสะทอนยอนคิดอาจารย ศรันย สมันตรัฐ


การสรรหา คัดเลือกและการรักษาทรัพยากรบุคคล(สถาปนิก) ในสํานักงานสถาปนิกHIRING AND RETENTION ARCHITECTS IN ARCHITECTURAL FIRMSนายสิร จารุไพโรจนหลักสูตรปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอในสํานักงานสถาปนิกนั้น สถาปนิกถือเปนทรัพยากรที่สําคัญและมีคุณคามากที่สุด ที่จะตองสรรหาและคัดเลือกเขามาทํางานใหเหมาะสมถูกตองกับตําแหนงหนาที่ และสํานักงานก็จะตองพยายามดูแลสถาปนิกที่มีคุณคาเหลานั้นไวอยางดีดวย เพราะจะทําใหสํานักงานมีสถาปนิกที่มีคุณภาพและอยูทํางานกับสํานักงานอยางยาวนานซึ่งจะกอใหเกิดความมั่นคงกับสํานักงาน ดังนั้นการสรรหา คัดเลือกและการดูแลเอาใจใสสถาปนิกเพื่อรักษาความสัมพันธที่ดี จึงเปนเรื่องที่ผูบริหารสํานักงานสถาปนิกควรใหความสําคัญการวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาหลักการและทฤษฎีการสรรหา คัดเลือก รวมทั้งการรักษาบุคลากรแลวนํามาประยุกตใชกับทรัพยากรบุคคลที่เปนสถาปนิกในสํานักงานสถาปนิก ศึกษากระบวนการการสรรหาคัดเลือกและการบํารุงรักษาสถาปนิกที่สํานักงานสถาปนิกใชอยูในปจจุบัน รวมทั้งศึกษาปจจัยตางๆ ของสํานักงานสถาปนิกที่สงผลตอกระบวนการการสรรหา คัดเลือก และวิธีการดูแลรักษาสถาปนิก เพื่อเสนอแนะเปนแนวทางในการสรรหา คัดเลือกและการดูแลรักษาสถาปนิก ใหเหมาะสมสอดคลองกับรูปแบบการดําเนินงานของสํานักงานสถาปนิก ซึ่งทําใหเกิดการพัฒนาทางดานการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในวิชาชีพสถาปตยกรรมการวิจัยนี้ดําเนินงานโดยศึกษาขอมูลเบื้องตนจากเอกสาร งานวิจัยและบทความที่เกี่ยวของ ในเรื่องหลักการและทฤษฎีการสรรหา การคัดเลือกและการบํารุงรักษาทรัพยากรบุคคล และในเรื่องการบริหารจัดการสํานักงานสถาปนิก เพื่อสรุปเปนปจจัยที่มีผลตอการสรรหา คัดเลือกและการรักษาสถาปนิก รวมถึงองคประกอบตางๆของสํานักงานสถาปนิกที่เกี่ยวของ เก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามโดยใชแบบสัมภาษณผูบริหารสํานักงานสถาปนิก และใชแบบสอบถามกับสถาปนิกในสํานักงาน แลวจึงสรุปขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะห และสรุปผลการศึกษาโดยเสนอแนะเปนแนวทางการสรรหา คัดเลือกและการบํารุงรักษาสถาปนิกในสํานักงานสถาปนิกผลการวิจัยพอสรุปไดวากระบวนการการสรรหา คัดเลือกสถาปนิกในสํานักงานสถาปนิกนั้นควรมีการพัฒนาและปรับปรุงในกระบวนการขั้นตอไปนี้ 1)การเขียนคําบรรยายลักษณะงานใหชัดเจนและตรงกับลักษณะการทํางานในปจจุบัน 2)การเพิ่มแหลงสรรหาสถาปนิกแหลงใหมๆ 3)การพัฒนาวิธีการและเครื่องมือคัดเลือกสถาปนิกใหเหมาะสมกับสํานักงาน ในสวนของการบํารุงรักษาสถาปนิกวิธีการที่มีประสิทธิภาพไดแก 1)การสรางความเขมแข็งเชิงสังคมใหเกิดขึ้นในสํานักงาน เชนสงเสริมใหมีกิจกรรมรวมกัน 2)การใหความไววางใจและการใหโอกาสรวมตัดสินใจ 3)การติดตอกับสถาปนิกที่เคยทํางานกับสํานักงานอยางตอเนื่องผูวิจัยมีความเห็นวา ผูบริหารสํานักงานสถาปนิกควรใหความสําคัญในการพัฒนาวิธีการสรรหาและการคัดเลือกสถาปนิกเขามาทํางาน และการบํารุงรักษาสถาปนิกที่มีคุณภาพใหอยูทํางานกับสํานักงานไดยาวนาน จะทําใหการบริหารสํานักงานโดยรวมเปนไปอยางราบรื่น1


1. ความเปนมาและความสําคัญของการศึกษาการบริหารจัดการองคกรที่ดีเพื่อใหประสบความสําเร็จไดนั้น ตองประกอบไปดวยปจจัยในการผลิตขั้นพื้นฐานคือ 1) คน(Man) 2)เงิน(Money) 3)วัสดุอุปกรณ (Material ) 4)เครื่องมือและเครื่องจักร(Machine)โดยเฉพาะปจจัยคนถือเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดขององคกร ที่ตองสรรหาและคัดเลือกเขามาทํางานใหเหมาะสมถูกตองกับตําแหนงงานหนาที่นั้นๆ เพื่อใหบุคลากรในสํานักงานมีความสอดคลองกับเปาหมายการดําเนินธุรกิจตามที่วางไว และองคกรก็จะตองพยายามดูแลเก็บรักษาบุคลากรที่มีคุณคาเหลานี้ไวดวยกระบวนการสรรหาคัดเลือก และการรักษาบุคลากรเปนกระบวนการที่มีขั้นตอนและเกิดขึ้นอยูตลอดเวลาในสํานักงาน ซึ่งในสํานักงานแตละประเภทก็ยอมมีกระบวนการบริหารที่แตกตางกันไป เพราะตางก็มีองคประกอบของสํานักงานที่แตกตางกัน เชนเดียวกับสํานักงานสถาปนิกที่มีบุคลากรที่แตกตางจากองคกรอื่นๆทั่วไป ทั้งดานการปฏิบัติงานและดานสวนตัวของสถาปนิก แมวาในปจจุบันศาสตรการสรรหา คัดเลือกและการรักษาบุคลากรนั้นจะไดรับการยอมรับและมีผูนําไปปฏิบัติใชในสํานักงานตางๆ เปนจํานวนมาก แตสําหรับสํานักงานสถาปนิกนั้นยังไมมีการศึกษาในเรื่องนี้อยางจริงจังดังนั้นในการศึกษาวิจัยเรื่อง การสรรหา คัดเลือกและการรักษาทรัพยากรบุคคล(สถาปนิก) ในสํานักงานสถาปนิก เพื่อเปนการเก็บรวบรวมขอมูลและวิธีการตางๆ ที่เกิดขึ้นในสํานักงานสถาปนิกที่มีปจจัยการบริหารที่แตกตางกัน และเสนอแนะแนวทางการสรรหา คัดเลือกและการรักษาสถาปนิก ที่เหมาะสมสอดคลองกับรูปแบบการดําเนินงานของสํานักงานสถาปนิก จะทําใหเกิดการพัฒนาในดานการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในวิชาชีพสถาปตยกรรมตอไป2. วัตถุประสงคการศึกษา1) เพื่อศึกษาทฤษฎีและหลักการสรรหา คัดเลือก และการรักษาทรัพยากรบุคคล และนํามาประยุกตใชกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในสํานักงานสถาปนิก2) เพื่อศึกษาการสรรหา คัดเลือกและการบํารุงรักษาทรัพยากรบุคคลที่เปนสถาปนิก ในสํานักงานสถาปนิก3) เพื่อศึกษาองคประกอบของสํานักงานสถาปนิกที่สงผลตอการสรรหา คัดเลือก และการบํารุงรักษาทรัพยากรบุคคลที่เปนสถาปนิก4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของสถาปนิกที่มีตอแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในสํานักงานสถาปนิกที่ปฏิบัติงาน5) เพื่อเสนอแนะแนวทางการสรรหา คัดเลือกและการรักษาทรัพยากรบุคคลที่เปนสถาปนิก ที่เหมาะสมกับสํานักงานสถาปนิก2


3. วิธีการศึกษาจากขอจํากัดการศึกษาดานประชากรและกลุมตัวอยาง ที่ตองการสํานักงานสถาปนิกที่มีประสบการณการบริหารงานบุคคลในชวงเวลาที่เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ จึงใชเกณฑในการกําหนดกลุมประชากรสํานักงานสถาปนิกที่ตองดําเนินกิจการมาแลวไมนอยกวา 10 ป โดยดูจากระยะเวลาการจดทะเบียนจัดตั้งสํานักงาน และตองเปนสมาชิกของสภาสถาปนิก และ/หรือสมาคมสถาปนิกฯ โดยตั้งอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลเทานั้นซึ่งมีสํานักงานสถาปนิกทั้งหมดได 102 สํานักงาน จากนั้นจึงคัดเลือกประชากรเปาหมายแบบเฉพาะเจาะจง โดยคัดเลือกสํานักงานที่ศึกษาตองมีจํานวนสถาปนิกตั้งแต 15 คนขึ้นไป และใหบริการออกแบบสถาปตยกรรมหลักเปนหลัก จะไดจํานวนประชากรเปาหมายทั้งสิ้น 38 สํานักงานการคัดเลือกกลุมตัวอยางจะใชจํานวนรอยละ 15 – 30 เมื่อมีประชากรไมเกิน 100 (เกณฑของสุรศักดิ์หลาบมาลา) ดังนั้นจึงมีจํานวนตัวอยางเทากับ 12 สํานักงาน แตผูวิจัยมุงหวังที่จะเก็บขอมูลใหได 16 สํานักงานเพื่อใหผลการวิเคราะหมีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้นในขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม ใชเครื่องมือดังนี้• แบบสัมภาษณ (จํานวน 16 ชุด)เพื่อเก็บขอมูลองคประกอบพื้นฐานของสํานักงาน และเรื่องการสรรหา คัดเลือกและการรักษาสถาปนิก จากผูบริหารสํานักงานสถาปนิกหรือผูบริหารฝายทรัพยากรบุคคลในสํานักงาน• แบบสอบถาม (จํานวน 15 คนตอหนึ่งสํานักงาน เทากับ 240 ชุด)เพื่อเก็บขอมูลเรื่องความพึงพอใจในการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน และแนวทางการปฏิบัติงานในสํานักงานสถาปนิก4. ผลการศึกษาจากการเก็บขอมูลสามารถสัมภาษณผูบริหารไดจํานวนทั้งสิ้น 14 สํานักงาน และเก็บแบบสอบถามไดจาก <strong>13</strong> สํานักงานทั้งหมดจํานวน 142 ชุด เมื่อนํามาวิเคราะหไดผลดังนี้4.1 ขอมูลเบื้องตนของสํานักงานสถาปนิกจากผลการศึกษาองคประกอบพื้นฐานของสํานักงานสถาปนิก ที่สงผลใหการสรรหาคัดเลือก และการรักษาสถาปนิกมีความแตกตางกันในแตละรูปแบบของสํานักงาน ซึ่งองคประกอบตางๆ นั้นสามารถแยกไดดังนี้3


ตารางสรุปองคประกอบพื้นฐานตางๆ ของสํานักงานสถาปนิก (เรียงตามจํานวนสถาปนิก)บริการ ผูถือหุน เปาหมาย ฝาย HR โครงสรางรายชื่อสํานักงานสถาปตยกรรมหลักสถาปตยกรรมหลักและอื่นๆแบงระดับผูถือหุนผูถือหุนหลักกลุมเดียวเนนการปฏิบัติวิชาชีพเนนการดําเนินงานทางธุรกิจมีอยางชัดเจนไมมี หรือไมชัดเจนแบบสตูดิโอแบบแยกเปนแผนกจํานวนสถาปนิกในสํานักงาน (คน)A / / / / / <strong>13</strong> 30B / / / / / <strong>13</strong> 35C / / / / / 14 16D / / / / / 14 33E / / / / / 18 17F / / / / / 18 19G / / / / / 18 19H / / / / / 19 29I / / / / / 20 28J / / / / / 24 21K / / / / / 25 12L / / / / / 33 18M / / / / / 44 34N / / / / / 65 26รวม 6 8 9 5 7 7 5 9 9 5อายุสํานักงาน (ป)4.2 การสรรหา คัดเลือกสถาปนิก• การใชทางเลือกอื่นแทนการสรรหา คัดเลือกสถาปนิกใหมมีผูบริหารสํานักงานสถาปนิกจํานวน 12 สํานักงานที่ใชการใหทํางานลวงเวลา (Over time)เปนทางเลือกลําดับแรก สวนลําดับที่สองที่ผูบริหารเลือกใชคือการวาจางสถาปนิกภายนอกสํานักงาน(Outsourcing) โดยมีจํานวน 7 สํานักงานที่ใชวิธีการดังกลาว และแนวทางการจางสถาปนิกชั่วคราว(Part time) นั้น มีผูบริหารสํานักงานเลือกใชเพียง 2 แหงเทานั้น4


• การจัดทําคําบรรยายลักษณะงานของสถาปนิกแตละตําแหนงมีสํานักงานสถาปนิกจํานวน 6 สํานักงานที่มีการจัดทําคําบรรยายลักษณะงานของสถาปนิกไวอยางชัดเจน ซึ่งมี 5 สํานักงานในจํานวนนี้ที่มีฝายบริหารทรัพยากรบุคคลอยางชัดเจน สวนสํานักงานที่ไมมีการจัดทําคําบรรยายลักษณะงานมีจํานวน 8 สํานักงาน ซึ่งทั้งหมดไมมีฝายบริหารทรัพยากรบุคคลที่ชัดเจน• วิธีการสรรหาสถาปนิกรูปแบบตางๆมีสํานักงานสถาปนิกจํานวน 12 แหงเลือกใชการประกาศตามสื่อตางๆ ซึ่งเปนวิธีที่สํานักงานสถาปนิกใชมากที่สุด สวนการแนะนําจากบุคคลภายนอก จะเปนวิธีการที่สํานักงานสถาปนิกเลือกใชนอยที่สุดคือมีจํานวน 5 สํานักงาน• วิธีการที่ใชทดสอบสถาปนิกที่สมัครงานสํานักงานสถาปนิกทุกสํานักงาน ใชวิธีการสัมภาษณสถาปนิกในทุกระดับ ที่จะคัดเลือกเขาทํางาน และมีสํานักงานจํานวน 3 แหงที่ใชวิธีการทดสอบการปฏิบัติงาน หรือการทดสอบทักษะในดานอื่นๆเขามาเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ• เกณฑสําคัญที่ใชในการคัดเลือกสถาปนิกเขาทํางานในระดับสถาปนิกนั้น มีสํานักงานที่ใหความสําคัญกับเรื่องการศึกษามากที่สุด จํานวน 5 แหงและความสําคัญรองลงมาคือเรื่องประสบการณที่ผานมาในระดับสถาปนิกอาวุโส มีสํานักงานสถาปนิกใหความสําคัญกับเรื่องประสบการณมากที่สุดเปนจํานวน 6 สํานักงาน และเรื่องที่ใหความสําคัญรองลงมาคือ ความถนัดในวิชาชีพสถาปตยกรรมในระดับสถาปนิกผูจัดการโครงการ สํานักงานสถาปนิกใหความสําคัญกับเรื่องประสบการณมากที่สุด จํานวน 3 สํานักงาน และเรื่องที่ใหความสําคัญรองลงมาคือ ความถนัดในวิชาชีพ• ตัวชวยในการตัดสินใจเลือกสถาปนิกเขาทํางานมีสํานักงานสถาปนิกที่ใชวิธีการดูความเหมาะสมของวัฒนธรรมองคกร เพื่อเปนเครื่องมือที่ชวยคัดเลือกสถาปนิกมากที่สุดเปนจํานวน 11 สํานักงาน และมีสํานักงานสถาปนิกเพียงแหงเดียวที่ใชวิธีการตรวจสอบแหลงอางอิงที่สถาปนิกอางถึงอยางจริงจัง• การทดลองงานและการทําสัญญาจางสถาปนิกทุกสํานักงานมีการทดลองงานสถาปนิกใหม โดยชวงระยะเวลาทดลองงานที่สั้นที่สุดคือ 1 – 3เดือน และชวงระยะเวลาทดลองงานที่ยาวที่สุดคือ 3 – 6 เดือน ซึ่งมีจํานวน 2 สํานักงานที่ใช และระยะเวลาทดลองงานสวนมากที่สํานักงานจํานวน 9 สํานักงานใชคือ ระยะเวลา 3 เดือนในสวนการทําสัญญาวาจางสถาปนิกนั้น มีสํานักงานจํานวน 6 สํานักงานที่ไมทําสัญญาวาจางสถาปนิก และมีสํานักงาน 3 แหงที่ใชสัญญาวาจางสถาปนิกแบบปตอป สวนสํานักงานที่ทําสัญญาระยะยาวกับสถาปนิกนั้นมีจํานวน 5 สํานักงาน5


ตารางสรุปองคประกอบพื้นฐานสํานักงานที่มีผลอยางแตกตางในกระบวนการสรรหา คัดเลือกธุรกิจวาจางสถาปนิกภายนอกสํานักงาน30 คนขึ้นไป มี HR มีคําบรรยายลักษณะงานไมมี HRไมมีคําบรรยายลักษณะงานธุรกิจ 25 คนขึ้นไป แผนก มี HR รับสถาปนิกในทุกระดับไมเกิน 20 คนไมมีโครงสรางการสัมภาษณธุรกิจ 20 คนขึ้นไป มีโครงสรางการสัมภาษณสตูดิโอไมมี HRใชการพิจารณาความสนใจสวนบุคคลของผูสมัครไมมีการปฐมนิเทศ20 คนขึ้นไป มี HR มีการปฐมนิเทศวิชาชีพ ไมเกิน 20 คน สตูดิโอ ไมมี HR ทดลองงานไดถึง 6 เดือนไมมี HRไมทําสัญญาธุรกิจ 25 คนขึ้นไป แผนก ใชสัญญาวาจางแบบปตอป4.3 การรักษาสถาปนิก• แนวทางการรักษาสถาปนิกกลุมที่มีความสําคัญตอสํานักงานมากสํานักงานที่ระบุความสําคัญของสถาปนิกแตละคน หรือแตละกลุมมีจํานวน 11 สํานักงาน ซึ่งมีสํานักงาน 9 แหงที่ใชอัตราเงินเดือนและโบนัสในการจูงใจและรักษาสถาปนิกกลุมที่มีความสําคัญตอสํานักงานมาก สวนอีก 2 สํานักงานนั้นผูบริหารมีแนวทางที่แตกตางออกไปคือการมอบความกาวหนาในสายอาชีพที่เติบโตอยางรวดเร็ว และการใชวัฒนธรรมองคกรหรือสรางกิจกรรมที่กลุมสถาปนิกที่มีความสําคัญนั้นใหความสนใจ• แนวทางการจูงใจสถาปนิกที่ใชในสํานักงานสํานักงานสถาปนิกจํานวน 8 สํานักงาน ที่ใหความสําคัญกับแนวทางการจูงใจสถาปนิกโดยการใชผลตอบแทนที่เปนเงินเดือนและโบนัสเปนลับดับแรก และมีสํานักงานสถาปนิกอีกจํานวน 5 แหงที่ใหความสําคัญกับการจูงใจสถาปนิกดวยความสัมพันธในสํานักงานเปนลําดับแรกเชนกัน สวนการใชความกาวหนาในตําแหนงหนาที่เปนแรงจูงใจสถาปนิกลําดับแรกนั้น มีสํานักงานที่เลือกใช 2 สํานักงาน• เทคนิควิธีการรักษาสถาปนิกใหอยูทํางานกับสํานักงานไดยาวนานสํานักงานสถาปนิกทุกแหง ใชวิธีการเพิ่มโอกาสในการทํางานใหกับสถาปนิกเพื่อดึงดูดใหยังคงทํางานอยูกับสํานักงาน และมีสํานักงานสถาปนิก <strong>13</strong> แหงที่ใชการพัฒนาฝกอบรมเปนเครื่องมือชวยรักษาสถาปนิก และมีสํานักงานสถาปนิก 12 แหงที่ใชวิธีการสงเสริมการสรางสังคมในหมูพนักงานและการสรางกิจกรรมเพื่อดึงดูดสถาปนิก6


• การพัฒนาสายอาชีพในสํานักงานสถาปนิกสํานักงานสถาปนิก ที่มีเสนทางการพัฒนาสายอาชีพไดถึงระดับสูงสุดขององคกร มีจํานวน 5สํานักงาน และสํานักงานอีกจํานวน 9 สํานักงานที่ผูบริหารในปจจุบันยังไมไดกําหนดแนวทางการพัฒนาสายอาชีพใหกับสถาปนิกรุนใหมๆ ในสํานักงานไวอยางชัดเจน• การสงเสริมความสามัคคีในหมูสถาปนิกในสํานักงานสํานักงานสถาปนิกทุกแหง มีกิจกรรมงานเลี้ยงฉลองตามเทศกาลประจําปตางๆ เชนงานเลี้ยงปใหม งานฉลองสงกรานต สวนกิจกรรมงานเลี้ยงสังสรรคมีสํานักงานสถาปนิกจํานวน <strong>13</strong> แหงที่ผูบริหารใหการสงเสริม เชนเดียวกับกิจกรรมการทองเที่ยว และกิจกรรมที่สํานักงานสถาปนิกใหการสงเสริมนอยที่สุดคือ การจัดอบรมสัมมนาในสํานักงานและการทํากิจกรรมเพื่อสังคม โดยมีสํานักงานสถาปนิกจํานวน 5 สํานักงานที่ผูบริหารใหการสงเสริมในประเด็นดังกลาว• แนวทางการจัดการสถาปนิกเมื่อสํานักงานประสบภาวะวิฤตมีสํานักงานสถาปนิกจํานวน 11 สํานักงาน จะใชแนวทางการลดเวลาปฏิบัติงาน และลดคาตอบแทนเปนแนวทางแรกเมื่อสํานักงานประสบภาวะวิกฤต สวนอีก 2 สํานักงานจะใชวิธีการเลิกจางเปนแนวทางลําดับแรก และมีหนึ่งสํานักงานที่ใชการใหลาออกโดยสมัครใจเปนทางเลือกลําดับแรก• การรักษาความสัมพันธระหวางสํานักงานกับสถาปนิกที่ออกจากสํานักงานไปแลวสํานักงานสถาปนิกทุกแหงจะมีการพูดคุยระหวางผูบริหารกับสถาปนิกที่จะออกจากสํานักงานเพื่อถามถึงเหตุผลของการออก ซึ่งจากกลุมตัวอยางทั้ง 14 สํานักงานนั้นพบวามีจํานวน 10 สํานักงาน ที่มีการสัมภาษณสถาปนิกเมื่อจะออกจากสํานักงาน โดยเปนการสัมภาษณที่มีรูปแบบคอนขางชัดเจนตารางสรุปองคประกอบพื้นฐานสํานักงานที่มีผลอยางแตกตางในการรักษาสถาปนิกธุรกิจ แผนก สถาปนิกที่มีความสําคัญจะใหความกาวหนาอยางรวดเร็วสตูดิโอใชความสัมพันธธุรกิจ 20 คนขึ้นไป มี HR ใชความกาวหนาในตําแหนงไมมี HRเปดเผยขอมูลของสํานักงาน30 คนขึ้นไป มี HR มีระบบพี่เลี้ยงอยางชัดเจนวิชาชีพ ไมเกิน 20 คน สตูดิโอ ไมมี HR มีเสนทางความกาวหนา20 คนขึ้นไป มี HR มีเสนทางความกาวหนาธุรกิจ 25 คนขึ้นไป แผนก มี HR แบงในระดับสถาปนิกมากขั้นวิชาชีพ การทํากิจกรรมเพื่อสังคม และสามารถใหครอบครัวมีสวนรวมไดธุรกิจใชวิธีการเลิกจางธุรกิจ แผนก มี HR สถาปนิกออกเพราะตองการผลตอบแทนมากขึ้น7


4.4 ความคิดเห็นและความพึงพอใจของสถาปนิกในสํานักงานตารางสรุปองคประกอบพื้นฐานสํานักงานที่มีผลอยางแตกตางตอความคิดเห็นของสถาปนิกธุรกิจ แผนก เนนโครงสรางแนวตั้งธุรกิจ 20 คนขึ้นไป มี HR เนนระเบียบวิธีการทํางานวิชาชีพ ไมเกิน 20 คน สตูดิโอ ไมมี HR ความยืดหยุนการทํางานมากวิชาชีพ สตูดิโอ การสรรหาคัดเลือกเหมาะสมมากธุรกิจ มี 25 คน แผนก ไมมี HR การสรรหาคัดเลือกเหมาะสมนอยวิชาชีพ ไมเกิน 20 คน สตูดิโอ ไมมี HR การบํารุงรักษาเหมาะสมมากธุรกิจ มี 44 คน แผนก มี HR การบํารุงรักษาเหมาะสมนอยวิชาชีพพึงพอใจการบริหาร HR ระดับมากธุรกิจ มี 25 คน แผนก ไมมี HR พึงพอใจการบริหาร HR ระดับนอยสตูดิโอสงเสริมความสามัคคีมากถึงมากสุดธุรกิจ มี 25 คน แผนก ไมมี HR สงเสริมความสามัคคีนอยสตูดิโอพอใจสภาพแวดลอมระดับมากวิชาชีพ สตูดิโอ สิ่งดึงดูดคืองานมีความหมายคุณคาไมเกิน20 คน สตูดิโอ ไมมี HR มีทางเลือกใหมที่นาสนใจกวาธุรกิจ 25 คนขึ้นไป แผนก ความผูกพันไมถึงระดับมากสุด5. การอภิปรายผลการศึกษาจากผลการวิเคราะหสามารถแบงกลุมสํานักงานไดเปน 2 กลุมใหญ ตามองคประกอบพื้นฐานของสํานักงานที่สงผลใหกระบวนการสรรหา คัดเลือกและการรักษาแตกตางกันอยางชัดเจน ดังนี้• กลุม 1 เปนสํานักงานที่เนนปฏิบัติวิชาชีพ, มีจํานวนสถาปนิกไมเกิน 20 คน, มีโครงสรางดานการออกแบบเปนสตูดิโอ, ไมมีฝายบริหารทรัพยากรบุคคล และเมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบกับทฤษฏีจูงใจของมาสโลว พบวาสํานักงานกลุมนี้ควรใหความสําคัญกับเรื่องงานที่มีความหมายและมีคุณคามากที่สุด เพื่อสงเสริมใหสถาปนิกไดรับการยอมรับจากการทํางาน จากการเปรียบเทียบสามารถเขียนเปนแผนภูมิไดดังนี้8


แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบกลุม 1 กับทฤษฏีจูงใจของมาสโลวSelf-actualizationEsteemLoveSafetyPhysiologicalเมื่อมีทางเลือกใหมที่นาสนใจกวามีกิจกรรมเพื่อสังคมและครอบครัวงานมีความหมายและมีคุณคามีความสามัคคีมากการบํารุงรักษาที่ดีการบริหาร HR ที่ดีสภาพแวดลอมที่ดี• กลุม 2 เปนสํานักงานที่เนนการดําเนินงานทางธุรกิจ มีจํานวนสถาปนิกมากกกวา 20 คน มีโครงสรางดานการออกแบบเปนแผนก และมีฝายบริหารทรัพยากรบุคคลอยางชัดเจน และเมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบกับทฤษฏีจูงใจของมาสโลว พบวาสํานักงานกลุมนี้ควรใหความสําคัญกับเรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคลขั้นพื้นฐานใหสถาปนิกในสํานักงานมีความพึงพอใจมากยิ่งขึ้น และควรสงเสริมการสรางกลุมทางสังคมใหเกิดขึ้นในสํานักงาน เพื่อเพิ่มความผูกพันใหมากยิ่งขึ้น จากการเปรียบเทียบสามารถเขียนเปนแผนภูมิไดดังนี้แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบกลุม 2 กับทฤษฏีจูงใจของมาสโลวSelf-actualizationEsteemLoveมีเสนทางความกาวหนาที่ชัดเจนใหความกาวหนาระดับสูงการแบงระดับขั ้นสถาปนิกมากมีความผูกพันกับสํานักงานไมมากที่สุดSafetyPhysiologicalเมื่อมีโอกาสที่จะไดผลตอบแทนมากขึ ้นการใชระบบเลิกจางการใชสัญญาปตอป9


6. ขอเสนอแนะจากการศึกษาขอเสนอแนะการสรรหา คัดเลือกสถาปนิกในกระบวนการสรรหา คัดเลือกผูวิจัยมีขอเสนอแนะที่ไดจากผลการศึกษา และจากทฤษฏีที่เกี่ยวของ ซึ่งสามารถสรุปในขั้นตอนตางๆ ไดดังนี้‣ การใชทางเลือกอื่นกอนเริ่มกระบวนการสรรหา คัดเลือกสถาปนิกประจําก. การใหสถาปนิกทํางานลวงเวลา (Overtime)การใหสถาปนิกทํางานลวงเวลา ตองระวังเรื่องการทํางานมากเกินไปและตอเนื่องยาวนาน เนื่องจากมีการศึกษาพบวาการทํางานอันยาวนานทําใหสํานักงานจายเงินเพิ่มขึ้นแตกลับไดผลตอบแทนนอยกวาที่ควรจะได เพราะการทํางานลวงเวลาตองใชทรัพยากรตางๆ ในสํานักงาน และยังทําใหสถาปนิกมีความเหนื่อยลาและประสิทธิภาพการทํางานลดลง และจะขาดงานเพิ่มขึ้น จึงควรใหมีการทํางานลวงเวลาในบางชวงเวลาขอแนะนํา• ตัวอยางกฎระเบียบของสํานักงานที่กําหนดใหสถาปนิกทํางานลวงเวลาไดไมเกิน 21.00น. และใหทําไดไมเกิน 3 วันตอหนึ่งอาทิตยข. การจางสถาปนิกชั่วคราว (Part time)สํานักงานขนาดใหญ จะเลือกใชวิธีนี้เมื่อรับงานโครงการพิเศษที่ใชเวลาปฏิบัติการชวงระยะสั้นหรืองานเฉพาะดาน สวนสํานักงานขนาดเล็กจะใชทดแทนการจางสถาปนิกใหมขอแนะนํา• ตองเขาใจวาสถาปนิกชั่วคราวจะไมเขาใจวัฒนธรรมในการทํางานของสํานักงาน และไมมีความผูกพันตอเปาหมายการทํางานของสํานักงานและฝายตางๆอยางแทจริง ดังนั้นการวาจางสถาปนิกชั่วคราว จึงตองมีการตรวจสอบและควบคุมอยางเขมงวดค. การวาจางสถาปนิกภายนอก (Outsource)สํานักงานจะวาจางสถาปนิกภายนอกในงานที่ไมใช งานหลักของสํานักงานเชนการจางที่ปรึกษาในงานประเภทอาคารที่สํานักงานไมมีความชํานาญเพียงพอขอแนะนํา• ตองมีการตรวจสอบวาสามารถทํางานไดจริงและงานมีคุณภาพตามที่ตองการ เชน การขอดูผลงานที่ผานมา การตรวจสอบจากแหลงอางอิงตางๆ ซึ่งการวาจางสถาปนิกที่เคยทํางานในสํานักงานมากอนจะดีกวาการจางสถาปนิกที่สํานักงานไมรูจัก• การจางรูปแบบนี้ตรงตามหลักทฤษฏีที่วา ตัดงานที่ไมใชงานหลักขององคกรออกไป และใหพนักงานที่มีอยูอยางจํากัดปฏิบัติงานที่องคกรมีความถนัด และสามารถทําไดอยางดีเพื่อใหผลงานออกมาดีที่สุด ตัวอยางเชนการจางสถาปนิกควบคุมหนางาน ในโครงการที่สํานักงานเปนผูออกแบบ เพราะสถาปนิกผูออกแบบไมชํานาญการคุมงาน10


‣ การจัดทําคําบรรยายลักษณะงานสําหรับสถาปนิกจากทฤษฏีการวิเคราะหงานนั้นจะประกอบไปดวยสองสวนหลักๆ คือ 1).การจัดทําคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และ 2).การระบุคุณสมบัติผูปฏิบัติงาน (JobSpecification) ซึ่งในประกาศรับสมัครงานควรจะระบุถึงลักษณะการปฏิบัติงานและคุณสมบัติผูปฏิบัติงานใหครบทั้งสองสวน เพื่อใหประกาศนั้นมีความชัดเจนมากที่สุด• นอกจากคําบรรยายลักษณะงานจะมีประโยชนในการใชสรรหาสถาปนิกแลว ยังสามารถใชเปนหัวขอในการประเมินผลการทํางานของสถาปนิก และยังใชเพื่อการตรวจสอบปรับปรุงกระบวนการทํางานตางๆ ในสํานักงานใหทันสมัยและ ไมมีความซ้ําซอนกันดวย‣ การสรรหาสถาปนิกจากทฤษฏีกลาวถึงแหลงสรรหาใหญๆ 2 แหลงคือ แหลงภายใน และแหลงภายนอก จากการศึกษาพบวาสํานักงานสถาปนิกไมใชการสรรหาจากแหลงภายใน เนื่องจากสํานักงานสถาปนิกจะเปนองคกรขนาดเล็ก การเปลี่ยนแปลงในองคกรจะเปนการเลื่อนตําแหนงขึ้นมามากกวาขอแนะนํา• สํานักงานสถาปนิกขนาดใหญหรือสํานักงานที่เปนระบบบริษัทในเครือ ควรจะมีการสรรหาสถาปนิกจากแหลงภายในโดยการประกาศใหทั่วถึงในทุกบริษัทในเครือ เนื่องจากเปนการเปดโอกาสในสถาปนิกที่มีความสามารถ และเปนการสรางขวัญกําลังใจใหกับสถาปนิกอีกดวยก. การเพิ่มจํานวนและคุณภาพของสถาปนิกที่สมัครงานจากแหลงภายนอก• สํานักงานสถาปนิกที่มีจํานวนผูสมัครงานแตละครั้งนอย ทําใหมีโอกาสและตัวเลือกเลือกจากผูสมัครงานนอย เชนไมมีเด็กสถาปนิกที่จบใหมมาสมัครงานเลยขอแนะนํา จัดทําสื่อโฆษณาตางๆ ของสํานักงานเชน การจัดทําเวปไซดของสํานักงานและขยายฐานผูสมัครเชิงรับใหมากขึ้น เชนการประกาศรับสมัครงานตามเวปไซดอื่นๆ หรือตามเวปบอรดของสถาปนิกรุนตางๆ ที่สถาปนิกจะเขาถึงไดมากกวาเวปไซดของสมาคมฯ รวมถึงการใหทุนกับกับนักศึกษาตามสถาบันการศึกษาตางๆ ที่มีผลการเรียนดี• สถาปนิกที่มีความสามารถและมีประสบการณทํางานสูงเขามาสมัครงานนอย และที่มาสมัครงานก็ไมตรงกับความตองการที่สรรหาในชวงเวลานั้นขอแนะนํา สํานักงานตองเขารวมกิจกรรมตางๆ กับสมาคมสถาปนิกสยามฯ เชนการออกบูธแสดงผลงานในงานอาสา เพื่อทําใหสถาปนิกไดรูจักสํานักงานมากยิ่งขึ้น‣ การทดสอบสถาปนิกแบบทดสอบสถาปนิกควรมีการสรางขึ้นมาใหเหมาะสมกับสํานักงานเอง เพื่อใหสามารถคัดเลือกสถาปนิกไดตรงตามตองการของสํานักงานมากที่สุด ทั้งแบบสัมภาษณและแบบทดสอบขอแนะนํา• ตัวอยางเชน ในสํานักงานสถาปนิกที่มีเปาหมายการรับงานจากลูกคาตางชาติ ควรสรางแบบทดสอบสถาปนิกในระดับผูจัดการโครงการ ในดานความสามารถทางภาษาที่จําเปนตองใช11


‣ เกณฑที่ใชในการคัดเลือกสถาปนิกเขาทํางาน• เกณฑที่ใชคัดเลือกสถาปนิกบางขอนั้น ไมอาจพิจารณาไดดวยการสัมภาษณหรือการทดสอบในระยะเวลาสั้นๆ เชนในดานบุคลิกภาพ ดานความ สามารถการติดตอสื่อสารขอแนะนํา ควรใชระยะเวลาชวงการทดลองงานในการประเมินเกณฑตางๆเหลานั้น และถายังไมแนใจในตัวสถาปนิกก็สามารถยืดชวงระยะเวลาทดลองงานออกไปได• การพิจารณาเกณฑดานการศึกษา ควรมุงเนนไปที่รายวิชาที่ไดศึกษาผานมามากกวาดูระดับผลการศึกษาหรือสถาบันการศึกษาเพียงอยางเดียว• การพิจารณาเกณฑดานประสบการณทํางาน ความตอเนื่องของประสบการณการทํางานเปนสิ่งสําคัญที่ควรพิจารณาควบคูกับประสบการณดานอื่นๆ‣ การทดลองงานของสถาปนิก• สํานักงานควรใหโอกาสสถาปนิกในการทดลองทํางาน คือเมื่อครบระยะเวลาทดลองงานแลวสถาปนิกไมผานการประเมินผล ก็ควรใหโอกาสในการทดลองงานตอไปอีกชวงระยะเวลาหนึ่งซึ่งในระหวางทดลองงาน ตองมีการแจงผลการปฏิบัติงานใหสถาปนิกไดรับรูเปนระยะๆ กอนสิ้นสุดเวลาทดลองงาน เพื่อใหสถาปนิกมีโอกาสปรับปรุงตัว‣ การตกลงทําสัญญากับสถาปนิกการตกลงทําสัญญา เปนเครื่องมือที่ชวยสรางความมั่นใจใหกับสถาปนิกรูสึกวามีความมั่นคงในการทํางานกับสํานักงาน และถาพิจารณากับทฤษฏีจูงใจของมาสโลวทั้ง 5 ขั้นจะพบวาอยูในกระบวนการขั้นที่ 2 คือการสรางความมั่นคงในปจจัยพื้นฐานตางๆ ที่มนุษยตองการขอแนะนํา• การตกลงทําสัญญาจางกับสถาปนิกในสํานักงานที่มีจํานวนสถาปนิกมาก ในชวงปแรกอาจใชรูปแบบสัญญาปตอปกอน และเมื่อครบปจึงพิจารณาตอสัญญาระยะยาวใหกับสถาปนิกที่คิดวาเหมาะสมกับสํานักงานและมีแนวโนมที่จะอยูทํางานในระยะยาวขอเสนอแนะการบํารุงรักษาสถาปนิก‣ แนวทางการรักษาสถาปนิกกลุมที่มีความสําคัญ• การใหโอกาสในการทํางาน การไดแสดงออกตามความเหมาะสมและสามารถเติบโตตามสายอาชีพในสํานักงานได เปนวิธีการบํารุงรักษาที่ผูบริหารควรใหความสําคัญที่สุด‣ แนวทางการจูงใจสถาปนิกในสํานักงานจากทฤษฏีจูงใจมาสโลวที่กลาวถึงแรงจูงใจของมนุษย 5 ขั้น เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับการสรางแรงจูงใจในสํานักงานสถาปนิกที่ไดจากการวิจัย พบวามีความสอดคลองกันดังนี้• ขั้นที่ 1 และ 2 ตรงกับการจูงใจดวยผลตอบแทน หรือปจจัยขั้นพื้นฐานของมนุษย• ขั้นที่ 3 ตรงกับการจูงใจดวยความสัมพันธ การใหความผูกพันและยอมรับ• ขั้นที่ 4 และ5 ตรงกับจูงใจดวยตําแหนงหนาที่ การเลื่อนตําแหนง การเปนหุนสวนสํานักงาน12


ดังนั้นในการสรางแรงจูงใจกับสถาปนิกในสํานักงาน ควรใหตอบสนองกับความตองการของสถาปนิกในแตละกลุมหรือบุคคล เชนพิจารณาจาก สถานภาพ และชวงอายุของสถาปนิกตัวอยางวิธีการ• สถาปนิกในระดับอาวุโสที่ทํางานมายาวนานมักจะโดนบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย ดึงตัวไปโดยใหคาตอบแทนที่มากกวา ดังนั้นผูบริหารสํานักงานจึงควรใหความสําคัญกับการรักษาโดยการเลื่อนตําแหนงและคาตอบแทนใหสูงขึ้น หรือการมอบใหเปนหุนสวนสํานักงาน‣ วิธีการบํารุงรักษาสถาปนิกจากวิธีการบํารุงรักษาที่ใชในสํานักงานสถาปนิกมีจํานวน 7 วิธีการดังนี้o การเพิ่มโอกาสในการทํางานo การออแบบระบบการทํางานใหมo การใหอิสระในการทํางานo สงเสริมการพัฒนา ฝกอบรมo การใหความรูสึกเปนผูรวมออกแบบในโครงการตางๆo การเปดเผยขอมูลสํานักงานo สงเสริมการสรางสังคมในหมูพนักงาน และสรางกิจกรรมวิธีการที่ผูบริหารสํานักงานควรใหความสําคัญมากที่สุด คือเรื่องการสงเสริมใหสถาปนิกพัฒนาตนเอง โดยการใหสถาปนิกไดมีกิจกรรมฝกอบรม สัมมนา พัฒนาทักษะดานตางๆ และสงเสริมใหมีความกาวหนาในสายอาชีพในสํานักงาน• เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบแนวทางการบํารุงรักษาทั้ง 7 วิธี กับแรงจูงใจตามทฤษฎีสองปจจัยพบวาวิธีการตางๆนั้นจะเกิดขึ้นในขั้นของปจจัยจูงใจ ที่จะสงผลใหสถาปนิกที่รูสึกเฉยๆ กับการปฏิบัติงาน มีความรูสึกพึงพอใจกับการทํางานในสํานักงานมากขึ้นขอแนะนํา• เทคนิคการบํารุงรักษาสถาปนิกตางๆ ตองทําอยูตลอดเวลาเพื่อดึงดูดสถาปนิกและกระตุนใหมีความอยากทํางานที่ทาทายความสามารถของตนเองอยูเสมอ• สํานักงานควรสงเสริมเรื่องเครื่องมืออํานวยความสะดวกในสํานักงาน และสนับสนุนเครื่องมือที่ใชปฏิบัติงาน เชนการใหคอมพิวเตอรสวนบุคคลเพื่อความคลองตัวในการทํางาน• การเพิ่มโอกาสในการทํางาน ควรมอบหมายงานใหมีปริมาณที่ใหเหมาะสม ไมมากเกินไปจะชวยใหสถาปนิกไมมีความกดดันในการปฏิบัติงาน และจะอยูกับสํานักงานไดยาวนานยิ่งขึ้น‣ การพัฒนาสายอาชีพและระดับขั้นในสํานักงานสถาปนิกก. การพัฒนาสายอาชีพในสํานักงานสถาปนิก• ผูบริหารสํานักงานสถาปนิกที่ตองการใหสํานักงานดําเนินกิจการไปอยางตอเนื่อง ควรที่มีการกําหนดเสนทางความกาวหนาทางสายอาชีพใหชัดเจน เพื่อใหคนรุนใหมสามารถมองเห็นเสนทางขึ้นมารับหนาที่บริหารสํานักงานตอจากผูบริหารในปจจุบัน<strong>13</strong>


ข. การแบงระดับขั้นสถาปนิกในสํานักงานสถาปนิก• การแบงระดับขั้นสถาปนิกจํานวนมาก เพื่อเปนการดึงดูดใหสถาปนิกที่มีความสามารถไดรับตําแหนงที่สูงขึ้นอีกเล็กนอย จะสามารถทําใหสถาปนิกมีความรูสึกพึงพอใจมากยิ่งขึ้นขอแนะนํา ตัวอยางการแบงระดับขั้นสถาปนิกในจํานวนมาก1.)Junior A. 2.)Intermediate A. 3.)Hi-intermediate A. 4.)Senior A. 5.)Project A. 6.)Project Director‣ ความสามัคคีในหมูสถาปนิกในสํานักงานตองระมัดระวังความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นไดระหวางสถาปนิกในระดับตางๆเชน สถาปนิกอาวุโสกับสถาปนิกระดับผูบริหาร(Design director) ในเรื่องแนวความคิดที่อาจไมตรงกันขอแนะนํา• จัดใหมีการประชุมโครงการตางๆที่สํานักงานกําลังทําอยูในทุกสัปดาห แมวาโครงการจะออกแบบจบแลวแตยังดําเนินการกอสรางอยูก็ตาม เพื่อใหโอกาสสถาปนิกที่รับผิดชอบในสวนตางๆของโครงการ ไดพูดคุยและปรึกษากัน‣ การจัดการสถาปนิกเมื่อสํานักงานประสบภาวะวิกฤต• ถาสํานักงานสถาปนิกใชแนวทางการจูงใจดวยผลตอบแทนเปนสําคัญ ควรจะเนนไปที่ระบบบริหารคาตอบแทนเปนการจายโบนัส (ใหอัตราเงินเดือนในระดับปกติ) เนื่องจากสามารถเปลี่ยนแปลงและควบคุมรายจายไดสะดวกกวา และเมื่อสํานักงานประสบภาวะวิกฤตก็สามารถลดรายจายไดโดยใชวิธีการลดเงินโบนัสแทนการลดเงินเดือน‣ การรักษาความสัมพันธกับสถาปนิกที่ออกจากสํานักงาน• การถามสถาปนิกถึงเหตุผลของการออกจากสํานักงาน ผูบริหารควรใชวิธีพูดคุยกับสถาปนิกอยางไมเปนทางการ มากกวาใหฝายบุคคลทําการสัมภาษณอยางจริงจัง เพราะจะไดเหตุผลที่แทจริงจากสถาปนิกมากกวา• การสรางสายสัมพันธและการติดตอสถาปนิกที่ออกจากสํานักงานไปแลว มีวิธีการงายโดยใหเพื่อนสถาปนิกที่ยังคงทํางานอยูในสํานักงานชักชวนมารวมกิจกรรมตางๆ ที่สํานักงานจัดขึ้น• การติดตอและรักษาความสัมพันธที่ดี กับสถาปนิกที่ออกจากสํานักงานไปอยางสม่ําเสมอจะมีผลดีหลายอยางกับสํานักงาน เชน สถาปนิกจะสามารถแนะนําบุคคลที่เหมาะสมกับสํานักงานใหมาสมัครงาน หรือสามารถจางงาน (Outsource) สถาปนิกไดอยางมั่นใจเนื่องจากรูมาตรฐานการทํางานของสํานักงาน และเมื่อมีโอกาสรับสถาปนิกนั้นกลับเขามาทํางานใหม ก็จะไมเสียเวลาในการปรับตัวเขากับสํานักงาน และสามารถเริ่มงานไดทันที• สถาปนิกสวนมากเมื่อออกจากสํานักงานไปแลวจะไมกลับมาทํางานที่เดิม แตถาผูบริหารตองการใหสถาปนิกกลับมาทํางาน ควรสรางขอผูกมัด เชน การใหทุนเมื่อสถาปนิกไปศึกษาตอ14


บรรณานุกรมและเอกสารอางอิงจุฑามาศ ทวีไพบูลยวงศ, สุวรรธนา เทพจิต. การจัดการทรัพยากรมนุษย แปลและเรียบเรียงจาก HumanResource Management : An Asian Perspective โดย Gary Dessler, Tan Chwee Huat.กรุงเทพมหานคร : เพียรสัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชนา, 2550.ประคัลภ ปณฑพลังกูร. การวาจางและรักษาบุคลากร แปลจาก Hiring and Keeping the Best Peopleโดย Peter Cappelli. กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอรเน็ท, 2550.สุภาพร พิศาลบุตร. การสรรหาและบรรจุพนักงาน. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 2. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2550.อวยชัย วุฒิโฆสิต. การปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.AIA. Handbook of Architectural Practice. Volume1. New York : AIA, 1997.Chappell, David, and Willis, Andrew. The architect in practice. 9 th ed., Oxford : Blackwell, 2005.Woodward, Cynthia A. Human resources management for design professionals. Washington, D.C.:The American Institute of Architects Press, 1990.15


แนวทางการบริหารทรัพยากรกายภาพของศาลยุติธรรมในเขตกรุงเทพมหานครGUIDELINE OF FACILITY MANAGEMENT FOR THE COURT OF JUSTICEIN BANGKOK METROPOLITANT AREAนางสาวกรุณา ประสารหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอศาลยุติธรรมเปนองคกรขนาดใหญ มีอาคารศาลอยูทั่วประเทศเปนจํานวนมาก ทั้งยังมีการกอสรางปรับปรุงตอเติมและซอมแซมอาคารอยางตอเนื่อง ศาลยุติธรรมจึงตองมีความพรอมในการจัดการดานอาคารสถานที่ การศึกษาจึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการจัดการดานอาคารสถานที่ของศาลยุติธรรม โดยวิเคราะหหาความสอดคลองระหวางความตองการในการจัดการอาคารสถานที่กับการจัดการอาคารสถานที่ในปจจุบัน เพื่อกําหนดแนวทางการบริหารทรัพยากรกายภาพที่เหมาะสมตอไปการศึกษานี้ใชวิธีการสํารวจสถานที่ และการสัมภาษณผูที่เกี่ยวของในการจัดการดานอาคารสถานที่ทั้งผูบริหาร ผูปฏิบัติการ และผูดูแลหรือรับผิดชอบงานอาคารสถานที่ รวมทั้งการศึกษาจากเอกสารขอมูลแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ โดยกําหนดขอบเขตของการศึกษาครอบคลุมอาคารศาลเฉพาะที่ตั้งอยูในเขตกรุงเทพหมานครที่เปนอาคารขนาดใหญมีพื้นที่มากกวา 10,000 ตารางเมตรขึ้นไปจากการศึกษาพบวาอาคารศาลในเขตกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 17 อาคาร เปนอาคารขนาดใหญจํานวน 10 อาคาร เปนอาคารสูง 7 อาคาร และอาคารแนวราบที่มีความสูงไมเกิน 23 เมตร จํานวน 3 อาคารโดยมีหนวยงานศาลที่ใชพื้นที่ภายในอาคารจํานวน 12 หนวยงาน อายุอาคารอยูระหวาง 1-69 ป สงผลในการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ และวิธีการปฏิบัติงานตองมีความแตกตางกันไป การใชงานที่หลายหลายโดยสวนใหญ ใชพื้นที่ภายในอาคารรวมกันหลายหนวยงานศาล โดยไมมีการกําหนดการใชพื้นที ่หรือมีนโยบายที่ชัดเจนทําใหเกิดความยุงยากตอการจัดการใชพื้นที่และการประสานงาน ทั้งในดานการวางแผน การกํากับควบคุมดูแลอาคารสถานที่ และการตรวจสอบการใชอาคาร การดําเนินการในปจจุบันเนนการซอมแซมอาคารเมื่อพบความเสียหายเทานั้น โดยมีหนวยงานสวนกลางและหนวยงานศาลเปนผูดําเนินการการศึกษาครั้งนี้ศาลยุติธรรมควรจัดใหมีหนวยงานสวนกลางรับผิดชอบงานบริหารจัดการทําหนาที่เปนศูนยกลางในการประสานงานและวางแผนในภาพรวมขององคกร กําหนดนโยบายและมาตรฐานการดําเนินงานจัดทําระบบฐานขอมูลและจัดใหหนวยงานเจาของพื้นที่ มีบุคลากรที่มีความรูดานอาคารสถานที่ รับผิดชอบงาน16


จัดการดูแลรักษาและบริการใหเหมาะสมกับการใชสอยที่หลายหลายในแตละอาคาร รวมทั้งพิจารณาเพิ่มกําลังบุคลากรหรือการจัดจางบริษัทเอกชนใหสอดคลองกับปริมาณงาน1. ความเปนมาและสาระสําคัญในปจจุบันศาลยุติธรรมมีการกอสรางอาคารศาลที่มีลักษณะเปนอาคารสูงเพิ่มมากขึ้น ดวยขอจํากัดในเรื่องที่ดินในเขตกรุเทพมหานคร แตมีความจําเปนตองใชพื้นที่มากจนตองมีการจัดการใชพื้นที่ในอาคารรวมกันระหวางศาล เพื่อใหใชงานไดอยางทั่วถึงและดวยงบประมาณที่จํากัด เกิดปญหาเรื่องการดูแลเฉพาะพื้นที่ของแตละหนวยงานศาลไมสามารถตัดสินใจในการดูแลโดยภาพรวมที่เกี่ยวของกับอาคารและระบบประกอบอาคารที่ใชรวมกัน ดังนั้นศาลยุติธรรมจําเปนตองใหความสําคัญกับการจัดการดานอาคารสถานที่มากขึ้นที่มีรูปแบบการบริหารทรัพยากรกายภาพ( Facility Management ,FM ) เพื่อการวางแผน การดําเนินงานอยางเปนระบบ อีกทั้งอาคารสูงของศาลโดยสวนใหญยังจัดเปนอาคารขนาดใหญที่มีระบบวิศวกรรมประกอบอาคารที่สลับซับซอน ตองดูแลรักษาโดยผูมีความรูความชํานาญเฉพาะมิใชการดูแลตามสภาพที่เกิดขึ้นโดยเจาหนาที่ ที่ยังขาดความรูความเขาใจ หรือทักษะในงานเฉพาะ ซึ่งเกินขอบเขตความรับผิดชอบที่อาจเปนอันตรายตอชีวิตและทรัพยสินได2.วัตถุประสงคการศึกษา2.1 เพื่อศึกษาสภาพปจจุบัน ความตองการในการจัดการและปญหาของการจัดการดานอาคารสถานที่ของศาลยุติธรรม2.2 เพื่อเสนอแนะแนวทางการบริหารทรัพยากรกายภาพของสํานักงานศาลยุติธรรม3.วิธีการศึกษา3.1 การศึกษาและการเก็บขอมูลเบื้องตน ที่จะใชเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการศึกษา คือ• การบริหารทรัพยากรกายภาพ• ทรัพยากรกายภาพของศาลยุติธรรม• การจัดการดานอาคารสถานที่ของศาลยุติธรรมในปจจุบัน• ปญหาการจัดการดานอาคารสถานที่ของศาลยุติธรรมโดยลักษณะของขอมูลที่ศึกษา จะแบงออกเปน 2 ลักษณะคือขอมูลดานเอกสาร ไดแก ตําราวิชาการภาษาไทย หนังสืออางอิง วิทยานิพนธ และเอกสารอื่นๆเชนรายงานหรือบทความ งานวิจัย วารสารและเอกสารของศาลยุติธรรม เปนตนขอมูลจากการสัมภาษณ หนวยงานและบุคลากรที่เกี่ยวของในการจัดการดานอาคารสถานที่ แบงเปน3กลุมคือ• ผูบริหาร17


• ผูปฏิบัติการ• ผูดูแลอาคารสถานที่3.2 ทําการศึกษารวบรวมขอมูลในสวนของเอกสาร งานวิจัย แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของเพื่อจัดเตรียมหัวขอในการสัมภาษณ เพื่อนํามาวิเคราะห สรุปผลและเสนอแนะแนวทางตอไปโดยมีขอบเขตของการศึกษาอาคารศาลในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีลักษณะอาคารขนาดใหญซึ่งมีพื้นที่ไมนอยกวา 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป4. ผลการศึกษา4.1ทรัพยากรกายภาพของศาลยุติธรรมในเขตกรุงเทพมหานครอาคารศาลในเขตกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 17 อาคาร จัดเปนอาคารขนาดใหญ จํานวน 10 อาคารและสวนใหญเปนอาคารสูงมีจํานวนทั้งสิ้น 7 อาคาร อาคารแนวราบ หรืออาคารที่มีความสูงไมถึง 23.00 เมตร มีจํานวน 3 อาคาร โดยมีหนวยงานศาลที่ใชพื้นที่ภายในอาคารจํานวน 12 ศาล นอกจากนี้ยังพบวา มีอาคารที่อายุมากเกินกวาอาคารทั่วไป มีจํานวน 2 อาคาร (อายุ26-69 ป) ดังปรากฏตามตารางนี้ตารางที่ 1 แสดงขนาดพื้นที่อาคาร ความสูง และอายุของอาคารลักษณะอาคาร ศาล พื้นที่อาคาร ความสูง อายุ(ป)1. ศาลฎีกา 17,865.00 4 69อาคารแนวราบ2. ศาลแพงธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี 31,082.<strong>13</strong> 6 263. ศาลแขวงพระนครเหนือ 10,080.00 6 221. ศาลแพง 55,686.00 <strong>13</strong> 162. ศาลอาญา 53,599.00 <strong>13</strong> 163. ศาลอุทธรณ 36,388.00 8 16อาคารสูง 4. ศาลแพงกรุงเทพใตและอาญากรุงเทพใต 26,479 <strong>13</strong> 75. ศาลจังหวัดมีนบุรี 21,273.32 10 76. ศาลจังหวัดตลิ่งชัน 24,164.00 7 17. ศาลจังหวัดพระโขนง 10,000.00 7 7ตารางที่ 2 จํานวนหนวยงานที่ใชพื้นที่รวมกับศาลตางๆอาคาร จํานวนหนวยงานที่ใชพื้นที่รวมหนวยงาน1 ศาลฎีกา - -2 ศาลอาญาธนบุรี 2 ศาลแพงธนบุรี3 ศาลแพงธนบุรี 2 ศาลอาญาธนบุรี4 ศาลแขวงพระนคร 3 ศาลอุทธรณภาค6และ718


เหนือ5 ศาลแพง 2 ศาลภาษีอากรกลาง6 ศาลอุทธรณ 4 ศาลอุทธรณภาค 1,ภาค4และภาค87 ศาลอาญา 3 สํานักงานศาลยุติธรรม(สวนกลาง)และศาลอุทธรณ ภาค38 ศาลแพงกรุงเทพใต 2 ศาลอาญากรุงเทพใต9 ศาลอาญากรุงเทพใต 2 เดิมอยูในบริเวณศาลฎีกา ปจจุบันเปนศาลที่ใชอาคารรวมกัน กับศาลแพงกรุงเทพใต10 ศาลจังหวัดมีนบุรี 3 ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง(มีนบุรี) และศาลแรงงานกลาง(มีนบุรี)11 ศาลจังหวัดพระโขนง - -12 ศาลจังหวัดตลิ่งชัน 2 สํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค1การศึกษาพบวา สวนใหญอาคารสูงมีการใชพื้นที่ภายในอาคารรวมกันระหวางหนวยงานของศาลแตละศาล และแตละศาลยังมีความตองการใชพื้นที่เพิ่มขึ้นไมเพียงพอตอการใชงานทําใหเกิดขอจํากัดในการใชพื้นที่เพื่อการบริหารงานคดี ที่มีการปรับเปลี่ยนทั้งบุคลากรและกระบวนการทํางานอยูเสมอ4.2 การจัดการดานอาคารสถานที่ในปจจุบัน4.2.1 นโยบายดานอาคารสถานที่นโยบายการบริหารและพัฒนาศาลยุติธรรม2. นโยบายดานการบริหารราชการศาลและสํานักงานศาลยุติธรรม2.1 พัฒนากระบวนการ ขั้นตอน และระบบงานศาลยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพ เอื้อประโยชนแกประชาชนใหไดรับบริการโดยสะดวก รวดเร็ว ประหยัด เสมอภาค และเปนธรรม2.2 จัดระบบและโครงสรางการบริหารงานในสํานักงานศาลยุติธรรม ใหกะทัดรัดคลองตัว และตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางแทจริง ภายใตงบประมาณที่จํากัด2.3 พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่ทันสมัย มีโครงสรางเปนแนวระนาบ สายการบังคับบัญชาสั้นโดยแบงหนวยงานหลักหนวยงานสนับสนุน และหนวยงานชวยอํานวยการตามบทบาทภารกิจที่ชัดเจน และกําหนดอํานาจหนาที่ใหเอื้ออํานวยและสอดประสานซึ่งกันและกันเพื่อใหศาลยุติธรรมมีเอกภาพ มีการบริหารงานที่เขมแข็งและโปรงใส2.4 กระจายอํานาจในการบริหารงาน งบประมาณและอัตรากําลังใหแกศาลและหนวยงานในสังกัดใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางราบรื่น คลองตัว และมีประสิทธิภาพ โดยมีการกํากับดูแล ตรวจสอบ และรายงานอยางเปนระบบ โดยยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี (Good Governance)2.5 พัฒนาระบบบริหารงบประมาณโดยเนนที่ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มุงเพิ่มผลงานและการบริการประชาชน ใหมีการจัดสรรทรัพยากรแกศาลและหนวยงานอยางเหมาะสมทันเวลา และตรงตอความตองการ19


2.6 สงเสริมและพัฒนาการทํางานตามแผนงานโครงการเพื่อลดความซ้ําซอน งายตอการกําหนดทิศทางและสรางความเปนเอกภาพแกหนวยงาน2.7 สงเสริมใหมีการใชจายงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพตามแผนงานและโครงการ สมประโยชนและคุมคาสามารถติดตามและประเมินผลไดอยางเปนระบบและตอเนื่อง4.2.2 หนวยงานและบุคลากรที่เกี่ยวของ• หนวยงานสวนกลาง ประกอบดวยกองออกแบบและกอสราง ดําเนินการเกี่ยวกับการสํารวจวางผัง ออกแบบ เขียนแบบ ออกรายการประกอบแบบดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม ประมาณราคา ควบคุมคุณภาพและกําหนดมาตรฐานงานออกแบบกอสราง ทั้งในดานรูปแบบและการประมาณราคา ตลอดจนพัฒนารูปแบบมาตรฐานงานกอสรางตางๆและใหคําปรึกษาแนะนําแกสวนราชการในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเกี่ยวกับการดําเนินการดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม ตลอดจนวางแผน ติดตามประเมินผล และดําเนินการเกี่ยวกับงานกอสรางระยะเวลาการกอสราง ตอเติมหรือปรับปรุงซอมแซมอาคารและสิ่งกอสรางของศาลยุติธรรมและหนวยงานในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมกองบริหารทรัพยสิน ศึกษา วิเคราะห วิจัย เกี่ยวกับนโยบาย และดําเนินการเกี่ยวกับการพัสดุอาคารสถานที่ และยานพาหนะ ดําเนินการเกี่ยวกับที่ดินเพื่อประโยชนในกิจการและพัฒนาระบบขอมูลเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร สถานที่ทําการและบานพักของศาลยุติธรรมและสํานักงานศาลยุติธรรมสํานักบริหารกลางและสวัสดิการ ดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยในดานอาคาร สถานที่ และบุคคลตลอดจนการจัดระบบเครือขายการสื่อสารในความรับผิดชอบ พัฒนาระบบ รูปแบบ มาตรการ หลักเกณฑระเบียบปฏิบัติและวิธีการวาดวย การรักษาความปลอดภัยและระบบสื่อสาร พรอมทั้งดําเนินการเกี่ยวกับหลักเกณฑ ระเบียบปฏิบัติและวิธีการวาดวย การรักษาความปลอดภัยและระบบสื่อสาร พรอมทั้งดําเนินการเกี่ยวกับการจัดตั้งหนวยรักษาความปลอดภัยประจําศาลและสํานักงานศาลยุติธรรม รวมถึงการกําหนดมาตรฐาน คุณลักษณะและจัดหาอุปกรณรักษาความปลอดภัย และระบบสื่อสารมีการรวบรวมสถิติขอมูล ศึกษาวิเคราะห วางแผน และติดตามประเมินผลงานตามแผนปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยและระบบสื่อสารของศาลและสํานักงานศาลยุติธรรมสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหาร การควบคุมดูแล และบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอรและระบบเครือขายคอมพิวเตอรของศาลและสํานักงานศาลยุติธรรม• หนวยงานเจาของอาคาร ไดแกงานพัสดุ อาคารสถานที่ของกลุมงาน/สวนคลัง ดําเนินการรักษาความปลอดภัย งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ รวมทั้งดูแลระบบสาธารณูปโภค ดําเนินการจัดซื้อ จัดจาง ตรวจ เก็บรักษาเบิกจายจัดทําทะเบียนคุมพัสดุและทรัพยสิน ตลอดจนการซอมบํารุงและจําหนายพัสดุและประสานการจัดทําคําของบประมาณจาการศึกษาพบวา การจัดการดานอาคารสถานที่ ไมมีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนแตมีโครงสรางหลายหนวยงานดําเนินการรวมกันโดยเฉพาะหนวยงานสวนกลาง ซึ่งเปนเหมือนศูนยรวมในการ20


ประสานงาน ทําใหขาดความคลองตัวและเกิดความลาชาในการดําเนินการกรณีที่มีงานหรือโครงการที่จําเปนตองดําเนินการรวมกัน ยากตอการกําหนดมาตรฐาน การใหคําปรึกษาหารือ การกําหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมแกหนวยงานเจาของอาคารที่กระจายอยูทั่วประเทศ รวมถึงไมมีการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการวางแผนและการจัดการ อีกทั้งบุคลากรที่ดูแลรับผิดชอบมีภาระงานที่หลากหลาย ทําใหมีการดําเนินงานซอมแซมอาคารเมื่อพบความเสียหายเทานั้น นอกจากนี้ยังพบวา บุคลากรของหนวยงานเจาของอาคารยังขาดความรูความเขาใจในงานอาคารสถานที่และมีการเปลี่ยนแปลงโยกยายงานตามวาระ ทําใหขาดความตอเนื่องตอการดูแลอาคารสถานที่ อาคารสวนใหญมีสภาพชํารุดทรุดโทรม5. การอภิปรายผลการศึกษาศาลยุติธรรม มีความตองการในการบริหารทรัพยากรกายภาพเพื่อการบริหารจัดการอาคารศาลที่มีอยูทั่วประเทศ ทั้งการกอสราง, ปรับปรุงตอเติมและซอมแซมอาคารอยูเสมอ หากแตหนวยงานสวนกลางยังขาดความคลองตัวในการดําเนินงานการประสานงาน จึงควรเริ่มตั้งแตการกําหนดนโยบาย การวางแผน การกํากับควบคุม ดูแลอาคารสถานที่และการตรวจสอบการใชอาคารสถานที่ เพื่อมิใหเกิดปญหาความยุงยากตอการจัดการใชพื้นที่และการประสานงานระหวางหนวยงานศาลที่ใชอาคารรวมกันใหชัดเจน การกําหนดมาตรฐานการดําเนินงานโดยจัดใหหนวยงานสวนกลางรับผิดชอบงานบริหารจัดการทําหนาที่เปนศูนยกลางในการประสานงานและวางแผนในภาพรวมขององคกร กําหนดนโยบายและมาตรฐานการดําเนินงานจัดทําระบบฐานขอมูลและจัดใหหนวยงานเจาของพื้นที่ มีบุคลากรที่มีความรูดานอาคารสถานที่ รับผิดชอบงานจัดการดูแลรักษาและบริการใหเหมาะสมกับการใชสอยที ่หลากหลายในแตละอาคาร รวมทั้งพิจารณาเพิ่มกําลังบุคลากรหรือการจางบริษัทเอกชนใหสอดคลองกับปริมาณงาน อันจะเปนผลที่แสดงใหผูบริหารไดใหความสําคัญและมีสวนรวมที่ชัดเจนยิ่งขึ้น21


บรรณานุกรมและเอกสารอางอิงบัณทิต จุลาสัย และเสริชย โชติพานิช, การบริหารทรัพยากรกายภาพ (Facility Management) พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>1(กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547)เสริชย โชติพานิช, เอกสารประกอบการสอนวิชา Facility Management, (กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550).Cotts, D.G. (1999) The facility management handbook (2 nd.ed.). NY: AMACOM22


การดําเนินการดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑรัฐในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลนางสาวพิมพยิหวา จํารูญวงษหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอพิพิธภัณฑเปนกิจการที่ประกอบดวยทรัพยากรกายภาพจํานวนมาก อาคารพิพิธภัณฑสวนใหญจึงมีระบบประกอบอาคารที่ซับซอน การบริหารจัดการดานอาคารสถานที่จึงเปนเรื่องสําคัญ เพราะสงผลตอการใชงานที่คุมคา มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย พิพิธภัณฑจึงตองการอาคารที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ ดังนั้นการบริหารจัดการดานอาคารสถานที่จึงตองมีลักษณะพิเศษเฉพาะไปดวย การศึกษาครั้งนี ้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการดําเนินการดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑ โดยใชการศึกษาแบบกรณีศึกษา (Case study Approach)และกําหนดเกณฑการเลือกกรณีศึกษาไดพิพิธภัณฑรัฐมา 10 แหง แลวทําการรวบรวมขอมูล ไดแก ขอมูลทั่วไปลักษณะทางกายภาพ และการดําเนินการดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑจากการศึกษาการดําเนินการดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑ แตละแหง โดยแยกเปน 2 ตาราง ไดแกการดูแลรักษาอาคารสถานที่ และการบริการอาคารของพิพิธภัณฑ พบวา การดูแลรักษาอาคารสถานที่ที่ทุกพิพิธภัณฑดําเนินการอยูในปจจุบัน มี 9 อยาง ไดแก การซอมแซมอาคาร โครงสราง และอุปกรณประกอบอาคาร, การประสานงานกับผูรับเหมา และงานจางเหมา, การลางทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศทั้งแบบแหง และแบบเปยก, การตรวจสอบสภาพเครื่องปรับอากาศครั้งใหญ หรือการลางใหญ, การดูแลรักษาสุขภัณฑตางๆ, การซอมแซมสุขภัณฑ วัสดุ อุปกรณเมื่อเกิดความเสียหาย, การซอมแซมอุปกรณระบบสื่อสารตางๆ, การเตรียมระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน เพื่อกรณีไฟดับ ไดมีแสงสวางภายในอาคาร และการซอมแซมเมื่อเกิดการชํารุด พังเสียหาย สวนงานบริการอาคารที่ทุกพิพิธภัณฑดําเนินการอยูในปจจุบัน มี 6 อยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่สํานักงาน, การทําความสะอาดพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ, การนําสิ่งของเหลือใชกลับมาใช หรือสงขาย เชนกระดาษ ครุภัณฑที่พังเสียหาย, บริการตอนรับ และประชาสัมพันธ, บริการจัดทําเอกสารความรูนิทรรศการภายในพิพิธภัณฑ และบริการจัดกิจกรรมใหสําหรับผูมาเปนหมูคณะจากการศึกษา พบวา พิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของการดําเนินการดานอาคารสถานที่มากที่สุด คือพิพิธภัณฑวิทยาศาสตร โดยมีวิธีดําเนินการโดยจางบริษัทภายนอกมาดูแลงานอาคารสถานที่ เนื่องจากเปนพิพิธภัณฑที่มีพื้นที่ขนาดใหญ และเปนอาคารใหมที่มีระบบประกอบอาคารซับซอน สวนพิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของการดําเนินการดานอาคารสถานที่นอยที่สุด คือ พิพิธภัณฑกรมที่ดิน เนื่องจากพิพิธภัณฑมีพื้นที่จัดแสดงอยูในอาคารของกรม หรือกระทรวงที่เปนเจาของพิพิธภัณฑ ดังนั้นกรม หรือกระทรวงจึงมีหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลดานอาคารสถานที่อยูแลวขอเสนอแนะจากการศึกษานี้ คือ พิพิธภัณฑควรกําหนดนโยบายในการดําเนินการดานอาคารสถานที่โดยควรมุงเนนเรื่อง การวางแผนการดําเนินการดานอาคารสถานที่ในเชิงรุก และเชิงปองกัน และใชวิธีดําเนินการ23


ดานอาคารสถานที่โดยใหหนวยงานภายในตรวจสอบ ประเมินผลการทํางาน และจางบริษัทภายนอกมาบํารุงรักษาซอมแซมงานเทคนิคที่มีความซับซอนความเปนมา และสาระสําคัญพิพิธภัณฑเปนอาคารสถานที่ที่ประกอบดวยเทคโนโลยี และองคประกอบตางๆ ที่มีลักษณะซับซอนจึงจําเปนตองดูแลบํารุงรักษา เพื่อใหอาคารพรอมใชงาน และสามารถใชงานได ดังนั้น มีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการบริหารทรัพยากรกายภาพเกิดขึ้นในพิพิธภัณฑในประเทศไทยการดําเนินงานดานนี้ของพิพิธภัณฑ ยังถือวาเปนเรื่องใหม และยังไมมีวิธีการหรือระบบที่ชัดเจน ทั้งนี้แมวาในตางประเทศจะมีวิธีการดานนี้ แตการมาประยุกตใชตองคํานึงถึงบริบทของพิพิธภัณฑในประเทศไทยดวยขอมูลที่ไดจากการศึกษาเรื่องการดําเนินการที่เกี่ยวของกับอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑรัฐในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จะเปนฐานความรูเพื่อใชเปนแนวทางในการจัดระบบงานการบริหารทรัพยากรกายภาพของพิพิธภัณฑในประเทศไทยตอไปวัตถุประสงคการศึกษาการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการดําเนินการดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑ และขอบเขตการปฏิบัติงานดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑวิธีการศึกษาการศึกษาครั้งนี้เลือกใชแนวทางศึกษาแบบกรณีศึกษา (Case Study Approach) โดยกําหนดเกณฑการเลือกกรณีศึกษาวาตองเปนพิพิธภัณฑของรัฐภายในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีรูปแบบขององคกรที่ชัดเจน และมีการดําเนินการดานอาคารสถานที่อยางนอย 1 ป ซึ่งไดคัดเลือกตามเกณฑดังกลาวมาทั้งสิ้น 10แหงไดแก- พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ- พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา- พิพิธภัณฑเด็ก กรุงเทพมหานคร- ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาแหงชาติ- ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา รังสิต- สถานแสดงพันธุสัตวน้ําจืดกรุงเทพฯ- พิพิธภัณฑธรณีวิทยา- พิพิธภัณฑกรมที่ดิน- หอไทยนิทัศน- พิพิธภัณฑสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว24


และทําการเก็บรวบรวมขอมูลสภาพปจจุบัน ไดแก ขอมูลทั่วไป ลักษณะทางกายภาพ และการดําเนินการดานอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑ จากนั้นแยกวิเคราะหขอมูลโดยใชทฤษฎีเรื่องขอบเขตการบริหารทรัพยากรกายภาพ ไดแก การบริหาร การจัดการ การดูแลรักษาอาคาร และการบริการผลการศึกษา1.) ขอบเขต และวิธีการดูแลรักษาอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑจากตารางที่ 1 แสดงขอบเขต และวิธีการดูแลรักษาอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑ พบวาการดูแลรักษาอาคารสถานที่ที่ทุกพิพิธภัณฑดําเนินการอยูในปจจุบัน ไดแก- การซอมแซมอาคาร โครงสราง และอุปกรณประกอบอาคาร- การประสานงานกับผูรับเหมา และงานจางเหมา- การลางทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศทั้งแบบแหง และแบบเปยก- การตรวจสอบสภาพเครื่องปรับอากาศครั้งใหญ หรือการลางใหญ- การดูแลรักษาสุขภัณฑตางๆ- การซอมแซมสุขภัณฑ วัสดุ อุปกรณเมื่อเกิดความเสียหาย- การซอมแซมอุปกรณระบบสื่อสารตางๆ- การเตรียมระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน เพื่อกรณีไฟดับ ไดมีแสงสวางภายในอาคาร- การซอมแซมเมื่อเกิดการชํารุด พังเสียหายการดูแลรักษาอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑ สวนใหญใชจางบริษัทภายนอกมาดําเนินการรวมกับหนวยงานภายในของพิพิธภัณฑ เนื่องจากเปนงานเทคนิคที่มีความซับซอน ยกเวนงานระบบไฟฟา และสุขาภิบาลที่หนวยงานภายในพิพิธภัณฑสามารถดูแลเองไดพิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของการดูแลรักษาอาคารสถานที่มากที่สุด คือ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติและพิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา มีวิธีการดูแลรักษาอาคารสถานที่ โดยจางบริษัทภายนอกดําเนินการเปนสวนใหญยกเวนงานบํารุงรักษาระบบไฟฟา เพราะพิพิธภัณฑมีชางเทคนิคทางดานนี้อยูแลวพิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของการดูแลรักษาอาคารสถานที่นอยที่สุด คือ สถานแสดงพันธุสัตวน้ํากรุงเทพฯพิพิธภัณฑทรัพยากรธรณี พิพิธภัณฑกรมที่ดิน และหอไทยนิทัศน เนื่องจากพิพิธภัณฑทั้ง 4 แหง จัดแสดงอยูในอาคารของกรมหรือกระทรวง ซึ่งมีหนวยงานสําหรับดูแลอาคารสถานที่อยูแลวตารางที่ 1 แสดงขอบเขต และวิธีการดูแลรักษาอาคารสถานที่ของพิพิธภัณฑสัญลักษณแทนพิพิธภัณฑA พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติB พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาC พิพิธภัณฑเด็กกรุงเทพมหานคร D ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา (ทองฟาจําลอง)E ศูนยวิทยาศาสตร รังสิต F สถานแสดงพันธุสัตวน้ํา กรุงเทพฯG พิพิธภัณฑธรณีวิทยา H พิพิธภัณฑกรมที่ดินI หอไทยนิทัศน J พิพิธภัณฑพระบาทสามเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว25


สัญลักษณแทนหนวยงานจางบริษัทภายนอกหนวยงานภายในทั้งหนวยงานภายใน และบริษัทภายนอกการดูแลรักษาอาคาร A B C D E F G H I J1 : การบํารุงรักษาอาคาร และโครงสราง1.1 การตรวจสอบสภาพโครงสราง หลังคา ผนังภายในภายนอก อุปกรณประกอบอาคาร1.2 การทําแผน หรือตารางการตรวจสอบสภาพอาคาร1.3 การซอมแซมอาคาร โครงสราง และอุปกรณประกอบอาคาร1.4 การประสานงานกับผูรับเหมา และงานจางเหมา2 : การบํารุงรักษาระบบปรับอากาศ2.1 การทําประวัติ หรือรายการเครื่องปรับอากาศตางๆ2.2 การบันทึกการทํางานของระบบปรับอากาศ2.3 การทําแผน หรือตารางการตรวจสอบสภาพของเครื่องปรับอากาศ2.4 การลางทําความสะอาดแบบแหง และแบบเปยก2.5 การตรวจสอบสภาพครั้งใหญ หรือการลางใหญ2.6 ใหบริษัทผูติดตั้ง หรือบริษัทเครื่องปรับอากาศเปนผูดูแลรักษาระบบปรับอากาศทั้งหมด3 : การบํารุงรักษาระบบปองกันอัคคีภัย และดับเพลิง3.1 การตรวจสอบระดับน้ํายา และความพรอมของอุปกรณดับเพลิง3.2 การซอมแซม การเปลี่ยนชิ้นสวน แบตเตอรี่ของอุปกรณดับเพลิงปองกันอัคคีภัย4 : การบํารุงรักษาลิฟต4.1 การทําแผน หรือตารางตรวจสอบสภาพของลิฟต4.2 การตรวจบํารุงรักษาเปนประจํา4.3 การเปลี่ยนอะไหล และชิ้นสวนเมื่อหมดอายุการใชงาน4.4 ใหบริษัทผูติดตั้ง หรือบริษัทลิฟตเปนผูดูแลรักษาระบบลิฟตทั้งหมด5 : การบํารุงรักษาระบบสุขาภิบาล และบําบัดน้ําเสีย5.1 การดูแลรักษาสุขภัณฑตางๆ5.2 การซอมแซมสุขภัณฑ วัสดุ อุปกรณเมื่อเกิดความเสียหาย5.3 การตรวจสอบระบบน้ําดี อุปกรณตางๆ ไดแก มาตรวัดน้ําวาลวน้ํา รอยตอทอ เปนตน5.4 การดูแลระบบบําบัดน้ําเสีย เชน การรอกทอเปนระยะๆการทําความสะอาดถังบําบัด26


6 : การบํารุงรักษาระบบสื่อสาร6.1 การทํารายการ หรือบันทึกประวัติของวัสดุ อุปกรณของระบบสื่อสาร6.2 การตรวจสอบความเสียหายของอุปกรณ ครุภัณฑของระบบสื่อสาร6.3 การซอมแซมอุปกรณระบบสื่อสารตางๆ7 : การบํารุงรักษาระบบรักษาความปลอดภัย7.1 การทํารายการ หรือบันทึกประวัติของอุปกรณระบบรักษาความปลอดภัย ไดแก ระบบโทรทัศนวงจรปด อุปกรณบันทึกภาพ ระบบสัญญาณเตือนภัย7.2 การตรวจสอบความเสียหาย และความพรอมในการใชงาน7.3 การซอมแซมอุปกรณที่พังเสียหาย8 : การบํารุงรักษาระบบไฟฟา8.1 การเตรียมระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน เพื่อกรณีไฟดับ ไดมีแสงสวางภายในอาคาร8.2 การตรวจสอบพื้นที่ติดตั้งระบบไฟฟากําลัง ไดแก หมอแปลงไฟฟา แผงควบคุมไฟฟาแรงสูง แผงควบคุมไฟฟาแรงต่ํา ใหมีสภาพปลอดภัยเหมาะสมตอการใชงาน8.3 การซอมแซมเมื่อเกิดการชํารุด พังเสียหาย2.) ขอบเขต และวิธีดําเนินการงานบริการอาคารของพิพิธภัณฑจากตารางที่ 2 แสดงขอบเขต วิธีดําเนินการงานบริการอาคารของพิพิธภัณฑ พบวา งานบริการอาคารที่ทุกพิพิธภัณฑดําเนินการอยูในปจจุบัน ไดแก- การทําความสะอาดพื้นที่สํานักงาน- การทําความสะอาดพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ- การนําสิ่งของเหลือใชกลับมาใช หรือสงขาย เชน กระดาษ ครุภัณฑที่พังเสียหาย- บริการตอนรับ และประชาสัมพันธ- บริการจัดทําเอกสารความรูนิทรรศการภายในพิพิธภัณฑ- บริการจัดกิจกรรมใหสําหรับผูมาเปนหมูคณะพิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของงานบริการอาคารมากที่สุด คือ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ และพิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาพิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของงานบริการอาคารมนอยที่สุด คือ พิพิธภัณฑธรณีวิทยา พิพิธภัณฑกรมที่ดินและหอไทยนิทัศน27


ตารางที่ 2 แสดงขอบเขต วิธีดําเนินการงานบริการอาคารของพิพิธภัณฑสัญลักษณแทนพิพิธภัณฑA พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติB พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาC พิพิธภัณฑเด็กกรุงเทพมหานคร D ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา (ทองฟาจําลอง)E ศูนยวิทยาศาสตร รังสิต F สถานแสดงพันธุสัตวน้ํา กรุงเทพฯG พิพิธภัณฑธรณีวิทยา H พิพิธภัณฑกรมที่ดินI หอไทยนิทัศน J พิพิธภัณฑพระบาทสามเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวสัญลักษณแทนหนวยงานจางบริษัทภายนอกหนวยงานภายในทั้งหนวยงานภายใน และบริษัทภายนอก1 : งานรักษาความสะอาดงานบริการอาคาร1.1 การทําความสะอาดพื้นที่สํานักงาน1.2 การทําความสะอาดพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ1.3 การวางแผนการปฏิบัติงานเปนประจําตามที่กําหนด เชนการทําความสะอาดครั้งใหญ 2 ครั้งตอป เปนตน1.4 การติดตามการปฏิบัติงาน และการประเมินผล2 : งานรักษาความปลอดภัย2.1 การรักษาความปลอดภัยใหพื้นที่ภายใน หรือพื้นที่พิเศษเฉพาะ2.2 การรักษาความปลอดภัยใหพื้นที่ภายนอก สวนเขา-ออกสวนตอนรับ-ใหขอมูล2.3 การตรวจการณรักษาความปลอดภัย และการปองกันการโจรกรรม2.4 การรายงานสถานการณ2.5 การอํานวยความสะดวกดานการจราจร และการจอดรถ2.6 การติดตามการปฏิบัติงาน และประเมินผล3 : งานกําจัดแมลง และสัตวรบกวน3.1 การกําจัดแมลงที่สรางความรําคาญ และนําโรคมาสูคนไดแก ปลวก แมลงสาบ หนู ยุง ภายในพื้นที่อาคาร3.2 การควบคุมโรคสัตว เชน การฉีดวัคซีนปองกันพิษสุนัขบา4 : งานกําจัดขยะ และหมุนเวียนสิ่งของเหลือใชพิพิธภัณฑA B C D E F G H I J4.1 การจัดถังขยะ เพื่อแยกประเภทของขยะ เชน ขยะเปยก ขยะแหง ขยะอันตราย เปนตน4.2 การนําสิ่งของเหลือใชกลับมาใช หรือสงขาย เชน กระดาษครุภัณฑที่พังเสียหาย28


4.3 การจัดหาผูมาดําเนินการเก็บขยะ5 : งานบํารุงรักษาภูมิทัศน และสวน5.1 การรดน้ําตนไมเปนประจําทุกวัน5.2 การดูแลบํารุงรักษาตนไม การตัดแตงเพื่อความสวยงาม5.3 การกําจัดแมลง และวัชพืช6 : งานบริการพิเศษ6.1 บริการรับ-สงเอกสาร6.2 บริการตอนรับ และประชาสัมพันธ6.3 บริการรับ-ตอโทรศัพท6.4 บริการขนสงพนักงาน โดยรถยนตหรือรถตูสํานักงาน6.5 บริการขนสงผูชมพิพิธภัณฑ6.6 บริการจัดทําเอกสารความรูนิทรรศการภายในพิพิธภัณฑ6.7 บริการจัดกิจกรรมภายนอกพิพิธภัณฑ (นอกสถานที่)6.8 บริการจัดกิจกรรมภายในพิพิธภัณฑ กิจกรรมพิเศษในวันสําคัญตางๆ6.9 บริการจัดกิจกรรมใหสําหรับผูมาเปนหมูคณะการอภิปรายผลการศึกษาการศึกษานี้มีขอสังเกต ดังนี้การดําเนินการดานอาคารสถานที่ที่พิพิธภัณฑทุกแหงดําเนินการอยูในปจจุบัน แสดงวาเปนงานขั้นพื้นฐานที่มีความจําเปนตอพิพิธภัณฑ มีขอบเขตของงาน ดังนี้1.) การดูแลรักษาอาคารสถานที่- การซอมแซมอาคาร โครงสราง และอุปกรณประกอบอาคาร- การประสานงานกับผูรับเหมา และงานจางเหมา- การลางทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศทั้งแบบแหง และแบบเปยก- การตรวจสอบสภาพเครื่องปรับอากาศครั้งใหญ หรือการลางใหญ- การดูแลรักษาสุขภัณฑตางๆ- การซอมแซมสุขภัณฑ วัสดุ อุปกรณเมื่อเกิดความเสียหาย- การซอมแซมอุปกรณระบบสื่อสารตางๆ- การเตรียมระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน เพื่อกรณีไฟดับ ไดมีแสงสวางภายในอาคาร- การซอมแซมเมื่อเกิดการชํารุด พังเสียหาย29


2.) การบริการอาคาร- การทําความสะอาดพื้นที่สํานักงาน- การทําความสะอาดพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ- การนําสิ่งของเหลือใชกลับมาใช หรือสงขาย เชน กระดาษ ครุภัณฑที่พังเสียหาย- บริการตอนรับ และประชาสัมพันธ- บริการจัดทําเอกสารความรูนิทรรศการภายในพิพิธภัณฑพิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของการดําเนินการดานอาคารสถานที่มากที่สุด และมีวิธีการดําเนินการโดยจางบริษัทภายนอกมาดูแลงานอาคารสถานที่ คือ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ เนื่องจากเปนพิพิธภัณฑที่มีพื้นที่ขนาดใหญ และเปนอาคารใหมที่มีระบบประกอบอาคารซับซอนพิพิธภัณฑที่มีขอบเขตของการดําเนินการดานอาคารสถานที่นอยที่สุด คือ พิพิธภัณฑกรมที่ดินเนื่องจากพิพิธภัณฑมีพื้นที่จัดแสดงอยูในอาคารของกรม หรือกระทรวงที่เปนเจาของพิพิธภัณฑ ดังนั้นกรม หรือกระทรวงจึงมีหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลดานอาคารสถานที่อยูแลวบรรณานุกรม และเอกสารอางอิงจิรา จงกล. พิพิธภัณฑสถานวิทยา. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 2. กรุงเทพมหานคร : พิมพโดย บริษัท อมรินทร พริ้นติ้ง กรุฟจํากัด, 2532.ฐานขอมูลพิพิธภัณฑทองถิ่นในประเทศไทย โครงการวิจัย และพัฒนาพิพิธภัณฑทองถิ่น สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), -ขอมูลลาสุด 2551.นิคม มูสิกะคามะ, กุลพันธาดา จันทรโพธศรี และมณีรัตน ทัวมเจริญ. วิชาการพิพิธภัณฑ. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 2.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ ไทยพัฒนาพานิช จํากัด, 2521.ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสริชย โชติพานิช. เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง แนะนําใหรูจัก เอฟ เอ็ม. คณะ วิชาสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ประจําปการศึกษา 2550.Michael A. Fopp. Managing Museums and Galleries. Printed & bound in Great Britain by TJInternational Ltd, 1997.Suzanne Keene. Managing Conservation in Museums. Second edition. Printed & bound Great Britain.British, 2002.30


การออกแบบปรับปรุง อาคารเรียนชั่วคราวกึ่งสําเร็จรูปชั้นเดียวโครงการโรงเรียน 3 จังหวัดภาคใต (SCG Southern School)THE REDESIGN OF TEMPORARY ONE - STOREY SEMI - PREFABRICATED SCHOOL BUILDINGCASE STUDY OF SCG SOUTHERN SCHOOLนาย กวิศ ปานมวงหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย1. บทคัดยอเนื่องมาจากเหตุการณสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต มีการลอบวางเพลิงสถานศึกษาอยางตอเนื่อง สงผลกระทบอยางมากตอระบบการศึกษาและสภาพจิตใจของนักเรียน ทางกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน (ก.ร.อ.ม.น.) จึงมีความตองการที่จะกอสรางอาคารเรียนชั่วคราวใหแลวเสร็จภายใน 3 วัน หลังจากเกิดเหตุ บริษัทในเครือซีเมนตไทย และบริษัทบลูสโคป ไลสาจท(ประเทศไทย)จํากัด จึงไดรวมกันออกแบบและกอสรางอาคารเรียนตนแบบขึ้น โดยจากการศึกษาการออกแบบและกอสรางอาคารตนแบบผูวิจัยเชื่อวาการกอสรางอาคารเรียนตนแบบ ควรไดรับการออกแบบปรับปรุงใหม โดยคํานึงถึงระยะทางพิกัดของวัสดุกอสรางและการใชงานอาคารมากขึ้น เลือกใชวิธีการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป และเลือกวัสดุกอสรางที่เหมาะสม ซึ่งจะทําใหอาคารเรียนปรับปรุงสามารถตอบสนองความตองการไดมากขึ้น ทั้งทางดานสถาปตยกรรมระยะเวลาในการกอสราง และราคาคากอสรางในการออกแบบ ผูวิจัยแบงอาคารเรียนชั่วคราวออกเปน 3 ขนาด คือขนาด 25 40 และ 50 คน โดยคํานึงถึง สภาพแวดลอมโดยรอบ แสงสวาง การระบายลม และการปองกันความรอน ในการออกแบบอาคาร และเลือกใชวัสดุกอสรางที่ตอบสนองความตองการไดมากขึ้น ทั้งแสงสวาง การระบายลม และการลดความรอนเขาสูตัวอาคาร นอกจากนั้นยังคํานึงถึงการประยุกตใชกับการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูปดวยจากการเปรียบเทียบปริมาณ และจํานวนชิ้นของวัสดุกอสราง พบวาการใชปริมาณวัสดุลดลงจากอาคารตนแบบมากถึง 25 – 30% และมีจํานวนชิ้นสวนของวัสดุลดลงมากเมื่อเทียบการกอสรางอาคารตอ 1 ตารางเมตรหลังจากการเปรียบเทียบปริมาณ และจํานวนชิ้นสวนวัสดุ ผูวิจัยไดเปรียบเทียบระยะเวลาในการกอสรางอาคารโดยพบวาการกอสรางอาคารตนแบบนั้นใชเวลาในการกอสรางในสถานที่กอสราง 43 ชั่วโมง และอาคารปรับปรุงขนาดเล็ก กลาง และขนาดใหญใชเวลากอสรางในสถานที่กอสรางลดลงเหลือเพียง 27% 38% และ 39%ตามลําดับ และในการเปรียบเทียบราคาคากอสรางนั้นเปรียบเทียบจากราคาคากอสรางตอตารางเมตรของอาคารตนแบบ คือ 12500 บาท/ตรม. และราคาลดลงเปนสัดสวนตามการลดลงของปริมาณวัสดุกอสราง จึงสรุปไดวาราคาคากอสรางอาคารที่ไดรับการออกแบบปรับปรุงลดลงจากอาคารตนแบบ 25.05% ในอาคารขนาดเล็ก ขนาดกลาง 31.<strong>13</strong>% และอาคารขนาดใหญลดลง 30.69%31


2. ความเปนมาและความสําคัญของปญหาเนื่องมาจากเหตุการณสถานการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ไดแก จังหวัดนราธิวาสจังหวัดปตตานี และจังหวัดยะลา มีเหตุการณลอบทําราย วางเพลิง วางระเบิด กอการราย และจลาจล เกิดขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตปพ.ศ.2547 จนถึงปจจุบัน โดยในระยะเวลาดังกลาว มีการลอบวางเพลิงสถานศึกษาทั้งหมด 84โรงเรียน สงผลกระทบอยางมากตอระบบการศึกษาและสภาพจิตใจของนักเรียน และในการกอสรางอาคารเรียนถาวรทดแทนอาคารเรียนที่ถูกทําลายไปนั้นตองใชเวลามาก ทางกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน (ก.ร.อ.ม.น.) ไดเล็งเห็นความสําคัญของปญหาดังกลาว และตองการหาทางแกไขปญหาเพื่อบรรเทาทุกขใหกับประชาชนในพื้นที่ โดยมีความตองการที่จะกอสรางอาคารเรียนชั่วคราวขึ้นเพื่อทดแทนอาคารเรียนที่ถูกทําลายเสียหายใหแลวเสร็จภายใน 3 วัน หลังจากเกิดเหตุ นอกจากนั้นยังตองการใหสามารถปรับเปลี่ยนการใชสอยภายในไดหลากหลาย สามารถเคลื่อนยายไดสะดวก และสามารถนํากลับมาใชใหมไดอีก บริษัทในเครือซีเมนตไทย และบริษัทบลูสโคป ไลสาจท(ประเทศไทย)จํากัด จึงไดรวมกันออกแบบและกอสรางอาคารเรียนตนแบบขึ้น เพื่อใชเปนอาคารเรียนชั่วคราวในขณะที่ทําการกอสรางอาคารเรียนถาวร3. วัตถุประสงคของการศึกษาในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาการออกแบบและการกอสรางอาคารเรียนสําเร็จรูปความสูงชั้นเดียว ที่ใชโครงสรางเหล็กเบารับน้ําหนัก และศึกษาขอดี ขอเสีย และขอจํากัดในการใชวัสดุเหล็กเบารับน้ําหนักในอาคารเรียนชั่วคราวตนแบบ เพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราว และทําการออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราวใหมีความเหมาะสม สอดคลอง และตอบสนองกับความตองการของเจาของโครงการมากขึ้น4. ขอบเขตของการศึกษาการศึกษาวิจัยนี้ ผูวิจัยกําหนดการศึกษาเฉพาะอาคารกรณีศึกษา ในโครงการโรงเรียนภาคใต (SCGSouthern School) และจะศึกษาเฉพาะสวนขั้นตอนการออกแบบ การพัฒนาแบบกอสราง และการกอสรางอาคารตนแบบเทานั้นในการออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราว ไมไดมีการนําแบบปรับปรุงมากอสรางเปนอาคารเรียนจริง ผูวิจัยจึงใชวิธีการเปรียบเทียบระยะเวลาในการกอสราง และราคาคากอสรางอาคารเรียนปรับปรุงจากขอมูลเดิมของอาคารเรียนตนแบบ5. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษาหลักจากการศึกษา คาดวาจะไดแบบอาคารเรียนชั่วคราวที่ไดรับการปรับปรุงใหตอบสนองความตองการไดมากขึ้น ทั้งทางดานสถาปตยกรรม ระยะเวลาการกอสราง และราคาคากอสราง ไดแนวทางในการเลือกใชวัสดุกอสรางที่เหมาะสมกับอาคารประเภทนี้ ไดแนวทางการแกปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางอาคารที่ใชโครงสรางเหล็กระบบโครงเหล็กเบารับน้ําหนัก และเพื่อเปนการทําความเขาใจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการออกแบบของสถาปนิก32


6. วิธีการดําเนินการวิจัย6.1 การศึกษาขอมูลเบื้องตนเมื่อกําหนดหัวขอและวัตถุประสงคของงานวิจัยแลว ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการศึกษา และทําการศึกษาเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับงานวิจัย โดยสามารถแบงการศึกษาขอมูลออกเปน 2 สวน คือ ขอมูลปฐมภูมิซึ่งเปนการศึกษาคนควาขอมูลความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการออกแบบและกอสรางอาคารดวยระบบสําเร็จรูป และการออกแบบและกอสรางอาคารดวยโครงสรางเหล็ก โดยทําการศึกษาจากตํารา บทความ เอกสารทางวิชาการ การสังเกตการณ และการเก็บบันทึกขอมูลตาง ๆ การเขาศึกษาดูงานในการออกแบบและกอสรางอาคารตนแบบ และสัมภาษณผูเชี่ยวชาญในดานการออกแบบและกอสรางอาคารโครงสรางเหล็กเบารับน้ําหนัก เพื่อใหไดแนวทางในการศึกษา และการออกแบบปรับปรุงอาคาร และ ศึกษาขอมูลทุติยภูมิ ซึ่งทําการศึกษาขอมูลจากเอกสารทางวิชาการบทความ ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนําขอมูลที่ไดมาอางอิงในการดําเนินการวิจัย และเพื่อนํามากลาวอางในบทสรุปเพื่อใหผลการดําเนินงานวิจัยมีความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น6.2 สมมุติฐานอาคารเรียนชั่วคราวกึ่งสําเร็จรูปชั้นเดียวตนแบบ ควรไดรับการออกแบบปรับปรุงใหม เพื่อใหตอบสนองและสอดคลองกับความตองการไดมากขึ้น ทั้งในดานสถาปตยกรรม ระยะเวลา และราคาในการกอสราง โดยคํานึงถึงลักษณะทางสถาปตยกรรมที่เหมาะสม ใชการออกแบบระบบประสานทางพิกัด ใชกรรมวิธีการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป และเลือกใชวัสดุกอสรางที่เหมาะสม6.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยการวิจัยนี้เปนการวิจัยโดยการเฝาสังเกตการณ และบันทึกขอมูลขณะดําเนินการกอสรางอาคารตนแบบแลวนํามาวิเคราะหหาขอบกพรอง เพื่อหาแนวทางในการการออกแบบปรัปรุงอาคารเรียนชั่วคราวใหดีขึ้น โดยใชแบบบันทึกรายละเอียดการกอสรางซึ่งผูจัยสรางขึ้นมา เพื่อใชสําหรับเก็บขอมูลที่สังเกตการณไดจากการกอสรางอาคารตนแบบ เพื่อเก็บรายละเอียดของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแตละชวงเวลา โดยมีรายละเอียดที่จดบันทึกคือ วันเดือน ป รายการการทํางาน จํานวนคนงาน ระยะเวลาที่ใชในการทํางาน ปญหาที่เกิดขึ้นในการทํางาน และจดบันทึกเปนรูปภาพเพื่อความเขาใจ และใชกลองถายรูป บันทึกภาพขั้นตอน และรายละเอียดในการกอสราง โดยแบงการบันทึกภาพออกเปน 2 สวนคือ การบันทึกภาพจากจุดอางอิง เพื่อใหเห็นพัฒนาการในการกอสรางอาคารจากมุมเดียวกัน และการถายภาพแยกเฉพาะจุด เพื่อใหเห็นถึงรายละเอียดที่เกิดขึ้นในการกอสรางอาคาร และนําภาพที่ไดจากการบันทึกมาเรียบเรียง และแทรกเขากับใบบันทึกรายละเอียดกอสราง6.4 การวิเคราะหขอมูลการวิเคราะหขอมูลในการทําวิจัยนี้ แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการออกแบบและกอสรางอาคารตนแบบ เพื่อหาแนวทางในการออกแบบแกไขอาคารปรับปรุง และการวิเคราะหขอมูลเพื่อการออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราว โดยแบงการวิเคราะหออกเปนหลายประเด็น เพื่อใหการออกแบบปรับปรุงนี้สามารถตอบสนองกับความตองการไดดีที่สุด และการวิเคราะหเปรียบเทียบอาคารตนแบบและอาคารที่ไดรับการออกแบบปรับปรุง เพื่อเปรียบเทียบขอดี และขอเสียของการออกแบบปรับปรุงใหม โดยแบงการวิเคราะหเปรียบเทียบออกเปน 4 หัวขอ คือ การวิเคราะหเปรียบเทียบดานสถาปตยกรรม กรรมวิธีและขั้นตอนการกอสรางระยะเวลาการกอสราง และราคาคากอสรางอาคาร33


7. การศึกษาการออกแบบและกอสรางอาคารเรียนตนแบบในการออกแบบและกอสรางอาคารเรียนชั่วคราวตนแบบนี้ ทางกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในมีความตองการใหอาคารเรียนชั่วคราวนี้กอสรางใหแลวเสร็จภายใน 3 วันหลังจากเกิดเหตุการณความไมสงบขึ้นในพื้นที่ และคาดวาอาคารนี้จะตองใชงานเปนระยะเวลานานอยางนอย 1 ป ระหวางรอการกอสรางอาคารเรียนถาวรขึ ้นทดแทน และเนื่องจากโรงเรียนในพื้นที่มีหลากหลายขนาด จึงมีความตองการใหอาคารเรียนนี้สามารถปรับเปลี่ยนการใชสอยของอาคารไดหลากหลาย นอกจากนี้ยังมีความตองการใหชิ้นสวนอาคารดังกลาวมีขนาดไมใหญมากนัก สามารถเคลื่อนยายไดสะดวก เนื่องจากในบางพื้นที่เครื่องจักรหนักไมสามารถเขาถึงไดจากการศึกษาการออกแบบและกอสรางอาคารเรียนตนแบบ พบวาการออกแบบอาคารนั้นไมไดคํานึงถึงลักษณะสภาพแวดลอมของพื้นที่บริเวณภาคใต อาคารเรียนตนแบบจึงเปนอาคารที่ไมเหมาะสมกับพื้นที่ในบริเวณดังกลาวมากนัก นอกจากนั้นยังไมสามารถตอบสนองความตองการของเจาของอาคารไดเนื่องจากหองเรียนมีขนาดเล็กเกินไป (36 ตร.ม) ไมสามารถเปลี่ยนแปลงพื้นที่การใชสอยได กรรมวิธีขั้นตอนในการกอสรางอาคารเปนแบบการกอสรางในสถานที่กอสราง ซึ่งใชระยะเวลาในการกอสรางมากเกินกวาที่กําหนด คือ 4 วัน 7 ชั่วโมงและใชวัสดุกอสรางปริมาณมาก ซึ่งสงผลใหราคาคากอสรางอาคารสูงเกินความจําเปนจากการวิเคราะหขอมูลจากการสังเกตการณการออกแบบและกอสรางอาคารเรียนตนแบบ ผูวิจัยเชื่อวาการกอสรางอาคารเรียนชั่วคราวกึ่งสําเร็จรูปชั้นเดียวตนแบบ ควรไดรับการออกแบบปรับปรุงใหม โดยออกแบบคํานึงถึงระยะทางพิกัดของวัสดุกอสรางและการใชงานอาคารมากขึ้น เลือกใชกรรมวิธีการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป เลือกใชวัสดุกอสรางที่เหมาะสม ซึ่งจะทําใหอาคารเรียนปรับปรุงสามารถตอบสนองความตองการไดมากขึ้น ทั้งในดานสถาปตยกรรม ระยะเวลาในการกอสราง และราคาคากอสราง8. การวิเคราะหแนวทางเพื่อการออกแบบปรับปรุงในการออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราวนี้ ผูวิจัยไดศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และทําการวิเคราะหแนวทางในการออกแบบ โดยศึกษาสภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ ศึกษาแนวทางการออกแบบอาคารที่เหมาะสมกับพื้นที่บริเวณภาคใต ศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลความรอนที่มีตออาคารและแนวทางการแกปญหา ศึกษาเปรียบเทียบเลือกวัสดุกอสราง รวมไปถึงการศึกษาเลือกระยะทางพิกัดที่เหมาะสม จากนั้นนําขอมูลจากการศึกษาดังกลาวไปใชในการกําหนดรูปแบบทางสถาปตยกรรมของอาคารเรียนชั่วคราวปรับปรุง34


9. การออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราวในการออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราวกึ่งสําเร็จรูปชั้นเดียวในโครงการโรงเรียนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ผูวิจัยไดคํานึงถึงระยะประสานทางพิกัดรวมกันระหวางผูใชสอยอาคารทั้งผูใหญ และเด็กและระยะพิกัดของวัสดุกอสราง เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดขนาดและระยะตาง ๆ ในการออกแบบ และพยายามลดจํานวนปริมาณวัสดุกอสรางที่ใชในโครงการ เพื่อเปนการลดราคาคากอสราง และระยะเวลาในการกอสรางนอกจากนั้นผูวิจัยยังทําการวิเคราะหเลือกใชวัสดุกอสรางที่มีความเหมาะสม และสามารถตอบสนองความตองการของเจาของโครงการไดมากขึ้นการเลือกใชวัสดุสําหรับระบบโครงสรางของอาคาร เนื่องจากมีความตองการใหอาคารนี้มีความสะดวกรวดเร็วในการขนยาย และกอสราง นอกจากนั้นยังตองการใหสามารถถอดแยกชิ้นสวนแลวนํากลับมาประกอบใชใหมได จึงเลือกที่จะใชโครงสรางเหล็กประเภทโครงเหล็กเบารับน้ําหนัก เนื่องจากคุณสมบัติของวัสดุที่มีความแข็งแรงสูง แตมีน้ําหนักเบา จึงทําใหอาคารมีความแข็งแรง สามารถกอสราง ขนยาย และประกอบชิ้นสวนไดงายโดยไมตองใชเครื่องจักรหนัก นอกจากนี้ยังสามารถตัดแตงชิ้นสวนมาจากโรงงานกอนทําการประกอบที่สถานที่กอสราง ทําใหสามารถประหยัดเวลาการกอสรางไปไดมาก และในการถอดแยกชิ้นสวนเพื่อรอการนํามาใชใหมก็สามารถทําไดโดยงาย นอกจากนั ้นยังออกแบบใหสนับสนุนกับการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูปไดจากการศึกษาขนาดของพื้นที่ใชสอยของผูใชอาคาร และการศึกษาวัสดุกอสรางที่มีความเหมาะสมในการนํามาใช พบวาวัสดุกอสรางที่เหมาะสมกับการกอสราง จะเปนวัสดุแผนสําเร็จรูปซึ่งมีขนาดมาตราฐานคือ 120ซม. X 240ซม., 30ซม. X 120ซม., 120ซม. X ความยาวไมจํากัด และวัสดุบางสวนที่สั่งตัดพิเศษ ซึ่งจากขนาดของวัสดุดังกลาว ผูวิจัยไดกําหนดระยะประสานทางพิกัดของวัสดุกอสรางที่นํามาใชเปนขนาด 30 ซม. สวนระยะประสานทางพิกัดของการใชสอยนั้น จากการศึกษา พบวาระยะประสานทางพิกัดที่เหมาะสมทางการใชงานคือขนาด 30 ซม.เชนกัน โดยอางอิงขนาดจาก AN OPEN MODULAR BUILDING SYSTEM (BUILDINGINFORMATION INSTITUTION, HELSINKI)35


ในการออกแบบ ผูวิจัยแบงอาคารเรียนชั่วคราวออกเปน 3 ขนาด โดยแบงขนาดจากจํานวนนักเรียนในแตละหองเรียนโดยเฉลี่ยของโรงเรียนในภาคใต คือขนาด 25 40 และ 50 คน หรือขนาดพื้นที่ใชสอย 46.24 ตร.ม.58.48 ตร.ม. และ 68.68 ตร.ม.ตามลําดับ จากนั้นทําการออกแบบชิ้นสวนประกอบอาคาร โดยพยายามลดจํานวนของชิ้นสวนประกอบยอย และชิ้นสวนโครงสรางหลักของอาคาร และเปลี่ยนกรรมวิธีการกอสรางแบบเดิมเปนการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป ซึ่งจะสามารถชวยลดระยะเวลาในการติดตั้งชิ้นสวนอาคารในสถานที่กอสรางไดมากเนื่องจากสามารถเตรียมชิ้นสวนอาคารจากโรงงานผลิตชิ้นสวนได และทําการติดตั้งชิ้นสวนอาคารเขาดวยกันในสถานที่กอสรางเทานั้น10. การวิเคราะหเปรียบเทียบการออกแบบ และสรุปผลการศึกษา10.1 การวิเคราะหเปรียบเทียบดานการออกแบบสถาปตยกรรมจากการวิเคราะหเปรียบเทียบดานการออกแบบสถาปตยกรรม พบวาอาคารเรียนปรับปรุงนั้นสามารถตอบสนองกับสภาพแวดลอมไดดีกวาอาคารตนแบบ มีการคํานึงถึงสภาพแวดลอมโดยรอบ แสงสวาง การระบายลม และการปองกันความรอน ในการออกแบบพื้นที ่ใชสอยของอาคารพบวาอาคารปรับปรุงสามารถตอบสนองความตองการไดดี สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ใชสอยได และสามารถตอหองเรียนเขาดวยกันหลายหองไดหากพื้นที่ใชสอยไมพอกับความตองการ ในการเลือกใชวัสดุกอสรางผูวิจัยไดคํานึงถึงความตองการของผูใชอาคารมากขึ้น ทั้งแสงสวาง การระบายลม และการลดความรอนเขาสูตัวอาคาร นอกจากนั้นยังคํานึงถึงการประยุกตใชกับการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูปดวย10.2 การวิเคราะหเปรียบเทียบปริมาณและจํานวนวัสดุกอสรางที่ใชเนื่องจากเจาของโครงการตองการใหการกอสรางอาคารเรียนชั่วคราวนี้กอสรางเสร็จภายใน 3 วัน ผูวิจัยจึงพยายามลดปริมาณของวัสดุ ลดจํานวนชิ้นสวน และลดรูปแบบของวัสดุกอสรางลง เพื่อที่จะเปนการลดระยะเวลา และงบประมาณที่ใชในการกอสรางอาคารเรียนปรับปรุงลง36


โดยสามารถสรุปผลการศึกษาไดวา อาคารเรียนชั่วคราวที่ไดรับการออกแบบปรับปรุง สามารถลดปริมาณวัสดุกอสรางโดยรวมจากอาคารตนแบบไดพอสมควร คือ อาคารตนแบบใชวัสดุกอสราง 100% อาคารปรับปรุงขนาด เล็ก 75% อาคารปรับปรุงขนาดกลาง 69% และอาคารปรับปรุงขนาดใหญ 70%37


ในการเปรียบเทียบจํานวนชิ้นสวนวัสดุกอสราง พบวาหลังจากออกแบบปรับปรุง จํานวนชิ้นสวนวัสดุลดลงเปนมาก ทั้งอาคารขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ สวนการเปรียบเทียบจํานวนรูปแบบของชิ้นสวนกอสราง พบวารูปแบบของชิ้นสวนกอสรางลดลงสําหรับชิ้นสวนที่ตองวัดและตัดในสถานที่กอสราง สวนชิ ้นสวนจะไดรับการตัดแตงเตรียมจากโรงงานผลิตมีจํานวนมากขึ้น ซึ่งการเพิ่มขึ้นของจํานวนรูปแบบนี้ไมสงผลตอระยะเวลา และราคาในการกอสรางอาคาร10.3 การวิเคราะหเปรียบเทียบกรรมวิธีขั้นตอนการกอสรางในการกอสรางอาคารปรับปรุง ผูวิจัยไดเลือกใชการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป ซึ่งทําการประกอบชิ้นสวนอาคารจากโรงงานผลิตชิ้นสวน และทําการขนยายชิ้นสวนดังกลาวไปติดตั้งในสถานที่กอสรางจริงภายหลัง ทําใหสามารถลดระยะเวลาที่ตองใชในการกอสรางในสถานที่จริงนั้นลดลง เนื่องจากไมตองเสียเวลาประกอบชิ้นสวนอาคารในสถานที่กอสราง เพียงแคทําการติดตั้งชิ้นสวนอาคารเขาดวยกันเทานั้น วิธีการกอสรางวิธีนี้จึงทําใหสามารถตอบสนองความตองการของเจาของโครงการไดนอกจากจะสามารถลดระยะเวลาการกอสรางในสถานที่จริงลงแลว ผูวิจัยเชื่อวาการเตรียมชิ้นสวนอาคารไวกอนการเกิดเหตุการณไมสงบขึ้นนั้น จะมีความเหมาะสมและสามารถตอบสนองความตองการไดรวดเร็วกวาการกอสรางอาคารหลังจากเกิดเหตุการณดังกลาวแลว และชวยใหการประกอบชิ้นสวนตางๆมีความถูกตองปราณีตกวาการประกอบชิ้นสวนในสถานที่กอสรางจริง สามารถควบคุมมาตราฐาน และคุณภาพในการผลิตชิ้นสวนไดดีกวา ซึ่งจะสามารถลดปญหาในการติดตั้งชิ้นสวนเขาดวยกันได10.4 การวิเคราะหเปรียบเทียบระยะเวลาในการกอสรางในการเปรียบเทียบระยะเวลาการกอสราง เนื่องจากผูวิจัยไดออกแบบลดจํานวนชิ้นสวนวัสดุกอสรางลงระยะเวลาในการกอสรางอาคารนั้นจึงลดลงตามไปดวยเปนสัดสวน คือ อาคารตนแบบใชเวลากอสรางรวม 43 ชม.อาคารปรับปรุงขนาดเล็กใชเวลา 33.1 ชม. อาคารขนาดกลางใชเวลา 36.6 ชม. และอาคารขนาดใหญใชเวลากอสรางรวม 36.08 ชม. ซึ่งระยะเวลาดังกลาวจะนับรวมเวลาตั้งแตเริ่มประกอบชิ้นสวนอาคาร แตในการกอสรางอาคารปรับปรุง ผูวิจัยเลือกใชวิธีการกอสรางระบบกึ่งสําเร็จรูป ระยะเวลาในการติดตั้งอาคารในสถานที่กอสรางจึงลดลงไปอีกจากการเปรียบเทียบ พบวาใชเวลาในการประกอบติดตั้งอาคารตนแบบ 43 ชม. อาคารปรับปรุงขนาดเล็กใชเวลา 11.48 ชม. อาคารขนาดกลาง 15.72 ชม. และอาคารขนาดใหญ 16.28 ชม. หรือหากเทียบเปน % คือ อาคารขนาดเล็กใชเวลาประกอบอาคารเปนระยะเวลาเพียงแค 26.72 % ของอาคารตนแบบ อาคารขนาดกลางและใหญใชเวลา 36.55 % และ 37.86 % ตามลําดับ38


10.5 การวิเคราะหเปรียบเทียบราคาคากอสรางอาคารในการศึกษาเปรียบเทียบราคาคากอสรางอาคารเรียน เนื่องจากราคาของวัสดุอุปกรณประกอบตางๆของโครงสรางเหล็กเบารับน้ําหนักนั้นเปนความลับของทางบริษัทบลูสโคป ไลสาจท(ประเทศไทย) จํากัด ผูวิจัยจึงขอใชราคาคากอสรางจากคําบอกเลาในการสัมภาษณผูออกแบบ วิศวกร และผูบริหารของโครงการนี้ ซึ่ง สามารถสรุปประมาณราคาคากอสรางอาคารตนแบบได คือ ประมาณ 450,000 บาท หรือ 12,500 บาท/ตร.ม และเนื่องจากผูวิจัยไมทราบรายละเอียดราคาของวัสดุกอสราง จึงประเมินราคาคากอสรางจากปริมาณการใชวัสดุกอสรางโดยรวมในการกอสรางอาคารดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา ราคาคากอสรางอาคารที่ไดรับการออกแบบปรับปรุงขนาดเล็ก กลาง และขนาดใหญ คือ 9369 บาท/ตร.ม. 8609 บาท/ตร.ม. และ 8664บาท/ตร.ม. ตามลําดับ ลดลงจากการกอสรางอาคารตนแบบถึง 3<strong>13</strong>1 – 3891 บาท/ตร.ม. หรือคากอสรางตอตารางเมตรลดลง อาคารปรับปรุงขนาดเล็ก 25.05% ขนาดกลาง 31.<strong>13</strong>% และขนาดใหญลดลง 30.69%39


11. ขอเสนอแนะในการวิจัยนี้ เนื่องจากยังไมมีการกอสรางอาคารเรียนที่ไดรับการออกแบบปรับปรุงขึ้นจริง การเปรียบเทียบในงานวิจัยนี้จึงเปนการเปรียบเทียบจากการสังเกตการณการออกแบบและการกอสรางอาคารตนแบบและนํามาเปรียบเทียบกับอาคารเรียนปรับปรุงกันทางสถิติเทานั้น หากมีการนําอาคารเรียนปรับปรุงนี้ไปใชในการกอสรางจริง และมีการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนํามาเปรียบเทียบกับการอาคารตนแบบ จะทําใหมีขอมูลที่ถูกตองชัดเจนมากขึ้นจากการทําการวิจัยนี้ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะสําหรับผูออกแบบ และการทําวิจัยในครั้งตอไปดังตอไปนี้11.1 ขอเสนอแนะสําหรับผูออกแบบในการออกแบบ ผูวิจัยเห็นวา การออกแบบที่คํานึงถึงระยะประสานทางพิกัด สามารถชวยลดปริมาณวัสดุกอสราง ลดระยะเวลาในการกอสราง และลดราคาคากอสรางได แตตองคํานึงถึงระยะประสานทางพิกัดทั้งจากการใชงานอาคารและวัสดุกอสรางตั้งแตเริ่มการออกแบบอาคารในการออกแบบรอยตอชิ้นสวนอาคาร หากใชวิธีการขันสกรูแบบเดิม อาจจะไมเหมาะสมกับการนําไปใชกับอาคารบานพักอาศัย หรืออาคารที่ตองการความเรียบรอยของงานมาก เนื่องจากบริเวณรอยตอจะไมเรียบเปนระดับเดียวกันทั้งหมด ควรมีการออกแบบรอยตอแบบอื่นที่เหมาะสมมากกวานี้11.2 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไปผูวิจัยเห็นวา ควรมีการเก็บขอมูลในการกอสรางอาคารเรียนปรับปรุง และเก็บขอมูลเกี่ยวกับปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางจริง ระยะเวลาในการกอสราง และราคาคากอสรางอาคาร เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับอาคารตนแบบอีกครั้งหนึ่งผูวิจัยเห็นวา ควรมีการเก็บขอมูลหลังจากการใชงานอาคาร เพื่อตรวจสอบความสามารถในการตอบสนองการใชงาน ความเสียหายจากการใชงานและระยะเวลาการใชงาน และการดูแลรักษาอาคารผูวิจัยเห็นวา ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับทัศนคติ และการยอมรับ การกอสรางอาคารดวยวัสดุเหล็กเบารับน้ําหนัก และการกอสรางอาคารดวยระบบกึ่งสําเร็จรูป เนื่องจากเปนวัสดุ และระบบการกอสรางที่ไมเปนที่รูจักแพรหลายสําหรับคนทั่วไปผูวิจัยเห็นวา ควรมีการทดลองออกแบบ และกอสรางอาคารประเภทอื่นจากวัสดุเหล็กเบารับน้ําหนัก และการกอสรางในระบบกึ่งสําเร็จรูป เชน บานชั้นเดียว บาน 2 ชั้น อาคารสาธาณะขนาดเล็กตาง ๆ เพื่อเปนการนําเสนอวัสดุและระบบการกอสรางนี้ใหกับคนทั่วไปไดรูจักมากขึ้น40


รายการอางอิงภาษาไทยคณะอนุกรรมการโครงสรางเหล็ก ว.ส.ท.. รายงานการสัมมนาเรื่องโครงสรางเหล็กสําหรับประเทศไทยในยุคโลกาภิวัตน. โยธาสาร ปที่7ฉบับที่2 (เดือนกุมภาพันธ ป2538).จรัญพัฒน ภูวนันท. อุตสาหกรรมเหล็กกับการกอสรางบานในอนาคต. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.จาตุรนต วัฒนผาสุข. ระบบการกอสรางโดยวิธี Prefabrication ในกทม. รายงานการวิจัยภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2528.เฉลิม สุจริต. หนวยพิกัดตางๆ. เอกสารประการอบรมเรื่อง ระบบประสานพิกัดในงานกอสรางสถานที่ราชการ 2520.ชลธี อิ่มอุดม. ระบบโครงสรางทางสถาปตยกรรม. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.ชนินทร แซเตียว. แนวทางการออกแบบงานกอสรางบานแถวดวยระบบประสานทางพิกัด. ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.ไตรรัตน จารุทัศน. ระบบการกอสรางอุตสาหกรรมสําหรับที่พักอาศัยผูมีรายไดปานกลางในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. ปริญญามหาบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทาลัย, 2535.ปยนุช เตาลานนท. พัฒนาการการกอสรางงานสถาปตยกรรม. พัฒนาการวิชาการสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2547.วินิต ชอวิเชียร. การออกแบบโครงสรางเหล็ก. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>1. กรุงเทพฯ : วินิต ชอวิเชียร, 2539.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย. แนวโนมและการพัฒนาโครงสรางเหล็กในประเทศไทย. โยธาสาร ปที่7ฉบับที่4 (เดือนเมษายน ป2538).ทวี สีบุญเรือง. ลูทางการพัฒนาการกอสรางระบบอุตสาหกรรม. เอกสารในการสัมมนา ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย .พิชัย โอภานุกิจ. ระบบการกอสรางอุตสาหกรรมกับการพัฒนาที่อยูอาศัย. เอกสารประกอบการสัมมนางานจุฬาวิชาการ<strong>ครั้งที่</strong> <strong>13</strong> ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2545.ภาณุรัตน โพธงาม. การศึกษาเปรียบเทียบเทคโนโลยีการกอสรางบานเดี่ยว 2 ชั้น ดวยชิ้นสวนสําเร็จรูป ระบบผนังรับน้ําหนัก: กรณีศึกษาโครงการหมูบานภัสสรและโครงการหมูบานซื่อตรง รังสิตคลอง 3 จังหวัดปทุมธานี. ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.เรืองศักดิ์ กันตะบุตร. Modular Design & Structural System. เอกสารประกอบการอบรมเรื่อง ระบบประสานทางพิกัดในงานกอสรางสถานที่ราชการ 2520.สมภพ มาจิสวาลา. การประเมินที่อยูอาศัยกึ่งสําเร็จรูปในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. วิทยานิพนธ, มหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2541.ศุภสิทธิ์ พฤกษโชติ. การนําวิธีการกอสรางกึ่งสําเร็จรูปมาใชกับโครงการบานเดี่ยวสําหรับผูมีรายไดนอย: กรณีศึกษา โครงการบานเอื้ออาทร รังสิตคลอง 3 จังหวัดปทุมธานี. ปริญญามหาบัญฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2547.ศูนยวิจัยและพัฒนาการกอสรางแหงชาติ. การประสานทางพิกัดในงานกอสรางอาคารสําหรับประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรประยุกตแหงประเทศไทย, 25<strong>13</strong>.ภาษาอังกฤษAlan Blanc, Michale McEvoy and Roger Plank. Architecture and Construction in Steel. 1 st edt. London : E&FN Spon, 1993.Arne Petter Eggen and Bjorn Normann Sandaker. Steel Structure and Architecture. 1 st edt. New York : Watson-GuptillPublications, 1995.David Bennett. Skyscrapers Form&Function. 1 st edt. Newyork : Simon&Schuster,1995.Malcolm Millais. Building Structures from concepts to design. 2 nd edt. New York :Spon Press, 2005.41


การบริหารทรัพยากรกายภาพโรงเรียนนานาชาติในกรุงเทพมหานครกรณีศึกษา: โรงเรียนเทรลอินเตอรเนชันแนล โรงเรียนนานาชาติฝรั่งเศสกรุงเทพและโรงเรียนฮารโรวอินเตอรเนชั่นแนลFACILITY MANAGEMENT OF INTERNATIONAL SCHOOL IN BANGKOK : CASE STUDIES OFTRAILL INTERNATIONAL SCHOOL, LE LYCEE FRANCAIS INTERNATIONAL DE BANGKOK ANDHARROW INTERNATIONAL SCHOOL.นายธงชัย สัญญาอริยาภรณหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอโรงเรียนนานาชาติเปนสถานที่ประกอบไปดวยทรัพยากรกายภาพที่หลากหลายและมีจํานวนมาก เชนอาคารเรียน อาคารสํานักงาน อาคารทางการกีฬา สนามกีฬาในรม สนามกีฬากลางแจง ทางเดินเชื่อม สนามเด็กเลน สระวายน้ํา บอน้ํา พื้นที่สวน และตนไม ฯลฯ โดยมีผูใชอาคารเปนนักเรียนและบุคลากรที่แตกตางทั้งวัยและเชื้อชาติ อีกทั้งกิจกรรมการเรียนมีความหลากหลาย หากไมไดรับการจัดการและดําเนินการที่ดี มักสงผลใหเกิดความติดขัดในการดําเนินกิจกรรม การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษา ลักษณะการบริหารจัดการ งานดานอาคารสถานที่ของโรงเรียนนานาชาติ และเพื่อศึกษาปญหาที่สงผลตอการบริหารจัดการงานดานอาคารสถานที่ของโรงเรียนนานาชาติ โดยใชวิธี การสัมภาษณ สํารวจ สังเกตการณ เก็บขอมูล จากกรณีศึกษา 3 แหงไดแก โรงเรียนฮารโรว โรงเรียนเทรล โรงเรียนฝรั่งเศสกรุงเทพจากการศึกษาพบวา อาคารของโรงเรียนยังประกอบไปดวยกลุมอาคารแบบราบ โดยมีความสูงของอาคารตั้งแต 1 -6ชั้น และมีระบบประกอบอาคารพื้นฐาน ระบบไฟฟา ระบบแสงสวาง ระบบสื่อสาร ระบบประปาสุขาภิบาลและลิฟท หนวยงานดานอาคารสถานที่ของโรงเรียนประเภทนี้พบวามีอยู 2ลักษณะ คือแบบที่มีหนวยงานเฉพาะ และแบบที่ไมมีหนวยงานโดยเฉพาะ มีเพียง 1 โรงเรียน คือโรงเรียนฯฮารโรว การดําเนินการดานอาคารมีการดําเนินการดานนโยบาย 2 ลักษณะคือ โรงเรียนที่มีนโยบายในการจัดการที่ชัดเจนโดยมีเอกสารกับโรงเรียนที่ไมมีนโยบายที่ชัดเจนโดยมีเพียงการบอกกลาว มักใชวิธีปฏิบัติงานเชิงรับ มากกวาเชิงรุกหรือมักดําเนินการซอมแซมมากกวาบํารุงรักษา สวนโรงเรียนที่มีนโยบายชัดเจนจะเนนที่การบํารุงรักษามากกวา เสียแลวซอม โรงเรียนเทรล โรงเรียนฝรั่งเศสกรุงเทพ มีการบริหารงานดานอาคารสถานที่โดยอาศัยเจาหนาที่ของหนวยงานของโรงเรียนดําเนินการเอง สวนการบริหารอาคารและการบํารุงรักษาใชการจัดจางบริษัทภายนอกดําเนินการบางสวน และมีเพียงโรงเรียนฮารโรวที่ดําเนินการโดยการจัดจางบริษัทภายนอกมาดําเนินการจากกรณีศึกษาทั้ง 3 พบวา โครงสรางการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ของโรงเรียนนานาชาติอาจจําแนกไดเปน 2 แบบ คือ1.การดําเนินการสวนใหญเปนแบบผสม ระหวางเจาหนาที่ภายในและบริษัทภายนอก โดยงานสวนใหญอาศัยเจาหนาที่ภายในยกเวนงานดานบริการอาคารสวนใหญใชบริษัทจากภายนอกดําเนินการ42


2.การจัดการและดําเนินการทั้งวิธีจางบริษัทจากภายนอก(Out sourcing) ทั้งหมดและดําเนินการโดยเจาหนาที่ภายในโรงเรียน มีปจจัยมาจากดานคาเลาเรียน จากนโยบายของผูบริหารและลักษณะทางกายภาพของโรงเรียนความเปนมาและสาระสําคัญโรงเรียนนานาชาติเปนสถานที่ประกอบไปดวยทรัพยากรกายภาพที่หลากหลายและมีจํานวนมาก เชนอาคารเรียน อาคารสํานักงาน อาคารทางการกีฬา สนามกีฬาในรม สนามกีฬากลางแจง ทางเดินเชื่อม สนามเด็กเลน สระวายน้ํา บอน้ํา พื้นที่สวน และตนไม ฯลฯ โดยมีผูใชอาคารเปนนักเรียนและบุคลากรที่แตกตางทั้งวัยและเชื้อชาติ อีกทั้งกิจกรรมการเรียนมีความหลากหลาย หากไมไดรับการจัดการและดําเนินการที่ดี มักสงผลใหเกิดความติดขัดในการดําเนินกิจกรรมปจจุบันการตระหนักถึง ความจําเปนในการบริหารจัดการทรัพยากรกายภาพ (Facility management)ในโรงเรียนนานาชาติเริ่มมีความสําคัญ แตยังขาดรูปแบบการจัดการวางองคกรหนวยงาน และวิธีการที่เปนระบบที่ชัดเจน ในขณะที่การดําเนินการดานนี้ในประเทศไทยจัดวาเปนเรื่องใหมที่ยังไมมีการศึกษา จึงทําการศึกษาสืบคนและทําการศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรกายภาพโรงเรียนนานาชาติตอไปวัตถุประสงคของการศึกษาการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค คือเพื่อศึกษาลักษณะโครงสรางองคกรและหนวยงานที่เกี่ยวของกับงานดานอาคารสถานที่ ของโรงเรียนนานาชาติเพื่อศึกษาลักษณะการบริหารจัดการ,การวางแผนและวิธีดําเนินการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ของโรงเรียนนานาชาติวิธีศึกษาโดยกําหนดขอบเขตการศึกษาเฉพาะโรงเรียนนานาชาติในกรุงเทพมหานครโดยเลือก กรณีศึกษา 3โรงเรียน คือ โรงเรียนเทรลอินเตอรเนชันแนล โรงเรียนฝรั่งเศสนานาชาติกรุงเทพ และโรงเรียนฮารโรวอินเตอรเนชั่นแนลสคูลจากนั้นการกําหนดกรอบแนวทางการศึกษาแบงไดดังนี้คือแนวคิดและทฤษฎี หลักการแนวคิดและกรอบการบริหารทรัพยากรกายภาพ,ระบบบริหารจัดการทรัพยากรขอมูลพื้นฐานทั่วไปลักษณะทางกายภาพของอาคารสถานที่การดําเนินงานดานอาคารสถานที่ปจจัยที่มีผลตอการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ของโรงเรียนนานาชาติ43


โดยการสัมภาษณผูบริหารโรงเรียนและผูที่เกี่ยวของศึกษาลักษณะการบริหารจัดการ การวางแผน วิธีการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ ศึกษาสภาพกายภาพปจจุบันของโรงเรียนนานาชาติ โดยการสํารวจผลการศึกษา1.โรงเรียน เทรลอินเตอรเนชั่นแนลจากการศึกษาสภาพปจจุบัน พบวา1.1 ลักษณะทั่วไป โรงเรียนไดเปดทําการสอนมาประมาณ 43 ป(เปดเมื่อป2509) หลักสูตรการสอนเปนแบบอังกฤษ เปดทําการสอนตั้งแต อนุบาล จนถึงมัธยมปลาย มีนักเรียนประมาณ 300 คน ครูและเจาหนาที่34 คน คาเลาเรียนในระดับมัธยมปลายตอปการศึกษาประมาณ 262,260 -289,980 บาท1.2 ลักษณะทางกายภาพของอาคารสถานที่ อาคารเปนอาคารคอนกรีตเปนกลุมอาคารทางราบมีความสูงไมเกิน4 ชั้น มีอาคาร 6 หลัง พื้นที่อาคารรวม 4,180 ตรารางเมตร ระบบประกอบอาคารเปนระบบพื้นฐานปกติไมมีความสลับซับซอน มีพื้นที่สีเขียว สนามเด็กเลน สระวายน้ําและโรงยิม ที่ตั้งโรงเรียนอยูในยานรามคําแหง เนื้อที่คอนขางจํากัด ประมาณ3.3ไรยากตอการขยายตัวในอนาคต1.3 การดําเนินงานดานอาคารสถานที่ เจาของโรงเรียนเปนผูดําเนินการเองโดยตรง และผูปฎิบัติสวนใหญเปนเจาหนาที่ของโรงเรียน ไมมีหนวยงานดานอาคารสถานที่โดยตรง แตจะมีฝายตางๆที่เกี่ยวของโดยอยูภายในสํานักงาน มีเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ 11 คน นโยบายและแผนการดานอาคารสถานที่ไมมีการระบุเปนเอกสาร มีเพียงการบอกลาวคือใหใชการไดดีสะอาดปลอดภัยตลอดเวลาทําการ การดําเนินงานมีหนวยงานภายใตการดูแลคือ งานรักษาความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานกําจัดปลวกและแมลง งานซอมแซมและงานดูแลสวน โดยงานที่จางบริษัทปฏิบัติงานภายนอก มีดังนี้ รักษาความปลอดภัยจะแบงเปน สองกะ คือกะ เชาและกะค่ํา โดยเนนที่ประตูทางเขาออกเปนหลัก ทําหนาที่ตรวจคนเขาออก งานกําจัดปลวกแมลงโดยผูรับเหมาจะมาดําเนินการในชวงวันหยุดทําการ เดือนละครั้ง งานซอมหนักจําพวกอุปกรณไฟฟาที่เกี่ยวของ สวนงานที่จางพนักงานประจํามีงานรักษาความสะอาดใชวิธีจางพนักงานประจํา โดย ใหแตละตึกมีพนักงานประจํา 1คน เพื่อทําความสะอาดตลอดเวลาและ งานซอมแซมทั่วไปและงานดูแลสวนมีพนักงานประจําหนึ่งคนทําหนาที่งานโครงการ กอสรางอาคารใหมเนื่องจากการขยายแผนธุรกิจเชนการรับจํานวนนักเรียนเพิ่มการสรางอาคารรองรับตอการขยายตองจางผูที่ปรึกษาที่มีความชํานาญเฉพาะดานมาดําเนินการซึ่งมีการดําเนินการเพียงไมกี่ครั้งตั้งแตเปดโรงเรียน1.4 ปจจัยที่สงผลตอการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ สภาพกายภาพที่เริ่มชํารุดทรุดโทรม และปจจัยทางดานการเงิน และผูบริหารมองวางานดานอาคารสถานที่เปนงานที่ปฎิบัติกันมาจนเปนรุปแบบซ้ําๆดังนั้นปญหาที่ผานมาจึงเปนปญหาเล็กนอยสามารถแกไขได และความเขาใจตลอดจนการใหความสําคัญงานดานนี้มีนอยมาก2.โรงเรียนฝรั่งเศสนานาชาติกรุงเทพจากการศึกษาสภาพปจจุบัน พบวา44


2.1 ลักษณะทั่วไป โรงเรียนไดเปดทําการสอนมาประมาณ 6 ป(เปดเมื่อป2546) เปนสถานบันที่ดําเนินการตามหลักการของ AEFE (หนวยงานดูแลการเรียนการสอนฝรั่งเศสในตางประเทศ)เปนสถาบันที่ผูปกครองมีสวนรวมในการบริหาร โรงเรียนเปนหนึ่งในเครือขายโรงเรียนฝรั่งเศสในตางประเทศที่มีมากกวา 400แหงซึ่งลวนแตไดรับการรับรองอยางเปนทางการจากกระทรวงการศึกษาฝรั่งเศส เปดทําการสอนตั้งแต อนุบาลจนถึงมัธยมปลาย มีนักเรียนประมาณ 800 คน คาเลาเรียนในระดับมัธยมปลายตอปการศึกษาประมาณ90,564 บาท2.2 ลักษณะทางกายภาพของอาคารสถานที่ อาคารเปนอาคารคอนกรีตเปนกลุมอาคารทางราบมีความสูงไมเกิน2 ชั้น มีอาคาร 8หลัง พื้นที่อาคาร 7,371ตารางเมตร ระบบประกอบอาคารเปนระบบพื้นฐานปกติไมมีความสลับซับซอน มีพื้นที่สีเขียว สนามเด็กเลน สระวายน้ําและโรงยิม ที่ตั้งโรงเรียนอยูเขตวังทองหลางเนื้อที่ ประมาณ19ไร ยังสามารถการขยายตัวในอนาคตไดและมีการวางแผนจะขยายในอนาคต2.3 การดําเนินงานดานอาคารสถานที่ คณะกรรมการซึ่งเปนผูปกครองนักเรียนมีสวนรวมในการตัดสินใจลงทุนในกรณีใชเงินมากกวาปกติเพราะถือวาเปนเจาของเงินดวย และมีผูจัดการโรงเรียนเปนผูดําเนินงานงานดานอาคารสถานที่ทําหนาที่เสมือนพอบานและทําหนาที่ดําเนินงานจัดซื้อจัดจาง ตรวจสอบควบคุมดูแล ไมมีหนวยงานดานอาคารสถานที่โดยตรง แตจะมีฝายตางๆที่เกี่ยวของกับอาคารสถานที่อยูภายในสํานักงาน และมีเจาหนาที่ทั้งพนักงานโรงเรียนและบริษัทจากภายนอกที่เกี่ยวของทั้งหมด จํานวน 23 คนนโยบายและแผนการดานอาคารสถานที่ไมมีการระบุเปนเอกสาร มีเพียงการบอกลาวคือที่ใหสามารถดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนไดตามปกติ และแผนจะแปรเปลี่ยนไปตามกิจกรรมและตารางเรียนของแตละชวง มีหนวยงานภายใตการกํากับดูแลคือ ฝายบัญชีทําหนาที่ดูแลการเงินการบัญชีรายรับรายจายที่เกี่ยวของ ฝายซอมบํารุงมีชางประจําโรงเรียน และจะซอมเมื่อเสีย สวนงานดานรักษาความปลอดภัย,งานรักษาความสะอาด,งานดูแลสวน และงานกําจัดปลวกและแมลง งานเหลานี้ใชวิธีจางผูปฎิบัติงานจากภายนอกเปนผูดําเนินการ2.4 ปจจัยที่มีผลตอการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ คือสภาพกายภาพที่ชํารุดทรุดโทรมตามสภาพ การขยายจํานวนอาคารรองรับการเพิ่มจํานวนของนักเรียน แผนการดําเนินงานที่ไมแนนอนจะปรับไปตามความตองการของผูบริหาร และคณะกรรมการที่มาจากผูปกครองนักเรียน3. โรงเรียนฮารโรวอินเตอรเนชั่นแนลสคูลจากการศึกษาสภาพปจจุบัน พบวา3.1 ลักษณะทั่วไป โรงเรียนไดเปดทําการสอนมาประมาณ 6 ป (เปดเมื่อป2546) หลักสูตรการสอนเปนแบบอังกฤษ เปดทําการสอนตั้งแต อนุบาล จนถึงมัธยมปลาย มีนักเรียนประมาณ 1,221 คน ครูและเจาหนาที่ 268 คน คาเลาเรียนในระดับมัธยมปลายตอปการศึกษาประมาณ 579,370- 584,720 บาท3.2 ลักษณะทางกายภาพของอาคารสถานที่อาคารเปนอาคารคอนกรีตเปนกลุมอาคารทางราบมีความสูงไมเกิน4 ชั้น มีอาคารทั้งหมด 54 หลัง พื้นที่อาคารรวม 28,6309 ตร.ม. ระบบประกอบอาคารเปนระบบพื้นฐานปกติไมมีความสลับซับซอน มีพื้นที่สีเขียว สนามเด็กเลน สระวายน้ํา ที่จอดรถ และโรงยิม ที่ตั้งโรงเรียนอยูในเขตดอนเมือง เนื้อที่กวางขวางมีบึงสระน้ํารวมเนื้อที่ ประมาณ 94 ไร สามารถขยายตัวในอนาคตได45


3.3 การดําเนินงานดานอาคารสถานที่ โรงเรียนไดดําเนินการโดยมีหัวหนาสํานักงาน (Head ofadministration) และฝายทรัพยสิน (Estate)ของโรงเรียน เปนหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรง โดยมีการจัดจางบริษัทผูปฏิบัติงานจากภายนอกมาดําเนินงานดานอาคารสถานที่ทั้งหมด 70คนแบงเปน ผูจัดการ ( FacilityManager) 1 คน ผูชวยผูจัดการ1 คน ผูจัดการรักษาความปลอดภัย1คน แมบาน29คน เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย 20 คน แบงเปน กลางวัน <strong>13</strong> คน กลางคืน7คน เจาหนาที่ดูแลสวน 10คน ชางซอมบํารุง8 คน แผนหรือนโยบายงานดานนี้มีเปนเอกสารคือ ความปลอดภัยสูงสุดทั้งตอนักเรียนและครู สามารถบริการครูและนักเรียนไดดี สามารถปฏิบัติการไดดีตลอดทําการเรียนการสอน ไมมีหนูไมมีแมลง ตองบริหารจัดการที่จอดรถยนต ลดคาใชจาย โดยจะมีผูจัดการ ( Facility Manager) 1 คนเปนผูรับผิดชอบงานทั้งหมด โดยมีขอบเขตการรับผิดชอบครอบคลุมดังนี้งานบริหารจัดการและใหคําแนะนํา งานบริการทรัพยสิน(Estate service)งานจัดการกิจกรรม(Event Management Service) งานบริหารโครงการ (Project Management)งานดานชีวอนามัยและความปลอดภัย(Health and Safety) และงานดานอื่นๆเชนงานจัดการรถรับสง งานแปลเอกสารงานใหการสนับสนุนบุคลากรที่มาจากตางประเทศ โดยมีบุคลากรที่อยูภายใตการดูแลของผูจัดการ ( FacilityManager) ดังนี้ ผูชวยผูจัดการ ผูจัดการงานรักษาความปลอดภัย พนักงานรักษาความสะอาด พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานดูแลสวน พนักงานซอมบํารุง และงานสวนกําจัดปลวกแมลงเปนการจางผูรับเหมาดูแลเปนประจําทุกเดือน มีการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ( FM Software) C Work ชวยในดานการบริหาร3.4 ปจจัยที่มีผลตอการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ ขนาดเนื้อที่ที่มีปริมาณมากและเนื้อที่กวางขวางยากตอการดูแลจําเปนตองใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยถีบจักรยานไปดูบอยๆ ปจจัยดานสภาพอาคารที่เริ่มชํารุดทรุดโทรม ปจจัยทางดานกําลังคนทํางานที่บางครั้งไมสอดคลองกับขนาดของโรงเรียนและปจจัยทางดานนโยบายอภิปรายผลการศึกษาจากการศึกษามีขอคนพบและประเด็นที่นาสนใจคือ• ลักษณะทางกายภาพของอาคารของโรงเรียนฮารโรว มีขนาดและปริมาณมากที่สุด รองลงมาคือโรงเรียนฝรั่งเศสกรุงเทพ และโรงเรียนเทรล มีขนาดเล็กที่สุด สวนใหญจะเปนกลุมอาคารทางราบดังนั้นงานระบบประกอบอาคารจึงไมมีความสลับซับซอน และขนาดของโรงเรียนมีผลตอการวิธีการดําเนินงานดานนี้• การดําเนินบริหารจัดการงานดานอาคารสถานที่ พบวามีทั้งที่เจาของดําเนินการเองและจางผูปฎิบัติงานจากภายนอกเปนผูดําเนินงานดานนี้ โดยพบวาปจจัยที่ตองจางผูปฏิบัติงานจากภายนอกคือปจจัยดาน นโยบาย ขนาดของโรงเรียน และวิธีการดําเนินงาน• การศึกษาพบวาหนวยงานและการจัดหนวยงานดานนี้ยังไมชัดเจน หรือกระจัดกระจายกันอยูยกเวนโรงเรียนฮารโรวที่จางผูปฏิบัติงานจากภายนอกมาดําเนินการ ดังนั้นผูบริหารควรจะตองใหความสําคัญกับงานดานนี้โดยการแบงสายงานใหชัดเจน กําหนดคนรับผิดชอบ กําหนดขอบเขต กําหนดหนาที่ และมีการตรวจสอบ เพื่อให เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงาน46


• หนวยงานดานอาคารสถานที่ มีชื่อเรียกที่แตกตางกัน เชน ฝายทรัพยสิน ( Estate department) ฝายอาคารสถานที่ และ ฝายซอมบํารุง• การศึกษาพบวาทั้ง 3 กรณีศึกษาจัดจางบริษัทผูปฏิบัติงานจากภายนอก ไดแกงานทําความสะอาด,งานรักษาความปลอดภัย และมีงานที่มีการจัดจางงานเปนสัญญารายป คืองานกําจัดแมลง และงานบํารุงรักษาอุปกรณประกอบอาคาร เชนลิฟท• ทุกโรงเรียนมีงานที่เปนงานบริการอาคารพื้นฐาน คืองานทําความสะอาด,งานรักษาความปลอดภัย,และงานรักษาสภาพ สิ่งที่ทุกโรงเรียนใหความสําคัญเหมือนกันคืองานทําความสะอาดและงานรักษาความปลอดภัย• สวนงานซอมบํารุงที่เกี่ยวของกับอาคารสถานที่ พบวามีทั้ง ซอมเมื่อเสีย เมื่อมีการแจงซอมโดยผูใชงานและมีการบํารุงรักษาตามรอบโดยการจางบริษัทผูมาปฏิบัติงานจากภายนอก ซึ่งการจางบริษัทผูมาปฏิบัติงานจากภายนอกจะขึ้นอยูที่ปริมาณและระบบที่ตองดูแลและงบประมาณตลอดจนนโยบายผูบริหารหรือเจาของโรงเรียน• การบริหารจัดการโดยการจางบริษัทผูปฏิบัติมาดําเนินการทั้งบริหารจัดการและดําเนินการ ยอมมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เปนระบบระเบียบ แตทั้งนี้มีปจจัยดานคาเลาเรียน ดานลักษณะกายภาพและนโยบาย ซึ่งตองพิจารณาประกอบในการเลือกการดําเนินการ• โรงเรียนฮารโรวเปนโรงเรียนที่เก็บคาเลาเรียนสูงที่สุดและมีจํานวนนักเรียนมากที่สุด และเลือกการดําเนินงานดานอาคารสถานที่โดยจางบริษัทจากภายนอกมาดําเนินการ อาจจะกลาวไดวา คาเลาเรียนเปนปจจัยสําคัญในการเลือกวิธีดําเนินดานอาคารสถานที่• ปจจัยที่สงผลตอการดําเนินงานดานอาคารสถานที่คือ สภาพ,ปริมาณและขนาดของทรัพยากรกายภาพและวิธีการบริหารจัดการในระดับนโยบาย ปจจัยทางดานการเงินและความเขาใจของผูดําเนินงานตลอดจนการใหความสําคัญในงานดานนี้ของผูบริหาร• ในดานนโยบายและแผนงานพบวายังไมมีการจัดทําเปนแผนที่เปนลักษณะปรากฏชัดโดยมีแตเพียงการบอกเลาจากผูที่เกี่ยวของ โดยนโยบายสวนใหญที่ไดจาการสัมภาษณผูบริหารสรุปไดคือ ตองใชการไดดีและพรอมใชการไดตลอดเวลา สะดวก สะอาด และปลอดภัย ตลอดชั่วโมงการศึกษา ดังนั้นเพื่อใหการปฎิบัติงานบรรลุตามนโยบายและเปาหมายควรจะตองมีการจัดทําแผนการดําเนินงานและนโยบายอยางปรากฎชัดเปนลายลักษณอักษร47


แนวทางการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐGUIDELINES FOR DESIGN COMPETITION MANAGEMENTIN GOVERNMENT‘S BUILDING CONSTRUCTIONนางสาวสุปญญา สาลีหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอวิทยานิพนธในปจจุบันขอกําหนดการจางออกแบบ โดยการประกวดแบบในโครงการกอสรางของภาครัฐ ยังไมมีการกําหนดรายละเอียดและมาตรฐานจากหนวยงานของภาครัฐหรือองคกรวิชาชีพ ทําใหการดําเนินการประกวดแบบในปจจุบันเกิดปญหา โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นการกําหนดเงื่อนไขการประกวดแบบ ซึ่งสงผลกระทบตอองคกรวิชาชีพและผลงานการประกวดแบบที่ไดรับ จากการศึกษาเบื้องตน พบวาปจจัยตางๆที่เกี่ยวของกับการประกวด อันไดแก มาตรฐาน การดําเนินการและการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหโครงการประกวดแบบเกิดความนาเชื่อถือ ไดรับความไววางใจจากสถาปนิก ซึ่งนอกจากจะทําใหเจาของงานไดผลงานการออกแบบที่ตรงกับวัตถุประสงคของโครงการแลว ยังกอใหเกิดการพัฒนาทางวิชาชีพเกิดการแขงขันที่เปนระบบ และมีความยุติธรรมทั้งกับฝายผูจัดประกวดแบบและสถาปนิกผูเขารวมประกวดแบบการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาปญหาและสรุปปจจัยที่เกี่ยวของกับ แนวทางในการดําเนินการการประกวดแบบ หลักเกณฑในการการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ ตลอดจนการจัดทํามาตรฐานและการรับรองการประกวดแบบ เพื่อสรุปเปนแนวทางในการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐตอไป โดยใชการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของและมาตรฐานการประกวดแบบจากเอกสาร ศึกษาการดําเนินการประกวดแบบจากกรณีศึกษา รวบรวมความคิดเห็นและปญหาจากแบบสอบถามสํานักงานสถาปนิกและรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินการ การกําหนดเงื่อนไข การกําหนดมาตรฐานและการรับรองการประกวด จากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ ไดแก ผูเขารวมประกวดแบบ คณะกรรมการจัดการประกวด คณะกรรมการตัดสินและ คณะกรรมการรางมาตรฐานการประกวดแบบผลการศึกษาปญหาและการเขารวมประกวดแบบในปจจุบัน พบวามีประเด็นปญหาที่สําคัญไดแก การพิจารณาจัดโครงการประกวดแบบ เงื่อนไขการประกวดแบบ ความตองการของผูจัดการประกวดแบบ ขอบเขตของการทํางาน คณะกรรมการและเกณฑการตัดสิน โดยมีปจจัยที่สงผลตอการดําเนินการประกวดแบบและการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ คือ ระดับความสําคัญของโครงการ ประเภท ลักษณะการใชสอยอาคารวัตถุประสงคของโครงการและการจัดการประกวดแบบ แนวทางการตัดสินการประกวดแบบ และ งบประมาณสวนปจจัยที่มีผลตอการจัดทํามาตรฐานและการรับรองการประกวดแบบ คือ การประยุกตและบังคับใชมาตรฐาน ความพรอมของบุคลากร และผลกระทบของการจัดทํามาตรฐานมาตรฐานตอบทบาทขององคกรที่เกี่ยวของ48


จากการศึกษาสรุปไดวา การประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐมีแนวทางการจัดการดังนี้ 1)มีการดําเนินการโดยเจาของโครงการที่มีความตั้งใจจริงในการจัดการประกวดแบบ 2)กําหนดเงื่อนไขในการประกวดแบบที่เปนธรรมกับผูเขารวมประกวดแบบภายใตกรอบมาตรฐานการประกอบวิชาชีพและสอดคลองกับระเบียบการจัดจางภาครัฐ 3)องคกรวิชาชีพควรมีสวนในการสนับสนุนการจัดทํามาตรฐานและเกณฑที่เกี่ยวของกับการประกวดแบบ และ 4) การจัดตั้งองคกรที่มีผูเชี่ยวชาญในการใหคําปรึกษาแกเจาของโครงการเกี่ยวกับการจัดการประกวดแบบ การกําหนดความตองการของโครงการ และการกําหนดแนวทางในการตัดสิน เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในการเขารวมประกวดแบบและที่สําคัญคือภาครัฐไดผลงานที่ตรงกับวัตถุประสงคและความตองการของโครงการอยางแทจริง1. ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัยในปจจุบันขอกําหนดการจางออกแบบ โดยการใชวิธีการประกวดแบบในโครงการกอสรางของภาครัฐยังไมมีกําหนดมาตรฐานและการรับรองการประกวดแบบจากหนวยงานของภาครัฐหรือองคกรวิชาชีพ ทําใหการดําเนินการประกวดแบบในปจจุบันเกิดปญหา โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นเรื่องของการกําหนดเงื่อนไขการประกวดแบบ กอใหเกิดการรองเรียนถึงปญหาของรายละเอียดในโครงการประกวดแบบของภาครัฐในหลายโครงการ 1 ซึ่งสงผลกระทบตอองคกรวิชาชีพ คุณภาพและมาตรฐานของผลงานการประกวดแบบที่ไดรับ และจากการศึกษาปญหาเบื้องตน พบวาประเด็นที่เกี่ยวของกับการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐ ไดแก การจัดการประกวดแบบ การจัดทําเงื่อนไข(TOR) มาตรฐานการรับรองและการประกวดแบบ เปนปจจัยที่ทําใหการประกวดแบบเกิดความนาเชื่อถือ ไดรับความไววางใจจากสถาปนิก ซึ่งนอกจากจะทําใหเจาของงานไดผลงานการออกแบบที่ตรงกับวัตถุประสงคของโครงการแลว ยังกอใหเกิดการพัฒนาทางวิชาชีพ เกิดการแขงขันที่เปนระบบ มีความเทาเทียม และมีความยุติธรรมทั้งกับฝายผูจัดประกวดแบบและสถาปนิกผูเขารวมประกวดแบบดังนั้นการกําหนดแนวทางการประกวดแบบที่เหมาะสมกับวัตถุประสงคของโครงการ จึงเปนสวนสําคัญที่ทําใหการประกวดแบบนั ้นลุลวงและเกิดความยุติธรรมแกทุกฝาย การศึกษา “ แนวทางการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐ ” เพื่อเปนการศึกษาปญหาและปจจัยที่มีผลตอการประกวดแบบในปจจุบัน สําหรับเปนแนวทางในการจัดทํามาตรฐานและการกําหนดเงื่อนไขการประกวดแบบ และเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนารูปแบบการคัดเลือกและวาจางผูออกแบบในโครงการกอสรางของภาครัฐตอไป2. วัตถุประสงคของการวิจัย การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค เพื่อ• เพื่อศึกษาปญหาและการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐในปจจุบัน• เพื่อศึกษาแนวคิดในการการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบของโครงการกอสรางของภาครัฐ• เพื่อศึกษาแนวทางการจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบ• เพื่อสรุปปจจัยที่มีผลตอการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐ• เพื่อสรุปเปนแนวทางในการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐตอไป1สภาสถาปนิก. “ปญหาของรายละเอียดในขอกําหนดการจางออกแบบของภาครัฐ”. 2552.49


3. วิธีการวิจัยงานวิจัยนี้เปนการศึกษาการดําเนินการคัดเลือกผูออกแบบสถาปตยกรรมโดยวิธีการประกวดแบบภายใตขอกําหนดการจัดจางตามระเบียบพัสดุ อันไดแกการคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนดและวิธีพิเศษในโครงการกอสรางของภาครัฐในประเทศไทยและทําการศึกษาเฉพาะโครงการประกวดแบบที่เกิดขึ้นชวงป พ.ศ.2541จนถึงปจจุบันการศึกษาในเบื้องตน ใชการศึกษาขอมูลจากเอกสารเปรียบเทียบหลักการประกวดแบบของประเทศไทยกับตางประเทศ ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ ประเทศออสเตรเลีย และประเทศสิงคโปรรวมกับศึกษาการดําเนินการประกวดแบบจากกรณีศึกษาทั้ง 4 โครงการ ไดแก โครงการประกวดแบบอาคารหอศิลปะรวมสมัย แหงกรุงเทพมหานคร โครงการประกวดแบบอาคารสํานักงานใหญหลังใหมธนาคารแหงประเทศไทย โครงการประกวดแบบ โครงการพัฒนาศิริราชสูสถาบันการแพทยชั้นเลิศในเอเชียอาคเนย โครงการประกวดแบบศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดปจจัยและขอพิจารณาตางๆที่เกี่ยวของกับการประกวดแบบจากนั้น จึงทําการเก็บขอมูลโดยการรวบรวมปญหาตลอดจนขอเสนอแนะจากการสอบถามสํานักงานสถาปนิกและรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักการจัดการประกวดแบบ แนวทางการกําหนดเงื่อนไขการประกวดแบบ แนวทางการกําหนดมาตรฐานและการรับรองการประกวด จากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ อันประกอบไปดวย ตัวแทนจากผูเขารวมประกวดแบบ คณะกรรมการจัดการประกวดแบบ กรรมการตัดสินการประกวดแบบ และ คณะกรรมการรางมาตรฐานการประกวดแบบ เพื่อสรุปเปนแนวทางในการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐตอไป4. ขอบเขตการศึกษาและประโยชนที่คาดวาจะไดรับการวิจัยนี้เปนการศึกษาภาพรวมของการดําเนินการคัดเลือกผูออกแบบสถาปตยกรรมโดยวิธีการประกวดแบบภายใตขอกําหนดการจัดจางตามระเบียบพัสดุ อันไดแกการคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนดและวิธีพิเศษในโครงการกอสรางของภาครัฐในประเทศไทยและทําการศึกษาเฉพาะโครงการประกวดแบบที่เกิดขึ้นชวงปพ.ศ. 2541จนถึงปจจุบัน โดยผูวิจัยเลือกทําการศึกษาในโครงการประกวดแบบอาคารขนาดใหญพิเศษเนื่องจากเปนโครงการที่มีการลงทุนสูงและสงผลกระทบตอผูใชงานจํานวนมากในอาคาร นอกจากนี้การประกวดแบบอาคารประเภทนี้ยังมีแนวทางการจัดการที่สามารถตรวจสอบและเขาถึงขอมูลไดงายกวาโครงการประเภทอื่นประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากงานวิจัยครั้งนี้คือ• เพื่อเปนแนวทางในการสรางความเขาใจและพัฒนาการวาจางผูออกแบบโดยการใชวิธีการประกวดแบบและวิธีอื่นๆที่เหมาะสมตอไป• เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาและจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบทั้งของภาครัฐและเอกชนใหไดรับการยอมรับในระดับสากล• เพื่อเปนแนวทางในการจัดทําเงื่อนไขหรือขอกําหนดการคัดเลือกผูออกแบบที่เหมาะสมกับโครงการกอสรางของภาครัฐ50


5. กรณีศึกษามาตรฐานการประกวดแบบและโครงการประกวดแบบ5.1 กรณีศึกษามาตรฐานการประกวดแบบกรอบการศึกษามาตรฐานการประกวดแบบในการวิจัยนี้ คือ การศึกษาวัตถุประสงคหรือลักษณะการนําไปใช องคกรที่รับผิดชอบ บทบาทขององคกร และลักษณะการรับรอง• สรุปการจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบของประเทศกรณีศึกษาอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย สิงคโปรขอบังคับ/มาตรฐาน มาตรฐาน แนวทางการประกวด มาตรฐานAIA RIBA RAIA SAIAออกขอกําหนด/ ที่ปรึกษา ออกขอกําหนด/ ที่ปรึกษา ที่ปรึกษาการประกวด ที่ปรึกษาการประกวดมีการรับรองการประกวด มีการรับรองการประกวด N/A N/A• สรุปการจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบของประเทศไทยในปจจุบัน(1) วัตถุประสงคของการจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบ ในปจจุบันองคกรวิชาชีพ คือสภาสถาปนิกไดจัดทํารางมาตรฐานการประกวดแบบเพื่อเปนมาตรฐานในการประกวดแบบทั้งของภาครัฐและเอกชน(2) ลักษณะการนําไปใชและการบังคับใชมาตรฐาน พบวายังไมมีการบังคับใชในปจจุบัน แตในปจจุบันองคกรวิชาชีพ ไดมีการพยายามดําเนินการประกวดแบบตาม(ราง)มาตรฐานการประกวดแบบดังกลาว(3) องคกรที่รับผิดชอบ / บทบาท ( การรับรอง/ที่ปรึกษา )องคกรทางวิชาชีพที่เกี่ยวของกับการประกวดแบบในปจจุบันไดแก- สภาสถาปนิก นอกจากจะเปนตัวแทนหรือที่ปรึกษาเจาของโครงการในการดําเนินการจัดการประกวดแบบแลวยังเปนองคกรที่มีสวนรับผิดชอบในการรับรองรองการประกวดแบบหากมีการประกาศบังคับใชมาตรฐานการประกวดแบบขึ้น- สมาคมสถาปนิก เปนตัวแทนหรือที่ปรึกษาเจาของโครงการในการดําเนินการจัดการประกวดแบบตลอดจนการรวมเปนคณะกรรมการตัดสินการประกวด(4) ลักษณะการรับรองการประกวดแบบ ยังไมมีการรับรองการประกวดแบบในปจจุบัน แตเพื่อความโปรงใสในการจัดการประกวดแบบ เจาของโครงการมักใหสมาคมสถาปนิกหรือสภาสถาปนิก เปนหนึ่งในคณะกรรมการจัดการประกวดแบบ(5) หัวขอของมาตรฐานการประกวดแบบ ประกอบไปดวย 11 หัวขอ โดยมีประเด็นสําคัญไดแก หลักการทั่วไป คํานิยาม ประเภท ลักษณะ และวิธีการจัดประกวดแบบ ขอกําหนดทั่วไปการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ ( Term of Reference ) การดําเนินการจัดการประกวดแบบ51


การเชิญ การเขารวม และคุณสมบัติของผูเขารวมประกวดแบบ การรับรองและการขึ้นทะเบียนประกวดแบบ รางวัลและการจายคาตอบแทน สิทธิ์ของผูชนะประกวดแบบ คณะกรรมการตัดสินและเกณฑการตัดสิน การเผยแพรผลงาน การคัดคานและการรองอุทธรณ5.2 กรณีศึกษาโครงการประกวดแบบในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัย มีแนวทางการคัดเลือกโครงการประกวดแบบเพื่อใชเปนกรณีศึกษา โดยใชวิธีเลือกแบบเจาะจง โดยมีเงื่อนไข คือ เปนโครงการประกวดแบบสถาปตยกรรมโครงการกอสรางของภาครัฐในชวงปพ.ศ.2541-2551 และเปนโครงการที่มีขนาดใหญพิเศษ พื้นที่ตั้งแต 10,000 ตารางเมตร มีความสําคัญระดับประเทศ และมีการประชาสัมพันธโดยองคกรวิชาชีพจากขอมูลรายชื่อโครงการประกวดแบบที่อยูในขอบเขตของการวิจัยพบวามี 8 โครงการดังนี้คือและจากการวิเคราะหความเปนไปไดในการเขาถึงขอมูลและความนาสนใจของโครงการ จึงไดพิจารณาเลือก 4โครงการ (คิดเปนรอยละ 50 ) จาก 8 โครงการ ไดแก• โครงการประกวดแบบอาคารหอศิลปะรวมสมัย แหงกรุงเทพมหานคร• โครงการประกวดแบบอาคารสํานักงานใหญหลังใหม ธนาคารแหงประเทศไทย• โครงการประกวดแบบ โครงการพัฒนาศิริราชสูสถาบันการแพทยชั้นเลิศในเอเชียอาคเนยคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลศิริราช• โครงการประกวดแบบศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย ศูนยบริการทางวัฒนธรรมระดับนานาชาติกระทรวงวัฒนธรรมการวิเคราะหกรณีศึกษาโครงการประกวดแบบทั้ง 4 โครงการ มีประเด็นในการศึกษาเกี่ยวกับ ขอมูลเบื้องตนของโครงการ หลักการในการจางผูออกแบบ โครงสรางองคกร การเลือกวิธีการ ขั้นตอนการจัดการประกวดแบบ แนวทางการตัดสิน ปจจัยที่สงผลตอรูปแบบการจัดการประกวดแบบ ขอดีและขอจํากัดของการประกวดแบบ สามารถสรุปประเด็นและขอสังเกตที่พบคือ- เจาของโครงการ ลักษณะโครงการ ประเภทการใชงาน ขนาดของโครงการ มีผลโดยตรงตอรูปแบบการจัดการประกวดแบบ- หลักการในการจางผูออกแบบในกรณีศึกษาแบงออกเปน 2 แบบคือ จางวิธีพิเศษโดยการประกวดแบบ และจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด- วัตถุประสงคในการประกวดแบงออกเปนประกวดแบบในกรณีศึกษาแบงออกเปน 2 แบบคือ เพื่อคัดเลือกแนวความคิดและผูออกแบบในโครงการกอสรางจริง- การจัดจางที่ปรึกษาโครงการมีผลตอรูปแบบและกระบวนประกวดแบบ สงผลตอการคัดเลือกองคกร และ ความชัดเจนของTOR- ประเภทอาคาร ความซับซอน และความเปนสาธารณะ สงผลโดยตรงตอการเลือกวิธีประกวดแบบ52


- ในการคัดเลือกคุณสมบัติผูออกแบบจะกําหนดในขั้นตอนการ Pre.Q หรือเปนสวนหนึ่งของขั้นตอนการคัดเลือกก็ได- อาคารที่มีขนาดใหญพิเศษ (Mega Project) มีความซับซอนของโครงการจะมีขั้นตอนในการเลือกผูออกแบบที่เขมขน- โครงการที่ตองการประกวดแนวความคิดจะไมเนนการพิจารณาคุณสมบัติของผูเขารวมประกวดแบบ- การเปลี่ยนแปลงผูบริหารหรือนโยบายของหนวยงานสงผลตอการพัฒนาแบบที่ชนะการประกวดไปเปนแบบกอสราง6. ประเด็นการศึกษาและขอพิจารณาในการกําหนดแนวทางการจัดการประกวดแบบจากการศึกษาขอกําหนดตางที่เกี่ยวของกับการประกวดแบบ การศึกษามาตรฐานการประกวดแบบและการศึกษาโครงการประกวดแบบ ผูวิจัยสามารถสรุปประเด็นในการศึกษาและขอพิจารณาของแนวทางการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐไดดังนี้• การดําเนินการประกวดแบบการดําเนินการประกวดแบบที่ดี สงผลใหผูออกแบบที่เหมาะสมไดมีโอกาสเขารวมประกวดแบบอยางเทาเทียมซึ่งการดําเนินการประกวดแบบนี้ถูกกําหนดจากเงื่อนไขการประกวดแบบ ภายใตกรอบของมาตรฐานการประกวดแบบ การศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการดําเนินการประกวดแบบจึงจําเปนตองศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการพิจารณาในการจัดโครงการประกวดแบบ การจัดตั้งองคกรในการประกวดแบบ การพิจารณาวิธีการประกวดแบบ การพิจารณาเลือกแนวทางการตัดสินการประกวด และ การดําเนินการหลังการประกวดแบบ โดยในประเด็นนี้มีความเกี่ยวของโดยตรงกับ เจาของโครงการ คณะกรรมการจัดการประกวดแบบ และคณะกรรมการตัดสินการประกวดแบบ• เงื่อนไขการประกวดแบบการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ สงผลตอการกําหนดกลุมผูเขารวมประกวดแบบใหมีความเหมาะกับลักษณะของโครงการ ซึ่งการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบนี้ กําหนดจากความตองการของเจาของโครงการเปนหลักและอยูภายใตกรอบของมาตรฐานการประกวดแบบ การศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการเงื่อนไขประกวดแบบจึงจําเปนตองศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับ หนวยงานที่มีหนาที่จัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ เกณฑการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ และการกําหนดรายละเอียดเงื่อนไขการประกวดแบบ โดยในประเด็นนี้มีความเกี่ยวของโดยตรงกับ เจาของโครงการ คณะกรรมการจัดการประกวดแบบ และองคกรวิชาชีพ ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการกําหนดรูปแบบของผลงานที่จะไดจากการจัดการประกวดแบบ• มาตรฐานการประกวดแบบมาตรฐานการประกวดแบบและการรับรองการประกวดแบบสงผลใหเกิดการเพิ่มโอกาสการแขงขันในระดับนานาชาติ ซึ่งการจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบ จะถูกกําหนดจากแนวทางการจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบที่มีอยูในปจจุบันเปนเกณฑ การศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับมาตรฐานการประกวดแบบแบบจึง53


จําเปนตองศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับ องคกรที่เกี่ยวของกับการจัดทํามาตรฐานการประกวดแบบการบังคับหรือการประยุกตใชมาตรฐาน รายละเอียดของมาตรฐานและแนวทางการรับรองการประกวด โดยในประเด็นนี้มีความเกี่ยวของ โดยตรงกับองคกรวิชาชีพ อันไดแกสภาสถาปนิกซึ่งมีหนาที่ควบคุมและบังคับใชมาตรฐานการประกวดแบบและสมาคมสถาปนิกสยามซึ่งมีหนาที่ในการสนับสนุนหลักการดังกลาว ซึ่งสงผลตอเกี่ยวของทุกฝายในการประกวดแบบ7. ผลการศึกษาและอภิปรายผลผลการศึกษาขอมูล เปนการวิเคราะหโดยอาศัยการแจกแจงความถี่ของขอมูลประกอบกับการบรรยายและการยกตัวอยางความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณและผูตอบแบบสอบถาม ประกอบการวิเคราะหขอมูลและอภิปรายผล ตามหัวขอการอภิปรายดังนี้ขอมูลเบื้องตนของกลุมตัวอยางพบวากลุมตัวอยางผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญมีอายุสํานักงานมากกวา10 ปขึ้นไป ใหบริการดานการออกแบบและเปนที่ปรึกษาโครงการเปนหลักซึ่งสอดคลองกับขอบเขตงาน ในการวาจางผูออกแบบโดยการประกวดแบบในสวนของกลุมตัวอยางผูทรงคุณวุฒิที่เปนสถาปนิกและตัวแทนจากองคกรวิชาชีพทั้ง 15 ทานผูทรงคุณวุฒิที่เคยมีประสบการณในการเปน คณะกรรมการจัดการประกวดแบบและ/หรือคณะกรรมการตัดสินการประกวดแบบในกรณีศึกษา มีสวนรวมในการประกวดแบบ มากกวา 16 ปขึ้นไปและโดยเฉลี่ยอยูที่ประมาณ20 ป โดยผูทรงคุณวุฒิที่เปนตัวแทนของคณะกรรมการจัดการประกวดแบบคณะกรรมการตัดสินจะมีเคยมีสวนรวมในการประกวดแบบที่หลากหลายกวากลุมผูทรงคุณวุฒิที่เปนผูเขารวมประกวดแบบประสบการณในการเขารวมประกวดแบบกลุมตัวอยางผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญเคยเขารวมประกวดแบบทั้งในโครงการของภาครัฐและ/หรือเอกชนเปนจํานวน 31 แหง มีเพียง 6 แหงเทานั้นที่ไมเคยเขารวมประกวดแบบโดยใหเหตุผลวา รางวัลหรือผลตอบแทนไมเหมาะสมเงื่อนไขการประกวดไมเหมาะสมการประกวดแบบขาดความนาเชื่อถือ และมีการพิจารณาตัดสินใจเขารวมประกวดแบบจากเวลาและโอกาส ความนาสนใจของการประกวดและคณะกรรมการตัดสิน แตในสวนของกลุมผูทรงคุณวุฒินั้นจะพิจารณาจาก ลักษณะการใชสอยอาคารหรือประเภทอาคารที่สนใจหรือมีความถนัด ระดับความสําคัญของโครงการความยุติธรรม ความโปรงใสงบประมาณ และแหลงเงินทุนของโครงการ โดยมีแหลงขาวการประกวดแบบที่สําคัญคือ สมาคมสถาปนิก เวบไซท และจดหมายเชิญประเภทโครงการประกวดแบบที ่สนใจเขารวมประกวดแบบ สวนใหญเปน อาคารการศึกษา อาคารวัฒนธรรมโดยใหเหตุผลวาเปนอาคารที่มีความถนัด และมีการตัดสินกันที่แนวความคิดมากกวาอาคารประเภทอื่นๆ ซึ่งขัดแยงกับเจาของโครงการที่สถาปนิกสนใจเขารวมประกวดแบบกลับพบวาเปนหนวยงานของภาคเอกชนมากกวาของภาครัฐเนื่องจากมีขั้นตอนการะบวนการประกวดแบบที่ชัดเจนมีความโปรงใสและมีคาบริการวิชาชีพที่มากกวาโครงการของภาครัฐประเด็นปญหาที่พบเกี่ยวกับการจัดการประกวดแบบคือ การพิจารณาจัดโครงการประกวดแบบการเลือกวิธีการประกวดแบบ ปญหาเกี่ยวกับการจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบที่พบคือเกณฑการจัดทําTOR การ54


กําหนดรายละเอียดTOR และหนวยงานที่มีหนาที่จัดทํา TOR และปญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการประกวดแบบที่พบคือการไมมีมาตรฐานการประกวดแบบและไมทราบวารายละเอียดมาตรฐานที่ถูกตองเปนอยางไร รวมไปถึงการไมมีการรับรองการประกวดแบบ8. สรุปผลการวิจัย• สรุปปญหาการดําเนินการประกวดแบบในปจจุบัน มีประเด็นปญหาที่พบโดยแบงตามขั้นตอนในการประกวดแบบไดดังนี้ชวงกอนการประกวดแบบ- การพิจารณาจัดโครงการประกวดแบบ เจาของโครงการมีผูออกแบบที่ตองการอยูแลว การประกวดแบบถูกจัดขึ้นเพื่อใหถูกตองตามระเบียบราชการ ยังไมมีงบประมาณที่ชัดเจน ใชการประกวดเพื่อของบประมาณ ในการกอสราง- การกําหนดความตองการของผูจัดการประกวดแบบ ไมชัดเจน ขาดรายละเอียด การไมมีผูเชี่ยวชาญรวมกําหนดรายละเอียดโครงการ- การกําหนดความเหมาะสมของรูปแบบการประกวดแบบมีขั้นตอนและวิธีการประกวดแบบไมสอดคลองกับวัตถุประสงค เปนการประกวดประโยชนใชสอยของอาคาร มีการตัดสินกันดวยเรื่องของกฎหมายและความถูกผิดของแบบ- การจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบมักคัดลอกของเดิมขาดการพิจารณาความถูกตองเหมาะสม มีการประกวดราคาและการใชมาตรฐานเดียวกันตลอดทุกโครงการ- ประกาศเชิญชวนใหรวมเขาประกวดแบบมีการประชาสัมพันธภายใน และเชิญเฉพาะบางบริษัทเทานั้นชวงดําเนินการประกวดแบบ- การชี้แจงการขอมูลการประกวดแบบ พบวาเงื่อนไขการประกวดแบบไมชัดเจน สามารถตีความไดหลายแบบ ขาดการสรางความเขาใจใหกับผูเขารวมประกวดแบบ- การดูสถานที่ตั้งโครงการ มีระยะเวลาเขาชมที่ตั้งโครงการมีจํากัด ขนาดที่ดินที่ระบุในเอกสารมีความคลาดเคลื่อน- สงผลงานแนวความคิดในการออกแบบ มี ระยะเวลาคอนขางจํากัด/ไมเหมาะสมกับขอบเขตงานที่ตองสง การกําหนดรายละเอียด ขอบเขตและปริมาณของงานที่ไมชัดเจน- กําหนดการนําเสนอและชี้แจงความคิด พบวาจํานวนและปริมาณผลงานที่นําสงมีจํานวนมากเกินไป ไมมีการนําเสนอแบบหรือแนวความคิดดวยตัวเอง- การตัดสินและประกาศผลการคัดเลือก ไมมีการระบุคณะกรรมการและเกณฑการตัดสินที่ชัดเจนคณะกรรมการสวนใหญเปนกรรมการภายใน คณะกรรมการตัดสินไมมีความรูมากพอเกี่ยวกับโครงการ การตัดสินมีกฎเกณฑ ความเขาใจไมตรงกัน และไมมีการชี้แจงเหตุผลจากคณะกรรมการตัดสิน55


ชวงหลังการประกวดแบบ- การเจรจาขอตกลงการออกแบบ คาบริการวิชาชีพและคาตอบแทนการประกวดแบบไมเหมาะสมลิขสิทธิ์แบบไมชัดเจนวาเปนของใคร- การลงนามทําสัญญาการออกแบบและการตกลงวาจางไมชัดเจนในเรื่องระยะเวลา และไมมีการชี้แจงรางสัญญาการออกแบบในเงื่อนไขการประกวดแบบ- การพัฒนาแบบที่ชนะการประกวดไปเปนแบบกอสราง มีปญหาการประสานงานกับเจาหนาที่ และปญหาการเปลี่ยนแปลงแกไขแบบในภายหลังผิดไปจากแนวความคิดหลักจากการศึกษาพบวาประเด็นปญหาที่สําคัญและควรมีการเรงแกไขคือ การจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบ การกําหนดความตองการและผูเชียวชาญที่เกี่ยวของในการประกวดแบบซึ่งจะสงผลโดยตรงตอผลการประกวดแบบที่เจาของโครงการจะไดรับสวนปญหาที่ตองไดรับการแกไขพัฒนาอยางตอเนื่องจากทั้งภาครัฐและองคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของคือการปรับเปลี่ยนแนวทางในการจัดจางใหมีสอดคลองกับการปฏิบัติจริง การกําหนดเกณฑและมาตรฐานตางๆที่เกี่ยวของกับการประกวดแบบเพื่อเปนกรอบในการประกวดแบบที่ถูกตองและมีความยุติธรรมมากขึ้น• สรุปปจจัยที่มีผลตอการดําเนินการประกวดแบบของภาครัฐจากการศึกษาปญหาและแนวทางการจัดการประกวดแบบ พบวามีปจจัยที่สงผลใหการประกวดแบบมีรูปแบบและวิธีการที่แตกตางกัน ดังตอไปนี้- ระดับความสําคัญของโครงการ- วัตถุประสงคของโครงการและเปาหมายของการจัดการประกวด- ประเภทและการใชสอยอาคาร- การจัดตั้งองคกรหรือบุคลากรที่เกี่ยวของกับการประกวดแบบ- เกณฑหรือ มาตรฐานตางๆที่ใชอางอิง- ลักษณะขององคกรหรือ นโยบายการบริหารงานของหนวยงานนั้นๆ- งบประมาณของโครงการและงบประมาณในการจัดการประกวดแบบ- ความตองการเฉพาะของเจาของโครงการ- ขอบเขตของงาน ปริมาณผลงาน แหลงที่มาของงบประมาณ- ระยะเวลาในการจัดการประกวด• สรุปขอเสนอแนะแนวทางในการจัดการประกวดแบบ โครงการกอสรางของภาครัฐโดยมีวัตถุประสงคของการจัดการและแนวทางผูวิจัยที่เสนอแนะดังนี้1) หลักการในการจางผูออกแบบ เพื่อกําหนดแนวทาง/ความเปนไปไดในการจัดการประกวดแบบโครงการกอสรางของภายใตระเบียบการจัดจางผูออกแบบของภาครัฐ มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- การคัดเลือกผูออกแบบจํากัดขอกําหนด- การประกวดแบบ56


2) การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายของการประกวดแบบ เพื่อกําหนดวัตถุประสงคของการจัดการประกวดแบบใหสอดคลองกับความตองการของเจาของโครงการ มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- เพื่อสรรหาผูออกแบบและศักยภาพของทีมงานผูออกแบบ- เพื่อคัดเลือกแนวความคิดหรือแนวทางการแกปญหาในการออกแบบ3) โครงสรางองคกรเพื่อกําหนดบุคลากรและโครงสรางในการบริหารองคกรที่เหมาะสม ลดการแทรกแซงเพื่อใหการดําเนินการประกวดแบบมีความยุติธรรม ประกอบไปดวย- คณะกรรมจัดการประกวดแบบ ผูบริหาร ผูรับผิดชอบโครงการ องคกรวิชาชีพ เสนอแนะใหมีการพิจารณาแตงตั้งหรือจัดจางผูจัดการโครงการ(PM) คณะกรรมการ ศึกษาโครงการกําหนดความตองการ รางTOR- คณะกรรมการตัดสินการประกวดแบบ ผูบริหาร ผูรับผิดชอบโครงการ เสนอแนะใหมีการพิจารณาแตงตั้งหรือจัดจางผูแทนจากองคกรวิชาชีพ ผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ เขารวมเปนกรรมการตัดสิน4) การกําหนดความตองการของผูจัดการประกวดแบบเพื่อใหไดผลลัพธจากการประกวดแบบที่ตรงกับความตองการ สามารถนําไปพัฒนาเปนโครงการที่ดําเนินการไดจริง มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- กําหนดขอบเขตงานออกแบบ แนวความคิด ปริมาณผลงาน ขนาดผลงาน- กําหนดความตองการใชงาน ขนาดพื้นที่ใชสอย ความสัมพันธของการใชสอย5) การกําหนดรูปแบบของการประกวดแบบเพื่อกําหนดประเภทของการประกวดแบบ และวิธีการประกวดแบบ เพื่อใหไดผลลัพธจากการประกวดแบบที่ตรงกับความตองการ สามารถนําไปพัฒนาเปนโครงการที่ดําเนินการไดจริง มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- การประกวดแบบประเภทเปดทั่วไป / ประเภทจํากัดจํานวน- การประกวดแบบขั้นตอนเดียว / 2 ขั้นตอน / 3 ขั้นตอน6) การกําหนดแนวทางการตัดสินเพื่อกําหนดเกณฑการตัดสิน ใหไดผลลัพธที่ไดจากการประกวดแบบตรงตามวัตถุประสงคของเจาของโครงการ มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- คุณสมบัติของผูออกแบบและศักยภาพของทีมงาน- แนวความคิดหรือแนวทางการแกปญหาในการออกแบบ- วิสัยทัศนในการออกแบบหรือการทํางานเพื่อกําหนดวิธีการตัดสิน ที่มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- การใหคะแนน / การแบงน้ําหนักคะแนน57


- การพิจารณาโดยคณะกรรมการ / ที่ปรึกษาการตัดสินเพื่อกําหนดคณะกรรมการตัดสิน ที่มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- กรรมการภายในหนวยงาน- กรรมการจากภายนอก- องคกรวิชาชีพเพื่อกําหนดการชี้แจงเหตุผลการเลือกผูชนะการประกวดแบบ- ผลการตัดสินของแบบที่ไดรับคัดเลือก- ผลการตัดสินแบบของผูเขารวมประกวดแบบ7) ขั้นตอนการดําเนินการเพื่อใหการดําเนินการประกวดแบบเปนไปตามเงื่อนไขการประกวดแบบ ภายใตมาตรฐานการประกวดแบบและการรับรองจากองคกรวิชาชีพ8) การกําหนดแนวทางการจัดทําTOR การประกวดแบบเพื่อจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบที่มีความเปนธรรมตอผูจัดและผูเขารวมประกวดแบบ ภายใตเงื่อนไขระเบียบการจัดจางของภาครัฐและมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- ดําเนินการประกวดโดยเจาของโครงการ- ดําเนินการประกวดโดยบริษัทที่ปรึกษา- เสนอแนะใหดําเนินการประกวดโดยองคกรวิชาชีพ9) การกําหนดแนวทางการจัดทําTOR การประกวดแบบเพื่อจัดทําเงื่อนไขการประกวดแบบที่มีความเปนธรรมตอผูจัดและผูเขารวมประกวดแบบ ภายใตเงื่อนไขระเบียบการจัดจางของภาครัฐและมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- ดําเนินการประกวดโดยเจาของโครงการ- ดําเนินการประกวดโดยบริษัทที่ปรึกษา- ดําเนินการประกวดโดยองคกรวิชาชีพ10) การกําหนดรางวัลและผลตอบแทนสําหรับผูเขารวมประกวดแบบ เพื่อเปนการกําหนดผลตอบแทน ที่เหมาะสมกับขอบเขตการทํางานและปริมาณผลงานที่นําเสนอ มีแนวทางที่เปนไปไดคือ- ดําเนินการประกวดโดยเจาของโครงการคาจัดจางผูออกแบบตามระเบียบพัสดุ- เงินรางวัลสําหรับผูที่ไดรับรางวัลจากการประกวดแบบ- เสนอแนะใหมีคาใชจายใหกับผูที่ไดรับคัดเลือกใหทํางานในขั้นตอนที่สอง11) แนวทางการดําเนินการหลังการประกวดแบบเพื่อใหการดําเนินการ อยูภายใตเงื่อนไขการประกวดแบบและมีการพัฒนาแบบตรงกับแนวความคิดที่ไดรับคัดเลือก มีแนวทางที่เปนไปไดคือ58


- ดําเนินการจัดจางตาม TOR- จัดจางผูออกแบบที่มีใบอนุญาตทํางานรวมกับผูที่ไดรับรางวัลชนะเลิศ- จัดจางผูออกแบบตามแนวความคิดที่ไดรับการคัดเลือกในภายหลัง9. ขอเสนอแนะในงานวิจัย• ขอเสนอแนะสําหรับเจาของโครงการในการจัดประกวดแบบเจาของโครงการที่ตองการจัดการประกวดแบบควรจัดการประกวดแบบโดยคํานึงถึงความพรอมและความจําเปนของโครงการเปนสําคัญ ไมควรจัดการประกวดแบบเพียงเพื่อใหถูกตามระเบียบการจัดจางเทานั้น การกําหนดโครงสรางองคกรของการประกวดแบบ ในโครงการประกวดแบบแนวความคิด หรือประกวดแบบทั่วไป เสนอแนะใหมีผูเชียวชาญจากองคกรวิชาชีพเขามารวมเปนผูดําเนินการประกวดแบบ /ใหคําปรึกษาในการประกวดแบบ ในโครงการขนาดใหญมีความซับซอนมากเสนอแนะใหมีการวาจางที่ปรึกษาเปนผูดําเนินการประกวดแบบ และ เสนอแนะใหมีผูเชียวชาญ/ผูทรงคุณวุฒิมีสวนในการดําเนินการหรือใหคําปรึกษา ในทุกชวงของการประกวดแบบ โดยเฉพาะการจัดทํา TOR การกําหนดเกณฑการตัดสินและการตัดสินการประกวดแบบการกําหนดความตองการของผูจัดการประกวดแบบ เสนอแนะใหมีการวาจางที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญศึกษาและกําหนดความตองการของโครงการ โดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญที่มีความซับซอนหรือเกี่ยวพันกับการใชงานของคนจํานวนมาก นอกจากนี้ผูจัดการประกวดแบบควรแตงตั้งคณะกรรมการรางTOR ชี้แจงขอมูลและตอบขอซักถามการประกวดแบบในสวนของแนวทางการตัดสิน คณะกรรมการจัดการประกวดแบบมีหนาที่รวมกันกับคณะกรรมการตัดสินเพื่อกําหนดแนวทางการพิจารณา และกําหนดเกณฑในการตัดสิน วิธีการตัดสิน โดยในโครงการที่มีการพิจารณาเรื่องของแนวความคิดเปนหลัก คณะกรรมการตัดสินที่เปนผูทรงคุณวุฒิควรมีสวนรวมในการตัดสินใจคัดเลือกแบบดวยโดยการตัดสินและเลือกผูชนะการประกวดแบบ ควรดําเนินการตามเกณฑที่กําหนดในTOR อยางเครงครัด ดําเนินการวาจางและเซ็นสัญญาการออกแบบตามที่กําหนดไวในTOR หรือหากไมสามารถดําเนินการกอสรางไดภายในระยะเวลาที่กําหนด ควรจายคาตอบแทนใหกับผูเขารวมประกวดแบบ• ขอเสนอแนะตอองคกรวิชาชีพบทบาทของสภาสถาปนิกผูวิจัยสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของสภาสถาปนิกตอแนวทางการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐจากการสัมภาษณ ไดดังนี้บทบาทของสภามีหนาที่โดยตรงคือควบคุมการปฏิบัติวิชาชีพใหเปนไปตามกฎหมาย การประกวดแบบควรมีการควบคุมดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน มีหนาที่ปกปองผลประโยชนของสาธารณะ การดําเนินการมุงเนนใหเกิดประโยชนสูงสุดตอสวนรวม ดูความเหมาะสมของการประกวดวาจะสงผลตอสวนรวมในทางที่ควรจะเปนหรือไม กอใหเกิดความชอบธรรมควรมีการดําเนินการที่สงเสริมกัน59


การดําเนินการ ทําการแตงตั้งอนุกรรมการ เพื่อสรางกรอบหรือมาตรฐานการประกวดแบบ จากนั้นจึงประชาสัมพันธ และผลักดันใหกรอบนั้นไปยังหนวยงานอื่นๆใหไดรับการยอมรับ และติดตามผล และถาพบวามีปญหาในการเขารวมประกวดแบบควรแจงไปยังสภา และสภาแจงเตือนไปยังผูจัดทําเงื่อนไข ซึ่งอาจจะเปนสถาปนิกใหรับทราบผลของการจัดทําเงื่อนไขที่ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการมีสวนรวมในโครงการประกวดแบบ สภาสถาปนิกควรมีบทบาทในการใหคําปรึกษาเพื่อสรรหาบุคลากร ผูเชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวของ ใหคําปรึกษาในการกําหนดรูปแบบการจัดการประกวดแบบที่เหมาะสมกับโครงการ ใหคําปรึกษาในการประกวดแบบและติดตามการดําเนินการประกวดแบบบทบาทของสมาคมสถาปนิกผูวิจัยสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของสภาสถาปนิกตอแนวทางการประกวดแบบโครงการกอสรางของภาครัฐจากการสัมภาษณ ไดดังนี้สมาคมสถาปนิกมีหนาที่หลักคือการสงเสริมอาชีพ การจัดทํามาตรฐานการประกอบวิชาชีพใหสามารถแขงขันในในระดับสากล มีสวนเสนอเกณฑที่เหมาะสมมีความยืดหยุนและมีการกําหนดตามระดับความเขมขนของแตละโครงการและประยุกตใชมาตรฐานในการประกวดแบบของเอกชนนอกจากนี้สมาคมสถาปนิกควรมีบทบาทในการดูแลใหเกิดความชอบธรรมในการประกวดแบบดูแลการประกวดไมใหถูกเอาเปรียบ ใหความชอบธรรมกับสถาปนิก อาจมีการตั้งตัวแทนกรรมาธิการวิชีพ เพื่อสนับสนุนการทํางานของสภาโดยการตอบขอซักถามของสมาชิกเกี่ยวกับเงื่อนไขการประกวดแบบ เชนมาตรฐานคาออกแบบเปนตนการมีสวนรวมในโครงการประกวดแบบ สมาคมสถาปนิกเพื่อสรรหาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับโครงการเพื่อทําหนาที่เปนที่ปรึกษาในสวนของคณะกรรมการตัดสิน การกําหนดรายละเอียดความตองการของโครงการ การกําหนดเกณฑการตัดสิน การเขารวมเปนคณะกรรมการตัดสินและในขั้นตอนการประกวดแบบ สมาคมควรมีบทบาทในการประชาสัมพันธการประกวดแบบ ติดตามการดําเนินการประกวดแบบ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพที่เกี่ยวของกับเงื่อนไขการประกวดแบบ รวมรับฟงการชี้แจงแนวความคิดของผูเขารวมประกวดแบบ ติดตามผลการประกวดและประชาสัมพันธผลการประกวดแบบ จัดทํานิทรรศการเผยแพรผลงานการประกวดแบบ• ขอเสนอแนะสําหรับสําหรับสถาปนิกในการเขารวมประกวดแบบการเขารวมประกวดแบบเปนการลงทุนอยางหนึ่งเพื่อใหไดมาซึ่งงาน ตองใชงบประมาณในการทํางานมากและสวนใหญไมคุมกับผลตอบแทนที่ไดรับหากไมไดรับคัดเลือกใหเปนผูออกแบบ ดังนั้นกอนเขารวมประกวดแบบจึงควรประเมินความพรอมของสํานักงานและบุคลากร เพื่อเขารวมในโครงการประกวดแบบที่เหมาะสมกับศักยภาพ ประสบการณของตัวเองและคูแขงดวยและ หากมีโอกาสและปจจัยอื่นๆที่เหมาะสมเชน ระยะเวลา บุคลากร และงบประมาณในการทํางาน การเขารวมประกวดแบบเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการพัฒนาทักษะในการทํางาน สรางชื่อเสียงใหเปนที่รูจัก นอกจากนี้ยังเปนการเปดโอกาสใหไดทํางานในโครงการที่ไมไดมีโอกาสเกิดขึ้นบอยๆตามความสนใจของสถาปนิกอีกดวย60


บรรณานุกรมและเอกสารอางอิงภาษาไทยกระทรวงการคลัง. แนวทางการคัดเลือกและวาจางที่ปรึกษา.กระทรวงการคลัง, 2548.ชาตรี ลดาลลิตสกุล . แบบประกวดแนวคิดสถาปตยกรรม. อาษา ธันวาคม 2540 .ทนงศักดิ์ วิบูลยมา . ประสบการณจากการประกวดแบบ. อาษา ธันวาคม 2540 .นิธิ สถาปตานนท . บทบัญญัติที่มีมากกวา 10 ประการสําหรับการบุกเบิกสํานักงานสถาปนิก. อาษาพฤศจิกายน-ธันวาคม 2530.ประภา ประจักษศุภนิติ . อาชีวะสัมพันธในการประกอบอาชีพสถาปตยกรรม , 2508.ปองกรรณ กายตะวัน . รูปแบบและกรบวนการจัดจางออกแบบและควบคุมงานโครงการกอสรางอาคารของสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐ กรณีศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.สมภพ ภิรมย. อาชีวะสัมพันธในการประกอบอาชีพสถาปตยกรรม , 2508.สภาสถาปนิก . รางมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ.2551 .สมาคมสถาปนิกสยาม. แนวปฏิบัติวาดวยมาตรฐานการประกวดแบบงานสถาปตยกรรม พ.ศ.2530. กรุงเทพฯ,2530.สรศักดิ์ ธรรมัครกุล. ประสบการณจากการประกวดแบบ. อาษา ธันวาคม 2540.สุวัฒน รุงอรุณ. ประสบการณจากการประกวดแบบ. อาษา ธันวาคม 2540 .สํานักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม. . แบบโครงการพัฒนาศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทยใหเปนพื้นที่บริการทางวัฒนธรรมระดับนานาชาติ. กรุงเทพฯ : เซเวน พริ้นทติ้ง กรุป, 2550.อัจฉริยะ โรจนะภิรมย. เลาเรื่องประกวดแบบ. อาษา ธันวาคม 2540 .ภาษาอังกฤษAmerican Institute of Architects. Handbook of Architectural Design Compettions.5. USA : The AmericanInstitute of Architects, 1991.G. Stanley Collyer. Competing Globally in Architecture Competitions, 2004.Hilde De Haan , Ids Haagsma. Architects in Competition: International Architectural Competitions of theLast 200 Years , 1988.Hossbach, Benjamin. Phase eins : The architecture of competitions 1998-2005. German : DomPublishers , 2006.Jack L. Nasar . Design by Competition: Making Design Competition Work.United Kingdom : CambridgeUniversity Press , 1999.Judith Strong. Winning by Design, Architectural Competitions. United Kingdom: ArchitecturalPress,1995.61


การบริหารทรัพยากรกายภาพของทาอากาศยานสุวรรณภูมิกรณีศึกษา หองน้ําภายในอาคารผูโดยสารFACILITY MANAGEMENT FOR SUVARNABHUMI AIRPORTCASE STUDY TOILETS IN PASSENGER TERMINALนายภูริวัจน ธนัสทีปตวงษหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอปญหาหองน้ําภายในอาคารผูโดยสาร เปนปญหาที่มีการกลาวอางถึงมากของการเปดใชบริการทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ดังนั้นจึงตองการศึกษาปญหาหองน้ําภายในอาคารผูโดยสารโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสนอแนวทางแกไขปญหาและแนวทางในการบริหารจัดการหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิการศึกษาครั้งนี้ใชวิธีการสังเกตการณ สัมภาษณและสํารวจสภาพทางกายภาพ ของหองน้ําภายในอาคารผูโดยสาร และการสืบคนขอมูลเอกสารที่เกี่ยวของจากการศึกษาพบวา อาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ประกอบไปดวยอาคารผูโดยสารหลักและอาคารเทียบเครื่องบิน มีผูใชอาคารเฉลี่ย 150,000 คนตอวัน โดยประเภทและจํานวนผูใชงานภายในอาคารผูโดยสารหลักมีมากกวาอาคารเทียบเครื่องบิน ปจจุบันหองน้ําภายในอาคารผูโดยสารมีจํานวน 209 ตําแหนงแบงไดเปน 2 สวนคือ หองน้ําภายในอาคารผูโดยสารหลักจํานวน 43 ตําแหนง ซึ่งประกอบไปดวยโถสวม 302 โถโถปสสาวะชาย 103 โถ และหองน้ําภายในอาคารเทียบเครื่องบินจํานวน 166 ตําแหนง ประกอบไปดวยโถสวม1,001 โถ โถปสสาวะชาย 387 โถ บริเวณตําแหนงหองน้ําที่มีผูใชงานมาก ไดแก หองน้ําที่อยูในบริเวณโถงผูโดยสารขาเขาชั้น 2 รานคาและภัตตาคาร ชั้น 3 และโถงผูโดยสารขาออก ชั้น 4 ของอาคารผูโดยสารหลัก และพบวาหองน้ําภายในอาคารผูโดยสารหลักไดรับการรองเรียนเรื่องหองน้ําไมเพียงพอตอการใชงานมากกวาอาคารเทียบเครื่องบิน สวนปญหาหองน้ําที่มีการกลาวอางถึงมากสรุปเปนประเด็นไดดังนี้ หองน้ําไมเพียงพอตอการใชงานและหองน้ําไมสะอาดจากขอมูลทําใหเขาใจไดวา จํานวนผูใชงานตอจํานวนหองน้ําภายในอาคารผูโดยสารหลักมีจํานวนมากกวาหองน้ําภายในอาคารเทียบเครื่องบินซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหมีอัตราการใชงานหองน้ํามากในบริเวณพื้นที่อาคารผูโดยสารหลัก และสงผลกระทบตอความสะอาดของหองน้ําบริเวณดังกลาวดวย นอกจากนี้ยังพบวารูปแบบของสุขภัณฑที่ใชไมเหมาะกับการใชงานการศึกษานี้สรุปวา ปญหาหองน้ําไมเพียงพอตอการใชงานเกิดขึ้นจริงเฉพาะบริเวณหองน้ําที่อยูภายในอาคารผูโดยสารหลัก ซึ่งมีสาเหตุมาจากตําแหนงและจํานวนหองน้ําไมสัมพันธกับจํานวนผูใชงาน สวนปญหาหองน้ําไมสะอาดเกิดจากการออกแบบและการเลือกใชรูปแบบของสุขภัณฑที่ไมเหมาะกับการใชงาน จึงเห็นไดวาปญหาหองน้ําที่เกิดขึ้นภายในอาคารผูโดยสารมีสาเหตุหลักมาจากการออกแบบที่ไมเขาใจในพฤติกรรมการใช62


งาน และไมไดคํานึงถึงการดูแลรักษา ดังนั้นเพื่อไมใหเกิดปญหาการใชงาน ผูออกแบบควรจะคํานึงถึงการใชงานและการดูแลรักษาตั้งแตในขั้นตอนของการออกแบบ1. ความเปนมาและสาระสําคัญทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) เปนทาอากาศยานนานาชาติขนาดใหญ เปนศูนยกลางการบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่มีความสําคัญตอการสงเสริมและพัฒนาความเจริญ ดานเศรษฐกิจ สังคมและการทองเที่ยวของประเทศ มีศักยภาพในการรองรับผูโดยสารได 45 ลานคนตอป และรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวบินตอชั่วโมง โครงการทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) เปดใหบริการอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549ในชวงแรกของการเปดใหบริการทาอากาศยานสุวรรณภูมิ มีการกลาวอางถึง ปญหาที่เกิดขึ้นจากการใชหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร มากมาย ยกตัวอยางเชน “นอกจากหองน้ําปริมาณไมเพียงพอแลว คุณภาพก็ไมไดเรื่องครับ สําหรับทาอากาศยานแหงใหม ที่จะเปนศูนยกลางการบินในภูมิภาคนี้” 1 , “หองน้ําไมพอ ยังเปนปญหาใหญของสุวรรณภูมิ” 2 , “มีเสียงบนกันมากวาหองน้ํา(บางจุด) ก็มีกลิ่นที่ไมคอยสะอาดนัก” 3 , “เรื่องจํานวนหองน้ํานอยในบางบริเวณ นาจะมาจากการออกแบบตามมาตราฐานของตางประเทศโดยไมเขาใจหรือไมสนใจพฤติกรรมคนไทย” 4 เปนตน ซึ่งคํากลาวอางเหลานี้ลวนสงผลตอภาพลักษณของ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิทั้งสิ้นดังนั้นจึงตองการศึกษาขอเท็จจริงของปญหาหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิเพื่อนําขอมูลที่ไดมาใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร และขอเสนอแนะในการบริหารทรัพยากรกายภาพ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิตอไป2. วัตถุประสงคการศึกษาการศึกษานี้มีวัตถุประสงคคือ1. เพื่อศึกษาปญหาและสาเหตุของปญหาหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ2. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการบริหารจัดการหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสารทาอากาศยานสุวรรณภูมิ3. วิธีการศึกษาการศึกษานี้เปนการศึกษาเพื่อหาขอเท็จจริงของปญหาหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยการใชวิธีวิจัยเชิงประจักษ (EMPIRICAL RESEARCH) ทําการศึกษาสภาพปจจุบันจากขอมูลดังนี้3.1 ขอมูลปฐมภูมิ- สํารวจลักษณะทางกายภาพของหองน้ํา1ฐานเศรษฐกิจ (5 ตุลาคม 2549 – 7 ตุลาคม 2549)2ลมเปลี่ยนทิศ, “หมายเหตุประเทศไทย,” ไทยรัฐ (25 ตุลาคม 2549) : 53นวลจันทร จิตนาพันธ, “คุยสบายสไตลวันหยุด,” คมชัดลึก (28 ตุลาคม 2549)4ปริญญา ตรีนอยใส, “มองบานมองเมือง,” มติชนสุดสัปดาห (31 สิงหาคม 2550 – 6 กันยายน 2550)63


- สังเกตการณพฤติกรรมการใชงานหองน้ํา ของผูใชบริการ- สัมภาษณบุคลากร ที่ดูแลรับผิดชอบหองน้ํา3.2 ขอมูลทุติยภูมิ- ขอมูลเอกสารที่เกี่ยวของ ไดแก ขาวปญหาหองน้ํา , แบบสถาปตยกรรมของหองน้ํา , รายงานและแผนการดูแล บํารุงรักษาหองน้ํา เปนตน- บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวของ- ผลสํารวจความพึงพอใจและคุณภาพการใหบริการขององคกรขั้นตอนตอไปนําขอมูลที่ไดมารวบรวมและจําแนกเพื่อวิเคราะหถึงปญหาและสาเหตุของปญหาหองน้ําและนําผลสรุปมาเสนอแนะแนวทางในการบริหารจัดการหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ4. ผลการศึกษาเบื้องตน4.1 ลักษณะทางสถาปตยกรรมของอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ มีพื้นที่รวมประมาณ 556,543.70 ตารางเมตรประกอบดวย4.1.1 อาคารผูโดยสารหลัก (Main terminal Building) เปนอาคารเดี่ยวชวงกวางไมมีเสากลางอาคารขนาดยาว 441 เมตร กวาง 108 เมตร สูง 45 เมตร มีพื้นที่ 189,475.08 ตารางเมตร มีจํานวนชั้นทั้งหมด 7 ชั้น ชั้นใตดิน 2 ชั้น ดังนี้ชั้นที่ 1 เปน Bus Lobbyชั้นที่ 2 เปนสวนบริการผูโดยสารขาเขาทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศชั้นที่ 3 ประกอบดวยสํานักงานของสายการบิน มีจุดนัดพบ รานคา และภัตตาคารชั้นที่ 4 เปนสวนบริการผูโดยสารขาออก ประกอบดวย พื้นที่บริการผูโดยสารขาออกภายในประเทศและระหวางประเทศ เคานเตอรเช็คอิน จุดตรวจหนังสือเดินทางของสํานักงานตรวจคนเขาเมือง สํานักงานสวนราชการ เคานเตอรของสายการบินเคานเตอรประชาสัมพันธทาอากาศยานชั้นที่ 5 เปนสํานักงานของสายการบินชั้นที่ 6 เปนภัตตาคารชั้นที่ 7 เปนจุดชมทัศนียภาพสวนชั้นใตดิน มีการแบงสัดสวนเปนสถานีรถไฟ ชานชาลารถไฟ และพื้นที่ของระบบสายพานลําเลียงกระเปา4.1.2 อาคารเทียบเครื่องบิน (Concourse ) มี 7 หลัง คือ A,B,C,D,E,F และ G อาคาร มีพื้นที่รวม 367,068.62 ตารางเมตร มีจํานวนชั้นทั้งหมด 4 ชั้น โดยอาคารเทียบเครื่องบิน A และ B ใชบริการผูโดยสารภายในประเทศ สวนอาคารเทียบเครื่องบิน C,D,E,F และ G ใชบริการผูโดยสารระหวางประเทศ4.2 หองน้ํา ภายในทาอากาศยานสุวรรณภูมิ64


จากการรวบรวมขอมูลปริมาณหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สามารถจําแนกเปนตารางไดดังตอไปนี้4.2.1 ขอมูลกายภาพตารางที่ 1 จํานวนปริมาณตําแหนง (ตําแหนง)FloorMain Terminal BuildingActivityจํานวน(ตําแหนง)Concourse Building (A-G)Activity จํานวน(ตําแหนง)-1 สายพานลําเลียงกระเปา 2 - - 21 Bus Lobby 7 Service Area 41 482 สวนบริการผูโดยสารขาเขาภายในประเทศและระหวางประเทศ3 ภัตตาคาร รานคา จุดนัดพบสํานักงานสายการบิน4 สวนบริการผูโดยสารขาออกภายในประเทศและระหวางประเทศรวม11 ขาออก Service Area (51)ขาออก Hold Rooms (12) 86 97ขาเขา Corridor (23)9 หองรับรองสายการบิน 18 278 ผูโดยสารขาออก รานคาDuty Free21 295 สํานักงานสายการบิน 4 - - 46 ภัตตาคาร 2 - - 27 จุดชมทัศนียภาพ - - - -รวม 43 รวม 116 209ตารางที่ 2 จํานวนปริมาณพื้นที่ (ตารางเมตร)FloorMain Terminal BuildingActivity พื้นที่(ตารางเมตร)Concourse Building (A-G)Activity พื้นที่(ตารางเมตร)-1 สายพานลําเลียงกระเปา 236.50 - - 236.501 Bus Lobby 830 Service Area 1851 26812 สวนบริการผูโดยสารขาเขาภายในประเทศและระหวางประเทศ750.50ขาออก Service Area(51)ขาออก Hold Rooms(12)ขาเขา Corridor (23)รวม6246.50 69973 ภัตตาคาร รานคา จุดนัด 530 หองรับรองสายการบิน 1497.50 2027.5065


พบ สํานักงานสายการบิน4 สวนบริการผูโดยสารขาออกภายในประเทศและระหวางประเทศ464 ผูโดยสารขาออก รานคาDuty Free1540 20045 สํานักงานสายการบิน <strong>13</strong>6 - - <strong>13</strong>66 ภัตตาคาร 112 - - 1127 จุดชมทัศนียภาพ - - - -รวม 3059 รวม 11<strong>13</strong>5 14194ตารางที่ 3 จํานวนสุขภัณฑบริเวณพื้นที่ (Area) ชาย พิการเดียว หญิงMain TerminalBuildingอาง125ปสสาวะ103โถสวม90พิการ22อาง-โถสวม-อาง<strong>13</strong>2โถสวม166Concourse Building 414 387 306 75 55 55 398 497 68(A-G)รวม 539 490 396 97 55 55 530 663 92พิการ24จากการศึกษาพบวาจํานวนตําแหนงหองน้ําภายในอาคารผูโดยสาร มีทั้งหมด 209 ตําแหนง มีจํานวนพื้นที่รวม 14,194 ตารางเมตร แบงไดเปน 2 สวน คือ หองน้ําภายในอาคารผูโดยสารหลัก 43 ตําแหนง มีจํานวนพื้นที่ 3,059 ตารางเมตรประกอบดวยหองสวมชาย 90 หอง หองสวมหญิง 166 หอง และหองน้ําภายในอาคารเทียบเครื่องบิน 166 ตําแหนง มีจํานวนพื้นที่ 11,<strong>13</strong>5 ตารางเมตร ประกอบดวยหองสวมชาย 396 หอง หองสวมหญิง 663 หอง4.2.2 ขอมูลผูใชหองน้ํา ผูที่มาใชหองน้ําภายในอาคารผูโดยสาร ไดแก ผูโดยสาร เจาหนาที่พนักงานสายการบิน พนักงานบริษัททัวร เปนตน4.2.3 ขอมูลการใชหองน้ํา จากการสํารวจการใชงานหองน้ําพบวาบริเวณตําแหนงหองน้ําที่มีการใชงานมากคือ หองน้ําที่อยูในบริเวณโถงผูโดยสารขาเขา ชั้น 2 รานคา ภัตตาคารชั้น 3 และโถงผูโดยสารขาออกชั้น 4 ของอาคารผูโดยสารหลัก และจากการรวบรวมขอมูลผลสํารวจความพึงพอใจและคุณภาพการใหบริการขององคกรพบวาหองน้ําในบริเวณอาคารผูโดยสารหลักไดรับการรองเรียนเรื่องความไมสะอาดจากผูใชบริการมากกวาบริเวณอื่น4.2.4 ขอมูลการดูแลและบํารุงรักษา หนวยงานที่รับผิดชอบในการดูแลและบํารุงรักษาหองน้ํา ภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ มีดังนี้66


4.2.3.1 ฝายการทาอากาศยาน เปนผูรับผิดชอบดูแลพื้นที่ของหองน้ําและควบคุมกํากับดูแลการทําความสะอาดของบริษัทรับจางเหมาบริการทําความสะอาดหองน้ํา ซึ่งประกอบดวย- บริษัท CARE&CLEAN เปนผูดูแลทําความสะอาดหองน้ําภายในอาคารผูโดยสารหลัก จํานวน 43 ตําแหนง- บริษัท A&P MAINTENANCE เปนผูดูแลทําความสะอาดหองน้ําภายในอาคารเทียบเครื่องบิน จํานวน 166 ตําแหนง4.2.3.2 ฝายสนามบินและอาคาร เปนผูรับผิดชอบดูแลการบํารุงรักษาและซอมแซมระบบสุขาภิบาล กระเบื้อง สุขภัณฑ4.2.3.3 ฝายไฟฟาเครื่องกล เปนผูดูแลการบํารุงรักษาและซอมแซมระบบไฟฟาแสงสวางและระบบปรับอากาศ4.3 ปญหาหองน้ําภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ4.3.1 ปญหาหองน้ําที่มีการกลาวอางถึงจาการศึกษาพบวามีการกลาวอางถึงปญหาหองน้ําภายในอาคารผูโดยสาร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิจากขาว บทความทางหนังสือพิมพ ซึ่งสามารถนํามาสรุปเปนประเด็นปญหาไดดังตอไปนี้คือ หองน้ําไมพอตอการใชงาน ตําแหนงหองน้ําไมเหมาะสมและหองน้ําไมสะอาด4.3.2 ปญหาหองน้ําในสภาพปจจุบัน จากการสํารวจสภาพหองน้ําปจจุบันพบวา- ชวงเวลาคับคั่งหองน้ําในบางตําแหนงมีผูใชบริการเปนจํานวนมาก- อางลางหนาและโถปสสาวะชายมีขนาดเล็ก หลังจากใชงานสุขภัณฑดังกลาวจะพบปญหาพื้นหองน้ําสกปรก- หองน้ําในบางตําแหนง พื้นที่มีขนาดเล็กและมีจํานวนหองสวมนอย5. การอภิปรายผลการศึกษาการศึกษานี้มีขอสังเกตดังนี้- อาคารผูโดยสารหลักมีพื้นที่การใชงานที่หลากหลาย เชน โถงผูโดยสารขาเขาและขาออกภายในประเทศและระหวางประเทศ รานคา ภัตตาคาร สํานักงานสายการบิน เปนตน จึงทําใหมีผูใชอาคารที่หลากหลายตามไปดวยไมวาจะเปนผูโดยสาร พนักงานสายการบิน เจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง เจาหนาศุลกากร พนักงานบริษัททองเที่ยว ผูมารับ-สง ผูโดยสาร สวนอาคารเทียบเครื่องบินมีพื้นที่ไวสําหรับใหบริการผูโดยสารภายในประเทศและตางประเทศ ผูใชอาคารจึงมีเฉพาะผูโดยสาร เจาหนาที่และพนักงานสายการบินเทานั้น- จากขอมูลจะเห็นไดวาจํานวนหองน้ําและจํานวนหองสวม ภายในอาคารผูโดยสารหลักมีจํานวนนอยกวา เมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนหองน้ําและหองสวนภายในอาคารเทียบเครื่องบิน- หองน้ําภายในอาคารผูโดยสารหลักมีผูใชจํานวนมาก เปนผลมาจากความไมสัมพันธกันระหวางจํานวนหองน้ําและจํานวนผูใช ประกอบกับลักษณะของสุขภัณฑไมเหมาะสมกับการใชงาน จึงทําใหหองน้ําบริเวณดังกลาวไมสะอาด- ปญหาหองน้ําไมพอตอการใชงาน และปญหาหองน้ําไมสะอาดเกิดขึ้นเฉพาะหองน้ําที่อยูบริเวณอาคารผูโดยสารหลัก67


การใชสอยที่วางในตลาดตรอกหมอ แขวงวัดราชบพิธ กรุงเทพมหานคร 1THE SPATIAL SPACE USAGE IN TROKMO MARKET BANGKOKนายดําเนิน เตจะใหมหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอตลาดตรอกหมอเปนตลาดสดขนาดเล็กแหงหนึ่งที่เกิดขึ้นภายใน “ซอย” หรือ “ตรอก” ในยานเกาภายในกรุงรัตนโกสินทร ที่ยังคงความเปนตลาดที่มีความเขมขนของกิจกรรม ทั้งการเดินทางเขามาจับจายใชสอยของผูคนอยางหนาแนน ความหลากหลายของสินคา ตลอดจนการใชสอยที่วางเพื่อประกอบกิจกรรมตลาด ที่มีลักษณะเฉพาะตัวในขอเขียนนี้จึงไดทําการศึกษาตลาดตรอกหมอใน 2 ประเด็น คือ 1.) เรื่องราวการเกิดขึ้นของตลาดตรอกหมอ 2.) การใชสอยที่วางในตลาดตรอกหมอ โดยไดอาศัยการศึกษาภาคสนามจากการสังเกตการณภายในตลาดตรอกหมอ และการสัมภาษณอยางไมเปนทางการจากผูที่อาศัยอยูในตลาดตรอกหมอ 2 รวมกับการสํารวจพื้นที่ในชวงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ. 2551 แลวจึงนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหสรุปผลจากการศึกษาพบวาตลาดตรอกหมอในอดีตเคยเปน “ตลาด” ที่อาศัยอยูในโรงตลาดถาวรสรางขึ้นภายในบริเวณตรอกหมอ ตอมาภายหลังโรงตลาดไดถูกรื้อลงเพื่อสรางเปนหองแถวขึ้นแทน พอคา แมคาที่เคยคาขายอยูในโรงตลาดจึงไดเริ่มปรับใชที่วางในบริเวณดานหนาของหองแถว รานคาและที่วางภายในสองขางทางของตรอกหมอเปนพื้นที่ในการคาขาย จากนั้นตลาดจึงคอยๆขยาย เติบโตไปตามเสนทางภายในตรอกหมอ หลังจากการยายออกมาสูตรอก ตลาดจึงคอยๆปรับปรุงรูปแบบของตัวเองขึ้นมาเพื่อใหสามารถอยูรวมกับสภาพแวดลอมภายในตรอกและบริบทของพื้นที่โดยรอบที่มีเงื่อนไขเฉพาะของตัวเองได ดวยเหตุนี้จึงทําใหตลาดตรอกหมอมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวเกิดขึ้น เชน การประกอบไปดวยกิจกรรมและการใชสอยที่วางอยางหลากหลายบนพื้นที่ตรอกที่แลดูเหมือนไรระบบมีรูปแบบที่ไมเปนทางการ, การเกิดขึ้นของหาบเรแผงลอยในบริเวณดานหนาของหองแถวและรานคา1ขอเขียนนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิจัยในหัวขอ “การใชสอยที่วางในตลาด: กรณีศึกษาตลาดตรอกหมอ แขวงวัดราชบพิธ กรุงเทพฯ ในหลักสูตรปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม ของผูเขียนที่กําลังอยูในชวงระหวางทําการศึกษา2 การศึกษาเรื่องราวของตลาดตรอกหมอ ไดเลือกสัมภาษณผูคนในกลุมครอบครัวที่มีบทบาทสําคัญและอาศัยอยูในตลาดตรอกหมอมานาน โดยไดทําการสัมภาษณใน 3 ครอบครัว คือ 1.) ครอบครัว “รานเปย” เจาของแผงลอยขายปลาน้ําจืดเกาที่ยายออกมาจากโรงตลาดเทศา เปดเปนรานชําในหองแถว, ครอบครัวคุณธีระ เอื้ออารีกุลครอบครัวที่ทําการคาขายภายในตลาดตรอกหมอ และ 3. ครอบครัวราน “เฮงฮั่วเชง” รานชําเกาแกภายในตรอกหมอ68


บทนํา“ตลาดตรอกหมอ 3 ” เปนตลาดสดที่เกิดขึ้นภายใน “ซอยเทศา” หรือ “ตรอกหมอ” มาชานาน โดยที่ยังคงความเปนตลาดที่มีความเขมขนของกิจกรรม และประกอบไปดวยรูปแบบในการใชสอยที่วางที่มีความนาสนใจโดยการปรับใชพื้นที่ภายใน “ตรอก 4 ” มาประกอบกิจกรรมตลาดในขอเขียนนี้ไดทําการศึกษาตลาดตรอกหมอใน 2 ประเด็น คือ 1.) เรื่องราวการเกิดขึ้นของตลาดตรอกหมอ 2.) การใชสอยที่วางในตลาดตรอกหมอ เพื่อใชเปนฐานในการทําความเขาใจในตลาดแหงนี้ในเบื้องตน ดังนี้ตลาดตรอกหมอตลาดนัด ซอยสุขา 2/www. pointasia.com : แผนที่กรุงเทพฯ 2550แผนที่ 1 ที่ตั้งของตลาดตรอกหมอ ตั้งอยูในเขตชุมชนราชบพิธพัฒนา แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ3 “ตลาดตรอกหมอ” ตั้งอยูในชุมชนราชบพิธพัฒนา แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของยานเกาที่มีความสําคัญทางดานประวัติศาสตรในกรุงรัตนโกสินทร โดยในชวงสมัยรัชการที่ 5 ไดมีการขยายเมืองดวยการตัดถนนและไดสรางอาคารพาณิชยเพื่อสรางใหพื้นที่เปนยานการคาของเมือง ชุมชนแหงนี้จึงเปนสวนหนึ่งของจุดตัดของถนนสองสายสําคัญของเมือง ไดแก ถนนเฟองนคร และถนนบํารุงเมือง อางใน วิมลรัตน อิสระธรรมนูญ. การศึกษาเพื่อจัดทําโครงการอนุรักษและฟนฟู"ยานสามแพรง". พัฒนาการวิชาการสถาปตยกรรม. ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ : คณะสถาปตยกรรมศาสตร, 2547, หนา29.4 “ตรอก” หมายถึง ทางแยกจากถนนใหญที่มีขนาดเล็กกวาถนน เชน ตรอกขี้หมา, ตรอกยาฉุน, ตรอกเลาโจว เปนตน ตรอกยังเปนคําที่มีความหมายคลายกันกับคําวา “ซอย” ที่หมายถึงทางยอยหรือทางแยกจากทางใหญ ในการศึกษาครั้งนี้จึงไดเลือกใชคําวา “ตรอก” แทนคําวา “ซอย” เพื่อใหสอดคลองกับการเรียกขานของผูคนในชุมชน(ตลาด)ตรอกหมอ69


เรื่องราวของตลาดตรอกหมอ“ตลาดตรอกหมอ” เปนตลาดสดขนาดเล็ก อยูในตรอกหมอ หรือซอยเทศา ในชุมชนราชบพิธพัฒนา เขตพระนคร เมืองกรุงเทพฯ ซึ่งเปนยานเกาแหงหนึ่งของเมืองและมีถนน หนทางที่สามารถเดินทางเชื่อมตอไปยังยานอื่นๆและสถานที่สําคัญของเมืองกรุงเทพฯกอนจะกลายมาเปนตลาดสดชั่วคราวในตรอกนั้น ตลาดตรอกหมอเริ่มเกิดขึ้นจากการรวมกันคาขายอาหารและของสดอยูภายในบริเวณที่วางดานหนาหองแถวในซอยสุขา 1 ของผูคนในชุมชน และในยานใกลเคียงซึ่งสวนใหญเปนชาวไทยเชื้อสายจีน ที่เดินทางเขามาคาขายในชุมทางเล็กๆนี้ ประกอบไปดวยรานคา และแผงลอย5 อยูเพียงไมกี่ราน---เรื่อยมาจนถึงราวปพ.ศ. 2500 ไดมีผูลงทุนสรางโรงตลาดขึ้นภายในบริเวณตรอกหมอ โดยไดจัดใหมีพื้นที่คาขายอยูในรูปแบบของโรงตลาดถาวร 6 พอคา แมคาจึงไดเริ่มยายกันเขามาเชาแผงลอยเพื่อทําการคาขายอยูในโรงตลาด เปดขายของกันตลอดทั้งวัน และเรียกกันโดยทั่วไปวา “ตลาดเทศา” หรือ “ตลาดตรอกหมอ”จนถึงราวปพ.ศ. 2520 เจาของโรงตลาดไดเลิกกิจการและขายที่โรงตลาดเทศาไปเพื่อสรางเปนโครงการหองแถวจํานวน 6 หองขึ้นมาแทน---เมื่อโรงตลาดเทศาถูกรื้อลงไป พอคา แมคาที่อาศัยอยูในตรอกหมอจึงยายมาตั้งแผงลอยขายของในบริเวณดานหนาหองแถวของตัวเอง พอคา แมคาหลายรายไดยายไปขายที่อื่น หรือเลิกคาขายไป และบางรายไดเขาไปขอเชาหองแถวเพื่อเปดเปนรานคา หรือตั้งแผงลอยเพื่อใหสามารถทําการคาขายตอไปไดการคาขายจากที่เคยอยูในโรงตลาด ไดยายออกมาอยูในบริเวณที่วางสองขางทางของตรอกหมอ โดยมีรานคาและแผงลอยเกิดขึ้นตั้งแตในบริเวณชวงที่เคยเปนโรงตลาด เรียงตอเนื่องกันไปจนเกือบถึงบริเวณจุดตัดกลางตรอก และปรับจากตลาดสดทั่วไปที่ขายของไดตลอดทั้งวันอยูในโรงตลาดมาเปนตลาดสดแผงลอย ที่ชุมนุมขายสินคาสินคาอุปโภคบริโภค อาหารสดทั่วๆไป ในชวงระยะเวลาสั้นๆและจะเริ่มวายไปในชวงสาย หรือที่เรียกกันวา “ตลาดเชา”5 แผงลอย หมายถึง ที่ที่จัดไวในถนนสาธารณะ หรือที่สาธารณะ รวมตลอดถึงอาคาร แคร แทนโตะ แผง เสื่อ ... สําหรับขายอาหาร น้ําแข็ง หรือสิ่งของอยางอื่นพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส, 2546.6 ลักษณะของโรงตลาดที่สรางขึ้นมาราวป พ.ศ. 2500 นั้นเปนอาคารขนาดใหญมีลักษณะโปรงและถาวร ภายในตลาดมีที่วางขายของเปนชองๆกอขึ้นเปนแทนดวยอิฐมอญสูงจากพื้นขึ้นมาประมาณ 1.00 เมตร และมีชองโลงภายใตไวสําหรับเก็บของ เปนแผงลอยที่มีลักษณะอยูติดกับที่ บริเวณโดยรอบประกอบไปดวยตึกแถวหรือหองแถวที่เปนทั้งที่เก็บสินคา, รานคา และที่อยูอาศัย, อนุชา เมฆสีประหลาด (ครอบครัวรานเปย), สัมภาษณ, 25 มกราคม 2552.70


อางอิงจากแผนที่กรุงเทพฯ ปพ.ศ. 2510 และการสัมภาษณ อางอิงจากแผนที่กรุงเทพฯ ปพ.ศ. 2550 และการสัมภาษณ อางอิงจากแผนที่กรุงเทพฯ ปพ.ศ. 2550 และการสัมภาษณแผนที่ 2 ตําแหนงการเกิดขึ้นของตลาดตรอกหมอ ในชวงกอนป พ.ศ. 2500, ป พ.ศ. 2500 และปจจุบัน (พ.ศ. 2552)เมื่อตลาดเริ่มเปนที่รูจักและคุนเคยของผูคน “ติดตลาด” จึงเกิดรานคาและแผงลอยเพิ่มจํานวนมากขึ้น ทั้งพอคา แมคาในถิ่นและที่เดินทางมาจากถิ่นอื่น ทั้งผูคา “ประจํา” มีที่ตั้งแผงลอยเปนหลักแหลงประจํา และผูคา “ขาจร” ที่ยังไมมีที่ตั้งแผงลอยเปนหลักแหลงประจํา ตองเรขายไปตามรายทางจึงเริ่มมองหาที่ทางขอเชาที่วางสําหรับตั้งแผงลอยขายประจํา ตลาดตรอกหมอจึงคอยๆขยายตัว จากเริ่มตนเพียงบริเวณชวงตนของตรอกหมอที่เคยเปนโรงตลาดเดิมจนขยายกลายเปนแนวยาวไปจนสุดเสนทางของตรอกหมอ 7 อยางที่ปรากฏอยูในปจจุบันรูปที่ 1 สภาพและบรรยากาศภายในตลาดตรอกหมอในตอนเชา7 นอกจากตลาดตรอกหมอแลว ในชวงราวปพ.ศ. 2535 ไดเกิดกลุมแผงลอยขายสินคาในลักษณะคลายกับ “ตลาดนัด” ขึ้น ภายในซอยสุขา 2 ซึ่งเปนซอยเล็กอีกซอยหนึ่งที่เชื่อมอยูกับซอยเทศา(ตรอกหมอ) โดยเกิดขึ้นในชวงวันจันทรถึงวันศุกร โดยมีรูปแบบและประเภทสินคาเปนเสื้อผา ขาวของเครื่องใช อุปโภค และรานคาขายอาหารเพื่อบริการใหแกผูคนทั้งในชุมชนและพนักงาน จากหนวยงานราชการในบริเวณใกลเคียงกับตรอกหมอ ซึ่งเปนกลุมลูกคาหลักของตลาดนัดในซอยสุขา 2 (ซอยสุขา 2 เปนเสนทางเดินเชื่อมตอถึงกันอยางนอย 2 หนวยงานสําคัญคือ สภาหอการคาไทย และที่ทําการสํานักงานกระทรวงมหาดไทย)71


การใชสอยที่วางในตลาดตรอกหมอการใชสอยที่วางภายในตรอกหมอสามารถแบงออกเปนสามชวงเวลา 8 ดังนี้ “เชา” ชวงตลาดสดเชา,“สาย-บาย” ชวงแปรเปลี่ยนจาก “ตลาดเชา” เขาสู “ตลาดบาย” 9 และ “เย็น” ชวงตลาดวายเชา สาย-บาย เย็นอางอิงจากแผนที่กรุงเทพฯ ปพ.ศ.2550 และจากการสังเกต อางอิงจากแผนที่กรุงเทพฯ ปพ.ศ.2550 และจากการสังเกต อางอิงจากแผนที่กรุงเทพฯ ปพ.ศ.2550 และจากการสังเกตแผนที่ 3 การเปลี่ยนแปลงรูปรางของตลาดภายในชุมชนตรอกหมอในสามชวงเวลา “เชา-สาย-บายและเย็น” ตามลําดับเชา เปนชวงที่ “ตลาดเชา” เริ่มตนขึ้นตั้งแตชวงเวลาประมาณ 03.00-10.00 น. หรือที่ผูคาเรียกวา “รอบเชา”เปนเวลาที่ตลาดตรอกหมอและตลาดนัดในซอยสุขา 2 เริ่มขึ้น โดยมีผูคาที่อาศัยอยูในตรอกหมอและที่มาจากถิ่นอื่นเริ่มทยอยเขามาตั้งแผงลอย และจัดเตรียมสินคาตั้งแตในชวงเวลาประมาณ 03.00 น. เรื่อยไปจนถึงเวลาประมาณ 06.00 น. แผงลอยจะทยอยติดตั้งไลเรียงกันไปตามที่วางดานหนาของหองแถวภายในตรอกหมอ โดยในแตละแผงจะใชเวลาและที่วางในการจัดเตรียมสินคา และตั้งแผงลอยแตกตางกันไป เชน แผงขายผัก ผลไม เนื้อหมู เนื้อวัว จะเริ่มมาตั้งแผงกอนแผงอื่นๆ เพื่อตองทําความสะอาด จัดเตรียม ตกแตงสินคา และตามดวยแผงขายอาหารสําเร็จ แผงขายขนม และแผงขายสินคาสําเร็จรูปอื่นๆ เปนตน เชนเดียวกับรานคาที่ตองเปดบริการใหกับผูคาแผงลอยก็จะเปดรานกอนรานอื่นๆ เชน รานน้ ําแข็งที่ตองบริการน้ําแข็งใหกับแผงขายของสด แผงขาย, รานขายเครื่องดื่มชา กาแฟ เปนตนจนถึงชวงเวลาประมาณ 06.00-09.00 น. เปนชวงที่มีผูคนทยอยเดินทางเขามาจับจายใชสอยอยางหนาแนนที่สุด และในชวงนี้ความหนาแนนของผูคน และความเขมขนของกิจกรรมตลาดจะกระจายอยูในบริเวณตรอกหมอ“ตลาดเชา”8 จากการสังเกตภายในตรอกหมอตามจุดตางๆ โดยเฉพาะในชวงเวลาของ “ตลาด” พบวาไมสามารถแบงการเปลี่ยนแปลงการใชสอยที่วางออกเปนชวงเวลาและกําหนดรูปรางการเปลี่ยนแปลงใหเปนขอบเขตที่แนนอนตายตัวได เนื่องจากที่วางภายในตรอกหมอมีการจัดการอยางอิสระขึ้นอยูกับเจาของในแตละแหง และยังมีรูปแบบของการใชที่วางในลักษณะชั่วคราวจึงทําใหมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยูไดเสมอ9 ปรากฏการณ “ตลาดเชา” และ “ตลาดบาย” ที่เกิดขึ้นภายในชุนชนตรอกหมอนั้นเกิดขึ้นในเวลาพรอมกัน แตแบงไดจากการสังเกตความเขมขนของกิจกรรมตลาดจะคอยๆยายจากพื้นที่ของ “ตลาดเชา” (ในตรอกหมอ) เขาสูพื้นที่ “ตลาดบาย” (ซอยสุขา 2) และยังมีการเปลี่ยนเปลี่ยนของแผงลอยในตลาดเชา ที่สวนใหญเปนแผงลอยขายของสด เชน ผัก ปลา เนื้อไก เนื้อหมู เนื้อวัว จะเริ่มทยอยหายไป และในบางแหงจะมีแผงลอยชุดใหมที่ขายสินคาแตกตางออกไปเขามาแทนที่72


สาย-บาย ชวงแปรเปลี่ยนจาก “ตลาดเชา” เขาสู “ตลาดบาย” ในชวงเวลาประมาณ 10.00-<strong>13</strong>.30 น. หรือที่ผูคาเรียกวา “รอบบาย” ของตลาดเปนชวงเวลาที่แผงลอยและที่วางในตลาดตรอกหมอเริ่มคอยๆมีการเปลี่ยนแปลง 10 เชน แผงขายของสด, ผัก ผลไม ดอกไม พวงมาลัย จะเริ่มคอยๆพับเก็บแผง หรือยุบแผงใหมีขนาดเล็กลง เพื่อยกที่วางใหกับแผงลอยชุดใหมเขามาแทนที่ ลักษณะของแผงลอยในรอบนี้จะขายสินคา ประเภทเครื่องอุปโภค เสื้อผา ของใชทั่วๆไป และรถเข็นขายอาหารขึ้นมาแทน เพื่อบริการสินคาและอาหารใหกับกลุมลูกคาที่เปลี่ยนจากเดิม คือ จากลูกคาภายในยาน และคนทั่วไปที่เขามาจับจายใชสอยของสด อาหารสดในชวงตลาดเชาเปลี่ยนเปนกลุมลูกคาพนักงาน, ขาราชการในหนวยงานราชการที่ตั้งอยูในบริเวณใกลเคียงกับตลาดตรอกหมอ---ที่นิยมเดินทางเขามาจับจายสินคา และเขามาพักรับประทานอาหารในชวงเวลาพักกลางวันดวยเหตุนี้จึงทําใหพื้นที่ในบริเวณที่อยูใกลเคียงและเปนเสนทางที่สามารถเดินเชื่อมไปยังหนวยงานตางๆภายในตรอกหมอ ไดมีการแบงเวลาในการใชสอยที่วางออกเปน 2 ชวงคือ “รอบเชา” ตั้งแตเชามืด 03.30-10.30น. แผงลอยชุดแรกในชวงเวลาตลาดเชา โดยสวนใหญเปนแผงขายของสด และ “รอบบาย” ตั้งแตเวลาประมาณ10.30-14.00 น. แผงลอยชุดที่สองจะเริ่มเขามาแทนที่แผงลอยในรอบเชา โดยสินคาสวนใหญจะเปน เครื่องอุปโภค เสื้อผา ของใชทั่วไป ขนม ของวาง เปนตน สําหรับราน ที่ไมมีแผงลอยชุดใหมมาแทนที่ ก็จะเริ่มคอยๆทยอยเก็บแผงในชวงเวลาประมาณ 10.30-<strong>13</strong>.00 น. มีเวลาเก็บแผงไมแนนอน ขึ้นอยูกับสินคาที่ยังเหลือ จํานวนลูกคา และผูใหเชาที่การทยอยหายไปของแผงลอยจะเริ่มในชวงบริเวณตนตรอกในบริเวณที่เคยเปนโรงตลาดเดิมเรื่อยมาจนถึงบริเวณจุดตัดกลางตรอกและในบริเวณที่มีแผลงลอยขายของสด และในรอบบายนี้ความหนาแนนของผู คนและความเขมขนของกิจกรรมจะคอยๆยายมาแอยูที่ซอยสุขา 2 เปนชวงเวลาของ “ตลาดบาย” หรือที่เรียกขานกันอีกชื่อหนึ่งวา “ตลาดแบบซอยละลายทรัพย”เย็น ชวงตลาดวาย คือชวงเวลาประมาณ 14.00-19.30 น. หาบเรแผงลอยเริ่มทยอยหายไปเกือบหมด เหลือเพียงไมกี่แผงที่ยังอยูขายตอ โดยไดปรับขนาดของแผงใหมีขนาดเล็กลงเพื่ออยูขายของที่เหลือตอไป โดยสวนมากจะเปนแผงขายของสดที่ไมสามารถเก็บของไวขายในวันตอไปไดในชวงเวลานี้ที่วางภายในตรอกหมอจะคอยๆเปลี่ยนกลับคืนมาเปนเสนทางสัญจรอีกครั้ง ความเขมขนของกิจกรรมคาขายจะยายไปอยูในบริเวณจุดตัดกลางตรอก และทางเขาตรอกที่มีรานชํา รานสะดวกซื้อ และมีผูคาหาบเร รถเข็นขายอาหาร ขนม ที่เขามาเชาที่ในรอบเย็น หรือที่ตอเนื่องมากจากตลาดรอบบาย และจะไปวายในชวงหัวค่ํา10แผงลอยและที่วางที่มีการเปลี่ยนแปลงจะขึ้นอยูกับตําแหนง หรือที่ผูคาเรียกวา “ทําเล” ที่สามารถแบงการคาขายไดมากกวา 1 รอบ คือ “รอบเชา” เวลาตั้งแตตลาดเชาเริ่มในตอนเชามืดจนถึงเวลาประมาณ 10.30 น. (ชวงเวลาของตลาดสดเชา) และ “รอบบาย” คือ 10.30-14.00 น. ชวงเวลาที่ตลาดสดเชาคอยๆหายไปเหลือเพียงตลาดบาย ขายเสื้อผา ของใช เครื่องอุปโภคและอาหาร นอกจากนี้ในบริเวณจุดเชื ่อม จุดตัดภายในตรอกหมอเจาของพื้นที่ยังสามารถแบงการเชาไดเปน 3 ชวงเวลา คือเพิ่ม “รอบเย็น”ขึ้น ตั้งแตเวลา 14.00-19.30 น. ใหกับรถเข็นขายอาหาร กับขาว ของวางในตอนเย็น73


รูปที่ 2 บรรยากาศและการเปลี่ยนแปลงภายในตลาดตรอกหมอในชวงเวลา “เชา-สาย-บายและเย็น” ตามลําดับการใชสอยที่วางภายในตลาดตรอกหมอประกอบดวย รานคา และ หาบเรแผงลอยรานคารานคาในตลาดตรอกหมอ สวนหนึ่งเปนรานคาของชําในหองแถวที่มีมากอนการเกิดขึ้นของโรงตลาดและสวนหนึ่งเริ่มเกิดขึ้นตามมาเมื่อตลาดไดเริ่มยายออกมาสูตรอก รานคาเกิดจากเจาของแผงลอยที่เคยคาขายอยูในโรงตลาดไดยายออกมาคาขายอยูรานคาหองแถวแทน รานคาที่พบในตลาดตรอกหมอประกอบไปดวยรานคาทั้งหมดอยู 6 ประเภทดังนี้ 1.) รานชํา, 2.)รานขายอาหารและเครื่องดื่ม, 3.)รานขายน้ําแข็ง, 4.) รานขายเนื้อ,5.)รานขายเครื่องอุปโภค โดยรานคาที่เปดขึ้นในชวงเวลาตลาดเชา และจะปด(วาย)ไปพรอมกับตลาดบาย คือ รานชํา ที่ขายสินคาประเภทเครื่องปรุง ของแหง, รานขายอาหารและเครื่องดื่ม, รานขายเนื้อ, รานขายเครื่องอุปโภคและรานคาที่เปดตลอดทั้งวันและจะปดลงในชวงหัวค่ํา คือ รานชํา ที่ขายสินคาพื้นฐานทั่วไป, รานน้ําแข็งนอกจากนี้ในตลาดตรอกหมอยังมีรานบริการอื่นๆที่จัดเปนองคประกอบพื้นฐานของชุมชนอยูดวย คือ รานเสริมสวย, รานสะดวกซื้อประเภทที่เปดตลอดทั้งชวงกลางวันและกลางคืน อีกดวยหาบเรแผงลอย 11ในตลาดตรอกหมอประกอบไปดวยหาบเรแผงลอย 3 แบบดังนี้ 1.) แบบติดตั้งอยูกับที่ 2.) แบบติดตั้งชั่วคราว และ 3.) แบบเคลื่อนยายไปมาได11 หาบเรแผงลอย หมายถึง แผงลอยของผูคาที่ประกอบการคาริมทางตรอกซึ่งมิใชรานคา พจนานุกรม ฉบับมติชน. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. กรุงเทพฯ: มติชน, 2547.74


รูปที่ 3 แผงลอยแบบติดตั้งอยูกับที่รูปที่ 4 แผงลอยแบบติดตั้งชั่วคราวรูปที่ 5 แผงลอยแบบเคลื่อนยายไปมาหาบเรแผงลอยในตลาดตรอกหมอมีจํานวนทั้งหมดประมาณ 253 แผง สามารถแบงหาบเรแผงลอยตามประเภทของสินคาที่ขายอยูในตลาดตรอกหมอไดทั้งหมด <strong>13</strong> ประเภทดังนี้ 1.) อาหาร, 2.) ผลไม, 3.) ผัก, 4.)เนื้อสัตว, 5.)เครื่องปรุง เครื่องเทศ ของแหง เชน หัวหอม กระเทียม, 6.) ของสด กุง ปลา และอาหารทะเล, 7.)ของวาง ของหวาน,8.) เครื่องดื่ม ชา กาแฟ น้ําผลไม, 9.) เครื่องอุปโภคบริการ เสื้อผา ของใช, 10.)ไขไก และปลาทู, 11.) หวย , 12.)ดอกไม พวงมาลัย และ <strong>13</strong>.) อื่นๆการแบงเชาที่วางเพื่อตั้งแผงลอยการแบงเชาที่วางในบริเวณดานหนาหองแถวเพื่อตั้งแผงลอยทั้งในหองแถวรานคาและหองสําหรับแถวพักอาศัย ไดแบงตามลักษณะและประเภทการใชงานไดดังนี้สําหรับตั้งแผงลอย 1 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง สําหรับตั้งแผงลอย >475


1. การแบงที่วางดานหนาหองแถวพักอาศัยแบบ 1 หอง แบงไดเปน 5 แบบ คือ 1.) สําหรับตั้งแผงลอย1 แผง มี 5 แบบ, 2.) สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง มี 11 แบบ, 3.) สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง มี 7 แบบ, 4.) สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง มี 2 แบบ, 5.) สําหรับตั้งแผงลอยไดมากกวา 4 แผง มี 2 แบบ-สําหรับตั้งแผงลอย 1 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง สําหรับตั้งแผงลอย >42. การแบงที่วางดานหนาหองแถวรานคาแบบ 1 หอง แบงไดเปน 4 แบบ คือ 1.) สําหรับตั้งแผงลอย 1แผง มี 3 แบบ, 2.) สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง มี 7 แบบ, 3.) สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง มี 5 แบบ, 4.)สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง มี 1 แบบ--- -สําหรับตั้งแผงลอย 1 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง สําหรับตั้งแผงลอย >43. การแบงที่วางดานหนาหองแถวพักอาศัยแบบ 2 หอง แบงไดเปน 1 แบบ คือ 1.) สําหรับตั้งแผงลอย4 แผง- -- -สําหรับตั้งแผงลอย 1 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง สําหรับตั้งแผงลอย >44. การแบงที่วางดานหนาหองแถวรานคาและพักอาศัยแบบ 2 หอง แบงไดเปน 1 แบบ คือ 1.) สําหรับตั้งแผงลอยไดมากกวา 4 แผง-- - -สําหรับตั้งแผงลอย 1 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง สําหรับตั้งแผงลอย >45. การแบงที่วางดานหนาหองแถวโรงงานและพักอาศัยแบบ 3 หองแถว แบงไดเปน 1 แบบ คือ 1.)สําหรับตั้งแผงลอยไดมากกวา 4 แผง76


-- - -สําหรับตั้งแผงลอย 1 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง สําหรับตั้งแผงลอย >46. การแบงที่วางดานหนาหองแถวรานคาและพักอาศัยแบบ 4 หองแถว แบงไดเปน 1 แบบ คือ 1.)สําหรับตั้งแผงลอยไดมากกวา 4 แผง- -- -สําหรับตั้งแผงลอย 1 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 2 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 3 แผง สําหรับตั้งแผงลอย 4 แผง สําหรับตั้งแผงลอย >47. การแบงที่วางในบริเวณอื่นๆภายในตรอก เชน ดานหนาบานพักอาศัย,ที่วางดานขางหองแถว แบงไดเปน 1 แบบ คือ 1.) สําหรับตั้งแผงลอยไดมากกวา 4 แผงจากการสํารวจพบวาการแบงที่วางดานหนาหองแถวและรานคาในแตละแหงนั้นมีรูปแบบไมตายตัวโดยจะผันแปรไปตามขนาดของที่วางและรูปแบบของแผงลอย จึงทําใหการแบงพื้นที่ในบริเวณดานหนาหองแถวมีการปรับเปลี่ยนเสมอสรุปโดยสรุป ตลาดตรอกหมอเริ่มตน เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันคาขายอยูภายในชุมทางเล็กๆบริเวณซอยสุขา 1โดยการตั้งแผงลอยขายสินคาชั่วคราว ในชวงเวลาสั้นๆ ตอมามีผูลงทุนสรางโรงตลาดขึ้น ผูคาจึงเริ่มยายเขาไปขายอยูในโรงตลาด ที่ตั้งอยูภายในตรอกหมอ (ซอยเทศา) และเปดทําการคาขายไดตลอดทั้งวันเหมือนโรงตลาดทั่วไป จนภายหลังโรงตลาดไดถูกรื้อลง เนื่องจากเจาของโรงตลาดขายที่โรงตลาดไปเพื่อใหสรางเปนโครงการหองแถวขึ้นมาแทน ผูคาจึงยายออกมาคาขายอยูในบริเวณสองขางทางของตรอกหมอ และปรับเปลี่ยนจากตลาดที่สามารถคาขายกันไดตลอดทั้งวันอยูในโรงตลาดมาเปน “ตลาดเชา” แทนการใชสอยที่วางในตลาดตรอกหมอ ประกอบดวย รานคา และ หาบเรแผงลอย รานคาในตลาดตรอกหมอเปนรานคาหองแถว สวนหนึ่งเปนรานคาที่เกิดขึ้นมากอนตลาด และสวนหนึ่งเริ่มเกิดขึ้นตามมาเมื่อตลาดไดยายจากโรงตลาดออกมาสูตรอก โดยสวนใหญเปนรานคาของผูคาที่เคยทําการคาขายอยูในโรงตลาดตรอกหมอและไดยายออกมาขอเชาหองแถวเพื่อเปดเปนรานคาขึ้นและยังไดอาศัยที่วางดานหนาหองแถวตั้งแผงลอยเพื่อขายของเอง และ/หรือแบงใหผูคาหาบเรแผงลอยไดเชาสําหรับตั้งแผงลอยขายของลักษณะของหาบเรแผงลอยในตลาดตรอกหมอสวนใหญเปนหาบเรแผงลอยในแบบติดตั้งชั่วคราว และแบบเคลื่อนยายไปมาได หาบเรแผงลอยในตลาดตรอกหมอมีขนาดเล็ก กะทัดรัด ซึ่งเกิดจากการปรับปรุงรูปแบบขึ้นจากขอจํากัดในเรื่องขนาดของพื้นที่ และเงื่อนไขของเวลาในแบบชั่วคราวภายในตรอก จึงทําใหหาบเรแผงลอยที่พบในตลาดตรอกหมอมีลักษณะเฉพาะตัว และมีรูปแบบที่หลากหลาย อยางไรก็ตามจากการศึกษาครั้งนี้ยัง77


พบวาตลาดตรอกหมอมีความนาสนใจอยูอีกหลายแงมุม ที่มีความสัมพันธกับเรื่องการใชสอยที่วางภายในตลาด ที่ผูเขียนจะไดทําการศึกษาตอไปบรรณานุกรมเกียรติ จิวะกุลและคนอื่นๆ. ตลาดในกรุงเทพมหานคร: การขยายตัวและพัฒนาการในรอบ 200 ป. กรุงเทพฯ:โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2525.เกียรติ จิวะกุลและคนอื่นๆ. ตลาดในกรุงเทพมหานคร: การขยายตัวและพัฒนาการในรอบ 200 ป.การเปลี่ยนแปลงของกรุงเทพฯในรอบ 200 ป, หนา 17-21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2525.พจนานุกรม ฉบับมติชน. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. กรุงเทพฯ: มติชน, 2547.พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส, 2546.วิมลรัตน อิสระธรรมนูญ. การศึกษาเพื่อจัดทําโครงการอนุรักษและฟนฟู "ยานสามแพรง". พัฒนาการวิชาการสถาปตยกรรม. ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ : คณะสถาปตยกรรมศาสตร, 2547สมรักษ ชัยสิงหกานานนท. ตลาด...พื้นที่แหงชีวิต. ใน สมรักษ ชัยสิงหกานานนท (บรรณาธิการ).ตลาดในชีวิต ชีวิตในตลาด, พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. กรุงเทพฯ: โอ.เอส พริ้นติ้งเฮาส, 2549.สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 11.กรุงเทพฯ: สํานักงานกลางหอรัษฎากรพิพัฒน, 2538, หนา 2216.78


การศึกษารูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทย.LOCAL COLLABORATION MODEL OF APEC ARCHITECT PROJECT IN THAILANDนายพัชร ชยาสิริหลักสูตรปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมคณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอภายใตกรอบการเจรจาสําหรับโครงสถาปนิกเอเปคในเรื่องการปฏิบัติวิชาชีพระดับบุคคลระหวางประเทศในกลุมสถาปนิกเอเปค สงผลตอรูปแบบการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมในประเทศไทย ซึ่งอยูในฐานะผูรับบริการและกลุ มสถาปนิกเอเปคเปนผูเขามาใหบริการวิชาชีพสถาปตยกรรมในประเทศไทย ปจจุบันสภาสถาปนิกไดเลือกรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นสําหรับสถาปนิกเอเปคที่ปฏิบัติวิชาชีพในประเทศไทยขณะนี้สภาสถาปนิกกําลังศึกษารายละเอียดวิธีการในการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่น ดังนั้นเพื่อใหการศึกษาดังกลาวครอบคลุมในทุกแงมุมที่สําคัญ จึงสมควรทําการวิจัยทางภาคการศึกษาควบคูกันไปการวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาหาแนวทางเบื้องตนของการปฏิบัติวิชาชีพในรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยโดยทําการศึกษารวบรวมขอมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณเชิงลึกและการใชแบบสอบถามเก็บขอมูล ประกอบกับรวบรวมขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารและงานวิจัยเบื้องตนที่เกี่ยวของ การวิจัยนี้ใชวิธีเลือกกลุมประชากรแบบเฉพาะเจาะจงโดยแบงออกเปน 5 กลุม 1) หนวยงานและคณะกรรมการที่เกี่ยวของการเจรจาทางการคาบริการและการเปดเสรี 2) สภาสถาปนิก 3) สมาคมสถาปนิกสยาม 4) สถาบันการศึกษา 5) สถาปนิกและบริษัทที่เกี่ยวของในประเทศไทย เปนจํานวนทั้งสิ้น 326 คนผลการวิจัยพบวาประชากรสถาปนิกจํานวนไมนอยยังไมไดรับทราบขอมูลที่เพียงพอและถูกตอง เพื่อใชในการออกความเห็นในรายละเอียดที่เกี่ยวกับรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นไดอยางเหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุด อยางไรก็ดีประชากรสถาปนิกสวนใหญตางเห็นประโยชนของการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นในโครงการสถาปนิกเอเปคทั้ง 3 ระดับ ไดแกระดับบุคคล วงการวิชาชีพและประเทศชาติจากการวิเคราะหความเห็นของประชากรสถาปนิกสวนใหญในดานขนาดของโครงการในการรวมงานพบวา ในขั้นแรกควรกําหนดใหสถาปนิกตางชาติทํางานไดเฉพาะอาคารขนาดใหญตั้งแต 10,000 ตร.ม.และอาคารที่มีเทคโนโลยีชั้นสูง ในดานขอบเขตการรวมงานดานการออกแบบ พบวาควรรวมงานในทุกขั้นตอนการออกแบบกับสถาปนิกทองถิ่นอยางเสมอภาคในสัดสวนงานที่เหมาะสม และสําหรับดานกลยุทธในการควบคุมสถาปนิกตางชาติ พบวาควรมีการกําหนดจํานวนสถาปนิกตอป ตอสํานักงาน และสัดสวนหุนรวมกันสรุปไดวารูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นเปนรูปแบบที่เหมาะสมกับประเทศไทย และควรใชกลยุทธในการเปดเสรีแบบกาวหนาตามลําดับขั้น เพื่อใหเกิดพัฒนาการที่สําคัญทางดานการเรียนรูและการปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกไทย การแลกเปลี่ยนความรู ระหวางสถาปนิกไทยและสถาปนิกเอเปคที่มีคุณภาพ การเพิ่มพูนวิทยาการสมัยใหม ตลอดจนการพัฒนาทางดานกฎหมายวิชาชีพ มาตรฐานการออกที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอม ทักษะในการสื่อสาร การเพิ่มขีดความสามารถของสถาปนิกไทย ใหสามารถยืดหยัดอยูไดอยางยั่งยืนในระดับประเทศและนานาชาติ ตามหลักความเสมอภาคในอุดมคติของการเปดเสรีทางดานการคาและบริการอยางแทจริง79


สวนที่ 1:บทนํา1.1 ความเปนมาและปญหาปจจุบันประเทศไทยเขารวมเปนสมาชิกของโครงการสถาปนิกเอเปค ซึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 14 ประเทศไดแก ไทย อเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน จีนฮองกง ไตหวัน สิงคโปร มาเลเซีย เกาหลีนิวซีแลนด ฟลิปปนส เม็กซิโก เพื่อจุดประสงคใหสถาปนิกเอเปคสามารถทํางานระหวางประเทศได ภายใตกรอบความตกลงรวมกันโดยการดูแลของสภาสถาปนิกเอเปคซึ่งแบงเปน 5 แนวทางใหญ ดังตอไปนี้ 1ตาราง 1.1 แสดงกรอบการทํางานรวมกัน ภายใตกรอบความตกลงระหวางกลุมสถาปนิกเอเปค1.ทํางานไดอยางอิสระ COMPLETED MOBILITY:ไมมีขอกําหนดเพิ่มเติม Australia-New Zealand2.ประเมินความรูเฉพาะทาง DOMAIN SPECIFIC ASSESSMENT :ประเมินความเขาใจทางดานกฎหมายและประเด็นทางเทคนิคเฉพาะในแตละประเทศ3.การจัดทดสอบความรูทางดานสถาปตยกรรมCOMPREHENSIVEREGISTRATION EXAMINATION:ทดสอบทักษะและความรูที่จําเปนในการประกอบวิชาชีพ4.พํานักในประเทศนั้น PERIOD OF HOST ECONOMY RESIDENCE :examination ตองมีระยะเวลาพํานักในประเทศตามระยะเวลาที่กําหนดไว5.การรวมงานกับทองถิ่น LOCAL COLLABORATION : ทํางานรวมกับสถาปนิกทองถิ่นAustralia,NewZealand,USA,Taipei,Japan, Mexico, Singapore,Chinese TaipeiPhilippine,Malaysia,Korea,Hongkong,China,Canada,Thailand***ซึ่งสภาสถาปนิกไทยไดกําหนดเลือกรูปแบบการรวมงานของสถาปนิกทองถิ่นเสนอตอคณะกรรมการสถาปนิกเอเปค และปจจุบันสภาสถาปนิกยังอยูในชวงระหวางการศึกษาในรายละเอียดของ ขอกําหนด กฎหมายแนวทางและรูปแบบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติวิชาชีพของโครงการสถาปนิกเอเปค ซึ่งสงผลกระทบตอวิชาชีพสถาปตยกรรมและประชาชนในประเทศในหลาย ๆ ดานไมวาจะ อนาคตของสถาปนิกไทย การวาจางงานสถาปนิกตางชาติ อุตสาหกรรมวัสดุและการกอสราง เทคโนโลยี แรงงาน และคุณภาพทางดานสถาปตยกรรม เปนตน ดังนั้นเพื่อเปนการรองรับสถานการณจะเกิดขึ้น หนวยงานที่เกี่ยวของทางวิชาชีพและวิชาการจึงมีความจําเปนที่จะตองศึกษาในรายละเอียดของรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นควบคูไปดวยกันเพื่อความครอบคลุมในทุกมิติที่เกี่ยวของและที่จะเกิดผลกระทบดวยเหตุผลดังกลาว จึงเปนที่มาในการนําเสนอหัวขอวิทยานิพนธเรื่อง “การศึกษารูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทย”ทั้งนี้เพื่อหารูปแบบการปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกเอเปคระหวางสถาปนิกไทยและสถาปนิกตางชาติไดอยางเหมาะสมที่สุด โดยผานการมีสวนรวมเสนอแนวทางจากกลุมสถาปนิกตาง ๆ อยางครอบคลุมทุกกลุม และเปนแนวทางนํารองในการออกขอกําหนดเพื่อรองรับการเปดเสรีวิชาชีพสถาปตยกรรมโครงการอื่นๆ ในอนาคตอันใกล เพื่อกอใหเกิดประโยชนกับวิชาชีพสถาปตยกรรมและผลประโยชนกอประเทศชาติสูงสุด1 สภาสถาปนิก. สรุปกรอบการตกลงโครงการสถาปนิกเอเปค:จดหมายเหตุสภาสถาปนิก 7 กุมภาพันธ 2552 (กรุงเทพ :สภาสถาปนิก, 2552 ),หนา 180


นอกจากนี้ผลที่ไดจากการศึกษายังชวยเปนการนําเสนอขอมูล แนวทางและการสรางความเขาใจแกสถาปนิกไทยสวนใหญ เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นซึ่งไดคนพบจากการเก็บขอมูลและการสัมภาษณเบื้องตนในสวนการเปดเสรีทางดานสถาปตยกรรมโครงการสถาปนิกเอเปค ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้1. สถาปนิกไทยสวนใหญยังไมทราบขอมูลและผลกระทบจากการเปดเสรีทางวิชาชีพสถาปตยกรรม เชน โครงการสถาปนิกเอเปค หรือสถาปนิกอาเชี่ยน ซึ่งสงผลตอรูปแบบการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมที่เปลี่ยนไปในอนาคต2. สถาปนิกตางชาติในปจจุบันบางสวนใหบริการดานสถาปตยกรรมโดยไมปฎิบัติตามพรบ.วิชาชีพสถาปตยกรรมของประเทศไทย3. สถาปนิกไทยบางสวนไมปฏิบัติตาม ตามพรบ.วิชาชีพสถาปตยกรรม ในการทํางานรวมกับสถาปนิกตางชาติสมมุติฐานของงานวิจัยLOCAL COLLABORATION MODEL เปนรูปแบบการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมที่เหมาะสมกับประเทศไทยณ สถานการณปจจุบัน1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา1. ศึกษาหลักการเจรจาตกลงวาดวยการคาบริการและการเปดเสรีและปจจัยที่มีผลกระทบที่เกี่ยวของการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมในประเทศไทย2. ศึกษารูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกในประเทศของโครงสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยระหวางสถาปนิกไทยกับสถาปนิกตางชาติ3. ศึกษาปจจัยที่สงผลกระทบตอรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกในประเทศของโครงสถาปนิกเอเปคในประเทศไทย ระหวางสถาปนิกไทยกับสถาปนิกตางชาติ4. ศึกษาขอกําหนดที่เกี่ยวของกับรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกในประเทศของโครงสถาปนิกเอเปคในประเทศไทย ระหวางสถาปนิกไทยกับสถาปนิกตางชาติ และรูปแบบกรณีศึกษาจากกลุมประเทศเอเปค1.3 ขอบเขตการวิจัย1. การศึกษานี้เปนการศึกษาเพื่อเสนอรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกในประเทศของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยเทานั้น โดยเปนการศึกษาเบื้องตนเพื่อขยายผลไปยังแนวทางการเปดเสรีวิชาชีพสถาปตยกรรมในขั้นตอนตอไป การศึกษานี้จะทําการศึกษาจากขอมูลปฐมภูมิ และ ทุติภูมิ ซึ่งไดจากการรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณแบบเจาะลึก( In – DepthInterview ) และ แบบสอบถาม( Questionaire ) จากสถาปนิกในกลุมตัวอยางที่เจาะจง และหนวยงาน คณะกรรมการที่เกี่ยวของการเจรจาทางการคาบริการและการเปดเสรีประกอบกับการคนควาขอมูลทางดานเอกสาร รายงานการประชุมที่เกี่ยวของ2. ศึกษาเฉพาะขอกําหนดที่เกี่ยวของกับรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกในประเทศของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยและสวนที่เกี่ยวของรวมกับรูปแบบการปฏิบัติวิชาชีพระหวาง81


สถาปนิกไทยกับสถาปนิกตางชาติ ไดแก หลักการเจรจาตกลงการคาบริการและการเปดเสรีแนวทางการปฏิบัติวิชาชีพระหวางประเทศ ของ UIA , NCARB ฯลฯ ที่เกี่ยวของ3. การศึกษานี้เปนการศึกษาขอมูล วิเคราะหและสรุปผลบนพื้นฐานของขอมูลที่รวบรวมไดในชวงระยะเวลาการทําการวิจัยเทานั้น เนื่องจากการดําเนินการจัดการรูปแบบปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยนั้นยังอยูในชวงระยะเริ่มตน ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินการตลอด1.4 ขอจํากัดของการวิจัย1. ขอจํากัดดานเวลาในการวิจัย เนื่องจากในการทําการวิจัยครั้งนี้มีเวลาเปนตัวกรอบกําหนดในการศึกษา การวิจัยครั้งนี้จึงเปนการศึกษา วิเคราะหและสรุปผลบนพื้นฐานของขอมูลที่เกิดขึ้นและรวบรวมไดในชวงระยะเวลาการทําวิจัยเทานั้น1.5 คําจํากัดความที่ใชการวิจัยสถาปนิกเอเปค สถาปนิกที่ขึ้นทะเบียนกับสภาสถาปนิกเอเปคเพื่อตองการสิทธิในประกอบวิชาชีพในกลุมประเทศเอเปคที่ลงนามรวมกันสถาปนิกไทย สถาปนิกที่ถือสัญชาติไทยและไดสิทธิในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมออกความตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและ พรบ.สถาปนิกไทยฉบับ 2543สถาปนิกตางชาติ สถาปนิกที่มิไดถือสัญชาติไทยที่ตองการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมใน ประเทศไทยผานโครงการสถาปนิกเอเปคการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม วิชาชีพสถาปตยกรรมที่ใชศาสตรและศิลปในการออกแบบวางผังอาคารเพื่อสรางสรรคองคประกอบทางกายภาพของอาคารสวนประกอบอาคาร และสภาพแวดลอมที่เกี่ยวกับอาคารขอกําหนดของสถาปนิกเอเปค ขอกําหนดของสภาสถาปนิกเอเปคและสภาสถาปนิกไทยในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมของสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยสภาสถาปนิกไทย หนวยงานที่ทําหนาที่ กํากับดูแลการปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกในประเทศไทยสภาสถาปนิกเอเปค หนวยงานที่ทําหนาที่ กํากับดูแลการปฏิบัติวิชาชีพของโครงการสถาปนิกเอเปค1.6 ประโยชนที่ไดรับ1. สามารถใชเปนแนวทางสําหรับกําหนดรูปแบบการรวมงานสถาปนิกในประเทศของโครงสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยระหวางสถาปนิกไทยกับสถาปนิกตางชาติในอนาคตอันใกลและแนวทางศึกษาแกโครงการอื่น เชน โครงการสถาปนิกเอเชียน และโครงการเปดเสรีทางวิชาชีพสถาปตยกรรมโครงการอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในอนาคต82


2. สามารถใชเปนแนวทางในการพัฒนาการออกขอกําหนดในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมของประเทศไทยภายใตการเปดเสรีทางวิชาชีพของโครงการสถาปนิกเอเปคและแนวทางศึกษาแกโครงการอื่น เชน โครงการสถาปนิกเอเชียน และอื่นๆ ที่เกี่ยวของในอนาคตการวิเคราะหขอมูลลักษณะของขอมูลในการศึกษาเปนขอมูลเชิงคุณภาพเปนหลัก และใชขอมูลเชิงปริมาณเปนขอมูลที่สนับสนุนในการอธิบายผลการศึกษาควบคูกัน ในสวนการวิเคราะหขอมูลนั้นเปนวิธีการวิเคราะหเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณนา โดยอางอิงจากขอมูลในสวนปฐมภูมิ จากการสัมภาษณเชิงลึกและการเก็บขอมูลจากแบบสอบถามรวมกัน ประกอบกับขอมูลทุติยภูมิ จากงานวิจัย เอกสาร รายงานที่เกี่ยวของ เพื่อทําการสรุปผล ดวยการอธิบายความคิดเห็น แนวทางที่เกี่ยวของและขอเสนอแนะในงานวิจัยครั้งตอไป เปนหลักสวนที่ 2 : เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเนื้อหาในบทนี้จะเนนเรื่องความสัมพันธโดยรวมของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทยซึ่งทําหนาที่วางแนวทางและขอกําหนดในการปฎิบัติวิชาชีพรวมกันระหวาง ประเทศผูรับบริการ (HOST COUNTRY) ไดแก ประเทศไทย และ ประเทศผูใหบริการ (HOME COUNTRY)ไดแกประเทศสมาชิกที่เหลือใน <strong>13</strong> ประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุน สิงคโปร เปนตนโครงการสถาปนิกเอเปคอยูภายใตขอตกลงรวมกันทางการคาบริการ ขององคการการคาโลก (WTO)การใชหลักการเจรจาความตกลงรวมกันในระดับพหุภาคี2 ของประเทศที่เปนสมาชิกในกลุมสถาปนิกเอเปคนั้นตองใชหลักการของขอตกลงรวมกันทางการคาบริการ(GATS) มาพิจารณาควบคูในการกําหนดนโยบายและขอกําหนดภายในประเทศสมาชิก เพื่อใหไดมา ซึ่งนโยบายที่เหมาะสมกับประเทศของตนเองและสถานการณปจจุบัน และไมใหเกิดการเอารัดเอาเปรียบจากประเทศสมาชิกดวยกันจากการศึกษารูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่น พบวา ประเทศไทย จะมีหนวยงานที่เกี่ยวของกับการเจรจาตกลงรวมกันระหวางประเทศ แบงไดเปน 2 ระดับ ไดแก ระดับมหภาค และระดับจุลภาค ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้2.1 สวนมหภาค MACRO การเจรจาระดับมหภาค หมายถึง การเจรจาในระดับภาครัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของกับขอตกลงวาดวยการคาบริการ (GATS) ขององคการคาโลก( WTO) และการเปดเสรี (FTA) ตลอดจนการเจรจาในระดับทวิภาค (Bilateral Trade Agreement) และพหุภาคี (Multilateral Trade Agreement))ในกลุมประเทศสมาชิกจากกลุมตาง ๆ เชน เอเชีย ยุโรป เปนตนโดยมีหนวยงานภาครัฐที่เกียวของ (Regulator) ไดแก รัฐบาล กระทรวงพาณิชย ,กระทรวงตางประเทศกระทรวงแรงงาน , กระทรวงการคลังกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ฯลฯ ที่เกี ่ยวของหนวยงานทางดานวิจัยที่เกี่ยวของ (Implementer) ไดแก สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา(GSEI), SEATRANET (South East Asia Trade Policy Training Network), โครงการหนวยจัดการความรูดานการคาและสิ่งแวดลอมในสถานการณสากล, สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)สิงหาคม 25492 การเจรจาระดับพหุภาคี หมายถึง การเจรจาที่มีประเทศสมาชิกมากกวา 2 ประเทศขึ้นไป83


ฯลฯ ที่เกี่ยวของ2.2 สวนจุลภาค MICRO การเจรจาระดับจุลภาค หมายถึง การเจรจาในระดับหนวยงานที่เกี่ยวของกับวิชาชีพสถาปตยกรรมซึ่งทําหนาที่ดูแลในรายละเอียดปลีกยอยในดานวิชาชีพสถาปตยกรรมโดยตรง การออกขอกําหนดและกฎหมายในดานที่เกี่ยวของกับรูปแบบการรวมงานกับสถาปนิกทองถิ่นโดยมีหนวยงานที่ทําหนาที่ควบการปฎิบัติวิชาชีพของสถาปนิกในประเทศไทย (Regulator) ไดแกสภาสถาปนิก โดย คณะกรรมการฝายตางประเทศผูทําการเจรจาและกํากับดูแลเปนหลักหนวยงานที่ทําหนาที่สนุบสนุนการพัฒนาวิชาชีพและการวิจัย (Implementer) ไดแกสมาคมสถาปนิก สถาบันสถาปนิกสยามฯ สภาคณบดี สถาบันการศึกษาฯลฯ ที่เกี่ยวของ2.1.สวนมหภาค (MACRO)2.1.1 ความเปนมาในโครงการสถาปนิกเอเปคและการดําเนินการภายใตนโยบายการเปดการคาเสรี พศ 2537-2552เนื่องจากประเทศไทยไดเขาเปนสมาชิกของความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ (APEC) ในป พ.ศ. 2535 และองคการการคาโลก (WTO) ในป พ.ศ. 2537 ซึ่งโดยลําดับศักดิ์หรือลําดับความสําคัญแลว (APEC) ถือวาอยูภายใตกรอบและกฏเกณฑของ (WTO) และ (GATS) ซึ่งจะกลาวรายละเอียดในหัวขอยอยถัดไปองคการการคาโลกเปนองคการระหวางประเทศที่มีการพัฒนามาจากการทําความตกลงทั่วไปวา ดวยภาษีศุลกากรและการคาหรือแกตต (GATT) นอกจากนี้ยังมีความตกลงการคาระหวางประเทศอีกฉบับหนึ่งในกรอบของ WTO เรียกวา ความตกลงทั่วไปวาดวยการคาบริการ(GATS: GENERAL AGREEMENT ON TRADE INSERVICES) ซึ่งวัตถุประสงคของการเจรจาจัดทํา (GATS) นี้เพื่อใหมีกรอบวาดวยหลักการและกฎเกี่ยวกับการคาบริการระหวางประเทศ สําหรับประเทศสมาชิก (WTO) ถือปฏิบัติเพื่อใหการคาบริการระหวางกันนั้น เปนไปโดยยึดหลักเปดเผยและเปดเสรีแบบกาวหนาเปนลําดับดังนั้นประเทศไทยจึงตองรับพันธกรณี เงื่อนไขและความตกลงตาง ๆ ขององคกการคาโลกเชนเดียวกับสมาชิกจากประเทศอื่นๆ โดยมีหลักการสําคัญในการดําเนินการเชนเดียวกับหลักการของแกตต ซึ่งสามารถสรุปดังนี้3• การกําหนดใหใชมาตรการการคาระหวางประเทศโดยไมมีการแบงแยก (Non-Discrimination)• การกําหนดและบังคับใชมาตรการทางการคาจะตองมีความโปรงใส (Transparency)• การรวมกันทําใหการคาระหวางประเทศมีเสถียรภาพและความมั่นคง (Stability and PredictabilityInTrading Conditions)• การสงเสริมการแขงขันทางการคาที่เปนธรรม (Fair Competition)• การมีสิทธิใชขอยกเวนในกรณีฉุกเฉินและจําเปน (Necessary Exceptions and Emergency Action)3 ศิรินารถ ใจมั่น .กฎเกณฑการคาโลกภายใต WTO.ประเทศ. (กรุงเทพมหานคร: สวัสดิการกรมเศรษฐกิจการพาณิชย,2544) ,หนา 10.84


• การมีกระบวนการยุติขอพิพาททางการคาใหคูกรณี (Trade Dispute Settlement Mechanism) ใหสิทธิพิเศษแกประเทศดอยพัฒนาในการปฏิบัติตามพันธกรณี (Special and Differential treatment forLDCs)2.1.2 ขอบเขตและคําจํากัดความของการคาบริการขอบเขตและคําจํากัดความของการคาบริการ ซึ่งหมายถึง การจัดใหบริการ (Supply of Service)ระหวางประเทศ ที่มีรูปแบบของการจัดใหบริการ (Mode of Supply) ดังตอไปนี้• รูปแบบของการคาบริการระหวางประเทศนั้นสามารถกระทําได 4 รูปแบบ (MODE OF SUPPLY) 4ไดแก1. รูปแบบหนึ่ง (CROSS BORDER SUPPLY) การใหบริการขามพรมแดน โดยผูใหบริการและผูรับบริการอยูในประเทศของตนเอง2. รูปแบบสอง (CONSUMPTION ABOARD) การที่ผูรับบริการเคลื่อนยายไปยังประเทศผูใหบริการ3. รูปแบบสาม (COMMERCIAL PRESENCE) การจัดตั้งหนวยธุรกิจเพื่อใหบริการในตางประเทศ4. รูปแบบสี่ (PRESENCE OF NATURAL PERSON) การที่บุคคลธรรมดาของประเทศหนึ่งเดินทางเขาไปทํางานอีกประเทศหนึ่ง *เชน สถาปนิกไทย ไปทํางานสวนบุคคล ในตางประเทศซึ่งเปนจุดประสงคหลักของโครงการสถาปนิกเอเปค2.1.3 กรอบของ GATS ที่จะเปดเสรีการบริการที่เกี่ยวของทางดานสถาปตยกรรมทั้งหมดมี 5 สาขา- บริการดานธุรกิจ Business Service *- บริการดานกอสรางและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง Construction / Engineering Service*- บริการดานการศึกษา Education Service*- บริการดานสิ่งแวดลอม Environmental Service*- บริการดานนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา Recreation/Culture/Sport Service*2.1.4 หลักสําคัญของ GATS ขอตกลงทั่วไปวาดวยการคาบริการ (GATS) ไดกําหนดพันธกรณีหลักและวินัยที่ประเทศสมาชิกตองถือปฏิบัติ มีดังตอไปนี้• พันธกรณีและกฎระเบียบทั่วไป- การปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ไดรับความอนุเคราะหยิ่ง (Most-Favoured Nation treatment : MFN)- ความโปรงใส (Tranparency)- กฎระเบียบภายในประเทศ (Domestic Regulations)- การเปดเสรีแบบกาวหนาเปนลําดับ (Progressive Liberalization) ***4 เศรษฐกิจการพาณิชย .กรม.องคการการคาโลกและกลุมเศรษฐกิจระหวางประเทศ. (กรุงเทพมหานคร : กรมเศรษฐกิจการพาณิชย,,2544) หนา 12-<strong>13</strong>.85


หมายถึง การเพิ่มการเปดเสรีการคาบริการ โดยลดขอจํากัดตาง ๆ ในการคาบริการในแตละรอบของการเจรจาทางการคา ทั้งนี้ เพื่อใหโอกาสประเทศที่กําลังพัฒนา และเปนการลดมาตรการตาง ๆ ที่ใชในการปกปองตลาด ใหคอย ๆ หมดไป เพื่อใหการคาบริการระหวางประเทศมีความเปนเสรีเพิ่มมากขึ้น• การยอมรับ (Recognition)• ขอผูกพันเฉพาะของแตละประเทศสมาชิก (National Commitments) แตละประเทศสมาชิกจะตองยื่นตารางขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการตอองคการการคาโลก ลักษณะขอผูกพันขึ้นกับความพรอมของแตละประเทศ• ขอผูกพันการเปดตลาด*ขอผูกพันการเปดตลาดแตละสาขาบริการที่บันทึกในตารางขอผูกพันเฉพาะของแตละประเทศสมาชิก เปนพันธกรณีทางกฎหมาย• ตารางขอผูกพันเฉพาะ เชน ดานวิชาชีพ สถาปตยกรรม- การเปดตลาดอยางเต็มที่ (Full Commitment)- การเปดตลาดเพียงบางสวน (Partial Commitment)- ยังไมผูกพันการเปดตลาด (No Commitment)• การปฏิบัติเยี่ยงชาติ (National treatment)2.1.5 หลักการเจรจาดานการคาบริการและการเปดเสรี5การเจรจาตกลงทางการคาบริการและการเปดเสรี มีประเด็นสําคัญที่ตองพิจารณาควบคูกันใน 4 กรอบหลัก ไดแก1.กรอบของกฎหมายและขอกําหนด 2.กรอบของสถาบันและหนวยงานที่เกี่ยวของ3.กรอบของเศรษฐกิจระหวางประเทศ 4.สภาพเศรษฐกิจและสังคมในอุดมคติ2.1.6 การวิเคราะหการเปดเสรีการคาบริการ: ชองทางโอกาสและผลประโยชนที่ไดรับ 6 *ในอดีต การจํากัดการคาและบริการสรางอุปสรรคในการแขงขันและเพิ่มคาใชจาย ซึ่งมักทําใหราคาสินคาและบริการสูงขึ้นซึ่งสูงกวาราคาที่จะสามารถแขงขันกับประเทศอื่นได และทําใหเกิดการจํากัดการแขงขันภายในประเทศและระหวางประเทศดังนั้นจึงมีแนวคิดที่จะเปดเสรีการคาบริการมากขึ้นทั้งประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลังพัฒนา สรุปไดวา การเปดเสรีการคาบริการของประเทศกําลังพัฒนาจําเปนอยางยิ่งที่ในระดับรัฐตองปรับใชกรอบนโยบายที่เหมาะสมและมีการวางแผนอยางรัดกุมเพื่ออํานวยความสะดวกแกผูสงออกการคาบริการ และในระดับผูสงออกการคาบริการควรที่จะพัฒนาระดับความสามารถเพื่อแขงขันกับคูแขงตางประเทศได2.2 สวนจุลภาค MICRO2.2.1 สภาสถาปนิก (Council of Architects)5 ศ. ดร.ลาวัลย ถนัดศิลปกุล (Kyushu University). LECTURE : investment Chapter under A new model of Free TradeAgreement. สถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อการลงทุน ,กรุงเทพ 2552, Slide 16 กรมเจรจาธุรกิจการคา. สรุปจากเอกสารของ OECD เรื่อง Services Trade Liberalization: Identifying Opportunities andGains, (JOB (03)/140), 10 July 2003 (กรุงเทพมหานคร: กรมเจรจาธุรกิจการคา 2546)86


เปนองคกรวิชาชีพมีอํานาจโดยตรงในการทําหนาที่ดูแลควบคุมการปฎิบัติวิชาชีพของสถาปนิกไทยและเกี่ยวของกับโครงการสถาปนิกเอเปคโดยหลักการดังนี้71. สงเสริมการศึกษา การวิจัยและการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทย2. ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมของสถาปนิกเอเปคประเทศไทยใหถูกตองตามมาตรฐานและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรม3. ใหคําปรึกษา หรือขอเสนอแนะตอหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษาผูประกอบการ ประชาชนและกลุมสถาปนิก เกี่ยวกับนโยบายและผลกระทบดานสถาปตยกรรมที่เกิดจากโครงการสถาปนิกเอเปค4. เปนตัวแทนของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมของประเทศไทยในประชุมโครงการสถาปนิกเอเปค2.2.2 โครงการสถาปนิกเอเปค• 2.2.2.1 ความเปนมาของโครงการสถาปนิกเอเปค โครงการสถาปนิกเอเปคถูกจัดเมื่อป พศ.2545 โดยถูกผลักดันเริ่มแรกจากประเทศออสเตรเลีย ซึ่งมีผูเขารวมทั้งหมดจํานวน 14 ประเทศไดแกออสเตรเลียอเมริกา แคนนาดา จีน ญี่ปุน จีนไทเป จีนฮองกง เกาหลี สิงคไปร ไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส เม็กซิโกนิวซีแลนด• 2.2.2.2 จุดหมายและหลักการ โครงสถาปนิกเอเปคมีจุดมุงหมายเพื่อการทํางานของสถาปนิกในระดับบุคคลระหวางกลุมประเทศสมาชิกเอเปค ซึ่งเปนความตกลงเฉพาะในสวนของหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลของสถาปนิกในแตละประเทศมาทําขอตกลงรวมกัน เพื่อลดความยุงยากซับซอนของกฎหมายระหวางประเทศและขอกําหนดปลีกยอย ตางๆ โดยมีการปรึกษาตกลงรวมจัดตั้งเปนสภาสถาปนิกเอเปค ( APECCentral Council ) ซึ่งมีหนาที่ในการออกขอกําหนดตาง ๆ รวมกันโดยมติจากกลุมประเทศสมาชิกทั้ง14 ประเทศ โดยจัดประชุมทุก ๆ 2 ป และมีการจัดตั้งคณะกรรมการของสถาปนิกเอเปค ( MonitoringCommittee ) ในแตละประเทศเพื่อดูแลการปฏิบัติวิชาชีพในประเทศตนเองซึ่งทําหนาที่ตรวจสอบพิจารณา อนุมัติการขึ้นทะเบียนสถาปนิกในประเทศของตน และกํากับดูแลสถาปนิกตางชาติที่เขามาปฏิบัติวิชาชีพในประเทศของตนเอง โดยขึ้นตรงกับสภาสถาปนิกของแตละประเทศซึ่งมีสิทธิ์จะออกขอกําหนดและกํากับในรายละเอียดปลีกยอยในประเทศของตนเอง ทั้งนี้จะตองอางอิงตามหลักสากลอยางเชน UIA และ WTO เปนตน และไมเปนการเอาเปรียบหรือจํากัดสิทธิตาง ๆ ของสถาปนิกตางชาติในกลุมเอเปคโดยไมอิงตอหลักการดังกลาวขางตนสวนที่ 3 : วิธีการดําเนินการวิจัย• 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง7 สรุปผลจากขอมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิของคณะกรรมการสภาสถาปนิก ป พ.ศ. 2550-255287


ผูศึกษาไดทําการเลือกตัวอยางแบบเจาะจง Purposive Sampling โดยแบงกลุมตัวอยางดังนี้กลม 1) หนวยงานและคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับการเจรจาทางการคาบริการและ การเปดเสรีกลุม 2) สถาปนิกและบริษัทที่เกี่ยวของในประเทศไทย กลุม 3) สภาสถาปนิกกลุม 4) สถาบันการศึกษา กลุม 5) สมาคมสถาปนิกสยามลักษณะของขอมูลในการศึกษาเนนขอมูลเชิงคุณภาพเปนหลัก ในการวิเคราะหขอมูลจึงใชวิธีการวิเคราะหเชิงบรรยาย หรือเชิงพรรณา และสรุปผลดวยการอธิบาย แสดงความคิดเห็น และขอเสนอแนะเปนหลักศึกษาขอมูลจากกลุ มตัวอยางความเป็นมาและปัญหาศึกษาขอมูลจากเอกสารและการสัมภาษณสภาสถาปนิกหัวขอวิจัยศึกษาขอมูลทั้งหมดจากผลการประชุมและการสัมภาษณสภาสถาปนิกการออกแบบสัมภาษณสอบถาม โดยเก็บขอมูลจากกลุ มตัวอยางเฉพาะซึ่งมีหัวขอหลัก•โครงการสถาปนิกเอเปค•รูปแบบปฏิบัติวิชาชีพ•ขอกําหนดที ่เกียวของกับปฏิบัติวิชาชีพ•กรณีศึกษาวิธีดําเนินการวิจัยแบบสัมภาษณแบบสอบถามทดสอบปรับปรุงเก็บขอมูลจริงขอเสนอแนะแนวทางสําหรับรูปแบบรวมกันกับสถาปนิกตางชาติสังเคราะหขอมูลวิเคราะหขอมูลหัวขอที ่สนใจ การเก็บขอมูล ออกแบบเครื ่องมือ เก็บขอมูลจริง สรุปสวนที่ 4 : ผลการวิเคราะหขอมูล4.1.1 ผลวิเคราะหขอมูลจากสัมภาษณในเชิงลึกผูวิจัยไดทําการศึกษาการวิเคราะหขอมูลจากแบบสัมภาษณ แบงออกเปน 5 กลุม เพื่อใหความชัดเจนในการวิเคราะหและทําการสรุปผล ดังตอไปนี้กลุม 1) หนวยงานและคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับการเจรจาทางการคาบริการและการเปดเสรี ไดใหความเห็นวาประเทศไทยเหมาะกับรูปแบบการเจรจาแบบ Positive List เนื่องจากหนวยงานที่เกี่ยวของกําลังจัดเตรียมความพรอมในหลายดาน ๆ จึงจําเปนตองใชกลยุทธในการเจรจาแบบกาวหนาเปนลําดับ และมีการออกขอกําหนดจากหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อรองรับโครงสถาปนิกเอเปคในมิติทีสําคัญ เชน มิติของขอกําหนดและออกกฎหมายที่เกี่ยวของการปฎิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมของสถาปนิกตางชาติในการรวมงานกับสถาปนิกไทย มิติทางดานสิ่งแวดลอม แรงงาน สถาปนิก ฯลฯ ที่เกี่ยวของ เปนตนสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สภาสถาปนิก สมาคมสถาปนิก ตองทําการติดตอสื่อสารกับรัฐบาลและหนวยงานภาครัฐตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ถึงแนวทาง ขอกําหนด และผลกระทบที่เกิดขึ้นกับวิชาชีพสถาปตยกรรมและประชาชนในประเทศ ถึงขอดี ขอเสีย โอกาส อุปสรรคที่จะเกิดขึ้นกลุม 2) สภาสถาปนิก ผลการศึกษา ไดใหความเห็นวา การออกขอกําหนดตอรูปแบบการรวมงาน ตองคํานึงถึงภาระความรับผิดชอบตอโครงการตางในกรณีที่เกิดความเสียหายตอสังคมและประเทศชาติ ซึ่งสถาปนิก88


เอเปคจะตองเปนผูรวมรับผิดชอบภายใตขอกําหนดและกฏหมายในประเทศ และตองมีการควบคุมลักษณะการทํางานรวมกันกับสถาปนิกตางชาติ ในแงของสถาปนิกทองถิ่นที่รวมงานดวยซึ่งควรจะเปนลักษณะขององคกรหรือบริษัทมากกวาในบางโครงการเนื่องจากตองการทั้งความรับผิดชอบ และความนาเชือถือของทีมงานในการบริหารจัดการปญหาตาง ๆ ตลอดจนใหสถาปนิกไทยไดมีโอกาสแลกปลี่ยนวิทยาการกับสถาปนิกเอเปคกลุม 3) สมาคมสถาปนิกสยาม ไดใหความเห็นวา ควรสรางกลยุทธและการปรับเปลี่ยนกลยุทธไดตามความเหมาะสมในการกําหนดขอบเขตและรูปแบบในการทํางานรวมกับสถาปนิกตางชาติ เชน การควบคุมการบริการทางดานวิชาชีพสถาปตยกรรมไมวาจะเปน ขนาดโครงการ และประเภทโครงการ ขอบเขตและขั้นตอนในการรวมงานของสถาปนิกตางชาติในแตละโครงการใหประเทศไทย ตลอดจนกลยุทธการควบคุมสถาปนิกตางชาติในดานตางๆ เชน การจํานวนสถาปนิกตางชาติในแตละปในระยะแรกของการทําการเปดตลาด ฯลฯ ตลอดจนมีการพิจารณาใหยืดหยุนกับสถานการณปจจุบันกลุม 4) สถาบันการศึกษา ไดใหความเห็นวา ควรมีการปรับเปลี่ยนกรอบการเจรจารวมกัน แนวทาง นโยบายกลยุทธ ที่เกี ่ยวของไดตามความเหมาะสม ( ไมยึดหลักการที่ตายตัวจนเกินไป) สอดคลองกับการเปลี่ยนในสถานการณปจจุบัน โดยพิจารณาวิเคราะห ( SWOT Analysis) สรุป จาก ปจจัยที่เกี่ยวของทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค ใหครอบคลุม เพื่อสามารถนําไปใชไดเกิดประโยชนสูงสุดและสามารถพัฒนาไดอยางยั่งยืนกลุม 5) สถาปนิกและบริษัทที่เกี่ยวของในประเทศไทย ไดใหความเห็นวาองคกรที่เกี่ยวของทางดานสถาปตยกรรม ตองมีการวางแผนพัฒนาบุคคลในดานตาง ๆ เพื่อรองรับและเปดโอกาสในการทํางานรวมกับสถาปนิกตางชาติ ตลอดจนสามารถแขงขันในระดับสูสากลไดมากขึ้นในอนาคต ทางดานตาง ๆ เชน Concept,Building code , Form of practice , Material & Construction ,Technology ตลอดมาตรฐานในการออกแบบดานตาง ๆ และที่สําคัญอยางยิ่งคือทักษะการสื่อสาร การใชภาษาตางประเทศ เปนตน4.1.2 ผลการศึกษาจากการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามผูศึกษาไดทําการเลือกตัวอยางแบบเจาะจง Purposive Sampling โดยแบงกลุมตัวอยางออกเปน 4 กลุมกลุม 2) สภาสถาปนิก (ACT)กลุม 3) สมาคมสถาปนิกสยาม (ASA) กลุม 4) สถาบันการศึกษา(ACADEMIC) กลุม 5) สถาปนิกและบริษัทที่เกี่ยวของในประเทศไทย (ARCHITECT)รวมเปนจํานวนทั้งสิ้น จํานวน 324 ชุด (324 คน) จากการจํานวนการสงแบบถามทั้งหมด 1,000 ชุดโดยใชแบบสอบถามมีลักษณะชดุคําถามแบบปลายปดและปลายเปดรวมกัน ซึ่งมีประเด็นสําคัญดังนี้ตารางแสดงการไดรับขาวสารโครงการสถาปนิกเอเปคองคกรGroup TotalการไดรับขาวสารโครงการสถาปนิกเอเปคไมเคยGroup TotalเคยACT ASA ACADEMIC ARCHITECTTable TableTableTableCount % Count % Count % Count % CountTable%10 3.1% 121 37.5% <strong>13</strong>1 40.6%10 3.1% 18 5.6% 27 8.4% <strong>13</strong>7 42.4% 192 59.4%10 3.1% 18 5.6% 37 11.5% 258 79.9% 323 100.0%ผูตอบถามแบบทั้งหมด จํานวน 323 คน งดลงความเห็น ในหัวขอ จํานวน 1 คนOLOR = อันดับที่ 1จากผลการการศึกษา พบวา สวนใหญเคยไดยินแตชื่อ แตยังไมทราบขอมูลและหลักการเจรจาทางการคาบริการและ89การเปดเสรี ในโครงสถาปนิกเอเปคอยางเพียงพอ โดยประเมินผลจากขอมูลการสัมภาษณและการตอบแบบสอบถามปลายเปดซึ่งแสดงถึงความเขาใจของผูตอบที่ยังไมเพียงพอและไมถูกตองเทาที่ควร


ตารางแสดงขอบเขตขั้นตอนการออกแบบในการรวมงานรวมกันองคกรGroup Totalขอบเขตการรวมงานออกแบบ1241+22+34+52+51+2+31+2+52+4+51+2+41+4+51+2+3+41+2+3+51+2+4+52+3+4+51+2+3+4+5Group TotalACT ASA ACADEMIC ARCHITECTTable Table TableTableCount % Count % Count % Count % CountTable%1 .3% 2 .6% 3 1.0%4 1.3% 4 1.3%1 .3% 1 .3%4 1.3% 7 2.3% 10 3.2% 53 17.0% 74 23.8%3 1.0% 3 1.0%1 .3% 4 1.3% 5 1.6%1 .3% 1 .3%1 .3% 1 .3% 2 .6% 4 1.3%1 .3% 1 .3% 10 3.2% 12 3.9%1 .3% 1 .3%17 5.5% 17 5.5%1 .3% 1 .3% 2 .6% 4 1.3%1 .3% 10 3.2% 11 3.5%3 1.0% 3 1.0%1 .3% 20 6.4% 21 6.8%1 .3% 1 .3%5 1.6% 7 2.3% 19 6.1% 115 37.0% 146 46.9%9 2.9% 17 5.5% 36 11.6% 249 80.1% 311 100.0%ผูตอบถามแบบทั้งหมด จํานวน 311 คน งดลงความเห็น ในหัวขอ จํานวน <strong>13</strong> คน1= PRE-DESIGN STAGE 2= DESIGN STAGE 3= PRE-CONSTRUCTION STAGE 4= CONSTRUCTIONSTAGE 5= CONSTRUCTION STAGE OLOR = อันดับที่ 1 COLOR = อันดับที่ 2 COLOR = อันดับที่ 3โดยเรืยงลําดับจากความถี่ที่มากทีสุดนับเปนอันดับที่ 1จากผลการการศึกษา พบวา ควรใหสถาปนิกเอเปค รวมกันออกแบบกับสถาปนิกทองถิ่นทุกขั้นตอนในการออกแบบในหลักของความเสมอภาคและสัดสวนงานที่เหมาะสมตามขั้นตอนของการออกแบบ และมีสิทธิในการออกความเห็น90


ตารางแสดงขอบเขตของขนาด/ประเภทอาคารที่รวมกันออกแบบองคกรGroup Totalขนาด/ประเภทอาคารSMLTECS+MM+LL+CULCUL+TECM+TECL+TECS+TECS+M+TECM+L+TECL+CUL+TECS+L+TECS+M+L+CULS+M+L+TECS+M+CUL+TECM+L+CUL+TECS+M+L+CUL+TECGroup TotalACT ASA ACADEMIC ARCHITECTTable Table TableTableCount % Count % Count % Count % CountTable%3 1.0% 3 1.0%3 1.0% 3 1.0%5 1.6% 5 1.6%1 .3% 2 .6% 4 1.3% 54 17.2% 61 19.4%3 1.0% 3 1.0%6 1.9% 6 1.9%1 .3% 1 .3%1 .3% 1 .3%2 .6% 2 .6%2 .6% 7 2.2% 6 1.9% 78 24.8% 93 29.6%1 .3% 1 .3%3 1.0% 3 1.0%1 .3% 6 1.9% 23 7.3% 30 9.6%1 .3% 1 .3% 2 .6% 7 2.2% 11 3.5%1 .3% 1 .3%1 .3% 1 .3%3 1.0% 4 1.3% 7 2.2% 21 6.7% 35 11.1%1 .3% 1 .3%1 .3% 1 .3% 5 1.6% 7 2.2%3 1.0% 2 .6% 9 2.9% 32 10.2% 46 14.6%10 3.2% 18 5.7% 36 11.5% 250 79.6% 314 100.0%ผูตอบถามแบบทั้งหมด จํานวน 314 คน งดลงความเห็น ในหัวขอ จํานวน 10 คนS=อาคารที่มีขนาดนอย 1,000 ตร.ม. M=อาคารที่มีขนาดมาก 1,000 ตร.ม. แตไมเกิน 10,000 ตร.ม. L= อาคารที่มีขนาดเกิน10,000 ตร.ม. CUL = อาคารทีเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย TEC= อาคารที่มีเทคโนโลยีพิเศษOLOR = อันดับที่ 1 COLOR = อันดับที่ 2 COLOR = อันดับที่ 3โดยเรืยงลําดับจากความถี่ที่มากทีสุดนับเปนอันดับที่ 1 จากผลการการศึกษา พบวา ควรใหสถาปนิกตางชาติ รวมกันออกแบบกับสถาปนิกทองถิ่นทุก เฉพาะโครงการที่มีขนาดตั้งแต 10,000 ตร.ม เปนตนไป และ อาคารที่ตองการเทคโนโลยีชั้นสูง นอกเหนือจากความสงวนไวกับสถาปนิกไทยใหเปนผูออกแบบเทานั้น91


ตาราง แ สดงความสัมพันธของการเจรจาทางการคาบริการและการเปดเสรีที่MACRO ( มหภาค)WTOGATSAPECAFTAAPEC ARCHITECTFTAUIAARCASIAACTPROFESSION-PRACTICE-LICENSING-CROSSCOUNTRYPRACTICESMICRO ( จุลภาค)สรุป ผลจากการวิเคราะหทั้งหมด พบวา ในสถานการณปจจุบัน มีการตื่นตัวจากกลุมประชากรทั้ง 5 กลุม ซึ่งเปนแนวโนมและสัญญาณที่ดีที่จะทําใหเกิดการรวมมือในการพัฒนาแบบบรูณาการอยางครอบคลุมและตอเนื่องไปอยางยั่งยืน โดยจะตองมีการกําหนดแผน เปาหมาย กลยุทธรูปแบบตาง ๆ ในระดับมหภาคและจุลภาค ที่เหมาะสมและสามารถยืดหยุน และปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณสวนที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะผลจากการวิเคราะหจากขอมูลปฐมภูมิ เชน การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การสัมภาษณเชิงลึก การใชแบบสอบถาม และขอมูลทุติภูมิ เชน เอกสารโครงการวิจัย ขอมูลการประชุมในการเจรจาตกลงดานสินคาบริการและการเปดเสรี ที่เกี่ยวของกับวิชาชีพสถาปตยกรรมในโครงสถาปนิกเอเปค ที่ไดจากกลุมประชากร ทั้ง 5กลุม มีรายละเอียดดังตอไปนี้5.1 แนวทางการพัฒนาการแขงระดับภายในประเทศและระดับนานาชาติในรูปแบบของการรวมกับสถาปนิกทองถิ่นในของโครงสถาปนิกเอเปคในประเทศไทย92


ขอกําหนด นโยบายตาง ๆ ภายในประเทศแตละหนวยงานที่เกี่ยวของจะ ตองเปนไปในทิศทางที่สนับสนุนซึ่งกันและกันโดยการพิจารณาไตรตรองอยางถี่ถวนแบบกาวหนาตามลําดับ โดยใชกลไกจากภาครัฐ ประชาสังคมและเอกชน ในการผลักดัน ขอกําหนด นโยบายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้Country’s competitiveness Partnership in Local Collaboration ModelMediaInternational organizationCustomersForeign InvestorAPEC Architect, FTAGOV+ACTASAInstitute of EducationCommunityภาพแสดงแนวทางการพัฒนาการแขงในประเทศ และระหวางประเทศจากการสังเคราะหขอมูลและปจจัยที่เกี่ยวของทั้งหมดและการนําเสนอแนวทางพัฒนาขางตนนั้นสามารถสรุปไดวา รูปแบบการรวมงานสถาปนิกทองถิ่นของโครงการสถาปนิกเอเปคในประเทศไทย นั้นเหมาะสมกับประเทศไทยใน ณ สถานการณปจจุบันที่ยังอยูระหวางการเตรียมความพรอมในหลาย ๆ ดาน เพื่อใหเกิดการพัฒนาทั้งในระดับบุคคล วงการวิชาชีพสถาปตยกรรม และระดับประเทศชาติ ควบคูกับการพัฒนาปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของในระดับมหภาคและจุลภาคไดอยางกาวหนาตามลําดับ โดยใชความรวมมือกันจากหลายฝายในการวางกรอบแนวทางไดอยางเหมาะสม และสามารถยืดหยุนตามการเปลี่ยนแปลงของสถานการณตาง ๆ ทั้งในประเทศและนอกประเทศไดอยางยั่งยืนตลอดไป93


รายการอางอิงการอบรมเชิงปฎิบัติการRegional Workshop : FTA ‘s Impact on developing Counties: the Asian Context17 มีนาคม 2552 ITD TRAINING CENTER ชั้น 15 จามจุรีสแควรเอกสารและหนังสือที่เกี่ยวของWTO .GATS-Fact and Fiction. Geneva 2001WTO.Thailand (GATS Commitments. Background note by the secretariat, WTO (S/C/85)Grace H Kim. The survival Guide to Architectural & Carreer Development. John Wiley& Son,2006OECD .Services Trade Liberalization: Identifying Opportunities and Gains.(JOB (03)/140), 10 July 2003.สภาสถาปนิก สมาคมสถาปนิกสภาสถาปนิก .สรุปการดําเนินการคณะกรรมการป 2547-2550 กรุงเทพ .2550เว็บไซตwww.act.co.rh www.asa.or.th www.uia.org ,www.apecarchitect.orgการสัมภาษณหนวยงานและคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับการเจรจาทางการคาบริการและการเปดเสรี17 มีนาคม 2552 -20 มีนาคม 2552สภาสถาปนิก 10 สิงหาคม 2550- 14 มีนาคม 2552สมาคมสถาปนิก 10 สิงหาคม 2550- 14 มีนาคม 2552สถาบันการศึกษา คณาจารย 10 สิงหาคม 2550- 14 มีนาคม 2552กลุมบริษัทรับงานในประเทศ /ตางประเทศ 10 สิงหาคม 2550- 14 มีนาคม 255294


การลดการถายเทความรอนผานหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็กโดยการปลูกหญาปกคลุม(Heat Reduction Through Reinforce Concrete Roof by Using Turf)นายพรหมพรต รุจิชัยหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อทดสอบวาการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. และชนิดของวัสดุปลูกที่แตกตางกันมีสวนชวยในเรื่องของการลดอุณหภูมิภายในอาคารและสามารถชวยลดอัตราการถายเทความรอนโดยผานทางหลังคา คสล. ไดดีเพียงใด รวมทั ้งมีความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรหรือไม วิธีการในการดําเนินการศึกษาใชการทดลองจากสถานที่จริงซึ่งเปนอาคารพักอาศัยประเภทหอพักซึ่งสูง 6 ชั้น หองที่ทําการเก็บคาอุณหภูมินี้ มี ทั้งหมดจํานวน 4 หอง ที่มีลักษณะรูปแบบเดียวกัน ทั้งนี้หองที่ 1 นั้นเปนหลังคา คสล. ที่ไมมีสิ่งปกคลุมเลย สวนหองที่ 2, 3 และ 4 ไดมีการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. ไวโดยมีรูปแบบของวัสดุที่ใชประกอบการปลูกหญาที่แตกตางกันออกไปจากการศึกษาพบวาการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. ดวยองคประกอบตามที่ TheodoreOsmundson(1999) และพชร เลิศปติวัฒนา(2547)ไดกําหนดสวนประกอบไวอันไดแก พื้นหลังคา คสล., วัสดุกันน้ําซึม, แผนกันทะลุ, ชั้นฉนวน, แผนคอนกรีตกันทะลุ, ชั้นระบายน้ํา, แผนใยกรองดิน, วัสดุปลูก, วัสดุปดผิวและหญานั้น มีสวนชวยใหอุณหภูมิอากาศเฉลี่ยในชวงเวลากลางวันภายในหองทดลองลดลงไดประมาณ2.24 - 2.66 ºC และสามารถลดอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานทางหลังคา คสล. ไดประมาณ91.40 - 93.78 % นอกจากนี้แลวเมื่อไดประเมินความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรพบวา จะมีระยะเวลาคืนทุนที่คอนขางนาน แตจะมีอัตราผลตอบแทนที่จะไดจากการประหยัดคาไฟฟาแตละปอยูที่ประมาณ 3.16 - 4.19 %อยางไรก็ตามการประยุกตใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. นั้นมีสวนชวยในเรื่องของการลดอุณหภูมิภายในอาคารและสามารถชวยลดอัตราการถายเทความรอนโดยผานทางหลังคา คสล. ไดในระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีสวนชวยใหเมืองกรุงเทพฯมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นอันสอดคลองตรงตามนโยบายที่สํานักผังเมืองกรุงเทพมหานครฯ ไดกําหนดไวเพื่อใหกรุงเทพมหานครฯสามารถเทียบเคียงตามมาตรฐานสากลไดตอไปความเปนมาและความสําคัญของปญหาบทนําสํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร (Department of City Planning, Bangkok MetropolitanAdministration) มีนโยบายที่พยายามทําใหพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น โดยการสรางสวน รณรงคชักชวนใหปลูกตนไมบนถนนและที่วางตามที่จะหาได แตก็ยังไมเพียงพอที่จะทําใหกรุงเทพมหานครเปนเมืองนาอยู ขณะนี้กรุงเทพมหานครมีพื ้นที่สวน 1.5 ตารางเมตรตอประชากร 1 คน ซึ่งตามมาตรฐานสากล 4 ตารางเมตรตอประชากร 1 คน สํานักผังเมืองจึงไดมีความคิดเห็นวา กรุงเทพมหานครนั้นมีอาคารเปนจํานวนมากอยูในลักษณะที่กระจายตัว คิดเปนพื้นที่อาคารปกคลุมดินประมาณ 112,000 ไร หากสามารถนําพื้นที่อาคารดังกลาวบางสวนเชนดาดฟา ระเบียง เปนตน มาทําเปนพื้นที่สีเขียวไดก็จะสามารถทําใหกรุงเทพมหานครมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นอีก95


มากมาย ซึ่งเปนการสรางสาธารณประโยชนอยางยิ่ง เจาของหรือผูใชสอยอาคารก็จะสามารถสัมผัสสิ่งสวยงามของธรรมชาติ รวมทั้ง ไดพักผอนและใชเวลาวางเพลิดเพลินกับธรรมชาติโดยไมตองไปแสวงหาจากที่อื่น ที่สําคัญคืออาจสามารถลดอุณหภูมิไดดวย แตทั้งนี้การที่จะทําพื้นที่สีเขียวบนดาดฟา หรือระเบียง ไดนั้นจะตองคํานึงถึงสิ่งสําคัญ 2 ประการในการจัดทํา คือ ความแข็งแรงของพื้นดาดฟาหรือระเบียง ซึ่งปกติพื้นหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็ก(คสล.)ชั้นดังกลาวสามารถ รับน้ําหนักไดอยางนอย 100 - 400 กิโลกรัมตอตารางเมตร หากออกแบบสวนหลังคาโดยใชวัสดุที่มีน้ําหนักเบา ขนาดและชนิดของพืชพันธุที่เหมาะสม ก็จะไมมีปญหากับโครงสรางอาคาร อีกประการหนึ่งคือการรั่วซึมและระบายน้ํา จําเปนตองมีสิ่งปองกันการรั่วซึม เชน แผนยางสังเคราะหและระบบระบายน้ําที ่มีประสิทธิภาพ ไมใหน้ําขังเวลาฝนตกหนัก อันอาจทําใหโครงสรางรับน้ําหนักของน้ําเกินกําลังจากนโยบายขางตนนี้เอง สอดคลองกันกับการทําสวนหลังคาแบบไมใชงาน(extensive green roof)ซึ่งจะเหมาะสมกับอาคารทั่วไปซึ่งมีหลังคาเปนดาดฟา คสล. เนื่องจากการทําสวนหลังคาแบบไมใชงานนี้เปนสวนหลังคาที่ใชความลึกของชั้นดินและวัสดุตางๆรวมไมเกิน 20-30 ซม. ซึ่งจะมีน้ําหนักเบากวาสวนหลังคาแบบสวนหลังคาแบบที่ใชงาน(intensive green roof) หรือ roof garden ซึ่งมีความลึกของชั้นดินและวัสดุตางๆรวม30 ซม.ขึ้นไป และโดยทั่วไปจะนิยมปลูกพืชพันธุที่มีลําตนใหญ ซึ่งสงผลใหมีน้ําหนักมาก สวนสวนหลังคาแบบไมใชงานจะใชชนิดของพืชพันธุที่มีน้ําหนักเบาเนื่องจากปกติจะนิยมปลูกพืชคลุมดิน ประเภทหญาหรือพืชลําตนเตี้ยๆ เทานั้น แตทั้งนี้ก็ตองพิจารณาตอไปดวยวาวัสดุปลูกและพืชพันธุชนิดใดที่จะมีความเหมาะสมในการทําสวนหลังคาแบบไมใชงานนี้อยางไรก็ตามหลังคานั้นเปนสวนของเปลือกอาคารที่ไดรับความรอนโดยตรงจากดวงอาทิตย ซึ่งเปนปริมาณความรอนสวนใหญจากสภาพแวดลอม หลังคาจึงเปนสวนที่สะสมความรอนไวมากแลวสงตอความรอนเขามาสูภายในอาคารตอไป ในแงการปกปองความรอนนั้นถามีการเลือกใชวัสดุปกคลุมหลังคาที่เหมาะสมแลวนั้น ก็จะสามารถชวยลดอุณหภูมิภายในอาคารและชวยลดการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคารลงได การทําสวนหลังคาในลักษณะที่เรียกวาสวนหลังคาแบบไมใชงานนั้นก็อาจเปนอีกวิธีหนึ่งซึ่งอาจเปนแนวทางที่เหมาะสมในการชวยการลดอุณหภูมิภายในอาคารและชวยลดการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคารลงไดซึ่งเปนแนวทางการออกแบบซึ่งพึ่งพาธรรมชาติ (passive design) อีกรูปแบบหนึ่งดวย สวนหลังคาแบบไมใชงานที่จะทําการศึกษาครั้งนี้นั้นจะทําการทดลองศึกษาในลักษณะที่ใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคากับดาดฟาของอาคารกรณีศึกษาซึ่งเปนอาคารสถานที่จริง และเหตุที่เลือกใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคานั้นก็เนื่องจากหญาเปนพืชคลุมดินที่ชวยลดอิทธิพลความรอนจากรังสีดวงอาทิตยและมีน้ําหนักเบา รวมทั้งวัสดุตางๆที่ใชประกอบการปลูกก็มีน้ําหนักเบาดวย ซึ่งจะไมสงผลกระทบที่สรางความเสียหายดานโครงสรางแกอาคารกรณีศึกษาและทั้งนี้ในปจจุบันนอกจากการใชดินปลูกเปนวัสดุปลูกพืชแลวนั้นรูปแบบการปลูกพืชไรดินดวยวัสดุปลูกชนิดตางๆ ซึ่งมีน้ําหนักเบากวาดินปลูกก็เริ่มเปนที่นิยมแพรหลาย ดังนั้นในการศึกษาสวนหลังคาแบบไมใชงานในลักษณะที่เปนการปลูกหญาปกคลุมหลังคา ครั้งนี้จะไดนําเอาวัสดุปลูกบางประเภทมาประยุกตใชในการปลูกหญาเปรียบเทียบกับการปลูกหญาดวยดินปลูกดวย96


ในการศึกษาวิจัยนี้จะศึกษาวาการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. ดวยรูปแบบวัสดุปลูกที่ตางกันนั้นสามารถที่จะชวยลดอุณหภูมิภายในอาคารและชวยลดการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคารใหลดลงไดดีเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับหลังคา คสล. ที่ไมมีสิ่งปกคลุม และนอกจากในเรื่องของการการลดอุณหภูมิภายในอาคารและการชวยลดการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคารแลวนั้นการปลูกหญาปกคลุมหลังคาอาจจะมีสวนชวยลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดลงไดซึ่งอาจเปนผลพลอยไดที่ตามมาอีกดวยวัตถุประสงคของการศึกษา1. เพื่อศึกษาวาการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. ดวยองคประกอบในปลูกหญาที่แตกตางกันนั้นมีสวนชวยในเรื่องของการลดอุณหภูมิภายในอาคารไดตางกันหรือไมอยางไร2. เพื่อศึกษาวาการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. ดวยองคประกอบในปลูกหญาที่แตกตางกันนั้นมีสวนชวยในเรื่องของการลดการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคารไดตางกันหรือไมอยางไร3. เพื่อศึกษาความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรในการใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล.ขอบเขตของการศึกษา1. ศึกษาเก็บคาอุณหภูมิภายนอกอาคาร อุณหภูมิของหลังคา คสล. และอุณหภูมิภายในอาคารเพื่อนําไปประเมินหาคาการถายเทความรอนผานหลังคา คสล. ตอไป โดยการศึกษาเก็บคาอุณหภูมิตางๆนั้นไดทําการศึกษาจากการวัดคาจริงจากอาคารกรณีศึกษา ซึ่งเปนอาคารพักอาศัยประเภทหอพัก 6 ชั้น2. หองที่จะใชทดลองนั้นอยูที่ชั้น 6 ซึ่งมีหลังคาเปนดาดฟา คสล. โดยหองที่จะใชทดลองมีจํานวน4 หอง และหองมีขนาดเทาๆกัน ซึ่งแตละหองมีขนาดประมาณ 15 ตร.ม. ตั้งอยูในทิศทางเดียวกัน3. หองแตละหองนั้นพื้นหองเปนพื้น คสล. หนา 0.10 ม.ปดผิวพื้นดวยกระเบื้องยาง ผนังโดยรอบเปนผนังกออิฐฉาบปูน หนา 0.10 ม. ความสูงจากพื้นถึงฝาเพดาน เทากับ 2.40 ม. ฝาเพดานยิปซั่มหนา 9มม. ฉาบเรียบทาสี มีชองวางระหวางฝาเพดานกับหลังคา คสล. 0.40 ม. (เดิมไมมีการติดตั้งฉนวนกันความรอนที่หลังคา) หลังคา คสล. หนา 0.10 ม. เหมือนกันทุกหอง4. ระยะเวลาในการเก็บขอมูลเรื่องคาอุณหภูมิตางๆนั้นจะเก็บเปนระยะเวลา 36 ชั่วโมง เทานั้นเนื่องจากมีระยะเวลาอันจํากัดในการใชอาคารกรณีศึกษาระเบียบวิธีการศึกษาการดําเนินการศึกษาใชวิธีการทดลองกับอาคารสถานที่จริง โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้1. ศึกษางานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวของ2. ศึกษาเรื่องสวนหลังคา, วัสดุปลูกชนิดตางๆ รวมทั้งวัสดุอุปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษา3. เลือกอาคารกรณีศึกษามาหนึ่งอาคาร โดยในการศึกษาครั้งนี้ไดเลือกใชอาคารพักอาศัยประเภทหอพัก 6 ชั้นหลังหนึ่งมาเปนอาคารกรณีศึกษา ทั้งนี้หองที่จะใชทําการทดลองมีทั้งหมด 4 หองและเปนหองที่อยูบนชั้น 6 ของอาคารซึ่งมีหลังคา เปนดาดฟา คสล.97


4. กําหนดรูปแบบการทดลอง โดยเปรียบเทียบในเรื่องการลดอุณหภูมิภายในอาคารและการลดการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคารกรณีศึกษา โดยลักษณะรูปแบบการเปรียบเทียบนั้นจะมีการศึกษาเปรียบเทียบมาจาก 4 รูปแบบ ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้คือ4.1 รูปแบบที่ 1 หองกรณีศึกษาที่ 1 หลังคา คสล. ที่ไมมีการปกคลุมดวยวัสดุตางๆแตอยางใด4.2 รูปแบบที่ 2 หองกรณีศึกษาที่ 2 หลังคา คสล. จะปกคลุมดวยองคประกอบตางๆซึ่งไดมาจากแนวทางการออกแบบสวนหลังคาสําหรับพื้นที่กรุงเทพมหานคร (พชร เลิศปติวัฒนา, 2547) และปลูกหญานวลนอยเปนพืชคลุมดิน4.3 รูปแบบที่ 3 หองกรณีศึกษาที่ 3 มีเปนการประยุกตใชองคประกอบตางๆซึ่งไดมาจากแนวทางการออกแบบสวนหลังคาสําหรับพื้นที่กรุงเทพมหานคร (พชร เลิศปติวัฒนา, 2547) มาใชแตปรับเปลี่ยนวัสดุดินปลูกไปเปนขุยมะพราว ทั้งนี้ขุยมะพราวเปนวัสดุทดแทนดินปลูกซึ่งเปนวัสดุปลูกที่เปนสารอินทรียที่เปนผลพลอยไดจากโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งมีราคาถูกและน้ําหนักเบาดวย (อิทธิสุนทร นันทกิจ, 2551) และปลูกหญานวลนอยเปนพืชคลุมดิน4.4 รูปแบบที่ 4 หองกรณีศึกษาที่ 4 หลังคา คสล. จะปกคลุมดวยองคประกอบตางๆซึ่งไดมาจากแนวทางการออกแบบสวนหลังคาแบบของ Theodore Osmundson, 1999 และปลูกหญานวลนอยเปนพืชคลุมดินภาพที่ 1 แสดงรูปแบบหลังคา คสล. และลักษณะการปลูกหญาปกคลุมหลังคา ทั้ง 4 รูปแบบซึ่งจะใชในการทดลองภาพที่ 2 แสดงรูปภาพจําลองรูปตัดซึ่งแสดงลักษณะทางกายภาพของอาคารกรณีศึกษา พรอมทั้งแสดงการปลูกหญาปกคลุมหลังคา ซึ่งจะใชหองพัก 4 หองในที่ชั้น 6 ซึ่งมีหลังคาเปน ดาดฟา คสล. เปนสถานที่ทําการทดลอง98


5. ดําเนินการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล., ติดตั้งเครื่องมือการเก็บคาอุณหภูมิ, เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อใชในการเปรียบเทียบคาความแตกตางของอุณหภูมิที่เก็บคาไดตอไป ทั้งนี้ในขณะที่เก็บคาอุณหภูมินั้นประตูและหนาตางปดสนิท ไมมีการใชเครื่องใชไฟฟา และไมมีผูอยูอาศัยภายในหองทั้ง 4 หอง6. วิเคราะหผลการศึกษา นําขอมูลที่ไดจากการศึกษาไปประเมินเปรียบเทียบโดยพิจารณาในแงของความแตกตางของอุณหภูมิภายในหองกรณีศึกษาซึ่งหลังคา คสล.มีและไมมีการปลูกหญาปกคลุมและการถายเทความรอนของหลังคา คสล.ซึ่งมีและไมมีการปลูกหญาปกคลุมเขาสูภายในหองกรณีศึกษา7. สรุปผลการศึกษาทั้งนี้เพื่อสามารถใชเปนแนวทางในการนําไปประยุกตใชในการออกแบบอาคารไดตอไป และศึกษาความเปนไปไดทางดานเศรษฐศาสตรประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. เพื่อทราบวาการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. ซึ่งใชวัสดุปลูกที่แตกตางกันนั้นมีสวนชวยในเรื่องการลดอุณหภูมิภายในอาคารและชวยลดการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคารไดแตกตางกันหรือไมอยางไร2. เพื่อทราบแนวทางในการใชวัสดุจากธรรมชาติโดยนํามาประยุกตใชกับอาคารซึ่งทั้งนี้เปนการชวยอนุรักษสิ่งแวดลอมในอีกแงหนึ่งดวย3. เพื่อทราบความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรในการดําเนินการทําสวนหลังคาในลักษณะการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล.ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของคุณสมบัติของวัสดุที่มีผลตอพลังงานในอาคารคุณสมบัติตางๆของวัสดุตางๆที่มีผลตอพลังงานในอาคารนั้นหลักๆ แลวจะขึ้นอยูกับองคประกอบดังตอไปนี้ (ASHRAE Handbook Fundamental, 1997) คือคาการนําความรอน (thermal conductivity, k ) เปนคุณสมบัติอยางหนึ่งของวัสดุที่มีความสําคัญมากในการไดรับหรือสูญเสียความรอนของผนังภายนอกอาคาร เปนอัตราสวนการถายเทความรอนของวัสดุของจํานวนความรอน Btu/h สงผานวัสดุ 1 ตร.ฟุต หนา 1 นิ้ว ทําใหอุณหภูมิลดลง 1 o F มีหนวยเปน Btu/h ft F หรือWatt/m Kคุณสมบัติตานทานความรอน (thermal resistance) วัสดุแตละชนิดมีคุณสมบัติในการตานทานความรอนที่แตกตางกันออกไป โดยพิจารณาจาก1. สัมประสิทธิ์การนําความรอน (k) คือ ความสามารถในการนําความรอนของวัสดุใดๆ2. ความนําความรอน ( C )คือ อัตราสวนระหวางคาสัมประสิทธิ์การนําความรอนตอความหนาของวัสดุ , C= K / ความหนาของวัสดุ3. ความตานทานความรอน ( R ) คือ สวนกลับของคาความนําความรอน, R= 1/ C จากสมการขางตน คาความตานทานความรอนของวัสดุแปรผันตรงกับความหนาของวัสดุ แตแปรผกผันกับคา thermalconductivity หากวัสดุใดมีคาความตานทานความรอนสูงแสดงวามีคุณสมบัติเปนฉนวนไดดี99


4. วัสดุประเภทที่ทําหนาที่เปนฉนวน เปนวัสดุที่มีน้ําหนักเบา มีความหนาแนนนอย ประกอบดวยโพรงอากาศเล็กๆเปนจํานวนมาก โดยโพรงอากาศเหลานี้จะดักความรอนใหอยูภายในโพรงอากาศทําใหความรอนถายเทใหอาคารนอยลง5. วัสดุประเภทที่มีคุณสมบัติตานการแผรังสีความรอน หรือสะทอนรังสีความรอนกลับ เปนวัสดุผิวมันวาวจากคุณสมบัติของวัสดุดังกลาวขางตน เห็นไดวา แตละคุณสมบัติของวัสดุมีอิทธิพลตอการถายเทความรอนของเปลือกอาคาร ทําใหเกิดภาระการทําความเย็นและสงผลตออุณหภูมิอากาศภายในอาคารในชวงเวลาตางๆอยางไรก็ตาม การประเมินหาคาอัตราการถายเทความรอนโดยการนํา (Conduction heat gain )ผานเปลือกอาคาร คํานวณหาไดจากสูตร q = U x A x TD eqเมื่อ q = คาอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานเปลือกอาคารU = 1 / R รวม (W / m 2 ºC)A = พื้นที่ผิววัดเปน (m 2 ) ตั้งฉากกับทิศทางที่ความรอนเดินทางTD eq = คาความแตกตางอุณหภูมิเทียบเทา (temperature different equivalent)ระหวางภายนอกและภายในอาคาร ซึ่งรวมถึงผลการดูดกลืนรังสีอาทิตยของหลังคาสวนทึบ โดยมีหนวยเปนองศาเซลเซียส ( ํC)ตารางที่ 1 แสดงตัวอยางคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (k) และความหนาแนนของวัสดุชนิดตางๆวัสดุ ความหนาแนน (กก.ม. -3 ) คา k (วัตต ม. -1 ซ -1 )คอนกรีต 2,400 1.442แผนยิบซั่ม 880 0.191โพลีสไตรีน เบงขยายตัว 16 0.035โพลียูลิเทน โฟม 24 0.024ดินอัดหลวม (รวนซุย) 1,200 0.375ชั้นระบายน้ําพลาสติกสําเร็จรูป 0.025 0.173แผนใยกรองดิน 0.001 negligibleวัสดุปดผิว 0.025 0.27หญานวลนอย - -วัสดุกันน้ําซึมแบบเหลว - negligibleฟลมโพลียูรีเทน 0.008 negligibleขุยมะพราว 0.2 0.141ที่มา : ธนิต จินดาวณิค. เอกสารประกอบคําสอนวิชา การอนุรักษพลังงานในการออกแบบอาคาร 250-1673. หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550.100


การออกแบบสวนหลังคาในกรุงเทพมหานครจากการศึกษาวิจัยของ พชร เลิศปติวัฒา(2547) ไดทําการศึกษาแนวทางการออกแบบสวนหลังคาจากวรรณกรรมที่เกี่ยวของเปรียบเทียบกับการออกแบบสวนหลังคาที่เลือกมาศึกษา ซึ่งพบวามีทั้งประเด็นที่สอดคลองและแตกตางกัน ซึ่งสวนมากสามารถนํามาพิจารณาเปนแนวทางที่เหมาะสมตอการออกแบบสวนสําหรับหลังคาพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่พบชัดเจนคือ สวนประกอบของชั้นตางๆ ในการออกแบบกอสรางสวนหลังคาในตางประเทศนั้นจะประกอบดวยสวนประกอบ 9 ชั้น แตสวนหลังคาในกรุงเทพมหานครที่นิยมใชนั้นมีเพียง 7 ชั้น อันไดแก 1) พื้นหลังคาคอนกรีต 2) วัสดุกันน้ําซึม 3) แผนคอนกรีตกันทะลุ 4) ชั้นระบายน้ํา5) แผนใยกรองดิน 6) ดินปลูก และ 7) วัสดุปดผิว จากลางขึ้นบนตามลําดับ ซึ่งวัสดุตางๆ ที่เปนสวนประกอบของสวนหลังคาจะลดลงไปจากสวนหลังคาตางประเทศ 2 ชั้น คือ ชั้นฉนวนและแผนกันทะลุภาพที่ 3 แสดงองคประกอบแตละชั้นของโครงสรางสวนหลังคาสําหรับพื้นที่กรุงเทพมหานครที่มา : พชร เลิศปติวัฒนา. การออกแบบสวนหลังคาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547., หนา 119.การเปรียบเทียบศักยภาพของการปองกันความรอนระหวางการใชสวนหลังคากับระบบหลังคาที่ใชกันทั่วไปจากการศึกษาวิจัยของ ณัฎฐิณี นวลสกุล (2545) ไดทําการศึกษาพฤติกรรมการถายเทความรอนของสวนหลังคาเขาสูภายในอาคาร ของหลังคาแบบตางๆ 4 ชนิด ไดแก หลังคาคอนกรีต หลังคาที่ปกคลุมดวยหญา หลังคาที่ปกคลุมดวยพืชคลุมดินลําตนเตี้ย และหลังคาที่ปกคลุมดวยไมพุมสูง พบวาสวนหลังคาแบบปลูกไมพุมสูงนั้น สามารถทําใหอุณหภูมิที่ผิวฝาเพดานภายในอาคารใหมีคาต่ํากวาอุณหภูมิที่ผิวฝาเพดานภายในอาคารซึ่งหลังคาเปนสวนหลังคาแบบปลูกพืชคลุมดินลําตนเตี้ย และสวนหลังคาหญา ตามลําดับสวนหลังคาสามารถชวยลดอุณหภูมิที่ผิวฝาเพดานภายในอาคารเปรียบเทียบกับหลังคาคอนกรีต23.48%, 26.04% และ 28.58% ตามลําดับและสวนหลังคานั้นสามารถชวยลดภาระการทําความเย็นไดอยางนอย 72 - 77%101


ผลการวิจัยและการวิเคราะหผลการวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบอุณหูมิอากาศภายนอกอาคารและอุณหภูมิอากาศภายในหองกรณีศึกษา ของหองกรณีศึกษาที่ 1, 2, 3 และ 4แผนภูมิที่ 1 แสดงการศึกษาเปรียบเทียบอุณหูมิอากาศภายนอกอาคารและอุณหภูมิอากาศภายในหองกรณีศึกษา ของหองกรณีศึกษาที่ 1, 2, 3 และ 4TEMPERATURE (ºC)40.0039.0038.0037.0036.0035.0034.0033.0032.0031.0030.0029.0028.0027.0026.0025.0024.0023.001/4/2009 6:001/4/2009 7:001/4/2009 8:001/4/2009 9:001/4/2009 10:001/4/2009 11:001/4/2009 12:001/4/2009 <strong>13</strong>:001/4/2009 14:001/4/2009 15:001/4/2009 16:001/4/2009 17:001/4/2009 18:001/4/2009 19:001/4/2009 20:001/4/2009 21:001/4/2009 22:001/4/2009 23:001/5/2009 0:001/5/2009 1:001/5/2009 2:001/5/2009 3:001/5/2009 4:001/5/2009 5:001/5/2009 6:001/5/2009 7:001/5/2009 8:001/5/2009 9:001/5/2009 10:001/5/2009 11:001/5/2009 12:001/5/2009 <strong>13</strong>:001/5/2009 14:001/5/2009 15:001/5/2009 16:001/5/2009 17:00อุณหภูมิอากาศ ภายในหอง กรณีศึกษาที่ 1 (ºC)อุณหภูมิอากาศ ภายในหอง กรณีศึกษาที่ 2 (ºC)อุณหภูมิอากาศ ภายในหอง กรณีศึกษาที่ 3 (ºC)อุณหภูมิอากาศ ภายในหอง กรณีศึกษาที่ 4 (ºC)อุณหภูมิอากาศภายนอก (ºC)1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 <strong>13</strong> 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36HOURSจากแผนภูมิที่ผานมาจะเห็นไดวา อุณหภูมิอากาศภายในหองกรณีศึกษา ของหองกรณีศึกษาที่ 1,2, 3 และ 4 นั้นโดยเฉลี่ย 36 ชั่วโมง นั้นจะต่ํากวาอุณหภูมิอากาศภายนอกมีอุณหภูมิโดยเฉลี่ย 36 ชั่วโมงประมาณ 0.60, 0.83, 1.05 และ 1.22 ํC ตามลําดับในสวนของอุณหภูมิอากาศภายในหองกรณีศึกษา ของหองกรณีศึกษาที่ 1, 2, 3 และ 4 โดยเฉลี่ยในชวงเวลากลางวัน นั้นจะต่ํากวาอุณหภูมิอากาศภายนอกมีอุณหภูมิโดยเฉลี่ยในชวงเวลากลางวัน ประมาณ2.11, 2.24, 2.48 และ 2.66 ํC ตามลําดับในสวนของอุณหภูมิอากาศภายในหองกรณีศึกษา ของหองกรณีศึกษาที่ 1, 2, 3 และ 4 โดยเฉลี่ยในชวงเวลากลางคืน นั้นจะสูงกวาอุณหภูมิอากาศภายนอกมีอุณหภูมิโดยเฉลี่ยในชวงเวลากลางคืน ประมาณ2.85, 2.38, 2.2 และ 2.07 ํC อันเนื่องมาจากความรอนที่ถูกสะสมไวที่หลังคา ไดถายเทเขามาสูภายในหองกรณีศึกษา ในชวงเวลากลางคืน แตอยางไรก็ตาม การทําสวนหลังคาปกคลุมหองกรณีศึกษาที่ 2, 3 และ 4ไวนั้นก็ยังสามารถชวยทําใหลดอุณหภูมิโดยเฉลี่ยในชวงเวลากลางคืน ในหองกรณีศึกษาที่ 2, 3 และ 4 ไดประมาณ 0.47, 0.65 และ 0.78 เมื่อเปรียบเทียบกับอุณหภูมิภายในหองกรณีศึกษาที่ 1102


ตารางที่ 2 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยภายในหองกรณีศึกษาและ อุณหภูมิภายนอกโดยเฉลี่ยตลอดชวงเวลา 36 ชม.อุณหภูมิ (ºC)อุณหภูมิเฉลี่ยภายในหองกรณีศึกษาที่ 1 (36 ชั่วโมง) 29.09อุณหภูมิเฉลี่ยภายในหองกรณีศึกษาที่ 2 (36 ชั่วโมง) 28.86อุณหภูมิเฉลี่ยภายในหองกรณีศึกษาที่ 3 (36 ชั่วโมง) 28.64อุณหภูมิเฉลี่ยภายในหองกรณีศึกษาที่ 4 (36 ชั่วโมง) 28.47อุณหภูมิภายนอกโดยเฉลี่ย (36 ชั่วโมง) 29.69จากตาราง จะพบวาอุณหภูมิเฉลี่ย (36 ชั่วโมง)ภายในหองกรณีศึกษาที่ 1, 2, 3 และ 4 นั้น จะมีอุณหภูมิที่ต่ํากวา อุณหภูมิภายนอกโดยเฉลี่ย (36 ชั่วโมง) ประมาณ 0.6 , 0.83, 1.05 และ 1.22 ºCตามลําดับ ทั้งนี้เนื่องจากความรอนจากบรรยากาศเกิดการสะสมไวที่หลังคา คสล. และนําพาเขามาสูที่ภายในหองกรณีศึกษาตางๆ นั้น จะเห็นไดวา หองกรณีศึกษาที่ 1 ซึ่งหลังคาไมมีสิ่งปกคลุมนั้นจะมีอุณหภูมิโดยเฉลี่ย(36 ชั่วโมง )ที่ใกลเคียงกับอุณหภูมิภายนอกโดยเฉลี่ย (36 ชั่วโมง) มากที่สุด ซึ่งตางจากหองกรณีศึกษาที่ 2, 3 และ 4 โดยมีเหตุผลอันเนื่องมาจาก หองกรณีศึกษาที่ 2, 3 และ 4 ไดมีการปลูกหญา หรือที่เรียกวา สวนหลังคาแบบไมใชงานปกคลุมไวนั้น ความรอนจากที่จะถูกสะสมไวที่หลังคาและถูกนําพาผานเขามาสูภายในอาคารนั้นจะถูกดูดกลืนจากวัสดุที่เปนองคประกอบตางๆ ของสวนหลังคา ซึ่งความรอนที่ถูกนําพามายังที่ภายในหอง จะคอนขางนอยกวาหองกรณีศึกษาที่ 1 จึงมีผลทําใหอุณหภูมิเฉลี่ย(36 ชั่วโมง) ที่ภายในหอง ของหองกรณีศึกษาที่ 2, 3 และ 4 มีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิเฉลี่ย (36 ชั่วโมง)ที่ภายใน ของหองกรณีศึกษาที่ 1 ซึ่งหลังคาไมมีสิ่งปกคลุม นั่นเองโดยทั้งนี้แลว อุณหภูมิเฉลี่ย(36 ชั่วโมง) ที่ภายในหอง ของหองกรณีศึกษาที่ 2, 3 และ 4 นั้นมีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิเฉลี่ย (36 ชั่วโมง)ที่ภายในหอง ของหองกรณีศึกษาที่ 1 คือ 0.23, 0.45 และ 0.62ºC ตามลําดับตารางที่ 3 แสดงการประเมินหาคาอัตราการถายเทความรอนโดยการนํา (Conduction heat gain ) ผานเปลือกอาคารของหลังคา คสล. ของหองกรณีศึกษาทั้ง 4 หองหลังคา คสล. ของ หลังคา คสล. ของ หลังคา คสล. ของ หลังคา คสล. ของหองกรณีศึกษาที่ หองกรณีศึกษาที่ หองกรณีศึกษาที่ หองกรณีศึกษาที่1234U (W / m 2 ºC) 0.5695 0.3807 0.2884 0.223A (m 2 ) 1 1 1 1TD eq ( ํC) 14.89 1.92 2.24 2.36q = U x A x TD eq ;(W) 8.4799 0.7309 0.646 0.5263แปลง W ไปเปน Btu/hr 28.94 2.49 2.20 1.80หมายเหตุTD eq = คาความแตกตางอุณหภูมิเทียบเทา (temperature different equivalent) ระหวางอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวดานบนหลังคา คสล.และอุณหภูมิเฉลี่ยภายในหองกรณีศึกษา แตละหอง โดยมีหนวยเปนองศาเซลเซียส ( ํC)103


เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคาของอัตราการถายเทความรอนโดยการนํา (Conduction heat gain )ผานเปลือกอาคารของหลังคา คสล. ของหองกรณีศึกษาทั้ง 4 หอง ตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร ก็จะพบวาคาของอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานเปลือกอาคารของหลังคา คสล. ของหองกรณีศึกษา 2, 3 และ 4 จะมีอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานหลังคา คสล. ที่ต่ํากวาอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานหลังคา คสล. ของหองกรณีศึกษาหองที่ 1 คิดเปน 91.40 %, 92.40 % และ 93.78 % ตามลําดับสรุป จากการประเมินขางตนก็จะเห็นไดวา สวนหลังคาแบบไมใชงานที่ปกคลุมหลังคานั้นสามารถชวยลดอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานหลังคา คสล.ไดดีกวาเมื่อเปรียบเทียบกับหลังคา คสล. ที่ไมมีสิ่งปกคลุมอยูเลยในการพิจารณาความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรนั้น ผูวิจัยจะพิจารณาจากระยะเวลาในการคืนทุน(Simple payback period) และ อัตราผลตอบแทนที่จะไดจากการประหยัดคาไฟฟา (Simple rate ofreturn on investment) โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ตารางที่ 4 แสดงการประเมินระยะเวลาในการคืนทุนและอัตราผลตอบแทนที่จะไดจากการประหยัดคาไฟฟา(%)ของการลงทุนทําการปลูกหญาปกคลุมหลังคาตามหองกรณีศึกษาตางๆหองกรณี หองกรณี หองกรณี หองกรณีหองที่ 1 หองที่ 2 หองที่ 3 หองที่ 4เงินลงทุน (บาท) - 28,650 27,150 36,150เงินคาไฟฟาสําหรับเครื่องปรับอากาศปละ (บาท) 1,257.68 121.3 118.67 114.72ประหยัดเงินคาไฟฟาสําหรับเครื่องปรับอากาศไดปละ (บาท) - 1,<strong>13</strong>6.38 1,<strong>13</strong>9.01 1,142.96ระยะเวลาคืนทุน (simple payback period) - 25 ป 23 ป 32 ปอัตราผลตอบแทนที่จะไดจากการประหยัดคาไฟฟา (%) - 3.97% 4.19% 3.16%จากการที่ไดประเมินคาอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานทางหลังคา คสล. นั้นเราก็จะพบไดวาเมื่อเปรียบเทียบกันแลวทั้ง 4 หอง หองกรณีศึกษาที่ 4 จะมีคาอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานทางหลังคา คสล. ต่ําที่สุดและมีการใชไฟฟาต่ําที่สุดดวย แตเมื่อลองพิจารณาดานเศรษฐศาสตรแลวเราก็จะพบวา จากตาราง สามารถสรุปผลการประเมินดานเศรษฐศาสตร ไดดังนี้ คือ หองกรณีศึกษาที่ 3 ซึ่งใชรูปแบบที่ 3 จะมีระยะเวลาคืนทุน หรือ จุดคุมทุน(ป) เร็วที่สุดซึ่งอยูที่ 23 ป รองลงมา คือ หองที่ 2 และ 1ตามลําดับ ซึ่งถาพิจารณาในแงของระดับความพึงพอใจของระยะเวลาคืนทุน(ป) แลวนั้นก็พบวา ระยะเวลาคืนทุนคอนขางนานอยางไรก็ดีเมื่อไดพิจารณาอัตราผลตอบแทนที่จะไดจากการประหยัดคาไฟฟา (%) ที่เกิดจากการทําการปลูกหญาปกคลุมหลังคาบนหองกรณีศึกษาทั้งหมดนั้น ในชวงระยะเวลา 1 ป ที่นําเสนอในตารางที่ 4นั้นชี้ใหเห็นวา หองกรณีศึกษาที่ 3 จะมีอัตราผลตอบแทนในชวงระยะเวลา 1 ป ดีที่สุดคืออยูที่ 4.19 %ตามมาดวยหองกรณีศึกษาที่ 2 และ 4 ดวยอัตราผลตอบแทน 3.97% และ 3.16 % ตามลําดับ กลาวคือ104


Simple rate of return ของการปลูกหญาปกคลุมหลังคาดวยรูปแบบองคประกอบตางๆซึ่งไดมาจากแนวทางการออกแบบสวนหลังคาสําหรับพื้นที่กรุงเทพมหานคร (พชร เลิศปติวัฒนา, 2547) แตปรับเปลี่ยนวัสดุดินปลูกไปเปนขุยมะพราว มีคาเทากับ 4.19 % ซึ่งเปนทางเลือกที่คุมคาในการลงทุนที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับ Simplerate of return ของการปลูกหญาปกคลุมหลังคาดวยรูปแบบองคประกอบตางๆซึ่งไดมาจากแนวทางการออกแบบสวนหลังคาสําหรับพื้นที่กรุงเทพมหานคร (พชร เลิศปติวัฒนา, 2547) มีคาเทากับ 3.97% และSimple rate of return ของการปลูกหญาปกคลุมหลังคาดวยรูปแบบองคประกอบตางๆซึ่งไดมาจากแนวทางการออกแบบสวนหลังคาของ Theodore Osmundson มีคาเทากับ 3.16 %ดังนั้น ที่กลาววาเพื่อศึกษาความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรในการใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคาคสล. นั้นก็พบวาในแงของระดับความพึงพอใจของระยะเวลาคืนทุน(ป) นั้น จะมีระยะเวลาคืนทุนคอนขางนานแตจะมีอัตราผลตอบแทนที่จะไดจากการประหยัดคาไฟฟาแตละปอยูที่ประมาณ 3.16 - 4.19 %สรุปผลการวิจัยขอเสนอแนะ1. การปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. ดวยองคประกอบตามที่ Theodore Osmundson(1999)และพชร เลิศปติวัฒนา(2547)ไดกําหนดสวนประกอบไวอันไดแก พื้นหลังคา คสล., วัสดุกันน้ําซึม, แผนกันทะลุ, ชั้นฉนวน, แผนคอนกรีตกันทะลุ, ชั้นระบายน้ํา, แผนใยกรองดิน, วัสดุปลูก, วัสดุปดผิวและหญานั้น มีสวนชวยใหอุณหภูมิอากาศเฉลี่ยในชวงเวลากลางวันภายในหองทดลองลดลงไดประมาณ 2.24 - 2.66 ºC2. การปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. สามารถลดอัตราการถายเทความรอนโดยการนําผานทางหลังคา คสล. ไดประมาณ 91.40 - 93.78 %3. ในแงของการลงทุนนั้น เมื่อไดประเมินความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรพบวา จะมีระยะเวลาคืนทุนที่คอนขางนาน แตจะมีอัตราผลตอบแทนที่จะไดจากการประหยัดคาไฟฟาแตละปอยูที่ประมาณ 3.16 - 4.19 %ถึงแมวาการประยุกตใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. นั้นจะมีความเปนไปไดในทางเศรษฐศาสตรนอยก็ตาม แตทั้งนี้ทั้งนั้นแลวการประยุกตใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคา คสล. นั้นก็มีสวนชวยในเรื่องของการลดอุณหภูมิภายในอาคารและสามารถชวยลดอัตราการถายเทความรอนโดยผานทางหลังคาคสล. ไดไมมากก็นอย ซึ่งจะเปนพื้นฐานความรูเกี่ยวกับอาคารเสมือนเปนฐานขอมูลสําหรับการตอบคําถามที่จะเกิดขึ้นในอนาคตตอไป อีกทั้งยังมีสวนชวยใหทราบถึงแนวทางการออกแบบแบบซึ่งพึ่งพาธรรมชาติ (passivedesign) นั้น คือ การออกแบบโดยอาศัยธรรมชาติ ตามหลักพึ่งพาธรรมชาติ และชวยใหเกิดการประหยัดพลังงานในอาคาร ซึ่งเปนสิ่งที่สําคัญที่ตอบสนองแนวความคิดดานการอนุรักษพลังงานในปจจุบันอีกดวยในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงานนั้น การที่เราสามารถหาวิธีที่ชวยลด Peak load ของอาคารใหลดลงไดนั้น จะเปนประโยชนมากในการลดขนาดและลดจํานวนขององคประกอบในระบบปรับอากาศของอาคาร(ธนิต จินดาวณิค, 2550) ทั้งนี้ทั้งนั้นแลวการทําสวนหลังคานั้น เสมือนเปนการเพิ่มระดับความเปน105


ฉนวนใหกับพื้นที่สวนหลังคาอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเปนการชวยหนวงเหนี่ยวความรอนไว ซึ่งชวยลด Peak loadและลดปริมาณความรอนไมใหเขาสูภายในอาคารได(ณัฎฐิณี นวลสกุล, 2545)นอกจากนี้แลวนั้นการประยุกตใชการปลูกหญาปกคลุมหลังคา ก็ถือวาเปนสวนหลังคาที่งายตอการกอสรางและมีประโยชนมากอีกดวย ซึ่งในภาพรวมจะมีขอดีดังตอไปนี้ คือ ชวยเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหอาคาร, ชวยใหอาคารมีพื้นที่ใชสอยสวนกลางเพิ่มขึ้น, เปนพื้นที่ open space ของอาคาร, ชวยลดการ Run off ของภาวะฝนตก, มีสวนชวยลด Heat Island ของเมือง(จตุวัฒน วโรดมพันธ, 2552) และสุดทายนี้หากเรามองในแงของสิ่งแวดลอมแลวนั้น การทําสวนหลังคามีสวนชวยในการชวยดูดซับกาซคารบอนไดรออกไซดของเมืองอีกดวย ซึ่งอัตราการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของหญานวลนอยนั้นมีสูงถึง 32.2 ไมโครโมลตอตารางเมตรตอวินาทีอีกดวย(อิศรา แพงสีและคณะ, 2552)ในขณะที่ตนไม มีอัตราการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดประมาณ 7.7 - 34 ไมโครโมลตอตารางเมตรตอวินาที อยางไรก็ตาม การรวมกันปลูกพืชพรรณไมทางใดก็ทางหนึ่งใหมากขึ้นนั้นเปนแนวทางสําคัญที่ชวยลดปญหาภาวะโลกรอนได โดยพบวาการปลูกพืชกลางแจงนั้นสามารถชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด สุทธิไดมากถึง 30-60 กรัมตอตารางเมตรพื้นที่ดินตอวัน(สุจิณณากรรณสูต, 2550)ภาษาไทยรายการอางอิงธนิต จินดาวณิค. เอกสารประกอบคําสอนวิชา การอนุรักษพลังงานในการออกแบบอาคาร 250-1673.กรุงเทพมหานคร : คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550.พชร เลิศปติวัฒนา. การออกแบบสวนหลังคาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.ณัฎฐิณี นวลสกุล. การเปรียบเทียบศักยภาพของการปองกันความรอนระหวางการใชสวนหลังคากับระบบหลังคาที่ใชกันทั่วไป. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.ศุภกิจ ยิ้มสรวล. การใชสวนหลังคาเพื่อลดการถายเทความรอน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.เดชา บุญค้ํา. งานภูมิทัศนหลังคา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.ยอดเยี่ยม เทพธรานนท. สารพันปญหาการกอสรางและตอเติมบาน. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ด ยูเคชั่น,2521จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คูมือแบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม : อาคารพักอาศัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.ปรีดี เอกะวิภาต. หญาสนาม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2520.พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา. การจัดสวน. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 8,กรุงเทพมหานคร : บานและสวน, 2550.ชูศรี วงศรัตนะ. เทคนิคการใชสถิติเพื่อการวิจัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 10, 2550.นรมิตร ลิ่วธนมงคล. รวมขอมูลการกอสราง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพรุงแสงการพิมพ, 2538.106


สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.). คณะสถาปตยกรรมศาสตร. ภาควิชาสถาปตยกรรม. แบบบานอยูสบายประหยัดพลังงาน – รายงานฉบับสมบูรณ. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง(สจล.), 2547.วรวรรณ โรจนไพบูลย. หลากหลายแนวคิดสูเทคนิคบาน (จัดสรร) อนุรักษพลังงาน.กรุงเทพมหานคร :ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), 2551.อิศรา แพงสี และคณะ. ความสามารถของสวนหยอมในการดูดซับกาซคารบอนไดรออกไซด.กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2552.จตุวัฒน วโรดมพันธ. ทิศทางอาคารเขียวสําหรับประเทศไทย. การสัมมนาเรื่อง อาคารเขียว(GreenBuilding), 11 มีนาคม 2552 ณ โรงแรม ดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพมหานครฯ.ดําริ ถาวรมาศ. นักวิชาการเกษตร 8(ปฐพีวิทยา). กรมวิชาการเกษตร. สัมภาษณ, 7 ธันวาคม 2551.วงศศิริ จรรยาวิสุทธิ์. กรรมการบริหาร บริษัทแปลน คอนซัลแตนทส จํากัด. สัมภาษณ, 12 กุมภาพันธ2552.สุจิณณา กรรณสูต. โลกรอน จุดเปลี่ยนแนวคิดเชิงบวกรักษสิ่งแวดลอม[ออนไลน].Availablefrom:http://www.measwatch.org [2008, December 15]สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(สสวท.), โครงสรางของดิน[ออนไลน].Availablefrom:http://www. globethailand.ipst.ac.th.pdf[2008, September 30]ภาษาอังกฤษFoster, Ruth S. Landscaping that saves energy and dollars. The Globe Pequot Press.Connecticut, 1994.Robinette, G., Plant/People/and Enironmental Quality.,U.S. Department of the Interior,NationalPark Service,Washington, D.C., 1972.Liu, Karen. Engineering Performance of Rooftop Gardens. 18th International Convention of theRoof Consultants Institute, Tampa, FL(March 2003) : 10.Eumorfopoulou, Ekaterini. The contribution of a planted roof to the thermal protection ofbuildings in Greece. Energy and Buildings 27 (JAN-1998) : 29-36.Sandra Mendler; William Odell. The HOK guidebook to sustainable design. USA :JohnWiley & Sons, 2000.Theodore Osmundson. Roof Garden History Design and Construction. New York: W.W.Norton & Company, 1999.Theodore Osmundson. The Changing Technique of Roof Garden Design. New York: W.W.Norton & Company, 1999.107


American Society of Heating, Refrigerating and Air-conditioning Engineers. ASHRAE HandbookFundamental. Atlanta, 1997.Walter F.Wagner, Jr. and The Editors of Architectural Record Magazine. Energy – EfficientBuilding.(New York : Mcgraw-Hill Book Company. 1980)Sidney Siegel. Nonparametric Statistics for the behavioral sciences, International studentedition. The McGraw - Hill, Inc., 1956.CG Wark, WW Wark. The Construction Specifier, August 2003 Vol. 56, No.8 Green RoofSpecifications and Standards Establishing an emerging technology[Online].Availablefrom:http://www.greenroofs.com/pdfs/newslinks803_construction_specifier.pdf[2008, September 29]108


การศึกษาเปรียบเทียบหลักการและการบังคับใชประมวลขอบังคับอาคารของประเทศกรณีศึกษาตางๆกับแนวความคิดประมวลขอบังคับอาคารของกรมโยธาธิการและผังเมืองA Comparative Study of The Principle And Enforcement Building Code in Department of PublicWorks and Town & Country Planning and Other Countriesนางสาว โจ แนวพนิชหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเนื่องจากปญหาในเรื่องกฎหมายที่แกไขกฎหมายไดยากเพราะตองผานขั้นตอนการออกกฎหมายหลายรอบและมาตรฐานที่ไมไดรับการปรับปรุงใหทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งกฎหมายและมาตรฐานยังไมสอดคลองกัน ทําใหกรมโยธาธิการและผังเมืองโดยสํานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร ซึ่งเปนหนวยงานรับผิดชอบในการกําหนดมาตรฐานการกํากับดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกอสรางอาคารในทุกพื้นที่ของประเทศไทย ไดเสนอใหมีการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการในสวนของการควบคุมอาคารตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร โดยมีการรวบรวมขอมูลดานการจัดการและขอมูลทางดานเทคนิคเปน “ประมวลขอบังคับอาคารหรือ Building code” 1 แตเนื่องจากประเทศไทยยังไมเคยมีการจัดทําประมวลขอบังคับอาคาร (BuildingCode) มากอน ดังนั้นการจัดทําประมวลขอบังคับอาคารที่เปนของประเทศไทยควรเขาใจความหมาย หลักการของ Building Code และการบังคับใช Building Codeกอน โดยศึกษาจากประเทศที่มี Building Code ใชมากอนแลว เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อินเดีย สหราชอาณาจักร เพื่อใหเกิดความเขาใจ Building Code และเสนอแนะหลักการและการบังคับใชของประมวลขอบังคับอาคารที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทยวัตถุประสงคของการวิจัย เพื ่อเปรียบเทียบหาขอเดนและขอดอยในเรื่องหลักการและการบังคับใชประมวลขอบังคับอาคารของประเทศกรณีศึกษาตางๆ และหาแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการและการบังคับใชของประมวลขอบังคับอาคารของประเทศไทยที่มีความเหมาะสม เพื่อนํามาใชเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายดานการควบคุมอาคารของประเทศไทยระเบียบวิธีวิจัย สรางแบบสัมภาษณขึ้นจํานวน 2 ฉบับ เพื่อใชเก็บรวบรวมขอมูลเปนจํานวน 2 รอบ โดยผูศึกษาจะเลือกลักษณะของกลุมตัวอยางที่เกี่ยวของดานการจัดทําประมวลขอบังคับอาคาร โดยกลุ มตัวอยางที่ทําการศึกษาจะเปนตัวแทนในการพิจารณาถึงหลักการและการบังคับใชของประมวลขอบังคับอาคาร จํานวนทั้งหมด 5 ทาน ในรอบแรกจะเปนการสัมภาษณความเขาใจในเรื่องประมวลขอบังคับอาคารของประเทศตางทั้ง4 ประเทศ และในรอบสุดทายจะเปนการสัมภาษณในความเห็นเกี่ยวกับ ประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะกับประเทศไทย1ประมวลขอบังคับอาคาร (Building Code) หมายความถึง สาระในเอกสารที่จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมกฎ ระเบียบ กระบวนการ และมาตรฐานตาง ๆ ทางดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรมที่ใชในการออกแบบและกอสรางอาคารเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนที่ไดรวบรวมจัดทําไวเปนเลมเดียวกันและคณะกรรมการควบคุมอาคารไดกําหนดหรือรับรองแลว109


สําหรับการออกกฎหมายสามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ แบบBuilding Code ที่ออกเปนกฎหมายที่ชัดเจน และแบบ Building Code ที่ออกเปนกฎหมายไมชัดเจน ซึ่งอาจจะอยูในรูป Building Regulation แตเนื่องจากลักษณะของกฎหมายเดิมของประเทศไทยเปนแบบ Building Code ที่ออกเปนกฎหมายไมชัดเจน ในการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหมี Building Code ที่ชัดเจน ควรพิจารณาในประเด็นเรื่อง ความหมายของประมวลขอบังคับอาคาร ขอบเขตการบังคับใช มาตรฐาน คุณลักษณะของประมวลขอบังคับอาคาร หนวยงานและขั้นตอนการออกกฎหมาย เพื่อให Building Code ของไทยตรงตามวัตถุประสงคและมีการประสิทธิภาพการบังคับใชประเด็นที่เกี่ยวของ คือ ขั้นตอนการบังคับใชและหนวยงานที่บังคับใช ซึ่งขั้นตอนการบังคับใชมี 3 ขั้นตอน คือ การขออนุญาต การตรวจและควบคุม การขออนุญาตการใชอาคาร หากมีการเปลี่ยนแปลงใหมี Building Code ทําใหรายละเอียดการตรวจจะเพิ่มขึ้น และเอกสารที่ยืบแบบมีเพิ่มขึ้น เชนการรับรองวัสดุ และวิธีการกอสราง เปนตน หนวยงานที่บังคับใช Building Code จากเดิมมีหนวยงานของรัฐเปนผูตรวจตามขั้นตอนดังกลาว หากมีการเปลี่ยนแปลงเปน Building Code หนวยงานของรัฐจะมีไมเพียงพอ การเสนอใหมีหนวยงานเอกชนที่ผานการทดสอบและลงทะเบียนมีเหตุจากหลักการออกประมวลขอบังคับอาคารเปนการรอบรับการกอสรางอาคารที่เพิ่มขึ้นและการควบคุมอาคารที่มีประสิทธิ1. ความเปนมา และสาระสําคัญกรมโยธาธิการและผังเมืองโดยสํานักควบคุมและตรวจสอบอาคารซึ่งเปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการกําหนดมาตรฐานการกํากับดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกอสรางอาคารในทุกพื้นที่ของประเทศไทย ไดเสนอใหมีการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการในสวนของการควบคุมอาคารตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร โดยมีการรวบรวมขอมูลดานการจัดการและขอมูลทางดานเทคนิคเปน “ประมวลขอบังคับอาคารหรือ Building code” แตเนื่องจากประเทศไทยยังไมเคยมีการจัดทําประมวลขอบังคับอาคาร (BuildingCode) มากอน ดังนั้นการจัดทําประมวลขอบังคับอาคารที่เปนของประเทศไทยควรเขาใจความหมาย หลักการของ Building Code และการบังคับใช Building Codeกอน โดยศึกษาจากประเทศที่มี Building Code ใชมากอนแลว เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อินเดีย สหราชอาณาจักร เพื่อใหเกิดความเขาใจ Building Code และเสนอแนะหลักการและการบังคับใชของประมวลขอบังคับอาคารที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทย2. วัตถุประสงคการศึกษาการศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาเปรียบเทียบหาขอเดนและขอดอยหลักการและการบังคับใชประมวลขอบังคับอาคารของประเทศกรณีศึกษาที่มีการใชมีประมวลขอบังคับอาคาร หาแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการและการบังคับใชประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทย เพื่อนํามาใชเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายดานการควบคุมอาคารของประเทศไทย3. วิธีการศึกษาระเบียบวิธีวิจัย คือ สรางแบบสัมภาษณขึ้นจํานวน 2 ฉบับ เพื่อใชเก็บรวบรวมขอมูลเปนจํานวน 2 รอบโดยผูศึกษาจะเลือกลักษณะของกลุมตัวอยางที่เกี่ยวของดานการจัดทําประมวลขอบังคับอาคาร โดยกลุมตัวอยางที่ทําการศึกษาจะเปนตัวแทนในการพิจารณาถึงหลักการและการบังคับใชของประมวลขอบังคับอาคารจํานวนทั้งหมด 5 ทาน ในรอบแรกจะเปนการสัมภาษณความเขาใจในเรื่องประมวลขอบังคับอาคารของประเทศตางทั้ง 4 ประเทศ และในรอบสุดทายจะเปนการสัมภาษณในความเห็นเกี่ยวกับ ประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะกับประเทศไทย110


4. ผลการศึกษาจากระเบียบวิธีวิจัย ทําใหไดสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ทั้ง 5 ทาน การเปลี่ยนแปลงใหมี Building Code ที่ชัดเจนและเหมาะสมกับประเทศไทย ควรพิจารณาในประเด็นตามที่จะกลาวขางลางนี้ เพื่อให Building Codeของไทยตรงตามวัตถุประสงคและมีการประสิทธิภาพ1. ความหมายของ Building code2. มาตรฐานที่ใชกับ Building Code3. คุณลักษณะของ Building Code4. ความคิดเห็นตอหนวยงานที่ออก Building Code5. การบังคับใช Building Code6. หนวยงานที่บังคับใช Building Codeความหมายของ Building codeจากการสัมภาษณสามารถสรุปไดวา Building Code หมายถึง ขอกําหนดทางดานทางเทคนิคการกอสรางระหวางเอกสารของงานสถาปตยกรรมและงานดานวิศวกรรมทุกระบบ โดยการอางอิงมาตรฐานตางๆที่รวบรวมไว เพื่อใหสามารถเลือกใชไดเหมาะสม โดยที่ไมผิดกฎหมายหลักที่กําหนดมาตรฐานขั้นต่ําไวผูเชี่ยวชาญบางทานใหขอคิดวา “ประมวลขอบังคับอาคาร” ไมควรที่จะใชเพราะในความหมายแลวหมายถึง กฎหมายที่มีศักดิ์ของกฎหมายที่เทากันมารวบรวมไวในที่เดียวกัน เชน ประมวลกฎหมายแพงและอาญา เปนตน แต Building Code ไมไดมีสถานะเปนกฎหมายแตถูกใชบังคับตามกฎหมายเพราะฉะนั้นก็เปนกฎหมายสวนหนึ่งของกฎหมาย แลวกฎหมายควรที่เขียนเปนมาตรฐานขั้นต่ําที่ยอมรับได AcceptableMinimum Standard หากวาการสรางอาคารไมมีมาตรฐานตามที่กําหนดจึงจะมีความผิดผูเชี่ยวชาญบางทานไดใหขอคิดวา การใชควรที่จะตรวจดูในกฎหมายผังเมืองดวยเพื่อใหเกณฑการใชมาตรฐานหรือขอกําหนด Building Code มีความสอดคลองและเหมาะสมอยางไรก็ตามบางทานเห็นวา Building Code คือ สวนขยายของกฎกระทรวงโดยเปนการเพิ่มรายระเอียดของกฎกระทรวง ทําใหประเด็นการบังคับใชเปนเหมือนกฎหมายอยางหนึ่งของกฎกระทรวงมาตรฐานที่ใชกับ Building Codeจากการสัมภาษณสามารถสรุปไดวา มาตรฐาน หมายถึง รายละเอียดวาเราตองผลิตอยางไรตองทดสอบอยางไร และตองติดตั้งอยางไร โดยสวนใหญการอางอิงมาตรฐานควรที่จะยืดหยุนไดและผูจะทํามาตรฐานควรที่จะทําใหมาตรฐานนั้นเปนที่ยอมรับโดยทั่วไป เชน การอางอิงมาตรฐานที่ อางตาม วสท. เปนการกระจายอํานาจใหกับหนวยงานที่ทํามาตรฐาน ซึ่งหนวยงานที่ทํามาตรฐานเองก็จะตองรักษาความนาเชื่อถืออยางไรก็ตามมีบางทานเห็นวา มาตรฐานควรที่จะจัดทําโดยผูกําหนด Building Code เพื่อที่ใหเปนแมแบบในการจัดทํามาตรฐาน อยาง วสท.มีการออกมาตรฐานมาเฉพาะเรื่องๆ ไปซึ่งก็ยังไมคอยจะสมบูณไมครอบคลุมทุกเรื่อง และสมาคมสถาปนิกสยามไมมีการออกมาตรฐาน คณะกรรมการควบคุมอาคารก็ตองออกมาทําเอง หากในอนาคตภาคเอกชน องคกรวิชาชีพเขมแข็งรวมตัวกันเปนองคกรไดอยางแข็งแรงมีการออกมาตรฐานเปนที่ยอมรับของผูปฎิบัติวิชาชีพเอง คณะกรรมการควบคุมอาคารก็จะยอมรับเปนและประกาศใชเปนBuilding Code111


คุณลักษณะของ Building Codeจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ไดใหความเห็นวา คุณลักษณะของ Building Code โดยทั่วไปแลวเห็นดวยที่จะมี Performance Base 2 ในระดับที่เปน Deem To Satisfy มากกวาที่จะเปน Alternative ควรที่จะทําบางเรื่องที่มีความพรอมบางทานไดใหความเห็นวา Performance Baseชวยลดทุนมหาศาล อยางเชน ประเทศออสเตรเลียนิวซีแลนด ใชPerformance Base100% แตของไทยควรจะเริ่ม 20% เพื่อลดตนทุนการกอสราง เชน บันไดหนีไฟหางกัน 60 เมตร ซึ่งไมมีความจําเปนตอง 60 เมตร ซึ่งปลอดภัยจริงหรือเปลาก็ไมใครพิสูจน Performance Baseคือคําตอบ การลงทุนไปกับบันไดโดยไมจําเปนเสียพื้นที่ ซึ่งควรมีหนวยงานที่แข็งแรงรับรอง ไมใชสถาบันไหนก็ได เชน สมาคมสถาปนิกสยาม ถึงแมวาเปนแคสมาคมแตก็ทุกคนเห็นวามีความรูความสามารถ ทําประโยชนแกสังคมบางทานไดใหความเห็นวา ขอเสียของ Performance Base ไมเหมาะกับประเทศคนที่ไมจริงใจ เพราะกอใหการคอรปรับชันได ควรที่จะตองมีความจริงใจที่จะทําใหอาคารมีความปลอดภัย และปญหาของPrescriptive Base คือ ออกเปนขอๆ ทําใหไมเห็นภาพ บอกระเบียบชัดเจน คือ ไมยืดหยุนอยางไรก็ตามทุกคนเห็นดวยวา การเริ่มตนตองเริ่มจากการมีเปนขอกําหนดกอนหรือ PrescriptiveBase 3 เพื่อที่เปนการเริ่มตนใช Building Code และเพื่อใหเจาหนาที่ปรับรายการตรวจที่มากขึ้นไดหนวยงานที่ออก Building Codeจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ไดใหความเห็นวา หนวยงานที่ออก Building Code ควรมีหนวยงานไหนก็ไดที่จะออก Building code เพราะวา Degreeของการกําหนดความเขมขนของเกณฑการปฏิบัติหรือมาตรฐานผูใชก็สามารถที่จะเลือกใหเหมาะสม แตก็ควรที่จะเปนระบบคือ มีเปน Council และมีCommittee,sub committee มาคอยควบคุมดูแล และเปนหนวยงานที่มีการคนควาและเปนที่ยอมรับและเชื่อถือได ซึ่งมีความยึดหยุนแตอยางไรก็ตาม ก็มีหนวยงานของรัฐที่ทําหนาที่ออก Building Code โดยไปจางเอกชมมาทําเปนProject แลวหลังจากนั้นก็ดําเนินการเอง โดยใหเปนอํานาจของคณะกรรมการควบคุมอาคารที่จะออก BuildingCode เนื่องจากองคกรวิชาชีพไมสามารถออกมาตรฐานมารองรับได หากในอนาคต ภาคเอกชนหรือองคกรวิชาชีพเขมแข็ง มีการออก Code อะไรขึ้นมาเปนที่ยอมรับของผูปฎิบัติเอง คณะกรรมการควบคุมอาคารก็จะAdopt มาใช2ประมวลขอบังคับอาคารแบบสมรรถนะ(Performance Base) หมายความถึง ขอกําหนดดานเทคนิคในการกอสรางโดยการประเมินวัสดุ วิธีการกอสราง ซึ่งองคประกอบหลัก มี 3 เรื่อง คือ วัตถุประสงค การใชงาน และขอกําหนดสมรรถนะ ( ขอกําหนดสามารถปฏิบัติได โดยออกแบบหรือคํานวณใหเปนตามขอกําหนดหรือ Deem to satisfy กับ ออกแบบใหทางเลือกอื่น หรือ Alternative Solution ) โดยวัตถุประสงค คือ เพื่อสุขอนามัย ความปลอดภัย และความเปนอยูที่ดี3ประมวลขอบังคับอาคารแบบขอกําหนด (Prescriptive Base) หมายความถึง ขอกําหนดดานเทคนิคในการกอสราง โดยออกแบบหรือคํานวณใหเปนตามขอกําหนด โดยวัตถุประสงค คือ เพื่อสุขอนามัยความปลอดภัย และความเปนอยูที่ดี112


การบังคับใช Building Codeความเห็นทั้งหมดตางมีเปาหมายเดียวกัน คือ มี Building Code โดยสวนใหญตางตีความจากความหมายจาก Building Code ซึ่งความหมายกับสภานะของกฎหมายก็ยังไมมีอะไรที่ชัดเจนBuilding Code เปนเครื่องมือที่จะบอกวาใชมาตรฐานอะไร โดยที่Code บอกวามาตรฐานนั้นเปนที่ยอมรับมานานแลว Concept ของการบังคับใชยกตัวอยาง เรื่อง เกาอี้ การที่กําหนดเกาอี้สูงอยูที่ 40-45นี้คือGuideline แตวา Standardของไทย 43 Standardของญี่ปุน 44 Standardของฝรั่ง 45 พอมาเปน Code ตองทํานั่งไดโดยมาตรฐานของทองถิ่น เราจะเลือกตรงไหน เราก็เลือก Standard ของไทยถาเปนกฎกระทรวงตองไมมีความสูงผิดไปจาก Code ซึ่งมีการบังคับใช ดังนั้น การบังคับใชของ Building Code จะบังคับโดยการปฏิบัติวิชาชีพ ซึ่งไมไดบอกไวใน พระราชบัญญัติแต พระราชบัญญัติ ไดบอกวา การออกแบบตองออกแบบโดยมีใบอนุญาตวิชาชีพ แลวในพระราชบัญญัติจะบอกวาทํางานไดอะไรบางการบังคับหรือตองทําหรือควรที่จะทําควร เปนสวนหนึ่งของกฎหมายหรือกฎกระทรวง หรือ พรบ.ถาไมทําตามก็จะไมถูกตอง แตวา Building Code ความหมายจะกวางกวาหนักไปทางมาตรฐานหรือ เกณฑปฏิบัติหรือเปนสิ่งที่ควรที่จะทําหนวยงานที่บังคับใช Building Codeจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ไดใหความเห็นวาการที่ออกเปน Building Code จะมีรายละเอียดการตรวจที่มากขึ้นอีก และความรูในการตรวจก็ตองมากกวาเดิมแตอยางไรก็ตาม ความเห็นบางทานเห็นวาจะใหผูตรวจเปนหนวยงานเอกชนรับไปทําหนาที่ออกใบรับรอง เพื่อรองรับการตรวจที่มากขึ้นจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญในเรื่องการออกกฎหมายประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทย สามารถแบงหัวขอหลักการออกกฎหมาย ไดเปนเรื่องดังนี้1. หนวยงานที่ออกกฎหมายประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทย2. ขั้นตอนการออกกฎหมายที่เหมาะกับประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทย3. คุณลักษณะประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทย1. หนวยงานที่ออกกฎหมายประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทยแบบที่ 1จากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ไดสรุปการออกกฎหมายโดยสมาคมสถาปนิก สมาคมวิศวกรรมสถานสมาคมการปองกันอัคคีภัย ฯลฯ เปนผูจัดทํารางประมวลขอบังคับอาคารและมีที่ปรึกษาเปนสภาสถาปนิก สภาวิศวกร ทําหนาที่ในการควบคุมและพิจารณา เพื่อควบคุมสถาปนิกและวิศวกรปฏิบัติตามกฎหมายและเมื่อทั้งสองฝายประชุมและพิจาณาเห็นชอบก็เสนอเปนแบบจําลองประมวลขอบังคับอาคาร (Model Building code)และเสนอใหคณะกรรมการควบคุมอาคารจัดทําเปนประมวลขอบังคับอาคาร1<strong>13</strong>


ขั ้นตอนการและหนวยงานที่ออกประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทย แบบที่ 1พระราชบัญญัติควบคุมอาคารกฎกระทรวงที ่ปรึกษาสภาสถาปนิก สภาวิศวกรคณะจัดทําองคกรวิชาชีพ สมาคมสถาปนิกสยามสมาคมวิศวกรรมสถานกฎหมายผังเมืองคณะกรรมการควบคุมอาคารและตรวจสอบอาคารกรมโยธาธิการและผังเมืองประมวลขอบังคับอาคารBuilding CodeReferenced Standardองคกรวิชาชีพ , องคกรที่จัดทํามาตรฐานกอนหนานี้ และไดรับการยอมรับ ทั้งตางประเทศและในประเทศแบบที่ 2จากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ไดสรุปการออกประมวลขอบังคับอาคาร โดยคณะกรรมการควบคุมอาคารและวาจางบริษัทเอกชน และที่ปรึกษาตรวจการจางโดยคณะกรรมการควบคุมเปนผูตรวจ และสําหรับมาตรฐานก็ใหบริษัทเอกชนเปนผูรวบรวมใหเปนมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมืองขั ้นตอนการและหนวยงานที่ออกประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทย แบบที่ 2ที่ปรึกษากรมโยธาธิการตรวจการจางคณะจัดทําบริษัทเอกชน 20 โครงการคณะกรรมการควบคุมอาคารและตรวจสอบอาคารกรมโยธาธิการและผังเมืองพระราชบัญญัติควบคุมอาคารกฎกระทรวงประมวลขอบังคับอาคารBuilding CodeReferenced Standardมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง2. ขั้นตอนการออกกฎหมายที่เหมาะกับประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทยแบบที่ 11. กรมโยธาธิการและผังเมือง โดยคณะกรรมการควบคุมอาคาร จัดนโยบายและจัดสรรงบประมาณในการจัดทําประมวลขอบังคับอาคาร โดยเสนอใหสมาคมสถาปนิกและสมาคมวิศวกรรมสถานหรือสมาคมรับสรางบาน หรือสมาคมตางๆ จัดทํามาตรฐานตางๆ เพื่อเสนอใหกับคณะกรรมการควบคุมอาคาร114


2. กรมโยธาธิการและผังเมือง โดยคณะกรรมการควบคุมอาคาร จัดตั้งคณะที่ปรึกษาโดยจัดตั้งใหเปนสภาสถาปนิก สภาวิศวกร ฯลฯ ทําหนาที่ควบคุมและดูแลประมวลขอบังคับอาคารวาจะไมผิดกฎหมายควบคุมอาคารที่มีอยูแลว3. ทั้งคณะจัดทํารางประมวลขอบังคับอาคารและที่ปรึกษาหารือเพื่อหาขอสรุปและขอคิดเห็นและแกไข เพื่อที่จะเสนอใหคณะกรรมการควบคุมอาคาร4. กรมโยธาธิการและผังเมือง โดยคณะกรรมการควบคุมอาคาร พิจารณารางประมวลขอบังคับอาคารของสมาคมและสภาตางๆ ที่เสนอแลว จัดทําเปน Building Code เพื่อประกาศบังคับใชแบบที่ 21. กรมโยธาธิการและผังเมือง โดยคณะกรรมการควบคุมอาคาร จัดนโยบายและจัดสรรงบประมาณในการจัดทําประมวลขอบังคับอาคาร โดยเสนอใหบริษัทเอกชนจัดทําและที่ปรึกษาตรวจ เพื่อเสนอใหกับคณะกรรมการควบคุมอาคาร2. กรมโยธาธิการและผังเมือง โดยคณะกรรมการควบคุมอาคาร จัดตั้งคณะที่ปรึกษาโดยจัดตั้งใหเปนคณะกรรมการควบคุมอาคาร ตรวจกการจาง ทําหนาที่ควบคุมและดูแลประมวลขอบังคับอาคาร3. ทั้งคณะจัดทํารางประมวลขอบังคับอาคารและที่ปรึกษาหารือเพื่อหาขอสรุปและขอคิดเห็นและแกไข เพื่อที่จะเสนอใหคณะกรรมการควบคุมอาคาร4. กรมโยธาธิการและผังเมือง โดยคณะกรรมการควบคุมอาคาร พิจารณารางประมวลขอบังคับอาคารของสมาคมและสภาตางๆ ที่เสนอแลว จัดทําเปน Building Code เพื่อประกาศบังคับใช3. คุณลักษณะประมวลขอบังคับอาคารที่เหมาะสมกับประเทศไทยจากการสัมภาษณลักษณะของประมวลขอบังคับอาคารที่จัดทํารางประมวลขอบังคับอาคารจะมีทั้งขอกําหนดประมวลขอบังคับอาคาร (Prescriptive Based Building Code) และกําหนดสมรรถนะ(Performance Based Building Code) โดยเรื่องใดที่มีความสามารถพัฒนาไดเปนแบบสมรรถนะก็จะกําหนดทําตามในเรื่องนั้น แตโดยสวนรวมแลวเปนขอกําหนดประมวลขอบังคับอาคาร(Prescriptive Based BuildingCode) ดังนั้นแลวในขั้นตอนการเริ่มตนประมวลขอบังคับอาคารจะเปนการจัดทําเปนขอกําหนดประมวลขอบังคับอาคาร แลวพัฒนาตอไปเพื่อใหเหมาะสมกับประเทศไทยตอไป โดยลักษณะของประมวลขอบังคับอาคารเปนการรวบรวมมาตรฐานตางเพื่อใหปฏิบัติไดถูกตองตามมาตรฐานและตําแหนงที่ตั้ง ลักษณะอาคาร5. ขอสังเกตและขอเสนอแนะจากผลวิเคราะหขอมูลสามารถตั้งขอสังเกตการจัดทํารางประมวลขอบังคับอาคารของกรมโยธาธิการและผังเมือง เพื่อใหการจัดทําประมวลขอบังคับอาคารเปนไปดวยความถูกตอง โดยสรุปเปนขอเสนอแนะไดดังนี้115


ประเด็น ขอสังเกต (จาก ก.ย.ม) ขอเสนอแนะในการจัดทําประมวลขอบังคับอาคารของไทยหนวยงานที่ออกประมวลขอบังคับอาคารขั้นตอนการออกกฎหมายความหมายและขอบเขต- คณะจัดทําประมวลขอบังคับอาคารของบริษัทเอกชน เปนหนวยงานที่ออกตามสัญญาจางทําโดยมี TOR กําหนด- คณะที่ปรึกษาประมวลขอบังคับอาคารเปนหนวยงานที่ตรวจตาม TOR กําหนด- การออกประมวลขอบังคับอาคารจะตามกฎกระทรวงหากไมแบงเนื้อหาที่ชัดเจนจะใหยากตอการบังคับใช- การประกาศใชและการรับประมวลขอบังคับอาคารจะจัดทําโดยกรมโยธาธิการและผังเมืองเพียงผูเดียว- การออกประมวลขอบังคับอาคารที่ออกเปนเปนขอบังคับกลางที่สามารถใชไดทั่วประเทศ อาจเกิดปญหาในการใชประมวลขอบังคับอาคาร- การออกกฎหมายที่ประมวลขอบังคับอาคารที่กําหนดเปนลักษณะขอบังคับขั้นต่ํา- Building Code ที่ออกมาเปนขอกําหนดทางดานทางเทคนิคและขอกําหนดดานการจัดการ- ทําใหไมสามารถแยกความแตกตางระหวางขอบเขตเนื้อหาของกฎกระทรวงและประมวลขอบังคับอาคาร- หนวยงานไหนก็ไดที่จะออก Building code ควรที่จะเปนระบบคือ มีเปน Council และมีCommittee ,sub committee มาคอยควบคุมดูแล- ควรที่เปนหนวยงานที่มีการคนควาและเปนที่ยอมรับและเชื่อถือได โดยไมจําเปนตองกําหนดแนนอนตายตัว- กอนการจัดทําประมวลขอบังคับอาคารควรที่จะกําหนดวัตถุประสงคที่แนนอนและจัดทําเนื้อหาของกฎกระทรวงใหเปนหมวดหมู- นอกเหนือจากหนวยงานที่จัดทําและคณะที่ปรึกษาแลวควรที่จะมีหนวยงานที่แกไขประมวลขอบังคับอาคารกอนประกาศใช- ควรที่จะจัดทําประชาพิจารณและแกไขตามขอเรียกรองกอนที่ประกาศใช- การออกประมวลขอบังคับที่ใชไปทั่วประเทศจะทําใหเกิดปญหาเพราะสภาพที่ภูมิประเทศที่แตกตางกัน- ควรที่จะทําประมวลขอบังคับอาคารที่สามารถแกไขตามกฎหมายผังเมืองหรือขอกําหนดตามทองถิ่นได- การออกประมวลขอบังคับอาคารควรเปนลักษณะที่ไมมีบทลงโทษ เพราะไมใชกฎหมาย- ควรเปนการบังคับเลือกวาจะตองทําตามมาตรฐานใดที่เปนยอมรับ ซึ่งถาเปนลักษณะขอบังคับขั้นต่ําก็จะมีปญหาเรื่องการปฏิบัติกับผูที่เกี่ยวของ- ควรกําหนดหัวขอและแยกเนื้อหาของกฎกระทรวงกอน เพื่อใหผูเกี่ยวของเขาใจและไมตั้งขอสังเกตเรื่องขอบเขตการบังคับใช- จากตัวอยางในตางประเทศและผูเชี่ยวชาญ116


แนะนําวา ประมวลขอบังคับอาคารหรือ BuildingCode ควรเปนขอกําหนดทางดานทางเทคนิคการกอสราง- การอางอิงมาตรฐานตางๆ เพื่อใหสามารถเลือกใชไดเหมาะสมลักษณะของประมวลขอบังคับอาคาร- Building Code ที่ออกมามีทั้งแบบขอกําหนด และแบบสมรรถนะ- การเขียนประมวลขอบังคับอาคาร มิใชกําหนดวัตถุประสงคขั้นต่ําที่ทุกคนตองทําตาม-ปญหาของ Prescriptive Base คือออกเปนขอๆ ทําใหไมเห็นภาพ ทําใหไมสามารถยืดหยุน-ในเบื้องตนการออกประมวลขอบังคับอาคารควรเปน prescriptive base เพราะสามารถกําหนดไดและไมไดซับซอนมาก- ควรจัดทําประมวลขอบังคับอาคารที่มีหนวยงานรับรองมาตรฐานอยางเปนระบบ จะทําใหการควบคุมอาคารมีประสิทธิภาพ-ลักษณะประมวลขอบังคับอาคารของไทยจะเปนแบบใดควรจะตรวจความพรอมในหลายดานเพื่อใหมีประสิทธิภาพในการบังคับใช- ประมวลขอบังคับอาคารของไทยควรที่จะสามารถที่จะออกเปนรูปภาพไดเพราะไมเปนกฎหมายมาตรฐาน - หนวยงานที่จัดทํามาตรฐาน จากที่กรมโยธาธิการออกมาตรฐานแตเพียงผูเดียว- หากผูที่จัดทําเปนผูไมมีความรูโดยเฉพาะเกี่ยวกับมาตรฐานนั้น การจัดทํามาตรฐานก็ไมสามารถใชได- การอางอิงจะอางมาตรฐานของตางประเทศเปนสวนใหญเพื่อใหทัดเทียบกับนานาประเทศ-หนวยงานที่ออกมาตรฐานควรเปนหนวยงานที่อิสระ เชน องคกรวิชีพ- ควรที่จะพัฒนามาตรฐานของไทยโดยการสนับสนุนจากรัฐบาลหรือกรมโยธาธิการใหมีการออกมาตรฐานจากองคกรวิชาชีพ- ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมไทยควรที่จะพัฒนาใหทัดเทียมกับตางประเทศและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศไทย- หากวาการอางอิงมาตรฐานของตางประเทศมากเกิน จะทําใหขาดดุลในการคาวัสดุกับตางประเทศการบังคับใชประมวลข อบั งคั บอาคาร- หากมีประมวลขอบังคับอาคารรายการตรวจจะมากขึ้น- หากมีประมวลขอบังคับแบบสมรรถนะจะทําใหการรับรองวัสดุตางจะตองมีมาก- ควรมีการจัดทํามาตรฐานในการตรวจงานกอสรางเพื่อเปนมาตรฐานการตรวจที่เหมาะสมกับทองที่นั้นๆ- ควรมีเอกชนที่ทําหนาที่ตรวจแทนเจาหนาที่117


หนวยงานที่บังคับใชประมวลขอบังคับอาคารพอที่จะรองรับงานกอสรางที่เพิ่มขึ้น- หากประมวลขอบังแบบสมรรถนะออกมารูปแบบการขออนุญาตจะแตกตางบาง- การออกประมวลขอบังคับอาคารของไทยทําใหเห็นวาขั้นตอนการบังคับใชยังเหมือนเดิม- หากมีการออกประมวลขอบังคับอาคารจะจะตองมีหนวยงานที่มากขึ้นเพื่อรอบรับการตรวจทองถิ่นที่สามารถตรวจสอบได- การกําหนดขั้นตอนการตรวจที่ชัดเจนจะทําใหงานตรวจมีประสิทธิภาพมากขึ้น- ควรมีหนวยงาน(เอกชน) ที่ผานการทดสอบและจดทะเบียนทําหนาที่เปนผูตรวจและรับรอบแบบในแตละขั้นตอนการควบคุมอาคาร เพื่อแบงเบาหนาที่ของหนวยงานของรัฐ118


บรรณานุกรมและเอกสารอางอิงภาษาไทยวีระเดช พะเยาศิริพงศ . รวมกฎหมายกอสราง . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพพัฒนาศึกษา ,2549วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (ว.ส.ท.).มาตรฐานการลําดับแบบกอสรางอาคาร และรายละเอียดงานที่ควรมี.กรุงเทพฯ:ว.ส.ท., 2551วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (ว.ส.ท.).มาตรฐานการจัดเตรียมแบบสรางจริง และคูมือเจาของอาคาร.กรุงเทพฯ:ว.ส.ท., 2551วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (ว.ส.ท.).ขอบเขตและหนาที่การใหบริการวิชาชีพการบริหารงานกอสราง.กรุงเทพฯ:ว.ส.ท., 2551ภาษาอังกฤษBureau of Indian Standard. National Building Code of India 2005. New Delhi(India): Bureau of Indian Standard ,2005INTERNATIONAL CODE COUNCIL,INC. 2006 INTERNATIONAL BUILDINGCODE. The U.S.A.: INTERNATIONAL CODE COUNCIL,INC,2006Terry L. Patterson,NCARB. Illustrated 2006 Building Code handbook. TheU.S.A.: Bureau of Indian Standard ,2005Francis D. K. Ching , Steven R. Winkel, Steven Winkel , Building CodesIllustrated: A Guide to Understanding the International Building Code. The U.S.A.: JohnWiley & Sons,2003Francis D. K. Ching , Steven R., FAIA,PE Winkel ,Building Codes Illustrated: AGuide to Understanding the 2006 International Building Code. The U.S.A.: John Wiley &Sons,2007119


การปรับปรุงอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติเพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกBUILDING RETROFITTING OF UNITED NATIONS ENVIRONMENT PROGRAM: UNEP FOR REDUCINGGREENHOUSE GAGES EMISSIONนางสาวฐิติมา โอฬาริกบุตรหลักสูตรปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการปรับปรุงสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติเพื่อลดปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเปนหนึ่งในโครงการเรงดวนเพื่อเปนแนวทางรณรงคและแกปญหาวิกฤติพลังงานที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเปนลําดับ เพื่อบรรลุวัตถุประสงคของโครงการโดยรวมในการลดปริมาณการใชไฟฟาลงรอยละ 50 จากการใชพลังงานไฟฟากอนการปรับปรุงอาคาร จากขอมูลเบื้องตนพบวาการใชพลังงานไฟฟารอยละ 60 เปนการใชพลังงานเพื่อการทําความเย็นใหตัวอาคารที่มีอายุการใชงานมาแลว 35 ปโดยไมเคยทําการปรับปรุงอาคารอยางจริงจัง ดังนั้นจึงไดนําโครงการนี้มาศึกษาวิจัยปจจัยตางๆในการปรับปรุงอาคารเพื่อการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพขั้นตอนการวิจัยประกอบดวย 1.ศึกษาวิเคราะหขอมูลดานการออกแบบอาคารประหยัดพลังงานในประเทศไทย2.ศึกษาวิเคราะหรูปแบบการใชอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติกอนการปรับปรุง โดยแบงกลุมตัวแปรที่เกิดจากอิทธิพลภายนอกอาคาร ไดแก ตัวแปรดานสภาพแวดลอม การออกแบบรูปทรงอาคาร หลังคาอาคาร การรั่วซึมของอากาศ สวนผนังอาคาร ชองแสง การสะสมความรอนและความชื้นของวัสดุอาคาร และพื้น ตามลําดับ กลุมตัวแปรที่เกิดจากอิทธิพลภายในอาคาร ไดแก ตัวแปรดานพฤติกรรมการใชไฟฟา การใชอุปกรณไฟฟา ไฟฟาแสงสวาง และภาระที่เกิดจากผูใชงาน และประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ 3.คํานวณอัตราการใชพลังงานกอนการปรับปรุงและออกแบบปรับปรุงอาคารโดยพิจารณาคาภาระการทําความเย็นในแตละตัวแปร 4.ศึกษาเปรียบเทียบอัตราการใชพลังงานกอนและหลังการปรับปรุงอาคารโดยเทียบปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนองคประกอบหลักของกาซเรือนกระจกจากผลการวิจัยจึงสรุปไดวาการปรับปรุงอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติโดยการพิจารณาเฉพาะภาระการทําความเย็นในอาคารซึ่งเปนสวนที่ใชพลังงานที่มีน้ําหนักมากที่สุดเมื่อเทียบกับการใชไฟฟาจากตัวแปรอื่นๆ และเมื่อพิจารณาภาระการทําความเย็นจากตัวแปรทั้งหมดแลวเปลือกอาคารสวนทึบเปนตัวแปรหลักของภาระการทําความเย็นใหตัวอาคาร การออกแบบติดตั้งฉนวนกันความรอนเปลือกอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติจึงเปนแนวทางในการลดการใชพลังงานและปลดปลอยกาซเรือนกระจกลงได 52%120


ความเปนมาและความสําคัญของปญหาสภาวะโลกรอน(Global Warming) ไดกลายมาเปนประเด็นความสนใจทั่วโลกมาแลวตั้ง แตประมาณปพ.ศ.2520 ปจจุบันสภาวะโลกรอนเริ่มเปนที่ยอมรับวาเปนหนึ่งในปญหาเรงดวนที่สุด ของโลกยุคโลกาภิวัฒนที่กําลังสงผลกระทบตอชีวิตคนทั้งโลกจากการแขงขันทางภาคธุรกิจอุตสาหกรรม รวมถึงการใชชีวิตอยางสิ้นเปลืองพลังงานสงผลกระทบโดยตรงในการปลดปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases-GHG) โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด(CO 2 ) ในปริมาณรอยละ 72 ของปริมาณกาซเรือนกระจกทั้งหมดสูชั้นบรรยากาศและมีแนวโนมสูงขึ้นอยางรุนแรง (สฤณีอาชวานันทกุล, 2549)กาซเรือนกระจกประกอบดวยกลุมกาซตางๆหอหุมชั้นบรรยากาศของโลกไวเพื่อเก็บกักพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย หากแตกลุมกาซเหลานี้ถูกผลิตและปลดปลอยในอัตราที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหชั้นของกาซเรือนกระจกมีความเขมสูง พลังงานที่ถูกเก็บกับไวในบรรยากาศโลกไมสามารถเล็ดลอดคืนสูอวกาศได ปรากฏการณที่อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นนี้คือปรากฏการณเรือนกระจก กาซเรือนกระจกมีความสําคัญอยางยิ่งตอโลกของเรา ในการทําใหอุณหภูมิของโลกเหมาะสมแกการดํารงชีวิต โดยทําใหเกิดอุณหภูมิบนพื้นโลกโดยเฉลี่ยประมาณ 15 องศาเซลเซียสแตหากปราศจากกลุมกาซเรือนกระจกตามธรรมชาติเหลานี้แลว โลกของเราจะมีอุณหภูมิลดลงเหลือเพียง –18 องศาเซลเซียส ซึ่งไมอบอุนเพียงพอในการอาศัยอยูสําหรับมนุษยและสิ่งมี ชีวิต ดังนั้นปรากฏการณเรือนกระจกในธรรมชาติ เปนภาวะที่เกิดความสมดุลของพลังงานที่โลกไดรับจากดวงอาทิตยและพลังงานที ่โลกเสียไป แตหากมีปจจัยใดๆ ก็ตามที่ทําใหสมดุลพลังงานดัง กลาวเสียไป หรือทําใหการเคลื่อนยายถายเทพลังงานในบรรยากาศ และระหวางบรรยากาศกับพื้น ดินและมหาสมุทรเปลี่ยนแปลงไป จะมีผลกระทบตอสภาพภูมิอากาศโดยหากพลังงานที่โลกไดรับมากกวาพลังงานที่เสียไปจะทําอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นแตถาพลังงานที่ไดรับนอยกวาพลังงานที่เสียไป อุณหภูมิของโลกจะลดลง เรียกวา “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” หรือ “ClimateChange”กาซเรือนกระจกที่สําคัญไดแก กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) กาซมีเธน (CH 4 ) กาซไนตรัสออกไซด (N 2 O)และกาซโอโซน (O 3 ) นอกจากนี้ ยังมีกาซที่ผลิตขึ้นมาใชในทางอุตสาหกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่มีคุณสมบัติเชนเดียวกับกาซเรือนกระจกที่เกิดจากธรรมชาติ ไดแก คลอโรฟลูโอโรคารบอน(Chlorofluorocarbons -CFC) ไฮโดรคลอโรฟลูโอโรคารบอน (Hydro-chlorofluorocarbons - HCFCS) ไฮโดรฟลูโอโรคารบอน (Hydro fluorocarbons - HFCS) และเพอรฟลูโอริเนตคารบอน (Perfluorinatedcarbons - PFCS) (นฐปทม จิตพิทักษ , วารสารสิ่งแวด ลอม ปที่ 2 ฉบับที่ 11เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2542)การผลิตกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) จากกิจกรรมทางอุตสาหกรรม (ที่เผาผลาญเชื้อ-เพลิงฟอสซิล) เพิ่มขึ้นรวมทั้งกิจกรรมของมนุษยในการผลิตซิเมนตและการทําลายปาไดทําใหกาซคารบอนไดออกไซดมีปริมาณความเขมเพิ่มขึ้นการวัดคารบอนไดออกไซดที่หอดูดาวโมนาลัว 1 แสดงใหเห็นวา กาซคารบอนไดออกไซดไดเพิ่มจาก 3<strong>13</strong> ppm (สวนตอลานสวน) ใน พ.ศ. 2503 มาเปน 375 ppm ใน พ.ศ. 2548 และการเพิ่มระดับของกาซคารบอนไดออกไซดยอมจะตองเพิ่ม121


อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก การแปรผันของคารบอนไดออกไซดไดเปนปจจัยหลักในการควบคุมการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศคณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(Intergovernmental Panel on Climate Change -IPCC) ไดสรุปจากการศึกษาเอกสารทางวิทยาศาสตรจํานวนมากวา “การเพิ่มอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่เห็นไดชัดนับแตชวงประมาณกลางคริสตศตวรรษที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 1950) วาเกิดจากการเพิ่มกาซเรือนกระจกโดยกิจกรรมของมนุษย(ที่มา: www.wikipedia.com)กาซเรือนกระจกเหลานี้มีแหลงที่มาจากผลพวงของการพัฒนาอุตสาหกรรม พลังงาน คมนาคม เกษตรกรรมรวมทั้งจากการเปลี่ยน แปลงการใชที่ดินและปาไม เมื่อมีการผลิตกาซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้นในชั้นบรรยากาศที่หอหุมโลกอุณหภูมิที่ไดรับจากพลังงานแสงอาทิตยที่เคยสะทอนกลับ กลับถูกกักเก็บเอาไวมากกวาเดิม ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นและเกิดผลกระทบในหลายๆ ดานติดตามมา ที่เรียกวา ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse effects) และเปนผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate change) ของโลกและหลายๆ ประเทศติดตามมา รวมทั้งประเทศไทย ก็ไดรับผลกระทบทั้งจากภายนอกและภายในประเทศดวยเชนกัน ดังจะเห็นไดจากภัยพิบัติตางๆ ที่เกิดขึ้นอยางรุนแรงในรอบหลายๆ ปที่ผานมาแมวาประเทศไทยจะไมไดอยูในกลุมประเทศที่เปนแหลงกําเนิดของกาซดังกลาวก็ตาม แตจากรายงานของWorld Resource Institution ใน World Resources 2005, The Wealth of The Pool, Managing Ecosystems to FightPoverty ไดแสดงใหเห็นวาประเทศไทยในป 2543 ไดปลอยกาซเรือนกระจกประมาณ 261 ลานตัน คารบอนไดออกไซดเทียบเทา (million ton CO2 equivalent) หรือรอยละ 0.78 ของโลก ซึ่งนอยกวาประเทศจีน (4,942 ลานตัน หรือรอยละ14.7) อินเดีย (1,837 ลานตัน หรือรอยละ 5.5) ปากีสถาน (285 ลานตัน หรือรอยละ 0.9) โดยที่กลุมประเทศที่พัฒนาแลวมีการผลิตกาซเรือนกระจกรวม 18,102 ลานตัน หรือรอยละ 54.2 ของ กาซเรือนกระจกโลก โดยสหรัฐอเมริกาผลิต กาซเรือนกระจก 6,924 ลานตัน หรือรอยละ 20.6 ออสเตร-เลีย 491 ลานตัน หรือรอยละ 1.5 ของการผลิตกาซเรือนกระจกโลก (ที่มา: www.nidambe11.net/ ekonomiz/2007q2/2007april30p2.htm)เมื่อกลางปพ.ศ.2549ไดมีโครงการที่ริเริ่มโดยสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ(United Nationsfor Environment Programme - UNEP) ดวยแนวคิด”คารบอนสมดุล”(Carbon Neutrality) ซึ่งเปนโครงการเรงดวนเพื่อเปนแนวทางรณรงคและแกปญหาวิกฤติพลังงานที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเปนลําดับ โดยมีโครงการนํารองคารบอนสมดุลยและการปรับปรุงสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติซึ่งตั้งอยูในสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ดวยหลักการ 6ขั้นตอนคือ การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ การหมุนเวียนพลังงานเพื่อกลับมาใชใหม การอนุรักษทรัพยากรน้ํา การอนุรักษทรัพยากรกระดาษ การปรับปรุงสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติหนึ่งในแนวทาง”คารบอนสมดุล” (Carbon Neutrality) คือการปรับปรุงสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ เพื่อเปนตนแบบการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพจึงกลายมาเปนโครงการยอยเพื่อทําการวิจัยหาแนวทางเพื่อบรรลุวัตถุประสงคของโครงการโดยรวมในการลดปริมาณการใชไฟฟาลงรอยละ 50 จากการใชพลังงานไฟฟากอนการปรับปรุงอาคาร ความเปนไปไดนี้เกิดจากการศึกษาเบื้องตนจากสถิติการใชไชไฟฟา การสํารวจสภาพอาคาร การสํารวจอุปกรณเครื่องใชไฟฟาในสํานักงาน จํานวนบุคลากรและพฤติกรรมของผูใชอาคาร มีรายงานวาสามารถลดการปลดปลอย122


กาซเรือนกระจกสูบรรยากาศไดมากกวา 40% ของการใชพลังงานในขณะนั้น จึงไดมีความรวมมือระหวางสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย(Asian Institute of Technology - AIT)เพื่อพัฒนาโครงการนํารองนี้เพื่อเปนโครงการตนแบบในการปรับปรุงอาคารเพื่อการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกตอไป โดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนที่ปรึกษาในฐานะผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมและพลังงาน งานวิจัยชิ้นนี้จึงเปนสวนหนึ่งของโครงการปรับปรุงอาคารเพื่อลดปลดปลอยกาซเรือนกระจกดังกลาววัตถุประสงคของการวิจัยขอบเขตของการวิจัยประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1) เพื่อศึกษาตัวแปรตางๆ ที่มีอิทธิพลทําใหเกิดกาซเรือนกระจกจากการใชพลัง งานของสภาพอาคารเดิม2) เพื่อวิเคราะหตัวแปรและประเมินความสําคัญของตัวแปรหลักที่ทําใหเกิดกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงานในอาคาร3) สรุปวิธีการออกแบบและคํานวณผลการปรับปรุงอาคารในการลดการปลด ปลอยกาซเรือนกระจกใหอาคารมีการใชพลังงานอยางประสิทธิภาพและคุมการลงทุน4) เพื่อศึกษาการประยุกตใชจากการปรับปรุงอาคารจริง ติดตามและประเมิน ผล1) ศึกษาการใชพลังงานภายใตพื้นฐานคุณภาพชีวิตที่ดี2) ศึกษาประสิทธิภาพการใชพลังงานในอาคารที่สัมพันธกับการปลดปลอยกาซเรือนกระจก3) ศึกษาการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากพลังงานที่ใชในอาคารเทานั้น4) ใชอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ(ชั้นที่3ของอาคารOutreach Buildingสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย) เปนกรณีศึกษาสําหรับงานวิจัย5) ศึกษาการปรับปรุงอาคารจากปจจัยที่ทําใหเกิดภาระการทําความเย็นจากภายนอกอาคารผานเปลือกอาคารสวนทึบแสง ไดแก หลังคา ผนัง พื้น6) วัสดุที่ใชในการปรับปรุงเปลือกอาคาร เปนวัสดุที่มีในประเทศไทย1) เปนแนวทางการระบุตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการปลดปลอยกาซเรือนกระจกของอาคารได123


วิธีดําเนินการวิจัย2) เพื่อระบุความสําคัญของตัวแปรหลักที่มีอิทธิพลตอการปลดปลอยกาซเรือนกระจกของอาคาร3) เปนแนวทางการตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงานของอาคารเบื้องตนจากการคํานวณเทียบเคียงกับสถิติการใชพลังงานในสภาพอาคารเดิม4) ใชวิธีการวิเคราะหตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเปนแนวทางการออกแบบปรับปรุงอาคารและการลงทุน ประยุกตกับการใชพลัง งานสําหรับอาคารจริงได1) ศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวของกับการถายเทพลังงานความรอนจากภายนอกอาคารเขาสูตัวอาคาร ผานเปลือกอาคารสวนทึบแสง ไดแก หลังคา ผนัง พื้น ดวยการสํารวจสภาพอาคารเดิม และเก็บประวัติขอมูลการใชพลังงานไฟฟากอนการออกแบบและปรับปรุงอาคาร2) วิเคราะหและประเมินผล โดยการเปรียบเทียบหาน้ําหนักตัวแปรจากขอมูลจริงและขอมูลจากการคํานวณตามวิธี Cooling Load Temperature Different (CLTD) ใชขอมูลสภาพอากาศจากสถานีตรวจอากาศของสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียและคํานวณปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจก3) ออกแบบปรับปรุงอาคารโดยกําหนดวัสดุ รูปแบบอาคาร งบประมาณ และวิธีการ เพื่อลดปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่เหมาะสมและคุมทุน4) ปรังปรุงอาคารจริงและเก็บขอมูล ตรวจสอบขอมูลและวิเคราะหการใชพลัง งานจริงกับการออกแบบและการลงทุนปรับปรุงอาคารวิธีดําเนินการวิจัยการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและปรับปรุงอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติเพื่อเปนตนแบบการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพและลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก โดยศึกษาตัวแปรที่มีผลกระทบตอการใชพลังงานไฟฟา เชน การถายเทความรอนผานผนัง หลังคา พื้น ระบบปรับอากาศ แสงสวาง และอุปกรณภายในอาคาร เพื่อนําขอมูลมาเปรียบเทียบกับการศึกษา มีขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย 12 ขั้นตอนดังนี้ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาขอมูลเบื้องตนและเก็บขอมูลการใชพลังงานภายในอาคารขั้นตอนที่ 2 ประเมินและวิเคราะหอาคารกรณีศึกษาดานการใชพลังงานไฟฟาและปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกขั้นตอนที่ 3 กําหนดตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการใชพลังงานในอาคารขั้นตอนที่ 4 ออกแบบการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยและ การคํานวณภาระทําความเย็นดวยวิธี CLTDขั้นตอนที่ 5 ออกแบบปรับปรุงอาคารโดยเปรียบเทียบภาระการทําความเย็น วัสดุ วิธีการและการลงทุนขั้นตอนที่ 6 เสนอแนวทางในการปรับปรุงอาคาร124


ขั้นตอนที่ 7 ปรับปรุงอาคารจริงตามแนวทางที่ไดนําเสนอขั้นตอนที่ 8 เก็บขอมูลการใชพลังงานหลังการปรับปรุงอาคารจริงขั้นตอนที่ 9 วิเคราะหการใชพลังงานและการปลดปลอยกาซเรือนกระจกหลังการปรับปรุงอาคารขั้นตอนที่ 10 เปรียบเทียบการใชพลังงานและการปลดปลอยกาซเรือนกระจกทั้งกอนและหลังการปรับปรุงอาคารขั้นตอนที่ 11 ประเมินแนวทางการปรับปรุงอาคารขั้นตอนที่ 12 สรุปผลการวิจัย1 การวิเคราะหอาคาร1.1 ที่ตั้งอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติตั้งอยูบนพื้นที่ชั้น3 ซึ่งเปนชั้นบนสุดของของอาคารOutreachBuilding ในสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ละติจูด 14 o 04’ 49”N ลองติจูด 100 o 36’ 50” E มีเนื้อที่ใชสอยทั้งหมด890 ตารางเมตร เปนพื้นที่ปรับอากาศ 788 ตารางเมตร และ พื้นที่ไมปรับอากาศ 102 ตารางเมตร ทิศทางอาคารวางในแนวทิศเหนือ-ใต ทิศเหนือหางจากอาคารEnergy1 และที่จอดรถโดยมีถนนแอสฟลทคั่น ทิศตะวันออกจรดสนามกอลฟโดยมีถนนแอสฟลทคั่น มีตนไมขนาดกลางสูงประมาณ 7-8เมตรตลอดแนวอาคาร ทิศใตจรดอาคารAIT Extension สนามหญา ทิศตะวันตกเปนดานหนาอาคารจรดวงเวียนถนนแอสฟลท และแนวปลูกตนไมขนาดกลางสูงประมาณ 7-8 เมตรเฉพาะแนวทางเขาอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียภาพประกอบที่ 1 แสดงแผนผังตําแหนงสํานักงานUNEP อาคารOutreach Buildingสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย125


1.2 โครงสรางเปลือกอาคารโครงสรางอาคารเปนอาคารโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ชั้น ผนังกออิฐฉาบปูนเรียบหนา 4 นิ้ว หลังคาเหล็กรีดบนโครงหลังคาเหล็กพรอมฉนวนใยแกวหนา 2 นิ้วเหนือฝาเพดานชั้น3 หนาตางกระจกหนา 6 มิลลิเมตร อัตราสวนพื้นที่ใชสอยตอพื้นที่เปลือกอาคารแสดงดังตารางที่ 1ตารางที่ 1 ตารางแสดงพื้นที่เปลือกอาคาร และอัตราสวนตอพื้นที่ปรับอากาศสํานักงานUNEPพื้นที่เปลือกอาคารสํานักงานUNEPชนิดเปลือกอาคาร รายละเอียด กวาง ยาว พื้นที่(sq.m.) พื้นที่ (sq.ft.)อัตราสวนตอพื้นที่ปรับอากาศผนัง(ทั ้งหมด) ทิศใต 22 2.6 57.20 615.72 0.07ทิศตะวันออก 44 2.6 114.40 1,231.43 0.15ทิศเหนือ 22 2.6 57.20 615.72 0.07ทิศตะวันตก 44 2.6 114.40 1,231.43 0.15รวม 343.20 3,694.29 0.44หลังคา เหล็กรีด 18 40 720.00 7,750.27 0.91คอนกรีต 108 2 216.00 2,325.08 0.27รวม 936.00 10,075.35 1.19พื้น ภายใน 866.00 9,321.85 1.10ภายนอก 24.00 258.34 0.03รวม 890.00 9,580.19 1.<strong>13</strong>ผนังกระจก ทิศใต 17.31 186.33 0.02ทิศตะวันออก 10.20 109.76 0.01ทิศเหนือ 17.31 186.33 0.02ทิศตะวันตก 20.96 225.57 0.03รวม 65.77 707.99 0.08ผนังทึบ ทิศใตทิศตะวันออก39.89104.20429.391,121.670.050.<strong>13</strong>ทิศเหนือ 39.89 429.39 0.05ทิศตะวันตก 93.45 1,005.87 0.12รวม 277.43 2,986.31 0.351.3 อุปกรณเครื่องใชไฟฟาในสํานักงานฯระบบปรับอากาศ สํานักงานUNEPไมไดใชไฟฟาในระบบปรับอากาศโดยตรงในอาคาร (ใชไฟฟาโดยตรงในเครื่องเปาลมเย็นเทานั้น) พลังงานไฟฟาของระบบปรับอากาศนั้นไดจายมายังChiller Plant ซึ่งเปนศูนยรวมระบบทําความเย็นดวยน้ําของสถาบันAIT และไมมีมิเตอรวัดปริมาณน้ําเย็นหรือปริมาณพลังงานในการทําความเย็นในสํานักงานUNEP126


แตในการทําวิจัยจําเปนตองอาศัยสถิติการใชพลังงานเพื่อการวิเคราะห จึงอนุมานวามีการใชพลังงานในการปรับอากาศเฉลี่ยวันละ 10 ชั่วโมง ของวันทํางานปกติ ( วันจันทร-วันศุกร) เดือนละ21 วัน ตามการคํานวณคาพลังงานของแผนกInfrastructure, AITตารางที่ 2 ตารางแสดงชนิดและจํานวนหัวจายลมเย็นของระบบปรับอากาศในสํานักงานUNEPพื้นที่ AHU Diffusers FCU window AC Totalพื้นที่สํานักงานดานทิศใต 2 12 7 21พื้นที่สํานักงานดานทิศเหนือ 2 8 4 14ลอบบี้ 2 2หองสมุด 1 1หองประชุมใหญ 2 6 8หองโครงการซึนามิ 1 1หองพักผอน 1 1หองผูประสานงาน 1 1หอง Server 2 2 1 5รวม 8 30 15 1 54ระบบไฟฟาแสงสวางภาพประกอบที่ 2 แสดงชนิดและตําแหนงหลอดไฟแสงสวางในสํานักงานUNEP127


ตารางที่ 3 ตารางแสดงชนิดและจํานวนหลอดไฟแสงสวางชนิดหลอดไฟ กําลังไฟฟา จํานวนFTL twin tube 36 W + 12 W choke 58FTL single 36 W+ 12 W choke 7CFL 9 W+ 3 W choke 451.4 เครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณอื่นๆอุปกรณเครื่องใชไฟฟาสํานักงานอื่นๆไดแก คอมพิวเตอรและอุปกรณสํานักงาน ตูเย็น เตาไมโครเวฟ เครื่องทําน้ําเย็น เครื่องเปามือ และอื่นๆ1.5 ผูใชงานในอาคารสํานักงานUNEP มีพนักงานที่ใชงานในอาคารเฉลี่ย 20 คน ทั้งพนักงานประจํา ผูเชี่ยวชาญ และที่ปรึกษาโครงการตางๆ ซึ่งพฤติกรรมการใชงานในอาคารของบุคลากรเหลานี้ไมเปนรูปแบบคงที่ เวลาในการทํางานในสํานักงานจริงนั้นยืดหยุนมาก จากการสัมภาษณและสังเกตพบวาแมในชวงเวลาเดือนเดียวกันของแตละป พฤติกรมมการใชอาคารก็ตางกัน1.6 ระบบอาคารกระแสไฟฟาที่จายมายังสํานักงาน UNEP สงมาดวยขนาดแรงดัน 220 Volt ที่ผานการแปลงกระแสไฟฟาแรงสูงขนาดแรงดัน 22 kVA จากการไฟฟาสวนภูมิภาครังสิต ที่สถานีไฟฟายอยสถาบันAITระบบปรับอากาศเปนระบบรวมศูนย ระบายความรอนดวยน้ํา ศูนยทําความเย็นระบบปรับอากาศภายในสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียเรียกวาChiller plant ภายใตการความรับผิดชอบของแผนกInfrastructure Office, AITจากภาพประกอบที่ 3 การใชพลังงานในการทําความเย็นภายในอาคารสํานักงานUNEPและอาคารอื่นๆในlสถาบันAITจะรวมกันอยูที่Chiller Plant ดังนั้นการวัดคาพลังงานในการทําความเย็นโดยตรงของอาคารสํานักงานUNEPในการวิจัยนี้จึงทําไมได ตองออกแบบการวัดจากการไหลของน้ําเย็นในทอสงน้ําเย็นและทอน้ํากลับที่จายไปยังอาคาร128


จายไฟฟาไปยังอาคารอื่นๆในสถาบัน AITกระแสไฟฟาจาก กฟภรังสิตสถานีไฟฟายอย AIT40 %Lighting,Computers andother officeequipmentAIT CentralChiller Plantจายน้ําเย็นไปยังอาคารอื่นๆในสถาบัน AIT60 %AC systemPower for ACventilatorsChilled water,สํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติภาพประกอบที่ 3 แสดงระบบการจายไฟฟาในสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียไปยังสํานักงานUNEP และสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาในสํานักงานฯภาพประกอบที่ 4 แสดงระบบน้ําเย็นของระบบปรับอากาศในสํานักงานUNEP อาคารOutreach Building1.7 ขอมูลการใชไฟฟา129


จากสถิติการใชไฟฟาในอาคารสํานักงานUNEP โดยการเก็บขอมูลในป พ.ศ.2548 – พ.ศ.2551 พบวาปริมาณการใชไฟฟาในการทําความเย็นเปรียบเทียบกับปริมาณการใชไฟฟาจากปจจัยอื่นๆเปนอัตราสวน 3:2 หรือรอยละ 60 ของการใชพลังงานไฟฟาทั้งหมดในอาคารสํานักงานUNEPสถิติการใชพลังงานไฟฟาและระบบปรับอากาศในUNEPป 2548สถิติการใชพลังงานไฟฟาและระบบปรับอากาศในUNEPป 254920,000.0018,000.0016,000.0014,000.0012,000.0010,000.008,000.006,000.004,000.002,000.00-ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.16,000.0014,000.0012,000.0010,000.008,000.006,000.004,000.002,000.00-ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.พลังงานไฟฟา(kWh/mth)พลังงานระบบปรับอากาศ(kWh/mth)พลังงานไฟฟา(kWh/mth)พลังงานระบบปรับอากาศ(kWh/mth)สถิติการใชพลังงานไฟฟาและระบบปรับอากาศในUNEPป 2550สถิติการใชพลังงานไฟฟาและระบบปรับอากาศในUNEPป 255118,000.0016,000.0014,000.0012,000.0010,000.008,000.006,000.004,000.002,000.00-ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.18,000.0016,000.0014,000.0012,000.0010,000.008,000.006,000.004,000.002,000.00-ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.พลังงานไฟฟา(kWh/mth)พลังงานระบบปรับอากาศ(kWh/mth)พลังงานไฟฟา(kWh/mth)พลังงานระบบปรับอากาศ(kWh/mth)แผนภูมิที่ 1 สถิติการใชพลังงานไฟฟาระบบปรับอากาศและระบบอื่นๆในสํานักงานUNEP ปพ.ศ.2548 - พ.ศ.25512. การวิเคราะหภาระการทําความเย็นที่เกิดจากเปลือกอาคารจากปจจัยตางๆที่มีอิทธิพลตอการใชพลังงานไฟฟา ภาระการทําความเย็นเปนปจจัยหลักที่มีน้ําหนักสูงสุดของการใชพลังงานทั้งหมด ภาระการทําความเย็นของอาคารก็ยังมีปจจัยยอยๆจากหลายตัวแปร ในงานวิจัยนี้ไดทําการกําหนดตัวแปรหละกคือภาระการทําความเย็นจากเปลือกอาคาร สวนภาระการทําความเย็นจากตัวแปรอื่นๆจัดไวเปนตัวแปรคงที่เนื่องจากตัวแปรอื่นๆเมื่อเปรียบเทียบสัดสวนภาระการทําความเย็นแลว เปลือกอาคารเปนสวนที่มีน้ําหนักมากที่สุด จึงทําการการวิเคราะหและออกแบบปรับปรุงอาคารเฉพาะเปลือกอาคารเทานั้นตารางที่ 4 ตารางแสดงคาการนําความรอนของวัสดุเปลือกอาคาร (U Value)ตารางแสดงคาการนําความรอนของวัสดุเปลือกอาคารเดิม(U value)ตารางแสดงคาการออกแบบการนําความรอนของวัสดุเปลือกอาคาร(U value)หลังคาเหล็กรีดหลังคาเหล็กรีดชั้นชั้นรายละเอียด(R value)ที่ที่รายละเอียด(R value)(heat flow down)(heat flow down)1 Outside air film 0.25 1 Outside air film 0.252 Metal sheet 0.0001 2 Metal sheet 0.0001<strong>13</strong>0


3 Still air 0.92 3 Still air 0.924 Fiber glass 2"thk. 6.666666667 4 Fiber glass 9" thk. 305 Fiber board 0.5"thk. 1.25 5 Fiber board 0.5"thk. 1.256 Still air 0.92 6 Still air 0.927 Gypsum board 0.375"thk. 0.32 7 Gypsum board 0.375"thk. 0.328 Inside air film 0.92 8 Inside air film 0.92คาตานทานความรอนรวม 11.24676667 คาตานทานความรอนรวม 34.5801คาการนําความรอนรวม 0.088914444 คาการนําความรอนรวม 0.028918366หลังคาคอนกรีต หลังคาคอนกรีตกรุไฟเบอรกลาส 9"ชั้นที่รายละเอียด(R value)ชั้นที่รายละเอียด(R value)(heat flow down)(heat flow down)1 Outside air film 0.25 1 Outside air film 0.252 Concrete roof 4"thk. 0.32 2 Concrete roof 4"thk. 0.323 Still air 0.92 3 Still air 0.924 Gypsum board 0.375"thk. 0.32 4 Fiber glass 9"thk. 305 Inside air film 0.92 5 Gypsum board 0.375"thk. 0.32คาตานทานความรอนรวม 2.73 6 Inside air film 0.61คาการนําความรอนรวม 0.366300366 คาตานทานความรอนรวม 32.42คาการนําความรอนรวม 0.030845157พื้นคอนกรีต พื้นคอนกรีตพนทับดวย PU foamชั้น(R value) ชั้น(R value)รายละเอียดรายละเอียดที่(heat flow up) ที่(heat flow up)1 Outside air film 0.61 1 Outside air film 0.612 Gypsum board 0.375"thk. 0.32 2 Gypsum board 0.375"thk. 0.323 Still air 0.61 3 Still air 0.614 Concrete floor 4"thk. 0.32 4 Concrete floor 4"thk. 0.325 Inside air film 0.61 5 PU foam 1.5"thk. 6คาตานทานความรอนรวม 2.47 6 Inside air film 0.61คาการนําความรอนรวม 0.405 คาตานทานความรอนรวม 8.47คาการนําความรอนรวม 0.118ผนังกระจกผนังกระจกชั้นชั้น(R value)ที่ รายละเอียดที่ รายละเอียด(R value)1 Outside air film 0.25 1 Outside air film 0.252 Glass 6 mm. 0.91 2 Single laminated glass 6 mm. 0.9<strong>13</strong> Inside air film 0.68 3 Inside air film 0.68คาตานทานความรอนรวม 1.84 คาตานทานความรอนรวม 1.84คาการนําความรอนรวม 0.543478261 คาการนําความรอนรวม 0.543478261ผนังกออิฐฉาบปูนผนังกออิฐฉาบปูนกรุทับดวยผนัง EIFSชั้นชั้น(R value)ที่ รายละเอียดที่ รายละเอียด(R value)1 Outside air film 0.25 1 Outside air film 0.252 Plaster 0.44 2 EIFS 4"thk. 163 Brick wall 4"thk. 1.01 3 Plaster 0.444 plaster 0.44 4 Brick wall 4"thk. 1.015 Inside air film 0.68 5 plaster 0.44คาตานทานความรอนรวม 2.82 6 Inside air film 0.68คาการนําความรอนรวม 0.354609929 คาตานทานความรอนรวม 18.82คาการนําความรอนรวม 0.053<strong>13</strong>4963<strong>13</strong>1


ตารางที่ 5 ตารางแสดงภาระการทําความเย็นของเปลือกอาคาร (Q)กอนการปรุงอาคารและการออกแบบปรับปรุงอาคารภาระการทําความเย็นของเปลือกอาคาร(Q)กอนการปรับปรุงอาคารภาระการทําความเย็นของเปลือกอาคารของการออกแบบปรับปรุงอาคาร(Q)หลังคา Q Roof 65,878.18 btu/hr. หลังคา Q Roof 14,944.36 btu/hr.ผนังทึบ Q Wall ทิศใต 5,022.83 btu/hr. ผนังทึบ Q Wall ทิศใต 752.62 btu/hr.ทิศตะวันออก 15,512.44 btu/hr. ทิศตะวันออก 2,324.39 btu/hr.ทิศเหนือ 4,651.69 btu/hr. ทิศเหนือ 697.01 btu/hr.ทิศตะวันตก 15,765.71 btu/hr. ทิศตะวันตก 2,362.34 btu/hr.รวม 40,952.66 btu/hr. รวม 6,<strong>13</strong>6.37 btu/hr.พื้น Qfloor 67,932.52 btu/hr. พื้น Qfloor 19,810.31 btu/hr.กระจก Q Glass ทิศใต 1,417.72 btu/hr. กระจก Q Glass ทิศใต 1,417.72 btu/hr.conduction ทิศตะวันออก 835.15 btu/hr.conduction ทิศตะวันออก 835.15 btu/hr.ทิศเหนือ 1,417.72 btu/hr. ทิศเหนือ 1,417.72 btu/hr.ทิศตะวันตก 1,716.26 btu/hr. ทิศตะวันตก 1,716.26 btu/hr.รวม 5,386.86 btu/hr. รวม 5,386.86 btu/hr.Q Glass solar ทิศใต 4,571.41 btu/hr. Q Glass ทิศใต 4,571.41 btu/hr.ทิศตะวันออก 7,260.59 btu/hr.solar ทิศตะวันออก 7,260.59 btu/hr.ทิศเหนือ 5,123.<strong>13</strong> btu/hr. ทิศเหนือ 5,123.<strong>13</strong> btu/hr.ทิศตะวันตก <strong>13</strong>,958.01 btu/hr. ทิศตะวันตก <strong>13</strong>,958.01 btu/hr.รวม 30,9<strong>13</strong>.14 btu/hr. รวม 30,9<strong>13</strong>.14 btu/hr.ภาระการทําความเย็นรวม Q Total 211,063.36 btu/hr. ภาระการทําความเย็นรวม Q Total 77,191.04 btu/hr.ภาระการทําความเย็นตอ 9,321.85 22.64 btu/sq.ft. ภาระการทําความเย็นตอ 9,321.85 8.28 btu/sq.ft.พื้นที่ใชงาน 71.41 W/sq.m. พื้นที่ใชงาน 26.12 W/sq.m.ภาระการทําความเย็นของเปลือกอาคารเปรียบเทียบกอนและหลังปรับปรุงอาคาร(Watt/sq.m.)25.00RoofFloor20.0015.00Wall10.00GlasssolarGlass Solar_improved5.00Roof_improvedWall_improvedFloor_improvedGlassconductionGlassConduction_improved-เปลือกอาคารแผนภูมิที่ 2 แสดงภาระการทําความเย็นเปรียบเทียบกอนการปรับปรุงอาคารและการออกแบบ<strong>13</strong>2


รายการปรับปรุงอาคารและราคาลงทุนลําดับที่ รายการ ชนิดวัสดุราคารวม(บาท)1 ปรับปรุงผนังทึบ ผนัง EIFS หนา 4" 1,360,000.002 ปรับปรุงฝาเพดาน ฉนวนไฟเบอรกลาสหนา 9" 473,500.003 ปรับปรุงประตู ยกวงกบและบานประตูเดิมออก พนPU โฟม 92,000.004 ปรับปรุงพื้น PU โฟมหนา1.5" ปดทับดวยไมอัดหนา10 มม. 1,166,150.00รวม 3,091,650.00คาดําเนินการสําหรับผูรับเหมา 15% 463,747.50ภาษีมูลคาเพิ่ม 7% 248,877.83รวม 3,804,275.33ผลการวิจัยตารางที่ 6 การออกแบบปรับปรุงอาคารสํานักงานUNEPผลการปรับปรุงอาคารสํานักงานUNEP ไดทําการวัดโดยการติดตั้งเครื่องมือและบันทึกดวยโปรแกรม DMS เก็ยขอมูล 2 ชุดจากเครื่องเปาลมเย็น ทําการวัดในวันทํางานและวันหยุดเพื่อเปรียบเทียบภาระการทําความเย็นที่ตางกันเนื่องจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นของวันทํางานและวันหยุด จากผลการวัด สามารถแสดงดังแผนภูมิที่ชัดเจนวาหลังทําการปรับปรุงเปลือกอาคารสวนทึบ ภาระการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศไดลดลงอัตราการจายน้ําเย็นของหัวจายตรงในวันทํางานอัตราการจายน้ําเย็นของหัวจายตรงในวันหยุด90.0080.0070.0060.0050.0040.0030.0020.0010.000.000:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10:00 12:00 14:00 16:00 18:00 20:00 22:0090.0080.0070.0060.0050.0040.0030.0020.0010.000.000:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10:00 12:00 14:00 16:00 18:00 20:00 22:00BeforeAfterแผนภูมิที่ 3 แสดงภาระการทําความเย็นวัดจากหัวจายลมเย็นตรงเปรียบเทียบกอนและหลังการปรับปรุงอาคารจริงในวันทํางานและวันหยุดBeforeAfter<strong>13</strong>3


ton6.00อัตราการจายน้ําเย็นของทอจายลมเย็นในวันทํางานton6.00อัตราการจายน้ําเย็นของทอจายลมเย็นในวันหยุด5.005.004.004.003.003.002.002.001.001.000.000:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10:00 12:00 14:00 16:00 18:00 20:00 22:000.000:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10:00 12:00 14:00 16:00 18:00 20:00 22:00BeforeAfterแผนภูมิที่ 4 แสดงภาระการทําความเย็นวัดจากทอจายลมเย็นเปรียบเทียบกอนและหลังการปรับปรุงอาคารจริงในวันทํางานและวันหยุดBeforeAfterสรุปผลการวิจัยจากผลการวิจัยจึงสรุปไดวาการปรับปรุงอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติโดยการพิจารณาเฉพาะภาระการทําความเย็นในอาคารซึ่งเปนสวนที่ใชพลังงานที่มีน้ําหนักมากที่สุดเมื่อเทียบกับการใชไฟฟาจากตัวแปรอื่นๆ และเมื่อพิจารณาภาระการทําความเย็นจากตัวแปรทั้งหมดแลวเปลือกอาคารสวนทึบเปนตัวแปรหลักของภาระการทําความเย็นใหตัวอาคาร การออกแบบติดตั้งฉนวนกันความรอนเปลือกอาคารสํานักงานโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติจึงเปนแนวทางในการลดการใชพลังงานและปลดปลอยกาซเรือนกระจกลงได 52% จากการอางอิงการศึกษาปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยในระยะเวลา 5 ปตั้งแต ค.ศ.1996 – 2000 อยูที่ 720g/kWhr(Building Scientific Research Center,KMUTT,2004)<strong>13</strong>4


คุณคาของภูมิทัศนวัฒนธรรมชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองสุพรรณบุรีTHE VALUE OF CULTURAL LANDSCAPE OF NONG BAU, WOUNG LUM PONG AND PRA TOMETONG VILLAGES, SUPANBURIบทคัดยอนางสาว วรนุช จําปานิลหลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนภาคและเมืองคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทความนี้เปนสวนหนึ่งของงานวิจัย ที่มุงเนนการศึกษาพัฒนาการ วิเคราะหองคประกอบและประเมินคุณคาของภูมิทัศนวัฒนธรรม อีกทั้งเสนอแนะแนวทางในการเก็บรักษาภูมิทัศนวัฒนธรรม โดยมีคําถามงานวิจัยคือ องคประกอบภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองประกอบดวยอะไรบาง มีลักษณะเปนอยางไร รวมไปถึงมีคุณคาความสําคัญในแงใด อยางไรก็ตามจุดประสงคหลักของบทความชิ้นนี้คือการนําเสนอเฉพาะการวิเคราะหองคประกอบและประเมินคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมตามเกณฑการประเมินความโดดเดนมรดกทางวัฒนธรรมของคณะกรรมการมรดกโลก องคการยูเนสโก จากการสามารถประยุกตและจําแนกคุณคาออกเปน 4 ดาน คือ 1) ดานการตั้งถิ่นฐาน 2) ดานสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรม 3) ดานวิถีชีวิตประเพณี 4) ดานรองรอยวัฒนธรรมที่สาบสูญ จากการศึกษาพบวาองคประกอบภูมิทัศนวัฒนธรรมทั้ง 4 ดาน ยังคงมีคุณคาครบถวนตามหลักเกณฑที่ใชประเมิน องคประกอบเหลานั้นยังคงสะทอนใหเห็นความสัมพันธระหวางคนที่มีตอสภาพแวดลอมธรรมชาติที่มีมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน อีกทั้งองคประกอบแตละดานลวนมีความเกี่ยวเนื่องและสนับสนุนกันใหภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองมีคุณคาที่ชัดเจนยิ่งขึ้น1. บทนําภูมิทัศนวัฒนธรรมเปนประเด็นที่ไดรับความสนใจจากนานาชาติอยางกวางขวาง รวมไปถึงในประเทศไทยเองดวย มีทั้งหนวยงานราชการและนักวิชาการใหความสนใจและศึกษาในประเด็นนี้ เนื่องจากภูมิทัศนวัฒนธรรมเปนมรดกและทรัพยากรที่สําคัญของมนุษยทุกคน โดยบรรจุเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร การตั้งถิ่นฐานจนกระทั่งมีพัฒนาการเขาสูความซับซอนดวยการปรับสภาพแวดลอมทีละเล็กละนอย และดําเนินการไปอยางพอเพียงผานรูปทรงของพื้นที่ภูมิประเทศ และวิถีทางการดําเนินชีวิตของผูคน การอนุรักษและจัดการภูมิทัศนวัฒนธรรม จําเปนตองเคารพคุณคาดานตางๆ ของพื้นที่เปนหลัก โดยไมลดทอนคุณคาดานตางๆ ลง ดั้งนั้นจึงมีความจําเปนตองประเมินคุณคาดานตางๆ ของพื้นที่เพื่อวิเคราะหหาความสําคัญเนื่องจากเปนตัวกําหนดทิศทางในการอนุรักษและจัดการภูมิทัศนวัฒนธรรม<strong>13</strong>5


ชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทอง เปนชุมชนโบราณที่พัฒนาอยางคอยเปนคอยไปตามกาลเวลา ตั้งถิ่นฐานรวมกลุมกันอยูบริเวณคุงน้ําริมลําน้ําจระเขสามพัน มีรัศมีหางจากเมืองโบราณอูทองซึ่งเปนเมืองที่เกิดมากอนสมัยอยุธยา ประมาณ 7.3 กิเมตร เปนชุมชนเกษตรกรรมที่ยังคงมีวิถีชีวิตผูกพันกับสภาพแวดลอมธรรมชาติอยางใกลชิด สถาปตยกรรมจํานวนมากเปนบานทรงไทย ในปจจุบันนี้นับวาหาชุมชนที่มีลักษณะพิเศษแบบนี้ไดยากเต็มที จึงมีความนาสนใจในการวิเคราะหหาคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนที่มีความโดดเดนเชนนี้ภูมิทัศนวัฒนธรรมคณะกรรมการมรดกโลก องคการสหประชาชาติ (2008) ไดใหนิยามของภูมิทัศนวัฒนธรรมวา คือทรัพยสินทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงการผสมผสานเชื่อมโยงระหวางมนุษยและธรรมชาติ เปนพัฒนาการของสังคมมนุษยและการตั้งถิ่นฐานผานกาลเวลาภายใตอิทธิพลของของสภาพแวดลอมธรรมชาติตลอดจนแรงผลักดัน ในดานสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ทั้งจากภายในและภายนอกพื้นที่ Ken Taylor (2006) ไดกลาววา ภูมิทัศนวัฒนธรรมสวนมากยังคงใชงานอยู มีการเปลี่ยนแปลงตามการเวลาและยัง ใชงานอยู ไมใชรางไป มีหลักฐาน มีชั้นของภูมิทัศนวัฒนธรรมในยุคตางๆ ที่ยังคงเหลืออยู มันไดสะทอนกิจกรรมของมนุษยที่รวมอยู ในธรรมชาติ มีคุณคาทางวัฒนธรรม รวมไปจนถึงเรื่องการเมืองจากแนวความคิดดังกลาวมาลวนนิยามถึงภูมิทัศนวัฒนธรรมไปในทิศทางเดียวกันคือภูมิทัศนวัฒนธรรมมีความหมายแตกตางจากภูมิทัศนธรรมชาติ เพราะเปนผลของความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมของมนุษยและสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร โดยเริ่มจากพฤติกรรมทางวัฒนธรรมของมนุษยที่ปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมธรรมชาติ ภายใตขอจํากัดทางดานภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และเทคโนโลยี รวมไปถึงปจจัยจากภายนอกพื้นที่ พัฒนาจนเกิดเปนภูมิทัศนวัฒนธรรม และภูมิทัศนวัฒนธรรมนี่เองที่ยอนกลับมาเปนตัวกําหนดวิถีชีวิตของมนุษยอีกทีหนึ่ง ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเปนพลวัตร มักสะทอนเทคนิคการใชที่ดินอยางยั่งยืนผานพัฒนาการของสังคมหรือของชุมชนนั้นจากอดีตจนถึงปจจุบันเกณฑการประเมินคุณคาในบทความชิ้นมีการนําหลักเกณฑในการประเมินความโดดเดนมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกขององคการยูเนสโกมาประยุกตใชเพื่อวิเคราะหและประเมินคุณคาของภูมิทัศนวัฒนธรรมซึ่งเกณฑนี้เปนเกณฑที่มีความเปนสากลและไดรับการยอมรับจากนานาชาติในการประเมินคุณคาของมรดกโลกดานภูมิทัศนวัฒนธรรม ตัวอยางที่สําคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตคือมรดกโลกทางภูมิทัศนวัฒนธรรมวัดพู ซึ่งมีบริบทใกลเคียงกับพื้นที่ศึกษาคือเปนที่ราบลุมแมน้ําที่อุดมสมบูรณมีพื้นที่การเกษตรรายลอม และอยูในพื้นที่ใกลเคียงชุมชนโบราณ ทั้งยังคงมีพัฒนาการของชุมชนในปจจุบันซอนทับลงบนพื้นที่นั้น โดยนําเกณฑขอที่ 3, 4, 5 และ 6 มาประยุกตใชกับการประเมินคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทอง ดังนี้คือเกณฑขอที่ 3 เปนพยานหลักฐานของอารายธรรม หรือจารีตวัฒนธรรมซึ่งสาบสูญไปเกณฑขอที่ 4 เปนตัวอยางที่มีความโดดเดนของสถาปตยกรรมโดยรวม หรือภูมิทัศน<strong>13</strong>6


เกณฑขอที่ 5 เปนตัวอยางที่ความโดดเดนของธรรมเนียมการตั้งถิ่นฐานของมนุษยเกณฑขอที่ 6 มีจารีตประเพณีที่ยังคงปฏิบัติกันอยูที่มีความโดดเดนที่เปนสากลอีกทั้งยังพิจารณาประกอบกับเกณฑการประเมินคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมขององคการยูเนสโก ที่วาดวยเรื่องความสอดคลองของคุณภาพธรรมชาติของภูมิทัศนวัฒนธรรม เพราะพื้นที่ศึกษาเปนภูมิทัศนแบบเกษตรกรรม หากจําแนกประเภทภูมิทัศนวัฒนธรรมตามแนวคิดของ นวณัฐ โอศิริ (2551:6) ซึ่งมีปจจัยในการประเมินดังนี้1) มีการอนุรักษธรรมชาติ และระบบกึ่งธรรมชาติ รวมไปถึงสายพันธุทางธรรมชาติของพืชพรรณ2) มีการอนุรักษสัตวและพืชพรรณในระบบของเกษตรกรรมและการเพาะปลูก 3) มีการใชที่ดินแบบยั่งยืน4) มีการเพิ่มคุณคาของภูมิประเทศที่สวยงาม 5) มีรูปแบบของประวัติศาสตร 6) เปนตัวอยางที่โดดเดนของมนุษยชาติที่แสดงออกถึงความสัมพันธกับธรรมชาติ 7) เปนการคนพบที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร2. บทหลักขอมูลเบื้องตนของชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองในอดีตหมูบานหนองบัวเคยมีฐานะเปนตําบลหนองบัว ตอมามีการแบงเขตการปกครองใหมเมื่อ พ.ศ.2483 อําเภอจระเขสามพันถูกลดฐานะเปนตําบลจระเขสามพัน สงผลใหตําบลหนองบัวถูกลดฐานะเปนบานหนองบัว การเขาถึงชุมชนสามารถทําไดโดยเสนทางถนนมาลัยแมนจากจังหวัดสุพรรณบุรีหรือจังหวัดนครปฐมแยกเขาสูตัวชุมชนตามเสนทางถนนสาย บานเขาชานหมาก-หนองบัว ลัดเลาะไปตามพื้นที่เกษตรกรรมระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร ก็จะถึงตัวชุมชนโดยจะผานบานวังหลุมพองและบานปทุมทองกอน ถัดไปจึงเปนบานหนองบัวตามลําดับดับสภาพทางภูมิศาสตรลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเปนราบลุมสลับกับที่ดอน บางสวนเปนที่ราบเชิงเขา มีลําน้ําจระเขสามพันไหลผานซึ่งมีตนน้ําในเขตอําเภอเลาขวัญและอําเภอพนมทวนของกาญจนบุรี อีกทั้งมีคลองชลประทานไหลผาน เปนบริเวณมีความอุดมสมบูรณ จากสภาพภูมิประเทศเชนนี้จึงมีความเหมาะสมแกการประกอบอาชีพดานเกษตรกรรมตลอดทั้งปประวัติศาสตรชุมชนแหงนี้สันนิษฐานไดวานาจะมีการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแตกอนป พ.ศ. 2411 เนื่องจากมีหลักฐานยืนยันวาวัดปทุมวนารามซึ่งเปนวัดแหงแรกของชุมชนไดสรางขึ้นกอน พ.ศ. 2411 ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ไดประกาศใหประชาชนทุกคนมีนามสกุล ชาวบานทั้งหมดจึงพรอมใจกันใชนามสกุล “ปทุมสูตร” ซึ่งแปลวาเกิดจากบัว ที่ตั้งชุมชนในอดีตนั้นหางไกลจากศูนยกลางการพัฒนาในทุกๆ ดาน เพราะตั้งอยูในอําเภออูทองซึ่งเคยเปนอําเภอที่กันดารที่สุดในจังหวัดสุพรรณบุรี การพัฒนาในดานตางๆ จึงเขามาสูชุมชนคอนขางลาชากวาพื้นที่อื่นๆ<strong>13</strong>7


องคประกอบภูมิทัศนวัฒนธรรมจากเกณฑการประเมินคุณคาความสําคัญของมรดกทางวัฒนธรรมขององคการยูเนสโก สามารถนํามาประยุกตเพื่อแบงองคประกอบภูมิทัศนวัฒนธรรมของพื้นที่ศึกษาเปน 4 ดาน ประกอบดวย 1) คุณคาขององคประกอบทางดานการตั้งถิ่นฐาน 2) ดานสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรม 3) ดานวิถีชีวิตประเพณี และ4) ดานรองรอยวัฒนธรรมที่สาบสูญ1) องคประกอบทางดานการตั้งถิ่นฐานความสําคัญและความนาสนใจของการตั้งถิ่นฐานก็คือแบบแผนของชีวิตที่สัมพันธแนบแนนกับสภาพแวดลอมที่ผนวกเขากับระบบนิเวศ จากการสํารวจพบวาในบริเวณพื้นที่ศึกษามีรูปแบบและเอกลักษณทางการตั้งถิ่นฐานริมน้ําของชุมชนเกษตรกรรม ซึ่งมีความสอดคลองกับสภาพแวดลอมมาตั้งแตอดีตผานมาจนถึงปจจุบัน แตกตางจากชุมชนอื่นๆ โดยรอบพื้นที่ศึกษาที่มีการตั้งถิ่นฐานในชวงเดียวกัน ลวนกําลังสูญเสียรูปแบบและเอกลักษณที่ชัดเจนของชุมชนริมน้ําไป องคประกอบโครงสรางทางกายภาพของพื้นที่ศึกษายังคงสมบูรณอยู ซึ่งประกอบไปดวยลําน้ําจระเขสามพันที่เปนหัวใจหลักของชุมชนเกษตรกรรมที่นี่ จากที่เคยตื้นเขินก็ไดรับการขุดลอกและถูกพลิกฟนมีชีวิตขึ้นมาใหมหลังจากการเกิดขึ้นของเขื่อนแมกลอง ผนวกเขากับโครงขายของระบบชลประทาน กอเกิดเปนความเชื่อมโยงของระบบน้ําธรรมชาติและระบบน้ําที่มนุษยสรางขึ้น ที่คอยหลอเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมอันกวางขวาง พื้นที่เกษตรกรรมเหลานี้ยังคงมีไวสําหรับปลูกขาวซึ่งเปนพืชพรรณที่เปนพื้นฐานทางวัฒนธรรมของชาติ ความอุดมสมบูรณที่พบเห็นสามารถสะทอนถึงการใชที่ดินที่จะคงยั่งยืนตอไป คนรุนลูกรุนหลานของชุมชนแหงนี้ก็สามารถใชผืนดินทําการเกษตรได ความเขียวขจีอุดมของทองทุงกวางใหญถูกสอดแทรกไปดวยกลุมบานทรงไทยที่เกาะกลุมอยูริมลําน้ํา อีกทั้งวิถีชีวิตเกษตรกรรมที่ยังคงดําเนินตอไปกอใหเกิดสภาพภูมิประเทศที่สวยงามและมีคุณคา หากขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่กลาวมาแลวนั้นยอมสงผลกระทบใหเกิดความสูญเสียรูปแบบและเอกลักษณทางการตั้งถิ่นฐานไดกลุมบานที่มีพื้นที่เกษตรกรรมโอบลอม กลุมบานอยูถัดขึ้นไปจากลําน้ําจะเขสามพันรูปที่ 1 แสดงรูปแบบการตั้งถิ่นฐานริมลําน้ําจระเขสามพันโดยมีพื้นที่เกษตรกรรมโอบลอมที่มา : จากการสํารวจพื้นที่, 2551<strong>13</strong>8


ไรออยสลับกันไปกับทองนา ทองนาที่มีฉากหลังเปนภูเขา ทองนาหลังเก็บเกี่ยวภูมิทัศนทองทุงอันอุดมสมบูรณทั้งยังปรากฏเถียงนาสอดแทรกอยูรูปที่ 2 แสดงภูมิทัศนและที่ทํากินบริเวณชุมชนที่มา : จากการสํารวจพื้นที่, 2551<strong>13</strong>9


1140


2) องคประกอบดานสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรมกลุมบานเรือนของพื้นที่ศึกษามีการตั้งถิ่นฐานรวมตัวกัน มีความใกลชิดในเชิงเครือญาติและเพื่อนบานที่สนิทสนม บานเรือนโดยมากจะสรางดวยไม จากการสํารวจสามารถแบงลักษณะของเรือนตามพัฒนาการของวัสดุกอสรางและรูปทรงได 3 แบบ คือ 1) เรือนไทยภาคกลาง เปนลักษณะของเรือนไทยชั้นเดียวยกใตถุนสูงจากพื้นดิน โครงสรางหลังคาเปนทรงจั่วสูง ตอมาอาจมีการขยายเรือนจนกลายเปนกลุมเรือนขนาดใหญบางหลังมีอายุเกาแกมากกวา 100 ป 2) เรือนพื้นบานทั่วไป มีองคประกอบคลายเรือนไทย แตมีรูปแบบของอาคารที่ปลูกสรางเรียบงายกวาซึ่งเนนประโยชนใชสอยมากกวาความสวยงามของเรือน 3) อาคารสมัยใหม ลักษณะของอาคารมีทั้งขนาดเล็ก (1-2ชั้น) เปนอาคารเดี่ยว โครงสรางเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก มีรูปแบบสถาปตยกรรมแบบสมัยใหมจะเห็นไดวาเรือนใน 2 แบบแรกเปนเรือนในลักษณะยกพื้นสูงเพื่อหนีน้ําชวงฤดูน้ําหลากในอดีต และสามารถใชพื้นที่ใตถุนเรือนเพื่อกิจกรรมเอนกประสงค ทั้งยังใชกั้นเปนคอกสัตวอีกดวย นับวาเปนภูมิปญญาที่เกิดจากการเรียนรูสภาพแวดลอมของทองถิ่น แตปจจุบันเรือนดังกลาวมีแนวโนมลดลง เนื่องจากไมเปนทรัพยากรที่หาไดยากและมีราคาสูงมากทําใหการปลูกเรือนใหมจะถูกสรางในรูปแบบสมัยใหม ซึ่งขัดกับความรูสึกของคนในชุมชนที่ใหสัมภาษณวายังคงมีความรักในบานเรือนไทยและเห็นวาเปนสิ่งมีคุณคานอกจากเรือนไทยแลวสถาปตยกรรมที่มีคุณคาอีกอยางหนึ่งก็คือ พระอุโบสถหลังเกาที่มีความสวยงามแบบเรียบงาย บงบอกถึงเอกลักษณทางสถาปตยกรรมของวัดพื้นถิ่นในยุคกอนและมีคุณคาทางประวัติศาสตรยังรวมไปถึงภูมิสถาปตยกรรมขนาดเล็ก เชน คอกสัตว ศาลเจาที่พบตามกลุมบานและทองไรทองนาเปนจํานวนมาก ลวนเปนรองรอยที่บงบอกถึงวิถีชีวิตเกษตรกรรมและความเชื่อของทองถิ่นองคประกอบดานภูมิสถาปตยกรรมที่พบในชุมชน ประกอบไปดวยลานบาน ซึ่งเปนที่ทํากิจกรรมเอนกประสงค เชน ใชตากขาวของเครื่องใชและผลผลิตทางการเกษตร พื้นที่ถัดออกไปหรือลานหลังบาน มักปลูกผลไม พืชผักสวนครัว และตนไมที่นํามาใชสอยในบานได บางบานยังคงหลงเหลือยุงขาวซึ่งเปนสิ่งสะทอนถึงยุคของการเกษตรเพื่อยังชีพ การแบงขอบเขตเรือนโดยมากมักใชรั้วตนไมเพื่อความรมรื่นและสอดคลองสัมพันธกับธรรมชาติ รั้วลักษณะนี้ไมไดเปนรั้วที่มีความแข็งแรงที่จะชวยปองกันการบุกรุกอยางตั้งใจ แตเปนการบอกอาณาเขตอยางหลวมๆ ทางสัญจรภายในหมูบานแตเดิมไมกวางมากนักพอใหเกวียนและวัวควายที่เลี้ยงเดินผานไปไดโดยสะดวก ทําใหเสนทางสัญจรภายในชุมชนเปนเสนทางที่เล็กและคดเคี้ยวลัดเลาะไปยังบานเรือนหลังตางๆทามกลางทองทุงองคประกอบที่สําคัญอีกอยางหนึ่งก็คือ เถียงนา เปนอาคารที่สรางขึ้นเพื่อเปนที่พักพิงชั่วคราวในยามกลางวัน ปจจุบันเหลือจํานวนไมมากแลวเพราะสามารถเดินทางไปกลับนาระหวางวันไดสะดวกมากขึ้นเนื่องจากมีถนนหนทางลัดเลาะเขาสูทองนา จากทองนามองเขามาที่กลุมบานจะเห็นแนวรั้วตนไมขึ้นอยูรายรอบ141


่เรือนจั่วแฝด ศาลตายายแทรกตัวอยูในบริเวณบานชองลมที่มีการสลักลวดลายวิจิตรเรือนไทยที่ปรับปรุงใหมสภาพดีกรอบเช็ดหนาและหยองสลักลวดลาย ตนไมรายลอมกลุมเรือน เรือนเกาดั้งเดิมกลุมเรือนขยาย ลานหลังบานเชื่อมตอจากกลุมเรือน เรือนเกาในยุคแรกรูปที่ 3 แสดงรูปแบบสถาปตยกรรมของอาคารพักอาศัยที่มีลักษณะเปนเรือนไทยภาคกลางที่มา : จากการสํารวจพื้นที่, 2551142


สถาปตยกรรมเรียบงายของทองถิ่น กรอบประตูลวดลายสวยงาม ใบเสมาเกาแกกรอบหนาตางหนาบันตกแตงดวยเครื่องสังคโลก ดานหนาพระอุโบสถ รอยจารึกวาไดรับเงินบริจาค 20 บาทรูปที่ 4 แสดงอาคารศาสนสถานที่มีคุณคาภายในชุมชน (พระอุโบสถหลังเกาวัดปทุมวนาราม)ที่มา : จากการสํารวจพื้นที่, 2551ตนกรางสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน กองฟางที่บงบอกถึงวิถีชีวิตเกษตรรูปที่ 5 แสดงองคประกอบภูมิสถาปตยกรรมที่พบในชุมชนที่มา : จากการสํารวจพื้นที่, 2551143


ยุงขาว ศาลเจาที่คอกวัวลําน้ําจระเขสามพันรูปที่ 6 แสดงองคประกอบภูมิสถาปตยกรรมและสภาพแวดลอมธรรมชาติที่มา : จากการสํารวจพื้นที่, 255<strong>13</strong>) องคประกอบดานวิถีชีวิตประเพณีจากการสํารวจและสัมภาษณ พบวาความสัมพันธระหวาง กิจกรรม และการใชพื้นที่ สวนใหญยังคงรูปแบบและวิถีชีวิตของระบบสังคมเกษตรกรรมที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมอยางชัดเจน ถึงแมกิจกรรมทางวัฒนธรรมไดเลือนหายไปบางสวน โดยมีวัดปทุมวนารามเปนพื้นที่ศูนยกลางในการประกอบกิจกรรมของคนในชุมชนไมวาจะเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับทางดานศาสนาหรือการจัดงานประเพณีสําคัญประจําป นอกจากนี้ภายในชุมชนยังประกอบไปดวยพื้นที่ที่มีความสําคัญ เชน ลานตนกรางอันศักดิ์สิทธิ์บานหนองบัว รูปปนหลวงพออาจลานวัดปทุมวนาราม เปนตน ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีคุณคาทางดานจิตใจภายใตความเชื่อตอธรรมชาติและตํานานทองถิ่นนอกจากประเพณีทั่วไปแลวสิ่งที่ยังคงความพิเศษของชุมชนก็คือ มีการละเลนเพลงพวงมาลัย ซึ่งเปนเพลงพื้นบานของภาคกลาง มีเลนมากวา 140 ป นิยมเลนในงานสงกรานต ลอยกระทง หรืองานประจําปตางๆในอดีตยังใชเกี้ยวพาราสีกันเวลาลงแขกเกี่ยวขาวดวยเพื่อคลายความเหน็ดเหนื่อย ปจจุบันในชุมชนยังคงมีพอเพลงแมเพลงพวงมาลัยมีชื่อเสียงในระดับจังหวัด ความเชื่อที่หลงเหลืออยูอีกอยางหนึ่งก็คือ การทําขวัญวัว ซึ่งเปนความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่มองไมเห็น นิยมทําเฉพาะเจาที่เลี้ยงวัวฝูงใหญจํานวนมากๆ ปจจุบันเหลือหมอทําขวัญวัวอยูคนสุดทายคือ นายบัว สังขวรรณะ นอกจากนี้ยังมี การสวดพระมาลัย (ชมพุมดอกไม) เปนการสวดเพื่อคลายความเศราในงานศพแสดงโดยพอเพลงแมเพลงพวงมาลัยที่ยังเหลืออยูในชุมชน144


4) องคประกอบดานรองรอยวัฒนธรรมที่สาบสูญจากการศึกษาดานประวัติศาสตรพบวา บริเวณพื้นที่ศึกษาและแนวลําน้ําจระเขสามพันในอดีต เปนเสนทางเดินทัพและเสนทางการคาจากพมาเขามายังกรุงศรีอยุธยา ตามความเชื่อกันวาเปนสงครามยุทธหัตถีในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร (จดหมายเหตุรัชกาลที่ 2, อางถึงใน วารุณี, 2547) อีกทั้งพื้นที่ศึกษายังมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกับเมืองโบราณอูทองคือ เคยปรากฏแนวคันดินที่เปนทํานบและคูน้ําที่เกี่ยวของกับการเกษตร หรือชาวบานเรียกวาถนนทาวอูทอง แนวคันดินนี้ใชในการชะลอน้ําที่อยูในที่ราบลุมสองฝงน้ําจระเขสามพันใหกักเก็บไวในหนองบัว อันเปนหนองน้ําใหญระหวางบานหนองบัวและบานดอนทอง ซึ่งเปนที่มาของชื่อหมูบานหนองบัวในทุกวันนี้ (ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม, 2549) นอกจากนี้บนยอดเขาไผลอม ที่ตั้งของวัดหนองบัว ยังพบหลักฐานทางโบราณคดีเปนเจดียเกา อายุประมาณ 600-700 ป เปนสิ่งสะทอนใหเห็นวาพื้นที่บริเวณละแวกนี้เคยมีผูคนอาศัยซึ่งปรากฏรองรอยเปนชั้นทางวัฒนธรรมหนึ่ง กอนที่จะมาเปนชุมชนบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองอยางเชนทุกวันนี้ในดานวัฒนธรรมขาวที่เลือนหายไปจากชุมชนแลวก็คือ การทําขวัญขาวกราบไหวบูชาพระแมโพสพเพราะในปจจุบันนี้คนไมตองพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์แลว เพราะหันมาพึ่งเทคโนโลยีเครื่องจักรกลและวิทยาการสมัยใหมทําใหวัฒนธรรมนี้เลือนหายไปจากชุมชน สงผลตอเนื่องไปถึงสภาพของสังคมที่เคยขอแรงชวยกันทําการเกษตรก็เลือนหายไปดวย ลุงทองอยู ดอกกระถิน บอกวาถากลับไปมีการเอาแรงเหมือนแตกอนไดก็ดีเพราะประหยัดตนทุนไดมาก แถมยังสนุกสนานระหวางที่ลงแขกชวยกัน ถึงแมวาประเพณีลงแขกเกี่ยวขาวไดเลือนหายไปจากชุมชนบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองแลว แตความสามัคคีของคนในชุมชนก็ยังคงหลงเหลืออยู แสดงออกมาใหเห็นเวลามีงานบุญ งานประเพณีตางๆ คนในชุมชนตางรวมแรงรวมใจกันเปนอยางดีชวยเหลือกันโดยการบอกกลาว ไมตองมีคาจาง ถือเปนรองรอยของการเอาแรงกันที่ยังคงอยู145


ตารางที่ 1 สรุปคุณคาขององคประกอบภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองคุณคาองคประกอบดานการตั้งถิ่นฐาน คุณคาองคประกอบดานสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรมคุณคาองคประกอบดานวิถีชีวิตประเพณี1. เปนตัวอยางที่โดดเดนของรูปแบบการตั้ง 1. รูปแบบสถาปตยกรรมของอาคารและ 1. ลักษณะวิถีชีวิตชุมชนเกษตรกรรมที่ถิ่นฐานชุมชนเกษตรกรรมริมน้ํา สิ่งกอสรางทองถิ่นโดยรวมมีความโดดเดน ยังคงสอดคลองกับระบบนิเวศวิทยา2. พื้นที่ชุมชนเปนตัวแทนของวัฒนธรรมที่หา และสอดคลองกับสภาพแวดลอมธรรมชาติ 2. มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หรือที่เคารพบูชาของไดยาก เสี่ยงตอการสูญหาย2. ภูมิสถาปตยกรรมแสดงออกถึงวิถีชีวิต ประชาชนในทองถิ่นไดแกตนกรางที่3. รูปแบบของพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความอุดม ความเชื่อที่มีมาตั้งแตอดีตศักดิ์สิทธิ์ รูปปนหลวงพออาจ ศาลเจาแมสมบูรณแตงออน4. เปนพื้นที่ปลูกขาวซึ่งเปนพืชพรรณอันเปน3. ความสําคัญประเพณีและกิจกรรมทางพื้นฐานทางวัฒนธรรมของประเทศวัฒนธรรมในทองถิ่นการละเลนเพลง4. ระบบลําน้ําธรรมชาติและระบบที่มนุษยพวงมาลัย การทําขวัญวัวสรางมีความเชื่อมโยงกัน4. มีการทอผาซึ่งเปนงานศิลปหัตกรรม5. มีการใชที่ดินแบบยั่งยืนคนรุนตอไปก็ของทองถิ่นเกิดจากการสั่งสมฝมืออันสามารถใชผืนดินทําการเกษตรไดยาวนาน6. มีภูมิประเทศที่สวยงาม5. ระบบเศรษฐกิจหลักอยูบนพื้นฐานของเกษตรกรรมคุณคาองคประกอบดานวัฒนธรรมที่สาบสูญ1. มีหลักฐานรองรอยของวัฒนธรรมโบราณปรากฏอยู ก็คือหนองบัว บึงออยาว และบึงออใหญ2. มีหลักฐานทางโบราณคดีบนยอดเขาไผลอมเปนซากเจดียอายุ 600-700 ป3. มีรองรอยเกี่ยวกับพิธีกรรมและประเพณีที่เลือนหายไปแลวคือการบูชาพระแมโพสพและการลงแขกเกี่ยวขาว4. พื้นที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกับเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรไดแกเสนทางยุทธศาสตร ไทย-พมาที่มา: วิเคราะหจากเกณฑการประเมินความโดดเดนมรดกทางวัฒนธรรมของคณะกรรมการมรดกโลก และ เกณฑการประเมินคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมที่วาดวยเรื่องความสอดคลองของคุณภาพธรรมชาติของภูมิทัศนวัฒนธรรมของ ขององคการยูเนสโก146


3. บทสรุปองคประกอบภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทอง ลวนเปนผลลัพธที่เกิดจากความสัมพันธระหวางคนและสภาพแวดลอม ทุกๆ องคประกอบลวนมีความเชื่อมโยงถึงกันกัน เปนความสัมพันธแบบวงจรลูกโซตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน ผานยุคหนึ่งไปสูอีกยุคหนึ่ง ดังเชน หนองบัวที่มีตนกําเนิดมาจากมนุษยตองการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมเพื่อการประกอบอาชีพตั้งแตยุคเมืองโบราณอูทองเมื่อเวลาผานไปผูที่เขามาตั้งถิ่นฐานในยุคหลังก็เลือกที่จะตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่มีหนองน้ําเพราะเอื้อตอการอุปโภค บริโภค และคนในยุคหลังนี้ก็ไดปรับเปลี่ยนพื้นที่ปาดงโดยรอบที่อยูอาศัย ใหกลายเปนพื้นที่เกษตรกรรมเนื่องจากวิถีชีวิตและความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศ วิถีชีวิตเกษตรกรรมในพื้นที่แหงนี้จึงไดกอใหเกิดรูปแบบการตั้งถิ่นฐาน สถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม และประเพณีวัฒนธรรม องคประกอบเหลานี้เปลี่ยนแปลงไปอยางเปนพลวัตร และถึงแมวาจะมีกระแสการพัฒนาเขามาสูชุมชนกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นตามยุคสมัย แตสิ่งที่ทําใหคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ําบานหนองบัว บานวังหลุมพอง และบานปทุมทองยังคงอยู ก็คือองคประกอบภูมิทัศนวัฒนธรรมเหลานั้นยังคงสะทอนใหเห็นความสัมพันธระหวางคนที่มีตอสภาพแวดลอมธรรมชาติ และองคประกอบแตละดานก็มีความเกี่ยวเนื่องสนับสนุนกันใหมีคุณคาชัดเจนยิ่งขึ้น เพราะหากเหลือเพียงกลุมบานทรงไทย แตวิถีชีวิตแบบเกษตรหายไป หรือสภาพแวดลอมรอบๆ เปนนิคมอุตสาหกรรม หรือตึกสูง กลุมบานทรงไทยเหลานั้นคงไมมีคุณคาทางดานภูมิทัศนวัฒนธรรม หากคงเหลือเพียงแตคุณคาทางดานสถาปตยกรรมเทานั้นถึงแมวาคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมเหลานี้จะยังคงอยู แตก็นับวาอยูในภาวะที่เสี่ยง เนื่องดวยกระแสการพัฒนาตางๆ ที่ถาโถม และคนรุนหลังในชุมชนมีแนวโนมที่จะไปทํางานตางถิ่นมากขึ้น แตหากคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชน ไดรับการตระหนักรูจากคนในชุมชน เจาหนาที่รัฐ หรือหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ และเล็งเห็นประโยชนจากการเก็บรักษา ก็สงผลใหภูมิทัศนวัฒนธรรมที่มีคุณคาเหลานี้ยังคงอยูและไดรับการดูแลรักษาตอไป แตถาไมมีผูใดใหความสําคัญในอนาคตคุณคาภูมิทัศนวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ําแหงนี้ก็อาจเลือนหายไปดังเชนชุมชนริมน้ําอื่นๆบรรณนุกรมวารุณี โอสถารมย. “เมืองสุพรรณบุรีบนเสนทางการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตรพุทธศตวรรษที่ 8-ตนพุทธศตวรรษที่ 25”กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2547.นวณัฐ โอศิริ, ภูมิทัศนวัฒนธรรมเบื้องตน, เอกสารคําสอน, ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม, 2551.มนัส โอภากุล, เลาเรื่องเมืองอูทอง และพระถ้ําเสือ.ศรีศักร วัลลิโภดม, ประวัติศาสตร โบราณคดี : เมืองอูทอง, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเมืองโบราณ, 2549.หนังสือนําชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ อูทอง และเรื่องราวสุวรรณภูมิ, หอจดหมายเหตุแหงชาติสุพรรณบุรีKen Taylor, การอนุรักษและพัฒนามรดกวัฒนธรรมทองถิ่นอยางยั่งยืนในแนวบูรณาการขามศาสตร,อิโคโมสไทย, 2550.Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention, UNESCO,2008.147


การใชพื้นที่ในสวนลุมพินี กรุงเทพมหานครSPACE UTILIZATION IN LUMPHINI PARK, BANGKOK METROPOLITANนายพงศธร เนตรวิเชียรหลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนและเมืองคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทความนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับการใชพื้นที่ภายในสวนสาธารณะ วามีรูปแบบในการใชพื้นที่อยางไรโดยไดทําการเลือกพื้นที่สวนลุมพินีเปนกรณีศึกษา เนื่องจากสวนลุมพินีเปนสวนสาธารณะที่มีขนาดใหญ และตั้งอยูใจกลางเมืองของกรุงเทพมหานคร จึงเปนพื้นที่ที่สามารถศึกษาไดหลายดานในการใชพื้นที่ โดยมีกิจกรรมนันทนาการและการพักผอนหยอนใจที่หลายหลาก เชน การวิ่งออกกําลังกาย การรําไทเกก การเตนแอโรบิก การเลนกีฬาเชนตางๆ ปกนิก นั่งพักผอน เดินเลน เปนตน ซึ่งกิจกรรมเหลานี้ทําใหเกิดปรากฎการณการใชพื้นที่ภายในบริเวณตางๆ ของสวนลุมพินีเพื่อรองรับการทํากิจกรรมตางๆ ซึ่งประกอบดวย ลักษณะพื้นที่ทางกายภาพ กิจกรรมที่เกิดขึ้น กลุมผูใช ชวงเวลากับวันที่เขามาใช และระยะเวลาในการใช ซึ่งเปนปจจัยที่สงผลตอการรูปแบบการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินีวามีรูปแบบอยางไร โดยใชเครื่องมือที่ใชในการศึกษาประกอบดวยการสังเกตการณและแบบสอบถาม โดยกลุมตัวอยางเปนบุคคลที่เขามาใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี เพื่อใหไดผลศึกษาของรูปแบบการใชพื้นที่จากการศึกษาสามารถสรุปรูปแบบการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี มีความหนาแนนมากที่สุดของกิจกรรมตางๆ อยูในชวงเวลา 4.30-08.30 น. กับชวงเวลา 16.30-18.30 น. กลาวสรุปไดวา ภาพรวมของรูปแบบการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี มีการใชพื้นที่ที่จะมีการกระจายอยูทั่วบริเวณภายในพื้นที่สวนลุมพินี โดยมีผูใชเขามาใชจากทุกเพศทุกวัย และมีระยะเวลาในการใชสอยพื้นที่ที่มีความแตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นซึ่งมีกิจกรรมที่หลากหลาย และมีการเคลื่อนไหวของคนที่เขามาใชพื้นที่อยูตลอดเวลา และมีเงื่อนไขที่สําคัญในเรื่องของชวงเวลากับวันที่เขามาใช คือการเขามาใชพื้นที ่ในวันธรรมดา และวันหยุดสุดสัปดาห ซึ่งมีความแตกตางกัน โดยความแตกตางของชวงเวลาเหลานี้ จะทําใหเกิดรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย และรวมไปถึงกลุมคนที่เขามาใชพื้นที่ ที่มีสับเปลี่ยนของกลุมคนอยูตลอดเวลา ทั้งหมดนี้จึงเปนสิ่งที่สะทอนถึงรูปแบบการใชพื้นที่ ของสวนสาธารณะขนาดใหญที่ตั้งอยูใจกลางเมืองของกรุงเทพเทพมหานคร148


1.บทนําสวนลุมพินี ซึ่งตั้งอยูที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน เปนสวนสาธารณะที่มีประวัติศาสตรที่ยาวนาน และนับไดวาเปนสวนสาธารณะแหงแรกของประเทศไทย โดยมีพื้นที่รวม 360 ไร จัดเปนสวนสาธารณะระดับเมือง (CityPark) 1 จึงเปนสวนสาธารณะที่มีขนาดใหญ และตั้งอยูใจกลางเมืองของกรุงเทพมหานคร โดยเปนพื้นที่หลักในการใหบริการกิจกรรมนันทนาการและการพักผอนหยอนใจแกประชาชน ที่เขามาใชในการทํากิจกรรมตางๆภายในสวนลุมพินี เชน การวิ่งออกกําลังกาย การรําไทเกก การเตนแอโรบิค การเลนกีฬาประเภทตางๆ ปกนิก นั่งพักผอน เดินเลน เปนตน นอกจากกิจกรรมเหลานี้ซึ่งเปนกิจกรรมหลักแลว สวนลุมพินียังเปนศูนยกลางการปฏิสัมพันธทางสังคม ซึ่งมีกิจกรรมการคาขาย การจัดการแสดงหรือนิทรรศการตางๆ เปนตน ซึ่งกิจกรรมทั้งหมดที่ไดกลาวมาในขางตนทําใหเกิดปรากฏการณในการใชพื้นที่ภายในบริเวณจุดตางๆ ของสวนลุมพินี ซึ่งอยูภายใตของลักษณะทางกายภาพ ประกอบดวยลักษณะของพื้นที่ กิจกรรมที่เกิดขึ้น กลุมผูมาใช ชวงเวลากับวันที่เขามาใชและระยะเวลาในการใช ซึ่งเปนปจจัยที่สงผลตอรูปแบบการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินีวามีรูปแบบอยางไร ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้ตองการแสดงถึงผลของปรากฏการณของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของสวนลุมพินีวามีรูปแบบการใชอยางไร ซึ่งเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่สวนลุมพินี หรือสวนสาธารณะอื่นๆ ใหมีศักยภาพในการใชประโยชนมากยิ่งขึ้น2.วิธีการเก็บขอมูล การสังเกตการณและการแจกแบบสอบถาม2.1) การสังเกตการณ เพื่อบันทึกกิจกรรมการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี เปนการสังเกตสภาพและทําการบันทึกกิจกรรม (Observation) กับพฤติกรรมของผูมาใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินีในเวลาตางๆ ตลอดทั้งวันของการเปดใหบริการ ทั้งในวันธรรมดาและวันหยุดสุดสัปดาห โดยมีการแบงชวงเวลาในการบันทึกตําแหนงผูมาใชพื้นที่ในการทํากิจกรรมตางๆ ออกเปน 6 ชวงเวลา โดยมีชวงเวลาดังนี้ชวงที่ 1 4.30 – 6.30 น. (ชวงเชามืด) ชวงที่ 2 6.30 – 8.30 น. (ชวงเชา)ชวงที่ 3 08.30 – 12.00 น. (ชวงสาย) ชวงที่ 4 12.00 – 16.30 น. (ชวงบาย)ชวงที่ 5 16.30 – 18.30 น. (ชวงเย็น) ชวงที่ 6 18.30 – 21.00 น. (ชวงค่ํา)ซึ่งจะใชรูปแบบวิธีการเก็บขอมูลดวยการเขาสังเกตการณการใชพื้นที่สาธารณะในรูปแบบตาง ๆ ของคนเดินเทา ในการวิจัยครั้งนี้นี้การสังเกตการณตามชวงเวลาตางๆ ของวัน ดวย 3 วิธี1) บันทึกอัตราการสัญจรผาน (Gate Method) เปนการนับปริมาณคนเดินเทาที่สัญจรในแตละดาน (Gate) ที่เขามาใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี โดยเปนการนับปริมาณผูที่สัญจรผานในแตละดาน การบันทึกปริมาณการสัญจรในพื้นที่ครั้งนี้ โดยการกําหนดตําแหนงของดานตามความเหมาะสมของเสนทางสัญจรโดยใชประตูทางเขา-ออก (ภาพที่ 4) ของสวนลุมพินีจํานวน 8 ดาน เพื่อใหสามารถบันทึกปรากฏการณการใชพื้นที่อยางชัดเจน โดยใชชวงเวลาในการเก็บขอมูลดานละ 5 นาที ในชวงเวลาเดียวกัน1 การจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ดานการพัฒนาสวนสาธารณะ, 2541149


2) บันทึกรูปแบบการสัญจรผาน (Movement Trace) การบันทึกรูปแบบการสัญจรผาน เปนการบันทึกเสนทางสัญจรของคนเดินเทาเขามาในพื้นที่สวนลุมพินี โดยไดกําหนดจุดเริ่มตนที่จะทําการบันทึก ในการบันทึกอัตราเสนทางสัญจรของคนเดิมเทาทั้งหมด 8 จุดดวยกัน คือ บริเวณประตูทางเขา – ออก (ภาพที่ 4) ของพื้นที่สวนลุมพินี และในการเก็บขอมูลไดจําแนกกลุมคน เพื่อทําการบันทึกการเก็บขอมูลออกเปน 4 กลุม โดยสังเกตจากการชวงอายุกับการแตงกาย ไดแก 1) วัยเด็ก/นักเรียน 2) นักศึกษา 3) วัยทํางาน 4) วัยชรา โดยการสุมสะกดรอยคนเดินเทาจากจุดเริ่มตน และมีขอกําหนดดังนี้- เวลาในการสะกดเริ่มตนเมื่อผูถูกติดตามเขามาในพื้นที่ ณ จุดประตูเขา ออกตางๆ- เลิกติดตามเมื่อผูถูกติดตามออกนอกพื้นที่- เลิกติดตามเมื่อผูถูกติดตามหยุดทํากิจกรรมเกินกวา 3 นาที โดยถือวาผูถูกติดตามถึงจุดหมายปลายทางในการสัญจรแลว3) บันทึกรูปแบบกิจกรรมการจับจองพื้นที่ (Static Snapshots) เปนการบันทึกรูปแบบกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่สาธารณะอยางเปนระบบ โดยจะทําการบันทึกตําแหนงของคนที่ทํากิจกรรมตางๆ ลงในแผนที่โดยแยกสัญลักษณตามประเภทคน และกิจกรรมการศึกษาเพื่อบันทึกรูปแบบกิจกรรมการจับจองที ่เกิดขึ้นภายในพื้นที่โดยรอบของสวนลุมพินี โดยมีการเจาะจงลักษณะรูปแบบกิจกรรมในการจับจองที่เกิดในพื้นที่ โดยจะแบงพื้นที่ออกเปนสวนยอยๆ ที่สามารถทําการบันทึกกิจกรรมที่เกิดขึ้น ณ ชวงเวลานั้นๆ ทีละสวน โดยที่บริเวณยอยเหลานั้นอยูในขอบเขตที่จะสามารถมองเห็นไดชัดเจนมองเห็นไดพรอมกันในชั่วขณะ โดยออกเปน 3ประเภท ดังนี้1) กิจกรรมเพื่อการพักผอน-กิจกรรมนั่งชมผูอื่นทํากิจกรรม -กิจกรรมนั่งเลน,นั่งพักผอน,ชมวิว-กิจกรรมทานอาหาร,ปกนิก,จิบน้ําชา -กิจกรรมอานหนังสือ/นอนเลน-กิจกรรมเดินเลน,คุยเลน เพื่อน/ครอบครัว/คนรัก -กิจกรรมแบบสังสรรค เชน วาดรูป ถายรูป เลนดนตรีภาพที่ 1 กิจกรรมเพื่อการพักผอน(ที่มา : ผูวิจัย มิถุนายน 2551)150


2) กิจกรรมออกกําลังแบบออกแรงมาก-กิจกรรมวิ่ง-เดิน ออกกําลังกาย -กิจกรรมเตนแอโรบิก-กิจกรรมเพาะกาย,ฟตเนส,ยกน้ําหนัก -กิจกรรมกีฬาแบบออกแรงมาก เชน บาสเก็ตบอลภาพที่ 2 กิจกรรมออกกําลังกายแบบออกแรงมาก(ที่มา : ผูวิจัย มิถุนายน 2551)3)กิจกรรมออกกําลังแบบออกแรงนอย-กิจกรรมปนจักรยานในชวงที่อนุญาต -กิจกรรมปนจักรยานน้ํา/พายเรือ-กิจกรรมกีฬาแบบออกกําลังนอย เชน รําไทเกก/มวยจีน,โยคะ,กายบริหาร-กิจรรมการฝกซอม เชน ลีลาศ,เตน,ศิลปะปองกันตัวภาพที่ 3 กิจกรรมออกกําลังกายแบบออกแรงนอย(ที่มา : ผูวิจัย มิถุนายน 2551)2.2) การแจกแบบสอบถามเปนการแจกแบบสอบถามตามกลุมเปาหมายที่เขามาใชพื้นที่สวนลุมพินี โดยมีการแจกแบบสอบถามจะแบงออกเปน ชวงในวันธรรมดาและวันหยุดสุดสัปดาห และทําการแจกแบบสอบถามแบบสุมแกผูใชพื้นที่ที่ทํากิจกรรมตางๆ ในสวนลุมพินี ทราบถึงพฤติกรรมในการใช3.การจําแนกพื้นที่ของสวนลุมพินีที่ใชในการศึกษาในการเก็บขอมูลผูวิจัยจึงไดจําแนกในการแบงสวนพื้นที่เพื่อการศึกษาภายในสวนลุมพินี ทั้งนี้โดยการสํารวจเบื้องตน และจากการศึกษาแผนผังสวน จําแนกพื้นที่ที่สามารถระบุตําแหนง ขอบเขต รวมถึงความสอดคลองตอการศึกษาวิจัยเพื่อใหสามารถระบุพื้นที่ไดชัดเจนในพื้นที่สวนลุมพินี โดยมีการแบงพื้นที่ประกอบดวย 3 ประการคือ151


3.1) ประตูทางเขา-ออก โดยไดอางอิงจากการแบงประตูทางเขา-ออก ของสวนลุมพินี ซึ่งไดมีการกําหนดหมายเลขและชื่อประตู ดังนี้-ประตู 1 วิทยุ ติดกับถนนวิทยุ บริเวณแยกสารสิน-ประตู 2 หอนาฬิกา ติดกับถนนวิทยุ บริเวณแยกวิทยุ-ประตู 3 พระราม 4 ติดกับถนนพระรามที่ 4-ประตู 4 พระรูป อยูหลังพระบรมรูปฯ รัชกาลที่ 6-ประตู 5 ราชดําริ ติดกับถนนราชดําริ ตรงขามกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ-ประตู 6 สารสิน ตั้งติดกับถนนสารสิน-ประตู 7 จอดรถ ตั้งติดกับถนนสารสิน-ประตู 8 เพาะชํา ตั้งติดกับถนนสารสินภาพที่ 4 ประตูทางเขา-ออกโดยรอบสวนลุมพินี3.2) เกณฑการแบงการจัดการสวนสาธารณะ (วัชรี นอยพิทักษ อางถึงในสุรเชษฏ เชษฏมาส : 2536 ,หนา 26)1) เขตบริการ (Service Zone) เปนเขตที่จัดไวเพื่อรองรับการพัฒนาสิ่งกอสรางและสิ่งอํานวยความสะดวกประเภทตางๆ ไดแก อาคารในสวนของการบริการ ศูนยประชาสัมพันธผูใชบริการ หองน้ํารานอาหาร รายขายของที่ระลึก ที่จอดรถ เปนตน2) เขตนันทนาการแบบสงบเงียบ (Passive Recreation Zone) เปนเขตการพักผอนหยอนใจที่ไมใชการออกแรงหรือการออกกําลังกาย แตเปนบริเวณของการพักผอนหยอนใจ ซึ่งใกลชิดธรรมชาติ ใหความสงบรมรื่น ผอนคลายความตึงเครียดและความเหน็ดเหนื่อย เชน การปกนิก การนั่งเลน และการใหบริการจะตองสอดคลองกับกิจกรรมหรือความตองการแกผูเขามาใชบริการ บริเวณนี้จะตองมีความสวยงาม มีการปลูกดอกไมแปลงดอกไม สนามหญา สระน้ํา มานั่ง มีการจําลองภูมิทัศนทางธรรมชาติที่สวยงาม3) เขตนันทนาการแบบใชพละกําลัง (Active Recreation Zone) เปนเขตการพักผอนหยอนใจที่ตองการออกแรง ออกกําลัง กิจกรรมประเภทนี้ ไดแก การเดิน การวิ่ง การขี่จักรยาน การเลนฟุตบอล การพายเรือ การวายน้ํา เปนตน จึงตองมีการจัดบริเวณเพื่อเปนเขตในการจัดใหบริการไดอยางเหมาะสม เชน สนามกีฬาโรงยิมเนเซียม สระวายน้ํา ทางเดินเทา เปนตน3.3) ลักษณะภูมิทัศน (ศิริชัย หงษวิทยากร: ม.ป.พ. ,หนา 26-27) หมายถึงพื้นที่ที่มีลักษณะเดนชัดแสดงถึงความกลมกลืน หรือเอกภาพขององคประกอบในพื้นที่ เชน ลักษณะของสวนพื้นที่เปนพื้นน้ํา ที่ราบสนามหญา รูปแบบของพืชพรรณ ทางเดิน เรียกพื้นที่เหลานี้วาลักษณะภูมิลักษณ (Landscape character)บริเวณใดที่มีลักษณะภูมิทัศนที่มีเอกภาพมาก ก็จะเปนที่อภิรมยแกผูพบเห็น ดังนั้นคําจํากัดความของความงามก็คือ ความสัมพันธที่กลมกลืนของสวนประกอบตางๆ อยางเห็นไดชัดเจน จากการแจกแบบสอบถามผูที่มาใชสวน152


ลุมพินี เกี่ยวกับลักษณะภูมิทัศนภายในพื้นที่สวนลุมพินีที่นิยมเขาไปใชมากที่สุด พบวาสามารถแบงลักษณะภูมิทัศนตางๆ ไดดังนี้ 1) พื้นที่ที่มีรมเงา 2) ความเงียบสงบ/พื้นที่สวนตัว 3) พื้นที่ราบ/สนามหญา 4) พื้นที่ริมสระน้ํา3.4) การแบงพื้นที่สวนลุมพินีการแบงพื้นที่สวนลุมพินี โดยใชเกณฑการแบงพื้นที่ที่ไดกลาวมาในขางตน คือ เกณฑการแบงการจัดการสวนสาธารณะและลักษณะภูมิทัศนจึงทําใหสวนลุมพินีสามารถแบงพื้นที่ออกเปน 5 บริเวณ ดังนี้(แผนที่ 1)1) บริเวณที่ 1 เขตบริการและเขตนันทนาการแบบใชพละกําลัง อยูบริเวณดานทิศใตของสวนลุมพินี โดยบริเวณที่ 1 สามารถแบงยอยออกเปนบริเวณตางๆ เชน ลานหลังพระบรมรูปรัชกาลที่ 6, ศูนยเยาวชนลุมพินี, ศูนยอาหารสวนลุมพินี, สวนสุขภาพ, สนามเทสนิส, สระวายน้ํา ลักษณะที่โดดเดนของพื้นที่ คือ อาคารบริการตางๆ และพื้นที่รมเงาบริเวณสวนสุขภาพ2) บริเวณที่ 2 เขตนันทนาการแบบสงบเงียบและแบบใชพละกําลัง อยูบริเวณตรงกลางพื้นที่ของสวนลุมพินี สามารถแบงยอยออกเปนบริเวณตางๆ เชน บริเวณโดยรอบอาคารลุมพินีสถาน, หองสมุดประชาชนสวนลุมพินี, ศาลาการไฟฟาสามเสน, ลานทางเขาหลัก ลักษณะที่โดดเดนของพื้นที่ คือ มีพื้นที่ราบ/สนามหญา มากกวาบริเวณอื่นๆ ซึ่งอยูโดยรอบอาคารลุมพินีสถาน3) บริเวณที่ 3 เขตนันทนาการแบบกึ่งสงบเงียบ อยูบริเวณดานทิศตะวันตกของสวนลุมพินีสามารถแบงยอยออกเปนบริเวณตางๆ เชน บริเวณเกาะลอย, อาคารเรือนกระจก, พื้นที่ฝงดานโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ลักษณะที่โดดเดนของพื้นที่ คือ ความเงียบสงบ/พื้นที่สวนตัว โดยเฉพาะบริเวณเกาะลอย ไมมีการรบกวนจากผูคนที่สัญจรผานเนื่องจากเปนลักษณะเปนเกาะตองเดินขามเขาไป และมีพื้นที่รมเงากับพื้นที่ริมสระน้ํา4) บริเวณที่ 4 เขตนันทนาการแบบใชพละกําลัง อยูบริเวณดานทิศเหนือของสวนลุมพินีสามารถแบงยอยออกเปนบริเวณตางๆ เชน สวนปาลม, ศาลาแปดเหลี่ยม, ลานตะวันยิ้ม, สนามตระกรอ, สนามบาสเกตบอล ลักษณะที่โดดเดนของพื้นที่ คือ เปนที่มีกิจกรรมการออกกําลังกายตางๆ มากที่สุด และมีพื้นที่รมเงากับพื้นที่ริมสระน้ํา5) บริเวณที่ 5 เขตนันทนาการแบบสงบเงียบ อยูบริเวณดานทิศตะวันตกของสวนลุมพินีสามารถแบงยอยออกเปนบริเวณตางๆ เชน หอนาฬิกา,อาคารบันเทิง, ฝงตรงกันขามกับสํานักงานสวนลุมพินีลักษณะโดดเดนของพื้นที่ คือ พื้นที่รมเงารอบบริเวณพื้นที่ริมสระน้ํา และพื้นที่รมเงาจากตนไมขนาดใหญ บริเวณฝงตรงกันขามกับสํานักงานสวนลุมพินี153


แผนที่ 1 การแบงพื้นที่สวนลุมพินี(ที่มา: ดัดแปลงจาก google earth โดยผูวิจัย)4.รูปแบบการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี4.1) รูปแบบอัตราการสัญจรผานผูที่เขามาใชบริการภายในพื้นที่สวนลุมพินีจากการบันทึกอัตราการสัญจรผานของคนเดินเทาเขามาพื้นที่ในพื้นที่สวนลุมพินี แสดงใหเห็นวาปริมาณการสัญจรของคนเดินเทาในดานประตูตางๆ จะมีความแตกตางกันระหวางชวงวันธรรมดา และวันหยุดสุดสัปดาห ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยหลายดาน โดยสามารถอธิบายเหตุผลของการนิยมในการใชประตูทางเขา-ออกมากที่สุด โดยจากการเปรียบขอมูลระหวางการสังเกตการณและการแจกแบบสอบถามพบวาอัตราการสัญจรผานในการเขามาใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินีมากที่สุดมี 2 ประตูดวยกัน ดังนี้ (แผนที่ 2)1) ประตู 3 ถนนพระรามที่ 4 เนื่องจากเปนประตูทางเขา-ออก ที่ติดกับถนนพระรามที่ 4 ซึ่งถนนสายหลัก และใกลปายจอดรถประจําทาง จึงเปนที่มีความสะดวกในการเขาถึงพื้นที่สวนลุมพินีโดยใชรถโดยสารประจําทางมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับจากการแจกแบบสอบถามผูที่ใชสวนลุมพินีพบวา นิยมใชรถโดยสารประจําทางในเดินทางมาใชสวนลุมพินีมากที่สุด พรอมกับปจจัยตางๆ เชน ฝงตรงขามประตูเปนอาคารพาณิชยขนาดใหญ ทําใหเปนพื้นที่มีการสัญจรผานไปมาของผูคนอยูตลอดเวลา จากสถิติการเก็บขอมูลจากการสังเกตการณพบวาประตู 3 ถนนพระรามที่ 4 จะถูกใชมากที่ในชวงเวลา 4.30-6.30 มีอัตราการสัญจรผาน จํานวน360 คน ในวันธรรมดากับจํานวน 696 คน ในวันหยุดสุดสัปดาห และชวงเวลา 16.30-18.30 มีอัตราการสัญจรผานจํานวน 121 คน ในวันธรรมดา กับจํานวน 360 คน ในวันหยุดสุดสัปดาห (ตารางที่ 1,2)154


2) ประตู 4 พระบรมรูป ร.6 เนื่องจากเปนประตูเขา-ออก ที่อยูบริเวณสี่แยกศาลาแดง จึงเปนจุดตัดสําคัญ พรอมกับปจจัยตางๆ เชน ฝงตรงขามเปนพื้นที่ยานพาณิชยกรรมยานถนนสีลมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ และติดกับประตูทางออกของรถไฟฟาใตดิน MRTสถานีสีลม และใกลกับสถานีรถไฟลอยฟา BTSสถานีศาลาแดง และนอกจากนี้ จากการแจกแบบสอบถามผูที่ใชสวนลุมพินีพบวาใชประตู 4 พระบรมรูป ร.6 ในการเดินทางเขามายังภายในสวนลุมพินีมากที่สุด ซึ่งสอดคลองจากสถิติการเก็บขอมูลจากการสังเกตการณพบวาประตู 4 พระบรมรูป ร.6 จะถูกใชมากที่ในชวงเวลา 4.30-6.30 มีอัตราการสัญจรผาน จํานวน 348 คน ในวันธรรมดากับจํานวน 432 คน ในวันหยุดสุดสัปดาห และชวงเวลา 16.30-18.30 มีอัตราการสัญจรผานจํานวน 420คน ในวันธรรมดา กับจํานวน 660 คน ในวันหยุดสุดสัปดาห (ตารางที่ 1,2) จึงทําใหประตู 3 ถนนพระรามที่ 4และประตู 4 พระบรมรูป ร.6 ที่ปริมาณในการใชเพื่อเขาถึงพื้นที่ภายในสวนลุมพินีมากที่สุดแผนที่ 2 อัตราการสัญจรผานประตูทางเขา-ออก วันธรรมดาและวันหยุดสุดสัปดาห(ที่มา: ผูวิจัย กรกฎาคม 2551)155


ตารางที่ 1 การบันทึกขอมูลอัตราการสัญจรผานวันธรรมดาอัตราการสัญจรผาน (คน)ดาน กลุมคนชวงที่ 1 ชวงที่ 2 ชวงที่ 3 ชวงที่ 4 ชวงที่ 5 ชวงที่ 6ประตู1 รวม 120 300 72 72 324 60ประตู2 รวม 108 240 24 120 276 60ประตู3 รวม 360 264 72 108 121 60ประตู4 รวม 348 192 108 168 420 121ประตู5 รวม 276 324 84 121 192 168ประตู6 รวม 60 108 36 60 72 24ประตู7 รวม 24 96 0 0 72 24ประตู8 รวม 12 24 24 36 36 12ขอมูลในวันที่ 14-27 กรกฎาคม 2551 ผูวิจัยตารางที่ 2 การบันทึกขอมูลอัตราการสัญจรผานวันหยุดสุดสัปดาหดานอัตราการสัญจรผาน (คน)กลุมคน ชวงที่ 1 ชวงที่ 2 ชวงที่ 3 ชวงที่ 4 ชวงที่ 5 ชวงที่ 6ประตู1 รวม 348 121 96 96 144 121ประตู2 รวม 444 336 108 180 180 60ประตู3 รวม 696 384 144 240 360 72ประตู4 รวม 432 360 312 348 660 204ประตู5 รวม 312 528 168 120 216 108ประตู6 รวม 72 144 108 60 48 36ประตู7 รวม 36 84 0 0 24 12ประตู8 รวม 12 60 60 60 144 12ขอมูลในวันที่ 14-27 กรกฎาคม 2551 ผูวิจัย4.2) รูปแบบการสัญจรผานผูที่เขามาใชบริการภายในพื้นที่สวนลุมพินีจากการบันทึกรูปแบบการสัญจรผาน โดยเริ่มตนจากบริเวณประตูทางเขา-ออก สวนลุมพินีทั้ง8 ประตู พบรูปแบบการสัญจรผานไดดังนี้ (แผนที่ 3)1) รูปแบบการสัญจรระยะยาวและระยะสั้นในพื้นที่ เปนลักษณะรูปแบบของผูที่เขามาใชบริการภายในพื้นที่สวนลุมพินี โดยสัญจรเขามาจากประตูทางเขา-ออก โดยมีจุดหมายปลายทางเพื่อตองการเขาไปถึงพื้นที่ทํากิจกรรมที่ตนตองทําเปนประจํา กระจายทั่วบริเวณพื้นที่กับการเดิน-วิ่งออกกําลังกาย ภายในสวน156


ลุมพินี กับการโดยสัญจรเขามาจากประตูทางเขา-ออก โดยมีจุดปลายทางที่ใกลกับบริเวณพื้นที่ประตูทางเขา-ออกโดยรอบของประตูทางเขา-ออก2) รูปแบบการสัญจรผาน-ออกนอกพื้นที่ เปนลักษณะรูปแบบของผูที่เขามาในพื้นที่จากประตูทางเขา-ออก แลวสัญจรผานภายในพื้นที่ออกไปจากนอกพื้นที่อีกดานหนึ่งของประตูทางเขา-ออก โดยอาศัยเปนทางผาน3) รูปแบบจุดหมายปลายทางที่มีการทับซอนของพื้นที่ เปนลักษณะผูที่เขามาใชบริการภายในพื้นที่สัญจรมายังบริเวณเดียวกัน เชน ในชวงเวลาที่ 4.30-8.30 ไดแก ลานทางเขาบริเวณทางหลังพระบรมรูป ร.6ศูนยอาหารสวนลุมพินี บริเวณโดยรอบของอาคารลุมพินีสถาน เกาะลอย ในชวงเวลาที่ 8.30-16.30 ไดแกหองสมุดประชาชนสวนลุมพินี พื้นที่โดยรอบสระน้ําภายในพื้นที่ ในชวงเวลาที่ 16.30-18.30 ไดแก อาคารลุมพินีสถาน ลานตะวันยิ้ม พื้นที่ทางเขาหลัก หองสมุดประชาชนสวนลุมพินี บริเวณโดยรอบของสวนปาลมแผนที่ 3 รูปแบบการสัญจรผานวันธรรมดา/วันหยุดสุดสัปดาห เวลา6.30-8.30/16.30-18.30(ที่มา: ผูวิจัย กรกฎาคม 2551)157


4.3) การบันทึกรูปแบบกิจกรรมการจับจองพื้นที่ ผูที่เขามาใชบริการภายในพื้นที่สวนลุมพินีจากการบันทึกรูปแบบกิจกรรมการจับจองพื้นที่ ซึ่งมีรูปแบบการจับจองของการใชพื้นที่ เรียงตามลําดับบริเวณตางๆ มากที่สุดไดดังนี้(แผนที่ 4)1) บริเวณที่ 1 บริเวณพื้นที่ที่ถูกใชคือ บริเวณลานหลังพระบรมรูปรัชกาลที่ 6 บริเวณศูนยอาหารสวนลุมพินี และบริเวณเครื่องออกกําลังกาย บริเวณลานหลังพระบรมรูปรัชกาลที่ 6 กลุมผูใชเปนกลุมวัยทํางานและกลุมวัยชรา โดยใชเปนกิจกรรมการเตนแอโรบิก ถูกใชในชวงเวลา 4.30-6.30 และชวงเวลา 16.30-18.30 บริเวณศูนยอาหารสวนลุมพินี กลุมผูใชเปนกลุมวัยทํางานและกลุมวัยชรา โดยใชเปนสถานที่จับจายซื้ออาหารมารับประทาน ซึ่งเปดบริการตั้งแต 4.30-10.00 บริเวณที่ตั้งเครื่องออกกําลังกาย กลุมผูใชเปนกลุมวัยทํางาน โดยใชเปนกิจกรรมฟตเนส ถูกใชมากที่สุดในชวงเวลา 6.30-8.30 และ 16.30-18.30 เนื่องจากเปนพื้นที่มีอาคารบริการตางๆ และมีพื้นที่รมเงา พื้นที่จึงเหมาะสมกับการเขาไปใชทํากิจกรรมตางๆ ในพื้นที่ดังกลาว2) บริเวณที่ 4 บริเวณพื้นที่ที่ถูกใชคือ บริเวณลานเอนกประสงค และบริเวณลานตะวันยิ้มบริเวณลานเอนกประสงค กลุมผูใชเปนกลุมวัยชรา โดยใชทํากิจกรรมในการรําไทเกก ถูกใชในชวงเวลา 6.30-8.30 บริเวณลานตะวันยิ้ม กลุมผูใชเปนกลุมวัยเด็ก โดยใชเลนเครื ่องเลนสําหรับเด็ก ถูกใชในชวงเวลา 12.00-18.30 ของวันหยุดสุดสัปดาห เนื่องจากเปนที่พื้นที่ที่มี ลานอเนกประสงค สนามกีฬาชนิดตางๆ และลานตะวันยิ้มพื้นที่จึงเปนจุดรวมกิจกรรมตางๆ ในการออกกําลังออกแรงมากและออกกําลังออกแรงนอย3) บริเวณที่ 2 บริเวณพื้นที่ที่ถูกใชงานคือ บริเวณสนามหญาโดยรอบอาคารลุมพินีสถาน และบริเวณทางเขาหลัก บริเวณสนามหญาโดยรอบอาคารลุมพินีสถาน กลุมผูใชเปนกลุมวัยชรา โดยใชทํากิจกรรมในการรําไทเกกและนั่งจิบน้ําชา ถูกใชในชวงเวลา 4.30-8.30 บริเวณทางเขาหลัก โดยใชเปนกิจกรรมนันทนาการตางๆ ถูกใชในชวงเวลา 16.30-18.30 เนื่องจากเปนพื้นที่บริเวณสนามหญามากกวาบริเวณอื่นๆ พื้นที่จึงเหมาะสมกับการทํากิจกรรมตางๆ ในพื้นที่ที่เปนสนามหญา4) บริเวณที่ 3 บริเวณพื้นที่ที่ถูกใชงานคือ บริเวณเกาะลอย กลุมผูใชเปนกลุมวัยทํางานและกลุมวัยชรา โดยใชทํากิจกรรมนั่งจิบน้ําชาและนั่ง/นอนพักผอน ถูกใชในชวงเวลา 6.30-8.30 และ 12.00-16.30เนื่องจากบริเวณเกาะลอยเปนพื้นที่ที่ลักษณะเปนเกาะที่มีความเงียบสงบและถูกลอมรอบดวยสระน้ํา พื้นที่จึงเหมาะสมกับการพักผอนแบบเงียบสงบ5) บริเวณที่ 5 บริเวณพื้นที่ที่ถูกใชคือ บริเวณโดยรอบหอนาฬิกา และบริเวณพื้นที่โดยรอบริมสระน้ํา บริเวณโดยรอบหอนาฬิกา กลุมผูใชเปนกลุมวัยชรา โดยใชทํากิจกรรมในการรําไทเกก ถูกใชในชวงเวลา6.30-8.30 บริเวณพื้นที่โดยรอบริมสระน้ํา กลุมผูใชเปนกลุมวัยทํางาน โดยใชทํากิจกรรมนั่ง/นอนพักผอน ถูกใชในชวงเวลา 12.00-18.30 เนื่องจากเปนพื้นที่ที่รมเงาจากตนไมขนาดใหญจํานวนมาก และมีสระน้ําอยูกลางพื้นที่พื้นที่จึงเหมาะกับการพักผอนแบบเงียบสงบ158


แผนที่ 4 การจับจองพื้นที่วันธรรมดา/วันหยุดสุดสัปดาห เวลา6.30-8.30/16.30-18.30(ที่มา: ผูวิจัย กรกฎาคม 2551)ทั้งหมดนี้พบวาวันหยุดสุดสัปดาหจะมีความหนาแนนมากกวาวันธรรมดาและ นอกจากนี้จากการบันทึกรูปแบบกิจกรรมการจับจองพื้นที่ ผูที่เขามาใชบริการภายในพื้นที่สวนลุมพินีจะมีจํานวนผูเขามาใชพื้นที่ประมาณ6,036 คน/วัน ในวันธรรมดา และ 8,772 คน/วัน ในวันหยุดสุดสัปดาห4.4) รูปแบบกิจกรรมการจับจองพื้นที่ ภายในสวนลุมพินี1) การจับจองพื้นที่ที่มีการถูกใชงานตลอดเวลา พื้นที่ภายในสวนลุมพินีที่มีการใชพื้นที่ในการกิจกรรมการจับจองพื้นที่อยูตลอดเวลา ไดแก บริเวณเสนทางสัญจรหลัก เชน เสนทางวิ่ง-เดินออกกําลังกายหลักที่ใชในการสัญจรใชในกิจกรรมออกกําลังแบบแรงมากโดยการวิ่ง-เดินออกกําลังกาย บริเวณจุดมานั่งพักผอน ทั่วบริเวณพื้นที่ภายในสวนลุมพินี ซึ่งมีลักษณะการจับจองของวัยชราในชวงเวลา 4.30-8.30 และการจับจองของคนทํางาน, นักเรียน/นักศึกษา ชวงเวลา 12.00-18.30 โดยมีการกิจกรรมเพื่อการพักผอน เชน พูดคุยนั่งเลน พรอมกับการจิบน้ําชาของวัยชรา บริเวณเครื่องกําลังกายเปนกิจกรรมฟตเนส ของวัยทํางาน โดยสวนมากอยูในบริเวณที่159


1,2 เนื่องจากบริเวณดังกลาวเปนบริเวณที่ติดกับประตูทางเขา-ออก (ประตู3 ถนนพระรามที่4 / ประตู4 พระบรมรูป ร.6) จึงทําใหผูที่เขามาใชพื้นที่สะดวกในการจับจองพื้นที่ (รูปแบบการสัญจรระยะยาวและระยะสั้นในพื้นที่)2) การจับจองพื้นที่ที่มีการถูกใชงานเปนชวงเวลา พื้นที่ภายในสวนลุมพินีที่มีการใชงานเปนชวงเวลา ไดแก บริเวณลานทางเขาหลังพระบรมรูป ร.6 บริเวณหนาอาคารกีฬาในรม บริเวณหนาอาคารศูนยกีฬาเยาวชนลุมพินี บริเวณที่1 บริเวณสวนปาลม เปนกิจกรรมเตนแอโรบิกของวัยทํางานและวัยชรา อาคารบริการตางเชน อาคารลุมพินีสถาน ศาลาการไฟฟาสามเสน เปนกิจกรรมที่ฝกซอมในการเตนลีลาศ บริเวณที่ 2 บริเวณที่เปนสนามกีฬาตางๆ ภายในพื้นที่ เชน สนามบาสเกตบอล สนามเทสนิส ลานตะวันยิ้มหรือสนามเด็กเลนบริเวณสวนสุขภาพ บริเวณที่ 4 และรวมถึงการปนจักรยานน้ําบริเวณสระน้ํา เนื่องจากมีรูปแบบกิจกรรมเดียว มีชวงเวลาและระยะเวลากําหนดในการใชทํากิจกรรม จึงถูกกําหนดใชเปนชวงเวลา3) การจับจองพื้นที่ที่มีการถูกใชงานในพื้นที่เดียวกันโดยมีการสับเปลี่ยนกิจกรรมตามชวงเวลา พื้นที่ภายในสวนลุมพินีที่มีการใชไดแก งานในพื้นที่เดียวกันโดยมีการสับเปลี่ยนกิจกรรมตามชวงเวลาบริเวณทางเขาหลัก เชน ในชวงเวลาที่ 4.30-8.30 ถูกจับจองในการทํากิจกรรมรําไทเกกของวัยชรา และในชวงเวลาที่ 16.30-21.00 ถูกจับจองในเลนกีฬาแบบทีม เชนเซปกตระกรอของวัยทํางานกับการเลนโรลเลอรเบลของวัยเด็ก, นักเรียน/นักศึกษา ในบริเวณที่ 2 และบริเวณสนามตระกรอ ใกลลานตะวันยิ้ม ในชวงเวลาที่ 4.30-8.30ถูกจับจองในการทํากิจกรรมในการฝกซอมการเตนลีลาศ ในชวงเวลา 12.00-18.30 ถูกจับจองในเลนกีฬาแบบทีมในกีฬาเซปกตระกรอในบริเวณที่ 4 เนื่องจากรูปแบบกิจกรรมที่เกิดขึ้นมีความแตกตางกันทั้งรูปแบบกิจกรรมและชวงเวลาในการเขาไปใชพื้นที่ จึงสามารถทําการสับเปลี่ยนกิจกรรมในพื้นที่เดียวกันได5.สรุปรูปแบบการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินีกลุมผูใชการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี รูปแบบกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่สวนลุมพินี ไมวาเปนกิจกรรมเพื่อการพักผอน กิจกรรมออกกําลังแบบออกแรงมาก กิจกรรมออกกําลังแบบออกแรงนอย ซึ่งอยูในระหวางชวงในเวลาในการเขามาใชพื้นที่ อยูในชวงเวลา 04.30-08.30 น. กับชวงเวลา 16.30-18.30 น. ซึ่งมีปริมาณการเขามาพื้นที่ภายในสวนลุมพินีหนาแนนมากที่สุด กลาวสรุปไดวา ภาพรวมของรูปแบบการใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี มีการใชพื้นที่ที่จะมีการกระจายอยูทั่วบริเวณภายในพื้นที่สวนลุมพินีตามบริเวณที่พื้นที่ตางๆตามลักษณะทางกายภาพ โดยมีการเขามาใชทุกเพศทุกวัย และมีระยะเวลาในการใชสอยพื้นที่ที่มีความคุมคา มีกิจกรรมที่หลากหลายและมีการเคลื่อนไหวของคนที่เขามาใชพื้นที่อยูตลอดเวลาในชวงที่เปดใหบริการ และมีเงื่อนไขที่สําคัญในเรื่องของเวลา คือการเขามาใชพื้นที่ในวันธรรมดา วันจันทร-ศุกร และวันหยุดสุดสัปดาห วันเสาร-วันอาทิตย ซึ่งมีความแตกตางกัน โดยความแตกตางของชวงเวลาเหลานี้ จะทําใหเกิดรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลายในการเขามาใชพื้นที่ภายในสวนลุมพินี และรวมไปถึงกลุมคนที่เขามาใชพื้นที่ จึงเปนที่สะทอนถึงปรากฏการณพฤติกรรมรูปแบบการใชพื้นที่ ในลักษณะของสวนสาธารณะขนาดใหญที่ตั้งอยูใจกลางเมืองของกรุงเทพเทพมหานคร160


บรรณานุกรมวัชรี นอยพิทักษ. ความคิดเห็นของประชาชนทีมีตอสิ่งอํานวยความสะดวกการใชบริการและรูปแบบการใชประโยชนในสวนสาธารณะ : ศึกษากรณีผูเขามาใชสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2536สํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร. การจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ดานการพัฒนาสวนสาธารณะ. 2541ศิริชัย หงษวิทยากร. ภูมิสถาปตยกรรมเบื้องตน. ม.ป.พ161


พื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารตามแนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ: กรณีศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาOPEN SPACES IN HEALTH PROMOTING HOSPITAL: CASE STUDY OF PHRAMONGKUTKLAO HOSPITALนายภวินท สิริสาลีหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอในชวง 30 ปที่ผานมา แนวคิดในการพัฒนาโรงพยาบาล เริ่มใหความสําคัญกับการปองกันและการสงเสริมสุขภาพ โดยเปลี่ยนภาพพจนของโรงพยาบาลจากโรง”ซอมสุขภาพ”เปน สถานที่ ”สรางสุขภาพ” แนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพเปนแนวคิดหนึ่งที่นํามาชวยในการพัฒนาโรงพยาบาลใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพของผูปวย ญาติ และบุคลากร ซึ่งการพัฒนาสภาพแวดลอมของโรงพยาบาลใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพเปนเปาหมายหนึ่งในการพัฒนาโรงพยาบาลตามแนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยสําคัญสําหรับพัฒนาพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารของโรงพยาบาลที่เอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ โดยใชโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาเปนกรณีศึกษาเนื่องจากพบวาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาเปนโรงพยาบาลที่ไดนําแนวคิดนี้มาใชในการพัฒนาโรงพยาบาลโดยมีการจัดเตรียมพื้นที่และองคประกอบตางๆไวในพื้นที่เปดโลงขนาดใหญภายนอกอาคาร และคนหาขอแตกตางของลักษณะพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลากับกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศ โดยใชปจจัยที่ไดจากการศึกษาเปนกรอบในการเปรียบเทียบ เพื่อสรุปกรอบแนวคิดในการออกแบบพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพจากผลการศึกษาพบวา ปจจัยสําคัญในพัฒนาพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ สามารถประมวลเปนขอพิจารณาได 2 กลุมใหญ คือ 1) ปจจัยพื้นฐานที่จําเปนไดแก การเขาถึงความปลอดภัยและสิ่งอํานวยความสะดวก และ 2) ปจจัยที่เอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ ไดแก การมีสิ่งแวดลอมที่สงเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวรางกาย การสนับสนุนการปฏิสัมพันธทางสังคม การมีองคประกอบทางธรรมชาติ และการมีกิจกรรมทางเลือกที่หลากหลาย ซึ่งโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลามีทั้งศักยภาพและปญหาที่สอดคลองและแตกตางกับกรณีศึกษาในตางประเทศ โดยพบวากรอบคิดที่ไดจากการเปรียบเทียบ ที่สามารถนํามาใชในการพัฒนาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ แบงไดเปน 2 สวนคือ 1) การแกปญหาดานองคประกอบพื้นฐาน โดยใหมีความปลอดภัยในการใชงาน การเขาถึงที่สะดวก และการจํากัดการเขาถึงของคนภายนอก 2) การดึงเอาศักยภาพของพื้นที่เปดโลงแบบเปดมาใชในการสงเสริมสุขภาพของผูปวยในโรงพยาบาล ทั้งศักยภาพในการสรางพื้นที่และองคประกอบทางธรรมชาติ การสรางรมเงา รวมถึงศักยภาพในการสรางพื้นที่กิจกรรมการเคลื่อนไหว การปฏิสัมพันธ และการพักผอนทั่วไป ใหมีความหลากหลาย162


1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหาโรงพยาบาลเปนสถานที่รวมผูคนที่มีความทุกขและความเครียดจากการเจ็บปวย ไมวาจะเปนผูปวย ญาติผูปวย ภาพพจนของโรงพยาบาลจึงเปนภาพของ “โรงซอมสุขภาพ” การพัฒนาโรงพยาบาลโดยทั่วไป เนนการเพิ่มพื้นที่สําหรับรองรับการรักษาผูปวย และการสนองตอเทคโนโลยีในการรักษา ในชวง30 ปที่ผานมา การจัดการโรงพยาบาล เริ่มใหความสําคัญกับการปองกันและการสรางสุขภาพรางกายใหแข็งแรง แนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ (Health Promoting Hospital) จึงเปนแนวคิดหนึ่งที่นํามาใชในการพัฒนาโรงพยาบาล มีเปาหมายหลักในการพัฒนาโครงสรางวัฒนธรรมองคกร และพัฒนาสิ่งแวดลอมกายภาพใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพใหแกผูปวย ญาติ และบุคลากร ความรูทางภูมิสถาปตยกรรมจึงเปนสวนหนึ่งที่สามารถนํามาใชพัฒนาพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาล เพื่อสรางสิ่งแวดลอมกายภาพใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพของผูปวยและผูเกี่ยวของไดโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาเปนโรงพยาบาลหนึ่งที่นําแนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพมาใชในการพัฒนาสิ่งแวดลอมและกิจกรรมในโรงพยาบาล โดยมีพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารถึง 51.94 ไรจากเนื้อที่ 92 ไร หรือคิดเปน 56.45 % ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารมีการจัดเตรียมองคประกอบสําหรับใหผูใชเขาไปใชงาน เชน ลานโลง พื้นที่พักผอน สวนสุขภาพ รวมถึงมีสภาพพื้นที่เดิมที่เปนธรรมชาติทั้งกลุมตนไมใหญ คลอง สัตวตางๆ (ภาพ 1-2)แตอยางไรก็จากการศึกษากรณีศึกษาในตางประเทศเบื้องตน พบวาในดานการสงเสริมสุขภาพมีขอแตกตางบางประการระหวางพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาและกรณีศึกษาในตางประเทศ เชน การนําศักยภาพของพื้นที่เปดโลงมาใช องคประกอบตางๆ หรือที่ตั้งและการเขาถึงพื้นที่เปดโลง จึงนําไปสูการศึกษาหาปจจัยที่สําหรับการออกแบบพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารของโรงพยาบาลใหสามารถชวยสงเสริมสุขภาพของผูใช และคนหาขอแตกตาง เพื่อนํามาเปนกรอบคิดสวนหนึ่งในการออกแบบพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาและโรงพยาบาลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตภาพ 1-2 ตัวอยางพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารมีการจัดเตรียมองคประกอบสําหรับใหผูใชเขาไปใชงาน163


2. แนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพแนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ (Health Promoting Hospital) เปนแนวคิดการพัฒนาโรงพยาบาลที่มุงเนนการปองกันและการสรางสุขภาพรางกายของผูปวยใหแข็งแรงเปนหลัก รวมถึงพัฒนาสุขภาพของญาติผูปวยและบุคลากรในโรงพยาบาล ซึ่งแนวคิดนี้เกิดมาจากปญหาของคาใชจายในการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และขอจํากัดดานทรัพยากรในการรักษาพยาบาล โดยหลักการพื้นฐานหนึ่งที่สําคัญตอแนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ คือ “การสรางสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ” (creating supportive environment)จากเอกสารทางการแพทยตางๆ ไดมีการอธิบายถึงประโยชนของสิ่งแวดลอมภายนอกอาคารตอการสงเสริมสุขภาพ การมีสิ่งแวดลอมภายนอกที่เหมาะสมและสงเสริมการทํากิจกรรมตางๆ นั้นสามารถบรรเทาอาการเจ็บปวยตางๆ ทั้งรางกายและจิตใจ เชน การทํากิจกรรมในพื้นที่เปดโลงชวยกระตุนการขับถายปสสาวะ ชวยไมใหของเหลวคั่งในปอด ฟนสมรรถภาพกลามเนื้อ (Rubinstein N. J., 1995.)และลดเวลาการพักรักษาในโรงพยาบาล (Paine R. and Carolyne, 2005.) ในดานจิตใจนั้นชวยลดความเครียด ความกังวลใจใหกับผูปวย (Nora J. Rubinstein,1995.)สวนเจาหนาที่และญาติซึ่งเปนผูใชที่ไมไดเจ็บปวย พื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลสามารถชวยสงเสริมสุขภาพใหดีขึ้น ทั้งรางกายและจิตใจของบุคลากรและญาติใหมีรางกายแข็งแรง สงผลใหมีประสิทธิภาพในการทํางานดีขึ้น ดวยกิจกรรมวิ่งออกกําลังกาย การทํากิจกรรมแอโรบิค พื้นที่เปดโลงที่เปนธรรมชาติสามารถผอนคลายความเครียดจากการทํางาน ดึงความสนใจออกจากความเจ็บปวยของผูปวย(Marcus C., 2005) สําหรับญาติที่มาเยี่ยม พื้นที่เปดโลงยังเปนทางเลือกในการทํากิจกรรม ไมใหเกิดความจําเจอยูแตในหองผูปวย นอกจากนี้บรรยากาศพื้นที่เปดโลงภายนอกที่เปนเปนกันเอง มีความเปนสวนตัวชวยสรางความรูสึกถึงความเปนครอบครัว ชวยสรางความสัมพันธที่ดีระหวางญาติที่มาเยี่ยมกับผูปวย (Marcus C., 2005.)3. ขอพิจารณาสําหรับการออกแบบพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารที่เหมาะสมตอการสงเสริมสุขภาพในโรงพยาบาลจากความเปนมาและความสําคัญของพื้นที่เปดโลงภายนอกของโรงพยาบาลกับการสงเสริมสุขภาพ จึงทําการm[m;oเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับทฤษฎีในการพัฒนาพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลและลักษณะกายภาพที่สามารถสงเสริมสุขภาพของผูใช โดยมีกรอบคิดที่หลักที่สําคัญในเอกสาร ดังนี้People Place (Marcus & Francis., 1998.) ในบทที่ 6 “Hospital Open Space”กลาวถึง การอธิบายถึงเกณฑการออกแบบพื้นที่เปดโลง ประเภทผูใช และกิจกรรมในโรงพยาบาลHospital Healing Garden (Marcus. C. C., 2005.) กลาวถึงเกณฑสําหรับพื้นที่ที่เอื้อตอการบําบัดและการสรางเสริมสุขภาพHealing Landscape (Tyson M., 1996.) กลาวถึงแนวทางในการออกแบบกายภาพที่ชวยในการบําบัดการศึกษาเอกสาร สามารถสรุปปจจัยที่สําคัญตอการออกแบบพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลที่เหมาะสมตอสงเสริมสุขภาพ ไดเปน 2 กลุม ดังนี้164


ปจจัยพื้นฐาน ไดแก1. ความสะดวกในการเขาถึง2. ความปลอดภัยในการใชพื้นที่3. สิ่งอํานวยความสะดวกปจจัยที่ชวยสงเสริมสุขภาพ ไดแก1. สิ่งแวดลอมที่สงเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวรางกายและการออกกําลังกาย2. สิ่งแวดลอมที่สนับสนุนการปฏิสัมพันธทางสังคม3. องคประกอบที่เปนธรรมชาติ4. ความหลากหลายของกิจกรรมภายในพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาล3.1 ขอพิจารณาพื้นฐาน1) ความสะดวกในการเขาถึงปจจัยการเขาถึงพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาล หมายความรวมถึง ระยะทาง ความสะดวกและการหาทิศทาง (orientation) ในการเขาถึงพื้นที่เปดโลงนั้นๆ ซึ่งมีสวนชวยทําใหผูปวยและเจาหนาที่อยากออกมาทํากิจกรรมภายในพื้นที่เปดโลง รวมถึงการจํากัดการเขาถึงของคนภายนอกที่เขามาใชพื้นที่ใหอยูในระดับที่เหมาะสมระยะทางการเขาถึงที่อยูในระยะที่เหมาะสมจากอาคารที่พักของผูใช และอุปสรรคในการสัญจร มีผลตอความสะดวกในการใชงานของผูใช สําหรับผูปวย ระยะ 200 เมตร เปนระยะทางสูงสุดที่เหมาะสมที่ทําใหผูปวยเกิดการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพทางกายดีขึ้น (Kurtzke J. F. ใน TonyGiantomaso, 2003.)อยางไรก็ตาม พื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลที่บุคคลภายนอกสามารถเขาถึงได ไมควรมีการเขาถึงงายจนเกินไป ควรมีการจํากัดการเขาถึง แยกพื้นที่เปดโลงเฉพาะสําหรับกลุมผูใชหลักภายในโรงพยาบาลเชน จํากัดการเขาถึงเพื่อสรางความสงบ ความเปนสวนตัวและลดความหนาแนนในการใชงานพื้นที่ หรืออาจมีการกําหนดเวลาการปดเปด สําหรับผูมาเยี่ยมหรือบุคคลภายนอก (Marcus C. C., 1998.)2) ความปลอดภัยในการใชพื้นที่ขอพิจารณาความปลอดภัยในการใชพื้นที่ หมายความรวมถึงลักษณะกายภาพหรือองคประกอบในพื้นที่ ที่ชวยลดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บตางๆจากการออกมาใชพื้นที่ โดยเฉพาะผูปวย เชนทางลาด ราวจับ ราวกันตก ผิวทางที่เหมาะสม ปายเตือนตางๆ หรือการแยกทางเดินเทาออกจากผิวถนนความปลอดภัยในการสัญจรในโรงพยาบาล ควรพิจารณาพื้นผิว ระดับพื้น ที่มีผลตอการความสะดวกปลอดภัยตอผูปวย โดยเฉพาะผูปวยที่มีความผิดปกติทางรางกาย เชน นั่งรถเข็น หรือใชไมเทาพื้นผิวตองเรียบเสมอกัน ไมขรุขระ ไมมีสิ่งกีดขวาง ไมลื่น (Marcus C., 1998.) อยางไรก็ตามถาจําเปนตองมีการเปลี่ยนระดับพื้น ตองมีทางลาดที่มีความชันที่เหมาะสม (กฎกระทรวงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2542.) อาจมีซุมที่นั่งหรือเกาอี้นั่งเปนระยะๆ สําหรับผูปวยที่เดินไมไหวและตองการพัก165


นอกจากนี้ในโรงพยาบาลที่มีระบบทางเดินเทาและถนนซอนทับกัน ควรมีการแยกระบบเสนทางเดินหรือทางวิ่งออกกําลังออกจากทางสัญจรของรถยนตใหชัดเจน หรือในสวนทางจราจรและทางเดินเทาที่จําเปนตองซอนทับกันตองมีการเตือนโดย มีระบบปายจราจรสําหรับคนและรถที่ชัดเจน หรือใชการเปลี่ยนรูปแบบผิวทาง นอกจากนี้พื้นที่เปดโลงที่อยูใกลกับเสนทางจราจรหลักตองคํานึงถึงการรบกวนจากยานพาหนะตอผูใชพื้นที่เปดโลงนั้น โดยมีการใชพืชพรรณพรางสายตา หรือดูดซับเสียง ฝุนควัน3) สิ่งอํานวยความสะดวกสิ่งอํานวยความสะดวกเปนองคประกอบพื้นฐานในพื้นที่เปดโลงที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของผูใช เพื่อใหผูใชสามารถใชพื้นที่ไดอยางสะดวกหองน้ํา มีความจําเปนสําหรับผูปวยที่มีปญหาในการเคลื่อนที่มากกวาผูปวยอื่นๆ เนื่องจากตองใชเวลาในการไปยังหองน้ํามาก ควรมีหองน้ําที่อยูในระยะใกลและมีปายบอกทางหรือมองเห็นไดงายจากพื้นที่กิจกรรมของผูปวยซุมรานคา ควรมีซุ มรานคาใหบริการอยูในตําแหนงที่มีกิจกรรมของผูใชจํานวนมาก หรือเปนจุดรวมของกิจกรรมในพื้นที่เปดโลงภายนอก มีเสนทางหลักผานอยางนอย 1 ทาง จํานวนและตําแหนงของถังขยะ ควรอยูในบริเวณที่มีกิจกรรมที่กอใหเกิดขยะและหรือพื้นที่ที่มีจํานวนผูใชจํานวนมากการใหแสงสวาง มีความจําเปนมากสําหรับพื้นที่ หรือเสนทางที่มีการใชงานในตอนกลางคืนเชน เสนทางที่แพทยพยาบาล หรือเจาหนาที่ที่ตองเขาเวรในตอนกลางคืน ใชเปนทางสัญจรจากหอพักมายังอาคารโรงพยาบาล3.2 ปจจัยที่สงเสริมสุขภาพ1) สิ่งแวดลอมที่สงเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวรางกายและการออกกําลังกายการเคลื่อนไหวรางกายและการออกกําลังกายสามารถสงเสริมสุขภาพทั้งรางกายและจิตใจเชน ดานรางกายสามารถชวยใหการไหลเวียนโลหิตดีขึ้น (Brannon and Feist, 1997. and Koniak-Griffin,1994.) ชวยกระตุนการขับถายปสสาวะ หรือฟนสมรรถภาพกลามเนื้อ ชวยกระตุนการทํางานของระบบขับถาย(Rubinstein N. J.,1995.) และลดการพักรักษาในโรงพยาบาล (Paine R. and Carolyne, 2005.) สวนในดานจิตใจนั้นชวยลดความเครียด ความกังวลใจ มีจิตใจที่แจมใส (Rubinstein N. J.,1995.)เสนทางเดินออกกําลังสําหรับผูปวย ควรมีระบบเสนทางที่เปนวงบรรจบ (loop) (Marcus.C. C., 2005) มีระยะทางที่สามารถชวยสรางสมรรถภาพทางกายใหผูปวย คือ 200 เมตร (Kurtzke J. F.ใน (Giantomaso, T. 2003.) นอกจากนี้ลําดับการเขาถึง ยังมีสวนสําคัญที่ชวยสรางความนาสนใจ ดึงดูดเชื้อเชิญใหผูปวยเขาไปใชพื้นที่เปดโลงพื้นที่โลงกวางสําหรับการออกกําลังสําหรับผูปวย ควรมีพื้นที่กิจกรรมสําหรับกายภาพบําบัดที่ไมไกลจากที่พักผูปวยออโทปดิกหรือผูปวยเวชศาสตรฟนฟูใหออกมาใชภายใตการดูแลของพยาบาล (Marcus. C. C., 1998.) และ อาจใชพื้นสนามหญาเปนพื้นผิวสวนหนึ่งของพื้นที่เพื่อความ166


ปลอดภัยในการออกกําลังของผูปวย และมีที่นั่งพักของผูดูแลที่สามารถมองเห็นผูปวยขณะทํากิจกรรมออกกําลังกาย รวมถึงใหผูปวยเห็นผูดูแล2) สิ่งแวดลอมที่สนับสนุนการปฏิสัมพันธทางสังคมการมีโอกาสพบปะพูดคุยกับญาติหรือเพื่อนเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับผูปวย เพราะญาติเปนกลุมที่ชวยทําใหผูปวยรูสึกถึงความใกลชิดและรูสึกถึงชีวิตปกติ ความอบอุนภายในครอบครัว สงผลตอสุขภาพจิตใจ ทําใหมีความเครียดลดลง สามารถฟนฟูและเพิ่มอัตราการมีชีวิตใหผูปวย และมีอัตราการเสียชีวิตที่นอยกวาผูปวยกลุมเดียวกันที่อยูลําพัง (Berkman and Synme, 1979. ใน Marcus. C. C., 1998.)ตําแหนงของพื้นที่สําหรับกิจกรรมพบปะพูดคุยของสมาชิกในครอบครัวของผูปวยควรอยูในพื้นที่ที่ใหญาติและผูปวยมีความสะดวกในการเขาใชพื้นที่รวมกัน ซึ่งตองคํานึงถึงขนาดกลุมผูใช วามีจํานวนเทาไร เพื่อใหเลือกรูปแบบของพื้นที่สนทนาและขนาดพื้นที่สนทนาไดเหมาะสม สําหรับกลุมเล็ก อาจมีพื้นที่สําหรับกิจกรรมการรวมกลุมเล็กๆ ใชที่นั่งที่สามารถเคลื่อนที่ได เพื่อความอิสระในการรวมกลุม สวนกลุมใหญอาจใชโตะเกาอี้สําหรับกลุมครอบครัวใชรวมกลุมสนทนาหรือรับประทานอาหาร (Marcus C. C., 2005.)นอกจากนี้ ตองคํานึงถึงความเปนสวนตัว การรบกวนระหวางกลุมผูใช และอาณาเขตครอบครองของผูใชแตละกลุม ไมใหเกิดกิจกรรมที่ครอบครองพื้นที่ (Marcus C. C., 1998.) เชน อาจใชหลักการTriangle andTriangulation ชวยลดความรูสึกอึดอัด โดยการใช องคประกอบ กิจกรรมหรืองานอดิเรกตางๆ เขามาชวยดึงความสนใจของบุคคลออกจากกัน สําหรับพื้นที่ที่กิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหว ความสนุกสนาน อาจมีพื้นที่สําหรับใหผูปวยมองดูกิจกรรมดังกลาว ซึ่งเปนการสนับสนุนการปฏิสัมพันธในลักษณะการชมผูอื่นทํากิจกรรมได และเปนการสรางความมีชีวิตชีวาใหผูปวย3) การมีองคประกอบพื้นที่ที่เปนธรรมชาติการใชตนไมใหญสามารถเปนสัญลักษณที่แสดงถึงความรูสึกแข็งแรง อายุยืน เปนสัญลักษณที่ใหความรูสึกผอนคลาย การใชพืชพรรณที่เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ชวยสรางความนาสนใจใหแกพื้นที่ (Marcus C. C., 2005) การใชดอกไมมีผลตอความรูสึกตางๆ เชน ชวยดึงดูดใหคนเขามาในสวน(Tyson, M., 1996) นอกจากนี้ กิจกรรมที่ไดสัมผัสธรรมชาติโดยตรง สามารถสงเสริมสุขภาพผูปวยไดอีกทางหนึ่ง เชน มีการจัดเตรียมพื้นที่ที่เปดโอกาสใหผูใชสามารถชวยกันสรางพื้นที่ธรรมชาติ จัดพื้นที่ใหผูใชสามารถปลูก ดูแล ตนไม ผัก ดอกไมตางๆ (Tyson. M., 1996.)การชมพื้นที่ธรรมชาติ เปนอีกกิจกรรมหนึ่งที่ชวยผอนคลายจิตใจผูใช ชวยดึงดูดความสนใจเชน แนวตนไมสีเขียว มุมมองสูทองฟา รูปรางของกอนเมฆ สระน้ําที่สะทอนภาพทองฟาภาพตนไมและการมองเห็นสิ่งมีชีวิตตางๆในน้ํา ทําใหระลึกถึงการมีชีวิตอยูหรือการหายจากการเจ็บปวย (Tyson, M., 1996.)พื้นที่พักผอนในโรงพยาบาลควรมีเสียงจากธรรมชาติ เชน เสียงของนกสรางความเพลิดเพลิน อาจทําโดยการใชบานนกและปลูกตนไมที่นกชอบเพื่อดึงดูดใหนกมาหากิน หรือการใชเสียงของน้ําโดยใชองคประกอบตางๆเชนน้ําพุ น้ําตกในสวนของพื้นที่พักผอน เปนตน 11 Triangulation เปนสถานการณที่คนสองคน ที่มีความสัมพันธในดานลบ มาใชพื้นที่รวมกัน เชน รบกวนกัน โกรธกัน ไมตองการเห็นกัน เมื่อเกิดสถานการณดังกลาวบุคคลใดบุคคลหนึ่งจะหาสิ่งที่สามหรือบุคคลที่สาม เพื่อไปปฏิสัมพันธดวย เพื่อหลีกหนีจากคน167


5) ความหลากหลายของกิจกรรมภายในพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลเมื่อผูปวยเขาไปในโรงพยาบาล การดําเนินชีวิตตางๆของผูปวยจะถูกควบคุมไมวาจะเปนอาหารการกิน เสื้อผาที่ใส หรือเวลาที่ตองรอพบแพทย ผูปวยจะไมสามารถทําสิ่งที่ตัวเองตองการได ทําใหเกิดความเครียดซึ่งสงผลเสียตอระบบภูมิคุมกันและจังหวะการทํางานของรางกาย (Marcus C. C., 2005.) สวนบุคลากรก็เชนกัน ตองทํางานภายใตความเครียด อยูกับความเจ็บปวยของผูปวยเปนระยะเวลานาน สงผลเสียตอประสิทธิภาพการทํางานและการขาดงานของเจาหนาที่จากขอพิจารณาดานการเคลื่อนไหวรางกาย การปฏิสัมพันธ และองคประกอบธรรมชาติที่กลาวมาขางตน หากมีลักษณะทางกายภาพที่เอื้อตอกิจกรรมดานใดดานหนึ่งเพียงอยางเดียว อาจสงผลใหเกิดความจําเจในการใชพื้นที่ การทําใหพื้นที่มีกิจกรรมหลากหลาย ไมซ้ําจําเจ สามารถชวยใหผูปวยหรือบุคลากรที่ออกมาทํากิจกรรมภายนอกรูสึกถึงความมีอิสระในการดําเนินชีวิต ไมถูกควบคุม สามารถเลือกสถานที่และประเภทกิจกรรมที่ตนเองตองการได นอกจากนี้การมีกิจกรรมหลากหลายยังเปนการกระตุนใหผูปวยและเจาหนาที่รูสึกอยากออกมาใชพื้นที่ภายนอกดวย (Tyson, M., 1996.)4. วิเคราะหขอแตกตางระหวางพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาและกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศจากการศึกษาพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาและกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศ ทําใหพบขอแตกตางของพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลทั้งสอง ดังนี้4.1 ขอแตกตางดานการเขาถึง สิ่งอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยจากการศึกษากรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศ พบวา โรงพยาบาลสวนใหญมีลักษณะเปนอาคารซอนในแนวตั้ง มีพื้นที่บนพื้นดินนอย พื้นที่เปดโลงมักตั้งอยูตามสวนตางๆภายในอาคารเชน เปนคอรทกลางที่มีหองพักหรือมีทางเดินลอมรอบหรือเปนสวนหลังคา ใชทางเดินในอาคารสําหรับการเขาถึงพื้นที่เปดโลงจากหองพักผูปวย ซึ่งในภาพรวมสามารถแบงพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลจากกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศไดเปน 3 สวน คือ1) พื้นที่เปดโลงสาธารณะทั่วไปที่สามารถใหทุกคนสามารถเขามาใชได มีในโรงพยาบาลที่มีพื้นที่เปดโลงรอบอาคารโรงพยาบาล2) พื้นที่เปดโลงที่จัดใหเฉพาะผูใชหลัก เชน ผูปวย หรือญาติที่มาเยี่ยม หรือบุคลากร อาจอยูบริเวณที่เปดโลงรอบโรงพยาบาลและหรือในอาคารโรงพยาบาล3) พื้นที่พักผอนสําหรับบุคลากรโดยเฉพาะแยกจากผูปวยสวนพื้นที่ในขอที่ 2 และ3 เปนสวนที่จํากัดการเขาถึง โดยในสวนพื้นที่สําหรับผูใชหลักมีการจํากัดการเขาถึงดวยการแยกพื้นที่โดยใชที่ตั้งเชน เปนลาน คอรทในอาคาร เปนสวนหลังคา หรืออาจใชระยะทางจากทางเขาหลักของโรงพยาบาลที่ไกลขึ้น หรือใชการบังมุมมองจากทางหลัก (Marcus C. C.,บุคคลที่มีความสัมพันธในดานลบอยูดวย สิ่งหรือบุคคลที่สาม ที่กลาวถึงมีสามารถเปนไดทั้งบุคคล สิ่งของ กิจกรรมหรืองานอดิเรกตางๆ ซึ่งสามารถชวยดึงความสนใจของบุคคลทั้งสองออกจากกัน168


1998.) และมีการเชื่อมโยงกับโรงอาหารหรือพื้นที่อื่นๆที่จัดไวสําหรับการรับประทานอาหาร และมีสิ่งอํานวยความสะดวก เชน หองน้ํา รานคา ที่เขาถึงสะดวก ปลอดภัย เพื่อรองรับการงานของผูใชหลัก (Marcus C.C., 1998.)สวนโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลานั้น มีพื้นที่เปดโลงขนาดใหญที่ตั้งแยกจากกลุมอาคารโรงพยาบาล (ภาพ 3) ซึ่งตางกับกรณีศึกษาในตางประเทศที่พื้นที่เปดโลงสําหรับผูปวยแทรกอยูในอาคาร การเขาถึงพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลานั้น ใชถนนเชื่อมพื้นที่เปดโลงและอาคารเขาดวยกัน (ภาพ 4)จากสาเหตุดังกลาว ทําใหระยะทางในการถึงพื้นที่เปดโลงของผูปวยมีระยะทางไกลกวาพื้นที่เปดโลงที่ตั้งแทรกอยูในอาคาร เกิดการตัดกันระหวางทางเดินเทาและถนน สงผลถึงปญหาดานความปลอดภัยและอุปสรรคในการเขาถึงพื้นที่เปดโลงและการเขาถึงสิ่งอํานวยความสะดวกนอกจากนี้ พื้นที่ลักษณะเปดที่สามารถเขาถึงไดงายจากภายนอก ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา ยังสงผลใหคนภายนอกสามารถเขามาปะปนรวมใชพื้นที่กับผูปวยไดอยางอิสระ เกิดการรบกวนผูปวยความแออัด หรือเกิดการแยงใชพื้นที่ ซึ่งตางจากกรณีศึกษาโรงพยาบาลตางประเทศ ที่มีลักษะพื้นที่เปดโลงเปนคอรทหรือสวนหลังคาที่อยูภายในอาคาร ทําใหผูปวยสามารถใชงานพื้นที่ไดเต็มที่ และสามารถจํากัดการเขาถึงของคนภายนอกไดงาย สวนที่ตั้งของสนามหญาหรือลานกวางสวนใหญ มักตั้งอยูบริเวณพื้นที่ที่คอนขางสาธารณะ ไกลอยูในพื้นที่สําหรับผูปวยโดยเฉพาะ และบางแหงตั้งอยูบริเวณแกนกลางของพื้นที่สําคัญ เชนสนามหญาหนาพระราชวัง หรือสนามหนาศาล ทําใหผูปวยมีโอกาสเขาไปใชนอยลงภาพ 3 : ตําแหนงพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา169


พื้นที่สวนการรักษาของโรงพยาบาล ทางเดินเทาพื้นที่เปดโลงหลักและพระราชวัง ถนนพื้นที่วิทยาลัยแพทยภาพ 4 : เสนทางการเชื่อมพื้นที่เปดโลงและอาคารเขาดวยกันภาพ 5 : การเชื่อมโยงพื้นที่เปดโลงตางๆในกรณีศึกษาโรงพยาบาล Alta Batesภาพ 6 : การเชื่อมโยงพื้นที่เปดโลงตางๆในกรณีศึกษาโรงพยาบาล Casa Colina Hospital170


ภาพ 7 : เปรียบเทียบเทียบ ระบบพื้นที่โลงของกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศและโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา4.2 สิ่งแวดลอมที่สนับสนุนการปฏิสัมพันธทางสังคมความแตกตางดานองคประกอบที่เอื้อตอการปฏิสัมพันธของกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศ และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา ไมมีความแตกตางกันมากนัก โดยมีลักษณะของที่นั่งทั่วไป ทั้งแบบชุดโตะเกาอี้ หรือมานั่งยาวที่จัดวางหันหนาเขาหากัน แตสําหรับในโรงพยาบาลตางประเทศมีลักษณะที่นั่งที่ออกแบบสําหรับการรวมกลุม หรือวงสนทนาโดยเฉพาะ เชน ที่นั่งที่มีลักษณะเปนครึ่งวงกลมลอมพื้นที่โลงตรงกลางไว สําหรับรวมกลุม 5-6 คนแตอยางไรก็ตาม ในพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลตางประเทศบางแหง มีการแยกพื้นที่พักผอนโดยเฉพาะสําหรับบุคลากรอยางชัดเจน มีการแยกพื้นที่หรือพรางมุมมองระหวางพื้นที่พักผอนเพื่อปองกันการรบกวนและสรางความเปนสวนตัวใหกับบุคลากรที่เครียดจากการทํางาน และใชเสียงจากน้ําตกลดการรบกวนในพื้นที่พักผอน สวนโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาไมมีการแยกพื ้นที่ดังกลาว พื้นที่รวมกลุมระหวาง171


ผูปวย ญาติ บุคลากร อยูในบริเวณเดียวกัน ทําใหเกิดปญหาการรบกวนกัน ซึ่งเห็นไดวาปญหานี้มีที่มาจากเงื่อนไขดานการเขาถึงและการขาดจุดควบคุม4.3 ความแตกตางดานสิ่งแวดลอมที่สงเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวรางกายและการออกกําลังกายจากการศึกษากรณีศึกษาโรงพยาบาล Kensai Rosai ในประเทศญี่ปุน พบวามีการออกแบบพื้นที่สําหรับกายภาพบําบัดผูปวยโดยผสมผสานกับสภาพธรรมชาติในบริเวณพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาล เชน สะพานขามลําธารขนาดเล็กที่มีขั้นบันไดและราวจับ (ภาพ 8) หรือเนินหญาที่ออกแบบใหมีทางลาดที่ไมชันมาก (ภาพ 9) เพื่อใหผูปวยสามารถใชสําหรับการฝกเดิน และฝกใชรถเข็นรถเข็นได หรือในโรงพยาบาล Alta Bates Hospital, Berkley, California (ภาพ 10) บริเวณสวนหลังคาที่เปดโลงสําหรับผูปวยมีการเปดสนามหญาโลงใหผูปวยไดออกมาใชงาน บริเวณโดยรอบของสนามหญา มีที่นั่งพักสําหรับญาติหรือผูดูแล เพื่อความปลอดภัยของผูปวย แตในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลานั้น มีอุปกรณการออกกําลังกายสําหรับบุคคลทั่วไป ที่ไมไดออกแบบเฉพาะเพื่อใหผูปวยที่มีความผิดปกติทางรางกายใชงาน รวมถึงพื้นผิวทางเดินบางแหง มีการแบงระดับพื้นที่หลายขั้น และมีความชํารุดเสียหาย สงผลถึงความปลอดภัยขอผูปวยภาพ 8 : สะพานขามคลองขั้นบันไดใหผูปวยใชฝกเดิน และมีชานสําหรับลงไปบริเวณริมลําธารที่มา :http://www.designfor21st.org/proceedings/proceedings/plenary_miyake.htmlภาพ 9 : ผังการใชพื้นที่เปดโลงโรงพยาบาลAlta Batesที่มา : Marcus. C. C. (1998)ภาพ 10 : เนินหญาที่ออกแบบใหมีทางลาดและขั้นบันไดที่มา : http://www.designfor21st.org/proceedings/proceedings/plenary_miyake.html172


4.4 ความแตกตางดานองคประกอบธรรมชาติในพื้นที่จากกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศที่มีพื้นที่เปดโลงที่เปนสวนหลังคาหรือคอรทเปดในอาคาร พบวาองคประกอบธรรมชาติในพื้นที่เปดโลงสวนใหญเปนไมพุม ไมดอกไมประดับ จากขอจํากัดของพื้นที่ในอาคาร ทําใหไมสามารถมีกลุมตนใหญตนไมใหญหรือสนามหญากวาง หรือไมสามารถมีสัตวเขามาอยูอาศัยได แตพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา สวนใหญเปนสนามหญา กลุมตนไม สระน้ํา คลองรวมทั้งมีสัตวชนิดตางๆ (ภาพ 11-14) ซึ่งองคประกอบเหลานี้ มีสวนสําคัญในการสงเสริมสุขภาพของผูปวยในหลายๆดาน เชน สรางความเพลิดเพลิน ผอนคลาย ความมั่นคง การมีชีวิตอยูภาพ 11-14 องคประกอบทางธรรมชาติในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาสวนความแตกตางของการการรับแสงแดดและรมเงาธรรมชาติในพื้นที่ พบวากรณีศึกษาโรงพยาบาลตางประเทศนั้น มีลักษณะพื้นที่ที่เอื้อตอการรับแสงแดดมากกวา เชน มีการวางตําแหนงองคประกอบสําหรับพื้นที่พักผอนหรือกิจกรรมอยูในบริเวณลานโลงแจง หรือใชระแนงไมที่มีแสงแดดสองผานไดตางจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา ซึ่งพื้นที่ที่มีการจัดวางที่นั่ง หรือพื้นที่กิจกรรมจะอยูในพื้นที่ที่มีรมเงาจากกลุมตนไม นอกจากนี้ยังมีความแตกตางดานสภาพอากาศของภูมิภาคฝงตะวันตกและตะวันออก สงผลใหลักษณะพื้นที่พักผอนในที่เปดโลงของกรณีโรงพยาบาลฝงตะวันตกสวนใหญ มีลักษณะเปดโลงเพื่อรับแดด แตพื้นที่พักผอนของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา สวนใหญตั้งอยูใตรมไม หรือชายคาที่รมรื่น173


ภาพ 15-16 : บรรยากาศและตําแหนงพื้นที่พักผอนบริเวณที่มีรมเงาจากตนไมใหญ บริเวณลานไทร ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาภาพ 17-18 : บรรยากาศและตําแหนงพื้นที่พักผอนบริเวณที่มีรมเงาจากตนไมใหญ บริเวณพื้นที่เปดโลงรอบพระที่นั่งอุดมวนาภร ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลากรณีศึกษาโรงพยาบาล Kensai Rosai เปนกรณีศึกษาที่แสดงถึงศักยภาพดานการใชสภาพธรรมชาติในพื้นที่เปดโลงขนาดใหญของโรงพยาบาลเพื่อสงเสริมสุขภาพของผูปวยและบรรเทาผลกระทบจากเขตอุตสาหกรรมโดยรอบ สภาพธรรมชาติในแตละพื้นที่มีการออกแบบใหสามารถสงเสริมสุขภาพผูปวยเชน บริเวณ “สวนสี่ฤดู” (Garden of Four Seasons) (ภาพ 19-20) ที่ใชระแนงไมเลื้อยและบนกระบะดอกไม 4 แหง ที่ใชชนิดของไมเลื้อย 4 ชนิด ตางกันตามการดอกในแตละฤดู เพื่อแสดงภาพลักษณของฤดูกาลทั้ง 4 สรางความรูสึกเบิกบานแกผูปวย สรางความสวยงามและความนาสนใจใหแกโรงพยาบาลนอกจากองคประกอบที่เปนพืชพรรณแลว ยังมีการใชน้ําและเสียงของน้ํา โดยในพื้นที่พักผอนสําหรับผูปวยมีการใชกําแพงน้ําตกสําหรับปองกันเสียงรบกวนจากภายนอกเขามารบกวนผูใช174


ภาพ 19-20 : สวนสี่ฤดูที่มา : http://www.designfor21st.org/proceedings/proceedings/plenary_miyake.htmlเห็นไดวา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลามีศักยภาพทางธรรมชาติไมแตกตางจากกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศ แตยังขาดการออกแบบพื้นที่และการสรางแนวคิด (concept) ที่นาสนใจใหองคประกอบธรรมชาตินั้นๆ เพื่อชวยในการสงเสริมสุขภาพและดึงดูดผูปวยใหใกลชิดธรรมชาติมากขึ้น6. ประเด็นสําคัญสําหรับพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาตอการสงเสริมสุขภาพที่ไดจากการศึกษาขอแตกตางจากการวิเคราะหขอแตกตางระหวางพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาและกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศ สามารถประมวลประเด็นสําคัญตามแนวคิดของพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา ไดดังนี้6.1) การจํากัดการเขาถึงของคนภายนอกในการจัดระบบพื้นที่เปดโลงสําหรับโรงพยาบาลที่เปดใหคนภายนอกสามารถเขาถึงพื้นที่เปดโลงและใชงานไดอิสระ ควรแยกพื้นที่สงเสริมสุขภาพของคนภายนอกและควบคุมการเขาถึงของคนภายนอกไมใหเขามารบกวนกิจกรรมการสงเสริมสุขภาพของผูปวยรวมถึงเปนการลดความหนาแนนในพื้นที่ โดยมีวิธีการจํากัดการเขาถึงของคนภายนอกดวยการออกแบบทางกายภาพ เชน การกําหนดที่ตั้งของพื้นที่สําหรับผูปวย การมีพื้นที่แนวปองกันการเขาถึงของคนภายนอก(buffer) การพรางมุมมองจากภายนอก รวมถึงการใชระบบการจัดการ เชน การกําหนดเวลาการเขาถึงของคนภายนอก175


6.2) ระยะทางและความปลอดภัยในการเขาถึงพื้นที่เปดโลงสําหรับผูปวยโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาเปนโรงพยาบาลที่มีพื้นที่เปดโลงตั้งอยูหางจากกลุมอาคารโรงพยาบาล ควรมีเสนทางสัญจรสําหรับผูปวยจากอาคารตางๆ โดยพิจารณาจากรัศมีการเขาถึงพื้นที่เปดโลงที่วัดจากระยะทางการเดินมาตรฐานของผูปวยแตละกลุม รวมถึงอุปสรรคระหวางทางเดิน เชน พื้นผิวทางเดินพื้นที่ตางระดับ ขนาดทางเดินที่แคบ และอุบัติเหตุจากรถยนต ควรทําการปรับปรุงทางเทาใหเหมาะสมและการแยกระบบทางเทาจากอาคารผูปวยออกจากระบบถนน ควรมีทางขามหรือมีการเปลี่ยนพื้นผิวใหเหมาะสมสําหรับการเดินของผูปวยในบริเวณจุดตัดระหวางทางเทาและถนน6.3) การพัฒนาพื้นที่เพื่อสงเสริมการปฏิสัมพันธสําหรับผูปวยและญาติ ควรคํานึงถึงลักษณะที่สรางความเปนสวนตัวควบคูกันไปในการพัฒนาพื้นที่เพื่อใหเอื้อตอกิจกรรมการปฏิสัมพันธสําหรับผูปวยและญาติของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา ควรพิจารณาถึงลักษณะจัดวางการปดลอม การพรางมุมมองและแนวปองกันการรบกวน เพื่อสรางความเปนสวนตัวใหผูปวย เนื่องจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาไมมีการแยกพื้นที่ดังกลาวพื้นที่ใชงานผูปวย ญาติ บุคลากร อยูในบริเวณเดียวกัน ทําใหผูปวยที่ตองการพักผอนไดรับการรบกวนจากกิจกรรมของคนภายนอก เชน การรวมกลุมสังสรรค การเลนวิ่งเลน โดยใชที่นั่งมีลักษณะโอบลอมเขาหากันซึ่งเอื้อตอการพบปะพูดคุย และสรางการปดลอมและการพรางมุมมอง เชน การใชไมพุม หรือระแนง เพื่อใหเกิดความเปนสวนตัว และยังเปนวิธีการสรางการปดลอมที่ไมเกิดพื้นที่ลับตา ซึ่งทําใหเกิดความรูสึกไมปลอดภัยการพรางมุมมองเปนสิ่งจําเปน เนื่องจากในขณะเจ็บปวยหรือในกระบวนการรักษาพยาบาลอาจมีการโกนผมหรือมีสายสวนปสสาวะคาไว ทําใหผูปวยตองการความเปนสวนตัวในขณะพักผอนนอกจากนั้นพื้นที่ยังควรอยูไมไกลจากอาคารผูปวย หรือควรมีการเขาถึงไดโดยสะดวกและปลอดภัย พื้นที่ที่เอื้อตอการปฏิสัมพันธระหวางผูปวยและญาติ นอกจากจะสงผลใหผูปวยไดรับการผอนคลายทั้งรางกายและจิตใจจากความจําเจที่ตองอยูเฉพาะในหองสี่เหลี่ยมภายใตบรรยากาศเดิมเปนเวลานาน ยังสงผลใหผูปวยและญาติมีโอกาสพูดคุยกัน ทําใหเกิดกําลังใจในการรักษาพยาบาล6.4) การนําองคองคประกอบทางธรรมชาติที่มีในพื้นที่มาใชเกิดประโยชนตอการสงเสริมสุขภาพโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลามีพื้นที่เปดโลงขนาดใหญและสามารถใชงานในแนวราบ ซึ่งเปนศักยภาพในการสรางองคประกอบทางธรรมชาติที่หลากหลายใหแกผูปวย เนื่องจากมีพื้นที่ราบภายนอกอาคารในระดับพื้นดินที่เอื้อตอการจัดเตรียมองคประกอบทางธรรมชาติ เชน ตนไมใหญ คลอง สระน้ํา สนามหญาหรือมีมุมมองเปดกวาง โดยไมมีขอจํากัดของโครงสรางอาคาร หรือขนาดพื้นที่ ดังนั้นควรจัดองคประกอบเหลานี้ใหเปนสวนประกอบในพื้นที่กิจกรรมของผูปวย เพราะเปนปจจัยที่มีผลทําใหผูใชพื้นที่เกิดความรูสึกผอนคลายทั้งทางรางกายและจิตใจ (Marcus C.C., 1996.) และยังสามารถใชองคประกอบทางธรรมชาติเปนสวนประกอบในกระบวนการรักษาผูปวยบางประเภท เชน ผูปวยที่ไดรับการกระทบกระเทือนทางสมอง สามารถมองดูฝูงนกบนสนามหญา ซึ่งเปนการชวยกระตุนความทรงจํา เพราะธรรมชาติเปนสิ่งที่ผูปวยคุนเคยมาแตกําเนิด176


6.5) การสรางรมเงาในพื้นที่กิจกรรมภายนอกอาคาร เพื่อใหสามารถใชงานไดทุกชวงเวลาควรมีการสรางรมเงาที่ทําใหการใชประโยชนของพื้นที่เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจากการสัมภาษณ พบวาการใหรมเงาเปนปจจัยที่สําคัญปจจัยหนึ่งที่ผูปวยตองการในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับสภาพอากาศของประเทศไทย ดังนั้นจึงควรมีการใหรมเงาโดยใชรมไม ซุม ศาลา ระแนง ในพื้นที่การใชงานสําหรับผูปวยหรือควรมีการใชทางเดินที่มีหลังคาคลุม เพื่อเพิ่มโอกาสใหผูปวยสามารถใชพื้นที่ในชวงเวลากลางวันไดมากขึ้น6.6) คํานึงถึงการนําสภาพแวดลอมภายนอกอาคารมาเปนสวนหนึ่งในพื้นที่เปดโลงสําหรับกิจกรรมการเคลื่อนไหวรางกายจากการที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาเปนโรงพยาบาลที่มีศักยภาพทางธรรมขาติที่หลากหลาย สอดแทรกอยูในพื้นที่ตางๆ ดังที่กลาวมาขางตน จึงควรนําสภาพแวดลอมภายนอกอาคารมาเปนสวนหนึ่งในพื้นที่เปดโลงสําหรับกิจกรรมการเคลื่อนไหวรางกาย เชน สนามหญาการใชสนามหญาสรางเนินหญาเพื่อเปนพื้นที่ฝกเดิน โดยควรพิจารณาจากประเภทกิจกรรมการเคลื่อนไหวรางกายสําหรับผูปวยเปนกรอบในการกําหนดกิจกรรมในพื้นที่ ไดแก กิจกรรมเสริมสรางความแข็งแรง กิจกรรมเสริมสรางความยืดหยุน และกิจกรรมการเสริมสรางความทนทาน7. กรอบคิดในการออกแบบพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพจากขอแตกตางระหวางพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาและกรณีศึกษาโรงพยาบาลในตางประเทศ เห็นไดวาพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลที่มีลักษณะแบบเปดนั้น มีศักยภาพที่เอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ ทั้ง 4 ประการ อยางไรก็ตาม แมพื้นที่โลงแบบเปดมีศักยภาพที่เอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ แตยังพบปญหาดานปจจัยพื้นฐานของพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาล ไดแก ระยะและอุปสรรคในการเขาถึง ซึ่งเห็นไดวาปจจัยนี้ ยังสงผลถึงปญหาการควบคุมจากผูใชภายนอก และอันตรายจากการจราจรในโรงพยาบาลเห็นไดวา กรอบคิดที่สําคัญสําหรับการพัฒนาพื้นที่เปดโลงภายนอกอาคารแบบเปดในโรงพยาบาลใหเอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ สามารถแบงไดเปน 2 สวนคือ 1) การแกปญหาดานองคประกอบพื้นฐาน โดยใหมีความปลอดภัยในการใชงาน การเขาถึงที่สะดวกจํากัดการเขาถึงของคนภายนอก 2) การดึงเอาศักยภาพของพื้นที่เปดโลงแบบเปดมาใชในการสงเสริมสุขภาพของผูปวยในโรงพยาบาล ทั้งศักยภาพในการสรางพื้นที่และองคประกอบธรรมชาติ รวมถึงศักยภาพในการสรางพื้นที่กิจกรรมการเคลื่อนไหว การปฏิสัมพันธ และการพักผอนทั่วไป ใหมีความหลากหลาย เหมาะสมกับความตองการและประเภทผูใชบทความนี้ เปนสวนหนึ่ง ของวิทยานิพนธระดับปริญญาโท สาขาภูมิสถาปตยกรรม เรื่องการพัฒนาพื้นที่เปดโลงตามแนวคิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ กรณี ศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา โดยขอพิจารณาและกรอบคิดสําคัญนี้ สามารถนําไปใชในการศึกษาปญหา ศักยภาพ และการเสนอการพัฒนาพื้นที่เปดโลงของโรงพยาบาล ใหสามารถสงเสริมสุขภาพของผูใชไดอยางแทจริง177


8. บรรณานุกรมภาษาไทยหนังสือกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ.2542 ออกตามพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534นิลุบล คลองเวสสะ. เอกสารประกอบการสอน วิชาการวางแผนและออกแบบสวนสาธารณะและนันทนาการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,(ม.ป.ท.),2544.บวร งามอุดมศิริ ,สายพิณ คูสมิทธิ. โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ เปนอยางไร คิดอยางไร ทําอยางไร.กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร เพลส จํากัด, 2542.วทัญู ปรัชญานนท, คมน มีเนตรขํา, จันทนา กมลศิลป. กึ่งศตวรรษ: 50 ป โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา. วทัญู ปรัชญานนท บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ, 2545.ภาษาอังกฤษหนังสือMarcus, C. C., Francis, C. People Places : Design Guideline for Urban Open Space.Department of Architecture and Landscape Architecture, University of California:Berkley: Van Nostrand Reinhold, 1998.Rutledge A. J. and D. J. Monar. Anatomy of Park. New York. McGraw Hill Book Company,1983.Tyson M. Healing Landscape: Therapeutic Outdoor Environments. McGraw-Hill, 1998.บทความและการศึกษาวิจัยAhlman, A. Pathway to Independence: Physical Therapy for Patients With Rheumatoid Arthritis.6(2), 2004.Giantomaso, T., “The Validity of Patient and Physician Estimate of Walking Distance. ClinicalRehabilitation”, Volume 17, p394-401, 2003.Marcus. C. C. Hospital Healing Garden., 2005.Miyake, Y. and Miyake, F. A. Kansai Rosai Hospital Park: Sharing the Experience in EveryWay. Conference Proceeding - Design for the 21st Century III. Available from:http://www.designfor21st.org/proceedings/proceedings/plenary_miyake.htmlPelikan M. J. ,Krajic K. ,Dietscher C. The Health Promoting Hospital (HPH) : Concept andDevelopment. in Patient Ecucation and Counselling, Volume 45 (4), p.239-243,2001.Rubinstein, N.J. “The Psychological Value of Open Space” : The Benefits of Open Space,New York City, University of New York, 1995.ผูใชพื้นที่เปดโลงในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา, กันยายน 2551.การสัมภาษณ178


กระบวนการคัดกรองวัดเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานครนางสาวประภัสรา นาคะหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอพื้นที่สีเขียวของเมืองหมายถึง พื้นที่สีเขียวที่สนองประโยชนใชสอยดานนันทนาการและในขณะเดียวกันชวยเสริมสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมใหกับเมืองนั้นๆ เมืองใหญๆหลายแหงของโลกไดเล็งเห็นความสําคัญของความเปนพื้นที่สีเขียวเหลานี้ ในการพัฒนาเมืองแผนพัฒนากรุงเทพมหานครฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2545-2549)กําหนดนโยบายเพิ่มพื้นที่สีเขียวดวยการจัดหาพื้นที่ที่ยังมีการใชประโยชนไมเต็มที่มาจัดทําสวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวหนึ่งในพื้นที่ที่มีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวที่ดีของกรุงเทพมหานครไดคือวัด เนื่องจากวัดมีการเขาถึงงาย กระจายอยูทั่วทุกชุมชน สามารถรองรับกิจกรรมนันทนาการของเมือง และมักมีตนไมใหญที่ชวยเสริมสรางคุณคาดานสิ่งแวดลอม การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาการพัฒนาวัดใหเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในของกรุงเทพมหานคร เพื่อหากระบวนการเลือกวัดที่สามารถพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครได ศึกษาศักยภาพ สภาพปญหา และขอจํากัดของการพัฒนาวัดใหเปนพื้นที่สีเขียวโดยศึกษาจากวัดที่เลือกเปนกรณีศึกษา เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาวัดใหเปนพื้นที่สีเขียวที่ดีของกรุงเทพมหานครการศึกษาแบงออกเปน 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวของเมืองที่ดี ขั้นตอนที่ 2 กําหนดเกณฑในการเลือกวัดตามศักยภาพที่จะเปนพื้นที่สีเขียวที่ดีเพื่อใชเปนกรณีศึกษา ขั้นตอนที่ 3 สังเกตการณ สัมภาษณผูบริหารวัดและคนในชุมชนที่มาใชวัด เก็บขอมูลดานที่ตั้ง การเขาถึง และบริบทโดยรอบวัด ขั้นตอนที่ 4 สรุปศักยภาพ ปญหา และขอจํากัดในการพัฒนาวัดของแตละกรณีศึกษา โดยเทียบกับเกณฑมาตรฐานที่มีผูศึกษาจัดทําไว และวิเคราะหเปรียบเทียบศักยภาพ ปญหา และขอจํากัดของแตละกรณีศึกษา สรุปประเด็นที่นาสนใจของการพัฒนาวัดเพื่อเปนพื้นที่สีเขียวที่ดี และนําผลการวิเคราะหที่ไดมาสรุปเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาวัดใหเปนพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครเขตเมืองชั้นในการนําเสนอนี้เปนการเสนอกระบวนการที่ใชในการคัดกรองวัดที่มีศักยภาพพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพฯ ชั้นใน ใชเกณฑที่พัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรมในหัวขอที่เกี่ยวกับการพัฒนาวัดเพื่อเปนพื้นที่สีเขียว ภายหลังจากการเก็บขอมูลของวัดที่เปนกรณีศึกษาทั้งหมดแลวพบประเด็นที่นาสนใจที่สามารถนํามาปรังปรุงกระบวนการที่ใชในการคัดกรองวัดที่มีศักยภาพเพิ่มเติมจากที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรม โดยพิจารณาในประเด็นตางๆ คือ ปริมาณพื้นที่สีเขียวคิดเปนรอยละ ของขนาดพื้นที่ ความหลากหลายของกิจกรรม การมุงทั้ง179


ประโยชนทางการพักผอนหยอนใจและการศึกษา ปริมาณตนไมใหญใหรมเงาที่มีอยูเดิม ความชัดเจนของการแบงเขตพุทธาวาสสังฆาวาส การคัดกรองเพื่อหาวัดที่มีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพฯชั้นในตามหัวขอตางๆ นี้ ไดใชกระบวนการวิเคราะหคัดกรอง(Sieve Analysis)ในหัวขอที่เปนการพิจารณา ผาน-ไมผาน และใชระบบการใหคาน้ําหนักและคาคะแนนในหัวขอที่อาจพิจารณาเปนศักยภาพมากหรือนอย การคัดเลือกไดจากการรวบรวมรายชื่อและขอมูลของวัดในกรุงเทพมหานครชั้นในจํานวน 223 วัด เมื่อผานกระบวนการคัดกรองแลว ไดวัดที่มีศักยภาพในระดับสูงจํานวน 8 วัด ปานกลาง 10 วัด และ ระดับพอสมควรจํานวน 21 วัด1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหาปจจุบันเมืองใหญหลายแหงเล็งเห็นความสําคัญของพื้นที่สีเขียวที่สนองประโยชนใชสอยในแงนันทนาการและชวยเสริมสรางคุณคาดานสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานครเปนเมืองหนึ่งที ่กําลังประสบปญหาการขยายตัวของเมืองมากขึ้นและพื้นที่สีเขียวเริ่มลดนอยลง จึงมีความจําเปนที่กรุงเทพมหานครซึ่งเปนหนวยงานกํากับและรับผิดชอบพื้นที่โดยตรงตองหามาตรการเพิ่มปริมาณพื้นที่สีเขียว แผนพัฒนากรุงเทพมหานครฉบับที่6 (พ.ศ. 2545-2549)กําหนดนโยบายพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอมโดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวดวยการจัดหาพื้นที่ที่ยังมีการใชประโยชนไมเต็มที่มาจัดทําสวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวของเมือง แผนบริหารราชการกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2548-2551 ไดใหความสําคัญกับนโยบายดานสิ่งแวดลอม โดยเนนการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมรวมถึงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ซึ่งนอกจากการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนสาธารณะแลวยังกลาวถึงการพัฒนาที่ดินประเภทอื่นซึ่งสามารถพัฒนาขึ้นเพื่อรองรับการพักผอนหยอนใจและลดมลพิษในเมืองใหญได เชน ที่วางในสถาบันราชการ และศาสนสถาน เปนตนแผนแมบทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครป 2546 เสนอแนวคิดที่จะพัฒนาวัดใหเปนพื้นที่สีเขียวของเมืองเพื่อเพิ่มพื้นที่รองรับกิจกรรมนันทนาการใหกระจายไปตามชุมชนในเขตตางๆ ซึ่งวัดในเขตกรุงเทพมหานครมีจํานวนมากและแตละแหงมีความแตกตางกันทั้งในดานพื้นที่ ชนิด ระดับ และที่ตั้ง เปนตน ทําใหแตละวัดมีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนสีเขียวแตกตางกันไป การศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งกระบวนการคัดกรองวัดที่มีศักยภาพเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเมืองจึงเปนสิ่งสําคัญ โดยการศึกษาครั้งนี้เปนการพิจารณาจากการทบทวนวรรณกรรมในหัวขอตางๆ ที่เกี่ยวกับเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวที่ดี ประมวลเขากับขอมูลของวัดในเขตเมืองชั้นในของกรุงเทพมหานคร และนํามาคัดกรองเลือกวัดในพื้นที่กรุงเทพมหานครเขตเมืองชั้นในจํานวน 22 เขต 1เพื่อเลือกวัดที่มีศักยภาพที่จะพัฒนาในอันดับแรกๆ เพื่อนํามาพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเมืองชั้นในกรุงเทพมหานคร1ประกอบดวย พระนคร ปอมปราบศัตรูพาย สัมพันธวงศ ปทุมวัน ราชเทวี บางรัก ดุสิต พญาไท บางพลัด บางกอกนอย บางกอกใหญ สาธร ยานนาวา บางคอแหลม บางซื่อ คลองสาน ธนบุรี จตุจักร หวยขวาง ดินแดง คลองเตย วัฒนา180


2. คําจํากัดความที่ใชพื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่โลง พื้นที่วาง หรือพื้นที่โลงวางบริเวณรอบๆ หรือ ระหวางอาคารที่พัฒนาใหเกิดความรมรื่น สวยงาม เพื่อประชาชนจะไดรับประโยชนโดยตรงเพื่อการพักผอนหยอนใจ และโดยออมเพื่อรักษาสภาพแวดลอมและระบบนิเวศนของเมือง โดยพื้นที่เหลานั้นตองไดรับการจัดการตามหลักวิชาวนวัฒนวิทยา 2 และภูมิสถาปตยกรรม(คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2551: 5-1)วัด หมายถึง สถานที่ทางพุทธศาสนา ตามปกติแลวจะมีเสนาสนะและอาคารวัตถุตางๆ เปนที่พํานักอยูอาศัยศึกษาปฏิบัติธรรมวินัยและประกอบศาสนกิจของพระภิกษุสงฆ ตลอดจนเปนที่บําเพ็ญกุศลตางๆของพุทธบริษัทโดยทั่วไป ซึ่งองคประกอบของพื้นที่ภายในวัดแบงได 3 สวนคือ เขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาสและเขตธรณีสงฆซึ่งเปนพื้นที่สําหรับเอื้อประโยชนใชสอยในเชิงสาธารณะประโยชนในลักษณะตางๆของวัด3. การศึกษาจากงานดานพื้นที่สีเขียวที่มีผูจัดทําไวแลวจากการคนควาพบวามีการศึกษามาตรฐานและเกณฑพื้นที่สีเขียวซึ่งศึกษาใหกับสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไว 3 รายการไดแก• โครงการจัดทําแผนการจัดการพื้นที่สีเขียวที่สมบูรณทางดานระบบนิเวศนอยางยั่งยืน จัดทําโดยคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อพ.ศ.2549 เปนรายงานการวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวสําหรับเทศบาลทั่วประเทศ เพื่อใชเปนเปาหมายในการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของเทศบาล เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาพื้นที่สีเขียว• โครงการนํารองแนวคิดใหมสูการเปนเมืองสีเขียว : เขตเทศบาลนครเชียงใหม จัดทําโดยภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ เมื่อ พ.ศ.2549 เปนรายงานการวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทําตนแบบและแนวคิดที่ควรปฏิบัติในการพัฒนาพื้นที่สีเขียวรูปแบบตางๆของพื้นที่เขตเทศบาลนครเชียงใหม• โครงการจัดทําเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อเมืองที่นาอยู จัดทําโดยคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ป พ.ศ.2550 เปนรายงานการวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเกณฑมาตรฐานพื้นที่2วนวัฒนวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษวา silviculture เปนสาขาหนึ่งของวิชาวนศาสตรที่วาดวยการประยุกตศิลปและวิทยาศาสตรเพื่อควบคุมการเกิด การเติบโต องคประกอบ สุขภาพ และคุณภาพของหมูไมเพื่อตอบสนองความตองการ และความพึงพอใจอันหลากหลายของสังคมอยางยั่งยืน181


สีเขียวเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวทั้งในระดับเมืองและในพื้นที่สวนตางๆ ของเมือง เพื่อนําไปสูความเปนเมืองสีเขียวที่นาอยูอยางยั่งยืนการศึกษาเอกสารวิจัยทั้งสามนํามาประมวลเบื้องตนเพื่อใชกับการศึกษาพื้นที่วัดเพื่อเปนพื้นที่สีเขียวไดวาพื้นที่สีเขียวในวัดแบงพิจารณาออกเปน 3 มิติดวยกันไดแก พื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานศาสนา พื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานเสริมสรางคุณคาสิ่งแวดลอม พื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานรองรับกิจกรรมนันทนาการและการใชงานของชุมชน จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวสามารถสรุปมาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อใชในวัดตามมิติตาง ๆ ไดดังนี้3.1 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานศาสนาวัดมีบทบาทตอสังคมไทยมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซึ่งบทบาทของวัดมีทั้งดานศาสนาและดานที่เปนศูนยรวมของชุมชน เมื่อกลาวถึงหนาที่หลักของวัดทางดานพระพุทธศาสนาสามารถกลาวไดวา วัดมีหนาที่เปนสถานที่ประกอบศาสนกิจของพระภิกษุสงฆ เปนที่พักอาศัยของพระภิกษุสามเณรและเปนที่บวชเรียนศึกษาปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชน(สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ, 2550)จากหนาที่ดังกลาวทําใหวัดจําเปนตองมีการวางผังและออกแบบวัดเพื่อเอื้อประโยชนตอการใชสอยจําเปนเหลานี้ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับมาตรฐานพื้นที่สีเขียวและงานวิจัยเรื่องพื้นที่วัดแลวนํามารวบรวมลักษณะมาตรฐานของวัดที่พึงจะเปน เพื่อใหวัดยังคงทําหนาที่ของวัดที่ดีดังที่กลาวมาตอนตน ไดดังนี้• มีการแบงเขตพุทธาวาส สังฆาวาสและพื้นที่ธรณีสงฆชัดเจน(นันทพร พุมมณี, 2548)• อาคารในวัดมีความหนาแนนและเปนสิ่งปลูกสรางที่เหมาะสมกับพื้นที่วัด ปจจุบันมีการสรางอาคารใหมเปนหลังติดกัน สงผลทําใหสภาพแวดลอมในวัดดอยลงและสงผลตอการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาตางๆ และสิ่งปลูกสรางตางๆทําลายหรือบดบังความสงางามของอาคารหลัก หรือทําใหตําแหนงการวางผังของอาคารผิดไปจากคตินิยม(นันทพร พุมมณี, 2548)• วัดควรมีความสงบ รมเย็น เปนที่ยึดเหนี่ยวทั้งทางรางกายและจิตใจของประชาชนทั่วไป(สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ, 2550)3.2 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานเสริมสรางคุณคาสิ่งแวดลอมจากการศึกษาสามารถสรุปประเด็นของเอกสารที่ศึกษาในเรื่องมาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานเสริมสรางคุณคาสิ่งแวดลอมออกเปนดานตางๆไดดังนี้ดานนิเวศวิทยาพื้นที่สีเขียวที่ไดมาตรฐานควรจะเปนพื้นที่สีเขียวที่ชวยสงเสริมระบบนิเวศนของเมือและสนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงของระบบนิเวศน มาตรฐานพื้นที่สีเขียวที่ควรจะในมิตินี้ ไดแก182


• สําหรับเทศบาลนครนั้นควรมีสัดสวนพื้นที่สีเขียวในศาสนสถาน รอยละ 20 ของขนาดพื้นที่ศาสนสถานนั้น(คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2551)• ขนาดและรูปรางของพื้นที่สีเขียว ควรมีรูปรางเปนกลุมกอนซึ่งเอื้อตอการเกิดระบบนิเวศนสมบูรณ(คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)• พื้นที่สีเขียวควรเชื่อมตอกัน เพื่อใหเกิดการเชื่อมตอของระบบนิเวศนในเมือง โดยที่ความใกลไกลของหยอมหรือริ้วพื้นที่สีเขียวกับพื้นที่สีเขียวอื่นๆในบริเวณใกลเคียง ควรมีระยะหางที่ใกลที่สุดของพื้นที่สีเขียวนอยกวา 500 เมตร(ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ, 2546)• พื้นที่สีเขียวในเมืองควรสงเสริมใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพกลาวคือ มีความหลากหลายทางพันธุพืชที่ประกอบดวยพันธุไมตางๆ ทั้งไมยืนตน ไมพุม ไมเลื้อยและไมคลุมดิน(คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)• พื้นที่สีเขียวควรมีความหลากหลายและปริมาณของสัตวในพื้นที่สีเขียว โดยที่ดูไดจากปริมาณของนกในพื้นที่สีเขียวเพื่อชี้วัดความอุดมสมบูรณเบื้องตนของพื้นที่สีเขียว(คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)ดานความสามารถของพื้นที่สีเขียวในการลดความรอนหนาที่ของพื้นที่สีเขียวในดานเสริมสรางคุณคาดานสิ่งแวดลอมนั้น ควรจะชวยลดความรอนที่เกิดขึ้นใหกับตัวอาคารได เนื่องจากปจจุบันภาวะโลกรอนเปนอีกหนึ่งปญหาสําคัญที่ทั่วโลกกําลังประสบ ซึ่งพื้นที่สีเขียวที่สามารถชวยลดความรอนไดควรจะมีลักษณะดังนี้• ควรปลูกตนไมใหรมเงาแกพื้นที่เปดโลง มีตนไมยืนตนอยางนอย 1 ตนตอพื้นที่เปดโลง 50 ตารางเมตร(คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)• ควรปลูกตนไมใหรมเงาแกพื้นที่ดาดแข็ง การเกิดรมเงาแกพื้นดาดแข็งใหคิดเปนพื้นที่อยางนอย 30% และพื้นดาดแข็งควรใชวัสดุปูพื้นที่มีสีออนอยางนอย 50%(คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)• ควรปลูกตนไมใหรมเงาแกอาคารในระยะหางที่เหมาะสม(คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)ดานความสามารถของพื้นที่สีเขียวในการชะลอการไหลของน้ําและการควบคุมการชะลางพังทลายของดินพื้นที่สีเขียวที่ดีควรจะชวยแกปญหาและไมกอใหเกิดการพังทลายของดินได ซึ่งควรจะเลือกใชลักษณะพื้นที่สีเขียวดังนี้• มีพื้นที่ดาดแข็งนอยและใชอยางมีประสิทธิภาพ ในพื้นที่ธรรมชาตินั้นปริมาณน้ําฝนกวา 50% สามารถซึมผานลงสูชั้นดินได มีเพียง 10% ที่เปนน้ําไหลนอง แตพื้นที่เมืองหรือพื้นดาดแข็งปริมาณน้ําที่เคยซึมผานลง183


ดินเพื่อสะสมเปนน้ําใตดินก็จะกลายเปนน้ําไหลนอง ซึ่งเสี่ยงตอการเกิดภาวะน้ําทวมขัง และการเกิดมลภาวะแกแหลงน้ําธรรมชาติ ดังนั้นพื้นที่สีเขียวควรที่จะมีการใชพื้นดาดแข็งที่น้ําซึมผานได ใชวัสดุพื้นผิวดาดแข็งที่น้ําซึมผานไดเปนพื้นที่อยางนอย 75% ของพื้นดาดแข็งทั้งหมด (คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)• มีพื้นที่สนามหญาเทาที่จําเปน เพื่อลดการใชปุยและยาฆาแมลง(คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2551)3.3 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานรองรับกิจกรรมนันทนาการและการใชงานของชุมชนจากการศึกษามาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดทางดานรองรับกิจกรรมนันทนาการและการใชงานของชุมชนนอกจากจะศึกษาถึงมาตรฐานของสวนในระดับชุมชนแลวยังตองศึกษาถึงลักษณะกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะกับพื้นที่ศาสนสถานควบคูไปดวย ซึ่งจากการศึกษาความสอดคลองในประเด็นตางๆของเอกสารที่เกี่ยวของกับพื้นที่สีเขียวรองรับกิจกรรมนันทนาการและการใชงานของชุมชนดังแผนภาพตอไปนี้เกณฑดานผังเมืองสวนสาธารณะ สนามกีฬา หองสมุด และพิพิธภัณฑกรมโยธาธิการและผังเมืองมาตรฐานเกี่ยวกับสวนสาธารณะและสิ่งอํานวยความสะดวกPlanning the modern cityเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อเมืองที่นาอยู ที่วางในศาสนสถานเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อเมืองที่นาอยูคณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.มาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานรองรับกิจกรรมนันทนาการแผนภาพ 1 ความสอดคลองของเอกสารที่ศึกษาในหัวขอมาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานรองรับกิจกรรมนันทนาการสามารถสรุปมาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานรองรับกิจกรรมนันทนาการ ไดดังนี้• ควรเปนพื้นที่ที่มีกิจกรรมสําหรับประชาชนทุกวัยในชุมชนทั้งเด็กและผูใหญสามารถมาใชไดรวมกันภายในพื้นที่เดียวกัน• คลุมพื้นที่ใหบริการในรัศมี 1-2.5 กิโลเมตร (หรือสามารถเดินทางไปถึงไดโดยระบบขนสงมวลชนสาธารณะในเวลาไมเกิน 30 นาที)• มีกิจกรรมที่หลากหลาย มุงทั้งประโยชนทางการพักผอนหยอนใจและการศึกษา• มีจํานวนถาวรวัตถุในพื้นที่ เชน ทางเดินทางวิ่ง มานั่ง บริเวณรมรื่นสําหรับนั่งเลน ลานอเนกประสงคไฟฟาแสงสวาง ที่เหมาะสมกับพื้นที่184


• ควรมีการสงเสริมการศึกษาหาความรูดานธรรมชาติ/วัฒนธรรมทองถิ่น• ชุมชนควรมีหนาที่ดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวรวมกัน โดยถือวาเปนสาธารณสมบัติของชุมชน• พื้นที่สีเขียวตองอยูไดดวยตนเอง โดยไมตองการดูแลรักษา ใชน้ํานอย4. กระบวนการที่ใชคัดกรองวัดเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานครแผนแมบทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครที่มีเปาหมายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรดานสภาวะแวดลอมตามมาตรฐานเมืองนาอยู โดยมีเปาหมายคือการเพิ่มพื้นที่สวนสาธารณะเพื่อพักผอนหยอนใจ โดยในแผนระยะสั้น (พ.ศ. 2545-2549) เปาหมายขั้นต่ํา 2.5 ตรม./คน แผนระยะกลาง(พ.ศ. 2545-2559) เปาหมายขั้นต่ํา 3.5 ตรม./คน และในแผนระยะยาว(พ.ศ. 2545-2569) เพิ่มเปาหมายเปน 4ตรม./คน ตามมาตรฐานสากล ซึ่งในป พ.ศ. 2544 พบวามีสัดสวนพื้นที่สวนสาธารณะตอประชากร เพียง 1.60ตรม./คน (สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2546) ดังนั้นกระบวนการที่นํามาใชจึงมีเปาหมายเพื่อเลือกวัดที่สามารถพัฒนาแลวเห็นผลของการพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวตามมาตรฐานไดเร็วที่สุดเพื่อผลในการเปนโครงการนํารองที่จะเปนตัวอยางแกพื้นที่อื่นๆ ทําใหการพิจารณาคัดกรองวัดจะพิจารณาวัดที่มีความใกลเคียงเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรมประกอบกับเกณฑดานบริหารจัดการอื่นๆ โดยแบงขั้นตอนการคัดกรองไดดังนี้4.1 วัดที่ไมไดอยูในพื้นที่ที่มีแผนและนโยบายในการพัฒนาพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวของกรุงเทพมหานคร4.2 การพิจารณาเกณฑพื้นที่สีเขียวระดับทําเลที่ตั้งและตําแหนงที่ตั้ง4.3 วัดที่อยูในแผนพัฒนา หรือ ยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานคร4.4 การพิจารณาเกณฑพื้นที่สีเขียวระดับพื้นที่โครงการ4.5 การพิจารณาถึงความหลากหลายของพื้นที่โครงการ185


แผนภาพ 2 กระบวนการที่ใชคัดกรองวัดเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานคร5. การคัดกรองวัดเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานครพิจารณาจากวัดจํานวน 223 วัด จาก 22 เขตกรุงเทพเมืองชั้นใน สามารถคัดกรองตามขั้นตอนกระบวนการ ดังนี้5.1 วัดที่ไมไดอยูในแผนและนโยบายพัฒนาเพื่อการทองเที่ยวของกรุงเทพมหานครวัดในกรุงเทพมหานครเขตเมืองชั้นในมีจํานวนมากและบางวัดมีนโยบายพัฒนาพื้นที่วัดเพื่อการทองเที่ยวซึ่งนโยบายการพัฒนาวัดเพื่อการทองเที่ยวมีวัตถุประสงคพัฒนาวัดเพื่อการทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมในระดับประเทศหรือระดับเมืองเปนหลัก นับเปนจุดมุงหมายที่แตกตางจากการพัฒนาวัดเพื่อเปนพื้นที่สีเขียวซึ่งมีวัตถุประสงคพัฒนาเพื่อชุมชนโดยรอบเปนหลัก จึงจะทําการคัดกรองวัดที่อยูในแผนพัฒนาเพื่อการทองเที่ยวออกเปนลําดับแรกเมื่อศึกษานโยบายของกรุงเทพมหานครแลวพบวามีวัดที่อยูโครงการในแผนพัฒนาพื้นที่อนุรักษศิลปวัฒนธรรมและสงเสริมการทองเที่ยวของกรุงเทพมหานครจํานวน 47 วัด ไดแก วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดสุทัศนเทพวราราม วัดใหญศรีสุพรรณ วัดประดิษฐาราม วัดราชคฤห วัดอินทาราม วัดจันทาราม วัดบางไสไก วัดหิรัญรูจี วัดกัลยาณมิตร วัดประยุรวงศาวาส วัดเวฬุราชิณ วัดบุปผาราม วัดอรุณราชวราราม วัดโมลีโลกยาราม วัดสังขกระจาย วัดราชสิทธาราม วัดนาคกลาง วัดเครือวัลย วัดทองธรรมชาติ วัดพิชยญาติการาม วัดอนงคาราม วัดทองนพคุณ วัดระฆังโฆสิตาราม วัดอมรินทราราม วัดครุฑ วัดสุวรรณาราม วัดอัมพวา วัดสุวรรณคีรี วัดพระยาทํา วัดศรีสุดาราม วัดฉิมทายกาวาส วัดชิโนรสาราม วัดวิเศษการ วัดนายโรงวัดภาวนาภิรตาราม วัดดุสิดาราม วัดบางบําหรุ วัดบางยี่ขัน วัดบวรมงคล วัดใหมเทพนิมิต วัดดาวดึงษาราม186


วัดนอยนางหงษ(หงษรัตนาราม) วัดจตุรมิตรประดิษฐาราม วัดพระยาศิริไอยสวรรค วัดคฤหบดี วัดอมรคีรีตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสูเมืองนาอยู(สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2549) เมื่อตัดวัดที่มีนโยบายดานการทองเที่ยวออกแลวทําใหมีวัดที่มีศักยภาพที่จะนํามาพิจารณาจํานวน 176 วัด5.2 การพิจารณาเกณฑพื้นที่สีเขียวระดับทําเลที่ตั้งและตําแหนงที่ตั้ง• เปนวัดที่อยูบนถนนที่ชุมชนสามารถเขาถึงไดงายดูจากการเปนวัดที่สามารถเดินทางไปถึงไดโดยระบบขนสงมวลชนสาธารณะในเวลาไมเกิน30 นาที หรืออยูในระยะการเดิน 400 เมตรจากเสนทางคมนาคมหลัก (ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอมมหาวิทยาลัยแมโจ, 2546)พิจารณาวัดที่อยูบนถนนที่ชุมชนสามารถเขาถึงไดงายสามารถเดินทางไปถึงไดโดยระบบขนสงมวลชนสาธารณะในเวลาไมเกิน 30 นาที หรืออยูในระยะการเดิน 400 เมตรจากเสนทางการคมนาคมหลัก พิจารณาจากภาพถายดาวเทียม DigitalGlobe, GeoEye พ.ศ.2551 จาก Website www.pointasia.com ประกอบแผนที่กรุงเทพมหานคร มาตราสวน 1:82,000 ดังตัวอยางภาพ 1สรุปไดวาจากการพิจารณาวัดทั้งหมด 176 วัด พบวาทุกวัดผานเกณฑการพิจารณาในขอนี้• เปนพื้นที่วัดที่สามารถเชื่อมโยงสูพื้นที่สีเขียวอื่นๆไดพิจารณาในรูปแบบเครือขายพื้นที่สีเขียวที่สัมพันธกันทางกายภาพของพื้นที่เมือง ชุมชนเพื่อใหเกิดการเชื่อมตอของระบบนิเวศนในเมือง โดยสามารถเชื่อมโยงสูพื้นที่สีเขียวอื่นไดในระยะ 500 เมตรเชน พื้นที่สีเขียวในสถาบันราชการ พื้นที่สีเขียวในสถาบันศาสนา พื้นที่สีเขียวริมเสนทางสัญจรหรือริมแมน้ํา พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่โลงวางสีเขียว เปนตน (ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ,2546) ตามมาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดมิติดานเสริมสรางคุณคาสิ่งแวดลอมวัดที่มีมีการเชื่อมโยงของพื้นที่ สามารถเชื่อมโยงสูพื้นที่สีเขียวอื่นๆไดโดยที่อยูในระยะ 500 เมตรโดยรอบรัศมีจากพื้นที่สีเขียวอื่น พิจารณาจากภาพถายดาวเทียม DigitalGlobe, GeoEye พ.ศ.2551 จากWebsite www.pointasia.com ประกอบแผนที่กรุงเทพมหานคร มาตราสวน 1:82,000 ดังตัวอยางภาพ 2จากการพิจารณาวัดทั้งหมด 176 วัด พบวามีวัดที่ผานเกณฑการพิจารณาในขอนี้จํานวน 171 วัด187


ภาพ 1 ตัวอยางการพิจารณาเปนวัดที่อยูบนถนนที่ชุมชนภาพ 2 ตัวอยางการพิจารณาเปนพื้นที่วัดที่เชื่อมโยงของพื้นที่ สามารถเชื่อมโยงสูพื้นที่สีเขียวอื่นๆได• เปนวัดที่ตั้งอยูในแหลงชุมชนเนื่องจากวัดเปนศูนยกลางของชุมชน เปนที่ประกอบกิจกรรมของชุมชนทั้งทางดานศาสนาและประเพณีซึ่งควรจะมีความชวยเหลือเกื้อกูลเปนอันหนึ่งอันเดียว(สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงขาติ, 2550)โดยที่มาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดไดกลาวไววาวัดควรเปนพื้นที่สําหรับประชาชนทุกวัยในชุมชนไดเขามาใชและชุมชนควรมีหนาที่ดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวรวมกัน ดังนั้นวัดควรตั้งอยูในแหลงชุมชน มีความสัมพันธระหวางวัดกับชุมชนที่เหนียวแนน โดยพิจารณาจากมีชุมชนตั้งอยูในพื้นที่โดยรอบรัศมีวัด ในระยะ 200 เมตร ไมวาจะเปนชุมชนแออัด ชุมชนเมือง ชุมชนหมูบานจัดสรร หรือเคหะชุมชน โดยพิจารณาไดจากแผนที่ชุดการใชที่ดิน พ.ศ.2548 ของสํานักผังเมือง กรุงเทพมหานครวัดที่ตั้งอยูในแหลงชุมชน พิจารณาจากชุมชนตั้งอยูในพื้นที่โดยรอบรัศมีวัดในระยะ 200 ม.พิจารณาจากภาพถายดาวเทียม DigitalGlobe, GeoEye พ.ศ.2551 จาก Website www.pointasia.comประกอบแผนที่กรุงเทพมหานคร มาตราสวน 1:82,000 และแผนที่ชุดการใชที่ดิน พ.ศ. 2548 ของสํานักผังเมืองกรุงเทพมหานครดังตัวอยางภาพ 3จากการพิจารณาวัดทั้งหมด 171 วัด พบวามีวัดที่ผานเกณฑการพิจารณาในขอนี้จํานวน 112 วัดภาพ 3ตัวอยางการพิจารณาเปนวัดที่ตั้งอยูในแหลงชุมชน188


5.3 วัดที่อยูในแผนพัฒนา หรือ ยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานครการเลือกวัดเพื่อที่จะพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเมืองเปนโครงการแรกๆ นั้นควรพิจารณาจัดลําดับความสําคัญของวัดที่อยูในพื้นที่ในแผนพัฒนา หรือ ยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองที่เกี่ยวของกับการพัฒนาระบบการวางผังเมืองรวมการใชที่ดินและปรับปรุงประสิทธิภาพระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการใหไดมาตรฐานและพัฒนาระบบการจราจร /การขนสงภายในเขตกรุงเทพมหานครใหมีประสิทธิภาพ มีความสําคัญตอการเลือกพื้นที่สีเขียวเพื่อพัฒนา ทั้งนี้เพื่อผลักดันใหสามารถปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่สีเขียวใหเกิดขึ้นไดจริงและเปนรูปธรรมจากการพิจารณาแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสูเมืองนาอยู (สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2549)ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเขตเมืองชั้นใน ซึ่งไดกลาวถึงแผนงานการพัฒนาบริเวณที่โลงสาธารณะ และการพัฒนาพื้นที่โลงและสวนสวนธารณะ โดยกลาวถึงเขตที่อยูในแผนงานทั้งหมด <strong>13</strong> เขตดวยกันไดแกพื้นที่เขต ปทุมวันราชเทวี บางรัก พญาไท สาธร ยานนาวา บางคอแหลม บางซื่อ จตุจักร หวยขวาง ดินแดง คลองเตย วัฒนาจากพื้นที่กรุงเทพมหานครเขตเมืองชั้นใน 22 เขต ที่พิจารณาไวเปนเบื้องตนที่ผานมา จากการพิจารณาเกณฑในขอนี้พบวามีวัดที่ผานเกณฑพิจารณาในขอนี้ 39 วัดภาพ 4 พื้นที่ที่อยูในแผนงานโครงการพัฒนารุงเทพมหานครดานที่โลงสาธารณะและสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานครเขตเมืองชั้นใน5.4 การพิจารณาเกณฑพื้นที่สีเขียวระดับพื้นที่โครงการการพิจารณาในระดับพื้นที่โครงการ หมายถึงการพิจารณาสิ่งที่มีอยูเดิมในอาณาบริเวณวัด ซึ่งการพิจารณาในระดับนี้ มิไดเปนเงื่อนไขของการมีหรือไมมี ใชหรือไมใช แตเปนคาระดับความยากงายของการพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียว การคัดกรองในขั้นนี้จึงใชวิธีการปะเมินดวยคาคะแนน โดยพิจารณาใหคาคะแนนเปน 4ระดับ คือไมมีศักยภาพในการพัฒนา คาคะแนน 0มีศักยภาพในการพัฒนาบาง คาคะแนน 1มีศักยภาพในการพัฒนาปานกลาง คาคะแนน 2มีศักยภาพในการพัฒนามาก คาคะแนน 3189


โดยที่เกณฑแตละขอจะมีการใหคาความสําคัญของคะแนนแตกตางกันไปตามความสําคัญของเกณฑขอนั้นๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้• เปนวัดที่มีพื้นที่สีเขียวในศาสนสถาน รอยละ 20 ของขนาดพื้นที่ศาสนสถานนั้นมาตรฐานนี้ไดจากการศึกษารูปแบบของพื้นที่สีเขียวในศาสนสถาน ซึ่งถือวาเปนมาตรฐานขั้นต่ําเพื่อที่จะสามารถพัฒนาพื้นที่สีเขียวตอไปไดภายหลัง ขนาดและรูปรางของพื้นที่สีเขียวซึ่งควรมีขนาดเพื่อเอื้อตอการเกิดระบบนิเวศนสมบูรณตามที่มาตรฐานกําหนด และสามารถพัฒนาใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพและปริมาณสัตวในภายหลัง พิจารณาจากหนังสือประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม 1 จัดทําโดย กองพุทธสถาน สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ป พ.ศ. 2549 ซึ่งกลาวถึงรายละเอียดขนาดพื้นที่วัด จํานวนและขนาดอาคารภายในวัดของกรุงเทพมหานคร ขอมูลดังกลาวสามารถนํามาคํานวณหาสัดสวนพื้นที่สีเขียวในศาสนสถานเหลานี้ไดโดยที่การพิจารณานั้นพิจารณาพื้นที่โลงวางสีเขียวตอสัดสวนพื้นที่วัดทั้งหมด ออกมาเปนคารอยละซึ่งแบงสัดสวนพื้นที่โลงวางสีเขียวตอพื้นที่วัด 61% มีคาคะแนน 3• เปนวัดที่มีกิจกรรมหลากหลายดูจากกิจกรรมที่วัดมีอยูแลวทั้งประโยชนทางการพักผอนหยอนใจและการศึกษา และเปนสถานที่ทํากิจกรรมของชุมชนตามมาตรฐานพื้นที่สีเขียว พิจารณาจากวัดที่มีการใชงานทางดาน พิพิธภัณฑหองสมุด และสถานศึกษาที่เปนโรงเรียนระดับตางๆ ศูนยชุมชน ศูนยสุขภาพ เปนตน ภายในที่วัดที่เปนการใชงานที่เพิ่มขึ้นนอกจากการใชงานทางดานศาสนา ซึ่งสามารถพิจารณาจาก ขอมูลทั่วไปของวัด ที่จัดทําโดยสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ พ.ศ. 2549 ประกอบกับภาพถายดาวเทียมจาก Websitewww.pointasia.comโดยที่การพิจารณาในเกณฑนี้พิจารณาจากจํานวนกิจกรรมที่เกิดภายในวัดดังที่กลาวมาซึ่งแบงการใหคาคะแนนเปนดังนี้ มีกิจกรรม 5 กิจกรรม มีคาคะแนน 3• เปนวัดที่มีตนไมใหญใหรมเงาแกพื้นที่เนื่องจากตนไมใหญจะชวยลดความรอนและลดระดับความรุนแรงของลม อีกทั้งยังชวยสงเสริมใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ตามมาตรฐานพื้นที่สีเขียว ซึ่งพิจารณาจากภาพถายทางอากาศจาก Website www.pointasia.com ประกอบกับฐานขอมูลตนไมขนาดใหญในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนขอมูลสวนหนึ่งของแผนแมบทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครจัดทําโดยคณะวนศสาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรป พ.ศ. 2546190


พิจารณาจากความหนาแนนของพื้นที่ตนไมใหญตอสัดสวนพื้นที่วัดทั้งหมด ออกมาเปนคารอยละซึ่งแบงการใหคาคะแนนเปนดังนี้ ความหนาแนน 61% มีคาคะแนน 3• เปนวัดที่มีการแบงเขตพุทธาวาสและสังฆาวาสชัดเจนไดแกการพิจารณาวาไมมีการแบงพื้นที่พุทธาวาสสังฆาวาสซอนทับกันตามที่กลาวไวถึงมาตรฐานพื้ นที่สีเขียวด านศาสนาโดยการพิจารณาจากภาพถายดาวเทียมจาก Websitewww.googleearth.com รวมกับการสํารวจพื้นที่จริงภายในวัดโดยที่การพิจารณานั้นพิจารณาจากการแบงเขตพุทธาวาส สังฆาวาสภายในวัดซึ่งแบงคาระดับคะแนนเปนดังนี้ มีการแบงเขตพุทธาวาส สังฆาวาสไมชัดเจนและไมสามารถปรับปรุงได มีคาคะแนน 0,ไมชัดเจนแตสามารถปรับปรุงไดบางเขต มีคาคะแนน 1,ไมชัดเจน สามารถปรับปรุงไดทุกเขต มีคาคะแนน 2 ,ชัดเจนตามการแบงเขตในการวางผังวัด มีคาคะแนน 3จากเกณฑพื้นที่สีเขียวระดับพื้นที่โครงการใน 4 หัวขอหลักดังที่กลาวมาขางตน แตละขอมีความสําคัญตอศักยภาพการพัฒนาพื้นที่สีเขียวไมเทากันสามารถจัดลําดับความสําคัญและใหความสําคัญของน้ําหนักคะแนนในแตละขอไดดังนี้• เปนวัดที่มีพื้นที่สีเขียวในศาสนสถาน รอยละ 20 ของขนาดพื้นที่ศาสนสถานนั้นเปนเกณฑที่มีความสําคัญเปนอันดับแรกสําหรับการพัฒนาพื้นที่สีเขียว เนื่องจากเกณฑในขอนี้มีความเกี่ยวเนื่องสงผลตอเกณฑมาตรฐานขออื่นๆอีกทั้ง 3 ดาน คือทั้งทางดานศาสนา ดานเสริมสรางคุณคาดานสิ่งแวดลอม ดานรองรับกิจกรรมนันทนาการ จึงใหคาความสําคัญของคะแนนในเกณฑพิจารณาขอนี้เปนคา 2 เทาของคาคะแนน• เปนวัดที่มีกิจกรรมที่หลากหลายเปน เกณฑพิจารณาในดานกิจกรรมหลากหลายที่เกิดขึ้นในวัด ซึ่งมีผลเกี่ยวเนื่องสงผลตอเกณฑมาตรฐานขออื่นๆอีกหลายขอในการพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามมาตรฐานดานรองรับกิจกรรมนันทนาการ จึงใหคาความสําคัญของคะแนนในเกณฑพิจารณาขอนี้เปนคา 1 เทาของคาคะแนน• เปนวัดที่มีตนไมใหญใหรมเงาแกพื้นที่เปนเกณฑพิจารณาที่เปนองคประกอบหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามมาตรฐานดานเสริมสรางคุณคาดานสิ่งแวดลอม จึงใหคาความสําคัญของคะแนนในเกณฑพิจารณาขอนี้เปนคา 0.5 เทาของคาคะแนน• เปนวัดมีการแบงเขตพุทธาวาสสังฆาวาสใหชัดเจนเปนเกณฑพิจารณาที่เปนองคประกอบหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามมาตรฐานดานศาสนา จึงใหคาความสําคัญของคะแนนในเกณฑพิจารณาขอนี้เปนคา 0.5 เทาของคาคะแนน191


5.5 การพิจารณาถึงความหลากหลายของพื้นที่โครงการเนื่องจากวัดในกรุงเทพมหานครในเขตเมืองชั้นในมีจํานวนคอนขางมากและมีความหลากหลายที่แตกตางกันไป จากการทบทวนวรรณกรรมพบวาสิ่งที่แบงใหวัดมีลักษณะเฉพาะแตกตางกัน คือยานที่ตั้งของวัดซึ่งแบงวัดในแตละยานใหมีหนาที่การใชงานและลักษณะวัดคลายคลึงกันในแตละยาน (ศิวาภรณ รัตนพันธุ,2538) จึงไดคัดแยกวัดที่พิจารณาโดยระบุความแตกตางของยานในเขตกรุงเทพชั้นใน คือ• วัดที่ตั้งอยูในเขตศูนยกลางธุรกิจ การคา บริการ และการทองเที่ยวระดับภูมิภาคเปนเขตที่ตั้งของสํานักงาน ธุรกิจพาณิชระดับชาติ แหลง จับจายสินคา คุณภาพและศูนยรวมของโรงแรมและที่พักของนักทองเที่ยว (สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2549)• วัดที่ตั้งอยูในเขตเศรษฐกิจใหม ยานการคาบริการ ที่อยูอาศัยหนาแนนมาก และเขตเศรษฐกิจใหมริมแมน้ําเจาพระยา (สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2549)ตารางการเลือกพื้นที่ศึกษาในระดับพื้นที่โครงการโดยใหคาคะแนนหัวขอเกณฑการเลือกพื้นที่ศึกษา1.พื้นที่โลงวางสีเขียวตอสัดสวนพื้นที่วัดทั้งหมด2.เปนวัดที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย3.วัดที่มีตนไมใหญใหรมเงาแกพื้นที่4.เปนวัดมีการแบงเขตพุทธาวาส สังฆาวาสใหชัดเจนคาคะแนนรวมความสําคัญของน้ําหนักคะแนนชื่อวัดคา 2 เทาของคาคะแนนคา 1 เทาของคาคะแนนคา 0.5 เทาของคาคะแนนคา 0.5 เทาของคาคะแนนเขตศูนยกลางธุรกิจ การคา บริการ และการทองเที่ยวระดับภูมิภาคบรมนิวาส 4.00 1.00 1.00 1.50 7.50ภาษี 4.00 1.00 1.00 0.50 6.50มวงแค 2.00 2.00 0.00 1.50 5.50ชํานิหัตถการ 4.00 0 0.50 0.50 5.00มหาพฤฒาราม 2.00 1.00 0.50 0.50 4.00ดวงแข 2.00 1.00 0.00 1.00 4.00สุทธิวราราม 2.00 1.00 0.50 0.50 4.00แกวแจมฟา 2.00 1.00 0.00 0.50 3.50ดอน(บรมสกลศรีสุทธิโสภณรังสรรค) 2.00 1.00 0.50 0.00 3.50หัวลําโพง 2.00 1.00 0.00 0.00 3.00ชัยมงคล 2.00 1.00 0.00 0.00 3.00ลุมเจริญศรัทธา 2.00 0 0.50 0.00 2.50192


หัวขอเกณฑการเลือกพื้นที่ศึกษาความสําคัญของน้ําหนักคะแนน1.พื้นที่โลงวางสีเขียวตอสัดสวนพื้นที่วัดทั้งหมดคา 2 เทาของคาคะแนน2.เปนวัดที่มีกิจกรรมที่หลากหลายคา 1 เทาของคาคะแนน3.วัดที่มีตนไมใหญใหรมเงาแกพื้นที่คา 0.5 เทาของคาคะแนน4.เปนวัดมีการแบงเขตพุทธาวาส สังฆาวาสใหชัดเจนคา 0.5 เทาของคาคะแนนคาคะแนนรวมชื่อวัดเขตเศรษฐกิจใหม แหลงจางงาน และเขตเศรษฐกิจใหมริมแมน้ําเจาพระยาชองนนทรี 4.00 1.00 0.50 1.00 6.50ดอกไม 4.00 1.00 0.50 1.00 6.50พระราม 9 กาญจนาภิเษก 4.00 1.00 0.50 1.00 6.50ราชสิงขร 4.00 2.00 0.00 0.00 6.00บางโคลนอก 4.00 1.00 0.50 0.50 6.00ทองสุทธาราม 4.00 1.00 1.00 0.00 6.00เวตวันธรรมาวาส 2.00 1.00 1.00 1.50 5.50อนัมนิกายาราม 4.00 0 0.50 1.00 5.50มัชฌันติการาม 4.00 1.00 0.50 0.00 5.50ดาน 2.00 2.00 0.50 0.50 5.00ลาดบัวขาว 2.00 2.00 0.50 0.50 5.00อภัยทายาราม 2.00 1.00 0.50 1.50 5.00สะพาน 2.00 2.00 0.50 0.00 4.50ไผเงินโชตนาราม 2.00 2.00 0.50 0.00 4.50พรหมวงศาราม 2.00 1.00 0.50 0.50 4.00เลียบราษฎรบํารุง 2.00 1.00 1.00 0.00 4.00ประชาศรัทธาธรรม 2.00 1.00 0.00 1.00 4.00ไผตัน 2.00 1.00 0.50 0.00 3.50เทวสุนทร 2.00 1.00 0.00 0.50 3.50บางโพโอมาวาส 2.00 1.00 0.00 0.50 3.50ดิสหงษาราม 2.00 1.00 0.50 0.00 3.50ชองลม 2.00 1.00 0.00 0.00 3.00คลองเตยใน 2.00 1.00 0.00 0.00 3.00อินทรบรรจงทรงวาดราษฎรบํารุง 2.00 0 0.50 0.50 3.00กุนนทีรุทธาราม 2.00 1.00 0.00 0.00 3.00สรอยทอง 2.00 1.00 0.00 0.00 3.00ประดูธรรมาธิปตย 2.00 0 0.00 0.50 2.50193


6. การนํากระบวนการไปใชกับพื้นที่อื่นๆกระบวนการคัดกรองวัดเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานครที่นําเสนอในการวิจัยครั้งนี้สามารถนํากระบวนการดังกลาวไปประยุกตใชกับพื้นที่อื่นๆไดโดยที่อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดการพิจารณาบางขั้นโดยที่ตองดูถึงเปาหมายของการพัฒนาวาตองการพัฒนาวัดเพื่อเปนพื้นที่สีเขียวอยางไร และนําเปาหมายดังกลาวมากําหนดกระบวนการที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรมมาตรฐานพื้นที่สีเขียวในวัดที่ดี การคัดกรองดังกลาวสามารถใชในการตัดสินใจจัดลําดับการพิจารณากอน – หลัง ไดในแผนพัฒนาพื้นที่สีเขียวของเมืองในแงอื่นๆ ดวย นอกเหนือจากพื้นที่วัดที่กลาวมาในการศึกษานี้บทความนี้เปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธเรื่อง การพัฒนาวัดเพื่อเปนพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานครหลักสูตร : ภูมิสถาปตยกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรมคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบรรณานุกรมกรมการศาสนา. ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร. เลม2. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ, 2526.กรมโยธาธิการและผังเมือง. เกณฑดานผังเมือง : สวนสาธารณะ สนามกีฬา หองสมุด และพิพิธภัณฑ.กรุงเทพมหานคร: กรมโยธาธิการและผังเมือง, 2547.คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. รายงานฉบับสมบูรณแผนแมบทพื้นที่สีเขียวกรุงเทพมหานคร.กรุงเทพมหานคร: สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร,2536.คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โครงการจัดทําแผนการจัดการพื้นที่สีเขียวที่สมบูรณทางดานระบบนิเวศอยางยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2549.คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. โครงการจัดทําเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อเมืองที่นาอยู. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม,2550.ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ. รายงานฉบับสมบูรณโครงการนํารองแนวคิดใหมสูการเปนเมืองสีเขียว ; เขตเทศบาลนครเชียงใหม. เชียงใหม: สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2549.นิลุบล คลองเวสสะ. เอกสารคําสอน วิชาการวางแผนและออกแบบสวนสาธารณะและนันทนาการ.กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,(ม.ป.ท.),2542.194


โครงการวางผัง และปรับปรุงภูมิทัศนในพื้นที่โบราณสถานนครจําปาศรี อ.นาดูน จ.มหาสารคามPLANNING AND DESIGN GUIDLINE FOR LANDSCAPE OF JUMPASRI - THE ANCIENTMONUMENTS IN MAHASARAKHAM PROVINCEนางสาวสุนิดา ชินณะวงศหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอนครจําปาศรีเปนชุมชนโบราณที่สําคัญในจังหวัดมหาสารคาม มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร และพัฒนาอยางตอเนื่องจนถึงพุทธศตวรรษที่ 12 ชุมชนแหงนี้ไดรับวัฒนธรรมทวารวดีจากภาคกลาง มีการขุดแนวคูเมือง กําแพงเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผามุมมน ราวพุทธศตวรรษที่ 16 อิทธิพลขอมไดเขามามีบทบาทในพื้นที่ มีการสรางกูนอยและขุดบารายขึ้นเพื่อเก็บน้ําในชุมชน ตอมาในชวงพุทธศตวรรษที่ 18 ชวงการปกครองของพระเจาชัยวร-มันที่ 7 ก็ไดมีสรางกูสันตรัตน (อโรคยาศาล) และมีการขยายแนวคูน้ําคันดินเพิ่มออกไปเปนวงที่สองครอบทับคูน้ําเดิม ภายหลังจากพุทธศตวรรษที่ 18 สันนิษฐานวาชุมชนแหงนี้ยังมีการอยูอาศัยสืบตอมาเปนระยะหนึ่ง กอนที่จะมีการละทิ้งเมืองเพื่อยายถิ่นฐานไปยังที่อื่นตอมาชุมชนแหงนี้ก็ไดลมสลายไปกระทั่ง พ.ศ. 2417 ชาติพันธุลาวก็อพยพเขามาตั้งชุมชน และทําเกษตรกรรมในพื้นที่นครจําปาศรีสืบเนื่องจนถึงปจจุบันปจจุบันไดมีการศึกษาและจัดทําแผนแมบทเพื่อการพัฒนานครจําปาศรีและบริเวณขุดพบสถูปพระธาตุนาดูนจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร ผังเมืองและนฤมิตศิลป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แตในแผนที่จัดทํานั้นเปนแคการวางแผนการพัฒนาในขั้นตนเพียงเทานั้น ดังนั้นวิทยานิพนธฉบับนี้จึงเปนการนําเสนอแนวทางการวางผังแมบท และปรับปรุงภูมิทัศนภายในโบราณสถานที่สําคัญในพื้นที่นครจําปาศรี ซึ่งการพัฒนาพื้นที่นั้นจะเปนการตอบสนองตามแผนที่ไดจัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาพื้นที่ดังกลาวใหเปนแหลงทองเที่ยวและเปนแหลงเรียนรูทางประวัติศาสตรที่สําคัญ โดยจะทําการสํารวจลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ สภาพชุมชนปจจุบันที่อยูภายในพื้นที่นครจําปาศรี รวมถึงศึกษาแนวคิดดานการอนุรักษพื้นที่โบราณสถาน แลวนําหลักการพรอมทั้งแนวคิดมาประยุกตใชกับพื้นที่ เพื่อการอนุรักษพื้นที่ประวัติศาสตร และโบราณสถานภายในนครจําปาศรีพรอมทั้งพัฒนาชุมชน ปลูกจิตสํานึกใหชุมชนเปนสวนหนึ่งในการดูแลรักษาภูมิทัศนในพื้นที่โบราณสถานตอไปดังนั้นจากการศึกษาครั้งนี้จะไดผลการศึกษาที่จะใชพัฒนาพื้นที่ออกเปน 2 ประเด็น ไดแก1. ผังแมบทในดานการพัฒนาพื้นที่ โดยการวางแผนการใชที่ดินใหกับชุมชนโดยรอบที่มีการขยายตัวเขาไปรุกล้ําพื้นที่ทางประวัติศาสตรและพื้นที่โบราณสถาน2. ผังการออกแบบภูมิทัศนในสวนพื้นที่โบราณสถานที่สําคัญ เพื่อพัฒนาพื้นที่โบราณสถานดังกลาวใหเปนแหลงทองเที่ยวและเปนแหลงเรียนรูทางประวัติศาสตรของนครจําปาศรี อีกสวนหนึ่งคือเพื่อแกปญหาการรุกล้ําพื้นทีโบราณสถาน และจัดใหชุมชนเปนสวนหนึ่งในการดูแลรักษาภูมิทัศนในพื้นที่โบราณสถานคําสําคัญ นครจําปาศรี, ชุมชนโบราณ, พื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตร, การปรับปรุงภูมิทัศน195


บทนํา“นครจําปาศรี” หรือ“เมืองสระบัว” ตั้งในเขตพื้นที่อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม เปนชุมชนโบราณที่มีประวัติศาสตรยาวนานมีวิวัฒนาการตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร ชวงพุทธศตวรรษที่ 12 นครจําปาศรีไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมทวารวดีที่คลายคลึงกับเมืองนครชัยศรี มีการขุดคูน้ําคันดินเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผามุมมน มีการสรางสถูป และศาสนสถานขึ้นหลายแหง เชน ศาลานางขาว และสถูปบรรจุพระบรมสาริกธาตุที่ถูกขุดพบนอกเมือง เปนตน “นครจําปาศรี” พัฒนาสืบเนื่องมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อิทธิพลรวมแบบขอมก็ไดเขามามีบทบาทสําคัญในพื้นที่ โดยมีการพบหลักฐานทางโบราณคดี และโบราณสถานที่สําคัญหลายแหง เชน เทวสถานกูนอยนอกจากนี้ยังมีการขุดคูน้ําคันดินเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาครอบคูน้ําคันดินในสมัยทวารวดีเปนชั้นที่สอง และการขุดบาราย 1 เพิ่มเพื่อเปนแหลงกักเก็บน้ําของชุมชนในยุคนั้น ตอมาปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ไดมีการสรางกูสันตรัตนเพื่อเปนอโรคยาศาลประจําชุมชนขึ้นทางดานทิศใตของเมือง มีการพบประติมากรรมรูปเคารพทางพุทธศาสนามหายานหลายองคปจจุบันมีการเก็บรักษาไวที่วัดกูใต และการกอสรางเพิ่มเติมภายในตัวโบราณสถานศาลานางขาว เพื่อเปลี่ยนใหเปนธรรมศาลาในสมัยขอม หลังจากปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เมืองก็ถูกละทิ้งเปนระยะเวลานานกระทั่ง พ.ศ. 2417 ชาติพันธุลาวก็อพยพเขามาตั้งชุมชน และทําเกษตรกรรมในพื้นที่นครจําปาศรีสืบเนื่องจนถึงปจจุบันนครจําปาศรีเปนที่รูจักมากขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2522 เนื่องจากมีการขุดคนพบโบราณวัตถุ พระพิมพดินเผารวมไปถึงสถูปสําริดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุภายในพื้นที่เขตชุมชนบานกูและบานสระบัว ซึ่งเปนอีกหนึ่งสาเหตุที่ทําใหพื้นที่โบราณสถานมีการรุกล้ํา และแหลงโบราณคดีหลายแหงถูกขุดทําลายจากกลุมคนที่เขามาหาโบราณวัตถุตางๆในพื้นที่ ภายหลังจากเหตุการณดังกลาวทางจังหวัดมหาสารคามจึงไดมีการพัฒนา และขุดแตงโบราณสถานภายในนครจําปาศรีจํานวนหนึ่ง ไดแก กูนอย ศาลานางขาว กูสันตรัตน และสรางองคพระบรมธาตุนาดูนขึ้นตามลักษณะของสถูปสําริดที่พบ พรอมอัญเชิญพระบรมธาตุที่ไดขุดพบไปประดิษฐานไวภายในพระบรมธาตุนาดูน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2528 รวมไปถึงปรับปรุงภูมิทัศนโดยรอบองคพระบรมธาตุนาดูน และโบราณสถานกูสันตรัตน ซึ่งในปจจุบันทั้งสองแหงก็เปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมที่สําคัญทั้งในพื้นที่อําเภอนาดูน และจังหวัดมหาสารคามปจจุบันไดมีการศึกษาและจัดทําแผนแมบทเพื่อการพัฒนานครจําปาศรีและบริเวณขุดพบสถูปพระธาตุนาดูน โดยมีคณะสถาปตยกรรมศาสตร ผังเมืองและนฤมิตศิลป มหาวิทยาลัยมหาสารคามเปนผูจัดทําขึ้น แตในแผนที่จัดทํานั้นเปนแคการวางแผนในขั้นตนเพื่อที่จะพัฒนาพื้นที่เพียงเทานั้น ดังนั้นวิทยานิพนธฉบับนี้จึงเปนการเสนอแนะแนวทางการวางผังเพื่อพัฒนาพื้นที่เพื่อตอบสนองตามแผนที่ไดจัดทําขึ้น ดังนั้นวัตถุประสงคของวิทยานิพนธฉบับนี้ คือ1. เพื่อเสนอแนวทางการวางผังแมบทนครจําปาศรี และพื้นที่โดยรอบ2. เพื่อปรับปรุงภูมิทัศนภายในพื้นที ่โบราณสถานรวมถึงการออกแบบพื้นที่วางบริเวณโบราณสถานใหเหมาะสมกับกิจกรรม และการใชประโยชนของชุมชนภายในพื้นที่นครจําปาศรี1 บารายดังกลาวปจจุบันยังปรากฏใหเห็นอยู และยังมีการใชงานเพื่อเก็บน้ําทางการเกษตร คือ บารายกูนอย196


ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตดานพื้นที่เพื่อจัดทําแผนแมบท และวางผังการใชที่ดิน มีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ 400ไร ประกอบดวย 8 ชุมชน (หมู 6 บานสระบัว หมู 5บานหนองกระทุม หมู 7 บานเปลือยนอย หมู 4 บานหนองแคนนอย หมู 3 บานดงสวรรคหมู 9 บานโนนเมือง หมู 1 บานยางอิไล และหมู 2 บานกู) พื้นที่โบราณสถาน และพื้นที่ภายในคูน้ําคันดินองคประกอบ และเอกลักษณของชุมชนทวารวดีการวางผังเมืองสมัยทวารวดีสวนใหญจะมีลักษณะที่คลายคลึงกัน คือ มีรูปแบบผังเมืองเปนรูปวงรี หรือรูปไขและเกือบเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทั้งหมดนี้ก็จะเปนไปตามลักษณะภูมิประเทศและการวางตัวตามลําน้ํา นอกจากนี้ยังมีการขุดคูน้ําไวใชในภาพที่ 1 แสดงแสดงขอบเขตการศึกษาภายในนครจําปาศรี การประโยชนดานการเกษตร และใชในการคมนาคมโดยทั่วไปแลวการขุดคูน้ําจะมีเพียงแคชั้นเดียว แตสําหรับนครจําปาศรีจะมีคูน้ ํา 2 ชั้น เนื่องจากวายุคขอมไดเขามาทําการขุดเปนอีกชั้นหนึ่ง รูปแบบเมืองโบราณภายในพื้นที่นครจําปาศรีจะมีการวางผังที่ไมขึ้นอยูกับลักษณะภูมิประเทศ 2 ลักษณะคันดินคอนขางเตี้ยเฉลี่ยความสูงเพียง 3-5 เมตร สันนิษฐานวาคูเมืองดังกลาวไมไดมีการปองกันขาศึกศัตรู แตเพียงใชเปนคูเมืองสําหรับเก็บกักน้ําและใชเปนตัวแบงกั้นอาณาเขตเมือง นครจําปาศรีจัดเปนเปนชุมชนขนาดกลางเนื่องจากพื้นที่ทั้งหมดมีขนาดประมาณ 400 ไรแนวคิดดานการอนุรักษ และพัฒนาพื้นที่สิ่งที่ควรอนุรักษภายในพื้นที่นครจําปาศรี ไดแก 1) บริเวณธรรมชาติ (Natural Areas) ไดแกบริเวณพื้นที่ปาชุมชน 2) เมืองเล็กและหมูบาน (Town and Villages) ไดแก ชุมชนภายในพื้นที่นครจําปาศรีที่มีความเปนชนบท และการดําเนินวิถีชีวิตยังสอดคลองไปกับการทําเกษตรกรรมภายในพื้นที่ 3) เสนขอบฟาและชองมองทิวทัศน (Skylines and View Corridors) อนุรักษในพื้นที่โบราณสถานตางๆที่มีความสําคัญภายในพื้นที่ และพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรตางๆ เชน บริเวณคูน้ํา - คันดิน บริเวณแหลงโบราณคดี 4)อาคาร (Building) จะเปนในสวนของอาคารที่มีความสําคัญตอสถานที่ หรือบานพื้นถิ่นที่เปนของพื้นที่ เชน บานไมพื้นถิ่นใตถุนสูงเปนตน 5)มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) ไดแก ประเพณีสรงกูที่จัดขึ้นภายในบริเวณพื้นที่โบราณสถานกูสันตรัตนเปนประจําในทุกป ซึ่งเปนเอกลักษณของพื้นที่ชุมชนแหงนี้ ซึ่งอาจจะกฎหมายอนุรักษ2 จากการแบงการแบงรูปแบบของชุมชนโบราณแบงออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมรูปแบบที่ไมขึ้นกับลักษณะภูมิประเทศ และกลุมรูปแบบที่ขึ้นอยูกับลักษณะภูมิประเทศ อานเพิ่มเติมใน ผองศรี จันหาว. รายงานการวิจัยเรื่องการใชที่ดินบริเวณคูน้ําคันดินชุมชนโบราณเขตอําเภอเมือง. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.2531. หนา 31.197


ของกรมศิลปากรที่มุงเนนในการใชกฎขอบังคับเขามาควบคุมพื้นที่โบราณสถาน ประกอบกับการใชกฎบัตรระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษและบูรณะโบราณสถานและแหลงที่ตั้ง ค.ศ.1964 (กฎบัตรเวนิช) ที่มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะอนุรักษสิ่งที่ควรคาแกการอนุรักษนั้นไมไดมีเพียงแคโบราณสถาน หรือแหลงโบราณคดีในพื้นที่เพียงเทานั้น แตจะยังรวมไปถึงอาณาเขต พื้นที่โดยรอบ และชุมชนที่อาศัยอยูภายในพื้นที่ก็มีคุณคาที่ควรจะอนุรักษเชนเดียวกัน โดยจะรวมไปถึงวัฒนธรรม และประเพณี ภายในทองถิ่นนั้น ซึ่งการอนุรักษนี้จะตองอาศัยความรวมมือจากคนในทองถิ่นเปนหลักลักษณะทางกายภาพในปจจุบัน1. สภาพโดยทั่วไปของพื้นที่นครจําปาศรีมีการวางผังเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผามุมมน ขนาด 1,500 X 2,700 เมตร พื้นที่ประกอบไปดวยคูน้ํา2 ชั้น ขนาดความกวางของคูน้ําประมาณ 20 เมตร คูน้ําวงแรกสันนิษฐานวาเปนคูน้ําที่ถูกสรางขึ้นในสมัยทวารวดี และมีการสรางครอบทับเพิ่มขึ้นเปนวงนอกในยุคขอม กําแพงดินสูง ภาพที่ 2 แสดงสภาพบริเวณบารายกูนอยในปจจุบันที่ประมาณ 3-4 เมตร ภูมิประเทศของนครจําปาศรีเต็มไปดวย เปนอางเก็บน้ําใหกับชุมชนบานโพธิ์ทองและบานดอนกอเนินสูงๆต่ําๆ ดานทิศตะวันออกและบริเวณกลางเมือง เกลื่อนกลาดไปดวยเศษภาชนะดินเผาสมัยตางๆ เปนสิ่งยืนยันไดวาพื้นที่แหงนี้มีการอยูอาศัยมาอยางตอเนื่องพื้นที่สวนใหญในนครจําปาศรีปจจุบันเปนพื้นที่นาขาว และมีการขุดสระน้ําเล็กๆจํานวนมากกระจัดกระจายภายในพื้นที่เกษตรกรรมเพื่อใชในการเก็บกักน้ําไวใช ภาพที่ 3 แสดงสภาพภายในบริเวณพื้นที่ศึกษา มีลําหวยวังกระฮุงไหลผาน ซึ่งกลางเมือง ซึ่งปจจุบันลําหวยนั้นตื้นเขินจากการพังทลายของดินริมตลิ่ง จึงสงผลใหทางระบายน้ําของพื้นที่เกิดพื้นที่สวนใหญนั้นเปนนาขาวความเปลี่ยนแปลง และเกิดน้ําทวมขังหลายพื้นที่ในฤดูฝน2. การใชที่ดินในสวนของชุมชน การใชที่ดินสวนของชุมชนภายในพื้นที่ศึกษาสามารถแบงเปน 3ประเภท คือ2.1 ประเภทอาคาร และสิ่งปลูกสราง: ภายในชุมชนประกอบไปดวยกลุมอาคารที่พักอาศัยมีชั้นความสูงเฉลี่ยประมาณ 1-2ชั้น ลักษณะของอาคารเปนไมทั้งหลัง รองลงมาคือกึ่งปูนกึ่งไม และอาคารปูนทั้งหลังที่ซึ่งสวนใหญจะเปนอาคารภายในสถานที่ราชการตางๆ เชน โรงเรียน ภาพที่ 4 แสดงรูปแบบที่พักอาศัยที่มีอยูทั่วไปภายในพื้นที่ศึกษาบานสระบัวที่อยูติดกับบริเวณคูน้ําหรือหนองสระบัวดานทิศเหนือของพื้นที่ศึกษา สถานีอนามัย เปนตนนอกจากประเภทอาคารแลวยังมีสิ่งปลูกสรางอื่นประกอบในพื้นที่ เชน สถานีเก็บน้ําบาดาลที่มีประจําอยูในชุมชนบานสระบัว และชุมชนบานเปลือยนอย198


2.2 ประเภทพื้นที่วาง และพื้นที่สาธารณะพื้นที่วางของลานกลางหมูบาน (บือบาน)พื้นที่วางในบริเวณวัดพื้นที่วางที่อยูในบริเวณสวนราชการ และโรงเรียนพื้นที่วางที่ไมปรากฏการใชงานภาพที่ 5 แสดงแผนผังการจําแนกพื้นที่วางภายในพื้นที่ศึกษาที่มา : ปรับปรุงจากโครงการศึกษาออกแบบเพื่อพัฒนานครจําปาศรีและบริเวณขุดพบสถูปพระบรมธาตุนาดูน, 2549.ภาพที่ 6 แสดงภาพเสนทางเชื่อมตอระหวางหมูบานสระบัว ไปสูหมูบานเปลือยนอยที่มีการปลูกตนยูคาลิปตัสเปนจํานวนมาก: พื้นที่วาง หรือพื้นที่สาธารณะภายในพื้นที่ศึกษาจะประกอบไปดวยพื้นที่ลานกลางหมูบาน(บือบาน) พื้นที่วางในสวนพื้นที่ราชการ และพื้นที่วางภายในวัด ซึ่งในแตละสวนที่กลาวมาจะมีการใชงานในพื้นที่นั้นแตกตางกัน เชน พื้นที่ลานกลางบานจะมีไวสําหรับรองรับการทํากิจกรรมของชุมชน ซึ่งประกอบไปดวยตนไมใหญ และอาคารโถงโลงชั้นเดียวขนาดเล็ก พื้นที่วางภายในบริเวณวัดก็จะมีลานโลงไวสําหรับทํากิจกรรมในวันสําคัญที่เกี่ยวของทางพุทธศาสนา และพื้นที่วางที่อยูในบริเวณสวนราชการก็จะเปนพื้นที่ที่ประชาชนจะเขามาใชเพื่อออกกําลังกาย เปนตนนอกจากนี้ยังพื้นที่วางที่ขาดการใชงานกระจายทั่วไปในแตละหมูบาน บางแหงขาดการดูแลรักษาถูกปลอยทิ้งใหรกราง และเปนแหลงมั่วสุมของเด็กวัยรุนภายในพื้นที่2.2 ประเภทพื ้นที่เกษตรกรรม: พื้นที่สําหรับปลูกขาวมีมากกวาการทําเกษตรกรรมชนิดอื่นในนครจําปาศรี แตภายหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวนาสวนใหญก็จะหันมาเพาะปลูกมันสําปะหลังเพื่อเปนการหารายไดอีกทางหนึ่งในชวงหนาแลง หรือบางก็ปลูกตนยูคาลิปตัส ซึ่งในชวงแรกจะปลูกบนคันนาของตน แตภายหลังความตองการพืชเศรษฐกิจชนิดนี้มีคอนขางสูง ทําใหเกษตรกรบางคนปรับเปลี่ยนที่นาของตนมาใชสําหรับปลูกตนยูคาลิปตัสโดยเฉพาะตนยูคาลิปตัสมีความตองการน้ํามากกวาพืชชนิดอื่น ซึ่งหากมีการนํามาปลูกมากเกินไป อาจสงผลกระทบโดยตรงกับแหลงสะสมอาหารสําหรับพืชทองถิ่นได ถาหากวาไมไดมีการจัดการพื้นที่สําหรับการเพาะปลูกตนยูคาลิปตัสที่ดีอาจจะสงผลทําใหพืชทองถิ่นลดลงไดภาพที่ 7 แสดงภาพพื้นที่นาขาวที่เริ่มมีการเตรียมพื้นที่เพื่อปลูกตนยูคาลิปตัสของเกษตรกรบานสระบัว199


กูสันตรัตนกูนอยศาลานางขาวภาพที่ 9 แสดงภาพสภาพโบราณสถานกูนอยบารายกูนอยภาพที่ 11 แสดงแผนผังการจําแนกยุคสมัยของโบราณสถานที่ถูกสรางขึ้นภายในพื้นที่ที่มา : ปรับปรุงจากโครงการศึกษาออกแบบเพื่อพัฒนานครจําปาศรี และบริเวณขุดพบสถูปพระบรมธาตุนาดูน, 2549.ภาพที่ 8 แสดงภาพสภาพโบราณสถานศาลานางขาว3. โบราณสถานภายในพื้นที่โบราณสถานภายในพื้นที่นครจําปาศรีมีทั้งหมด 24แหง 3 เปนโบราณสถานที่เกิดในยุคทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 14-16) 10 แหงและยุคขอม (พุทธศตวรรษที่ 16-18) 2แหง และไมสามารถระบุยุคสมัยได 12 แหง ปจจุบันมีโบราณสถานหลายแหงที่ถูกทําลายจากการเขาไปขุดคนหาโบราณวัตถุ และเกิดจากการที่ชาวบานเขาไปทําการเกษตรในพื้นที่โบราณสถาน แตดวยความรูเทาไมถึงการณจึงทําใหเครื่องมือทําการเกษตรเขาทําลายตัวโบราณสถานสงผลใหตัวโบราณสถานเกิดความเสียหายและพังทลาย แตยังมีโบราณสถาน 3 แหงที่ไดรับการขึ้นทะเบียนจากกรมศิลปากร คือ3.1 โบราณสถานศาลานางขาว: ศาสนสถานที่มีการสรางขึ้นในสมัยทวารวดีพุทธศตวรรษที่ <strong>13</strong>-14 และมีการกอสรางเพิ่มเติมในสมัยขอมพุทธศตวรรษที่18 รูปแบบศิลปะบายน เพื่อเปลี่ยนแปลงมาใหเปนธรรมศาลา ศาลานางขาว สรางอยูภายในคันดินเมืองเกานครจําปาศรี ในแถบทางทิศใตของตัวเมือง กรมศิลปากรที่ 7 ไดทําการขุดแตงเมื่อป พ.ศ. 2514 และประกาศขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 75 วันที่ 8มีนาคม 24783.2 โบราณสถานกูนอย: สรางขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่16 และมีการสรางตอเนื่องจนถึงพุทธศตวรรษที่17 สันนิษฐานวาเปนศาสนสถานในชุมชน ดานหนากูปรากฏบารายสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 300 x 500 เมตร (ดานทิศตะวันออกเฉียงใต) ใชกักเก็บน้ําจากลําหวยวังกะฮุง แตราวป 2495 มีการตัดถนนหลวงแผนดินสาย 2045 (พยัคฆภูมิพิสัย-วาปปทุม) ผานทับในพื้นที่บารายดังกลาวทําใหบารายแบงออกเปน 2 สวน ในปจจุบันพื้นที่อีกสวนไดถูกไถกลบกลายเปนพื้นที่ทําการเกษตรของชุมชนภาพที่ 10 แสดงภาพสภาพโบราณสถานกูสันตรัตน3 คณะสถาปตยกรรมฯ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาออกแบบเพื่อพัฒนานครจําปาศรี และบริเวณขุดพบสถูปพระบรมธาตุนาดูน, 2549, หนา 6-1.200


3.3 โบราณสถานกูสันตรัตน: สันนิษฐานวาสรางขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 เพื่อเปนอโรคยาศาลในสมัยพระ-เจาชัยวรมันที่ 7 ตัวปรางคกอดวยศิลาแลง มีกําแพงแกวลอมรอบ หนวยศิลปากรที่ 7 ขอนแกน ไดทําการขุดแตงเมื่อ พ.ศ. 2514 และบูรณะดวยวิธีอนัสติดลซิสเมื่อพ.ศ. 2542 ขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานสําคัญในวันที่8 มีนาคม พ.ศ.2478 และประกาศขอบเขตพื้นที่โบราณสถานในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2525 ปจจุบันเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของพื้นที่ และมีการประกอบกิจกรรมสรงกูในชวงขึ้น 15 ค่ํา เดือน 5 ของชุมชนภายในพื้นที่เปนประจําทุกป4. การเขาถึง4.1 เสนทางสัญจร : สามารถเดินทางเขาถึงดวยรถโดยสารประจําทางและรถสวนบุคคลไดจากเสนทางหลวงสาย 2045 เปนเสนทางสายหลักที่เชื่อมโยงระหวางตัวจังหวัดมหาสารคามผานเขาสูเสนทางอําเภอวาปปทุม และถนนสายนาดูน-นาเชือก หมายเลข 2381นั้นเปนเสนทางสายรองที่เชื่อมเสนทางเขาสูพื้นที่โครงการดานทิศใต ซึ่งจากถนนสายนี้จะสามารถเชื่อมโยงไปยังอําเภอนาดูนเขาสูพระบรมธาตุนาดูนได เสนทางสัญจรเชื่อมโยงผานในแตละหมูบาน ถนนสวนใหญเปนดินลูกรัง เชน เสนทางที่เชื่อมระหวางบานเปลือยนอยไปสูเสนบานสระบัว แตเสนทางเชื่อมระหวางบานกูไปยังบานดงสวรรคจะเปนถนนแบบ คสล. แตเสนทางสัญจรภายในหมูบานสวนใหญพื้นถนนจะเปนแบบดินทรายคอนขางแคบ4.2 การสื่อความ : จากการเดินทางเขาสูพื้นที่ศึกษาโดยใชเสนทางสายวาปปทุม – พยัคฆภูมิพิสัยยังมีปายบอกวาใกลเขาสูโบราณสถานกูสันตรัตน แตปายบอกทางในสวนอื่นๆยังเปนปายบอกทางแบบไมถาวร และเมื่อเดินทางเขามาภายในพื้นที่ศึกษาแลว สามารถสังเกตเห็นตนไมใหญซึ่งอยูบริเวณหนากูสันตรัตนวากําลังจะนําไปสูตัวโบราณสถานกูสันตรัตน และสวนอื่นๆของนครจําปาศรีตอไป4.3 มุมมอง : มุมมองเมื่อเดินทางเขาสูพื้นที่ศึกษาจากเสนถนนสาย 2381 จะพบวาพื้นที่สวนใหญจะเปนเกษตรกรรม และชุมชนขนาดเล็กกระจัดกระจายอยูทั่วไป มุมมองที่เปนจุดเดนในพื้นที่ ไดแก มุมมองบริเวณคูน้ําหนองกุดฝายที่ปรากฏระบบนิเวศที่สวยงาม และมุมมองบริเวณคูน้ําดานทิศเหนือในพื้นที่ของหมูบานหนองสระบัวที่ทอดยาวใหความรูสึกสงบ แตมุมมองที่เกิดขึ้นภายในบริเวณพื้นที่โบราณสถานนั้นยังไมดีเทาที่ควร เชนโบราณสถานกูนอยที่ตองลัดเลาะเขาชุมชนกอนถึงตัวโบราณสถาน หรือโบราณสถานศาลานางขาวที่มีมุมมองที่ดีแตมีเสาไฟฟาบดบังทัศนียภาพในการมอง5. พื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติ5.1 ทรัพยากรปาไม : ลักษณะของสภาพปาไมในพื้นที่ศึกษามีลักษณะเปนปาเต็งรัง ปาโปรงมีตนไมขนาดเล็ก และขนาดกลาง ตนไมที่โดดเดนในพื้นที่จะเปนตนไมในวงศยาง ฤดูแลงจะผลัดใบ ปาไมหรือปาชุมชนภายในพื้นที่ศึกษามี 3 แหง คือ บานหนองเปลือยนอย บานกูสันตรัตน และบานโนนเมือง คนภายในชุมชนโดยรอบพื้นที่ยังมีความเชื่อวา ดอนปูตา หรือ "ปาชุมชน" คือ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ หามจับสัตว หามตัดไม หามแสดงกิริยาและหามประพฤติตนในเชิงกามารมณ หรือมั่วสุมเสพของมึนเมา หามลบหลู และกลาววาจาใดที่สอ201


เจตนาไมเคารพตอปูตา 4 และจากการเขาไปสํารวจในพื้นที่ศึกษาพบวาปาชุมชนสวนใหญยังมีความอุดมสมบูรณดานระบบนิเวศที่ประกอบไปดวยตนไมและสัตวปาเฉพาะในทองถิ่น ซึ่งควรมีอนุรักษและพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และเปนแหลงใหความรูดานระบบนิเวศเฉพาะถิ่นแกผูที่ตองการศึกษาไดตอไป5.2 ทรัพยากรแหลงน้ํา : จากการเขาไปสํารวจแหลงน้ําทั้งหมดที่เกี่ยวของภายในพื้นที่ศึกษาสามารถแบงแยกประเภทของแหลงไดเปน 4 ประเภท คือ ประเภทคูน้ํา ประเภทบาราย ประเภทแหลงน้ําธรรมชาติ และประเภทบอน้ําขุดใหม ซึ่งบอน้ําขุดใหมนี้มีการขุดขึ้นมาเพื่อเปนที่กักเก็บน้ําในพื้นที่เกษตรกรรมของชาวนา นอกจากจากนั้นยังเปนการหารายไดพิเศษจากการเลี้ยงปลาในบอของชาวนา จากบทสรุปขางตนสามารถแบงแหลงน้ําที่มีความสําคัญควรจะมีการอนุรักษได 3 ประเภท คือคูน้ํา : คูน้ําคันดินมีการขุดขึ้นในสมัยทวารวดี และบางสวนขุดขึ้นในสมัยขอม เปนแหลงเก็บน้ําโดยรอบชุมชนนครจําปาศรี ปจจุบันพื้นที่คูน้ําบางแหงไดตื้นเขินจากเดิมมาก บางสวนนั้นขาดแหวงและหายไป เกิดจากการที่ชาวบานเขาไปไถกลบพื้นที่เพื่อทําการเกษตรและปลูกขาว ซึ่งในปจจุบันยังมีการใชประโยชนของคูน้ํา9 แหงดวยกัน โดยจะแบงเปนคูน้ําที่ขุดในชวงยุคทวารวดี 7 แหง คือ ภาพที่ 11 แสดงภาพคูน้ํา-คันดินในบริเวณ- คูน้ําดานทิศตะวันออกของนครจําปาศรี ไดแก ทิศเหนือของนครจําปาศรี ปจจุบันตั้งหนองกุดลอก และหนองกุดโกอยูในเขตพื้นที่บานสระบัว- คูน้ําดานทิศเหนือของนครจําปาศรี ไดแก หนองสระบัว- คูน้ําดานทิศใตของนครจําปาศรี ไดแก หนองกุดออ- คูน้ําดานตะวันตกของนครจําปาศรี ไดแก หนองกุดนามอง- คูน้ําดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของนครจําปาศรี ไดแก หนองตะคลอง- คูน้ําดานทิศตะวันออกเฉียงใตของนครจําปาศรี ไดแก หนองกุดทองและคูน้ําที่ขุดในชวงยุคขอม 2 แหง คือ หนองกุดหลม ในอดีตเปนคูน้ําดานทิศตะวันตกของนครจําปาศรี และหนองกุดฮี ในอดีตเปนคูน้ําดานทิศใตของนครจําปาศรีบาราย : บารายเปนองคประกอบที่สําคัญทางผังเมืองของชุมชนเขมร แนวคิดในการสรางบารายจะผนวกกับความคิดในการสรางมหาสมุทรเชิงเขาพระสุเมรุ มีประโยชนใชสอยดานการเก็บกักน้ําใหกับชุมชนที่มีความแหงแลงในฤดูรอน 5 บารายภายในพื้นที่ศึกษามี 1 แหง ไดแก บารายกูนอยซึ่งปจจุบันเปนอางเก็บน้ําที่มีความสําคัญตอชุมชนบานโพธิ์ทองและบานดอนกอ4 รศ.ดร.บุญยงค เกศเทศ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดอนปูตา : ปาวัฒนธรรมอีสาน งานเขียนดีเดนรางวัล "ลูกโลกสีเขียว"ของการปโตรเลียมแหงประเทศไทย ในฐานะผูสรางสรรคผลงานเพื่อการอนุรักษปาไม ป พ.ศ. 2542.5ธาดา สุทธิธรรม. “ภูมิที่ตั้งอโรคยศาลา: ความสัมพันธกับบริบททางผังเมือง” เมืองโบราณ ปที่ 25 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2542). หนา 43.202


ลําหวยวังกระฮุง : ลําหวยวังกระฮุงคือเสนทางน้ําธรรมชาติภายในพื้นที่ศึกษามีตนกําเนิดจาก“ลําเตา” ซึ่งลําเตาจะไหลผานอําเภอนาดูนเขาสูพื้นที่นครจําปาศรี มีความยาวของลําน้ําประมาณ 70 กิโลเมตรชุมชนโบราณนครจําปาศรีมีการใชประโยชนจากลําหวยวังกะฮุงมา อยางตอเนื่องเปนระยะเวลานาน ปจจุบันมีการใชน้ําจากลําหวยเพื่อการเกษตร และเลี้ยงสัตว แตในชวงฤดูแลงน้ําในลําหวยจะแหงและไมมีการใชงานศักยภาพและปญหาภายในพื้นที่1. ศักยภาพ :ศักยภาพของพื้นที่คือเปนที่อยูอาศัยของชุมชนกอนประวัติศาสตร มีการซอนทับทางวัฒนธรรมระหวางยุคทวารวดีและยุคขอม ดังปรากฏใหเห็นไดจากคูน้ําคันดินที่มีอยูในปจจุบัน หลักฐานทางโบราณคดีตางๆที่กระจัดกระจายไปตามพื้นที่โบราณสถาน และโบราณสถานทั้ง 24 แหง นอกจากนี้ชุมชนในปจจุบันยังมีความเปนชนบทอยูมาก สภาพพื้นที่โดยรอบมีความอุดมสมบูรณทั้งทางดานทรัพยากรทางธรรมชาติและระบบนิเวศซึ่งจากการสํารวจพบวาสภาพปาชุมชนนั้นคอนขางที่จะมีความอุดมสมบูรณ ปจจุบันมีการสงกิจกรรมสรงกูสันต-รัตนใหเปนประเพณีอันสําคัญของพื้นที่จากศักยภาพที่มีทั้งหมดภายในพื้นที่นั้นจึงเห็นวาควรจะมีการอนุรักษและพัฒนาพื้นที่นี้ตอไป โดยการสงเสริมกิจกรรมประเพณีที่สําคัญภายในชุมชน จัดพื้นที่โบราณสถานใหเปนแหลงความรูทางประวัติศาสตรทั้งตอคนในชุมชนและผูสนใจที่จะศึกษาพื้นที่แหงนี้ และอาจมีการพัฒนาสงเสริมเพื่อใหเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของพื้นที่ตอไปในภายภาคหนาได ดังนั้นถาหากวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่แลว จะสามารถแบงศักยภาพที่มีเฉพาะในแตละสวนของพื้นที่เพื่อเปนตัวกําหนดขอบเขตการใชที่ดิน การเขาถึง เสนทางสัญจร มุมมองและขอบเขตการอนุรักษของคูน้ําคันดินไดดังตอไปนี้กูนอยหนองสระบัว หรือคูน้ําดานทิศเหนือเสนทางหลวงสาย 2045 ที่ตัดผานบารายกูนอยพื้นที่วางบริเวณหนองสระบัวApproachภาพที่ 12 แสดงแผนผังศักยภาพของแตละสวนในพื้นที่ศึกษา203


Zone 1 ประกอบไปดวย โบราณสถานกูนอย บารายกูนอย เสนทางคมนาคมสาย 2045 ซึ่งเปนเสนทางสายหลักที่จะเชื่อมโยงเขาสูพื้นที่ศึกษา พื้นที่เกษตรกรรมและกลุมชุมชนขนาดยอย ศักยภาพของพื้นที่สวนนี้คือ มีโบราณสถานที่สําคัญ และเนื่องจากอยูสวนแรกกอนที่จะเขาสูพื้นที่ศึกษาติดกับเสนทางสัญจรสายหลักจึงมีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนสวนตอนรับกอนที่จะเขาสูพื้นที่ศึกษาZone 2 ประกอบไปดวย โบราณสถานกูสันตรัตน เสนทางคมนาคมสาย 2381 หมูบานกู และพื้นที่เกษตรกรรม มีศักยภาพในเชื่อมโยงเขาสูพระบรมธาตุนาดูนได พื้นที่วางบริเวณกูสันตรัตนมีพื้นที่มากพอที่จะจัดสรางพิพิธภัณฑใหความรูประกอบกับพื้นที่วัดใกลเคียงเองเปนแหลงเก็บโบราณวัตถุอยูแลวจึงงายตอการขนยายเพื่อเขาสูพิพิธภัณฑที่จะสรางใหม โบราณสถานแหงนี้มีการทํากิจกรรมสรงกูในชวงวันสงกรานตของทุกปและมีการจัดกลุมพืชสมุนไพรไวบางแลวเหมาะที่จะปรับปรุงพื้นที่ใหเปนสวนของสวนสมุนไพรเพื่อใหประชาชนไดเขามาหาความรู และชุมชนไดใชพืชในสวนสมุนไพรเปนการกระตุนใหชุมชนเกิดความสนใจที่จะตองดูแลรักษาภูมิทัศนโดยรอบพื้นที่โบราณสถานZone 3 ประกอบไปดวย โบราณสถานศาลานางขาว คูน้ํากําแพงเมืองชั้นใน ชุมชนบานกูและชุมชนบานสระบัว พื้นที่เกษตรกรรม นาขาว ลําหวยวังกระฮุง ปาชุมชนบานกู มีศักยภาพดานระบบนิเวศบริเวณพื้นที่โบราณสถานศาลานางขาวคอนขางสมบูรณ ประกอบไปดวยคูน้ํา-คันดิน และมีปาชุมชน ดังนั้นในบริเวณพื้นที่โบราณสถานแหงนี้ควรจะสงเสริมใหมีการปลูกปา สงเสริมการดูแลแหลงน้ํามีใหมีการพัฒนาและขุดลอก จัดภูมิทัศนใหเปนเสมือนแหลงเรียนรูดานระบบนิเวศ ลําหวยควรจะมีการขุดลอกเพื่อสรางเปนเสนทางระบายน้ําและเก็บกักน้ําสําหรับการเกษตร พื้นที่วางภายในชุมชนบานสระบัวและพื้นที่ที่ติดกับคูน้ําทิศเหนือหรือหนองสระบัวควรมีบรรยากาศที่สวยงามควรจัดใหเปนสวนพักผอน และเปนจุดขายของพื้นที่Zone 4 ประกอบไปดวย หนองอีไล คูน้ําวงนอกดานทิศตะวันออก และค้ําวงนอกที่ตื้นเขินดานทิศตะวันออก หนองอีไลและคูน้ําวงนอกมีศักยภาพที่จะพัฒนาใหเปนแหลงเก็บน้ําของชุมชนโดยการขุดลอก สวนคูน้ําที่ตื้นเขินแลวจัดใหมีการปลูกตนไมใหญตามแนวคันดินของคูน้ําเดิม เพื่อเปนการบงบอกถึงประวัติศาสตรของพื้นที่ และเพื่อเปนการปลูกปาเพิ่มเติมใหกับพื้นที่Zone 5 ประกอบไปดวย ชุมชนบานเปลือยนอย บานหนองแคน บานหนองกระทุม บานดงสวรรค และคูน้ําวงนอกดานทิศตะวันตกหรือหนองกุดหลม เนื่องจากพื้นที่นี้ประกอบไปดวยกลุมชุมชนขนาดใหญ และพื้นที่เกษตรกรรม มีศักยภาพในการรองรับการขยายตัวของชุมชนภายในอนาคตไดเนื่องจากวาพื้นที่บริเวณบานเปลือยนอยนั้นเปนพื้นที่เกษตรกรรมขนาดใหญ และไมสงผลกระทบกับพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรใดๆ2. ปญหาจากการวิเคราะหสภาพปญหาที่มีภายในพื้นที่จากภาพถายทางอากาศและการเขาไปสํารวจลักษณะทางกายภาพของพื้นที่สามารถสรุปปญหาที่เกิดขึ้น 4 ประเด็น คือ ปญหาดานการบริหารจัดการ ปญหาดานการสื่อความ ปญหาดานเสนทางสัญจร และปญหาดานการใชที่ดิน ซึ่งปญหาทั้งหมดที่ไดกลาวมาในขางตนนั้นมีรายละเอียดดังตอไปนี้204


2.1 ปญหาดานการใชที่ดิน : ปจจุบันยังไมมีการวางแผนการใชที่ดิน และไมมีการควบคุมการใชที่ดิน สงผลใหมีใชที่ดินไมเหมาะสมดังจะเห็นไดจากภาพที่ 15-17 ซึ่งเปนการเปรียบเทียบการใชที่ดินตั้งแตปพ.ศ.2497-2543โดยเริ่มจากการที่ทรัพยากรทางธรรมชาติยังคงอุดมสมบูรณ แตเมื่อในปพ.ศ.2515 ที่มีการตัดเสนทางคมนาคมผานบารายกูนอย ทําใหตอมาทรัพยากรทางธรรมชาติของพื้นที่เริ่มลดลง กลุมชุมชนเพิ่มมากขึ้นคูเมืองกําแพงเมืองบางสวนเริ่มขาดหายไปตอมาในปพ.ศ.2543 มีพื้นที่เกษตรกรรมและเกิดเปนกลุมชุมชนมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และทรัพยากรทางธรรมชาติลดลงอยางเห็นไดชัด ดังนั้นจึงสามารถสรุปปญหาการใชที่ดินไดดังตอนี้ภาพที่ <strong>13</strong> แสดงภาพการใชที่ดินของนครจําปาศรีในป 2497ภาพที่ 14 แสดงภาพการใชที่ดินของนครจําปาศรีในป 2515ภาพที่ 15 แสดงภาพการใชที่ดินของนครจําปาศรีในป 2543- ปญหาที่เกิดจากพื้นที่เกษตรกรรม: พื้นที่เกษตรกรรมและนาขาวมีการรุกล้ําเขาไปในสวนของปาชุมชนทําใหปาชุมชนเริ่มลดลง (เห็นไดจากภาพที่ 16) ของ เชน ปาชุมชนบานโนนเมืองที่มีใชพื้นที่ปาชุมชนบางสวนมาทําเปนนาขาว เปนเหตุใหประชาชนขาดรายไดจากการหาของปาในเขตปาชุมชน นอกจากนี้การที่นําเอาพืชตางถิ่นเขามาปลูกในพื้นที่ซึ่งอาจสงผลทําใหระบบนิเวศทองถิ่นเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้คูน้ํา และบารายหลายแหงถูกเปลี่ยนสภาพกลายเปนพื้นที่เกษตรกรรม เชน บารายกูนอยดานที่ติดกับโบราณสถานกูนอย คูน้ําชั้นนอก และคูน้ําชั้นในอีกหลายแหง ริมตลิ่งของคูน้ําบางแหงถูกน้ํากัดเซาะและพังทลาย เชน คูน้ําบริเวณดานทิศตะวันตกและทิศตะวันออกหรือหนองกุดทอง อาจจะสงผลตอพื้นที่โบราณสถานศาลานางขาว ลําหวยวังกระฮุงมีการเสื่อมสภาพตื้นเขินตามธรรมชาติ สงผลใหทิศทางระบายน้ําของพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ไมสามารถระบายน้ําออกสูภายนอกไดเชนเดิม อาจจะสงผลกระทบทําใหน้ําทวมภายในพื้นที่บางสวน- ปญหาที่เกิดขึ้นจากชุมชน : ปจจุบันยังไมไดมีการควบคุมรูปแบบ ชั้นความสูง และสีสันของอาคารจึงทําใหอาคารที่สรางขึ้นมาใหมบางแหงนั้นมีสีสันฉูดฉาด หรือสูงเกินกวากฎหมายในเขตโบราณสถานกําหนด และรูปแบบของอาคารนั้นไมสอดคลองกับความเปนประวัติศาสตรพื้นที่เชน อาคารที่อยูใกลพื้นที่โบราณสถานกูนอยที่มีชั้นความสูงเกินจากที่กฎหมายโบราณสถานกําหนดสงผลทําใหโบราณสถานขาดจุดเดน หรือโบราณสถานกูนอยแทรกตัวอยูภายในกลุม205


ชุมชน จึงทําใหโบราณสถานกูนอยเปนมุมอับ ไมมีการเปดมุมมองเขาสูตัวโบราณสถานอยางชัดเจน พื้นที่บริเวณคูน้ําดานทิศเหนือไมมีการพรางสายตาอาคารโรงเรียนบานสระบัวที่ปลูกสรางใกลชิดกับตัวคูน้ํามีความสูง 4 ชั้น สงผลใหตัวคูน้ํานั้นถูกลดทอนความสําคัญ2.2 ปญหาดานเสนทางสัญจร : เสนทางสัญจรทางหลวงสาย 2045 มีการจราจรที่หนาแนนเสนทางตัดผานบารายกูนอยทําลายความสําคัญของประวัติศาสตรในพื้นที่ เสนทางสัญจรหลายแหงที่เชื่อมตอภายในพื้นที่ศึกษามีขนาดเล็กและแคบ ยากที่จะเขาถึงพื้นที่สําคัญตางๆ สภาพพื้นผิวถนนขรุขระ2.3 ปญหาดานการสื่อความ : ปาย และการสื่อความหมายในพื้นที่ศึกษาอยูในตําแหนงที่ไมเหมาะสม ใชวัสดุที่มีความทนทานต่ําพื้นที่บางแหงไมมีปายบอกทางทําใหลําบากตอการเขาถึงพื้นที่นั้น โบราณสถานหลายแหงในพื้นที่ขาดปายบอกทาง ปายชื่อ และปายประวัติของโบราณสถาน ปายบอกตําแหนงโบราณสถาน จึงทําใหไมทราบถึงประวัติและความสําคัญของโบราณสถาน2.4 ปญหาดานการบริหารจัดการ : โบราณสถานหลายแหงยังไมไดมีการดูแลอยางตอเนื่องทําใหบริเวณโดยรอบพื้นที่โบราณสถานมีหญาขึ้นรก สงผลใหมีการนําสัตวเลี้ยง ไดแก วัว และควายเขามาผูกไวในบริเวณพื้นที่ซึ่งอาจจะสงผลกระทบตอองคประกอบที่มีอยูในพื้นที่โบราณสถานได เชนตัวโบราณสถาน หลักฐานทางโบราณคดี หรือโบราณวัตถุภายในพื้นที่โบราณสถานนั้นๆ เปนตนโบราณสถานทั้ง 3 แหง อันไดแก ศาลานางขาว กูนอยและกูสันตรัตน โบราณสถานขาดสิ่งประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม เชน โคมไฟใหแสงสวาง มานั่ง และถังขยะ ทางเดินใชวัสดุพื้นผิวที่ไมถาวรเมื่อฝนตกทําใหมีน้ําขังทางเดินยากตอการเขาถึงผังสรุปปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่โบราณสถานที่มีการบูรณะแลว แตไมไดมีการดูแลรักษาอยางตอเนื่องโบราณสถานที่ยังไมไดมีการขุดคน และบูรณะเสนทางสัญจรที่ขาดไฟฟาใหแสงสวางเสนทางสัญจรที่สงผลกระทบตอพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตร เชน บาราย คูน้ํา พื้นที่โบราณสถาน เปนตนเสนทางสัญจรที่มีพื้นผิวถนนไมถาวรแหลงน้ําที่มีสภาพเสื่อมโทรมพื้นที่เกษตรกรรมขยายตัวรุกล้ําพื้นที่ประวัติศาสตร และโบราณสถานพื้นที่ชุมชนที่ขยายตัวรุกล้ําพื้นที่ประวัติศาสตร และโบราณสถานภาพที่ 16 ผังแสดงสภาพปญหาที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่นครจําปาศรี206


แนวคิดหลัก : แนวคิดในการวางผังพัฒนานครจําปาศรีจากการศึกษาแนวคิดการอนุรักษโบราณสถานและแหลงที่ตั้ง ค.ศ.1964 (กฎบัตรเวนิช) มีสาระสําคัญวา“การอนุรักษโบราณสถานนั้นไมจําเปนวาจะอนุรักษแคตัวสถาปตยกรรมเทานั้น แตการอนุรักษนั้นจะตองรวมถึงพื้นที่ที่พบหลักฐานทางอารยธรรม พัฒนาการที่สําคัญของพื้นที่ หรือเหตุการณประวัติศาสตรภายในพื้นที่นั้นๆดวย”จากแนวคิดที่ไดกลาวมาในขางตนนั้นจะเปนกรอบแนวคิดหลักที่จะนํามาเปนแนวคิดในการวางผัง และพัฒนาพื้นที่นครจําปาศรี ประกอบกับการวิเคราะหศักยภาพ และปญหาที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ ประกอบกับกรอบแนวคิดเพื่อที่จะพัฒนาในขางตนสามารถสรุปแนวทางการพัฒนาพื้นที่ไดวาการพัฒนาพื้นที่นครจําปาศรีนั้นจะตองใหชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาและบริหารจัดการพื้นที่ โดยการปลูกจิตสํานึกของคนในชุมชนใหรูจักหวงแหน รักษา สิ่งที่มีคาภายในชุมชนของตน สงเสริมใหคนในชุมชนนั้นไดเห็นถึงความสําคัญของพื้นที่ และเพื่อใหชุมชนนั้นรักษาพื้นที่ที่เปนแหลงประวัติศาสตรที่สําคัญภายในพื้นที่ของตนเองวัตถุประสงคของผังแมบทนี้คือการพัฒนาพื้นที่ดังกลาวใหเปนแหลงเรียนรูทางดานประวัติศาสตรของชุมชน โดยใชแนวคิดดานการอนุรักษและพัฒนาโบราณสถานใหอยูรวมกันกับชุมชนอยางยั่งยืน มีการปลูกปาชุมชนเพื่อใชเปนตัวกําหนดขอบเขตระหวางชุมชนกับเขตพื้นที่โบราณสถาน โดยจะปลูกเปนแนวเขตปองกัน (Buffer) การรุกล้ําพื้นที่จากชุมชนและพื้นที่เกษตรกรรม เปนตนจากแนวคิดที่ไดกลาวมาในขางตนจะมีรายละเอียดในแนวคิดการจัดการดานตางๆดังตอไปนี้แนวคิดดานการอนุรักษพื้นที่โบราณสถาน และพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตร : กําหนดเขตโบราณสถานในพื้นที่ใหโดยการใชกฎหมายดานการอนุรักษเขามาควบคุมการปลูกสรางในบริเวณพื้นที่โบราณสถาน และมีการกําหนดความสูงของอาคารไมเกิน 2 ชั้นในเขตพื้นที่โบราณสถาน หรือสีสันของอาคารควรจะอยูในโทนสีเดียวกัน รักษาอาคารเกาแกและอาคารที่สําคัญภายในพื้นที่ การจัดภูมิทัศนภายในพื้นที่โบราณสถาน ควรใชพืชพรรณที่มีเฉพาะถิ่นเพื่องายตอการดูแลรักษา หรือบางแหงที่มีการจารึกไวในเรื่องพืชพรรณในพื้นที่โบราณสถานนั้นก็ใหใชพืชพรรณตามที่ไดระบุไว เพื่อเปนการแสดงใหเห็นถึงบรรยากาศที่เคยเปนมาในสมัยอดีต ใหโบราณสถานเปนแหลงเรียนรูทั้งทางดานประวัติศาสตรและพืชพรรณสมุนไพร จัดใหพื้นที่วางภายในบริเวณโบราณสถานใหเปนพิพิธภัณฑทองถิ่นเปนแหลงรวมขอมูลและเผยแพรความรูดานโบราณสถาน ประวัติศาสตรและความรูเกี่ยวกับนครจําปาศรี และวัฒนธรรมอื่นในพื ้นที่ใหแกประชาชน ผูสนใจ และนักทองเที่ยว จัดใหมีการเปดมุมมองในสวนคูน้ําคันดิน หากมีอาคารที่ประชิดติดหรือสงผลกระทบตอมุมมองไมวาจะเปนคูน้ําคันดินหรือในสวนพื้นที่โบราณสถานจัดใหมีการเพิ่มกลุมตนไมเปนฉากหลัง และไมพุมขนาดกลางมาเปนตัวปดมุมมองเพื่อสงเสริมคูน้ําใหโดดเดน ควรมีการเปดมุมมองภายในพื้นที่นครจําปาศรีเพื่อใหเกิดการเรียงรอยเรื่องราวจากอดีตมาสูปจจุบันไดชัดเจนมากโดยการเนนมุมมองที่เปดแลวเห็นสถานที่สําคัญตางๆภายในพื้นที่ เชน พื้นที่ประวัติศาสตรที่คาดวาเปนแหลงที่อยูอาศัยของชุมชนกอนประวัติศาสตรกลางเมือง และกลุมโบราณสถานตางๆภายในพื้นที่แนวคิดดานการควบคุมการใชที่ดิน : ควบคุมการขยายตัวของชุมชน: เนื่องจากชุมชนในพื้นที่ศึกษามีหมูบานกระจายตัวอยูภายในพื้นที่คอนขางมาก ดังนั้นการที่จะควบคุมการขยายตัวของชุมชนอาจจะตองใชกฎหมายผังเมือง เชน หากมีอาคารที่สงผลกระทบตอแหลงโบราณคดีในพื้นที่ศึกษาจัดใหมีการรื้อถอนได และ207


จายคาชดเชยตามระเบียบของราชการ หรือกําหนดระยะขอบเขตชุมชนใหออกหางจากโบราณสถานโดยรอบไมนอยกวา 50 เมตร (กรมศิลปากร, 2535: 125) หรือใชปาชุมชนเปนตัวกําหนดเขตการขยายตัวของชุมชน เปนตนควบคุมการขยายตัวของพื้นที่เกษตรกรรมของชุมชน : กําหนดระยะหางจากขอบเขตโบราณสถานออกมา 20-40เมตร (กรมศิลปากร, 2535: 125) และจัดใหมีชวง Buffer ประมาณ 10 เมตรระหวางระยะเขตกับพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อเปนแนวเขตควบคุมการรุกล้ําของพื้นที่เกษตรกรรมแนวคิดดานระบบสัญจร : ควรจะมีการขยายเสนทาง ปรับปรุงพื้นผิวถนน และมีการทําปายบอกทางปายบอกความสําคัญของพื้นที่ เพื่อที่จะสามารถนํานักทองเที่ยวเขาไปยังกลุมโบราณสถาน หรือเพื่อที่จะเขามาทําการศึกษาประวัติศาสตรของพื้นที่ไดงายขึ้น อาจจะตองมีการตัดเสนทางหลวงสาย 2045 ใหมเพื่อลดผลกระทบตอตัวโบราณสถานกูนอยและบารายกูนอย หรือตัดเสนทางเพิ่มเพื่อเชื่อมโยงไปสูแหลงโบราณสถานไดสะดวกขึ้นแนวคิดดานการสื่อความ : ควรจัดใหมีปายบอกทางที่มีการออกแบบที่เปนเอกลักษณเฉพาะทองถิ่นตามลําดับการเขาถึงพื้นที่บริเวณทางแยก และจุดตัดตางๆในนครจําปาศรี จัดปายบอกทิศทาง ปายใหความรูและเรื่องราวทางดานประวัติศาสตรในแตละพื้นที่โบราณสถานเพื่อแสดงใหเห็นคุณคาและความสําคัญของโบราณสถานในอดีต โดยการใชสัญลักษณและรูปภาพ หุนจําลอง เปนสวนประกอบในการออกแบบแนวคิดดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ : ปาไม- ควรมีการวางแผน ควบคุมพื้นที่เกษตรกรรมโดยการกําหนดขอบเขตพื้นที่เกษตรกรรมใหชัดเจน และมีการปลูกปาชุมชนเพิ่ม เชน ปลูกในสวนของคันดินเดิมเปนแนวยาวเพื่อบงบอกวาในอดีตเคยมีคูน้ําอยูในชวงยุคสมัยหนึ่ง หรือปลูกเปน Buffer Area ระหวางพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชน แหลงน้ํา – คูน้ําคันดิน และลําหวยวังกระฮุงที่มีการตื้นเขินจัดใหมีการขุดคูน้ําเพิ่มเติมในบางสวนเพื่อเก็บกักน้ํา พรอมทั้งกําหนดขอบเขตดานการปลูกปาชุมชนบนพื้นที่คันดินของคูน้ําเดิม เพื่อเปนสัญลักษณใหรําลึกถึงประวัติศาสตรของพื้นที่สรางบรรยากาศความเปนชุมชนโบราณ และรักษาสภาพแวดลอมธรรมชาติควบคูกันไปแนวความคิดดานการบริหารจัดการ : จัดใหชุมชนชุมชนมีสวนรวมในการดูแลรักษาและพัฒนาพื้นที่โบราณสถาน และพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรของนครจําปาศรีโดยการสงเสริม และใหความรู กับประชาชนภายในพื้นที่ จัดใหชุมชนมีสวนในการจัดการดานพาหนะที่จะนํานักทองเที่ยวเขาชม และศึกษาประวัติศาสตรในพื้นที่ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งในการหารายไดใหแกชุมชน หรืออาจจะอาศัยความรวมมือกับคนในชุมชนที่จะเขามาทําความสะอาดภายในพื้นที่โบราณสถาน เปนตน208


ผังแมบทในการพัฒนาพื้นที่ผังการใชที่ดินเขตชุมชนหนาแนนนอยขอบเขตรองรับการขยายตัวในอนาคตของชุมชนแหลงน้ําขอบเขตปาไม , ปาชุมชนใหมปาไม, ปาชุมชนเดิมขอบเขตควบคุมความสูงอาคารและสิ่งปลูกสรางพื้นที่เกษตรกรรมพื้นที่เกษตรกรรมและอนุรักษภาพที่ 17 แสดงภาพแนวทางการปองกันพื้นที่โบราณสถานจากการรุกล้ําของพื้นที่เกษตรกรรม โดยใชไมยืนตนปลูกเปนแนวกันชนภาพที่ 18 แสดงภาพแนวทางการควบคุมการขยายตัวของชุมชนภายในพื้นที่นครจําปาศรีโดยใหปาชุมชนเปนตัวกําหนดขอบเขตจากผังแมบทขางตนเปนการวางผังเพื่อพัฒนาพื้นที่ ซึ่งมีวัตถุประสงคที่จะพัฒนาพื้นที่ดังกลาวใหเปนแหลงเรียนรูทางดานประวัติศาสตรของชุมชนโดยใชแนวคิดดานการอนุรักษและการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยการผังนั้นจะใชปาชุมชนเปนตัวกําหนดขอบเขตระหวางโบราณสถานและชุมชนอยางชัดเจนมีการตัดถนนเพิ่มในสวนของเสนทางหลวงสาย2045 เพื่อลดการจราจรที่หนาแนนในปจจุบัน สวนเสนทางสัญจรภายในนครจําปาศรีจะเนนการเดินทางดวยจักรยาน และรถรางหรือเกวียนแทน ซึ่งในการจัดการดานพาหนะที่ใชในการเดินทางเขาชมพื้นที่นี้จะใหชุมชนเขามาดูแล มีการควบคุมความสูงในเขตพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรและในเขตพื้นที่โบราณสถานโดยกําหนดชั้นความสูงของอาคารอยูในระดับไมเกินยอดของกลุมตนไมภายในพื้นที่นั้นๆ มี209


เนนการปลูกพืชตามหลักฐานทางประวัติศาสตรปลูกไมยืนตนเปนฉากหลังการขุดลอกคูน้ําบางสวนขึ้นมาใหมและในสวนของคูน้ํา-คันดินที่ไดพังทลายไปแลวใหมีการปลูกปาขึ้นเปนสัญลักษณของคูน้ํา-คันดินแทนภาพที่ 21 แสดงภาพแนวทางการปรับเปลี่ยนภูมิทัศนภายในพื้นที่โบราณสถานและพื้นที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตรควบคุมการกอสรางอาคารดานหลังโบราณสถาน และปลูกตนไมขนาดใหญเปนฉากหลังของโบราณสถานภาพที่ 22 แสดงภาพแนวคิดจัดการพื้นที่คูน้ํา-คันดินโดยการปลูกตนไมเปนแนวเพื่อเปนการแสดงแนวคูน้ํา-คันดินเดิมที่เคยมีอยูในอดีต และเปนการเพิ่มจํานวนปาชุมชนในพื้นที่สรุปผล และขอเสนอแนะจากหลักการอนุรักษและพัฒนาอยางยั่งยืนที่ซึ่งประกอบไปดวย การอนุรักษ การฟนฟู/ปรับปรุงการจัดการสิ่งแวดลอม การควบคุมและพัฒนา ซึ่งจะตองศึกษาทั้งทางดานกายภาพ เศรษฐกิจ การบริหาร/การปกครอง สังคม และประชากร ทั้งนี้ยังจะตองอาศัยความรวมมือระหวางทั้งองคกรที่เกี่ยวของในทองถิ่นและประชาชนเขามาชวยดูแลดวย สวนแนวความคิดดานการออกแบบนั้นจะเปนการนําเอาองคความรูทางดานประวัติศาสตร และโบราณคดี การผังเมือง และภูมิสถาปตยกรรมมาประยุกตใชพัฒนาพื้นที่ ซึ่งขอบเขตดานการอนุรักษและพัฒนานั้นจะครอบคลุมถึงสภาพแวดลอมที่อยูในเขตพื้นที่นครจําปาศรีทั้งหมด ผังแมบทการพัฒนาพื้นที่นครจําปาศรีนี้สามารถนําไปประยุกตใชไดกับชุมชนโบราณแหงอื่นที่มีลักษณะใกลเคียงกันได ซึ่งผังแมบทนี้นอกจากจะมีการควบคุมการใชที่ดิน และกําหนดขอบเขตในอนุรักษพื้นที่พื้นที่มีความสําคัญดานประวัติศาสตรแลว ยังมีการพัฒนาพื้นที่ใหมีความสอดคลองกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนซึ่งชุมชนตองมีสวนในการดูแลรักษาโบราณสถานดวย โดยการปลูกจิตสํานึกใหหวงแหน รักษาสิ่งที่มีคุณคาภายในพื้นที่ของตนเองเพื่อใหเปนมรดกสืบทอดตอไปถึงคนรุนหลังตอไป210


อางอิงคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. โครงการจัดทําแบบการจัดการอนุรักษและปรับปรุงแหลงชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2549.คณะสถาปตยกรรมฯ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาออกแบบเพื่อพัฒนานครจําปาศรี และบริเวณขุดพบสถูปพระบรมธาตุนาดูน. 2549ชลิต ชัยครรชิต. “พัฒนาชุมชนอีสานกอนประวัติศาสตร”.ศิลปวัฒนธรรม ปที่ 9 ฉบับที่3 (ม.ค.) 2531ธาดา สุทธิธรรม. “ภูมิที่ตั้งอโรคยศาลา: ความสัมพันธกับบริบททางผังเมือง” เมืองโบราณ ปที่ 25 ฉบับที่ 2(เมษายน - มิถุนายน 2542)บริษัท วิทยรักษจํากัด. แผนการจัดการอนุรักษและปรับปรุงสภาพแวดลอมเมืองเกาพิมาย (รายงานฉบับสมบูรณ). 2541.บุญยงค เกศเทศ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ดอนปูตา : ปาวัฒนธรรมอีสาน. 2542.ศรีศักร วัลลิโภดม. แองอารยธรรมอีสาน. (กรุงเทพฯ : มติชน) ธันวาคม 2533.สิทธิพร ภิรมยรื่น. แนวความคิดและหลักการอนุรักษชุมชนเมืองและสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม.เอกสารการประชุมสัมมนาวิชาการเรื่อง “สถาปตยกรรมสูโลกกวาง สรางเครือขายเชื่อมโยงทองถิ่น”โดยคณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. ณ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ กรุงเทพมหานครวันที่ 12-14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547.สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม และคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, แนวทางการจัดการภูมิทัศนวัฒนธรรม, 2549อิโคโมสไทย. เอกสารการประกอบพิจารณาในกลุมยอย “โบราณสถาน แหลงมรดกวัฒนธรรม และการมีสวนรวม” วันที่ 25 พฤศจิกายน 2549.211


แนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษและการทองเที่ยว จังหวัดเชียงใหมLANDSCAPE DEVELOPMENT GUIDELINES FOR CONSERVATION AND TOURISM IN WIANGJAD LIN , CHIANG MAI PROVINCE.นางสาวศุภัชญา ปรัชญคุปตหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรมคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอเวียงเจ็ดลิน เปนชุมชนโบราณที่สําคัญแหงหนึ่งของเมืองเชียงใหม ตั้งอยูที่ราบเชิงดอยสุเทพ แตเดิมพื้นที่เวียงเจ็ดลินเคยเปนที่อยูของชุมชนดั้งเดิมที่เรียกวา “ละวา” หรือ “ลัวะ” มากอน ในชวงที่ไดเขามาปกครองพื้นที่ ลัวะ ทําการขุดคูน้ําและคันดินสรางที่อยูอาศัยและเพื่อปองกันขาศึกโจมตี กระทั่งพุทธศตวรรษที่ <strong>13</strong> เวียงเจ็ดลินไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนา โดยปรากฏหลักฐานการสรางวัดกูดินขาวไวนอกกําแพงเวียงทางทิศตะวันตกเฉียงใตและพบหลักฐานทางโบราณคดีที่สําคัญ เชน พระพิมพดินเผาแบบหริภุญไชย ในปพ.ศ. 1954สมัยพญาสามฝงแกน แหงราชวงศมังราย ไดบูรณะเวียงเจ็ดลินขึ้นใหมเพื่อใชเปนปอมปราการปองกันขาศึกและเพื่อใชเปนสถานที่พักผอนในฤดูรอน เนื่องจากสภาพธรรมชาติของดอยสุเทพที่มีความรมรื่น และแหลงน้ําของเวียงเจ็ดลินที่มีความใสสะอาดใชในการอุปโภคและบริโภค ตอมาเวียงเจ็ดลินถูกลดความสําคัญลงเรื่อยมาจนกระทั่งป พ.ศ. 2510 ความเจริญของเมืองเชียงใหมไดขยายตัวเขามาในพื้นที่เพื่อใชเปนที่ตั้งของสถาบันราชการ สถาบันการศึกษาและชุมชนมาจนถึงปจจุบันจากการศึกษาและสํารวจพบวาเวียงเจ็ดลินในปจจุบันประสบปญหา คูน้ํา-คันดิน มีการรุกล้ําของชุมชนเพื่อสรางที่อยูอาศัย การถมดินของสถาบันราชการ สถาบันการศึกษาเพื่อสรางอาคารประชิดกับแหลงโบราณคดี สงผลกระทบทําใหคูน้ํา-คันดิน และแหลงขุดคนทางโบราณคดี เสื่อมสภาพและถูกลดคุณคาลงหากปลอยใหมีการรุกล้ําไวเชนนี้ในที่สุด จะไมมีคูน้ํา-คันดินและแหลงโบราณคดีที่เปนหลักฐานการเปนชุมชนโบราณใหเห็นอีกตอไปวัตถุประสงคการศึกษานี้ ไดศึกษาสภาพปญหาและวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่เวียงเจ็ดลิน รวมทั้งศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการอนุรักษโบราณสถาน คูน้ํา-คันดิน แหลงโบราณคดี จากการวิเคราะหศักยภาพและปญหาพื้นที่เวียงเจ็ดลิน การศึกษานี้จึงไดเสนอการวางแผนแมบทและแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลินและการทองเที่ยว ทั้งหมด 5 แผนแมบทและแผนงานพัฒนาดานตางๆ โดยการจําแนกแผนเปน 5แผนงานพัฒนา ไดแก 1. แผนงานอนุรักษโบราณสถาน แหลงโบราณคดีและคูน้ํา-คันดิน2. แผนงานควบคุมการใชประโยชนที่ดินภายในและโดยรอบเวียงเจ็ดลิน3. แผนงานพัฒนาดานสภาพแวดลอมภูมิทัศน4. แผนงานพัฒนาดานการทองเที่ยว5. แผนงานพัฒนาดานแหลงน้ําจากการศึกษาไดเสนอแผนแมบทและแผนงานพัฒนาดานตางๆ ใชเปนแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษเวียงเจ็ดลินใหคงหลักฐานทางโบราณคดี คูน้ํา-คันดิน และเกิดการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรทองถิ่นเพื่อการเรียนรูและเปนสถานที่พักผอน สวนสาธารณะและเปนพื้นที่สีเขียวของคนในเมือง212


1. ความเปนมา :เวียงเจ็ดลิน เปนชุมชนโบราณตั้งอยูที่ราบเชิงดอยสุเทพในเขตตําบลสุเทพ จังหวัดเชียงใหม จากหลักฐานทางโบราณคดีและตํานาน เวียงเจ็ดลิน เคยเปนที่ตั้งของชุมชนดั้งเดิมที่เรียกวา “ละวา” หรือ “ลัวะ” 1 มีการสรางคูน้ําและคันดินเปนรูปวงกลม ตามลักษณะภูมิประเทศเพื่อเปนที่อยูอาศัยและปองกันขาศึกโจมตี และปองกันน้ําทวมในฤดูฝน รวมถึงการใชเปนแหลงกักเก็บน้ําใชอุปโภคบริโภคในฤดูแลง ในพุทธศตวรรษที่ <strong>13</strong> ปพ.ศ.<strong>13</strong>10 สมัยพระนางจามเทวีครองแควนหริภุญไชย (ลําพูน) เวียงเจ็ดลินไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมทางดานพุทธศาสนา จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบมีการสรางวัดกูดินขาว อยูนอกเขตคันดินทางดานทิศตะวันตกเฉียงใตและมีการขุดคนพบพระพิมพดินเผาแบบหริภุญไชย ปจจุบันเก็บรักษาไวโดยกรมศิลปากรที่ 8 เชียงใหมตอมาในพ.ศ.1590 เวียงเจ็ดลินถูกปลอยทิ้งราง เกิดอหิวาตกโรคระบาดเปนเหตุใหลัวะไดอพยพไปตั้งถิ่นฐานบานเรือนกระจัดกระจายตามปาเขา ทําใหความสําคัญของเวียงเจ็ดลินขาดหายไปชวงหนึ่ง คําวา“ลิน” 2 แปลวา“รางน้ํา” หรือ “ทอน้ํา” เวียงเจ็ดลินจึงแปลวา รางน้ํา 7 ราง ซึ่งหมายถึงเวียงที่อยูตนน้ํามีเสนทางน้ํา 7 เสนทาง(ปจจุบันถูกถมดินเพื่อสรางอาคารสถานที่ราชการ สถาบันการศึกษาหมดแลว)จนกระทั่ง ปพ.ศ. 1954 ในสมัยพญาสามฝงแกนผูครองนครองคที่ 8 แหงราชวงศมังราย ไดบูรณะเวียงเจ็ดลินขึ้นใหมอีกครั้งพระองคมีวัตถุประสงคในการสราง เพื่อใชเปนปอมปราการปองกันขาศึกที่มารุกราน(เหตุผลการสรางเวียงเจ็ดลินเปนวงกลม เพราะรัศมีสั้นที่สุดจากศูนยกลางไปรอบกําแพงเมืองใชเวลาเทากันทุกทิศทางทําใหสะดวกในการปองกันขาศึกสงคราม 3 )นอกจากนั้นพญาสามฝงแกนยังใชเวียงเจ็ดลินเปนพระราชวังที่ประทับพักผอนในฤดูรอน และไดประทับที่เวียงเจ็ดลินมากกวาประทับที่เวียงเชียงใหม เนื่องจากดอยสุเทพที่ถือเปนภูเขาศักดิ์สิทธิ์ มีสภาพธรรมชาติที่รมรื่นอากาศดีและแหลงน้ําที่เวียงเจ็ดลิน มีความใสสะอาด จากที่เปนเวียงโบราณของชุมชนลัวะ ไดพัฒนาเปนเวียงขึ้นอีกครั้งในสมัยพญาสามฝงแกนสภาพเวียงเจ็ดลิน เปลี่ยนแปลงไปมากนับตั้งแต ปพ.ศ. 2510 เปนตนมา เนื่องจากการขยายตัวของเมืองเชียงใหม พื้นที่ภายในเวียงเจ็ดลินปจจุบันใชเปนสถาบันราชการ สถาบันการศึกษา เปนสาเหตุใหคูน้ํา -คันดิน บางสวนถูกปรับใชเพื่อสรางบานเรือนและสรางอาคารสถานที่ คันดินสวนที่ถูกทําลายลงอยางมากอยูบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา สวนที่มีสภาพคอนขางดีอยูในสวนรุกขชาติหวยแกวจากการศึกษาและสํารวจพบวาในปจจุบันเวียงเจ็ดลินประสบปญหาทางดานการอนุรักษโบราณสถาน แหลงโบราณคดี และคูน้ํา – คันดิน ปญหาการใชที่ดินมีการรุกล้ําของชุมชนเพื่อสรางที่อยูอาศัย การถมดินของสถาบันราชการสถาบันการศึกษาเพื่อสรางอาคารสงผลกระทบทําใหคูน้ํา -คันดินเสื่อมสภาพและถูกลดคุณคาลง1นวลศิริ วงศทางสวัสดิ์. ชุมชนโบราณในเขตลานนา. ภาควิชาสังคมศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2539.2 สรัสวดี อองสกุล. ชุมชนโบราณในเขตลานนา. ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 25283 ไกรสิน อุนใจจินต. เวียงเจ็ดลิน: รากประวัติศาสตรเชียงใหม. เชียงใหม: สํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติที่ 6 ,2547.เวียงเจ็ดลินในปจจุบัน ภาพถายทางอากาศ พ.ศ. 2550มาตราสวน 1:75002<strong>13</strong>


วัตถุประสงคในการศึกษานี้เพื่อวางแผนแมบทและวางแผนงานพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษและการทองเที่ยว การศึกษาจะนําแนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการอนุรักษโบราณสถานและการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรมาประยุกตใช เพื่อใหเวียงเจ็ดลินยังคงเอกลักษณทางวัฒนธรรม โบราณคดีและพัฒนาภูมิทัศน เปนสถานที่พักผอนรวมทั้งเปนสวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวของคนในเมือง2. ขอบเขตพื้นที่ศึกษา :ขอบเขตพื้นที่ศึกษาเวียงเจ็ดลิน มีเนื้อที่รวมประมาณ 410 ไร รวมทั้งพื้นที่โบราณสถานพื้นที่คูน้ํา –คันดิน ปจจุบันเวียงเจ็ดลินเปนที่ตั้งของสถานบันราชการ ไดแก สวนรุกขชาติหวยแกว สวนสัตวเชียงใหมสถานีตํารวจภูธรภูพิงคราชนิเวศน สถานีวิจัยโคนม สถาบันการศึกษาไดแก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา และมหาวิทยาลัยเชียงใหมเวียงเจ็ดลินเวียงเจ็ดลินแสดงขอบเขตพื้นที่ศึกษา 43. ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ศึกษา :3.1 ลักษณะทางกายภาพเวียงเจ็ดลิน มีสัณฐาณเมืองเปนรูปวงกลม ลักษณะทางกายภาพเปนที่ราบเชิงภูเขามีพื้นที่สูงดานตะวันตกและลาดเทมาทางดานตะวันออก ประกอบดวยคูน้ํา – คันดินลอมรอบ มีเสนผาศูนยกลางประมาณ900 เมตร มีคันดิน 2 ชั้น ระหวางคันดินมีคูน้ําอยูตรงกลาง การขุดพูนดินขึ้นเปนคันดินสรางตั้งแตชุมชนดั้งเดิมลัวะ ที่อยูอาศัยจนมีการบูรณะแนวคันดินขึ้นใหมในสมัยพญาสามฝงแกน บริเวณเวียงเจ็ดลินดานใตถูกถนนหวยแกวตัดผาน แลวเชื่อมตอถนนศรีวิชัยเปนเสนทางขึ้นดอยสุเทพลักษณะทั่วไป ลักษณะทั่วไปเปนเวียงโบราณที่มีคูน้ํา – คันดินลอมรอบ มีลําน้ําที่ไหลลงมาจากดอยสุเทพดานทิศเหนือ (ลําน้ําชางเคี่ยน) และดานทิศใต (ลําน้ําหวยแกว)ทิศเหนือ : หวยหยวกนอยและบานกลางทุงทิศตะวันออก : ติดบานชางเคี่ยนและบานเจ็ดยอดทิศใต : ติดอางแกวทิศตะวันตก : ดอยสุเทพ4 รูปภาพ ปรับปรุงจากผังเมืองเชียงใหม214


3.2 สภาพธรรมชาติของพื้นที่ศึกษา1. ทรัพยากรธรรมชาติ จากลักษณะภูมิประเทศของเวียงเจ็ดลิน ตั้งอยูที่ราบเชิงดอยสุเทพมีความสูง 330 เมตรจากระดับน้ําทะเล ทําใหภูมิอากาศชุมชื้นตลอดเกือบทั้งปมีลักษณะเปนปาเต็งรัง สงผลใหมีพืชพรรณ ปาไมขึ้นอยางหนาแนน จากการสํารวจพบวาพืชพรรณในพื้นที่มีหลากหลายประเภทตั้งแต หญา ไมคลุมดิน จนถึงตนไมใหรมเงาขนาดใหญ ตนไมที่เดนชัดในพื้นที่ไดแก ตนพะยอม ตนทองกวาว ตนยางนา พบมากบริเวณสวนรุกขชาติ ที่สามารถใหศึกษาคนควาหาความรูทางดานพืชพรรณในบริเวณนี้ไดสภาพธรรมชาติในพื้นที่ เวียงเจ็ดลิน มีตนไมขึ ้นหนาแนนทําใหพื้นที่มีความรมรื่น2. ทรัพยากรแหลงน้ํา ศึกษาจากภาพถายทางอากาศและแผนที่โบราณพบวา เวียงเจ็ดลินมีลําหวยแกวและลําหวยชางเคียนคั่นอยู 5 ในการศึกษาเวียงเจ็ดลินลอมรอบดวยลําน้ําธรรมชาติที่ไดจากการรับน้ําจากเชิงดอยสุเทพไหลลงสูลําหวยแกวและลําหวยชางเคี่ยน โดยการรับน้ําสองทาง คือ ทางแรกเปนการรับน้ําของลําหวยแกว ผานคูน้ําเวียงเจ็ดลินทางทิศตะวันตกเฉียงใตแลวระบายไปกักเก็บที่อางแกว ทางที่สองเปนเสนทางน้ําทางทิศเหนือ เพื่อรับน้ําจากดอยสุเทพ ผานเขาสูคูน้ําในเวียงเจ็ดลิน แลวระบายสูลําหวยชางเคี่ยนและไหลไปบรรจบกับลําหวยแกว กอนที่ระบายน้ําไปสูตัวเมืองเชียงใหมลําหวยชางเคี่ยนลําหวยแกวอางแกวลําหวยแกวอางเก็บน้ําโบราณแนวเชิงเขาดอยสุเทพอางเก็บน้ําอางแกวแผนที่เสนทางน้ํา แปลจากภาพถายทางอากาศ พ.ศ. 2497 65 ลําน้ําหวยแกวและลําน้ําชางเคี่ยนเปนเสนทางลําน้ําจากภูเขาดอยสุเทพที่ไหลผานเวียงเจ็ดลิน6 แผนที่ปรับปรุงจาก สรัสวดี อองสกุล. โครงการวิจัยชุมชนโบราณในแองเชียงใหม - ลําพูน. 2543.215


เวียงเจ็ดลินจากการศึกษาแหลงน้ําในเวียงเจ็ดลิน นอกจากจะใชกักน้ําไวใชประโยชนแลวยังสามารถปองกันน้ําทวมที่ไหลบามาจากดอยสุเทพได จึงควรพัฒนาแหลงน้ําใหเกิดประโยชนในการเปนพื้นที่รับน้ําเพื่อใชในการอุปโภคและบริโภคตอไป แหลงน้ําในพื้นที่เวียงเจ็ดลิน ประกอบดวยแหลงน้ําที่สําคัญ 3 แหง ไดแก2.1 อางแกว : ตั้งอยูทางดานทิศตะวันตกเฉียงใตอยูในพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหมเปนอางเก็บน้ําขนาดใหญ ในปจจุบันเปนอางเก็บน้ําที่สําคัญใชในการรองรับน้ําจากเชิงดอยสุเทพและลําหวยแกวเพื่อเปนแหลงน้ําที่ใชในการอุปโภคและบริโภครวมทั้งเปนสถานที ่พักผอนหยอนใจของประชาชนและนักศึกษา2.2 สระน้ําเดิม : ตั้งอยูทางดานทิศเหนือพื้นที่เวียงเจ็ดลิน เปนสระน้ําที่ชาวบานในชุมชนที่อาศัยอยูขุดขึ้นพื้นที่รับน้ําจากเชิงภูเขาดอยสุเทพ ชาวบานใชเปนแหลงหาปลาและการเกษตรกรรม2.3 สระน้ําเวียงเจ็ดลิน : ตั้งอยูรอบนอกคันดินทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเวียงเจ็ดลิน เปนสระน้ําธรรมชาติ ติดกับที่อยูอาศัยของชุมชนชางเคี่ยน ปจจุบันเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ มีกิจกรรมการตกปลา และปนจักรยาน4. โบราณสถานและแหลงโบราณคดีที่สําคัญของเวียงเจ็ดลิน :โบราณสถานและแหลงขุดคนทางโบราณคดีในพื้นที่เวียงเจ็ดลิน ที่ปรากฏไดรับการสํารวจจากกรมศิลปากร ที่ 8 เชียงใหม โดยมีการขุดคนสํารวจเพื่อหาขอมูลทางโบราณคดี แลวบูรณะโบราณสถาน ซึ่งมีความสําคัญทางดานประวัติศาสตรการสรางเวียงเจ็ดลินทั้งสิ้น เพื่อศึกษาขอมูลในการนํามาพัฒนาใหเปนสถานที่สําคัญในการอนุรักษโบราณสถาน การทองเที่ยวและแหลงเรียนรูได สามารถจําแนกได 3 ประเภท ดังนี้โบราณสถานประเภทวัดประกอบดวยวัดกูดินขาว วัดหมูบุน โบราณสถานประเภท คูน้ํา – คันดิน และแหลงขุดคนทางโบราณคดี4.1 โบราณสถานประเภทวัดโบราณสถานวัดกูดินขาว เปนหลักฐานการสรางวัดของเวียงเจ็ดลินที่เหลือคอนขางสมบูรณที่สุด สรางในสมัยหริภุญไชยเมื่อ<strong>ครั้งที่</strong>เวียงเจ็ดลินไดรับอิทธิพลทางพระพุทธศาสนา จากหลักฐานทางโบราณสถานพบวา วัดกูดินขาวอยูนอกเขตคันดินของเวียงเจ็ดลินทางทิศตะวันตกเฉียงใต กลุมโบราณสถานในบริเวณวัดประกอบดวย เจดียประธานวิหาร เจดียราย 8 เหลี่ยม กําแพงแกวเขตพุทธาวาส และหลักฐานทางโบราณคดีชิ้นสําคัญ คือ พระพิมพดินเผาแบบหริภุญไชย พบระหวางการขุดแตงของกรมศิลปากรที่ 8 เชียงใหมไดมีการบูรณะวัดกูดินขาว และมีการรักษาหลักฐานโบราณคดีในความดูแลของกรมศิลปากร ปจจุบันในพื้นที่มีการประกอบกิจกรรมทองเที่ยวในชวงงานสงกรานตเปนประจําทุกปโบราณสถานวัดหมูบุน สันนิษฐานวาสรางในสมัยพญามังราย เมื่อ<strong>ครั้งที่</strong>พระองคไดยึดครองหริภุญไชย โดยพัฒนาเมืองเชียงใหมทั้งการสรางวัดรวมถึงการรับเอาพุทธศาสนานิกายลังกาวงศเขามาในอาณาจักร วัดหมูบุนเปนวัดที่มีรองรอยการสรางกลางเวียงเจ็ดลิน ในอดีตมีการประกอบกิจกรรมกลางเมืองโดยใชพื้นที่เปน “ขวงเมือง” 7 หรือ “ลานกิจกรรม” ในบริเวณนี้เคยพบโบราณวัตถุจําพวกเครื่องปนดินเผา เครื่องบดยาและเครื่องใชตางๆ ในปจจุบันกรมศิลปากรที่ 8 เชียงใหมเคยมีการขุดคนพื้นที่บริเวณนี้แลว และเก็บหลักฐานทางโบราณคดีไวในความดูแลของกรมศิลปากร จังหวัดเชียงใหม7 คําวา”ขวง” ในวัฒนธรรมภาคเหนือนั้นจะสื่อความหมายของพื้นที่กิจกรรม ซึ่งมีการใชงานที่แตกตางกันไปตามคําขยายตอทาย เชน “ขวงบาน”เปนพื้นที่ประกอบพิธีกรรมและงานเฉลิมฉลองในหมูบาน, “ขวงวัด” เปนพื้นที่ใชสําหรับพิธีกรรมเกี่ยวกับศาสนาและกษัตริย216


จากการศึกษาจึงมีแนวคิดในการอนุรักษฟนฟูโบราณสถานวัดหมูบุนขึ้นมาพัฒนาเปน“ขวงเมือง” หรือลานกิจกรรมของเวียงเจ็ดลิน และปรับปรุงภูมิทัศนวัดกูดินขาวโดยรอบ เพื่อประโยชนในการอนุรักษวัฒนธรรมโบราณสถานและเปนสถานที่ทองเที่ยวในการเรียนรูทางประวัติศาสตรของเวียงเจ็ดลิน4.2 โบราณสถานประเภทคูน้ํา- คันดินคูน้ํา- คันดิน ชวงแรกไดจากการขุดของชุมชนลัวะดั้งเดิมที่มาอยูอาศัยโดยการขุดพูนดิน และใชหินกอขึ้นเปนคันดินและมีคูน้ําอยูตรงกลางการสรางแนวคูน้ํา – คันดิน เพื่อปองกันน้ําทวมในฤดูฝน รวมถึงการใชเปนแหลงกักเก็บน้ําใชอุปโภคบริโภคในฤดูแลง ตอมาในสมัยพญาสามฝงแกนไดบูรณะคูน้ํา – คันดินในเวียงเจ็ดลินไดอาศัยน้ําจากเชิงดอยสุเทพมาหลอเลี้ยงคูเมือง โดยมีการสรางรางน้ําทั้ง 7 รางที่ใชชักน้ําเขามาในเวียง 8จากการศึกษาเอกสารทางโบราณคดีพิจารณาไดวา ในเวียงเจ็ดลินนั้น น้ํามีความใสสะอาดมากเพราะมีความเชื่อครั้งโบราณวาน้ําจากเวียงเจ็ดลิน เปนน้ําศักดิ์สิทธ ตอมาเวียงเจ็ดลินมีฝนตกหนักเกิดน้ําปาไหลหลากพัดพาหินมาทับถม ทําใหคันดินพังทลายสงผลทําใหแนวคันดินบริเวณทางทิศตะวันตกเฉียงใตขาดหายไปจากการศึกษาวิเคราะหภาพถายทางอากาศที่ถายหลายสมัย เชน ภาพถายอากาศ พ.ศ. 2510และ พ.ศ. 2522 ลักษณะทางกายภาพแสดงแนวคูน้ํา - คันดินเวียงเจ็ดลิน คือภาพถายอากาศเวียงเจ็ดลินพ.ศ. 2510 ภาพถายอากาศเวียงเจ็ดลินพ.ศ. 2522 9คูน้ํา – คันดิน : ดานทิศตะวันออกเฉียงใตอยูบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาถึงบริเวณสวนรุกขชาติ แสดงใหเห็นแนวคันดินที่มีสภาพสมบูรณ คือ ยังพบชั้นคันดินและน้ําในคูชัดเจนในปจจุบันพบวามีถนนหวยแกวตัดผานแนวคันดินบริเวณนี้: ดานทิศเหนือมีความยาวของคูน้ํา – คันดินมากที่สุด แตปจจุบันคูน้ํา-คันดินมีสภาพถูกปกคลุมดวยวัชพืชจนไมสามารถมองเห็นแนวคันดิน8 ถิ่น รัติกนก. อาจารยประจําภาควิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. คนพบลิน (รางน้ํา) ในเวียงเจ็ดลิน ปจจุบันเก็บไวพิพิธภัณฑภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.9 รูปจาก ทิวา ศุภจรรยาและคณะ. ชุมชนโบราณในเขตภาคเหนือ – แหลงที่ตั้งชุมชนโบราณจากภาพถายทางอากาศ .โครงการวิจัยชุมชนโบราณจากภาพถายทางอากาศ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.217


แสดงคูน้ําที่คงสภาพแสดงแนวคันดินที่คงสภาพ ชุมชนชางเคี่ยนแสดงแนวคันดินที่หมดสภาพสระน้ําอนุสาวรียครูบาศรีวิชัยมหาวิทยาลัยราชมงคลแนวเชิงเขาดอยสุเทพถนนหวยแกวสวนรุกขชาติอางแกว: ดานทิศตะวันตกตั้งแตบริเวณอนุสาวรียครูบาศรีวิชัยไปถึงบริเวณอางแกว ไมพบรองรอยแนวคันดิน จากการสํารวจและศึกษาขอมูลพบหลักฐานชั้นหินและเศษหิน พบมากในบริเวณอางแกวและกระจายไปถึงอนุสาวรียครูบาศรีวิชัย ซึ่งพิจารณาไดวาเปนแนวคันดินในอดีตที่ถูกน้ําปาไหลบาจากดอยสุเทพพัดพาจนแนวคันดินพังทลายทําใหเศษหินกระจายอยูในบริเวณนี้ ดังนั้นควรมีการบูรณะรื้อฟนเพื่อสรางแนวคูน้ํา – คันดินที่ขาดหายไปใหชัดเจนขึ้นอีกครั้งโดยตองยึดแนวเดิมและควรเปดมุมมองเพราะเปนบริเวณที่มีทัศนียภาพของดอยสุเทพที่สวยงามที่สุดอีกแหงของเมืองเชียงใหมผังเวียงเจ็ดลิน แสดงสภาพคูน้ํา-คันดิน 10คูน้ํา - คันดินเวียงเจ็ดลิน4.3 แหลงขุดคนทางโบราณคดี การขุดแหลงขุดคนทางโบราณคดีเวียงเจ็ดลิน จํานวน 5 หลุม(ขนาดหลุม 4 x 4 เมตร ขุดลึกเฉลี่ย 4 เมตร) โดยสํานักศิลปากรที่ 8 เชียงใหมกําหนดจุดจํานวน 5 หลุม มีการกําหนดจากจุดกึ่งกลางเวียงเจ็ดลิน และกระจายตามทิศทั้ง 4 ทิศ ไดแก แหลงขุดคนโบราณคดีเวียงเจ็ดลินหมายเลข 1 ไดกําหนดเปนจุดกึ่งกลางเวียงเจ็ดลิน แหลงขุดคนโบราณคดีเวียงเจ็ดลินหมายเลข 2 ทางทิศเหนือแหลงขุดคนโบราณคดีเวียงเจ็ดลินหมายเลข 3 ทางทิศใต แหลงขุดคนโบราณคดีเวียงเจ็ดลินหมายเลข 4 ทางทิศตะวันออก และแหลงขุดคนโบราณคดีเวียงเจ็ดลิน หมายเลข 5 ทิศตะวันตก ของพื้นที่เวียงเจ็ดลินโบราณคดีที่คนพบ :แหลงขุดคนทางโบราณคดีเวียงเจ็ดลินโบราณคดีที่ไดจากหลุมขุดคนทางโบราณคดีสวนมาก คือ หมอ ไห เศษจานในสมัยหริภุญไชยที่บดยาดินเผาเนื้อเครื่องดิน และเศษภาชนะดินเผาในสมัยลานนาหลายชิ้นและยังคงสมบูรณจากชุมชนดั้งเดิมที่มาอยูอาศัยในพื้นที่เวียงเจ็ดลิน จึงเห็นไดวาแหลงโบราณคดีเวียงเจ็ดลินมีความสําคัญในการเปนหลักฐานในอดีต เพื่อศึกษาประวัติการตั้งถิ่นฐานชุมชน และนําไปพัฒนาการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เพื่อการภาชนะดินเผาเนื้อเครื่องหิน เรียนรูแกเยาวชน ประชาชน และนักทองเที่ยว5. ศักยภาพและปญหาในพื้นที่ศึกษา :5.1 ศักยภาพของพื้นเวียงเจ็ดลิน ดวยลักษณะภูมิประเทศของเวียงเจ็ดลิน ตั้งอยูที่ราบดอยสุเทพทําใหสภาพพื้นที่มีทรัพยากรธรรมชาติคอนขางสมบูรณทั้งทางดานพืชพรรณ ปาไม และแหลงน้ําที่เปนพื้นที่รับน้ําจากเชิงดอยสุเทพกอนระบายน้ําไปสูเมือง อีกทั้งพื้นที่มีโบราณสถาน แหลงขุดคนทางโบราณคดีที่สําคัญและมีคุณคาทางประวัติศาสตรจากการตั้งชุมชนโบราณบริเวณเชิงดอยสุเทพ มีการสรางขอบเขตคูน้ํา - คันดิน เพื่อ10 ปรับปรุงจาก กองโบราณคดี กรมศิลปากรที่ 8 เชียงใหม.218


เปนที่อยูอาศัยและเพื่อใชในการเปนแหลงกักเก็บน้ําสําหรับการอุปโภคบริโภคในฤดูแลง ทําใหเวียงเจ็ดลินยังปรากฏแนวคูน้ํา - คันดินใหเห็นจนถึงปจจุบัน ในการศึกษาและสํารวจพื้นที่เวียงเจ็ดลิน จึงสามารถแบงพื้นที่เพื่อหาศักยภาพในพื ้นที่ในการนํามาวิเคราะห เพื่อการอนุรักษและการพัฒนาโดยแบงพื้นที่ที่มีศักยภาพได คือ5.1.1 พื้นที่มีศักยภาพในการเปนแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรทองถิ่นและแหลงโบราณคดีพื้นที่เหลานี้ประกอบดวย โบราณสถานวัดกูดินขาว วัดหมูบุน คูน้ํา – คันดินและแหลงขุดคนทางโบราณคดีเวียงเจ็ดลิน เปนพื้นที่มีความสําคัญและมีคุณคาทางประวัติศาสตร ดังนี้โบราณสถานวัดกูดินขาว วัดหมูบุน : วัดกูดินขาว ยังคงเหลือหลักฐานการกอสรางคอนขางสมบูรณที่สุด ประกอบดวย เจดียประธานวิหาร เจดียราย 8 เหลี่ยม กําแพงแกวเขตพุทธาวาส และหลักฐานทางโบราณคดีชิ้นสําคัญ คือ พระพิมพดินเผาแบบหริภุญไชย สวนวัดหมูบุนในบริเวณนี้เคยพบโบราณวัตถุจํานวนมากจําพวกเครื่องปนดินเผา เครื่องบดยา และเครื่องใช จากการขุดคนพบวาบริเวณนี้มีตาน้ําพุดขึ้นคูน้ํา – คันดิน : เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรทองถิ่นที่สําคัญ และยังคงปรากฏใหเห็นถึงการสรางเวียงเปนรูปวงกลมดวยการกอชั้นหินเปนคันดิน และมีคูน้ําอยูตรงกลางชวงที่สมบูรณอยูบริเวณสวนรุกขชาติแหลงขุดคนทางโบราณคดีเวียงเจ็ดลิน : แหลงโบราณคดีที่ขุดคนไดมีความสําคัญในการศึกษาการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณที่มีการสรางที่อยูอาศัยในพื้นที่เวียงเจ็ดลิน จากการขุดคนพบหลักฐานทางโบราณคดีหลายชิ้นที่สําคัญ เชน หมอ ไห ในสมัยหริภุญไชย และเศษถวยชามในสมัยวัฒนธรรมลานนาศักยภาพของพื้นที่คือ เปนพื้นที่มีความสําคัญและมีคุณคาอยางยิ่งทางประวัติศาสตร โดยการกําหนดใหเปนพื้นที่อนุรักษสถานที่โบราณสถานหามมีสิ่งกอสรางอาคาร และหามนําไปใชพัฒนาอื่นใดอันจะทําใหคุณคาเหลานั้นลดลง นอกเหนือจากการพัฒนาเพื่อการศึกษาคนควา และการทองเที่ยวเพื่อการเรียนรูทางโบราณสถาน แหลงโบราณคดี รวมทั้งชื่นชมความงามทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู5.1.2 พื้นที่มีศักยภาพเปนพื้นที่รับน้ําคูน้ําและแหลงน้ําในเวียงเจ็ดลิน เปนหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่แสดงถึงภูมิปญญาของชุมชนโบราณในการจัดการเรื่องแหลงน้ําและรูจักการใชน้ํา เนื่องจากที่ตั้งมีสภาพภูมิศาสตรกายภาพเปนที่ราบเชิงดอยสุเทพเปนแหลงตนน้ํา เกิดลําน้ําธรรมชาติไหลเขาหลอเลี้ยงคูน้ําในเวียงเจ็ดลิน จึงเอื้อประโยชนตอการมีแหลงน้ําและการขุดคูน้ําขึ้นเพื่อใชในการเกษตร ทําใหพื้นที่มีศักยภาพเปนพื้นที่รับน้ําเพื่อกักเก็บน้ําและชวยชะลอน้ําไหลกอนเขาเมืองเชียงใหม รวมทั้งเปนแหลงน้ําที่ใชในการอุปโภคบริโภคในพื้นที่เวียงเจ็ดลิน พื้นที่มีศักยภาพเปนพื้นที่รับน้ํามีทั้งหมด 4 แหง ไดแก คูน้ํา อางเก็บน้ําอางแกว สระน้ําเดิม สระน้ําเวียงเจ็ดลิน ซึ่งนับเปนพื้นที่มีศักยภาพตามธรรมชาติที ่มีอยูสามารถนําไปพัฒนาเพื่อใชประโยชนจากแหลงน้ําได5.1.3 พื้นที่มีศักยภาพในการเปนสวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวของเมืองเนื่องจากพื้นที่เวียงเจ็ดลินมีสภาพธรรมชาติจากปาบริเวณเชิงดอยสุเทพ สงผลใหพืชพรรณมีความหลากหลายและยังสมบูรณ ทําใหเวียงเจ็ดลินมีศักยภาพเปนพื้นที่สีเขียว ทั้งเปนพื้นที ่สวนสาธารณะประกอบกิจกรรมทางนันทนาการ และประเพณีของเมืองเพราะตั้งอยูใกลตัวเมืองเชียงใหม ทําใหงายตอการเขามาใชของประชาชน และเปนพื้นที่สีเขียวของเมือง เพื่อใหเรียนรูพืชพรรณธรรมชาติและทําใหพื้นที่มีความรมรื่นสวยงาม อีกทั้งเปนพื้นที่สีเขียวริมน้ําตามแนวคูน้ํา – คันดินเปนการสรางบรรยากาศใหเห็น และรับรูและสงผลดีตอการอนุรักษแนวคูน้ํา - คันดิน219


แผนที่1.1 แสดงพื้นที่มีศักยภาพในการเปนแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรทองถิ่นและแหลงโบราณคดีพื้นที่มีศักยภาพในการทองเที่ยวเชิงโบราณคดีโบราณสถานวัดกูดินขาว เปนวัดที่สรางในสมัยหริภุญไชยพบหลักฐานทางโบราณคดีเปนพระพิมดินเผาแหลงขุดคนทางโบราณคดี 5 หลุมวัดกูดินขาวคูน้ํา - คันดินเวียงเจ็ดลินคูน้ํา - คันดินเวียงเจ็ดลินแหลงขุดคนทางโบราณคดีเวียงเจ็ดลิน พบเศษภาชนะเครื่องใชในสมัยหริภุญไชยและในสมัยวัฒนธรรมลานนาแผนที่1.2 แสดงพื้นที่มีศักยภาพเปนพื้นที่รับน้ํา ไดแก : อางเก็บน้ําโบราณอางแกว สระน้ําเดิม สระน้ําเวียงเจ็ดลิน ซึ่งนับเปนพื้นที่มีศักยภาพตามธรรมชาติ ที่มีอยูสามารถนําไปพัฒนาเพื่อใชประโยชน จากแหลงน้ํา1. สระน้ําเวียงเจ็ดลิน เปนแหลงน้ําที่ไดจากสระน้ําเวียงเจ็ดลินการรองรับน้ําเชิงดอยสุเทพ ปจจุบันเปนแหลงสระน้ําเดิมทองเที่ยวทางธรรมชาติ มีกิจกรรมการตกปลา2. สระน้ําเดิม ที่ชุมชนขุดขึ้นใชรองรับน้ําจากดอยสุเทพ ในปจจุบันเปนแหลงหาปลาของชาวบานอางแกว3. อางแกว ในปจจุบันใชเปนอางเก็บน้ําที่สําคัญใชในการรองรับน้ําจากเชิงดอยสุเทพของหนวยงานราชการรวมทั้งเปนสถานที่แผนที่1.3 แสดงพื้นที่มีศักยภาพในการเปนสวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวของเมือง1.พื้นที่โลงสีเขียวของเวียงเจ็ดลิน มีศักยภาพในการพัฒนาเปนลานขวงเมือง อยูตรงกลางเวียงเจ็ดลิน เพื่อใชในการประกอบพื้นที่โลงสีเขียวกิจกรรมประเพณีของเมืองปาไมเชิงดอยสุเทพพื้นที่สีเขียวพื้นที่สีเขียวพื้นที่สีเขียวริมน้ําพื้นที่โลงสีเขียวพื้นที่สีเขียวริมน้ํา2. พื้นที่สีเขียว บริเวณสวนรุกขชาติจัดเปนพื้นที่สีเขียวที่มีอยูในพื้นที่เพื่อประโยชนในการเปนพื้นที่พักผอนและกิจกรรมนันทนาการของเมือง3.พื้นที่สีเขียวริมน้ํา มีศักยภาพเปนสวนสาธารณะของเมือง ไดแก พื้นที่ริมน้ําอางเก็บน้ําหวยแกว พื้นที่ตามแนวคูน้ํา - คันดินของเวียงเจ็ดลิน220


5.2 ปญหาในพื้นที่ศึกษา การวิเคราะหสภาพปญหาในพื้นที่ จากการศึกษาดานกายภาพดวยการวิเคราะหภาพถายทางอากาศและการสํารวจสภาพปญหาที่มีในพื้นที่ สามารถสรุปปญหาที่เกิดขึ้นทางดานกายภาพได คือ ปญหาตามแนวคูน้ํา - คันดิน ปญหาการใชที่ดิน ปญหาเสนทางสัญจร ปญหาทางดานภูมิสถาปตยกรรม5.2.1 ปญหาตามแนวคูน้ํา – คันดิน ชวงของแนวคันดินทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแตบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาถึง แนวคูน้ํา - คันดิน บริเวณสระน้ําของชุมชน พบวาแนวคันดินขาดหายไปเนื่องจากการถมดินเพื่อสรางอาคาร ที่อยูอาศัยและการปลอยทิ้งไมไดรับการพัฒนาไมมีการขุดลอกคูน้ํา ทําใหคูน้ํามีสภาพน้ําในคลองตื้นเขินมีวัชพืชขึ้นปกคลุม จึงทําใหแนวคูน้ํา – คันดิน ขาดการไหลเวียนของน้ําที่รองรับมาจากเชิงดอยสุเทพสงผลตอการทําใหคูน้ําเนาเสีย และไมสามารถเปนคูน้ําที่สามารถเปนพื้นที่รองรับน้ําเพื่อนําไปใชประโยชน5.2.2 ปญหาการใชที่ดิน จากความไมชัดเจนในการจัดแผนการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่สงผลใหพื้นที่สวนใหญมีสิ่งปลูกสรางอาคารสูง ซึ่งจากการวิเคราะหภาพถายทางอากาศประกอบกับการสํารวจภาคสนามจากการเปรียบเทียบพบวา มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จากเดิมพื้นที่ไดกําหนดเปนพื้นที่อนุรักษและพื้นที่สีเขียวของเมือง แตปจจุบันเวียงเจ็ดลิน มีการใชพื้นที่เพื่อเปนสถานที่ราชการ สถาบันการศึกษาและมีบานเรือนอยูอาศัย สงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและแนวคูน้ํา - คันดิน เปนอยางมาก ซึ่งสามารถแบงพื้นที่ตามสภาพปญหาดานการใชที่ดิน คือ1. ชุมชน มีการบุกรุกแนวคูน้ํา - คันดินเพื่อใชพื้นที่เปนที่อยูอาศัย การใชประโยชนที่ดินเปนการกอสรางบานเรือนของชุมชนทับแนวคันดินทําใหคูน้ํา – คันดินเสื่อมสภาพเกิดคูน้ําตื้นเขินเกิดความสกปรกและมีวัชพืชขึ้นปกคลุม2. สถานบันราชการ สถาบันการศึกษา ปจจุบันพบวาจากความตองการใชประโยชนที่ดินในการสรางอาคารขนาดใหญ และมีความสูงเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหอาคารที่ตั้งอยูในพื้นที่และโดยรอบมีการสรางประชิดคันดินและโบราณสถาน แหลงโบราณคดี สงผลใหคูน้ํา – คันดินนั้นดูดอยคาและขาดชวงไป5.2.3 ปญหาเสนทางสัญจร จากการพัฒนาการทองเที่ยวของเมืองเชียงใหม ในการสรางถนนหวยแกว ตัดผานคันดินเวียงเจ็ดลิน ซึ่งเปนเสนทางหลักเพื่อไปยังดอยสุเทพ เดิมนั้นประชาชนใชเสนทางถนนหวยแกวเสนนี้ ในการเดินเพื่อขึ้นดอยสุเทพ แตในปจจุบันถนนหวยแกวมีการสัญจรของ รถทัวรนําเที่ยว รถยนต รถจักรยานยนตทั้งเพื่อใชสัญจรขึ้นดอยสุเทพและใชในการสัญจรภายในเวียงเจ็ดลิน และสถานที่จุดจอดรถโดยสารภายในเวียง ทําใหเกิดความพลุกพลาน จอแจรวมทั้งเกิดฝุนละออง ดวยเหตุนี้การสัญจรบนถนนหวยแกวสงผลใหเกิดการสั่นสะเทือนซึ่งทําใหแนวคันดินเวียงเจ็ดลินพังทลายและทรุดตัวแผนที่แสดงเสนทางของถนนหวยแกวเปนสายหลักในการสัญจร221


5.2.4 ปญหาทางดานภูมิสถาปตยกรรม ประกอบดวย1. ปญหาขาดการสื่อความหมาย แกนักทองเที่ยวและประชาชนที่แสดงถึงความสําคัญทางประวัติศาสตรของความเปนมาของเวียงเจ็ดลิน ซึ่งในปจจุบันยังขาดการแสดงขอมูลใหเขาใจ เพื่อที่จะใหนักทองเที่ยวและประชาชนที่มาใชพื้นที่เกิดการเรียนรูทางประวัติศาสตร และเกิดจิตสํานึกในการหวงแหนและตระหนักถึงมรดกทางวัฒนธรรมของพื้นที่2. ปญหาการถูกทําลายทัศนียภาพ เกิดจากที่โบราณสถาน แนวคูน้ํา – คันดิน ถูกบดบังดวยอาคารสูงและที่พักอาศัยทําใหไมสามารถมองเห็นโบราณสถาน แนวคูน้ํา – คันดินที่สําคัญไดชัดเจนรวมทั้งปายบอกทางที่หลากหลายรูปแบบ แผงผาใบ รานคาที่ไมเปนระเบียบ ทําลายบรรยากาศและทัศนียภาพความเปนพื้นที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร6. แนวคิดหลัก :แนวคิดในการวางผังเวียงเจ็ดลินจากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษโบราณสถานที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร ไดความคิดวาการอนุรักษประวัติศาสตรเปลี่ยนแปลงไป จากกฎบัตรระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษและบูรณะโบราณสถานและแหลงที่ตั้ง 11 จากในอดีตที่เนนเฉพาะอาคารสิ่งกอสรางทางสถาปตยกรรมหรือโบราณสถานที่สําคัญเพียงอยางเดียว มาเปนการอนุรักษที่ครอบคลุมที่ตั้งซึ่งแสดงถึงลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดลอมของการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณ ที่สะทอนใหเห็นถึงวิถีชีวิตในอดีตจากแนวคิดการอนุรักษดังกลาว สามารถนํามาเปนกรอบความคิดในการอนุรักษ และพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลินแนวคิดหลักการวางผังแมบทเวียงเจ็ดลิน :จากการวิเคราะหศักยภาพและสภาพปญหาที่มีในพื้นที่ จึงมีแนวคิดในการวางผังแมบทเวียงเจ็ดลิน โดยการคํานึงถึงสภาพแวดลอมและสภาพภูมิทัศนของเวียงเจ็ดลินเปนสําคัญ และเพื่อการอนุรักษคูน้ํา – คันดิน โบราณสถาน และแหลงขุดคนทางโบราณคดี ใหเปนแหลงทองเที่ยวเพื่อการเรียนรูทางประวัติศาสตรทองถิ่น และมีการพัฒนาพื้นที่สีเขียวใหเปนพื้นที่สวนสาธารณะเพื่อประกอบกิจกรรมทั้งทางดานนันทนาการและการประกอบกิจกรรมของเมือง และเปนแหลงน้ําเชิงดอยสุเทพที่มีความสําคัญในการเปนพื้นที่รับน้ํากอนระบายไปสูเมืองเชียงใหม เพื่อใชในการพักผอนและเปนปอดอีกแหงของคนในเมือง ซึ่งกอใหเกิดความประทับใจและจุดความคิดดานการอนุรักษแกหนวยงานราชการชุมชน ผูเขามาใชพื้นที่ นักทองเที่ยว ใหเห็นคุณคาและสรางความตระหนักในการอนุรักษ ใหอยูสืบไป11 กฎบัตรระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษและบูรณะโบราณสถานและแหลงที่ตั้ง. The Venice Charter 1964กฎบัตรเวนิช เมืองเวนิช. พฤษภาคม พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964).222


6.1 ผังแมบทเวียงเจ็ดลินสระน้ําเวียงเจ็ดลินวัดศรีโสดาสวนสาธารณะแหลงขุดคนทางโบราณคดีชุมชนชางเคี่ยนอนุสาวรียครูบาศรีวิชัยวัดหมูบุนรานคาศูนยศิลปาชีพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชพิพิธภัณฑมงคลลานนาวัดกูดินขาวสวนสัตวเชียงใหมสวนรุกขชาติถนนเสนใหมถนนหวยแกวจุดจอดรถแนวเชิงเขาดอยสุเทพอางแกวพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหมScale 1:10006.2 แนวความคิดดานการอนุรักษและพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลิน :6.2.1 แนวความคิดดานการอนุรักษ คูน้ํา - คันดินใหความสําคัญกับการพัฒนาคูน้ํา - คันดินกําหนดใหมีการรื้อฟนคูน้ํา – คันดินเพื่อพัฒนาเพิ่มเติมใหเชื่อมตอแนวคันดินเดิมที่ขาดชวงสามารถทําใหน้ําในคูเวียงมีความตอเนื่องกัน จึงมีแนวทางการอนุรักษและพัฒนาคูน้ํา - คันดิน กลาวคือจะใชทั้งการบูรณะ( Restoration ) และบํารุงรักษาคูน้ํา - คันดินใหคงสภาพสมบูรณและถอยรนจากแนวคูน้ํา - คันดินของเวียงเจ็ดลินไมใหมีสิ่งกอสรางในบริเวณ เปนระยะ 10 12 เมตร เพื่อชวยใหแนวคันดินทางยาวไดปรากฏชัดเจน พรอมทั้งใชเปนพื้นที่สีเขียวริมน้ําตามแนวคูน้ํา - คันดินเพื่อการพักผอนและเรียนรูทางประวัติศาสตร12 พ.ร.บ ควบคุมโบรารสถาน 2504 . กรมศิลปากร 2535.223


การฟนฟูสภาพ ( Rehabilitation ) ฟนฟูคูน้ํา - คันดินสวนที่ยังปรากฏหลงเหลือความยาวประมาณ 560 เมตร ที่ปรากฏสมบูรณตั้งแตสวนรุกขชาติ ขามไปถนนหวยแกวในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา บริเวณโรงอาหาร ใหคูน้ํามีความสะอาดและเปนแหลงน้ําเพื่อระบายไปยังอางแกวการรื้อฟน เพื่อสรางใหม ( Reconstruction ) เปนการสรางแนวคันดิน ที่ขาดหายจากการถูกดินกลบ สวนของคูน้ํา - คันดินที่ไมปรากฏชัดเจนหรือไมเหลือสภาพคันดินนั้น จัดการรื้อฟนขึ้นใหมใหมีแนวคันดินใกลเคียงในอดีต ใหเห็นขอบเขตคูน้ํา - คันดินของเวียงเจ็ดลินตลอดจนรูปแบบลักษณะตามแนวเดิม6.2.2 แนวความคิดดานการใชประโยชนที่ดินตามขอบังคับของการใชประโยชนที่ดินของผังเมืองเชียงใหมที่มีขอกําหนด ใหเวียงเจ็ดลิน เปนพื้นที่เพื่อการอนุรักษโบราณสถาน คูน้ํา – คันดิน และเปนพื้นที่ปาสงวนเพื่อสงเสริมกิจกรรมนันทนาการของเมือง โดยใหพื้นที่รอบขางเปนสถาบันการศึกษาและเปนพื้นที่ราชการจึงเสนอใหมีการวางแผนดานการใชประโยชนที่ดินของเวียงเจ็ดลิน เพื่อกําหนดเขตพื้นที่การอนุรักษและพัฒนาภูมิทัศนสามารถควบคุมการใชประโยชนที่ดินได และเพื่อปองกันการรุกล้ําทําลายโบราณสถาน คูน้ํา - คันดิน ซึ่งจําแนกออกเปน 3 เขต ประกอบดวยพื้นที่ดังนี้1. เขตอนุรักษพื้นที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร มีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการอนุรักษและพัฒนาโบราณสถาน โดยประกาศใหพื้นที่โบราณสถานวัดกูดินขาว วัดหมูบุน คูน้ํา – คันดิน และแหลงโบราณคดี เปนเขตอนุรักษที่สําคัญทางประวัติศาสตรมีเปาหมายใหพื้นที่ดังกลาวทําหนาที่เปนแหลงใหความรู เปนศูนยขอมูลทางดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมโดยจัดเปนแหลงนันทนาการเพื่อการศึกษาประวัติศาสตร โบราณสถาน แหลงโบราณคดี และเปนแหลงทองเที่ยวโดยมีกรมศิลปากรดูแล2. เขตควบคุมการพัฒนา ไดแก พื้นที่สถาบันราชการ และสถาบันศึกษา ในปจจุบันเปนพื้นที่มีการใชประโยชนที่ดินในเวียงเจ็ดลินมากที่สุด ในอนาคตคาดวาจะมีการเพิ่มจํานวนอาคาร มีการกระจายตัวสิ่งกอสรางเพิ่มมากขึ้น จึงจําเปนตองมีการควบคุมการใชประโยชนที่ดิน โดยมีแนวคิดในการควบคุมการขยายตัวของสถาบันราชการ สถาบันการศึกษาไมใหเพิ่มขึ้นหรือเสนอใหยายไปอยูในพื้นที่ที่ไดกําหนดใหเปนสีน้ําเงินเพื่อรองรับการขยายตัวของสถาบันราชการ และพื้นที่สีเขียวมะกอกใชรองรับการขยายตัวของสถาบันการศึกษา โดยยังคงหนวยงานราชการ ไดแก สวนรุกขชาติ ศูนยศิลปาชีพ สวนสัตวเชียงใหม และมหาวิทยาลัยราชมงคลลานนา ใหยังคงอยูในพื้นที่เวียงเจ็ดลินไดโดยใหเปนสถานที่ราชการประกอบกับใหบริการ รานคาและสถานที่ใหความรูแกประชาชนและนักทองเที่ยว3. เขตการพัฒนาพื้นที่สีเขียว ไดแก พื้นที่สีเขียวที่มีในเวียงเจ็ดลินและโดยรอบ มีการใชประโยชนที่ดินในการพัฒนาใหเปนพื้นที่สีเขียว เพื่อการพักผอนและประกอบกิจกรรมทางดานนันทนาการและประกอบกิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรมของเมืองในชวงเทศกาลสําคัญ และพัฒนาเปนสวนสาธารณะริมน้ําเพื่อสงเสริมบรรยากาศ และใหประชาชนและนักทองเที่ยวเขามาใชพื้นที่ อีกทั้งเปนแหลงใหความรูทางดานพืชพรรณโดยเฉพาะบริเวณสวนรุกขชาติ ที่มีพืชพรรณหายากและพืชพรรณทองถิ่นที่สําคัญในบริเวณเปนจํานวนมาก6.2.3 แนวความคิดในการพัฒนาภูมิทัศนเพื่อการทองเที่ยวเวียงเจ็ดลินเปนพื้นที่มีแหลงทองเที่ยวและโบราณสถานอยู มีนักทองเที่ยวและผูใชงานในพื้นที่ทั้งนักเรียน นักศึกษา เขามาใชไดงานอยางตอเนื่อง แตยังประสบปญหาไมมีการสงเสริมพัฒนาปรับปรุงฟนฟูสิ่งอํานวยสะดวกเพื่อการทองเที่ยวที่มีอยู ใหอยูในสภาพที่สามารถใชงานได โดยแนวทางในการ224


พัฒนาภูมิทัศนเพื่อการทองเที่ยว ที่สําคัญไดแก การปรับปรุงและพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการทองเที่ยว1. จัดภูมิทัศนเมือง ในเรื่องการดูแลรักษาสภาพภูมิทัศน การสรางสภาพแวดลอมที่ดีจากสวนรุกขชาติที่มีพืชพรรณ ปาไมสมบูรณ รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่สีเขียวเปนขวงเมืองเพื่อประกอบกิจกรรมประเพณีเมืองเชียงใหม2. จัดระเบียบอุปกรณประกอบถนนที่ขาดเอกลักษณ มีลักษณะที่ปะปนหลากหลายรูปแบบ รวมไปถึงพัฒนาปายแสดงขอมูลทางประวัติศาสตรเวียงเจ็ดลิน ปายบอกทางไมใหขวางทางเดินเทาเพื่อใหมีทัศนียภาพที่สวยงามและมีระเบียบ3. การจัดทําปายขอความ เครื่องหมาย และปายชื่อตางๆ ควรออกแบบใหเขากับสภาพแวดลอมของเวียงเจ็ดลิน และควรจัดใหมีอักษรลานนาเพื่อการอนุรักษวัฒนธรรมทองถิ่นไว6.2.4 แนวความคิดดานระบบสัญจรการพัฒนาเสนทางในเวียงเจ็ดลิน มีทรัพยากรการทองเที่ยวที่หลากหลาย ทั้งทางธรรมชาติ และทางโบราณสถานในเวียงเจ็ดลิน และพื้นที่รอบขางที่มีแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ แตในปจจุบันเสนทางทองเที่ยวในเวียงเจ็ดลินยังไมครอบคลุมแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพ อีกทั้งการใชประโยชนจากเสนทางเดิมเปนถนนหวยแกวที่ตัดผานเวียงเจ็ดลินเพื่อขึ้นดอยสุเทพ ซึ่งสงผลกระทบตอคูน้ํา - คันดินและโบราณสถานจึงควรพัฒนาปรับปรุงเสนทางทองเที่ยวของเวียงเจ็ดลิน พรอมทั้งการเชื่อมโยงการทองเที่ยวกับแหลงทองเที่ยวโดยรอบของเวียงเจ็ดลิน ใหสามารถเดินทางอยางสะดวกและเชื่อมโยงได โดยการเนนเสนทางสัญจรที่เปนเสนทางจักรยาน เสนทางเดินเทา1. การเสนอแนะเสนทางหลักใหม เปนเสนทางหลักโดยรอบเวียงเจ็ดลิน จากจุดเริ่มของถนนหวยแกวเพื่อไปสูดอยสุเทพ เสนทางใหมนี้สามารถรับรูการเขาถึงเวียงเจ็ดลินได โดยเปนถนนหลักตามแนวคูน้ํา - คันดินที่ไดรับการ รื้อฟนขึ้นใหม2. การเสนอแนะจัดเสนทางสัญจร ทั้งเสนทางจักรยาน และเสนทางเดินเทาในลักษณะการทองเที่ยวเพื่อการเรียนรูแหลงประวัติศาสตร เชื่อมตอบริเวณพื้นที่มีโบราณสถานที่มีความนาสนใจ เพื่อใชเปนเสนทางทองเที่ยวทางประวัติศาสตรของเวียงเจ็ดลิน3. การเสนอแนะพัฒนาปรับปรุงเสนทางเดิมในพื้นที่ พัฒนาและปรับปรุงเสนทางภายในเวียงเจ็ดลิน ซึ่งสถาบันราชการและสถาบันการศึกษายังใชในการสัญจร โดยการใชแนวตนไมเปนตัวกําหนดเสนทางสัญจรภายในเวียงเจ็ดลิน ไมสงเสริมใหมีการใชรถยนตเขาไปรบกวนโบราณสถาน จึงมีการจัดพื้นที่จอดรถรวมทั้งมีเสนทางเดินเทาและเสนทางจักรยานในการเชื่อมโยงไปยังหนวยงานตางๆ6.2.5 แนวความคิดดานภูมิสถาปตยกรรมการจัดภูมิสถาปตยกรรม การจัดหรือพัฒนาภูมิทัศนในพื้นที่สีเขียวมีความสําคัญในการสรางสุนทรียภาพและมีภูมิทัศนสวยงาม ประโยชนที่ได เชน ใหรมเงา รักษาสภาพแวดลอม ทําใหพื้นที่มีบรรยากาศนาทองเที่ยว และไมใหมีการกอสรางอาคารจนเต็มพื้นที่ชวยลดความเขมขนของการใชที่ดินแนวคิดดานการใชพืชพรรณ ควรใชพืชพันธุที่เหมาะสมกับสภาพทองถิ่นรวมถึงการรักษาตนไมเดิมในพื้นที่ไวใหไดมากที่สุด สงเสริมดานการกําหนดพันธุไมและตําแหนงเพื่อสงเสริมการใชงาน เชน การเนนทางเขาอาคาร โดยการปลูกตนไมทรงสูงเพื่อชวยพรางและชวยปดบังทัศนียภาพที่ไมสวยงาม การใช225


ตนไมเปนแนวเพื่อการแสดงอาณาเขต การใชตนไมใหญเพื่อเปนการกันสายตาจากสิ่งรบกวน และชวยสงเสริมบรรยากาศของการพักผอนแบบธรรมชาติ ดังนี้1. เลือกชนิดของตนไมที่ปลูก ใหขึ้นไดดีในสภาพภูมิประเทศที่ราบเชิงเขาทั้งนี้จะทําใหงายแกการดูแลรักษา ตนไมสามารถเจริญเติบโตไดดี เหตุผลสําคัญอีกประการหนึ่งคือ พืชพันธุจะแสดงเอกลักษณของแตละพื้นที่แตละทองถิ่นซึ่งแตกตางกันไปและกอใหเกิดความประทับใจแกนักทองเที่ยวไดเชน ตนสัก ตนทองกวาว เปนตน2. การเลือกใชไมยืนตนเปนไมของทองถิ่น ไดแก ตนมะขาม ตนยางนา ตนทองกวาว ตนพะยอม เปนตน โดยพยายามไมนําไมตางถิ่นมาปลูกเพื่องายตอการดูแลรักษา6.2.6 แนวความคิดดานสภาพแวดลอมเวียงเจ็ดลินเปนพื้นที่ที่มีสภาพแวดลอมของพื้นที่ราบเชิงดอยสุเทพที่ยังคงสมบูรณ แตเนื่องจากยังขาดการพัฒนาพื้นที่ จึงทําใหทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เวียงเจ็ดลิน เสื่อมโทรมและไมสงเสริมความเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญ จึงมีแนวความคิดดานสภาพแวดลอม คือการควบคุมและดูแลในพื้นที่ที่มีคุณคาทางทรัพยากรทางธรรมชาติของเวียงเจ็ดลิน ตามเชิงดอยสุเทพ ใหชัดเจนรวมทั้งกําหนดการใชที่ดินในแตละบริเวณใหมีความเหมาะสมตามสภาพธรรมชาติของพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณ สวนรุกขชาติถึงบริเวณสวนสัตวเชียงใหมที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติสมบูรณสูง ทั้งนี้เพื่อการรักษาสภาพแวดลอมของเวียงเจ็ดลิน และยังมีสวนชวยใหพื้นที่สามารถกักเก็บน้ําเพิ่มความชุมชื้นใหกับเวียงเจ็ดลินอีกดวย หากทรัพยากรทางธรรมชาติมีความสมบูรณยอมสงผลใหสภาพแวดลอมของเวียงเจ็ดลินเกิดภูมิทัศนที่สวยงาม ซึ่งพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวที่มีอยูใหดีขึ้นได7. สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะในการวิจัยขั้นตอไป :7.1 สรุปผลการศึกษาการสํารวจสภาพปญหาในปจจุบันของเวียงเจ็ดลินที่สงผลกระทบตอโบราณสถาน คูน้ํา-คันดินถูกทําลายและถูกบุกรุกพื้นที่และมีสภาพภูมิทัศนเสื่อมโทรม จากการศึกษาจึงไดเสนอแผนแมบทและแนวความคิดที่สามารถนําไปประยุกตใชเปนแผนพัฒนาดานตางๆ เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาภูมิทัศน และการอนุรักษโบราณสถาน คูน้ํา – คันดิน แหลงโบราณคดี ใหเปนแหลงทองเที่ยวเพื่อการเรียนรูทางประวัติศาสตรทองถิ่นที่สําคัญ ซึ่งมีขอเสนอแนะที่สําคัญไดแก1. ประเด็นของการอนุรักษ ไดเสนอแนวทางการอนุรักษพื้นที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรไดแก โบราณสถานวัดกูดินขาว วัดหมูบุน คูน้ํา – คันดิน และแหลงโบราณคดีเวียงเจ็ดลินและเสนอใหมีการกําหนดเปนเขตอนุรักษสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร และสามารถควบคุมการใชประโยชนที่ดินไดและเพื่อปองกันการรุกล้ําทําลายโบราณสถาน คูน้ํา – คันดินของเวียงเจ็ดลิน2. ประเด็นของการพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลิน โดยมีแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเวียงเจ็ดลินใหเกิดสภาพแวดลอมที่ดี และแนวทางการพัฒนาพื้นที่สีเขียวที่มีใหเปนพื้นที่ประกอบกิจกรรมนันทนาการในการเปนสวนสาธารณะและเปนพื้นที่สีเขียวที่มีสภาพแวดลอมสมบูรณ3. ประเด็นของการพัฒนาเวียงเจ็ดลินเปนแหลงทองเที่ยว โดยเสนอแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเพื่อรองรับกิจกรรมการทองเที่ยวเพื่อการเรียนรูทางประวัติศาสตรทองถิ่น226


7.2 ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยในขั้นตอไปขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยในขั้นตอไป สามารถศึกษาเพิ่มเติมในรายละเอียดการศึกษาตอไปนี้ศึกษา การกําหนดเขตพื้นที่การอนุรักษที่สําคัญของโบราณสถานหรือพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตร การอนุรักษภูมิทัศนทางวัฒนธรรม ภูมิทัศนทางประวัติศาสตร ศึกษาผลกระทบชุมชนที่บุกรุกสรางที่อยูอาศัยประชิดโบราณสถานหรือทับแนวคันดินโบราณ และการศึกษาแนวทางการอนุรักษพื้นที่โบราณสถานที่สอดคลองกับชุมชนในพื้นที่ ชุมชนเห็นความสําคัญและมีสวนรวมในการอนุรักษ7.3 ขอเสนอแนะอื่นๆการนําผลไปหาแนวทางการควบคุมปองกันผลกระทบเนื่องจากความเจริญ การขยายตัวของเมืองและการทองเที่ยวที่ไปทําลายคุณคาของโบราณสถานทางประวัติศาสตร และการสรางจิตสํานึกและตระหนักในการดูแลรักษาหวงแหนและสรางความภาคภูมิใจ ความรูสึกเปนเจาของในมรดกทางวัฒนธรรมนั้นใหเกิดแกผูอยูอาศัยในบริเวณใกลเคียง ซึ่งเปนการรักษาคุณคาทางประวัติศาสตรของพื้นที่นั้นเอาไวไดอยางยั่งยืนตอไปรายการอางอิงการทองเที่ยวแหงประเทศไทย. แผนแมบทการทองเที่ยวภาคเหนือตอนลาง. ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2543.กรมศิลปากร. เอกสารกองโบราณคดีเมืองเชียงใหม : โครงการอนุรักษและบูรณะเมืองประวัติศาสตร.ฝายอนุรักษโบราณสถาน กรุงเทพมหานคร: กองโบราณคดี, 2530.ไกรสิน อุนใจจินต. เวียงเจ็ดลิน: รากประวัติศาสตรเชียงใหม. เชียงใหม: สํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ที่ 6 , 2547.คณะกรรมการชําระประวัติศาสตรไทย. เมืองและแหลงชุมชนโบราณในลานนา. 2539.นวลศิริ วงศทางสวัสดิ์. ชุมชนโบราณในเขตลานนา. ภาควิชาสังคมศาสตร คณะสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม. มกราคม 2539.นิลุบล คลองเวสสะ, บุญชัย พิพัฒนชูเกียรติ และนิสิตภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รายงานการสํารวจศึกษาสภาพแวดลอมและภูมิสถาปตยกลุมโบราณสถานในเขต อ.สิชล อ.ทาศาลา อ.ขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช.กรุงเทพมหานคร: สําเนา, 2528.ทิวา ศุภจรรยาและคณะ. ชุมชนโบราณในเขตภาคเหนือ – แหลงที่ตั้งชุมชนโบราณจากภาพถายทางอากาศ . โครงการวิจัยชุมชนโบราณจากภาพถายทางอากาศ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.สมโชติ อองสกุล. ประวัติศาสตรของแหลงเรียนรูทางประวัติศาสตรในเวียงเชียงใหม. คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. มิถุนายน 2547.สรัสวดี อองสกุล. ชุมชนโบราณในเขตลานนา. ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2528.227


แนวทางวางผังแมบทวัดอโศการามMASTER PLAN FOR WAT ASOKARAM,SAMUTPRAKAN PROVINCEนายวีรกิต วงศวิชิตหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรมคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอวัดอโศการามเปนสถานที่ปฏิบัติธรรมที่สําคัญ ของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดใกลเคียง ตั้งอยูบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา มีพื้นที่ปาชายเลนเปนเอกลักษณเฉพาะของวัด ดังนั้นกิจกรรมและการใชสอยพื้นที่จึงมีความสัมพันธกับระบบนิเวศชายฝงและปาชายเลนในลักษณะการใชสอยพื้นที่เพื่อการปฏิบัติธรรม เห็นไดจากในอดีต กุฏิที่ปลูกสรางใหสอดคลองกับลักษณะทางภูมิศาสตรที่ตั้ง ไดแสดงถึงการอยูรวมกับธรรมชาติอยางกลมกลืน ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่นําไปสูการรักษาพื้นที่ปาชายเลนและแสดงถึงบทบาทสําคัญของวัดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางไรก็ตาม ในชวงเวลากวาทศวรรษที่ผานมา มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่บริเวณชายฝงโดยรอบรวมถึงพื้นที่ในเขตวัดอยางตอเนื่อง ทั้งจากการสรางเขื่อนหินทิ้งเพื่อปองกันการกัดเซาะชายฝงซึ่งกลายเปนแนวกีดขวางการขยายตัวของปาชายเลนและปดกั้นทางไหลของน้ําทะเลที่ทําใหน้ําทวมขังและเนาเสีย นอกจากนี้การใชสอยพื้นที่ของวัดทั้งพื้นที่บกและในเขตพื้นที่ปาชายเลนที่น้ําทะเลทวมถึงไมมีการวางแผนควบคุม ทําใหสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมชายฝงที่เปนเอกลักษณของวัดวิทยานิพนธนี้มีเปาหมายเพื่อจัดทําผังแมบท โดยการผสานแนวคิดในการอนุรักษพื้นที่ชายฝงและปาชายเลน เขากับการปรับปรุงภูมิทัศนใหเหมาะสมกับกิจกรรมทางพุทธศาสนา ผานการออกแบบผังบริเวณวัดดวยการแบงพื้นที่ใชสอยในสวนพุทธาวาสและสังฆาวาส เพื่อใหสามารถรองรับกิจกรรมการปฏิบัติธรรม รวมกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลนที่ดีเพื่อเปนตนแบบใหแกชุมชนใกลเคียง228


1. ความเปนมาวัดอโศการามตั้งอยูบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา ในเขตพื้นที่ตําบลทายบาน อําเภอเมืองสมุทรปราการมีความสําคัญคือเปนสถานที่ปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดใกลเคียง พื้นที่ของวัดประกอบดวยสวนที่เปนพื้นที่บกและปาชายเลนที่มีน้ําทะเลทวมถึงซึ่งเปนเอกลักษณเฉพาะของพื้นที่ จึงทําใหกิจกรรมและการใชพื้นที่ตองคํานึงถึงความสัมพันธกับระบบนิเวศปาชายเลน เพื่อใหมีสภาพแวดลอมที่รมรื่นสามารถใชเปนทั้งที่พักอาศัยและปฏิบัติธรรมได1 สังเกตจากการปลูกกุฏิแทรกตัวอยูในเขตพื้นที่ปาชายเลน 2 ของพระภิกษุ แมแนวชายฝงและบริเวณรอบวัดไดเปลี่ยนเปนหมูบานจัดสรร โรงงานอุตสาหกรรม และบอเลี้ยงกุง(สมชาย ชัยประดิษฐรักษ, 2548) แตพื้นที่ปาชายเลนในเขตวัดยังคงความอุดมสมบูรณไวมากกวาพื้นที่ขางเคียงซอยเทศบาลบางปู58บริษัทฝายไทย2ซอยตนสน ถนนบริษัทไทยพัฒนา บริษัทศิริชัยสุขุมวิทซอยเทศบาลบางปู54ซอยเทศบาลบางปู60N อาวไทย1:25000วัดอโศการามสวางคนิวาสไปรษณียบางปูบริษัทไทยพัฒนาบอเลี้ยงกุงเขื่อนหินทิ้งN อาวไทย1:25000ซอยเทศบาลบางปู58บริษัทฝายไทย2ซอยตนสนบริษัทศิริชัยถนนสุขุมวิทซอยเทศบาลบางปู54ซอยเทศบาลบางปู60วัดอโศการามสวางคนิวาสบอบําบัดน้ําเสียสภากาชาดโรงเรียนทอรูปที่ 1-2 ภาพถายทางอากาศพื้นที่วัด ครอบคลุมบริเวณชายฝงถึงถนนสุขุมวิท แสดงการขยายตัวของชุมชน และการสูญเสียพื้นที่ปาชายเลน ขณะที่วัดไดรักษาพื้นที่ปาชายเลนไว (ซาย): ป พ.ศ. 2516 และ (ขวา): พ.ศ. 2544 ที่มา: กรมแผนที่ทหารอยางไรก็ตามตั้งแตป พ.ศ. 2530 มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่บริเวณชายฝงรวมถึงพื้นที่ในเขตวัดอยางตอเนื่อง เปนปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ทั้งจากการกอสรางเขื่อนหินทิ้ง (rubblemound) ในโครงการปองกันน้ําทวมริมอาวไทยตอนบน ที่ครอบคลุมแนวชายฝงของวัด ซึ่งกีดขวางการขยายตัวของปาชายเลนที่เปนแนวปราการธรรมชาติที่ชวยปองกันการกัดเซาะตามธรรมชาติและปดกั้นการไหลเวียนของน้ําทะเล ทําใหน้ําทวมขังและเนาเสียในฤดูฝน สงผลตอกิจกรรมภายในวัดทั้งการอยูอาศัยและไมเหมาะตอการปฏิบัติธรรม (ธัมมธโรอนุสรณ, 2541) การที่วัดไดพัฒนาพื้นที่อยางตอเนื่องโดยไมมีแผนควบคุมการใชสอยพื้นที่ และการรองรับผูมาปฏิบัติธรรมที่มีจํานวนเพิ่มขึ้น 3 จึงเกิดปญหาดานอาคารสิ่งปลูกสราง ทัศนียภาพและมุมมอง การระบายน้ํา สาธารณูปโภคภายในวัด ซึ่งปญหาเหลานี้สงผลกระทบตอกิจกรรมทางศาสนา กระทบตอสภาพแวดลอมธรรมชาติและชายฝง1 การปฏิบัติธรรม กิจกรรมทางพุทธศาสนาแบงเปน 2 ประเภทคือ พิธีกรรมและการปฏิบัติธรรม การปฏิบัติธรรมเปนวิธีพัฒนาจิตใจโดยตรง2พระภิกษุสงฆของวัดอโศการามยึดถือแนวปฏิบัติตามหลัก ธุดงควัตร <strong>13</strong> ขอ เพื่อขัดเกลากิเลสในสวนที่อยูอาศัยนั้นกลาวถึงการถือการอยูปาเปนแนววัตรปฏิบัติ3 สถิติจํานวนแมชีระหวางป พ.ศ. 2540-2550 ที่เพิ่มขึ้นรอยละ 23 เปนจํานวน 111 คน ขณะที่จํานวนพระภิกษุในชวงจําพรรษามีอัตราคงที่ 180-184 รูป/พรรษา ที่มา: สํานักงานเลขานุการวัดอโศการาม229


วิทยานิพนธนี้เสนอแนวทางวางผังแมบท เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในสภาพปจจุบันและรองรับการเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่ในอนาคต ทั้งดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลนและการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณวัดใหเอื้อตอการปฏิบัติธรรม โดยมีแนวคิดใหวัดอโศการามเปนวัดที่อยูรวมกับธรรมชาติไดอยางกลมกลืนมีการวางผังที่รบกวนธรรมชาตินอย และไดเสนอแนะการออกแบบวางผังบริเวณวัดโดยแบงเขตพื้นที่ใชสอยระหวางเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส เพื่อใหสามารถรองรับกิจกรรมรวมกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลนที่ดีเพื่อเปนตนแบบใหแกชุมชนใกลเคียง2. ขอบเขตของการศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา เนื่องจากวัดอโศการามมีพื้นที่ทั้งหมด 254 ไร เปนพื้นที่วัดและพื้นที่หาผลประโยชนการศึกษานี้ไดเลือกเฉพาะในเขตที่ตั้งวัด โดยมีพื้นที่ 155 ไร ครอบคลุมพื้นที่บกทางทิศเหนือและพื้นที่น้ําทะเลทวมถึงทางทิศใต โดยพื้นที่ทางทิศเหนือและทิศตะวันตกจรดเขตชุมชน ทางทิศใตจรดทะเลอาวไทย ทางทิศตะวันออกจรดเขตสวางคนิวาสโดยมีคลองระบายน้ํากั้น การศึกษานี้ไดมุงวิเคราะหลักษณะทางกายภาพของวัดดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลน ดานองคประกอบของผังบริเวณซึ่งประกอบดวยการใชพื้นที่ระบบการสัญจร ทัศนียภาพและมุมมอง อาคารสิ่งปลูกสราง และการระบายน้ํา และดานผูใชสอยและประเภทของกิจกรรมอําเภอพระสมุทรแมน้ําเจาพระยาตําบลทายบานปอมพระจุลจอมเกลาNอาวไทยN อาวไทย1:1000001:25000รูปที่ 3-4 ภาพถายทางอากาศป พ.ศ. 2550 ขอบเขตบริเวณพื้นที่ศึกษา ที่มา : Google Earth3. ลักษณะโดยทั่วไปของพื้นที่ศึกษาอําเภอเมืองสมุทรปราการถนนสุขุมวิทวัดอโศการามสวางคนิวาสสํานักงานเทศบาลบางปูเมืองโบราณบอเลี ้ยงกุงโรงงานอุตสาหกรรมซ.ตนสนซ.เทศบาลบางปู54วัดอโศการามสวางคนิวาสเขื่อนหินทิ้งซ.เทศบาลบางปู58ถนนสุขุมวิทม.เมฆฟาวิลลม.เพชรงามเพชรธานีคอนโดมิเนียซ.เทศบาลบางปู60บอเลี ้ยงกุงวัดอโศการามตั้งอยูเลขที่ <strong>13</strong>6 หมู 2 ถนนสุขุมวิท (สายเกา) กิโลเมตรที่ 31 สามารถเขาถึงวัดได 2เสนทาง คือ เสนทางสายเกาผานชุมชนเกาและเสนทางใหมตัดตรงจากถนนสุขุมวิท ผานหมูบานจัดสรรและอาคารพาณิชย พื้นที่วัดอโศการามมีลักษณะเปนที่ราบมีความลาดเอียง 0.7% ลาดเทจากทิศเหนือลงสูชายฝงทิศใต พื้นที่ครึ่งหนึ่งของวัดเปนพื้นที่ปรับถมใหมอยูสูงจากถนนสุขุมวิท 1 เมตร และสูงจากพื้นที่ชายฝง 3.5 เมตรอีกสวนเปนดินเลนอุดมสมบูรณ เนื่องจากวัดไดรับอิทธิพลจากการขึ้นลงของน้ําทะเล พื้นที่กวาครึ่งจึงถูกน้ําทะเลทวมถึงเมื่อน้ําขึ้นสูงสุด230


พื้นที่ภายในวัดสวนใหญเปนที่พักอาศัยของพระภิกษุ แมชีและอุบาสิกา เมื่อแบงพื้นที่ใชสอยตามองคประกอบแผนผังของวัด เปนเขตพุทธาวาสรอยละ 20 เขตสังฆาวาสรอยละ 40 และเขตที่พักแมชี อุบาสิกาและพื้นที่สาธารณประโยชนอีกรอยละ 40 ของพื้นที่วัด เขตพุทธาวาส เปนพื้นที่ใชประกอบพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งประกอบดวยอาคารสําคัญ ไดแก เจดีย เปนสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุเพื่อสักการะและประกอบพิธีในวันสําคัญทางศาสนา อุโบสถ ใชในการประกอบสังฆกรรม และวิหาร ใชเปนสถานที่รองรับกิจกรรมหลากหลายของพระภิกษุและประชาชนทั่วไป ไดแก การใชพื้นที่ในการแสดงธรรมเทศนา การสวดมนต การปฏิบัติสมาธิ การบําเพ็ญบุญ การถวายภัตตาหาร รวมถึงเปนที่พักของชี-พราหมณี ลักษณะของอาคารสิ่งปลูกสรางเปนอาคารปูนขนาดใหญมีความสูง 2-3 ชั้น วางตัวในแนวแกนทิศตะวันออกตะวันตก (รูปที่ 5) มีความสําคัญทั้งดานคุณคาทางจิตใจและรองรับผูใชสอยเปนจํานวนมาก การสัญจรเปนทางสัญจรสําหรับรถยนตกวาง 5 เมตร รอบเขตพุทธาวาส และการใชพืชพรรณสวนใหญเปนไมปลูกใหมเพื่อใหรมเงาและเพื่อประดับ บริเวณลานเปนพื้นที่เปดโลง พื้นที่สวนใหญเปนพื้นผิวดาดแข็งที่รองรับกิจกรรมจึงจําเปนตองเรงระบายน้ําออกจากพื้นที่ การระบายน้ําในวัดเปนการระบายน้ําฝนรวมกับน้ําทิ้งจากโรงครัวและหองน้ํา โดยระบายออกสูคลองระบายน้ําดานทิศตะวันออกหรือผานพื้นที่ปาชายเลน น้ําอีกสวนจะไหลซึมผานผิวดินและไหลลงสระเก็บน้ําขางวิหารเพื่อนําน้ําไปใชตอเขตสังฆาวาส มีความสัมพันธกับเขตพุทธาวาสในลักษณะคูประกบ และพื้นที่สวนอื่นๆ ไดแก สวนที่พักแมชีและอุบาสิกา เปนที่ตั้งสํานักงานเลขานุการวัดอโศการาม หองสมุด โรงครัว และฌาปนสถาน แทรกอยูในเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส ทั้งเขตสังฆาวาสและพื้นที่อื่นๆ สวนใหญเปนพื้นที่ในเขตปาชายเลน อาคารสิ่งปลูกสรางมีความสูง 1-2 ชั้น สวนกุฏิเกาในเขตปาชายเลนเปนเรือนไมสรางยกพื้นสูง ผนังโปรงระบายอากาศและมีระเบียงยาวสําหรับเดินจงกรม (รูปที่ 6) บางหลังเปนกุฏิมีขนาดตามพระวินัยสงฆ4 แทรกตามรมไมจึงเปนการรักษาพื้นที่ธรรมชาติ (เต็มสิริ บุณยสิงห, 2536) เปนการปรับตัวใหเขากับสภาพภูมิศาสตรของพื้นที่ปาชายเลนและกิจกรรมของพระสงฆ ตางจากอาคารสิ่งปลูกสรางใหมทั้งบนบกและในเขตพื้นที่ปาชายเลนมักเปนปูนทึบ ไมมีการยกพื้น ใชสีที่แตกตางกัน และมีแนวรั้วกั้น (รูปที่ 7) การสัญจรสวนใหญใชทางเดินเทา ในเขตพื้นที่ปาชายเลน ทางเดินเทายกพื้นสูงจากระดับดินเลน 0.5 - 1 เมตร เพื่อหลีกเลี่ยงจากการเหยียบย่ําพืชพันธุและพนจากระดับน้ําทะเลขึ้นสูง (รูปที่ 8) บริเวณชายฝงใชแนวเขื่อนเปนแนวทางเดินและสามารถเปนจุดนั่งพักผอนชมทิวทัศน (รูปที่ 9) มุมมองจากชายฝงมองเห็นปาชายเลนของฝงตรงขามซึ่งเปนที่ตั้งของปอมพระจุลจอมเกลา สวนพื้นที่น้ําทะเลทวมถึงตอนใน พืชพรรณปจจุบันมีตนโกงกางเปนไมเดน สามารถขึ้นไดดีในเขตสังฆาวาสตางจากในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกาซึ่งมีพื้นที่ปาเหลือเพียงรอยละ 8 ของพื้นที่5 มีตนเหงือกปลาหมอและตนปรงทะเลเปนไมระดับลาง พื้นที่บริเวณแนวสันเขื่อนมีตนปอทะเลและมีหญาขึ้นรก สวนพื้นที่แนวชายฝงบริเวณหนาเขื่อนถึงทะเล เปนดินเลนปนทรายมีตนแสมและตนลําพูเปนไมเดิมขึ้นกระจายเปนกลุมไมตอเนื่อง รากอากาศจะเปนตัวกรองและสะสมขยะที่ถูกน้ําทะเลพัดพาเขามาในวัด ประโยชนของตนไมในเขตสังฆาวาสใหรมเงาและปรับให4 กุฏิตามพระวินัยสงฆในบทสังฆาทิเสส มีขนาดยาว 4.3 เมตร กวาง 2.35 เมตร (ฤทัย ใจจงรัก, 2545: 114)5 จากการวิเคราะหพื้นที่ของผูศึกษา เฉพาะในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกา จากการหา % ความถี่สัมพัทธของไมโกงกาง(จํานวนแปลงที่พบไมโกงกาง x 100 / จํานวนแปลงทั้งหมด) 1 แปลงมีขนาด 10x10 ตารางเมตร (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์, 2546: 53)231


อากาศเย็นสบาย แตกตางจากในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกาที่มีตนไมใหญเปนจํานวนนอยเนื่องจากพื้นที่ในปาชายเลนสวนใหญตัดไมเพื่อปลูกเรือนพักและใชวิธีปลูกไมกระถาง การระบายน้ําในพื้นที่ปาชายเลนไดขุดแนวรองน้ําหรือแพรกที่ขุดจากพื้นที่ดานในถึงแนวเขื่อนเพื่อชวยใหน้ําทะเลไหลเวียนไดสะดวกเปนการรักษารูปแบบการระบายน้ําตามธรรมชาติของพื้นที่ไว เห็นไดจากลักษณะของกุฏิ บานพักแมชีและอุบาสิกาที่เปนโครงสรางยกลอยวางเสาแทนการสรางบนฐานที่กอทึบรวมถึงทางเดินที่ยกพื้นสูงเพื่อเลี่ยงการปดกั้นทางไหลของน้ํารูปที่ 5-7 ลักษณะอาคารสิ่งปลูกสราง (ซาย): แนวแกนอาคารในเขตพุทธาวาสจากหนาสุดศาลาการเปรียญ อุโบสถ เจดียและวิหาร(กลาง): กุฏิในปาชายเลนเปนกุฏิไมยกพื้นสูง ผนังโปรงมีระเบียงสําหรับเดินจงกรม (ขวา): กุฏิปูนแตละหลังมีแนวรั้วแบงเขต- ทัศนียภาพและมุมมองรูปที่ 8 ทางเดินแคบสิ้นสุดที่แนวกําแพงทางทิศใต รูปที่ 9 พื้นที่ชายฝงเปดโลงมองเห็นทิวทัศนทะเลดานสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและระบบนิเวศชายฝงวัดอโศการามที่ไดรับอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําทะเลแบบน้ําผสม น้ําขึ้นลงไมสม่ําเสมอในแตละวัน คาผลตางระดับน้ําขึ้นและลงเต็มที่เฉลี่ย +2.3 เมตร (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง,2548) พื้นที่ชายฝงมีทั้งสวนที่เปนแผนดินงอกปากแมน้ํา ขณะเดียวกันอยูในแนวกัดเซาะชายฝงรุนแรงถึงปานกลาง 15-25 เมตร/ป (ธนวัฒน จารุพงษสกุล, 2550: 115) เกิดจากกระแสน้ําในชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากสภาพปญหาที่เกิดขึ้น ในป พ.ศ. 2536 จังหวัดสมุทรปราการจึงไดกอสรางเขื่อนตามแนวชายฝง ซึ่งการสรางเขื่อนหินทิ้งไดทําลายตนแสมและตนลําพูซึ่งเปนไมเดนในเขตชายฝงบริเวณนี้ (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2547: 2-18 – 2-19) แนวเขื่อนยังเปนอุปสรรคตอการปลูกกลาไมเนื่องจากความรุนแรงของคลื่นที่พัดเขาชายฝงเมื่อคลื่นกระทบแนวเขื่อนจะพัดตนออนโกงกางเสียหายแมมีหลักไมยึดไว (สุวลักษณ สาธุมนัสพันธุและฐิตินันท ศรีสถิต, 2545) อยางไรก็ตามวัดไดแกไขปญหาดวยการเสริมแนวไมไผรวก โดยปกหางจากแนวเขื่อน20-25 เมตร แตไมไผมีอายุการใชงานเพียง 4 ป (เทอม ศิวะโกเศศ, 2545) รวมกับการใชยางรถยนตเกาวางบริเวณหาดเลนหนาเขื่อน เนื่องจากหาไดงายและราคาถูก แตเปนการปดกั้นการขยายตัวของแนวปาชายเลนตาม232


ธรรมชาติ ขณะที่เขตสังฆาวาสบริเวณดินเลนตอนในมีตนโกงกางที่เจริญเติบโตไดดีซึ่งเปนผลจากการที่วัดไดรักษาพื้นที่ปาชายเลนไวแตเดิมรวมกับจากการสนับสนุนปลูกตนโกงกางของหนวยงานภาครัฐ 6 แมจะเปนเพียงโครงการในระยะสั้นรูปที่ 10 ไมไผปกเปนแถวยาว 30-60 เมตร และลอรถนํามาวาง รูปที่ 11 ตนโกงกางในเขตสังฆาวาสที่มีความสมบูรณมากกวาหนาแนวเขื่อนเพื่อลดความรุนแรงของคลื่น พื้นที่ขางเคียงเนื่องจากวัดไดเก็บรักษาไว4. การวิเคราะหสภาพปจจุบันของพื้นที่ศึกษาศักยภาพของพื้นที่ศึกษาจากการวิเคราะหพื้นที่สามารถแบงศักยภาพโดยใชลักษณะเฉพาะทางธรรมชาติของพื้นที่ที่ไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเลทวมถึง ระบบการสัญจรและการเขาถึง ทัศนียภาพและมุมมอง อาคารสิ่งปลูกสราง ระบบการระบายน้ํา และลักษณะพืชพรรณ โดยแบงพื้นที่แตละสวนไดดังนี้- ศักยภาพเขตพื้นที่ปรับถม เขาถึงไดสะดวกจากซอยเทศบาลบางปู 60 พื้นที่บกมีศักยภาพในการพัฒนาสูงรองรับปริมาณผูใชสอยไดมากกวาในเขตปาชายเลนและงายตอการดูแลรักษา เนื่องจากรถสัญจรไดทั่วถึง ประกอบดวย กลุมอาคารในเขตเขตพุทธาวาส ศาลาการเปรียญ กลุมกุฏิ และสวนบริการ สามารถสงเสริมมุมมองสูอาคารสําคัญที่วางตัวบนแนวแกนทิศตะวันออกทิศตะวันตก และพัฒนาใหเปนสวนปฏิบัติธรรมโดยสวนมีอาคาร บริเวณพื้นที่รอบอาคารเพื่อรองรับกิจกรรม และอาคารที่พักสําหรับผูมาปฏิบัติธรรม- ศักยภาพเขตพื้นที่น้ําทะเลทวมถึง ประกอบดวยสวนที่พักอาศัยทั้งหมดทั้งเขตสังฆาวาส เขตที่พักแมชีและอุบาสิกา พื้นที่สวนนี้เปนปาชายเลนที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เปนแหลงพักอาศัยและแหลงอาหารของสัตวตางๆที่อาศัยหรือพักพิงอยูในพื้นที่ เปนแนวปองกันพายุ บําบัดน้ําตามธรรมชาติ และใหรมเงา แบงออกเปน 2 สวน คือ1) เขตพื้นที่น้ําทะเลทวมถึงตอนบนถึงเขตพื้นที่บก พื้นที่บริเวณนี้เปนพื้นที่ตอนในไดรับผลกระทบจากอิทธิพลของลมมรสุมและคลื่นนอยกวาบริเวณชายฝง เชื่อมตอกับกิจกรรมบนพื้นที่บกไดงาย6 โครงการประกาศเขตอนุรักษสิ่งแวดลอม ศิลปกรรมและธรรมชาติ วัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2545 ไดรับความรวมมือจากโรงเรียนและชุมชนโดยปลูกตนโกงกางในพื้นที่วัดรวมกับที่สถานตากอากาศบางปู233


มีตนโกงกางขนาดใหญใหรมเงา เหมาะในการสงเสริมใหเปนที่พักอาศัย สามารถใชเปนพื้นที่พักผอน และเปนพื้นที่เรียนรูระบบนิเวศปาชายเลนรวมกับการฟนฟูพื้นที่ปาชายเลนใหกลับมาสมบูรณ2) เขตพื้นที่น้ําทะเลทวมถึงตอนลางถึงแนวชายฝง เปนพื้นที่เชื่อมตอระหวางปาชายเลนกับทะเล พื้นที่เปดโลงมองเห็นทิวทัศนชายฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยาและอาวไทย ในสวนสังฆาวาสมีสิ่งปลูกสรางนอยกวาในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกา เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของคลื่นและน้ําทวมถึงประจํา(พื้นที่ดานนอกและดานในของเขื่อน) มีแนวปองกันการกัดเซาะชายฝงและยังคงความสมบูรณของพื้นที่ปาชายเลนสวนใหญไว พื้นที่บริเวณนี้มีศักยภาพในการสงเสริมใหเปนพื้นที่พักผอนชมทิวทัศน พื้นที่อนุรักษพืชพรรณและสัตวเพื่อการศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับระบบนิเวศแกคนทั่วไปทางเขาจากชายฝ งเทศบาลบางปูซอย 54อาวไทยศักยภาพเขตพื้นที่ปรับถมศักยภาพเขตพื้นที่น้ําทะเลทวมถึงศาลาการเปรียญอุโบสถรูปที่ 12 แผนผังแสดงศักยภาพของพื้นที่วัดอโศการามทางเขาเจดียวิหารสวางคนิวาสทางเขาหลักทางเขาจากชายฝ งเทศบาลบางปูซอย 70เขตพื้นที่บนบก- ทางเขาหลักเขาถึงสะดวก- บนบกมีศักยภาพในการพัฒนาสูงสามารถรองรับผูใชสอยไดมาก- มีเสนทางสําหรับรถทั่วถึง- สงเสริมมุมมองสูแนวแกนอาคารสําคัญในเขตพุทธาวาสได- สามารถใชพื้นที่เพื่อปลูกสรางอาคารขนาดใหญไดเขตพื้นที่น้ําทะเลทวมถึงตอนบนถึงพื้นที่บก- พื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง- เชื่อมตอกับกิจกรรมบนพื้นที่บก- สิ่งปลูกสรางมีรูปแบบที่เปนเอกลักษณ เหมาะกับปาชายเลน- พื้นที่สงบเหมาะตอพักผอนเขตพื้นที่น้ําทะเลทวมถึงตอนลางถึงชายฝง- พื้นที่เปดมุมมองสูทะเล- สามารถเขื่อนใหเหมาะกับชายฝงใกลเคียงธรรมชาติเดิม- ใชแนวตนไมชวยปองกันการกัดเซาะชายฝง เปนแหลงที่อยูของสัตว กรองขยะ และเพิ่มการสะสมตัวของตะกอนดินรูปที่ <strong>13</strong> แนวทางเดินในเขตสังฆาวาสมีตนโกงกาง รูปที่ 14 แนวเขื่อนหินทิ้งเปนจุดชมทิวทัศนทะเลใหรมเงาและปายใหความรูดานระบบนิเวศ เปดมุมมองสูอาวไทย234


ปญหาของพื้นที่ศึกษาเนื่องจากพื้นที่วัดตั้งอยูบริเวณพื้นที่ชายฝง การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชายฝงมีสาเหตุจากการกัดเซาะของคลื่นนําไปสูการปองกันชายฝงดวยเขื่อนหินทิ้งซึ่งเปนแนวปองกันที่ไมเหมาะสมกับลักษณะชายฝงที่มีดินออนตัว ขณะเดียวกันกิจกรรมการใชพื้นที่ปาชายเลนเปนที่พักอาศัย นําไปสูการลดลงของพื้นที่ปาชาย อีกทั้งแนวโนมการรองรับผูใชสอยที่เพิ่มขึ้นและกิจกรรมเสริมอื่นๆ สรุปประเด็นปญหาเปน 2 สวน ไดแก ปญหาดานการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และปญหาดานองคประกอบของผังบริเวณ ดังนี้ดานการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปญหาสวนใหญเกิดขึ้นในพื้นที่ปาชายเลนและแนวชายฝง ทั้งผลกระทบจากคลื่นกัดเซาะชายฝงตามธรรมชาติและจากการสรางเขื่อนหินทิ้งปองกันคลื่นที่ไมเหมาะกับหาดเลนที่ออนตัวทําใหหินจมตัวเขาไปถมพื้นที่ปาชายเลน และลักษณะของเขื่อนที่ไมชวยดักตะกอนดิน อีกทั้งปดกั้นการไหลเวียนของน้ํา (สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม,2550: 32) นอกจากนี้การปลูกสรางที่พักรุกล้ําพื้นที่ปาชายเลนเปนอีกปญหาหนึ่งที่ทําใหสูญเสียพื้นที่ปาชายเลนเปนสาเหตุที่ทําใหสัตวที่อาศัยอยูในพื้นที่ปาชายเลนของวัดลดลง (อางแลวใน ธัมมธโรอนุสรณ, 2541: 31)ดานองคประกอบของผังบริเวณ ประกอบดวยการใชพื้นที่ ระบบการสัญจร ทัศนียภาพและมุมมองอาคารสิ่งปลูกสราง ระบบการระบายน้ํา และลักษณะพืชพรรณ- ปญหาการใชที่ดิน (ดูในรูปที่ 15) วัดยังไมมีการวางแผนการใชที่ดิน ที่ผานมาวัดไดกําหนดเพียงเขตพุทธาวาสและเขตที่พักอาศัย 7 ไวเบื้องตนตามการใชสอย ซึ่งไมสอดคลองกับสถานการณในปจจุบัน เห็นไดจากภาพที่ 23-25 การเปรียบเทียบการใชที่ดินตั้งแตป พ.ศ. 2516-2544 พบวาหลังจากป พ.ศ. 2516 เขตที่พักแมชีและอุบาสิกามีที่พักที่เพิ่มขึ้นรวดเร็วและไดทําลายพื้นที่ปาชายเลนสวนใหญไป หลังจากป พ.ศ. 2530 กุฏิเพิ่มขึ้นบนพื้นที่บกมากกวาพื้นที่ชายฝงถูกกัดเซาะ และชวงป พ.ศ. 2538-2544 มีการกอสรางแนวเขื่อนทางทิศใตชุมชนทางทิศเหนือขยายตัวตอเนื่อง และพื้นที่ทางทิศตะวันตกของวัดเปลี่ยนเปนบอเลี้ยงกุง ภายในวัดมีอาคารสิ่งปลูกสรางเพิ่ม ขณะที่ในเขตสังฆาวาสมีปาชายเลนหนาแนนขึ้นรูปที่ 17-19 แสดงภาพการใชที่ดินของวัดอโศการาม (ซาย) ปพ.ศ. 2516 (กลาง) ปพ.ศ. 2530 (ขวา) ปพ.ศ. 25447 ป พ.ศ. 2524 ในพื้นที่ปาชายเลนไดแยกระหวางเขตสังฆาวาสออกจากที่พักของคณะแมชี อุบาสิกา ซึ่งเดิมอยูทางทิศตะวันตกของวัด ไปอยูรวมกันทางทิศใตฝงตะวันออกเพียงดานเดียว235


- ปญหาดานระบบการสัญจร การเขาถึงของรถยนตเขาถึงไดเฉพาะพื้นที่บก ขณะที่พื้นที่ตอนในเปนปาชายเลนใชเฉพาะทางเดินเทาจึงยากตอการดูแลรักษาใหทั่วถึง พบวาถนนรอบเขตพุทธาวาสถูกใชเปนที่จอดรถเนื่องจากสามารถเขาถึงอาคารไดสะดวก สงผลใหเกิดปญหาการจราจรติดขัด สําหรับทางเดินเทายังรมเงาและสิ่งอํานวยความสะดวก ทั้งโคมไฟสองสวางและราวจับที่ชวยใหปลอดภัยในการใชเสนทางในชวงกลางคืน สวนในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกาพบวาทางเดินบางสวนมีสภาพชํารุดเนื่องจากขาดการดูแลรักษาทําใหไมสะดวกตอการเขาถึงรูปที่ 20 ใชพื้นที่ขอบถนนเปนที่จอดรถทําให รูปที่ 21 แนวทางเดินในเขตที่พักแมชีและ รูปที่ 22 ทางเดินที่มีสภาพชํารุดการจราจรติดขัดและไมเปนระเบียบ อุบาสิกาไมมีตนไมใหญใหรมเงา ขาดการซอมแซม- ปญหาดานทัศนียภาพและมุมมอง ปญหาดานมุมมองของวัดแบงเปน 2 ลักษณะ คือ มุมมองที่ดีแตขาดการสงเสริม คือ มุมมองสูวิหารและเจดียที่ตั้งอยูบนแนวแกน ที่เห็นไดจากระยะไกลแตเมื่อเขาถึงพื้นที่วัดถูกอาคารอื่นบดบัง บริเวณลานหนาวิหารสงเสริมใหเจดียและวิหารเดนแตใชเปนที่จอดรถทําใหไมนามอง และมุมมองจากภายในพื้นที่วัดออกสูชายฝง ที่สามารถมองเห็นอาวไทยถูกกําแพงบังตลอดแนว มุมมองที่ควรปรับปรุง คือ มุมมองจากทางเขาจะเห็นที่รวมขยะและหองน้ําที่มีสวนลดความงามของวิหารลงรูปที่ 23 ลานหนาวิหารใชเปนที่จอดรถ รูปที่ 24 แนวกําแพงปดกั้นมุมมองชายฝง รูปที่ 25 ทางเขาหลักมองเห็นที่รวมขยะ- ปญหาดานอาคารสิ่งปลูกสราง (ดูในรูปที่ 20) ปจจุบันไมมีการควบคุมจํานวนอาคารสิ่งปลูกสรางโดยเฉพาะเขตที่พักแมชีและอุบาสิกาสงผลใหที่พักมีความแออัดมากขึ้น 8 ลักษณะของอาคารใหมขาดความกลมกลืนกับอาคารเดิมทั้งวัสดุและสีของอาคารรวมถึงการขาดความกลมกลืนกับสภาพแวดลอมธรรมชาติโดยเปนอาคารทึบที่ใชเครื่องปรับอากาศ การปรับถมพื้นที่เปนการปดกั้นการไหลของน้ําตามธรรมชาติ และระยะถอยรนแนวอาคารเขตที่พักแมชี มีระยะหางจากชายฝงต่ํากวา 12 เมตร (พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522)- ปญหาการระบายน้ํา (ดูในรูปที่ 16) พบปญหาน้ําขังที่พบในเขตพุทธาวาส เนื่องจากพื้นที่สวนใหญเปนพื้นดาดแข็งไมซับน้ํา ในฤดูฝนมักมีน้ําขังบริเวณลานคอนกรีต การระบายน้ําทิ้งจะระบายลงสูปาชายเลน อีกสวนเปนน้ําทิ้งจากหองน้ําและโรงครัวโดยไมผานการดักไขมันจะระบายลงสูคลองระบายน้ําทางทิศตะวันออกของ8 คิดจากอัตราสวนพื้นที่เปดโลง (OSR ของที่อยูอาศัยตองมากกวา 30% ของพื้นที่ดินแปลงนั้น พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522โดยคิดจากเขตที่พักแมชีและอุบาสิกา เฉพาะกลุมบานพักซอย 8-9 มีคา OSR 22%236


วัดกอนระบายน้ําผานเขื่อน เมื่อมีขยะอุดตันจะสงผลใหน้ํามีกลิ่นเหม็น ปญหาน้ําขังในพื้นที่ปาชายเลนจากแนวทางเดินคอนกรีตยกพื้นที่สรางทับทางเดิมโดยไมรื้อออกปดกั้นทางไหลของน้ําและแนวรองน้ําขุด (แพรก) ตื้นเขินเนื่องจากการทับถมของเศษขยะ กิ่งไม และตะกอนดิน ทําใหน้ําขังและเกิดการนาเสียตามมารูปที่ 26 คลองระบายน้ํารับน้ําทิ้งจากโรงครัว รูปที่ 27 แนวทางเดินใหม กอสรางทับทาง รูปที่ 28 การตื้นเขินของรองน้ําและทอลอดระบายออกผานเขื่อนมักมีขยะอุดตัน เดิมโดยไมรื้อออก ปดกั้นทางไหลของน้ํา ถูกตะกอนดิน กิ่งไมและขยะทับถม- ปญหาการใชพืชพรรณ พื้นที่ปาชายเลนบริเวณที่พักแมชีและอุบาสิกาลดลงเนื่องจากการตัดไมเพื่อปลูกสรางที่พักทําใหพื้นที่ขาดรมเงา และปญหาหินเกล็ดบนแนวสันเขื่อนที่จมตัวขยายปริเวณกวางทับถมดินเลนและกีดขวางทางไหลของน้ําทําใหตนแสมและตนโกงกางยืนตนตาย ในอนาคตไมชายเลนตามแนวชายฝงมีแนวโนมลดลง สวนพื้นที่บก บริเวณลานและพื้นที่รอบอาคาร สวนใหญเปนพื้นดาดแข็ง มีตนไมใหรมเงานอยรูปที่ 29 พื้นที่บริเวณลานและพื้นที่รอบอาคารมักเปนพื้นดาดแข็งมีตนไมใหรมเงานอย รูปที่ 30 แนวถนนไมมีตนไมใหญใหรมเงาดานกลุมผูใชสอยและกิจกรรมภายในวัดกลุมผูใชสอยเปลี่ยนแปลงไปจากกลุมผูอาศัยในละแวกวัดที่มาทําบุญ ฟงธรรมเปนหลัก เปนกลุมคนตางพื้นที่ที่มากราบสักการะ เที่ยวชมวัด กิจกรรมศึกษาระบบนิเวศและปลูกปาชายเลน หรือบวชภาคฤดูรอน มีลักษณะการใชพื้นที่ในระยะเวลาสั้น มีความถี่ในการมาใชนอยแตมีจํานวนผูใชมากกวาผูที่อาศัยอยูใกลวัด ผูมาใชที่เพิ่มขึ้นทําใหเกิดกิจกรรมเสริมตามมาทั้งกิจกรรมขายเครื่องสังฆภัณฑและอาหารเครื่องดื่มในชวงวันสําคัญทางศาสนา ปญหาที่ควรไดรับการแกไข ไดแก ปญหาความไมสอดคลองระหวางกิจกรรมกับการใชสอยพื้นที่ในเขตสังฆาวาสของกลุมคนที่มาเยือน เนื่องจากพื้นที่สวนสังฆาวาสเปนที่สําหรับสงฆที่ตองการความเปนสวนตัวรูปที่ 31 รานขายสังฆภัณฑหนาทางเขาวัด รูปที่ 32 กลุมผูใชสอยที่มาอบรมหรือมาเที่ยว รูปที่ 33 กิจกรรมจากการทัศนศึกษาที่ตั้งขายริมถนน บนทางเทา ใชระยะเวลาสั้นแตมาจํานวนมาก เปนกลุมใหญในเขตสังฆาวาส237


1231092อาวไทยพุทธาวาสสังฆาวาส831617161<strong>13</strong>724561N21514 <strong>13</strong> 12พื้นที่มีกิจกรรมปะปนกันขาดการกําหนดทิศทางการขยายตัวของอาคาร3ลานเชื่อมตอวิหารกับเจดียเปนพื้นที่รองรับกิจกรรมและลานจอดรถพื้นที่อื่นๆเขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส เขตธรณีสงฆ1. วิหารสุทธิธรรมรังสี 8. คณะเหนือ 12. โรงครัว2. อนุสาวรียพระเจาอโศกมหาราช 8.1 คณะเหนือ ทิศเหนือของเขตพุทธาวาส <strong>13</strong>. ศาลาลวน-เพิ่มพูล วองวานิช3. ธุตังคเจดีย 8.2 คณะเหนือ ทิศใตของเขตพุทธาวาส 14. ศาลาแมชี4. วิหารหลวงพอเศียร 8.3 คณะเหนือ ทิศตะวันตกของเขตพุทธาวาส 15. สถานพยาบาลสุธิธรรมรังษี5. วิหารหลวงพอโต 9. คณะกลาง 16. หองเครื่องซอมบํารุง6. วิหารหลวงพอโสธร 10. คณะสมุทร 17. หองสมุด7. อุโบสถ 11. ศาลาการเปรียญหลวงพอทรงธรรม 18. ที่ทิ้งขยะรูปที่ 15 แผนผังแสดงปญหาดานการใชที่ดิน1180 20 50 100 200แนวรองระบายน้ําถูกปดกั้นอาวไทยบริเวณมีปญหาการระบายน้ําทอระบายน้ําทอระบายน้ําออกนอกวัดทางระบายน้ําแนวเขื่อนรูปที่ 16 แผนผังแสดงปญหาดานการระบายน้ําที่มา: จากการสํารวจเฉลี ่ย ระดับน้ําขึ ้นสูงสุดสภา พื้นถนนเสียหายจากการปรับถมทอระบายน้ําที่มีขนาดเล็กผานแนวเขื่อน238


สรุปปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ทางเขาจากชายฝ งเทศบาลบางปูซอย 54อาวไทยศาลาการเปรียญอุโบสถทางเขาเจดียวิหารสวางคนิวาสทางเขาหลักทางเขาจากชายฝ งเทศบาลบางปูซอย 70ปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษาดานการใชที่ดินการใชที่ดินปะปนกันดานระบบการสัญจรขาดสิ่งอํานวยความสะดวกขาดการดูแลรักษาดานทัศนียภาพ มุมมองมุมมองที่ดีขาดการสงเสริมมุมมองที่ไมดีดานอาคารสิ่งปลูกสรางอาคารที่ขาดการดูแลรักษากลุมอาคารที่หนาแนนดานการระบายน้ํากีดขวางการไหลเวียนของน้ําปลอยน้ําทิ้งโดยไมบําบัดดานพืชพรรณขาดตนไมใหญใหรมเงามีการรุกล้ํา การตัดไมหรือมีแนวโนมลดจํานวนลงรูปที่ 34 แผนผังแสดงสภาพปญหาของพื้นที่วัดอโศการาม ในเขตพื้นปาชายเลนพบปญหาการรุกล้ําพื้นที่ปาชายเลนและชายฝงพบวาตนแสม และตนลําพูมีแนวโนมลดจํานวนลง พื้นที่ชายฝงถูกกัดเซาะเพิ่มขึ้น5. แนวคิดในการวางผังแมบทวัดอโศการามจากศักยภาพของพื้นที่วัด จะเห็นวาการพัฒนาพื้นที่ของวัดใหสามารถรองรับกิจกรรมทางศาสนาเปนหลักตองพิจารณาลักษณะสิ่งแวดลอมควบคูไปดวย ในการปรับปรุงวัดใหเอื้อประโยชนตอกิจกรรมทางศาสนาและรักษาสภาพปาชายเลน ไดพิจารณาถึงความสัมพันธของวัดที่อยูรวมกับธรรมชาติแนวคิดเพื่อใหวัดอยูรวมกับธรรมชาติ ในทางพระพุทธศาสนาไดกลาวถึงแนวทางการอยูอยางกลมกลืนกับธรรมชาติ คือการใชทรัพยากรเทาที่จําเปนและไมทําลายธรรมชาติ วัดที่คงลักษณะธรรมชาติที่รมรื่น เปนการนําประโยชนของธรรมชาติมาสงเสริมการปฏิบัติธรรม ชวยในการพัฒนาจิต ใหรางกายผอนคลาย และจิตใจสงบซึ่งสอดคลองหลักสัปปายะ 9 คือ การมีสถานที่และบุคคลอันเหมาะสม เพื่อใหสมาธิตั้งมั่น เกื้อกูลในการบําเพ็ญภาวนา และเปนประโยชนตอการปฏิบัติธรรม ผังแมบทนี้จึงเนนการรักษาสิ่งแวดลอมและการสรางบรรยากาศที่กลมกลืนกับกับธรรมชาติ เพื่อใหสิ่งแวดลอมเอื้อตอกิจกรรมตางๆ ภายในวัด9 หลักสัปปายะ ไดแก คือ การมีสถานที่อยูที่เหมาะ มีดินฟาอากาศธรรมชาติแวดลอมที่เหมาะกัน เกื้อกูลตอสุขภาพอาหารที่เหมาะถูกกับรางกาย239


• แนวคิดดานการอนุรักษพื้นที่ชายฝงและการจัดการปาชายเลนแนวคิดการอนุรักษและฟนฟูพื้นที่ปาชายเลน การทําใหพื้นที่ปาชายเลนที่สูญเสียไปกับคืนมา ควรแกที่ความสํานึกตอคุณคาของปาชายเลน กรณีวัดอโศการามการใชประโยชนพื้นที่ปาชายเลนอยางระมัดระวัง ทั้งแนวคิดการฟนฟูปาชายเลนในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกา โดยการกําหนดขอบเขตจากแนวเขื่อนเขามาเปนระยะ40 เมตร เพื่อกันไวเปนพื้นที่ธรรมชาติที่สมบูรณ มีประโยชนในการปองกันการกัดเซาะและมรสุม สวนพื้นที่ปาชายเลนในเขตสังฆาวาสซึ่งมีความสมบูรณมากกวาในเขตที่พักแมชีและพื้นที่ขางเคียงนอกเขตวัด กําหนดพื้นที่บางสวนใหเปนพื้นที่อนุรักษ หามปลูกสรางอาคารในระยะ 40 เมตร จากแนวเขื่อน ทําใหมีพื้นที่ปาชายเลนที่ตอเนื่องกับเขตที่พักแมชี ไดพื้นที่ปาชายเลนกลับคืนมา 10 นอกจากนี้การถายทอดความรูเกี่ยวกับการจัดการปาชายเลนและการแกปญหาการกัดเซาะชายฝง โดยมีวัดเปนทั้งแกนนําและปลูกฝงใหชุมชนไดเห็นความสําคัญของการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลน ในชวงวันสําคัญทางศาสนาอาจสงเสริมกิจกรรมปลูกปา ทั้งนี้ควรมีการติดตามประเมินผล เพื่อใหโครงการมีความตอเนื่อง การกําหนดใหหัวหนานักเรียน ครูหรืออาจารยชวยดูแล ติดตาม การจัดกิจกรรมปลูกปาอยางตอเนื่องเปนการปลูกฝงพื้นฐานการรักษาพื้นที่ปาชายเลนและสรางเยาวชนรุนใหมใหสามารถดูแลรักษาผืนปาใหคงอยูตลอดไปเพื่อใหการจัดการพื้นที่ปาชายเลนเปนรูปธรรมมากขึ้น ไดเสนอแนวทางจัดการปาชายเลน โดยวิธีการการอนุรักษปาชายเลนในเขตสังฆาวาสที่มีปาชายเลนสมบูรณ และปลูกเพิ่มในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกาที่มีปาชายเลนที่เสื่อมสภาพ สวนพื้นที่หนาเขื่อนเปนดินเลนปนทรายแนนปลูกตนแสม ตนลําพู เพื่อเปนไมเบิกนํา เมื่อพื้นที่ดินเลนงอกใหมจึงปลูกกลาไม สวนการจัดการพื้นที่ปาชายเลนตอนในขุดแพรกเขาไปใหมีความกวาง 1-2เมตร ลึก 1 เมตร (นพรัตน บํารุงรักษ, 2535) เพื่อใหน้ําทะเลทวมถึงพื้นที่ปลูกปาชายเลนไดดีขึ้นแนวคิดเพื่อแกปญหาการกัดเซาะแนวชายฝง แนวเขื่อนหินทิ้งที่ไมเหมาะสมกับดินเลนออนตัวสงผลใหหินจมตัวและคลื่นหลังกระทบฝงที่รุนแรงพัดกลาไมที่ปลูกใหมเสียหาย ดังนั้นเพื่อใหน้ําทะเลไหลเวียนไดตามธรรมชาติและเพื่อไมใหแนวเขื่อนไมกีดขวางการขยายตัวของปาชายเลนจึงตองทําเปนลําดับขั้น โดยเพิ่มประตูน้ํา ขณะที่พื้นที่หนาเขื่อนไดปกแนวไมไผยาวตอเนื่องใหมีระยะระหวางลํา 0.6 เมตรและระหวางแถว 1เมตร เปนการสรางแนวปองกันการกัดเซาะชายฝงดวยวิธีธรรมชาติ (เทอม, 2545) และปลูกตนแสมเปนไมเบิกนําหลังแนวเขื่อนสะสมตะกอนดิน แนวทางแกปญหาหารกัดเซาะควรทํารวมกับการสงเสริมการฟนฟูปาที่มีสภาพเสื่อมโทรม รวมกับการนํามาตรการการกําหนดแนวกันชน (buffer zone) และกําหนดระยะถอยรนของสิ่งปลูกสราง เพื่อปองกันความเสียหายของสิ่งปลูกสราง• แนวคิดเพื่อสงเสริมกิจกรรมดานการปฏิบัติธรรมสถานที่ปฏิบัติธรรมยึดแนวทางปฏิบัติของสถานปฏิบัติธรรมเปนที่ตั้ง พบวา การปฏิบัติธรรมของวัดอโศการามมีการสอนและวิธีปฏิบัติขั้นสมถกรรมฐาน ไมเนนวิธีใดวิธีหนึ่ง สวนใหญใชอานาปานสติ11 เนนความเครงครัดใน10 พระมหาธีรนาถ อคฺคธีโร (2550: 391-392) กลาวถึงพื้นที่ชายฝงที่ที่ตั้งวัดอโศการามเดิมมีตนแสมเปนไมเดน สวน น.ณ.ปากน้ํา(2523) กลาวถึงความสมบูรณของตนแสม ตนลําพู และตนชะครามที่ขึ้นจากแผนดินลึกเขาไปถึงชายฝงกวา 1 กิโลเมตร11 การกําหนดระลึกถึงลมหายใจเขาออกเปนการทําสมาธิโดยการใชสติกําหนดลมหายใจเขาออกอยูตลอดเวลา240


เรื่องศีล (อรทัย ทาวสันทัด, 2531) ปจจัยในการจัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการปฏิบัติธรรมอาศัยแนวคิดทางพุทธศาสนา ไดแก หลักเสนาสนะ(หลักของที่พักอาศัยที่เหมาะสมตอการปฏิบัติธรรม) หลักสัปปายะ 12(สิ่งที่เกื้อกูลเหมาะสมและตอการปฏิบัติธรรม ทั้งสถานที่ที่เปนที่สบาย บุคคล เปนตน) และหลักการปฏิบัติธรรม(ไตรสิกขา คือ แนวทางปฏิบัติเพื่อพนทุกข ไดแก ศีล สมาธิ และปญญา) เสนาสนะที่สัปปายะ คือ 1) ไมไกลจากชุมชน เดินทางสะดวกปลอดภัย 2) ผูคนไมพลุกพลาน สงบ และไมมีเสียงอึกทึกครึกโครม 3) ไมถูกรบกวนจากสัตวตางๆ สายลม และแสงแดด 4) ไมขัดสนดวยปจจัย 4แนวคิดปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณวัด ใหเอื้อตอการปฏิบัติธรรมและสอดคลองกับพื้นที่ปาชายเลนแนวคิดดานการจัดระเบียบการใชพื้นที่ กําหนดการใชพื้นที่ของวัดอโศการามใหเปนสัดสวน โดยแยกเขตพุทธาวาสเปนพื้นที่สวนกลางที่รองรับกิจกรรมที่หลากหลายและเชื่อมตอกับพื้นที่สวนอื่นๆ เขตที่พักจัดใหมีขอบเขตที่มิดชิด พื้นที่รองรับกิจกรรมการปฏิบัติธรรมอยูระหวางสวนพุทธาวาสกับสวนที่พักแยกจากของแมชีและพระภิกษุเพื่อความสะดวกในการใชสอย เขตพื้นที่ชายฝงจัดเปนแนวปองกันการกัดเซาะและฟนฟูปาชายเลนแนวคิดดานระบบทางสัญจร แยกระบบทางสัญจรสําหรับรถยนตเขาถึงเฉพาะรอบนอกเขตพุทธาวาสจัดเสนทางเขาถึงเขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส และสวนที่พักแมชีและอุบาสิกาไดโดยตรงโดยไมรบกวนเขตพื้นที่อื่นๆ เสนทางของนักทองเที่ยวใหการเขาถึงพื้นที่ชายฝงโดยเลี่ยงการผานเขตสังฆาวาส บริเวณปาชายเลนใชระบบทางเดินเทาที่กระชับ ใชทางเดินยกพื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการเหยียบย่ําที่สรางความเสียหายแกพืชพรรณแนวคิดดานการสงเสริมมุมมอง เนนมุมมองจากทางเขาหลักสูวิหารเพื่อเปนจุดหมายตาในระยะใกลเมื่อเขาถึงพื้นที่ ภายในวัดจะปลูกตนไมเปนกลุมใหญรอบพื้นที่ลานโลง มีระยะหางพอใหมองเชื่อมตอระหวางวิหารกับเจดียได เพื่อชวยลดภาพของอาคารที่โดดเดนบนแนวแกนลง ใหผูมาใชสอยไดสัมผัสความเปนธรรมชาติที่รมรื่นชวยปรับอารมณใหสงบและผอนคลาย ขณะที่ในพื้นที่ปาชายเลนไมจําเปนตองเห็นภาพอาคารขนาดใหญชัดเจน เพื่อสรางความรูสึกที่กลมกลืนไปกับธรรมชาติแนวคิดเกี่ยวกับอาคารสิ่งปลูกสราง ใชรูปแบบสถาปตยกรรมที่กลมกลืนธรรมชาติ ควบคุมความสูงของอาคารสิ่งปลูกสรางบนพื้นที่บกเพื่อไมใหบดบังเจดีย โดยใหมีความสูงไมเกินระดับความสูงชั้น 2 ของวิหารอาคารใหมตองยกพื้นสูงไมใหกีดขวางทางระบายน้ํา กําหนดระยะถอยรนของอาคาร 30 เมตรจากชายฝงแนวคิดดานการระบายน้ํา การเก็บรักษาแบบแผนการระบายน้ําตามธรรมชาติในพื้นที่ปาชายเลนโดยควบคุมการปลูกสรางอาคารไมใหขวางทางระบายน้ําธรรมชาติ และเพิ่มเครือขายรองระบายน้ําเพื่อใหน้ําสามารถระบายน้ําลงสูทะเล สวนบนพื้นที่บกเปลี่ยนจากพื้นผิวดาดแข็งสวนที่จอดรถและลานมาเปนพื้นที่ใหน้ําสามารถซึมผานไดและควบคุมน้ําทิ้งจากอาคารโดยการบําบัดน้ําดวยวิธีการกรองในเบื้องตน12 หลักสัปปายะ ไดแก อาวาสสัปปายะ คือ ที่อยูที่เหมาะกัน โคจรสัปปายะ คือ มีอาหาร ที่บิณฑบาตที่เหมาะ ภัสสสัปปายะ คือพูดคุยที่เหมาะกัน ปุคคลสัปปายะ คือ มีที่ปรึกษาเหมาะ โภชนสัปปายะ คือ อาหารที่เหมาะกัน เชน ถูกกับรางกาย เกื้อกูลตอสุขภาพ อุตุสัปปายะ คือ ดินฟาอากาศธรรมชาติแวดลอมที่เหมาะกัน อริยาปถสัปปายะ คือ อิริยาบถที่เหมาะ เชน การจงกรม การถูกกับนั่ง ตลอดจนมีการเคลื่อนไหวที่พอดี ในที่นี้มุงพิจารณาอาวาสสัปปายะ อุตุสัปปายะ และอริยาปถสัปปายะ241


แนวคิดการใชพืชพรรณ ใชประโยชนจากปาชายเลนเพื่อแบงขอบเขตวัดกับพื้นที่ริมชายฝง และเปนแนวเขตกันชนระหวางเขตสังฆาวาสกับสวนอื่นๆ เพื่อควบคุมการใชพื้นที่ปาชายเลนโดยจํากัดขอบเขตการขยายพื้นที่ปลูกสรางที่พัก เรงฟนฟูปาชายเลนที่มีสภาพเสื่อมโทรม รวมกับเนนการสรางรมเงาในเขตพุทธาวาสN• ผังแมบทในการพัฒนาพื้นที่วัดอโศการามอาวไทยรูปที่ 35 แสดงผังแมบทวัดอโศการาม82DC591BG43AF7 HIสวางคนิวาสซอยเทศบาลบางปู606Eเสนทางชมทัศนียภาพชายฝงรื้อแนวเขื้อนหินทิ้งบางสวนแนวไมไผรวกปลูกเสริมทุก 20 เมตรJ1 เขตพุทธาวาสA วิหารB เจดียC อุโบสถD ศาลาการเปรียญ2 เขตสังฆาวาส3 เขตที่พักแมชีและอุบาสิกา4 ที่พักผูมาปฏิบัติธรรม5 สวนปฏิบัติธรรม6 สวนบริการE สํานักงานวัดอโศการามF หองสมุดG อาคารพยาบาล7 สวนบริการวัดH โรงครัวI หองเครื่องซอมบํารุงJ ที่ทิ้งขยะ8 พื้นที่อนุรักษปาชายเลน9 พื้นที่ฟนฟูปาชายเลนทางสัญจรสําหรับรถยนตจากผังขางตน วัดไดรับการฟนฟูพื้นที่ปาชายเลนในเขตที่พักแมชีและอุบาสิกาและมีแนวปองกันการกัดเซาะตลอดแนวชายฝงยาวกวา 400 เมตร จะชวยลดแรงคลื่นและเพิ่มการสะสมตะกอนกอนปลูกปาชายเลนเสริมเปนแนวปราการตามธรรมชาติ วัดควรเสริมแนวปองกันใหเชื่อมตอกับพื้นที่ขางเคียงเพื่อใหเกิดแนวตะกอนดินงอก ตอเนื่อง สวนพื้นที่ตอนในมีการแบงพื้นที่ใชสอยอยางเปนสัดสวน โดยใชแนวไมชายเลนแบงสวนของที่พักของพระภิกษุและฆราวาสใหมีขอบเขตมิดชิดไมปะปนกันเพื่อสะดวกในการปฏิบัติภารกิจสวนตัว แตทุกสวนสามารถเชื่อมโยงถึงเขตพุทธาวาส ซึ่งเปนพื้นที่รวมกิจกรรมดวยเสนทางเดินเทาที่กระชับ โดยจัดเสนทางใหเขาถึงพื้นที่สวนรองรับการปฏิบัติธรรมไดสะดวก และเสนทางสําหรับรถยนตจะอยูบริเวณรอบนอกเทานั้น สวนอาคารสิ่งปลูกสรางที่มีขนาดใหญจํากัดเฉพาะในเขตพุทธาวาสที่มีการใชสอยมาก สําหรับในพื้นที่ปาชายเลนสิ่งปลูกสรางจะมีขนาดเล็กกระจายแทรกตัวอยูตามรมไม มีระยะถอยรนจากชายฝงไมต่ํากวา 30 เมตร6. บทสรุปผังแมบทนี้จึงไดผสานแนวคิดในการอนุรักษพื้นที่ชายฝงและปาชายเลน เพื่อรักษาระบบนิเวศรวมกับการรองรับการปฏิบัติธรรมในอนาคต การรักษาพื้นที่ปาชายเลนเบื้องตนเพื่อเรงฟนฟูใหพื้นที่ปาชายเลนที่สูญเสีย242


ใหกับคืนมาแลวจึงเพิ่มพื้นที่ปาชายเลนเพื่อเปนการปองกันการกัดเซาะแนวชายฝง โดยวัดมีสวนสําคัญในการเปนตนแบบ และปลูกฝงจิตสํานึกใหชุมชนไดเห็นคุณคาและความสําคัญของปาชายเลน นอกจากนี้ สิ่งแวดลอมที่ดี มีสวนในการสนับสนุนการบําเพ็ญภาวนา ชวยใหสมาธิตั้งมั่น เปนไปตามหลักสัปปายะ คือการมีที่อยูที่สงบไมจอแจ และมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เปนตนขอเสนอแนะตางๆ เปนกรณีศึกษาเฉพาะวัดอโศการาม และเปนแนวทางการปรับปรุงภูมิทัศนเบื้องตนซึ่งการศึกษาพื้นที่ในลักษณะนี้ วัดหรือผูเกี่ยวของอาจจะนําเอาขอเสนอไปใช อยางไรก็ตามการปฏิบัติตามขอเสนอแนะนี้ จะเกิดผลดีตอวัด ดังนี้1. การปฏิบัติตามแนวทางนี้ เปนการแกปญหาทางกายภาพที่เกิดขึ้นในปจจุบันซึ่งไดใหความสําคัญ ในการแกปญหาสิ่งแวดลอมที่สอดคลองไปกับกิจกรรมทางศาสนาและการปฏิบัติธรรมซึ่งเปนกิจกรรมหลักของวัด2. ขอเสนอแนะตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาครั้งนี้จะชวยใหวัดมองเห็นภาพรวมในการพัฒนาทางดานกายภาพในอนาคต ทั้งในเรื่องของลักษณะทางกายภาพการวางผัง การสงเสริมกิจกรรมการปฏิบัติธรรม และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลน ซึ่งจะทําใหการพัฒนาที่เกิดขึ้นในอนาคตมีความตอเนื่องหนังสืออางอิงณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์. คูมือวิธีการประเมินแบบรวดเร็วเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพื้นที่ชายฝงทะเล: ระบบนิเวศปาชายเลน. ม.ป.ท., 2546.เต็มศิริ บุญยสิงห. บทบาทของพระสงฆ: ผูนําสังคมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2520.ธนวัฒน จารุพงษสกุล. โลกรอนสุดขั้ว. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ Than Books, 2550.นวณัฐ โอศิริ. ภูมิทัศนชุมชนปาชายเลน: ภูมิปญญาทองถิ่นวาดวยการประหยัดพลังงานและความยั่งยืน. ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.ประมุข แกวเนียม. คูมือการวางแผนพัฒนาและจัดการชายฝงทะเลสําหรับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, 2529.พระมหาธีรนาถ อคฺคธีโร. ทานพอลี ธมฺมธโร พระอริยเจาผูมีพลังจิตแกกลา. กรุงเทพฯ: พี.เพรส, 2550.สนิท อักษรแกว. การฟนฟูและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนเพื่อสังคมและเศรษฐกิจอยางยั่งยืนของ ประเทศไทย.กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนสนับสนุนงานวิจัย, 2542.สมคิด จิระทัศนกุล. วัด: พระพุทธศาสนาสถาปตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2537.สวนจัดการที่ดินชายฝงทะเล สํานักอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. ที่ดินชายทะเลและพื้นที่ชายฝงทะเล. กรุงเทพฯ:กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2548.สุวลักษณ สาธุมนัสพันธุ และฐิตินันท ศรีสถิต. การจัดการทรัพยากรปาชายเลน: การปลูกปาชายเลนในประเทศไทย. ในการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ<strong>ครั้งที่</strong> 12 สรางเสริมประยุกตความรูสูชุมชน. หนา IV 1. 28-30 สิงหาคม 2545คณะกรรมการทรัพยากรธรรมชาติชายเลนแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ.243


สภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษาบริเวณเซียงกงและสวนหลวงLIVING CONDITIONS OF COMMERCIAL BUILDINGS RESIDENTS INCHULALONGKORN UNIVERSITY’S COMMERCIAL AREAS: A CASE STUDY OF SHIANGKONG AND SUANLUANG AREASนางสาว อนัญญา สมเดชหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอพื้นที่บริเวณเซียงกงและสวนหลวงเปนพื้นที่ที่อยูในเขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตั้งอยูบริเวณแขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ดังกลาวเปนตึกแถว จํานวน 2,405 คูหา จากการสํารวจพบวากลุมคนที่อยูอาศัยในปจจุบันไมไดเปนเจาของที่อยูอาศัยอยางแทจริง โดยมีการเปลี่ยนสถานภาพการอยูอาศัย จากเชาโดยตรงกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนเชารายเดือนจากผูเชาตึกแถวปจจุบัน(เชาชวงตอ) มีการเปลี่ยนการใชประโยชนตึกแถว จากเพื่อประกอบการคาขายและอยูอาศัยเอง เปลี่ยนเปนนําไปแบงหองใหผูอื่นเชาตอ และคนที่อยูอาศัยในบริเวณดังกลาวมีการเปลี่ยนกลุม สงผลใหพื้นที่ดังกลาวมีปญหาที่อยูอาศัยแออัดและเสื่อมโทรม สงผลตอคุณภาพชีวิตของผูอาศัย และสงผลตอภาพลักษณจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประกอบกับพื้นที่บริเวณเซียงกงและสวนหลวงจะหมดสัญญาเชากับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ซึ่งเปนพื้นที่เตรียมการพัฒนาโครงการตอจากพื้นที่ที่มีการพัฒนาไปแลวบางสวนเชน ตลาดสดสามยานใหมบริเวณระหวางซอยจุฬาฯ 32 และ 34 หอพักนิสิตพวงชมพู (หอพัก U Center)บริเวณซอยจุฬาฯ 42 เปนตน ซึ่งถือไดวาเปนโครงการนํารองการพัฒนาพื้นที่แลว และเพื่อใหเกิดสภาพแวดลอมที่ดีของชุมชนและคนที่อยูอาศัยเอง การพัฒนาพื้นที่ในบริเวณตอๆ ไปจึงมีความสําคัญมาก อันไดแกบริเวณเซียงกงและสวนหลวงการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณเซียงกงและสวนหลวง กลุมตัวอยางคือผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณเซียงกงและสวนหลวง โดยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง ซึ่งผลการศึกษาที่ได หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําไปปรับใชเปนแนวทางในการเตรียมการวางแผนรื้อยายผูอยูอาศัยในบริเวณดังกลาว เพื่อนําพื้นที่ไปพัฒนาตามแผนแมบทในการพัฒนาที่ดินในเขตพาณิชย ดานผูอยูอาศัย หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําขอมูลไดมาปรับใชในการปรับปรุงหรือพัฒนาเรื่องที่อยูอาศัยของผูที่อยูอาศัยตึกแถวในบริเวณพื้นที่อื่นๆ ในเขตพาณิชย ซึ่งจะสงผลตอคุณภาพชีวิตที่ดีของผูอาศัยและสงผลดีตอภาพลักษณของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตอไปผลจากการศึกษา พบวา ดานสภาพเศรษฐกิจและสังคม ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญมีอายุ20-29 ป บริเวณสวนหลวงมีอายุ 30-39 ป จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา สถานภาพโสด มีภูมิลําเนาเดิม244


อยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงประกอบอาชีพรับจาง ลูกจางในรานขายเครื่องยนตผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงประกอบอาชีพรับจาง ขับแท็กซี่ สามลอ มีอาชีพเดิมคือ รับจาง ลูกจางทั่วไปผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูในชวง 10,001-20,000 บาท มีคาใชจายตอเดือนอยูในชวง5,001-10,000 บาท ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูในชวง 5,001-10,000 บาทมีคาใชจายตอเดือนอยูในชวง 2,501-5,000 บาท ผูอยูอาศัยสวนใหญไมมีรายไดอื่นๆ นอกเหนือจากรายไดประจําเดือน ไมมีการกูยืมเงิน ไมมีเงินออม ไมมีภาระหนี้สิน และไมมีแผนการออมเงินเพื่อซื้อและสรางบานในแตละเดือน ดานสังคม ผูอยูอาศัยสวนใหญรูจักเพื่อนบานในบริเวณที่อยูอาศัยเดียวกัน ทั้งนี้ผูอยูอาศัยสวนใหญมีการเขารวมกิจกรรมในบริเวณที่พักอาศัยนอยดานสภาพการอยูอาศัย พบวา ผูอยูอาศัยสวนใหญอาศัยอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกอนที่จะมาอยูอาศัยในบริเวณปจจุบัน และอาศัยในบริเวณปจจุบันเปนระยะเวลา 1-3 ป เหตุผลที่เลือกอาศัยอยูในบริเวณปจจุบัน เนื่องจากใกลสถานที่ทํางาน อยูอาศัยตามแหลงงาน และพักอาศัยอยูกับญาติ พี่นอง มีจํานวนคนที่พักอาศัยอยูดวยกัน 3-4 คน ผูอยูอาศัยสวนใหญทํางานในบริเวณเดียวกับที่พักอาศัย โดยสวนใหญทํางานอยูบริเวณปจจุบันเปนระยะเวลา 1-3 ป ลักษณะที่อยูอาศัยในปจจุบันเปนหองแบงเชาในตึกแถว มีพื้นที่ใชสอยประมาณ 8.75 ตารางเมตร โดยเชาชวงจากเจาของตึกแถว ซึ่งเปนหองโลงๆ หองเดียว และใชหองน้ํารวม และถามีการรื้อยาย เพื่อนําพื้นที่ไปพัฒนาตามแผนแมบท ผูอยูอาศัยสวนใหญมีความตองการอยูอาศัยที่เดิมตอและมีการวางแผนในเรื่องที่อยูอาศัยในอนาคตกลาวคือ ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญวางแผนจะอยูในเขตพาณิชยตอไป แลวคอยหาที่อยูใหมเมื่อถึงเวลาที่กําหนด แตผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญวางแผนจะยายตามแหลงงานที่ทําอยูในปจจุบันขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้คือ บริเวณเซียงกง กลุมของเจาของตึกแถว ควรมีการจัดพื้นที่ แยกที่ทํางานและที่อยูอาศัยใหออกจากกัน (Zoning) โดยการแบงระดับผูเชา และชวยเหลือตามลําดับความสําคัญโดยกันพื้นที่สวนหนึ่งในแผนแมบทใหเปนสถานที่ประกอบการคา โดยสิ่งที่จะนํามาพิจารณาคือ ดานการเงิน(การจายคาเชาตรงเวลา) มีการปฎิบัติตามกฎระเบียบของผูใหเชาตึกแถว รวมถึงประเภทธุรกิจของเจาของตึกแถวดวย กลุมผูอยูอาศัย ผูวิจัยเสนอวา เจาของตึกแถวที่เปนนายจาง ควรจัดหาแหลงที่พักอาศัยราคาถูกและอยูรอบๆ แหลงงาน เพื่อลดคาใชจายในการเดินทาง และไมทําใหในสวนของสถานที่ทํางานมีความเสื่อมโทรม บริเวณสวนหลวง ผูวิจัยเสนอวา ควรจะยายแหลงงานและที่อยูอาศัยไปพื้นที่บริเวณอื่น เพราะสภาพเสื่อมโทรมของพื้นที่ อันเกิดจากการแบงหองใหเชา โดยใชหลักการยายชุมชนไปอยูในที่ใหม(Slum Relocation) ภายใตเงื่อนไขที่สอดคลองกับแหลงงาน โดยใชพื้นที่บริเวณอื่นในเขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยรองรับ โดยหนวยงานที่เกี่ยวของอาจขอความรวมมือกับหนวยงานของกรุงเทพมหานครในการพัฒนาพื้นที่บริเวณดังกลาวในการชวยเหลือเรื่องที่อยูอาศัยของผูมีรายไดนอยกลุมนี้ตอไป ซึ่งนอกจากจะเปนการชวยเหลือเรื่องที่อยูอาศัยของคนกลุมนี้แลว ยังเปนการพัฒนาที่ดินของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพในเชิงพาณิชยตอไปในอนาคตดวย245


จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนสถาบันอุดมศึกษาแหงแรกของประเทศไทย ถือกําเนิดจากโรงเรียนสําหรับฝกหัดวิชาขาราชการฝายพลเรือน โดยไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้งขึ้น 1 เมื่อ พ.ศ. 2445 ตอมารัชกาลที่ 6 ทรงพระราชทานเงินจํานวน 982,672.47บาท ที่เหลือจากการสรางพระบรมรูปทรงมาเปนทุนในการสรางโรงเรียนนี้ และพระราชทานใหกําหนดที่ดินตําบลปทุมวันเปนอาณาเขตโรงเรียนจํานวน 1,903 ไร ที่ดินนี้ซื้อดวยพระราชทรัพยสวนพระองคของสมเด็จพระพุทธเจาหลวง ตอมารัฐบาลไดออกกฎหมายโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินผืนนี้ใหเปนของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเมื่อป พ.ศ. 2482 เปนตนมา โดยที่ดินบริเวณปทุมวันผืนนี้ ในปจจุบันมีขอบเขตดังนี้คือดานทิศเหนือจรดถนนพระราม 1 ดานทิศใตจรดถนนพระราม 4 ดานทิศตะวันออกจรดถนนอังรีดูนังค ดานทิศตะวันตกจรดคลองสวนหลวง 2 ปจจุบันที่ดินของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในเขตปทุมวัน มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น1,154.1 ไร ซึ่งสามารถจําแนกการใชที่ดินได 3 ประเภท ดังนี้คือ 1. เขตการศึกษา มีพื้นที่ประมาณ 570.5 ไร(49.43 %) 2. เขตหนวยราชการอื่นยืมใช มีพื้นที่ประมาณ 2<strong>13</strong>.6 ไร (18.51 %) 3. เขตผลประโยชนหรือที่เรียกวา เขตพาณิชยของมหาวิทยาลัย มีพื้นที่ประมาณ 370.0 ไร (32.06%) 3 ซึ่งในพื้นที่เขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนั้น สวนหนึ่งเปนพื้นที่บริเวณสวนหลวง สามยาน ตั้งอยูบริเวณแขวงวังใหมเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หรือเปนที่รูจักกันวา ยานสามยาน สะพานเหลือง เซียงกง สวนหลวง และเจริญผล มีพื้นที่ประมาณ 276 ไร ประกอบดวยตึกแถวใหเชาประมาณ 4,000 คูหา กอสรางมาตั้งแตปพ.ศ. 2509 ซึ่งในสวนของเขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยดูแลและดําเนินการจัดเก็บรายไดโดยสํานักงานจัดการทรัพยสินจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งไมเพียงมีภาระหนาที่ในการจัดเก็บผลประโยชนที่ดินหรืออาคารพาณิชยตามสภาพที่เปนอยูเทานั้น แตมีภาระหนาที่ที่สําคัญคือการเพิ่มมูลคาใหแกทรัพยสินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บ เชน การดําเนินโครงการพัฒนาที่ดินตางๆ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงสภาพจากอาคารพาณิชยที่เรียกวา “ตึกแถว” มาเปนอาคารประกอบธุรกิจขนาดใหญ อีกทั้งมีการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาที่ดินเขตพาณิชยของมหาวิทยาลัย บริเวณสวนหลวง สามยาน 4 โดยในป พ.ศ. 2539-2540มหาวิทยาลัยไดทําสัญญากับกลุมบริษัท Villes Nouvelles De France, Space Group of Korea และ Tescoภายใตการกํากับดูแลของ บริษัท โบวิส ดิเวลลอปเมนท จํากัด เพื่อจัดทําแผนแมบท (Master Plan) และดําเนินการศึกษาความเปนไปไดของโครงการพัฒนาที่ดิน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาพื้นที่ดังกลาวใหเกิดประโยชนสูงสุดแกชุมชน ดานคุณภาพชีวิต และการบริการสังคมในลักษณะเมืองในเมือง (City within the city)1จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ประวัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย[Online]. 2551. แหลงที่มา : http://www.chula.ac.th [30มิถุนายน 2551]2สํานักงานจัดการทรัพยสิน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เอกสารประกอบการบรรยายสํานักงานจัดการทรัพยสิน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในโอกาสผูบริหารของมหาวิทยาลัยมหาสารคามเขาเยี่ยมชมงาน ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2549. 2549. หนา 2 (เอกสารไมตีพิมพ)3คณะผูวิจัย คณะสถาปตยกรรมศาสตร และคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รายงานฉบับสมบูรณ ผังแมบทจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 100 ป โครงการศึกษาปรับผังแมบท จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2543. หนา 1 - 6 (เอกสารไมตีพิมพ)4สํานักงานจัดการทรัพยสิน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, เอกสารประกอบการบรรยายสํานักงานจัดการทรัพยสิน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในโอกาสผูบริหารของมหาวิทยาลัยมหาสารคามเขาเยี่ยมชมงาน ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2549, หนา 3 – 6.246


โดยการจัดแบงการใชที่ดิน แยกเปน 5 ยาน แบงพื้นที่เขตพัฒนาบริเวณสวนหลวง สามยานออกเปน 14 เขตกิจกรรมหลักที่สําคัญไดแก ยานธุรกิจพาณิชยแบบผสม ยานอาคาร สํานักงาน และยานอาคารพักอาศัยทั้งนี้จากการสํารวจพื้นที่ในเขตพาณิชยบริเวณสวนหลวง สามยาน พบวา พื้นที่บริเวณเซียงกงและสวนหลวง ซึ่งเปนพื้นที่ที่อยูในหมอน 33 34 37 38 41 42 43 46 47 48 กลุมคนที่อยูอาศัยในบริเวณดังกลาวไมไดเปนเจาของที่อยูอาศัยอยางแทจริง เปนกลุมคนที่เชาชวงตอ และมีการเปลี่ยนสถานภาพการอยูอาศัย จากเชาโดยตรงกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปลี่ยนเปนเชารายเดือนจากผูเชาตึกแถวปจจุบัน (เชาชวงตอ) มีการเปลี่ยนการใชประโยชนตึกแถว จากเพื่อประกอบการคาขายและอยูอาศัยเอง เปลี่ยนเปนนําไปแบงหองใหผูอื่นเชาตอ คนที่อยูอาศัยในบริเวณดังกลาวมีการเปลี่ยนกลุม จากผูเชาตึกแถวปจจุบันเปลี่ยนเปน ลูกนอง ลูกจางในบริเวณพื้นที่เซียงกง และคนที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ขายของ และคนขับรถรับจางในบริเวณพื้นที่สวนหลวงซึ่งแสดงใหเห็นวา สถานภาพการครอบครองที่อยูอาศัยไดมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เชาโดยตรงจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกลายเปนเชาจากผูเชาตึกแถวในปจจุบัน ซึ่งคนที่อยูอาศัยตึกแถวในปจจุบันไมใชเจาของที่แทจริงแลว สงผลใหพื้นที่ดังกลาวมีปญหาที่อยูอาศัยแออัดและเสื่อมโทรม สงผลตอผูอาศัยเองในดานของคุณภาพชีวิต และสงผลตอภาพลักษณจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประกอบกับพื้นที่บริเวณเซียงกงและสวนหลวงจะหมดสัญญาเชากับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ซึ่งเปนพื้นที่ที่เตรียมการพัฒนาโครงการตอไป จากพื้นที่ที่มีการการพัฒนาไปแลวบางสวน เชน ตลาดสดสามยานใหมบริเวณระหวางซอยจุฬาฯ 32 และ 34 หอพักนิสิตพวงชมพู (หอพัก U Center) บริเวณซอยจุฬาฯ 42 เปนตนซึ่งถือไดวาเปนโครงการนํารองการพัฒนาพื้นที่แลว และเพื่อใหเกิดสภาพแวดลอมที่ดีของชุมชนและคนที่อยูอาศัยเอง การพัฒนาพื้นที่ในบริเวณตอๆ ไปจึงมีความสําคัญมาก อันไดแก บริเวณสวนหลวงและสามยานอีกทั้งจากการศึกษางานวิจัยและวิทยานิพนธที่เกี่ยวของในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอันไดแก งานวิจัยแผนแมบทการพัฒนาที่ดินเขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและผังแมบทจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 100 ปนั้น พบวาเปนงานวิจัยที่เนนการศึกษาทางดานกายภาพเปนหลัก ไมมีการศึกษาในดานสังคมหรือผลกระทบกับผูที่อยูอาศัยเดิม อีกทั้งวิทยานิพนธที่มีการศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่เขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนั้น เปนการศึกษาที่เนนกลุมประชากรกลุมใดกลุมหนึ่งเพียงกลุมเดียวดังจะเห็นไดจาก พิชิต ตรีเทพาสัมพันธ (2542) ศึกษากลุมประชากรที่เปนขาราชการตํารวจ และ ภาสันตบุณฑริก (2542) ศึกษากลุมประชากรที่เปนนิสิต อาจารย และบุคลากรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้นทั้งนี้แมวาจะมีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบตอผูเชาเดิมที่อยูอาศัยในเขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อมีการพัฒนาตามแผนแมบท กลาวคือ สมจิต ชูเพชร (2541) นั้น เปนการศึกษาภาพรวมของผูเชาที่อยูอาศัยในเขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยทั้ง 17 หมอน ไมไดศึกษาแบบเจาะลึก อีกทั ้งงานวิจัยดังกลาวขางตนเปนงานวิจัยที่ศึกษาเมื่อป 2541 ซึ่งผลการศึกษาดังกลาวอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเนื่องดวยขอมูลสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน และขอมูลที่ใชในการวิเคราะหจัดทําแผนแมบทเมื่อปพ.ศ. 2539-2540 ของกลุมบริษัท Villes Nouvelles De France Space Group of Korea และ Tesco นั้นไดจัดทําขึ้นกอนชวงที่เกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจของประเทศ ทําใหสถานการณดานตางๆ ในการพัฒนาโครงการมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ซึ่งมีความแตกตางกับสถานการณในปจจุบัน ดังนั้นจึงมีความจําเปน247


อยางยิ่งที่จะตองศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณเซียงกงและ สวนหลวง เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําขอมูลที่ไดจากการศึกษาไปใชในการเสนอแนวทางในการดําเนินการใหเปนไปตามแผนแมบทในการพัฒนาพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอผูเชา พื้นที่โดยรอบ และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพราะวาการพัฒนาที่ดินในบริเวณดังกลาวจะตองคํานึงถึงความสัมพันธที่ดีกับพื้นที่และชุมชนโดยรอบ โดยจะตองมีการวางแผนรวมกันในพื้นที่เขตพาณิชยของมหาวิทยาลัย และพื้นที่โดยรอบ เพื่อกําหนดแนวทางในการพัฒนาใหเกิดประโยชนสูงสุดสําหรับทั้งสองฝาย และเพื่อขจัดขอขัดแยงตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นและเพื่อใหแผนการพัฒนาที่ดินในบริเวณเซียงกงและสวนหลวงบรรลุวัตถุประสงคที่ไดวางไวคือ พัฒนาพื้นที่ดังกลาวใหเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชน ดานคุณภาพชีวิต และการบริการสังคม เพื่อจะไดนํารายไดทั้งหมดมาพัฒนามหาวิทยาลัย และใชในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพอันเปนทรัพยากรที่สําคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาตอไปวัตถุประสงคของการวิจัยและกระบวนการวิจัย เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณเซียงกงและสวนหลวงขอบเขตของการวิจัย ดานพื้นที่ พื้นที่ที่ทําการศึกษาคือ บริเวณเซียงกง และสวนหลวง เปนพื้นที่ที่อยูในเขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตั้งอยูบริเวณแขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ดังกลาวเปนตึกแถว จํานวน 2,405 คูหา มีการแบงเปนกลุม เรียกวา หมอน 5 จํานวน 10 หมอน ในแตละหมอนจะแบงเปนแถว บริเวณเซียงกง จํานวน 4 หมอน บริเวณหมอนที่ 33 34 37 38 มีจํานวนตึกแถว 1,020 คูหาบริเวณสวนหลวง จํานวน 6 หมอน บริเวณหมอนที่ 41 42 43 46 47 48 มีจํานวนตึกแถว 1,385 คูหามีขอบเขตตามแผนผังที่ 1.15เนตรนภิส นาควัชระ. รายงานเบื้องตนการใชที่ดินและลักษณะทางประชากรในพื้นที่กรรมสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร : สถาบันประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2518. หนา 2248


แผนผังที่ 1.1 แสดงขอบเขตพื้นที่การศึกษาดานเนื้อหา ประเด็นหลักที่ทําการศึกษาคือ ศึกษาเฉพาะผูอยูอาศัยเทานั้น ในดานสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณเซียงกงและสวนหลวง ขอจํากัดของการวิจัย ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยจะศึกษาโดยเนนในดานสภาพเศรษฐกิจ สังคมและสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น ไมไดศึกษาทางดานกายภาพ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําความรูที่ไดจากการศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบริเวณเซียงกงและสวนหลวง มาปรับใชเปนแนวทางในการเตรียมการวางแผนการรื้อยายผูอยูอาศัยในบริเวณดังกลาว เพื่อใหเปนไปตามแผนแมบทในการพัฒนาที่ดินในเขตพาณิชย ดานผูอยูอาศัย หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําขอมูลที่ไดมาปรับใชในการปรับปรุงหรือพัฒนาในเรื่องของที่อยูอาศัยของผูที่อยูอาศัยตึกแถวในบริเวณพื้นที่อื่นๆ ในเขตพาณิชย ซึ่งจะสงผลตอคุณภาพชีวิตที่ดีของผูอาศัยและสงผลดีตอภาพลักษณของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยวิธีดําเนินการวิจัย มีขั้นตอนการดําเนินงานเปน 3 สวนหลักๆ ดังนี้ 1. ศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เปนการศึกษาขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เพื่อใหทราบขอมูลเบื้องตน ซึ่งเปนขอเท็จจริง แนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัย ซึ่งไดจากการศึกษาขอมูลจากหนังสือ เอกสาร บทความเว็บไซด และงานวิจัยตางๆ ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สํานักงานจัดการทรัพยสินจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย249


และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลพื้นฐานในการกําหนดตัวแปร ประเด็นในการศึกษา และวิเคราะหผลขอมูลที่ไดจากการสํารวจและการสัมภาษณ 2. ศึกษาโดยการสํารวจ เปนการศึกษาขอมูลปฐมภูมิ(Primary Data) จากการลงพื้นที่สํารวจ โดยการสังเกตและถายภาพ โดยการสังเกตในพื้นที่ที่ตองการศึกษา คือบริเวณเซียงกง หมอนที่ 33 34 37 38 มีตึกแถวจํานวน 1,020 คูหา อยูบริเวณซอยจุฬา 32 ถึง ซอยจุฬา 22และบริเวณสวนหลวง หมอนที่ 41 42 43 46 47 48 มีตึกแถวจํานวน 1,385 คูหา อยูบริเวณซอยจุฬา 22 ถึงซอยจุฬา 12 ในวันธรรมดา (วันจันทรถึงวันศุกร) และ วันเสาร อาทิตย พรอมถายภาพประกอบ เพื่อใหทราบถึงสภาพโดยทั่วไปของพื้นที่บริเวณเซียงกงและสวนหลวง สภาพโดยทั่วไปของตึกแถว สภาพที่อยูอาศัย สภาพการอยูอาศัย รวมทั้งสภาพแวดลอมโดยรอบของผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณบริเวณเซียงกงและสวนหลวง 3. ศึกษาโดยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) ไดแบงกลุมประชากรเปน 2 กลุม คือ 1. กลุมประชากรที่เปนผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณเซียงกง หมอนที่ 33 34 37 38 มีจํานวนตึกแถว 1,020 คูหา มีประชากร 4 คนตอ 1 คูหามีประชากรทั้งสิ้น 4,080 คน บริเวณสวนหลวง หมอนที่ 41 42 43 46 47 48 มีจํานวนตึกแถว 1,385 คูหามีการแบงหองใหเชาคูหาละ 6 หอง มีประชากรหองละ 2 คนตอ 1 หอง มีประชากร 12 คนตอ 1 คูหามีประชากรทั้งสิ้น 16,620 คน รวมเปนประชากรทั้งสิ้น 20,700 คน ผูวิจัยไดกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางที่ทําการศึกษาตามการกําหนดของ Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน + 5% 6โดยมีผลสรุปคือ กลุมตัวอยางเทากับ 392 ตัวอยาง 2. กลุมประชากรผูที่มีประสบการณและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่อยูอาศัยและอสังหาริมทรัพย รวมทั้งตัวแทนของผูอยูอาศัยในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณเซียงกงและสวนหลวง ทําการศึกษาโดยการสัมภาษณแบบมีโครงสราง(Structured Interview) ซึ่งกลุมบุคคลที่ผูวิจัยทําการสัมภาษณ แบงไดเปน 3 กลุม ดังนี้คือ กลุมที่ 1 กลุมของผูบริหาร สํานักงานจัดการทรัพยสินจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลุมที่ 2 กลุมของนักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยและที่อยูอาศัย กลุมที่ 3 กลุมของตัวแทนผูอยูอาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบริเวณเซียงกงและ สวนหลวงผลการวิจัยและขอเสนอแนะ ผลการวิจัย แบงออกเปน 2 กลุม คือ 1.ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญอายุ 20-29 ป จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา สถานภาพโสด และมีภูมิลําเนาเดิมอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดานสภาพเศรษฐกิจและสังคม ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญประกอบอาชีพรับจางลูกจางในรานขายเครื่องยนต โดยมีอาชีพเดิมกอนที่จะมาประกอบอาชีพปจจุบันคือ รับจาง ลูกจาง ดานรายไดมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูในชวง 10,001-20,000 บาท ไมมีรายไดอื่นๆ นอกเหนือจากรายไดประจําเดือนดานคาใชจาย ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงมีคาใชจายตอเดือนอยูในชวง 5,001-10,000 บาท โดยสวนใหญมีคาใชจายมากที่สุดเกี่ยวกับคากับขาว รองลงมาคาเชาบาน ที่พักอาศัย และคาชําระหนี้สิน สงใหทางบานที่ตางจังหวัดตามลําดับ ทั้งนี้ผูอยูอาศัยสวนใหญมีรายไดเพียงพอกับรายจายและไมมีการกูยืมเงิน6 อุทุมพร (ทองอุไร) จามรมาน, การสุมตัวอยางทางการศึกษา (Sampling In Education). พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1 (โครงการตําราวิทยาศาสตรอุตสาหกรรม : 2530) หนา 30.250


ทั้งนี้สวนใหญมีเงินออม ไมมีภาระหนี้สิน และไมมีแผนการออมเงินเพื่อซื้อและสรางบานในแตละเดือน อีกทั้งพบวา ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญมีสิ่งอํานวยความสะดวกหรือทรัพยสินในที่พักอาศัย โดยพบวาพัดลมมีมากที่สุด รองลงมาโทรทัศน และหมอหุงขาวไฟฟาตามลําดับ ผูอยูอาศัยสวนใหญรูจักเพื่อนบานในบริเวณที่อยูอาศัยเดียวกัน และมีการเขารวมกิจกรรมในบริเวณที่พักอาศัยนอย ดานสภาพการอยูอาศัย พบวาผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญอาศัยอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกอนที่จะมาอยูอาศัยในบริเวณปจจุบันมีลักษณะการครอบครองที่อยูอาศัยในปจจุบัน โดยไมเสียคาใชจาย โดยอาศัยอยูกับเจานาย ลักษณะการครอบครองที่อยูอาศัยเดิม สวนใหญอยูอาศัยโดยไมเสียคาใชจายเชนเดียวกัน ผูอยูอาศัยสวนใหญมีระยะเวลาในการอยูอาศัยในบริเวณปจจุบันเปนระยะเวลา 1-3 ป เหตุผลที่ผูอยูอาศัยสวนใหญเลือกอาศัยอยูในบริเวณปจจุบัน เนื่องจาก ใกลสถานที่ทํางาน อยูอาศัยตามแหลงงาน และสวนใหญพักอาศัยอยูกับญาติ พี่นอง โดยมีจํานวนคนที่พักอาศัยอยูดวยกัน 3-4 คน ผูอยูอาศัยสวนใหญทํางานในบริเวณเดียวกับที่พักอาศัย กลาวคือผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงไปทํางานบริเวณเซียงกง มีสถานที่ทํางานเดิมกอนที่จะมาทํางานในสถานที่ปจจุบันอยูในกรุงเทพมหานคร และสวนใหญมีระยะเวลาทํางานในบริเวณปจจุบันเปนระยะเวลา 1-3 ป ที่อยูอาศัยในปจจุบันของผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกง สวนใหญเปนหองแบงเชา มีขนาดกวาง 2.50 เมตร ยาว 3.50 เมตรมีพื้นที่ใชสอยของที่อยูอาศัยในปจจุบันคือ 8.75 ตารางเมตร โดยมีลักษณะที่อยูอาศัยเดิมเปนบานเชาผูอยูอาศัยสวนใหญมีปญหาในการอยูอาศัย ดานความปลอดภัย (ชีวิต ทรัพยสิน โจรผูราย) รองลงมาดานที่อยูอาศัยแออัด ที่อยูอาศัยเสื่อมโทรม สกปรก และดานการเงิน ตามลําดับ ความตองการในเรื่องของที่อยูอาศัย สวนใหญตองการอยูอาศัยที่เดิมตอ เพราะวาหางานงาย ใกลที่ทํางาน เคยชิน สะดวกสบายในการทํางานและการเดินทาง ประเภทที่อยูอาศัย กรณีผูอยูอาศัยตองการอยูอาศัยที่เดิม คือ ตึกแถว กรรมสิทธิ์ที่ตองการในการครอบครองที่อยูอาศัยคือ เชารายเดือน คาเชาที่สามารถชําระไดตอเดือน สวนใหญอยูที่ 1,001-2,000 บาท ดานการวางแผนในเรื่องที่อยูอาศัยในอนาคต กรณีเจาของพื้นที่มีความจําเปนจะตองยกเลิกการใหเชา ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญวางแผนจะอยูในเขตพาณิชยตอไป แลวคอยหาที่อยู ใหมเมื่อถึงเวลาที่กําหนด และความชวยเหลือที่ตองการ กรณีตองยาย ผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงสวนใหญตองการความชวยเหลือดานการเงิน2. ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวง สวนใหญมีอายุ 30-39 ป จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา สถานภาพโสด และมีภูมิลําเนาเดิมอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดานสภาพเศรษฐกิจและสังคม พบวา ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญประกอบอาชีพในปจจุบันคือ รับจาง ขับแท็กซี่ สามลอ โดยมีอาชีพเดิมกอนที่จะมาประกอบอาชีพในปจจุบันคือ รับจาง ลูกจางทั่วไป ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูในชวง 5,001-10,000 บาท มีคาใชจายตอเดือนอยูในชวง 2,501-5,000 บาท โดยสวนใหญมีคาใชจายมากที่สุดเกี่ยวกับคาเชารถ รองลงมาคากับขาว และคาเชาบาน ที่พักอาศัยตามลําดับ ไมมีรายไดอื่นๆนอกเหนือจากรายไดประจําเดือน ทั้งนี้สวนใหญมีรายไดเพียงพอกับรายจายและไมมีการกูยืมเงิน อีกทั้งไมมีเงินออมในแตละเดือน โดยจากการศึกษาพบวา ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญไมมีภาระหนี้สินในแตละเดือน และไมมีแผนการออมเงินเพื่อซื้อและสรางบาน สิ่งอํานวยความสะดวกที่มีอยูในครอบครอง พบวาผูอยูอาศัยสวนใหญมีสิ่งอํานวยความสะดวกหรือทรัพยสินในที่พักอาศัย โดยพบวาพัดลมมีมากที่สุด รองลงมา251


โทรทัศน และหมอหุงขาวไฟฟาตามลําดับ ผูอยูอาศัยสวนใหญรูจักเพื่อนบานในบริเวณที่อยูอาศัยเดียวกันและใกลเคียง ทั้งนี้ผูอยูอาศัยสวนใหญมีการเขารวมกิจกรรมในบริเวณที่พักอาศัยนอย ดานสภาพการอยูอาศัยพบวา ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญอาศัยอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกอนที่จะมาอยูอาศัยในบริเวณปจจุบัน สวนใหญมีลักษณะการครอบครองที่อยูอาศัยในปจจุบันคือ อยูอาศัยโดยเชาชวงจากเจาของตึกแถวในเขตพาณิชยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ลักษณะการครอบครองที่อยูอาศัยเดิมคือ เชาชวงจากเจาของบาน มีระยะเวลาในการอยูอาศัยในบริเวณปจจุบันเปนระยะเวลา 1-3 ป เหตุผลที่ผูอยูอาศัย สวนใหญเลือกอาศัยอยูในบริเวณปจจุบัน เนื่องจากใกลสถานที่ทํางาน อยูอาศัยตามแหลงงาน และสวนใหญพักอาศัยอยูกับญาติ พี่นอง โดยมีจํานวนคนที่พักอาศัยอยูดวยกัน 3-4 คน ผูอยูอาศัยสวนใหญทํางานในบริเวณเดียวกับที่พักอาศัยกลาวคือ ผูที่อยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญไปทํางานบริเวณสวนหลวง มีสถานที่ทํางานเดิมกอนที่จะมาทํางานในสถานที่ปจจุบันอยูในกรุงเทพมหานคร ดานระยะเวลาในการทํางาน สวนใหญทํางานอยูบริเวณปจจุบันเปนระยะเวลา 1-3 ป ที่อยูอาศัยในปจจุบันของผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญเปนหองแบงเชา มีขนาดกวาง 2.50 เมตร ยาว 3.50 เมตร มีพื้นที่ใชสอยของที่อยูอาศัยในปจจุบันคือ 8.75ตารางเมตร โดยมีลักษณะที่อยูอาศัยเดิมเปนตึกแถว ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญมีปญหาในการอยูอาศัย ดานที่อยูอาศัยแออัด และดานพื้นที่ใชสอยในที่อยูอาศัยไมเพียงพอ รองลงมาดานการเงินตามลําดับ และเมื่อมีการรื้อยายจากการพัฒนาตามแผนแมบท ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญมีความตองการในเรื่องของที่อยูอาศัยคือ ตองการอยูอาศัยที่เดิมตอ เพราะวาหางานงาย ใกลที่ทํางาน เคยชินสะดวกสบายในการขายของ และการเดินทาง ประเภทที่อยูอาศัยกรณีผูอยูอาศัยตองการอยูอาศัยที่เดิมคือตึกแถว กรรมสิทธิ์ที่ตองการในการครอบครองที่อยูอาศัยคือ เชารายเดือน คาเชาที่สามารถชําระไดตอเดือนสวนใหญอยูที่ 1,001-2,000 บาท ดานการวางแผนในเรื่องที่อยูอาศัยในอนาคต กรณีเจาของพื้นที่มีความจําเปนจะตองยกเลิกการใหเชา ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญวางแผนจะยายตามแหลงงานที่ทําอยูในปจจุบัน ทั้งนี้ผูอยูอาศัยบริเวณสวนหลวงสวนใหญตองการความชวยเหลือในเรื่องการหาบริเวณที่อยูอาศัยใหมรองรับขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย คือ 1. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการเตรียมการรื้อยาย หนวยงานที่เกี่ยวของควรจะมีการวางแผนในการรื ้อยายผูอยูอาศัยเดิม กลาวคือ เบื้องตนควรจะแจงแผนหรือนโยบายที่จะทําโครงการในบริเวณที่ตองการจะทําโครงการ โดยแจงลวงหนาเปนระยะเวลาอยางนอย 1 ป เพื่อใหผูอยูอาศัยไดเตรียมตัวและวางแผนในการหาที่อยูอาศัยอื่นตอไป และควรมีการประชาสัมพันธใหทั้งเจาของตึกแถวและผูอยูอาศัยทั้งหมดทราบเกี่ยวกับโครงการแผนแมบท วัตถุประสงค เปาหมายของโครงการนี้ รวมถึงควรมีการสรางความเขาใจ และเปดโอกาสรับฟงความคิดเห็นทั้งปญหาจากการรื้อยาย ความตองการที่อยูอาศัยจากผูที่เกี่ยวของ ทั้งผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรงและโดยออมคือ เจาของตึกแถวและผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงและสวนหลวง ซึ่งนอกจากจะไดขอมูลความคิดเห็นและความตองการของผูอยูอาศัยอยางแทจริงแลว ยังสามารถนําขอมูลไปใชและสามารถสรางความเขาใจระหวางผูอยูอาศัย เจาของตึกแถวและเจาของพื้นที่อีกดวย อีกทั้งยังสามารถลดขอขัดแยงที่จะเกิดขึ้นจากการรื้อยายในอนาคตไดอีกดวย252


2. ขอเสนอแนะการชวยเหลือดานที่อยูอาศัยของผูอยูอาศัยบริเวณเซียงกงและสวนหลวง ดังนี้คือบริเวณเซียงกง เจาของตึกแถว ควรมีการจัดพื้นที่ แยกที่ทํางานและที่อยูอาศัยใหออกจากกัน (Zoning)โดยการแบงระดับผูเชา และชวยเหลือตามลําดับความสําคัญ โดยกันพื้นที่สวนหนึ่งในแผนแมบทใหเปนสถานที่ประกอบการคา โดยสิ่งที่จะนํามาพิจารณาคือ ดานการเงิน (การจายคาเชาตรงเวลา) มีการปฎิบัติตามกฎระเบียบของสํานักงานจัดการทรัพยสินจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมถึงประเภทธุรกิจของเจาของตึกแถวดวย อาทิเชน รานขายอะไหลเกา ไมควรใหอยูตอเพราะวาทําใหเกิดมลภาวะ คราบน้ํามัน ในสวนของรานขายพวกประดับยนต สามารถอยูตอได เพราะวาไมทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม ดานที่อยูอาศัย สําหรับเจาของตึกแถวนั้น สวนใหญไมไดอาศัยอยูในเขตพาณิชยอยูแลว ผูอยูอาศัย ผูวิจัยคิดวา เจาของราน (เจาของตึกแถวที่เปนนายจาง) ควรจะหาแหลงที่พักอาศัยราคาถูกและอยูรอบๆ แหลงงาน เพื่อลดคาใชจายในการเดินทางและไมทําใหในสวนของสถานที่ทํางานหรือหนารานมีความเสื่อมโทรม บริเวณสวนหลวง ผูวิจัยคิดวา ควรจะยายแหลงงานและที่อยูอาศัยไปพื้นที่บริเวณอื่น เพราะสภาพเสื่อมโทรมของพื้นที่อันเกิดจากการแบงหองใหเชาโดยใชหลักการยายชุมชนไปอยูในที่ใหม (Slum Relocation) ภายใตเงื่อนไขที่สอดคลองกับแหลงงาน โดยใชพื้นที่บริเวณอื่นในเขตพาณิชยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยรองรับ อาทิเชน บริเวณซอยสุขุมวิท 77 (ออนนุช)รังสิตคลอง 4 พระราม 9 ซอย <strong>13</strong> เปนตน ซึ่งในขณะนี้ยังไมมีการพัฒนาพื้นที่ในบริเวณดังกลาว อีกทั้งจากการศึกษาแนวคิดและวิธีการเกี่ยวกับการปรับปรุงชุมชนแออัดนั้น ผู วิจัยพบวาการจัดหาที่อยูอาศัยใหม โดยใชหลักการยายชุมชนไปอยูในที่ใหม (Slum Relocation) ถือไดวาเปนแนวทางแกปญหาของพื้นที่บริเวณสวนหลวง เพราะวาสภาพการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยในบริเวณดังกลาวถือไดวาเปนชุมชนแออัดอีกรูปแบบหนึ่ง เพราะวามีการนําตึกแถวไปแบงหองใหเชา ทําใหมีการอยูอาศัยกันอยางแออัด และสงผลใหเกิดสภาพแวดลอมเสื่อมโทรมตามมา โดยหนวยงานที่เกี่ยวของอาจจะขอความรวมมือกับหนวยงานของกรุงเทพมหานครในการพัฒนาพื้นที่บริเวณดังกลาวในการชวยเหลือเรื่องที่อยูอาศัยของผูมีรายไดนอยกลุมนี้ตอไป ซึ่งนอกจากจะเปนการชวยเหลือเรื่องที่อยูอาศัยของคนกลุมนี้แลว เจาของพื้นที่ยังสามารถนําพื้นที่ไปพัฒนาตามแนวทางนโยบายของเจาของพื้นที่เอง และยังเปนการพัฒนาที่ดินของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพในเชิงพาณิชยตอไปในอนาคตดวย253


การใชพื้นที่ภายในหองพักของอาคารพักอาศัยรวมประเภทใหเชากับเชาซื้อ สําหรับผูมีรายไดนอยSPACE UTILIZATION IN RENTAL AND HIRE-PURCHASE RESIDENTIAL UNITFOR LOW INCOME FAMILIES.นางสาวจันทราวรรณ อุดมลาภประสิทธิ์หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการเคหะแหงชาติมีการจัดตั้งโครงการเคหะชุมชน สรางขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการของผูมีรายไดนอยจัดหาที่อยูอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครปริมณฑล ใหพอเพียงกับความตองการของประชนซึ่งยังขาดแคลนที่อยูอาศัยอีกเปนจํานวนมาตามแผนพัฒนา ที่อยูอาศัยแหงชาติฉบับที่ 6 ป โดยจัดทําเปนอาคารชุดสูง 5 ชั้นประเภทเชาและเชาซื้อ พรอมสาธารณูปการ และองคประกอบของโครงการดานอื่นๆการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะการใชพื้นที่ภายในหองพักอาศัย ทัศนคติของผูอยูอาศัย ตลอดจนปญหา เปรียบเทียบระหวางโครงการอาคารชุดสูง 5 ชั้น ประเภทเชาและเชาซื้อ ของผูมีรายไดนอย ประเภท ก ของการเคหะแหงชาติ วาการศึกษาในดานลักษณะความเปนเจาของ การถือกรรมสิทธิ์ จะมีความแตกตางในการใชพื้นที่อยางไร และเพื่อเปนแนวในการปรับปรุงและออกแบบ เปนขอเสนอแนะ การออกแบบหองพักและอาคารชุดพักอาศัยตอไป การศึกษาครั้งนี้ใชวิธีการสัมภาษณ สังเกตการณ สเก็ตภาพและถายภาพประกอบ เพื่อรวบรวมขอมูลและนํามาวิเคราะหขอมูล หาแนวทางแกไขจากการศึกษาพบวาอาคารประเภทเชา และประเภทเชาซื้อมีขนาดพื้นที่มีพื้นที่เทากัน มีขนาดเทากับ31 ตารางเมตร ตางเพียงขอกําหนดในการเขาพักอาศัยคือเปนการเชาและการเชาซื้อ ซึ่งมีจํานวนผูเขาพักอาศัยคิดเปนรอยละ 90 ทั้งสองโครงการ มีระยะเวลาเริ่มใหเขาพักอาศัย จนถึงปจจุบันเปนระยะเวลา 10 ป โครงการอาคารเชาซื้อ จะมีผูเขาพักอาศัยหมุนเวียนพลัดเปลี่ยนกันไปตามระยะเวลา สวนโครงการเชาซื้อนั้นผูอยูอาศัยจะอยูอาศัยแบบระยะยาวจากการศึกษาพบวาลักษณะการใชพื้นที่มีปจจัยหลายปจจัย เขามาสงผลตอกิจกรรมและพื้นที่ ไดแกจํานวนสมาชิก ระยะเวลาการอยูอาศัย ความสัมพันธในการอยูอาศัย การอยูแบบเปนครอบครัว การอยูเปนแบบเพื่อนรวมหอง ลักษณะอาชีพกับการอยูอาศัยภายในหองพัก การเลือกใชเครื่องเรือน พบวาหองพักประเภทเชาผูอยูอาศัยจะมีการจัดพื้นที่ภายในหองพักแบงพื้นที่ใชงานดานใดดานหนึ่ง ซายหรือขวาติดผนัง เพื่อใหเกิดพื้นที่ใชสอยใหเพียงพอตอผูอยูอาศัย สวนหองพักประเภทเชาซื้อผูอยูอาศัยจะจัดพื้นที่ใชสอยออกเปนสองสวนเชนกันแตงแบงเปนแบบครึ่งหนาครึ่งหลัง โดยแบงการใชงานเปนพื้นที่สวนหนาหองหองติดกับประตูทางเขา และพื้นที่ดานหลังติดกับระเบียง เพื่อใหเกิดเปนสัดสวนพื้นที่ใชงานที่เรียบรอย โดยการนําเอาเครื่องเรือนมาใชเปนตัวกั้นแบงพื้นที่254


พบวาลักษณะความเปนเจาของกรรมสิทธิ์หองพัก สงผลตอการการเลือกใชเครื่องเรือน การจัดสภาพแวดลอมและการปรับปรุงดูแลหอง หองพักปะเภทใหเชาผูอยูอาศัยจะเลือกใชเครื่องเรือนแบบไมถาวรเพื่องายตอการขนยาย หากตองยายที่อยูอาศัยหรือหมดสัญญาการเชาพัก อยูอาศัยจะไมใหความสําคัญเรื่องสภาพแวดลอมและการปรับปรุงหองพักมากนัก เนื่องจากมีแนวความคิดวาไมใชที่อยูโดยแทจริงของตนเอง สวนหองพักประเภทเชาซื้อ ผูอยูอาศัยจะพิถีพิถันในการจัดพื้นที่ภายในหองพัก การเลือกเครื่องเรือนลักษณะภาวะเสมือนเปนการลงทุนระยะยาวใหแกที่พักอาศัยการใชพื้นที่ภายในหองพัก มีลักษณะยืดหยุนไปตามปจจัยตางๆขางตน พื้นที่เดียวมักมีหลายกิจกรรมโดยมีพื้นที่สวนอเนกประสงคเปนพื้นที่ใชงานหลัก มีพื้นที่ระเบียงที่สวนใหญมีการใชงานที่ไมเพียงพอเนื่องจากถูกดัดแปลงใหใชงานหลายกิจกรรมรวมกันไดแก ประกอบอาหาร เตรียมอาหาร ซักลาง ซักเสื้อผา และตากผา ในการศึกษาครั้งนี้ไดมีขอเสนอแนะในการปรับปรุงพื้นที่สวนของหองพักใหดัดแปลงพื้นที่สวนนอนในการตั้งเพิ่มในลักษณะของชั้นลอยเพื่อใหมีพื้นที่ใชสอยมากขึ้น การขยายพื้นที่สวนระเบียงเพื่อใหเพียงพอตอความตองการพื้นที่ใชสอยกับกิจกรรมที่เกิด การเพิ่มชองระบายอากาศเพื่อใหอากาศสามารถถายเทไดสะดวกกรุงเทพมหานคร เปนศูนยกลางธุรกิจและแรงงาน เปนศูนยกลางทางการศึกษาที่มีบทบาทและความสําคัญ สงผลใหประชากรจํานวนมากจากภูมิภาคตางๆ เดินทางเขามาเพื่อประกอบอาชีพ และเขามาเพื่อศึกษาตอเปนจํานวนมาก จากการยายถิ่นฐานเพื่อการดํารงชีวิตทั้งชั่วคราวและถาวร ปจจัยหนึ่งที่สงผลตามมาคือ ความตองการที่อยูอาศัย ประชากรที่เดินทางเขามายังกรุงเทพมหานครนั้น สวนใหญจัดอยูในกลุมของผูมีรายไดนอยถึงปานกลาง ในระดับรายไดเชนนี้ การเลือกรูปแบบที่พักอาศัยจึงมีขอจํากัดอยางมาก อาคารที่พักอาศัย จึงเปนทางเลือกหนึ่งที่สามารถตอบสนองความตองการที่อยูอาศัยของผูอยูอาศัยในระดับรายไดนอย อีกทางหนึ่งพักอาศัยอาคารที่รวมราคาถูก สามารถพบเห็นไดมากมายมีทั้งดําเนินงานจัดการโดยภาครัฐ และภาคเอกชน ในสวนของภาครัฐนั้นผูที่เขามามีบทบาทจัดการคือ การเคหะแหงชาติ เพื่อชวยเหลือประชากรที่มีรายไดนอยใหมีที่อยูอาศัยอยางเพียงพอและเหมาะสม ในขั้นตนไดมีการศึกษาและกําหนดมาตรฐานที่อยูอาศัยและชุมชน เพื่อใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาที่อยูอาศัยใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของสังคมไทยและตอบสนองความตองการของผูอยูอาศัย การศึกษาเกี่ยวกับสภาพทางพฤติกรรมในการใชสอยพื้นภายในแฟลตเคหะสงเคราะห 1 สามารถแบงไดตามลักษณะดังตอไปนี้- ตําแหนงของกิจกรรมหลักตางๆ ไดแก กิจกรรมพักผอนรับแขก นอน ทานอาหาร ปรุงอาหาร ซักลางและเก็บของ1ดร วิมสิทธิ์ หรยางกูร . สภาพทางพฤติกรรมในการใชสอยภายในแฟลตเคหะสงเคราะห โครงการเคหะสงเคราะหดินแดง หวยขวาง ประชานิเวศน และบอยไก , 2524255


- ประเภทและจํานวน ของเครื่องเรือนและอุปกรณในครัวเรือน รวมทั้งศึกษาตําแหนงของเครื่องเรือนและอุปกรณในครัวเรือนที่สําคัญ- ลักษณะการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพ ในแฟลตหองพักอาศัย เนนการจัดหองที่เดนชัด- ความสัมพันธระหวางความรูสึกและทัศนคติกับลักษณะการจัดหองที่เดนชัด- ความสัมพันธระหวางความรูสึกและทัศนคติกับจํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่ไมเกินจํานวนเฉลี่ยการศึกษาเกี่ยวกับตําแหนงของกิจกรรม การศึกษาประเภท จํานวนและตําแหนงของเครื่องเรือนและอุปกรณในครัวเรือน ตลอดจนการศึกษาลักษณะการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายใน มีความมุงหมายเพื่อหาวามีกระสวนหรือ โดยมุงวิเคราะหประเด็นที่สําคัญ 3 ประการ ดังนี้ ตําแหนงของกิจกรรม , ประเภท จํานวน และตําแหนงของเครื่องเรือนและอุปกรณเครื่องใชในครัวเรือน , ลักษณะการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายในประเด็นทั้ง 3 แทจริงแลว เกิดขึ้นพรอมกันในสถานที่เดียวกัน การแยกสรุปเปน 3 ประเด็น เพื่อความสะดวกในการวิเคราะหเทานั้น ปรากฎการณทางกิจกรรมนั้นวิเคราะหจากปรากฎการณทางกายภาพ การศึกษานี้ไดชี้ใหเห็นวาสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลาวในแฟลตหองพักอาศัย ขึ้นอยูกับตัวกําหนดที่สําคัญ คือ- ประเภทกิจกรรมที่ตองเกิดขึ้น- ขนาดและลักษณะทางกายภาพ- จํานวนสมาชิกในครัวเรือน- ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจความสอดคลองระหวางตัวกําหนดเหลานี้ เปนสิ่งสําคัญในการกอใหเกิดความสอดคลองทางพฤติกรรมกลาวคือ มีสภาพแวดลอมทางกายภาพที่เหมาะสมสําหรับประกอบกิจกรรมที่ตองการ โดยผูอยูอาศัยจํานวนที่เหมาะสม และตอบสนองความตองการพื้นฐานทางจิตวิทยาดวย แตแฟลตหองพักอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยทั่วไป ซึ่งมีสภาพแวดลอมทางกายภาพขั้นต่ํามีความจํากัดทางกายภาพมาก นั้นคือ ตัวกําหนดในดานขนาดและลักษณะทางกายภาพ ในขณะที่ตัวกําหนดทางดานกิจกรรมที่ตองเกิดขึ้นเปนตัวกําหนดที่มีลักษณะคงที่ตองเกิดขึ้นไมอาจหลีกเลี่ยงได เพราะเปนกิจกรรมพื้นฐานในชีวิตประจําวัน สวนสมาชิกในครัวเรือนเปนตัวกําหนดที่เปลี่ยนไปตามจํานวนสมาชิกที่มีอยูจริงของครัวเรือน แฟลตหองพักอาศัยโดยทั่วไปมักเกิดความไมสอดคลองทางพฤติกรรม โดยเฉพาะหองพักอาศัยที่มีจํานวนสมาชิกมาก ในกรณีเชน จะเกิดการปรับปรุงแกไข (Adaptation)เกิดขึ้น อาจตองมีการปรับกิจกรรมใหเกิดขึ้นในสภาพที่มีอยู อาจมีการปรับปรุงแกไขลักษณะทางกายภาพบางประการที่สามารถทําได ในเมื่อไมสามารถปรับปรุงขนาดของสภาพแวดลอมที่มีอยูได ในกรณีที่มีการปรับปรุงแกไขเกิดขึ้นแลว หากยังไมสนองตอความตองการพื้นฐานทางจิตวิทยา ยอมหมายความวาผูอยูอาศัยจําเปนตองมีความรูสึกและทัศนคติในทางที่ไมดีตอแฟลตหองพักอาศัย โดยเกิดความเครียดทางสภาพแวดลอม(Environmental Stress)256


ปรากฎการณทางกิจกรรมกิจกรรมตางๆจะเกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้นในตําแหนงใดของพื้นที่ใชสอยที่มีอยูในแฟลตหองพักอาศัยในสภาพอยางไร มีกระสวนของกิจกรรมอยางไร และจําเปนตองเปลี่ยนแปลงไปตามการปรับปรุงแกไขทางกิจกรรมอยางไร ยอมขึ้นอยูกับตัวกําหนดที่สําคัญ 4 ประการ ดังกลาวมาแลว ปรากฏการณทางกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแฟลตหองพักอาศัยมีดังนี้1. ผูอยูอาศัยมีความตองการและแสวงหาความสอดคลองระหวางกิจกรรมกับสภาพแวดลอมทางกายภาพเทาที่จะพึงหาได โดยใชสภาพทางกายภาพเทาที่มีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด โดยไดปรับปรุงแกไขตามฐานะทางเศรษฐกิจของตน ที่จะเอื้อตอการจัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสมที่สุดเพื่อการอยูอาศัย ดังนั้นจึงเกิดกระสวนหรือแบบของการจัดที่ชัดเจนดวยลักษณะ การจัดที่คลายคลึงกัน (Consistency) ผูอยูอาศัยสวนมากมีการตัดสินใจที่ตรงกันที่จะใหมีกิจกรรม ประเภทใด เกิดขึ้นที่ตําแหนงใด โดยมีเครื่องเรือนและอุปกรณในครัวเรือนสนับสนุนการเกิดกิจกรรมนั้นๆ ตามความเหมาะสม2. ในแฟลตที่มีสภาพแวดลอมจํากัด แบบแผนของการจัดสวนใชสอยแตละหนวยจะมีความคลายคลึงกันมากกวาแฟลตที่มีสภาพแวดลอมจํากัดนอยกวา ถึงแมจะมีสมาชิกครัวเรือนมากกวาก็ตาม3. กิจกรรมที่เกิดจะตั้งอยูตําแหนงใดยังขึ้นอยูกับความสอดคลองกับความตองการพื้นฐานทางจิตวิทยาโดยเฉพาะอยางยิ่ง ความเปนสวนตัว (Privacy) เพราะปรากฎวาในสวนใชสอยที่เปนสวนอเนกประสงคยังมีปรากฎการณการแบงตําแหนงกิจกรรมตามการแบงเขตสาธารณะกับเขตสวนตัว (Public vs. Private Zoning)โดยสวนรับแขกพักผอนมักอยูในเขตสวนตัว (Semi-Public Zone) และกิจกรรมนอนมักอยูในเขตสวนตัว (PrivateZone) การกําหนดดังกลาวเปนการใชโดยการกําหนดเขต (Zoning) เปน Privacy Mechanism4. กิจกรรมบางประเภทจําเปนตองเกิดขึ้นในตําแหนงใชสอยเดียวกัน ในเวลาที่ตางกัน เกิดความยืดหยุน(Flexibility) เนื่องมาจากการมีพื้นที่ใชสอยไมเพียงพอ ความยืดหยุนเกิดขึ้นไดโดยมีเครื่องเรือนที่สามารถพับเก็บได มีขอสังเกตวายิ่งมีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนมากขึ้นเทาใด ความยืดหยุนในการใชพื้นที่จะมากขึ้น ความเฉพาะของพื้นที่จะนอยลง ตลอดจนเครื่องเรือนที่ประกอบหรือสนับสนุนกิจกรรมก็จะมีจํานวนนอยลงดวย5. กิจกรรมบางประเภทตองเกิดขึ้นมากกวาหนึ่งตําแหนง มีการกระจายตัวของกิจกรรมประเภทเดียวกันทั้งที่นาจะเกิดขึ้นในตําแหนงพื้นที่ (Locale) ใดตําแหนงหนึ่ง กิจกรรมดังกลาว ไดแก กิจกรรมทานอาหารกิจกรรมปรุงอาหาร กิจกรรมซักลาง และกิจกรรมเก็บของ ในกรณีเชนนี้ กิจกรรมหนึ่งยอมอาจแทรกแซง หรือขัดแยงกับกิจกรรมอื่นที่อาจเกิดขึ้นพรอมกัน หรือไมสอดคลองกับสภาพทางกายภาพซึ่งไมไดเตรียมไวในลักษณะที่ลนเขามา257


6. ผูอยูอาศัยจํายอมตองรับมาตรฐานของกิจกรรมที่เกิดขึ้นซึ่งอาจจะเปนมาตรฐานที่คอนขางต่ํา เปนตนวา การไมมีหองนอนแยกหางจากสวนพักผอนรับแขก การไมมีหองครัวปรุงอาหารอยางเปนกิจลักษณะที่นั้งรับประทานอาหารที่มีจํานวนจํากัดไมพอสําหรับสมาชิกในครัวเรือน และการตองอยูรวมกันอยางหนาแนนในพื้นที่ที่จํากัด ดังนั้น ผูอยูอาศัยจึงจําตองลดความสําคัญของกิจกรรมลง และกิจกรรมมีลักษณะที่ลําลองมากขึ้นในการนี้ผูอยูอาศัยบางคนพยายามใชชีวิตอยูนอกแฟลตพองพักอาศัยมากขึ้นโดยเฉพาะกรณีที่มีครัวเรือนขนาดใหญมากปรากฎการณทางกายภาพปรากฎการณทางกายภาพที่เกิดขึ้นในสวนตางๆของแฟลตหองพักไมวาจะเกี่ยวกับ ประเภท จํานวนและตําแหนงของเครื่องเรือน และอุปกรณเครื่องใชไฟฟาในครัวเรือน หรือเกี่ยวกับสวนตางๆที่ยึดติดกับอาคารสัมภาระตางๆและรวมทั้งองคประกอบตางๆทางกายภาพดังกลาวยอมขึ้นอยูกับตัวกําหนดสําคัญ 4 ประการเชนเดียวกัน คือ ประเภทของกิจกรรมที่ตองเกิดขึ้น, ขนาดและลักษณะทางกายภาพ, จํานวนของสมาชิก , ความตองการทางจิตวิทยา , เครื่องเรือนและอุปกรณแตละประเภทมีกระสวนของตําแหนงที่แนนอนสอดคลองกับกิจกรรม และมีขอสังเกตวา แฟลตที่มีพื้นที่ใชสอยนอย มีกระสวนของตําแหนงเครื่องเรือนและอุปกรณชัดเจนกวาแฟลตที่มีพื้นที่ใชสอยมากกวาผูอยูอาศัยเห็นความจําเปนที่จะตองจัดการปรับปรุงแกไของคประกอบทางกายภาพในแฟลตหองพักอาศัย โดยเฉพาะในสวนที่เปนสวนประกอบที่ติดกับอาคาร เชน การจัดใหมีวัสดุปูพื้นผิว เพื่อสะดวกในการดูแลรักษาทําความสะอาด เพื่อความสวยงาม การติดตั้งมุงลวด ลูกกรงเหล็กดัด มาน ฯลฯ ซึ่งเปนความจําเปนพื้นฐานในการอยูแฟลต การทําชั้นลอยเพิ่มสําหรับเก็บของหรือนอน เปนตน การปรับปรุงดังกลาวเปนการทําเพื่อเพิ่มความเหมาะสมในการใชสอย หรือเพื่อลดความขาดแคลน นอกจากนี้การปรับปรุงแกไขอาจเปนการเปลี่ยนแปลงของเดิม เชนการถอดบานประตูที่กั้นระหวางสวนเอนกประสงคกับสวนปรุงอาหารออกไป การเปลี่ยนแปลงตําแหนงลางจานเปนตนผลกระทบตอความรูสึกและทัศนคติการสรุปเชิงวิเคราะหดังกลาวขางตน เปนการสรุปเกี่ยวกับปรากฎการณทางกิจกรรมและทางกายภาพซึ่งเปนปรากฎการณที่สังเกตไดจากภายนอก สวนที่ไมอาจทราบไดโดยตรงจากการสังเกต ไดแก สภาพพฤติกรรมทางจิตหรือสภาพทางดานความรูสึกและทัศนคติของผูอยูอาศัยจํานวนผูอยูอาศัยในแตละครัวเรือนเปนตัวกําหนดที่สําคัญตอปรากฎการณทางกิจกรรมและปรากฎการณทางกายภาพ และเปนตัวกําหนดที่แตกตางกันไปในแตละแฟลตหองพักอาศัย การมีสมาชิกใน258


ครอบครัวมากหรือนอย ยอมมีผลตอปรากฎการณทางกิจกรรมและปรากฎการณทางกายภาพ ซึ่งอาจจะเปนผลกระทบตอความรูสึกและทัศนคติของผูอยูอาศํยพรอมกันดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่ไมอาจตอบสนองความตองการพื้นฐานทางดานจิตวิทยาได สวนลักษณะการจัดหองเปนปรากฎการณทางกายภาพที่เดนชัด นาจะสะทอนปรากฏการความรุสึกและทัศนคติบางประการที่แตกตางเชนเดียวกันจากการศึกษาเกี่ยวกับสภาพทางพฤติกรรมในการใชสอยพื้นภายในแฟลตเคหะสงเคราะห สามารถแบงการศึกษาออกเปนสองสวนไดแก การศึกษาการใชพื้นที่ภายในของอาคารพักอาศัยรวมประเภทเชาและการศึกษาการใชพื้นที่ภายในของอาคารพักอาศัยรวมประเภทเชาซื้อ โดยมีกลุมตัวอยางและการคัดเลือกกลุมตัวอยางดังนี้ ทําการศึกษาและเก็บขอมูลจากโครงการอาคารพักอาศัยรวม และการใชพื้นที่หองพักของ อาคารพักอาศัยรวม ที่จัดทําขึ้นเพื่อผูพักอาศัยที่มีรายไดนอยระดับรายได ประเภท ก. ที่ไดดําเนินการสรางและมีผูพักอาศัยแลวของการเคหะแหงชาติ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยทั้งสองโครงการไดจัดสรางในปเดียวกันประเภท ก.เชา 2 : โครงการรามคําแหง : กรุงเทพฯ 1,728หนวยประเภท ก.เชาซื้อ : โครงการออเงิน ระยะ 1 : กรุงเทพฯ 2,435 หนวยมีพื้นที่เฉพาะในหองพักอาศัย 31 ตารางเมตร (หองพักอเนกประสงค) เทากันและมีรูปแบบลักษณะการออกแบบเหมือนกันทุกประการตารางแสดงตัวแปรควบคุมที่ใชในการศึกษาโครงการรามคําแหง โครงการออเงินระยะ 1ป พ . ศ.2542 2542เจาของโครงการ การเคหะแหงชาติ การเคหะแหงชาตินิติบุคคล บริษัท รอยัล เฟม แมเนจเมนท จํากัด บริษัท รอยัล เฟม แมเนจเมนท จํากัดประเภทโครงการ เชา เชาซื้อราคาเชา ) หอง/บาท( 1,700 – 2,100 1,800 – 2,400จํานวนผูเขาพัก ( รอยละ)90 902ฝายนโยบายและแผน การเคหะแหงชาติ259


โครงการเคหะชุมชนรามคําแหงโครงการเคหะชุมชนรามคําแหง ไดจัดสรางขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการของผูมีรายไดนอย ตามแผนพัฒนาที่อยูอาศัยแหงชาติป พ.ศ.2531 – 2534 โดยจัดทําเปนอาคารชุดสูง 5 ชั้น ประเภทเชาพรอมสาธารณูปการ และองคประกอบของโครงการดานอื่นๆวัตถุประสงคของโครงการ เพื่อจัดหาที่อยูอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครปริมณฑล ใหพอเพียงกับความตองการของประชนซึ่งยังขาดแคลนที่อยูอาศัยอีกเปนจํานวนมาตามแผนพัฒนาฉบับที่ 6 จัดหาที่อยูอาศัยผูที่ถูกเวนคืนที่ดินจากโครงการของการทางพิเศษฯ กลุมผูมีรายได ก.ระหวาง (4,500 – 7,600 บาท/เดือน/ครอบครัว) ไดจัดสรางที่อยูอาศัยประเภทแฟลต 5 ชั้น ใตถุงโลง ไวประมาณรอยละ 43 ของจํานวนหนวยทั้งโครงการโครงการเคหะชุมชนรามคําแหงโครงการเคหะชุมชน ออเงินโครงการเคหะชุมชน ออเงิน เปนโครงการจัดสรางที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยและปานกลางเปนสวนใหญ โดนผูอยูอาศัยเชาซื้ออาคารในลักษณะอาคารชุด พรอมสิ่งอํานวยความสะดวก ตามแผนงานพัฒนาที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาติในแผนวิสาหกิจ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2531-2537 จํานวนประมาณ 4,700 หนวย ในที่ดิน 112-1-08 ไร สําหรับผูมีรายได 10,700 บาท ตอครอบครัวลงมา โครงการนี้จะเริ่มดําเนินการกอสรางประมาณกลางป 2533 และคาดวาจะแลวเสร็จประมาณกลางป 2535มีวัตถุประสงคของโครงการเพื่อ จัดสรางที่อยุอาศัย เพื่อแกปญหาขาดแคลนที่อยูอาศัยของกรุงเทพมหานคร ตามแผนวิสาหกิจการเคหะแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2531-2537) ซึ่งเปนโครงการเคหะชุมชนตามแผนตอเนื่องในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 เพื่อจัดสรางที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยและปานกลาง260


โครงการเคหะชุมชนออเงินลักษณะหองพักแบบเอนกประสงค ขนาดพื้นที่ 31 ตารางเมตรจากการสํารวจพบวาสภาพการใชพื้นที่ภายในหองพักและรูปแบบการจัดผังภายในหองพักที่สามารถเก็บขอมูลรายละเอียดไดจํานวน 74 กลุมตัวอยาง แบงเปน โครงการรามคําแหง (เชา) 37 กลุมตัวอยางและโครงการออเงิน 1 (เชาซื้อ) 37 กลุมตัวอยาง โดยนําผังการใชพื้นที่มาซอนทับกัน พบวาการจัดเครื่องเรือนและตําแหนงของการจัดผัง โดยใชการวิเคราะหความสัมพันธในการใชพื้นที่ ดังนี้- ความสัมพันธของการใชพื้นที่ในหองกับกิจกรรม- ความสัมพันธของการใชพื้นที่ในหองกับผูอยูอาศัย- ความสัมพันธของการใชพื้นที่ในหองกับระยะเวลาการอยูอาศัย- ความสัมพันธของการใชพื้นที่ในหองกับการประกอบอาชีพ- ความสัมพันธของการใชพื้นที่ในหองกับการครอบครอง- ความสัมพันธของการใชพื้นที่ในหองลักษณะอื่นๆ261


รูปแสดงการซอนทับการใชพื้นที่และการจัดผังในหอง โครงการรามคําแหง(เชา) TYPE – A , Bพบวา ลักษณะการใชพื้นที่ภายในหองพัก TYPE A , B มีการใชพื้นที่เกือบเต็มพื้นที่หองพัก โดยการจัดวางเครื่องเรือนแตละประเภทยังไมมีตําแหนงที่แนนอนนัก การจัดวางเครื่องเรือนจะวางชิดกับผนัง เครื่องเรือนสวนใหญเปนชั่วคราวไมถาวร เพื่อสะดวกในการขนยายได เชน ตู พลาสติก เปนตน เวนสวนทางเดินที่มองเห็นอยางชัดเจนจากสวนทางเขาประตูดานหนาไปยังสวนของประตูดานหลังไปยังพื้นที่ระเบียง ซึ่งมีบางกลุมตัวอยางก็จะวางของไวตามทางเดินที่เวนวางไว สวนการจัดพื้นที่สวนของการนอน(สีแดง)นั้นยังมีการใชพื้นที่มายังสวนดานหนาติดประตุทางเขา และนิยมวางเตียงนอนไวสวนในสุดของหอง การใชพื้นที่สําหรับพักผอน/รับแขก (สีเขียว) ยังคงเห็นไมเปนกลุมการใชงานที่แนนอน ยังคงไปซอนทับการพื้นที่สวนการนอน มีการนําเครื่องเรือนมาใชในการแบงพื้นที่ใชสอย ตูเสื้อผา (สีมวง) ตุและชั้นวางของ (สีฟา)รูปแสดงการซอนทับการใชพื้นที่และการจัดผังในหอง โครงการออเงิน 1(เชาซื้อ) TYPE – A , Bพบวาลักษณะการใชพื้นที่ภายในหองพัก TYPE A , B มีการใชพื้นที่เกือบเต็มพื้นที่หองพัก มีการแบงพื้นที่ใชสอยแบบชัดเจน เปนสวนของการนอน ดูจากการจัดเครื่องเรือนเตียงนอน (สีแดง)และสวนเพื่อพักผอน/262


รับแขก (สีเขียว) โดยใชเครื่องเรือนประเภทตู (สีมวง) และตู/ชั้นวางของ (สีฟา) มาเปนตัวในการจัดแบง ในสวนของการนอนนั้น พื้นที่ใชสําหรับงานเตียงนอนจะถูกจัดอยูดานในสุดของหองเปนสวนใหญ เห็นพื้นที่วางเพื่อเปนทางเดินในแตละสวนที่แบงไว การจัดวางเครื่องเรือนจะวางชิดติดผนัง เครื่องเรือนบางสวนเปนแบบประกอบติดผนังเครื่องยายไมได บางสวนก็เปนแบบเคลื่อนยายได พบเครื่องเรือนประเภท ตูพลาสติก บางสวนเทานั้นสรุปลักษณะการใชพื้นที่ของโครงการรามคําแหง (เชา) และ โครงการออเงิน (เชาซื้อ) มีการใชพื้นที่แตกตางกัน ดังนี้รูปแสดงการใชพื้นที่และการจัดผังในหอง โครงการรามคําแหง (เชา) TYPE – A , Bสี ลักษณะพื้นที่ สี ลักษณะพื้นที่พื้นที่สวนนอน พื้นที่ซักลาง ตากผาพื้นที่พักผอน รับแขก พื้นที่ประกอบอาหารพื้นที่แตงตัว พื้นที่ทางเดินภายในพื้นที่วางโทรทัศนและอุปกรณอื่นการใชพื้นที่ภายในหองจะใชพื้นที่โดยตอบสนองกับพฤติกรรมและจํานวนผูอยูอาศัยมากที่สุด โครงการรามคําแหงมีผูอยูอาศัยภายในหองเฉลี่ย 1-7 คน ทําใหพื้นที่ไมเพียงพอ เกิดการซอนทับของการใชพื้นที่ขึ้น การจัดแบงสวนการใชงานจึงยากขึ้น พื้นที่สําหรับพักผอนนอยลงหรือตองไปใชรวมกับพื้นที่สวนนอน ยังคงแบงพื้นที่เพื่อใหมีเสนทางเดินภายในจากประตูทางเขาไปสูระเบียงดานหลัง แตก็ยังคับแคบและแออัด ในสวนพื้นที่นอนและแตงตัวมีความสัมพันธตอเนื่องกัน โดยสวนใหญจะจัดสวนแตงตัวใกลกับสวนนอน ไวในพื้นที่ดานในสุดของหอง เพื่อความสะดวกและแลดูเปนสวนตัว การใชพื้นที่สวนนอนจะใชซีกใดซีกหนึ่งของหองพัก เพื่อสามารถตั้งเตียงนอนใหไดมากที่สุด เพียงพอกับจํานวนสมาชิกที่อยูอาศัย การจัดเครื่องเรือนประเภทตู ชั้นวางของ จะวางชิดติดผนัง ฝงตรงขามกับสวนนอน บางสวนจะนํามากั้นแบงสวนนอนกับสวนรับแขกพักผอนออกจากกันการใชพื้นที่สวนเตรียมอาหารจะใชบริเวณในสวนระเบียงเปนสวนใหญ มีเพียงบางหองเทานั้นที่นําเตาไฟมาประกอบอาหารในหอง ในสวนของตูเย็นเพื่อเก็บอาหารนั้นมีทั้งวางในสวนระเบียงและวางไวในหองพักบาง263


หองมีอางลางจานสวนใหญจะวางที่ระเบียงมีบางเพียงหองเทานั้นที่วางไวในหองน้ํา นอกจากนั้นถาไมมีอางลางจากก็ใชกะละมังแทน พื้นที่ในสวนซักรีดใชบริเวณทั้งระเบียงและภายในหองซึ่งจะวางไวดานในสุดของหอง บางหองนําเครื่องซักผาไวในหองน้ําเพราะไมมีที่วาง สวนบางหองนํามาไวดานหนาหองเนื่องจากประกอบกิจการซักรีดไปดวยภายในหองพัก และราวตากผาไวที่ระเบียงเนื่องจากไดรับแสงแดดและอากาศถายเทสะดวก พื้นที่ระเบียงเปนสวนที่คับแคบและหนาแนนเนื่องจากมีการใชพื้นที่ทั้งเตรียมอาหาร ซักผา และตากผาระยะเวลาการอยูอาศัยสงผลเรื่องทัศนคติของผูอยูอาศัย จากการสํารวจโครงกระประเภทเชา จะมีทัศนคติตอที่พักอาศัยวายังไมใชของตนโดยแทจริง ยกเวนผูที่อาศัยมาเปนระยะเวลานานมากแลวและมีแนวความคิดวาเชาพักอาศัยตอเทานั้น สวนผูที่เชาในระยะเวลาสั้นๆนั้นจะคิดในทางกลับกัน สงผลในเรื่องการดูแลสภาพแวดลอมภายในหอง ซึ่งการดูแลรักษาหรือปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในหองจึงเปนแบบชั่วคราวไมเรียบรอยเทาที่ควรการจัดผังภายในหองโครงการรามคําแหง (เชา)จากการศึกษาพบวาโครงการรามคําแหง (เชา) มีการจัดแบงพื้นที่ออกเปนสวนตางๆไปตามจํานวนและพฤติกรรมการอยูอาศัยมีการใชเครื่องเรือนและอุปกรณตางๆ แบงพื้นที่ใชสอย ลักษณะเครื่องเรือนเปนแบบลอยตัวเคลื่อนยายได และเปนแบบสําเร็จรูปหาซื้อไดงายและราคาไมแพง เชน ฟูกเตียงนอนแบบกึ่งถาวรสามารถพับเก็บได เพื่อดัดแปลงพื้นที่ในเวลานอนใชงานอื่นไดในชวงเวลากลางวัน การเลือกเครื่องเรือนแบบกึ่งถาวร เชน ตูไมแบบประกอบแยกสวนได ตูพลาสติก ลังพลาสติก และลังกระดาษมาใชเปนเครื่องเรือนภายในหองเนื่องมาจากคํานึงถึงความสะดวกในการขนยาย หากมีการเปลี่ยนแปลงที่อยูอาศัยใชวิธีการวางเครื่องเรือนชิดดานผนัง เพื่อใหมีพื้นที่โลงตรงกลางหองมากทีสุด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํานวนผูอยูอาศัย จํานวนอุปกรณเครื่องเรือน และลักษณะสถานะความสัมพันธของผูอยุอาศัยภายในแตละหองพัก เปนตนรูปภาพแสดงอุปกรณเครื่องเรือนภายในหองพัก โครงการรามคําแหง (เชา)264


รูปแสดงการใชพื้นที่และการจัดผังในหอง โครงการออเงิน 1 (เชา) TYPE – A , Bสี ลักษณะพื้นที่ สี ลักษณะพื้นที่พื้นที่สวนอน พื้นที่ซักลาง ตากผาพื้นที่พักผอน รับแขก พื้นที่ประกอบอาหารพื้นที่แตงตัว พื้นที่ทางเดินภายในพื้นที่วางโทรทัศนและอุปกรณอื่นการใชพื้นที่ภายในหองของโครงการออเงิน 1 (เชาซื้อ) จะมีการแบงพื้นการใชงานออกจากกันอยางชัดเจน มีสมาชิกตั้งแต 1-4 คน โดยมีความสัมพันธแบบเปนครอบครัว มีการจัดแบงพื้นที่การใชงานแบบตอเนื่องลงตัว เปนพื้นที่สวนดานหนาสุดของหอง และพื้นสวนดานหลังสุดของหอง โดยจัดพื้นที่สวนรับแขก พักผอนไวดานหนาสุดของหอง โดยการนํา ตูเสื้อผา ตูโชว หรือชั้นวางของ มาเปนตัวแบงพื้นที่ จัดสวนนอนไวดานในสุดของหอง เนื่องมากจากตองการจัดหองใหมีพื้นที่ใชงานแยกยามประเภท ไมทับซอนกัน เวนพื้นที่ทางเดินเพื่อเปนทางเดินจากประตูดานหนาไปยังระเบียงดานหลัง การจัดในลักษณะนี้เพื่อตองการใหเกิดการพื้นที่ใหเกิดประสิทธิภาพแบงตามกิจกรรมการใชงาน เนื่องจากกลุมผูอาศัยกลุมนี้จัดหนอยเพื่ออยูในระยะยาวจึงมีความเปนระเบียบและชัดเจนกวาพบวาการใชพื้นที่สวนการใชพื้นที่สวนเตรียมอาหารใชบริเวณในสวนระเบียงเปนสวนใหญ ในสวนของตูเย็นเพื่อเก็บอาหารนั้นมีทั้งวางในสวนระเบียงและวางไวในหองพัก ราวตากผาไวที่ระเบียงเนื่องจากไดรับแสงแดดและอากาศถายเทสะดวก พื้นที่ระเบียงเปนสวนที่คับแคบและหนาแนนเนื่องจากมีการใชพื้นที่ทั้งเตรียมอาหาร ซักผา และตากผาระยะเวลาการอยูอาศัยและลักษณะความเปนเจาของ มีผลใหมีทัศนคติวาจะตองพักอาศัยอยูอีกเปนเวลานานจึงควรจัดหองใหแบงพื้นที่ใชงานไดเพียงพอและใหเปนระเบียบเรียบรอยมากขึ้น265


การจัดผังภายในหองโครงการออเงิน 1 (เชาซื้อ)การเลือกเครื่องเรือนสวนมากเปนแบบถาวรเคลื่อนยายไมได และบางสวนเปนแบบไมถาวร โดยใหเหตุผลวา ใชเพื่อการอยูในระยะยาว มีความแข็งแรงคงทนกวา และเพื่อความสวยงาม ถือกรรมสิทธิ์เปนเจาของหอง จึงมีทัศนคติวาเปนเจาของหองโดยแทจริงสงผลให มีการดูแลรักษาสภาพแวดลอมในหองโดยรวมใหเปนระเบียบเรียบรอยใชวิธีการวางเครื่องเรือนชิดดานผนัง เพื่อใหมีพื้นที่โลงตรงกลางหองมากทีสุดบางสวนใชมาเปนตัวแบงกั้นพื้นที่ใชงาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํานวนผูอยูอาศัย จํานวนอุปกรณเครื่องเรือน และลักษณะสถานะความสัมพันธของผูอยูอาศัยภายในแตละหองพัก เปนตนรูปภาพแสดงอุปกรณเครื่องเรือนภายในหองพัก โครงการออเงิน (เชาซื้อ)ขอเสนอแนะจากการศึกษาและสรุปผลการวิเคราะหขอมูลทั้งหมดจากการเก็บขอมูล ไดพบปญหาเกี่ยวกับการใชพื้นที่ภายในหองพัก เนื่องมากจากการใชงานพื้นที่ในหองมีไมเพียงพอและจํากัด จึงมีความจําเปนตองแกไขดัดแปลงพื้นที่ใหมีความเหมาะสมตอความตองการ และสอดคลองกับพฤติกรรมการอยูอาศัย และสามารใชงานพื้นที่ในสวนตางๆใหเกิดประโยชนสูงสุด แบงเปนดานกายภาพ โดยหาทางเลือกในการออกแบบพื้นที่พักอาศัยและการจัดผังภายในใหสามารถใชงานไดเพียงพอและเกิดประโยชนสูงสุดแกผูอยูอาศัยสวนที่ 1 พื้นที่บริเวณระเบียง มีขอเสนอแนะใหเพิ่มพื้นที่ระเบียง โดยขยายเพื่อใหมีพื้นที่เพียงพอตอการใชงาน ทั้งเปนสวนซักลาง ประกอบอาหาร และเพียงพอตอขนาดของอุปกรณเครื่องเรือนที่จําเปนไ ดแก เครื่องซักผา ราวตากผา อางลางจาน เตาแกส ถังแกส ชั้นวางของเพื่อเก็บอุปกรณทําครัว และมีพื้นที่เพียงพอสามารถประกอบกิจกรรมไดสะดวกมากขึ้น266


สวนที่ 2 ประตูทางออกสูระเบียง มีขอเสนอแนะใหปรับเปลี่ยนลักษณะของประตูบานเลื่อน เพื่อเพิ่มพื้นที่ใชสอยในระเบียงสามารถวางเครื่องเรือนและอุปกรณที่จําเปนไดมากขึ้น เพราะประตูแบบบานเปดทําใหเสียพื้นที่ระยะการเปดประตูสวนที่ 3 เพิ่มชั้นลอย เหนือระดับเตียงเพื่อเพิ่มเนื้อที่ใชสอย สามารถทําเปนสวนนอน หรือเก็บของ มีบันไดทางขึ้นดานขางสวนที่ 4 ติดตั้งชองระบายอากาศ เหนือตําแหนงประตู ที่สามารถเปด – ปด การใชงานได โดยมีตําแหนงการติดตั้งตรงกับสวนประตูทางออกระเบียง ในสวนที่ 3 การออกแบบชองเปดของหองนอกจากจะใหมีทางลมผานเขามาในหองแลวจะตองจัดใหมีทางลมออกจากหองดวยเพื่อทําใหเกิดการไหลเวียนของอากาศที่เขาสูตัวหองการมีชองเปดในดานที่รับลมอยางเดียวจะไมสามารถทําใหลมผานเขามาในหอง เพราะผนังที่ปดตันในดานตรงกันขามจะเปนเสมือนฉากกันลม และเกิดความกดอากาศสูงภายในหองทําใหไมไดรับลมเทาที่ควรเพื่อที่จะใหอากาศภายในหองมีการไหลเวียนที่ดีจะตองจัดทางลมออกใหมีขนาดเทากับทางลมเขาซึ่งผานชองเปดที่กวางเต็มที่ สําหรับการถายเทอากาศที่คิดถึงความเร็วในการเคลื่อนที่ของลมในที่ ๆ ตองการกระแสลมแรงเพื่อชวยใหเย็นขึ้นจะตองมีทางลมออกที่ใหญและกวางกวาทางลมเขาดานนโยบาย โดยกําหนดแนวทาง และขอเสนอแนะแกผูอยูอาศัยและโครงการแนวทางการจํากัดจํานวนผูอยูอาศัยจากการศึกษาพบวา หองพักที่มีผูอยูอาศัยตั้งแต 4 คนขึ้นไป ประสบปญหาความแออัดในการใชพื้นเพื่ออยูอาศัย ทําใหสูญเสียพื้นที่เพื่อการพักผอน รับแขกไป หรือกลายเปนการใชพื้นที่ทับซอนกัน เชน ใชพื้นที่สวนนอนในการพักผอน เมื่อมีแขกมา จึงจําเปนตองใหนั้งบนเตียงแทน เนื่องจากไมมีพื้นที่สวนรับแขก หรือใชนั้งรับประทานอาหาร เปนตน เมื่อมีผูอยูอาศัยมากเกิน ทําใหจํานวนเครื่องเรือนเพิ่มขึ้นตามผูอยูอาศัย เพราะแตละคนจะมีขาวของเครื่องใชสวนตัวและพื้นที่เก็บเสื้อผา พื้นที่เก็บของของตน ตลอดจนจํานวนพื้นที่เตียงนอน ที่ตองจัดวางเพิ่มเพื่อใหเพียงพอตอผูอยูอาศัยจึงควรมีการกําหนดจํานวนผูอยูอาศัยในแตละหองเพื่อลดความแออัดในการใชพื้นที่ภายในหองพักแนวทางเพื่อควบคุมการดัดแปลงที่อยูอาศัยเพื่อการประกอบอาชีพจากการศึกษาพบวา พื้นที่อยูอาศัยที่ไมเพียงพอนั้น นอกจากจํานวนสมาชิกในครอบครัวที่มีผลกระทบแลว การที่ดัดแปลงพื้นที่ภายในหองพักอาศัยยังสงผลตอการลดพื้นที่เพื่อการอยูอาศัย เชน รานคา ที่ดัดแปลงพื้นที่รอยละ 60 – 70 ของพื้นที่ภายในหองทั้งหมดเปนสวนขายของ วางสิ้นคา และเก็บของเพื่อขายในกรณีมีความจําเปนตองประกอบอาชีพ ควรมีการกําหนดตําแหนงของหองพักอาศัย เชน ใหหองพักอาศัยเฉพาะชั้นลาง เพียงชั้นเดียวที่สามารถประกอบอาชีพได และตองแจงตอหนวยงานที่ดูแลโครงการวาประกอบอาชีพอะไร เพื่อที่เจาหนาที่สามารถดูแลไดทั่วถึงและเพื่อความปลอดภัยหากเกิดอุบัติเหตุหรือเพลิงไหมแนวทางเพื่อควบคุมการเลี้ยงสัตวภายในอยูอาศัยจากการศึกษาพบวา หองพักอาศัยบางหองจะนําสัตวเลี้ยงมาเลี้ยงไวภายในหองพัก ไดแก สุนัข แมวหนูแฮมสเตอร กระรอก อีกทั้งยังน้ํากรงไปตั้งในไวบริเวณระเบียงใกลกับบริเวณพื้นที่ประกอบอาหาร หรือตั้งไว267


ใกลที่นอน ทําใหหองพักเกิดกลิ่นซึ่งมาจากสัตวเลี้ยงและเสี่ยงตอการไดรับเชื้อโรค เนื่องจากภายในหองพักก็มีลักษณะความเปนอยูที่แออัด หากไมดูแลวความสะอาดเปนอยางดีแลว ก็จะเปนแหลงที่มาของโรคตางๆไดแนวทางการแกไขคือ การใหความรูเกี่ยวกับการนําสัตวเลี้ยงมาเลี้ยงไวภายในหองพัก การดูแลรักษาความสะอาดใหเหมาะสม เพราะสัตวเลี้ยงเหลานี้อาจเปนแหลงที่มาของโรคตางๆ แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ที่สามารถปนเปอนในอาหาร หรืออยูในอากาศที่หายใจ สะสมในฝาเพดาน หรือพรมปูพื้นได268


ผูอยูอาศัยกับทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย: กรณีศึกษาชุมชนสุโขทัยซอย 9 เขตดุสิต กรุงเทพมหานครRESIDENT AND ALTERNATIVES FOR HOUSING DEVELOPMENT ONCROWN PROPERTY BUREAU’ S LAND : A CASE STUDY OFSUKHOTHAI SOI 9 COMMUNITY, DUSIT DISTRICT, BANGKOK METROPOLITAN.นายอิทธิกร อรุโณรัตนหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอชุมชนสุโขทัยซอย 9 ตั้งอยูบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยในเขตดุสิตกรุงเทพมหานคร สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยมีนโยบายที่จะพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนผานกระบวนการมีสวนรวมจากผูอยูอาศัยในชุมชน และคัดเลือกเปนชุมชนนํารอง เนื่องจากทําเลที่ตั้งที่ใกลกับพระราชวังสวนจิตรลดา ประกอบกับสภาพมีที่อยูอาศัยในชุมชนมีความแออัดและเสื่อมโทรม จึงมีความสําคัญที่ตองศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพแวดลอมทางกายภาพและปญหาที่อยูอาศัยและชุมชน ศึกษานโยบาย ระเบียบขอบังคับ การจัดองคกรของสํานักงานทรัพยสินฯ และหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ วิเคราะหลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ความสามารถ ศักยภาพ และความคิดเห็นของผูอยูอาศัยและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาที่เหมาะสมสําหรับชุมชนสุโขทัยซอย 9 โดยวิธีการศึกษา ไดใชเครื่องมือในการวิจัยที่หลากหลายไดแก การศึกษาจากเอกสารและการศึกษาภาคสนาม ดวยการสังเกต การสัมภาษณ และการทํากิจกรรมผานกระบวนการมีสวนรวมจากการศึกษาพบวา 1) หนวยงานเจาของที่ดินมีนโยบายการพัฒนาชุมชน ผานกระบวนการมีสวนรวมแตมีขอจํากัดดานกฎหมายในการกอสราง บานในพื้นที่ โดยสรางไดเฉพาะบานเดี่ยวที่มีความสูงไมเกิน12 เมตร2)ในดานเศรษฐกิจผูอยูอาศัยในชุมชนสุโขทัยซอย 9 สวนใหญจะมีรายไดระดับปานกลางมีอาชีพคาขายและรับจางทั่วไป รายไดตอครัวเรือนเพียงพอตอการดํารงชีวิต ไมมีหนี้สิน 3)ในดานความสัมพันธภายในชุมชนเนื่องจากอยูอาศัยมานานกวา 30 ป ผูอยูอาศัยจะรูจักกันเกือบทุกครอบครัวมีความสัมพันธที่ดีตอกัน มีการรวมตัวกันในการจัดกิจกรรมในวันสําคัญตาง ๆ และแกไขปญหาของชุมชน 4)ในดานกายภาพ พบวา ลักษณะที่อยูอาศัยสวนใหญเปนบานครึ่งตึกครึ่งไม 2 ชั้นและบานไม 2 ชั้น สวนใหญใชประโยชนเพื่อการอยูอาศัย5) ปญหาที่อยูอาศัยพบวา สภาพวัสดุของตัวบานชํารุดทรุดโทรมขาด อีกทั้งสภาพที่อยูอาศัยมีความหนาแนนมากจนเกิดปญหาความแออัดและเสี่ยงตอการเกิดเพลิงไหม ถนนภายในชุมชนคับแคบมีสภาพชํารุด และมีการวางสิ่งของรุกล้ําถนนจึงทําใหไมสะดวกตอการสัญจร และขาดพื้นที่สวนกลางสําหรับทํากิจกรรมรวมกันจากการเสนอทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยใหผูมีประสบการณและผูอยูอาศัยพิจารณา สามารถวิเคราะหแนวทางการพัฒนาชุมชนได 3 แนวทาง คือ แนวทางที่ 1 การปรับปรุงที ่อยูอาศัยในที่ดินเดิมโดยการ269


เปลี่ยนวัสดุบางสวนที่ชํารุดและทรุดโทรม จากนั้นจะทําการทาสีบานใหม โดยจะใชงบประมาณของตนเองและตองการใหภาครัฐสนับสนุนวัสดุและอุปกรณบางสวน แนวทางที่ 2 การจัดผังชุมชนใหม โดยเริ่มจากการจัดทําผังชุมชนและทําการปรับปรุงสภาพถนนบางสวนที่ชํารุดและมีการขยายถนนเพิ่มบางสวนที่เปนปญหาในการสัญจรภายในชุมชนโดยจะทําประชาพิจารณทั้งชุมชนกอนแลวจึงคอยของบประมาณจากหนวยงานราชการแนวทางที่ 3 การประสานประโยชนในที่ดิน ใหหนวยงานเจาของที่ดินเจรจาและจัดหาพื้นที่ที่ผูเชาตรงไมไดใชประโยชน เพื่อนํามาใชประโยชนเปนพื้นที่สวนกลางขอเสนอแนะที่ไดจากผลการศึกษา เนื่องจากชุมชนสุโขทัยซอย 9 เปนชุมชนที่มีลักษณะพิเศษและอยูใกลกับเขตพระราชฐาน คือ พระราชวังสวนจิตรลดา จึงเห็นควรจัดทําโครงการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนใหเปนตนแบบของการพัฒนาที่อยูอาศัยในชุมชนบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินฯ เพื่อการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยใหผูอยูอาศัยในชุมชนเขามามีสวนรวมและมีบทบาทเปนแกนนําหลักในการพัฒนา บทบาทของสํานักงานทรัพยสินฯ และหนวยงานราชการตาง ๆ เปนผูสนับสนุนตามความเหมาะสม โดยในระยะสั้น เสนอให 1) สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยใชผลการศึกษานี้ เปนขอมูลเพื่อการวางแผนและพิจารณาดําเนินการในขั้นตอนตอไป 2) มีการระดมความคิดเห็นรวมกันระหวางผูที่เกี่ยวของเพื่อทําการวิเคราะหขอดี-ขอเสีย จุดแข็ง-จุดออนของแตละทางเลือกและโอกาสในการพัฒนาที่เหมาะสมใหละเอียดยิ่งขึ้น3) ดําเนินการการพัฒนาโดยกระบวนการมีสวนรวมแบบคอยเปนคอยไป และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่องในระยะยาว สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยควรพิจารณาพื้นที่ตอเนื่องกับชุมชนสุโขทัยซอย 9ในลักษณะทั้งบล็อกโดยเฉพาะที่เปนพื้นที่ของสํานักงานทรัพยสินฯ เพื่อใหเกิดการพัฒนาแบบบูรณาการ ในพื้นที่ใกลกับพระราชวังสวนจิตรลดาตอไปความเปนมาและความสําคัญของปญหาสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพยสินฝายพระมหากษัตริย พ.ศ. 2491 ขึ้นเปนนิติบุคคล มีหนาที่ดูแลรักษา และ จัดประโยชนอันที่เกี่ยวกับทรัพยสินฝายพระมหากษัตริย (สํานักงานทรัพยสินฯ , 2544.) อันไดแก สังหาริมทรัพย และอสังหาริมทรัพย นับตั้งแตจัดตั้งสํานักงานทรัพยสินฯ จนกระทั่งปจจุบันสํานักงานทรัพยสินไดพยายามที่จะหาแนวทางที่เหมาะสมตอการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนที่อยูอาศัยบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินใหสอดคลองกับบริบททางสังคมเศรษฐกิจและเมืองของประเทศไทยอยางตอเนื่องแตอยางไรก็ตาม ในอดีตการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนของสํานักงานทรัพยสินฯ ไมไดใหความสําคัญตอกระบวนการมีสวนรวมจากผูอยูอาศัยในการพัฒนาเทาที่ควร จึงทําใหโครงการพัฒนาที่ผานมาประสบปญหาตาง ๆ เกิดขึ้นตามมา จนทําใหสํานักงานทรัพยสินฯ กลับมาทบทวนและศึกษาถึงนโยบายการพัฒนา ที่อยูอาศัยใหมอีกครั้งจนพบวาการพัฒนาผานกระบวนการมีสวนรวมเปนการพัฒนาที่ประสบความสําเร็จมากกวากระบวนการพัฒนาในรูปแบบอื่น นับจากนั้นเปนตนมาสํานักงานทรัพยสินฯ ก็พยายามที่จะใหความสําคัญตอการพัฒนาแบบมีสวนรวมมาโดยตลอดกรณีศึกษา ไดแก ชุมชนสุโขทัยซอย 9 ตั้งอยูบริเวณเขตดุสิต จังหวัดกรุงเทพมหานคร เปนชุมชนที่สํานักงานทรัพยสินฯ ไดคัดเลือกใหเปนชุมชน 1 ในจํานวน 39 ชุมชนนํารองที่จะมีโครงการพัฒนาที่อยูอาศัย270


และชุมชน จากชุมชนทั้งหมด 107 ชุมชน ที่อาศัยบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินฯ ซึ่งชุมชนสุโขทัยซอย 9 ไดจดทะเบียนจัดตั้งเปนชุมชนจากสํานักงานเขตดุสิต ในปพ.ศ. 2535 (สํานักงานเขตดุสิต, 2535) และถูกจัดใหเปนชุมชนแออัด โดยสภาพทั่วไปภายในชุมชนมีสภาพของที่อยูอาศัยมีความแออัดและวัสดุของที่อยูอาศัยมีสภาพทรุดโทรมขาดการดูแลรักษา รวมถึงสภาพทางกายภาพของชุมชนก็มีสภาพเสื่อมโทรมเชนกัน อาทิ สภาพพื้นผิวถนนที่ชํารุด , สิ่งแวดลอมภายในชุมชนมีสภาพเสื่อมโทรมไมถูกตองตามมาตรฐานชุมชนของกรุงเทพมหานครฯลฯ และเหตุผลที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือที่ตั้งของชุมชนอยูใกลบริเวณพระตําหนักสวนจิตรลดา ซึ่งเปนที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยผูอยูอาศัยบางสวนไดทํางานเปนขาราชบริพารดวย จึงทําใหเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนจากผูอยูอาศัยเปนอยางยิ่ง นอกจากจะเปนการสรางความเขมแข็งของผูอยูอาศัยตอพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนแลว ยังเปนการสรางความเขมแข็งใหผูอยูอาศัยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ และมีจิตอาสาที่จะชวยอาสาสอดสองดูแลบริเวณเขตพระราชฐานใหมีความปลอดภัย มากยิ่งขึ้นวัตถุประสงคการศึกษา1) ศึกษาสภาพแวดลอมทางกายภาพ และปญหาที่อยูอาศัยในชุมชนสุโขทัยซอย 9 ในปจจุบัน2) ศึกษาลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ ความสามารถ ศักยภาพ และความคิดเห็นของผูอยูอาศัยในการพัฒนาที่อยูอาศัย3) ศึกษานโยบาย ระเบียบขอบังคับ การจัดองคกรของสํานักงาทรัพยสินฯ และหนวยงานที่เกี่ยวของศักยภาพ และขอจํากัดในการที่จะดําเนินงาน4) ศึกษาทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน โอกาสและขอจํากัดของทางเลือกตางๆ เพื่อเปนขอเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยขอบเขตการศึกษา1) ขอบเขตทางดานพื้นที่พื้นที่ที่จะทําการศึกษาในครั้งนี้ คือ บริเวณชุมชนสุโขทัยซอย 9 บนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ประมาณ 12 ไร (ภาพประกอบที่ 1.1)ชุมชนสุโขทัยซอย 9ภาพที่ 1.1 : แผนที่และแผนผังชุมชนสุโขทัยซอย 9 เขตดุสิต กรุงเทพมหานครที่มา : จาก กองโครงการชุมชน 2 ฝายโครงการพิเศษ สํานักงาทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย271


2) ขอบเขตทางดานประชากรในการศึกษาครั้งนี้ จะทําการศึกษาทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน บริเวณชุมชนสุโขทัยซอย 9 โดยจะเนนศึกษาทางดานผูอยูอาศัยเปนหลัก สําหรับแนวนโยบาย ความคิดเห็นของผูมีสวนที่เกี่ยวของอื่น ๆ เปนสวนประกอบ โดยดานผูอยูอาศัยจะศึกษาเปน 2 กลุม คือ กลุมผูเชาตรงหรือทายาทผูเชาตรงและกลุมผูเชาชวง ซึ่งกลุมผูเชาชวงจะศึกษาเฉพาะสภาพการอยูอาศัย สังคม เศรษฐกิจ ความคิดเห็นเบื้องตนในการรับทราบโครงการพัฒนาที่อยูอาศัยภายในชุมชนสุโขทัยซอย 9 และความพรอมในการพัฒนาที่อยูอาศัยแตยังไมทําการสัมภาษณในเรื่องความตองการ ความคิดเห็น และทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัย ทั้งนี้ เพราะผูวิจัยมีขอจํากัดในเรื่องเวลาที่ทําการศึกษาวิจัย ประกอบกับในสวนของความคิดเห็นในเรื่องนี้อาจจะตองกําหนดตัวแปร เงื่อนไข และรูปแบบที่แตกตางออกไปจากกลุมผูเชาตรงและทายาทผูเชาตรงดวยรูปแบบวิธีการดําเนินการปรับปรุงชุมชนแออัดในอดีต (การเคหะแหงชาติ, 2536)- การปรับปรุงที่อยูอาศัยในที่ดินเดิม (Upgrading) เปนวิธีการดําเนินการปรับปรุงสภาพที่อยูอาศัยของผูอยูอาศัยในชุมชนแออัดใหดีขึ้น โดยการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางกายภาพ เชน ทางเดินเทา ทางระบายน้ําระบบสาธารณูปการ ตลอดทั้งการปรับปรุงดานเศรษฐกิจและสังคม โดยชุมชนสามารถที่จะปรับปรุงไดตองเขาหลักเกณฑตามที่การเคหะแหงชาติกําหนด- การยายชุมชนไปอยูในที่ใหม (Slum Relocation) เปนการยายชุมชนแออัดไปตั้งอยูในที่ใหม โดยการเคหะแหงชาติเปนตัวกลางในการพัฒนาที่อยูอาศัยใหมใหผูอยูอาศัยไดซื้อที่ดินเปนกรรมสิทธิ์หรือไดเชาระยะยาวเจาของที่ดินที่ไดรับประโยชนจากที่ดินเดิมจะตองมีสวนรวมในการรับภาระดวย การเคหะแหงชาติ จะแบงแปลงพัฒนาที่ดินและจัดสาธารณูปโภคเทาที่จําเปน ตลอดทั้งพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคม ผูอยูอาศัยตองผอนชําระคาที่ดินและคาพัฒนาที่ดินใหการเคหะแหงชาติหรือสถาบันการเงินตอไป- การประสานประโยชนในที่ดิน (Land Sharing) เปนการแบงปนที่ดินกันระหวางเจาของที่ดินกับผูอยูอาศัย โดยการเคหะแหงชาติจะเขาไปเปนตัวกลางเจรจาตอรองกับเจาของที่ดินใหแบงที่ดินบางสวนเพื่อขายใหกับผูอยูอาศัยหรือใหเชาระยะยาว เพื่อเจาของที่ดินจะไดใชที่ดินในสวนที่ตองการไปทําประโยชนอยางอื่นไดจากนั้นการเคหะแหงชาติจะนําที่ดินมาจัดวางผังแบงแปลงใหกับผูอยูอาศัยไดเปนกรรมสิทธิ์หรือเชาในระยะยาวปรับปรุงสาธารณูปโภคสาธารณูปการ พัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม และใหผูอยูอาศัยผอนชําระคาที่ดินกับการเคหะแหงชาติหรือสถาบันการเงินที่สนับสนุนโครงการตอไป- การปรับผังและแบงแปลงที่ดินในที่ดินเดิม (Slum Reblocking) ในชุมชนที่มีปญหาการครอบครองที่ดินหรือตองการปรับสภาพการใชที่ดินของชุมชนใหม การเคหะแหงชาติจะเขาไปเปนตัวกลางเพื่อใหผูอยูอาศัยไดมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน โดยการขอซื้อจากเจาของที่ดินหรือเชาระยะยาว จากนั้นก็จะเขาไปทําการแบงแปลงที่ดินและใหกรรมสิทธิ ์ผูอยูอาศัยไดครอบครองที่ดินโดยยึดหลักวาใครอาศัยอยูตรงไหนก็ใหอยูตรงนั้น หรือขยับเพียงบางสวนเทาที่จําเปนจริง ๆเพื่อใหเกิดความเดือดรอนนอยที่สุด และทําการปรับปรุงระบบสาธารณูปการใหดีขึ้นตลอดจนชวยเหลือแนะนําเกี่ยวกับการออกแบบปรับปรุงที่อยูอาศัยรวมทั้งพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคมโดยใหผูอยูอาศัยผอนชําระคาที่ดินกับการเคหะแหงชาติหรือสถาบันการเงินที่สนับสนุนโครงการตอไป272


- การรื้อถอนและสรางใหมในที่ดินเดิม (Reconstruction) เปนการปรับปรุงสภาพชุมชนที่เสื่อมโทรมโดยการรื้อและสรางที่อยูอาศัยขึ้นใหมในพื้นที่เดิมและใหผูอยูอาศัยมีกรรมสิทธิ์ในการเชาซื้อหรือเชาระยะยาวตอไป- การจัดรูปที่ดินทั้งบริเวณ (Land Readjustment) ในชุมชนที่จะตองมีการปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคหลักของรัฐ หรือในชุมชนที่จะตองจัดการใชที่ดินใหม การเคหะแหงชาติจะเขาไปเจรจากับเจาของที่ดินและผูอยูอาศัย โดยจะประสานกับแผนพัฒนาระบบสาธารณูปโภคของทองถิ่น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหการพัฒนาสาธารณูปโภคได บรรลุเปาหมาย ในขณะเดียวกันเจาของที่ดินไดมีโอกาสพัฒนาที่ดินของตน และผูอยูอาศัยไดมีที่อยูอาศัยอยางถาวรอีกดวย โดยหลักการนี้จะเปนไปไดดวยการประสานประโยชนเทานั้นแนวความคิดที่เกี่ยวของการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน (อนันต ลัคนหทัย, มปป.)แนวคิดเกี่ยวกับการระดมประชาชนใหมีสวนรวมในการพัฒนาประชาชนเองนั้นเปนแนวความคิด พื้นฐานของวิธีการพัฒนาชุมชน คือ การชวยใหประชาชนสามารถชวยตนเองได ซึ่งกลาวไดวาเปนหัวใจของการพัฒนากลาวคือ ประชาชนจะตองชวยกันรวมมือในการเปนผูกระทําการพัฒนาตนเอง มิใชเปนแตเพียงผูรับการพัฒนาเทานั้น ทั้งนี้เพราะผูกระทําการพัฒนาเปนผูไดรับผลโดยตรงจากการพัฒนาคือพัฒนาตัวเองไปดวยนอกเหนือไปจากนั้นยังทําใหเกิดการพัฒนาอยางกวางขวางในชุมชนนั้นการมีสวนรวมเกิดจากแนวความคิดสําคัญ 3 ประการคือ1. ความสนใจและความหวงกังวลรวมกัน ซึ่งเกิดจากความสนใจและความหวงกังวลสวนบุคคลซึ่งบังเอิญพองตองกันกลายเปนความสนใจและหวงกังวลรวมกันของสวนรวม2. ความเดือดรอนและความไมพึงพอใจรวมกันที่มีตอสถานการณที่เปนอยูนั้นผลักดันใหเกิดการรวมกลุม วางแผน และลงมือทํารวมกัน3. การตกลงรวมกันที่จะเปลี่ยนแปลงกลุมหรือชุมชนไปในทิศทางที่พึงปรารถนาการตัดสินใจรวมกันนี้จะตองรุนแรงมากพอที่จะทําใหเกิดความริเริ่มกระทําที่สนองตอบ ความเห็นชอบของคนสวนใหญที่เกี่ยวของกับกิจกรรมนั้นโดยมีรูปแบบการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนอาจจําแนกออกไดเปน 3 ประการ ตามลักษณะการมีสวนรวมดังนี้1. การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยตรง (Direct participation) โดยฝายองคกรจัดตั้งของประชาชน(Inclusive Organization) การรวมกลุมของชาวบานในการพัฒนาหมูบาน2. การที่ประชาชนมีสวนรวมทางออม (Indirect participation) โดยผานองคกรผูแทนของประชาชน(Representative organization) เชน กรรมการของกลุมตาง ๆ ในชุมชน3. การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยการเปดโอกาสให (Open participation) โดยผานองคกรที่ไมใชผูแทนของประชาชน (Non-representative organization) อาจเปนสถาบันหรือหนวยงานที่เชิญชวนหรือเปดโอกาสใหประชาชน มีสวนรวมเมื่อไรก็ไดทุกเวลาการมีสวนรวมโดยตรง273


วิธีการศึกษาผูศึกษาไดแบงขั้นตอนการศึกษาออกเปน 4 ขั้นตอนและมีวิธีการศึกษาดังนี้1) การศึกษาขอมูลเบื้องตนที่ไดจากสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย , สํานักงานเขตดุสิตในดานนโยบาย ระเบียบขอบังคับ และกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ประวัติของที่ดิน และขอมูลชุมชน ตลอดจนทําการสํารวจขอมูลชุมชนเบื้องตนผานกระบวนการมีสวนรวมจากกลุมที่มีความพรอมในการพัฒนา (โดยคัดเลือกจากสมาชิกกลุมออมทรัพยโครงการบานมั่นคง) เพื่อสะทอนขอมูลดานสังคม เศรษฐกิจ ปญหาทางกายภาพและที่อยูอาศัย โดยไดนําขอมูลที่กลาวมาทั้ง 2 สวน มาทําการสรุปเพื่อเปนขอมูลในการสัมภาษณความคิดเห็นของผูมีประสบการณตอทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนตอไป2) การสัมภาษณผูมีประสบการณโดยคัดเลือกจากหนวยงานที่มีประสบการณทางดานการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน จากนั้นไดคัดเลือกบุคลากรในหนวยงานที่มีความรูและความประสบการณในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน (ชุมชนแออัด) มาทําการสัมภาษณเพื่อขอความคิดเห็นตอทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนบริเวณชุมชนสุโขทัยซอย 9 โดยความคิดเห็นที่ไดจากผูมีประสบการณ ผูศึกษาไดทําภาพประกอบเพื่อใหงายตอการตอบแบบสัมภาษณทางดานความคิดเห็นตอการพัฒนที่อยูอาศัยและชุมชนจากผูอยูอาศัย3) การสัมภาษณผูอยูอาศัยภายในชุมชนสุโขทัยซอย 9 เพื่อใหไดขอมูลทางดานเศรษฐกิจ สังคม ปญหาทางดานกายภาพและที่อยูอาศัย ตลอดจนความคิดเห็นตอการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน (ในการสัมภาษณความคิดเห็นตอการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน จะทําการสัมภาษณเฉพาะผูเชาตรงหรือทายาทผูเชาตรง เทานั้น)4) การวิเคราะหและสรุปผลการศึกษาสภาพทั่วไปของชุมชนสุโขทัยซอย 91) ขอมูลทางดานกายภาพ พบวา ชุมชนสุโขทัยซอย 9 มีที่ตั้งอยูบนเนื้อที่ 12 ไร โดยมีทางเขา-ออกชุมชน 2 ทาง ไดแก ทางดานถนนสุโขทัย และ ถนนราชวิถี โดยสภาพถนนภายในซอย(ถนนหลัก) มีความกวางประมาณ 5 – 4 เมตร และสภาพถนนซอยยอยมีความกวางประมาณ 2 – 4 เมตร (ภาพประกอบที่ 1.2).ภาพที่ 1.2 : ภาพแสดงทางเขา-ออกและสภาพถนนภายในชุมชนที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน274


อีกทั้งยังมีระบบสาธารณูปโภค เชน ไฟฟา ประปา ตูโทรศัพท หัวแดงดับเพลิง ทอระบายน้ํา ไฟทางฯลฯ และระบบสาธารณูปการ เชน รานคา สถาบันกวดวิชา ศูนยเด็กเล็กกอนวัยเรียน ศูนยสาธารณสุขชุมชน ฯลฯ(ภาพประกอบที่ 1.3)ภาพที่ 1.3 : ภาพแสดงระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการภายในชุมชนที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน2) ขอมูลทางดานที่อยูอาศัย พบวา มีผูอยูอาศัยในชุมชนทั้งสิ้นจํานวน 467 คน 165 หลังคาเรือน โดยสถานะของผูอยูอาศัยสามารถ แบงไดเปน 2 กลุม คือ1. กลุมผูเขาตรงหรือทายาทผูเชาตรงที่มีสัญญาเชาที่ดินกับสํานักงานทรัพยสินฯ จํานวน 114หลังคาเรือน2. กลุมผูเชาชวงหรืออื่น ๆ ที่ไมมีสัญญาเชาที่ดินกับสํานักงานทรัพยสินฯ จํานวน 51 หลังคาเรือนอีกทั้งลักษณะของสิ่งปลูกสราง สวนใหญเปนบานครึ่งตึกครึ่งไม 2 ชั้น และบานไม 2 ชั้น มีการอยูอาศัยและมีอายุการใชงานไมต่ํากวา 30 ป (ภาพประกอบที่ 1.4) การใชประโยชนสวนใหญเปนบานพักอาศัย(แผนภูมิประกอบที่ 1.1) โดยสรุปวา ผูอยูอาศัยและที่อยูอาศัยในชุมชนมีความหนาแนนตอครัวเรือนสุทธิ 3.5 คนตอครัวเรือน และมีความหนาแนนสุทธิตอไร จํานวน 38 คนตอไรภาพที่ 1.4 แสดงลักษณะสิ่งปลูกสรางภายในชุมชน แผนภูมิที่ 1.1 แสดงการใชประโยชนของที่อยูอาศัยที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน ที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน275


3) ขอมูลดานเศรษฐกิจ พบวา ผูอยูอาศัยสวนใหญมีรายไดระดับปานกลาง ระดับรายไดตอครัวเรือนเพียงพอตอรายจายไมมีหนี้สินและมีสิ่งอํานวยความสะดวกคอนขางครบ ประกอบอาชีพคาขายและรับจางทั่วไป รองลงมา เปนขาราชการ และพนักงานบริษัท ตามลําดับ โดยมีลักษณะการเดินทางไปทํางานดวยการเดิน หรือ จักรยาน เปนหลัก (แผนภูมิประกอบที่ 1.2 และ 1.3)แผนภูมิที่ 1.2 : ภาพแสดงรายไดของผูอยูอาศัย แผนภูมิที่ 1.3 ภาพแสดงรายจายของผูอยูอาศัยที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน ที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัต4) ขอมูลดานสังคม พบวา ผูอยูอาศัยสวนใหญมีความสัมพันธที่ดีตอกัน มีการจัดกิจกรรมในชุมชนเปนประจําตามวันสําคัญตาง ๆ เชน วันขึ้นปใหม , วันเด็ก , วันพอ-วันแม ฯลฯ เพื่อเชื่อมความสัมพันธของคนภายในชุมชน โดยมีคณะกรรมการชุมชนเปนผูจัดงานและของงบประมาณสนับสนุนจากหนวยงานราชการ(ภาพที่ 1.5 ประกอบ)ภาพที่ 1.5 : ภาพกิจกรรมที่เชื่อมความสัมพันธคนผูอยูอาศัยในชุมชนที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตนปญหาของที่อยูอาศัยและชุมชน1) ปญหาทางดานภายภาพ พบวา ปญหาสวนใหญของชุมชนเกิดจากสภาพถนนที่คับแคบมีการจอดรถหรือตั้งสิ่งของรุกล้ําทางสัญจรทําใหยากตอการสัญจรโดยรถยนตภายในชุมชน เนื่องจากถนนหลักที่ใชสัญจรมีความกวางประมาณ 5 เมตร รถยนตสามารถสัญจรไดทางเดียว จึงเปนปญหาใหญของชุมชน สวนปญหารองลงมาคือ ขยะและไมมีพื้นที่สวนกลางในการทํากิจกรรมของชุมชน ซึ่งในงานเทศกาลตาง ๆ ชุมชนจะทําการปดถนนภายในชุมชนและตั้งเตนทเพื่อจัดงาน (ภาพประกอบที่ 1.6 และ แผนภูมิประกอบที่ 1.4)276


ภาพที่ 1.6 แสดงลักษณะปญหาทางดานกายภาพ แผนภูมิที่ 1.4 แสดงรอยละของปญหาทางภายภาพที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน ที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน2) ปญหาทางดานที่อยูอาศัย พบวา สวนใหญมีปญหาของวัสดุตัวบานชํารุดเนื่องจากการเสื่อมสภาพของวัสดุ เชน ฝาบานที่ทําจากไม เกิดการผุผังจากปลวก และการเสื่อมสภาพของไม รองลงมาคือปญหาการถายเทของอากาศภายในบาน อีกทั้งยังมีปญหาความแออัดของที่อยูอาศัยที่ปลูกสรางที่ติดกันมากจนเกิดปญหาความแออัดและเสี่ยงตอการเกิดเพลิงไหมได (ภาพประกอบที่ 1.7 และ แผนภูมิประกอบที่ 1.5)ภาพที่ 1.7 แสดงลักษณะปญหาที่อยูอาศัย แผนภูมิที่ 1.5 แสดงรอยละของปญหาดานที่อยูอาศัยที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน ที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตนความคิดเห็นของผูมีประสบการณตอการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนในการสัมภาษณความคิดเห็นของผูมีประสบการณนั้น ผูศึกษาไดสํารวจขอมูลเบื้องตนจากสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย สํานักงานเขตดุสิต และหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในดานนโยบาย ระเบียบขอบังคับ กฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ตลอดจนการสํารวจขอมูลดานเศรษฐกิจ สังคม ปญหาทางกายภาพและที่อยูอาศัยในปจจุบัน ผานกิจกรรมกระบวนการมีสวนรวมเพื่อเปนขอมูลเบื้องตนที่บงชี้สภาพทั่วไปของชุมชนเนโยบาย ระเบียบขอบังคับ กฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ที่เปนโอกาสและขอจํากัดตอการพัฒนาจากนั้น ไดทําการสัมภาษณผูมีประสบการณจากหนวยงานและสถาบันตาง ๆ ที่มีความเชี่ยวชาญทางดานการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน โดยผูวิจัยไดคัดเลือก277


1. คุณสุวมา เนาวสูงเนิน (การเคหะแหงชาติ) โดยคุณสุวมามีประสบการณการทํางานดานการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนตั้งแตป พ.ศ. 2525 จนถึงปจจุบัน2. คุณดนุช อิศรเสนา ณ อยุธยา และ คุณพิสิฐพงศ พัวพานิช (สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ซึ่งทั้ง 2 ทานมีประสบการณทางดานการจัดประโยชนอสังหาริมทรัพย และการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน เชน โครงการคลองไผสิงโต โครงการสามยอด และโครงการบานมั่นคง ในปจจุบัน3. ร.ศ.มานพ พงศทัต และ ร.ศ.ดร.ชวลิต นิตยะ (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) ซึ่งทั้ง 2 ทาน เปนอาจารยที่มีประสบการณทางดานการจัดการอสังหาริมทรัพยและที่อยูอาศัย , สถาปตยกรรมศาสตร และเทคโนโลยีการกอสรางที่เหมาะสม โดยทั้ง 2 ทานยังคงเปนอาจารยผูทรงคุณวุฒิอยูในภาควิชาเคหการคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิยาลัย4. คุณอภิชัย กาบทอง (สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) ) เนื่องจากมีประสบการณการทํางานดานการออกแบบและจัดผังชุมชนแออัด การออกแบบแปลนบานพักอาศัยในชุมชนแออัด ที่มีความยากในขั้นตอนการทํางานและตองใชศาสตรตางๆ มาประยุกตใช โดยนายอภิชัยเปนสถาปนิกชุมชนซึ่งในขั้นตอนการออกแบบจะตองไดผังชุมชนและรูปแบบที่อยูอาศัยที่ผานกระบวนการมีสวนรวมจากผูอยูอาศัยในการออกแบบดวย จึงทําใหนายอภิชัยฯเปนสถาปนิกชุมชนที่มีประสบการณทางดานการออกแบบผังและที่อยูอาศัยในชุมชนแออัดผานโครงการบานมั่นคงที่มีโครงการอยูทั่วประเทศโดยผูมีประสบการณที่กลาวมาไดแสดงความคิดเห็นโดยการจัดอันดับทางเลือกในการพัฒนาวาทางเลือกใดควรเลือกทําการพัฒนาเปนอันดับแรกและรองลงมา ตามบริบทของนโยบาย กฎหมาย และ สภาพชุมชนในปจจุบัน (ตารางประกอบที่ 1.1)ตารางที่ 1.1 : แสดงการสัมภาษณความคิดเห็นตอทางเลือกจากผูมีประสบการณที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน278


ความคิดเห็นของผูอยูอาศัยตอทางเลือกตาง ๆจากแนวคิดของผูมีประสบการณตอทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน ผูศึกษาไดจัดทําภาพประกอบเพื่อใหงายและเกิดความเขาใจตอการสัมภาษณผูอยูอาศัยดานความคิดเห็นตอการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน (ภาพประกอบที่1.8 – 1.10) โดยไดสัมภาษณผูอยูอาศัยในชุมชน (ผูเชาตรงหรือทายาท) พบวาผูอยูอาศัยตองการเลือกรูปแบบการพัฒนาเพียงรูปแบบเดียวมากกวาการเลือกรูปแบบการพัฒนาที่ผสมผสานโดยมีลําดับขั้นตอน โดยมีรายละเอียดของแตละทางเลือกดังนี้1) การปรับปรุงที่อยูอาศัย (Upgrading) ผูอยูอาศัยมีแนวคิดตอแนวทางการพัฒนาในรูปแบนี้ เปนจํานวนมาก เนื่องจากสามารถทําไดงาย และมีความเห็นวาปรับปรุงที่อยูอาศัยในที่ดินเดิม โดยใหมีสภาพที่มั่นคงถาวรถูกตองตามเทศบัญญัติ โดยเห็นวา ควรปรับปรุงสวนที่ชํารุดของตัวบานเปนอันดับแรกแลวจึงทําการทาสีปรับปรุงซอมแซมบางสวนที่ชํารุดเพียงเล็กนอย โดยมีคาใชจายในการปรับปรุงที่อยูอาศัย เปนเงินอยูในชวงไมเกิน 50,000 – 100,000 บาทภาพที่ 1.8 : แสดงรูปภาพตัวอยางการปรับปรุงที่อยูอาศัย (Upgrading)ที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน2) การจัดผังชุมชนใหม (Reblocking) ผูอยูอาศัยมีแนวคิดตอแนวทางการพัฒนาในรูปแบบนี้ เปนอันดับรองลงมา และมีความเห็นวาตองการจัดผังชุมชนใหม โดยการรื้อบานบางสวนที่โดนผลกระทบเพื่อที่จะใหมีระบบสาธารณูปโภคและระบบสาธารณูปการที่ดีขึ้น เชน (ทางรถยนต ฟุตบาท ฯลฯ) โดยทางราชการใหงบประมาณชวยเหลือบางสวน โดยสวนใหญเห็นวาตองการพื้นที่สวนกลางสําหรับทํากิจกรรมภายในชุมชนเชนลานกีฬาเอนกประสงค อาคารเอนกประสงค ศูนยเด็กเล็กกอนวัยเรียน และอื่น ๆ เชน ลานจอดรถยนต ศูนยสาธารณสุข และสถานีตํารวจ อีกทั้งตองการขยายถนนภายในซอยใหสะดวกตอการสัญจร279


ภาพที่ 1.9 : แสดงรูปภาพตัวอยางการจัดผังชุมชนใหม (Reblocking)ที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน3) การประสานประโยชนในที่ดิน (Upgrading) ผูอยูอาศัยมีแนวคิดตอแนวทางการพัฒนาในรูปแบบนี้ เปนอันดับสุดทาย และมีความเห็นวาควรใหมีการอยูอาศัยในที่ดินเดิมในพื้นที่บางสวนและยอมคืนพื้นที่บางสวนใหทางราชการไปดําเนินการพัฒนาในรูปแบบสาธารณประโยชน โดยสวนใหญเห็นวาตองการนําพื้นที่ในสวนที่เจาของบานไมไดอยูอาศัยในพื้นที่และปลอยใหบุคคลอื่นเชาชวงทั้งหลังมาดําเนินการ รองลงมาเห็นวาควรนําพื้นที่เฉพาะสวนตามรูปแบบผังพัฒนาแบบมีสวนรวมจากผูอยูอาศัยภายในชุมชน และนําพื้นที่ในสวนของผูอยูอาศัยที่พรอมจะคืนพื้นที่บางสวนเพื่อการพัฒนาภาพที่ 1.10 : แสดงรูปภาพตัวอยางการประสานประโยชนในที่ดิน (Land Shraing)ที่มา : นายอิทธิกร อรุโณรัตน280


สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะจากผลการศึกษา พบวา ชุมชนสุโขทัยซอย 9 มีลักษณะเฉพาะพิเศษเนื่องจากเปนชุมชนที่ใกลกับเขตพระราชฐาน (พระราชวังสวนจิตรลดา) เปนอยางมาก ประกอบกับผูอยูอาศัยในชุมชนยังไดอาศัยอยูในที่ดินของพระมหากษัตริยโดยความดูแลของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย อีกทั้งผูอยูอาศัยในชุมชนบางคนทํางานเปนขาราชบริพาร หรือเปนอดีตขาราชบริพารในพระราชวังสวนจิตรลดาอีกดวย ประกอบกับสภาพที่อยูอาศัยและกายภาพในชุมชนสุโขทัยซอย 9 ที่มีความเสื่อมโทรมและแออัด จึงทําใหเห็นความสําคัญ ที่จะตองมีการจัดทําโครงการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนบริเวณชุมชนสุโขทัยซอย 9 ในลักษณะโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปนตนแบบการพัฒนาที่อยูอาศัยในชุมชนบนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินฯ โดยใหผูอยูอาศัยเขามามีสวนรวมและมีบทบาเปนแกนนําหลักในการพัฒนา โดยสํานักงานทรัพยสินฯ และหนวยงานราชการตาง ๆ เปนเพียงผูสนับสนุนงบประมาณตามความเหมาะสมโดยลักษณะของโครงการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนเฉลิมพระเกียรตินี้ สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ควรเปนหนวยงานหลักในการจัดทําโครงการ อีกทั้งยังคงตองหาภาคีหรือหนวยงานราชการตาง ๆที่มีประสบการณและความเชี่ยวชาญเฉพาะดานในการจัดทําโครงการพัฒนาผานกระบวนการมีสวนรวมจากผูอยูอาศัย เชน พอช. , สํานักงานเขต , การเคหะแหงชาติ ฯลฯ มารวมพัฒนา โดยเบื้องตนสํานักงานทรัพยสินฯอาจจะอาศัยขอมูลที่ไดจากการศึกษาครั้งนี้มาประกอบการจัดทําโครงการฯ ซึ่งผลจากการศึกษา พบวา1. ผูอยูอาศัยสวนใหญมีสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ดี ถึงแมวาจากการสัมภาษณจะพบวาผูอยูอาศัยตองการใหสํานักงานทรัพยสินฯ ชวยเหลือทางดานการเงินก็ตาม ฉะนั้นสํานักงานทรัพยสิน ฯควรคัดเลือก ผูที่เดือดรอนทางดานการเงินจริง ๆ ในดานการใหความชวยเหลือตอไป2. ผูอยูอาศัยสวนใหญมีประเด็นปญหาในการอยูอาศัยที่สําคัญซึ่งจะสามารถนําประเด็นดังกลาวไปทําใหผูอยูอาศัยตื่นตัวและเห็นถึงความสําคัญของปญหา โดยในที่สุดคาดวาจะสามารถนําผูอยูอาศัยมารวมพัฒนาแบบมีสวนรวมได โดยประเด็นที่สําคัญ คือ สภาพของที่อยูอาศัยสวนใหญเปนบานไม 2 ชั้น และบานครึ่งตึกครึ่งไม 2 ชั้น ที่ชํารุดทรุดโทรมและเสื่อมสภาพ อีกทั้งปญหาทางดานกายภาพที่สําคัญคือการสัญจรภายในชุมชน ที่ถนนหลักและถนนรองมีความคับแคบ ทําใหเกิดความไมสะดวกในการสัญจร และหากรณีเกิดเพลิงไหม ก็จะทําใหลําบากในการระงับเหตุไดทันเวลา อีกทั้งประเด็นที่ชุมชนยังไมมีพื้นที่สวนกลางสําหรับจัดกิจกรรมตามประเพณีหรือวันสําคัญตาง ๆ ที่ผูอยูอาศัยในชุมชนสวนใหญรวมกิจกรรมเปนประจํา ก็เปนประเด็นที่สําคัญดวย3. ในสวนของทางเลือกในการพัฒนาที่อยูอาศัยเฉพาะในสวนของความคิดเห็นในการพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนบริเวณชุมชนสุโขทัยซอย 9 จากการสัมภาษณผูมีประสบการณในหนวยงานและองคกรตาง ๆที่เกี่ยวของ พบวา ควรดําเนินการจัดทําผังชุมชนใหมพรอมทั้งปรับปรุงสภาพที่อยูอาศัยของผูอยูอาศัยที่มีสภาพที่ชํารุดและทรุดโทรม และนําไปสูการประสานประโยชนในที่ดินเพื่อนํามาจัดเปนพื้นที่สวนกลางสําหรับการจัดกิจกรรมตาง ๆ และจากการสัมภาษณผูอยูอาศัย (เฉพาะในสวนของผูเชาตรงหรือทายาทผูเชาตรง) พบวาสวนใหญยังตองการปรับปรุงที่อยูอาศัยในที่ดินเดิมใหมีความมั่นคงแข็งแรง ตลอดจนการจัดผังชุมชนใหม ใหมีความเปนระเบียบเรียบรอย มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่ดี281


จากการศึกษา ผูศึกษามีขอเสนอแนะในการจัดทําโครงการฯ ในระยะสั้นดังนี้ 1) สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยใชผลการศึกษานี้ เปนขอมูลเพื่อการวางแผนและพิจารณาดําเนินการในขั้นตอนตอไป2) มีการระดมความคิดเห็นรวมกันระหวางผูที่เกี่ยวของเพื่อทําการวิเคราะหขอดี-ขอเสีย จุดแข็ง-จุดออนของแตละทางเลือกและโอกาสในการพัฒนาที่เหมาะสมใหละเอียดยิ่งขึ้น 3) ดําเนินการการพัฒนาโดยกระบวนการมีสวนรวมแบบคอยเปนคอยไป และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง อีกทั้งในระยะยาว สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยควรพิจารณาพื้นที่ตอเนื่องกับชุมชนสุโขทัยซอย 9 ในลักษณะทั้งบล็อกโดยเฉพาะที่เปนพื้นที่ของสํานักงานทรัพยสินฯ เพื่อใหเกิดการพัฒนาแบบบูรณาการ ในพื้นที่ใกลกับพระราชวังสวนจิตรลดาตอไป282


บรรณานุกรมการเคหะแหงชาติ ฝายนโยบายและแผน. แผนงานพัฒนาที่อยูอาศัยและการแกไขปญหาชุมชนของการเคหะแหงชาติในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 (2535-2539). กรุงเทพมหานคร,2536.การเคหะแหงชาติ ฝายนโยบายและแผน. “แผนงานพัฒนาที่อยูอาศัยและแกไขปญหาชุมชนแออัด,” 2545 .กรุงเทพมหานคร กองวิชาการ. ขอมูลชุมชน กรุงเทพมหานคร, กรุงเทพมหานคร, 2544.สํานักงานเขตดุสิต ฝายพัฒนาชุมชน. ขอมูลจัดตั้งชุมชน, 2535สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย. คูมือบุคลากรของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย,กรุงเทพมหานคร, 2544.อนันต ลัคนหทัย. “การพัฒนาชุมชนเชิงกลยุทธ(Strategic Ccmmunity Development)” , เอกสารในโปรแกรมวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏเชียงราย.283


แนวทางการแกปญหาการปลูกสรางที่อยูอาศัยเมื่อวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นกวาอัตราปกติPROBLEM SOLVING GUIDELINES FOR THE RISING COSTOF BUILDING AND CONSTRUCTION MATERIALSนายสิงหา สิงหรานนทหลักสูตรปริญญาเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอบทความนี้เปนผลการศึกษาของวิทยานิพนธ เรื่อง แนวทางการแกปญหาการปลูกสรางที่อยูอาศัยเมื่อวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นกวาอัตราปกติ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาสถานการณการใหเงินกูเพื่อปลูกสรางบานพักอาศัยของธนาคารกสิกรไทย ในชวงที่ราคาวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นกวาอัตราปกติ โดยไดศึกษาถึงปญหาที่เกิดขึ้นกับผูกูเงินเพื่อปลูกสรางบานพักอาศัยที่จะมีผลกระทบตอธนาคารกสิกรไทย ตอผูรับเหมากอสราง รวมทั้งศึกษาแนวทางการแกปญหา เพื่อที่จะเปนแนวทางหรือนโยบายในอนาคตสําหรับธนาคารกสิกรไทยสืบเนื่องจากในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550 ตอเนื่องถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 ราคาวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นมากกวาอัตราปกติ ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากราคาน้ํามันมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง ผูวิจัยจึงอยากจะศึกษาถึงแนวทางการแกปญหาของผูกูเงินจากธนาคารกสิกรไทย มาทําการปลูกสรางบานพักอาศัยในชวงเวลาดังกลาว โดยขอบเขตของการวิจัยนี้คัดเลือกเฉพาะผูกูเงินไมเกิน5,000,000 บาท และทําการปลูกสรางบานพักอาศัยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมทั้งกลุมผูรับเหมาที่รับจางปลูกสรางบานพักอาศัยใหกับผูกูโดยการศึกษาเบื้องตนไดเขาสัมภาษณผูบริหารธนาคารกสิกรไทย ถึงนโยบายการปลอยสินเชื่อประเภทเงินกูเพื่อปลูกบานพักอาศัย และไดคัดเลือกกลุมผูกูจํานวน 35 ราย จากจํานวนผูกูทั้งสิ้น 91 ราย มีกระบวนการวิจัยโดยไปสังเกตการปลูกสรางบานพักอาศัย ณ สถานที่กอสราง พรอมทั้งสัมภาษณผูกูเงินถึงปญหาที่ราคาวัสดุกอสรางสูงขึ้นมากมีวิธีแกปญหาอยางไร รวมทั้งสัมภาษณผูรับเหมาถึงปญหาและแนวทางแกไข เมื่อรวบรวมผลจากการสัมภาษณแลวรวบรวมขอมูลดังกลาวมาสัมภาษณเจาหนาที่ที่ทําหนาที่อนุมัติเงินกูของธนาคารกสิกรไทย รวม 5 คนผลการศึกษาในเบื้องตนพบวา 1. กลุมผูกูที่ใชผูรับเหมาที่เปนสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสรางบานจะไมประสบปญหาละทิ้งงาน หรือทํางานลาชา 2. ผูกูเงินที่กูเงินมีสัดสวนเงินกูตองบประมาณการกอสรางในชวง 80-100% เปนกลุมที่มีเงินออมนอย ตองการขอกูเงินเพิ่มเนื่องจากราคาวัสดุกอสรางสูงขึ้นกวาเดิมแตดวยศักยภาพของการผอนชําระที่ไมสามารถที่จะขอกูเพิ่มได จึงทําการลดคุณภาพของราคาวัสดุตางๆ เชนกระเบื้องปูพื้น หรือวัสดุพื้นผิว ฯลฯ 3. ผูกูเงินที่กูเงินมีสัดสวนเงินกูตองบประมาณการกอสรางในชวงต่ํา284


กวา 80% เปนกลุมที่มีเงินออมมาก จะทําการแกปญหาโดยนําเงินออมมาชําระคาวัสดุกอสรางที่สูงขึ้นจากเดิมเพื่อใหไดมาของรูปแบบบานตามวัตถุประสงคเดิมขอเสนอแนะและแนวทางการแกปญหาในอนาคตของธนาคารกสิกรไทย 1. ควรจัดทําเปนเงื่อนไขที่ผูกูเงินจะตองใชผูรับเหมาที่เปนสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน 2. ผูกูจะตองลงทุนคากอสรางไมต่ํากวา 20% 3. การแบงงวดงานการเบิกถอนเงินกูในทุกๆงวดตองคํานึงถึงสัดสวนเงินกูตอมูลคางาน จะทําใหยอดการเบิกถอนเงินกูหมดเมื่อผลงานการกอสรางเสร็จความเปนมา และความสําคัญของปญหา :ธนาคารกสิกรไทยเปนสถาบันการเงินที่มุงมั่นในการพัฒนาองคกรและพัฒนาผลิตภัณฑทางการเงินใหมอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหบริการที่เปนเลิศแกลูกคา ภายใตคําขวัญของธนาคารที่วา “บริการทุกระดับประทับใจ” ดานการใหบริการที่เปนตัวทํารายไดหลักใหธนาคารกสิกรไทย คือการใหสินเชื่อ ในปจจุบันความตองการที่อยูอาศัยยังเปนสิ่งจําเปนสําหรับคนทั่วไป ธนาคารกสิกรไทยจึงตองหาผลิตภัณฑใหมๆมากระตุนลูกคาใหมาใชบริการกับธนาคารกสิกรไทย ดังเชน K-Home Loan (สินเชื่อบานกสิกรไทย) เปนผลิตภัณฑหนึ่งที่ตองการตอบสนองการใหกูยืมเพื่อซื้อหรือปลูกบานพักอาศัย โดยที่ลูกคาไมตองรอเก็บหรือสะสมเงินจนครบแลวคอยซื้อหรือปลูกบานพักอาศัย ธนาคารกสิกรไทยมีนโยบายใหลูกคาผอนระยะยาวถึง 30 ป มีดอกเบี้ยต่ํากวาการกูเพื่อเชิงพาณิชย อีกทั้งกรณีกูเพื่อทําการปลูกสรางบานพักอาศัย สามารถกูได 100% ของงบประมาณคากอสราง แตตองไมเกิน 90% ของราคาที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางแตดวยเหตุที่ในชวงคาบเกี่ยวจากไตรมาสที่ 3 ของป พ.ศ. 2550 ตอเนื่องถึงไตรมาสที่ 3 ของปพ.ศ.2551 สภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยประสบปญหาอันเนื่องจากราคาน้ํามันสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทําใหราคาวัสดุกอสรางปรับตัวขึ้นตามทิศทางราคาน้ํามัน ซึ่งยอมจะเกิดผลกระทบกับลูกคาที่ทําการกูปลูกสรางบานพักอาศัยในชวงนั้นอยางแนนอนรูปภาพที่ 1 แสดงดัชนีราคาวัสดุกอสราง ป 2550 – 255186420-2-4-6-8-10<strong>13</strong>0.9-0.5ม.ค.ก.พ.มี.ค.<strong>13</strong>2.7<strong>13</strong>4.41.4 1.3<strong>13</strong>4.6<strong>13</strong>4.80.1 0.1เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ตารางสรุปดัชนีราคาวัสดุกอสราง ป 2550 - 2551<strong>13</strong>5.60.6พ.ศ.2550<strong>13</strong>5<strong>13</strong>3.9ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย.<strong>13</strong>4.4-0.4 -0.80.4<strong>13</strong>6.91.9<strong>13</strong>91.5140.51.14.7147.1ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.151.73.1154.51.81592.9พ.ค.มิ.ย.7.2170.5175.32.81771ก.ค.ส.ค.ก.ย.พ.ศ.2551แหลงที่มา : สํานักดัชนีเศรษฐกิจการคา กระทรวงพาณิชย เดือนธันวาคม พ.ศ. 2551172.6-2.5161ต.ค.พ.ย.149.1142.4ธ.ค.-6.7 -7.4-4.5140.3200180160140120100-1.5800% = อัตราเปลี่ยนแปลงเทียบกับเดือนกอนหนาดัชนี604020285


ตามกราฟจะเห็นไดวาดัชนีราคาวัสดุกอสรางโดยเฉลี่ยในเดือนกรกฎาคม 2551 สูงขึ้นมาที่ 177.0เพิ่มขึ้นรอยละ 1.0 จาก 175.3 ในเดือนกอน และถาเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอนเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 31.1จากปญหาดังกลาวผูวิจัยจึงตองการศึกษาผลกระทบอันเกิดจากราคาวัสดุกอสรางสูงขึ้นมากกวาอัตราปกติที่มีตอผูกูเงินจากธนาคารกสิกรไทย ตอผูรับเหมากอสรางที่ทําการรับจางปลูกสรางบานพักอาศัยใหลูกคา และรวมทั้งผลกระทบตอธนาคารกสิกรไทยวัตถุประสงคของการวิจัย :ผูวิจัยตองการศึกษาถึงสถานการณการใหเงินกูของธนาคารกสิกรไทย ศึกษาปญหาที่เกิดขึ้นกับผูกูเงินเพื่อปลูกสรางบานพักอาศัย รวมทั้งผลกระทบตอธนาคารกสิกรไทย และผูรับเหมากอสรางในชวงที่ราคาวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นกวาอัตราปกติ และศึกษาแนวทางการแกปญหาของผูกูเงินและธนาคารกสิกรไทย ทั้งนี้เพื่อไปเปนประโยชนและเสนอแนะแนวทางการดําเนินงานในอนาคตของธนาคารกสิกรไทยขอบเขตของการวิจัย :ในการวิจัยนี้กลุมตัวอยางทั้งหมดคัดเลือกจากลูกคาที่มาทําการกูเพื่อปลูกสรางบานพักอาศัยกับธนาคารกสิกรไทย ผูวิจัยคํานึงถึงขอมูลของลูกคาที่ไมสามารถเปดเผยตอสาธารณชนได ผูวิจัยจึงไมสามารถเปดเผยชื่อหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่จะทําใหทราบถึงแหลงที่มาของขอมูลได แตขอมูลหรือสิ่งปลูกสรางเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจริง โดยกําหนดกลุมลูกคาที่ขอกูในวงเงินไมเกิน 5,000,000.-บาท และปลูกสรางในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล อีกทั้งทําการปลูกสรางบานพักอาศัยในชวงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550 ถึง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551กระบวนการพิจารณาเงินกู :ลูกคาที่มีความประสงคที่จะขอกูสินเชื่อเพื่อปลูกสรางบานพักอาศัยกับธนาคารกสิกรไทยนั้นสวนใหญเปนผูที่มีที่ดินที่ถือครองไวแลว ซึ่งอาจจะไดมาจากการรับมรดก หรือซื้อมาเปนเวลานานแลว โดยที่ไมจํากัดวาที่ดินดังกลาวยังคงติดจํานองเปนประกันหนี้กับธนาคารกสิกรไทยหรือไม ทั้งนี้เนื่องจากผูกูจะตองมีความสามารถพอในการที่จะขอกูเพิ่มเพื่อมาทําการปลูกสรางบานพักอาศัย หลังจากที่มีการผอนชําระคาที่ดินอยูกอนนี้แลวในเบื้องตนของการที่จะมาขอกูกับธนาคารกสิกรไทยนั้นผูกูยอมจะตองมีแนวคิดของรูปแบบบานพักอาศัยอยูกอนแลว ไมวาจะเปนบานตึกพักอาศัยชั้นเดียว หรือสองชั้น จะมีรูปแบบตามรวมสมัย(Contemporary) หรือทันสมัย (Modern style) หรือจะเปนทรงไทยประยุกต ซึ่งไมวาจะเปนรูปแบบใดผูกูจะตองใหสถาปนิกทําการออกแบบและเขียนแบบใหเรียบรอย พรอมทั้งยื่นขออนุญาตตอสํานักงานเขตระหวางรอใบอนุญาตผูกูเริ่มยื่นหลักฐานตางๆที่เปนสิ่งจําเปนที่จะใหธนาคารกสิกรไทยพิจารณาอนุมัติเงินกูเชน แบบฟอรมการขอกู (Application) สําเนาโฉนด แผนที่สังเขปแสดงตําแหนงที่ตั้งที่ดินที่ใชเปนสถานที่ปลูกบานพักอาศัย แบบพิมพเขียว สัญญาจางเหมากอสรางพรอม BOQ : Bills of Quantity สําเนาใบอนุญาตปลูกสราง (กรณีถาไดรับใบอนุญาตแลว) และเอกสารสวนตัว เชน สําเนาบัตรประชาชน สําเนาทะเบียนบาน286


สําเนาทะเบียนสมรส สําเนาการเปลี่ยนชื่อ-สกุล หนังสือรับรองเงินเดือน (กรณีมีรายไดหรือทํางานประจํา)เอกสารการเสียภาษีเงินได (กรณีทําธุรกิจสวนตัว) สําเนาบัญชี (Statement) ของธนาคารกสิกรไทยหรือธนาคารอื่นก็ได ใหยอนหลังอยางนอย 6 เดือน เมื่อเอกสารครบถวนผูกูนําไปยื่นตอธนาคารกสิกรไทย เบื้องตนธนาคารกสิกรไทยจะทําการจัดสงใหผูประเมินราคาทําการประเมินราคาที่ดิน พรอมทั้งประมาณราคาคากอสรางจากแบบพิมพเขียว เมื่อธนาคารกสิกรไทยไดรับเอกสารพรอมการประเมินราคาแลว ธนาคารกสิกรไทยจะมีหนวยงานพิจารณาอนุมัติเงินกู ที่จะวิเคราะหหรือพิจารณาวารายไดของผูกูนั้นจะมีกําลังหรือความสามารถพอที่จะผอนชําระเงินคืนใหกับธนาคารกสิกรไทยในแตละเดือนไดเทาใดซึ่งการผอนชําระเงินกูนั้นจะตองไมเกิน40%ของรายไดหรือไม และจํานวนเงินกูธนาคารกสิกรไทยพิจารณาใหไดไมเกิน 100% ของคากอสราง หรือไมเกิน 90% ของราคาที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง เชน ผูกูมีรายได 20,000 บาทตอเดือน ธนาคารกสิกรไทยจะพิจารณาการผอนตอเดือนเทากับ 8,000 บาท และเงินผอนนี้จะสามารถผอนหมดภายใน 30 ป หรืออายุผูกูไมเกิน 60 ป หรือไมเมื่อผานกระบวนการอนุมัติแลวธนาคารกสิกรไทยจะใหลูกคาเซ็นสัญญาเงินกู พรอมทั้งไปจดทะเบียนนิติกรรมทําจํานอง ณ สํานักงานที่ดิน ธนาคารกสิกรไทยจะเปนผู จัดเก็บโฉนดไวจนกวาผูกูจะชําระหนี้หมด เมื่อผานกระบวนการนิติกรรมแลวผูกูเริ่มทําการกอสราง มีผลงานการกอสรางตรงตามที่ผูรับเหมากําหนดการสงมอบ ผูกูจะทําการแจงธนาคารกสิกรไทยเพื่อขอเบิกถอนเงินกูคากอสราง ธนาคารกสิกรไทยจะจัดสงเจาหนาที่ออกไปตรวจผลงานการกอสราง และทําการพิจารณาอนุมัติเงินงวดใหผูกูนําไปชําระตอผูรับเหมา โดยจะกระทําตามขั้นตอนดังกลาวจนกวาการกอสรางจะแลวเสร็จ 100%กระบวนการวิจัย :จากที่ไดกลาวตอนตนถึงปญหาราคาวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นในชวงไตรมาสที่ 3 ปพ.ศ.2550 ถึงไตรมาสที่ 3 ของปพ.ศ.2551 นั้น ผูวิจัยไดศึกษาถึงผลกระทบและแนวทางแกไขดังกลาวที่มีตอผูกู ตอธนาคารกสิกรไทย ตอผูรับเหมากอสราง ในเบื้องตนผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) จากแฟมรายตัวของผูกู และจากฐานขอมูลดานหลักประกันของธนาคารกสิกรไทย จากขอมูลภายนอก เชน วารสารเกี่ยวกับงานกอสราง ดัชนีราคาวัสดุกอสรางขอมูลดานปฐมภูมิ (Primary Data) ผูวิจัยไดสัมภาษณผูบริหารธนาคารกสิกรไทยที่ดูแลดานการใหสินเชื่อประเภทที่อยูอาศัยวาธนาคารกสิกรไทยมีนโยบายอยางไรที่จะพิจาณาการใหสินเชื่อกับผูที่ตองการกูเงินเพื่อปลูกสรางบานพักอาศัยในชวงที่ราคาวัสดุกอสรางสูงขึ้นมากกวาในอดีตที่ผานมาในสวนของผูกูนั้นผูวิจัยไดทําการสัมภาษณ โดยตองการทราบถึงผลกระทบที่ผูกูตองประสบในชวงกําลังปลูกสรางบานพักอาศัย ทั้งนี้ผูวิจัยไดสุมคัดเลือกกลุมตัวอยางจํานวน 35 ราย จากผูกูทั้งสิ้น 91รายที่มีวงเงินกูไมเกิน 5,000,000 บาท และยังอยูระหวางการปลูกสรางบานพัก โดยผูวิจัยไดออกไปพบผูกู ณสถานที่ปลูกสราง ซึ่งมีทั้งพบตัวผูกูเอง และไมพบผูกู แตรายใดที่ไมพบไดใชวิธีโทรสอบถาม และนอกจากผลกระทบแลวูวิจัยไดสอบถามผูกูวามีวิธีใดในการแกปญหาที่เกิดขึ้น287


รวมทั้งผูรับเหมากอสรางจํานวน 35 รายที่เปนผูรับจางปลูกสรางบานพักอาศัยใหผูกู ผูวิจัยไดสัมภาษณโดยตองการทราบถึงขอมูลของผูรับเหมา เชน อยูในสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสรางบานหรือไม หรือเปนผูรับเหมากอสรางทั่วไปที่เปนหรือไมเปนนิติบุคคล ประสบการณการรับเหมา ทุนจดทะเบียน (กรณีเปนนิติบุคคล) และอุปสรรคหรือปญหาที่ราคาวัสดุกอสรางมีราคาสูงขึ้นมีผลกระทบกับตัวผูรับเหมาหรือไม และมีแนวทางแกไขอยางไรในวันที่ผูวิจัยไดไปพบผูกู ณ สถานที่ปลูกสรางนั้น ผูวิจัยไดใชวิธีการสังเกต (Observation) ถึงรูปแบบ ขนาด การใชวัสดุกอสราง ผลงานการกอสรางปจจุบัน พรอมทั้งได Sketch รายละเอียดตางๆ และถายภาพ เพื่อนํามาวิเคราะหถึงการเบิกเงินงวดกับผลงานในปจจุบันมีความสอดคลองหรือสัมพันธกันหรือไมเมื่อสอบถามผูกู ผูรับเหมากอสราง และสัมภาษณผูบริหารธนาคารกสิกรไทยแลว ผูวิจัยไดนําขอมูลทั้งหมดมาสรุป และทําการขอสัมภาษณเจาหนาที่ธนาคารที่มีหนาที่พิจารณาอนุมัติเงินกู จํานวน 5 คนการวิเคราะหขอมูล :หลังจากรวบรวมขอมูลผูวิจัยไดใชระบบคอมพิวเตอร โปรแกรม Microsoft Excel เนื่องจากมีกลุมตัวอยางไมมากนัก จึงทําการประมวลผลออกมาในรูปแบบของตาราง กราฟ รวมทั้งไดใชประสบการณในดานการประเมินราคาของผูวิจัยเองวิเคราะหถึงการเบิกถอนเงินกูของผูกูในชวงแตละเวลาวาผลงานการกอสรางกับจํานวนเงินกูที่เบิกถอนไปนั้นธนาคารกสิกรไทยมีความเสี่ยงอันเกิดจากการละทิ้งงานของผูรับเหมาหรือไม หรือแมกระทั่งหากผูกูทําการเปลี่ยนวัสดุกอสรางที่มีเกรดหรือคุณภาพต่ําลงธนาคารกสิกรไทยจะมีผลกระทบอยางไรผลการวิจัยคนพบวา :1. กลุมตัวอยางที่ใชผูรับเหมาที่เปนสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสรางบานจะไมประสบปญหาละทิ้งงาน หรือทํางานลาชา2. ผูกูเงินที่กูเงินมีสัดสวนเงินกูตองบประมาณการกอสรางในชวงรอยละ 80-100 เปนกลุมที่มีเงินออมนอย ตองการขอกูเงินเพิ่มเนื่องจากราคาวัสดุกอสรางสูงขึ้นกวาเดิม แตดวยศักยภาพของการผอนชําระที่ไมสามารถที่จะขอกูเพิ่มได จึงทําการลดเกรดของราคาวัสดุตางๆ เชน กระเบื้องปูพื้น หรือวัสดุพื้นผิว ฯลฯ3. ผูกูเงินที่มีสัดสวนเงินกูตองบประมาณการกอสรางในชวงต่ํากวารอยละ 80 เปนกลุมที่มีเงินออมมาก จะทําการแกปญหาโดยนําเงินออมมาชําระคาวัสดุกอสรางที่สูงขึ้นจากเดิมเพื่อใหไดมาของรูปแบบบานตามวัตถุประสงคเดิม4. รอยละ 30 จากกลุมตัวอยางทั้งหมด มีการกูรอยละ 100 ของงบประมาณคากอสรางพบวาในชวงการกอสรางงานโครงสรางของผูกูทุกรายธนาคารกสิกรไทยจะใหเบิกถอนเงินกูคิดเปนมูลคามากกวาผลงานที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งจะหมายถึงวาในชวงดังกลาวนี้ธนาคารกสิกรไทยมีความเสี่ยงสูง288


ขอเสนอแนะและแนวทางการแกปญหา :1. ควรจัดทําเปนเงื่อนไขที่ผูกูเงินจะตองใชผูรับเหมาที่เปนสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน2. ผูกูจะตองลงทุนคากอสรางไมต่ํากวารอยละ 20 โดยยกเวนหลักเกณฑในการกูรอยละ 100ของงบประมาณคากอสราง3. การแบงงวดงานการเบิกถอนเงินกูในทุกๆงวดตองคํานึงถึงสัดสวนเงินกูตอมูลคางาน จะทําใหยอดการเบิกถอนเงินกูหมดเมื่อผลงานการกอสรางเสร็จ289


บทคัดยอการนําเสนอบทความทางวิชาการการติดตามผลการนําระบบการกอสรางสําเร็จรูป แบบผนังรับน้ําหนักมาใชในโครงการบานจัดสรร ระดับราคาปานกลาง(The following to consequently prefabrication; load wall bearing type in moderate price housing allot)โดยนายศุภวิศท สุขวดีหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยปจจุบันการกอสรางบานจัดสรรโดยผูประกอบการอสังหาริมทรัพย มีการพัฒนาระบบและวิธีการในการกอสรางที่มีความกาวหนา มีความเหมาะสมทั้งในดานการลงทุนที่ใหผลตอบแทนเปนที่นาพอใจแกผูผลิต และนําสงผลิตภัณฑบานจัดสรรที่มีคุณภาพสูผูบริโภค ซึ่งผูประกอบการที่เปนรายใหญของธุรกิจ ใหความสนใจนําระบบการกอสรางแบบสําเร็จรูป(Prefabrication System) ดวยระบบโครงสรางแบบผนังรับน้ําหนัก (Load Bearing Wall) มาใชในการผลิตบานจัดสรรประเภทบานเดี่ยว ในระดับราคาปานกลาง ซึ่งในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปนการไปติดตามถึงผล ของการนําระบบการกอสรางแบบสําเร็จรูปมาใช ทั้งในดานของผูประกอบการ ในสวนของผลิตภัณฑและดานผูบริโภคในสวนของปญหาหลังจากการเขาอยูอาศัยจากการศึกษาพบวาผูประกอบการใหการยอมรับ ในการนําระบบการกอสรางแบบสําเร็จรูปมาใช แตตองมีการบริหารจัดการที่ดี ทั้งระบบเปนตัวรองรับ และตองมีจํานวนของการกอสรางที่มากเพียงพอที่จะคุมคาตอการลงทุนผลิตรวมถึงการมีการบริหารจัดการดานการตลาด ระหวางจํานวนของบานจัดสรรที่ผลิตออกมากับการความสามารถในการขาย ใหมีความสมดุลกัน สวนปญหาที่เกิดจากหลังการสงมอบบานใหแกผูบริโภค อันเนื่องจากการกอสรางนั้น ที่พบสวนใหญจะเปนปญหาในสวนของงานตกแตงพื้นผิว ซึ่งมีความไมเรียบรอย สวนปญหารั่วซึมหรือแตกราวจากชิ้นสวนสําเร็จรูปนั้น พบนอยมากซึ่งมักจะมาจากการติดตั้งชิ้นสวนโดยแรงานขาดความรูความเขาใจ ในดานผูบริโภคใหการยอมรับในการอยูอาศัย บานจัดสรรที่กอสรางดวยระบบกอสรางแบบสําเร็จรูป หากแตเมื่อผูบริโภครับโอนกรรมสิทธิ์และเขาอยูในบานที่กอสรางดวยระบบสําเร็จรูป พบปญหาตางๆ อันเปนผลมาจากการออกแบบพื้นที่ใชสอย ที่ถูกจํากัดดวยผนังโครงสราง ที่ไมเพียงพอตอความตองการใชสอย นํามาสูการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตอเติมพื้นที่ใชสอย ใหเพียงพอตอความตองการโดยที่ผูบริโภคไดทราบถึงเงื่อนไข ของการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ตอเติมที่ไมไดยุงเกี่ยวกับโครงสรางดั้งเดิม แตเปนการตอเติมพื้นที่ขยายออกไปทางดานขางของตัวบานโดยการแยกโครงสรางการรับน้ําหนักในสวนที่ตอเติมออกจากโครงสรางเดิมรวมถึงรับทราบถึงผลเสียหาย หากมีการทรุดตัว หรือแตกราว หรือรั่วซึม ในสวนที่ทําการตอเติมและสวนของรอยตอระหวางตัวบานกับสวนที่ทําการตอเติมขึ้นมาใหม ปญหาของการเพิ่มเติมหรือโยกยายตําแหนงของระบบไฟฟา ที่ไมสามารถทําไดตามตองการของผูอยูอาศัย เนื่องจากการฝงทอระบบไฟฟาในผนังคอนกรีตสําเร็จรูปขอเสนอแนะจากการศึกษา ในสวนของการออกแบบพื้นที่ใชสอยที่เปนสวนบริการ เชน หองครัว หองเก็บของสวนซักลาง ควรจะมีการออกแบบใหมีพื้นที่ใชสอย รูปแบบที่ เหมาะสมและเพียงพอตอการใชงาน รวมถึงการมีหนวยงานที่ใหบริการขอมูลในการตอเติมและใหบริการในแตละโครงการ ที่ครอบคลุมทั้งดานโครงสรางและงานสถาปตยกรรม290


ที่อยูอาศัยเปนสิ่งที่สําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย ที่จะปกปองมนุษยจากสภาพแวดลอมภายนอกที่มีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ สภาพของภูมิอากาศ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินจากผูไมประสงคดี ในเบื้องตน ตลอดจนเปนเครื่องแสดงถึงฐานะและความเปนตัวตนของผูเปนเจาของซึ่งตอบสนองดานประโยชนการใชสอยที่เกี่ยวของสัมพันธกับรางกาย คือสัดสวนมนุษยที่มีความเหมาะสมลงตัว และตอบสนองทางดานจิตใจ ในดานของรูปแบบ ความสวยงาม ที่แตกตางกันออกไปตามความพึงพอใจของผูเปนเจาของ แตเมื่อพิจารณาถึงการกอสรางที่อยูอาศัยใหมีความมั่นคงแข็งแรง มีประโยชนใชสอยที่เหมาะสม และรูปแบบที่มีความสวย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน มีการพัฒนากระบวนการ การกอสรางที่อยูอาศัยดวยวิธีการตางๆ โดยใชการออกแบบระบบทางโครงสรางและการรับน้ําหนัก ใหมีสะดวกประหยัดทั้งในดานของเวลาและคากอสราง ซึ่งเปนการพัฒนาโดยผูรับเหมาและผูประกอบการดานอสังหาริมทรัพย เพื่อใชกอสรางที่อยูอาศัยจํานวนมากๆเปนระบบอุตสาหกรรม มาพัฒนาการผลิตที่อยูอาศัย ซึ่งกระบวนการผลิตชิ้นงานที่จะนํามาใชในการกอสราง 1 ไดรับการควบคุมคุณภาพในการผลิตใหไดมาตรฐานเดียวกัน ลดขั้นตอนในการทํางาน ลดระยะเวลาและคาใชจายในการขนสง ลดการสูญเสียวัสดุในระหวางการกอสราง ลดระยะเวลาในการกอสราง ลดจํานวนแรงงานที่ใชในการดําเนินการ และสามารถผลิตซ้ํากันไดคราวละมากๆ ดวยการควบคุมการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปจากโรงงาน(Prefabrication) เพื่อนํามาประกอบขึ้นเปนที่อยูอาศัยในแปลงที่ดิน 2ผูพัฒนาโครงการสามารถควบคุมตนทุนในการผลิต ใหเปนไปตามแผนและสงมอบที่อยูอาศัยใหแกผูบริโภค โดยปจจุบันผูที่จะดําเนินการในลักษณะดังกลาวไดจะตองมีความพรอมดานเทคโนโลยี เงินทุน และมีปริมาณการขาย ที่มากพอเพื่อใหความสอดคลองตอการขายและการกอสรางใหสัมพันธกัน และเปนการปองกันไมเกิดปญหาการกอสรางเกินความตองการ สินคาคงคางซึ่งจะเปนตนทุนทางการเงินตอมา อีกทั้งยังตองใชกับการกอสรางคราวละมากๆ จึงจะคุมคาตอการลงทุน ทําใหในปจจุบันมีผูประกอบบานจัดสรรที่มีศักยภาพเพียงพอที่จะดําเนินการการกอสรางดวยชิ้นสวนสําเร็จรูปหลายรายนําระบบดังกลาวมาใชเมื่อพิจารณาถึงผูประกอบการ ที่มีศักยภาพในการกอสรางและดําเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพยประเภทบานเดี่ยวที่นําระบบชิ้นสวนสําเร็จรูปมาใช โดยเนนไปที่ระบบชิ้นสวนสําเร็จรูปแบบผนังรับน้ําหนักที่สรางบานระดับราคา 3-5 ลานบาท ในตลาดบานจัดสรร ประเภทบานเดี่ยว มีผูประกอบการที่ผูนําในธุรกิจบานจัดสรรและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่นาสนใจ ไดแก_________________________________________________________________________________1 ทัศนัย ธรรมศิริ และ ธีร เทพพรหม, การกอสรางอาคารระบบอุตสาหกรรม. โครงงานวิศวกรรมโยธา. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.2สมภพ มาจิสวาลา “การประเมินที่อยูอาศัยกึ่งสําเร็จรูปในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล,”(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541)291


1.บริษัท แลนด แอนด เฮาส จํากัด(มหาชน)นําระบบกอสรางสําเร็จรูป PC (Precast Concrete System) ที่พัฒนาโดย แลนดแอนดเฮาส กับบริษัท กรีธา แอนด แอสโซซิเอท จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่มีประสบการณสูงในการกอสรางระบบสําเร็จรูป PC จุดเดนของนําระบบกอสรางสําเร็จรูป PC มาใช อยูที่การลดระยะเวลากอสรางไดเร็วกวาระบบกอสรางปกติทั่วไป เพราะมีขั้นตอน การทํางานไมซับซอนและมีความแมนยําในการทํางานมากกวา สามารถกอสรางไดเสร็จตามแผนงานที่กําหนดไว ซึ่งจะชวยใหบริษัทเพิ่มรอบการขายไดเร็วขึ้น แตตนทุนของระบบกอสราง สําเร็จรูปนี้จะมีสูงกวาปกติโดยระบบการกอสรางสําเร็จ รูป PC (Precast Concrete System) เปนระบบเทคโนโลยีการกอสรางที่พัฒนาในประเทศญี่ปุนและเปนระบบโครงสรางผนังรับน้ําหนัก (Wall Bearing System) โดยวิธีการกอสรางบานจะนําองคประกอบที่เปนพื้น ผนัง ซึ่งไดรับการผลิตหรือทําสําเร็จรูปจากโรงงานตามที่ออกแบบไวกอนหนานี้มาประกอบเปนตัวบานในพื้นที่กอสราง จากนั้นจึงตกแตงรายละเอียดงานทั้งหมดกอนสงมอบงาน โครงการที่นําระบบกอสรางสําเร็จรูปมาใช ไดแก โครงการชัยพฤกษ โครงการพฤกษลดาแตโครงการที่มีระดับราคาตั้งแต 2.89 -5.8 ลานบาท โดยการตั้งโรงงานผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปแบบชั่วคราวบริเวณที่ทําการกอสราง สวนบานจัดสรรของบริษัทแลนด แอนด เฮาส ที่มีระดับราคาตั้งแต 5ลานบาทขึ้นไปในแบรนดอื่นจะใชระบบการกอสรางระบบดั้งเดิม คือ เสา-คาน และเปนผนังกออิฐมวลเบาฉาบปูน เนื่องจากจํานวนหนวยในแตละโครงการมีไมมาก และตัวบานมีรายละเอียด ที่ซับซอนมากกวาจึงเลือกใชระบบดังกลาว292


2.บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด(มหาชน)ไดนําเทคโนโลยีสรางบานเร็วมาเพิ่มคุณภาพ และความคุมคาใหกับทาวนเฮาสบานพฤกษา และบานภัสสร บานเดี่ยวในตลาดระดับกลาง-บน โดยเทคโนโลยีทันสมัยที่นํามาใชเปนเทคโนโลยีสมัยใหมทั้งระบบโครงสรางผนังรับน้ําหนักหลอในที่ (Cast-Insitute Load BearingWall Structure) ใชสําหรับสรางทาวนเฮาส และเทคโนโลยี Titl-Up Construction สําหรับการสรางบานเดี่ยว โดยเลือกศึกษาและไดรับความรวมมือจากกลุมบริษัท ปลฮอฟเฟอร แอนด แอสโซซิเอท(Prilhofer & Associate) จากประเทศเยอรมนี เพื่อผลิตชิ้นสวนแผนผนังสําเร็จ โรงงานตั้งอยูที่ลําลูกกา มูลคาลงทุนประมาณ 600 ลานบาท ในสวนที่ทําการศึกษา คือ โครงการภัสสร 14(ซอยกันตนา) เปนโครงการบานเดี่ยว ระดับราคาตั้งแต 3.25-6.75 ลานบาท3.บริษัท พร็อพเพอรตี้ เพอรเฟค จํากัด(มหาชน)293


ใหความสนใจกับระบบกอสรางแบบสําเร็จรูป และมีการเรียนรูเทคโนโลยีการกอสรางแบบสําเร็จรูป จากบริษัท กรีธา แอนด แอสโซซิเอท จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่มีประสบการณสูงในการกอสรางระบบสําเร็จรูป PC และบริษัท Lion House จากประเทศญี่ปุน โดยเริ่มการพัฒนาจากอาคารชุดพักอาศัยโดยใชแมแบบเหล็กสําเร็จรูปในการกอสราง และพัฒนาไปสูบานจัดสรร ประเภทบานเดี่ยวโดยการตั้งโรงงานผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปขนาดยอม ใกลกับบริเวณที่ทําการกอสราง รัศมีไมเกิน 20 กิโลเมตร เพื่อสะดวกตอการขนสงชิ้นงานและประหยัดนทุนในการขนสง โดยเริ่มการกอสรางบานเดี่ยวดวยระบบสําเร็จรูป ที่โครงการเพอรเฟค พารค (พระราม5-บางใหญ) ระดับราคาตั้งแต 2.9-4.75 ลานบาทแตในกระบวนการกอสรางที่อยูอาศัย ระบบอุตสาหรรม แมจะมีการบริหารจัดการและมีการควบคุมการผลิตที่ดี เมื่อนํามาประกอบขึ้นรูปเปนอาคาร จนถึงขั้นตอนการตกแตงพื้นผิวใหมีความสวยงามและเก็บความเรียบรอยกอนสงมอบงานใหผูบริโภค พบขอผิดพลาดที่เกิดจากการติดตั้งและตกแตงพื้นผิววัสดุใหมีความสวยงาม ซึ่งเปนปญหาหลังจากกระบวนการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูป ปญหาในสวนของพื้นที่ใชสอย ที่ไมสามารถปรับเปลี่ยน เนื่องการผนังบานเปนโครงสรางซึ่งที่หนาที่รับน้ําหนัก ซึ่งนําไปสูการตอเติมที่อาจกอปญหาในอนาคต ปญหาของการปรับเปลี่ยน โยกยาย ตําแหนงของระบบไฟฟาและประปา รวมถึงปญหาอื่นๆ ที่ยังไมมีการศึกษาถึงปลายทางของการพัฒนา ในสวนของการติดตามผลของการนําระบบการกอสรางกึ่งสําเร็จรูป แบบผนังรับน้ําหนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อฐานของกลุมผูบริโภค ใหความสนใจกับประเภทบานเดี่ยว เปนกลุมที่มีจํานวนมากที่สุด เนนกลุมเปาหมาย ที่ระดับราคาตั้งแต 3-5 ลาน โดยเลือกติดตามผลในสวนของโครงการที่ผูประกอบการมีศักยภาพในการผลิตในระบบอุตสาหกรรมและมีโครงการบานเดี่ยวระดับราคาปานกลาง ที่มีที่ตั้งโครงการและระดับราคาอยูใกลเคียงกันบนถนนกาญจนาภิเษกไดแก1.โครงการพฤกษลดา (บางใหญ) โดยบริษัทแลนด แอนด เฮาส จํากัด(มหาชน)2.โครงการภัสสร8 (ชอยกันตนา)โดยบริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด(มหาชน)3.โครงการเพอรเฟค พารค (บางใหญ) โดยบริษัท พร็อพเพอรตี้ เพอรเฟค จํากัด(มหาชน)เพื่อศึกษาถึงปญหาที่เกิดขึ้นหลังจากการเขาอยูอาศัย ของบานจัดสรรที่กอสรางดวยระบบสําเร็จรูป แบบผนังรับน้ําหนัก ซึ่งเปนการสัมภาษณในประเด็นปญหาในเชิงลึกทั้งผูประกอบการ และผูบริโภค รวมไปถึงแนวทางการแกปญหาที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะนํามาสูการพัฒนาการออกแบบและการกอสรางที่เหมาะสมกับผูบริโภคบานจัดสรร ระดับราคาปานกลาง294


พฤกษลดา(บางใหญ)ภัสสร8(ซอยกันตนา)เพอรเฟคพารค(บางใหญ)โดยใหความสําคัญไปยังปญหาของผูบริโภค ที่เกิดขึ้นการอยูอาศัยหลัง จากรับมอบจากผูประกอบการ ปญหาที่เกิดจากการใชสอยพื้นที่ ปญหาในการตอเติมการตอเติม รวมถึงปญหาปลีกยอยตางๆ จากการลงสํารวจเก็บขอมูล พบปญหาที่เปนประเด็นที่นาสนใจ อันเนื่องมาจากการนําระบบการกอสรางสําเร็จรูป แบบผนังรับน้ําหนักมาใช1.ปญหาเรื่องการแตกราวและรั่วซึม อันเนื่องมาจากการประกอบชิ้นสวนสําเร็จรูป ที่ไมไดมาตรฐาน ของการเชื่อมตอชิ้นสวนสําเร็จรูปแบบเปยก( Wet joint) โดยการฉีดน้ําปูนชนิดพิเศษ(Grout)ที่เปนตัวประสานระหวางชิ้นเขาไปยังรอยตอระหวางชิ้น แลวไมเต็มชองวางระหวางแผน หรือการรีบสกัดเศษของน้ําปูนที่ลนออกมาจากการเชื่อมตอทําใหสูญเสียแรงยึดเหนี่ยวที่เปนหนาที่ของการเปนตัวประสานระหวางชิ้นสวนสําเร็จรูป ซึ่งเปนผลใหน้ําฝนรั่วซึม หรือไหลยอนเขามาจากจุดดังกลาวเขาสูภายในตัวบาน295


2.ปญหาเนื้อที่ใชสอยภายในตัวบานที่ไมสอดคลองตอการใชงาน อันเนื่องมาจากการออกแบบพื้นที่และการใชผนังบานเปนตัวรับน้ําหนัก ทําใหไมสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการใชสอยภายในตัวบานการตอเติมภายนอกแบบแยกโครงสรางจากตัวบานเดิม โดยผูรับเหมาภายนอกอันดับที่ 3 อันดับที่ 1BEFOREตอเติมสวนที่ตอจากครัวอันดับที่ 3นิยมตอเติมสวนซักลางที่ติดกับครัวมากเปนอันดับ 1ตอเติมสวนพักผอนติดกับรับประทานอาหารอันดับที่ 4BEFOREอันดับที่ 4AFTERAFTERอันดับที่ 2ตอเติมในสวนของกันสาดหรือหองเพิ่มเติมอันดับที่ 2BEFOREAFTERBEFOREAFTER296


ซึ่งจากการสัมภาษณผูประกอบการ ในการตอเติมเจาของบานตองวางเงินประกัน 10,000-15,000บาท(แลวแตโครงการ)และในการตอเติมจะตองไมมีสวนใดสวนหนึ่งไปเกี่ยวของกับโครงสรางเดิมที่แตละโครงการไดรับประกันแกผูบริโภค 5 ป แตการใชผูรับเหมาจากภายนอกในการตอเติม รวมถึงการที่ผูบริโภคขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการกอสราง ทําใหเมื่อทําการตอเติมเสร็จสิ้นแลว บานจะมีการทรุดตัวที่ไมเทากัน เนื่องมาจากตัวบานเดิมนั้นเสาเข็มเปนเสาเข็มตอก 26-32 เมตร ซึ่งจะตองใชยาวกวาเข็มตอกธรรมดา เพราะตองตอกใหลึกลงไปถึงชั้นดินแข็ง เพื่อรับน้ําหนักตัวบานที่กอสรางดวยชิ้นสวนสําเร็จรูปแบบผนังรับน้ําหนัก ตัวผนังค.ส.ล.ซึ่งมีน้ําหนักมากกวาระบบเสาคาน แตในสวนที่ตอเติมผูรับเหมามักจะใชเสาเข็ม 6เหลี่ยมยาว 4 เมตร มาใชในการรับน้ําหนักโดยอยูระหวาง 4-6ตน ขึ้นอยูกับสวนที่ใชรับน้ําหนักเมื่อสวนที่ตอเติมเกิดการทรุดตัวเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่(dead load)ทําใหเกิดการทรุดตัวที่ไมเทากันเนื่องจากความสามารถในการรับน้ําหนักของเสาเข็มไมเทากัน รวมถึงการวาจางผูรับเหมาที่ไมมีความรูความเขาใจในการตอเติม หรือไมมีความรับผิดชอบในวิชาชีพ จึงทําใหผนังบานในสวนทีตอเติมฉีกตัวออกจากผนังบานเดิม เกิดรอยราว ซึ่งน้ําอาจรั่วซึมเขามาภายในตัวบานหรืออาจเกิดอันตรายจากการวิบัติทางโครงสรางได297


3.ปญหาการปรับเปลี่ยนเคลื่อนยายงานระบบไฟฟา-ประปา จากเดิมที่เปนลักษณะการฝงทอรอยสาย และบล็อกที่เก็บกลองเตารับไฟฟา ไวในผนัง เมื่อมีการปรับเปลี่ยนการใชงาน ไมสามารถเปลี่ยนแปลงเคลื่อนยายจุดปลั๊กไฟฟา การใชงานไดตามตองการ และไมสามารถติดตั้งเพิ่มเติมใหมีความสวยงามไดเนื่องจาก ตัวกลองที่เก็บเตารับไฟฟา จะยื่นออกมานอกตัวผนัง ไมสวยงามและจัดเฟอรนิเจอรลงตัวไดยากอีกทั้งการตอเติมเฟอรนิเจอรแบบติดตั้งในที่ (Build-in furniture) ไมสามารถติดตั้งแนบผนังได เนื่องจากจะปดตําแหนงของปลั๊กไฟ ทําใหใชงานไดไมคลองตัว รวมถึงการปรับเปลี่ยนเคลื่อน เพิ่มเติมยายตําแหนงของกอกน้ําและสุขภัณฑได เนื่องตําแหนงของการเจาะพื้นและพนัง ถูกออกแบบไวใหตายตัว ทําใหไมสะดวกตอการใชงานจากการศึกษาพบวาผูประกอบการใหการยอมรับ ในการนําระบบการกอสรางแบบสําเร็จรูปมาใชแตตองมีการบริหารจัดการที่ดี และตองมีจํานวนของการกอสรางที่มากเพียงพอที่จะคุมคาตอการลงทุนผลิต รวมถึงการมีการบริหารจัดการดานการตลาด ระหวางจํานวนของบานจัดสรรที่ผลิตออกมากับการความสามารถในการขาย ใหมีความสมดุลกัน สวนปญหาที่เกิดจากหลังการสงมอบบานใหแกผูบริโภค อันเนื่องจากการกอสรางนั้น ที่พบสวนใหญจะเปนปญหาในสวนของงานตกแตงพื้นผิว ซึ่งมีความไมเรียบรอยสวนปญหารั่วซึมหรือแตกราวจากชิ้นสวนสําเร็จรูปนั้น พบนอยมากซึ่งมักจะมาจากการติดตั้งชิ้นสวนโดยขาดความรูความเขาใจ ในดานผูบริโภคใหการยอมรับในการอยูอาศัย บานจัดสรรที่กอสรางดวยระบบ298


กอสรางแบบสําเร็จรูป เมื่อผูบริโภครับโอนกรรมสิทธิ์และเขาอยูในบานที่กอสรางดวยระบบสําเร็จรูป พบปญหาตางๆ อันเปนผลมาจากการออกแบบพื้นที่ใชสอย ที่ถูกจํากัดดวยผนังโครงสราง ที่ไมเพียงพอตอความตองการใชสอย นํามาสูการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตอเติมพื้นที่ใชสอย ใหเพียงพอตอความตองการโดยที่ผูบริโภคไดทราบถึงเงื่อนไข ของการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ตอเติมที่ไมไดยุงเกี่ยวกับโครงสรางดั้งเดิมแตเปนการตอเติมพื้นที่ขยายออกไปทางดานขางของตัวบานโดยการแยกโครงสรางการรับน้ําหนักในสวนที่ตอเติมออกจากโครงสรางเดิมรวมถึงรับทราบถึงผลเสียหาย หากมีการทรุดตัว หรือแตกราว หรือรั่วซึม ในสวนที่ทําการตอเติมและสวนของรอยตอระหวางตัวบานกับสวนที่ทําการตอเติมขึ้นมาใหม ปญหาของการเพิ่มเติมหรือโยกยายตําแหนงของระบบไฟฟา ที่ไมสามารถทําไดตามตองการของผูอยูอาศัย เนื่องจากการฝงทอระบบไฟฟาในผนังคอนกรีตสําเร็จรูปขอเสนอแนะจากการศึกษา ในสวนของการออกแบบพื้นที่ใชสอยที่เปนสวนบริการ เชน หองครัวหองเก็บของ สวนซักลาง ควรจะมีการออกแบบใหมีพื้นที่ใชสอย รูปแบบที่ เหมาะสมและเพียงพอตอการใชงานรวมถึงการมีหนวยงานที่ใหบริการขอมูลในการตอเติมและใหบริการในแตละโครงการโดยผูประกอบการ ที่ครอบคลุมทั้งดานโครงสรางและงานสถาปตยกรรม ที่เปนมาตรฐานสําหรับบานในรูปแบบตางๆเพื่อเปนแนวทางการตอเติม ที่เหมาะสมและถูกตองตามกฎหมาย มีความแข็งแรงไวบริการซึ่งจะเปนบริการหลังการขายที่จะสรางความพึงพอใจแกผูบริโภค299


การกอสรางอาคารชุด 8 ชั้น ที่นําระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป และ ระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่มาใชTHE 8 STORIES CONDOMINIUM CONSTRUCTION USINGPRECAST R.C.PANEL CLADDING AND INSITU R.C.LOAD BEARING WALL.นางสาว อินทิรา บางภิภพหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอปจจุบันผูประกอบการนิยมสรางอาคารชุดสูง 8 ชั้นในที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย หรือ ปานกลาง แตตองเผชิญกับปญหาเรื่องตนทุนการกอสราง ภาวะการแขงขันที่ปรับตัวสูง ผูประกอบการจึงนําเทคโนโลยีการกอสรางที่ทันสมัยจากตางประเทศนํามาใช เชน การใชระบบการกอสรางสําเร็จรูป(Prefabrication) ระบบผนังค.ส.ล.สวนสําเร็จรูป(Precast R.C.Panel) และ ระบบผนังรับน้ําหนัก(LoadBearing Wall) โดยเชื่อวาจะเปนวิธีการที่จะทําใหประหยัดเวลา และ ไดผลงานที่ไดมาตรฐาน ผูวิจัยจึงศึกษาเปรียบเทียบการกอสรางอาคารชุด 8 ชั้นที่นําระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป และ ระบบผนังรับน้ําหนัก ขอดีขอจํากัด และ ปญหา ในดานขั้นตอน วิธีการกอสราง เทคนิค แรงงาน ตนทุน ระยะเวลา ในการกอสราง ของกลุมบริษัทเอกชนที่มีชื่อเสียงดานการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 2 โครงการโดยโครงการ 1 กอสรางผนังภายใน ระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ กอสรางผนังภายนอก ระบบผนังวัสดุกอ โครงการ 2 กอสรางผนังภายใน ระบบผนังวัสดุกอ กอสรางผนังภายนอก ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปจากผลการศึกษา พบวา งานผนังภายในโครงการ 1 ที่ใชระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ ปริมาณงานที่ทําได 7.31 ตร.ม. / คน / วัน ซึ่งมากกวา โครงการ 2 ที่ใชระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายใน ที่มีคาเทากับ3.02 ตร.ม. / คน / วัน งานผนังภายนอก ของโครงการ 2 ที่ใชระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป ปริมาณงานที่ทําได6.32 – 7.11 ตร.ม. / คน / วัน ซึ่งมากกวา โครงการ 1ที่ใชระบบผนังวัสดุกอ ปริมาณงานที่ทําได 1.417 ตร.ม. /คน / วัน ดานราคาคากอสรางในสวนงานผนังภายนอก ระบบผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป ที่มีคากอสราง 1,360.00บาท/ ตร.ม. ซึ่งจะมีราคาคากอสรางสูงกวา ระบบผนังวัสดุกอ ที่มีคากอสราง 765.29 บาท/ ตร.ม. งานผนังภายในระบบผนังรับน้ําหนัก มีคา 1,748.74 บาท/ ตร.ม. ซึ่งสูงกวา ระบบผนังวัสดุกอ (คิดเฉพาะคางานผนัง)มีคา 629.17 บาท/ ตร.ม. และ ระบบผนังวัสดุกอ (คิดคางานผนังและเสา) มีคา 892.24 บาท/ ตร.ม.ระยะเวลาในการกอสรางงานผนังภายนอก ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป ของโครงการ 2 มีคาเทากับ 1.<strong>13</strong> ชม./ตร.ม. / คนจะใชระยะเวลากอสรางนอยกวา ระบบผนังวัสดุกอ ของ โครงการ 1 ตอ พื้นที่ 1 ตร.ม.ตอ ชาง 1 คนซึ่งมีคาเทากับ 5.65 ชม./ ตร.ม. / คน ระยะเวลาในการกอสรางงานผนังภายใน ระบบผนังรับน้ําหนัก ของโครงการ 1 มีคาเทากับ 1.09 ชม./ ตร.ม. / คน จะใชเวลากอสรางนอยกวา ระบบผนังวัสดุกอ ซึ่งมีคาเทากับ2.65 ชม./ ตร.ม. / คน ซึ่งงานผนังทั้ง 3 ระบบ มีขอดี ขอจํากัดที่แตกตางกันไป ปญหาที่พบในการกอสรางงานผนังรับน้ําหนักเชนผิวผนังไมเรียบเสมอกัน งานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป เปนเรื่อง ตําแหนง Insert Plate ที่มีความ300


คลาดเคลื่อนไปจากแบบ ทั้งระดับและแนว งานผนังวัสดุกอ มักเปนเรื่อง ใชระยะเวลามาก ผิวผนังมีรอยแตกราว และการขาดแคลนชางที่มีฝมือการดําเนินการธุรกิจอสังหาริมทรัพยไดมีการปรับปรุงแกไขคุณภาพใหมีประสิทธิภาพ และ คิดคนเทคโนโลยีการกอสรางเพื่อลดระยะเวลากอสรางอยูตลอดเวลา แตก็ยังไมสามารถกาวไปทันความตองการที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ดังนั้นอาคารชุดจึงเปนทางเลือกหนึ่งของผูประกอบการ และ ผูบริโภค เนื่องจากแนวโนมความตองการที่อยูอาศัยในเมืองสูงมาก หลังจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจพ.ศ.2540 จํานวนอาคารชุดสรางเสร็จจดทะเบียนไดลดลงเรื่อย ๆ หลังจากนั้นตั้งแตป 2545 เปนตนมา จํานวนอาคารชุดจดทะเบียนเริ่มเพิ่มขึ้นโดยตลอดทุกปการที่ผูบริโภคสวนใหญนิยมอาคารชุด เนื่องจากเหตุผลหลายประการ อาทิ ปญหาการเพิ่มขึ้นของราคาน้ํามันสงผลโดยตรงทําใหคาใชจายในของครัวเรือนสูงขึ้นมาก อาคารชุดสวนใหญตั้งอยูในทําเลที่มีการคมนาคมสะดวก อีกทั้งราคาอาคารชุดตอหนวยไมสูงมากนัก นอกจากนี้ ผูประกอบการนิยมกอสรางอาคารชุดเปนอาคารขนาดใหญ ตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ.2544 ซึ่งกําหนดใหอาคารมีความสูงตั้งแต 15 เมตรขึ้นไป (แตสูงไมเกิน 23 เมตร หรือ อาคารสูงไมเกิน 8 ชั้น) จึงพบวาผูประกอบการนิยมสรางอาคารชุดสูง 8 ชั้นในที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย หรือ ปานกลางปจจุบัน (พ.ศ.2551) ผูประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย ตองเผชิญกับปญหาเรื่องตนทุนการกอสราง ทั้งคาแรงงาน และ คาวัสดุกอสรางที่ปรับตัวสูงขึ้นตามราคาน้ํามัน ขณะเดียวกันก็ตองเผชิญกับภาวะการแขงขันในตลาดที่สูงขึ้น ดังนั้นผูประกอบการแตละรายจึงหันมาปรับปรุงรูปแบบและพัฒนากระบวนการในการดําเนินการกอสรางอาคารชุดใหเหมาะสม สิ่งที่สําคัญจําเปนอยางยิ่งสําหรับผูประกอบการ คือ การบริหารตนทุนในการกอสราง ที่จะตองควบคุมคาใชจายในการกอสรางใหต่ําที่สุดเทาที่จะทําได ภายใตระยะเวลาที่สั้นที่สุด โดยที่คุณภาพ มาตรฐาน ความสวยงาม และความมั่นคงแข็งแรงก็ตองยังอยูในระดับที่จะสามารถแขงขันในตลาดไดในการกอสรางอาคารชุด งานผนังเปนงานที่ตองใชระยะเวลามาก ผูประกอบการจึงนําเทคโนโลยีการกอสรางที่ทันสมัยจากตางประเทศเขามาทดแทน หรือ ใชรวมกับการกอสรางระบบดั้งเดิม ระบบการกอสรางจากตางประเทศที่นิยมนํามาใช เชน การใชระบบการกอสรางสําเร็จรูป(Prefabrication) ระบบผนังค.ส.ล.สวนสําเร็จรูป(Precast R.C.Panel) และ ระบบผนังรับน้ําหนัก(Load Bearing Wall) โดยเชื่อวาจะเปนวิธีการที่จะทําใหประหยัดเวลา และ ไดผลงานที่ไดมาตรฐานผูวิจัยจึงศึกษาเปรียบเทียบการกอสรางอาคารชุด 8 ชั้นที่นําระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป และ ระบบผนังรับน้ําหนัก ขอดี ขอจํากัด และ ปญหา ในดานขั้นตอน วิธีการกอสราง เทคนิค แรงงาน ตนทุน ระยะเวลา ในการกอสราง จากการนําระบบทั้งสองมาใชในการกอสราง โดยเลือก โครงการอาคารชุด 8 ชั้น ของกลุมบริษัทเอกชนที่มีชื่อเสียงดานการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 2 โครงการ ซึ่งกําลังกอสรางในชวงเวลาที่ผูวิจัยศึกษา และ กอสรางดวยระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ ระบบผนังวัสดุกอระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป ดังนี้301


1.โครงการ 1 โดยมีลักษณะเปนอาคารชุด 8 ชั้น กอสรางผนังภายใน ระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ กอสรางผนังภายนอก ระบบผนังวัสดุกอ2.โครงการ 2 โดยมีลักษณะเปนอาคารชุด 8 ชั้น กอสรางผนังภายใน ระบบผนังวัสดุกอกอสรางผนังภายนอก ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปคําจํากัดความของระบบผนังทั้ง 3 ชนิด มีดังนี้ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป 1 หมายถึง ผนังคอนกรีตสําเร็จรูปผลิตเปนชิ้นสวนประกอบจากโรงงาน ใชเปนผนังภายนอกหรือผนังภายใน อาจใชเปนผนังโครงสรางหรือใชเปนเปลือกหุมอยูภายนอกอาคาร(Cladding)ก็ไดผนังรับน้ําหนัก 2 (Load Bearing Wall) หมายถึง โครงสรางผิวราบแข็งเกร็ง สามารถรับน้ําหนักไดทั้งทางแนวดิ่งและน้ําหนักแนวราบ(แรงลมและแผนดินไหว) ตามความยาวผนัง การรับแรงทางดานโครงสรางของระบบนี้ ก็คือ การถายเทแรงจากพื้นลงที่แนวผนังรับน้ําหนักทั้งหมด ดังนั้นผนังจึงใชประโยชนไมเฉพาะเพียงการเปนผนังกั้นหองเทานั้น หากยังจะทําหนาที่เปนโครงสรางแทนเสาและคานไปพรอมๆกันผนังวัสดุกอ 3 หมายถึง ผนังกออิฐฉาบปูนการวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดย ทําการออกแบบการวิจัย โดยคัดเลือกโครงการที่จะทําการศึกษาและเครื่องมือที่ใชในการทําวิจัย การศึกษารวบรวมขอมูล ขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการลงพื้นที่เก็บขอมูลกระบวนการกอสรางอาคารชุด 8 ชั้นโดยระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ กับผนังวัสดุกอ สําหรับ ผนังภายใน และ ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป กับ ผนังวัสดุกอ สําหรับ ผนังภายนอก โดยใชแบบสํารวจ การสํารวจโดยรอบงานกอสรางแบบสังเกต การสังเกตงานกอสราง การเก็บภาพถาย การจดบันทึกอยางละเอียดลงในใบบันทึกของผูวิจัยแบบสัมภาษณ การสัมภาษณแบบมีโครงสรางกับผูที่เกี่ยวของกับเนื้อหาการวิจัย การถาม-ตอบปญหาตลอดจนการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูใหสัมภาษณและผูวิจัยซึ่งจะนํามาประกอบการวิเคราะหเพื่อใชเปนขอมูลสําหรับงานวิจัยอีกทั้งศึกษาขอมูลทุติยภูมิ โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการกอสรางอาคารชุด 8 ชั้นโดยระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ กับ ผนังวัสดุกอ สําหรับ ผนังภายใน และ ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปกับ ผนังวัสดุกอ สําหรับ ผนังภายนอก จากการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารหนังสือ ตํารา รายงาน งานวิจัยที่เกี่ยวของ การเขาฟงการสัมมนาวิชาการ1จรัญพัฒน ภูวนันท, เอกสารคําสอน การกอสรางอาคาร 4, ภาควิชาเทคนิคสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, หนา172.2ชวลิต นิตยะ, เอกสารประกอบการสอน Housing Construction Technology, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, หนา2-6,8-12.3 จรัญพัฒน ภูวนันท, เอกสารคําสอน การกอสรางอาคาร 4, ภาควิชาเทคนิคสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, หนา172.302


หลังจากรวบรวมขอมูลแลวจึงทําการวิเคราะหขอมูล สรุปผลการวิจัยและเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้มีขอจํากัด สงผลใหผลที่ไดจากการศึกษาไมสามารถนํามาใชเปรียบเทียบระหวางกันไดอยางชัดเจน เนื่องจากการศึกษาเรื่องราคาตนทุนมีระบบพื้นฐานการคิดคํานวณที่แตกตางกัน รวมทั้งราคาวัสดุและคาแรงงานมีการปรับขึ้นลงในแตละชวงระยะเวลา ทําใหการเปรียบเทียบผลการศึกษาทําไดยาก และในการศึกษาเปรียบเทียบดานระยะเวลาในการกอสรางมีปจจัย ในดานทําเลที่ตั้งโครงการ และขนาดของโครงการที่มีความแตกตางกันและรูปแบบของตัวอาคารที่มีขนาดและรูปลักษณะทางสถาปตยกรรมที่แตกตางกัน ซึ่งไมสามารถควบคุมตัวแปรได จึงไมสามารถเปรียบผลการศึกษาไดอยางชัดเจน ในการศึกษาดานคุณภาพเปนการศึกษาถึงวิธีการตรวจสอบคุณภาพ ปญหาที่พบและแนวทางแกไขปญหาของแตละกรณีศึกษาเทานั้นโครงการทั้งสองมีรายละเอียดของการออกแบบ และ การกอสรางที่แตกตางกัน ดังนี้1. รายละเอียดโครงการ 1 ที่ใชระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ เปนผนังภายใน และระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอก ภายในโครงการมีอาคารชุด 8 ชั้น จํานวน16 อาคาร จํานวน 1,520หนวย พื้นที่โครงการ 23 – 2 – 70.33 ไร ตั้งอยูบนถนนกัลปพฤกษ กรุงเทพฯ โดยทําการศึกษา อาคาร Jพื้นที่อาคารทั้งหมด 5,768 ตร.ม. ตอ อาคาร2. รายละเอียดโครงการ 2 ที่ใชระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายใน และ ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป เปนผนังภายนอก ภายในโครงการมีอาคารชุด 8 ชั้น จํานวน 7 อาคาร จํานวน 1,568 หนวยพื้นที่โครงการ 12 – 3 - 00 ไร ตั้งอยูบนถนนรามอินทรา กรุงเทพ โดยทําการศึกษา อาคาร C2 พื้นที่อาคารทั้งหมด 7,572 ตร.ม. ตอ อาคารเจาของโครงการ และ ผูออกแบบ จะกําหนดรูปแบบทางสถาปตยกรรม กรรมวิธีในการกอสรางที่แตกตางกันตั้งแตงานพื้น ผนัง ระบบการรับน้ําหนักโครงสราง เปนตน การเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางระหวางการกอสรางระบบผนังของทั้ง 2 โครงการ มีรายละเอียดดังนี้ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการกอสรางระบบผนังของทั้ง2โครงการลําดับรายการขั้นตอนการออกแบบและการผลิตโครงการ 1 ที่ใชระบบผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายใน และระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอกการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูป โดยเปนการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปบริเวณหนวยงาน ดังนี้ พื้นสําเร็จรูป (Precast Slab) คานสําเร็จรูป (Precast Beam) บันไดสําเร็จรูป (Precast Stair)รายละเอียดและขั้นตอนในการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปเริ่มดวยการเตรียมแบบหลอ โดยจะทําความสะอาดและเช็ดแบบหลอ ทาน้ํามันแบบหลอ นําตะแกรงเหล็กสําเร็จรูปตะแกรงเหล็กเสน หรือ เหล็กเสริม มาวาง และ หนุนดวยขาเหล็กหรือขาPVC ใสวัสดุติดตั้งในชิ้นงาน และตรวจสอบแบบหลออีกครั้งโครงการ 2ที่ใชระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายใน และระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป เปนผนังภายนอกการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูป โดยเปนการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปจากโรงงานผลิตภายนอกหนวยงาน ดังนี้ ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป(Precast R.C.Panel) มีหลายขนาด ทั้งนี้ขึ้นกับขนาดของหองบันไดสําเร็จรูป (Precast Stair)รายละเอียดและขั้นตอนในการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูป1.ขั้นตอนการผลิต เตรียมแบบหลอ โดยจะทําความสะอาดและเช็ด ทาน้ํามันแบบหลอ วาดแบบลงบนพื้นลานหลอ วางแบบขาง ลงตะแกรงเหล็กเสริมขนาด 9มม.ติดตั้ง303


ขั้นตอนการออกแบบและการผลิตการเทคอนกรีตจะใชคอนกรีตผสมเสร็จ ซึ่งตั้งโรงงานผลิตอยูในหนวยงานใกลกับลานผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูป โดยกําหนดใหใชคา Strength ของคอนกรีต ณ 28 วันอยูที่ 350 KSC. Cubeระหวางที่เท จะตองใชเครื่องจี้คอนกรีตไฟฟา เขยาไปในสวนแบบหลอที่มีการเสริมเหล็ก ทําการปาดแตงหนาปูน ขัดตกแตงผิวใหเรียบรอย และตองบมคอนกรีต (Curing) จนไดอายุแลว ก็จะถอดแบบหลอออกและยกชิ้นสวนค.ส.ล.สําเร็จรูปดวยทาวเวอรเครนไปไวที่สวนสต็อกชิ้นสวนสําเร็จรูป(Precast Stock) ทําการตรวจสอบคุณภาพ และทําการตกแตงผิวอีกครั้งในกรณีที่ชิ้นงานมีการแตกหักเล็กนอยจากนั้นรอการขนสงโดยรถเทรลเลอรไปใชที่หนางานตอไปPlateเหล็ก และ หูหิ้ว หนุนเหล็กเสริมดวยขา PVC เทคอนกรีตผสมเสร็จโดยกําหนดใหใชคา Strength ของคอนกรีตณ 28 วันอยูที่ 280 KSC. Cube. จะตองใชเครื่องจี้ไฟฟาเขยาไปในเนื้อคอนกรีตใชแบบเหล็กกันหูหิ้ว ปรับแตงโดยรอบใหเรียบ ขัดแตงหนาปูนจํานวน 3 รอบ ถอดแบบขาง หลังจากการเทคอนกรีต อยางนอย 15-18 ชั่วโมงจึงจะสามารถยกคอนกรีตออกจากแบบไดนําไปวางตั้งบน A - Frame หรือแขวนไวกับรอกเครนราง ทําการบมคอนกรีต ตกแตงผิวคอนกรีต ใสรหัสในชิ้นงาน ยายไปเก็บยังลานเก็บชิ้นสวนสําเร็จรูป ปริมาณชิ้นสวนสําเร็จรูปที่ผลิตไดสูงสุด700– 800ตรม.ตอ วันคาพิกัด ความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหในการผลิต1. แบบหลอคอนกรีต +/- 1 – 3 มม.2. ผนังสําเร็จรูป +/- 2 – 4 มม.จํานวนแรงงานในโรงงานผลิต รวม 95 – 96 คนจํานวนเครื่องมือ เครื่องจักรที่ใชในโรงงานผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูป เครนรางขนาด 3.5ตัน 9 ตัว รถ 10ลอ 2 คันรถเทรลเลอร 1 คัน เครื่องจี้คอนกรีต 3 เครื่องตูเชื่อม 9 เครื่อง มอรเตอรเจียร 3 เครื่องผนังภายใน เปน ระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ความหนาของผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ 15 ซม. หากตองตกแตงผิว(Skim coat) จะมีความหนา 20 ซม.ผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ คิดเปนพื้นที่ 2,806.00 ตร.ม.ผนังภายใน เปน ระบบผนังวัสดุ เมื่อกออิฐเรียบรอยแลวทําการฉาบผิวดวยปูนฉาบสําเร็จรูป โดยฉาบหนาประมาณ 1– 2 ซม. ผนังวัสดุกอเมื่อฉาบเสร็จจะมีความหนาประมาณ 10ซม.ผนังวัสดุกอ มีปริมาณงานดังนี้- งานกออิฐมอญครึ่งแผน คิดเปนพื้นที่ 11,835 ตร.ม.- งานกออิฐมอญเต็มแผน คิดเปนพื้นที่ 342 ตร.ม.- งานเสาเอ็น คานทับหลัง คิดเปนความยาว 10,858 ม.รูปแบบงานผนังที่ใชในโครงการผนังภายนอก เปน ระบบผนังวัสดุกอกอดวยบล็อกมวลเบา ระบบอบไอน้ําภายใตความดันสูง(Autoclaved System) ทําการฉาบดวยปูนเฉพาะสําหรับใชกับบล็อกมวลเบาเทานั้น ความหนาของผนังเมื่อฉาบเสร็จหนาประมาณ 10 – 15 ซม.ผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอก ที่ใชกอสราง อาคาร J ของโครงการ กอผนังดวย Q – con block ขนาด 20 X 60 X 7.5ซม. คิดเปนพื้นที่ 850 ตร.ม.ผนังภายนอก เปน ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป ลักษณะชิ้นสวนเปนแบบ PANEL โดยมีชิ้นสวนผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปที่ใช ทั้งหมด 636 ชิ้น คิดเปนพื้นที่ประมาณ 3,415.00 ตร.ม.จํานวน 122 TYPE สามารถแบงกลุมประเภทชิ้นสวนผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป ออกไดเปน 9 กลุมตามลักษณะรูปแบบและตําแหนงการติดตั้งของชิ้นสวนผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป เปนเปน 3 ประเภทใหญๆ ดังนี้1.ผนังภายนอกทั่วไป พื้นที่ประมาณ 2,850 ตรม.2.แผนระเบียงแนวนอน พื้นที่ประมาณ 365 ตรม.3.แผนครีบแนวตั้ง พื้นที่ประมาณ 200 ตรม.304


วิธีการกอสรางงานผนังงานผนังรับน้ําหนัก (Load Bearing Wall) เปนผนังภายในซึ่งเปนงานโครงสราง และ งานผนังภายใน เปนผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่(Cast Insitu) ตองเตรียมแบบหลอผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ ทําการออกแบบใหมีความความคงทนและ บํารุงรักษาไดงาย แบบเหล็กมีความหนา 9 มม. ขั้นตอนการทํางานจะทําตาม Cycle plan แบงโซนอาคารเปน 3-4โซน ทําการวางLineผนัง ตั้งเหล็กตะแกรงไวรเมซขนาด 6มม.# ระยะหาง ตั้งแต 10 – 20 ซม. ตามกําหนด วาง 2 ชั้นติดตั้งงานระบบตางๆ ทําแบบบล็อกกันคอนกรีตเพื่อใหดานบนของผนังรับน้ําหนักเปนบาเพื่อใชติดตั้งคานค.ส.ล.สําเร็จรูป ตั้งแบบหลอ ความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหจากแนวดิ่งที่ยอมใหของแบบหลอ มีคา +- 6 มม. ทุกๆระยะ 3 เมตร และคาสูงสุดตลอดความสูง 25 มม. เทคอนกรีตขนาดStrength350 KSC. Cube พรอมใชเครื่องจี้คอนกรีตเพื่อใหไดคอนกรีตที่มีคุณภาพดี แตงผิวบนใหเรียบมากที่สุด เพื่อการวางแผนพื้นไดเรียบและแนบผิวผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ หลังเทคอนกรีตได 24 ช.ม. จะทําการการเปดแบบงานผนังวัสดุกอ ภายนอกอาคารหลังจากทํางานโครงสราง เสร็จ 2 ชั้น จะเริ่มทํางานผนังวัสดุกอ ภายนอกอาคาร เนื่องจากตองรอการถอดค้ํายันงานพื้นในสวนที่เชื่อมตอกับผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ การกอจะทําการกอบนคานค.ส.ล.สําเร็จรูป มีขั้นตอนดังนี้ทําความสะอาดบริเวณที่จะทําการกอผนังคอนกรีตมวลเบาวางแนวดิ่งฉากเรียบรอยแลว เริ่มกอโดยการใชปูนทรายทั่วไป ชวยในการปรับระดับพื้นใหไดระดับเดียวกัน แลวปายปูนกอที่ใชเฉพาะสําหรับกอบล็อกมวลเบา ลงดานลางของบล็อคกอนแรกกอนวางกอนบลอคลงบนแนวปูนทราย โดยไมตองราดน้ําที่ Block แตอยาง ใชคอนยางและระดับน้ําชวยจัดแนว แลวปายปูนกอบริเวณดานขางของกอน ดวยเกรียงกอใหความหนาของปูนกอเพียง 2-3 มม. กอนวางกอนที่ 2 ลงไปใหชิดกับกอนแรกจะตองกอดวยวิธีสลับแนวระหวางแถวชั้นบนถัดไป ใหแนวที่เหลื่อมกันมีระยะไมนอยกวา 10 ซม. ปายรอยตอโดยรอบกอนดวยปูนกอ หนา 2-3 มม. และจะตองใสปูนกอใหเต็มตลอดแนว ไมมีโพรง หากตองมีการปรับแตงบล็อค ใหไดแนวระดับความตองการ ควรทําใหแลวเสร็จภายใน 5 นาที ปลายกอนที่กอชนผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ หรือเสาเอ็นจะตองยึดดวยแผนเหล็กMetal Strap ยาวประมาณ 20 ซม. โดยยึดดวยตะปูคอนกรีตหรือพุกสกรูทุกระยะ 2ชั้น ของ บล็อก มุมกําแพงทุกมุมจะตองมีเสาเอ็น หรือคานเอ็น ค.ส.ล. และบริเวณรอบชองเปดจะตองทําทับหลัง เมื่อกออิฐมวลเบาเรียบรอยแลว ตองทิ้งไวใหปูนกอแข็งตัว จึงสามารถฉาบปูนไดงานผนังวัสดุกอ เปนผนังภายในอาคารกอฉาบโดยใชอิฐมอญแดง ชางกอจะขึงเอ็นเปนระดับและกอแบบสลับ(Running Bond) ตองทําเสาคานเอ็นคอนกรีตค.ส.ส. ติดตั้งงานวงกบประตูภายในอาคาร ทําทับหลังบนวงกบประตู จากนั้นจึงติดตั้งตาขายกรงไกบริเวณรอบวงกบ และตลอดแนวทับหลัง บริเวณผนังที่ตั้งฉากกันจะใสวัสดุรองPVCเพื่อกันการแตกราวของผนัง เมื่อกออิฐเรียบรอยแลว ทําการฉาบผิวดวยปูนฉาบสําเร็จรูป โดยฉาบหนาประมาณ 1 – 2ซม. ผนังวัสดุกอประเภทนี้ขนาดเมื่อฉาบเสร็จจะมีความหนาประมาณ 10 ซม.งานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป เปนผนังภายนอกทําหลังการถอดค้ํายันพื้นออก 100% แลว ขั้นตอนการติดตั้งจะเริ่มจากการที่ผนังค.ส.ล. สําเร็จรูปขนสงมาถึง ทาวเวอรเครนจะยกแผนแขวนที่ตัวอาคารทันที โดย แขวนกับขอในชั้นที่สูงขึ้นไป 2 ชั้น แขวนไดไมเกิน 20 ชม. ชางติดตั้งทั้งหมด 1ทีม ทีมละ 3 คน จะทําการติดตั้งแผนไดวันละ 6 – 7 แผนตอทีม งานติดตั้งตองติดใหเสร็จภายใน 6 – 7วัน ตอชั้น เฉลี่ยพื้นที่ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป มีคาเทากับ426.88 ตร.ม.ตอชั้น การติดตั้งทาวเวอรเครน จะยกผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปขึ้น และชางทําการปรับระดับดวยรอกโซ และปรับแตงตําแหนงแผน โดยวัดระยะจากแนว Horizontal Off Set เมื่อไดระยะตามกําหนดจะงัดฟองน้ําแข็งที่ติดไวบน Insert Plate ออก ทําความสะอาดบริเวณ Insert Plate นําPlate ที่เตรียมไว มาเชื่อมติดกันตามแนวนอน และ เชื่อมยึดที่ปลายอีกขางติดกับ Plate ที่ฝงในผนังค.ส.ล.เคาะขี้เหล็กออก ทาสีรองพื้นกันสนิม เมื่อเชื่อมPlate ดานลางเสร็จทั้ง 2 ขางเรียบรอยแลว ทําการเช็คแนวดิ่งและติดตั้งPlateดานบน หลังจากติดตั้งเสร็จตองตรวจสอบหากไมมีขอผิดพลาดใหทําการตัดหูหิ้วที่ติดมากับชิ้นงานออกเกราทซีเมนต บริเวณชองวางระหวางแผนผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปกับโครงสรางพื้น และทําการแตงผิวผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป อุดSealantรองรอยตอระหวางแผน305


วิธีการกอสรางงานผนังคาความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได สําหรับงานกออิฐฉาบปูนของผนังวัสดุกอ มีดังนี้1.คาความคลาดเคลื่อนในแนวตั้ง 5 มม. ใน 2,500 มม.2.คาความคลาดเคลื่อนของแนวผนังที่ไมตรง 5 มม. ใน3,000มม.3.คาความคลาดเคลื่อนในแนวราบ 3 มม. ใน 3,000 มม.บริษัทผูออกแบบกําหนดใหมีระยะหางระหวางแผน ในการติดตั้งต่ําสุด 10 มม. ไมเกิน 15 มม.และ กําหนดคาพิกัดความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหในการติดตั้ง +/- 5 – 8 มม.การบริหารงาน แรงงาน เครื่องมือที่ใชกอสรางตนทุนในการกอสรางจํานวนบุคคลากรและแรงงานรวม 121 คนเครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช มีรายละเอียดดังนี้TC5 Potain:(Telescopic Tower) with jib length45m.1ชุดMobile crane 25T 1 คัน รถดัมพเปอร 1 คันเครื่องสูบน้ํา 2 เครื่อง ตูเชื่อม 2 เครื่องเครื่องตัดเหล็ก 1 เครื่อง เครื่องดัดเหล็ก1 เครื่องเครื่องจี้คอนกรีต 2 เครื่อง รถกระบะ1 คันรถบรรทุก 6 ลอใหญ1 คัน รถแบคโฮ PC200 1 คันรถดัมพ1 คันผนังภายใน เปน ผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ราคาคากอสรางในสวนงานระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่เปนผนังภายในนั้นประกอบดวย คาวัสดุคาแรงในการกอสรางผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ และคางานตกแตงผิว(Skimcoat)พื้นที่ผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ 2,806 ตร.ม.ตนทุน ตอ ตร.ม.1,748.74 บาทงานผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่คิดเปนรอยละ 6.75%ของราคาคากอสรางจํานวนบุคคลากรและแรงงานรวม 110 - 1<strong>13</strong> คนเครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช มีรายละเอียดดังนี้TOWER CRANE 1ชุด ปมลม 1 เครื่องรถยิงปมคอนกรีต1 คัน รถดัมพเปอร 1 คันเครื่องสูบน้ํา 2 เครื่อง ตูเชื่อม 4 เครื่องเครื่องตัดเหล็ก 2 เครื่อง เครื่องดัดเหล็ก 2 เครื่องเครื่องจี้คอนกรีต 2 เครื่อง รถกระบะ 2 คันรถบรรทุก 6 ลอใหญ 2 คัน รถแบคโฮ PC200 1 คันรถดัมพ 2 คันผนังภายใน เปน ผนังวัสดุกอโดยเปนผนังวัสดุกอ ครึ่งแผน และ เต็มแผน ดังนี้พื้นที่ผนังวัสดุกอ ครึ่งแผน 11,835 ตร.ม.ตนทุน ตอ ตร.ม.629.17 บาทพื้นที่ผนังวัสดุกอ เต็มแผน 342 ตร.ม.ตนทุน ตอ ตร.ม.779.18 บาทงานผนังวัสดุกอ คิดเปนรอยละ 8.80% ของราคาคากอสรางงานเสาโครงสรางคิดเปนรอยละ 3.65% ของราคาคากอสรางรวมคางานผนังวัสดุกอและงานเสาคิดเปนรอยละ 12.45% ของราคาคากอสรางผนังภายนอก เปน ผนังวัสดุกอพื้นที่ผนังวัสดุกอ 850 ตร.ม.ตนทุน ตอ ตร.ม.765.29 บาทงานผนังวัสดุกอคิดเปนรอยละ 0.89% ของราคาคากอสรางผนังภายนอก เปน ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปพื้นที่ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป 3,415ตร.ม.ตนทุน ตอ ตร.ม. 1,360.00 บาทงานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป คิดเปนรอยละ 5.30% ของราคาคากอสรางระยะเวลาในการกอสรางระยะเวลาการกอสรางอาคาร โครงการ 1 ที่ใชระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ เปนผนังภายใน และ ระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอก อาคาร Jรวม 275 วันระยะเวลาการกอสรางอาคาร โครงการ 2 ที่ใชระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายใน และระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปเปนผนังภายนอก อาคาร C2รวม 238 วัน306


ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบปริมาณงาน ตนทุน คางานเมื่อเทียบกับมูลคาทั้งหมด ระยะเวลากอสรางผนังภายในผนังภายนอกรายการ หนวย โครงการ1 โครงการ2 โครงการ1 โครงการ2ผนังรับน้ําหนัก ผนังวัสดุกอ ผนังวัสดุกอ ผนังค.ส.ล.ชนิดหลอในที่ อิฐมอญ บล็อกมวลเบา สําเร็จรูปตร.ม.ตอ คนปริมาณงานที่ทําไดมากกวา346.01%-มากกวา 142.05%401.76%ของผนังวัสดุกอของผนังวัสดุกอบาท ตอตนทุนตร.ม. 1,748.74 629.17* 765.29 1,360เพิ่มขึ้น 177.94%เพิ่มขึ้น 77.71%จากผนังวัสดุกอ คิดเฉพาะคาจาก(เฉพาะคาผนัง) งานผนัง ผนังวัสดุกอตนทุนคางาน : มูลคางานตอ วัน 7.31 3.02 1.417 6.32 - 7.11บาท ตอตร.ม. 1,748.74 892.24**เพิ่มขึ้น 95.99%จาก คิดคางานผนังวัสดุกอ(คาผนัง+เสา)ผนังและเสาทั้งหมด 6.75% 12.45**% 0.89% 5.30%ชม. ตอตร.ม.ระยะเวลากอสรางเวลาลดลง 58.87%ของ ผนังวัสดุกอ* คิดเฉพาะคางานผนังวัสดุกอ ** คิดคางานผนังวัสดุกอ และ เสาตอ คน 1.09 2.65 5.65 1.<strong>13</strong>เวลาลดลง 80%ของ ผนังวัสดุกอจากผลการศึกษา ผูวิจัยสรุปการวิเคราะหงานผนังไดดังนี้1.การวิเคราะหรายละเอียดและขั้นตอนการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูป สรุปไดวา การผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปบริเวณหนวยงานกอสราง มีความสะดวกในการขนสงมากกวา โดยขนสงไดตลอดเวลา สวนการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปโดยโรงงานผลิตภายนอกบริเวณหนวยงานกอสราง จะตองขนสงในเวลากลางคืนเทานั้น หากมีอุปสรรคในการขนสง เชน รถบรรทุกน้ําหนักเกิน หรือ ขนาดชิ้นสวนสําเร็จรูปใหญเกินกําหนดของกฎหมาย ก็ทําใหไมสามารถขนสงได ในดานคากําลังอัดประลัยของคอนกรีต ณ 28 วัน (Compressive Strength)ที่แตกตาง307


กัน ขึ้นกับประเภทชิ้นสวนสําเร็จรูป โดยโครงการ 1 ชิ้นสวนสําเร็จรูปเปนพื้นสําเร็จรูปตองรับน้ําหนักบรรทุกมากกวา ชิ้นสวนสําเร็จรูปของโครงการ 2 ซึ่งเปนผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปที่ไมรับน้ําหนักกระทําจากภายนอก ดังนั้นคากําลังอัดประลัยของคอนกรีต ณ 28 วัน (Compressive Strength) ของโครงการ 1 จึงสูงกวาโครงการ 2 จากเหตุผลดังกลาวนี้ก็สงผลกับลักษณะการวางชิ้นสวนสําเร็จรูปเมื่อหลอเสร็จแลวของโครงการ 1 จึงสามารถวางเรียงซอนทับกันในแนวดิ่งไดเพราะคอนกรีตสามารถรับแรงไดมากกวา สวนของโครงการ 2 ตองวางเรียงในแนวตั้งพิงกับ A-Frame เพื่อรับน้ําหนักบรรทุกคงที่(Dead Load) ของชิ้นสวนชิ้นนั้นเองเทานั้น2.การวิเคราะหรูปแบบงานผนังที่ใชในโครงการ สรุปไดวางานผนังภายใน โครงการ 1 เปนระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ ซึ่งทํา 2 หนาที่ จึงสามารถลดระยะเวลา และ ขั้นตอนการในการกอสรางจาก 2 ขั้นตอนคือ งานผนังและงานเสา เหลือเพียงระยะเวลาการกอสรางผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ สวนงานผนังภายนอกสรุปไดวาโครงการ 2 เปนระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปใชเทคโนโลยีชั้นสูงกวาโครงการ 1 ที่เปนระบบผนังวัสดุกอจึงตองใชชางที่มีความชํานาญในการติดตั้งโดยเฉพาะเทานั้น3.การวิเคราะหวิธีการกอสรางงานผนัง สรุปไดดังนี้3.1 การวิเคราะหงานกอสรางงานผนังงานผนังภายในอาคาร สรุปไดวา ผนังภายใน โครงการ 1 ที่ใชระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ เปนผนังภายใน ปริมาณงานที่ทําได ตอ คน ตอ วัน มีคาเทากับ 7.31 ตร.ม. / คน / วัน ซึ่งมากกวา โครงการ 2 ที่ใชระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายใน ที่มีคาเทากับ 3.02 ตร.ม. / คน / วัน โดยปริมาณงานที่ทําได ตอ คนตอ วัน ของระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ เปนผนังภายใน โครงการ 1 มีคามากกวา ของ ระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายใน โครงการ 2 เทากับ 4.29 ตร.ม. / คน / วัน หรือ มีคามากกวา คิดเปน 142.05%การทํางานระบบผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายใน โครงการ 1 ปริมาณงานที่ทําได มีคามากกวา ของระบบผนังวัสดุกอ จึงทําใหระยะเวลากอสรางเร็วและลดขั้นตอนกวาโครงการ2งานผนังภายนอกอาคาร สรุปไดวา ผนังภายนอก หากจะเปรียบเทียบดานปริมาณ งานที่ทําไดตอวัน งานผนังวัสดุกอของโครงการ 1 ทําไดวันละ 28.33 ตร.ม. ตอ วัน ทั้งที่ใชชางมากกวา (เฉลี่ยงาน 1.417 ตร.ม. / คน / วัน)สวนงานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปของโครงการ 2 ทําได 56.92 ตร.ม.ตอวัน (เฉลี่ยงาน 6.32 – 7.11 ตร.ม. / คน / วัน)ซึ่งปริมาณงานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป ของโครงการ 2 ที่ทําได ตอ คน ตอ วันมีคามากกวา ผนังวัสดุกอ ของโครงการ 1 ที่เปนผนังภายนอกอาคาร เทากับ 4.903 – 5.693 ตร.ม. / คน / วัน หรือ มีคามากกวา คิดเปน346.01% - 401.76%แตจํานวนวันทํางานรวมของผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป ของโครงการ 2 มากกวาผนังวัสดุกอ ที่เปนผนังภายนอกอาคาร ของโครงการ 1 ทั้งนี้เพราะทั้ง 2 โครงการมีปริมาณงานผนังภายนอกอาคารมากกวา และเลือกใชจํานวนแรงงานตางกัน308


ดังนั้นการกอสรางอาคารชุด 8 ชั้น ดวยระบบผนังวัสดุกอของโครงการ 1 และ ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปของโครงการ 2 เปนผนังภายนอกอาคาร ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปมีความเหมาะสมกวามากทั้งในดานขั้นตอนการทํางาน จํานวนแรงงาน และ ระยะเวลาการกอสราง4.สรุปการวิเคราะห แรงงาน เครื่องมือที่ใชในการกอสราง4.1.การวิเคราะห บุคคลากร แรงงาน ที่ใชในการกอสราง สรุปไดวา การกอสรางดวยระบบที่แตกตางกันของทั้ง 2 โครงการ จะตางกันเฉพาะในสวนของจํานวนแรงงานในดานปฏิบัติงานกอสรางเทานั้นสวนจํานวนบุคคลากรในดานบริหารควบคุมงาน ของทั้ง 2 โครงการ มีจํานวนใกลเคียงกัน โดย โครงการ 1 ที่ใชระบบผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายใน และ ระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอก มีการใชแรงงานมากกวาโครงการ 2 ที่ใชระบบผนังวัสดุกอเปนผนังภายใน และ ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปเปนผนังภายนอก โดย แยกเปนประเภทงาน ดังนี้1. ผนังวัสดุกอ เปน ผนังภายนอก ของโครงการ 1 ตองใชแรงงาน มากกวา งานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปเปนผนังภายนอก ของโครงการ 2 จํานวน 12 คน2. ผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายใน ของโครงการ 1 ใชแรงงานนอยกวา งานผนังวัสดุกอเปนผนังภายใน ของโครงการ 2 จํานวน 19 คน (หากคิดรวมงานเสาดวย จะเปนจํานวน 39 คน)3. งานระบบและอื่นๆของโครงการ 1 ที่ใชระบบผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายใน และ ระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอกมีการใชแรงงานมากกวา โครงการ 2 ที่ใชระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายใน และระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป เปนผนังภายนอก จํานวน 24 คน4.2.การวิเคราะหเครื่องมือที่ใชในการกอสราง สรุปไดวา ประเภทของระบบงานกอสรางที่ใช จะเปนตัวกําหนดการเลือกชนิด จํานวน ของเครื่องมือ และอุปกรณการใชงาน5.สรุปการวิเคราะหตนทุนและระยะเวลาในการกอสราง5.1.การวิเคราะหตนทุนในการกอสราง5.1.1การวิเคราะหเปรียบเทียบราคาคากอสรางในสวนงานผนังภายนอกสรุปไดวา งานผนังภายนอก ระบบผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป ที่มีคากอสราง 1,360.00 บาท/ ตร.ม. ซึ่งจะมีราคาคากอสรางสูงกวา ระบบผนังวัสดุกอ ที่มีคากอสราง 765.29 บาท/ ตร.ม.เปนจํานวน 594.71บาท / ตร.ม.ซึ่งคิดคารอยละความแตกตางของราคาคากอสรางผนังภายนอกระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปจะเพิ่มขึ ้น 77.71 %จากระบบผนังวัสดุกอ5.1.2.การวิเคราะหเปรียบเทียบราคาคากอสรางในสวนงานผนังภายในสรุปไดวา งานผนังภายใน คางานระบบผนังรับน้ําหนัก มีคา 1,748.74 บาท/ ตร.ม. หากเปนระบบผนังวัสดุกอ (คิดเฉพาะคางานผนัง) มีคา 629.17 บาท/ ตร.ม. ซึ่งคิดคารอยละความแตกตางของ ราคาคากอสรางผนังภายใน ระบบผนังรับน้ําหนัก จะเพิ่มขึ้น177.94 % จากระบบผนังวัสดุกอ(คิดเฉพาะคางานผนัง)309


หากเปรียบเทียบคางานระบบผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายใน มีคา 1,748.74 บาท/ ตร.ม. กับระบบผนังวัสดุกอ (คิดคางานผนังและเสา) มีคา 892.24 บาท/ ตร.ม. ซึ่งคิดคารอยละความแตกตางของราคาคากอสรางผนังภายในระบบผนังรับน้ําหนักจะเพิ่มขึ้น 95.99 % จากระบบผนังวัสดุกอ(คิดคางานผนังและเสา)5.1.3.วิเคราะหการเปรียบเทียบราคาคากอสรางตามประเภทงาน สรุปไดวา งานผนังภายใน สัดสวนคากอสรางแยกตามประเภทงานตางๆ งานผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายในอาคาร โครงการ 1สัดสวนคิดเปนรอยละเมื่อเทียบกับคางานทั้งหมด มีคาเทากับ 6.75% ซึ่งนอยกวา งานผนังวัสดุกอ และ เสาเปนผนังภายในอาคาร โครงการ 2 สัดสวนคิดเปนรอยละเมื่อเทียบกับคางานทั้งหมด มีคาเทากับ 12.45%งานผนังภายนอก ผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอกอาคาร โครงการ 1 สัดสวนคิดเปนรอยละเมื่อเทียบกับคางานทั้งหมด มีคาเทากับ 0.89% ซึ่งนอยกวา งานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป เปนผนังภายนอกอาคาร โครงการ2 สัดสวนคิดเปนรอยละเมื่อเทียบกับคางานทั้งหมด มีคาเทากับ 5.30%5.2.การวิเคราะหระยะเวลาในการกอสรางงานผนังภายนอก สรุปไดวา ระยะเวลาการกอสราง ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปเปนผนังภายนอก ของโครงการ2 ตอ พื้นที่ 1 ตร.ม. ตอชาง 1 คน ซึ่งมีคาเทากับ 1.<strong>13</strong> ชม./ ตร.ม. / คนจะใชระยะเวลากอสรางนอยกวาระยะเวลาการกอสรางระบบผนังวัสดุกอ เปนผนังภายนอก ของ โครงการ 1 ตอ พื้นที่ 1 ตร.ม.ตอ ชาง 1 คน ซึ่งมีคาเทากับ 5.65 ชม./ ตร.ม. / คนคารอยละความแตกตางของเวลาในกอสรางผนังภายนอก ระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป จะใชเวลาทํางานลดลง = 80 % ของระบบผนังวัสดุกองานผนังภายใน สรุปไดวา ระยะเวลาการกอสรางระบบผนังรับน้ําหนัก เปนผนังภายใน ของ โครงการ 1 ตอพื้นที่ 1 ตร.ม.ตอ ชาง 1 คน ซึ่งมีคาเทากับ 1.09 ชม./ ตร.ม. / คน จะใชเวลากอสรางนอยกวา ระยะเวลาการกอสรางระบบผนังวัสดุกอเปนผนังภายใน ตอพื้นที่ 1 ตร.ม. ตอ ชาง 1 คน ซึ่งมีคาเทากับ 2.65 ชม./ตร.ม./ คนคารอยละความแตกตางของเวลาในกอสรางผนังภายใน ระบบผนังรับน้ําหนัก จะใชเวลาทํางานลดลง= 58.87 % ของระบบผนังวัสดุกอ6.สรุปการวิเคราะห ปญหาในการกอสรางผลการศึกษาดานปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางอาคารชุด 8 ชั้นที่นําระบบผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป และระบบผนังรับน้ําหนัก มาใช ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นมีความแตกตางกัน ดังนี้6.1.การวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางงานผนังรับน้ําหนัก มีดังนี้1.ผิวผนังรับน้ําหนักไมเรียบเสมอกัน สาเหตุเนื่องจากผิวแบบหลอไมเรียบ ทีมงานมีหลายชุดหากชุดใดมีชางในการตรวจซอมแซมแบบหลอ ผิวผนังจะออกมาเรียบ การแกไข ทํา Skim coat ผิวผนังนั้น แตทั้งนี้ก็เปนการเพิ่มงาน และ เพิ่มคาใชจาย อีกทั้งยังทําใหเสียเวลามากขึ้น2.Alignment ของชิ้นงานผนังรับน้ําหนักไมดีพอ สาเหตุเนื่องจากขอผิดพลาดในการตรวจสอบและการทํางานทําใหตองตกแตงผิวผนัง การแกไขโดยพอกผิวผนังบางสวนออกมาใหหนาขึ้น เพื่อใหแนวเรียบเสมอกัน310


3. เครื่องจักรที่ใช เชน ทาวเวอรเครนมีขอจํากัดในการทํางาน สาเหตุเนื่องจาก การกอสรางอาคาร 16 หลัง ใชทาวเวอรเครนทั้งสิ้น 9 ตัว การทํางานตองรอเวลาการใชทาวเวอรเครน จึงทําใหทํางานไดไมเต็มประสิทธิภาพและ ขอจํากัดเรื่องความสามารถในการยกไดของเครน การแกไข โดยเพิ่มMobile crane6.2.การวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางงานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป มีดังนี้1. ตําแหนง Insert Plate ที่ฝงไวในพื้นอาคาร ใชสําหรับเชื่อมยึดติด แผนผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป มีความคลาดเคลื่อนไปจากแบบ สาเหตุเนื่องจาก การเทคอนกรีตพื้นโดยใชปมพคอนกรีตซึ่งมีแรงดันสูง ทําให InsertPlateเคลื่อนตัวไป การแกไข โดย ทําการยึดInsert Plate ใหแนนหนา และ ยึดติดกับแบบทองพื้น2.การเทคอนกรีตพื้นผิดระดับ ทําให Insert Plate อยูต่ําลงจากระดับพื้นมาก ทําใหตองสกัดพื้น สาเหตุเนื่องจากการปาดผิวคอนกรีตพื้น ไมไดระดับ การแกไข โดยกําหนดตําแหนงระดับใหถี่มากขึ้น3. บริเวณขอบนอกของพื้นยื่นล้ําแนวติดตั้งผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป สาเหตุ เนื่องจากขณะเทคอนกรีตพื้น แรงดันของคอนกรีตดันแบบขางพื้นใหโกงออกไปมาก การแกไข โดยยึดแบบขางพื้นใหแนนหนา4.เครื่องจักรที่ใช เชน ทาวเวอรเครนมีขอจํากัดดานเวลาในการทํางาน สาเหตุ เนื่องจากการใชทาวเวอรเครนตองใชรวมกับงานอื่นๆ งานผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปสามารถใชทาวเวอรเครนไดเฉพาะชวงเวลาเทานั้น สวนชวงเวลาอื่น จะตองทํางานใหสวนอื่น เชน สวนโครงสราง สถาปตย เปนตน การแกไข ตองจัดแผนการใชเครื่องจักร และออกแบบชวงเวลาการใชงานใหสอดคลองกับประเภทงาน5.ปญหาดานการขนสงผนังค.ส.ล.สําเร็จรูป สาเหตุ เกิดจากอุปสรรคของการขนสง เชน สภาพรถ การบรรทุกน้ําหนักเกินกําหนด การแกไข โดยจัดหารถบรรทุกสํารอง และ กําหนดจํานวนแผน ขนาด ในการบรรทุกเลย6.ปญหาจากความเสียหาย ที่เกิดขึ้นกับผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป สาเหตุ เกิดจากขั้นตอนการขนสง และ ยกติดตั้งทําใหผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป กระทบระหวางตัวแผนผนังค.ส.ล. สําเร็จรูปเอง หรือ กระแทกตัวอาคารขณะติดตั้งการแกไข หากเปนความเสียหายเล็กนอยก็จะทําการซอมแซม แตถาเปนความเสียหายมากตองแจงทางโรงงานใหหลอมาใหม ทั้งนี้ทางวิศวกรจะเปนผูตรวจสอบ7.ความบกพรองในการติดตั้ง สาเหตุ เกิดจากชางที่ติดตั้งอาจเชื่อมยึดผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป นอยกวาขอกําหนด การแกไข โดยมีผูตรวจสอบงานติดตั้งภายหลังจากที่ติดตั้งไปแลว หากพบวาไมเปนไปตามมาตรฐานก็แจงใหแกไข เพื่องานออกมาดวยความสมบูรณ6.3.การวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางงานผนังวัสดุกอ มีดังนี้1.การทํางานใชระยะเวลามาก สาเหตุ เปนการกอวัสดุที่มีขนาดเล็ก ในหนวยงาน ตองใชระยะเวลามากการแกไข โดยการเพิ่มจํานวนชางใหมากพอ2.ผิวผนังมีรอยแตกราว สาเหตุ เกิดจากวัสดุที่ใช และ ขอผิดพลาดในการปฏิบัติงานของชาง การแกไขอบรม วิธีการทํางาน และ ติดตั้งตาขายกรงไกกันราวบริเวณรอบวงกบ หรือ เสาเอ็น คานทับหลัง3.การขาดแคลนชางที่มีฝมือ สาเหตุ ชางสวนมากมักเปนเกษตรกรเขามาทํางานในชวงรอทําเกษตรกรรม ถาถึงชวงที่ตองไปทําเกษตรกรรม ก็จะกลับไปยังทองถิ่นของตน ทําใหขาดแคลนชาง การแกไข โดยเรงการทํางาน เพิ่มระยะเวลาการทํางาน เชน เพิ่มงานลวงเวลา311


7. สรุปการวิเคราะห ขอดี ขอจํากัด งานผนังตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะห ขอดี ขอจํากัด ของงานผนังภายในและ ภายนอกขอดี ขอจํากัดผนังภายนอกผนังภายนอก เปน ผนังวัสดุกอขอดี1.สถาปนิกผูออกแบบสามารถออกแบบผนังไดหลากหลายตามความพอใจที่ตองการ มีความยืดหยุนในการทํางานสูง2.ไมตองกังวลตอปญหาน้ํารั่วซึม3.สามารถลดขนาดโครงสรางใหเล็กลงไดเนื่องจากมีน้ําหนักเบามีความหนาแนนแหงเพียง 500 กก./ลบ.ม. จึงเบากวาผนังวัสดุกออิฐมอญ 2 - 3 เทา และยังเบากวาผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปทั่วไป 4 - 5 เทา4.ใชเครื่องมือพื้นฐานของชางไมชางปูน เชน เลื่อย ฉาก ฆอนยาง ไมตองใชเครื่องจักร ทํางานงายขึ้น ไมวาจะเปนงานตัดแตง เลื่อย ไส เจาะ และดวยขนาดวัสดุกอที่ใหญอยางพอเหมาะ จึงสะดวกในการขนเคลื่อนยายเพื่อการกอสราง5.ผนังวัสดุกอ ประเภททอิฐมวลเบา นั้นมีฟองอากาศขนาดเล็กกระจายตัวอยางสม่ําเสมอในคอนกรีต จึงเปนฉนวนกันความรอนที่ดีเยี่ยม สามารถตานทานความรอนไมใหเขามาในอาคารไดดีกวาผนังวัสดุกออิฐมอญ 4-8 เทา และไมเก็บความรอนไวในตัวเอง ชวยประหยัดพลังงานไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศไดกวา 30 %ขอจํากัด1.ใชเวลาในการทํางานมาก ทําใหตองใชระยะเวลาในการกอสรางอาคารมากขึ้นตาม2.ตองใชชางปูนจํานวนมาก ดังนั้นงานจึงมีหลายคุณภาพตองใชการตรวจสอบอยางละเอียด มิฉะนั้นปูนฉาบผนังอาจหลุดรอนได3.ตองมีงานฉาบภายนอกอาคาร จึงตองตั้งนั่งรานสูงเทาความสูงอาคาร ซึ่งเปนงานที่ยุงยากและอันตราย4.งานผนังวัสดุกอ เปนเทคนิคการกอสรางแบบเปยก ทําใหบริเวณหนางานสกปรก ตองใชทีมงานและเวลามากในการเคลียรพื้น หลังจากทํางานผนังเสร็จ5.สิ้นเปลืองทรัพยากรเนื่องจากการสูญเสียของเศษวัสดุ มีมาก6.งานผิวผนังอาจมีการแตกราวไดงาย และ ทําใหมีปญหาตอการทาสี7.มีปญหาในการเจาะยึดวัสดุภายหลังผนังเสร็จแลวผนังภายนอก เปน ผนังค.ส.ล.สําเร็จรูปขอดี1.งานผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป เปนชิ้นงานขนาดใหญทําใหชวยลดระยะเวลาในการกอสรางอาคาร แตตองใชเทคนิคในการเสริมเหล็กในตําแหนงใกลหูยก และ ชองเปดเพื่อกันการแตกราว2.ใชรอยตอหลายรูปแบบ เพื่อสามารถทําการประกอบติดตั้งไดอยางรวดเร็ว และแข็งแรง3.สามารถตรวจสอบ และ ควบคุมคุณภาพของงานใหเปนตามมาตรฐานได4.งานผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป เปนเทคนิคการกอสรางแบบแหงทําใหบริเวณหนางานไมสกปรก5.ประหยัดทรัพยากร การสูญเสียของเศษวัสดุ มีนอย6.ใชจํานวนแรงงานในการกอสรางนอยกวา7.งานผิวผนังมีความสมบูรณ ไมเกิดการแตกราวเนื่องจากทางโรงงานผลิตใชเทคนิคในการเปดผิวหนา จํานวน 3 รอบและ ไมใชปูนผงโรยขณะแตงผิวหนา8.เปนการทํางานที่งายกวา ถึงแมเปนงานริมขอบอาคารก็ไมตองตั้งนั่งราน และ มีความปลอดภัยในการทํางานสูงกวา9.ชิ้นสวนมีการออกแบบรองหยดน้ําและบัวกันน้ําขอจํากัด1.งานผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป เปนชิ้นงานขนาดใหญ จึงมีน้ําหนักมาก ทําใหตองใชเครื่องจักรในการทํางาน2.รอยตอระหวางชิ้นงาน หากมีการอุดรองไมดี อาจเปนจุดบกพรองทําในเกิดการรั่วซึมได3.ตองใชแรงงานชางที่มีความชํานาญในการทํางานเทานั้น4.ตองใชที่กองเก็บผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป มาก5. เปนงานที่ตองการความแมนยําสูงดังนั้นจึงมีความยืดหยุนในการทํางานนอย6. รอยตอเปนแบบเชื่อมตองใชไฟฟาทําการเชื่อมติดตั้ง7.ผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป จะเก็บความรอนไวนาน ทําใหสิ้นเปลืองไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ8.ขณะขนสงผนังค.ส.ล. สําเร็จรูป ที่เปนชิ้นงานขนาดใหญ จะทําใหแตกราวงาย312


ผนังภายใน เปน ผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่ขอดี1.ลดขั้นตอนการทํางาน จากงานเสาโครงสราง และ ผนังวัสดุกอ เหลือขั้นตอนเดียว คือ ระบบผนังรับน้ําหนักชนิดหลอในที่2.ลดเวลาในการทํางาน ทําใหชวยลดระยะเวลาในการกอสรางอาคาร3. แข็งแรง ทนทาน เนื่องจากเปนผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก4.ใชแรงงานนอยกวางานผนังวัสดุกอ และ ไมตองใชชางฝมือแตตองทําตามลําดับขั้นตอนการทํางานเทานั้น5.ผิวผนังจะเรียบ ไมตองตกแตงเพิ่ม หากแบบหลอเหล็กมีคุณภาพที่ดีขอจํากัด1.มีขอจํากัดในดานการทํางานหนางาน ซึ่งยังคงขึ้นกับสภาพอากาศ เพราะทํางานกลางแจง2.ตองใชแบบหลอที่มีราคาแพง ตนทุนดานเครื่องมือจึงสูง3.การตั้งแบบหลอผนัง ตองมีลําดับขั้นตอนการทํางานที่มากทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย4.แบบเหล็กมีน้ําหนักมาก จึงตองใชเครื่องจักรในการทํางานเทานั้น5.หากแบบหลอผนังขาดการซอมบํารุง ผิวไมเรียบ เมื่อหลอผนังมาผิวก็จะไมเรียบ จึงตองทําการตกแตงผิวผนังดวยการทําSkim coat ทําใหเสียเวลามากขึ้น และ คาใชจายเพิ่มขึ้นผนังภายใน เปน ผนังวัสดุกอขอดี1.สถาปนิกผูออกแบบสามารถออกแบบผนังไดหลากหลายตามความพอใจที่ตองการ มีความยืดหยุนในการทํางานสูง2.สามารถลดขนาดโครงสรางใหเล็กลงไดเนื่องจากมีน้ําหนักเบากวาผนังคอนกรีต หรือ ผนังรับน้ําหนัก3.ใชเครื่องมือพื้นฐานของชางปูน ไมตองใชเครื่องจักร ทําใหการทํางานงายขึ้น4.ผูบริโภคใหการยอมรับสูงขอจํากัด1.ใชเวลาในการทํางานมาก ทําใหตองใชระยะเวลาในการกอสรางอาคารมากขึ้นตาม2.ตองใชชางปูนจํานวนมาก ดังนั้นงานจึงมีหลายคุณภาพตองใชการตรวจสอบอยางละเอียด มิฉะนั้นปูนฉาบผนังอาจหลุดรอนได3.งานผนังวัสดุกอ เปนเทคนิคการกอสรางแบบเปยก ทําใหบริเวณหนางานสกปรก ตองใชทีมงานและเวลามากในการเคลียรพื้น หลังจากทํางานผนังเสร็จ4.สิ้นเปลืองทรัพยากรเนื่องจากสูญเสียเศษวัสดุมาก5.วัสดุที่ใชกอไมมีมาตรฐานที่แนนอน มาจากหลายแหลงคุณภาพจึงแตกตางกัน6.งานผิวผนังอาจมีการแตกราวไดงาย และ ทําใหมีปญหาตอการทาสีจากผลการวิจัยและการวิเคราะหผลดังกลาว ผูวิจัยคาดหวังวาขอมูลขางตนจะใชเปนแนวทางใหผูประกอบการและผูรับเหมาตัดสินใจเลือกใชวิธีการกอสรางระบบผนังใหเหมาะสมกับโครงการ และเปนแนวทางใหกับผูบริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อที่พักอาศัย นอกจากนี้ยังเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจเลือกลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพยสําหรับผูที่สนใจศึกษา และใชเปนฐานขอมูลสําหรับการศึกษาคนควาและเปนพื้นฐานสําหรับผูประกอบการ หรือ ผูที่สนใจเพื่อใชในการพัฒนารูปแบบการกอสรางที่อยูอาศัยใหสอดคลองกับความตองการตอไป3<strong>13</strong>


สภาพการพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยLIVING CONDITION IN DORMITORY OF CHULALONGKORN UNIVERSITYนางสาว วรรณภาพร วงฉยาหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของประเทศไทยและถือเปนมหาวิทยาลัยขนาดใหญที่ตั้งอยูใจกลางของกรุงเทพมหานคร เปดทําการเรียนการสอนรวมทั้งสิ้น 18 คณะ ครอบคลุมทุกสาขาวิชาทั้งกลุมวิทยาศาสตรกายภาพ, กลุมวิทยาศาสตรสุขภาพ, กลุมวิทยาศาสตรชีวภาพ และกลุมสังคมศาสตร จากขอมูลภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2551 พบวาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีนิสิตจํานวนรวมทั้งสิ้น 34,495 คน 1 โดยมีนิสิตในระดับปริญญาตรีเปนจํานวนมากที่สุด คือ 21,349 คน ซึ่งคิดเปนรอยละ 62 ของจํานวนนิสิตทั้งหมด ในสวนของที่พักอาศัยนั้นทางจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดจัดที่พักอาศัยสําหรับนิสิตในระหวางที่ทําการศึกษาเปนจํานวนทั้งสิ้น 4 แหง คือ หอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, หอพักนานาชาติศึกษิตนิเวศน, หอพักนิสิตแพทย และหอพักพวงชมพู โครงการยูเซ็นเตอร ซึ่งจะมีความแตกตางกันไปในแตละหอพัก ดังนี้1. หอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีที่ตั้งอยูบริเวณถนนพญาไท เปนหอพักที่จัดขึ้นเพื่อรองรับนิสิตชายและหญิงในระดับปริญญาตรี รวมไปถึงนิสิตชายในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีภูมิลําเนาอยูตางจังหวัดและในกรุงเทพฯแตไมเอื้อตอการศึกษา และมีความตองการที่พักอาศัยในระหวางทําการศึกษา2. หอพักนานาชาติศึกษิตนิเวศน ตั้งอยูที่จุฬาฯซอย6 จัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับนิสิต อาจารย และนักวิจัยชาวตางชาติ รวมถึงนิสิตหญิงในระดับบัณฑิตศึกษาอีกดวย3. หอพักนิสิตแพทย เปนหอพักที่อยูในการดูแลบริหารจัดการโดยคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จัดขึ้นเพื่อรองรับนิสิตแพทยที่กําลังศึกษาอยูในชั้นปที่ 4-64. หอพักพวงชมพู โครงการยูเซ็นเตอร ตั้งอยูบริเวณซอยจุฬา42 เปนหอพักเอกชนที่อยูในกํากับของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จัดขึ้นเพื่อรองรับนิสิตในระดับปริญญาตรีชายและหญิงที่มีความตองการที่พักอาศัย โดยเนนกลุมที่มีความสามารถในการจายคาที่พักอาศัยจากหอพักทั้งหมดจะพบวา หอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนหอพักหลักของมหาวิทยาลัยที่จะรองรับนิสิตในระดับปริญญาตรี ซึ่งนิสิตกลุมนี้ถือเปนกลุมที่มีจํานวนและมีความตองการความชวยเหลือดานที่พักอาศัยในระหวางศึกษามากที่สุด โดยหอพักนิสิตจุฬาฯไดเริ่มมีการกอตั้งมาตั้งแตปพ.ศ.2465 และเปดดําเนินการมาจนถึงปจจุบันซึ่ง ณ ปจจุบันหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีตึกพักทั้งหมด 5 หลัง คือ ตึกจําปและตึกจําปาสําหรับนิสิตชาย, ตึกชวนชม, พุดตาน และพุดซอนสําหรับนิสิตหญิง สามารถรองรับนิสิตไดทั้งหมด 2,915 คน 2 แบงเปนนิสิตชาย 1,280 คนและนิสิตหญิง 1,635 คน ภายในบริเวณหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดมีการจัดเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อรองรับความตองการของนิสิตและเพื่อเปนประโยชนในการอยูอาศัยของนิสิต ดังเชน โรงอาหาร, รานคาสหกรณ, สนามกีฬา, รานซักอบรีด, รานถายเอกสารและพิมพงาน, ศูนยการเรียนรู เปนตน1จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จํานวนนิสิตทั้งหมด [ออนไลน]. 2551. แหลงที่มา :http://www.chula.ac.th/chula/th/about/brief_th.html [1 ต.ค. 2551].2 สํานักงานนิสิตสัมพันธ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. งานหอพักนิสิต[ออนไลน]. 2551. แหลงที่มา :http://www.sa.chula.ac.th/content.php?id=8 [20 ก.ค. 2551].314


หอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนั้นมีประวัติความเปนมายาวนาน โดยเริ่มตั้งแตเมื่อโรงเรียนมหาดเล็กซึ่งเปนโรงเรียนประจําเปลี่ยนเปน โรงเรียนขาราชการพลเรือนฯโดยมีสถานที่ตั้ง 5 แหง หอพักสําหรับนักเรียนจึงไดถูกสรางขึ้นติดกับวังของสมเด็จเจาฟามหาวชิรุณหิศฯ โดยรับนักเรียนที่เรียนทางวิศวกรรมศาสตรและการศึกษาเขาพักในตอนแรกนักเรียนรุนพี่เทานั้นที่ไดรับสิทธิเขาพักในหอพัก เนื่องจากจํานวนหองมีไมเพียงพอ ตอมาเมื่อสถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยขึ้นแลวหอพักยิ่งเปนสิ่งจําเปนมากขึ้นจึงไดมีการสรางหอพักนิสิตขึ้นเพื่อใหนิสิตจากคณะอักษรศาสตรและวิทยาศาสตรและคณะรัฐประศาสนศาสตรไดเขาพักในปพ.ศ.2465 บรรดานิสิตเรียกขานหอดั้งเดิมวา "หอวัง" เนื่องจากอยูติดกับวัง และหอพักที่เพิ่งสรางใหมวา "หอใหม" นิสิตหอพักสวนใหญเปนนิสิตที่ไดรับทุนจากกระทรวงตางๆและจายคาหองเดือนละ 15 บาทซึ่งนับวาเปนราคาที่คอนขางสูง สําหรับสมัยนั้นสําหรับนิสิตแพทยนั้นมีหอพักอยูที่โรงพยาบาลศิริราชซึ่งดัดแปลงมาจากตึกผูปวย ในปพ.ศ.2495 มหาวิทยาลัยไดสรางหอพักสําหรับนิสิตหญิง 3 ชั้น(ตึกชวนชม) และในปพ.ศ.2515 ไดสรางหอพักสําหรับนิสิตหญิง 14 ชั้น(ตึกพุดตาน)อีกหนึ่งอาคารในพื้นที่เดิมของหอใหม และตอมาปพ.ศ.2525 ไดมีการสรางหอพัก 5 ชั้น(ตึกจําปา)สําหรับนิสิตชายเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งอาคาร หลังจากนั้นในปพ.ศ.2535 และ 2545 ทางมหาวิทยาลัยไดจัดสรางหอพักนิสิตชาย 14 ชั้น(จําป)และหอพักนิสิตหญิง 14 ชั้น (พุดซอน) เพิ่มขึ้นอีกตามลําดับ โดยในชวงปพ.ศ.2541ทางคณะกรรมดําเนินงานหอพักนิสิตไดเสนอมหาวิทยาลัยใหปรับเปลี่ยนตึกจําปาใหเปนหอพักหญิงชั่วคราว และไดเปลี่ยนกลับมาเปนหอพักนิสิตชายดังเดิมในปพ.ศ. 2550 ที่ผานมาหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีนโยบายดานการจัดหาที่พักอาศัยโดยการจัดใหมีหอพักของมหาวิทยาลัยเพื่อเปนสวัสดิการใหแกนิสิตที่มีถิ่นฐานหรือภูมิลําเนาอยูตางจังหวัด และนิสิตที่เดินทางลําบากหรือพักอยูในสิ่งแวดลอมที่ไมเหมาะสมตอการเรียนหรือมีฐานะทางครอบครัวยากจน ดังนั้นลักษณะทางกายภาพของหอพักและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จัดใหมีจึงเปนเพียงการตอบสนองความตองการพื้นฐานของนิสิตกลุมหนึ่งเทานั้น คือ มีที่พักที่ปลอดภัย สะดวก และประหยัดคาใชจายในการเดินทาง คือ หอพักอยูภายในบริเวณของมหาวิทยาลัย และมีสิ่งแวดลอมที่สะอาด การบริหารหอพักอยูภายใตการดูแลของอนุสาสกซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบความประพฤติของนิสิต มารยาทและความเปนระเบียบเรียบรอย ตลอดจนรักษากฎเกณฑของหอพัก นิสิตจะไดรับการอบรมสั่งสอนใหมีความเปนผูนํา รูจักปกครองกันเอง และมีความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน นอกจากนี้ในเวลาเย็นจะมีการสอนพิเศษและทบทวนบทเรียนที่ไดเรียนไปแลว นิสิตที่เปนผูแทนหอพักนิสิตจะไดัรับเลือกจากบรรดานิสิตหอพักทั้งหมดและเปนตัวแทนอยูในคณะกรรมการของสโมสรนิสิตขณะเดียวกันก็เปนประธานคณะกรรมการของนิสิตหอพักเพื่อรวมกันปกครองดูแลนิสิตในหอพักดวยกันเองตลอดจนจัดกิจกรรมตางๆ โดยหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งหอพัก 3 ดังนี้1) เพื่อใหนิสิตไดอยูรวมกันในที่พักที่มีบรรยากาศเอื้อตอการศึกษา2) เพื่อฝกฝนใหนิสิตรูจักการอยูรวมกัน เคารพในสิทธิซึ่งกันและกัน มีน้ําใจ มีความสามัคคี มีความรับผิดชอบตอตนเองและตอสวนรวม เสริมสรางบรรยากาศการใชชีวิตในมหาวิทยาลัย3) เพื่อเปดโอกาสใหนิสิตทั้งหลายซึ่งมีพื้นความรูและความสนใจแตกตางกันไดแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจและความคิดเห็นซึ่งกันและกัน4) เพื่อชวยเหลือนิสิตที่มีภูมิลําเนาอยูตางจังหวัด และไมมีที่พักอยูในกรุงเทพหรือเปนนิสิตที่มีฐานะขาดแคลน3จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คูมือการอยูหอพักนิสิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2547. อางถึงใน ปริยมาศ มิ่งมณีนาคิน. ระบบบริหารจัดการหอพักนักศึกษาของมหาวิทยาลัย : กรณีศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรรมหาวิทยาลัย, 2549. 82.315


ในปจจุบันนั้นหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตั้งอยูบริเวณถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โดยแบงออกเปนหอพักชายและหอพักหญิง รวมทั้งสิ้นจํานวน 5 หลัง สามารถรองรับนิสิตไดทั้งหมดจํานวน 2,905 คน 4 มีรายละเอียดดังนี้หอพักนิสิตชายมี 2 อาคาร คือ ตึกจําปและตึกจําปา รับนิสิตไดจํานวน 1,280 คนตึกจําปตึกจําปา• ตึกจําป มีลักษณะเปนอาคารหอพักนิสิตชาย 14 ชั้น รับนิสิตได 1,000 คน พักหองละ 4 คน โดยนิสิตปริญญาบัณฑิต พักที่ชั้น 2- 12 จํานวน 840 คน นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา พักที่ชั้น <strong>13</strong>-14 จํานวน 160 คน• ตึกจําปา มีลักษณะเปนอาคารหอพักนิสิตชาย 5 ชั้น รับนิสิตพักได 280 คน พักหองละ 4 คนหอพักนิสิตหญิงมี 3 อาคาร คือ ตึกพุดตาน, ตึกชวนชม และตึกพุดซอน รับนิสิตไดจํานวน 1,625 คน โดยหอพักนิสิตหญิงจะรับเฉพาะนิสิตระดับปริญญาบัณฑิตเทานั้น• ตึกพุดตาน มีลักษณะเปนอาคารหอพักนิสิตหญิง 14 ชั้น รับพักได 519 คน พักหองละ 3 คน• ตึกชวนชม มีลักษณะเปนอาคารหอพักนิสิตหญิง 3 ชั้น รับพักได 192 คน พักหองละ 3 คน• ตึกพุดซอน มีลักษณะเปนอาคารหอพักหญิง 14 ชั้น รับพักได 924 คน พักหองละ 4 คนตึกชวนชมตึกพุดตาน ตึกพุดซอน ตึกชวนชม4 สํานักงานนิสิตสัมพันธ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. งานหอพักนิสิต[ออนไลน]. 2551. เขาถึงโดย :http://www.sa.chula.ac.th/content.php?id=8 [20 ก.ค. 2551].316


ประเภทของหองพักในหอพักนิสิตจุฬาฯมี 2 ประเภท คือ1) หองพักประเภท 4 เตียง เปนหองพักของตึกจําปา ตึกจําป และตึกพุดซอนตึกจําปและตึกพุดซอนตึกจําปา2) หองพักประเภท 3 เตียง เปนหองพักของตึกพุดตานและตึกชวนชมตึกพุดตานตึกชวนชม317


หองพักนิสิตจุฬาฯจะมีขนาดพื้นที่ 23.45 - 24.5 ตารางเมตร โดยมีลักษณะของหองพักความแตกตางไปตามลักษณะของอาคารแบงออกเปน 2 แบบ คือแบบที่ 1 เปนหองพักที่เรียงกันดานหนึ่งของอาคาร ดานหนาทางเขาหองพักเปนทางเดิน (Single loud corridor)บางอาคารมีทางเดินแบบเปด หองพักเปนทรงสี่เหลี่ยมผืนผาทั้งพื้นที่สวนพักผอนและระเบียง ซึ่งไดแก ตึกจําปา ตึกพุดตาน ตึกชวนชม ภายในหองพักของตึกจําปานั้นจัดเรียงเตียงนอนไวดานหนึ่ง สวนตูเสื้อผาและโตะเขียนหนังสืออีกดานหนึ่ง สําหรับตึกพุดตานและตึกชวนชมนั้นจัดเรียงเตียงนอน 2 เตียงติดกันและอีกหนึ่งเตียงขวางติดกําแพงดานหนึ่ง ตูเสื้อผาและโตะเขียนหนังสือเรียงรอบๆหองพักตึกจําปาตึกพุดตานแบบที่ 2 เปนหองพักที่หันหนาเขาหากัน และมีทางเดินอยูตรงกลาง (Double loud corridor) หองพักมีพื้นที่สวนพักผอนเปนทรงสี่เหลี่ยมและมีพื้นที่โถงทางเขาดานหนาหองพักยื่นออกมาพรอมกับชั้นวางของพื้นที่ระเบียงเปนทรงที่รับกับรูปดานของอาคารทําใหมีพื้นที่ใชสอยมากขึ้น ไดแก ตึกจําปและตึกพุดซอน ภายในหองพักจัดเรียงเตียงนอนเปนแบบฟนปลา ตูเสื้อผาและโตะเขียนหนังสือวางติดกําแพงชิดกับเตียงนอนตึกจําปและตึกพุดซอน318


ภายในหองพักมีอุปกรณที่จําเปนในการพักอาศัย ดังนี้ เตียงนอน, ที่นอน, โตะหนังสือพรอมเกาอี้ และตูเก็บของ1 ชุดตอนิสิตหนึ่งคน นอกจากนี้ยังมีชั้นวางของบริเวณทางเขาอาคารเฉพาะตึกจําป ตึกพุดซอน และตึกจําปาเทานั้นบริเวณพักผอนอานหนังสือพิมพและดูโทรทัศนทางขึ้นตึกพุดซอน ทางขึ้นตึกจําปาภายในหองพักหอชายภายในหองพักหอหญิงหองน้ําและหองอาบน้ํา319


ภายในบริเวณหอพักนิสิตจุฬาฯนั้นมีสิ่งอํานวยความสะดวกที่เตรียมไวเพื่อรองรับความตองการของนิสิตและเพื่อเปนประโยชนในการอยูอาศัยของนิสิต ไดแก รานคาจําหนายอาหาร ผลไม และเครื่องดื่ม จํานวน 8 ราน ตั้งอยูบริเวณใตตึกพุดซอน, รานคาสหกรณจําหนายสินคาอุปโภคบริโภค ตั้งอยูใตตึกพุดซอน, รานซัก อบ รีด ตั้งอยูใตตึกชวนชม, รานถายเอกสารและพิมพงาน ตั้งอยูใตตึกชวนชม, สนามบาสเก็ตบอล โรงยิมอเนกประสงค, หองสันทนาการ (CommomRoom) อยูภายในหอพักแตละอาคาร และหองใหคําปรึกษา, ศูนยการเรียนรูมีคอมพิวเตอรไวบริการ ตั้งอยูใตตึกชวนชม,พื้นที่อเนกประสงคสวนกลาง สําหรับพักผอนและทบทวนบทเรียน พบปะเพื่อน สวนรับผูปกครองและญาติ, ตู ATM ,โทรศัพทสาธารณะ, เครื่องซักผาหยอดเหรียญ, ที่จอดรถจักรยานและจักรยานยนต และนอกจากนี้ยังมีบริการอื่นๆ ไดแก ตูน้ําดื่มน้ํารอนน้ําเย็น บริการรับไปรษณียภัณฑ บริการยาสามัญประจําบาน เปนตนสนามบาสเกตบอล โรงยิมเนเซียม ศูนยการเรียนรูโรงอาหาร สหกรณรานคา รานถายเอกสารและปริ้นทงานรานซัก อบ รีด รานทําผม เครื่องซักผาหยอดเหรียญ ตูน้ําดื่มในสวนของอัตราคาหอพักนั้นทางจุฬาลงกรณคิดเปนภาคการศึกษา ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คือ ตึกจําป, จําปา,พุดตาน, ชวนชม นั้นจัดเก็บในอัตรา 4,000 /คน/ภาคการศึกษาปกติ และ2,000 /คน/ภาคฤดูรอน สวนตึกพุดซอนนั้นจัดเก็บในอัตรา 5,000 /คน/ภาคการศึกษาปกติ และ2,500 /คน/ภาคฤดูรอน โดยราคานี้รวมคาน้ําประปาและคาไฟฟาเรียบรอยแลว นอกจากนั้นในกรณีที่นิสิตคนอื่นที่นิสิตหอพักรับรองวามีความจําเปนมาขอพักเปนการชั่วคราวรวมสามารถเขาพักในหอพักนิสิตจุฬาฯไดหลังจากไดรับอนุญาตจากอนุสาสกหอพักนิสิตฯ โดยตองชําระคาธรรมเนียมหอพักในการพักในหองพักนิสิตวันละ 40-50 บาทตอคน และคาธรรมเนียมหอพักในการพักในหองพักสํารองวันละ 60-70 บาทตอคน320


ซึ่งในชวงระยะเวลาที่ผานมาพบวาหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีการเปลี่ยนแปลงคอนขางมาก คือ ในปพ.ศ. 2545 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดจัดสรางหอพักขนาด 14 ชั้นเพิ่มมาอีก 1 ตึก คือ ตึกพุดซอนสําหรับนิสิตหญิง และในปพ.ศ. 2550ที่ผานมาไดมีการเปลี่ยนใหตึกเฟองฟาขนาด 5 ชั้นซึ่งเดิมเปนหอพักสําหรับนิสิตหญิงมาเปนตึกจําปาซึ่งเปนหอพักสําหรับนิสิตชาย จึงทําใหหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนั้นมีนิสิตพักอาศัยเพิ่มขึ้นถึง 901 คน หรือคิดเปนรอยละ 31 ของจํานวนนิสิตเดิม โดยแบงเปนนิสิตหญิง 621 คนและนิสิตชาย 280 คน นอกจากจํานวนนิสิตที่เพิ่มขึ้นแลวจากการที่สภาพสังคมไทยในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ทําใหพฤติกรรมของมนุษยเปลี่ยนแปลงไป มีรูปแบบในการใชชีวิต กิจกรรม และมีลักษณะการอยูรวมกันในสังคมที่ตางไปจากเดิม เชนเดียวกับกลุมนิสิตหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางเห็นไดชัดเจน 5 เชน นิสิตมีความเปนปจเจกมากขึ้น ทําใหมีความสัมพันธกับเพื่อนรวมหองพักหรือหอพักนอยลง มีการทํากิจกรรมรวมกันเปนหมูคณะนอยลง นิสิตมีความเกรงใจเพื่อนรวมหองพักนอยลงและ มีปญหาในการปรับตัวเขากับเพื่อนรวมหองพักมากขึ้น รวมถึงนิสิตหอพักฯมีความตองการพึ่งพาสิ่งอํานวยความสะดวกมากขึ้น เชน คอมพิวเตอรโนตบุค, เครื่องซักผา เปนตนดังนั้นจึงมีความนาสนใจที่จะทําการศึกษาสภาพการพักอาศัย และปญหาการพักในปจจุบันของนิสิตที่พักอาศัยอยูในหอพักนิสิตของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อที่จะไดเปนขอมูลที่มีความทันสมัยสามารถนําไปใชประโยชนตอไปไดซึ่งสอดคลองกับวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยที่มุงเสริมสรางและพัฒนานิสิต จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาในเรื่องที่พักอาศัยของนิสิต ซึ่งถือเปนอีกหนึ่งปจจัยสําคัญสําหรับชวงชีวิตในระหวางทําการศึกษา เพื่อที่จะไดนําไปเปนขอมูลเพื่อสรางแนวทางในการแกไขและพัฒนาในดานที่พักอาศัยสําหรับนิสิตตอไป โดยในการศึกษาครั้งนี้ตองการที่จะทราบถึงสภาพการพักอาศัยและปญหาการพักอาศัยของนิสิตที่พักอาศัยอยูในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยซึ่งจะทําการศึกษาเฉพาะนิสิตในระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ที่พักอาศัยอยูในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในปการศึกษา 2551 เทานั้น ซึ่งจากขอมูลของสํานักงานหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พบวา มีประชากรจํานวนทั้งหมด 2,755 คน โดยในการวิจัยครั้งนี้จะกําหนดกลุมตัวอยางโดยใชวิธีทางสถิติตามหลักทฤษฎีของTaro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% กําหนดใหมีความคลาดเคลื่อนเทากับ +/- 5% จะไดกลุมตัวอยางจํานวน 350คน และเนื่องจากแตละอาคารพักอาศัยมีสภาพอาคารและจํานวนนิสิตที่แตกตางกัน ผูวิจัยจึงใชการคัดเลือกกลุ มตัวอยางดวยวิธีการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิตามสัดสวน (Proportional Stratified Random Sampling) เพื่อใหขอมูลมีการกระจายตัว และมีความสมบูรณของขอมูลมากขึ้น และในสวนของขอบเขตดานพื้นที่นั้นจะศึกษาเฉพาะหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งจะครอบคลุมทั้งในสวนพื้นที่พักอาศัยและพื้นที่บริการอื่นๆในบริเวณของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมีรายละเอียดดังนี้ อาคารพักอาศัยจํานวน 5 อาคาร คือ ตึกจําป สูง 14 ชั้น, ตึกจําปา สูง 5ชั้น, ตึกชวนชม สูง 3 ชั้น, ตึกพุดตาน สูง 14ชั้น, ตึกพุดซอน สูง 14 ชั้น และรวมไปถึงพื้นที่ใหบริการอื่นๆ เชน เชน โรงยิมเนเซียมอเนกประสงค, สนามบาสเกตบอล, โรงอาหาร รานคาสหกรณและรานเสริมสวย(ใตตึกพุดซอน), ศูนยการเรียนรู, รานถายเอกสารและพิมพงาน, รานซักอบรีบ(ใตตึกชวนชม) เปนตนโดยการศึกษารวบรวมขอมูลแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ไดมาจากศึกษาจากเอกสาร แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพักอาศัยในหอพักของนิสิตนักศึกษา ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับนิสิตหอพัก และหอพักนิสิตของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจากเอกสารของสํานักงานหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และในสวนของขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ใชการสรางแบบสอบถาม(Questionnaire) เพื่อนํามาเก็บรวบรวมขอมูลตอไปโดยแบบสอบถามที่ใชประกอบดวย คําถามปลายเปด (Open Ended Questions) คําถามปลายปด (Close Ended5 รับขวัญ ภูษาแกว.(ผูชวยอนุสาสกหอพักนิสิตหญิงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) สัมภาษณ, 22 พฤศจิกายน 2551.321


Questions) และแบบวัดทัศนคติใชมาตรวัดแบบไลเคิรท (Likert Scale) นําขอมูลที่ไดจากการตอบแบบสอบถามของกลุมตัวอยางมาแปรผลในรูปแบบของรอยละและการวัดคาคะแนน และนําผลการศึกษามาทําการวิเคราะหโดยใชโปรแกรมSPSS และนําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห ประกอบกับแนวคิดทฤษฎีตางๆ ตลอดจนขอมูลทุติยภูมิมาทําการสรุปผลการวิจัย พรอมทั้งเสนอแนะแนวคิดและทฤษฎีที่นํามาใชประกอบในการศึกษาครั้งนี้จะเนนในสวนของที่พักอาศัยสําหรับนักศึกษา โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษา ซึ่งการศึกษาระดับอุดมศึกษามีความมุงหมายที่จะพัฒนาบุคคลใหมีความสมบูรณพรอมในตนเอง ทั้งความสามารถและวิชาชีพ (Professional)ที่จะนําไปเปนเครื่องมือประกอบสัมมาชีพในอนาคต และดานบุคลิกภาพคุณธรรม จริยธรรม ที่จะสามารถดํารงตนอยูในสังคม ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ มีคานิยมและความประพฤติเปนไปตามบรรทัดฐานของสังคมประกอบ คุปรัตน ไดกลาวถึงสภาพการพักอาศัยของนิสิตนักศึกษา วาสภาพที่พักอาศัยและการเดินทางมาเรียนในสถาบันอุดมศึกษามีความสัมพันธตอการดําเนินการของสถาบันอุดมศึกษา จึงไดจัดประเภทของนิสิตนักศึกษาตามสภาพการพักอาศัยออกเปน 3 กลุม 6 คือ1. กลุมพักอาศัยอยูกับพอแมหรือผูปกครอง กลุมนี้จะเดินทางมาเรียนแบบเชาไปเย็นกลับ หรือแบบที่ตองเดินทางไปเรียน (Commuting Student) กลุมนี้จะเปนกลุมที่พอแมเดือดรอนนอยที่สุดในแงการเปลี่ยนแปลงคาใชจายหรือความเปนหวงใยบุตรหลานของตน ยกเวนในกรณีที่สถานศึกษาอยูหางไกลจากบานของตนมากๆ2. กลุมพักอาศัยอยูในหอพักของสถาบัน กลุมนี้มีบานพักอยูไกลจากสถาบันเกินกวาที่จะเดินทางไปกลับได หรือตองการความเปนอิสระจากพอแมหรือตองการชีวิตที่สนุกสนาน นักศึกษากลุมนี้จะมีคาใชจายที่สูงเพราะตองจายคาที่พักคาอาหาร และหากสถาบันการศึกษาอยูไกลจากแหลงชุมชนก็จะไมมีโอกาสในการหารายไดพิเศษระหวางเรียน3. กลุมพักอาศัยอยูในบานพักอิสระนอกเขตสถาบันการศึกษา กลุมนี้คลายกับกลุมที่อยูบานกับพอแมหรือผูปกครองตรงที่ไมตองอยูภายในบริเวณสถาบัน อยูนอกระเบียบของการพักอาศัย แตในขณะเดียวกันก็เหมือนพวกที่พักอยูในหอพักของสถาบันตรงที่อยูอยางอิสระและอาจมีอิสระมากกวา กลุมนี้อาจเสียคาใชจายมากกวาหรือนอยกวากลุมที่พักในมหาวิทยาลัยก็ไดแลวแตการเลือกที่พักหรือโอกาสหอพักนิสิตนักศึกษาในตางประเทศ โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกามีหอพักหลายประเภท แตละประเภทก็มีรูปแบบในการบริหารงานและความเปนอยูของนักศึกษาผูพักอาศัยแตกตางกัน ประเภทของหอพักนักศึกษาที่เปนแบบอยางของหอพักนักศึกษาในประเทศตางๆ 7 มีดังตอไปนี้1. ดอรมิทอรี (dormitory) เปนหอพักรุนแรกที่มีการสรางหอพักทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกาและในประเทศไทยหอพักประเภทนี้เปนหอพักที่มีขนาดเล็ก สถาบันอุดมศึกษาไดจัดสรางขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหบริการนักศึกษาในดานที่พัก อาหาร และการอบรมระเบียบวินัยนักศึกษา2. เรสิเดนทเชียลฮอลล (residential hall) เปนหอพักนิสิตนักศึกษาขนาดใหญมาก สามารถรับนักศึกษาเชาพักอาศัยไดมากกวา 1,000 คน หอพักประเภทนี้มีบุคลากรซึ่งรับผิดชอบดําเนินงานหอพัก 2 ฝาย คือ ฝายจัดการดานที่พักและอาหาร และฝายที่ปรึกษา ซึ่งมีหนาที่คอยดูแลใหความชวยเหลือ และใหคําแนะนําแกนักศึกษา จึงทําใหการพัฒนานักศึกษาในหอพักไดผลดี6 ประกอบ คุปรัตน. นิสิตนักศึกษา. ความเปนผูนํา เปาหมายและอํานาจในสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2532.7 สําเนาว ขจรศิลป. หลักการกิจการนักศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2525.322


3. แฟรเทอรนิที (fraternity) เปนหอพักนักศึกษาชาย ซึ่งไดเริ่มกอตั้งขึ้นเปนครั้งแรกในปค.ศ.1776 ซึ่งเปนปที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ประกาศอิสรภาพในวันที่ 4 กรกฎาคม ตอมาในวันที่ 5 ธันวาคม ผูปกครองของนักศึกษากลุมหนึ่งซึ่งเปนผูที่มีฐานะดีไดรวบรวมเงินจัดตั้งหอพักนักศึกษาขึ้นหลังหนึ่งที่วิทยาลัยวิลเลียมและแมรี( William and Mary College)พวกนี้จะปกครองกันเอง มีการอบรมมารยาท ระเบียบวินัย เนนการเปนผูดี และมีผลการเรียนที่ดี รุนพี่จะคอยชวยเหลือดานการเรียนรุนนอง มีธรรมเนียมประเพณีในหอพักกันเอง ซึ่งสงเสริมทักษะในการเขาสังคม มักมีผูใหญดูแล 1 คน4. เซอรอริที (sorority) เปนหอพักนักศึกษาหญิง ซึ่งมีรูปแบบและแนวทางเดียวกับหอพักแบบแฟรเทอรนิที ตั้งขึ้นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยเวอรมอนท (the University of Vermont) ในปค.ศ.1875 โดยตั้งชื่อสมาคมวา ฟาย เบตา แคปปา(Phi Beta Keppa) เชนเดียวกับสมาคมแรกของหอพักนักศึกษาชาย5. หอพักประเภทชวยเหลือกันเอง (cooperative house) เปนหอพักประเภทประหยัดที่นักศึกษาตองชวยกันดําเนินกิจการของหอพักเองทั้งหมด นักศึกษาจึงมีความใกลชิดสนิทสนมกันมาก นักศึกษาที่พักอาศัยในหอพักประเภทนี้สวนใหญเปนนักศึกษาที่มาจากครอบครัวที่ยากจนหรือนักศึกษาที่ตองทํางานชวยเหลือตนเอง ทุกคนตองรวมกันรับผิดชอบหนาที่ตางๆในหอพัก ดูแลกันเอง มีระบบแบงงานกันทํา6. หอพักสหศึกษา (coeducational housing) เปนหอพักที่จัดแบบสหเพศ มีทั้งนักศึกษาชายและหญิงในหอเดียวกัน ใชโรงอาหาร หองสมุด และบริเวณตางๆดวยกัน นอกจากมีบริการดานตางๆ ยังมีคณะกรรมการดําเนินการจัดกิจกรรมโปรแกรมตางๆสําหรับนักศึกษาอีกดวย หอพักประเภทนี้มีดวยกัน 3 รูปแบบ คือ- เปนหอพักขนาดใหญที่มีสองอาคาร โดยมีหองอาหารอยูระหวางกลาง นักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงพักอาศัยอยูในแตละอาคาร แตใชหองอาหารรวมกัน- นักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงพักอยูในอาคารเดียวกัน แตอยูคนละชั้นของอาคาร โดยใชหองอาหารและสิ่งอํานวยความสะดวกในหอพักรวมกัน- นักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงพักอยูในอาคารเดียวกัน แตพักอยูคนละหอง และใชหองอาหารและสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆรวมกัน7. ศูนยศึกษาและอาศัย (living learning center) เปนหอพักประเภทที่เนนการสงเสริมการศึกษา ตัวอาคารมีขนาดใหญซึ่งแยกออกเปนสองสวน สําหรับที่พักอาศัยของนักศึกษาชายสวนหนึ่ง และนักศึกษาหญิงอีกสวนหนึ่ง โดยมีหองอาหารอยูระหวางกลาง ภายในอาคารมีชั้นเรียนหลายชั้น มีหองปฏิบัติการและหองทํางานของอาจารย มหาวิทยาลัยแหงรัฐมิชิแกน (Michigan State University) ประเทศสหรัฐอมริกาเปนสถาบันอุดมศึกษาแหงแรกที่ไดนําเอาแนวความคิดเรื่องศูนยศึกษาและอาศัยมาใช มหาวิทยาลัยแหงรัฐมิชิแกนตั้งอยูบริเวณภาคเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกา ในหนาหนาวมีหิมะมากและอากาศหนาวเย็นมาก แนวความคิดที่จัดที่พักอาศัยและชั้นเรียนอยูภายในอาคารเดียวกันก็เพื่อชวยในศึกษาในศูนยที่พักอาศัย ซึ่งมีจํานวนมากไดเขาชั้นเรียนดวยความสะดวกสบาย นอกจากเรื่องการศึกษาแลว หอพักประเภทนี้ยังจัดโปรแกรมเพื่อพัฒนานักศึกษาในรูปแบบตางๆอีกมากมาย8. หอพักสําหรับผูเรียนประจํา (residential college) เปนหอพักที่ไดรับแนวความคิดที่เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยที่ไดผูเรียนอยูประจําจากประเทศอังกฤษ เปนหอพักที่มีขนาดใหญ ซึ่งอาจเปนอาคาร 2-4 หลังติดกัน เปนที่ตั้งของคณะวิชาในตึกจะมีหองเรียน หองสมุด หองทํางานอาจารย หองพักอาจารย หองพักนักศึกษา และที่รับประทานอาหารรวมกันหอพักประเภทนี้มุงใหการศึกษาอบรมแกนักศึกษาทั้งทางดานการศึกษาวิชาชีพ ทักษะในสังคมและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ323


9. หองเชาในวิทยาเขต (university apartment) เปนอาคารที่มีลักษณะเปนหองแถว 2 ชั้น สรางขึ้นในบริเวณมหาวิทยาลัย สําหรับนักศึกษาที่มีครอบครัวแลวเขาอยูอาศัยเพื่อไดศึกษาเลาเรียนอยางสะดวกสบาย โดยเสียคาเชาในราคาที่ถูกกวาที่พักเอกชนหอพักภายนอกวิทยาเขต (off-campus housing) อาจเปนหอพักหรือบานเชาของเอกชน ซึ่งตั้งอยูภายนอกวิทยาเขต สถาบันอุดมศึกษาสวนใหญไดรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับหอพักเอกชนที่อยูใกลเคียงไวบริการแกนักศึกษาในสวนของตัวนิสิตนักศึกษาเองนั้น สําเนาว ขจรศิลป ไดกลาวถึงลักษณะของนักศึกษาตามขั้นพัฒนาการ 8 ดังนี้1. การพัฒนาการทางรางกาย ชวงวัยรุนตอนปลายและเริ่มเขาสูวัยผูใหญตอนตน เปนชวงของบุคคลที่มีความเจริญเติบโตทางดานรางการอยางรวดเร็ว ในชวงแรกของวัยนี้ถาไดรับเอาใจใสในเรื่องอาหาร การออกกําลังกาย และการพักผอน จะชวยใหรางกายไดรับการพัฒนาที่สมบูรณที่สุด2. พัฒนาการทางอารมณ วัยรุนตอนตนมักจะมีอารมณรุนแรง เชน โกรธ กลัว และเจาคิดเจาแคน ฯลฯ มักจะมีการเปลี่ยนแปลงของอารมณบอยครั้ง ในชวงวัยรุนตอนปลายหรือผูใหญตอนตนบุคคลจะมีพัฒนาการทางอารมณดีขึ้นอารมณที่มักจะมีปญหาเกิดขึ้นในวัยนี้มี 2 ประการ คือ ความตึงเครียดและความวิตกกังวล3. พัฒนาการทางสังคม วัยรุนตอนปลายเปนชวงวัยที่ชอบการทํางานเปนกลุม รูจักรับผิดชอบงาน ชอบอิสระ เริ่มหาประสบการณแปลกใหม บุคคลที่อยูในวัยนี้ควรไดรับการสงเสริมใหมีพัฒนาการที่เกี่ยวกับทักษะในการปรับตัว ความจริงใจ ความสนใจ และเห็นอกเห็นใจผูอื่น การนับถือและมีความเชื่อมั่นในตนเอง4. พัฒนาการทางดานสติปญญา วัยรุนตอนปลายเปนชวงวัยที่มีพัฒนาการทางสมองสูงสุด จึงเปนวัยที่มีความสามารถหลายอยาง มีความจําไดดี และมีความสามารถในการวิเคราะหทั้งรูปธรรมและนามธรรมและจากงานวิจัยของ White and Porterfield และของ Grimm 9ในป ค.ศ.1993 สามารถยืนยันไดวาสภาพแวดลอมที่สงผลตอการสําเร็จการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ การไดมีโอกาสพักในหอพักของมหาวิทยาลัยทั้งนี้เพราะนิสิตนักศึกษาเหลานั้นจะมีความไดเปรียบในดานตางๆ ดังนี้- มีความพึงพอใจประสบการณระหวางศึกษาในมหาวิทยาลัย การคบเพื่อน มีความสัมพันธอันดีกับอาจารย- มีความสําเร็จที่ไดรับโอกาสการพัฒนาความเปนผูนําและกิจกรรมกีฬา- มีผลการเรียนดีกวา- มีความเปนอิสระและนับถือตนเองมากกวา มีความสนใจในดานศิลปวัฒนธรรมมากขึ้นดังนั้นการจัดใหนิสิตนักศึกษาไดมีโอกาสไดพักอาศัยในหอพักของมหาวิทยาลัยที่มีความเหมาะสมก็จะสงผลตอประสิทธิภาพในการเรียนและคุณภาพของตัวนิสิตนักศึกษาได เพราะหอพักนิสิตนักศึกษานับเปนเครื่องมือที่สําคัญที่ชวยหลอหลอมพัฒนาบุคลิกภาพของนิสิตนักศึกษาใหสามารถปรับตัวใชชีวิตรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุขนอกจากนั้นหอพักนิสิตนักศึกษายังมีสวนสําคัญในการเปนแหลงสนับสนุนใหการศึกษาเลาเรียนของนิสิตนักศึกษาเปนไปอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ สงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษามีบรรยากาศของความเปนวิชาการอยางแทจริงที่ผานมามีผูไดศึกษาเกี่ยวกับสภาพและปญหาการพักอาศัยในหอพักของนิสิตนักศึกษา เชน อํานาจ สังขศรีแกวไดทําการศึกษาสภาพการอยูอาศัยและสภาพสังคมของนักศึกษาในเขตเมืองนครปฐม 10 โดยมีวัตถุประสงคของการวิจัย8 สําเนาว ขจรศิลป. มิติใหมของกิจการนักศึกษา : การพัฒนานักศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 2538.9 Grimm, James C. Resident Alternative in Student Housing and Residential Life : A Handbook for ProfessionalsCommitted to Student Development Goals. San Francisco : Jossry – Bass Publisher, 1993.324


เพื่อศึกษาสภาพที่อยูอาศัยและสภาพสังคมที่เกิดขึ้นจากการพักอาศัยของนักศึกษาในเขตเมืองนครปฐม โดยการสํารวจสภาพปจจุบัน ทั้งดานกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และปญหาที่เกิดขึ้นจากการพักอาศัย เพื่อเปนประโยชนในการพัฒนาที่พักอาศัยของนักศึกษา ที่ผูมีสวนเกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถนําไปใชได รวมทั้งนําไปปรับใชกับจังหวัดที่บทบาทดานการเปนเมืองการศึกษา พบวาในดานปญหาที่เกิดจากการพักอาศัยนั้นที่พักของมหาวิทยาลัยจะมีระดับของปญหามากกวาที่พักของเอกชน โดยปญหาที่พบรวมกันของ ที่พักมหาวิทยาลัยและที่พักของเอกชน คือ การสงเสียงดัง การลักขโมย การเลนการพนัน การดื่มของมืนเมา และการดูสื่อลามก สวนปญหาที่มีความแตกตางกันคือ ที่พักของมหาวิทยาลัยจะพบปญหา ความแออัด และการเขาพักโดยไมไดรับอนุญาต ขณะที่ที่พักของเอกชนจะพบปญหา บรรยากาศในที่พักไมเอื้อตอการเรียน อยางไรก็ตามปญหาเหลานี้จะพบนอยมากในที่พักของมหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐมนอกจากนี้ยังพบปญหาที่แมจะพบไมมากแตควรไดรับการเอาใจใส คือ การมีเพศสัมพันธ และการพักอาศัยอยูรวมกันของนักศึกษาชายและหญิง ซึ่งจะพบในที่พักอาศัยของเอกชน และอิสระ อินทรยา ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบการพักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน ระหวางหอพักมหาวิทยาลัยกับที่พักอาศัยเอกชน 11 โดยการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อเปรียบเทียบใหเห็นถึงความเหมือน หรือความแตกตางกัน ระหวางการพักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน ในหอพักมหาวิทยาลัยและที่พักอาศัยเอกชน ในดานสภาพปจจุบันของการพักอาศัย ลักษณะทั่วไปของผูพักอาศัย สภาพทางกายภาพของที่พักอาศัยและองคประกอบภายในหองพัก ความตองการที่พักอาศัย เพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุดในการพัฒนาที่พักอาศัยของนักศึกษาระหวางที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแกน ดานสภาพการพักอาศัยพบวานักศึกษาที่พักในหอพักมหาวิทยาลัยมีคาใชจายที่ต่ํามาก เพราะเปนสวัสดิการของมหาวิทยาลัย แตนักศึกษาจะไมไดรับความสะดวกสบายในการพักอาศัยมากนัก นักศึกษาพักรวมกัน 3-4 คน/หอง และไมสนิทสนมกันมากอน สวนในที่พักเอกชน นักศึกษามีคาใชจายดานที่พักที่สูง แตมีความสุขสบาย นักศึกษาเขาพัก 1-2 คน/หอง สวนใหญเปนเพื่อนกันมากอน ดานสภาพทางกายภาพของที่พักอาศัย พบวาหอพักมหาวิทยาลัยที่ทําการศึกษาทั้งหมด 21 หลัง กอสรางตามแบบกอสรางชุดเดียวกัน มีพื้นที่หอง 9.00-12.00 ตารางเมตร ซึ่งคอนขางแออัดสําหรับการเขาพัก 3-4 คน/หอง ที่พักเอกชนมีรูปแบบทางสถาปตยกรรมที่หลากหลาย พื้นที่หอง 15-20 ตารางเมตร มีผูเขาพัก 1-2 คน ซึ่งคอนขางเหมาะสมไมแออัด ดานองคประกอบในอาคารที่พักพบวาหอพักมหาวิทยาลัยมีการจัดหาสิ่งบริการและอํานวยความสะดวกที่คอนขางครบทุกประเภท และจัดไวอยางละหนึ่งชุดแตใชรวมกันทั้งหอพักซึ่งไมเพียงพอกับจํานวนผูเขาพัก สําหรับในที่พักเอกชนพบวาเจาของอาคารจัดหาเฉพาะบริการที่กอใหเกิดรายไดสิ่งอํานวยความสะดวกแยกเปนเฉพาะแตละหองพักไมใชรวมกัน และในปพ.ศ.2543 วัลลภ สุรทศ ไดทําการศึกษาเรื่องการพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและบริเวณใกลเคียง12โดยการว ิจ ัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะสถานภาพ และปญหาที่พักอาศัยของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อเปรียบเทียบก ับที่พ ักอาศัยใหเชาของเอกชนบริเวณรอบมหาวิทยาลัย เพื่อเสนอแนะแนวทางในการจัดหาที่พักอาศัยใหแกน ิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผลการวิจัยพบวานิสิตที่พักในหอพักมหาวิทยาลัยเกือบท ั้งหมดมีภูมิลําเนาอยูต างจังหวัด มีเหตุผลในการเลือกพักอาศัยที่หอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพราะเห็นวาเดินทางสะดวกใกลท ี่เรียน และนอกจากนี้ยังพบวานิสิตหญิงใหความสำคัญเรื ่องความปลอดภัยมากกว าน ิสิตชาย มีปญหา10 อํานาจ สังขศรีแกว . สภาพการอยูอาศัยและสภาพสังคมของนักศึกษาในเขตเมืองนครปฐม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต.ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.11 อิสระ อินทรยา. การเปรียบเทียบการพักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน ระหวางหอพักมหาวิทยาลัยกับที่พักอาศัยเอกชน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.12 วัลลภ สุรทศ. การพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและบริเวณใกลเคียง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต.ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.325


การพักอาศัย คือ เห็นวาสิ่งอํานวยความสะดวกไมเพ ียงพอ เชนโทรศัพทตองใชโทรศัพทสาธารณะซึ่งเลขหมายภายในไมเพ ียงพอนอกจากนี้ยังมีผูที่ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับนิสิตหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไว ไดแก ดารณี ปยะวรรณสุทธิ์ไดศึกษาเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่อาศัยอยูในหอพักและนอก<strong>13</strong>หอพักมหาวิทยาลัย ซึ่งการวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่อาศัยอยูในมหาวิทยาลัยที่อาศัยอยูในหอพักและนอกหอพักมหาวิทยาลัย และศึกษาปฏิสัมพันธระหวางคณะกับที่พักอาศัยของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขอคนพบที่สําคัญ คือ โดยสวนรวมนิสิตที่อาศัยอยูในหอพักและนอกหอพักของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมแตกตางกัน และไมมีปฏิสัมพันธระหวางคณะกับที่พักอาศัยของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สวน วิภา พงษพิจิตร14ไดทําการศึกษาเรื่องลักษณะของนิสิตหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยในการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาลักษณะของนิสิตหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และเพื่อเปรียบเทียบลักษณะของนิสิตหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่มีภูมิหลังตางกัน ซึ่งไดสํารวจลักษณะ 4 ดาน คือ1) ดานความมีมนุษยสัมพันธ 3) ดานความรับผิดชอบ2) ดานความเอื้อเฟอ 4) ดานความมีวินัยในตนเองพบวานิสิตหอพักโดยสวนรวมรับรูวาตนเองมีมนุษยสัมพันธและความรับผิดชอบอยูในระดับสูง สวนความเอื้อเฟอและความมีวินัยในตนเองมีอยูในระดับปานกลาง และนิสิตหญิงรับรูวาตนเองมีมนุษยสัมพันธ มีความรับผิดชอบ และมีวินัยในตนเองมากกวานิสิตชาย สวนดานความเอื้อเฟอมีการรับรูไมแตกตางกัน สําหรับความแตกตางของการรับรูตนเอง ดานความมีมนุษยสัมพันธ ดานความรับผิดชอบ และดานความมีวินัยในตนเอง ระหวางนิสิตชายและนิสิตหญิง ไมขึ้นอยูกับระยะเวลาที่พักอยูในหอพัก คณะที่ศึกษา ภูมิลําเนา และฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัวอยางไรก็ตามหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่จะทําการศึกษาตอไปก็เคยมีผูศึกษา แตเนื่องจากพัฒนาการเปลี่ยนแปลงไป เวลาเปลี่ยนแปลงไป ลักษณะนิสิตเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอาจจะพบวามีปญหาที่แตกตางจากในอดีตเมื่อ 10 ปที่แลวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจรวมถึงระบบภายในของหอพักนิสิตจุฬาฯเองดวย ดังนั้นจึงทําการศึกษาเกี่ยวกับสภาพการพักอาศัยและปญหาที่เกิดจากการพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเพื่อใหไดขอมูลที่ทันสมัย นําไปปรับปรุงหอพักสําหรับนิสิตใหมีสภาพเหมาะสมและเปนเครื่องมือที่สําคัญเปนปจจัยสําคัญ ที่มีสวนสนับสนุนตอการเรียนและคุณภาพชีวิตที่ดีของนักศึกษา ที่จะชวยหลอหลอมและพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาใหสามารถพัฒนาตนเองเปนผูมีพฤติกรรมที่พึงประสงคในสังคมซึ่งในขณะนี้กําลังอยูในขั้นตอนประมวลผลขอมูลและคาดวาจะเสร็จออกมาเปนวิทยานิพนธฉบับสมบูรณในเร็ววัน ผูใดสนใจ ศึกษา คนควาเรื่องสภาพการพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เชิญติดตามอานไดในวิทยานิพนธเลมสมบูรณ ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวาวิทยานิพนธเลมนี้ จะมีประโยชนตอจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสถาบันการศึกษาอื่น หนวยงานที่เกี่ยวของกับที่พักอาศัยสําหรับนิสิตนักศึกษา และมีประโยชนตอผูอานบางไมมากก็นอย<strong>13</strong> ดารณี ปยะวรรณสุทธิ์. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่อาศัยอยูในหอพักและนอกหอพักมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2530.14 วิภา พงษพิจิตร. ลักษณะของนิสิตหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาวิจัยการศึกษาคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529.326


บรรณนานุกรมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คูมือการอยูหอพักนิสิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2547. อางถึงใน ปริยมาศ มิ่งมณีนาคิน. ระบบบริหารจัดการหอพักนักศึกษาของมหาวิทยาลัย : กรณีศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรรมหาวิทยาลัย, 2549. 82.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จํานวนนิสิตทั้งหมด [ออนไลน]. 2551. แหลงที่มา :http://www.chula.ac.th/chula/th/about/brief_th.html [1 ต.ค. 2551].ดารณี ปยะวรรณสุทธิ์. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่อาศัยอยูในหอพักและนอกหอพักมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2530.ประกอบ คุปรัตน. นิสิตนักศึกษา. ความเปนผูนํา เปาหมายและอํานาจในสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2532.วิภา พงษพิจิตร. ลักษณะของนิสิตหอพักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529.วัลลภ สุรทศ. การพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและบริเวณใกลเคียง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.รับขวัญ ภูษาแกว.(ผูชวยอนุสาสกหอพักนิสิตหญิงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) สัมภาษณ, 22 พฤศจิกายน 2551.สํานักงานนิสิตสัมพันธ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. งานหอพักนิสิต[ออนไลน]. 2551. แหลงที่มา :http://www.sa.chula.ac.th/content.php?id=8 [20 ก.ค. 2551].สํานักงานนิสิตสัมพันธ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. งานหอพักนิสิต[ออนไลน]. 2551. แหลงที่มา :http://www.sa.chula.ac.th/content.php?id=8 [20 ก.ค. 2551].สําเนาว ขจรศิลป. มิติใหมของกิจการนักศึกษา : การพัฒนานักศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต,2538.สําเนาว ขจรศิลป. หลักการกิจการนักศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2525.อิสระ อินทรยา. การเปรียบเทียบการพักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน ระหวางหอพักมหาวิทยาลัยกับที่พักอาศัยเอกชน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.อํานาจ สังขศรีแกว . สภาพการอยูอาศัยและสภาพสังคมของนักศึกษาในเขตเมืองนครปฐม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.Grimm, James C. Resident Alternative in Student Housing and Residential Life : A Handbook forProfessionals Committed to Student Development Goals. San Francisco : Jossry – Bass Publisher, 1993.327


การจัดใหมีที่จอดรถและการใชพื้นที่จอดรถในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม กรุงเทพมหานครPARKING PROVISION AND UTILIZATION IN BAAN EUA-ARTHONHOUSING PROJECT,BUNG KUM DISTRICT, BANGKOK METROPOLISนาย คําแหง ทองอินทรหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอโครงการบานเอื้ออาทร เปนโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย จํานวน 600,000 หนวยทั่วประเทศ ตามนโยบายของรัฐบาล โดยมอบหมายใหการเคหะแหงชาติเปนผูจัดสราง โครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม เปนโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในเขตเมือง เปนโครงการขนาดใหญ จํานวน 5,875 หนวย การจัดใหมีระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ที่มีความเหมาะสมและสอดคลองกับพฤติกรรมและวิถีชีวิตของผูอยูอาศัย มีความสําคัญตอคุณภาพชีวิตโดยรวม การศึกษาเรื่องการจัดใหมีที่จอดรถและการใชพื้นที่จอดรถในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม เปนสวนหนึ่งของการติดตามเพื่อนําผลที่ไดมาวิเคราะห กําหนดทางเลือกที่เหมาะสมในการแกไขปญหา และนํามาเปนแนวทางในการกําหนดนโยบาย ปรับปรุงและพัฒนาการจัดทําโครงการที่อยูอาศัยตอไป โดยทําการศึกษาจาก ขอมูลจากเอกสาร การสํารวจการสอบถาม ผูอยูอาศัยในโครงการ การสัมภาษณผูที่เกี่ยวของทุกระดับ และการประชุมรวมกลุมผูนําชุมชนผลการศึกษาพบวาโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมไดจัดใหมีที่จอดรถมากกวากฎหมาย และมาตรฐานที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาติกําหนด โดยมีขอจํากัดเรื่องตนทุนโครงการ สําหรับรถจักรยานยนตและรถจักรยาน รวมถึงรถสามลอ และรถบริการสาธารณะไมไดจัดเตรียมที่จอดรถไวให โดยผูอยูอาศัยสวนใหญรอยละ 80 มีรถในครอบครอง มีรถจักรยานยนตและจักรยานรอยละ 40 มีรถยนตรอยละ 23 ผูอยูอาศัยรอยละ 24.3 ประกอบอาชีพรับจาง คาขาย และรอยละ 21.3 เปนพนักงานบริษัทเอกชน ขาราชการ ผูอยูอาศัยรอยละ 54.29 มีความจําเปนตองใชรถเพื่อการประกอบอาชีพและรอยละ 42.65 อํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน พฤติกรรมการในการจอดรถสวนใหญมักจอดรถบริเวณหนาอาคารที่พักเพื่อความสะดวกในการเขาถึงอาคาร และการดูแลรักษารถ ดวยเหตุรถมีความจําเปนตอผูอยูอาศัย ทําใหที่จอดรถไมเพียงพอกับจํานวนรถที่มีในโครงการ รถยนตที่เกินจากจํานวนชองจอดมีการจอดรถซอนคันบนผิวถนนกีดขวางทางจราจร ในดานของรถที่ไมมีการจัดเตรียมที่จอดรถไวให รถจักรยานยนตและจักรยาน มีการนํารถเขาจอดบริเวณทางขึ้น-ลงอาคาร บนทางเทาและนํารถเขาจอดบริเวณทางเดินหนาหองพักอาศัย สําหรับรถเข็นขายของ รถจักรยานยนตพวงขาง และรถสามลอ นํารถเขาจอดในชองจอดรถยนต ที่วางดานขางและดานหลังอาคาร จากสาเหตุดังกลาวกอใหเกิดปญหาการจราจรภายในโครงการ ความไมสะดวกในการใชทางเขา-ออกอาคาร ทางเดินเทา อีกทั้งยังมีการใชพื้นที่จอดรถผิดประเภท สงผลใหเกิดความไมเปนระเบียบเรียบรอยของชุมชน ความไมสะดวกและปลอดภัยของผูอยูอาศัย โดยเฉพาะชวงเวลา 20:00 น. ถึง 06:00 น. ซึ่งเปนชวงเวลาที่มีปริมาณรถในโครงการมากที่สุดในรอบวัน จากการวิเคราะหแนวทางในการแกปญหาที่จอดรถไมเพียงพอในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม ภายใตขอจํากัดในเรื่องตนทุนและขนาดพื้นที่ มี 3 แนวทางคือ 1.การบริหารจัดการที่จอดรถและ การจัดระบบการจราจรเพื่อการใชพื้นที่จอดรถไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.การควบคุมปริมาณรถในโครงการ การออกกฎ ระเบียบ สําหรับผูใชที่จอดรถในโครงการ การเพิ่มทางเลือกในการเดินทาง 3.การเพิ่มจํานวนที่จอดรถ โดยการปรับเปลี่ยนพื้นที่สวนกลางดังนั้นในการออกขอกําหนด กฎหมายหรือมาตรฐานเกี่ยวกับที่จอดรถสําหรับที่อยูอาศัย ควรศึกษาถึงพฤติกรรมของผูใชรถ และเพิ่มกฎเกณฑและมาตรฐานเกี่ยวกับที่จอดรถสําหรับรถจักรยานยนต และรถจักรยาน สําหรับผูกําหนดนโยบายและผูออกแบบในการจัดทําโครงการที่อยูอาศัย ควรศึกษาถึงพฤติกรรมและวิถีชีวิตของผูอยูอาศัย เพื่อการจัดใหมีสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และการออกแบบ วางผังใหสอดคลองกับการบริหารชุมชนและเหมาะสมสอดคลองกับการดํารงชีพของผูอยูอาศัยกลุมเปาหมาย และหากมีวัตถุประสงคเพื่อตองการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและวิถีชีวิตของผูอยูอาศัยใหเปนไปตามหลักปรัชญาแหงความพอเพียง จําเปนตองมีมาตรการ กฎระเบียบ หรือองคประกอบดานตางๆ มารองรับความเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถทําใหเห็นผลเปนรูปธรรมได328


บทนํา“โครงการบานเอื้ออาทร” เปนโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย ภายใตนโยบายของพันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร มอบหมายใหการเคหะแหงชาติ แกไขปญหาความขาดแคลนที่อยูอาศัยตามนโยบายของรัฐบาล มีเปาหมายจํานวน 601,727 หนวย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตเมืองทั่วประเทศ ระยะเวลาดําเนินการตั้งแตป พ.ศ.2546 – พ.ศ.2551 เพื่อเสริมสรางกระบวนการ ประสานสายสัมพันธอันดีภายในครอบครัว ชุมชนและสังคมใหมีความเขมแข็ง และมีดุลยภาพ รวมทั้งสนับสนุนกระบวนการมีสวนรวมของทุกฝายในการพัฒนาชุมชนของตนเอง เพื่อนําไปสูความเปนชุมชนนาอยูอยางยั่งยืน กําหนดรูปแบบชุมชนขึ้น 2 ลักษณะตามพื้นที่ คือ1. ชุมชนบานเอื้ออาทรในเขตเมือง เปนชุมชนที่ตั้งอยูในยานศูนยกลางเมืองหรือศูนยกลางยอยของเมืองใกลยานธุรกิจ แหลงงาน แหลงบริการตาง ๆ เปนชุมชนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ประกอบดวย ที่อยูอาศัยรูปแบบอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งเหมาะสําหรับกลุมเปาหมายที่เปนคนโสด หรือครอบครัวใหมครอบครัวขนาดเล็กประมาณ 2-4 คน2. ชุมชนบานเอื้ออาทรในเขตชานเมือง เปนชุมชนที่ตั้งอยูหางจากยานศูนยกลางเมือง แตกระจายตัวอยูในยานพักอาศัยแถบชานเมือง โดยสามารถเชื่อมโยงติดตอกับศูนยกลางเมืองดวยระบบเครือขาย การคมนาคม ชุมชนในเขตชานเมืองเปนชุมชนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ประกอบดวยที่อยูอาศัยหลากหลายรูปแบบ เหมาะสําหรับกลุมเปาหมายที่เปนครอบครัวขนาดกลางถึงขนาดใหญมีเปาหมายในการดําเนินงาน ครอบคลุมพื้นที่ในเขตเมืองทั่วประเทศ โดยแบงออกเปน1. เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จํานวน 421,209 หนวย (70%)2. เขตเมืองหลักและเมืองรองในสวนภูมิภาค จํานวน 180,518 หนวย (30%)ตอมาการเคหะแหงชาติไดปรับลดจํานวนหนวยการกอสรางลงเหลือ ประมาณ 300,504 หนวย โดยความเห็นชอบของรัฐบาล นายกรัฐมนตรี พลเอกสุรยุทธ จุลานนท ตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2550 ในการแกไขปญหาโครงการบานเอื้ออาทร ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยปรับลดเหลืออาคารชุดประมาณ194,<strong>13</strong>2 หนวยคิดเปนรอยละ 89.9 อาคารทางราบประมาณ 21,739 หนวย คิดเปนรอยละ 10.07 % รวมประมาณ 215,871 หนวยการจัดทําโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย ที่มีปริมาณหนวยพักอาศัยตอโครงการมากโดยเฉพาะในเขตเมืองนั้น หนวยงานที่รับผิดชอบจําเปนตองใหความสําคัญรูปแบบโครงการ รูปแบบอาคาร การวางผัง การจัดใหมีระบบสาธารณูปโภค รวมถึงระบบสาธารณูปการขั้นพื้นฐานวาสามารถสนองตอบตอวิถีชีวิตสภาพความเปนอยูของผูอยูอาศัยในโครงการเพียงใด ในที่นี้ ผูวิจัยไดเลือกโครงการที่อยูอาศัยประเภทอาคารชุดในเขตเมือง ที่บรรจุผูอยูอาศัยเกินรอยละ 80 โดยการเขาสังเกตสภาพการดํารงชีวิตและความเปนอยูของผูอยูอาศัยในโครงการ สิ่งที่พบเห็นไดอยางเดนชัดทางกายภาพ ทําใหทราบวา ในการจัดใหมีที่อยูอาศัย โดยการออกแบบวางผังโครงการเพื่อใหเกิดทัศนียภาพสวยงามและนาอยูอาศัยนั้นยังไมเพียงพอ ยังตองคํานึงถึงเรื่องของการจัดใหมีสิ่งที่เปนความจําเปนพื้นฐานในการอยูอาศัย ใหเพียงพอตอความจําเปนในการดํารงชีวิต ของผู329


อยูอาศัยจํานวนมากที่จะเขามาอยูอาศัยในโครงการ ซึ่งจะเกิดเปนชุมชนใหมในอนาคตอีกดวย ผูวิจัยจึงมีความสนใจศึกษาถึง สภาพการใชพื้นที่จอดรถภายในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม จากการตั้งขอสังเกตวา เหตุใดโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในเขตเมือง ที่ไมไกลจากระบบขนสงมวลชน จึงมีปญหาเรื่องความไมเพียงพอของที่จอดรถ โดยศึกษาถึงเรื่องการจัดใหมีที่จอดรถใน โครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม ซึ่งเปนโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยขนาดใหญในเขตเมือง มีผูอยูอาศัยเต็มโครงการ อยูในทําเลที่ดี มีระยะหางจากยานใจกลางเมืองไมมากนัก และมีระบบขนสงมวลชนรองรับคอนขางสมบูรณ ยกเวนระบบราง มีความหลากหลายในการศึกษา เรื่องการจัดใหมีและใชพื้นที่จอดรถภายในโครงการ และมีวิธีการศึกษาดังนี้• การสํารวจลักษณะกายภาพของโครงการ ลักษณะของการจัดที่จอดรถ รูปแบบของที่จอดรถ จํานวนที่จอดรถในโครงการ• การสังเกตพฤติกรรมการใชพื้นที่จอดรถโดยกําหนดจุดสังเกตที่มีความแตกตางทางกายภาพ 12 จุดในชวงเวลาการสังเกต 6 ชวงเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง เปนระยะเวลา 1 สัปดาหตอเนื่อง• การสอบถามขอมูลพื้นฐานจากกลุมตัวอยางของผูอยูอาศัยในโครงการ• การสนทนากลุมผูนําชุมชน ตัวแทนผูบริหารโครงการ• การสัมภาษณผูบริหารการเคหะแหงชาติ ถึงนโยบายและเกณฑในการจัดใหมีที่จอดรถในโครงการ• การวิเคราะหผลที่ไดจากการศึกษา• เสนอแนะแนวทางในการบริหารจัดการที่จอดรถในโครงการภาพถายทางอากาศบริเวณโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมที่มา:ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ330


โครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม มีพื้นที่โครงการ 1<strong>13</strong>-2-91 ไร เปนโครงการอาคารชุดพักอาศัย สูง 5ชั้น จํานวน<strong>13</strong>4 อาคาร อาคารละ 45 หนวย ตั้งอยูบนถนนเสรีไทย ซอยเสรีไทย41 เขตบึงกุมกรุงเทพมหานครเปนโครงการที่การเคหะแหงชาติรับซื้อโครงการจาก บริษัท ภคภูมิดีเวลลอปเมนท จํากัด มีจํานวนหนวยรวมทั้งสิ้น 5,872 หนวย ประกอบดวย1. หองอเนกประสงค ขนาดประมาณ 24 ตารางเมตร จํานวน 536 หนวย2. หองแบบ 1 หองนอน ขนาดประมาณ 33 ตารางเมตร จํานวน 5,336 หนวยรายละเอียดการใชที่ดินการใชที่ดิน พื้นที่ (ตร.ม.) รอยละพื้นที่อาคารแบบปกคลุมอาคารแบบ F1 และF1’ 56,012.00 30.78สวนหยอม,ที่วางรอบอาคาร 60,031.01 32.99ถนน,ทางเทา,ที่วางถังขยะ 40,881.18 22.47ที่จอดรถ <strong>13</strong>,032.00 7.16อื่นๆ 12,007.18 6.60รวม 181,964.00 100.00ที่มา:กองผลิตและกอสราง 2 ฝายบริหารโครงการ 1 การเคหะแหงชาติผังบริเวณที่จอดรถของโครงการที่มา: กองผลิตและกอสราง 2 ฝายบริหารโครงการ 1 การเคหะแหงชาติ• ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ภายในโครงการทางเขาโครงการ เปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนสายหลักมีขนาดความกวาง 12.0 เมตร 4 ชองจราจร สวนถนนสายรองมีความกวางของถนน 6.00 เมตร 2 ชองจราจรการออกแบบวางผังโครงการ ออกแบบเปนกลุมอาคาร กลุมละ12-18 อาคาร โดยสวนใหญมีถนนเปนวงรอบในแตละกลุมเชื่อมตอกับถนนสายหลัก บางกลุมเปนถนนปลายตัน และบางกลุมเปนอาคารที่อยูตามถนนสายหลัก บางอาคารไมมีถนนเชื่อมเขาถึงตัวอาคาร การออกแบบจัดวางพื้นที่สวนกลาง และพื้นที่สาธารณะประโยชน จัดวางไวกลางโครงการ เพื่อใหผูอยูอาศัยใชประโยชนรวมกัน และมีความสัมพันธในระดับชุมชนแบบรวมศูนย331


ตารางแสดงการจําแนกลักษณะที่จอดรถที่พบในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมแบบ ตําแหนงในผัง ลักษณะที่จอด รายละเอียดการวางผังที่จอดรถABCDEFGจัดที่จอดรถ 2 ฝงถนนกลุมอาคารตั้งฉากกับถนน ทั้ง 2 ฝงจัดที่จอดรถฝงเดียวกับอาคารที่ขนานกับถนนดานอาคารที่ตั้งฉากกับถนน ไมมีที่จอดรถจัดที่จอดรถฝงเดียวกลุมอาคารขนานกับถนน ทั้ง 2 ฝงจัดที่จอดรถ 2 ฝงกลุมอาคารขนานและตั้งฉากกับถนนที่จอดรถฝงเดียวกลุมอาคารตั้งฉากทั้ง 2 ฝงมีที่จอดรถ 2 ฝงกลุมอาคารตั้งฉากกับถนนที่จอดรถเขาไมถึงอาคารไมจัดที่จอดรถไวใหตัวอาคารมีทั้งขนานและตั้งฉากกับถนนทั้ง 2 ฝงที่จอดรถของโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม ไดจัดที่จอดรถยนตไวบนถนนเสนตางๆ ภายในโครงการโดยสวนใหญที่จอดรถยนตจะจัดไวบริเวณหนาอาคาร บางอาคารไมมีที่จอดรถยนตที่สามารถเขาถึงอาคารได ซึ่งที่จอดรถยนตที่ทางโครงการไดจัดเตรียมไวใหสามารถรองรับได 1,086 คัน คิดเปนพื้นที่ถนน ทางเทา และพื้นที่จอดรถยนตเทากับ 53,9<strong>13</strong>.8 ตารางเมตร (29.09% ของพื้นที่โครงการ) อัตราสวน 8 คันตออาคาร• สภาพแวดลอมภายในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมการศึกษาเริ่มจากวิธีการสํารวจรูปแบบที่จอดรถที่การเคหะแหงชาติจัดไวให โดยการนําผังโครงการมาจําแนกรูปแบบของการวางผังที่จอดรถที่มีความเหมือนและแตกตาง เฝาสังเกต และบันทึกพฤติกรรมการใชพื้นที่จอดรถ รวมทั้งบริเวณที่ผูอยูอาศัยนํารถไปจอด เพื่อกําหนดจุดในการทําการสังเกตและบันทึก สามารถจําแนกรูปแบบของผังที่จอดรถยนตได 7 แบบ และมีจุดที่ทําการสังเกตทั้งสิ้น 12 จุด ชวงเวลาที่ใชสังเกตการใชพื้นที่จอด332


รถของผูอยูอาศัยในโครงการ กําหนดไว 6 ชวงเวลาตอวัน เปนเวลา 1 สัปดาห เพื่อสังเกตพฤติกรรมการใชที่จอดรถ สภาพการจอดรถ อีกทั้งยังใชแบบสอบถาม ในการสอบถามผูอยูอาศัยแบบเจาะลึก และการสนทนากลุมกับผูที่มีสวนไดสวนเสียกับการบริหารชุมชนโดยตรง เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ รวมทั้งการใหขอเสนอแนะ แนวทางแกไขปญหา• ตําแหนงที่ใชเปนตัวอยางเพื่อทําการบันทึกภาพความเปลี่ยนแปลงและเปนตัวแทนของรูปแบบที่จอดรถยนตมีทั้งสิ้น 7 แบบ 12 จุดสังเกตD1C1G1A2C2E1A1C3 F2G2B1C4ที่มา:กองผลิตและกอสราง 2 ฝายบริหารโครงการ 1 การเคหะแหงชาติ• ผลจากการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับมาตรฐาน และขอกําหนดในเรื่องการจัดใหมีที่จอดรถของการเคหะแหงชาติผลจากการสัมภาษณผูบริหาร พบวาสวนใหญแนวทางการบริหารโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูที่มีรายไดนอยตามนโยบายรัฐฯนั้น มีแนวทางการดําเนินการจัดสรางที่ไมขัดตอกฎหมายตางๆที่กําหนดไว อีกทั้งจัดใหมีระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ เทาที่จําเปน ดวยเหตุที่ตองเนนใหความสําคัญกับการแกปญหาความขาดแคลนที่อยูอาศัยกอนเปนอันดับแรก เนื่องจากขอจํากัดดานตนทุนในการจัดทําโครงการ การเกิดปญหาภายหลังจากการอยูอาศัยเปนภาระหนาที่บริหารโครงการของ นิติบุคคล ในโครงการจัดสรรนั้นๆ ในการบริหาร แตทั้งนี้ตองอยูภายใตความเห็นดวยของผูอยูอาศัยในโครงการ ทั้งในเรื่องภาระคาใชจาย และการออกกฎ ระเบียบ เปนตนผลจากการสํารวจและสังเกต การจัดที่จอดรถเพื่ออํานวยความสะดวกใหผูอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม ไดจัดที่จอดรถยนตไวดานหนาอาคารที่พัก ขางอาคารที่พัก และริมถนนสายหลัก มีที่จอดรถยนตในโครงการจํานวน 1,086 คัน ไมมีที่สําหรับจอดรถจักรยาน จักรยานยนต รวมทั้งรถประเภทอื่นๆ เชนรถเข็นขายของ รถสามลอ เปนตน ชวงเวลาที่พบวาที่จอดรถมีความหนาแนนมากที่สุดคือชวง20:00น.– 04:00 น.ซึ่งมีความสอดคลองกับคําตอบจากการสํารวจดวยแบบสอบถามกลุมตัวอยาง333


ผลการสังเกตความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการใชที่จอดรถในภาพจุดสังเกตตัวอยางที่C4แยกตามชวงเวลาวันธรรมดาวันหยุดราชการ00.00-04.0004.00-08.0008.00-12.0012.00-16.0016.00-20.0020.00-24.00ที่มา:จากการเขาสังเกตและบันทึกภาพการใชพื้นที่จอดรถของผุอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมชวงวันที่15-22 ธันวาคม255<strong>13</strong>34


• กราฟแสดงการใชพื้นที่จอดรถในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม ณ บริเวณจุดสังเกตC4จํานวนรถ(คัน)6050403020100ตําแหนงที่ 7 : C400:00-04:00 04:00-08:00 08:00-12:00 12:00-16:00 16:00-20:00 20:00-24:00ชวงเวลาวันที่1วันที่2วันที่3วันที่4วันที่5วันที่6วันที่7ที่มา:จากการเขาสังเกตและบันทึกภาพการใชพื้นที่จอดรถของผุอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมชวงวันที่15-22 ธันวาคม255<strong>13</strong>35


แผนที่แสดงระดับความหนาแนนเปนรอยละของพื้นที่จอดรถ ในชวงเวลาตางๆที่มา:จากการเขาสังเกตการณใชพื้นที่จอดรถของผุอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม วันที่15-22ธ.ค. 5<strong>13</strong>36


• ตัวอยางลักษณะรถประเภทตางๆที่พบในโครงการรถบรรทุกรับจางทั่วไป รถจักรยานยนตรับจาง.รถจักรยานยนตพวงขางรถจักรยานยนตพวงรถสองแถวรับจางประจําโครงการรถโดยสารสวนบุคคลรถยนตสวนบุคคล รถสองแถวรับจางทั่วไปที่มา:จากการเขาสังเกตและบันทึกภาพการใชพื้นที่จอดรถของผุอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมชวงวันที่15-22 ธันวาคม255<strong>13</strong>37


จากแบบสอบถามพบวาผูอยูอาศัยในโครงการมากกวารอยละ 80 มีความจําเปนตองใชรถทุกวัน รอยละ 39.4 มีรถในความครอบครองมากกวา 1 คัน และสวนใหญประกอบอาชีพซึ่งมีเวลาทํางานในเวลากลางวันชวงเวลา 08:00 น. – 18:00 น. เชน ขาราชการ พนักงานบริษัท รับจางทั่วไป คาขาย ขับรถรับจาง เปนตน รอยละ46.4 ใชรถเพื่อการประกอบอาชีพ เชน รถรับจางทั่วไป รถรับจางสาธารณะ รถขายของเร รถจักรยานยนต รวมทั้งรถเพื่อการประกอบอาชีพประเภทอื่นๆ เชน รถเข็นขายของ รถสามลอถีบ รอยละ 38.7 ใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน เชน รถเกง และรถกระบะสวนตัว และมักจะจอดรถไมไกลจากอาคารที่ตนเองพักเกิน50 เมตร และรอยละ85 มีปญหาที่จอดรถ โดยประกอบอาชีพที่หลากหลาย เชน คาขาย รับจาง พนักงานบริษัทรวมทั้งขาราชการ เปนตน ปริมาณรถยนตภายในโครงการในเวลาที่จอดหนาแนนสูงสุด มีประมาณ 2,025 คันรถจักรยานยนต ประมาณ 2,520 คัน และ รถประเภทอื่นๆ เชน รถเข็นขายของ รถสามลอ อีกจํานวนหนึ่ง จากผลดังกลาวจึงทําใหเกิดปญหาที่จอดรถไมเพียงพอ• ภาพแสดงการจอดรถซอนคัน• ภาพแสดงการจอดรถยนตกีดขวางการจราจร• ภาพแสดงการจอดขวางทางเขา-ออก อาคารที่มา:จากการเขาสังเกตและบันทึกภาพการใชพื้นที่จอดรถของผุอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมชวงวันที่15-22 ธันวาคม255<strong>13</strong>38


• ภาพแสดงการจอดรถเข็น บริเวณดานขางอาคาร และในชองจอดรถยนตที่มา:จากการเขาสังเกตและบันทึกภาพการใชพื้นที่จอดรถของผุอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมชวงวันที่15-22 ธันวาคม2551พบวามีรถยนตลนจากจํานวนชองจอดที่จัดเตรียมไวให ตองจอดบนผิวจราจร จอดรถซอนคัน บางจุดซอนทับชองจราจรทั้ง 2 เลน ไปและกลับ สูญเสียชองจราจร กีดขวางทางจราจร การใชรถใชถนนไมสะดวก รถไมสามารถวิ่งสวนทางกันได เกิดอุบัติเหตุเฉี่ยวชน อีกทั้งยังทําใหเกิดความไมเปนระเบียบ ทัศนียภาพไมดี ในชวงเวลาที่มีปริมาณรถในโครงการหนาแนนสูงสุดสวนที่จอดรถจักรยานยนต รถจักรยาน รถสามลอ ไมไดมีการจัดเตรียมที่จอดไวให รถจักรยานยนตและจักรยาน ใชพื้นที่บริเวณโถงทางเขาอาคาร ทางเดินเขา-ออกอาคาร ดานขางอาคาร รวมทั้งทางเทาเปนที่จอดรถ จอดรถกีดขวางทางเดินเขา-ออก อาคาร สวนรถประเภทอื่นๆ เชน รถเข็นขายของ รถสามลอ ใชที่จอดในชองจอดรถยนต ทางเทา และบริเวณขางอาคาร กรณีดังกลาวขางตนเปนเหตุให เกิดความไมสะดวกในการเดินเขา-ออกอาคาร หรือในกรณีฉุกเฉินตางฯ เชน การระงับเหตุเพลิงไหม และการนําผูปวยรับการรักษาพยาบาลในการนี้ผลจากการสนทนากลุมพบวาทางออกในการแกปญหาในชวงแรก กลุมผูนําชุมชน ไดเสนอทางแกไขปญหาที่จอดรถไวเบื้องตนดังนี้คือ• การติดสติ๊กเกอรรถในโครงการเพื่อนับจํานวนรถ และเปนการตรวจสอบรถที่นํามาจอดไวเพื่อปองกันการโจรกรรม การนับจํานวนรถที่จอดทิ้งไวโดยไมใชงาน• การยายถังขยะขึ้นไปไวขางอาคารเพื่อเพิ่มพื้นที่การจอดรถไดมากขึ้นถึง 48 คัน• การบริหารเวลา การเหลื่อมเวลาจอดรถ• การนําพื้นที่โลงที่ไมใชทํากิจกรรมในเวลากลางคืนมาใชเปนพื้นที่จอดรถชั่วคราว เชนลานกีฬา เปนตน• การปรับรูปแบบของชองจอดใหมตามลักษณะกายภาพของแตละอาคาร• การขอใหพิจารณาความเปนไปไดในการทําลานจอดรถบนพื้นที่บอบําบัด• การลดพื้นที่ทางเทาเพื่อขยายผิวการจราจรทั้งนี้กลุมผูแทนอาคาร ขอใหการเคหะแหงชาติไดมีนโยบายในการแกไขปญหาอยางเปนรูปธรรม ทั้งในเรื่องงบประมาณ และแนวทางการบริหารการจัดการ โดยการบริหารจัดการนั้นจะมีการหารือผูแทนกลุมอาคารในการหาแนวทางในการบริหารในเรื่องรถยนตในโครงการและพื้นที่จอดรถตอไป339


ที่มา:ภาพการสนทนากลุมเพื่อเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาความไมเพียงพอของพื้นที่จอดรถของผุอยูอาศัย ในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม วันที่10 มกราคม 2552บทวิเคราะหการจัดใหมีที่จอดรถยนตของโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมของการเคหะแหงชาตินั้น มีสูงกวาที่มาตรฐานและกฎหมายกําหนดใหมี สวนกรณีของการจัดใหมีที่จอดรถจักรยานยนต รถจักรยาน และรถสามลอนั้น ยังไมมีการกําหนดถึงมาตรฐานและขอกําหนดของกฎหมายเอาไวการออกแบบวางผังที่จอดรถในโครงการ มีการกระจายปริมาณที่จอดรถคิดเปนอัตราสวนระหวางที่จอดรถกับหนวยพักอาศัยของแตละกลุมอาคารไมเทากัน ซึ่งสงผลใหเกิดความหนาแนนของที่จอดรถแตกตางกันไปดวย อีกทั้งไมมีการจัดเตรียมที่จอดรถจักรยานยนต รถจักรยาน และรถสามลอไวจากการสํารวจ จํานวนรถยนตที่มีในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุมมีประมาณ 2,025 คัน มีชองจอดรถยนตในโครงการ 1086 ชอง รถยนตมีมากกวาชองจอด อยูประมาณ 939 คัน สรุปไดวา อัตราสวนที่จอดรถยนตตอหนวยพักอาศัย คิดเปน 1 : 2.89 และจํานวนรถยนตมีมากกวาที่จอดรถที่จัดไวให 1.86 เทา ซึ่งเมื่อคํานวณอัตราสวนที่จอดรถที่เพียงพอกับจํานวนรถยนตที่มีในโครงการ คิดเปนพื้นที่อาคาร 124 ตารางเมตร ตอที่จอดรถ 1 คันสรุปพฤติกรรมการใชพื้นที่จอดรถของผูอยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรบึงกุม ไดดังนี้1. พฤติกรรมในการจอดรถยนตของผูอยูอาศัยมักจะเลือกจอดรถซอนคันใกลตัวอาคารมากกวาการนํารถไปจอดในชองจอดที่อยูไกลจากตัวอาคาร2. ชวงเวลา 18:00 - 04:00 น. เปนชวงเวลาที่มีปริมาณรถยนตใชพื้นที่จอดรถในโครงการมากที่สุดในรอบวัน3. สําหรับรถที่ไมไดมีการจัดเตรียมที่จอดรถไวให ไดแก รถจักรยานยนต รถจักรยาน และรถสามลอ ผูอยูอาศัยจะนํารถไปจอดบริเวณที่วางรอบอาคาร โถงทางขึ้นอาคาร ทางเทา ชองจอดรถยนต และรถบนผิวจราจร4. ผูอยูอาศัยสวนใหญใชรถยนตเพื่อประกอบอาชีพและรองลงมาคือ เพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน340


ดวยเหตุผลของผูอยูอาศัยที่มีความจําเปนในการใชรถยนตเพื่อประกอบอาชีพและอํานวยความสะดวกในการเดินทาง ทําใหจํานวนรถยนตในโครงการมีมากกวาชองจอด และเกิดผลกระทบทําใหที่จอดรถไมเพียงพอทําใหผูอยูอาศัยจอดรถบนผิวจราจร สงผลใหเกิดปญหาที่ตามมาคือ การจอดรถไมเปนระเบียบ กีดขวางการจราจร และการเฉี่ยวชนรถจักรยานยนตและรถจักรยานในโครงการ ซึ่งเปนรถที่มีความจําเปนสําหรับผูอยูอาศัยมีปริมาณมากแตผูออกแบบไมไดมีการจัดเตรียมที่จอดรถไวให ผลกระทบที่ตามมาจึงทําใหผูอยูอาศัยนํารถไปจอดกีดขวางทางเขา-ออกอาคาร จอดรถบนทางเทา สวนรถสามลอมักจะจอดในพื้นที่สวนกลาง ซึ่งสงผลใหเกิดความไมเปนระเบียบเรียบรอย และสภาพแวดลอมทางกายภาพของโครงการไมมีความสวยงาม1. ไมมีที่จอดรถสําหรับจักรยานยนต จักรยาน และรถสามลอ ทําใหเกิดปญหาตามมาคือบทสรุป• การจอดรถกีดขวางทางเขา-ออกอาคาร• การจอดรถบนทางเทาและผิวจราจร• จอดรถบนพื้นที่สวนกลาง2. ที่จอดรถไมเพียงพอ สงผลใหเกิดปญหาตามมา คือ• ปญหาการจอดรถไมเปนระเบียบ• ปญหาการกีดขวางการจราจร• ปญหาการเฉี่ยวชนผลสรุปเบื้องตนจากงานวิจัยนี้พบวา โครงการที่บานเอื้ออาทรบึงกุม เปนโครงการที่อยูอาศัยขนาดใหญในเขตเมืองที่อยูไมหางจากระบบขนสงมวลชน ผูอยูอาศัยมีความจําเปนตองใชรถเพื่อการประกอบอาชีพ และเพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทาง สงผลใหมีปริมาณรถใชที่จอดภายในโครงการมากกวาที่จอดรถที่จัดไวการจัดที่จอดรถที่มีอยูไมเพียงพอตอปริมาณรถยนตในโครงการ และไมมีที่จอดรถประเภทจักรยานยนต และรถเข็นประกอบอาชีพ ที่จอดรถเพื่อการบริการชุมชน เชน รถสาธารณะ รถจักรยานยนตรับจางในโครงการ ทําใหเกิดปญหาตางๆตามมา สามารถวิเคราะห เบื้องตนไดวารถยนตมีความจําเปนตอการดํารงชีพ ขอเสนอในการแกปญหาจากการสัมภาษณผูบริหารการเคหะแหงชาติ และผูที่มีสวนเกี่ยวของ คือ การเหลื่อมเวลาจอด การเพิ่มพื้นที่จอดรถ และการบริหารพื้นที่จอดรถ มีแนวทางและนําเสอนขอมูลเพื่อการจัดเตรียมการออกแบบโครงการดานกายภาพ และแนวทางการบริหารจัดการที่มีความเหมาะสมสําหรับผูอยูอาศัย สําหรับโครงการที่อยูอาศัยขนาดใหญสําหรับผูมีรายไดนอยในอนาคต ตอไป.---------------------------------------------------------------341


ภาษาไทยรายการอางอิงการเคหะแหงชาติ. รายงานสถานภาพโครงการกอสรางประจําเดือนพฤษภาคม 2551. กรุงเทพมหานคร: กองติดตามและประเมินผล ฝายนโยบายและแผน การเคหะแหงชาติ, 2551. (อัดสําเนา)จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คณะสถาปตยกรรมศาสตร. การวิจัยมาตรฐานที่อยูอาศัยและ สิ่งแวดลอมใน กทม.สําหรับการเคหะแหงชาติ. กรุงเทพมหานคร: คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531.ภาษาอังกฤษHighway Research Board, Parking Principles ( Washington DC: 1971 ), pp. 17-18. (Hsin, Robert .Guidelines and Principles for Sustainable Community Design.http://sustainable.state.fl.us/fdi/ededign/news/9607/thesis/thesis.htm)342


สภาพการอยูอาศัยในหอพักนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตLIVING CONDITIONS IN RANGSIT UNIVERSITY DORMITORY.นางสาวณัฐฐิกา วีรประพันธหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ สภาพการอยูอาศัยและปญหาการอยูอาศัยในหอพักนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ใชวิธีการสํารวจ สังเกต และรวบรวมขอมูลดวยการใชแบบสอบถามนักศึกษา จํานวน 384 ตัวอยาง โดยแบงกลุมหอพักเปน 3 กลุม คือ หอพักของมหาวิทยาลัย หอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) และหอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) ใชวิธีการสุมตัวอยางแบบบังเอิญแตภายใตอาคารแบบเจาะจง คือ หอพักหญิง หอพักชาย และหอพักผสม นอกจากนี้ยังใชการสัมภาษณผูอํานวยการสํานักงานหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อเปนแนวทางในการเสนอแนะการจัดหอพักนักศึกษาตอไปผลการวิจัย มีสาระสําคัญคือนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ที่พักในหอพัก สวนใหญมาจากตางจังหวัด ซึ่งมีมากถึงรอยละ 81.5สวนใหญเรียนอยูคณะสายวิทยาศาสตรสุขภาพ ชั้นปที่ 1 รายไดรวมของครอบครัว มีมากกวา 40,000 บาท/เดือน จากการศึกษารายรับและรายจาย พบวา นักศึกษาหอพักของมหาวิทยาลัยมีรายรับ 7,001-9,000 บาท/เดือน ซึ่งนอยกวานักศึกษาหอพักเอกชนที่มีรายรับ 9,001-12,000 บาท/เดือน นอกจากนี้ยังพบวา นักศึกษาหอพักของมหาวิทยาลัยมีคาใชจายดานที่พักอาศัย (คาหอพัก คาน้ํา และคาไฟ) คิดเปนรอยละ 27 ของรายไดซึ่งนอยกวาหอพักเอกชนที่มีคาใชจายประมาณรอยละ 50 ของรายได อยางไรก็ตาม นักศึกษาหอพักมหาวิทยาลัยใชจายดานการอยูอาศัย (คาอาหาร คาเดินทาง คาซักผา และอื่นๆ) มากถึงประมาณรอยละ 63ขณะที่นักศึกษาหอพักเอกชน ใชจายเพียงประมาณ รอยละ 46ดานสภาพการอยูอาศัยในหอพัก พบวาหอพักของมหาวิทยาลัยแยกเปนหอพักชาย และหอพักหญิงชัดเจนมีสิ่งอํานวยความสะดวกและการรักษาความปลอดภัยครบครันสําหรับหอพักเอกชนสวนใหญมีการอยูปะปนกันระหวางหญิงชาย ไมไดมีการแยกอยางชัดเจน สิ่งอํานวยความสะดวกที่ขึ้นอยูกับราคาคาเชาสําหรับระบบรักษาความปลอดภัย สวนใหญมีประตู ปด-เปด ดวยการด โทรทัศนวงจรปด และบันไดหนีไฟมีขอสังเกตคือ หอพักมีการติดตั้งเหล็กดัดบริเวณหนาตาง โดยหอพักเอกชนสวนใหญไมมีสวนหยอม และ343


สถานที่สําหรับออกกําลังกาย สําหรับการพักอาศัย นักศึกษาสวนใหญพักอาศัย 2 คนตอหอง และมีพฤติกรรมการอยูอาศัยทั้ง 3 กลุมไมแตกตางกัน โดยในวันธรรมดาตื่นนอน เวลา ประมาณ 7:00 น. – 8:00 น. รับประทานอาหารเชา เวลา 8:00 น. – 9:00 น. และเขานอนในเวลา 23:00 น. – 24:00 น. แตในวันหยุด นักศึกษาจะตื่นนอนชากวาในวันธรรมดาประมาณ 1 ชั่วโมง และมักจะไมรับประทานอาหารเชา มากถึงรอยละ 48.2 หอพักนักศึกษาสวนใหญอยูใกลที่เรียน นักศึกษาจึงสามารถเดินไปเรียนไดปญหาการอยูอาศัยในหอพัก พบปญหาที่สําคัญ คือดานสภาพแวดลอม ดานหอพักมีจํานวนไมเพียงพอตอความตองการ และดานการอยูอาศัย โดยหอพักของมหาวิทยาลัยมีปญหากลิ่น เสียงดังรบกวนจากภายนอก และบรรยากาศภายในหองพักไมเอื้อตอการเรียน หอพักเอกชนพบปญหาคาเชาสูง มีพื้นที่ทํากิจกรรมนอย และการมีความสัมพันธทางเพศของนักศึกษาจากสภาพและปญหาดังกลาวขางตน พบวาควรมีแนวทางการจัดหอพัก ดังนี้ 1. ปญหาสภาพแวดลอมของหอพัก ควรมีมาตรการชวยเหลือนักศึกษา เชน การจัดกิจกรรม 5 ส สําหรับสภาพแวดลอมภายนอก พบวาหอพักเอกชนสวนใหญไมมีสถานที่พักผอนและทํากิจกรรมอื่น โดยทางหอพักของมหาวิทยาลัยอาจตั้งเปนเกณฑในการเขารวมเปนหอพักเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย 2. ปญหาจํานวนหอพักมีไมเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา ซึ่งอาจเปนผลทําใหหอพักเอกชนมีปญหาคาเชาสูงดวย โดยผูบริหารมหาวิทยาลัยรังสิตกําลังมีนโยบายในการจัดหาหอพักใหนักศึกษา อยางไรก็ตาม ทางมหาวิทยาลัยควรใหความสําคัญกับสภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองพักดวย เพื่อใหมีบรรยากาศที่ดีในการเรียน 3. ปญหาการอยูอาศัย พบปญหาการมีสัมพันธทางเพศของนักศึกษา เปนผลมาจากปญหาการอยูปะปนกันระหวางชายหญิง ซึ่งถึงแมจะเปนหนาที่ของหนวยงานราชการ แตทางมหาวิทยาลัยควรสงเจาหนาที่เขาตรวจสอบเปนประจําดวย โดยเฉพาะในหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)บทนําหอพักนักศึกษามีความสําคัญ ทั้งตอตัวนักศึกษาเองและตอสถาบันอุดมศึกษา สําหรับความสําคัญตอนักศึกษานั้น เนื่องจากนักศึกษาสวนใหญมาจากตางจังหวัดและไมมีที่พักอาศัย หอพักจึงเปนที่อํานวยความสะดวก สบายและปลอดภัยแกนักศึกษา สําหรับหอพักของมหาวิทยาลัยเองนั้นจะชวยใหนักศึกษาประหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย ทําใหนักศึกษาไมเสียสุขภาพกายและสุขภาพจิตกับปญหาการจราจรที่ติดขัดเพราะหากนักศึกษาใชเวลาเดินทางมาศึกษานานนั้นจะตองผจญกับอากาศรอนอบอาว ฝุนละอองและควันพิษจากทอไอเสียรถยนต และการเดินทางทุกวัน ทําใหมีความเสี่ยงตออุบัติเหตุและอันตรายที่อาจเกิดจากการเดินทางไดมากอีกดวย สําหรับหอพักของมหาวิทยาลัยเองนั้น สามารถชวยในดานการศึกษาได เพราะมีสิ่งอํานวยความสะดวกดานการศึกษาใหนักศึกษา เชนหองศึกษา (Study Rooms) หองคอมพิวเตอร นอกจากนั้นการอยูรวมกันทําใหนักศึกษาไดมีโอกาสศึกษารวมกันเปนกลุม จึงทําใหการศึกษาไดผลดี และยังชวยสงเสริม344


พัฒนาการในดานตางๆ เพราะการที่นักศึกษาตองหางไกลจากการดูแลของบิดามารดา นักศึกษาตองดูแลตัวเองทั้งในดานความประพฤติ การใชจายเงิน และการศึกษาเลาเรียน สภาพแวดลอมนี้จะชวยสงเสริมใหนักศึกษาไดพัฒนาความเปนตัวของตัวเอง (Developing of Autonomy) เปนอันมาก การอยูรวมกันกับผูอื่น ไดทํางานรวมกับผูอื่น เปนการชวยใหนักศึกษาเกิดทักษะในดานสังคม และมีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสภาพการณตางๆ ไดดีขึ้น การเขารวมกิจกรรมนักศึกษาในหอพัก และการเขาฝกอบรมในดานตางๆ ที่งานหอพักจัดขึ้นยอมเปนการสงเสริมพัฒนาการในดานตางๆ ของนักศึกษาไดเปนอยางดีสําหรับความสําคัญตอสถาบันอุดมศึกษา นั้นหอพักชวยใหการสอนของสถาบันอุดมศึกษามีประสิทธิภาพ เพราะ นักศึกษามีความพรอมในการศึกษาเลาเรียน และเปนเครื่องมือที่สําคัญของสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนานักศึกษา เนื่องจากหอพักชวยสงเสริมพัฒนาการในดานตางๆ ของนักศึกษาไดเปนอยางดี หอพักจึงเปนเครื่องมือที่สําคัญของสถาบันอุดมศึกษา ในการพัฒนานักศึกษาหอพักนักศึกษามีหลายประเภท แตละประเภทก็มีรูปแบบในการบริหารงานและความเปนอยูของนักศึกษาผูพักอาศัยแตกตางกัน ประเภทของหอพักนักศึกษาที่เปนแบบอยางของหอพักนักศึกษาในประเทศตางๆ ไดแก ดอรมิทอรี (dormitory) เรสิเดนทเซียลฮอลล (residential hall) แฟรเทอรนิที (fraternity) เซอรอริที(serority) หอพักประเภทชวยเหลือกันเอง (cooperative housing) หอพักสหศึกษา (coeducational housing)ศูนยศึกษาและอาศัย (living learning center) หอพักสําหรับผูเรียนประจํา (residential college) หองเชาในวิทยาเขต (University Apartments) และ หอพักภายนอกวิทยาเขต (off campus housing)ปญหาของนักศึกษาที่พักอาศัยในหอพักปญหาของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย มีปญหาที่สําคัญอยูหลายประการในจํานวนปญหานั้นมีปญหาดานที่พักอาศัยรวมอยูดวย เนื่องจากสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย สวนใหญไมมีหอพักใหนักศึกษา บางสถาบันที่มีหอพักใหนักศึกษาพักอาศัย ก็มีหอพักจํานวนนอย ไมเพียงพอกับความตองการของนักศึกษา ทําใหนักศึกษาตองอยูกันอยางเบียดเสียดเยียดยัดมาก ปญหาดานที่พักอาศัยของนักศึกษา จึงมีแทบทุกสถาบัน โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จะมีหอพักใหนักศึกษานอยมาก นักศึกษาสวนใหญจึงตองพักอาศัยภายนอกสถาบัน จึงทําใหขาด บรรยากาศการใชชีวิตในสถาบัน (Campus Life)ซึ่งเปนบรรยากาศที่ชวยในดานการเรียนการสอน และการพัฒนานักศึกษาเปนอยางดียิ่ง นอกจากนั้น การที่นักศึกษาตองพักอาศัยภายนอกสถาบัน ยังกอใหเกิดปญหาทางดานสวัสดิภาพของนักศึกษา และปญหาอื่นๆอีกหลายประการ เชน ตองเสียเวลาและคาใชจายในการเดินทางมาก ตลอดจนปญหาที่เกี่ยวกับสุขภาพที่เกิดจากมลภาวะนอกจากนี้ยังมีวิทยานิพนธหลายเลมที่กลาวถึงปญหาของนักศึกษา ดังตอไปนี้ ปภากร สุวรรณธาดา (2537) พบปญหาของนักศึกษาที่พักอาศัยในหอพักมหาวิทยาลัย คือ 1. ความปลอดภัยในทรัพยสิน345


2. เสียงรบกวน 3.หองน้ํา หองสวม สวนนักศึกษาที่พักอาศัยในที่พักอื่นๆ ที่ไมใชหอพักของมหาวิทยาลัยนั้นพบปญหาความสะดวกในการเดินทางเปนปญหาที่สําคัญที่สุดสุพจน พูลนอย (2542) พบปญหาในการพักอาศัยใน 2 ลักษณะ คือ ปญหาทางดานความปลอดภัย และ ปญหาทางดานสุขลักษณะที่ไมเหมาะสมตอการพักอาศัยวัลลภ สุรทศ (2543) พบปญหาการพักอาศัย มีความแตกตางกัน คือ นิสิตที่พักหอพักมหาวิทยาลัยเห็นวาสิ่งอํานวยความสะดวกไมเพียงพอ สวนนิสิตที่เชาพักรอบมหาวิทยาลัยมีความเห็นวาปญหาสําคัญคือ ปญหาดานความปลอดภัยในการพักอาศัยนิพนธ ลาวัณยโกวิท (2546) พบปญหาในดานความพรอมในการเปลี่ยนแปลงที่อยูใหมประกอบกับความไมพรอมดานที่พักอาศัย และปจจัยทางดานความสามารถในการจายคาที่พักอาศัยของวิทยาเขตในเมืองที่ขาดแคลน และมีอัตราคาเชาสูงกวาและที่พักอาศัยเอกชนไมไดคํานึงถึงรูปแบบที่พักอาศัย สภาพสังคมและสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมสอดคลองกับความตองการของนักศึกษาอํานาจ สังขศรีแกว (2548) พบปญหาที่พบรวมกันของที่พักมหาวิทยาลัยและที่พักเอกชน คือการสงเสียงดัง การลักขโมย การเลนการพนัน การดื่มของมึนเมา และการดูสื่อลามก สวนปญหาที่มีความแตกตางกันคือ ที่พักของมหาวิทยาลัยจะพบปญหา ความแออัด และการเขาพักโดยไมไดรับอนุญาต ขณะที่ที่พักของเอกชนจะพบปญหา บรรยากาศในที่พักไมเอื้อตอการเรียน นอกจากนี้ยังพบปญหาที่แมจะพบไมมากแตควรไดรับการเอาใจใส คือ การมีเพศสัมพันธ และการพักอาศัยอยูรวมกันของนักศึกษาชายและหญิงนิมิต โออุไร (2537) พบปญหาเสียงรบกวน และกลิ่นรบกวนมหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยรังสิต เปนมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยูในอําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานีเปนมหาวิทยาลัยที่เห็นความสําคัญของที่อยูอาศัยสําหรับนักศึกษา โดยมีการจัดสรางหอพักนักศึกษา เริ่มสรางขึ้นเมื่อป 2529 ปจจุบันหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต มีจํานวน 4 อาคาร แตเมื่อนักศึกษามีจํานวนเพิ่มขึ้นทุกปนั้นทําใหเกิดปญหาที่อยูอาศัยไมเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา แตการที่จะกอสรางหอพักของมหาวิทยาลัยขึ้นอีกก็จะตองใชงบประมาณที่สูง ทั้งในเรื่องการกอสราง และการบริหารจัดการ ทําใหมหาวิทยาลัยรังสิตหาทางแกไขโดยในระยะแรกไดทดลองเชาบานใหนักศึกษาอยูอาศัย 2 หลัง สามารถพักอาศัยไดหลังละ 5 คน ผลที่ไดคือการควบคุมความปลอดภัยยาก และมีคาใชจายในการบริหารงานสูง เมื่อมีคาใชจายสูง ทางมหาวิทยาลัยจําเปนตองเก็บคาเชาจากนักศึกษาในอัตราที่สูง จึงทําใหความคิดนี้ลมเลิกไป หลังจากนั้น ความคิดในการสรางหอพักเครือขายของ อาจารยนันทนา กุญชร ณ อยุธยา ผูอํานวยการหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต จึงเกิดขึ้น โดยในชวงแรกไดมีการสํารวจหอพักที่มีความเหมาะสมสําหรับการเปนหอพักเครือขายของมหาวิทยาลัย โดยจะตรวจสอบถึง346


ทําเลที่ตั้ง ความเหมาะสมทางดานกายภาพ ความถูกตองของกฎหมาย โดย 2 ปแรก ประมาณ ป พ.ศ. 2544หรือประมาณ 8 ปที่ผานมา มีหอพักที่เขารวมเครือขายอยู 14 แหง โดยในปจจุบันนี้มหาวิทยาลัยรังสิตมีหอพักเครือขายอยู 26 แหง ถือวาโครงการนี้ประสบความสําเร็จอยางมาก ซึ่งถือวามหาวิทยาลัยรังสิตเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกที่มีแนวคิดการสรางหอพักเครือขาย ซึ่งมีประโยชนมากสําหรับมหาวิทยาลัยและนักศึกษา ในปจจุบันมหาวิทยาลัยรังสิต จึงกลายเปนสถานที่ศึกษาและดูงานของมหาวิทยาลัยตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในเรื่องหอพักนักศึกษาภาพที่ 1 แสดงแผนที่มหาวิทยาลัยรังสิตในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยทําการศึกษาที่อยูอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ในพื้นที่หมูบานเมืองเอก ที่มีลักษณะเปนตึกสูง 3 ลักษณะ ดังนี้1. หอพักของมหาวิทยาลัยรังสิต หมายถึงหอพักนักศึกษาในมหาวิทยาลัยรังสิต มีทั้งหมด4 อาคาร แบงเปนหอพักหญิง 3 อาคาร และหอพักชาย 1 อาคาร2. หอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต) หมายถึงหอพักนักศึกษาที่จดทะเบียนหอพัก ตามพระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ. 2507 และใชกฎระเบียบ พรอมทั้งอยูในความดูแลของหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต แบงเปน หอพักหญิง 12 อาคาร หอพักชาย 5 อาคาร และหอพักผสม 20 อาคาร347


3. หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต) หมายถึง หอพักนักศึกษาที่จดทะเบียนหอพักตามพระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ. 2507 และไมอยูในความดูแลของหอพักมหาวิทยาลัยรังสิตแบงเปน หอพักหญิง 8 อาคาร หอพักชาย 3 อาคาร และหอพักผสม 34 อาคารโดยที่อยูอาศัยแตละประเภทมีสภาพแวดลอมแตกตางกัน ซึ่งสงผลตอการอยูอาศัยของนักศึกษาทําใหผูวิจัยเกิดความสนใจที่จะศึกษา ลักษณะของที่อยูอาศัยของนักศึกษาในแตละประเภท รวมถึงสภาพการอยูอาศัย และปญหาในการอยูอาศัย ซึ่งขอมูลที่ไดนี้นาจะเปนประโยชนตอผูที่เกี่ยวของในการจัดการที่พักอาศัยใหนักศึกษา เพื่อใหมีสภาพแวดลอมเหมาะสมตอการพักอาศัยและการศึกษาตอไปภาพที่ 2 แสดงตําแหนงหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ในพื้นที่หมูบานเมืองเอก รังสิตหอพักภายในมหาวิทยาลัยรังสิต จํานวน 4 อาคารหอพักเอกชน เครือขายหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต จํานวน 37 อาคารหอพักเอกชน ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต จํานวน 45 อาคาร348


ภาพที่ 3 แสดงวิธีการดําเนินการศึกษา1. เพื่อศึกษาสภาพสังคมสรุปผลและเศรษฐกิจของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตแบบสอบถามนักศึกษาผลการสอบถามวิเคราะหการศึกษา2.เพื่อศึกษาสภาพการอยูและสรุปผลอาศัยในหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตสํารวจ/สังเกตหอพักผลการสํารวจ3. เพื่อศึกษาปญหาการอยูอาศัยในหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต4. เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดหอพักนักศึกษาผลการสอบถามและการสํารวจสัมภาษณผูบริหารหอพักมหาวิทยาลัยผลการสัมภาษณวิธีดําเนินการศึกษาการสังเกตหองพัก สําหรับหองพักในหอพักของมหาวิทยาลัย ผูวิจัยไดขออนุญาตผูอํานวยการสํานักงานหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต โดยดูลักษณะหองพัก การจัดสวนใชสอยตางๆ และการอยูอาศัย ของนักศึกษา สําหรับหอพักเอกชนนั้นผูวิจัยไดขออนุญาตเจาของหอง โดยหากหองพักใดที่เจาของหองไมอนุญาตใหผูวิจัยเขาไปสังเกตลักษณะภายในได ผูวิจัยจะดําเนินการโดยการสัมภาษณนักศึกษาเจาของหองและขอใหบันทึกภาพใหผูวิจัยดวยการใชแบบสอบถามนักศึกษา จะแบงกลุมของหอพักที่ทําการศึกษาไวเปน 3 กลุม คือ1. หอพักของมหาวิทยาลัยรังสิต 2. หอพักเอกชนเครือขายหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต และ 3. หอพักเอกชนไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งในแตละกลุมจะแบงตามขนาดของหอง ซึ่งหอพักของมหาวิทยาลัยรังสิตเองนั้น ขนาดของหองพักจะมีอยูแคขนาดเดียว คือ 270 - 345 หอง ที่เหลืออีก 2 ประเภทนั้นจะแบงออกเปน3 ขนาด คือ ขนาดต่ํากวา 100 หอง ขนาดระหวาง 100 - 199 หอง และขนาดตั้งแต 200 หองขึ้นไป และจะแจกแบบสอบถามตามสัดสวนของจํานวนหอพักหญิง หอพักชาย และหอผสม โดยจะใชวิธีสุมตัวอยางแบบบังเอิญแตภายใตตึกแบบเจาะจงการวิเคราะหขอมูล โดยการใชคอมพิวเตอร โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS คาสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ (Percentage) คาความถี่ (Frequency) และใชกรอบแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของชวยในการวิเคราะห349


การศึกษาโดยการสัมภาษณ โดยหลังจากไดผลจากการสอบถามและการสํารวจ มาทําการสรุปผลนั้น ในขั้นตอไปจะเปนการสัมภาษณผูอํานวยการสํานักงานหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต โดยการนําผลการสอบถามและการสํารวจมาทําการเสนอแนะและขอคําแนะนําเพื่อเปนประโยชนในการจัดที่พักอาศัยที่มีความเหมาะสมใหนักศึกษา เพื่อใหมีสภาพแวดลอมเหมาะสมตอการพักอาศัยและการศึกษาตอไปภาพที่ 4 แสดงภาพรวมของหอพักมหาวิทยาลัยรังสิตหอพักของมหาวิทยาลัย(4 อาคาร)1,227 คน270-345 หอง(4 อาคาร)1,227 คนหญิง ( 3 อาคาร)882 คนชาย ( 1 อาคาร)345 คนหญิง (7 อาคาร)528 คนหอพักนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต(86 อาคาร)8,594 คนหอพักเอกชน(เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)(37 อาคาร)3,767 คนหอพักเอกชน(ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)(45 อาคาร)3,600 คนต่ํากวา 100 หอง(24 อาคาร)1,790 คนระหวาง 100-199 หอง(10 อาคาร)1,3<strong>13</strong> คนตั้งแต 200 หองขึ้นไป(3 อาคาร)664 คนต่ํากวา 100 หอง(29 อาคาร)1,804 คนระหวาง 100-199 หอง(16 อาคาร)1,796 คนหญิง (4 อาคาร)557 คนชาย (2 อาคาร)236 คนผสม (4 อาคาร)520 คนหญิง (6 อาคาร)356 คนชาย (2 อาคาร)150 คนผสม(21 อาคาร)1,298 คนชาย (2 อาคาร)160 คนผสม(15 อาคาร)1,102 คนหญิง (1 อาคาร)200 คนชาย (1 อาคาร)200 คนผสม(1 อาคาร)264 คนหญิง ( 1 อาคาร)120 คนชาย (1 อาคาร)120 คนผสม(14 อาคาร)1,556 คน350


ผลการศึกษา จากแบบสอบถาม จํานวน 384 ชุด พบวาตารางที่ 1 สภาพเศรษฐกิจและสังคมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตสภาพสังคม/เศรษฐกิจหอพักของมหาวิทยาลัยหอพักเอกชน(เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)หอพักเอกชน(ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)ภาพรวมทุกหอพักเพศ หญิง>ชาย หญิง>ชาย หญิง>ชาย หญิง>ชายคณะ แพทยศาสตร เภสัชศาสตร เภสัชศาสตร -ชั้นป 1 1 3 1ผลการศึกษาเฉลี่ย2.83 2.87 2.79 2.83ภูมิลําเนา ตางจังหวัด ตางจังหวัด ตางจังหวัด ตางจังหวัดเหตุผลในการเชาพักอาศัยตองการมีที่พักใกลที่เรียน/เปนคนตางจังหวัดตองการมีที่พักใกลที่เรียนตองการมีที่พักใกลที่เรียนตองการมีที่พักใกลที่เรียนประสบการณการเขาพักอาศัยไมเคยพักที่อื่นมากอน ไมเคยพักที่อื่นมากอน ไมเคยพักที่อื่นมากอน ไมเคยพักที่อื่นมากอนรายรับเฉลี่ย 8,<strong>13</strong>6.36 10,692.31 10,090.63 9,639.77ที่มาของรายได ผูปกครองสงให ผูปกครองสงให ผูปกครองสงให ผูปกครองสงใหคาใชจายเฉลี่ยดานที่พักอาศัยคาใชจายเฉลี่ยดานการอยูอาศัยความเหมาะสมของคาเชา2,192.49 5,250.05 4,766.33 4,506.915,116.54 4,710.35 4,592.55 4,715.96เหมาะสม แพง แพง -อาชีพผูปกครอง นักธุรกิจ/คาขาย นักธุรกิจ/คาขาย นักธุรกิจ/ คาขาย นักธุรกิจ/คาขายรายไดเฉลี่ยของครอบครัว34,090.91 37,928.99 35,281.25 35,767.05351


สรุปผล สภาพเศรษฐกิจ และสังคมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตหอพักของมหาวิทยาลัย พบวานักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย โดยนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม สวนใหญศึกษาอยูในคณะสายวิทยาศาสตร สุขภาพ ชั้นปที่ 1 ภูมิลําเนาตางจังหวัดผลการศึกษาเฉลี่ย 2.83 รายรับเฉลี่ย 8,<strong>13</strong>6.36 บาท/เดือน รายจายดานที่พักอาศัยเฉลี่ย 2,192.49 บาท/เดือนคิดเปน รอยละ 26.94 ของรายรับ สําหรับรายจายดานการอยูอาศัยเฉลี่ย 5,116.54 บาท/เดือน คิดเปน รอยละ61.89 ของรายรับ รายรับสวนใหญผูปกครองสงให รายไดเฉลี่ยของครอบครัว 34,090.91 บาท/เดือนหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) พบวานักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย โดยนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม สวนใหญศึกษาอยูในคณะสายวิทยาศาสตร สุขภาพ ชั้นปที่ 1ภูมิลําเนาตางจังหวัด ผลการศึกษาเฉลี่ย 2.87 ซึ่งมากกวานักศึกษาหอพักทั้ง 2 กลุม รายรับเฉลี่ย 10,692.31บาท/เดือน รายจายดานที่พักอาศัยเฉลี่ย 5,250.05 บาท/เดือน คิดเปน รอยละ 49.1 ของรายรับ สําหรับรายจายดานการอยูอาศัยเฉลี่ย 4,710.35 คิดเปน รอยละ 44.06 ของรายรับ รายรับสวนใหญผูปกครองสงให รายไดเฉลี่ยของครอบครัว 35,000 บาท/เดือนหอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) พบวานักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย สวนใหญศึกษาอยูในคณะเภสัชศาสตรและบริหารธุรกิจ ชั้นปที่ 2 และ 3 ภูมิลําเนาตางจังหวัดผลการศึกษาเฉลี่ย 2.79 ซึ่งมีผลการศึกษาเฉลี่ยนอยที่สุด ในหอพัก ทั้ง 3 กลุม แตถือวาไมแตกตางกันมากรายรับเฉลี่ย 10,090.63 บาท/เดือน รายจายดานที่พักอาศัยเฉลี่ย 4,766.33 บาท/เดือน คิดเปน รอยละ 47.23ของรายรับ สําหรับรายจายดานการอยูอาศัยเฉลี่ย 4,592.55 บาท/เดือน คิดเปน รอยละ 45.51 ของรายรับรายไดสวนใหญผูปกครองสงให รายไดเฉลี่ยของครอบครัว 33,100บาท/เดือนตารางที่ 2 สภาพการอยูอาศัยในหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตสภาพการอยูอาศัยหอพักของมหาวิทยาลัยหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)ดานกายภาพลักษณะหองพัก หองน้ําในตัว หองน้ําในตัว หองน้ําในตัวเครื่องใชไฟฟาภายในหองพัก เตารีด โทรทัศน โทรทัศนสถานที่รับประทานอาหารเชา โรงอาหารมหาวิทยาลัย รานคารอบๆ มหาวิทยาลัย รานคารอบๆ มหาวิทยาลัยสถานที่รับประทานอาหารกลางวันโรงอาหารมหาวิทยาลัย รานคารอบๆ มหาวิทยาลัย รานคารอบๆ มหาวิทยาลัยสถานที่รับประทานอาหารเย็น รานคารอบๆ มหาวิทยาลัย รานคารอบๆ มหาวิทยาลัย รานคารอบๆ มหาวิทยาลัย352


สภาพการอยูอาศัยหอพักของมหาวิทยาลัยหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)เวลาที่ใชในการเดินทาง 5 นาที 5 นาที 5 นาทียามรักษาการณ 24 ชั่วโมง 24 ชั่วโมง/เฉพาะกลางคืน 24 ชั่วโมงโทรทัศนวงจรปด มี มี มีเหล็กดัด มีเฉพาะชั้นลาง ไมมี ไมมีบันไดหนีไฟ มี มี มีสวนหยอม มี ไมมี ไมมีหองออกกําลังกาย ไมมี ไมมี ไมมีหอพักที่เหมาะสมที่จะเปนหอพักนักศึกษาหอพักของมหาวิทยาลัย หอพักเอกชน หอพักเอกชนสภาพการอยูอาศัยหอพักของมหาวิทยาลัยหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)ดานการอยูอาศัยสาเหตุการเลือกหอพัก ใกลที่เรียน ใกลที่เรียน ใกลที่เรียนจํานวนคนพักอาศัย 2 คน 2 คน 2 คนจํานวนคนพักอาศัยที่เหมาะสม 2 คน 2 คน 2 คนความเหมาะสมของจํานวนคนพักอาศัยเหมาะสม เหมาะสม เหมาะสมการซักผา ใชเครื่องซักผาหยอดเหรียญใชเครื่องซักผาหยอดเหรียญ ซัก-รีด เองวิธีการเดินทางของนักศึกษา เดิน เดิน เดิน353


สรุปผล สภาพการอยูอาศัยในหอพักนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตหอพักของมหาวิทยาลัย พบวา หองพักของนักศึกษาหอพักสวนใหญมีลักษณะเปนหองน้ําภายในหองพัก โดยหอพักมหาวิทยาลัยมีหองน้ําภายในหองพัก 2 อาคาร แบงเปน ชาย 1 อาคาร หญิง 1 อาคารและ หองน้ํารวม 2 อาคาร เปนหอพักหญิงทั้ง 2 อาคารสวนใหญพักอาศัย 2 คน/หอง ซึ่งนักศึกษาคิดวาเปนจํานวนที่เหมาะสม เครื่องใชไฟฟาสวนใหญคือเตารีด และซักผาโดยใชเครื่องซักผาหยอดเหรียญ การทํากิจกรรมสวนใหญทํากิจกรรมในบริเวณอาคาร เดินทางโดยการเดิน เนื่องจากหอพักตั้งอยูในมหาวิทยาลัยจึงใกลกับทุกคณะ ใชเวลาเดินทางจากที่พักไปคณะที่เรียน ประมาณ 5 นาทีหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) และ หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)พบวา หองพักสวนใหญมีลักษณะเปนหองน้ําภายในหองพัก โดยพักอาศัยหองละ 2 คน ซึ่งนักศึกษาคิดวาเปนจํานวนที่เหมาะสมแลว เครื่องใชไฟฟาที่ใชสวนใหญคือโทรทัศน และซักผาโดยใชเครื่องซักผาหยอดเหรียญ การทํากิจกรรมสวนใหญทํากิจกรรมในบริเวณอาคาร การเดินทางจากที่พักไปคณะที่เรียนใชวิธีการเดิน โดยใชเวลาเดินทางประมาณ 5-10 นาทีตารางที่ 3 แสดงการสรุปเปรียบเทียบระดับปญหาดานกายภาพและสภาพแวดลอมของหอพักระดับปญหาลําดับที่ปญหาหอพักของมหาวิทยาลัยหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)270-345 หอง ต่ํากวา100 หอง100-199หอง200 หองขึ้นไปต่ํากวา100 หอง100-199หอง1 สภาพหองเกาและทรุดโทรมปานกลาง(47.3%)นอย (46.3%)นอย(44.1%)ปานกลาง(36.7%)นอย(56.3%)นอย(43.8%)2 สัดสวนจํานวนหองพักกับจํานวนนักศึกษาไมเพียงพอปานกลาง(40%)ปานกลาง-มาก (36.3%)ปานกลาง(35.6%)ปานกลาง(43.3%)มาก(43.8%)ปานกลาง(47.5%)3 หองพักขนาดเล็กมีพื้นที่ใชสอยไมเพียงพอปานกลาง(40%)ปานกลาง(40%)นอย(42.4%)ปานกลาง(53.3%)ปานกลาง(58.8%)ปานกลาง(48.8%)354


ระดับปญหาลําดับที่ปญหาหอพักของมหาวิทยาลัยหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย)270-345 หอง ต่ํากวา100 หอง100-199หอง200 หองขึ้นไปต่ํากวา100 หอง100-199หอง4 อากาศไมถายเท นอย (41.8) ปานกลาง(38.8%)นอย (39%) นอย (40%) ปานกลาง(65%)ปานกลาง(40%)5 แสงแดดสองไมถึงนอย (32.7)ปานกลาง(45%)นอย(35.6%)ปานกลาง(40%)ปานกลาง(57.5%)ปานกลาง(40%)6 กลิ่นรบกวน มาก (29.1%) ปานกลาง(35%)นอย(40.7%)ปานกลาง(40%)ปานกลาง(46.3%)นอย -ปานกลาง(32.5%)7 มีเฟอรนิเจอรไมครบปานกลาง(41.8%)ปานกลาง(31.3%)นอย - ปานกลาง(32.2%)ปานกลาง(36.7%)มาก(45%)นอย(35%)8 ไมมีที่ตากผาหรือระเบียงนอย (34.5%)ปานกลาง(32.5%)นอยที่สุด(44.1%)นอย(46.7%)นอย(61.3%)นอย(40%)9 ไมมีที่จอดรถ ปานกลาง(32.7%)นอย (31.3%)ปานกลาง(32.2%)ปานกลาง(36.7%)นอยที่สุด(43.8%)นอย(33.8%)10 ไมมีพื้นที่สําหรับทํากิจกรรมอื่นๆปานกลาง(27.3%)มาก (36.3%)ปานกลาง(39%)ปานกลาง(40%)มาก(52.5%)ปานกลาง(35%)11 มีเสียงดังรบกวน(จากภายนอก)มากที่สุด(29.1%)ปานกลาง(35%)ปานกลาง(25.4%)นอย (30%)ปานกลาง(48.8%)ปานกลาง(45%)12 ความสะดวกในการเดินทางนอยที่สุด(36.4%)นอยที่สุด(30%)นอยที่สุด(30.5%)มาก(36.7%)นอยที่สุด(47.5%)นอยที่สุด(30%)355


สรุป ปญหาการอยูอาศัยของนักศึกษาหอพักของมหาวิทยาลัย พบปญหากอนเขาอยูอาศัยของนักศึกษาคือตองจองหอพักลวงหนานานกอนการยายเขาอยู ซึ่งจากการสอบถามเจาหนาที่สํานักงานหอพัก พบวาจํานวนคนที่ตองการเขาอยูในหอพัก มีจํานวนมาก หอพักมีไมเพียงพอสําหรับนักศึกษา และนักศึกษาที่ไดสิทธิ์เขาอยูหอพักของมหาวิทยาลัยแลว มักไมออกไปอยูที่อื่น ซึ่งนักศึกษาที่ไดสิทธิ์ จะไดสิทธิ์จนถึงจบการศึกษา โอกาสในการแสดงความคิดเห็นนอย และปญหาที่สงผลกระทบตอการเรียน คือบรรยากาศภายในหองพักไมเอื้อตอการเรียน สําหรับปญหาการอยูอาศัยที่พบมากที่สุดคือ ปญหากลิ่นรบกวน และปญหาเสียงดังจากภายนอก ซึ่งในขณะที่ผูศึกษาไดแจกแบบสอบถาม เปนชวงที่มีการกอสราง จึงถือวาเปนปญหาชั่วคราว เพราะหลังจากที่การกอสรางเสร็จสิ้น ปญหาดังกลาวนี้ก็จะหมดไปสําหรับปญหาบรรยากาศภายในหองพักไมเอื้อตอการเรียนนั้น พบวามีปญหาเพียง 40% ของนักศึกษาที่กรอกแบบสอบถาม ซึ่งจากที่ผูวิจัยเขาไปสังเกตดูแลวพบวา หอพักมหาวิทยาลัย ไมไดกําหนดของใชของนักศึกษา ทําใหนักศึกษาแตละคนมีของใชมาก และวางไมเปนระเบียบเรียบรอยหอพักเอกชน (เครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) และ หอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) พบวาปญหาที่นักศึกษาพบกอนเขาอยูอาศัยคือ ราคาคาเชาแพง โอกาสในการแสดงความคิดเห็นนอย และปญหาที่สงผลกระทบตอการเรียนคือคาเชาหอพักมีราคาสูง สําหรับปญหาการอยูอาศัยที่พบมากที่สุดคือ ปญหาของหอพักที่มีขนาดตั้งแต 200 หองขึ้นไป การเดินทางเปนปญหาสําคัญมาก และหอพักที่มีขนาดต่ํากวา 100 หอง มีปญหาไมมีพื้นที่สําหรับทํากิจกรรมอื่นและปญหาความเปนสวนตัวสําหรับปญหาคาเชาหอพักมีราคาสูงนั้น ผูศึกษาไดเปรียบเทียบกับหอพักเอกชน ในซอยรังสิตภิรมย ขางมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต ซึ่งสวนมากเปนที่พักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพซึ่งถือวาเปนมหาวิทยาลัยที่อยูในพื้นที่ใกลเคียงกับมหาวิทยาลัยรังสิต พบวา จากหอพักจํานวน 26 แหง มีคาเชาหอพักเฉลี่ยขั้นต่ํา ประมาณ 3,982 บาท/เดือน สําหรับคาเชาหอพักเฉลี่ย ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตเฉพาะหอพักเอกชน จํานวน 32 แหง ประมาณ 4,168 บาท/เดือน ซึ่งหอพักสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตมีคาเชาเฉลี่ยสูงกวาหอพักสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ถือวาเปนปญหาที่มีความสําคัญปญหาของหอพักเอกชน ทั้ง 2 กลุม ถือวามีปญหาไมแตกตางกัน โดยเฉพาะปญหาดานราคาที่พักอาศัยแพงสรุปผลการศึกษาจากการศึกษาพบวา สภาพการอยูอาศัยของหอพักมหาวิทยาลัยและของเอกชนนั้นมีความแตกตางกัน สําหรับหอพักเอกชนนั้น จะแตกตางกันอันเนื่องมาจากราคาคาเชา หากราคาคาเชาสูง ก็จะมีสภาพหองและสิ่งอํานวยความสะดวกที่ดีกวาหองพักที่ราคาคาเชาต่ํา สําหรับหอพักที่มีสภาพการอยูอาศัยที่เหมาะสมกับการเรียนมากที่สุด และมีปญหานอยที่สุด คือหอพักของมหาวิทยาลัย รองลงมาคือหอพักเอกชน (เครือขาย356


หอพักมหาวิทยาลัย) และหอพักเอกชน (ไมใชเครือขายหอพักมหาวิทยาลัย) ตามลําดับ เนื่องจากหอพักมหาวิทยาลัยมีความพรอมในดานตางๆ มากกวา โดยเฉพาะดานบุคลากรที่มีประสิทธิภาพรายการอางอิงนันทนา กุญชร ณ อยุธยา. ผูอํานวยการสํานักงานหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต. สัมภาษณ, 1 ตุลาคม 2551.นิพนธ ลาวัณยโกวิท. ปญหาที่พักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่มีสองวิทยาเขต กรณีศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต และวิทยาเขตกลวยน้ําไท. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2546.นิมิต โออุไร. การศึกษาที่พักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหงในแขวงหัวหมาก. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.2537.ปภากร สุวรรณธาดา. การศึกษาความตองการที่พักอาศัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.2537.วัลลภ สุรทศ. การพักอาศัยในหอพักนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและบริเวณใกลเคียง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2543สํานักงานหอพักมหาวิทยาลัยรังสิต. คูมือหอพัก. (อัดสําเนา)สําเนาว ขจรศิลป. มิติใหมของกิจการนักศึกษา 1: พื้นฐานและบริการนักศึกษา. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 2. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต: 2539.สุพจน พูลนอย. แนวทางการปรับปรุงที่พักอาศัยของนักศึกษา บริเวณชุมชนใกลกับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2542.อํานาจ สังขศรีแกว. สภาพการอยูอาศัยและสภาพสังคมของนักศึกษาในเขตเมืองนครปฐม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.2548.357


ปจจัยการเลือกที่อยูอาศัยของผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่: กรณีศึกษาพนักงานขับรถโดยสารFACTORS FOR HABITAT SELECTION BY FOOTLOOSE PROFESSIONALS: A CASE STUDY OF BUS DRIVERSวาที่ ร.ต.บวรศักดิ์ อัศวดิตถหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอจากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยตางๆ ในเรื่องปจจัยการเลือกที่อยูอาศัย ที่นักวิชาการและบุคคลทั่วไปไดเคยทําการศึกษามาพบวา ปจจัยที่สําคัญในการเลือกที่อยูอาศัยของบุคคลทั่วๆไปนั้น คือ ที่อยูอาศัยนั้นตองอยูใกลกับที่ทํางาน มีความสะดวกในการเดินทางไปทํางาน โดยจากปจจัยที่เปนขอคนพบดังกลาว สามารถนํามาใชเปนปจจัยที่มีน้ําหนักความสําคัญมากในการพิจารณาการลงทุนในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยในดานที่อยูอาศัยโครงการตางๆ ของภาครัฐบาล รวมไปถึงภาคเอกชน ทั้งนี้ผูเขียนไดเกิดขอสงสัยขึ้นมาและตองการที่จะหาคําตอบวา ในกรณีของผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่ (Footloose Professionals) ที่มีลักษณะการทํางานไมอยูกับที่ มีการเคลื่อนที่อยูเปนประจํา มีปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยอยางไร ซึ่งเนื้อหาบทความที่นําเสนอนั้นเปนเพียงสวนประกอบสวนหนึ่งของการศึกษาจัดทําวิทยานิพนธเรื่อง สภาพการอยูอาศัยของพนักงานประจํารถโดยสาร ที่รับสงผูโดยสารที่สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)เนื้อหาบทความที่อยูอาศัย หมายถึง สถานที่ที่ใชเปนที่พักพิง พักผอน โดยไมคํานึงถึงลักษณะการจัดแตง หรือสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่อยูอาศัยอาจเปนหองหองเดียว บาน หองแถว หองชุด เรือ หรือแพ เปนตน โดยที่อยูอาศัยเปน 1 ในปจจัย 4 ของปจจัยพื้นฐานในการดํารงชีวิตของมนุษย ซึ่งราชบัณฑิตสถาน ไดใหความหมายของคําวา “ปจจัย” วาคือเหตุอันเปนทางใหเกิดผล หนทาง คํา “ปจจัย” กับคํา “เหตุ” มักใชแทนกันไดโดย Brain J.L. Berry et al. ไดกลาวถึงการเลือกที่อยูอาศัยวามีปจจัยพื้นฐาน 3 ประการ คือ ราคาหรือคาเชาที่อยูอาศัย ชนิดของที่อยูอาศัย และที่ตั้งของที่พักอาศัย ซึ่งปจจัยทั้ง 3 ประการนี้ มีความสัมพันธควบคูไปกับปจจัยหรือเหตุผลสวนตัวในการเลือกที่อยูอาศัยของแตละบุคคล เชน ความสามารถในการจาย ซึ่งขึ้นอยูกับระดับรายได สถานภาพการสมรส ขนาดของครอบครัว วิถีทางในการดําเนินชีวิต ซึ่งจะมีผลตอชนิดของชุมชนที่ตองการอยู สถานที่ทํางาน รวมทั้งระยะทางจากบานไปยังแหลงงานดวย358


จากการศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางที่อยูอาศัยกับแหลงงาน กรณีศึกษาผูที่ซื้อที่อยูอาศัยในเขตจังหวัดปทุมธานี ของ นันทนา วาณิชยพงศ พบวาปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยของผูอยูอาศัยสวนใหญ คือตองการความสะดวกในการเดินทางไปทํางาน ซึ่งที่อยูอาศัยที่เลือกอยูนั้นอยูในเขตเดียวกันกับที่ทํางาน โดยใชเวลาในการเดินทางไมเกิน 30 นาที และปญหาที่อยูอาศัยเดิมกอนยายมาอยู คือ เสียเวลาและเสียคาใชจายในการเดินทางมาทํางาน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาเรื่องที่อยูอาศัยของพนักงานศูนยการคาซีคอนสแควรกรุงเทพมหานคร ของ วิทยา เพชรปาน พบวาปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยของพนักงานสวนใหญ คือตองการสภาพหรือแหลงที่อยูอาศัยใกลกับที่ทํางาน ราคาไมแพง ใกลสิ่งอํานวยความสะดวก โดยสิ่งที่พบจากการศึกษาที่สอดคลองกันและเปนปจจัยที่สําคัญในการเลือกที่อยูอาศัยนั้น คือ ที่อยูอาศัยนั้นตองอยูใกลกับที่ทํางาน มีความสะดวกในการเดินทางไปทํางาน โดยจากเหตุผลซึ่งเปนขอคนพบดังกลาว สามารถนํามาใชเปนปจจัยที่ใหน้ําหนักมากในการพิจารณาในการลงทุนสําหรับภาครัฐบาล และภาคเอกชนในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยในดานที่อยูอาศัยโครงการตางๆ ทั้งนี้ผูเขียนไดเกิดขอสงสัยขึ้นมาและตองการที่จะหาคําตอบวาในกรณีของผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่ (Footloose Professionals) ซึ่งมีลักษณะการทํางานไมอยูกับที่ มีปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยอยางไรรศ.มานพ พงศทัต ไดยกตัวอยางของกลุมอาชีพที่ซึ่งเมื่อในอดีตถือวา เปนผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่ (Footloose Professionals) ไดแก รถไฟ เรือเมล ลิเก ตํารวจ ซึ่งในปจจุบันกลุมอาชีพรถไฟ และตํารวจไดรับความชวยเหลือจัดหาที่อยูอาศัยจากองคกรที่สังกัด โดยผูประกอบอาชีพดังกลาวไมไดเปนผูกําหนดเลือกที่อยูอาศัยเอง ประกอบกับกลุมอาชีพลิเก เปนอาชีพที่ในปจจุบันมีผูประกอบอาชีพนี้นอยเมื่อเทียบกับกลุมอาชีพอื่นๆ ที่เหลือ และอาศัยกันอยูอยางกระจัดกระจายยากสําหรับการเก็บขอมูล ผูเขียนจึงเห็นวาถาหากจะศึกษาปจจัยการเลือกที่อยูอาศัยของ ผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่ (Footloose Professionals) ควรเลือกที่จะศึกษากับกลุมอาชีพเรือเมล แตทั้งนี้ในปจจุบันการขนสงผูโดยสารระหวางเมืองกับเมือง การสัญจรทางบกโดยรถโดยสารไดรับความนิยมมากกวาเรือ ประกอบกับมีประชากรในกลุมตัวอยางใหทําการศึกษามากผูเขียนจึงมุงประเด็นกลุมที่ศึกษา คือ พนักงานประจํารถโดยสาร ซึ่งกลาวคือ พนักงานที่ปฏิบัติงานอยูในรถโดยสาร มีลักษณะการทํางานไมอยูกับที่ ไดแก พนักงานขับรถโดยสาร พนักงานเก็บคาโดยสาร พนักงานบริการ (เด็กรถ) และพนักงานตอนรับจากการศึกษาขอมูลในเบื้องตน พบวาพนักงานประจํารถโดยสารทั้งหมดนอกเหนือจากพนักงานขับรถโดยสาร กลาวคือ พนักงานเก็บคาโดยสาร พนักงานบริการ (เด็กรถ) และพนักงานตอนรับ สวนใหญมีรายไดคอนขางต่ํา ซึ่งดวยเหตุผลทางรายได จึงสามารถสรุปไดวากลุมคนเหลานี้ไมมีความสามารถเลือกที่อยูอาศัยตามที่ใจของตนตองการได เนื่องจากมีขอจํากัดทางดานรายไดอยางเห็นไดชัด ผูเขียนจึงเลือกศึกษาเฉพาะพนักงานขับรถโดยสารที่รับสงผูโดยสารที่สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) หรือหมอชิต 2 เนื่องจากหมอชิต 2 เปนสถานีขนสงผูโดยสารระหวางกรุงเทพฯ และตางจังหวัดที่ใหญ มีเสนทางการเดินรถและจํานวนรถโดยสารที่มากที่สุด และเลือกศึกษาเฉพาะพนักงานขับรถโดยสารที่ขับรถโดยสารรับสงเฉพาะรถรับสงสายยาวเทานั้น ซึ่งบริษัท ขนสง จํากัด หรือ บขส. แบงประเภทตามเสนทางของการเดินรถเปน 2 ประเภท คือ359


• รถรับสงสายสั้น หมายถึง คําจํากัดความที่ บขส. ใชเรียกรถโดยสารที่รับสงผูโดยสารในเสนทางที่มีระยะทางใกล ซึ่งรถรับสงสายสั้นที่รับสงผูโดยสารที่สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) กลาวคือ รถโดยสารที่รับสงผูโดยสารระหวางกรุงเทพมหานครกับจังหวัดที่มีที่ตั้งอยูภาคกลางทั้งหมด• รถรับสงสายยาว หมายถึง คําจํากัดความที่ บขส. ใชเรียกรถโดยสารที่รับสงผูโดยสารในเสนทางที่มีระยะทางไกล ซึ่งรถรับสงสายยาวที่รับสงผูโดยสารที่สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) กลาวคือ รถโดยสารที่รับสงผูโดยสารระหวางกรุงเทพมหานครกับจังหวัดที่มีที่ตั้งอยูภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด โดยเสนทางดังกลาวจะมีเฉพาะรถโดยสารปรับอากาศเทานั้นในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้น ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณที่มีการกําหนดเคาโครงของเรื่องที่สัมภาษณอยางชัดเจน (Structure Interview) ซึ่งมีแบบสัมภาษณเปนเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ศึกษาพื้นที่บริเวณหมอชิต 2 ทั่วทั้งบริเวณ รวมถึงบริเวณรอบๆในรัศมีไมเกิน 1 กิโลเมตรซึ่งสามารถพบพนักงานขับรถโดยสารไดโดยบังเอิญ โดยการเก็บรวมรวบนั้นไดจากพนักงานขับรถโดยสารที่หมอชิต 2 จํานวนทั้งหมด 219 คน ตามสัดสวนจํานวนทั้งหมดที่สังกัด โดยสามารถแยกสังกัดขององคกรที่สังกัดเปน 2 สังกัดคือ สังกัดบขส. และสังกัดรถรวมบริการเอกชน หรือรถรวม โดยปจจุบันการเดินรถโดยสารรับสงผูโดยสารระหวางกรุงเทพมหานคร และจังหวัดอื่นๆ มี บขส.เพียงผูเดียวที่ไดรับสัมปทานการเดินรถจากรัฐบาล ซึ่ง บขส.เปนรัฐวิสาหกิจในสังกัดของกระทรวงคมนาคม ไดดําเนินการจัดการเดินรถโดยสารของ บขส.เองซึ่งมีทั้งหมด269 คัน และไดดําเนินการควบคุมดูแลรถรวม ใหเขามาวิ่งในเสนทางที่ บขส.ไดรับสัมปทาน ในที่นี้กลาวเฉพาะเสนทางการเดินรถระหวางกรุงเทพมหานครและจังหวัดอื่นๆ ซึ่งมีจํานวนรถของรถรวมที่เขารวมกับ บขส. ทั้งหมด6,853 คัน โดยตอไปนี้ผูเขียนไดใหคําจํากัดความคําวา “ตนทาง” หมายถึง กรุงเทพมหานคร และคําวา“ปลายทาง” หมายถึง จังหวัดอื่นๆ ซึ่งเปนจุดหมายปลายทางของรถโดยสารนั้นๆขอมูลทั่วไปของพนักงานขับรถโดยสาร 219 คน ที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณสามารถสรุปไดวา พนักงานขับรถโดยสารที่ตอบแบบสัมภาษณทั้งหมดเปนชาย สวนมากกวารอยละ 50 กอนมาประกอบอาชีพขับรถโดยสาร ไดเปนพนักงานบริการ (เด็กรถ) มากอน โดยพนักงานบริการ จัดวาเปนอีกหนึ่งตําแหนงที่เปนพนักงานประจํารถโดยสาร ซึ่งถือวาเปนผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่ (FootlooseProfessionals) เชนกัน มีอายุอยูในชวง 31 – 50 ป สถานภาพสมรสแลวเกือบทั้งสิ้น และสวนใหญมีบุตร 2คน การศึกษาขั้นสูงสุดของพนักงานขับรถโดยสารสวนใหญจบชั้นประถมศึกษาปที่ 6 – มัธยมศึกษาปที่ 3 โดยเกือบรอยละ 70 มีอายุงานในตําแหนงพนักงานขับรถโดยสารมากกวา 10 ป และมีความคิดที่จะยึดอาชีพดังกลาวตลอดไป โดยสวนใหญมีรายไดประจําจากการประกอบอาชีพ เดือนละ 10,000 – 15,000 บาท ไมมีรายไดเสริม ไมมีเงินออม ซึ่งถารวมรายไดเฉลี่ยของทั้งครอบครัวจะมีรายได เดือนละ 25,000 – 35,000 บาทและมีรายจายโดยเฉลี่ยทั้งครอบครัวรวมหนี้สินแยกตามสังกัด ไดแก บขส. ปละ 95,957 บาท หรือเดือนละประมาณ 8,000 บาท และรถรวม ปละ 118,516 บาท หรือเดือนละประมาณ 9,800 บาท ซึ่งนํารายไดรวมทั้ง360


ครอบครัวในอัตราที่นอยที่สุด คือ 25,000 บาท มาหักออกจากรายจายโดยเฉลี่ยทั้งครอบครัวรวมหนี้สินที่มากที่สุด คือ เดือนละ 9,800 บาท พบวาครอบครัวของพนักงานขับรถโดยสารมีเงินเหลือเดือนละ 15,200 บาทพนักงานขับรถโดยสารแตละคนมีที่อยู 2 ประเภท ไดแก ที่อยูประจํา และที่อยูชั่วคราวในชวงระหวางทํางาน โดยที่อยูประจํา หมายถึง ที่อยูที่เปนที่ถาวร กลาวคือ บานตามภูมิลําเนาในปจจุบัน ซึ่งสวนใหญมีรูปแบบเปนบานเดี่ยว 1 – 2 ชั้น และมีกรรมสิทธิ์เปนเจาของเอง ตั้งอยูบริเวณจังหวัดใกลเคียงหรือจังหวัดปลายทางของการรับสงผูโดยสารใชเวลาในการเดินทางไมเกิน 30 นาที โดยที่ตั้งที่อยูอาศัยดังกลาวเปนภูมิลําเนาเดิมของตนเอง และอยูอาศัยมากอนที่จะทํางานเปนพนักงานขับรถโดยสาร หรือพนักงานบริการ (เด็กรถ) ซึ่งปจจัยที่สําคัญในการเลือกที่อยูอาศัยประจําในปจจุบัน คือ เปนภูมิลําเนาเดิมของตนเอง โดยกลับมาพักอาศัยทุก<strong>ครั้งที่</strong>มีการรับสงผูโดยสารที่สถานีขนสงผูโดยสารปลายทาง ซึ่งโดยเฉลี่ยแลวใน 1 เดือน พนักงานขับรถโดยสารจะอยูที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดปลายทาง ในอัตราสวนรอยละ 50 : 50แผนภูมิที่แสดงสัดสวนลักษณะที่อยูปลายทางความตองการที่อยูอาศัยแหงใหม ของกลุมพนักงานขับรถโดยสาร พบวากวารอยละ 80 ของกลุมพนักงานขับรถโดยสารทั้งหมด 219 คน ที่ตอบแบบสัมภาษณ ไมมีความตองการที่อยูอาศัยแหงใหม แตสําหรับในสวนของผูที่มีความตองการที่อยูอาศัยแหงใหมซึ่งมีจํานวนทั้งหมด 42 คนนั้น สวนใหญตองการบานเดี่ยว 1-2 ชั้น สรางอยูในภูมิลําเนาเดิมของตนเอง โดยมีปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยเรียงลําดับตามความสําคัญ คือ (1) อยูใกลแหลงงาน (สถานีขนสงผูโดยสารที่รับสงผูโดยสารปลายทาง) (2) ราคาถูก (3)บรรยากาศรมรื่นเปนธรรมชาติ และ (4) สาธารณูปโภคพรอม361


ตารางแสดงปจจัยการเลือกที่อยูอาศัยแหงใหมของพนักงานขับรถโดยสาร (ผูตอบแบบสัมภาษณ)ปจจัยในการเลือกสังกัด บขส. สังกัด รถรวม รวม(คน) % (คน) % (คน) %ใกลแหลงงาน 4 50.00 17 50.00 21 50.00ราคาถูก 1 12.50 <strong>13</strong> 38.24 14 33.33บบรยากาศรมรื่นเปนธรรมชาติ 2 25.00 3 8.82 5 11.90สาธารณูปโภคพรอม 1 12.50 1 2.94 2 4.76รวม 8 100.00 34 100.00 42 100.00พนักงานขับรถโดยสารสวนใหญ มีปจจัยในการเลือกที่อยูประจําในปจจุบัน คือ เปนภูมิลําเนาเดิมของตนเอง และในกรณีของพนักงานขับรถโดยสารที่ตองการที่อยูแหงใหมยังใหความสําคัญกับที่ตั้งของที่อยูแหงใหมที่ตองการ โดยตองการอยูในภูมิลําเนาเดิมของตนเอง นํามาซึ่งขอคนพบวาพนักงานขับรถโดยสารสวนใหญมีแรงตาทางการเปลี่ยนแปลงที่อยูอาศัย โดย ฉัตรชัย พงศประยูร ไดกลาวถึงแรงตานทางการเปลี่ยนแปลงที่อยูอาศัยวา แมวาแรงกระตุนภายนอกเปนแรงดึงดูดใหมีการยายที่อยูอาศัย ผนวกกับแรงผลักดันภายในใหคนเราคิดที่จะยายที่อยูอาศัยจะมีมากก็ตาม บางครั้งคนเราก็ยังไมอยากยาย เนื่องจากมีแรงตานเกิดขึ้น แรงดังกลาวอาจระงับความคิดในการยายที่อยูอาศัยเลยก็ได โดยเฉพาะเรื่องตนทุนในการยายเมื่อเปรียบเทียบกับผลประโยชนที่จะไดรับในที่อยูใหม นอกจากนั้นยังมีเหตุผลอีก ไดแก ลักษณะการถือครอง ระยะเวลา และพลังทางสังคมแผนภูมิแสดงสัดสวนลักษณะที่อยูตนทาง362


สวนกรณีถาพนักงานขับรถโดยสารขับรถมารับสงผูโดยสารที่กรุงเทพมหานคร หรือตนทางนั้น สวนใหญจะพักอาศัย ณ ที่อยูอาศัยชั่วคราว ซึ่งหมายถึง ที่อยูที่มิไดเปนที่ถาวร เปนเพียงที่อยูในชวงระหวางการทํางาน ไดแก พักในรถโดยสารซึ่งมีผูที่พักอาศัยกวารอยละ 85 และบานพักสวัสดิการตามที่องคกรที่สังกัดจัดหาให ซึ่งการพักรถโดยสารจะพักอาศัยอยูในรถโดยสารคันที่ตนขับประจําอยู โดยอาศัยอยูบริเวณชองที่มีไวสําหรับใสสัมภาระของผูโดยสารในระหวางเดินทาง มีจุดจอดรถและพักอาศัยอยูในบริเวณหมอชิต 2 รวมทั้งบริเวณใกลเคียงตามแตละองคกรที่สังกัดเปนผูจัดหา ซึ่งสวนใหญในแตละจุดจอดรถและพักอาศัยจะมีหองน้ําหองสวมสาธารณะไวสําหรับบริการพนักงานขับรถโดยสาร และพนักงานทุกๆตําแหนงที่พักอาศัยอยูในรถโดยสาร โดยมีคาบริการในการใชบริการครั้งละ 5 – 10 บาท แตมีอยูบางสําหรับพนักงานบางคนตองการประหยัดเงินคาใชจายในคาบริการดังกลาว โดยบางครั้งอาจเลือกทําธุระสวนตัวขางๆบริเวณรถโดยสารที่พักอาศัยหรือบริเวณรอบๆ พนักงานขับรถโดยสารสวนใหญที่เลือกพักอาศัยในรถโดยสารมีปจจัยที่สําคัญ คือเพราะเปนความเคยชินที่อยูมานาน และมีความรู ความเขาใจกอนที่จะมาประกอบอาชีพนี้แลววาตองพักอาศัยอยูในรถโดยสาร และอีกปจจัยที่สําคัญรองลงมา คือ เพื่อเฝาระวังความปลอดภัยของรถโดยสารที่ตนเองประจําอยู เนื่องแตละองคกรที่สังกัดของพนักงานขับรถโดยสารมีกฎขอบังคับวา พนักงานขับรถโดยสารแตละคนตองดูแลความปลอดภัยรวมไปถึงความสะอาดของรถโดยสารที่ตนประจํา ซึ่งหากเกิดความเสียหายกรณีใดกับรถโดยสาร พนักงานขับรถโดยสารคันนั้นๆ ตองเปนผูรับผิดชอบกับความเสียหายดังกลาว แตพนักงานขับรถโดยสารบางคนไววางใจใหพนักงานบริการ (เด็กรถ) เปนผูเฝาระวังความปลอดภัยของรถโดยสารแทน และตนเองไปพักอาศัยอยูบานพักสวัสดิการ หรือบานเชาสวนตัวซึ่งมีจํานวนนอยมากภาพแสดงการอยูอาศัยพักในรถโดยสารของพนักงานประจํารถโดยสาร363


โดยทั่วไปชองใสสัมภาระของผูโดยสารในระหวางเดินทางที่ใชเปนที่อยูชั่วคราวของพนักงานประจํารถโดยสารนั้น แบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ1. ชองใสสัมภาระของผูโดยสารรถโดยสาร 1 ชั้นรถโดยสารสวนใหญทั้งของ บขส. และรถรวมบริการเอกชนเปนรถโดยสาร 1 ชั้น เปนผลใหที่อยูชั่วคราวที่พักอยูในรถโดยสาร ซึ่งเปนชองใสสัมภาระของผูโดยสารของรถโดยสาร 1 ชั้นมีจํานวนมากสอดคลองตามจํานวนรถภาพแสดงที่อยูชั่วคราวในชองใสสัมภาระของผูโดยสารรถโดยสาร 1 ชั้นภาพแสดงสัดสวนที่อยูชั่วคราวในชองใสสัมภาระของผูโดยสารรถโดยสาร 1 ชั้น364


2. ชองใสสัมภาระของผูโดยสารรถโดยสาร 2 ชั้นชองใสสัมภาระของผูโดยสารรถโดยสาร 2 ชั้น ในปจุบันยังมีจํานวนคอนขางนอย มักจะพบไดในรถโดยสารที่สังกัด บริษัท ขนสง จํากัด ซึ่งสวนใหญเปนรถใหม เพิ่งสั่งผลิตมาใชงานภาพแสดงที่อยูชั่วคราวในชองใสสัมภาระของผูโดยสารรถโดยสาร 2 ชั้นภาพแสดงสัดสวนที่อยูชั่วคราวในชองใสสัมภาระของผูโดยสารรถโดยสาร 2 ชั้น365


บานพักสวัสดิการ เปนที่อยูอาศัยชั่วคราวอีกประเภทหนึ่งที่องคกรเปนผูจัดหาใหพนักงานที่สังกัดในองคกรของตัวเองอยูอาศัย ซึ่งมีจํานวนของพนักงานขับรถโดยสารเลือกเปนที่อยูอาศัยชั่วคราวรองจากการพักอาศัยในรถโดยสาร บานพักสวัสดิการสวนใหญมีลักษณะเปนหองโถงขนาดใหญ เพื่อใชเฉพาะในการพักอาศัยชั่วคราวของพนักงานประจํารถโดยสารทุกตําแหนง โดยมีการแยกพักอาศัยของพนักงานชาย หญิงอยางชัดเจนกับอีกลักษณะหนึ่ง คือ องคกรจะเชาหองเชา หอพักเอกชนทั่วไป บางแหงมีหองน้ํา หองสวมในตัว บางแหงมีการแยกหองน้ํา หองสวมออกจากหองพักเปนลักษณะหองน้ํา หองสวมรวม ใหพนักงานประจํารถโดยสารไดพักอาศัยในลักษณะที่อยูอาศัยชั่วคราว ซึ่งบานพักสวัสดิการที่กลาวมาแลวทั้งหมด มีที่ตั้งอยูบริเวณรอบๆสถานีขนสงผูโดยสารในรัศมีไมเกิน 1 กิโลเมตร พนักงานขับรถโดยสาร หรือพนักงานประจํารถโดยสารที่เขาพักอาศัยไมมีที่นอนหรือพักอาศัยที่ประจําตายตัว ใครมาถึงกอนสามารถเลือกที่พักไดกอน และไมมีคาใชจายในการเขาพักอาศัยหรือใชบริการหองน้ํา หองสวม ยกเวนบางแหงอาจมีการตั้งตูรับเงินเรียกเก็บคาบริการตางๆ แตในทางปฏิบัติแลวไมเครงครัด ซึ่งการจายเงินคาบริการถือเปนสินน้ําใจใหกับผูดูแลทําความสะอาดสถานที่เทานั้นปจจัยที่สําคัญในการเลือกที่อยูอาศัยประจําในปจจุบัน คือ องคกรที่สังกัดเปนผูจัดหาใหภาพแสดงตัวอยางบานพักสวัสดิการ366


ภาพแบบแปลนตัวอยางบานพักสวัสดิการทั้งนี้สามารถกลาวไดวา ปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยประจําในปจจุบัน สวนใหญของพนักงานขับรถโดยสาร และที่อยูอาศัยแหงใหมสําหรับพนักงานขับรถโดยสารที่ตองการนั้น คือ ตองตั้งอยูในภูมิลําเนา รวมไปถึงตองอยูใกลแหลงงาน กลาวคือ สถานีขนสงผูโดยสารปลายทางของการรับสง หากพิจารณารายไดรวมทั้งครอบครัวแลวพบวา ความสามารถในการจายสําหรับที่พักอาศัยของครอบครัวพนักงานขับรถโดยสารควรอยูที่7,500 – 10,500 บาท ตอเดือน โดยจํานวนดังกลาวคิดจากรอยละ 30 ของรายไดทั้งหมด ซึ่งในปจจุบันหลังจากหักรายจายรวมโดยเฉลี่ยจากรายไดทั้งครอบครัวพบวา ครอบครัวของพนักงานขับรถโดยสาร มีเงินเหลือเดือนละ15,200 บาท ซึ่งเพียงพอและสามารถสรุปไดวาความสามารถในการจายสําหรับที่อยูอาศัยที่เหมาะสมของครอบครัวพนักงานขับรถโดยสารอยูที่ 7,500 – 10,500 บาทตอเดือน สวนปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยชั่วคราวในปจจุบัน สวนใหญของพนักงานขับรถโดยสาร คือ ความเคยชินที่อยูมานาน และมีความรู ความเขาใจกอนที่จะประกอบอาชีพนี้แลววาตองพักอาศัยในรถโดยสาร ซึ่งหากพิจารณาเงินออมสวนตัวในปจจุบันของพนักงานขับรถโดยสารพบวา สวนใหญไมมีเงินออม ทั้งที่ในปจจุบันมิไดมีคาใชจายเพื่อที่อยูอาศัยชั่วคราว ซึ่งสามารถสรุป367


ไดวา สวนใหญพนักงานขับรถโดยสารไมมีความสามารถในการจายสําหรับที่อยูอาศัยชั่วคราว โดยหากเปรียบเทียบปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยของพนักงานขับรถโดยสารกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค ซึ่งเปนทฤษฎีทางดานการตลาด โดย อดุลย จาตุรงคกุล ไดกลาววา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค ในสวนของปจจัยสวนบุคคล ไดแก• อายุ ความแตกตางกันของอายุมีผลตอความตองการผลิตภัณฑแตกตางกัน ดังนั้นนักการตลาดอาจใชอายุผูบริโภคเปนเกณฑการแบงกลุมเปาหมายได• วงจรชีวิตครอบครัว ในแตละขั้นตอนของวงจรชีวิตแตละคน จะมีคานิยมและทัศนคติตอการตัดสินใจซื้อที่แตกตางกัน ตัวอยางเชน พฤติกรรมการเลือกซื้อของเลนในวัยเด็ก จะตางจากพฤติกรรมการเลือกของเลนในวัยหนุมสาว• อาชีพ อาชีพของแตละบุคคลจะนําไปสูความจําเปน และความตองการของผลิตภัณฑและบริการที่แตกตางกัน• โอกาสทางเศรษฐกิจ หมายถึง โอกาสของผูบริโภคจะมีรายได เพื่อการจับจาย มีการออมสินทรัพยหรืออํานาจในการขอยืมเงิน และทัศนคติเกี่ยวกับการจายเงินซื้อผลิตภัณฑและบริการ นักการตลาดตองไวตอโอกาสเหลานี้ เพื่อที่จะไดปรับปรุงออกแบบสินคาใหม และการวางราคาสินคาใหม เพื่อที่จะนําเสนอคุณคาใหลูกคาในกลุมเปาหมายไดอยางตอเนื่องปจจัยในการเลือกที่อาศัยทั้งที่อยูอาศัยประจํา และที่อยูอาศัยชั่วคราวของพนักงานขับรถโดยสาร เปนปจจัยอาชีพ และปจจัยโอกาสทางเศรษฐกิจการเลือกที่อยูอาศัยที่อยูใกลแหลงงาน ยังคงเปนปจจัยที่สําคัญในการเลือกที่อยูอาศัยของคนทั่วๆไปรวมถึงผูประกอบอาชีพที่ไมตองอยูประจําที่ (Footloose Professionals) ในกรณีของพนักงานขับรถโดยสารที่ตองการมีที่อยูอาศัยแหงใหม โดยแหลงงานของพนักงานขับรถโดยสาร หมายถึง สถานีขนสงผูโดยสารไมวาจะเปนตนทาง หรือปลายทาง เพราะหลังจากที่พนักงานขับรถโดยสารออกจากบานที่อยูอาศัยเพื่อไปทํางาน จะเดินทางมายังสถานีขนสงผูโดยสารที่อยูใกลที่อยูอาศัยมากที่สุด ซึ่งสวนใหญเปนสถานีขนสงผูโดยสารปลายทางงานของพนักงานขับรถโดยสารก็เริ่มขึ้น และจะสิ้นสุดลงตอเมื่อกลับมาถึงสถานีขนสงผูโดยสารปลายทางอีกครั้งการทํางานในแตละครั้งใชเวลาประมาณ 2-3 วัน โดยหลังจากที่งานสิ้นสุดลงแตละครั้งพนักงานขับรถโดยสารสวนใหญจะเดินทางกลับไปพักผอนที่บานที่อยูอาศัยของตนเองถาแมวาพนักงานขับรถโดยสารใหความสําคัญในการเลือกที่อยูประจําในปจจุบัน วาคือ เปนภูมิลําเนาเดิมของตนเอง แตสิ่งสําคัญอีกประการที่สนับสนุนวา การเลือกที่อยูอาศัยตองอยูใกลแหลงงาน มีความสะดวกในการเดินทางไปทํางาน เปนเหตุผลที่สําคัญในการเลือกที่อยูอาศัยของพนักงานขับรถโดยสารนั้น กลาวคือ ที่อยูอาศัยประจําในปจจุบันของพนักขับรถโดยสารนั้น สวนใหญมักอยูอาศัยมากอนที่จะทํางานเปนพนักงานขับรถโดยสาร ระยะเวลาในการเดินทางจากสถานีขนสงผูโดยสารที่อยูใกลไปยังที่อยูอาศัยประจําของพนักงานขับ368


รถโดยสารไมเกิน 30 นาที โดยจากระยะเวลาในการเดินทาง สามารถกลาวไดวาสถานที่ 2 แหงนี้ตองอยูใกลกัน หรือมีความสะดวกคลองตัวในการเดินทางระหวางที่อยูอาศัยประจํากับสถานีขนสงผูโดยสาร ซึ่งพฤติกรรมดังกลาวเปนตัวสะทอนและแสดงใหเห็นวา พนักงานขับรถโดยสารเลือกที่จะประกอบอาชีพ โดยใหความสําคัญกับเวลาและระยะทางในการเดินทางระหวางบานและที่ทํางาน ซึ่งเมื่อนําปจจัยการเลือกที่ไดครั้งนี้เปรียบเทียบกับการศึกษาของ นันทนา วาณิชยพงศ เรื่องความสัมพันธระหวางที่อยูอาศัยกับแหลงงาน กรณีศึกษาผูที่ซื้อที่อยูอาศัยในเขตจังหวัดปทุมธานี และการศึกษาของ วิทยา เพชรปาน เรื่องที่อยูอาศัยของพนักงานศูนยการคาซีคอนสแควร กรุงเทพมหานคร ผลจากการศึกษาสอดคลองกัน คือ ปจจัยที่สําคัญในการเลือกที่อยูอาศัย คือตองอยูใกลกับที่ทํางาน มีความสะดวกในการเดินทางไปทํางานบรรณานุกรมฉัตรชัย พงศประยูร. ภูมิศาสตรเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2527.นันทนา วาณิชยพงศ. ความสัมพันธระหวางที่อยูอาศัยกับแหลงงาน : กรณีศึกษาผูที่ซื้อที่อยูอาศัยในเขตจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.บริษัท ขนสง จํากัด. ความเปนมา [ออนไลน].แหลงที่มา : www.transport.co.th [30 กรกฎาคม 2551]มานพ พงศทัต. ผูทรงคุณวุฒิภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสัมภาษณ, 12 พฤษภาคม 2551.ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542 [ออนไลน].แหลงที่มา :http://www.royin.go.th [23 เมษายน 2552]วิทยา เพชรปาน. ที่อยูอาศัยของพนักงานศูนยการคาซีคอนสแควร กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.สรรเสริญ พรขุนทด. สภาพการอยูอาศัยในอาคารพาณิชยพักอาศัยยานสําเพ็ง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.อดุลย จาตุรงคกุล. พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2543.369


พัฒนาการรูปแบบอาคารที่อยูอาศัยตามแนวราบในเคหะชุมชนของการเคหะแหงชาติระหวางป พ.ศ. 2516-2549DEVELOPMENT OF NATIONAL HOUSING AUTHORITY LOW-RISE HOUSING MORPHOLOGY:BETWEEN 1973-2006นายสรวุฒิ อัครวัชรางกูรหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยการเคหะแหงชาติเปนรัฐวิสาหกิจ ที่มีหนาที่หลักโดยตรงในการพัฒนาที่อยูอาศัยและการแกไขปญหาการขาดแคลนที่อยูอาศัยใหแกประชาชน โดยเฉพาะประชาชนผูมีรายไดนอยและรายไดปานกลาง การเคหะแหงชาติไดรับการกอตั้งตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 316 โดยรวบรวมบุคลากรจากหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่อยูอาศัย เพื่อที่จะเปนองคกรที่มีความสามารถดานการพัฒนาที่อยูอาศัยโดยตรง เนื่องจากการเคหะแหงชาติตองจัดหาที่อยูอาศัยเปนจํานวนมากเพื่อตอบสนองความตองการที่อยูอาศัยของผูมีรายไดนอยและรายไดปานกลางทั้งในสวนกรุงเทพและปริมณฑลและในสวนภูมิภาคซึ่งโดยสวนมากแลวเปนผูมีรายไดนอยที่มีความสามารถในการจายจํากัดทําใหไมสามารถมีที่อยูอาศัยเปนของตัวเองได รัฐจึงจําเปนตองใหความชวยเหลือโดยการอุดหนุนสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โดยที่การเคหะแหงชาติตองออกแบบที่อยูอาศัยใหเหมาะสมกับความสามารถในการจายของแตละกลุมรายได มีการศึกษาวิจัยและใชวิทยาการตางๆทั้งในและนอกประเทศในการออกแบบที่อยูอาศัยโดยเฉพาะที่อยูอาศัยตามแนวราบ ทําใหในชวงเวลาหนึ่ง การเคหะแหงชาติเปนศูนยรวมของแหลงความรูทางดานที่อยูอาศัยของประเทศไทย แตเนื่องจากปจจัยหลายๆอยาง เชนนโยบายของรัฐที่เปลี่ยนแปลง การเรงรีบจัดทําโครงการ ทําใหขาดความตอเนื่องในการพัฒนารูปแบบที่อยูอาศัย ขาดการวิเคราะห ถึงขอดีขอเสียของแตละแบบ รูปแบบที่มีศักยภาพที่สามารถนําไปพัฒนาตอ ก็ถูกหลงลืมไปถึงแมที่ผานมาเคยมีการรวบรวมตนแบบที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาติไวระหวางป พ.ศ.2516 - 2524 ตนแบบเหลานั้นก็ไมไดถูกนํามาใชซ้ําอีกเลย และหลังจากนั้น ก็ยังไมมีการรวบรวมรูปแบบที่อยูอาศัยของการเหะแหงชาติขึ้นมาอีกเลยโดยงานวิจัยชิ้นนี้ไดทําการศึกษาและรวบรวมรูปแบบที่อยูอาศัยรวมไปถึงพัฒนาการที่อยูอาศัยตามแนวราบในเคหะชุมชน ระหวางป พ.ศ. 2516 – 2549 โดยที่จะแบงพัฒนาการของที่อยูอาศัยออกเปนชวงๆตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 ถึงฉบับที่ 9 ซึ่งจะสามารถทําใหเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงในแตละยุคแตละสมัยไดชัดเจน ทั้งที่ประสบความสําเร็จและไมประสบความสําเร็จ เพื่อที่จะเปนประโยชนในนําไปวิเคราะหและศึกษาเพิ่มเติม และปรับปรุงนํามาใชในการออกแบบที่อยูอาศัยในปจจุบันและอนาคตที่อยูอาศัย หมายถึง อาคารบานเรือน รวมถึงตึก โรง และแพที่มนุษยจัดสรางขึ้นเพื่อใชเปนที่อยูอาศัยทั้งกลางวันและกลางคืน ภายในที่อยูอาศัยประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ที่ตองการมีทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกสบายอุปกรณและสิ่งที่ใชสอยที่จําเปนตามความตองการทางดานรางกายจิตใจ และความเปนอยูที่ดีงามทั้งสวนตัวและครอบครัวของผูพักอาศัยที่อยูอาศัยสําคัญอยางไร ที่อยูอาศัยคือ 1 ในปจจัย 4 ของชีวิตเปนรากฐานสําคัญของการเปนครอบครัว สามารถสรางความมั่นคงและพัฒนาคุณภาพชีวิตใหสูงขึ้น และยังกอใหเกิดการพัฒนาและการขยายตัวของเมืองเนื่องจากมีโครงขายสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ไปตาแหลงที่อยูอาศัยนั้นๆ การกอสรางที่อยูอาศัยยังเกี่ยวของกับธุรกิจหลายประเภท ทําใหเกิดการจางงานการลงทุน อันจะสงผลกระทบตอการขยายตัว370


ทางธุรกิจที่เกี่ยวของนานาชนิด (Multiply effect) รวมทั้งมีบทบาทอยางยิ่งในการสงเสริมตอความเจริญ กาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 1 ดังนั้นการทําใหคนทุกคนมีที่อยูอาศัย จึงเปนพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและประเทศเจริญกาวหนาขึ้นหลังจากมีการนําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติมาใชเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศ ทําใหเศรษฐกิจของเมืองเติบโตอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ สงผลตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางแรงงานในการผลิต โดยความตองการแรงงานภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการสูงขึ้นมาก ขณะที่ความตองการแรงงานภาคเกษตรกรรมลดลง การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนปจจัยที่ดึงดูดแรงงานจากชนบทเขามาสูเมือง โดยเฉพาะกรุงเทพ ในชวง 20ปแรกของการพัฒนา กรุงเทพฯเติบโตอยางรวดเร็วโดยมีขนาดใหญกวาเชียงใหม ซึ่งเปนเมืองอันดับสองถึง 50 เทา ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 5 จึงมีความพยายามชะลอการเติบโตของกรุงเทพ ดวยการกระจายการเติบโตไปสูเขตปริมณฑลและหัวเมืองในภูมิภาค ทําใหปริมาณภาคและเมืองหลักอื่นๆ กลายเปนแหลงรับผูยายถิ่นจากภาคชนบททั่วประเทศและประสบปญหาที่อยูอาศัยของคนจนเชนเดียวกับกรุงเทพปญหาที่อยูอาศัยคนจนหรือผูมีรายไดนอยในเมือง ปรากฏชัดเจนหลังสงครามโลก<strong>ครั้งที่</strong> 2 เนื่องจาก มีผูอพยพเขามาในเมืองมากขึ้น โดยเชาที่ดินซึ่งสวนใหญเปนที่เชาราชพัสดุและเอกชนแบงแปลงเล็กๆใหเชากอสรางที่อยูอาศัยเอง ซึ่งสวนใหญจะเปนบานไม ขาดการจัดระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ทําใหชุมชนมีสภาพแวดลอมทรุดโทรมและกลายเปนชุมชนแออัดในระยะเวลาตอมาที่อยูอาศัยเปนปญหาพื้นฐานสําหรับผูยายถิ่นเหลานี้ ที่อยูอาศัยสําหรับคนจนจะตองมีราคาถูก ใกลแหลงงาน มีคนรูจักพอพึ่งพาได ซึ่งที่อยูอาศัยที่วานี้หาไมไดในทองตลาดที่อยูอาศัย คนจนจึงตองชวยตัวเองดวยการหาที่อยูอาศัยจากระบบที่ไมเปนทางการ ไดแก ชุมชนแออัด บานเชาราคาถูก จนถึงบุกรุกที่วางเพื่อสรางที่อยูอาศัยอยางงายๆขึ้น ทําใหมีปญหาเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายและขาดโอกาสที่จะไดรับสิทธิและสวัสดิการตางๆจากรัฐ ทําใหสภาพความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของคนจนเหลานี้ลําบากยิ่งขึ้น ขณะความตองการที่อยูอาศัยนอกระบบสําหรับคนจนเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยปจจุบันมีชุมชนแออัดทั่วประเทศประมาณ 5,500 ชุมชน 1.5 ลานครัวเรือน ประชากรประมาณ 6.75 ลานคนและหากรวมคนจนที่อาศัยในที่อื่นๆนอกชุมชนแออัดเชน หองเชาใกลโรงงาน หองเชาบนตึก กรรมกรกอสรางที่อาศัยอยูกับนายจาง อยูวัด เรรอนฯลฯ ซึ่งคาดวามีประมาณ 25% ขอคนจนในชุมชนแออัด จะมีคนจนในเมืองทั้งหมด 1.87 ลานครัวเรื่อนประชากร 8.25 ลานคน คิดเปน 37% ของประชากรเมืองการแกไขปญหาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยรัฐบาลไดจัดตั้งกองเคหะสถานสงเคราะหในกรมประชาสงเคราะหเมื่อป 2483 ตอมาในป 2493 ไดตั้งสํานักงานอาคารสงเคราะหในสังกัดกรมประชาสงเคราะหขึ้นอีกหนวยงานหนึ่ง ในป 2496 จัดตั้งธนาคารอาคารสงเคราะหขึ้นในกระทรวงการคลังและในป 2503 ไดจัดตั้งสํานักงานปรับปรุงแหลงชุมชนในสังกัดเทศบาลกรุงเทพ แตการจัดตั้งหนวยงานตางๆ ยังขาดการดําเนินงานที่มีเปาหมายชัดเจน ในการวางแผนที่อยูอาศัย จึงไดมีการจัดตั้งการเคหะแหงชาติขึ้นเมื่อวันที่12 กุมภาพันธ 2516 ตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 316 เปน1 ขรรค ประจวบเหมาะ. แนวคิดการจัดทํายุทธศาสตรชาติเพื่อการพัฒนาที่อยูอาศัยในประเทศไทย (National Strategy forHousing Development in Thailand). วารสารธนาคารอาคารสงเคราะห ฉบับที่ 49,เมษายน – มิถุนายน 2550 : 2<strong>13</strong>71


รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย และไดรับโอนงานและบุคลากรบางสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่อยูอาศัยมาสังกัดการเคหะแหงชาติ หนวยงานที่ตั้งขึ้นมาใหมมีหนาที่หลักในการพัฒนาที่อยูอาศัยโดยตรงโดยการเคหะแหงชาติมีหนาที่หลักในการพัฒนาที่อยูอาศัยและการแกไขปญหาการขาดแคลนที่อยูอาศัย ใหกับประชาชน โดยเฉพาะประชาชนผูมีรายไดนอยและรายไดปานกลาง สามารถแบงการใหความชวยเหลือออกเปนสองสวนใหญๆ ไดแก1 การแกไขปญหาชุมชนแออัด คือการเขาไปพัฒนาสภาวะแวดลอม ความเปนอยู และ ความมั่นคงในการอยูอาศัยในชุมชนแออัดตางๆใหดีขึ้น โดยมีแนวทางในการปรับปรุง หลายวิธีภายใตชื่อ โครงการฟนนคร เชนการปรับปรุงความเปนอยูเดิม (Upgrading), การจัดผังที่อยูใหม (Reblocking), การแบงสรรที่ดิน (Landsharing) และ การยายที่อยูใหม (Relocation)2 การจัดสรางที่อยูอาศัย เปนการใหความชวยเหลือ ควบคูกันไปกับ การแกไขปญหาชุมชนแออัด มีแนวความคิดที่จะจัดสรางที่อยูอาศัยเพื่อผูมีรายไดนอยเปนหลัก เพราะ ผูมีรายไดนอยนั้น มีความสามารถในการจายจํากัด ดังนั้นการสรางที่อยูอาศัยเพื่อผูมีรายไดนอยนั้นตองมีรูปแบบที่ประหยัด คุมคาและ มีความสะดวกสบาย ในการอยูอาศัยตั้งแตกอนตั้งการเคหะแหงชาติในป 2516 จนถึงป 2549 การเคหะแหงชาติไดจัดหาที่อยูอาศัยใหกับผูมีรายไดนอย เปนจํานวน รวม 524,543 หนวยแผนภูมิแสดง จํานวนหนวยที่ดําเนินการเสร็จรวม ระหวางป (2519 – ก.ย. 2549)จํานวนหนวยที่ดําเนินการแลวเสร็จรวมป 2519-2549รวมโครงการบานเอื้ออาทรป 46-490.09โครงการเคหะชุมชน0.27โครงการปรับปรุงชุมชนแออัด0.53โครงการแกไขปญหาอสังหาริมทรัพยเคหะราชการ+โครงการราชภัฎโครงการชวยเหลือผูประสบอุทกภัยภาคใต0.00ที่มา : งานวิจัย ภาพรวม 3 ทศวรรษการพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย: กรณี การเคหะแหงชาติการจัดสรางที่อยูอาศัยในเคหะชุมชนนับตั้งแตเริ่มกอตั้งการเคหะแหงชาติมาตั้งแตป 2516จนกระทั้งป 2549 การเคหะแหงชาติไดจัดสรางเคหะชุมชน นับไดเกินกวาประมาณ 337 โครงการ รวมเปนที่อยูอาศัยทั้งสิ้น ไมนอยกวา 195,535 หนวย แบบบานมีทั้งแบบ บานเดี่ยว บานแฝด บานแถว อาคารพานิชยและแฟลต ซึ่งใชตนแบบอาคารที่อยูอาศัย มากมายหลากหลายรูปแบบ โดยสามารถแบงรูปแบบที่อยูอาศัยไดเปน สองรูปแบบใหญๆ คือ372


1 ที่อยูอาศัยตามแนวสูงไดแกที่อยูอาศัยประเภท แฟลต ที่มีความสูงเกิน 4 ชั้นขึ้นไปโดยในชวงตนเปนแบบแฟลต 5 ชั้นใหเชา ที่ดําเนินการตอมาจากกรมประชาสงเคราะห รูปแบบจึงเปนแบบของกรมประชาสงเคราะห เชน โครงการแฟลตดินแดง หวยขวาง ตอมา การเคหะแหงชาติจึงออกแบบ ที่เปนแบบมาตรฐานของการเคหะแหงชาติเอง เชน แฟลตคลองจั่น บางนา บางบัว 22 ที่อยูอาศัยตามแนวราบ ไดแกที่อยูอาศัยที่มีความสูงไมเกิน 4 ชั้น ประเภท บานเดี่ยว บานแฝด บานแถว และอาคารพานิชย เชน โครงการทุงสองหอง เมืองใหมบางพลี บานเอื้ออาทร เปนตนโดยที่ในชวงปแรกๆ การเคหะแหงชาติ ไดจัดสรางที่อยูอาศัยใหกับทุกกลุมรายได โดยรัฐใหการอุดหนุนทําใหราคาที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาตินั้นถูกกวาความเปนจริงทําใหเกิดการขายตอ ทําใหผิดจุดประสงคที่จะใหผูมีรายไดนอยมีที่อยูอาศัยเปนของตัวเองตารางแสดง ประเภทที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาติ ป2519ประเภท ก. ไดแก รายไดครอบครัวไมเกิน 1,500 บาท 35%ประเภท ข. ไดแก รายไดครอบครัวระหวาง 1,500 -3,000 บาท 40%ประเภท ค. ไดแก รายไดครอบครัวระหวาง 3,000 -5,000 บาท 10%ประเภท ง. ไดแก รายไดครอบครัวระหวาง 5,000 ขึ้นไป 15%แตพอมาถึงป 2522 ไดมีนโยบายแผนเรงรัดใหความสําคัญกับกลุมผูมีรายไดนอยเปนหลัก จึงเนนไปที่การสรางจํานวนหนวยใหไดมากที่สุด รัฐบาลลดการอุดหนุน ทําใหรูปแบบที่อยูอาศัยเปลี่ยนไปตามความสามารถในการจายที่แทจริง และเมื่อเปรียบเทียบราคากอสรางแลวการสรางที่อยูอาศัยตามแนวราบนั้นมีตนทุนที่ถูกวาการกอสรางตามแนวสูงมาก สามารถสรางไดในปริมาณมากกวาจึงทําใหเกิดโครงการที่อยูตามแนวราบขึ้นมากมายทั้งในสวนปริมณฑลและสวนภูมิภาคสวนโครงการที่อยูอาศัยตามแนวสูงจะอยูในพื้นที่ที่มีราคาที่ดินสูงเชนในกรุงเทพมหานคร เปนตนแผนภูมิแสดง สัดสวนจํานวนโครงการที่อยูอาศัยในเคหะชุมชนผสม, 26แนวสูง, 120แนวราบ, 190แนวราบ แนวสูง ผสม2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์,(ราง) บทความจากการวิจัย “ภาพรวม3 ทศวรรษ การพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย”373


เนื่องจากโครงการตามแนวราบจะเปนโครงการขนาดเล็กสามารถสรางไดงายกวาใชตนทุนต่ํากวาแตจะมีรูปแบบที่อยูอาศัย ทั้งแบบบานเดี่ยว บานแฝดและบานแถว ซึ่งหลากหลายกวารูปแบบอาคารตามแนวสูงที่มีรูปแบบเปนแฟลตเพียงอยางเดียวทําใหสามารถเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบอาคารไดชัดเจนมากขึ้นแผนภูมิแสดงสัดสวนจํานวนหนวยที่อยูอาศัยตามแนวราบในเคหะชุมชนแบงตามประเภทที่อยูอาศัยพานิช, 4%รานคา, 1%ที่ดิน, 3%บานเดี่ยว, 14%บานแฝด, 16%บานแถว, 62%แผนภูมิแสดง จํานวนที่อยูอาศัยตามระดับรายไดแบงตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ374


เมื่อศึกษาถึงรูปแบบที่อยูอาศัยและกลุมคนที่มีตองการการชวยเหลือใหมีที่อยูอาศัย จะเห็นไดวากลุมคนที่ตองใหความชวยเหลือนั้นคือกลุมคนที่มีรายไดนอยที่สุดคือกลุมรายได ก. ซึ่งสวนใหญยังไมมีที่อยูอาศัยเปนของตัวเองอยูในชุมชนแออัดซึ่งมี ซึ่งมีคุณภาพชีวิตที่ต่ํา การจัดหาที่อยูอาศัย ของการเคหะแหงชาติจึงมุงเนนไปที่กลุมรายไดนี้เปนหลักเพื่อศึกษาใหเห็นถึงพัฒนาการที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาติในแตละชวง จึงหยิบยกเอา พัฒนาการรูปแบบที่อยูอาศัยตามแนวราบในเคหะชุมชนประเภทรายได ก. มาเพื่ออธิบายปรากฏการณที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในเคหะชุมชนของการเคหะแหงชาติ ในภาพรวมพัฒนาการที่อยูอาศัยตามแนวราบในเคหะชุมชนของการเคหะแหงชาติระหวางป 2516 -2549: กรณี ศึกษาที่อยูอาศัยสําหรับกลุมรายได ก.ประเภท เชา-ซื้อเนื่องจากพัฒนาการสวนใหญเปนไปตามนโนบายของการเคหะแหงชาติซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรฐกิจและสังคมแหงชาติ ดังนั้นผูวิจัยจึงแบงพัฒนาการนั้นแบงออกเปนชวงๆ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติสามารถ แบงออกเปน 7 ชวงเวลา ชวงเวลาละ 5 ปดังนี้แผน3 (พ.ศ. 2516-2519), แผน4 (พ.ศ. 2520-2524), แผน5 (พ.ศ. 2525-2529), แผน6 (พ.ศ. 2530-2534),แผน7 (พ.ศ. 2535-2539), แผน8 (พ.ศ. 2540-2545), แผน9 (พ.ศ. 2546-2549)ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2516-2519)นโยบายและแนวคิดในชวงกอตั้งการเคหะแหงชาตินี้ รัฐมีแนวคิดวา แหลงเสื่อมโทรมเปนเหมือนเนื้อรายจําเปนตองขจัดใหหมดสิ้นไป จึงมีนโยบายในการรื้อลางแหลงเสื่อมโทรม (Slum Clearance) และสรางแฟลตใหผูมีรายไดนอย ในแบบเคหะสงเคราะห (Welfare Public Housing) ที่รัฐใหการอุดหนุนทั้งหมด โดยเปนแนวคิดที่ไดจากการดําเนินการของประเทศสิงคโปร3ลักษณะโครงการ และรูปแบบอาคารการออกแบบหนวยพักอาศัยในชวงนี้ เนนประโยชนใชสอยเปนหลัก (Form follow function) เพื่อใหมีตนทุนคากอสรางต่ําที่สุด (Low-cost Housing)บานสําหรับกลุมรายได ก. นั้นจะเปนบานประเภท บานแถวชั้นเดียว ออกแบบในกรอบของกฏหมายที่อยูอาศัย หนากวางไมต่ํากวา 3.50 เมตร ตัวบานเปนบานสรางเสร็จพรอมอยู เนื่องจากเปนรูปแบบที่ตนทุนกอสรางต่ําสุด จึงใชรูปแบบหนากวาง 4 เมตร เปน บรรทัดฐานในการออกแบบตางๆ ตอๆ มา การวางผังโครงการนอกจากจะมีที่อยูอาศัยแลวยังมีองคประกอบชุมชนตางๆที่จําเปนตอการอยู3นิรุจ เจียมจรรยง. สัมภาษณ, 19 สิงหาคม 2551.375


อาศัย พรอมกับการดําเนินการกําหนดมาตรฐานที่อยูอาศัยและชุมชนของการเคหะแหงชาติในป 2517 ดานเทคโนโลยีการกอสรางไดมีการริเริ่มนําระบบการกอสรางแบบกึ่งสําเร็จรูปมาใชตัวอยางโครงการโครงการรังสิตวาระที่1 เปนโครงการที่ไดรับโอนมาจากกรมประชาสงเคราะห เปนรูปแบบโครงการสรางบางสวน ในหนึ่งหนวยจะประกอบดวย หองนอน หองน้ํา-สวม และพื้นที่เปดโลงไวสําหรับทําครัวแลวซักลางโดยวางหองสวมกับสวนครัวไวดานหนา และ ทิ้งพื้นที่โลงไวดานหลังเพื่อตอเติมอาคารในสวนอื่นๆเพิ่มชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (2520-2524)นโยบายและแนวคิด 4เนื่องจากรัฐบาล ตระหนักวา รัฐไมมีงบประมาณที่เพียงพอตอการอุดหนุนการจัดสรางที่อยูอาศัยใหมใหผูมีรายไดนอยไดทั้งหมด ประกอบกับการรื้อลางสลัมสรางแฟลตในชวงที่ผานมาไมประสบผลสําเร็จ ผูที่ไดรับสิทธิ์ขึ้นอยูแฟลตไดขายสิทธิ์ กลับไปอยูในสลัม และจากการไดรับคําปรึกษาจากธนาคารโลก รัฐจึงเปลี่ยนแนวความคิด จากการรื้อลางสลัมเปน (1) การปรับปรุงแหลงเสื่อมโทรม และ(2) การจัดสรางที่อยูอาศัยใหม โดยใชแนวคิด ที่อยูอาศัยที่สอดคลองกับความสามารถในการจายของผูอยูอาศัย (Affordable Housing) และลดการอุดหนุนจากอุดหนุน 100% มาเปน การอุดหนุนการกอสรางระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการเปนหลัก สวนการจัดสรางที่อยูอาศัย ใหเปนภาระของผูอยูอาศัยลักษณะโครงการ และรูปแบบอาคารโครงการเคหะชุมชน 5 ในยุคนี้รูปแบบโครงการ เปลี่ยนจากเคหะสงเคราะห ที่มีที่อยูอาศัยแบบเดียวเปนเคหะชุมชนที่มีที่อยูอาศัยหลายกลุมรายได (Mixed- income Projects)ที่มีองคประกอบชุมชนที่จําเปนตอการอยูอาศัยตามมาตรฐานการเคหะแหงชาติ เกิดเปนโครงการที่มีการใชที่ดินหลายประเภท (Mixed Land UseProject) ตัวบานเปนบานที่มีราคาคาผอนสงตามความสามารถในการจาย ดังนั้นที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยที่มีความสามารถในการจายจํากัดจึงไมสามารถสรางบานที่สมบูรณได ตองจัดทําโครงการที่เรียกวาโครงการบานสรางบางสวน (Site & Services Project) คือ รัฐชวยในการจัดหาที่ดินและระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการเปนสําคัญ สวนตัวบานรัฐจัดใหเฉพาะสวนที่เรียกวา “แกนบาน” (Core House) ที่สอดคลองกับความสามารถในการจาย ในกรณีที่ความสามารถในการจายนอยมาก“แกนบาน” นี้อาจเปนเพียงหองน้ําหองสวมที่เรียกวา Wet Cell เนื่องจากเปนสวนที่มีความสําคัญดานสุขอนามัยและเปนสวนที่กอสรางไดยากกวาสวนอื่น สวนที่เหลือใหผูอยูอาศัยดําเนินการตอเติมเองโดยการเคหะฯใหความชวยเหลือในเรื่อง ความรูดานเทคนิค4 ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์,(ราง) บทความจากการวิจัย “ภาพรวม3 ทศวรรษ การพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย”5เรื่องเดียวกัน376


การกอสรางตอเติม และใหเงินกูหรือการกูยืมวัสดุเพื่อการตอเติม บานแบบนี้จึงเรียกอีกอยางวา บานที่ตอเติมและเติบโตได (Extendable and Growing Housing)ตัวอยางโครงการโครงการเคหะชุมชนในระยะเริ่มแรกยังเปนบานแถวชั้นเดียว มีพื้นที่ใชสอย แบงเปน หองอเนกประสงคหองน้ําสวมและพื้นที่โลงใตหลังคาเพื่อเปนสวนซักลาง โดยมีตัวอยางที่ โครงการธนบุรี 1 และธนบุรี 3นอกจากนั้นโครงการเคหะชุมชนในยุคนี้ ยังวางแผนใหเปนโครงการที่คืนทุน (Cost Recovery Project)เพื่อลดภาระการอุดหนุนจากรัฐ โดยอาศัยแนวคิดการอุดหนุนระหวางกลุม (Cross Subsidy) คือการนํารายไดสวนเกินจากการดําเนินการจัดสรางที่อยูอาศัยผูมีรายไดปานกลาง มาอุดหนุนการจัดสรางที่อยูอาศัยใหผูมีรายไดนอย ตัวอยางโครงการเคหะชุมชนภายใตความคิดนี้ เชนโครงการเคหะชุมชนทุงสองหอง เคหะชุมชนลาดกระบัง ซึ่งตัวบานมีตั้งแตเปนเพียงหองน้ําหองสวม บนแปลงที่ดิน16 ตารางวา จนถึงแบบบานแถวและบานแฝด โดยมีการนําระบบการกอสรางแบบสําเร็จรูปที่ใชระบบพิกัด (Prefabricated & Modular CoordinationSystem) มาใชในการกอสรางบานในโครงการเคหะชุมชนทุงสองหองดวยชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (2525-2529)นโยบายและแนวคิด 6ตอนปลายแผนฯ 4 เกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ รัฐจึงมุงลดภาระการอุดหนุนโดยใหรัฐวิสาหกิจรวมทั้งการเคหะแหงชาติพึ่งพาตัวเองทางการเงิน (Self-finance) และใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทในการพัฒนาที่อยูอาศัย โดยในป 2525 มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการนโยบายที่อยูอาศัย ที่มีทั้งตัวแทนภาครัฐและเอกชนรวมกันในชวงนี้ เพื่อใหสามารถพึ่งพาตนเองทางการเงินได การเคหะแหงชาติจึงเริ่มจัดทําโครงการหารายได โครงการเคหะชุมชนที่คืนทุน และโครงการรับจางทํา โดยการพึ่งพาตนเองทางการเงินในชวงแผนฯ นี้ตางจากชวงแผนฯ 4ที่ผานมาคือ ไมไดเปนแคเพียงการคืนทุนเปนรายโครงการ แตเปนการคืนทุนระหวางโครงการ คือ การหาและนํารายไดจากโครงการที่สามารถทํารายไดได ไปอุดหนุนโครงการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย6ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์,(ราง) บทความจากการวิจัย “ภาพรวม3 ทศวรรษ การพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย”377


ลักษณะโครงการ และรูปแบบอาคารรูปแบบบานสรางบางสวนยังใชตอเนื่องมาถึงโครงการเมืองใหมบางพลี และโครงการลาดกระบัง แตเนื่องจากที่อยูอาศัยแบบสรางบางสวนไมเปนที่นิยม การเคหะแหงชาติจึงเปลี่ยนกลับมาสรางบานสรางเสร็จพรอมอยูเพียงอยางเดียว โดยยกเลิกการสรางที่อยูอาศัยแบบสรางบางสวนไปตัวอยางโครงการโครงการนครสวรรคลักษณะเปนบานแถวชั้นเดียวที่สรางเสร็จพรอมอยู โครงการแรกหลังจากที่การเคหะยกเลิกการสรางที่อยูอาศัยแบบสรางบางสวน เนื่องจากรัฐลดการอุดหนุน ทําใหการออกแบบอาคารเนนประโยชนใชสอยมากกวาความสวยงาม โดยมีหองเอนกประสงคอยูดานหนาและสวนของหองน้ําสวมกับสวนพื้นที่โลงสําหรับซักลางอยูดานหลัง พื้นที่อาคารมีขนาดที่เล็กลงและวัสดุที่ใชในการตบแตงเปนวัสดุราคาถูกชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (2530-2534)นโยบายและแนวคิด 7ในชวงแผนฯนี้ การใชหลักการอุดหนุนระหวางกลุม (Cross subsidy) ไมสามารถดําเนินการตอไดเนื่องจาก ทําใหราคาที่อยูอาศัยสําหรับกลุมรายไดปานกลางที่ตองนํากําไรมาอุดหนุนกลุมผูมีรายไดนอยนั้น แพงกวาราคาที่อยูอาศัยประเภทเดียวกันที่ดําเนินการโดยภาคเอกชน รัฐจึงยังคงใหการอุดหนุนเฉพาะครัวเรือนที่มีรายไดนอยในกลุม เปอรเซนไทลที่ 20 ลงไป สวนผูมีรายไดปานกลางใหใชหลักการคืนทุน และเริ่มใชแนวคิดดานการตลาดไดแกการกําหนดราคาขายแตกตางตามทําเลที่ตั้ง (Pricing Zone) มาใชในการจัดทําโครงการนอกจากนั้น ยังมีการดําเนินงานตามนโยบายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ดวยการพัฒนาโครงการตามโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก (Eastern Sea Board) และการรวมลงทุนกับภาคเอกชนแตการดําเนินการรวมลงทุนกับภาคเอกชนไมประสบความสําเร็จนักดานการปรับปรุงชุมชนแออัด ในป 2524 ไดมีการตั้งกองทุนพัฒนาที่อยูอาศัยและสํานักงานพัฒนาชุมชนเมือง (พ.ช.ม.) นับเปนกาวสําคัญในการเปลี่ยนแนวคิดจากการปรับปรุงดานกายภาพเปนหลัก (Housingas product) มาเปนการสรางกระบวนการพัฒนาที่อยูอาศัย (Housing as process) โดยการใชกระบวนการรวมกลุมออมทรัพย ซึ่งเปนกระบวนการทางสังคมที่ใชการเงินเปนเครื่องมือนําไปสูการพัฒนาแบบบูรณาการระหวางการพัฒนาผูอยูอาศัย ชุมชนและที่อยูอาศัย ทั้งดานสังคม การเงินเศรษฐกิจและกายภาพไปพรอมกันลักษณะโครงการ และรูปแบบอาคารโครงการเคหะชุมชน ไมแตกตางจากโครงการในชวงที่ผานมามากนัก แตเนื่องจากเริ่มนําความคิดดานการตลาดมาใช การออกแบบอาคารจึงเปลี่ยนไปจากแนวคิดเดิมที่เปน Form Follow Function อยางเดียวกลายเปนเปนบานที่สรางเสร็จพรอมอยูและเพิ่มการตกแตงมากขึ้นเนนความสวยงามของอาคาร โดยมีขนาดที่อยูอาศัยเพิ่มขึ้น จาบบานแถวชั้นเดียวหนากวาง 4 เมตรกลางเปนบานแถวชั้นเดียวหนากวาง 6 เมตร มีการแบงพื้นที่ใหเปนสัดสวนมากยิ่งขึ้น โดยมีหองนอนแยกจากสวนอเนกประสงคและสวนเตรียมอาหาร เปนการนําระบบพิกัด 3.00x3.00 เมตร มาใชตัวอยางไดแก โครงการ ขอนแกน ระยะ2, โครงการ สุราษฏรธานี 2 ระยะ 17ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์,(ราง) บทความจากการวิจัย “ภาพรวม3 ทศวรรษ การพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย”378


ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 (2535-2539)นโยบายและแนวคิดในชวงนี้การเคหะแหงชาติไดนําแนวคิดหลายประการมาใชในการพัฒนาที่อยูอาศัยในหลักการพึ่งพาตนเองทางการเงิน ไดแกแนวคิดเมืองชี้นําการพัฒนาภูมิภาค 8 เปนการนําแนวคิดเรื่องการพัฒนาเมืองใหมไปใชในเมืองหลักในภูมิภาค ซึ่งนอกจากเปนการจัดใหมีที่อยูอาศัยพรอมแหลงงานและองคประกอบชุมชนในลักษณะเมืองที่สมบูรณในตัวเอง (Self-Contained New Town) แลว ยังกําหนดทําเลที่ตั้งใหอยูในทิศทางที่เมืองควรจะเติบโตตอไป จึงเปนการชี้นําการพัฒนาเมืองและชี้นําวาการพัฒนาเมืองควรมีองคประกอบที่สมบูรณไปพรอมกัน แตเนื่องจากการเคหะฯ ยังมีขอจํากัดในการดําเนินงานอยู โดยเฉพาะ ดานการจัดหาที่ดิน การประสานการจัดสาธารณูปโภคสาธารณูปการกับหนวยงานที่รับผิดชอบ การพัฒนาเมืองชี้นําจึงไมประสบความสําเร็จเทาที่ควรเมืองที่ดําเนินการได เชน โครงการเมืองชี้นําเชียงราย โครงการเมืองชี้นําสุราษฎรธานีลักษณะโครงการ และรูปแบบอาคารรูปแบบอาคารยังคงใชรูปแบบหนากวาง 6 เมตรตามแผนฯ 6 แตสัดสวนที่อยูอาศัย ของระดับรายได ก.ตอ ระดับรายไดทั้งหมด ลดนอยลงอยางเห็นไดชัดตัวอยางโครงการ เชียงราย ระยะ1, ฉะเชิงเทรา2 ระยะ1 สวนที่2. ลําปางระยะ 2ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (2540-2544)นโยบายและแนวคิดแนวคิด เมืองนาอยู (Livable City) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 เปลี่ยนจากการเนนการพัฒนาเศรษฐกิจเปนหลัก มาเปน แนวคิดให คน เปนศูนยกลางของการพัฒนา แนวคิดในการพัฒนาที่อยูอาศัยจึงเปลี่ยนไป แนวคิดเมืองนาอยู เปนแนวคิดที่เห็นวาที่อยูอาศัยเปนพื้นที่สวนใหญของเมือง หากสามารถพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนนาอยูได เมืองก็จะมีความนาอยู การพัฒนาใชกระบวนการมีสวนรวมกับทองถิ่น ในการสํารวจปญหา วางแผนแกไขปญหาและพัฒนาที่อยูอาศัยครอบคลุมพื้นที่ทั้งเมือง แนวคิดเปนการพัฒนาแบบบูรณาการ คํานึงถึง สิ่งแวดลอม สภาพทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ไปพรอมกับเรื่องที่อยูอาศัยและการอยูอาศัย โดยตระหนักในความแตกตางและเอกลักษณของแตละทองถิ่น เชน ในโครงการเมืองนาอยูระยอง การเคหะแหงชาติไดดําเนินการสํารวจชุมชนที่อยูอาศัยในเขตเทศบาลเมืองระยองรวมกับเทศบาล จัดทํา8ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์,(ราง) บทความจากการวิจัย “ภาพรวม3 ทศวรรษ การพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย”379


ฐานขอมูลชุมชน วิเคราะหปญหาที่อยูอาศัย และสิ่งแวดลอม และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาที่อยูอาศัยรวมทั้งดําเนินการพัฒนาที่อยูอาศัยโดยใชกระบวนการมีสวนรวม เกิดเปนโครงการที่เปนรูปธรรม ไดแก การฟนฟูที่อยูอาศัยและชุมชนยานเมืองเกาถนนยมจินดา และโครงการปรับปรุงชุมชนแหลมรุงเรือง แนวคิดนี้เปนตนกําเนิดแนวคิด การจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยเมืองในระยะตอไปลักษณะโครงการ และรูปแบบอาคารรูปแบบอาคารยังไมมีการเปลี่ยนแปลง ในชวงแผนนี้ โครงการในเคหะชุมชนเริ่มลดนอยลงการ การเคหะเริ่มมีการเปลี่ยนบทบาทของตัวเองตัวอยางโครงการ โครงการภูเก็ต ระยะ 2, โครงการเพชรบุรี ระยะ1, โครงการตรัง ระยะ2ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (2544-2549)แนวคิดและลักษณะโครงการแนวคิดบานเอื้ออาทร 9 เปนนโยบายในป 2546 “บานหนึ่งลานหลัง”ของรัฐบาล พันตํารวจ.โท ทักษิณชินวัตร ที่จะพัฒนาที่อยูอาศัยใหกับผูมีรายไดนอยใหได 1,000,000 หลังใน 5 ป แบงเปนโครงการบานเอื้ออาทรที่ดําเนินการโดยการเคหะแหงชาติ 60,000 หนวย และบานมั่นคง ดําเนินการโดยสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน30,000 หนวย และบานออมสิน ดําเนินการโดย ธนาคารออมสินอีก 10,000 หนวยเปาหมายของบานเอื้ออาทร คือการจัดสรางที่อยูอาศัยใหครัวเรือนที่มีรายไดไมเกิน 15,000 บาทตอเดือน โดย รัฐบาลจะใหการอุดหนุน หนวยละ 80,000 บาท เพื่อใหผูอยูอาศัยผอนชําระรายเดือนไมเกิน 1,500บาท เปนบานราคาเดียวทั่วประเทศ ดําเนินการไดหลายรูปแบบ (1) จัดสรางในที่ดินของการเคหะแหงชาติเอง(2) จัดสรางในที่ดินของภาครัฐอื่น (3) ใชอาคารที่คงเหลืออยูในตลาด (4) ซื้อที่ดินจากเอกชนมาจัดทําโครงการ(5) รวมลงทุนกับเอกชน ในการวางแผนแบงการดําเนินงานใน 6 ป ปละประมาณ 12,000 - 15,000 หนวยในชวงปแรก 2516 การดําเนินงานไดรับความรวมมืออยางดีจากหนวยงานอื่นๆ ทั้งคณะกรรมการสิ่งแวดลอมฯ ที่ผอนผันการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมให ธนาคารอาคารสงเคราะหที่เปนแหลงเงินกูระยะยาว ที่ทําใหการเคหะแหงชาติลดภาระลง แตตอมาในป 2548-49 เมื่อเรงการผลิตใหมากและรวดเร็ว หลายโครงการที่มีทําเลที่ตั้งไมเหมาะสมไมสามารถขายได และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล การดําเนินงานก็ตองหยุดชะงักลงรูปแบบอาคาร (1) บานเดี่ยวสองชั้น บนที่ดิน 20 ตารางวา ขนาดพื้นที่บาน 51 ตารางเมตร (2) บานแฝดสองชั้น ที่ดิน 21 ตารางวา พื้นที่อาคาร 53 ตารางเมตร9ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์,(ราง) บทความจากการวิจัย “ภาพรวม3 ทศวรรษ การพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย”380


สรุป พัฒนาการรูปแบบโครงการที่อยูอาศัยตามแนวราบในเคหะชุมชนของการเคหะแหงชาติ10• ในชวงที่รัฐบาลอุดหนุนทั้งหมด ใชแนวคิด การผลิต “ที่อยูอาศัยตนทุนต่ํา” มุงเนนแตประโยชนใชสอยเพียงอยางเดียว เพื่อประหยัดเงินอุดหนุนจากรัฐและเพื่อใหสามารถผลิตใหไดจํานวนหนวยมากที่สุดการออกแบบเปนไปตาม ความนิยมในตลาดและอยูภายใตขอบังคับของกฏหมายทําใหไดการนํา เอาแบบหนากวาง 4 เมตรมาใช• ในชวงเปลี่ยนแนวคิดมาสู “ที่อยูอาศัยที่สอดคลองกับความสามารถในการจาย” เพื่อลดการอุดหนุนของรัฐบาลลง จนเกิดเปน “บานแบบสรางบางสวน” โดยอาศัยหลักการคืนทุนและการอุดหนุนระหวางกลุมชุมชนในชวงนี้จึงตางชุมชนยุคแรกที่เปนกลุมรายไดเดียว มาเปนชุมชนที่มีหลายกลุมรายได มีความผสมผสานทางสังคม• เมื่อ “บานสรางบางสวน” ไมเปนที่ยอมรับของสังคม แนวคิดเปลี่ยนมาเปน “บานสรางเสร็จพรอมอยู” โดยอาศัยการอุดหนุนกันระหวางกลุม เพื่อลดการอุดหนุนจากรัฐบาล• เมื่อแนวคิด “การอุดหนุนกันระหวางกลุม” ทําใหราคาที่อยูอาศัยสําหรับกลุมรายไดสูงสูงเกินกวาที่จะสามารถแขงขันในตลาดภาคเอกชนได จึงตองเปลี่ยนแนวคิด โดยใชแนวคิดดานการตลาดเขามาชวยโดยใชแนวคิด “ราคาแตกตางตามทําเล” (Differential Land Pricing) และเปลี่ยนขนาดและรูปรางหนาตาใหสามารถดึงดูดผูซื้อไดมากขึ้น• เมื่อนโยบายของรัฐเรงใหผลิตที่อยูอาศัยเปนจํานวนมากในระยะสั้น เกิดแนวคิด”บานราคาเดียว(และรูปแบบเดียว) ทั่วประเทศ” ในโครงการบานเอื้ออาทร กลับไปสู ยุคเริ่มตั้งการเคหะแหงชาติ ที่ชุมชนของการเคหะแหงชาติเปนชุมชนที่มีกลุมรายไดเดียว ขาดการผสมผสานทางสังคม ขาดการพิจารณาเรื่องการตอเติมบาน ขาดแนวคิดในการวางผังเพื่อสรางความเปนชุมชน10งานวิจัย ภาพรวม 3 ทศวรรษการพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย: กรณี การเคหะแหงชาติ381


รูปแบบบานตามแนวราบในเคหะชุมชนของการเคหะแหงชาติ ประเภทรายได ก. ในชวงแผนตางๆแผน 3-แผน 4 ที่อยูอาศัยแบบมาตรฐาน หนากวาง 4 เมตรแปลนรูปดานหนาบานหนากวาง 4เมตรประกอบดวยหองอเนกประสงคหองน้ํา-สวมพื้นที่เตรียมอาหารตัวอยางโครงการโครงการธนบุรี 1, ธนบุรี3แผนฯ 4-แผนฯ 5 ที่อยูอาศัยแบบสรางบางสวนรูปดานขางแปลนรูปดานขางที่ดินพรอมสาธารณูปโภคเพื่อตอเติมเองประกอบดวยพื้นที่อเนกประสงคหองน้ํา-สวมตัวอยางโครงการทุงสองหอง,ลาดกระบังวาระ1,เมืองใหมบางพลีวาระ 1แปลนแผนฯ 5-แผนฯ 6 บานสรางเสร็จพรอมอยูหนากวาง 4เมตรรูปดานขาง382


แปลนรูปดานขางบานแถวชั้นเดียวประกอบดวยหองเอนกประสงคหองน้ํา-สวมพื้นที่เตรียมอาหารตัวอยางโครงการนครสวรรค, ลําปาง, จันทบุรีรูปดานหนาแผนฯ 6 – แผนฯ 8 บานสรางเสร็จพรอมอยูหนากวาง 6 เมตรรูปตัดแปลนรูปดานขางบานแถวชั้นเดียวประกอบดวยหองนอนหองอเนกประสงคหองน้ํา-สวมพื้นที่เตรียมอาหารตัวอยางโครงการสุราษฎรธานี ระยะ2เชียงราย 1 ระยะ1บุรีรัมยรูปดานหนารูปตัดแผนฯ 9 บานเอื้ออาทร บานแถวเอื้ออาทร383


แปลนชั้นลาง รูปดานขางบานแถว 2 ชั้นประกอบดวยหองนอน 1หองนอน 2หองอเนกประสงคหองน้ํา-สวมแปลนชั้นบน รูปดานหนารายการอางอิงขรรค ประจวบเหมาะ. แนวคิดการจัดทํายุทธศาสตรชาติเพื่อการพัฒนาที่อยูอาศัยในประเทศไทย (National Strategy forHousing Development in Thailand). วารสารธนาคารอาคารสงเคราะห ฉบับที่ 49,เมษายน – มิถุนายน 2550 : 21การเคหะแหงชาติ, รายงานประจําป การเคหะแหงชาติ พ.ศ. 2518-2548. กรุงเทพมหานคร: การเคหะแหงชาติ, 2518 -2548“____________” รวบรวมตนแบบอาคารพักอาศัยของการเคหะแหงชาติ.กรุงเทพมหานคร: การเคหะแหงชาติ, 2524.79.ฝายปรับปรุงชุมชนแออัด การเคหะแหงชาติ. สรุปการดําเนินงาน ป 2521-2544. การเคหะแหงชาติ.เมษายน 2545.“____________” การปรับปรุงชุมชนแออัด. (มปป.)ภาควิชาเคหการ,งานวิจัย ภาพรวม 3 ทศวรรษการพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยในประเทศไทย: กรณี การเคหะแหงชาติ.กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552384


ปญหาการซอมแซมที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกTHE PROBLEM OF HOUSE REPAIRING IN BANGNOI-NOK COMMUNITYนางสาวสมปอง จึงสุทธิวงคหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอชุมชนบางนอยนอกที่เปนชุมชนที่มีประวัติศาสตรมายาวนาน มีความเปนเอกลักษณ ภายในทองถิ่นและยังมีวิถีชีวิตที่เรียบงาย มีสภาพบานเรือนที่อาศัยอยูตามริมคลองบางนอยและบางสวนก็อยูในพื้นที่สวนสามารถพบเห็นไดทั่วไป เนื่องจากที่อยูอาศัยเปนหนึ่งในปจจัยสี่ ซึ่งจําเปนสําหรับการดําเนินชีวิตของมนุษยทุกคน เปนปจจัยสําคัญในการผลักดันใหมนุษยตองปรับตัวใหเหมาะสม และสอดคลองกับสถานการณซึ่งมีคุณคาในดานภูมิปญญาดั้งเดิมในการกอสรางบานเรือน และมีความเปนเอกลักษณทางสถาปตยกรรมของเรือนประเภทตางๆที่หลากหลาย เชน เรือนพื้นถิ่น เรือนไทยภาคกลาง และเรือนที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและเปลี่ยนวัสดุกอสรางเปนวัสดุสมัยใหมการศึกษาที่อยูอาศัย 5 ประเภท คือ เรือนแถวริมน้ํา เรือนไมพื้นถิ่น เรือนไทยภาคกลาง เรือนไทยประยุกต และอาคารสมัยใหม จํานวน 9 หลัง ในดานเทคโนโลยีการกอสรางและเทคโนโลยีการผลิตวัสดุ จะอยูในระดับลางถึงกลาง คือ ยังคงใชวัสดุที่เปนโครงสรางไมเปนหลักและยังคงใชเครื่องมือที่งายๆ สิ่ว คอน และใชการลักจําเปนสวนมากในวิธีการกอสราง และสภาพที่อยูอาศัยของชุมชนบางนอยนอก ในปจจุบัน เกิดความเสื่อมโทรมของที่อยูอาศัย สาเหตุเกิดจากการกระทําของมนุษยและจากธรรมชาติ การใชวัสดุที่ไมมีความคงทน และมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคในการใชประโยชนตามวิถีชีวิตแบบใหมเพื่อตามความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี แตขาดความเขาใจในคุณคาแหงมรดกทางวัฒนธรรม และขาดความรูในการกอสรางของชาวบาน รวมถึงสวนที่สําคัญคือปจจัยดานรายไดของครัวเรือนที่ไมมีความสามารถในการซอมแซมที่อยูอาศัยไดจึงทําใหเกิดปญหาในการอยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกจากประเด็นดังกลาวผูที่เกี่ยวของ ควรมีการอนุรักษดานความรูพื้นถิ่นและการเรียนรูเกี่ยวกับภูมิปญญาในการกอสรางแบบดั้งเดิม และหาวิธีการแกปญหาที่ตองซอมแซมทํานุบํารุงที่อยูอาศัยถาชาวบานไมมีความสามารถในการจาย รวมถึงการศึกษาวัสดุที่สามารถนํามากอสรางภายในทองถิ่น แลวจะพบวาการใชวัสดุทองถิ่นในการกอสรางอาคารหรือการซอมแซมนั้น นั้นเปนการสะทอนลักษณะของทองถิ่นนั้นๆ ไมวาจะเปนทรัพยากรที่สามารถหาหรือผลิตไดเองในพื้นที่และรูปแบบการกอสรางที่ไดพัฒนาในทองถิ่น รวมถึงกรณีที่ซอมแซมที่อยูอาศัยที่ชาวบานสามารถซอมแซมเองได จะเกิดประโยชนมากมายกับผูอยูอาศัยทั้งทางดานความปลอดภัยในการอยูอาศัย และ ใชวัสดุกอสรางที่สอดคลองกับที่อยูอาศัย ยิ่งไปกวานั้นการใชวัสดุทองถิ่นยังเปนการสงเสริมเศรษฐกิจในระดับทองถิ่น ในแงของการกระจายผลิตภัณฑและฝมือแรงงานในทองถิ่นไดอีกดวย385


ปญหาการซอมแซมที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกTHE PROBLEM OF HOUSE REPAIRING IN BANGNOI-NOK COMMUNITYบทนําชุมชนบางนอยนอกที่เปนชุมชนที่มีประวัติศาสตรมายาวนาน มีความเปนเอกลักษณ ภายในทองถิ่นและยังมีวิถีชีวิตที่เรียบงาย มีสภาพบานเรือนที่อาศัยอยูตามริมคลองบางนอยและบางสวนก็อยูในพื้นที่สวนสามารถพบเห็นไดทั่วไป เนื่องจากที่อยูอาศัยเปนหนึ่งในปจจัยสี่ ซึ่งจําเปนสําหรับการดําเนินชีวิตของมนุษยทุกคน เปนปจจัยสําคัญในการผลักดันใหมนุษยตองปรับตัวใหเหมาะสม และสอดคลองกับสถานการณซึ่งมีคุณคาในดานภูมิปญญาดั้งเดิมในการกอสรางบานเรือน และมีความเปนเอกลักษณทางสถาปตยกรรมของเรือนประเภทตางๆที่หลากหลาย เชน เรือนพื้นถิ่น เรือนไทยภาคกลาง และเรือนที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและเปลี่ยนวัสดุกอสรางเปนวัสดุสมัยใหมในปจจุบัน เนื่องจากชุมชนบางนอยนอกเปนชุมชนที ่เกาแก ดังนั้นที่อยูอาศัยสวนมากก็มีอายุการกอสรางที่ผานมาหลายสิบปเชนกัน เรือนไทยภาคกลางบางหลังมีอายุเกินรอยป ทําใหเกิดการเสื่อมสภาพของวัสดุและเกิดการทรุดโทรมของที่อยูอาศัย สาเหตุอันเกิดมาจากการกระทําของมนุษยและจากธรรมชาติ การใชวัสดุที่ไมมีความคงทน และมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคในการใชประโยชนตามวิถีชีวิตแบบใหมเพื่อตามความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี แตขาดความเขาใจในคุณคาแหงมรดกทางวัฒนธรรม และขาดความรูในการกอสรางของชาวบาน รวมถึงสวนที่สําคัญคือปจจัยดานรายไดของครัวเรือนที่ไมมีความสามารถในการซอมแซมที่อยูอาศัยได จึงทําใหเกิดปญหาในการอยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกอยางไรก็ตามสามารถแยกที่อยูอาศัยได 5 รูปแบบที่พบไดในทองถิ่น คือ เรือนแถวริมน้ํา เรือนไมพื้นถิ่น เรือนไทยภาคกลาง เรือนไทยประยุกต และอาคารสมัยใหม ก็มีความแตกตางกันในดานการเกิดปญหาในการซอมแซมที่อยูอาศัย แตเนื่องจากเรือนแถวริมน้ําและเรือนไมพื้นถิ่น มีการกอสรางที่ไมเปนระเบียบแบบแผนมากนัก เปนการสรางที่อยูอาศัยเพื่อการอยูอาศัย หลับนอน เทานั้น ไมไดสรางใหมีความใหญโตมโหฬาร ดังนั้นการเลือกใชวัสดุในการกอสรางจึงเลือกใชวัสดุที่หางาย เชนการนําไมเกามากอสราง หรือวัสดุที่มีจําหนายในทองถิ่นและที่สําคัญ คือการสรางที่อยูอาศัยที่ขาดความเขาใจในเรื่องของความคงทนและความแข็งแรงของโครงสราง ทําใหที่อยูอาศัย ทั้ง 2 ดังกลาวเกิดปญหาดานกายภาพมากที่สุดปญหาดานกายภาพที่เกิดมากที่สุด คือ ปญหาของวัสดุมุง ฝาผนัง พื้น และ เสาเข็ม ซึ่งสามารถพบเห็นไดทั่วไป มีการเสื่อมสภาพของวัสดุที่เห็นไดอยางชัดเจน เชน มีการนําวัสดุตางๆมาซอมแซมผนัง ทั้งไมอัดเกา ไมเกาที่รื้อมาจากสะพาน เสาเข็มไมที่ชํารุดชาวบานใชภูมิปญญาพื้นถิ่นในการซอมแซมคือ การใชแผนสังกะสีครอบเปนวงกลมบริเวณเสาเข็มไมเดิม ลึกลงไปประมาณ 50 ซม. แลวหยอดน้ําปูนลงไป ซึ่งชาวบานเชื่อวาชวยทําใหเสามีความแข็งแรงมากขึ้น และปญหาที่เกิดขึ้น อื่นๆอีกของที่อยูอาศัย ดังนั้น การที่ไดมีการศึกษาปญหาของที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอก และศึกษาวิธีการซอมแซมจากภูมิปญญาดั้งเดิมหรือวิธีการใหมๆจากชาวบาน เพื่อหาทางเลือกในการซอมแซมที่สอดคลองกับผูอยูอาศัยทั้งทางดาน รายไดในครัวเรือน และความสามารถของชาวบานในการพึ่งพาตนเอง จะทําใหชาวบานมีการอยูอาศัยที่สอดคลองและเหมาะสมตอไปในอนาคต386


การอนุรักษสถาปตยกรรมและชุมชน (Urban Conservation) 1จากที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอก ที่มีปญหาดานที่อยูอาศัย ที่ตองการซอมแซม จึงตรงกับแนวคิดการอนุรักษการอนุรักษสถาปตยกรรมและชุมชน คือ การดูแลรักษา การชะลอความเสื่อมสภาพและความชํารุดทรุดโทรมของงานสถาปตยกรรมประเภทตางๆ ซึ่งรวมถึงชุมชนตางๆ ดวย การอนุรักษมีการดําเนินงานหลายระดับ ไดแก การปองกัน การเสื่อมสภาพ การรักษาสภาพ การเสริมความมั่งคงแข็งแรง การบูรณะ การจําลองแบบการสรางขึ้นใหม และการประยุกตการใชสอย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผลจากการสํารวจ และการศึกษางานสถาปตยกรรมแตละชิ้น แลวนํามา วิเคราะหพรอมทั้งกําหนดกรอบของการอนุรักษวาจะดําเนินการระดับใด สวนการอนุรักษชุมชนซึ่งตองมีความสอดคลองกับวิถีชีวิตและระบบเศรษฐกิจสังคมของแตละทองถิ่น จึงถือไดวาการซอมแซมที่อยูอาศัยเปนการอนุรักษสถาปตยกรรมและรักษาวัฒนธรรมของชุมชน ใหคงอยู และสามารถพัฒนาความรูพื้นถิ่นใหสามารถผสมกลมกลืนไปกับกระแสโลกาภิวัฒน อยางเหมาะสมรูปแบบของที่อยูอาศัยริมน้ําการอยูอาศัยในพื้นที่ริมน้ํา ภายใตสภาพแวดลอมดังกลาว ทําใหผูคนตองทําการพัฒนารูปแบบของที่อยูอาศัยใหกลมกลืนและสอดคลองกับสภาพแวดลอม ซึ่งพอสรุปและแยกประเภทของที่อยูอาศัยริมน้ําไดคราวๆดังนี้ 21) ที่อยูอาศัยริมน้ําบนแพ สามารถแยกตามประเภทของโครงสรางไดเปนเรือนไทยเครื่องผูก เรือนไทยเครื่องสับ หรือตามประเภทของการใชงาน เชน ที่อยูอาศัยรานคา สามารถเคลื่อนยายเปลี่ยนที่ตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ํา2) ที่อยูอาศัยริมน้ําบนเรือ เปนรูปแบบที่เคยพบเห็นไดทั ่วไป ในกรณีของผูอยูอาศัยในเรือของจีน มีขอสันนิษฐานถึงตนกําเนิดวามิใชเนื่องจากการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม แตเนื่องจากถูกบังคับทางสังคมจึงทําใหตองอยูอาศัยบนเรือ ในกรณีของไทยกลับเปนทางตรงกันขาม เนื่องจากความไดเปรียบทางการคมนาคมและการคาที่นาจะเปนตัวกําหนดใหที่อยูอาศัยริมน้ําบนเรือถือกําเนิดขึ้น3) ที่อยูอาศัยริมน้ําบนเสา ที่มาของที่อยูอาศัยริมน้ําบนเสาอาจกลาวไดวา มีทั้งที่ถือกําเนิดขึ้นแตตนตามแนวทางการสรางบานยกพื้นสูงทั่วไป หรือประเภทที่ถูกสรางขึ้นภายหลังจากการยายถิ่นมาทางน้ํา โดยที่อยูอาศัยริมน้ํา บนเรือ หรือบนแพ ซึ่งก็มีทั้งที่ใชสวนประกอบของเรือหรือยกแพเพื่อทําเปนตัวเรือนของที่อยูอาศัยริมน้ําบนเสา โดยในประเภทแรกจะเปนเรือนซึ่งประกอบขึ้นจากเสายาวตลอดตนและเรือนในประเภทหลังจะมีเฉพาะเรือนที่ปลูกอยูบนเสาซึ่งถูกตระเตรียมไวกอนแลวถึงแมจะแตกตางในรูปแบบและลําดับของการพัฒนา แตก็สามารถกลาวไดวาที่อยูอาศัยริมน้ําดังกลาว มีรูปแบบของการพัฒนามาจากตนกําเนิดของแนวความคิด1 1 Nahoum Cohen , Urban Conservation ,The MIT Press Cambridge:Massachusetts ,1999 , p.9-67.2 เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร , การศึกษาที่อยูอาศัยริมน้ําบริเวณลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลาง กรณีศึกษาบริเวณตลาดน้ําบางคูเวียง , สาระศาสตรสถาปตย , 2542 ,หนา 239-252.387


โครงสรางพื้นฐาน และลําดับของปริภูมิที่มีจุดเกี่ยวเนื่องกัน คือ แนวความคิดพื้นฐานที่วาไมวาจะเปนที่อยูอาศัยริมน้ําแบบใดก็ตามตางก็ไมตัดขาดกับ “น้ํา” แตจะอยูใกลชิดกับ “น้ํา”กอสรางอาคารพักอาศัยที่เหมาะสมดังนั้นการซอมแซมหรือใชวิธีการกอสรางที่เหมาะสม กับสภาพพื้นที่ทั้งพื้นที่ริมน้ํา และอยูในพื้นที่สวน จะตองมีการพัฒนาใหเกิดองคความรูดานการกอสราง ในพื้นถิ่น ตองไดรับการพลักดันและสงเสริมจากทางภาครัฐ หรือองคกรทองถิ่นที่เกี่ยวของ รวมถึงความพรอมของคนในชุมชนเอง ที่ตองชวยกันพัฒนาใหเกิดการกอสรางอาคารที่พักอาศัยที่เหมาะสม และพัฒนาองคความรูดังกลาวอยางตอเนื่อง รวมถึงสามารถรวบรวมภูมิปญญาดั้งเดิมในการซอมแซมที่อยูอาศัยไดดังนั้น สิ่งที่สําคัญในการสรางหรือซอมแซมที่อยูอาศัยนั้น คือ ตองสรางอาคารที่พักอาศัยในทองถิ่นที่แรงงานอาศัยอยู โดยตองอาศัยแหลงเงินทุนในทองถิ่นใชวัสดุในทองถิ่น และมีวิธีการกอสรางที่งายไมตองใชแรงงานที่มีฝมือมากนัก ดังนั้นสิ่งที่จะแสดงถึงปจจัยที่บงบอกถึงความเหมาะสมที่สุดคือ เปนวัสดุที่ผลิตขึ้นในทองถิ่น หางาย ราคาถูก และสามารถนํากลับมาใชใหม โดยใชแรงงานคนในทองถิ่นในการผลิตวัสดุ โดยไมจําเปนตองเปนแรงงานที่มีทักษะ และวัสดุดังกลาวตองเปนวัสดุที่ถูกกับสภาพภูมิประเทศดวยวัสดุทองถิ่น (Local Materials)จากการเทียบเคียงความหมายในภาษาไทยจากพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานและในภาษาอังกฤษจาก Collins COBUILD-Lexicon โดยในความหมายจากภาษาอังกฤษนัยหนึ่งจะเนนไปที่วัตถุที่เปนของแข็ง (Solid Substance) ซึ่งคอนขางสอดคลองกับความหมายที่ใชในการศึกษาวัสดุกอสราง ดังนั้น“วัสดุทองถิ่น” (Local Materials) คือ วัตถุที่นํามาใชประโยชนที่มีในทองที่ใดทองที่หนึ่งโดยเฉพาะ3 จากความหมายดังกลาว จะเห็นไดวาการกําหนดวาวัตถุใดเปนวัสดุทองถิ่นนั้นไมไดขึ้นอยูกับคุณลักษณะของวัสดุ แตขึ้นอยูกับวิธีการนําวัสดุมาใชประโยชนและการระบุขอบเขตของพื้นที่อันเปนนิยามความหมายของคําวา“ทองถิ่น” ที่กลาวถึงเปนหลัก หากเมื่อพิจารณาตามความหมายของวัสดุที่ไดระบุขางตน “ วัสดุทองถิ่นเพื่อการกอสรางอาคาร” (Local Material for Building Construction) จึงหมายถึง วัตถุที่นํามาใชประโยชนในการกอสรางอาคารที่สามารถหาไดในทองที่ใดทองที่หนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นวัสดุใดที่คนพบวามีการใชในงานกอสรางอาคารในทองถิ่นก็นาจะสามารถเรียกไดวาเปนวัสดุทองถิ่นเพื่อการกอสรางอาคารไดทั้งสิ้น3 พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ,2543 .หนา 51<strong>13</strong>88


รูปแบบที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกและปญหาดานกายภาพ1. เรือนแถวไมลักษณะรูปแบบที่อยูอาศัย เปนบานไมเรือนแถวติดริมน้ํามีลักษณะเปนบานชั้นเดียว หรือ สองชั้น ติดกันเปนแนวยาว ตามริมน้ําตลอดแนว จะมีลักษณะหันหนาเขาแมน้ํา หรือลําคลอง มีเสาสูงกวาระดับน้ํา และมีทางเดินหนาบานเชื่อมโยงติดกันเปนแนวยาว มีบันไดหนาบานเพื่อลงสูแมน้ํา ลําคลองวัสดุกอสรางอาคาร โดยสวนมากเปนโครงสรางไม หลังคาสังกะสี หรือกระเบื้องวาว และในปจจุบันเริ่มมีการทรุดโทรมของวัสดุมุงจึงเริ่มมีการเปลี่ยนเปนกระเบื้องลอนมากขึ้นปญหาดานกายภาพ- ผนังที่เปนสังกะสีเกิดการชํารุดตามสภาพเนื่องจากเปนวัสดุที่ใชตั้งแตเริ่มการกอสราง- พื้น เนื่องจากเสาเข็มไมเกิดการทรุดตัวทําใหพื้นทรุดตามและเคลื่อนตัวได- ปญหาเกี่ยวกับฐานรากเสาเข็มที่มีการทรุดตัว และเสาเข็มไมเริ่มผุพัง2. เรือนไทยภาคกลางลักษณะรูปแบบที่อยูอาศัย ลักษณะของเรือนไทยในบริเวณชุมชนคลองบางนอย นิยมปลูกเรือนกันริมแมน้ําลําคลอง คุงน้ํา โดยการใชประโยชนของอาคารเปนเรือนพักอาศัยของชาวสวนใน อดีตที่มีฐานะดี มีทั้งเรือนครอบครัวเดี่ยว เรือนหมู คือปลูกอยูในบริเวณเดียวกันมีหลายหลัง ลักษณะเปนเรือนไทยชั้นเดียวยกพื้นใตถุนสูงจากพื้นดินประมาณพนศีรษะ ประกอบดวยหองนอน ระเบียง ชาน และเรือนครัววัสดุกอสรางอาคาร โครงสรางหลังคาของเรือนไทยเปนทรงจั่วสูง และทรงปนหยา- มนิลา ใชไมทําโครงสรางและกระเบื้องดินเผาเปนวัสดุมุงหลังคา ซึ่งปจจุบันมีการซอมแซมและเปลี่ยนวัสดุเปนสังกะสีและกระเบื้องลอนคูเปนสวนใหญหนาจั่วเปนลักษณะแผงไมรูปสามเหลี่ยม มีหลายรูปแบบ ไดแก จั่วลูกฟก จั่วรูปพระอาทิตย และจั่วใบปรือ (ลักษณะตัวแผงประกอบดวยตัวไมขนาดเล็กเรียงซอนทางแนวนอนนิยมใชกับเรือนนอนและเรือนครัวไฟถาเปนเรือนครัวไฟสวนบน มักเวนชองใหอากาศถายเทได)ตกแตงหนาจั่วดวยป นลม และมีตัวเหงาติดชายปนลม สวนฝาเรือน เปนแบบเรือนฝากระดาน ฝาปะกน ฝาสายบัวเรือนประเภทนี้มักมีความยาว 3 หอง (3 ชวงเสา) มี ศาลาทาน้ําหรือทาน้ําลงไปสูลําคลองปญหาดานกายภาพ- ปญหาเกี่ยวกับฐานรากเสาเข็มที่มีการทรุดตัว และเสาเข็มไมเริ่มผุพัง- ปญหาเกี่ยวกับผนังที่เปนไมเกามากอายุเปน 100 ป เกิดการชํารุดตามสภาพเนื่องจากเปนวัสดุที่ใชตั้งแตเริ่มการกอสราง389


3. เรือนไทยประยุกตลักษณะรูปแบบที่อยูอาศัย เปนอาคารที่มีลักษณะการผสมผสานระหวางโครงสรางไมกับคอนกรีต หรือวัสดุประดิษฐ มีทั้งอาคาร 2 ชั้นและชั้นเดียววัสดุกอสรางอาคาร สวนมากที่พบจะเปนชั้นบนเปนโครงสรางไม และชั้นลางเปนโครงสรางคอนกรีต หรือวัสดุประดิษฐ วัสดุมุงสวนมากจะเปนกระเบื้องลอน และสังกะสีปญหาดานกายภาพ ไมมีปญหาเนื่องจากเปนการกอสรางใหมและอายุอาคารไมนาน และใชวัสดุดานลางเปนคอนกรีตดานบนจะเปนไมโดยผานกระบวนการถนอมเนื้อไมแลว4. เรือนไมพื้นถิ่นลักษณะรูปแบบที่อยูอาศัย การใชประโยชนของอาคารเปนเรือนพักอาศัย ของชาวสวนในยุคหลังองคประกอบของรูปแบบอาคารคลายคลึงกับกลุมเรือนไทย แตเรือนพื้นถิ่น มีรูปแบบของอาคารที่ปลูกสรางเรียบงายกวา ซึ่งเนนประโยชนการใชสอยมากกวาความสวยงามของเรือนวัสดุกอสรางอาคาร ใชไมจริงเปน โครงสรางหลัก ฝาผนังมีทั้งไมจริงและวัสดุชั่วคราวอยางฝาขัดแตะ สวนวัสดุมุงหลังคามีการซอม แซมและเปลี่ยนวัสดุเปนสังกะสีและกระเบื้องลอนคูเปนสวนมากปญหาดานกายภาพ- ปญหาเกี่ยวกับผนัง พื้น เสาเข็มไม ที่เปนไมเกา และเปนเรือนที่ใชการผูกชํารุดตามสภาพเนื่องจากเปนวัสดุที่ใชซอมแซมทับกันไปเรื่อยๆกอสรางแบบงายๆ ไมมีความแข็งแรง- ปญหาของวัสดุมุง และฝาผนังเนื ่องจากใชวัสดุที่หาไดงายๆ เชน ไมอัดเกาหรือ สังกะสีเกา- ปญหาเกี่ยวกับฐานรากเสาเข็มที่มีการทรุดตัว และเสาเข็มไมเริ่มผุพัง5. อาคารสมัยใหมลักษณะรูปแบบที่อยูอาศัย โดยมากตั้งอยูบริเวณริมถนนหรือพื้นที่ที่การคมนาคมเขาถึงไดงาย เปนชุมชนใหมเกาะตัวไปตามถนน การใชประโยชนของอาคารเปนที่อยูอาศัยรานคากึ่งที่อยูอาศัย และอาคารหนวยงานราชการลักษณะ ของอาคารมีทั้งขนาดเล็ก (1-2ชั้น) เปนอาคารเดี่ยว และขนาดใหญ(3-4 ชั้น) เปนตึกแถวอาคาร พาณิชย ซึ่งเปนรูปแบบสมัยใหมวัสดุกอสรางอาคาร โครงสรางเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก วัสดุมุงจะเปนกระเบื้อง และบางอาคารจะมีการใชวัสดุสมัยใหมเชนการใชโครงอลูมิเนียมและกระจกเขามามีสวนรวมในการกอสรางอาคาร390


ตารางการซอมแซมที่อยูอาศัยและราคาในการซอมแซมที่ผานมารูปแบบที่อยูอาศัย เริ่มการกอสราง การซอมแซมที่อยูอาศัย ราคาคาซอมแซมเปลี่ยนเสาและซอมแซมโรงจอดรถพ.ศ. 2451 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2542พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2551พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2540หลังคาจากเปนสังกะสี สังกะสีเปนกระเบื้องลอนพ.ศ. 2490 พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2545หองนอนWallEXTANSIONพ.ศ. 2491พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550สัญลักษณ= การเปลี่ยนหลังคา, = การตอเติม, = การเปลี่ยนเสาอาคาร, = การยกบานไมเดิมขึ้นชั้นสองชั้นลางเปนคอนกรีต391


ตารางการซอมแซมที่อยูอาศัยและราคาในการซอมแซมที่ผานมา (ตอ)รูปแบบที่อยูอาศัย เริ่มการกอสราง การซอมแซมที่อยูอาศัย ราคาคาซอมแซมตอเติมกันสาดตอเติมหองครัวและดีดบานพ.ศ. 2494 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2550แนวเขตที่ดินWALLROOFตอเติมหองนอนพ.ศ. 2499 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2550พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2538กระเบื้องยางเปนหินขัดพ.ศ. 2511 พ.ศ. 2535พ.ศ. 2550392


จากตารางการซอมแซมที่อยูอาศัยและคาใชจายในการซอมแซมในชุมชนบางนอยนอก ทําใหทราบวาเรือนไทยภาคกลางที่อยูบริเวณพื้นที่สวนจะมีอายุอาคารที่เกามากที่สุด คือ 100 ป และตามมาดวย เรือนไมพื้นถิ่นเรือนแถวริมน้ํา เรือนประยุกต และอาคารสมัยใหม ตามลําดับ ซึ่งการซอมแซมที่ผานมา ปญหาดานกายภาพที่เกิดขึ้นมากที่สุดที่ตองทําการซอมแซม คือ การเปลี่ยนวัสดุมุงหลังคาเนื่องจากมีอายุการใชงานมานานและชํารุดการเปลี่ยนและซอมแซมฝาผนัง การซอมพื้น และการซอมแซมเสาเข็ม สวนคาใชจายในการซอมแซม หรือตอเติมสวนมากจะอยูในราคาประมาณ 6,000 – 160,000 บาท ตามความสามารถในการจายของผูอยูอาศัยลักษณะของการซอมแซมเนื่องจากที่อยูอาศัยดังที่กลาวมาขางตน ที่เกิดปญหาดานกายภาพ ทั้ง วัสดุมุงหลังคา ผนัง พื้น และเสาเข็ม นั้นทําใหเกิดลักษณะการซอมแซมที่อยูอาศัยที่แตกตางกัน ในดานการใชวัสดุ และภูมิปญญาของชาวบานเอง ดังนั้นการซอมแซมที่พบเห็นไดทั่วไปในพื้นที่ จะมีลักษณะตางๆดังนี้วัสดุมุงหลังคาการซอมแซมหลังคา โดยสวนมากที่อยูอาศัยที่เปนพื้นถิ่นจะมีการใชวัสดุมุงหลังคาเปนสังกะสี หรือมุงจาก แตเนื่องจากวัสดุที่ใชไมมีความคงทน ในปจจุบันชาวบานนิยมเปลี่ยนมาใชวัสดุมุงเปนกระเบื้องลอนมากขึ้นฝาผนังอาคารการซอมแซมฝาผนัง โดยสวนมากการซอมแซมฝาผนังชาวบานจะใชไมเกามาซอม แลววางไมแผนตามแนวขวางหรือวางตามแนวยาวตามแบบฝาผนังเดิมพื้นอาคารการซอมแซมพื้น โดยสวนมากการซอมแซมพื้นชาวบานจะรื้อวัสดุเดิมออกซึ่งสวนมากจะเปนไม แลวใชคอนกรีตเทพื้นแทน หรือบางหลังจะใชวัสดุพื้นคอนกรีตสําเร็จ393


เสาอาคารการซอมแซมเสาอาคาร โดยใชสังกะสีทั้งแผนแลวนํามาลอมเสาเข็มที่ชํารุด และฝงลงไปในดินประมาณ 30-50 ซ.ม. แลวกรอกน้ําปูนลงไปบทสรุปชุมชนบางนอยนอกเปนชุมชนที่ควรคาแกการอนุรักษและยังรักษาคุณคาทางสังคม เอาไวเปนอยางดีแตเนื่องจาก พื้นที่ดังกลาวเปนชุมชนที่เกาแกมีอายุของอาคารบานเรือนบางหลังเปนรอยป ถึงแมวาในปจจุบันจะมีอาคารบานเรือนที่เปนแบบสมัยใหม เกิดขึ้นในพื้นที่มากมาย แตปญหาดานกายภาพของที่อยูอาศัยในพื้นที่ก็มีอยูมากมายเชนกัน ปญหาที่พบจากการสํารวจ คือ วัสดุมุงหลังคามีการชํารุดทรุดโทรม วัสดุผนังและวัสดุพื้นหลุดรอนออกหรือวัสดุเสื่อมสภาพเกิดเปนชอง เสาเข็มทรุดและผุ จากการใชงานมานาน และขาดการบูรณะซอมแซมใหอยูในสภาพที่ใชงาน และปลอดภัยได ปจจัยที่สําคัญหนึ่งที่สงผลในการเกิดปญหาดานที่อยูอาศัยคือ รายไดของครัวเรือน ที่มีรายไดต่ํา รวมถึงขาดความรูความเขาใจในการซอมแซมและการเลือกใชวัสดุที่ไมคงทน อันเนื่องมาจากขอจํากัดที่ไมสามารถซื้อวัสดุใหมที่มีราคาแพงได ถาปลอยใหเปนอยางนี้ตอไป ชาวบานจะไมมีโอกาสในการซอมแซมที่อยูอาศัยไดจากประเด็นดังกลาว ผูที่เกี่ยวของ ทั้งในสวนของเทศบาล การเคหะแหงชาติ สถาบันการศึกษา ควรมีการอนุรักษดานความรูพื้นถิ่นและการเรียนรูเกี่ยวกับภูมิปญญาในการกอสรางเพื่อการซอมแซมแบบดั้งเดิม และการแกปญหาที่เรงดวน คือ การสํารวจที่อยูอาศัยที่ในชุมชนบางนอยนอก ที่มีปญหาดานกายภาพ หรือมีความทรุดโทรมของอาคาร และหาแนวทางในการชวยเหลือและผลักดันใหหนวยงานที่เกี่ยวของเขามาซอมแซมที่อยูอาศัยใหชาวบานตามความเหมาะสมในเบื้องตน หลังจากนั้นใหความรูความเขาใจกับชาวบานในการพึ่งพาตนเองใหมากที่สุด เนื่องจากชาวบานมีฐานะยากจนจึงไมมีความสามารถในการซอมแซมที่อยูอาศัยเองได รวมถึงการศึกษาวัสดุที่สามารถนํามากอสรางภายในทองถิ่น แลวจะพบวาการใชวัสดุทองถิ่นในการกอสรางอาคารหรือการซอมแซมนั้น เปนการสะทอนลักษณะของทองถิ่นนั้นๆ ไมวาจะเปนทรัพยากรที่สามารถหาหรือผลิตไดเองในพื้นที่และรูปแบบการกอสรางที่ไดพัฒนาในทองถิ่น รวมถึงกรณีที่ซอมแซมที่อยูอาศัยที่ชาวบานสามารถซอมแซมเองได จะเกิดประโยชนมากมายกับผูอยูอาศัยทั้งทางดานความปลอดภัยในการอยูอาศัย และ ใชวัสดุกอสรางที่สอดคลองกับที่อยูอาศัย ยิ่งไปกวานั้นการใชวัสดุทองถิ่นยังเปนการสงเสริมเศรษฐกิจในระดับทองถิ่น ในแงของการกระจายผลิตภัณฑและฝมือแรงงานในทองถิ่นไดอีกดวย394


บรรณานุกรมเชษฐา พลายชุม, รูปแบบสถาปตยกรรมไทยสมัยใหม : วัสดุกอสรางและเทคโนโลยที่เกี่ยวของ , วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2541ทรงเกียรติ เที้ยธิทรัพย. เทคโนโลยีการกอสรางอาคารพักอาศัยที่เหมาะสม สําหรับพื้นที ่ปากแมน้ําเจาพระยา:กรณีศึกษา หมูบานสาขลา ต.นาเกลือ อ.พระสมุทรเจดีย จ.สมุทรปราการ .วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต. ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร , การศึกษาที่อยูอาศัยริมน้ําบริเวณลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลาง กรณีศึกษาบริเวณตลาดน้ําบางคูเวียง , สาระศาสตรสถาปตย , 2542 , หนา 239-252.เพียรกานต วงศวาณิชยศิลป , แนวทางการอนุรักษและฟนฟูชุมชนคลองบางนอย จังหวัดสมุทรสงคราม ,วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางผังเมือง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ,2550.พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ,2543 .หนา 511เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง การประเมินวัฎจักรชีวิต (Life Cycle Assessment; LCA) เครื่องมือเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันสูตลาดโลก กรณีศึกษาเรื่อง” การเตรียมฐานขอมูลเพื่อการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ: ฐานขอมูลวัฎจักรชีวิตโรตารี่คอมเพรสเซอร” จัดโดย กลุมวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสะอาดศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (11มกราคม 2548)Edwards,B.& Turrent,D.(2000).Sustainable housing : Principles&practice. London:E & FN Spon.Harold K. Dancy . A Manual of Building Construction. London: Intermediate TechnologyDevelopment Group, 1977.Nahoum Cohen , Urban Conservation ,The MIT Press Cambridge:Massachusetts ,1999 , p.9-67.Roland Stulz and Kiran Mukerji. Appropriate Building Materials. Switzerland : SKATpublications,1984.395


รูปแบบที่อยูอาศัยและการอยูอาศัยในชุมชนคลองบางนอยนอกตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามHOUSING PATTERNS AND LIVING CONDITIONS OF BANGNOINOK COMMUNITY, KRADANGNGA SUBDISTRICTBANG KHONTHI DISTRICT, SAMUT SONGKHRAM PROVINCEนางสาวจาราภิวันท ทวีสิทธิ์หลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอชุมชนบางนอย ตั้งอยูริมคลองบางนอยในจังหวัดสมุทรสงคราม โดยตั้งอยูริมคลองบางนอยซึ่งเปนหนึ่งในเสนทางการคมนาคมสายหลักในโครงขายลุมแมน้ําแมกลอง-ทาจีน มีประวัติศาสตรมายาวนาน เคยเปนศูนยกลางของวิถีชีวิตริมน้ํา การคาขายและเสนทางสัญจรหลักที่เชื่อมตอเปนโครงขาย ในปจจุบันหลงเหลือนอยหรือแทบจะหายไปอันเกิดสภาพปญหาเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิตและการคมนาคมจากทางน้ําเปนทางบก การปฏิสัมพันธของผูคนกับสายน้ําลดลง เชน ตลาดน้ําหายไป เกิดภาวะซบเซาของเรือนแถวรานคาริมน้ํายานปากคลอง คนรุนใหม หายไปจากชุมชน เนื่องมาจากการศึกษา การยายถิ่นฐาน การเปลี่ยนอาชีพจากภาคเกษตรกรรมมาเปนภาคอุตสาหกรรม เชน จากประกอบอาชีพทําสวนเปลี่ยนไปทํางานในโรงงาน เหลือเพียงคนรุนเกาและเด็กที่อาศัยอยูในพื้นที่เทานั้น การอยูอาศัยของคนในพื้นที่จึงมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปตามกาลสมัย การประกอบอาชีพ เทคโนโลยีอันทันสมัยตางๆเขามาสูชุมชน เกิดที่อยูอาศัยในรูปแบบตางๆในขณะที่วิถีชีวิตเดิมๆยังคงเหลืออยู พบปญหาของบานที่มีลักษณะดั้งเดิมมีการใชไมและสรางขนาดใหญ เกิดการใชพื้นที่ไมมีประสิทธิภาพตามมา แตโดยรวมของชุมชนยังคงมีลักษณะการเกื้อหนุนระบบเครือญาติ ถอยทีถอยอาศัยยังคงปรากฏใหเห็นซึ่งเปนเอกลักษณสําคัญของชุมชน จึงทําการศึกษาโดยการสํารวจพื้นที่โดยรวมและสัมภาษณผูอยูอาศัย สํารวจ บันทึกขอมูลที่อยูอาศัยรูปแบบตางๆในชุมชนที่นาสนใจการศึกษาที่ผานมามีการแบงประเภทที่อยูอาศัยตามลักษณะทางกายภาพ เปน 5 ประเภท คือ เรือนพื้นถิ่น เรือนไทย เรือนแถว เรือนไทยประยุกต และอาคารสมัยใหม แตจากการลงสํารวจพื้นที่ พบวาปจจุบันชุมชนบางนอยมีรูปแบบที่อยูอาศัยที่หลากหลาย มากกวา 5 ประเภทเปน 7 ประเภท คือ เรือนพื้นถิ่นดั้งเดิม เรือนพื้นถิ่นยุคใหม เรือนไทย เรือนแถวเรือนประยุกตแบบดั้งเดิม เรือนประยุกตดวยวัสดุ และอาคารพักอาศัยสมัยใหม มีการใชพื้นที่ภายในบานสัมพันธกับอาชีพและรายไดของผูอยูอาศัย โดยมีการอยูอาศัยที่แตกตางกันตามลักษณะอาชีพ รายได กรรมสิทธิ์ในการอยูอาศัย ตลอดจนลักษณะการซอมแซมบาน การเลือกใชเทคโนโลยีและวัสดุ อันนํามาใหเกิดรูปแบบบานที่หลากหลายดังกลาวการศึกษาครั้งนี้ ทําใหทราบถึงสถานการณดานที่อยูอาศัยของชุมชนบางนอยในปจจุบัน ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจซึ่งสงผลมาถึงวิถีชีวิตความเปนอยู การอยูอาศัย และ เพื่อประโยชนในการพัฒนาหรือเปลี่ยนสภาพทองที่ในอนาคต ใหสงผลตอวิถีชีวิตเดิมใหนอยที่สุด อีกทั้งเปนการสรางฐานขอมูลใหแกภาครัฐและผูประกอบการภาคเอกชนในการกอสรางที่อยูอาศัยที่เหมาะสมใหกับคนในทองถิ่น ตลอดจนเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายเพื่อการพัฒนาพื้นที่เพื่อการอยูอาศัยและที่สําคัญเพื่อใหประชาชนในพื้นที่ตระหนักถึงคุณคาของที่อยูอาศัย ตลอดจนวิถีชีวิต วัฒนธรรมใหคงอยูสืบไป396


ความเปนมาทามกลางกระแสโลกาภิวัตนที่ที่อยูอาศัยและชุมชนสวนใหญไดรับผลกระทบ มีการเปลี่ยนแปลงทั้งวิถีชีวิต การอยูอาศัยและรูปแบบที่อยูอาศัย คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จึงไดเห็นความสําคัญในการที่จะสืบคนนวัตกรรมเคหะชุมชน ซึ่งสามารถประสานการพัฒนาในกระแสโลกาภิวัตนกับความเปนทองถิ่นไดสอดคลองและกลมกลืนและไดเลือกจังหวัดสมุทรสงครามเปนพื้นที่ศึกษา เนื่องจากจังหวัดสมุทรสงครามและชาวสมุทรสงครามมีเปาหมายในการอนุรักษและฟนฟูเอกลักษณความเปนทองถิ่นของตนไวผลจากการศึกษาที่ผานมาพบวา ชุมชนบางนอย เปนชุมชนที่นาอยูมีการตั้งถิ่นฐานมานาน มีที่อยูอาศัยแบบดั้งเดิมที่มีรูปแบบเปนเอกลักษณ มีความเปนชุมชนดั้งเดิมที่นาอยู อีกทั้งเปนการศึกษาตอยอดจากวิทยานิพนธของภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง โดยการศึกษาบานในชุมชนบางนอย มีประเด็นการศึกษาหลักคือ การจัดวางพื้นที่วางและการใชสอยพื้นที่ตามกิจกรรมตางๆและรูปแบบสถาปตยกรรม จึงมีความจําเปนที่ตองศึกษาถึงผูอยูอาศัย ทางดานพฤติกรรม อาชีพประเพณี ศาสนา ซึ่งสงผลตอการจัดรูปแบบของพื้นที่ภายใน ในชวงเวลาหรือยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ โดยมีวัตถุประสงคในการศึกษาหลัก 3 ขอ คือ1. เพื่อศึกษารูปแบบของที่อยูอาศัย ในชุมชนบางนอยนอกในปจจุบัน2. เพื่อศึกษาการอยูอาศัยของผูอยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอก3. เพื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางรูปแบบที่อยูอาศัยและลักษณะการอยูอาศัย เพื่อนําไปสูขอเสนอแนะแนวทางพัฒนาที่อยูอาศัยที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของผูอยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกวิธีการศึกษาทําการสํารวจที่อยูอาศัยที่ตั้งอยูในเขต อบต.กระดังงา โดยเขาไปทําการสํารวจขอมูลทางกายภาพแบบ โดยสุมตัวอยางแบบ Accidential Sampling จํานวน 25 ตัวอยางในเบื้องตน ทําการรังวัด ศึกษาการใชพื้นที่ภายใน พฤติกรรมการอยูอาศัย วิเคราะหรูปแบบทางสถาปตยกรรมและสัมภาษณเจาของบานหรือผูอยูอาศัยที่ใชพื้นที่ในปจจุบัน ในเรื่องของการประกอบอาชีพ ระบบเศรษฐกิจในครัวเรือน อันสงผลตอการตอเติม ลักษณะวิถีชีวิต การประกอบอาชีพ กิจกรรมตางๆ ที่สัมพันธกับพื้นที่ใชสอยภายในบาน วัฒนธรรม ความสัมพันธกับองคประกอบอื่นๆของชุมชนภาพรวมของบางนอยชุมชนบางนอย ตั้งอยูริมคลองบางนอยในจังหวัดสมุทรสงคราม โดยตั้งอยูริมคลองบางนอยซึ่งเปนหนึ่งในเสนทางการคมนาคมสายหลักในโครงขายลุมแมน้ําแมกลอง-ทาจีน มีประวัติศาสตรมายาวนาน เคยเปนศูนยกลางของวิถีชีวิตริมน้ํา การคาขายและเสนทางสัญจรหลักที่เชื่อมตอเปนโครงขาย ในปจจุบันหลงเหลือนอยหรือแทบจะหายไปอันเกิดสภาพปญหาเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิตและการคมนาคมจากทางน้ําเปนทางบก การปฏิสัมพันธของผูคนกับสายน้ําลดลง เชน ตลาดน้ําหายไป เกิดภาวะซบเซาของเรือนแถวรานคาริมน้ํายานปากคลอง คนรุนใหม หายไปจากชุมชน เนื่องมาจากการศึกษา การยายถิ่นฐาน การเปลี่ยนอาชีพจากภาคเกษตรกรรมมาเปนภาคอุตสาหกรรม เชน จากประกอบอาชีพทําสวนเปลี่ยนไปทํางานในโรงงาน เหลือเพียงคนรุนเกาและเด็กที่อาศัยอยูในพื้นที่เทานั้น การอยูอาศัยของคนในพื้นที่จึงมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปตามกาลสมัย การประกอบอาชีพ เทคโนโลยีอันทันสมัยตางๆเขามาสูชุมชน เกิดที่อยูอาศัยในรูปแบบตางๆในขณะที่วิถีชีวิตเดิมๆยังคงเหลืออยู พบปญหาของบานที่มีลักษณะดั้งเดิมมีการใชไมและสรางขนาดใหญ เกิดการใชพื้นที่ไมมีประสิทธิภาพตามมา แตโดยรวมของชุมชนยังคงมีลักษณะการเกื้อหนุนระบบเครือญาติ ถอยทีถอยอาศัยยังคงปรากฏใหเห็นซึ่งเปนเอกลักษณสําคัญของชุมชน397


ที่ตั้งของชุมชนบางนอยอยูในเขตเทศบาลตําบลกระดังงา มีพื้นที่รวมประมาณ 1.32 ตร.กม ประมาณ 825 ไร มีประชากร 2,407 คน 673 หลังคาเรือน ความหนาแนน 932 คนตอ ตร.กม.673 หลังคาเรือน มีพื้นที่ครอบคลุมหมูที่ 6 และพื้นที่บางสวนของหมูที่ 1 หมูที่ 5 หมูที่ 7 หมูที่ 8 และหมูที่ 9 ของตําบลกระดังงาแมน้ําแมกลองคลองบางนอยพื้นที่ศึกษารูปที่ 1: แสดงพื้นที่ศึกษา รูปที่ 2: แสดงตัวอยางการแบงประเภทอาคารจากการศึกษารูปแบบบานตามลักษณะทางกายภาพตามผลการศึกษาของการศึกษาที่ผานมา สามารถจําแนกรูปแบบที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยนอกออกเปน 5 ประเภท ดังนี้1ตารางที่ 1 - รูปแบบและจํานวนที่อยูอาศัยของแตละประเภทในชุมชนบางนอยนอกประเภทที่อยูอาศัย จํานวนบาน (หลังคาเรือน) คิดเปนรอยละ1. เรือนแถวไม 106 15.752. เรือนไทยภาคกลาง 15 2.233. เรือนไทยประยุกต 9 1.344. เรือนไมพื้นถิ่น 176 26.155. อาคารสมัยใหม 367 54.53รวมทั้งสิ้น 673 100การศึกษาในครั้งนี้ จึงไดจํากัดจํานวนประชากรที่ศึกษาของประชากรศึกษาทั้งหมด 673 หลังคาเรือน พบวามีรอยละของประเภทที่อยูอาศัยเรียงจากมากไปนอยดังนี้ คือ อาคารสมัยใหม เรือนไมพื้นถิ่น เรือนแถวไม เรือนไทยภาคกลางและเรือนไทยประยุกต แสดงใหเห็นวาชุมชนบางนอยนอกประกอบไปดวยอาคารที่มีรูปแบบสมัยใหมและรูปแบบพื้นถิ่นเปนสวนใหญ มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่แสดงออกใหเห็นในรูปแบบตางๆ ทั้งแบบเกาและใหม โดยเฉพาะที่อยูอาศัยของคนในชุมชนผลการวิจัยจากการลงสํารวจที่อยูอาศัย โดยในขั้นตนไดจําแนกรูปแบบทางกายภาพออกเปน 5 ประเภทตามงานวิจัยกอนหนานี้ โดยไดเก็บขอมูลดานกายภาพและสังคม โดยไดขอมูลเบื้องตนดังนี้1เพียรกานต วงศวาณิชยศิลป, “แนวทางการอนุรักษและฟนฟูชุมชนคลองบางนอย จังหวัดสมุทรสงคราม,” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.398


1.รูปแบบเรือนแถวรูปที่ 3: แสดงตําแหนงที่ตั้งของที่อยูอาศัยที่ทําการสํารวจก = เรือนแถวก1- รานกัญญาภรณ ก4- บานคุณสถาพรก2- บานปาอัมพร ก5- บานคุณรัชนีก3- บานคุณบุญชวยข = เรือนไทยข1- อูหน่ําเฮง ข4- บานคุณสุวรรณาข2- บานอ.ประภา ข5- บานอ.เปรื่องข3- บานคุณพีระชาติค = เรือนประยุกตค1- บานพี่สมมาตร ค4-บานอดีตผูใหญวิชัยค2- บานพี่สมมาตร2 ค5-บานคุณโชคชัยค3- บานคุณสุภาภรณง = เรือนพื้นถิ่นง1- บานกงตี๋ ง4-บานคุณยายสมพงษง2- บานผูใหญหมู 7 ง5- บานคุณโสภาง3- บานคุณยายทองคําจ = อาคารพักอาศัยสมัยใหมจ1- บานคุณปราณี จ4-บานพจนจินดาจ2- บานนาสมหมาย จ5- บานชนาบดีจ3- บานปาบุญรอดก1-รานกัญญาภรณ ก2-บานปาอัมพร ก3-บานคุณบุญชวย ก4-บานคุณสถาพร ก5-บานคุณรัชนีรูปที่ 4: แสดงรูปแบบเรือนพักอาศัยแบบเรือนแถวจากการเก็บตัวอยางบานเรือนแถว พบวาการใชพื้นที่สวนที่มากที่สุดเปนพื้นที่สวนสําหรับประกอบอาชีพและเอนกประสงคเปนหลัก สืบเนื่องมาจากอาชีพดั้งเดิมของบรรพบุรุษ ซึ่งในปจจุบันยังคงทําตอเนื่องมา บางหลังจะเปลี่ยนอาชีพเปนอยางอื่น พื้นที่สวนที่ประกอบอาชีพจึงถูกแปรสภาพการใชงานเปนสวนเอนกประสงค และอื่นๆ ลักษณะกรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของวัดที่อยูใกลเคียงแผนภูมิที่ 1: แสดงการใชพื้นที่เฉลี่ยรูปแบบเรือนแถวลักษณะบานเรือนแถวไมในชุมชนนี้มีการใชพื้นที่ใชสอยเรียงลําดับจากมากไปนอย4อันดับแรกดังนี้ คือ สวนเอนกประสงค ประกอบอาชีพ สวนหลับนอน ระเบียง/ทางเดิน จะเห็นไดวาลักษณะดานที่ตั้งที่ติดอยูกับสายน้ําซึ่งเปนการคมนาคมหลักในอดีตสงผลใหพื้นที่สวนใหญของที่อยูอาศัยเปนพื้นที่เพื่อประกอบอาชีพ เชน คาขายเปนหลักตัวอยางกรณีบานเรือนแถวบานคุณบุญชวย ทิพยเนตร บานเลขที่ 56/6 หมู 6 มีผูอยูอาศัย 4 คน มีอาชีพรับจางทั่วไป รายไดเดือนละ 2,000 –3,000 บาท รวมรายไดของครอบครัว 11,000 – 12,000 บาท/เดือนมีปญหาปจจุบันดานรายไดในครัวเรือนไมเพียงพอ และไดแกปญหาโดยยืมเงินกองทุนหมูบาน399


ขอมูลดานที่อยูอาศัย อาคารมีอายุประมาณ 50 ป โดยคุณบุญชวยอาศัยอยูบานหลังนี้ตั้งแตเกิด กอสรางเองโดยบิดาและมีชาวบานมารวมกันสรางดวยโดยมีชางที่เปนหลัก ชื่อ ลุงแกและลุงกริ่น มีสถานภาพการครอบครองที่ดินเปนที่วัดมีระบบสาธารณูปโภคน้ําประปา ไฟฟา โทรศัพท ตลอดจนสายอินเตอรเน็ตพรอมรูปที่ 5: แสดงเรือนแถวคุณบุญชวยในอดีตอาชีพของครอบครัวคุณบุญชวย ในรุนปูและพอคือการคาขายและเคยมีพื้นที่สวนที่เปนคอกหมูอยูบริเวณหลังบาน มีสวนที่เปนครัวอยูดานหนาบานเนื่องจากการประกอบอาชีพในอดีต ปจจุบันพื้นที่คอกหมูที่ไมไดใชงาน ถูกปรับเปลี่ยนใหเปนพื้นที่เอนกประสงค เก็บของ และมีการตอเติมหองนอน ปรับปรุงหองน้ําดวยวัสดุใหมหลังบานรูปที่ 6: แสดงการใชพื้นที่ภายในเรือนแถวคุณบุญชวยจากการสัมภาษณเจาของบาน พบวาเจาของบานเองมีความหวงแหนในสถานที่ที่บรรพบุรุษเปนคนกอสราง-ตั้งถิ่นฐาน โดยไมคิดจะยายไปแหลงอื่น แมวาจะมีการประกอบอาชีพที่อยูหางไกลถามีการคมนาคมที่สะดวก ยานพาหนะเจาของบานและคนในบานก็ยังคงจะอยูตอไป นอกจากนั้นสภาพบานจะประสบปญหาดานความทรุดโทรม เสื่อมสภาพของวัสดุ เจาของบานจะซอมแซมเทาที่จําเปนและตามกําลังทรัพย อีกทั้งคาใชจายดานที่อยูอาศัยเชนคาเชาที่ คาสาธารณูปโภคตางๆอยูในระดับต่ําที่พอรับได ดานการใชพื้นที่ พบวาในอดีตการใชพื้นที่จะใชอยางเต็มศักยภาพมากกวาในปจจุบันเนื่องจากการประกอบอาชีพที่เปลี่ยนไปและจํานวนผูอยูอาศัยที่นอยลง2.รูปแบบทรงไทย, ดั้งเดิมข1-อูหน่ําเฮง ข2- บานอ.ประภา ข3- บานคุณพีระชาติ ข4- บานคุณสุวรรณา ข5-บานอ.เปรื่อง400


รูปที่ 7: แสดงรูปแบบเรือนพักอาศัยแบบทรงไทย-ดั้งเดิมการสํารวจที่อยูอาศัยประเภทเรือนไทย พบวาพื้นที่สวนที่ยังคงเปนพื้นที่สวนใหญของบานคือพื้นที่อเนกประสงคซึ่งในอดีตจากการสอบถาม จะเปนครอบครัวใหญ ซึ่งมีวิถีชีวิต ความเชื่อ ลักษณะการอยูอาศัยที่เปนกิจกรรมที่หลากหลายสามารถปรับเปลี่ยนแลวแตเทศกาล ประเพณี ปจจุบัน บางหลังไดปรับเปลี่ยนพื้นที่ใหเหมาะสมกับการประกอบอาชีพและรสนิยมของแตละคน แตถาบานหลังที่มีผูสูงอายุ หรือเจาของบานที่ยังคงมีชีวิตอยู จะมีการปรับเปลี่ยนการพื้นที่นอยกวาหลังอื่นๆ มีกรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองตกทอดมาจากบรรพบุรุษ บางสวนจะเปนของวัดแผนภูมิที่ 2: แสดงการใชพื้นที่เฉลี่ยรูปแบบเรือนไทยลักษณะบานเรือนไทยในพื้นที่มีการใชพื้นที่ใชสอยเรียงลําดับจากมากไปนอย4อันดับแรกดังนี้ คือ สวนเอนกประสงค สวนหลับนอนระเบียง/ทางเดิน ครัว เนื่องมาจากในอดีต มีลักษณะเปนครอบครัวใหญ มีฐานะ ประกอบอาชีพทําสวน มีพื้นที่มาก ประกอบกับกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย อาทิเชน การทําบุญ พิธีกรรมตางๆ ลานวิ่งเลนของลูกหลาน ทําใหพื้นที่อเนกประสงคมีขนาดใหญ ในปจจุบัน บางบานยังมีสมาชิกที่รักหวงแหนและเต็มใจที่ซอมแซมใหอยูสภาพเดิม แตยังมีบางสวนที่มีกําลังนอยในการซอมแซมดวยวัสดุไมเชนเดิมตัวอยางกรณีรูปแบบทรงไทย, ดั้งเดิมบานคุณคุณพีระชาติ สังขศิริ บานเลขที่ 14 หมู 8 มีผูอยูอาศัย 6 คน มีอาชีพรับเหมากอสราง มีรายไดรองคือทําสวนเชา เปนสวนสมโอ มีเงินออมเปนรายเดือนขอมูลดานที่อยูอาศัย อาคารสรางในป พ.ศ. 2451 อายุประมาณ 100 ป รุนคุณปู ซึ่งคุณปู จะประกอบอาชีพชาวสวน เปนคนพื้นที่ตั้งแตกําเนิด และคาดวาไมที่ใชนํามาจาก จ.กาญจนบุรี คุณพีระชาติอยูบานหลังนี้ตั้งแตเกิด มีชาวบานชวยกันสราง มีสถานภาพการครอบครองที่ดินเปนของตนเอง มีระบบสาธารณูปโภคพรอม ประปา ไฟฟาโทรศัพทปญหาที่อยูอาศัยของคุณพีระชาติที่ตองการแกไขคือ อยากจะกลับตัวบานหันหนาเขาทิศดานที่ติดถนน จากเดิมหนาบานจะหันหนาเขาคลอง เนื่องมาจากการคมนาคมในปจจุบัน และอาชีพที่ตองพบปะผูคน ทําใหคนที่ไปมาหาสูหาบานไดลําบากโดยจะเห็นดานหลังบานนั้น สวนปญหาทั่วไปพบวา สภาพโครงสรางและวัสดุตัวบานคอนขางเกาและขาดการบํารุงรักษา โดยคุณพีระชาติจะทําการซอมแซมและตอเติมในสวนที่จําเปนเทานั้น เชนโรงจอดรถ และทําการเสริมเสาบางตนดวยเสาคอนกรีตที่ผุกรอนไปบานคุณพีระชาติเปนตัวอยางที่ยังคงรูปแบบพื้นที่คงสภาพเดิม มีพื้นที่อเนกประสงคขนาดใหญ และมีพื้นที่ที่เปนหองพระและบรรพบุรษ มีการตอเติมโรงจอดรถเพิ่มเติมและหองน้ําเพื่อถูกสุขลักษณะดวยวัสดุใหม จากเดิมที่ใชลําคลองเปนหลักรูปที่ 8: แสดงเรือนไทยคุณพีระชาติ401


รูปที่ 9: แสดงการใชพื้นที่ภายในเรือนไทยคุณพีระชาติ3.รูปแบบพื้นถิ่นง1-บานกงตี๋ ง2-บานผูใหญหมู7 ง3-บานคุณยายทองคํา ง4-บานคุณยายสมพงษ ง5-บานคุณโสภารูปที่ 10: แสดงรูปแบบเรือนพื้นถิ่นในพื้นที่การสํารวจที่อยูอาศัยประเภทบานพื้นถิ่น พบวาขนาดพื้นที่ของบานพื้นถิ่นในยุคเรื่อมแรกจะมีขนาดที่เหมาะสมกับผูอยูอาศัยจริงในบานมีสวนการใชงานที่ครบและมีขนาดที่เหมาะสม กะทัดรัด ใชพื้นที่อยางเต็มประสิทธิภาพ โดยพื้นที่สวนที่เปนพื้นที่อเนกประสงคและเริ่มจะใหความสําคัญกับพื้นที่หลับนอนมากขึ้น เนื่องมาจากอาชีพของผูที่อยูอาศัยในบานพื้นถิ่นนี้จะประกอบอาชีพรับจาง หรือทํางานเล็กนอยอยูกับบาน จึงไมจําเปนที่มีพื้นที่อเนกประสงคเพื่อประกอบกิจกรรมรวมคน หรือประกอบอาชีพที่มีกําลังผลิตขนาดใหญ นอกจากนั้นยังมีความสัมพันธกับชุมชน สาธารณูปการอื่นๆมากกวาบานรูปแบบอื่นๆ มักจะเปนครอบครัวเล็กซึ่งแยกครอบครัวออกมาจากบานพอแม แตก็ยังคงอยูในระแวกเดียวกันหรืออยูในเขตพื้นที่เดียวกัน ลักษณะกรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของวัดที่อยูใกลเคียงแผนภูมิที่ 3: แสดงการใชพื้นที่เฉลี่ยรูปแบบเรือนพื้นถิ่นบานพื้นถิ่น ถือวามีจํานวนมากในพื้นที่ มีขนาดพื้นที่การใชงานครบครันแบบกะทัดรัด การใชงานหลักเปนพื้นที่อเนกประสงค และสวนหลับนอน มีการใชงานในทุกพื้นที่ขนาดเล็ก ถาเปรียบเทียบกับบานในรูปแบบอื่นๆ จะพบบานพื้นถิ่นในพื้นที่แยกออกเปน 2 รูปแบบยอยคือ บานพื้นถิ่นที่มีอายุมานานใชวัสดุดั้งเดิมในพื้นที่ และบานพื้นถิ่นที่มีอายุนอยกวา 20 ปที่กอสรางดวยวัสดุที่หาซื้อไดงายในรานขายวัสดุในทองถิ่น ราคาถูก402


ตัวอยางกรณีรูปแบบพื้นถิ่นบานคุณสมพงษ เทียบสิริ บานเลขที่ 11/9 หมู 9 อยูอาศัยเพียงคนเดียว ทําอาชีพเย็บกระทงโดยรายไดจากการเย็บกระทง 1000 อัน จะได 150 บาท 1 เดือนจะไดประมาณ 300-400 และจากลูกๆที่กรุงเทพสงมาใหเดือนละ 500 บาท เบี้ยผุสูงอายุเดือนละ 500 บาท รวมแลวจะไดเฉลี่ยเดือนละ <strong>13</strong>00-1400 บาท/ เดือนขอมูลดานที่อยูอาศัย อาคารมีอายุประมาณ 60 ป แตกอนซื้อไมไผมาแลวมาจางปลูก และตอนหลังเริ่มมีการรื้อสะพานแลวเจาของขายให อยูบานหลังนี้ตั้งแตอายุคุณยาย 15 ป โดยรุนพอแมซื้อไมมาแลวจางแรงงานปลูก สถานภาพการครอบครองที่ดินเปนที่วัด มีระบบสาธารณูปโภคน้ําประปา ไฟฟาปญหาที่อยูอาศัยที่เปนปญหาของคุณยายตอนนี้พบวามีลักษณะที่อยูอาศัยที่ไมมั่นคง แข็งแรง และไมมีกําลังทรัพยในการซอมแซม แตคุณยายสมพงษ ก็ยังคงจะอยูที่นี่ตอไปแมวาลูกๆมีความประสงคใหไปอยูที่กรุงเทพมหานครบานคุณยายสมพงษ ถือเปนเรือนพื้นถิ่นที่ทรงคุณคาในพื้นที่ เนื่องจากเปนเรือนเครื่องผูกที่หาไดยาก มีการใชฝาฟาก และพื้นที่การใชงานที่ครบ มีขนาดเล็กแตมีการใชงานไดดีสําหรับการอยูอาศัย 1-2 คนรูปที่ 11: แสดงเรือนพื้นถิ่นคุณยายสมพงษ4.รูปแบบประยุกตรูปที่ 12: แสดงการใชพื้นที่ภายในเรือนพื้นถิ่นคุณยายสมพงษค1 ค2 ค3 ค4 ค5บานคุณสมมาตร บานคุณสมมาตร ภุมรา บานคุณสุภาภรณ บานอดีตผูใหญวิชัย บานคุณโชคชัยรูปที่ <strong>13</strong>: แสดงรูปแบบเรือนประยุกตในพื้นที่403


ที่อยูอาศัยประเภทบานประยุกต พบวามีการประยุกตหลายดาน ทั้งทางดานการกอสราง วัสดุ ตลอดจนรูปแบบในการกอสราง หรือรื้อยายเพื่อสรางใหม รูปแบบของบานประยุกตของคนในพื้นที่สวนใหญจะเปนการประยุกตจากการนําเอาเรือนอาศัยเดิมในอดีตซึ่งมีรูปทรงและวัสดุแบบดั้งเดิมที่มีมาแตสมัยบรรพบุรุษยุคแรกมาสรางใหม โดยบางครอบครัวนํามาสรางโดยยกเรือนเดิมขึ้นชั้นสองแลวกอสรางบานกออิฐถือปูนเปนชั้นลาง เพื่อเพิ่มพื้นที่ใชสอยและความมั่นคงแข็งแรงของโครงสราง บนพื้นที่ที่มีกรรมสิทธิ์ที่ดินเปนของตนเองและของวัดบางสวน ในดานสภาพเศรษฐกิจพบวาครอบครัวที่อยูอาศัยในบานรูปแบบประยุกตนี้ จะเปนครอบครัวที่มีรายไดปานกลางคอนขางสูง และเปนครอบครัวยุคสมัยเกาที่ลูกๆเติบโตจนมีอาชีพและรายไดที่มั่นคงพื้นที่ใชสอยยังคงไวซึ่งพื้นที่อเนกประสงคเปนสวนมากที่สุดในบาน ทั้งนี้ชวงอายุของผูอยูอาศัยและเพื่อกิจกรรมการใชพื้นที่ที่ยังคงไวในรูปแบบสมัยกอน แตการใชพื้นที่จริงพบวาใชพื้นที่ไมเต็มประสิทธิภาพบางนัก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอาชีพและผูอยูอาศัยที่เปลี่ยนไปบานในรูปแบบประยุกตในพื้นที่ มีลักษณะการใชงานเชนเดียวกับบานเรือนไทย แตมีลักษณะสถาปตยกรรม ที่แตกตาง อาทิเชน ดวยวัสดุ หรือรูปทรงของอาคาร ตามความชอบสวนตัวของเจาของบาน ซึ่งยังคงความเปนอยูแบบเดิมของชาวชุมชนภายในรูปแบบบานประยุกตนี้แผนภูมิที่ 4: แสดงการใชพื้นที่เฉลี่ยรูปแบบเรือนประยุกตตัวอยางกรณีรูปแบบประยุกตบานคุณสุภาภรณ ดํารงรัตน บานเลขที่ 64 ในครอบครัวมีทั้งหมด 9 คน แตอาศัยอยูในบานทั้งหมด 5 คน สวนที่เหลือแตงงานแยกออกไปอยูตางหาก มีอาชีพดั้งเดิมคุณแมประกอบอาชีพชาวสวน มีที่ดินประมาณ 10 ไร แตตอนนี้แบงใหเชาปละประมาณ 3,000 บาท และรายไดจากนองๆในครอบครัวรับราชการ สงมาใหใชจายขอมูลดานที่อยูอาศัย อาคารหลังนี้สรางในป พ.ศ 2538 อายุอาคารประมาณ <strong>13</strong> ป แตกอนจะเปนบานไมเพียงชั้นเดียว มีหอง 3 หอง มีระเบียง แลวรื้อออก (สวนบานหลังเกาชั้นเดียวมีอายุประมาณ 100 ป) ตอนกอสรางเพิ่มเปน 2 ชั้น ใชไมที่เปนของเดิมเปนชั้นบนแตดานลางใชเปนการกออิฐฉาบปูน และวัสดุสวนมากจะซื้อมาจากแมกลองและในพื้นที่บางการกอสรางไดจางชางในพื้นที่สรางให มีชางมาทั้งหมดประมาณ 6 คน คากอสรางประมาณ 800,000 บาท โดยใชระยะเวลาในการกอสรางประมาณ 1 ป มีรายไดใชในการกอสรางมาจากการเก็บออมจากคนในครอบครัว กรรมสิทธิ์ที่ดินโดยเสียคาเชาวัดประมาณปละ 500 บาท มีระบบประปา ไฟฟา โทรศัพทรูปที่ 14: แสดงเรือนประยุกตคุณสุภาภรณบานคุณสุภาภรณ ถือเปนบานประยุกตในแงของวิธีการกอสรางและวัสดุ มีการใชงานที่เปลี่ยนไปเปนสมัยใหมมากขึ้น มีพื้นที่เปนสัดสวนกั้นดวยผนังชัดเจนใหความสําคัญกับพื้นที่หลับนอน เนื่องจากผูอาศัยจะเปนผูใหญถึงผูสูงอายุ มีการใชระบบคมนาคมทั้งทางบกและทางน้ําเนื่องจากที่ตั้งเอื้ออํานวย404


5.รูปแบบสมัยใหมรูปที่ 15: แสดงการใชพื้นที่ภายในเรือนพื้นประยุกตคุณสุภาภรณจ1- บานคุณปราณี จ2-บานคุณสมหมาย จ3- บานปาบุญรอด จ4-บานพจนจินดา จ5- บานคุณชนาบดีรูปที่ 16: แสดงรูปแบบอาคารพักอาศัยสมัยใหมในพื้นที่การสํารวจที่อยูอาศัยประเภทบานสมัยใหม เห็นไดชัดวา ผูอยูอาศัย ใหความสําคัญกับพื้นที่สวนหลับนอนหรือพื้นที่สวนตัวมากขึ้น อีกทั้งขนาดของพื้นที่หองน้ํา ที่มีขนาดมากขึ้นแสดงวาใหความสําคัญกับระบบสุขาภิบาลที่ถูกสุขลักษณะ และไดรับอิทธิพลรูปแบบบานแบบตะวันตกที่มีการกินอยูหลับนอนแยกเปนสัดสวนเห็นไดชัด ความสัมพันธของพื้นที่ตางๆโดยมีสวนอเนกประสงคเปนศูนยกลางนอยลง แตยังคงอยู โดยการใชงานจะรองรับกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงตามสาขาอาชีพ ลักษณะครอบครัวที่อยูอาศัยจะเปนครอบครัวเดี่ยวมากยิ่งขึ้น แยกพื้นที่อยูอาศัยชัดเจน มีกรรมสิทธิ์ที่ดินเปนของตนเอง แตมีความสัมพันธกันแบบเครือญาตินอยลงแผนภูมิที่ 5: แสดงการใชพื้นที่เฉลี่ยรูปแบบอาคารสมัยใหมตัวอยางกรณีรูปแบบสมัยใหมลักษณะบานเรือนไทยในพื้นที่มีการใชพื้นที่ใชสอยเรียงลําดับจากมากไปนอย4อันดับแรกดังนี้ คือ สวนเอนกประสงค สวนหลับนอน ระเบียง/ทางเดิน ครัว เชนเดียวกับบานเรือนไทย แตกตางกันที่รูปแบบและวัสดุที่นํามากอสราง และมีการแยกพื้นที่สวนหลับนอนชัดเจนมากกวาบานเรือนไทย ทั้งนี้อาจเปนเหตุมาจากฐานะ การประกอบอาชีพ405


บานคุณปราณี เจริญสุข บานเลขที่ 67 หมู 5 จํานวนผูอยูอาศัยทั้งหมด 4 คน อาชีพประกอบธุรกิจสวนตัว ดานการขนสง สินคาเกี่ยวกับสินคาอิเลคทรอนิคส มีรายไดหลักประมาณ เดือนละ 1 ลานบาทขอมูลดานที่อยูอาศัยอาคารเริ่มสรางประมาณ กรกฎาคม 2550 เปนอาคารใหม ปลูกมาประมาณ 8 เดือนระยะเวลาในการกอสรางประมาณ 8 เดือน ราคาคากอสราง 3,100,000 บาทโดยบริษัทผูรับเหมาจากกรุงเทพฯ เปนผูดําเนินการกอสรางอาศัยอยูในพื้นที่ 5 เดือน ใชคนงานในการกอสรางประมาณ 20 คนที่มาของรายไดในการกอสรางคือการทําธุรกิจจัดสง สถานภาพการครอบครองที่ดินเปนของตนเอง มีพรอมระบบสาธารณูปโภค น้ําประปา ไฟฟา โทรศัพทบานแบบสมัยใหมของคุณปราณี มีพื้นที่การใชงานที่ครบครันโดยเนนพื้นใชสอยสวนใหญเปนพื้นที่หลับนอนและพื้นที่อเนกประสงค ที่เรียกวาสวนรับแขกในรูปแบบบานสมัยใหม มีการจัดวางพื้นที่ที่เปนสัดสวนชัดเจน มีรูปแบบตะวันตกมากกวาแบบดั้งเดิมทั้งนี้เนื่องดวยการประกอบอาชีพและฐานะความเปนอยูที่ดีมาก เมื่อเทียบกับคนสวนใหญในชุมชนรูปที่ 17: แสดงอาคารพักอาศัยสมัยใหมคุณปราณีรูปที่ 18: แสดงการใชพื้นที่ภายในอาคารพักอาศัยสมัยใหมคุณปราณีสรุปผล1.รูปแบบที่อยูอาศัยในพื้นที่ชุมชนบางนอยนอก พบรูปแบบทางสถาปตยกรรมบานไดหลากหลายนอกเหนือจากสมมติฐานที่ตั้งไวคือ บานเรือนแถว บานเรือนไทย บานพื้นถิ่นดั้งเดิม บานพื้นถิ่นยุคใหม บานไทยประยุกตแบบดั้งเดิม บานไทยประยุกตดวยวัสดุ และบานสมัยใหม โดยกระจัดกระจายทั่วไป โดยบานที่เปนเรือนแถวจะมีการตั้งถิ่นฐานใกลเสนทางการคมนาคมทั้งทางน้ําและทางบก โดยในอดีตเปนแหลงที่ประกอบอาชีพของชาวจีนซึ่งมาตั้งรกรากในยุคแรกๆบริเวณปากคลอง บานที่มีรูปแบบดั้งเดิม พบวาสวนใหญเปนบานของชาวสวนที่มีพื้นที่สวนลอมรอบ บานพื้นถิ่น จะเปนรูปแบบบานที่มีการตั้งถิ่นฐานทั้งแบบอยูริมน้ําและลําดับถัดเขามาจากเรือนแถว บานสมัยใหมจะอยูติดกับถนน หรือใกลถนนมากที่สุด บานแบบประยุกตจะอยูกระจัดกระจาย ทั้งอยูริมน้ําและในสวน บางแหงอยูริมถนน สามารถแบงการตั้งถิ่นฐานขางตนดังสัญลักษณแสดง ดังนี้406


A= เรือนแถวB= เรือนพื้นถิ่นC= เรือนดั้งเดิม, เรือนไทยD= เรือนประยุกตE= อาคารสมัยใหมรูปที่ 19: แสดงสมมติฐานการตั้งถิ่นฐานของที่อยูอาศัยรูปแบบตางๆ2.ดานการใชพื้นที่การใชพื้นที่ในชุมชนริมคลองปจจุบัน ที่เปนรูปแบบบานเรือนแถว พื้นถิ่น และดั้งเดิม จะมีการใชพื้นที่สวนเอนกประสงคในการทํากิจกรรมตางๆหรือเพื่อเอื้อตอการประกอบอาชีพมากกวารูปแบบบานแบบอื่นๆ ในขณะที่บานประยุกตจนถึงบานแบบสมัยใหม มีการแบงสัดสวนพื้นที่การใชงานชัดเจนและมีพื้นที่ที่เปนสวนตัวมากขึ้น3.ดานความเปนอยูลักษณะการอยูอาศัยการอยูอาศัยของบานพื้นถิ่นและแบบดั้งเดิม จะมีการกินอยูหลับนอนในพื้นที่สวนเอนกประสงค ซึ่งเปนลักษณะการอยูอาศัยแบบดั้งเดิมของไทย มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมทั้งทางน้ํา ทางบก ตลอดจนความเชื่อในเรื่องตางๆเชนการหันทิศทางการนอน ตําแหนงของครัวและสิ่งเคารพบูชา สวนบานที่เริ่มจะเปนสมัยใหมในพื้นที่ ยังคงมีเรื่องความเชื่อของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพบูชา แตการกินอยูหลับนอนจะแบงเปนสัดสวนและเปนไปในรูปแบบคอนไปทางสมัยใหมเหมือนชาวตะวันตก โดยภาพรวมของพื้นที่ พบวาลักษณะ ความเปนอยูหรือวิถีชีวิตตางๆของชาวชุมชน ยังคงมีความเอื้อเฟอเผื่อแผมีความสัมพันธอันดีตอระบบชุมชนเชนเดิม ภายใตรูปแบบของที่อยูอาศัยที่แตกตางกันตามลักษณะอาชีพและรายไดของแตละครัวเรือนเทานั้น4.ความสัมพันธระหวางรูปแบบที่อยูอาศัยและลักษณะการอยูอาศัย- อายุบานกับที่อยูอาศัย อายุบานยิ่งเกามีการใชพื้นที่ไมเต็มประสิทธิภาพ แตความสัมพันธเครือญาติยังคงอยู ลักษณะเปนครอบครัวใหญ มีการใชพื้นที่อเนกประสงคที่ใหญที่สุดทํากิจกรรมหลากหลาย บานที่มีอายุนอยรูปแบบและวัสดุจะเปนสมัยใหมมากขึ้น เปนครอบครัวเดี่ยวที่แยกอยูบนพื้นที่ตัวเอง- จํานวนสมาชิกกับที่อยูอาศัย ปจจุบัน สมาชิกที่อยูอาศัยของชาวชุมชนเปนผูสูงอายุและเด็ก สวนผูอยูอาศัยที่เปนวัยทํางานบางบานที่รายไดครัวเรือนไมเพียงพอหรือไมมีพื้นที่ที่ประกอบอาชีพก็จะไปทํางานตางถิ่น นอกจากบานที่อยูไดไมเดือดรอน หรือมีที่ดินทําสวน ก็จะทํางานตามสถานที่ประกอบการ ราชการและเอกชนในพื้นที่- การใชพื้นที่กับรูปแบบที่อยูอาศัย การใชพื้นที่ในรูปแบบบานแบบตางๆสวนใหญแลวไมสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพของชาวชุมชนในปจจุบัน ทําใหเกิดปญหาที่อยูอาศัยทรุดโทรมตามมา พบในบานรูปแบบดั้งเดิมเปนสวนใหญ รองลงมาเปนบานแบบประยุกตที่พบวามีพื้นที่มากแตไมมีการใชสอย แตมีปญหาดานการบํารุงรักษานอยกวาแบบดั้งเดิม สรุปแลวโดยรวมพบวาบานแบบพื้นถิ่นจะมีศักยภาพการใชพื้นที่มากกวาบานในรูปแบบอื่นๆ โดยวัสดุการกอสรางจะหาไดทั่วไปตามรานคาในทองถิ่น407


- อาชีพของผูอยูอาศัยกับรูปแบบที่อยูอาศัย คนในชุมชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รูปแบบที่อยูอาศัยที่เอื้ออํานวยตอการประกอบอาชีพ ไดแก เรือนพื้นถิ่นและเรือนไทย เนื่องจากลักษณะพื้นที่ที่มีการใชสอยแบบยืดหยุน คือพื้นที่ใตถุน ใชเก็บอุปกรณเครื่องมือในการประกอบอาชีพ ในบางครัวเรือนมีรูปแบบที่อยูอาศัยเปนรูปแบบอาคารสมัยใหมหรือประยุกต แตยังคงยึดอาชีพเกษตรกรรม การทําสวน ทําใหตองมาใชพื้นที่สวนที่เปน Semi-outdoor ในสวนจอดรถหรือศาลาที่สรางขึ้นใหม โดยที่พื้นที่ภายในอาคารใหมที่สรางดวยสวนปดลอมชัดเจนนั้น ไมไดมีการใชงานหรือใชงานนอยในชวงกลางวันการประกอบอาชีพงานสํานักงาน ลูกจาง ที่ไมมีการประกอบอาชีพที่ครัวเรือน จะปรากฏในเรือนพักอาศัยรูปแบบอาคารสมัยใหมหรืออาคาร คสล.ติดดินที่ไมตองใชพื้นที่มาก ใหความสําคัญกับพื้นที่หลับนอนเพื่อพักผอนหลังจากทํางานนอกบานในชวงกลางวัน ผูอยูอาศัยเรือนพักอาศัยลักษณะนี้มีที่มีฐานะทางการเงินคอนขางดีตารางที่ 2: แสดงอาชีพของประชาชนในที่พักอาศัยรูปแบบตางๆรูปแบบที่อยูอาศัยอาชีพอดีตปจจุบันเรือนแถว คาขาย รับจาง, คาขาย, ทําโฮมสเตย (บางสวน)เรือนไทย ชาวสวน รับราชการ, ชาวสวนเรือนประยุกตเกา ชาวสวน, คาขาย รัฐวิสาหกิจ, รับราชการ, เอกชนเรือนพื้นถิ่นเกา ชาวสวน, คาขาย รับจางทั่วไปเรือนประยุกตใหม - เอกชน, อาชีพอิสระเรือนพื้นถิ่นใหม - รับจางทั่วไปอาคารสมัยใหม - เอกชน, ลูกจางประจําจากตารางแสดงใหเห็นวาอาชีพสวนใหญของคนในพื้นที่ศึกษาในอดีตคืออาชีพทําสวน ปจจุบันอาชีพสวนใหญกลายเปนรับจางทั่วไป หรือทํางานในสํานักงานมากขึ้น จึงไมมีความตองการพื้นที่สําหรับประกอบอาชีพดานการเกษตรดังในอดีต การอยูอาศัยสําหรับอาชีพนี้จึงปรากฏในเรือนพักอาศัยยุคหลังๆที่มีรูปแบบเปนอาคารสมัยใหม5.ปญหาดานที่อยูอาศัยปญหาของคนสวนใหญในพื้นที่พบวามีความเสื่อมโทรมของวัสดุ เชนไม โดยเฉพาะในสวนที่เปนโครงสราง ซึ่งเปนปญหามากสําหรับครอบครัวผูมีรายไดนอยที่จะซอมแซมบํารุงรักษา รองลงมาเปนที่อยูอาศัยทิ้งรางหรือไมมีผูอยูอาศัยการทิ้งรางนี้ อาจเปนสาเหตุใหคนนอกพื้นที่มาทําการจับจองพื้นทื่ และแปรสภาพเปนพื้นที่คาขายหรือมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงที่ไมสอดคลองกับวิถีชีวิตดั้งเดิม สมดุลของการอยูอาศัยที่เคยเปนมาเริ่มจะเปลี่ยนแปลงในบางพื้นที่ โดยเฉพาะบริเวณปากคลองบางนอย เปนตน6.ขอคนพบลักษณะทางกายภาพที่เปนผลมาจากปจจัยตางๆ1) การใชพื้นที่อเนกประสงคลดลงพื้นที่สวนรวมของครอบครัวลดลงแบงเปนสัดสวนชัดเจนพื้นที่ที่เปนสวนกลาง- เอนกประสงค = กกกรูปที่ 20: แสดงการเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่ของครัวเรือน408


2) มีพื้นที่ใชงานที่เพิ่มขึ้นและหายไปการใชสอยในพื้นที่บางสวนในอดีต ถูกปรับเปลี่ยนการใชสอย และเพิ่มพื้นที่ใชสอยเพื่อรองรับปจจัยที่5 เพิ่มเติม เชน การสรางโรงจอดรถเพิ่มขึ้นมา การลดความสําคัญของโรงจอดเรือ หรือทาน้ําหนาบานกลายเปนพื้นที่เก็บของหรือปลูกตนไมแทน ซึ่งในบางครัวเรือนที่มีฐานะดีและตั้งอยูในทําเลที่ดานหนาติดการสัญจรทางน้ําดานหลังติดการสัญจรทางบก จะมีพื้นที่ใชสอยทั้งสองอยางนี้ในบริเวณพื้นที่เรือน3) รูปแบบการกอสรางและการซอมแซมบานการสรางที่พักอาศัยดวยการรื้อที่พักอาศัยหลังเกามาสรางใหม ทั้งบนพื้นที่เดิมหรือบนผืนที่ดินแหงใหมพบไดมากในปจจุบัน เนื่องจากวัสดุเดิมที่สรางเชน ไมที่เปนองคประกอบตางๆของตัวเรือน มีความสวยงามและยังคงทนประกอบกับเจาของบานมีความผูกพันกับบานหลังเดิมที่บรรพบุรุษเปนผูสรางขึ้น จึงนํามาสรางใหมโดยมีโครงสรางกออิฐฉาบปูนเปนหลัก4) สภาพสังคมและวัฒนธรรมที่ไดรับผลจากที่อยูอาศัยพื้นที่ที่เปนสวนสัมพันธกับชุมชนเปลี่ยนไป มีสิ่งแสดงขอบเขตและปดกั้นความสัมพันธคือ รั้ว เพิ่มขึ้นอันเปนผลเนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจของครัวเรือนเองที่ดีขึ้นและไดรับอิทธิพลจากบานในเมืองที่มีการแบงขอบเขตชัดเจนอีกทั้งสภาพเศรษฐกิจของประเทศหรือทองที่เอง ที่กอใหเกิดการโจรกรรมทรัพยสินเพิ่มมากขึ้น ทําใหความไววางใจตอชุมชนเองนอยลงลักษณะการเชื่อมโยงระหวางเรือนพักอาศัยกับพื้นที่สวนกลางในอดีต มีความสัมพันธและมีการเขาถึงการปฏิสัมพันธกันไดโดยสะดวก มีเพียงตนไมใหญและไมพุมขนาดเล็กแสดงเปนขอบเขตอยางงายๆเทานั้น ปจจุบันมีการแบงขอบเขตพื้นชัดเจน ดวยการทํารั้วลักษณะตางๆขึ้นอยูกับฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน เชน รั้ว คสล. รั้วไมไผ หรือบางบานใชไมพุมมีหนามแหลมทําเปนรั้วแทนวัสดุถาวรรูปที่ 21: แสดงความสัมพันธระหวางที่วางของแตละครัวเรือนทางเดินเชื่อมระหวางเรือนบริเวณริมคลองที่ทางเทศบาลเปนหนวยงานเขามาพัฒนาปรับปรุงเปนโครงสรางคสล.จากเดิมเปนพื้นไม ถือเปนพื้นที่สวนกลางที่เชื่อมความสัมพันธระหวางคนที่อาศัยอยูริมคลอง จากการสํารวจพบวาคนที่อาศัยอยูริมคลองมีความสัมพันธกับระแวกบานที่อยูใกลกันมากกวาเรือนพักอาศัยที่อยูโดดๆ หรืออาคารสมัยใหมที่มีรั้วรอบขอบชิด5) ดานความสัมพันธกันในชุมชนสมัยกอนปจจุบันรูปที่ 22: แสดงการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธของแตละครัวเรือน409


6) การเปลี่ยนแปลงพื้นที่สวนกลางอันเปนตัวเชื่อมระหวางเรือนพักอาศัยรูปที่ 23: แสดงทางเดินริมคลองที่เปนพื้นที่สวนที่ใชรวมกันและลักษณะพื้นที่สวนกลางที่มีแนวโนมจะเกิดขึ้นในอนาคต7) การเปลี่ยนแปลงการเขาถึงพื้นที่เรือนพักอาศัยรูปที่ 24: แสดงการเขาถึงของชุมชนในอดีตและปจจุบันขอเสนอแนะจากการเก็บขอมูล งานวิจัยครั้งนี้ทําการศึกษาที่แตกตางจากงานวิจัยอื่นๆคือ ไดทําการศึกษาดานที่อยูอาศัย การอยูอาศัย การใชพื้นที่ภายใน ซึ่งงานวิจัยอื่นๆจะศึกษาดานภาพกวางที่เกี่ยวของกับดานผังเมืองและสิ่งแวดลอมการศึกษาดานการอยูอาศัยในครั้งนี้ อาจเปนสวนทําใหงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวของมีความสมบูรณในสวนของที่อยูอาศัยมากขึ้น การศึกษาเรื่องการทํารั๊ว การใชพื้นที่ภายในชองแตละอาชีพ แตละครอบครัวมีการใชที่แตกตางกันออกไปซึ่งมีความนาสนใจในแงของการเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่ตลอดจนการปรับปรุงตอเติม ซอมแซมบาน ใหสอดคลองกับวิถีชีวิตในปจจุบันโดยดํารงไวซึ่งเอกลักษณของพื้นที่และใหคนรุนหลังตระหนักถึงความสําคัญที่จะอยูอาศัยและหวงแหนในทรัพยากรที่มีอยูจากการลงสํารวจและสอบถาม คนรุนหลังที่จะเปนรุนตอมาจะมีการศึกษาที่สูงขึ้น มีอาชีพการงานที่ดีขึ้นซึ่งอาจไมเกี่ยวของกับสภาพสังคมและทรัพยากรที่เปนอยูหรือมีอยู สงผลใหการประกอบอาชีพเปลี่ยนไป การยายถิ่นฐานเพื่อใหใกลและสอดคลองกับวิถีชีวิตยุคใหม ซึ่งไมอาจปฏิเสธการพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมตลอดจนเทคโนโลยีดานตางๆ ซึ่งอาจทําใหที่อยูอาศัยในชุมชนบางนอยในอนาคตมีการเปลี่ยนแปลงไปใน 2 แงคือ เปลี่ยนโดยคนในชุมชนเองและเปลี่ยนแปลงโดยคนนอกชุมชน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงโดยคนในชุมชนเองนั้นยอมสงผลดีตอคนในพื้นที่ ทั้งทางเรื่องความเปนอยูและความตองการสิ่งตางๆ แตในปจจุบันคนนอกชุมชนกําลังจะเขามามีบทบาทตางๆที่สงผลกระทบตอชุมชน จึงจําเปนจะตองสรางความเขาใจและสรางจิตสํานึกในการอนุรักษหวงแหนพื้นที่ใหกับผูอยูอาศัยในชุมชน ทําความเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญในพื้นที่มากที่สุด เพื่อนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน สืบตอไปยังคนรุนหลังในอนาคต410


กิติกรรมประกาศงานวิจัยเปนสวนหนึ่งของหนวยวิจัยนวัตกรรมสิ่งแวดลอมเคหะชุมชน คณะสถาปตยกรรมศาสตรการอางอิงและเอกสารอางอิงผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม (ปรับปรุง<strong>ครั้งที่</strong> 2). เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม, กรกฎาคม 2551.แผนที่สิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม จังหวัดสมุทรสงคราม.พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. กรุงเทพฯ : โครงการอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรม : กองอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2548.เพียรกานต วงศวาณิชยศิลป. แนวทางการอนุรักษและฟนฟูชุมชนคลองบางนอย จังหวัดสมุทรสงคราม.วิทยานิพนธภาควิชาวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.ประวัติผูเขียนบทความนางสาวจาราภิวันท ทวีสิทธิ์ จบการศึกษาสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยขอนแกนในปการศึกษา2547 ปจจุบันเปนนิสิตภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทําวิทยานิพนธในหัวขอเรื่องรูปแบบที่อยูอาศัยและการอยูอาศัยในชุมชนคลองบางนอยนอก ตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามโทรศัพท 081-7697989 E-mail : jarapiwan@hotmail.com411


ปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยประเภทบานจัดสรร ระดับราคาปานกลางในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการFACTORS OF CHOOSING RESIDENCES AT AVERAGE PRICES PROVIDED BY HOUSINGESTATE COMPANIES IN PHRA SAMUT CHEDI DISTRICT, SAMUT PRAKARN PROVINCEบทคัดยอนางสาวธิดารัตน ใจเที่ยงหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในปจจุบันที่อยูอาศัย นับวามีความสําคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป เพราะวาที่อยูอาศัยมิไดเปนเพียงสถานที่พักผอนหลับนอนเทานั้น แตเปนศูนยรวมของครอบครัว ซึ่งในปจจุบันที่อยูอาศัยประเภทบานจัดสรรมีโครงการเกิดขึ้นอยางแพรหลาย อยางเชน ในจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเปนจังหวัดที่ตั้งอยูในเขตปริมณฑล จึงมีลักษณะทางการพัฒนาที่ไดรับอิทธิพลจากการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร สงผลใหมีลักษณะการกระจายตัวออกจากชุมชนดั้งเดิมในพื้นที่ชั้นใน ไปสูพื้นที่ชานเมืองและอาณาเขตรอบนอก จะเห็นไดจากการจัดสรรที่ดินภาพรวมสวนใหญการจัดสรรที่ดินป 2550 ลดลงจากป 2549 อยางเห็นไดชัดเจนเกือบทุกอําเภอ ยกเวนเพียงอําเภอพระสมุทรเจดีย ที่มีสัดสวนการเพิ่มขึ้นของการจัดสรรที่ดิน คิดเปน 88.34 % เมื่อมาเปรียบเทียบในชวงป 2550 พบวาอําเภอพระสมุทรเจดียมีสัดสวนการเพิ่มขึ้นของการจัดสรรที่ดิน คิดเปน88.34%การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค (1) เพื่อศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจของผูที่อาศัยอยูในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ (2) เพื่อศึกษาปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยของประชาชนในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการผลการศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจของผูอยูอาศัย พบวา สวนใหญชายกับหญิงมีสัดสวนที่ใกลเคียงกัน โดยมีชวงอายุในแตละชวงใกลเคียงกัน สวนใหญสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี รายไดเฉลี่ยตอเดือน 20,001-30,000 บาท มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีภูมิลําเนาเดิมตางจังหวัด โดยผูซื้อ ผูเปนกรรมสิทธิ์และผูมีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกที่อยูอาศัยปจจุบันสวนใหญเปนตัวเอง จํานวนสมาชิกในครอบครัวที่อยูอาศัยดวยกันสวนใหญ 2-4 คน ระยะเวลาที่อาศัยอยู ไมเกิน 1 ป ระยะทางระหวางที่ทํางานถึงบาน สวนใหญ 5-10 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทาง 16-30 นาที โดยมอเตอรไซดสวนตัว และผลการศึกษา ปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยของประชาชนในอําเภอพระสมุทรเจดีย พบวา ใหความสําคัญสูงสุดในดานราคา รองลงมาดานผลิตภัณฑ ดานเศรษฐกิจ และดานสังคมวัฒนธรรม ตามลําดับ โดยเรื่องที่ใหความสําคัญสูงสุด ไดแก เรื่องการมีสภาพแวดลอมที่ดีเปนธรรมชาติ เรื่องเปนพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมนอย เรื่องตองการมาตรฐานความปลอดภัย และเรื่องความมั่นคงของรายได และปจจุบันสวนใหญไมตองการที่อยูอาศัยใหมขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้สําหรับผูประกอบการ คือ (1)ผูประกอบการควรเลือกทําเลที่ตั้งที่จะทําโครงการ ที่มีในพื้นที่ที่น้ําไมทวมถึง และมีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และใกลสถานที่สําคัญตางๆ แลวควรพิจารณาเรื่องแผนพัฒนาตางๆ ประกอบการตัดสินใจ (2) ผูประกอบการควรชูจุดเดนทางการตลาดในดานเงื่อนไขทางการเงิน ใหชัดเจนยิ่งขึ้น วาสามารถผอนดาวนไดนาน และจํานวนเงินดาวนต่ํา เพราะเปนปจจัยที่สําหรับที่ทําใหเกิดการตัดสินใจซื้อ412


ในปจจุบันที่อยูอาศัย นับวามีความสําคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป เพราะเหตุวาที่อยูอาศัยมิไดเปนเพียงสถานที่พักผอนหลับนอนเทานั้น แตเปนศูนยรวมของครอบครัว ความตองการที่อยูอาศัยเปนเครื่องกระตุนใหเกิดการออมทรัพย และเปนการลงทุนในทรัพยสินเพื่อเปนรากฐานของครอบครัว การพัฒนาที่อยูอาศัย นอกจากเปนการพัฒนาทางดานสังคมสิ่งแวดลอมใหประชาชนไดมีที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพแลว ยังมีสวนชวยเสริมสรางและสนับสนุนกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกอใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมการกอสราง การวาจางแรงงาน การคา และธุรกิจ ฯลฯ เปนไปอยางตอเนื่อง 1 ซึ่งในปจจุบันที่อยูอาศัยประเภทบานจัดสรรมีโครงการเกิดขึ้นอยางแพรหลาย อยางเชน จังหวัดสมุทรปราการ เปนจังหวัดที่ตั้งอยูในเขตปริมณฑล จึงมีลักษณะทางการพัฒนาที่ไดรับอิทธิพลจากการขยายตัวของกรุงเทพมหานครโดยตรง สงผลใหมีลักษณะการกระจายตัวออกจากชุมชนดั้งเดิมในพื้นที่ชั้นใน ไปสูพื้นที่ชานเมืองและอาณาเขตรอบนอก จะเห็นไดจากการจัดสรรที่ดินภาพรวมสวนใหญการจัดสรรที่ดินป 2550 ลดลงจากป 2549 อยางเห็นไดชัดเจนเกือบทุกอําเภอ ยกเวนเพียงอําเภอพระสมุทรเจดีย ที่มีสัดสวนการเพิ่มขึ้นของการจัดสรรที่ดิน คิดเปน 88.34 % เมื่อมาเปรียบเทียบในชวงป 2550 พบวา อําเภอพระสมุทรเจดียมีสัดสวนการเพิ่มขึ้นของการจัดสรรที่ดิน คิดเปน 88.34 % ตามตารางที่ 1.1ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบจํานวนการจัดสรรที่ดินระหวางป 2549 กับป 2550 แยกตามอําเภอในจังหวัดสมุทรปราการอําเภอ 2549 2550 เพิ่ม/ลด %เพิ่ม/ลดบางบอ 559 473 -86 -15.38บางพลี 1,653 556 -1097 -66.36บางเสาธง 1,418 128 -1290 -90.97พระประแดง 84 62 -22 -26.19พระสมุทรเจดีย 1,081 2,036 955 88.34เมือง 3,834 2,541 -1293 -33.72รวมทั้งจังหวัด 17,258 11,592 -5666 -32.83ที่มา: สํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการซึ่งสิ่งที่ทําใหความเจริญเขามาสูอําเภอพระสมุทรเจดียมากที่สุด คือ ถนนวงแหวนรอบนอกใต ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ (บางพลี-บางขุนเทียน) ที่มีทางลงมาสูถนนสุขสวัสดิ์ ถนนสายหลักที่วิ่งเขาสูอําเภอพระสมุทรเจดียเพียง 5 นาที สําหรับการคมนาคมที่มาสนับสนุน เมื่อพิจารณาจากผังเมืองรวมแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการใหเกิดถนนคูเศรษฐกิจหลัก นั่นคือ ถนนสุขสวัสดิ์ และถนนประชาอุทิศ โดยมีการวางระบบถนนในเชิงโครงตาขายหรือแนวเสน Grid เพื่อเพิ่มทางเลือกในการสัญจรใหมากขึ้นในเขตพื้นที่โรงงาน และ1สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2526, หนา 14<strong>13</strong>


ชุมชนโดยรอบใหเพียงพอตอการรองรับการคมนาคมทั้งอําเภอทั้งในลักษณะของการขนสงเพื่ออุตสาหกรรมและการสัญจรทั่วไป1.ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ (บางพลี-บางขุนเทียน) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกใต ระยะทาง 22.5กิโลเมตร โดยแนวสายทางเริ่มจากถนนพระรามที่ 2 ที่บริเวณปลายทางหลวงหมายเลข 9 (บางปะอิน-บางขุนเทียน) ไปทางทิศเหนือ ผานถนนสุขสวัสดิ์ ขามแมน้ําเจาพระยาที่อําเภอพระประแดง ผานถนนสุขุมวิท ถนนศรีนครินทร ถนนเทพารักษ สิ้นสุดโครงการที่ทางหลวงหมายเลข 34 (บางนา-บางปะกง) และเชื่อมตอกับทางพิเศษบูรพาวิถีในอนาคตรูปที่ 1.1 แสดงการพัฒนาในพื้นที่ที่ภาครัฐไดลงทุนระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ (บางพลี-บางขุนเทียน)รูปที่ 1.2 แสดงตําแหนงโครงการบานจัดสรร และโรงงานอุตสาหกรรมในอําเภอพระสมุทรเจดีย414


ดังนั้นการทราบปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยประเภทบานจัดสรร ระดับราคาปานกลาง ในอําเภอพระสมุทรเจดีย ในอนาคตยอมจะเปนประโยชนตอการวางแผนแกไขปญหาที่อยูอาศัยและเปนการวางแผนเตรียมการปองกันปญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตตอไปวัตถุประสงค (1) เพื่อศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจของผูที่อาศัยอยูในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ (2) เพื่อศึกษาปจจัยในการตัดสินใจซื้อที่อยูอาศัยในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ ขอบเขตงานวิจัย (1) ขอบเขตพื้นที่ อยูในเขตพื้นที่การปกครองของอําเภอพระสมุทรเจดียทั้งหมด(2) ขอบเขตในการศึกษา ไดแก ขอบเขตระยะเวลาในการวิจัยเริ่มตนศึกษาปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยตั้งแตป พ.ศ. 2549-2550 เนื่องจากเปนชวงที่มีสัดสวนการเพิ่มขึ้นของการจัดสรรที่ดิน คิดเปน 88.34 % ซึ่งแสดงใหเห็นไดชัดเจนถึงการเปลี่ยนแปลงในการเพิ่มขึ้นของที่อยูอาศัยของอําเภอพระสมุทรเจดีย และ ขอบเขตประชากร ไดแก ผูที่อาศัยอยูในโครงการที่อยูอาศัย และผูประกอบการที่พัฒนาโครงการบานแถว ระดับราคาบาน 500,000-1,000,000 บาท ซึ่งเปนแบบบานที่มีการขออนุญาตจัดสรรมากที่สุดในทําเลที่ตั้งอยูในพื้นที่เขตอําเภอพระสมุทรเจดีย ที่ไดขออนุญาตจัดสรรที่ดิน ตั้งแต ป พ.ศ. 2549-2550 ซึ่งจากการวิจัยครั้งนี้คาดวาสามารถนําไปใชเปนขอมูลในการลงทุนดานที่อยูอาศัยของภาคเอกชน โดยสามารถวางแผนการผลิตที่อยูอาศัยใหสอดคลองกับความตองการของประชาชนไดและเปนขอมูลในการประสานงานจัดการที่อยูอาศัยของภาครัฐระดับทองถิ่นกับภาคเอกชน ในการวางแผน และแกไขปญหาเกี่ยวกับที่อยูอาศัยวิธีดําเนินการวิจัย มีขั้นตอนการดําเนินการดังตอไปนี้(1) การศึกษาขอมูลทุติยภูมิ โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัย จากการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารหนังสือ ตํารา รายงาน งานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อใชเปนแนวทางในการกําหนดตัวแปร สรางแบบสอบถามและหัวขอในการศึกษา ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการศึกษา(2) กําหนดกลุมตัวอยาง โดยคัดจากประชากรที่อาศัยอยูในโครงการที่อยูอาศัย และผูประกอบการพัฒนาโครงการที่ดินในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ ป 2549-2550 บานแถว ระดับราคา500,000-1,000,000 บาท มีจํานวนบาน 2,152 หลัง จากโครงการ 10 โครงการ ครอบคลุม 3 ตําบล ไดแก ตําบลในคลองบางปลากด ตําบลนาเกลือและ ตําบล คลองสวน ดวยหลักการคํานวณของ YAMANE’S ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ไดขนาดตัวอยางเทากับ 337 คน โดยจะสอบถามจากหัวหนาครอบครัว 1 หลัง : 1 คน(3) สรางแบบสอบถาม ตรวจสอบและทดสอบแบบสอบถาม ปรับแกไขจนครอบคลุมวัตถุประสงคที่ตองการศึกษา(4) เก็บรวบรวมขอมูล โดยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นมาไป เก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามครั้งเดียวโดยผูใหขอมูลเปนผูตอบเอง นําขอมูลที่ไดไปสัมภาษณผูประกอบการเพื่อใหทราบประเด็นและปจจัยที่แทจริงในการเลือกที่อยูอาศัยในมุมมองของผูประกอบการและผูบริโภคผลการศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจของผูที่อาศัยอยูในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการจากการวิจัยพบวาผูอยูอาศัยในพื้นที่สวนใหญเพศชายกับเพศหญิงสัดสวนที่ใกลเคียงกัน สถานภาพ415


สมรส ระดับการศึกษาขั้นสูงสุด ปริญญาตรี ชวงอายุระหวาง 30-34 ป ชวงอายุระหวาง 35-39 ป และชวงอายุระหวาง 40-44 ป สัดสวนใกลเคียงกัน สวนใหญมีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 20,001-30,000 บาท โดยสวนใหญเปนผูที่อายุอยูในชวง 35 ปขึ้นไป รองลงมา 10,000-20,000 บาท โดยสวนใหญอยูในชวงอายุ 25-34 ป สวนใหญปจจุบันมีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน เดินทางโดยใชรถมอเตอรไซดสวนตัวมากที่สุด รองลงมา อาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ สวนใหญเดินทางโดยใชรถยนตสวนบุคคลมากที่สุด และ อาชีพขาราชการ สวนใหญเดินทางโดยใชรถยนตสวนบุคคลมากที่สุด มีภูมิลําเนาเดิมตางจังหวัด ที่อยูอาศัยสวนใหญเปนบานเดี่ยว รองลงมาเปนหองเชา และบานแถว ผูซื้อบานที่อยูอาศัยในปจจุบัน สวนใหญเปนตัวเอง รองลงมา เปน สามี/ภรรยา ผูเปนกรรมสิทธิ์ที่อยูอาศัยในปจจุบัน สวนใหญเปนตัวเอง รองลงมาเปนสามี/ภรรยา ผูมีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกที่อยูอาศัย สวนใหญเปนตัวเอง รองลงมาเปนสามี/ภรรยา จํานวนสมาชิกในครอบครัวที่อยูอาศัยดวยกันทั้งหมดสวนใหญ 2-4 คน สวนใหญระยะเวลาที่อาศัยอยู ไมเกิน 1 ป ระยะทางระหวางที่ทํางานถึงบาน สวนใหญ 5-10 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทาง 16-30 นาที เดินทางโดยรถประจําทาง รองลงมาระยะทางระหวางที่ทํางานถึงบาน ไมเกิน 5 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทางไมเกิน 15 นาทีเดินทางไปทํางาน โดยมอเตอรไซดสวนตัวขอมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม รายละเอียดตามตําบล พบดังนี้ผูอยูอาศัยมีสัดสวนเพศหญิงใกลเคียงกับเพศชาย เหมือนกันทั้งสามตําบล ผูอยูอาศัยสมรสและโสดใกลเคียงกัน ผูอยูอาศัยตําบลในคลองบางปลากดและตําบลคลองสวนสวนใหญมีจบการศึกษาขั้นสูงสุดระดับปริญญาตรีเหมือนกัน แตผูอยูอาศัยนาเกลือสวนใหญจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช./ปวส. ผูอยูอาศัยตําบลในคลองบางปลากดสวนใหญมีชวงอายุ 30-34 ป ซึ่งนอยกวาผูอยูอาศัยในตําบลคลองสวน สวนใหญชวงอายุ 35-39 ป และผูอยูอาศัยในนาเกลือ สวนใหญมีชวงอายุ 40-44 ป ซึ่งมากกวาตําบลอื่น ๆ ผูอยูอาศัยทั้งสามตําบลสวนใหญประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนเหมือนกัน โดยพบวาผูอยูอาศัยในตําบลในคลองบางปลากดสวนใหญมีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,000-20,000 บาท ซึ่งแตกตางจากตําบลนาเกลือและตําบลคลองสวน ที่สวนใหญมีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 20,001-30,000 บาทผูอยูอาศัยทั้งสามตําบลสวนใหญมีภูมิลําเนาเดิมตางจังหวัด รองลงมาอําเภอพระสมุทรเจดียเหมือนกันโดยที่อยูอาศัยเดิมของผูอยูอาศัยในตําบลในคลองบางปลากดและตําบลคลองสวนสวนใหญเปนบานเดี่ยวเหมือนกัน ซึ่งแตกตางจากผูอยูอาศัยในตําบลนาเกลือที่สวนใหญเปนหองเชา ผูอยูอาศัยสวนใหญเปนผูซื้อเองเปนเจาของกรรมสิทธิ์และตัวเองเปนผูที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจในการซื้อเหมือนกันทั้งสามตําบล ผูอยูอาศัยสวนใหญจํานวนสมาชิกในครอบครัวที่อยูอาศัยดวยกันทั้งหมด 2-4 คน เหมือนกันทุกตําบล โดยมีระยะเวลาที่อาศัยอยูไมเกิน 1 ป เหมือนกันทั้งสามตําบล ผูอยูอาศัยสวนใหญในตําบลคลองบางปลากดมีปญหาเรื่องน้ําทวมเหมือนกับตําบลนาเกลือ ซึ่งแตกตางจากตําบลคลองสวนซึ่งสวนใหญมีปญหาถนนไมดีแคบและการคมนาคมไมสะดวก ผูอยูอาศัยสวนใหญระยะทางระหวางที่ทํางานถึงบาน 5-10 กิโลเมตร เหมือนกันทั้งสามตําบล โดยผูอยูอาศัยในตําบลในคลองบางปลากดใชเวลาในการเดินทางไมเกิน 15 นาที สวนตําบลนาเกลือและคลองสวนสวนใหญใชเวลาเดินทาง16-30 นาที ผูอยูอาศัยสวนใหญใชมอเตอรไซดสวนตัวในการเดินทางเหมือนกันทั้งสามาตําบล ผูที่อยูอาศัยสวนใหญไมตองการที่อยูอาศัยใหม แตยังมีบางสวนที่ตองการที่อยูอาศัยใหมประเภทบานเดี่ยว คอนโดมิเนียม ในระดับราคา 1.5-1.99 ลานบาท โดยทําเลที่ตองการ คือ กรุงเทพและปริมณฑล416


ผลการศึกษาปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัยของประชาชนในอําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการจากการวิจัยดวยเครื่องมือแบบสอบถาม พบวา ผูที่มาเลือกอยูอาศัยในอําเภอพระสมุทรเจดียดวยเหตุผลทางตาง ๆ ที่สําคัญดังนี้ผูอยูอาศัยในอําเภอพระสมุทรเจดียใหความสําคัญสูงสุดในดานราคา รองลงมาดานผลิตภัณฑ ดานเศรษฐกิจ และดานสังคมวัฒนธรรม ตามลําดับ และเมื่อพิจารณารายหัวขอสูงสุด 3 อันดับในแตละตําบล พบวาปจจัยเรื่องการมีสภาพแวดลอมที่ดีเปนธรรมชาติผูอยูอาศัยในตําบลในคลองบางปลากดและตําบลนาเกลือใหความสําคัญสูงสุดอันดับแรก และตําบลคลองสวนใหความสําคัญเปนอันดับ 2 เรื่องเปนพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมนอย เปนหัวขอที่ผูอยูอาศัยในตําบลคลองสวนใหความสําคัญอันดับ 1 เรื่องตองการมาตรฐานความปลอดภัยผูอยูอาศัยในตําบลนาเกลือใหความสําคัญอันดับ 2 เชนเดียวกับผูอยูอาศัยในตําบลในคลองบางปลากดที่ใหความสําคัญอันดับ 3 และหัวขอสุดทายคือเรื่องความมั่นคงของรายไดผูอยูอาศัยในตําบลนาเกลือและคลองสวนใหความสําคัญอันดับ 3 เหมือนกัน ซึ่งแตกตางจากตําบลในคอลงบางปลากดที่หัวเรื่องนี้ผูอยูอาศัยไมไดใหความสําคัญติดอันดับ 1 ใน 3จากผลการวิจัยสามารถสรุปไดวา ปจจัยในการเลือกที่อยูอาศัย พบวาปจจัยหลักในการเลือก คือปจจัยดานราคา ในเรื่องเงื่อนไขในการชําระเงิน สามารถผอนดาวนไดนาน และไดต่ํา จึงทําใหผูซื้อที่มีรายไดระดับ 10,000-20,000 บาท มีกําลังผอนดาวนไดอยางสบายๆ และเมื่อแยกปจจัยในการตัดสินใจซื้อเปนหัวขอยอย พบวา มี 3 ปจจัย ดังนี้ (1)การมีสภาพแวดลอมที่ดี เปนธรรมชาติ ไมมีมลภาวะและเปนพื้นที่ที่มีโรงงงานอุตสาหกรรมนอย เนื่องจากอําเภอพระสมุทรเจดียมีเอกลักษณไมเหมือนที่อื่น เปนแผนดินชวงสุดทายกอนจะออกอาวไทย พื้นที่โดยลอมรอบดวยลําคลอง แมน้ําและทะเล อีกทั้งภูมิอากาศเปนแบบชายทะเล อากาศไมรอนจัด และเปนพื้นที่ที่มีโรงงงานอุตสาหกรรมนอย แมปจจุบันจังหวัดสมุทรปราการจะถือไดวาเปนเปนพื้นที่ในเขตปริมณฑลที่รองรับการเจริญเติบโตในดานตาง ๆ จากกรุงเทพมหานครก็ตาม ซึ่งสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรกรรมมาเปนชุมชนเมืองมากขึ้น การใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมแตเดิมเปลี่ยนไปเปนเพื่ออุตสาหกรรม การพักอาศัย การคา ตลอดจนการบริการอื่น ๆ แตก็ยังพบวาสัดสวนมากกวา 80% ของพื้นที่ยังเปนพื้นที่เกษตรกรรม โกดังสินคา เลี้ยงปลาและที่อยูอาศัย มีเพียงไมถึง 20% ที่เปนพื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรม สําหรับในสวนของอําเภอพระสมุทรเจดียนั้นแมในชวงทีผานมาจะมีโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นมาเปนจํานวนมากแตเมื่อเปรียบเทียบกับอําเภออื่น ๆ ในจังหวัดพระสมุทรปราการ ก็ยังถือไดวาอําเภอพระสมุทรเจดียเปนอําเภอหนึ่งที่มีการเจริญเติบโตดานอุตสาหกรรมนอยกวาอําเภออื่น โดยเฉพาะในสวนตําบลนาเกลือมีพื้นที่สภาพเปนธรรมชาติ สวนใหญเปนสวนไรนา หรือเปนพื้นที่ราบลุม และที่ราบลุมปากแมน้ํา มีปญหาน้ําทวมไดงาย เหมาะสําหรับการทําการเกษตร และประมงมากกวาตั้งโรงงานอุตสาหกรรม (2)ตองการมาตรฐานความปลอดภัย เนื่องจากผูอยูอาศัยสวนใหญประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน เวลาในการใชไปในแตละวันจึงทุมเทใหกับเรื่องงาน ในสวนของบานที่พักอาศัยโดยเฉพาะในกลางวันแทบไมมีผูอาศัยอยูอยูทั้งไมมีในละแวกบาน มีญาติพี่นองหรือผูที่รูจักนอยมาก สงผลใหในการเลือกมีบานสักหนึ่งในปจจุบันจากเดิมซื้อที่ดินเปลามาทําการปลูกสรางเอง เปลี่ยนมาเลือกซื้อบานจากโครงการบานจัดสรรแทน เห็นไดจากตั้งแตป 2548 เปนตนมาจํานวนการจัดสรรที่ดินใหภาคเอกชนมีเพิ่มขึ้นเทาตัวทุกป ซึ่งโดยสวนใหญผูประกอบสรางที่417


พักอาศัยจะจัดใหมีระบบรักษาความปลอดภัยและสวนสาธารณะเกือบทุกโครงการ (3)ความมั่นคงของรายไดดวยสภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน ทั้งปญหาเศรษฐกิจตางประเทศ ในประเทศและปญหาการเมืองในประเทศสงผลใหประชาชนสวนใหญมองถึงทั้งรายไดและรายจายในอนาคต แมวาที่พักอาศัยจะถือไดวาเปนปจจัย 4สําหรับชีวิต แตสําหรับคนไทยในยุคปจจุบันความพอเพียงในสิ่งที่มีจึงเปนสิ่งที่ทุกคนตระหนักไวในจิตใจ ไมเวนแมแตเรื่องที่พักอาศัย เนื่องจากปจจุบันการเพิ่มขึ้นของประชากรในจังหวัดพระสมุทรเจดียสวนใหญ จะเปนประชากรที่อพยพยายถิ่นฐานมาจากตางจังหวัด และรายไดสวนใหญอยูในระดับนอยถึงปานกลาง เนื่องจากสวนใหญมีอาชีพเปนพนักงานเอกชนในโรงงานขนาดกลางถึงเล็ก ซึ่งรายไดที่ไดมามีความมั่นคงเพียงพอในการผอนซื้อบานแถวไดโดยไมเดือดรอน ยกตัวอยาง เชน มีรายได 15,000 บาท จะซื้อบานราคา 769,000 บาท ตองผอนดาวน 10 % เปนเงิน 49,000 บาท ตองผอนดาวนกับทางโครงการ 10 งวด งวดละ 4,900 บาท ตองกูธนาคาร 690,000 ผอนธนาคาร 30 ป เดือนละ 3,900 บาท ธนาคารอาคารสงเคราะห ดอกเบี้ย 4.75% จะเห็นไดวาผูซื้อเมื่อคิดวาตนเองมีความมั่นคงดานรายไดแลวจึงคิดตัดสินใจซื้อบานเปนของตัวเองขอเสนอแนะสําหรับผูประกอบการ (1)ผูประกอบการควรเลือกทําเลที่ตั้งที่จะทําโครงการ ที่มีในพื้นที่ที่น้ําไมทวมถึง และมีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และใกลสถานที่สําคัญตางๆ แลวควรพิจารณาเรื่องแผนพัฒนาตางๆ ในพื้นที่นั้นๆ ประกอบการตัดสินใจ (2) ผูประกอบการควรชูจุดเดนทางการตลาดในดานเงื่อนไขทางการเงิน ใหชัดเจนยิ่งขึ้น วาสามารถผอนดาวนไดนาน และจํานวนเงินดาวนต่ํา เพราะเปนปจจัยที่สําหรับที่ทําใหเกิดการตัดสินใจซื้อ418


อุปสงคดานที่อยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยHousing Demand of Electricity Generating Authority of Thailand’s employeesนายปณัย แสนคําเครือหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปนรัฐวิสาหกิจขนาดใหญและมีความสําคัญดานสาธารณูปโภค ทําหนาที่ใหบริการดานพลังงานที่มีคุณภาพ ผลิตกระแสไฟฟาเพื่อความสุขของคนไทย โดยมีสํานักงานใหญตั้งอยูในอําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ซึ่งปจจุบันพื้นที่บริเวณนี้มีความเจริญเขามาคอนขางมาก และมีความหนาแนนดานการอยูอาศัยสูงขึ้น ราคาที่ดินและราคาที่อยูอาศัยสูงขึ้น ทําใหพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยสวนหนึ่งซึ่งเดิมเลือกที่จะอยูอาศัยใกลกับ กฟผ.สวนกลาง ตองเลือกที่จะอยูอาศัยในบริเวณที่มีระยะทางไกลออกไปมากขึ้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอุปสงคดานที่อยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และเพื่อศึกษาปญหาดานการอยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ ไทย โดยมีสมมุติฐานวา พนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมีความสามารถสนองความตองการดานที่อยูอาศัยได และปญหาดานที่อยูอาศัยปจจุบันของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมีผลตอความตองการเปลี่ยนแปลงที่อยูอาศัย โดยมีกลุมตัวอยางเปนพนักงานประจําของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่ปฏิบัติงานประจํา ณ สํานักงานใหญ อําเภอบางกรวย จ.นนทบุรี ที่มีอายุงานไมเกิน 15 ป และพนักงานที่มีอายุตัวไมเกิน 35ผลจากศึกษาพบวาพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่เปนกลุมตัวอยางสวนใหญ มีสถานภาพโสด ไมมีบุตร มีตําแหนงระดับ 4-6 จบการศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาตรี มีเงินเดือน 20,000-25,000 บาทที่อยูอาศัยในปจจุบันมีรูปแบบเปนบานเดี่ยว อยูอาศัยมาแลวมากกวา 15 ป โดยมีกรรมสิทธิ์เปนของบิดา มารดาญาติพี่นอง โดยมีผูอาศัยอยูรวมทั้งหมด 4 คน กลาวคือ มีบิดามารดา อาศัยอยูดวย มีระยะทางระหวางที่อยูอาศัยปจจุบันไปยังการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย สวนใหญมีระยะทางมากกวา 20 กิโลเมตร และชวง 5-10กิโลเมตร เดินทางไปทํางานดวยรถยนตสวนตัว ปญหาในที่อยูอาศัย ในปจจุบันที่พบมากที่สุด คือปญหาเรื่องพื้นที่ใชสอย สวนใหญมีรายไดรวมครัวเรือนตอเดือน 20,001-40,000 บาท ตองการบานเดี่ยว และตองการกรรมสิทธิ์แบบเปนเจาของ โดยราคาที่อยูอาศัยที่คิดวาเหมาะสมสําหรับตนเอง คือ ราคาในชวง 1,000,000-2,000,000บาท เปนแบบ Modern มี 3 หองนอน ตองการใหทีอยูอาศัยใหมมีระยะหางกับที่ทํางาน (กฝผ.) 5-10 กิโลเมตรและใชเวลาในการเดินทางไมเกิน 30 นาที โดยมีเหตุผลสําคัญในการเลือกที่อยูอาศัย คือ การเดินทางสะดวก สวนใหญมีปญหาดานการอยูอาศัยเปนเรื่องพื้นที่ใชสอยมากที่สุด รองลงมาคือเรื่องมาตรฐานระบบรักษาความปลอดภัย และ เรื่องระยะเวลาที่ใชในการเดินทางไปทํางานตามลําดับ419


ผลการวิจัยพบวาพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมีความสามารถสนองความตองการดานที่อยูอาศัยไดและปญหาดานที่อยูอาศัยปจจุบันของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไมมีผลตอความตองการเปลี่ยนแปลงที่อยูอาศัยบทความวิชาการความตองการที่อยูอาศัยเปนความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย ซึ่งเปนปจจัยของปจัจัย4 อุปสงคดานที่อยูอาศัย (Housing Demand) หมายถึง ความตองการดานที่อยูอาศัยโดยมีความพึงพอใจที่จะไดมา สามารถจายคาสินคาและบริการดานที่พักอาศัย ตามปริมาณที่ตองการ ณ เวลานั้นๆ ได• ความตองการที่อยูอาศัยเปนเครื่องชี้วัดความแตกตางภายในสังคม (Social measure) ระหวางสภาพที่เปนจริง (Actual condition) กับมาตรฐานที่ยอมรับกัน (Accepted standard)• อุปสงคของที่อยูอาศัยเปนเครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (Economic measure) ซึ่งอิงอยูบนความสามารถของครัวเรือนในการจายสําหรับที่อยูอาศัย (Ability to pay)• อุปสงคสัมฤทธิ์ (Effective demand) คือ อุปสงคที่เกิดจากความสามารถในการจาย• สามารถกลาวไดวาความตองการที่อยูอาศัยเปนชองวาง (Gap) ระหวางสิ่งที่เปนอยู (What exists) กับสิ่งที่ถูกยอมรับ (What is accepted) วาเปนมาตรฐานขั้นต่ํา• ความตองการที่อยูอาศัยและอุปสงคของที่อยูอาศัยอาจจะมาบรรจบกันไดโดยการทําใหคนมีงานทํา(Employment) และรายไดที่มีศักยภาพ (Potential income) พอที่จะจับจาย• อุปทานของที่อยูอาศัยจะตองไปควบคูกับคุณภาพและราคาซึ่งจะรวมเอาตนทุนที่เกิดจากการคาดการณในการกอสราง การปรับปรุงและการรื้อถอนไวแลว• มาตรฐานขั้นต่ําจะตองสนองตอบตอความตองการที่อยูอาศัยโดยรวม ในกรณีนี้ อุปสงคสําริด(Effective demand) จะประกอบขึ้นจากจํานวนครัวเรือนที่มีความสามารถในการซื้อที่อยูอาศัยที่มา : Department of Economic and Social Affairs United Nations, New York, 1976 แปลและเรียบเรียงโดย อํานาจ ธนานันทชัย420


ในการศึกษาถึงอุปสงคดานที่พักอาศัยของผูพักอาศัยจะอาศัยทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรจุลภาคที่เกี่ยวกับอุปสงค(วันรักษ มิ่งมณีนาคิน, 2540: 23-26) เพื่อใชเปนแนวทางในการวิเคราะหดังนี้ความหมายของอุปสงค คืออุปสงคสําหรับสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึงจํานวนของสินคาและบริการชนิดนั้นๆ ที่ผูบริโภคตองการซื้อในระยะเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆของสินคาชนิดนั้น โดยคําวา”ตองการซื้อ”มิไดหมายถึงความตองการธรรมดา (want) แตเปนความตองการที่มีอํานาจซื้อ (purchasing power) กํากับอยูดวย กลาวคือผูบริโภคตองมีเงินเพียงพอและมีความเต็มใจ (ability and willingness) ที่จะจายซื้อสินคาหรือบริการนั้นๆดวยเชน นาย ก. ตองการซื้อบาน 1 หลัง และมีเงินเพียงพอที่จะจายเพื่อเปนเจาของที่อยูอาศัย ความตองการของนายก. นี้เปนสิ่งที่สามารถทําใหเปนจริงขึ้นได จึงเปนอุปสงคสัมฤทธิ์ (effective demand) ในกรณีตรงขามหาก นายก. ไมมีเงินที่จะจายเพื่อเปนเจาของที่อยูอาศัย ดังนั้นความตองการที่ปราศจากอํานาจซื้อไมถือวาเปนอุปสงคตัวกําหนดอุปสงค ไดแกจากกฎแหงอุปสงค (law of demand) ระบุวาปริมาณของสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผูบริโภคตองการซื้อยอมแปรผกผันกับระดับราคาสินคาและบริการชนิดนั้น หมายความวาเมื่อราคาสินคาสูงขึ้น ผูบริโภคจะซื้อสินคาในปริมาณนอยลง และเมื่อราคาสินคาลดลงผูบริโภคจะซื้อสินคาในปริมาณมากขึ้น อยางไรก็ตามยังมีปจจัยอื่นๆที่มีอิทธิพลตอปริมาณสินคาที่ผูบริโภคปรารถนาที่จะซื้อ ซึ่งเรียกวา ตัวกําหนดอุปสงค (demanddeterminants ) ปจจัยเหลานี้อาจมีอิทธิพลตอปริมาณซื้อที่แตกตางกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพฤติกรรมของผูบริโภคแตละคน แตละเวลา ปจจัยดังกลาวอาจสรุปไดดังนี้1 ราคาสินคาชนิดนั้น ตามปกติเมื่อราคาสินคาเพิ่มสูงขึ้นปริมาณซื้อจะมีนอย แตถาราคาสินคาลดต่ําลง ปริมาณซื้อจะมีมาก2 รสนิยมของผูบริโภคและความนิยมของคนสวนใหญในสังคมจะเกี่ยวของกับความรูสึกนิยมชมชอบชั่วขณะหนึ่งซึ่งเปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว เชน แบบเสื้อ ภาพยนตร เทปเพลง แตบางกรณีความนิยมก็คงอยูนาน เชน รูปแบบสิ่งกอสราง รถยนต เปนตน สิ่งที่กําหนดรสนิยมของผูบริโภค ไดแก อายุ เพศ การศึกษา ความเชื่อ และอิทธิพลของการโฆษณา รสนิยมเปนสิ่งที่มีผลตอธุรกิจการคา ดังนั้นหนวยธุรกิจจึงยอมทุมเงินจํานวนมหาศาลในการโฆษณา เพื่อหวังผลในการเปลี่ยนแปลงรสนิยม3 จํานวนประชากร ตามปกติเมื่อประชากรเพิ ่มขึ้น ความตองการสินคาและบริการจะเพิ่มมาก ทั้งนี้เพราะประชากรจะตองบริโภคและอุปโภคสินคาและบริการ แตการเพิ่มจํานวนประชากรเหลานี้จะตองมีอํานาจซื้อดวย4 รายไดเฉลี่ยของผูบริโภค โดยทั่วไปเมื่อประชากรมีรายไดสูงขึ้น อํานาจซื้อก็จะเพิ่มขึ้น ความตองการสินคาและบริการจะเปลี่ยนไป เพราะสามารถซื้อสินคาไดมากขึ้น นอกจากนั้นการมีรายไดสูงขึ้นอาจจะลดการบริโภคสินคาราคาถูก ขณะเดียวกันอาจหันไปบริโภคสินคาราคาแพงได5 ราคาของสินคาอื่นๆที่เกี่ยวของ ตามปกติความตองการของผูบริโภคอาจสนองไดดวยสินคาหลายชนิด ถาสินคาชนิดหนึ่งมีราคาสูงมาก ผูบริโภคจะซื้อสินคาชนิดนั้นนอยลง และหันไปซื้อสินคาอีกชนิดหนึ่งที่ใชทดแทนกันได หรืออาจเปนกรณีของสินคาที่ใชประกอบกัน421


ซึ่งปจจัยตางๆที่มีอิทธิพลตออุปสงคของสินคาหรือบริการตางๆ สามารถแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณซื้อกับตัวกําหนดอุปสงค ดวยฟงกชั่นอุปสงคดังนี้Q x = f (P x ,A 1 ,A 2 ,A 3 ,……….)เมื่อ Q x คือ ปริมาณการซื้อสินคาหรือบริการ XP x คือ ราคาสินคาหรือบริการ XA x คือ ตัวแปรอิสระอื่นๆ, I = 1,2,3,…กรณีอุปสงคดานที่อยูอาศัยก็เชนเดียวกับอุปสงคของสินคาและบริการอื่นๆ คือจะตองมีความตองการเกิดขึ้น และตองมีอํานาจซื้อ เมื่อครบสององคประกอบ จึงจะเรียกวามีอุปสงค ดังนี้1 มีความตองการที่อยูอาศัยเกิดขึ้น เนื่องจากที ่อยูอาศัยเปนหนึ่งในปจจัยสี่ที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษย และเปนองคประกอบพื้นฐานสําคัญที่มนุษยจะขาดเสียมิได แบงเปนความตองการทางกายภาพ และความตองการทางจิตใจ โดยความตองการทางกายภาพเนื่องจากมนุษยตองการความปลอดภัย จึงใชที่อยูอาศัยเปนที่ปองกันอันตรายจากสัตวรายหรือคนราย และมนุษยตองการความสะดวกสบาย จึงใชที่อยูอาศัยเปนที่นอนหลับพักพิงยามเจ็บปวย สวนความตองการทางจิตใจนั้น มนุษยมีที่อยูอาศัยทําใหเกิดความมั่นคงในชีวิตเปนหลักประกันในชีวิตของครอบครัว เปนแหลงรวมความรัก ความอบอุน ความเขาใจในครอบครัวนอกจากนี้การมีที่อยูอาศัยถือวาเปนศักดิ์ศรี เพราะที่อยูอาศัยถือวามีราคาสูง ผูเปนเจาของรูสึกภาคภูมิใจเปนที่ยอมรับของสังคม ไมตองอาศัยผูอื่น2 ตองมีอํานาจซื้อที่อยูอาศัย เปนความตองการที่อยูอาศัยที่ประชาชนสามารถจาย และเต็มใจจายเพื่อซื้อหรือเชาที่อยูอาศัย ซึ่งขึ้นอยูกับอัตราคาเชา รายได และปจจัยอื่นๆที่เปนตัวเพิ่มหรือลดอํานาจซื้อ ไดแกการคาดการณอัตราคาเชา ราคาวัสดุกอสราง ระยะเวลา เปนตนอุปสงคดานที่อยูอาศัย (Housing Demand) จึงหมายถึง ความตองการของผูพักอาศัยที่มีความประสงคจะพักอาศัยโดยไมมีการบังคับ เต็มใจและสามารถจายคาสินคาและบริการดานที่พักอาศัย ตามจํานวนที่ตองการ ณ เวลานั้นๆ ได ซึ่งสามารถจําแนกไดเปน 5 องคประกอบคือ1. มีความตองการที่พักอาศัย2. มีความพึงพอใจหรือเต็มใจที่จะซื้อ/เชา3. มีความสามารถในการจาย,4. จํานวนที่ตองการ5. ระยะเวลาที่ตองการที่มา : (Kotler and Armstrong,2007:6) ,เสาวลักษณ เลิศบุศย สุรพลชัย, 2549ในสภาการณทางเศรษฐกิจที่ตกต่ําในปจจุบัน ภาคธุรกิจในดานอสังหาริมทรัพยเปนภาคธุรกิจที่ไดรับผลกระทบ โดยตรงและรุนแรงกวาภาคธุรกิจอื่นๆ อันเนื่องมาจาก เม็ดเงินจํานวนมากที่ใชในการลงทุน ความเกี่ยวเนื่องกับสถาบันการเงิน ธุรกิจวัสดุกอสราง และคาแรงขั้นต่ําที่เพิ่มขึ้นเกือบทุกป ทิศทางสําหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย จึงจําเปนตองมีการปรับตัวเพื่อความอยูรอด และจําเปนอยางยิ่งที่ผูประกอบการจะตองคํานึงถึง422


ผูบริโภคใหมากยิ่งขึ้น ซึ่งแตเดิมตลาดที่อยูอาศัยเปนของผูผลิต ซึ่งในบางครั้งผลิตภัณฑที่อยูอาศัยบางโครงการเจาะจงกลุมเปาหมาย (Target Group) โดยผูประกอบการคาดหวังเพียงพื้นฐานทางการตลาดโดยอาศัย การมุงเฉพาะสวนตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร (Geographical - Concentration) และการใหความสําคัญแกลูกคา(Dominananec of Customers) ยังไมสามารถตอบสนองความตองการพื้นฐานของผูบริโภคไดถูกตองกับความตองการ ทําใหเกิดโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่เกินความตองการหรือไมตรงกับความตองการจริงของผูบริโภค และผลแหงความผิดพลาดในการพัฒนาโครงการ กอใหเกิดปญหาตางๆ ทั้งผูประกอบการ สถาบันการเงินและสงผลตอประเทศชาติในที่สุดการตลาดสําหรับที่อยูอาศัยในปจจุบัน จําเปนอยางยิ่งที่จะมีความพิถีพิถัน ในการศึกษาถึงภาพรวมของกลุมเปาหมายที่มีความละเอียดออนมากยิ่งขึ้น ในภาวการณเศรษฐกิจในปจจุบันกลุมผูมีรายไดประจํา และมีรายไดสูง จะเปนกลุมที่มีศักยภาพสูงในการซื้อที่อยูอาศัย โดยวิเคราะหตามกลุมเปาหมายที่มีลักษณะของผูบริโภค ซึ่งประกอบไปดวย- ภูมิหลังทางดานประชากร (Demographics) : ไดแก เพศ อายุ อาชีพ รายได การศึกษา สถานภาพ- ภูมิหลังทางจิตวิทยา (Psychograghics) : ไดแก พฤติกรรมการแสดงออกกิจกรรมความสนใจ ความคิดเห็น คุณลักษณะพื้นฐาน- ภูมิหลังการบริโภคสินคา (Usege Rate Measure) : ไดแก การพิจารณาถึงวิธีการบริโภค สินคาของกลุมเปาหมายK.J. Button 1 ไดเสนอองคประกอบที่สําคัญ 2 ประการ ในการเลือกบริเวณที่อยูอาศัย คือ 1.รายไดของครอบครัวเปนสวนสําคัญในการตัดสินใจคนมีรายไดสูงจะมีโอกาสเลือกที่อยูอาศัยไดมากกวา โดยพยามยามเลือกบริเวณที่มีคาเชาที่ดินต่ํา ใกลเสนทางคมนาคมขนสงและเขาถึงไดสะดวก, 2.คุณภาพสิ่งแวดลอม นอกจากจะมีสิ่งแวดลอมที่ดีแลว ความสัมพันธของเพื่อนบานก็เปนขอสําคัญอีกประการหนึ่ง แตจะตองมีรายไดและรสนิยมในระดับเดียวกันการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาอุปสงคดานที่อยูอาศัยของพนักงานขององคกรมีที่มีความมั่นคงนาเชื่อถือ มีการบริหารจัดการองคกรที่ดี และมีผลประกอบการดี ทําใหรายไดและสวัสดิการของพนักงานในองคกรมีมาตรฐานที่สูง เนื่องจากมีโอกาสเลือกที่อยูอาศัยไดมากกวา ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาอุปสงคดานที่อยูอาศัยของพนักงานรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ1 K.J. Button. Urban Economics. (London: Mc Milan Press, 1976.)423


รัฐวิสาหกิจภายใตกํากับดูแลของ สคร. 58 แหง(แบงตามกระทรวงเจาสังกัด)สํานักนายกรัฐมนตรี1. บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน)2. โรงพิมพตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติกระทรวงกลาโหม1. บริษัท อูกรุงเทพ จํากัดกระทรวงทองเที่ยวและกีฬา1. การกีฬาแหงประเทศไทย2. การทองเที่ยวแหงประเทศไทยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง1. การเคหะแหงชาติ2. สํานักงานธนานุเคราะหฯกระทรววงเกษตรและสหกรณ1. องคการสงเสริมกิจการโคนมฯ2. องคการตลาดเพื่อเกษตรกร3. องคการสะพานปลา4. สนง. กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง5. องคการสวนยาง6. บ.สงเสริมธุรกิจเกษตรกรไทยกระทรวงการคลังกระทรวงคมนาคมกระทรวงพลังงาน1. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย1. โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง1. บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)2. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)2. สํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล2. การทาเรื่อแหงประเทศไทย3. โรงงานไพ กรมสรรพสามิต3. การรถไฟแหงประเทศไทย4. องคการสุรา กรมสรรพสามิต4. บ. ไทยเดินเรือทะเลกระทรวงมหาดไทย5. ธ.กรุงไทย จํากัด (มหาชน)5. องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ6. ธ.ออมสิน6. บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด1. การไฟฟานครหลวง7. ธ. อาคารสงเคราะห7. บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)2. การไฟฟาสวนภูมิภาค8. ธ.เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 8. บริษัท ขนสง จํากัด3. การประปานครหลวง9. ธ.เพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศ 9. สถาบันการบินพลเรือน4. การประปาสวนภูมิภาคไทย10.การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย5. องคการตลาด10.ธ.พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 11.การทางพิเศษแหงประเทศไทย11.บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัยกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี12.บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม กระทรววงทรัพยากรธรรมชาติฯ 1. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<strong>13</strong>.ธ.อิสลามแหงประเทศไทย2. องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ14.บ.ธนารักษพัฒนาสินทรัพย1. องคการจัดการน้ําเสีย15.บ. สหโรงแรงไทย2. องคการสวนพฤกษศาสตร3. องคการสวนสัตวกระทรวงสาธารณสุขกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ 4. องคการอุตสาหกรรมปาไม1. องคการเภสัชกรรม1. บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)2. บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)กระทรวงพาณิชยกระทรวงอุตสาหกรรม3. บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด1. องคการคลังสินคา1. การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยState Enterprise Policy Office, MOF 1จากขอมูลของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เดือนมิถุนายน พ.ศ.2550 ขนาดองคกรรัฐวิสาหกิจภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจทั้งหมด พบวารัฐวิสาหกิจที่มีขนาดใหญที่สุดสามอันดับแรก ประกอบดวย1. บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 26,570 คน2. การไฟฟาสวนภูมิภาค 26,304 คน3. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 24,209 คนจากการสอบถามดานผลประกอบการและผลกําไรสุทธิจากสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจในเบื้องตน พบวาผลกําไรสุทธิระหวางสิ้นป 49–กย. 50ของรัฐวิสาหกิจที่มีขนาดใหญที่สุด 3 อันดับแรก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมีผลกําไรสุทธิมากที่สุด และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยยังกอตั้งมาเปนระยะเวลายาวนานที่สุด บวกกับทําเลที่ตั้งของที่อยูอาศัยของพนักงานซึ่งพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ424


ไทยถึง 70% ปฏิบัติงานประจํา ณ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยสํานักงานใหญ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ที่อยูอาศัยสวนใหญของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยจึงมีลักษณะกระจุกตัว ตางจากบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และ การไฟฟาสวนภูมิภาค ซึ่งที่อยูอาศัยของพนักงานมีลักษณะกระจายตัวอยูทั่วประเทศไทย ดังที่กลาวมาขางตนทําเลที่ตั้งของที่อยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยสวนใหญอยูในบริเวณใกลเคียงโดยรอบสํานักงานใหญ ที่ดินบริเวณนี้สวนใหญเดิมเปนสวนทุเรียน มีพื้นที่วางใหอยูอาศัยคอนขางมาก แตในปจจุบันมีความเจริญเขามาในพื้นที่บริเวณนี้ ทําใหมีความหนาแนนของประชากรเพิ่มขึ้นมากพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยรุนใหมสวนใหญจึงตองอยูอาศัยในพื้นที่หางไกลมากขึ้น การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยจึงเปนรัฐวิสาหกิจขนาดใหญที่มีความสําคัญและอุปสงคดานที่อยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยจึงเปนเรื่องที่ควรคาแกการศึกษาประวัติโดยยอของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย คือ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2512 รัฐบาลไดรวมรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบในการจัดหาไฟฟา ซึ่งไดแก การลิกไนท(กลน.) การไฟฟายันฮี(กฟย.) และการไฟฟาตะวันออกเฉียงเหนือ(กฟ.อน.) รวมเปนหนวยงานเดียวกันคือ”การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. มีชื่อยอวา“กฟผ.” พระราชบัญญัติฉบับนี้มีการแกไขเพิ่มเติมหลายครั้ง โดยครั้งลาสุดไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2535 มีสาระสําคัญโดยสรุปคือ ใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยสามารถดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟาหรือรวมทุนกับบุคคลอื่นเพื่อดําเนินธุรกิจดังกลาว และใหมีอํานาจใชสอยและครอบครองอสังหาริมทรัพยเพื่อสํารวจหาแหลงพลังงาน ตลอดจนสถานที่สําหรับใชในการผลิตหรือพัฒนาพลังงานไฟฟาโดยชดใชคาทดแทนที่เปนธรรม และใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมีอํานาจกําหนดเงื่อนไขที่เกี่ยวกับคุณภาพไฟฟา เทคนิคทางวิศวกรรม และความปลอดภัยของระบบไฟฟา ในกรณีที่เอกชนประสงคจะเชื่อมโยงระบบไฟฟาของการไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง หรือการไฟฟาสวนภูมิภาค กฟผ. มีสิทธิเพิ่มวงเงินในการกูยืมและในการจําหนายอสังหาริมทรัพย คณะกรรมการมีอํานาจจําหนายทรัพยสินออกจากบัญชีไดทุกกรณีโดยไมจํากัดวงเงินโดยสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ เพื่อใหสามารถดําเนินการไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ สวนสาระสําคัญที่ยังคงเดิม คือ คณะรัฐมนตรีเปนผูแตงตั้งประธานคณะกรรมการกับกรรมการ (ซึ่งตองไมมีตําแหนงทางการเมือง) และคณะกรรมการเหลานี้เปนผูแตงตั้งผูวาการ กฟผ จึงเปนรัฐวิสาหกิจสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี มีรัฐมนตรีคอยกํากับดูแลใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ในเดือนมิถุนายน 2535 กฟผ.นําเสนอตอรัฐบาลขอเขาโครงการรัฐวิสาหกิจชั้นดีและผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีใหเปนรัฐวิสาหกิจชั้นดี เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2537 การนี้จะสงผลให กฟผ. มีความคลองตัวในการบริหารงานไดมากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐบาล ที่ตองการลดบทบาทการควบคุมรัฐวิสาหกิจลงใหนอยที่สุดและสนับสนุนใหรัฐวิสาหกิจมีความสามารถที่จะแขงขันกับธุรกิจภาคเอกชนได425


ภาพถายดาวเทียมและแผนที่การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยสํานักงานใหญที่มา : http://www.egat.co.th/th/index.php?option=com_content&task=view&id=26&Itemid=37การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปนรัฐวิสาหกิจขนาดใหญและมีความสําคัญดานสาธารณูปโภค ทําหนาที่ใหบริการดานพลังงานที่มีคุณภาพ ผลิตกระแสไฟฟาเพื่อความสุขของคนไทย โดยมีสํานักงานใหญตั้งอยูในอําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี พนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยสวนใหญปฏิบัติงานประจํา ณสํานักงานใหญประมาณ 70% โดยมีทําเลที่ตั้งของที่อยูอาศัยสวนใหญอยูในบริเวณใกลเคียงโดยรอบสํานักงานใหญ ที่ดินบริเวณนี้สวนใหญเดิมเปนสวนทุเรียน มีพื้นที่วางใหอยูอาศัยคอนขางมาก แตในปจจุบันมีความเจริญเขามาในพื้นที่บริเวณนี้ ทําใหมีความหนาแนนของประชากรเพิ่มขึ้นมาก พนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยรุนใหมสวนใหญจึงตองอยูอาศัยในพื้นที่หางไกลมากขึ้น อีกทั้งการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยยังไดรับรางวัลเกียรติยศ บริหารจัดการองคกรดีเดน และรางวัลการดําเนินการเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมดีเดน 3 ปซอน ในงาน426


มอบรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเดน (SOE Award) ประจําป 2551 ซึ่งสงผลตอขวัญและกําลังใจของพนักงานในการทํางานใหดียิ่งขึ้น การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยจึงเปนรัฐวิสาหกิจขนาดใหญที่มีความสําคัญดานสาธารณูปโภคและควรคาแกการศึกษา โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอุปสงคดานที่อยูอาศัยและปญหาดานการอยูอาศัยของพนักงานประจําของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่ปฏิบัติงานประจํา ณ สํานักงานใหญอําเภอบางกรวย จ.นนทบุรี ที่มีอายุงานไมเกิน 15 ป และมีอายุตัวไมเกิน 35 ป เทานั้นเนื่องจากคาดวาเปนกลุมที่นาจะกําลังสรางครอบครัวและนาจะมีความตองการดานที่อยูอาศัย โดยมีสมมุติฐานวาพนักงานการกลุมดังกลาวมีความสามารถสนองความตองการดานที่อยูอาศัยไดดี และปญหาดานที่อยูอาศัยปจจุบันของกลุมพนักงานดังกลาวมีผลตอความตองการเปลี่ยนแปลงที่อยูอาศัยโดยการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวิธีการดําเนินการวิจัย ดังนี้การสํารวจและรวมรวมขอมูลเบื้องตนแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data)ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการอยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเบื้องตนจากการแบบสอบถามพนักงานกลุมตัวอยาง ไดแก พนักงานประจําของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่ปฏิบัติงานประจํา ณสํานักงานใหญ อําเภอบางกรวย จ.นนทบุรี ที่มีอายุงานไมเกิน 15 ป และมีอายุตัวไมเกิน 35 ป และแบบสัมภาษณผูบริหารการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่กําหนดนโยบายสวัสดิการที่อยูอาศัย และขอมูลทุติยภูมิ(Secondary Data) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย หรือสมมติฐานที่เกี่ยวของและขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยจากการรวบรวมขอมูลทุติยภูมิจากหนวยงานตนสังกัด เอกสารและสื่อตางๆที่เกี่ยวของ เครื่องมือที่ใช มีแบบสอบถามพนักงานกลุมตัวอยางและแบบสัมภาษณผูบริหารการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่กําหนดนโยบายดานสวัสดิการที่อยูอาศัยทุกทานตามที่การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมอบหมาย ทั้งนี้ไดรับความรวมมือจากการไฟฟาฝายผลิตเปนอยางดี การเก็บรวบรวมขอมูล เก็บจากแบบสอบถาม โดยการแจกแบบสอบถามทั้งหมดประมาณ 480 ชุด นําแบบสอบถามที่ไดกลับมาคัดชุดที่ไมสมบูรณออก ใชประมวลผลจริงไมนอยกวา 292 ชุด ซึ่งมีความเชื่อมั่นสูงเกินกวา 95% และจากแบบสัมภาษณในภาพรวม จากนั้นนําขอมูลที่ไดจากการสอบถามมาสรุปลงในแบบฟอรมการวิเคราะห และทําการประมวลผลดวยการลงรหัสของขอมูลเพื่อทําการวิเคราะห โดยใชโปรแกรม SPSS และนําขอมูลทั้งหมดมาอธิบายผลรวมกับทฤษฎี แนวคิดและงานวิจัยที่ผานมา สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ แลวจึงนําเสนอขอมูลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะทําใหทราบถึงลักษณะการอยูอาศัยปจจุบันของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย มีประโยชนตอการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเพื่อใชเปนแนวทางในการปรับปรุงดานสวัสดิการที่อยูอาศัยของพนักงานการ อีกทั้งยังเปนแนวทางและประโยชนตอนักวิจัย หนวยงานทางภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ ในการจัดการกําหนดแนวทางดานที่อยูอาศัยในภาพรวมซึ่งในขณะนี้กําลังอยูในขั้นตอนประมวลผลขอมูลและคาดวาจะเสร็จออกมาเปนวิทยานิพนธฉบับสมบูรณในเร็ววัน ผูใดสนใจ ศึกษา คนควาเรื่องอุปสงคดานที่อยูอาศัยของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เชิญติดตามอานไดในวิทยานิพนธเลมสมบูรณ ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวาวิทยานิพนธเลมนี้ จะมีประโยชนตอการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ภาครัฐและเอกชนที่มีสวนเกี่ยวของกับเรื่องที่อยูอาศัย และมีประโยชนตอผูอาน ผูสนใจศึกษาคนควาบาง ไมมากก็นอย427


บรรณานุกรมDepartment of Economic and Social Affairs United Nations, New York, 1976 แปลและเรียบเรียงโดย อํานาจ ธนานันทชัยK.J. Button. Urban Economics. (London: Mc Milan Press, 1976.)กิติพงษ ตรีรัสสพานิช . อุปสงคดานที่พักอาศัยของผูพักอาศัยในชุมชนเสือขบ เทศบาลเมืองสระบุรี.ภาควิชาเคหการ สาขาวิชาเคหการ ปการศึกษา 2550ธีรวัฒน อิทธิพรจิรพัชร . การวางแผนดานที่อยูอาศัยของพนักงานสายการบินเมื่อเปดใชสนามบินสุวรรณภูมิ กรณีศึกษา : พนักงานสายปฏิบัติการของสายการบินไทยแอรเอเชีย.ภาควิชาเคหการ สาขาวิชาเคหการ ปการศึกษา 2548โสภิตา บุญเจริญ. ที่อยูอาศัยของบุคลากรในศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลันศรีนครินวิโรฒ อําเภอองครักษ จังหวัดนครนายก. ภาควิชาเคหการ สาขาวิชาเคหการ ปการศึกษา 2545วิทยา เพชรปาน. ที่อยูอาศัยของพนักงานศูนยการคาซีคอนสแควร , กรุงเทพมหานคร. ภาควิชาเคหการสาขาวิชาเคหการ ปการศึกษา 2547พีระพงษ มูรพันธ . สภาพปจจุบันและการคาดหวังดานที่อยูอาศัยชองพนักงานตอนรับสายการบินไทย.ภาควิชาเคหการ สาขาวิชาเคหการ ปการศึกษา 2540แสงชัย พฤกษารัตนนนท . ความตองการที่อยูอาศัยของบุคลากรดานการพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ. ภาควิชาเคหการ สาขาวิชาเคหการ ปการศึกษา 2544428


แนวทางการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในที่พํานักระยะยาวสําหรับผูพิการพื้นที่ศึกษา : เมืองพัทยาDESIGN GUIDELINES FOR DISABLES IN ACCOMMODATION IN PATTAYAนายรัฐพล ปญจอาภรณหลักสูตรเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทความคนพิการเปนประชากรกลุมหนึ่งในประเทศ ที่มีความแตกตางจากประชากรทั่วไป โดยหมายความถึงคนที่มีความผิดปกติหรือบกพรองทางรางกาย ทางสติปญญา หรือทางจิตใจ ในปจจุบัน ประเทศไทยมีคนพิการประมาณ 680,000 คน คิดเปนประมาณรอยละ 1.08 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่งทางภาครัฐไดใหความสําคัญตอคนพิการตลอดมา กรมโยธาธิการจึงไดออกกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2548 ไดกําหนดใหอาคารสถานพยาบาล อาคารที่ทําการราชการ รัฐวิสาหกิจ สถานศึกษา สถานีขนสงมวลชน ที่มีพื้นที่สวนใดของอาคารที่เปดใหบริการแกบุคคลทั่วไปเกิน 300 ตารางเมตร และอาคารสํานักงาน โรงมหรสพ โรงแรม หอประชุมสนามกีฬา ศูนยการคา หางสรรพสินคา ที่มีพื้นที่สวนใดของอาคารที่เปดใหบริการแกบุคคลทั่วไปเกิน 2,000ตารางเมตร ตองจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการในโครงการ ซึ่งกฎหมายมีผลบังคับใชกับโครงการที่ขออนุญาตหลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใชเทานั้น แตยังมีโครงการอีกมากที่กอสรางกอนกฎกระทรวงมีผลบังคับใชและไดมีการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการ หรือมีความตองการที่จะปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการ แตขาดความรูในการปรับปรุง การศึกษานี้จึงมุงเสนอแนวทางในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในที่พํานักระยะยาวเพื่อคนพิการในหลายประเทศมีการศึกษาและกําหนดมาตรฐานของสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการไวมากมายซึ่งใชขนาดของคนพิการ และหนวยวัดตามมาตรฐานที่ใชในประเทศนั้นๆ โดยสวนใหญยึดหลักแนวคิดUniversal Design คือ การออกแบบที่สามารถเขาใจงาย มีความสะดวกปลอดภัยเหมาะตอการใชงานของทุกคน ในประเทศไทยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ ไดจัดพิมพคูมือออกแบบอาคารสําหรับคนพิการ(Design Guide for Barrier – Free Facilities) เมื่อเดือน เมษายน พ.ศ. 2537 เปนเอกสารที่ผลิตขึ้นสําหรับเผยแพรใหสมาชิกของสมาคมใชเปนขอมูลในการออกแบบอาคารตาง ๆ เพื่อใหคนพิการสามารถเขาไปใชสอยไดสะดวก ซึ่งภายหลังไดมีการพัฒนาและออกเปนกฎหมายขึ้น โดยปจจุบันใชกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 และปจจุบันสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภไดจัดทํา คูมือปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม การออกแบบสภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการออกแบบสําหรับทุกคน (Universal Design Code of Practice) ขึ้น เพื่อใหครอบคลุมการออกแบบทั้งภายในและภายนอกอาคาร การอุปกรณตางๆ รวมถึงระบบขนสง รศ.นวลนอย บุญวงษ1 ไดเสนอใหมีการพิจารณาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหวางแตละขั้นตอนของการใชอาคาร เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายและอุปสรรคตอ1 นวลนอย บุญวงษ และ นันทนี เนียมทรัพย.การออกแบบภายในอาคารเพื่อคนพิการ.2545429


ผูใชงานกลุมตางๆ รศ.กําธร กุลชล 2 ไดทําการศึกษาสภาพปญหาการใชงาน และเสนอแนวทางการแกไขการใชงานพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ศึกษา ชอเพชร พานระลึก (2549) 3 ไดศึกษาถึงแนวทางการจัดเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับผูพิการและผูสูงอายุในพื้นที่ศึกษาภายในจุฬาลงกรณมหวิทยาลัย และนําเสนอลําดับความเปนไปไดในการปรับปรุงจากหนวยงานที่เกี่ยวของ การศึกษาสวนใหญที่ไดมีการจัดทํามักเปนการศึกษาพื้นที่สาธารณะและเสนอมาตรฐานของสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ และมีโครงการภาคเอกชนบางสวนไดจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ แตยังขาดการศึกษาหรือเสนอแนวทางการปรับปรุงที่ไดมาตรฐานโดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเมืองพัทยาเปนเมืองทองเที่ยวที่มีความสําคัญ และใหความสําคัญตอนักทองเที่ยว และคนพิการในพื้นที่โดยไดวางนโยบายพัฒนาเมืองใหคนพิการสามารถใชงานพื้นที่สาธารณะไดสะดวกรวมถึงการใหภาคเอกชนรวมมือปรับสภาพแวดลอมภายในโครงการใหผูพิการสามารถใชงานไดสะดวก นักทองเที่ยวในเมืองพัทยามีทั้งนักทองเที่ยวระยะสั้นและนักทองเที่ยวระยะยาว โดยนักทองเที่ยวระยะสั้นจะเลือกพักในโรงแรม และอาคารชุดพักอาศัย สวนนักทองเที่ยวระยะยาวจะพักในโรงแรม อาคารชุดพักอาศัย เซอรวิสอพารตเมนทอพารตเมนท และบานเชาตางๆ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาการใชงานสิ่งอํานวยความสะดวกของผูพิการ และเสนอแนวทางการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวก โดยมีกลุมตัวอยางเปนที่พํานักระยะยาวในพื้นที่เมืองพัทยา ไดแก โรงแรม และอาคารชุดพักอาศัย โดยใชการสํารวจสภาพสิ่งอํานวยความสะดวกในโครงการ และการสัมภาษณแบบมีโครงสรางผูใชงานพื้นที่โครงการ และเจาหนาที่บริหารโครงการ ซึ่งผลการศึกษาที่ไดหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําไปพัฒนาขอบังคับตางๆที่เกี่ยวของกับสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการในอนาคต และเปนการกระตุนใหผูประกอบการตระหนักถึงความสําคัญ รวมถึงเปนขอมูลพื้นฐานในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการตอไปการศึกษาแนวทางการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในที่พํานักระยะยาวสําหรับผูพิการนี้มีการแยกรายละเอียดโครงการออกเปนสองสวนหลัก ไดแก โครงการที่กอสรางกอนกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1กันยายน พ.ศ. 2548 และโครงการที่กอสรางหลังกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช ในพื้นที่ศึกษาเมืองพัทยา โดยมีโครงการตัวอยาง 4โครงการดังนี้ตารางที่ 1 แสดงโครงการตัวอยางประเภทที่พักโครงการที่สํารวจขออนุญาต กอน 1 ก.ย. 48 ขออนุญาต หลัง 1 ก.ย. 48โรงแรม (hotel) ROYAL CLIFF BEACH RESORT BEST WESTERN PATTAYAอาคารชุดพักอาศัย (condominium) ROYAL CLIFF GARDEN SUIT ANAYA BEACHFRONT CONDO2 รศ.กําธร กุลชล และ ผศ.ดร.ชัยสิทธิ์ ดานกิตติกุล.ภาควิชาออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร. รายงานการวิจัย แนวทางการปรับปรุงระบบทางเดินเทาสําหรับคนพิการและผูสูงอายุ. พ.ศ. 25483ชอเพชร พานระลึก. แนวทางการปรับปรุงอาคารเดิม ใหเปนไปตามกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.2548กรณีศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พ.ศ. 2549430


ภาพที่ 1 แสดงตําแหนงที่ตั้งโครงการตัวอยางโครงการ ROYAL CLIFF BEACH RESORTเปนโครงการประเภทโรงแรม ขออนุญาตกอสราง กอนกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรามีผลบังคับใช และเปดใชงานโครงการป พ.ศ. 2517 โครงการตั้งอยูบนถนนเขาพระตําหนัก มีเนื้อที่ประมาณ 100 ไร โครงการมีหองพักรวมทั้งสิ้น 1,072 หอง เปนหองพักสําหรับคนพิการ 12 หอง ซึ่งคิดเปนสัดสวนหองพักสําหรับคนพิการตอหองพักทั้งหมด ประมาณ 1 : 89 หองเนื่องจากโครงการมีขนาดใหญ และมีหลายอาคารการศึกษานี้จึงมุงเนนศึกษาอาคารซึ่งมีที่พักสําหรับคนพิการเปนหลัก คือ อาคาร ROYAL CLIFF BEACH HOTEL 9 ชั้น 574 หองพัก เปนหองคนพิการ 12 หอง อยูบนชั้น 3และชั้น 4 ภายในอาคารประกอบไปดวยสาธารณูปการตางๆ ไดแก รานอาหาร, หองน้ําสาธารณะ, lounge,lobby, สระวายน้ํา โดยมีการเขาถึงอยางตอเนื่องภาพที่ 2 แสดงผังโครงการ ROYAL CLIFF BEACH RESORT431เสนทางรถยนตเสนทางเดิน


จากการสํารวจโครงการพบวา โครงการไดจัดเสนทางการเดินทางภายในโครงการไวอยางดี โดยการจัดทางลาดในทุกๆพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนระดับ แตเนื่องดวยทําเลที่ตั้งโครงการมีลักษณะเปนเนินเขา และโครงการไดจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกกอนกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน รายละเอียดของสิ่งอํานวยความสะดวกจึงไมถูกตองตามที่กฎกระทรวงกําหนด โดยการเดินทางสูพื้นที่ตางๆของโครงการ ไดผานสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆที่โครงการไดจัดไวใหดังแผนผังภาพที่ 3 แสดงเสนทางสัญจรหลักโครงการ ROYAL CLIFF BEACH RESORTจากการสัมภาษณผูใชงานโครงการซึ่งเปนผูพิการดานการเคลื่อนไหว(ขา) ใชอุปกรณเกาอี้ลอเข็นและไมเทา พบวามีความสะดวกในการใชงานพื้นที่สวนใหญของโครงการ สามารถเขาถึงไดในทุกพื้นที่ แตการเขาถึงพื้นที่ชายหาดจําเปนตองมีผูชวยเพื่อการเขาถึง เนื่องจากทางลาดมีความยาวมากและไมมีราวจับการสัมภาษณเจาหนาที่โครงการพบวาโครงการไดจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการเนื่องจากมีกลุมลูกคาคนพิการและผูสูงอายุเขาใชบริการและเกิดอุปสรรคการใชงานในพื้นที่ทางโครงการจึงจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ทางโครงการไดมีการจัดการปรับปรุงพื้นที่ตางๆภายในโครงการทุกๆปสามารถที่จะปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการเพื่อใหสามารถใชงานไดสะดวก มีความเห็นวาหนวยงานราชการควรปรับปรุงสภาพเมืองเพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงไดทั้งเมือง และการสนับสนุนทางภาษีแกผูประกอบการจะชวยใหโครงการอื่นๆปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการมากขึ้น432


โครงการ BEST WESTERN PATTAYAเปนโครงการประเภทโรงแรม ขออนุญาตกอสราง หลังกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรามีผลบังคับใช ในเดือนมกราคม 2549 และเปดใชงานโครงการเดือนธันวาคม 2550 โครงการตั้งอยูบนถนนนาเกลือ มีเนื้อที่ประมาณ 1 ไร โครงการมีหองพักรวมทั้งสิ้น 94 หองเปนหองพักสําหรับคนพิการ 5 หอง ซึ่งคิดเปนสัดสวนหองพักสําหรับคนพิการตอหองพักทั้งหมด ประมาณ 1 : 19หอง โครงการมีลักษณะเปนโครงการขนาดกลาง มีอาคารเดียวสาธารณูปการตางๆจึงรวมอยูภายในอาคารไดแก รานอาหาร, หองน้ําสาธารณะ, lounge, lobby, สระวายน้ํา โดยมีการเขาถึงอยางตอเนื่องภาพที่ 4 แสดงผังโครงการ BEST WESTERN PATTAYAเสนทางรถยนตเสนทางเดินเทาจากการสํารวจโครงการพบวา ภายในโครงการสามารถเขาถึงไดอยางตอเนื่อง เนื่องจากเปนอาคารเดียวและสาธารณูปการอยูภายในอาคารทั้งหมด อุปสรรคหลักของการใชงานพื้นที่ไดแกทางลาดดานหนาอาคารซึ่งมีความชันมากกวาที่กฎกระทรวงกําหนด คนพิการไมสามารถใชงานไดโดยลําพัง และรายละเอียดของสิ่งอํานวยความสะดวกยังไมถูกตองตรงตามขอกําหนดของกฎกระทรวงจากการสัมภาษณผูใชงานโครงการซึ่งเปนผูพิการดานการเคลื่อนไหว(ขา) ใชอุปกรณเกาอี้ลอเข็นพบวามีความสะดวกในการใชงานพื้นที่สวนใหญของโครงการ สามารถเขาถึงไดในทุกพื้นที่ แตการใชงานทางลาดดานหนาอาคารไมสามารถใชงานไดโดยลําพังเนื่องจากมีความชันมากการสัมภาษณเจาหนาที่โครงการพบวาโครงการไดจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการเนื่องจากมีประสบการณจากโครงการที่เปดใหบริการพบวามีกลุมลูกคาคนพิการและผูสูงอายุเขาใชบริการ ทางโครงการไดมีการศึกษาและขอคําแนะนําตางๆจากผูที่มีความรูดานการจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการและมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง เชน พื้นผิวตางสัมผัส ปายสัญลักษณตางๆ ผูประกอบการมีความเห็นวาหนวยงานราชการควรปรับปรุงสภาพเมืองเพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงไดทั้งเมือง การสนับสนุนจากภาครัฐควรมีความหลากหลาย เชน การสนับสนุนทางภาษี การสนับสนุนทางการเงิน รวมถึงใหความรูที่ถูกตองแกผูประกอบการ433


ภาพที่ 5 แสดงเสนทางสัญจรหลักโครงการ BEST WESTERN PATTAYAโครงการ ROYAL CLIFF GARDEN SUITเปนโครงการประเภทคอนโดมิเนี่ยม ขออนุญาตกอสราง กอนกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรามีผลบังคับใช และเปดใชงานโครงการป พ.ศ. 2535ตั้งอยูบนถนนเขาพระตําหนัก มีเนื้อที่ประมาณ 17 ไร โครงการมีหองพักรวมทั้งสิ้น 198 หอง และไมไดจัดหองพักเฉพาะสําหรับคนพิการไวเนื่องจากเปนอาคารชุดพักอาศัยกลุมลูกคาสามารถจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกไดเองภายในหองพัก โครงการมีขนาดใหญ มี 5 อาคารหลัก เปนอาคารพักอาศัย 4 อาคาร และเปนอาคารบริการ 1อาคาร การศึกษานี้จึงเลือกศึกษาอาคารพักอาศัยหนึ่งอาคาร และอาคารบริการซึ่งภายในอาคารประกอบไปดวยสาธารณูปการตางๆ ไดแก รานอาหาร, sport club, สํานักงาน, สระวายน้ํา, ทางลงสูชายหาดภาพที่ 6 แสดงผังโครงการ ROYAL CLIFF GARDEN SUITเสนทางเสนทางเดิน434


จากการสํารวจโครงการพบวา โครงการมีขนาดใหญจึงมีการจัดเสนทางเดินภายในโครงการไปยังสาธารณูปการตางๆ และทําเลที่ตั้งโครงการมีลักษณะเปนเนินเขา ทางเดินเชื่อมพื้นที่ตางๆจึงมีความชันตามลักษณะพื้นที่ และมีพื้นตางระดับมากทําใหเปนอุปสรรคตอการใชงานของคนพิการ ภายในอาคารพักอาศัยไดจัดทําทางลาดไวในพื้นที่ตางระดับเพื่ออํานวยความสะดวกแกผูเขาพัก และโครงการไดจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกกอนกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน รายละเอียดของสิ่งอํานวยความสะดวกจึงไมถูกตองตามที่กฎกระทรวงกําหนดภาพที่ 7 แสดงเสนทางสัญจรหลักโครงการ ROYAL CLIFF GARDEN SUITจากการสัมภาษณผูใชงานโครงการซึ่งเปนผูพิการดานการเคลื่อนไหว(ขา) ใชอุปกรณเกาอี้ลอเข็นพบวาการใชงานพื้นที่สวนใหญของโครงการมีปญหาและอุปสรรค เนื่องจากความชันของพื้นที่ ความตอเนื่องของเสนทาง และพื้นตางระดับ ทําใหการเดินทางในพื้นที่โครงการไมสามารถเดินทางไดโดยลําพังจําเปนตองมีผูชวยเหลือเดินทางดวยการสัมภาษณเจาหนาที่โครงการพบวาโครงการไดจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการเนื่องจากมีกลุมลูกคาผูสูงอายุ รถเข็นเด็ก เขาใชบริการและเกิดอุปสรรคการใชงานในพื้นที่ทางโครงการจึงจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ทางโครงการไดมีการจัดการปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ตางๆภายในโครงการทุกป แตจําเปนตองมีการวางแผนลวงหนาเนื่องจากการอนุมัติใชงบประมาณจําเปนตองผานที่ประชุมนิติบุคคลอาคารชุดกอน ผูประกอบการมีความเห็นวาหนวยงานราชการควรปรับปรุงสภาพเมืองเพื่อใหคนพิการสามารถ435


เขาถึงไดทั้งเมือง และการสนับสนุนทางภาษีแกผูประกอบการจะชวยใหโครงการอื่นๆปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการมากขึ้นโครงการ ANANYA BEACHFRONT CONDOMINIUMเปนโครงการประเภทคอนโดมิเนี่ยม ขออนุญาตกอสราง หลังกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรามีผลบังคับใช และเปดใชงานโครงการป พ.ศ. 2551โครงการตั้งอยูบริเวณหาดวงศอํามาตยซอยนาเกลือ 12 ถนนพัทยานาเกลือ โครงการมีหองพักรวมทั้งสิ้น 101หอง และไมไดจัดหองพักเฉพาะสําหรับคนพิการไวเนื่องจากเปนอาคารชุดพักอาศัยกลุมลูกคาสามารถจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกไดเองภายในหองพัก โครงการมีขนาดกลาง มี 2 อาคารหลัก เปนอาคารพักอาศัย 2อาคาร และเปนรานอาหารและเครื่องดื่มริมชายหาด 1 อาคาร การศึกษานี้เลือกศึกษาอาคารพักอาศัยหนึ่งอาคาร ซึ่งภายในอาคารประกอบไปดวยสาธารณูปการตางๆ ไดแก ที่จอดรถ, sport club, lobby, หองพักภาพที่ 8 แสดงผังโครงการ ANANYA BEACHFRONT CONDOMINIUMเสนทางรถยนตเสนทางเดินเทาจากการสํารวจโครงการพบวา ภายในโครงการไมสามารถเขาถึงไดอยางตอเนื่อง เนื่องจากมีอาคารที่พัก 2 อาคาร และสาธารณูปการแตละอาคารมีไมครบถวน การใชงานจึงจําเปนตองมีเสนทางเดินทางระหวางอาคารเพื่อใหสามารถเขาถึงสาธารณูปการภายในโครงการ และคนพิการไมสามารถเขาถึงพื้นที่บางสวนไดโดยลําพังเนื่องจากมีอุปสรรคในการเดินทาง ไดแก ทางลาดที่มีความชันมากเกินไป และมีพื้นตางระดับในโครงการแตไมไดจัดทางลาดไวใหจากการสัมภาษณผูใชงานโครงการซึ่งเปนผูพิการดานการเคลื่อนไหว(ขา) ใชอุปกรณเกาอี้ลอเข็นพบวาการใชงานพื้นที่สวนใหญของโครงการมีปญหาและอุปสรรค เนื่องจากความชันของพื้นที่ ความตอเนื่องของเสนทาง และพื้นตางระดับ ทําใหการเดินทางในพื้นที่โครงการไมสามารถเดินทางไดโดยลําพังจําเปนตองมีผูชวยเหลือเดินทางดวย436


ภาพที่ 9 แสดงเสนทางสัญจรหลักโครงการ ANANYA BEACHFRONT CONDOMINIUMการสัมภาษณเจาหนาที่โครงการพบวาโครงการไดจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการเนื่องจากตองการรองรับกลุมลูกคาผูสูงอายุ รถเข็นเด็ก รวมถึงการเข็นอุปกรณตางๆ ทางโครงการจึงจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ โดยเฉพาะทางลาด ทางโครงการยังไมไดมีโครงการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการเนื่องจากโครงการไดเปดใหบริการไมนาน และยังไมพบปญหาจากการใชงานของลูกคาโครงการแตหากมีปญหาจากการใชงาน หรือมีขอเสนอแนะก็มีความพรอมที่จะปรับปรุงไดทันที ผูประกอบการมีความเห็นวาหนวยงานราชการควรปรับปรุงสภาพเมืองเพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงไดทั้งเมือง และการสนับสนุนทางการเงินแกผูประกอบการจะชวยสรางแรงจูงใจใหโครงการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการ437


ตารางที่ 2 แสดงขอมูลโครงการตัวอยางลําดับรายการROYAL CLIFFBAECHRESORTROYAL CLIFFGARDEN SUITBESTWESTERNPATTAYAANANYABEACHFRONTCONDOMINIUM1 ประเภทโครงการ โรงแรมอาคารชุดพักอาศัยโรงแรมอาคารชุดพักอาศัย2 ขออนุญาตกอสราง 2514 2532 มกราคม 2549 พฤษภาคม 25493 เปดใชงานโครงการ 2517 2535 ธันวาคม 2550 สิงหาคม 25514 เนื้อที่โครงการ (ไร) 100 17 5 55 จํานวนหองพักโครงการ (หอง) 1072 198 94 1016 จํานวนหองพักสําหรับคนพิการ (หอง) 12 0 5 07 จํานวนที่จอดรถ (คัน) 60 100 60 1008 จํานวนที่จอดรถคนพิการ (คัน) 0 0 1 09 หองน้ําสาธารณะเพื่อคนพิการ 2 0 2 010สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ(ตามกฎกระทรวงฯ)- ปายแสดงสิ่งอํานวยความสะดวก- ทางลาด- ลิฟต- บันได- ที่จอดรถ- ทางเดิน ทางเชื่อมระหวางอาคาร- ประตู- หองสวม- พื้นผิวตางสัมผัส- สัญญาณเตือนภัยโครงการจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกตามมาตรฐานของกฎกระทรวงโครงการจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกแตไมตรงตามมาตรฐานของกฎกระทรวงโครงการไมไดจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวก438


ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางที่ทําการศึกษาทุกโครงการไดจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ แตไมตรงตามมาตรฐานที่กําหนดในกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 โดยสามารถแบงเปนประเด็นไดดังนี้ประเภทของโครงการในโครงการประเภทโรงแรมที่มีลูกคาหมุนเวียนและมีความหลากหลายเขามาพักมีการจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกหรือการบริการเพื่อรองรับคนพิการที่เขามาใชงานโครงการมากกวาโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยที่กลุมลูกคามักเปนผูที่ซื้อและมีกรรมสิทธิในหองพัก ซึ่งสามารถปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกภายในหองไดตามตองการ อีกทั้งขอกฎหมายไมไดกําหนดใหโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในพื้นที่สวนกลางของโครงการจึงไมไดมีการใหความสําคัญมากนัก โดยการจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกสวนกลางสวนใหญเกิดจากปญหาการใชงานของกลุมลูกคา หรือการสรางเพื่อการใชงานเอนกประสงคอายุโครงการ และอาคารในโครงการประเภทโรงแรมที่กอสรางหลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใชมีการจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกมากกวาโครงการที่กอสรางกอนกฎกระทรวงมีผลบังคับใช ในโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยมีการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกใกลเคียงกันในโครงการที่กอสรางกอนและหลังกฎกระทรวงบังคับใช เนื่องจากกฎกระทรวงไมไดกําหนดใหโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการแนวทางการปรับปรุงโครงการสวนใหญไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อคนพิการ แตการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆจําเปนตองใชงบประมาณ และระยะเวลาในการปรับปรุง โครงการจึงทะยอยปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเรื่อยมา จากการสัมภาษณเจาหนาที่ในโครงการพบวาโครงการมีแนวโนมจะปรับปรุงปายสัญลักษณตางๆ หรือติดตั้งราวจับกอน เนื่องจากสามารถทําไดงายและใชงบประมาณนอย สวนที่ทําการปรับปรุงยากไดแกสวนที่เกี่ยวของกับโครงสรางเดิม เชน บันได ทางลาด ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ ชอเพชร พานระลึก (2549) โดยทางโครงการเห็นวาการสนับสนุนทางภาษีโดยนําคาใชจายในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกไปหักลดหยอนภาษีในแตละปจะชวยดึงดูดใหโครงการอื่นๆจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการเพิ่มมากขึ้นดานผูใชงานโครงการประสบปญหาหลักในดานความเชื่อมโยงของพื้นที่ตางๆภายในโครงการโดยเฉพาะในโครงการอาคารชุดพักอาศัย การปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกจึงเนนใหทางโครงการวิเคราะหเสนทางการเขาถึงและจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกในเสนทางการใชงานเพื่อใหมีความสะดวกและปลอดภัยในการใชงาน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ รศ.นวลนอย บุญวงษ สิ่งอํานวยความสะดวกที่คนพิการตองการใหปรับปรุงเบื้องตนไดแกทางเดิน ทางลาด และหองน้ํา ซึ่งลําดับความสําคัญในการปรับปรุงนั้นจะมีความแตกตางจากลําดับการปรับปรุงของโครงการการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการควรยึดการใชงานของคนพิการเปนหลักเนื่องจากเปนผูที่ใชงานและประสบปญหาอุปสรรคการใชงานจริง โดยมีขั้นตอนดังนี้439


1. การวิเคราะหเสนทางการเดินทางหลักของโครงการ เพื่อใหมีความตอเนื่องและสามารถเขาถึงพื้นที่ภายในโครงการไดอยางสะดวกและปลอดภัย โดยวิเคราะหการเขาถึงพื้นที่ตางๆ เชน ที่จอดรถ >lobby > หองพัก, lobby > รานอาหาร, lobby > สระวายน้ํา เปนตนภาพที่ 10 แสดงตัวอยางการวิเคราะหเสนทางสัญจรหลักโครงการ2. สํารวจเสนทางและตรวจสอบอุปสรรคสําหรับการเดินทางของคนพิการ เชน บันได พื้นตางระดับ ความกวางทางเดิน ปายและสิ่งกีดขวางตางๆ เปนตนภาพที่ 11 แสดงตัวอยางการตรวจสอบอุปสรรคในเสนทางสัญจรหลักโครงการ440


3. จัดทํารายละเอียดการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในเสนทางหลักในโครงการ โดยการศึกษามาตรฐานการจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการจากกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 เชน ทางลาด ราวจับ เปนตนภาพที่ 12 แสดงตัวอยางการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกบนเสนทางสัญจรหลักโครงการ4. นอกเหนือจากเสนทางหลักภายในโครงการแลวควรมีการวิเคราะการใชงานของพื้นที่ใชงานยอยตางๆของโครงการ โดยเฉพาะหองน้ํา และหองพักของโครงการ ตั้งแตความกวางของประตูทางเขา ความกวางของพื้นที่ภายใน รวมถึงลักษณะการใชงานพื้นที่จากการศึกษาขางตนพบวาโครงการตางๆยังไมมีการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการอยางถูกตอง ทั้งโครงการที่กอสรางกอนและหลังกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช ซึ่งอาจเกิดจากขอจํากัดตางๆ ทางกายภาพ และดานความรูความเขาใจของบุคลากรของโครงการ การปรับปรุงสิ่งแวดลอมจึงควรไดรบความรวมมือจากหลายฝายหากผูประกอบการจัดสรางและปรับปรุงแตเพียงลําพังโดยขาดความเขาใจจะเกิดการสูญเสียทรัพยากรและงบประมาณของโครงการ ในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการหนวยงานราชการควรมีการประชาสัมพันธ อบรมใหความรู แกผูประกอบการและผูออกแบบ รวมถึงเขมงวดตอการบังคับใชกฎหมายในอาคารที่กอสรางใหมสิ่งสําคัญที่สุดในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการคือความรูความเขาใจของบุคคลากรภายในองคกร เนื่องจากการปรับปรุงในแตละโครงการยอมมีความแตกตางกันหากบุคลกรมีความรูความเขาใจก็สามารถที่จะนําความรูความเขาใจไปประยุกตใชในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในแตละโครงการได441


การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยกับการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกาและคลังสินคาริมน้ํา: กรณีศึกษา ยานทรงวาด กรุงเทพมหานครADAPTIVE REUSE AND REHABILITATION OF OLD COMMERCIAL AND WAREHOUSEDISTRICTS IN RIVERFRONT AREAS: A CASE STUDY OF SONG WAT DISTRICT, BANGKOKนิรมล เหงาตระกูลหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอยานทรงวาด กรุงเทพมหานคร เปนยานพาณิชยกรรมเการิมน้ําประเภทโกดังและคลังสินคา ที่ไดรับผลกระทบหลังจากเกิดกระบวนการเปลี่ยนสภาพของชุมชนไปสูสังคมสมัยใหม ทําใหระบบโครงสรางของพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยปจจัยที่สงผลกระทบตอยานพาณิชยกรรมริมน้ํามากที่สุด คือ การเรงพัฒนาระบบคมนาคมทางบกขึ้นมาทดแทนการคมนาคมทางน้ําเดิมสงผลใหบทบาทของน้ําในฐานะเสนทางสัญจรหลักของการคาขายและขนสงสินคาถูกลดความสําคัญลง รูปแบบการคาที่ตองพึ่งพาสายน้ําจึงสูญหายไปในที่สุด ทายที่สุดแลว ยานทรงวาดไมสามารถปรับตัวใหเขากับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได เนื่องมาจากระบบโครงสรางพื้นฐานเดิมไมสามารถรองรับการใชงานไดอยางเหมาะสมอีกตอไป จึงเกิดความเสื่อมถอยของกิจกรรมการคาในที่สุด อยางไรก็ตาม ยังมีองคประกอบทางกายภาพบางอยางของยานที่มีคุณคา สะทอนถึงวิถีชีวิตและกิจกรรมการใชงานเดิม การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย จึงเปนวิธีการหนึ่งในการผสานยานพาณิชกรรมเการิมน้ําเขากับเนื้อเมือง ซึ่งเปนวิธีการที่สอดคลองกับการดํารงรักษาเอกลักษณความเปนสถานที่ของยานไวการศึกษาครั้งนี้จึงมุงเนนนําเสนอขอคนพบที่เปนเงื่อนไขในการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมริมน้ําและโกดังสินคาดวยวิธีการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย ผานกรณีศึกษาของยานทรงวาด เพื่อนําไปสูการฟนฟูบูรณะพื้นที่อื่นๆ ที่มีปญหาและศักยภาพใกลเคียงกันใหตอบสนองตอการใชงานอยางรวมสมัยตอไป1. ที่มาและความสําคัญของปญหา“ยานพาณิชยกรรมริมน้ํา”มีบทบาทสําคัญในการสะทอนเอกลักษณทางสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่ และแสดงใหเปนถึงตนกําเนิดของการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของสังคมเมืองในกรุงเทพมหานคร ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน รวมถึงกิจกรรมการใชพื้นที่อันแสดงถึงคุณคาเชิงอัตลักษณของชุมชนที่เปนรากฐานของวัฒนธรรมไทย ดังนั้น ยานพาณิชยกรรมริมน้ําในอดีต จึงมีความสําคัญมากกวาการเปนยานการคา แตมีคุณคาในบริบทของความเปนสถานที่หรือความเปนเอกลักษณของเมืองกรุงเทพฯยานพาณิชยกรรมริมน้ําในยุคแรกของกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มตนจากการลําเลียงผลิตผลทางการเกษตรจากสวนผลไมตลอดสองฝงแมน้ําเจาพระยามาซื้อขายแลกเปลี่ยนกันตามจุดนัดพบ โดยใชการสัญจรทางน้ําเปนหลักจนเกิดเปนตลาดน้ําขึ้น (ศรีศักร วัลลิโภดม, 2536:50) ตอมาเมื่อกิจกรรมการคาเจริญขึ้นมีการพัฒนา442


จากการติดตอคาขายทางน้ํามาเปนตลาดนัด จนเกิดเปนเครือขายตลาดที่มีการพัฒนาและขยายตัวขึ้นสูบกเริ่มตนจากการอาศัยทาน้ําเปนจุดรวมสินคา ขยายตัวจนเปนตลาดนัดบนบก โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่ในเขตเมืองชั้นในที่มีความเปนศูนยกลางทางการคาจะมีการสรางโกดังสําหรับเก็บสินคาไวริมน้ําเพื่อรอการขนสงตอไปขายยังพื้นที่อื่นๆ ทั่วเขตพระนคร และพัฒนาจนกระทั่งกลายเปนเปนยานพาณิชยกรรมแบบคาสงและโกดังสินคาในที่สุดตอมาความสําคัญของยานพาณิชยกรรมริมน้ําและโกดังสินคาเพิ่มมากขึ้นเมื่อมีการเปดตลาดคาขายกับตางประเทศภายใตกระแสพาณิชยนิยม (Mercantilism) และการลาอาณานิคม (Colonialism) สงผลใหกิจกรรมดานการนําเขา และสงออกจึงเพิ่มจํานวนขึ้นอยางรวดเร็ว ขาว พริกไทย เครื่องเทศ น้ําตาล น้ํามันมะพราว และสินคาพื้นเมืองอีกเปนจํานวนมาก กลายเปนสินคาสงออกไปยังตางประเทศที่เพิ่มจํานวนอยางรวดเร็ว พืชผลการเกษตรที่ผลิตและหาไดจากพื้นที่ตอนบนของประเทศ ถูกลําเลียงลองลงมาตามลําน้ํา ขณะที่บางสวนไดมาจากเขตเรือกสวนไรนาทางฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา ซึ่งอาศัยรองน้ําคลองบางกอกนอยเปนเสนทางลําเลียงเขาสูโกดังสินคาริมน้ําเพื่อรอการขนสงไปขายตอไป(สมศักดิ์ ดํารงสุนทรชัย, 2544) ตอมามีการพัฒนาระบบคมนาคมทางบกดวยการตัดถนนและสรางทางรถไฟในสมัยรัชกาลที่ 4-5 เพื่อเปดเสนทางใหมสําหรับพื้นที่การคา จนเกิดเปนลักษณะเฉพาะเชิงสัณฐานของยานอันประกอบไปดวยเสนทางการขนสงลําเลียงสินคามากมายจากริมแมน้ําที่มาเชื่อมโยงกับถนนสายหลักของยาน สงผลใหพื้นที่คึกคักไปดวยกิจกรรมการขนสงสินคาเขาเทียบทาริมแมน้ําและสงออกสูถนน กระจายไปยังพื้นที่ตางๆ ของเมือง เกิดการขยายตัวของกิจกรรมการคา และสงผลใหยานพาณิชยกรรมริมน้ําหลายแหงมีความเจริญรุงเรืองยิ่งขึ้นในชวงระยะเวลาหนึ่งอยางไรก็ตาม การพัฒนาโครงขายคมนาคมทางบกตามแผนและนโยบายของภาครัฐ ทําใหเกิดการขยายตัวของโครงขายคมนาคมทางบกที่เพิ่มมากขึ้นจนเสียสมดุลระหวางการเดินทางขนสงสินคาทางน้ําและบกกลายเปนปจจัยสําคัญ ที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงระบบการคาและวิถีชีวิตของยานพาณิชยกรรมริมน้ําเดิมประกอบกับกระบวนการเปลี่ยนสภาพของชุมชนไปสูสังคมสมัยใหม ทําใหระบบโครงสรางชุมชนเดิมเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สงผลใหบทบาทของน้ําในฐานะเสนทางสัญจรหลักในการขนสงสินคาถูกลดความสําคัญลง การคาสงจากที่เคยขนสงสินคาทางน้ําไดในปริมาณมากกลับกลายเปนตองพึ่งพาถนนขนาดเล็กที่ขนสงสินคาไดในปริมาณจํากัด ทายที่สุดแลว ยานพาณิชยกรรมริมน้ําและโกดังสินคาหลายแหงที่บางแหงไมสามารถปรับตัวใหเขากับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได จึงเกิดความเสื่อมถอยของกิจกรรมการคาและหมดลงไปในที่สุดปจจุบันพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําประเภทโกดังและคลังสินคาหลายแหงของกรุงเทพมหานครกําลังประสบปญหาความเสื่อมสภาพ ถูกทิ้งรางและมีการยายออกของกิจกรรมการคา เนื่องจากระบบโครงสรางพื้นฐานไมเอื้ออํานวยตอการใชงานในปจจุบัน จึงเปนอุปสรรคสําคัญของการดํารงรักษาลักษณะทางกายภาพอันเปนมรดกตกทอดจากยุคที่เคยรุงเรืองในการคาขายทางน้ํา อยางไรก็ตาม วิธีหนึ่งในการผสานยานพาณิชกรรมเการิมน้ําเขากับเนื้อเมือง คือ การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย ซึ่งเปนวิธีการที่สอดคลองกับการดํารงรักษาเอกลักษณความเปนสถานที่ของยาน อันประกอบไปดวยกายภาพที่แสดงถึงยุคสมัย ตอบสนองตอกิจกรรมการใชงานที่มีมายาวนาน ผูกพันกับวิถีชีวิตเรื่องราวและความทรงจําของผูคนในยานนั้น กลาวคือ การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยพื้นที่ เปนการประสานเอกลักษณของสถานที่นั้น (identity of Place) เขากับประโยชนใชสอย443


ใหม เพื่อใหตอบสนองตอความตองการรวมสมัยของชุมชนเมืองและเกิดการใชประโยชนพื้นที่อยางสูงสุดตลอดจนสอดคลองกับการพัฒนาเมืองในภาพรวม2. เงื่อนไขของการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเการิมน้ําจากการทบทวนวรรณกรรม มีแนวคิดที่เกี่ยวของ 3 ชุดหลัก ดังนี้2.1 แนวคิดเรื่องการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย (Adaptive Reuse )การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย หมายถึง กระบวนการปรับเปลี่ยนสิ่งกอสรางเกา เพื่อการใชงานใหมเมื่อการใชงานเดิมของสิ่งกอสรางเปลี่ยนแปลงไป หรือถูกยกเลิกการใช อาจดวยเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรม หรือสถาปตยกรรม จึงกอใหเกิดโอกาสในการเปลี่ยนแปลงประโยชนใชสอยเดิมของอาคารสิ่งกอสรางนั้น โดยที่คงไวซึ่งองคประกอบบางอยางที่แสดงถึงความเปนเอกลักษณของสิ่งกอสรางนั้น (John A.Kilpatrick, 2008)ทั้งนี้ การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย ยังหมายถึง การคงไวหรือปรับปรุงโครงสรางของอาคาร และสวนประกอบของอาคารบางสวนหรือทั้งหมด เพื่อใหอาคารกลับไปสูสภาพที่ดีดังเดิม โดยที่การใชประโยชนของอาคารสามารถเปลี่ยนกลับไปกลับมา เนื่องจากมีมิติของเวลาเขามาเกี่ยวของ และอาจใชวิธีการนี้กับอาคารที่มีคุณคา หรือเกี่ยวกับวัฒนธรรม เชน Museums, Art centers, อาคารบานเรือน ซึ่งอาจจะตั้งอยูที่เดิมหรือยายไปที่ใหมก็ได นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย หมายรวมถึงวิธีการดังตอไปนี้ดวย- Remodeling เปนการปรับเปลี่ยนลักษณะการใชสอย หรือ Space ของอาคาร- Modernization การทําใหอาคารทันสมัยขึ้น โดยรักษาโครงสรางเดิมของอาคารไว- Replacement เปนการสรางอาคารใหมในลักษณะเดิมเพื่อทดแทนอาคารเกาและ Stella MARIS CASAL (อางถึงใน http://www.international.icomos.org, 2008) ไดกลาวถึงหัวใจสําคัญของการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย วา ในการพิจารณาประโยชนใชสอยใหมของอาคารหรือพื้นที่นอกจากจะใหความสําคัญกับ มิติทางดานสถาปตยกรรม อันไดแก องคประกอบอาคาร สภาพ ความมั่นคงแข็งแรง พื้นที่ภายใน ตลอดจน วัสดุอาคาร และเทคนิคการกอสรางบางอยางที่เปนตัวแทนของยุคสมัย แลว ยังตองคํานึงถึง มิติทางดานสังคมวัฒนธรรม ดวย นั่นก็คือ “เอกลักษณของสถานที่” อันหมายรวมถึง บริบทของที่ตั้ง ความสําคัญทางประวัติศาสตร ตลอดจนมูลเหตุของการเกิดกิจกรรมที่เปนลักษณะเฉพาะของพื้นที่นั้น เพื่อคงรักษา “จิตวิญญาณของสถานที่” นั้นไวดวย2.2 แนวคิดเรื่องความเปนสถานที่ (Place)ตามที่ไดกลาวขางตนถึงความสําคัญของยานพาณิชยกรรมริมน้ํา อันแสดงเอกลักษณทางสังคมวัฒนธรรมของสถานที่นั้น คําวา “สถานที่” (place) รับการนิยามไวโดยกฎบัตรเบอรรา (The Burra Charter,2004) วาหมายถึงที่ตั้ง พื้นที่ ที่ดิน ภูมิทัศน อาคารหรืองานกอสรางอื่น ๆ กลุมของอาคารหรือสิ่งกอสราง ซึ่งอาจรวมถึงสวนประกอบหรือรายละเอียดของที่วางและมุมมองที่เปนสิ่งเตือนความจํา ทําใหรําลึกถึงความสําคัญทางประวัติศาสตร เศรษฐกิจ และสังคมของพื้นที่ ทั้งนี้ พบวาเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหเกิดความเปนสถานที่ (place) ไดแบงเปน 2 ประเภทคือ เงื่อนไขเชิงกายภาพ และเงื่อนไขเชิงกิจกรรมและความหมาย โดยแนวคิดที่ใหความสําคัญตอเงื่อนไขเชิงกายภาพนั้นเนนความเปนสถานที่ซึ่งเกิดจากองคประกอบทางจินตภาพของกายภาพที่444


ชัดเจน โดยทฤษฎีหนึ่งที่กลาวถึงองคประกอบทางกายภาพที่ทําให “พื้นที่” เกิดจินตภาพที่เดนชัดและถูกจดจําเปน “สถานที่” คือ ทฤษฎีจินตภาพของเมือง (The Image of The City) โดยเควิน ลินช (Lynch, 1960: 47-90)ทฤษฏีนี้กลาวถึงองคประกอบทางกายภาพที่เปนสิ่งกําหนดจินตภาพของพื้นที่ วาจินตภาพของเมืองที่ดีนั้นเกิดจากองคประกอบพื้นฐานทางกายภาพ 5 ประเภท คือ ทางสัญจร ขอบเขต ยาน จุดรวม และจุดหมายตานอกเหนือจากเงื่อนไขเชิงกายภาพแลว พบวาเงื่อนไขเชิงกิจกรรมและความหมายที่เกิดจากการถายทอดผานวีถีชีวิตของผูคนก็มีความสําคัญตอความเปนสถานที่ของพื้นที่ดวย ทั้งนี้ Aldo Rossi (1999) ไดกลาวถึงความเปนสถานที่ของพื้นที่ใดๆ ก็ตามวา ประกอบไปดวย 2 องคประกอบ คือ องคประกอบทางกายภาพ(permanencies) และคุณคาทางจิตใจ หรือจิตวิญญาณของสถานที่ (spiritual value) ซึ่งเปนองคประกอบที่มองไมเห็นดวยตา แตเกิดจากวิถีชีวิตของผูคนเกิดเปนเรื่องราว และความหมายจากการอยูอาศัยกันมาอยางตอเนื่องจนเปนความทรงจํารวมกัน เกิดเอกลักษณของพื้นที่และเปนที่ยอมรับของคนทั่วไปดังนั้น “จิตวิญญาณ” หรือ “ความเปนสถานที่” ในบริบทของพื้นที่ยานเมืองเกาที่ประกอบไปดวยลักษณะทางกายภาพที่แสดงออกถึงยุคสมัย ตอบสนองตอกิจกรรมการใชงานที่มีมายาวนาน และผูกพันกับวิถีชีวิตเรื่องราว ความทรงจําของผูคนในยานนั้นเปนสิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงเปนอันดับแรกๆ ในการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย2.3 เงื่อนไขที่สงเสริมใหเกิดพลวัตในพื้นที่สาธารณะจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริมความมีชีวิตชีวาใหกับพื้นที่ พบวาเงื่อนไขที่ทําใหพื้นที่วางสาธารณะมีความคึกคักของกิจกรรม และผูคนในหลายชวงเวลา ประกอบไปดวยคุณลักษณะเชิงพื้นที่ 4 ประการ ไดแก ความยืดหยุน ความหนาแนน ความเชื่อมตอ และคุณภาพของพื้นที่ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ความยืดหยุน (flexibility) พื้นที่วางสาธารณะที่ดีตองมีความหลากหลายของประโยชนใชสอยโดยเฉพาะในยานพาณิชยกรรมซึ่งมักจะมีขนาดเล็กและจํานวนนอย จะตองสามารถปรับตัวเพื่อใหเกิดศักยภาพของการใชพื้นที่อยางสูงที่สุด มีการใชบริการสาธารณูปการแบบผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนตลอด 24 ชั่วโมง (cyclicuse) โดยอาศัยองคประกอบทางกายภาพแบบชั่วคราว (temporary setting) เชน การปรับเปลี่ยนลานโลงหรือทางเดินเทาเพื่อใชประโยชนชั่วคราวทางการคาและการบริการ เชน เปนตลาดนัด หรือแผงลอยชั่วคราวความหนาแนน (density) ขนาดและความหนาแนนของกิจกรรมและกลุมคนที่เขามาใชพื้นที่เปนปจจัยขั้นตนที่มีผลตอความสําเร็จของพื้นที่วางสาธารณะในยานพาณิชยกรรมหลัก เพราะความหนาแนนที่สูงจะทําใหเกิดอุปทานคือผูคนจํานวนมากที่มีศักยภาพตอการใชประโยชนพื้นที่ ในขณะที่ปจจัยสําคัญในระดับยานและพื้นที่ที่มีผลตอความมีชีวิตชีวาบนพื้นที่วางสาธารณะนั้นคือปริมาณความหนาแนนของการสัญจรทางเทาในบริเวณโดยรอบ (Gibberd, 1967: 95)ความเชื่อมตอ (connectivity) ทฤษฎีการสัญจรอิสระของฮิลลีเออร (Hillier et al., 1993 อางในไขศรีภักดิ์สุขเจริญ, 2548) ไดอธิบายความสําคัญของการเชื่อมตอโครงขายทางเดินเทาวา พื้นที่รวมกลุมของกิจกรรมการคาและพาณิชยกรรมนั้นจะเกิดขึ้นไดเมื่อมีการหลอเลี้ยงดวยการสัญจรอิสระที่มากกวาปกติ หากโครงขายถนนและพื้นที่สาธารณะมีการประสานเชื่อมตอกันอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ คนเดินเทาจะสามารถสัญจรจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในระบบไดอยางเสรี ถนนและพื้นที่สาธารณะก็จะมีทั้งกิจกรรมการสัญจรเพื่อผานไป445


(moving through) และเขาถึง (moving to) เกิดการไหลเวียนปะปนกันของผูคนเดินถนนที่มีวัตถุประสงคหลากหลาย มีจุดมุงหมายที่แตกตาง เอื้อใหเกิดการใชประโยชนพื้นที่อยางหลากหลาย คึกคัก และมีชีวิตชีวาไดคุณภาพของพื้นที่ (quality of space) พื้นที่วางที่ดีสามารถปรับตัวไปตามวิถีชีวิตและสถานการณทางสังคมของแตละพื้นที่ สภาพแวดลอมและภูมิอากาศที่เหมาะสมถือเปนปจจัยที่สําคัญที่จะทําใหผูคนเขามาใชงานและใชระยะเวลาอยูในพื้นที่ไดหลากหลายและยาวนานยิ่งขึ้น นอกจากนี้ พื้นที่ใดที่มีองคประกอบทางกายภาพและภูมิทัศนที่ดี ก็จะชวยสงเสริมใหพื้นที่สาธารณะนั้นดูนาสนใจและเอื้อใหเกิดการใชงานพื้นที่ที่ยาวนานขึ้นไดเชนเดียวกันกรอบแนวคิดการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเการิมน้ําดวยแนวทางการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย3. กรณีศึกษา : ยานทรงวาด3.1 ยานทรงวาดในอดีต ปจจุบัน และ อนาคตยานทรงวาด เปนยานพาณิชยกรรมเการิมน้ําที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตรมาอยางยาวนาน และเปนหนึ่งในยานธุรกิจการคาของชาวไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพฯ ที่เริ่มกอตัวขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก และมีความสําคัญในฐานะที่เปนประตูการคาพืชผลทางการเกษตรระหวางประเทศไทยกับตางชาติระดับภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีกิจกรรมการคาการขนสงทางน้ําเปนหลัก ทาเรือราชวงศกลายเปนทาเรือสําคัญของการติดตอกับตางประเทศ นอกจากนี้ ยานทรงวาดยังเปนตํานานของบรรษัทนอยใหญในประเทศไทยจํานวนไมนอยเริ่มตนขึ้น หนึ่งในนั้นคือ กลุมเจริญโภคภัณฑ (CP) ที่เริ่มขึ้นในป 2464 และดําเนินกิจการคาเมล็ดพันธุพืช กอนที่จะขยายกิจการ และกลายเปนหนึ่งในตํานานเครือขายธุรกิจการคา ที่ทรงอิทธิพลที่สุดของประเทศไทยปจจุบัน ยานทรงวาดมีสภาพเสื่อมโทรมและมีแนวโนมการยายออกของกิจกรรมการคาสงและโกดังสาเหตุสวนหนึ่งมาจากการพัฒนาระบบขนสงทางบกแทนที่ระบบขนสงทางน้ําเดิมที่ถือเปนเสนเลือดสําคัญในการขนสงสินคาเขาสูยานทรงวาด ประกอบกับขอจํากัดทางกายภาพของระบบถนนที่มารองรับ ทําใหไมสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได สงผลใหกิจกรรมการคาสงในปจจุบันของยานทรงวาดมีแนวโนมลดลงถึง 70% เชนเดียวกับการลดลงอยางตอเนื่องของประชากรภาคกลางคืน (อรอุมา สิริวัฒนชัย, 2546)ทายที่สุดแลวยานทรงวาดจึงเปลี่ยนบทบาทจากพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่เคยมีความสําคัญระดับภูมิภาคในอดีต เหลือเพียงยานการคาพืชผลทางการเกษตรที่เกาแกแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานคร446


ภาพ: เปรียบเทียบลักษณะการขนสงสินคาจากน้ําสูบก (อดีต) กลายเปนทางบกเปนหลัก (ปจจุบัน)(ที่มา กรมแผนที่ทหาร)ในอนาคต ยานทรงวาดมีโอกาสในการพัฒนาใหเปนยานพาณิชยกรรมและทองเที่ยวที่สําคัญตามแผนนโยบายของกรุงเทพมหานคร ซึ่งนับเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงในการพัฒนา เนื่องจากตั้งอยูในพื้นที่ยุทธศาสตรการพัฒนา คือตั้งอยูระหวางแมน้ําเจาพระยาและยานเยาวราช ซึ่งเปนแหลงพาณิชยกรรมที ่สําคัญของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งยังมีทําเลตอเนื่องกับแหลงทองเที่ยวริมแมน้ํา โรงแรมระดับหาดาว วัด และวังในเกาะรัตนโกสินทร นอกจากนี้ ในแผนแมบทพัฒนากรุงรัตนโกสินทรยังเสนอใหยายกิจกรรมคาสงและโกดังสินคาของยานทรงวาดออกไปจากพื้นที่ ซึ่งมีความสอดคลองกับผลการสํารวจความคิดเห็นสวนใหญของประชาชนในเขตสัมพันธวงศที่เห็นวาควรอนุรักษอาคารเกาในยานทรงวาดไว โดยปรับเปลี่ยนใหมีประโยชนใชสอยใหมแทน(สํานักผังเมือง กรุงเทพฯ, 2543) ดังนั้น พื้นที่พาณิชยกรรมเกาและคลังริมน้ํายานทรงวาดจึงมีความเปนไปไดที่จะพัฒนาเพื่อใหตอบสนองความตองการของชุมชนและเมืองในภาพรวม447


แผนที่: ภาพรวมของพื้นที่ยานทรงวาดและบริบทโดยรอบ (ที่มา ผูวิจัย, 2551)แผนที่: พื้นที่กรณีศึกษายานทรงวาด เขตสัมพันธวงศ (ที่มา สํานักผังเมืองกรุงเทพฯ, 2546)448


3.2 ความเปนสถานที่ (Place) ของยานทรงวาดผลการสํารวจ พบวาเอกลักษณความเปนสถานที่หรือลักษณะเฉพาะของยานทรงวาดที่สะทอนความสําคัญของพื้นที่ ประกอบไปดวย ลักษณะทางกายภาพ (physical appearance) ระบบกิจกรรม (activity)และความหมายของพื้นที่ (meaning) ที่บงบอกถึงความเปนยานทรงวาด มีดังนี้ดานกายภาพ ไดแก รองรอยและเสนทางการลําเลียงสินคาในอดีตที่ยังปรากฏใหเห็นตลอดริมฝงแมน้ําเจาพระยาของยานทรงวาด มีลักษณะเปนตรอกเล็กๆ ตั้งฉากกับแมน้ําเจาพระยาเชื่อมบริเวณริมน้ํากับถนนทรงวาด เปนหลักฐานยืนยันไดวายานนี้เคยมีกิจกรรมการคาการขนสงทางน้ํามาในอดีต และยังพบมีเสนทางเชื่อมตอจากถนนทรงวาดไปยังยานสําเพ็ง-เยาวราช ซึ่งเปนแหลงการคาที่สําคัญอีกดวย เสนขอบตลิ่งที่มีลักษณะเวาเขาไปตามการใชงาน ถือเปนเอกลักษณอยางหนึ่งของยานพาณิชยกรรมริมน้ํา ที่ในอดีตรองรับการจอดเรือขนสงสินคา กรณีของยานทรงวาด พบวาเสนขอบดังกลาวมีความเปลี่ยนแปลงหลังจากการขนสงทางบกเขามามีบทบาทแทนที่ กลายเปนถนนหนทางและถูกแทนที่ดวยอาคารในที่สุด นอกจากเสนขอบที่เกิดจากแนวตลิ่งแลว เสนขอบฟาและมุมมองจากแมน้ําเจาพระยาก็ถือวาเปนองตประกอบทางกายภาพที่แสดงจินตภาพของยานโดยรวมดวยแผนที่: ตรอก ซอกซอยที่เกิดจากการขนสงลําเลียงสินคาจากน้ําสูบก (ที่มา: ผูวิจัย, 2552)ภาพ: ลักษณะเสนขอบฟาของยานทรงวาด มุมมองจากแมน้ําเจาพระยา (ที่มา: ผูวิจัย, 2552)449


พ.ศ.2475พ.ศ.2517พ.ศ.2530พ.ศ.2551ภาพ: ภาพถายทางอากาศยานทรงวาด ปพ.ศ. 2475, 2517, 2530 และ 2551 (ที่มา กรมแผนที่ทหาร)นอกจากนี้ อาคารบริเวณริมถนนทรงวาดสองฝงมีลักษณะเปนหองแถวเกา 2-4 ชั้น มีรูปแบบอิทธิพลทางสถาปตยกรรมจากจีนผสมผสานกับตะวันตก มีการประดับตกแตงอาคารดวยลวดลายปูนปนและลายแกะสลักรูปพืชพรรณธรรมชาติที่สื่อถึงกิจกรรมการคาหลักของยาน สะทอนใหเห็นถึงความรุงเรืองของกิจกรรมการคาและวัฒนธรรมในอดีต อยางไรก็ตาม สาเหตุที่อาคารสวนใหญยังคงอยูไดโดยไมถูกรื้อถอนสรางใหมเนื่องจากติดขอกฎหมายเรื่องระยะถอยรนและการบังคับความสูงอาคาร ทําใหการสรางอาคารใหมไมมีความคุมคา จึงสงผลใหหองแถวเการิมถนนทรงวาดคงสภาพอยูไดถึงปจจุบัน ทั้งนี้ ลักษณะทางสถาปตยกรรมของอาคารดังกลาวถือเปนเอกลักษณที่พบไดเฉพาะในยานทรงวาดเทานั้นภาพ: ลักษณะเดนทางสถาปตยกรรมของอาคารในยานทรงวาด (ที่มา ผูวิจัย, 2551)450


ดานกิจกรรมและการใชพื้นที่ พบวายานทรงวาดมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เปนเอกลักษณ คือการคาสงพืชผลทางการเกษตร แตปจจุบันไดลดบทบาทลงมากถึงรอยละ 70 (อรอุมา ศิริวัฒนชัย, 2546) จากการสํารวจ พบวา กิจกรรมการใชพื้นที่สวนใหญ เปนการขนสงและลําเลียงสินคาโดยแรงงานจากนอกพื้นที่ในเวลากลางวันและเดินทางออกจากพื้นที่ในเวลาเย็นหลังเลิกงาน สงผลใหในชวงวันหยุดงานและเวลาเย็นจนถึงกลางคืน พื้นที่ถูกทิ้งรางและมีแนวโนมการเกิดอาชญากรรมขึ้น นอกจากนี้จากการสํารวจยังพบวา การใชพื้นที่อาคารและโกดังสินคาของยานมีรูปแบบเฉพาะ 5 ลักษณะ ดังนี้ลักษณะการใชงานอาคารรูปแบบที่ 1การจอดรถขนสงสินคา รายละเอียดอาคารชั้นลางบริษัทสําหรับติดตอการคาและเปนโกดัง ชั้นบนเปนโกดัง มีการขนสงสินคาจากรถบรรทุกที่จอดริมถนนทรงวาดรูปแบบที่ 2รูปแบบที่ 3รูปแบบที่ 4รูปแบบที่ 5อาคารชั้นลางบริษัทสําหรับติดตอการคาและสํานักงาน ชั้นบนเปนโกดัง มีการขนสงสินคาจากรถบรรทุกที่จอดริมถนนทรงวาดอาคารชั้นลางบริษัทสําหรับติดตอการคาชั้นบนเปนสํานักงาน สวนโกดังอยูดานหลัง มีการขนสงสินคาจากรถบรรทุกที่จอดในซอยขางอาคารอาคารชั้นลางบริษัทสําหรับติดตอการคาชั้นบนเปนโกดัง มีอาคารดานหลังเปนโกดังและสํานักงาน การขนสงสินคาจากรถบรรทุกที่จอดในซอยขางอาคารอาคารชั้นลางบริษัทสําหรับติดตอการคาชั้นบนเปนสํานักงาน สวนโกดังสินคายายออกไปนอกเมือง มีการติดตอการคาดวยรถสวนตัว และการเดินเทาตาราง: รูปแบบการใชหองแถวริมถนนทรงวาดแบบตางๆ (ที่มา: จากการสํารวจ โดยผูวิจัย, 2551)ทั้งนี้ การใชอาคารมีแนวโนมจะเปลี่ยนแปลงไปเปนลักษณะที่ 5 มากขึ้น คือ มีการยายออกของโกดังสินคาที่ยายออกไปอยูพื้นที่อื่นที่มีความสะดวกในการขนสงมากกวา คงเหลือไวเพียงบริษัทสําหรับติดตอการคาที่ยังคงอยูเนื่องจากเปนจุดเริ่มตนของกิจการคาขายมาตั้งแตรุนบรรพบุรุษ สวนกิจกรรมทางสังคมอื่นๆ ของคนในพื้นที่แทบไมพบแลว เนื่องจากยานทรงวาดไมมีลักษณะของพื้นที่ที่เปนเปนชุมชนอยู มีเพียงแตที่พักของคนงาน451


และเจาของอาคารบางสวน จึงไมมีสวนรวมกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นมากนัก เวนแตในชวงเทศกาลที่เกี่ยวของกับคนจีน ซึ่งจะมีความสัมพันธกับศาลเจาที่อยูริมถนนทรงวาด โดยผูใชงานบางสวนเปนคนในพื้นที่และชุมชนขางเคียงภาพ: กิจกรรมในบริเวณทาเรือราชวงศ (ที่มา ผูวิจัย,2551)ภาพ: กิจกรรมการคาของยานทรงวาดชวงกลางวันและกลางคืน (ที่มา ผูวิจัย, 2551)ดานความหมายของพื้นที่ จากการสอบถามคนในพื้นที่ถึงความสําคัญของยานทรงวาด พบวามีความเห็นที่เกี่ยวของกับการใหความหมายของยานทรงวาด ดังนี้ “ตั้งแตมาอยูก็เห็นมีการคาเดิมอยู คือการคาพืชผลการเกษตรอยูมานานมากแลว นอกจากนั้นไมคอยทราบอะไรมาก” (คุณยุพา อายุ 36 ป) “ยานนี้เปนแหลงคนจีนมาตั้งแตสมัยกอน รานรวงสวนใหญมีคนจีนเปนทั้งเจาของกิจการและลูกจาง ปจจุบันเปลี่ยนเปนลูกจางคนไทยทางภาคอีสานมากขึ้น” (ไมทราบชื่อ อายุ 52 ป,2551) “ยานนี้มีการขายขาว และพืชผลทางการเกษตรมาตั้งแตเกิด เมื่อกอนจะมีการขนสงสินคาจากทางน้ํามาขึ้นทาเพื่อสงตอไปขายที่ยาน เยาราชและพาหุรัด”(คุณจุฬาลักษณ อายุ 37ป,2551) นอกจากนี้จากการสอบถามพบวา ยังมีพื้นที่สําคัญของคนในพื้นที่ ที่เปนศูนยรวมกิจกรรม ไดแก บริเวณศาลเจาเลาปุนเถากง โรงเรียนเผยอิง และมัสยิดหลวงโกชา โดยเปนที่จัดกิจกรรมเทศกาลงานประเพณีทางศาสนา เชน เทศกาลกินเจ เทศกาลตรุษจีน และพิธีละหมาดทุกวันศุกรของชาวมุสลิมนอกจากนี้ยังมีพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรอีกแหงหนึ่งคือ ทาเรือราชวงศ ซึ่งเปนทาเรือเกาแกที่เกิดขึ้นเปนแหงที่สองรองจากทาเรือโอเรียนเต็ล แตปจจุบันพบวาอาคารทาเรือถูกเปลี่ยนแปลงไปมากแลว คงเหลือแตเพียงกิจกรรมการใชงานที่ยังคงอยู และไดลดบทบาทลงเปนเพียงทาเรือโดยสาร อยางไรก็ตาม คนในพื้นที่บางสวนยังพอทราบความสําคัญทางประวัติศาสตรอยูภาพ: ศาลเจา โรงเรียนเผยอิง มัสยิดหลวงโกชา และทาเรือราชวงศ (ที่มา ผูวิจัย, 2551)452


จากผลสํารวจพื้นที่ตามกรอบแนวคิดเรื่องความเปนสถานที่ นําไปสูการกําหนดเงื่อนไขการดํารงรักษาองคประกอบความเปนสถานที่ยานทรงวาด ไดแก ตรอก ซอย ที่เปนเสนทางการลําเลียงสินคาเกา เนื่องจากเปนลักษณะเฉพาะทางกายภาพที่สะทอนภาพกิจกรรมการลําเลียงสินคาจากน้ําขึ้นสูบกในอดีต นอกจากนี้ยังรวมถึงหองแถวเการิมถนนทรงวาด ตลอดจนพื้นที่ศูนยรวมกิจกรรมตางๆ ที่มีความสําคัญตอคนในพื้นที่ และการดํารงรักษาความหมายที่เกิดจากความเชื่อ วิถีชีวิต และสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่ดวย3.3 ยานทรงวาดจากการสํารวจตามเงื่อนไขของความเปนยานพาณิชยกรรมที่ดีความยืดหยุน (flexibility) จากการสํารวจพบวา กิจกรรมการคาสงและประเภทสินคาภายในยานมีความเฉพาะเจาะจง ทําใหระบบขนสงและการใชพื้นที่คอนขางขาดความยืดหยุน และตองการพื้นที่รองรับในการถายเทและลําเลียงสินคามากเปนพิเศษ สงผลใหกิจกรรมการคาขาดความหลากหลาย นอกจากนี้ยังพบวามีการใชพื้นที่สาธารณะเฉพาะบางชวงเวลา ไดแก การลําเลียงสินคาเขาพื้นที่ดวยรถบรรทุกเฉพาะชวงเวลาที่อนุญาตใหรถวิ่งในเมืองได หรือชวงเวลาทํางานของแรงงานขนสงสินคา ทําใหมีกิจกรรมการใชพื้นที่ในลักษณะเดียวที่ขาดความหลากหลายของกิจกรรม และใชงานเปนบางเวลาความหนาแนน (density) แมวากิจกรรมการใชพื้นที่หลักของยานทรงวาดคือ กิจกรรมการคาสง แตไมพบวามีกิจกรรมทางสังคมอื่นๆ หรือกลุมผูใชอื่นมากนัก นอกจากบริเวณทาเรือราชวงศ ที่เปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรจากน้ําไปบก แตผูคนมักจะผานไปยังพื้นที่อื่น เชน สําเพ็ง เยาวราช มากกวาจะเขามาในพื้นที่ สงผลใหในพื้นที่มีความหนาแนนของกิจกรรมการใชงานในระดับต่ําความเชื่อมตอ (connectivity) ยานทรงวาดมีศักยภาพที่จะพัฒนาใหเปนจุดเชื่อมตอการสัญจรไดเนื่องจากมีทาเรืออยูในพื้นที่ และในอนาคตจะเกิดสถานีรถไฟฟาขึ้นบริเวณถนนเจริญกรุง ดังนั้น จึงเปนโอกาสในการพัฒนาถนนและเสนทางเดินเทาได อยางไรก็ตาม ในปจจุบันพบวาถนนและเสนทางเทาในยานขาดความสะดวก เนื่องจากมีความแคบและตางระดับ ประกอบกับมีการจราจรหนาแนนจากรถบรรทุกจอดเพื่อถายเทสินคาในพื้นที่ ทําใหขาดความสะดวกในการสัญจรและเชื่อมตอไปยังพื้นที่อื่นๆ อีกทั้งพื้นที่ริมน้ําและเสนทางการเขาถึงสวนใหญเปนพื้นที่ของเอกชนที่มีการสรางโกดังสินคาขวางตลอดแนวริมแมน้ํา สงผลใหขาดความเชื่อมตอทั้งการเขาถึงและมุมมอง อีกทั้งสาธารณะชนยังไมสามารถเขาไปใชงานไดดวยคุณภาพของพื้นที่ (quality of space) จากการสํารวจพื้นที่พบวาถนนและอาคารสวนใหญมีสภาพทรุดโทรม ขาดการดูแลรักษา เนื่องจากการใชงานอยางตอเนื่องมาเปนเวลานาน ถนนและตรอกซอกซอยในพื้นที่ประสบปญหาน้ําทวมขังเปนประจํา อีกทั้งยังทรุดโทรมจากการสัญจรเขาออกของรถบรรทุก และพบวาเสนทางเทาในพื้นที่มีความแคบและตางระดับทําใหขาดความสะดวกในการเดิน นอกจากนี้ ภายในยานยังขาดพื้นที่สาธารณะที่มีคุณภาพ ตลอดจนมีสภาพแวดลอมที่ดี เนื่องจากพื้นที่วางสวนใหญใชจอดรถและลําเลียงสินคา4. ขอวิเคราะหจากผลการสํารวจจากผลการสํารวจทําใหสามารถสรุปประเด็นปญหาบทบาทของยานทรงวาดในปจจุบันไดวา ยานทรงวาดเปนยานพาณิชยกรรมเกาที่ไดรับผลกระทบโดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงหลังจากการพัฒนาระบบคมนาคมขนสงจากน้ํามาเปนบก อีกทั ้งยังไมสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงดังกลาวได เนื่องจากขอจํากัดทาง453


กายภาพของระบบถนนที่มารองรับ และกิจกรรมการคาสงที่ตองพึ่งพาระบบขนสงและการเชื่อมตอที่ดี อีกทั้งการใชพื้นที่ในยานยังขาดความหนาแนนและความหลากหลายของประเภทสินคา นอกจากนี้ พื้นที่ยังขาดความยืดหยุนในการใชงาน เนื่องจากมีการถือครองกรรมสิทธิ์โดยเอกชนรายยอยจึงเปนขอจํากัดของการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกันหรือการทําโครงการขนาดใหญ อีกทั้งยังถูกควบคุมดวยกฎหมายทั้งในเรื่องความสูงและระยะถอยรน ประกอบกับลักษณะของพื้นที่ที่มีความแคบและยาวทําใหยากตอการพัฒนาอาคาร จึงสงผลกระทบตอคุณภาพของพื้นที่ และเปนสาเหตุใหเกิดการยายออกของกิจกรรมการคาไปยังพื้นที่ใหม ที่มีความสะดวกกวาสงผลใหพื้นที ่บางสวนของยานทรงวาดจึงถูกทิ้งรางและเสื่อมสภาพในที่สุดอยางไรก็ตาม ยังมีองคประกอบบางอยางของยานที่สะทอนเอกลักษณความเปนสถานที่ของยานพาณิชยกรรมริมน้ําที่เคยรุงเรืองในครั้งอดีต โดยสวนใหญเปนองคประกอบทางกายภาพของพื้นที่ ไดแกโครงสรางเกาของอาคาร เสนทางลําเลียงสินคาจากแมน้ํา และอาคารสําคัญและพื้นที ่กิจกรรมในพื้นที่ ซึ่งมีความเปนไปไดในการฟนฟูบูรณะพื้นที่ดวยวิธีการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอย ประกอบกับผลการสํารวจดานความมั่นคงแข็งแรงของอาคารและสิ่งกอสรางในพื้นที่ ซึ่งเปนขอคนพบที่นําไปสูเงื่อนไขในการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยพื้นที่ตอไป5. สรุปผลและขอเสนอแนะปญหาความเสื่อมสภาพของพื้นที่พาณิชยกรรมเการิมน้ําแตละแหงมีปจจัยมาจากหลายองคประกอบในการฟนฟูบูรณะพื้นที่ตองเขาใจถึงสาเหตุของความเสื่อมนั้น เพื่อนําไปสูการคนพบเงื่อนไขของการฟนฟูบูรณะฟนที่ ในกรณีของยานทรงวาด สาเหตุของความเสื่อมเปนผลมาจากการที่โครงสรางพื้นฐานทางกายภาพของยานไมสามารถตอบสนองและปรับตัวใหรองรับตอกิจกรรมการคาเดิมได อีกทั้งกิจกรรมการคาสงกลับกลายเปนกิจกรรมที่ไมเหมาะสมตอวิถีชีวิตแบบรวมสมัยในปจจุบัน จึงสงผลใหพื้นที่เกิดความเสื่อมโทรมและทิ้งรางอยางไรก็ตาม ในการฟนฟูบูรณะพื้นที่ใหเหมาะสมกับความเจริญของเมือง และเกิดผลตอบแทนทางเศรษฐกิจตองพิจารณาปจจัยหลายอยาง ทั้งทางดานกายภาพ กิจกรรม สังคมวัฒนธรรม และประวัติศาสตรของพื้นที่จากผลการศึกษาครั้งนี้ ทําใหทราบเงื่อนไขของการฟนฟูบูรณะพื้นที่พาณิชยกรรมเการิมน้ําที่เปนพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตร โดยมีขอเสนอแนะที่จะนําไปสูการออกแบบ ดังนี้1) เพิ่มความยืดหยุนของการใชพื้นที่ในทุกชวงเวลาสนับสนุนการใชพื้นที่ในทุกชวงเวลาของกลุมผูใชตางๆกัน โดยเปดโอกาสใหเกิดการเขาถึงและใชพื้นที่ของบุคคลทุกกลุมไมวาจะเปนคนในพื้นที่ยานใกลเคียง กลุมนักทองเที่ยว กลุมผูเขามาเชาพื้นที่รายใหม โดยมีกิจกรรมที่ดึงดูดแตละกลุมผูใชในชวงเวลาที่หลากหลาย ทั้งนี้ ตองจัดเตรียมพื้นที่ที่มีความยืดหยุนตอการรองรับกิจกรรมตางๆ เชน พื้นที่สาธารณะริมน้ําที่รองรับกิจกรรมการนันทนาการประเภทตางๆ มีการพัฒนาพื้นที่บางสวนใหเปนที่พักอาศัยและโรงแรมเพื่อรองรับกลุมนักทองเที่ยวที่ชื่นชอบการเดินเทาทองเที่ยวและตองการสัมผัสความมีชีวิตชีวาของยานเยาวราชในเวลากลางคืน และพัฒนาพื้นที่ใหรองรับกิจกรรมที่ตอเนื่องกับการคายานสําเพ็งและเยาวราช เปนตน454


2) เพิ่มความหนาแนนของกิจกรรม- ดวยการเปลี่ยน “คาสง” เปน “คาปลีก” กิจกรรมการคาปลีกจะชวยเพิ่มความหลากหลายใหกับการคาในพื้นที่ มีประเภทสินคาที่หลากหลาย และลอมรอบไปดวยกิจกรรมที่ดึงดูดผูคน เชน ตลาดนัด รานอาหารและรานคาที่ตอบสนองความตองการของกลุมผูใช คํานึงถึงกิจกรรมการทองเที่ยวและการคาที่มีความตอเนื่องกับยานขางเคียงคือสําเพ็ง-เยาวราช เปดโอกาสในการเพิ่มความหนาแนนของผูใชงานในพื้นที่ ประกอบกับในแผนนโยบายการพัฒนาเมือง พื้นนี้ที่มีศักยภาพในการพัฒนาใหเปนแหลงพาณิชยกรรมและแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของกรุงเทพมหานครได ดังนั้น การใชพื้นที่ในอนาคตจึงมีความเปนไปไดในการสงเสริมกิจกรรมที่เพิ่มมูลคาใหกับพื้นที่ อยางไรก็ตาม กิจการคาขายพืชผลทางการเกษตรอันสืบทอดกันมาแตครั้งอดีตบางสวนที่ยังคงอยู และควรพัฒนาไปเปนการใชพื้นที่ในรูปแบบที่เหลือเพียงบริษัทสําหรับติดตอการคา แยกจากสวนโกดังสินคาที่อยูนอกเมือง (ตามแนวโนมการใชพื้นที่ที่สํารวจพบ)- สนับสนุนกลุมผูลงทุนและผูใชงานรายใหม ใหเขามาลงทุนในพื้นที่ ตามเงื่อนไขของกรรมสิทธิ์ที่ดินในยาน โดยมีขอตกลงในการเปดโอกาสใหเกิดการใชพื้นที่ริมน้ําที่มีความเปนสาธารณะมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งคนในพื้นที่ใกลเคียงควรมีโอกาสใชประโยชนจากพื้นที่ริมน้ําโดยตรง เพื่อสรางความหลากหลายของกิจกรรมและเพิ่มความหนาแนนใหกับพื้นที่ สงผลใหเกิดผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่คุมคา เปนการแกปญหาพื้นที่ถูกทิ้งรางใหกลับมามีชีวิตชีวามากขึ้น นอกจากนี้ ควรสนับสนุนใหกลุมผูใชกลุมใหมเขามาใชพื้นที่ ไดแกนักทองเที่ยวทั้งไทยและตางประเทศ และกลุมคนเฉพาะที่เขามาเชาในพื้นที่ เชน ศิลปน นักดนตรี นักแสดงนักเขียน เปนตน เพื่อใหพื้นที่เกิดการใชงานตลอดเวลา3) สรางความเชื่อมตอ- ระบบโครงขายการสัญจร สรางความตอเนื่องของการเขาถึงพื้นที่ริมน้ําจากสถานีรถไฟฟาใตดินที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงจากยานขางเคียง คือ สําเพ็ง เยาวราช และพาหุรัด ดวยเสนทางเดินเทา ทางจักรยานและระบบขนสงมวลชนเปนหลัก ทั้งนี้ ตองปรับปรุงใหถนนทรงวาดมีความเหมาะสมในการเดินเทา มีเสนทางเทาที่ปลอดภัยเหมาะกับคนทุกประเภท และรถใชความเร็วต่ํา- ความตอเนื่องของมุมมองและการเขาถึง เปดมุมมองและการเขาถึงพื้นที่สาธารณะริมน้ํา เปลี่ยนจากถนนสวนบุคคลใหเปนทางเทาสาธารณะ โดยใชมาตรการสรางแรงจูงใจดวยการลดหยอนภาษี และดึงเอาเอกลักษณของตรอกซอกซอยในยานที่มองผานชองมองของตรอกแคบๆ ออกสูพื้นที่เปดโลงริมน้ําในลักษณะตางกันไปมาใชในการออกแบบ พรอมทั้งมีกิจกรรมที่ดึงดูดคนอยูทั้งสองขางทางใหไปจนถึงริมน้ํา พรอมทั้งสรางความตอเนื่องของระดับพื้นที่ ดวยการไลระดับจากพื้นจากถนนทรงวาดไปจนถึงระดับสันเขื่อนกันน้ําทวม เพื่อใหเกิดการเดินและมุมมองที่ตอเนื่องไปยังริมแมน้ํา รวมถึงการลดระดับพื้นทางเดินริมน้ําเพื่อใหคนลงไปใกลชิดกับแมน้ําได- ทางเทาสาธารณะในอาคารเกา เปดชองทางเดินสาธารณะของอาคารชั้นลางตลอดแนวสองฝงถนนทรงวาด ดวยวิธีการสรางแรงจูงใจโดยการลดหยอนภาษี เพื่อแกปญหาทางเทาแบบเดิมที่มีความแคบและรอน พรอมทั้งใสกิจกรรมและการคาตลอดแนวอาคารเพื่อสรางแรงดึงดูดใหเกิดการใชงานในพื้นที่มากขึ้น พรอมทั้งเปดแนวแกนที่ตอเนื่องไปยังพื้นที่ริมน้ํา455


4) พัฒนาคุณภาพของพื้นที่- กิจกรรมใหมในโครงสรางเกา ปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยโดยพัฒนาคุณภาพของพื้นที่วางสาธารณะในโครงสรางเกา ไมวาจะเปนใตอาคาร ถนนหนทาง ตรอกซอกซอยตางๆ อันมีลักษณะเฉพาะ โดยการนําเอาลักษณะเฉพาะดังกลาวมาใชในการออกแบบ ใหรองรับตอกิจกรรมการใชงานใหม และกลุมผูใชทุกประเภทในพื้นที่ ตลอดจนการเชื่อมโยงพื้นที่ที่มีคุณคาและศูนยรวมกิจกรรมเดิมของยาน กับศูนยรวมกิจกรรมใหมที่สรางขึ้นใหมีความตอเนื่องสัมพันธกัน และเห็นลําดับความตอเนื่องของความเกา-ใหมที่อยูคูกัน รวมถึงการสรางพื้นที่ตอเนื่องที่มีคุณภาพเพื่อรองรับตอกิจกรรมทางสังคมในพื้นที่ เชน พื้นที่สําหรับการจัดเทศกาลงานประเพณีตางๆของผูคนในชุมชนใกลเคียงแผนที่: การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยอาคารในยานทรงวาด (ที่มา: จากการวิเคราะห โดยผูวิจัย, 2551)- พื้นที่สาธารณะริมน้ําสาธารณะ พัฒนาคุณภาพของพื้นที่วางและเสนทางสัญจรที่เชื่อมตอกับอาคารสําคัญ หรือพื้นที่สาธารณะที่เปนศูนยรวมของกิจกรรมตางๆ เพื่อใหเกิดโครงขายการเดินที่สมบูรณและเกิดการไหลของกิจกรรมตลอดแนวพื้นที่ริมน้ํา โดยสนับสนุนกิจกรรมการนันทนาการริมน้ําที่ทําใหผูคนไดใกลชิดกับแมน้ํา เพื่อใหเกิดวิถีชีวิตริมน้ําที่มีคุณภาพและรวมสมัยมากขึ้น456


เอกสารอางอิงยงธนิศร พิมลเสถียร. วิวัฒนาการและแนวคิดในการปรับปรุงฟนฟูเมือง. ในเอกสารประกอบการสัมมนาเชิงวิชาการ 35 ปการเคหะแหงชาติ ทิศทางการพัฒนาและฟนฟูชุมชนเมือง, 11 กุมภาพันธ 2551 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์.ซินครอนกรุป. แผนแมบทเพื่อการอนุรักษพัฒนากรุงรัตนโกสินทร. สํานักนโยบายและแผนพัฒนาสิ่งแวดลอมกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร, 2535.ซินครอนกรุป. โครงการแผนแมบทเพื่อการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบการจราจร ทางบกทางน้ํา ทางเดินเทา ในกรุงรัตนโกสินทร. สํานักนโยบายและแผนพัฒนาสิ่งแวดลอมกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร, 2537.แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว., และคณะ. องคประกอบทางกายภาพกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534.สมศักดิ์ ดํารงสุนทรชัย. ลัดเลาะเยาวราช ศึกษาตํานานการคาที่ทรงวาดกับปูนซีเมนตไทย. กรุงเทพฯ : นิตยสารผูจัดการ, 2544.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา. น้ํา บอเกิดแหงวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ, 2539.สํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร และ คณะสถาปตยกรรมศาสตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาคุณทหารลาดกระบัง. โครงการวางผังเฉพาะแหงในพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรพื้นที่บริเวณยานชุมชนเขตสัมพันธวงศ. กรุงเทพฯ, 2543.อรอุมา สิริวัฒนชัย. การฟนฟูยานพาณิชยกรรมและคลังสินคาริมน้ํา ยานทรงวาด กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2546.Australian Government: Department of the Environment and Heritage.Adaptive Reuse: Preserving our past, building our future. Australia: Pirion, 2004.Bally Meeda, Neil Parkyn and David S. Walton. Graphics for Urban Design.London: Thomas Telford, 2008.Donald Watson and Alan Plattus. Time-sever standards for urban design.New York: McGraw-hill, 2001.Ian Colquhoun. Urban Regeneration. London: B.T. Batsford, 1995.L. Azeo Torre. Waterfront development.New York: Van Nostrand Reinhold, 1989.Richard L. Austin, ASLA. Adaptive Reuse: Issue and Case studies in Building Preservation.New York : Van Nostrand company, 1988.457


การพื้นฟูบูรณะพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง อําเภอเมือง จังหวัดแพร(URBAN REHABILITATION OF BANN THUNG INTERSECTION AREA, MUANG DISTRICT, PHRAE PROVINCE)นายพงศพล วองเลศสกุลหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอยานสี่แยกบานทุงเปนยานการคาเกาแกและสําคัญที่สุดของจังหวัดแพร กําลังประสบปญหาภาวะซบเซา เนื่องจากจํานวนลูกคาที่ลดลง กิจกรรมการคาขายที่เคยคึกคักตลอดทั้งวันในอดีตหลายสวนไดปดตัวลงเหลือเพียงการซื้อขายเฉพาะในบางชวงเวลา สภาพทางกายภาพของพื้นที่มีความเสื่อมโทรมเนื่องจากอายุอาคารและขาดการฟนฟูบูรณะอยางถูกตองเหมาะสม อาคารบางสวนถูกปดตาย รวมทั้งมีพื้นที่วางที่ไมมีการใชงานและถูกปลอยใหรกราง ไมมีศักยภาพในการแขงขันกับพื้นที่พาณิชกรรมแหงใหมและไฮเปอรมารเก็ตบริเวณชานเมืองการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกา ยานสี่แยกบานทุงเปนหนึ่งในตัวอยางของการใชศาสตรและศิลปของการออกแบบชุมชนเมืองในการสรางแรงดึงดูดและสภาวะนาใชงานใหกับพื้นที่ ภายใตบริบทของความเปนสถานที่เพื่อใหสอดคลองกับ กลุมคน เวลา และกิจกรรม การฟนฟูบูรณะพื้นที่แบงออกเปน 3 มิติ ไดแก “มิติทางจินตภาพ”โดยการฟนฟูบูรณะองคประกอบทางจินตภาพสําคัญเพื่อสรางเอกลักษณของพื้นที่ “มิติทางกายภาพ”โดยการแกไขความเชื่อมตอระหวางโครงขายการสัญจรทุกระบบภายในและนอกพื้นที่ ปรับปรุงพื้นที่วางสาธารณะใหสามารถรองรับกิจกรรมและวิถีชีวิตรวมสมัย “มิติทางสังคมและเศรษฐกิจ” โดยการสรางความหลากหลายของประโยชนการใชสอยอาคารและที่ดินอยางเหมาะสมและนาสนใจ สอดคลองกับศักยภาพการเขาถึง กิจกรรมและกลุมผูใชงาน รวมถึงการฟนฟูระบบเศรษฐสัญจรโดยการวางแผนการใชประโยชนอาคารและพื้นที่วางใหมีความสัมพันธกับลําดับศักดิ์ของโครงขายการสัญจรทั้งระบบ1.บทนํายานสี่แยกบานทุงในเขตพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดแพร (รูปที่1)ในอดีตเปนพื้นที่การคาและพาณิชยกรรมหลักของจังหวัดแพร มีความหลากหลายของกิจกรรมที่จําเปนตอวิถีชีวิตของคนในพื้นที่อําเภอเมือง ทั้งในสวนของกิจกรรมการคาขาย แลกเปลี่ยน สินคาอุปโภค บริโภค และสินคาที่เกี่ยวของกับการเกษตร ซึ่งถือเปนสินคาที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตของคนแพรสวนใหญ นอกจากนั้น ยังเปนพื้นที่รองรับกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมตางๆของจังหวัดแพรตอเนื่องเสมอมา เชน กิจกรรมทางวัฒนธรรมและประเพณี รวมถึงเทศกาลสําคัญตางๆ (เทศกาลสงกรานต เขาพรรษา ลอยกระทง ฯลฯ) ภาพความคึกคักของกิจกรรมและความหนาแนนของกลุมผูใชงานตลอด458


ทั้งวันเคยเปนภาพที่พบไดทั่วพื้นที่ยาน พื้นที่ยานมีพัฒนาการเริ่มตนจากการรวมกลุมของรานคาและตลาดสดและขยายตัวกลายเปนยานพาณิชยกรรมหลักของจังหวัดแพร ทําใหมีอาคารและสิ่งปลูกสรางหลายยุคสมัยอยูปะปนกันในพื้นที่ ซึ่งลวนเปนสิ่งบงบอกถึงเรื่องราวความเปนมาและความสําคัญของยานไดเปนอยางดี (รูปที่ 2)แตในปจจุบัน ความคึกคักของกิจกรรมการคาและจํานวนผูใชงานในพื้นที่ไดลดลงไปจากเดิมมากอาคารรานคาบางสวนถูกปดตาย อาคารเกาแกมีความเสื่อมโทรมเนื่องจากอายุอาคารและการขาดการฟนฟูบูรณะอยางถูกตองเหมาะสม มีการรื้อถอนอาคารเกาบางสวนที่มีคุณคาทางประวัติศาตรของพื้นที่ รวมทั้งมีพื้นที่วางที่ไมมีการใชงานและถูกปลอยใหรกราง เนื่องจากขาดการเขาถึงและมีศักยภาพไมเหมาะสมประกอบกับการเกิดขึ้นของพื้นที่พาณิชกรรมแหงใหมและไฮเปอรมารเก็ตบริเวณชานเมือง ที่เขามามีบทบาททางการคาในพื้นที่จังหวัดแพรมากขึ้น สิ่งเหลานี้สงผลให "พื้นที่ยานสี่แยกบานทุง" กําลังประสบภาวะขาดศักยภาพการแขงขันทางการคา บทบาทและความสําคัญของยานพาณิชยกรรมหลักที่มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง วิถีชีวิตของคนในพื้นที่และวัฒนธรรมการคาระดับทองถิ่นกําลังถูกคุกคามดวยการพัฒนาที่มีจุดมุงหมายเพื่อความคุมทุนเชิงตลาดเปนหลัก เกิดชองวางระหวางคุณคาในเชิงรูปแบบการคาทองถิ่นและสมัยใหมที่มีความแตกตางมากขึ้นเรื่อยๆ จนอาจทําใหคุณคาและความสําคัญของพื้นที่เหลานี้สูญหายไปในเวลาอันใกลดวยบทบาทของพื้นที่ที่มีความสําคัญตอจังหวัดแพรทั้งในแงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตรวมถึงคุณคาทางประวัติศาสตร การนําเสนอทางเลือกเพื่อการฟนฟูบูรณะพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง ดวยกระบวนการ”การออกแบบชุมชนเมือง” (Urban design) ใหไดมาซึ่งผังกายภาพเพื่อแกปญหาสภาวะซบเซาของกิจกรรมการคา เสริมสรางศักยภาพในการแขงขันเชิงการคาระดับทองถิ่น สงเสริมวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของจังหวัดแพรตอไปรูปที่ 1 ตําแหนงที่ตั้งและขอบเขตพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง อ.เมือง จ.แพร(ขอบเขตพื้นที่ยานรวมทั้งพื้นที่พาณิชยกรรม–ที่พักอาศัย โดยรอบสี่แยกบานทุง มีอาณาบริเวณตั้งแตถนนเจริญเมือง และถนนชอแฮตัดกับ ถนนยันตรกิจโกศล รวมพื้นที่ประมาณ 25 ตารางกิโลเมตร)459


รูปที่ 2 พื้นที่ยานสี่แยกบานทุง อ.เมือง จ.แพร ในอดีต (ที่มา: กลุมลูกหลานชาวแพร)รูปที่ 3 ของพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง อ.เมือง จ.แพร ในปจจุบัน (ที่มา: ผูวิจัย 2551)2.การฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกาดวยการออกแบบชุมชนเมืองการแกปญหาสภาวะซบเซาของยานพาณิชยกรมเกาในเมือง ถูกนําเสนอผานแนวคิดและวิธีการที่หลากหลาย ลวนมีวัตถุประสงคเพื่อฟนฟูบูรณะพื้นที่ใหกลับมามีความคึกคักของกิจกรรมตางๆ รวมถึงการดํารงไวซึ่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรมการคาระดับทองถิ่น การฟนฟูบูรณะพื้นที่นั้นเนนแตการแกปญหาเฉพาะหนาเพียงอยางเดียว ผลลัพธสุดทายอาจไมสามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่ใหดีขึ้นไดอยางยั่งยืนการออกแบบชุมชนเมืองเปนหนึ่งในหลายมาตรการที่ใชเสนอแนวทางในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น โดยเนนการวิเคราะหบริบททางดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสราง"ทางเลือก" ของขอเสนอการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมทางกายภาพของพื้นที่ "ภายใตบริบทในอดีต ปจจุบันและอนาคต เพื่อใหสอดคลองกับ กลุมคนเวลา กิจกรรม และเสริมสรางศักยภาพเชิงพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุดอยางแทจริงโดยสวนมากแลวสภาพกายภาพปจจุบันของพื้นที่พาณิชยกรรมเกามักจะขาดศักยภาพในเชิงการแขงขันทางการคา เหมือนเชนในอดีตเนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงขององคประกอบและปจจัยแวดลอมอันหลากหลาย เชน พฤติกรรมและความตองการของผูใชที่เปลี่ยนแปลงไป การมีทางเลือกในการจับจายใชสอยอยางหลากหลายทั้งรูปแบบและสถานที่ เปนตน ประกอบกับความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอมของอาคารและภูมิทัศน สิ่งเหลานี้ทําใหวิถีชีวิตและวัฒนธรรมการคาระดับทองถิ่นปลี่ยนแปลงหรือคอยๆสูญหาย การขาดการ460


พัฒนาและปรับตัวที่เหมาะสมของพื้นที่พาณิชยกรรมเกา ยังสงผลตอการลดบทบาทและความสําคัญของพื้นที่ยานอยางตอเนื่อง การแกปญหาดวยมาตรการการกีดกันทางการคาในรูปของกฎกระทรวงและผังเมืองรวม เชนการหามสรางหางคาปลีกขนาดใหญในเขตเมืองชั้นในหรือการกระตุนเศรษฐกิจทองถิ่นจากความชวยเหลือของภาครัฐบาลที่มีในปจจุบันอาจไมใชแนวทางเดียวที่เหมาะสมเนื่องจากยังไมไดครอบคลุมถึงการฟนฟูบูรณะพื้นที่อยางแทจริงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยขาดการพัฒนากายภาพ อาจถือเปนความลมเหลวของมาตรการในการวางแผนพัฒนาเมือง การฟนฟูบูรณะพื้นที่ดวยแนวคิดและกระบวนการออกแบบชุมชนเมือง จึงเปนหนึ่งในแนวทางเลือก เพื ่อแกปญหาสภาวะซบเซาของกิจกรรมการคาและสรางสภาพแวดลอมทางกายภาพที่เหมาะสมกับยานพาณิชยกรรมเกา สอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่ วิถีชีวิตปจจุบันและในอนาคตตอไป3.มิติของการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกายานพาณิชยกรรมเกาที่มีทั้งความหลากหลายทางวัฒนธรรมและกิจกรรม เปนเงื่อนไขสําคัญที่ไมสามารถแยกทําการฟนฟูบูรณะพื้นที่เพียงมิติใดมิติหนึ่งได มิติตางๆมีดังนี้3.1 มิติทางจินตภาพ (Perceptual Dimension)การวิเคราะหองคประกอบทางจินตภาพ(ภาพจํา)ในยานพาณิชยกรรมเอื้อประโยชนในการสรางความจดจําของกลุมผูใชอันหลากหลายตอพื้นที่ยาน แนวคิดดังกลาวมีตนแบบมาจากการศึกษาของ เควินลินช (Kevin Lynch) ในป ค.ศ.1960 การนําแนวคิดนี้มาพัฒนาใหเกิดประโยชนตอการฟนฟูจินตภาพของพื้นที่ยานจะทําใหมีสวนชวยในการเสริมสรางความเปนสถานที่จากการจดจํา สถานที่ อาคารหรือองคประกอบในสภาพแวดลอมอื่นๆเพื่อทําใหกลุมผูใชหวนระลึกถึงบรรยากาศทองถิ่นของพื้นที่ที่เคยมีมากอนได การศึกษาองคประกอบทางจินตภาพของยานสี่แยกบานทุงพบวา พื้นที่รวมกิจกรรม (nodes) อยูในบริเวณตลาดสดดั้งเดิมจุดหมายตาที่สําคัญ (landmark) ในพื้นที่โดยคือสี่แยกบานทุง เสนทางหลัก (paths) ไดแก ถนนยันตรกิจโกศลถนนเจริญเมือง ถนนชอแฮ และถนนเหมืองหิต ซึ่งเปนตัวกําหนดขอบเขตของพื้นที่(edge) ในสวนของยาน(district) พบวาพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ใชประโยชนในเชิงพาณิชยกรรม และมีพื้นที่ชุมชนบางสวนที่ยังไมสามารถใชประโยชนอยางเหมาะสม เชน ในบริเวณชุมชนเหมืองหิต-ตนธง3.2 มิติทางกายภาพ (Physical Dimension)การปรับปรุงและการฟนฟูองคประกอบทางกายภาพใหมีความเหมาะสมพื้นฐานมาจากแนวความคิดตางๆไดแก1.แนวความคิดเชิงแผนภาพและพื้น (Figure and Ground Concept) 2.แนวความคิดการเชื่อมโยง (LinkageConcept) แนวความคิดของการสรางมุมมองและการเขาถึงพื้นที่ตอเนื่อง3.2.1 แนวความคิดเชิงแผนภาพและพื้น (Figure and Ground Concept) ที่เสนอโดยโรเจอร ทรานสิค (Roger Trancik) ในป ค.ศ.1986 โดยเปนแนวทางในการศึกษาความสัมพันธระหวางมวลของสิ่งกอสรางที่ปกคลุมพื้นดินหรือ “ภาพ”(figure) และพื้นที่โลงวางที่มีชองเปดเชื่อมโยงเขาถึงกันหรือ”พื้น“(ground)ดวย เพื่อใชในการวางแผนและจัดวางองคประกอบของพื้นที่ใชงานแตละประเภทให”ภาพและพื้น”เรียงตัวดวยรูปราง สัดสวนและลักษณะการวางตัวอยางเหมาะสม ซึ่งจากการศึกษาพบวา พื้นที่เปดโลงดานหนารานคาตอเนื่องกับเสนทางสัญจร ซึ่งในพื้นที่พาณิชกรรมเกามักพบองคประกอบของพื้นที่เหลานี้ในรูปแบบของทางเดิน461


เทาบริเวณหนาอาคารพาณิชย สวนใหญยังพบวามีขนาดเล็กและแคบ รวมทั้งมีการรุกล้ําพื้นที่โดยรานคา รวมถึงการเรียงตัวของอาคารในลักษณะกําแพงถนนที่ปดกั้นการเขาถึงพื้นที่ดานใน ทําใหพื้นที่ดานหลังอาคารเหลานี้ไมสามารถพัฒนาใหมีการใชงานอยางมีประสิทธิภาพ จึงควรมีการพัฒนาพื้นที่เหลานี้เพื่อใหสอดคลองกับลักษณะการใชงานตอไป3.2.2 แนวความคิดการเชื่อมโยง (Linkage Concept) เปนการศึกษาโดยเนน การวิเคราะหรูปแบบการเชื่อมโยงที่เหมาะสมกับบริบทและกิจกรรมในยานพาณิชยกรรมเกา โดยเนนระบบโครงขายรวมของพื้นที่ จากการศึกษาพบวาการเดินเทาและการเชื่อมโยงในอัตราความเร็วต่ําถือเปนแนวทางที่เหมาะสมกับกิจกรรมโดยรวม การสรางมุมมองและการเขาถึงพื้นที่ตอเนื่อง เปนการศึกษาที่เนนเรื่อง “ศักยภาพการมองเห็นและเขาถึง” โดยเนนคุณภาพและประสิทธิภาพในการเขาถึงพื้นที่ใชงานเปนสําคัญ จากการศึกษาพบวาแนวทางที่เหมาะสมในการสรางมุมมองและการเขาถึงใหกับพื้นที่ยานพาณิชยกรรมเกา คือการมองเห็นในลักษณะตอเนื่องเปนชวงๆ สลับกับการปดลอมพื้นที่กิจกรรมดวยกลุมอาคาร3.3 มิติทางสังคม เศรษฐกิจ (Socio-economic dimension)การการศึกษาทฤษฎี”เศรษฐสัญจร” สรุปไดวา หัวใจสําคัญของพื้นที่พาณิชยกรรมเกาคือ “ถนน”เนื่องจากถือเปนพื้นที่สวนกลางและสวนเชื่อมตอองคประกอบภายในยานเหลานี้ ดังนั้นคุณภาพของคุณภาพของถนนจึงมีผลโดยตรงลักษณะทางสังคมในยานพาณิชยกรรมเกาเปนอยางมาก รวมถึงสภาพเศรษฐกิจในยานเหลานี้ที่อาศัยปริมาณของผูใชถนนในการประกอบกิจกรรมตางๆ ซึ่งหากมีผูใชถนนมากโอกาสในการคาขายก็จะมากขึ้นตามไปดวย ดังที่ทฤษฎีเศรษฐสัญจร (Theory of movement economy) อธิบายวา “พื้นที่ที่มีอัตราการสัญจรอิสระสูงจะดึงดูดกิจกรรมการคาและพาณิชยไดมากกวาพื้นที่ที่มีการสัญจรอิสระต่ํา”ดังนั้นคุณภาพของ”ถนน” จึงเปนตัวแปรของสภาะเศรษฐกิจที่สําคัญที่สุดในยานพาณิชยกรรมเกาการศึกษาองคประกอบทั้ง 3 สวนจําเปนตองกระทําไปพรอมกันเนื่องจากสงผลตอเนื่องกันโดยตรงและถือวาเปนเงื่อนไขสําคัญของแนวคิดในการวางผังทางกายภาพ จากแนวคิดทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการฟนฟูบูรณะแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมทางกายภาพของพื้นที่ใหสอดคลองและสัมพันธกับมิติตางๆของเมือง การใชผังกายภาพจากกระบวนการออกแบบชุมชนเมือง โดยใชประกอบกับมาตรการทางเศรษฐกิจและการแกปญหาดานสังคม จึงเปนสิ่งสําคัญที ่สามารถทําใหการฟนฟูบูรณะพื้นที่ประสบความสําเร็จได4.กรณีศึกษาการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกากระแสการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกาในประเทศไทยนั้น ยังถือวาไมมีโครงการใดที่เกิดขึ้นอยางเต็มรูปแบบ กรณีศึกษาสวนใหญอยูในตางประเทศ ที่นาสนใจดังนี้4.1 พื้นที่พาณิชยกรรมเการิมน้ ําคลารกคีย (Clarke Quay): สิงคโปร พื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําในประเทศสิงคโปรเปนยานการคาและโกดังสินคาริมน้ําที่พัฒนาขึ้นตั้งแตป ค.ศ.1819 และมีความเจริญสูงสุดจนถึงกลางศตวรรษที่ 20 คลารกคียเปนพื้นที่ศูนยกลางการคาและการขนสงทางน้ําที่มีเรือกลไฟมาจอดเทียบทาเพื่อขนสงสินคาอยางหนาแนน อาคารริมแมน้ําถูกออกแบบไวเปนโกดังเก็บสินคา ตอมาพื้นที่ริมน้ําเริ่มประสบปญหามลภาวะทางน้ํา และมีความเสื่อมโทรม ทางรัฐบาลสิงคโปรมีนโยบายใหยายกิจกรรมการคาและโกดังสินคาไปที่462


ปนังซึ่งเปนยานคาสงใหม ทําใหเรือขนสงสินคา และรถบรรทุกถูกยายออกไปยังพื้นที่ใหมดวย ในป ค.ศ.1977-1987 ทางรัฐบาลมีโครงการปรับปรุงฟนฟูพื้นที่ริมแมน้ําสิงคโปร เพื่อแกปญหามลพิษทางน้ํา สงผลใหยานคลารกคียClarke Quay ถูกพัฒนาใหเปนยานการคา ที่พักอาศัย และแหลงบันเทิง กลายเปนยานการคาริมน้ําที่มีชื่อเสียง และสรางชีวิตชีวาใหแกเมืองรูปที่ 4 คลารกคีย ประเทศสิงคโปร (Singapore's 100 Historic Places)คลารกคีย เปนพื้นที่ที่มีแผนพัฒนาที่ชัดเจนภายใตการดําเนินงานที่มีวัตถุประสงคและแนวทางที่มาจากภาครัฐบาลของประเทศที่มีระบบการบริหารงานที่ดี จึงสามารถควบคุมกิจกรรมในพื้นที่ตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ แตเมื่อมองในมิติการฟนฟูบูรณะ พื้นที่นี้ไดปรับเปลี่ยนตัวเองไปสูบทบาทและกิจกรรมใหมทั้งหมดซึ่งกิจกรรมเดิมสวนที่เห็นเปนเพียงการจําลองบรรยากาศหรือ”จินตภาพ” เดิมของพื้นที่เพื่อผลประโยชนทางการคา โดยมีนักทองเที่ยวเปนเปนกลุมผูใชสวนใหญ4.2 ยานพาณิชยกรรมเกากลางเมืองโคเวนทการเดนท (Covent Garden): ลอนดอน / อังกฤษสืบเนื่องจากการยายกิจกรรมการคาสงออกไปสูพื้นที่อื่นในปค.ศ.1973 สงผลใหเกิดแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่โดยในขั้นตนนโยบายที่จะพัฒนาใหม (redevelopment)ภายใตแนวคิดของนักผังเมือง มีแผนสรางพื้นที่โคเวนทการเดนทใหเปนศูนยกลางเมืองขนาดใหญที่ประกอบดวยสถานีรถไฟฟา กลุมโรงแรม และอาคารศูนยประชุม แตเกิดการคัดคานจากกลุมประชาชนและองคกรสาธารณะ จนนําไปสูการเสนอทางเลือกในการฟนฟูตลาดและบรรยากาศการคาขายแบบเดิมภายใตวิธีการบูรณะ (restoration) ซึ่งมีการขึ้นทะเบียนคุมครองอาคารเกาในพื้นที่จํานวนมากกวา 250 หลัง เพื่อรองรับกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมการคาขายสินคา งานศิลปะและรานอาหารรวมถึงโรงละครที่มีชื่อเสียงตั้งแตอดีตจํานวนมากที่ยังคงอยูในพื้นที่ สิ่งเหลานี้ลวนเปนสิ่งดึงดูดใหคนจํานวนมากเขามาใชพื้นที่โคเวนทการเดนทจนถึงปจจุบันรูปที่ 5 โคเวนทการเดนทในปจจุบัน (ที่มา: www.coventgarden.uk.com)463


การเปลี่ยนแปลงประเภทของสินคาจากผลิตผลทางการเกษตรมาสูสินคาเชิงศิลปะวัฒนธรรมและงานบริการ รวมถึงการใหความสําคัญตอการรักษาองคประกอบเชิงกายภาพมากกวากิจกรรมดั้งเดิมของพื้นที่ จะมีผลทําใหภาพลักษณของโคเวนทการเดนทเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตก็ตาม แตการใชพื้นที่ลานโลงและอาคารที่มีคุณคาทางสถาปตยกรรมและประวัติศาสตร ยังคงเปนหนึ่งในวิธีการที่นิยมนําไปปฏิบัติในการพัฒนาเชิงกายภาพเนื่องจากเปนการนําองคประกอบทางกายภาพเดิมกลับมาใชใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งยังสามารถสะทอนใหเห็นรากฐานทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไดเปนอยางดีสรุปกรณีศึกษาการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกาจากกรณีศึกษาพบวาแมการฟนฟูบูรณะพื้นที่จะเกิดจาก เงื่อนไข เหตุผล แนวทางหรือวิธีการที่แตกตางกัน แตปลายทางของการฟนฟูบูรณะก็เพื่อใหพื้นที่สามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด คลารกคีย เปนการใชประโยชนจากศักยภาพเชิงที่ตั้งโดยพัฒนาและเติมกิจกรรมที่สอดคลองและเหมาะสมกับสภาพปจจุบันของพื้นที่ รวมถึงการปรับปรุงพื้นที่เดิมใหสามารถรองรับกิจกรรมที่เกิดเกิดจากกลุมผูใชใหม โดยนําภาพลักษณของกิจกรรมดั้งเดิมบางสวนมาใชเปนตนแบบของสรางสภาพแวดลอมทางกายภาพเพื่อผลประโยชนในเชิงเศรษฐกิจเปนสําคัญ พื้นที่โคเวนทการเดนท เปนตัวอยางของการใชประโยชนลานโลงสาธารณะและพื้นที่ริมถนนเพื่อการขายสินคาและกิจกรรมการแสดง โดยไดเลือกกิจกรรมการคาปลีกและการบริการการทองเที่ยวมาเปนกิจกรรมใหมของพื้นที่ แบบผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนทั้งชวงเวลากลางวันและกลางคืนเพื่อชวยสงเสริมบรรยากาศของพื้นที่สาธารณะใหมีความคึกคักและมีชีวิตชีวาจุดรวมที่นาสนใจของกรณีศึกษาเหลานี้ คือ มีการเติมกิจกรรมรูปแบบใหมเขาไปในพื้นที่ ซึ่งถือเปนการเติมผูใชใหมใหกับพื้นที่ โดยอาศัยศักยภาพเชิงพื้นที่ เปนสวนสําคัญของแผนพัฒนา เชนศักยภาพเชิงที่ตั้ง หรือศักยภาพในแงของมิติเชิงประวัติศาสตร แตทั้งนี้ลวนอยู บนพื้นฐานของการฟนฟูบูรณะสภาพทางกายภาพ ไปพรอมๆกัน5.การประเมินสภาพปญหา ศักยภาพของพื้นที่ยานสี่แยกบานทุงจากการทบทวนวรรณกรรมและทําการวิเคราะห “จุดแข็ง จุดออน โอกาส และภาวะคุกคาม จากขอมูลสภาพปจจุบันของพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง เมื่อสามารถสรุปปญหา และ ศักยภาพ ของพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง อ.เมือง จ.แพร ไดดังนี้5.1 ปญหาและศักยภาพในมิติทางจินตภาพ “ปญหา” พบวา จินตภาพสวนใหญในสวนของพื้นที่โครงการเปนผลมาจากการรวมตัวของกิจกรรมในพื้นที่จึงมีเงื่อนไขของชวงเวลาเปนตัวรวม เมื่อนอกเหนือเวลาใชงาน จินตภาพสวนนี้จึงไมสามรถนํามาใชประโยชนไดอยางเต็มศักยภาพ ที่หมายตาสําคัญ พบวาสวนใหญเปนจุดตัดสําคัญของถนนสายหลักและสายรอง เชน สี่แยกบานทุง ถนนยันตรกิจโกศล ถนนเจริญเมือง และถนนชอแฮ ซึ่งยังขาดองคประกอบที่เปนเอกลักษณเฉพาะ “ศักยภาพ” พบวาพื้นที่มีกลุมจินตภาพเกี่ยวกับจุดรวมกิจกรรม การเพิ่มชวงเวลาของกิจกรรมใหมากขึ้น มีโอกาศทําใหพื้นที่มีจินตภาพในพื้นที่มีมากขึ้น เสนทาง ไดแกถนนสายหลัก(ถนนยันตรกิจโกศล)และสายรอง(ถนนเจริญเมือง ถนนชอแฮ)เปนเสนทางสัญจรหลักมีศักยภาพในการพัฒนาสูง พื้นที่ เปนทําเลที่ที่ตั้งของรานคาและอาคารพาณิชยกรรมมากที่สุดในขอบเขตพื้นที่ศึกษา สามารถสงเสริมองคประกอบเหลานี้ใหเปนจินตภาพของยานการคาที่เหมาะสมตอไปในอนาคต464


รูปที่ 4 สภาพตลาดสดบริเวณยานสี่แยกบานทุง (ที่มา: ผูจัย 2551)5.2 ปญหาและศักยภาพในมิติทางกายภาพ “ปญหา” พบวาการขาดแคลนทางเดินเทาที่มีคุณภาพเหมาะสมกับการใชงานในเชิงการสงเสริมการคา ทางเดินเทาถูกขนาดของเพื่อใชเปนพื้นที่จอดรถยนต โดยเฉพาะถนนเจริญเมือง(รูปที่ 5) ถนนยันตรกิจโกศลและถนนชอแฮ ปญหาการขาดจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่มีคุณภาพในพื้นที่ (จากรถยนตมาสูการเดินเทา) และไมเอื้อใหเกิดประโยชนการใชงานที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการคาโดยเฉพาะถนนสายหลักที่เนนการจอดรถบริเวณสองขางทาง ปญหาการขาดแคลนที่วางสาธารณะที่มีรูปแบบและคุณภาพเหมาะสมกับการใชงานในเชิงพาณิชยกรรม ปญหาสภาพอาคารบางสวนที่เกาทรุดโทรมขาดการปรับปรุงใหเหมาะสมกับกิจกรรมการคาในปจจุบัน โดยเฉพาะบริเวณถนนเจริญเมืองและถนนชอแฮ ปญหาถนนสายยอยขาดประสิทธิภาพในการเชื่อมตอกับโครงขายการสัญจรในพื้นที่ อาคารพาณิชยแบบดั้งเดิมขาดพื้นที่สนับสนุนการคาและบริการที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของผูใชในยุคปจจุบัน “ศักยภาพ” พื้นที่เปนจุดตัดสําคัญของถนนสายหลักและสายรองของพื้นที่ศึกษาและจังหวัดแพร จึงมีโอกาสพัฒนาใหเปน ศูนยรวมกิจกรรมระดับจังหวัดและระดับภูมิภาคไดในอนาคต รวมถึงเปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรและขนถายสินคาที่สําคัญที่สุดของจังหวัดแพรไดรูปที่ 5 สภาพกายภาพทั่วไปของยานสี่แยกบานทุง (ที่มา: ผูจัย 2551)5.3 ปญหาและศักยภาพมิติทางสังคมและเศรษฐกิจ “ปญหา” พบวาเกิดชองวางระหวางการคาทองถิ่นและสมัยใหม ที่มีความแตกตางมากขึ้นเรื่อยๆ จนอาจทําใหคุณคาและความสําคัญของการคาทองถิ่นสูญหายไปในเวลาอันใกล ปญหาขาดความหลากหลายของกิจกรรมและชวงเวลาการในใชงานพื้นที่และอาคารปญหาพื้นที่บางสวนใชงานไมอยางเต็มศักยภาพ ปญหาความไมตอเนื่องของกิจกรรมการคา (รูปที่ 6) ปญหาจากการเกิดของขึ้นพื้นที่พาณิชกรรมแหงใหมและไฮเปอรมารเก็ตบริเวณชานเมือง “ศักยภาพ” การเปนกลุมสังคมการคาที่หนาแนนและเกาแกที่สุดในจังหวัดแพร การรวมกลุมการคาที่เข็มแข็งของผูคาในพื้นที่โครงการ จึงสามารถพัฒนาเปนพื้นที่รองรับกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ สังคม วัตนธรรมและประเพณีของจังหวัดแพรไดรูปที่ 6 สภาพอาคารพาณิชยในพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง (ที่มา: ผูจัย 2551)465


รูปที่ 7 ยานพาณิชกรรมแหงใหมและไฮเปอรมารเก็ตบริเวณชานเมือง อ.เมือง จ.แพร (ที่มา: ผูจัย 2551)6.โปรแกรมการฟนฟูบูรณะพื้นที่ยานสี่แยกบานทุงจากการประมวลศักยภาพและปญหาของพื้นที่ยาน “สี่แยกบานทุง” สามารถสรุปเปนโปรแกรมการฟนฟูบูรณะพื้นที่เพื่อสรางแรงดึงดูดและสภาวะนาใชงานใหกับพื้นที่ ภายใตบริบทของความเปนสถานที่ เพื่อใหสอดคลองกับ กลุมคน เวลา และกิจกรรม โดยแบงออกเปน 3 มิติ ไดแก6.1 มิติทางจินตภาพ ฟนฟูบูรณะองคประกอบทางจินตภาพสําคัญ และเพิ่มจินตภาพใหมใหกับพื้นที่โดยเนนการสรางเอกลักษณขององคประกอบทางจินตภาพเปนสําคัญ เชน ปรับปรุงภูมิทัศนพื้นที่สี่แยกบานทุงใหมีเอกลักษณที่ชัดเจน ออกแบบวางผังพื้นที่ตลาดสดในพื้นที่ (ตลาดสดชมภูมิ่ง ตลาดสดบานทุง ตลาดสดแพรปรีดา) ปรับปรุงภูมิทัศนถนนเจริญเมืองตลอดความยาว เปนตน6.2 มิติทางกายภาพ แกไขความเชื่อมตอของโครงขายการสัญจรภายในและพื้นที่ตอเนื่องทุกระบบปรับปรุงโครงขายและคุณภาพของทางเดินเทาในถนนสายหลัก(ถนนเจริญเมือง) และเพิ ่มแนวถนนใหมตอเนื่องจากถนนยันตรกิจโกศลบริเวณวัดตนธง(ดานหนา)ถึงบริเวณพื้นที่ศาลเจาปูเถากง สรางพื้นที่พาณิชยกรรมรวมสมัยในยานสี่แยกบานทุง เนนการสรางความแตกตางกับพื้นที่พาณิชยกรรมใหม โดยเพิ่มพื้นที่วางสาธารณะในบริเวณโดบรอบพื้นที่ใหสามารถรองรับกิจกรรมและวิถีชีวิตรวมสมัย เชน พื้นที่สาธารณะ ลานเอนกประสงคปรับปรุงสภาพอาคารเกาที่มีคุณคาและปรับเปลี่ยนการใชงานอาคารบางสวนใหเหมาะสมกับการใชงานในปจจุบัน แสดงออกถึงความเปนเอกลักษณของพื้นที่พาณิชยกรรมเกาของจังหวัดแพรโดยเฉพาะบริเวณถนนเจริญเมือง6.3 3. มิติทางสังคมและเศรษฐกิจ สรางความหลากหลายของประโยชนการใชสอยอาคารและที่ดินอยางเหมาะสมและสอดคลองกับศักยภาพการเขาถึง โดยการพัฒนาพื้นที่ชุมชนเหมืองหิต-ตนธง เพื่อใหเปนยานพาณิชยกรรมรวมสมัย ฟนฟูระบบเศรษฐสัญจรโดยการวางแผนการใชประโยชนอาคารและพื้นที่วางใหมีความสัมพันธกับลําดับศักดิ์ของโครงขายการสัญจรทั้งระบบ โดยเพิ่มการใชงานอาคารประเภทพาณิชยกรรมกึ่งพักอาศัยในพื้นที่ยานชุมชนเดิมเพื่อใหมีสัดสวนของชวงเวลาการใชงานพื้นที่เพิ่มขึ้น ไดแก ถนนเจริญเมือง ถนนชอแฮ ถนนเหมืองหิต ถนนเหมืองแดง และพื้นที่ชุมชนเหมืองหิต-ตนธง466


7.ผังแนวคิดการฟนฟูบูรณะยานสี่แยกบานทุง อ.เมือง จ.แพร7.1 ผังแนวคิดการฟนฟูบูรณะโครงขายการสัญจร (แผนที่ 1)เนื่องจากระบบการคมนาคมสวนใหญในพื้นที่เปนการคมนาคมทางบกที่อาศัยรถยนตสวนตัวเปนหลักและระบบขนสงมวลชนในพื้นที่สวนใหญเปนรถสองแถวบริการ ดังนั้นจึงเสนอใหทําการฟนฟูบูรณะโครงขายที่มีอยูเดิม คือ ถนนยันตรกิจโกศลถนนเจริญเมือง และถนนชอแฮ โดยเนนการปรับปรุงคุณภาพและรูปแบบการใชงานที่เนนเอื้อประโยชนตอการเดินเทามากขึ้น รวมถึงการสรางเสนทางสัญจรใหมเพิ่มเติม เพื่อเชื่อมตอระหวางพื้นที่กิจกรรมหลักตางๆภายในพื้นที่ยานและพื้นที่โดยรอบใหมากขึ้น ภายใตแนวคิดเรื่องศักยภาพการมองเห็นและการเขาถึงโดยเนนเอื้อประโยชนตอการเดินเทาเปนสําคัญ ไดแกพื้นที่ยานชุมชนเหมือหิต-ตนธง ในสวนของถนนสวนบุคคล(ซอยตลาดสดชมภูมิ่ง ซอยตลาดอรทัย) ไดเสนอใหปรับปรุงคุณภาพทางเดินเทาและพื้นที่รองรับการจอดยานพาหนะเพื่อเสริมศักยภาพการใชงานดานการคามากขึ้น โครงขายเหลานี้เนนการเชื่อมตอกับจุดเปลี่ยนถายการสัญจร(รถยนต-เดินเทา)ในแตละจุดอยางทั่วถึงในรัศมีการเดินเทา เกิดภาพรวมของการสรางโครงขายที่ครอบคลุมพื้นที่ยานมากขึ้นทําใหการเขาถึงและการใชงานพื้นที่ทําไดโดยสะดวกและทั่วถึง7.2 ผังแนวคิดการฟนฟูบูรณะการใชประโยชนที่ดิน (แผนที่ 1)แนวทางการฟนฟูบูรณะจึงสามารถกําหนดรายละเอียดไดดังนี้ “พื้นที่บริเวณสี่แยกบานทุง”(นับจากศูนยกลางออกไปตามถนนเจริญเมือง ถนนชอแฮ และถนนยันตรกิจโกศล) เสนอใหปรัปรุงภูมิทัศนโดยการสรางแนวกําแพงถนนทั้ง 4 เสนทางที่ออกจากสี่แยกบานทุงดวยไมยืนตน และอาคารสาธารณะใหมใหเกิดการรับรูความเปนแยกสําคัญ และเปนประตูสูยานพาณิชยกรรมเกา รวมทั้งเพิ่มการใชงานอาคารโดยรอบใหใชงานอยางสอดคลองกับกิจกรรม “พื้นที่ตลาดสดเดิม” (ตลาดสดชมภูมิ่ง ตลาดสดบานทุง ตลาดอรทัย ) เสนอใหมีการปรับปรุงสภาพโดยการออกแบบและวางผังใหมใหมีการมองเห็นและการเขาถึงที่ดีขึ้น รวมถึงเพิ่มพื้นที่เปดโลงสําหรับรองรับกิจกรรมเอนกประโยชน โดยเนนการเปดมุมมองจากภายนอกสูภายในและจากภายในสูภายนอก“พื้นที่อาคารเกา” (บนถนนเจริญเมือง) เสนอใหพัฒนาเปนสถานที่ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรโดยปรับปรุงพื้นที่รอบบริเวณอาคารและเพิ่มเติมองคประกอบที่เอื้อใหเกิดประโยชนในเชิงการทองเที่ยว เชน ทางเดินเทาที่ตอเนื่องกัน จุดสําหรับถายรูปกับอาคารเกาบริเวณดานหนาพื้นที่และอาคาร “พื้นที่ยานชุมชนเดิม(ตนธง-เหมืองหิต)” เสนอใหดําเนินการออกแบบวางผังเพื่อใหเกิดการใชประโยชนที่ดินแบบผสมผสาน (mix use) โดยเนนกิจกรรมประเภทพาณิชยกรรม-พักอาศัยเปนหลัก “พื้นที่ยานชุมชนเดิม” เสนอใหออกแบบวางผังใหมใหเปนสวนเชื่อมตอระหวางพื้นที่โครงการกับถนนพิริยะ โดยใหพื้นที่ตอเนื่องใชเพื่อรองรับกิจกรรมประเภทพักอาศัยสําหรับกลุมนักเรียน-นักศึกษา และกิจกรรม เกี่ยวของกับการศึกษา เชน โรงเรียนกวดวิชา สถาบันภาษา และอื่นๆ“พื้นที่วัดและศาสนสถาน” (วัดตนธง วัดชัยมงคล วัดเมธังกราวาส) เสนอใหมีการปรับปรุงภูมิทัศน และเปดมุมมองในสวนที่สําคัญ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการกระตุนการทองเที่ยว“บริเวณพื้นที่ตอเนื่องจากสี่แยก” (สี่แยกบานทุง สี่แยกเหมืองหิต สี่แยกสันเหมืองหลวง) เสนอใหมีการสรางความตอเนื่องของกําแพงถนน เนนใหเกิดความตอเนื่องของมุมมองโดยแสดงออกถึงเอกลักษณของพื้นที่ พื้นที่หัวมุมถนนตางๆเนนใหเอื้อประโยชนตอคนเดินเทา เชน การเพิ่มพื้นที่ทางเทาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวดวยไมยืนตนที่ใหรมเงาแกทางเดินเทาในถนนเจริญเมืองโดยลดขนาดของพื้นที่ทางรถยนต “บริเวณจุดตัดรอง“เสนอใหปรับปรุงภูมิทัศนใหมีภาพจําชัดเจนเพื่อใชเปนที่หมายตาและเปนตําแหนงอางอิง เอื้อประโยชนใหกับการเดินเทาเปนหลัก เชน เปลี่ยวัสดผิวของพื้นถนน การลด467


ความกวางถนนเปนชวงๆในบริเวณทางขามแยก เปนตน “พื้นที่เสนอใหพัฒนาเปนสวนสาธารณะแหงใหม”เพื่อใชเปนลานกิจกรรมสาธารณะ โดยเนนการใชไมยืนตนขนาดใหญปกคลุมพื้นที่เพื่อใหเกิดรมเงา “บริเวณโดยรอบตลาดสด” เสนอใหพัฒนาเพื่อรองรับกิจกรรมตอเนื่องกับตลาดสดบริเวณถนนเจริญเมืองดานทิศเหนือเสนอใหขยายทางเดินเทาและเพิ่มไมยืนตน(เนนใบเขียว)ที่ใหรมเงาตอลดทั้งป ตลอดแนวถนน “พื้นที่รองรับการเปลี่ยนถายการสัญจร” พัฒนาใหสามารถรองรับการสัญจรและระบบขนสาธารณะอยางมีประสิทธิภาพและเชื่อมตอเขาสูพื้นที่ไดโดยสะดวก “พื้นที่รองรับกิจกรรมนันทนาการของชุมชน” เสนอใหใชพื้นที่บริเวณโรงเรียนวัดเมธังเดิม ที่ปจจุบันไมไดมีการใชงาน ปรับปรุงใหเปนพื้นที่สําหรับกิจกรรมนันทนาการและเปนศูนยบริการของชุมชนโดยรอบ7.3 ผังแนวคิดการฟนฟูบูรณะการใชประโยชนอาคาร (แผนที่ 2)จากการสํารวจอาคารในพื้นที่ยานสี่แยกบานทุงพบวามีความหลากหลายทั้งในแงประเภทและยุคสมัยจากการวิเคราะหเงื่อนไขของการฟนฟูบูรณะพื้นที่ สามารถกําหนดแนวทางการฟนฟูบูรณะการใชประโยชนดังนี้“กลุมอาคารทั่วไปที่มี่สภาพดี” เสนอใหปรับเปลี่ยนการใชงานภายในบางสวน รวมถึงปรับปรุงสภาพภายนอกเพื่อเสริมสรางความตอเนื่องของกิจกรรมในพื้นที่ ซึ่งสวนใหญคืออาคารพาณิชยบริเวณสองฝงของถนนสายหลักและสายรองในพื้นที่โครงการ “กลุมอาคารที่เสนอใหทําการรื้อถอน” ไดแกกลุมอาคารบริเวณพื้นที่ดานหลังแนวอาคารพาณิชย ซึ่งสวนใหญเปนอาคารบานพักอาศัยที่กอสรางตามแปลงที่ดินที่แบงซอยออกเปนผืนเล็กๆแนวทางการพัฒนาตอจากการรื้อถอนคือเสนอใหมีการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาเปนพาณิชยกรรม-พักอาศัย โดยเนนลักษณะมวลอาคารขนาดเล็กเนนการเชื่อมตอดวยดวยการเดินเทาเปนหลัก “กลุมอาคารเกาที่เสนอใหพัฒนาเปนสถานที่ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร” เสนอใหพัฒนาอาคารเหลานี้เปนสถานที่ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรโดยปรับปรุงอาคารทั้งภายนอกและภายใน โดยเนนการรักษาสภาพเดิมใหมากที่สุด รวมทั้งพัฒนาพื้นที่รอบบริเวณอาคารและเพิ่มเติมองคประกอบที่เอื้อใหเกิดประโยชนในเชิงการทองเที่ยว “กลุมอาคารเกาที่มีคุณคา”เสนอใหทําการบูรณะสภาพภายนอกและภายในใหคงสภาพเดิมใหมากที่สุดพรอมเสนอใหมีการใชงานอยางเหมาะสม เพื่ออนุรักษณไวเปนอาคารที่มีคุณคาของจังหวัดตอไป8.การนําผังสูการปฏิบัติและทัศนคติเกี่ยวกับการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเกาในเมืองไทยมิติความสัมพันธที่หลากหลายขององคประกอบตางๆภายในเมืองถือเปนปจจัยหลักที่สงผลใหกระบวนการและวิธีการวางแผนและการแกปญหาเกี่ยวกับเมืองไมสามารถมองแบบแยกสวนเพียงประเด็นใดประเด็นหนึ่ง หรือ มิติใดมิติหนึ่งได เชนเดียวกับการวางผังทางกายภาพเพื่อแกปญหาภาวะซบเซาของกิจกรรมการคาในพื้นที่พาณิชยกรรมเกาที่ไมสามารถแกไดจากมาตรการหรือแผนงานแกปญหาเฉพาะหนาเพียงอยางเดียว โดยเฉพาะปจจุบันที่การแขงขันทางการคามีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาอยางรวดเร็ว เห็นไดชัดจากหางคาปลีกขนาดใหญมีการพัฒนากลยุทธทางการตลาดและรูปแบบการคาที่สามารถรองรับความตองการ พฤติกรรมและวิถีชีวิต ของกลุมผูใชงานไดเปนอยางดี รวมถึงปจจัยแวดลอมในมิติตางๆที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา สิ่งเหลานี้ลวนสงผลตอภาวะซบเซาของพื้นที่พาณิชยกรรมเกาทั้งสิ้นผังกายภาพการฟนฟูบูรณะพื้นที ่พาณิชยกรรมยานสี่แยกบานทุง อ.เมือง จ.แพร จากแนวคิดการสรางคุณคาในมิติจินตภาพ สรางสภาวะนาใชงานในมิติกายภาพ เสริมความคุมคาในมิติเศรษฐกิจ และสงเสริม468


ความสัมพันธที่ใกลชิดของกลุมคนในมิติสังคม จึงถือเปนหนึ่งใน”ทางเลือก”ที่เหมาะสมตอการเสนอเพื่อเปนแนวทางในการแกไขปญหาภาวะซบเซาของกิจกรรมการคาในยานพาณิชยกรรมเกาในพื้นที่ที่มีปญหาและศักยภาพใกลเคียงกัน ซึ่งหากสามารถผลักดันแผนและผังกายภาพจนสามารถนําไปใชปฏิบัติไดจริง จะถือเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญของวิชาชีพ”การออกแบบชุมชนเมือง“ที่จะสงผลตอมุมมองและทัศนคติของสังคมไทยตอแนวทางการแกปญหาตางๆเกี่ยวกับเมืองดวย”กระบวนการออกแบบชุมชนเมือง”ในอนาคตใหไดรับการยอมรับและเห็นความสําคัญมากขึ้นตามลําดับตอไป469


แผนที่ 1 ผังแนวคิดการฟนฟูบูรณะโครงขายการสัญจรและการใชประโยชนที่ดิน(ที่มา: ผูจัย 2551)470


แผนที่ 2 ผังแนวคิดการฟนฟูบูรณะการใชประโยชนอาคาร(ที่มา: ผูจัย 2551)471


แผนที่ 3 ผังแมบทการฟนฟูบูรณะพื้นที่ยานสี่แยกบานทุง(ที่มา: ผูจัย 2551)472


การวางผังและออกแบบจุดเปลี่ยนถายการสัญจรในยานพาณิชยกรรมชุมชนริมน้ํา: กรณีศึกษา ยานตลาดพลู กรุงเทพมหานครPLANNING AND DESIGN FOR TRANSIT NODES IN OLD COMMERCIAL AREAS: A CASE STUDY OF TALAT PHLU, BANGKOKนางสาวธีมาพร วัชราทินหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวางผัง และออกแบบทางกายภาพที่เหมาะสมกับพื้นที่ยานตลาดพลูในอนาคตที่ผสมผสานระหวางการเปนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร (Node) กับการรักษาไวซึ่งความเปนสถานที่ (Place) เนื่องจากในปจจุบันการพัฒนาโครงขายการขนสงระบบราง และพื้นที่โดยรอบจุดเปลี่ยนถายการสัญจรกําลังเปนกลยุทธสําคัญในการพัฒนาเขตพื้นที่ใจกลางเมือง ซึ่งเปนการสรางแรงดึงดูดใหผูคน และกิจกรรมการพัฒนาของเอกชนเขาสูพื้นที่ แตดวยเงื่อนไขในการออกแบบพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรโดยเฉพาะกรณีโครงสรางเปนทางยกระดับ ไดกลายเปนปจจัยคุกคามพื้นที่ยานตลาดพลูที่มีขอจํากัดของสภาพแวดลอมทางกายภาพ เนื่องดวยเปนพื้นที่ที่ประกอบขึ้นมาจาก “น้ํา” และ”โครงสรางเมืองขนาดเล็ก” ที่สัมพันธและรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจสังคมของคนในชุมชน รวมทั้งมักเปนที่ตั้งของอาคารและโบราณสถานที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร สิ่งเหลานี้ลวนเปนองคประกอบสําคัญของเอกลักษณ และ “ความเปนสถานที่” ของยาน จึงนํามาสูการศึกษา และออกแบบทางกายภาพ โดยอาศัยแนวคิด Transit OrientedDevelopment (TOD) มาใชในการออกแบบที่ผสมผสานระหวางบริบทของพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําของยานเพื่อใหยานตลาดพลูเปนทั้ง “พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร” ที่สามารถรองรับการใชงานระดับเมืองได ในขณะเดียวกันยังคงรักษา “ความเปนสถานที่” ของพื้นที่ไวไดอยางเหมาะสม1. ที่มาและความสําคัญของปญหา“พื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ํา” เปนเสมือนจุดเชื่อมตอ หรือจุดเปลี่ยนถายการสัญจรระหวางชุมชน พื้นที่การคา และเครือขายการขนสง ที่เริ่มตนจากพื้นที่ริมแมน้ําลําคลองที่มีเรือขนสงสินคาทั้งเล็ก และใหญขึ้นลองอยูเปนประจํา โดยมีชุมชนตั้งอยูระหวางเสนทางสัญจรของเรือ ทําใหเกิดทาเรือที่มีความสําคัญ รวมถึงมีลักษณะเปนศูนยกลางการสัญจร และการขนถายสินคาทั้งจากทางน้ํา และทางเกวียน แลวจึงยกระดับกลายเปนตลาดริมน้ําที่มีองคประกอบสําคัญ คือ อาคารเรือนแถวไมคาขาย ทาเรือ ศาลเจา และชุมชน (อรศิริ ปาณินท และสมคิด จิระทัศนกุล, 2544: 254) อีกทั้งตลาดริมน้ํายังเปนแหลงรวมวิถีชีวิต สถาปตยกรรม กิจกรรม และวัฒนธรรมชุมชนทองถิ่นที่มีปฏิสัมพันธกับพื้นที่โดยรอบ แสดงใหเห็นถึงคุณคา และความสําคัญทาง473


ประวัติศาสตรที่สืบทอดมาตั้งแตอดีต อยางไรก็ตาม การเกิดกระบวนการเปลี่ยนสภาพชุมชน สังคม และประเพณีไปสูสังคมสมัยใหมที่มีความเจริญตามแบบประเทศที่พัฒนาแลว ทําใหระบบโครงสรางชุมชนดั้งเดิมเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาระบบโครงขายคมนาคมทางบก จากการตัดถนน และสรางทางรถไฟขนานไปกับแนวลําน้ํา ทําใหเปนการเปดเสนทางสําหรับพื้นที่การคาเพิ่มขึ้น มีการเขาถึงพื้นที่ที่มีความสะดวกสบาย และหลากหลายรูปแบบ เอื้อใหเกิดการเดินทางเขาออกของผูคนมากขึ้น นับไดวา การพัฒนาระบบโครงขายคมนาคมทั้งเสนทางคมนาคมทางบก และทางน้ําที่อํานวยความสะดวกสบายในการเดินทาง และขนสงสินคา สงผลใหเกิดความเจริญทางการคาทั้งรูปแบบตลาดน้ํา และตลาดบกรุงเรืองมากยิ่งขึ้น แตเมื่อการขยายตัวของระบบโครงขายคมนาคมทางบกมีเพิ่มมากขึ้นกลับเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําลดความสําคัญลง บทบาทของน้ําในฐานะของเสนทางสัญจรหลักในการคาขาย และขนสงสินคานั้นเริ่มลดลงเกิดการถมคลองซอยตางๆ เพื่อการตัดถนน สงผลใหรูปแบบการคาของพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่ตองพึ่งพาสายน้ําสูญหายไปในที่สุด ทําใหบางแหงอาศัยการปรับเปลี่ยนรูปแบบของกิจกรรม และการใชพื้นที่ตามการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เชน ยานตลาดพลู ซึ่งเปนพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําเกาแกที่สําคัญของฝงธนบุรี แมจะอยูภายใตการเปลี่ยนแปลงดังกลาว แตยังคงสภาพความเปนพื้นที่การคาริมน้ําอยูไดจนถึงปจจุบัน โดยกําลังเขาสูชวงของการปรับเปลี่ยนจากผลกระทบของการพัฒนาระบบโครงขายการขนสงระบบรางขนาดใหญในอนาคตเพื่อใหกิจกรรม และการใชพื้นที่ซึ่งเปนองคประกอบของความเปนสถานที่ (Place) ที่สําคัญยังคงอยูตอไปยานตลาดพลู ซึ่งเปนยานเกาแกที่สุดแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานครและเปน “จุดเปลี่ยนถายการสัญจร”(Node) ที่สําคัญของเมืองมาตั้งแตอดีตจากการที่ชุมชนตั้งอยูบริเวณจุดตัดของเสนทางเรือ รถไฟ และรถยนต ทําใหยานตลาดพลูเปนศูนยกลางของกิจกรรมการคาและการตั้งถิ่นฐานของผูคนหลากหลายเชื้อชาติและวัฒนธรรม แมวาในปจจุบัน ยานตลาดพลูไมไดรุ งเรืองเหมือนในอดีต แต “ความเปนสถานที่” ของชุมชนยังคงเดนชัดจากบานเรือนที่เกาแก ถนน ตรอก ซอกซอยที่มีขนาดเล็ก ซึ่งคนในชุมชนยังใชเปนพื้นที่พักผอนและพบปะสังสรรค ศาสนสถานเกาแกของหลากหลายศาสนา รวมไปถึงกิจกรรมทางการคาที่ยังคงคึกคักตลอดวัน แตอยางไรก็ตาม การพัฒนาโครงขายการขนสงระบบราง สถานีโดยสาร และพื้นที่โดยรอบจุดเปลี่ยนถายการสัญจร(Transit node) ในปจจุบันกลายเปนกลยุทธสําคัญในการพัฒนาเขตพื้นที่ใจกลางเมือง ดวยการเพิ่มศักยภาพในการเขาถึงและการเชื่อมโยงพื้นที่เขากับสวนอื่นของเมืองอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนการสรางแรงดึงดูดใหผูคนและกิจกรรมการพัฒนาของเอกชนเขาสูพื้นที่เพิ่มขึ้น ดวยเงื่อนไขในการออกแบบพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรโดยเฉพาะกรณีโครงสรางเปนทางยกระดับ กําลังจะกลายเปนปจจัยสําคัญที่คุกคามพื้นที่ยานตลาดพลูที่มีขอจํากัดของสภาพแวดลอมทางกายภาพ เนื่องดวยเปนพื้นที่ริมน้ําที่มีโครงสรางของเมืองขนาดเล็ก (Finegrainedurban fabric) ไดแก ถนน อาคาร รวมถึงพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กที่สัมพันธกับ “น้ํา” และรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจสังคมของคนในชุมชน นอกจากนี้ ในพื้นที่ริมน้ํามักเปนที่ตั้งของอาคาร และโบราณสถานที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรตางๆ สิ่งเหลานี้ลวนเปนองคประกอบสําคัญของเอกลักษณ และ “ความเปนสถานที่”(Place) ของยานตลาดพลู ซึ่งมีแนวโนมที่ถูกรื้อทําลายและแทนที่ดวยถนนและมวลอาคารขนาดใหญ รวมทั้งการใชที่ดินประเภทพาณิชยกรรม หรือที่อยูอาศัยหนาแนนประเภทอาคารสูง474


“ความเปนสถานที่” ของยานตลาดพลูมีแนวโนมจะถูกคุกคามโดยโครงการทางรถไฟสายสีแดง ซึ่งเปนหนึ่งในแผนพัฒนาระบบขนสงมวลชนรางที่มีโครงขายการเชื่อมตอในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ตามแผนพัฒนาฯ จะมีการกอสรางโครงสรางทางยกระดับขนาดใหญสูงประมาณ 25 เมตรตัดผานพื้นที่ชุมชน และสรางสถานีรถไฟลอยฟาทับลงบนสถานีรถไฟตลาดพลูเดิม จากการคาดการณของสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) คาดวาจะมีจํานวนผูโดยสารเขาออกสถานีประมาณ 5,000 คนตอวัน ซึ่งอาจจะสรางแรงดึงดูดใหเกิดการลงทุนของภาคเอกชน และปริมาณการจราจรเขาสูพื้นที่จํานวนมาก แนนอนวาการซอนทับของจุดเปลี่ยนถายการสัญจรระดับเมืองลงบนพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําเกาแกจะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ ไมวาจะเปนการรื้อทําลายอาคารบานเรือนตลอดจนพื้นที่ทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน อาจทําใหวิถีชีวิต และกิจกรรมดั้งเดิม รวมทั้งความเปนสถานที่บางอยางเริ่มสูญหายไป เชน ถนนขนาดเล็ก ในอดีตสามารถตอบสนองกับการใชพื้นที่ขนาดเล็กได แตเมื่อเกิดการพัฒนาพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรที่จะตองมีการเขาถึงที่ดีกวาในอดีต และตองสามารถรองรับปริมาณการจราจรจํานวนมาก ทําใหถนนเดิมไมสามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได เปนตน ดังนั้น งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงลักษณะทางกายภาพ และความสัมพันธระหวางกิจกรรม และการใชพื้นที่ที่กอใหเกิดเอกลักษณของพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ํา ผานกรณีศึกษายานตลาดพลู เพื่อผสานโครงสรางของเมืองขนาดเล็กที่สัมพันธกับกิจกรรมการใชพื้นที่เขากับเงื่อนไขการออกแบบพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดีไดอยางเหมาะสมภาพที่ 1.1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาในรัศมีของระยะการเดินเทา 500 เมตร จากสถานีรถไฟตลาดพลู ซึ่งถือวาอยูในขอบเขตของความเปนสถานที่ของสถานีโดยสาร และเปนพื้นที่แรกที่คาดวาจะไดรับผลกระทบจากโครงการรถไฟสายสีแดง475


2. การฟนฟูพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําประเภทจุดเปลี่ยนถายการสัญจรผานบริบทของตลาดพลู2.1 ตลาดพลู “พลู” ในอดีตถึง “พลู” ในปจจุบันยานตลาดพลู เปนยานที่มีความสําคัญแหงหนึ่งในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยูในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปนพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่มีพัฒนาการมาตั้งแตสมัยกรุงธนบุรี ในอดีตยานตลาดพลูเปนแหลงทํา และแหลงคาพลูที่สําคัญกลายเปนที่มาของชื่อยาน รวมทั้งเปนจุดเชื่อมหลักของเสนทางคมนาคมทางน้ํา และทางรถไฟระหวางพระนครกับเมืองทางใต และตะวันตก เชน มหาชัย แมกลอง ราชบุรี และกาญจนบุรี เปนตน ทําใหยานตลาดพลูเปนจุดรวมสินคา ทั้งสินคาทางการเกษตร สินคาทางทะเล และผลิตผลจากเมืองทางตะวันตก จึงมีผูคนหลากหลายกลุมตางหลั่งไหลเขามาตั้งถิ่นฐานเปนจํานวนมากสะทอนใหเห็นในอาคารบานเรือน และสถาปตยกรรมที่ตั้งอยูในชุมชน เชน วัดอินทาราม วัดจันทาราม และตึกแถวแบบจีน เปนตน สงผลใหยานตลาดพลูในอดีตเปนศูนยกลางการคา และการพักอาศัย โดยกิจกรรมดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงบทบาทที่สําคัญ และยังคงดําเนินสืบเนื่องมาจนถึงปจจุบันภาพที่ 2.1 ความคับคั่งของคลองบางหลวงจากกิจกรรมการคา และการสัญจร (ที่มา: หอจดหมายเหตุแหงชาติ)อยางไรก็ตาม ยานตลาดพลูไดรับผลกระทบ และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเปนอยางมากจากนโยบายของภาครัฐทั้งนโยบายการหยุดกินหมาก และพลู รวมถึงนโยบายการพัฒนาระบบคมนาคมขนสง เพื่อเชื่อมตอพื้นที่ฝงพระนคร และฝงธนบุรีเขาไวดวยกัน ไมวาจะเปนการกอสรางสะพานพุทธยอดฟาในปพ.ศ.2475 และโครงการตัดถนนสายสําคัญทั่วทั้งฝงธนบุรี สงผลใหความสําคัญในฐานะแหลงผลิตพลู และศูนยกลางการคมนาคมทางน้ําลดความสําคัญลง บทบาทของถนนเริ่มเขามาแทนที่ เกิดการถมคลองซอยตางๆ เพื่อการตัด476


ถนน และทําเปนทางเดินเขาบาน และทําใหศูนยกลางการคายายจากเสนทางน้ํากลายเปนเสนทางบก การตั้งบานเรือน และยานการคาเปลี่ยนจากริมคลองมาเปนริมถนน สงผลใหรูปแบบของพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําในอดีตเปลี่ยนแปลงไป เมื่อการขนสงทางบกสะดวกขึ้นการขนสงทางน้ําก็เริ่มหมดความหมาย ทําใหรูปลักษณของสินคา และจุดขนถายสินคาแปรเปลี่ยนจากริมน้ําเปนบริเวณริมถนน และยังรวมถึงการแปรเปลี่ยนของประเภทสินคา จากสินคาการเกษตร และเครื่องใชในชีวิตประจําวันจากแหลงผลิตที่มีการคมนาคมขนสงทางน้ําตอเนื่องกันมาเปนสินคาหลากหลายจากหลายแหลงผลิต ดวยเหตุนี้ เมื่อการขนสงทางบกเขาถึงลักษณะเดนของสินคาเฉพาะแหงของตลาดจึงเริ่มเลือนหายไปเปนสินคาที่มีความหลากหลายและเหมือนๆ กันทุกราน อีกทั้งมีการปรับเปลี่ยนจุดขนถายสินคาจากริมน้ํามาเปนริมถนนตัดใหมแทน (อรศิริ ปาณินท, 2544: 27-30) แตความเปนศูนยกลางการคา และการพักอาศัยยังคงปรากฎใหเห็นอยูในปจจุบัน โดยเฉพาะกิจกรรมการคาซึ่งเปนกิจกรรมหลักที่สะทอนใหเห็นถึงความเปนยานตลาดพลูไดเปนอยางดีแมวา การเปนพื้นที่ปลูกสวนพลูที่มีชื่อเสียงในอดีตนั้นไดสูญหายไป ตลาดพลูที่เคยเปนพื ้นที่การคาที่สําคัญของชาวจีน และแหลงบันเทิงของผูคนภายในยานถูกลบออกไปดวยโครงสรางขนาดใหญของทางยกระดับรัชดาภิเษก (วงแหวนรอบใน) รวมถึงไดมีหางสรรพสินคา และศูนยการคาแหงใหมเกิดขึ้นในบริเวณอื่นๆ เปนจํานวนมาก ทําใหพื้นที่ยานตลาดพลูกลายเปนพื้นที่การคาสําหรับคนในชุมชน แตกิจกรรมตางๆ ในอดีตไมวาจะเปนการคา หรือการพักอาศัยที่ดําเนินควบคูมาตั้งแตการปลูกสวนพลูนั้นยังคงปรากฎใหเห็น และมีความสําคัญในการดําเนินวิถีชีวิตของผูคนทั้งภายใน และภายนอกพื้นที่ไดจนถึงปจจุบัน เชน ตลาดวัดกลาง (วัดจันทารามวรวิหาร) ที่ดําเนินการคาขายในชวงเชาของทุกวัน และเปนตลาดสดหลักที่ผูคนจากทั้งภายใน และภายนอกพื้นที่ตางเดินทางเขามาจับจายซื้อขายสินคา หรือสถานีรถไฟตลาดพลูที่ยังคงดําเนินการอยูในปจจุบัน ซึ่งใหบริการทุกวันตั้งแตเวลา 5.30-21.00น. และตลาดรถไฟที่มีความคึกคักเปนอยางมากในชวงเวลาตอนเย็นของทุกวันเปนตน สิ่งตางๆ เหลานี้แสดงใหเห็นถึงคุณคาที่มีความสําคัญของยานตลาดพลูไดเปนอยางดีแตจากนโยบายของภาครัฐในการพัฒนาโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลในอนาคต อาจกอใหเกิดผลกระทบที่สําคัญตอพื้นที่ยานตลาดพลู คือ โครงการทางรถไฟสายสีแดง (ชวงหัวลําโพง-มหาชัย) รวมถึงโครงการอื่นๆ บริเวณโดยรอบที่อาจสงผลกระทบตอยานตลาดพลู ไดแก โครงการรถไฟฟากรุงเทพสายสีลมสวนตอขยาย (สะพานตากสิน-บางหวา) โครงการรถไฟฟามหานครสวนตอขยายสายสีน้ําเงิน (ทาพระ-บางหวา-บางแค) และสายสีมวง (บางใหญ-ราษฎรบูรณะ) และโครงการรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ BRT (Bus Rapid Transit) ทําใหยานตลาดพลูมีการพัฒนาที่เพิ่มมากขึ้น การเขาถึงพื้นที่ที่สะดวกยิ่งขึ้น มีรูปแบบการสัญจรที่หลากหลาย สงผลใหพื้นที่ยานตลาดพลูมีผูคนจํานวนมากเดินทางเขาออกมากขึ้นรวมทั้งยังสามารถสรางกิจกรรมใหมใหกับพื้นที่ แตในขณะเดียวกันกลับกลายเปนปญหาสําคัญที่กําลังคุกคามพื้นที่ยานจากการพัฒนามวลอาคารขนาดใหญแทรกลงไปในพื้นที่ที่ขนาดเล็ก และความไมเพียงพอในการใหบริการจากโครงสรางพื้นฐานในปจจุบันจากปริมาณของผูคน และการจราจรที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น ผลกระทบดังกลาวอาจทําใหคุณคา และวิถีชีวิตชุมชนดั้งเดิมของยานเริ่มถูกทําลาย และอาจสูญหายไปไดในอนาคต477


ภาพที่ 2.2 โครงการขนสงมวลชนระบบรางของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในอนาคต (ที่มา: สนข, 2544)นอกจากนี้ ยังเปนปรากฎการณของเมืองที่กําลังเกิดขึ้นทั่วไปในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ไมเฉพาะยานตลาดพลูเทานั้น และยังไมมีแนวทางการออกแบบ และการพัฒนาที่เหมาะสม จึงนํามาสูการศึกษาเพื่อสรางความเขาใจถึงองคประกอบความเปนสถานที่ และวิเคราะหถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปนพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในอนาคต เพื่อผสานแนวทางออกแบบวางผังทางกายภาพใหพื้นที่ยานตลาดพลูเปนทั้งพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร (Node) และยังคงความเปนสถานที่ (Place) ไดอยางเหมาะสม2.2 ตลาดพลู กับ “ความเปนสถานที่” ของชุมชนริมน้ําการศึกษาถึงองคประกอบความเปนสถานที่เพื่อหาคุณลักษณะ และคุณคาที่มีความสําคัญของยานตลาดพลูโดยอาศัยเงื่อนไข 3 ประการ ประกอบดวย (The Burra Charter, 2004: 1-6) ลักษณะเฉพาะทางกายภาพของพื้นที่ คือ โครงสรางทางกายภาพที่แทจริงของสถานทีลักษณะจริงของอาคาร ภูมิทัศน และคุณลักษณะของสุนทรียภาพ กิจกรรม หรือปรากฎการณใดๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่ซึ่งสังเกตไดวาผูคนมีปฏิสัมพันธตอพื้นที่อยางไร และการสื่อความหมาย หรือสัญลักษณ หมายถึง นัยสําคัญของพื้นที่ มักเปนคุณคาเชิงนามธรรม ไดแก ความเปนเอกลักษณ และความทรงจําอันเกิดจากความสัมพันธที่เกิดขึ้นระหวางผูคนกับพื้นที่ซึ่งความเปนสถานที่ของพื้นที่ยานตลาดพลูมีรายละเอียด ดังนี้2.2.1 กายภาพกับความเปนชุมชนละแวกบานดังที่ไดกลาวไววา ยานตลาดพลูในอดีตเปน “จุดเปลี่ยนถายการสัญจร” ที่สําคัญของเมืองมาตั้งแตอดีตจากการที่ชุมชนตั้งอยูบริเวณจุดตัดของเรือ เสนทางรถไฟ และรถยนต แมวาในปจจุบัน เสนทางสัญจรทางน้ําที่478


เคยเปนเสนทางหลักในการลําเลียงสินคา และการเดินทาง กลายเปนเพียงเสนทางสัญจร “ทางเลือก” ในการเดินทางเฉพาะชวงเวลาเชา และเย็นเทานั้น แตความหลากหลายของรูปแบบการเดินทางภายในยานดังในอดีตระหวางเรือ ถนน และรถไฟยังคงปรากฎใหเห็นอยูจนถึงปจจุบัน นอกจากนี้ รูปทรงของโครงขายการสัญจรในปจจุบันยังสะทอนใหเห็นถึงรูปทรงการสัญจร และวิถีชีวิตริมน้ําของยานตลาดพลูในอดีตไดเปนอยางดีภาพที่ 2.3 รูปแบบของโครงขายการสัญจรภายในยานตลาดพลู (ที่มา: ผูวิจัย, 2551)จากการศึกษา พบวา รูปแบบของระบบโครงขายของถนนนั้นมีถนนสายหลักเปนถนนสําคัญ และมีถนนซอยแตกแยกยอยออกมาจากถนนสายหลัก หรือที่เรียกวา “Linear grid form” โดยพื้นที่ถนนซอยที่มีการแตกแยกยอยนั้นสวนใหญเปนถนนปลายตัน (Broken-gird structure) ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากลักษณะภูมิประเทศดั้งเดิมของยานที่ในอดีตเคยเปนพื้นที่ทําสวนพลู ซึ่งลักษณะการทําสวนที่มีคลอง และลําประโดงเปนคูน้ําลอมรอบพื้นที่ ทําใหการตัดถนนขึ้นใหมอาศัยการสรางเลียบคลองเปนหลัก แลวจึงสรางทางเขาในแตละชุมชนตามแนวลําประโดง สงผลใหระบบถนนซอยในยานตลาดพลูไมไดมีการเชื่อมตอกัน รวมทั้งยังทําใหเกิดปญหาการจราจรติดขัดบริเวณถนนสายหลักดวย แตอยางไรก็ตาม ถนนซอยภายในชุมชนที่แคบ และเล็ก รวมทั้งใชการเดินเทาเปนหลักนั้นไดสรางบรรยากาศของความเปนชุมชนละแวกบาน และความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในชุมชน รวมทั้งยังแวดลอมไปดวยกิจกรรมที่มีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนการพักอาศัย การคา และกิจกรรมทางศาสนา ทําใหพื้นที่ถนนซอยกลายเปนพื้นที่ที่มีเอกลักษณทั้งในแงของขนาดที่สัมพันธกับสัดสวนของมนุษย (Human Scale) และแนวประดับถนน (Streetscape)479


ภาพที่ 2.4 ตรอกซอกซอยในชุมชน (ที่มา: จากการสํารวจของผูวิจัย, 2551)นอกจากนี้ การใชประโยชนที่ดิน และอาคารภายในยานตลาดพลูนั้นมีความหลากหลายผสมผสานกันทั้งการพักอาศัย การคา และการใชที่ดินอื่นๆ ทําใหเกิดการใชพื้นที่ และอาคารในชวงเวลาที่แตกตางกันกอใหเกิดกิจกรรม และการใชพื้นที่ทั้งภายใน และภายนอกแทบตลอดทั้งวันผานพื้นที่อาคาร และพื้นที่วางสาธารณะที่มีการวางผังของแนวอาคารแบบกระจัดกระจาย โดยมีทั้งกลุมอาคารแบบเกาที่มีคุณคาทางดานประวัติศาสตร และกลุมอาคารสมัยใหม ที่มีการเรียงตัวตามแนวถนน และแนวลําคลอง สามารถพบเห็นไดบริเวณริมถนนเทอดไท และริมคลองบางกอกใหญ รวมทั้งการใชพื้นที่ภายในชุมชน ไมวาจะเปน ถนนซอย พื้นที่หนาบาน ตลาด และศาสนสถานตางๆ เปนพื้นที่ในการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกันของคนในชุมชนที่มีรูปแบบการปดลอมของพื้นที่แสดงใหใหเห็นถึงการใชพื้นที่ขนาดเล็กของยานอีกดวย แมวาในปจจุบันการแทรกตัวของโครงสรางขนาดใหญเขาไปในพื้นที่มวลอาคารขนาดเล็กไดเริ่มปรากฎเขามาใหเห็นมากขึ้น ตั้งแตในปพ.ศ.2529 การดําเนินการกอสรางทางยกระดับรัชดาภิเษก ทําใหเนื้อเมืองเดิมของยานตลาดพลูชีกขาด และแบงพื้นที่ชุมชนออกเปนสองสวนอยางชัดเจน สงผลใหลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ยานตลาดพลูมีการเปลี่ยนแปลงเปนอยางมากจากพื้นที่ทางการเกษตรปรับเปลี่ยนใหเปนพื้นที่เชื่อมโยงระหวางเมืองเปรียบเสมือนเปนกลายเปดพื้นที่ใหมีการเขาถึงที่สะดวก และรวดเร็ว สงผลใหเกิดการพัฒนาพื้นที่ทางดานทิศใตมากขึ้น ซึ่งสวนใหญเปนการสรางมวลอาคารขนาดใหญเขามาในพื้นที่ เชน หอพัก หรือคอนโดมิเนียม เปนตน อยางไรก็ตาม พื้นที่ยานตลาดพลูในปจจุบัน สวนใหญยังคงเปนการใชพื้นที่ขนาดเล็ก ทั้งขนาดของมวลอาคาร ความกวางของถนน และตรอกซอกซอยภายในชุมชนที่ยังมีความสัมพันธกับแนวลําคลองเดิม แมวาจะไมไดมีความสัมพันธดังเชนในอดีต แตยังแสดงใหเห็นถึงรูปแบบในการใชพื้นที่ดั้งเดิมที่ยังคงสะทอนใหเห็นจนถึงปจจุบัน2.2.2 ความสัมพันธระหวางกิจกรรมและการใชพื้นที่การแสดงถึงความสัมพันธระหวางกิจกรรม พื้นที่ และเวลาภายในยานตลาดพลูสามารถสะทอนใหเห็นถึงความหมายที่สะทอนออกมาของยานตลาดพลู จึงไดทําการศึกษา และสํารวจชวงเวลา และพื้นที่ที่ใชในการ480


ดําเนินกิจกรรม ประกอบดวย ตลาด และรานคา สถานีรถไฟตลาดพลู พื้นที่ภายในศาสนสถาน ซอยในชุมชนและพื้นที่หนาบาน โดยการบันทึกภาพถายในชวงเวลาตางๆ ตามประเภทของกิจกรรมผานพื้นที่ดังกลาวสามารถสรุปกิจกรรมที่เกิดขึ้นประจําวันของยานตลาดพลูได ดังนี้ชวงเวลา 6.00 น. ถึง 12.00 น.6.00 น.-8.00 น. ตลาดวัดกลาง และรานคาโดยรอบ รวมถึงรานคาบางรานริมถนนเทอดไท เริ่มมีการคาขายสินคาแลว ทําใหมีผูคนบางสวนเดินทางเขามาซื้อขายสินคา ผูคนที่พักอาศัยอยูภายในยานเริ่มเดินทางออกจากบานพักเพื่อไปทํางาน และเรียนหนังสือ รวมถึงการทําบุญตักบาตร และไหวพระในศาลเจาในตอนเชาทําใหการสัญจรภายในพื้นที่ยานเริ่มมีความหนาแนนทั้งทางเดินเทา ถนน เรือ และรถไฟ8.01 น.-10.00 น. ตลาดวัดกลาง และรานคาโดยรอบตลาดนั้นมีความคึกคักเปนอยางมาก มีผูคนเดินทางเขามาซื้อสินคาภายในตลาดจํานวนมาก ทําใหเสนทางการสัญจร โดยเฉพาะถนนเทอดไทดานหนาตลาดวัดกลางมีความหนาแนนเปนอยางมาก สําหรับรานคาอื่นๆ ภายในยานเริ่มมีการเปดคาขายมากขึ้น เชน บริเวณซอยทาน้ําตลาดพลู หรือบริเวณดานหลังสถานีรถไฟตลาดพลู เปนตน10.01 น.-12.00 น. ตลาดวัดกลางเริ่มวาย สวนใหญเริ่มเก็บแผงราน และทําความสะอาดพื้นที่ มีเพียงบางรานที่ยังคงดําเนินการคาขายตอจนสินคาหมด สําหรับรานคาริมถนนเทอดไท และถนนรัชดาภิเษก รวมถึงตลาดรัชดาภิเษกเปดกิจการเกือบทั้งหมดแลว ทําใหเสนทางการสัญจรภายในพื้นที่ยังคงมีความหนาแนนแตนอยกวาในชวงเวลาที่ผานมาชวงเวลา 12.01 น. ถึง 21.00 น.12.01 น.-15.00 น. พื้นที่ยานตลาดพลูเริ่มมีความคึกคักนอยลง แมวารานคาตางๆ เปดกิจการเกือบทั้งหมดแลว แตตลาดวัดกลางซึ่งเปนพื้นที่การคาหลักไดปดดําเนินการคาไปในชวงเชา สงผลใหมีผูคนเดินทางเขามาซื้อสินคา และบริการลดลงตามไปดวย อยางไรก็ตาม ยังคงมีผูคนจากภายนอกเดินทางเขามาเลือกซื้อสินคาและบริการภายในพื้นที่ โดยเฉพาะบริเวณตลาดรัชดาภิเษกที่มีเจาหนาที่จากสํานักงานเขตบางกอกใหญ และเขตธนบุรีเดินทางเขามารับประทานอาหารในเวลากลางวัน และเลือกซื้อสินคา15.01 น.-18.00 น. เปนชวงเวลาโรงเรียนเลิก และเลิกงาน ทําใหผูคนเดินทางกลับเขามาภายในยานมากขึ้น การสัญจรทั้งทางเดินเทา ถนน เรือ และรถไฟ รวมถึงการคาขายบริเวณสถานีรถไฟตลาดพลู และดานหนาตลาดรัชดาภิเษกเริ่มกลับมามีความคึกคัก นอกจากนี้พื้นที่หนาบาน ซอยระหวางชุมชน และลานวัดไดกลายเปนพื้นที่พบปะพูดคุย และออกกําลังกายของคนในชุมชน ทําใหยานตลาดพลูกลับมามีความคึกคักอีกครั้ง18.01 น.-21.00 น. กิจกรรมตางๆ ภายในยานเริ่มลดลง รานคาเริ่มปดดําเนินการคา ผูคนภายในชุมชนกลับเขาพักอาศัย การสัญจรทางเรือ และรถไฟปดใหบริการ การสัญจรทางเทา และถนนเริ่มเบาบางลง มีเพียงรานคาบางรานเทานั้นที่เปดดําเนินการตอ เชน บริเวณพื้นที่ดานขางสถานีรถไฟตลาดพลู และดานหนาตลาดรัชดาภิเษก ทําใหพื้นที่ยานตลาดพลูเขาสูการหลับใหล และกลับเขาสูความคึกคักอีกครั้งในตอนเชาของวันตอไป481


0 6.00 - 0 9.000 9.01 - 12.0012.01 - 15.0015.01 - 18.0018.01 - 21.00ภาพที่ 2.5 ความสัมพันธระหวางกิจกรรม และพื้นที่ในชวงเวลาตางๆ (ที่มา: จากการสํารวจของผูวิจัย, 2551)จะเห็นไดวา ตลาดพลู เปนยานเกาแกที่มีความเปนมาอยางยาวนาน การใชพื้นที่ขนาดเล็ก ไมวาจะเปนประเภท และลักษณะของอาคารขนาดเล็กเพื่อการคาและการพักอาศัย รวมถึงตรอกซอกซอยในชุมชนที่ยังคงสะทอนใหเห็นถึงแนวลําประโดงเดิมของพื้นที่ที่เคยเปนสวนพลูในอดีต เปนสิ่งสําคัญที่แสดงออกถึงความเปนชุมชนริมน้ําดั้งเดิมไดเปนอยางดี โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ริมคลองบางกอกใหญ ซึ่งเปนพื้นที่แรกเริ่มในการตั้งถิ่นฐาน การใชพื้นที่ที่มาตั้งแตอดีตทั้งพื้นที่วัด ตลาด และชุมชนยังคงปรากฎใหเห็นถึงจนถึงปจจุบัน แมวาบทบาทของถนนเขามาแทนที่ และความสําคัญของน้ําที่เคยเปนปจจัยหลักในการดํารงชีวิต และการเดินทางลดลง แตกิจกรรม และวิถีชีวิตของตลาดพลูยังคงดําเนินอยูตอไป สิ่งตางๆ เหลานี้ไดกลายเปนองคประกอบสําคัญที่สะทอนใหเห็นความเปนสถานที่ของพื้นที่ยานตลาดพลูโดยอาศัยน้ํา และแนวลําประโดงเดิมในการเชื่อมตอพื้นที่ที่มีคุณคา และเอกลักษณแตละพื้นที่เขาไวดวยกัน482


ภาพที่ 2.6 องคประกอบความเปนสถานที่ของยานตลาดพลู (ที่มา: ผูวิจัย, 2551)3. “จุดเปลี่ยนถายการสัญจร” กับยานตลาดพลูโครงการทางรถไฟสายสีแดง (ชวงหัวลําโพง-มหาชัย) เปนหนึ่งในแผนพัฒนาระบบขนสงมวลชนของกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยเปนการสรางระบบขนสงมวลชนดวยรางไปตามแนวถนนสายหลักและทางรถไฟเดิม โดยเริ่มจากการตอเชื่อมกับทางรถไฟยกระดับของรถไฟฟาสายสีแดง ชวงรังสิต – บางซื่อ – หัวลําโพงบริเวณหัวลําโพง และสรางทางรถไฟยกระดับไปตามแนวถนนมหาพฤฒาราม ขามแมน้ําเจาพระยาและเขาสูถนนลาดหญา ผานถนนเจริญรัถ ตอจากนั้นจึงเปนการปรับปรุงทางรถไฟเดิมตามแนวเสนทางรถไฟปจจุบัน เริ่มตั้งแตสถานีวงเวียนใหญเดิมไปจนถึงสถานีมหาชัยใหม และเปนโครงสรางยกระดับตลอดทั้งโครงการ นอกจากนี้สถานีรถไฟตลาดพลูเดิมไดมีการปรับเปลี่ยนเปนสถานีลอยฟาหนึ่งในโครงการดวย และจากโครงสรางของสถานีและรางขนาดใหญ รวมถึงการพัฒนาพื้นที่ที่คาดวาจะเกิดขึ้น เพื่อรองรับการเปนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรในอนาคต ทําใหเปนทั้งโอกาส และภาวะคุกคามตอพื้นที่ยานตลาดพลูในอนาคตยานตลาดพลูจะมีการพัฒนาที่เพิ่มมากขึ้น การเขาถึงพื้นที่ที่สะดวกยิ่งขึ้น มีรูปแบบการสัญจรที่หลากหลาย สงผลใหมีผูคนจํานวนมากเดินทางเขาออก และยังเปนการสรางกิจกรรมใหมใหกับพื้นที่ยานมากขึ้น แตในขณะเดียวกันกลับกลายเปนปญหาสําคัญที่กําลังคุกคามพื้นที่ จากการพัฒนามวลอาคารขนาดใหญแทรกลงไปในพื้นที่ที่มีมวลอาคารขนาดเล็กอีกครั้งหลังจากการกอสรางทางยกระดับรัชดาภิเษกในปพ.ศ.2527 ทําใหพื้นที่บางสวนบริเวณริมถนนเทอดไท และดานหลังของสถานีรถไฟตลาดพลูที่เปนพื้นที่คาขายและศูนยรวมกิจกรรมในชวงเวลาเย็น รวมทั้งอาคารสถานีรถไฟตลาดพลู ซึ่งเปนอาคารที่มีคุณคาเชิงสัญลักษณตอพื้นที่ในแงบทบาท และความเปนมาที่ยาวนานกําลังจะสูญหายไปจากการกอสรางสถานีโดยสารในอนาคต(สถานีตลาดพลู) นอกจากนี้ การพัฒนาอสังหาริมทรัพยจากภาคเอกชนจะเขามาทําลายการใชพื้นที่ขนาดเล็ก483


ขนาดของที่อยูอาศัย และการวางตัวของแนวอาคารที่สัมพันธกับน้ํา ผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงดังกลาวกําลังจะทําใหองคประกอบความเปนสถานที่ของพื้นที่ยานตลาดพลู ไมวาจะเปน รูปแบบการใชพื้นที่ริมน้ํา รองสวน และลําประโดงเดิมกําลังจะสญหายไปในที่สุด ดังนั้น จึงนํามาสูการวางผังและออกแบบทางกายภาพของยานตลาดพลู โดยนําองคประกอบความเปนสถานที่ของยานตลาดพลู และผลกระทบในการเปนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรมาทําการวิเคราะหรวมกัน เพื่อใหทราบถึงพื้นที่ที่ควรคาแกการเก็บรักษา พื้นที่ที่มีศักยภาพในการรองรับการเปลี่ยนถายการสัญจรในอนาคต และสภาพปญหาตางๆ ของยานตลาดพลูในปจจุบันภาพที่ 3.1 ความแตกตางระหวางมวลอาคารขนาดใหญกับมวลอาคารขนาดเล็ก (ที่มา: ผูวิจัย, 2551)4. การวางผังและออกแบบ “จุดเปลี่ยนถายการสัญจร” ผานยานตลาดพลูในอนาคต ยานตลาดพลูจะเปนพื้นที่พาณิชยกรรมในระดับเมือง โดยมีการใชพื้นที่มีเพื่อการพักอาศัยและการประกอบกิจกรรมการคาควบคูกันไปดังเชนในปจจุบัน ในลักษณะการใชประโยชนที่ดินแบบผสมผสานแตกิจกรรมการคาจะมีการขยายตัวมากขึ้น เนื่องจากในอนาคตพื้นที่ยานตลาดพลูตองมีพื้นที่เพื่อรองรับระบบขนสงมวลชนในอนาคต เพื่อใหยานตลาดพลูเปนชุมชนละแวกบานใหมที่ประกอบดวย ชุมชน พื้นที่การคาและบริการ และพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรในระดับชุมชน (Neighborhood Station) โดยอาศัยการผสมผสานระหวางโครงสรางพื้นฐาน และกิจกรรมตางๆ เพื่อสรางใหเกิดความเปนสถานที่ และพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ดี รักษาไวซึ่งเนื้อเมืองเกาที่มีคุณคาทางดานประวัติศาสตรกับการพัฒนาพื้นที่รูปแบบใหมไดอยางเหมาะสม ทําใหผูคนที่ตางวิถีชีวิตสามารถมาพบปะพูดคุย และแลกเปลี่ยนประสบการณใหมซึ่งกันและกัน โดยนําแนวคิดระหวางเงื่อนไขในการออกแบบพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรตามแนวคิด Transit OrientedDevelopment (TOD) ซึ่งเปนแนวคิดที่ใหความสําคัญกับเสนทางเดินเทาในการเขาถึงพื้นที่ระหวางสถานีโดยสารกับพื้นที่ชุมชน รวมทั้งใหมีการใชประโยชนที่ดินแบบผสมผสานบริเวณโดยรอบพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรระหวางการคา การพักอาศัย และพื้นที่โลงวางสาธารณะ เพื่อรองรับ และใหบริการแกผูโดยสาร และประชาชนภายในพื้นที่ไดอยางเหมาะสม และเงื่อนไขทางกายภาพที่สงเสริมพลวัตของยานพาณิชยกรรม ซึ่งประกอบดวย ความยืดหยุนเพื่อใหเกิดศักยภาพของการใชพื้นที่ที่สูงที่สุด ความหนาแนนของกิจกรรม และกลุม484


คนที่เขามาใชพื้นที่ ความเชื่อมตอของโครงขายทางเดินเทา และคุณภาพของพื้นที่วางสาธารณะในบริบทของไทย นําผสมผสานเปนกรอบแนวคิดหลักในการออกแบบพื้นที่ยานตลาดพลูในอนาคต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้4.1 การเชื่อมตอ (Connectivity)ไดนําแนวลําคลองเดิม ไมวาจะเปนคลองสําเหร คลองบางน้ําชน คลองบางสะแก และคลองบางกอกใหญ รวมถึงแนวลําประโดงในอดีตนํามาเปนแนวแกนหลักในการออกแบบ โดยใหแนวลําคลอง และทางเดินริมน้ําเปนตัวเรียงรอยพื้นที่ที่เปนองคประกอบความเปนสถานที่ของยานตลาดพลูเขาไวดวยกัน นอกจากนี้ ใหมีการเชื่อมตอถนนตรอกซอกซอยเปนระบบตาราง (Grid System) อาศัยแนวลําประโดงเดิมเปนเสนแนวแกนอางอิงในการเชื่อมตอถนนซอยเขาไวดวยกัน เพื่อใหยังคงความเปนตรอกซอกซอยที่เปนเอกลักษณของชุมชนโดยทําการปรับปรุงฟนฟูใหมีความสะดวกในการเดินทางมากยิ่งขึ้น เชน เพิ่มพื้นที่ในทางเดินเทา ไฟสองสวางชายคารมเงา และที่พักบริเวณจุดตัดของการสัญจรริมทาง เปนตน และเชื่อมโยงรูปแบบการเดินทางที่หลากหลายเขาไวดวยกัน ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญในการออกแบบตามแนวคิด Transit Oriented Developmentภาพที่ 4.1 แนวความคิดในการออกแบบโครงขายการสัญจร และความเชื่อมโยง (ที่มา: ผูวิจัย, 2551)ในอนาคตเมื่อการดําเนินการกอสรางโครงการทางรถไฟสายสีแดง และสถานีรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) แลวเสร็จ สถานีรถไฟฟาตลาดพลู และสถานีรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) จะเปนรูปแบบหลักในการเขาถึงพื้นที่ยาน จึงจําเปนตองสรางเสนทางเชื่อมตอแตละรูปแบบการเดินทางเขาไวดวยกันจึงไดใชคลองบางน้ําชน ซึ่งแนวคลองแกนกลางหลักที่มีลําประโดงเดิมเชื่อมตอคลองบางสะแก คลองสําเหร และคลองบางกอกใหญเขาไวดวยกัน รวมทั้งมีถนนเลียบคลองที่เชื่อมตอสถานีรถไฟฟาตลาดพลูกับสถานีของรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ BRT (สถานีปลายทางรัชดาภิเษก) จึงกําหนดใหเสนทางเลียบคลองบางน้ําชนเปน485


เสนทางเดินเทาหลักที่เชื่อมตอพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรของสองระบบ ทั้งระบบราง และรถโดยสารประจําทาง BRT เขาไวดวยกัน และใหตอเนื่องไปถึงปายหยุดรถสถานีโดยสารประจําทางดานหนาตลาดรัชดาภิเษกและทาเรือตลาดพลูริมคลองบางกอกใหญใหสามารถเดินถึงกันไดอยางสะดวกรวดเร็ว รวมทั้งสรางบรรยากาศที่ดึงดูดใหเกิดการใชเสนทาง นอกจากนี้ใหเสนทางเดินเทามีการเชื่อมตอไปยังตลาดวัดกลาง (ฝงตะวันออกของยาน) และวัดขุนจันทร (ฝงตะวันตกของยาน) รวมถึงฝงตรงขามคลองบางกอกใหญ โดยสรางสะพานคนเดินขามคลองบางกอกใหญบริเวณใกลกับทาเรือตลาดพลู เพื่อเชื่อมโยงผูคน และกิจกรรมทั้งสองฝงคลองเขาไวดวยกัน4.2 ความหนาแนน (Density)กําหนดใหบริเวณโดยรอบสถานีระบบรางในอนาคตเปนพื้นที่แบบผสมผสาน (Mixed use) ระหวางพาณิชยกรรม และการพักอาศัย ซึ่งพื้นที่พาณิชยกรรมนั้นใหมีกิจกรรมที่เอื้อตอการเดินทางของผูโดยสาร และวิถีชีวิตของผูคนในยานเปนหลัก รวมทั้งใหมีพื้นที่เอนกประโยชน (Multi-purpose area) เพื่อรองรับ และใหบริการกับผูคนทั้งภายใน และภายนอกยานสามารถเขามาใชพื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมตางๆ ได สําหรับพื้นที่ และอาคารที่ควรคาแกการเก็บรักษา และปรับปรุงฟนฟูใหมสภาพที่ดีขึ้น ไดแก อาคารตลาดวัดกลาง สถานีรถไฟตลาดพลู อาคารตึกแถวบริเวณซอยสถานีดับเพลิงตลาดพลู ทาเรือตลาดพลู และบริเวณริมถนนรัชดาภิเษก ซึ่งเปนกลุมอาคารที่แสดงใหเห็นถึงประวัติความเปนมาในอดีตที่ควรไดรับการดูแลรักษาอยางจริงจัง และปรับปรุงซอมแซมใหอยูในสภาพที่ดี รวมทั้งมีการควบคุม และรักษารูปแบบทางสถาปตยกรรมของอาคาร เชน ความสูงวัสดุ และสีสันดั้งเดิมของอาคารไวใหมากที่สุด โดยอาคารที่เกิดขึ้นตองคํานึงถึงขนาด และมวลอาคาร รวมถึงรูปแบบทางสถาปตยกรรมของอาคารดั้งเดิมโดยรอบมากที่สุด นอกจากนี้ กําหนดใหอาคารในพื้นที่ริมคลองบางกอกใหญมีความสูงไมเกิน 16 เมตรในระยะ 100 เมตรจากแนวคลองบางกอกใหญภาพที่ 4.2 แนวความคิดในการออกแบบการใชประโยชนที่ดิน (ที่มา: ผูวิจัย, 2551)486


สําหรับพื้นที่ 2 ฝงของแนวโครงสรางยกระดับรถไฟฟาในอนาคต รวมถึงพื้นที่ 2 ฝงของถนนรัชดาภิเษกใหมีการสรางแนวอาคารที่รักษาระดับความสูงใหอยูในระนาบเดียวโครงสรางของเสา และรางของรถไฟฟาในอนาคต โดยใหมีความสูงไมเกิน 2 เทาจากความสูงของอาคารเดิมในพื้นที่นั้น และใหสูงไดไมเกิน 24 เมตรรวมทั้งใหระดับความสูงนั้นลดระดับลงไปในพื้นที่ชุมชน เพื่อลดผลกระทบทางดานมุมมอง และทัศนียภาพที่เกิดขึ้นจากโครงสรางของเสา แนวราง และสถานีโดยสาร ไมใหเกิดความแตกตางระหวางมวลอาคารขนาดใหญกับมวลอาคารขนาดเล็ก รวมทั้งรักษาแนวเสนของฟาเดิมของยานตลาดพลูไว4.3 ความยืดหยุน และคุณภาพพื้นที่สาธารณะริมน้ําที่ดี (Flexibility and Quality of Space)พื้นที่โลงสาธารณะขนาดใหญของยานมักตั้งอยูบริเวณริมคลองบางกอกใหญ รวมทั้งพื้นที่ริมน้ําเปนพื้นที่ที่ทําใหทัศนียภาพโดยรอบมีความสวยงาม และเปนพื้นที่ที่มีคุณคาทางดานประวัติศาสตร เนื่องจากเปนพื้นที่แรกเริ่มในการตั้งถิ่นฐาน ซึ่งสามารถพัฒนาพื้นที่ดังกลาวใหเปนพื้นที่เปดโลงเพื่อการนันทนาการ และสงเสริมใหเกิดการคา และการทองเที่ยวได จึงควรมีการปรับปรุงฟนฟูพื้นที่ริมคลองบางกอกใหญเปนพื้นที่โลงวางสาธารณะใหสามารถรองรับผูคนทั้งภายใน และภายนอกพื้นที่ รวมถึงกิจกรรมตางๆ ในอนาคตไดอยางเหมาะสม เพื่อเปนการเปดมุมมอง และสรางทัศนียภาพที่สวยงาม รวมถึงอาจเปนปจจัยดึงดูดที่ทําใหประชาชนเขามาภายในพื้นที่ยานมากยิ่งขึ้นภาพที่ 4.3 ผังแมบทของพื้นที่ยานตลาดพลูในอนาคต (ที่มา: ผูวิจัย, 2551)487


5. สรุปและเสนอแนะยานตลาดพลูเปนพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่ยังคงมีกิจกรรม และการใชพื้นที่ที่สืบเนื่องมาจากอดีตและยังคงปรากฎใหเห็นอยูจนถึงปจจุบัน จากแนวลําคลองเดิมที่เคยเปนเสนทางสัญจร และลําเลียงสินคาหลักและแหลงวัตถุดิบในการทําสวนพลู รวมทั้งเปนพื้นที่ที่กอใหเกิดองคประกอบความเปนสถานที่ที่สําคัญของยานไมวาจะเปน ตลาดวัดกลางที่ตั้งอยูริมน้ํา หรือตึกแถวเกาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ตั้งอยูบริเวณทาเรือตลาดพลู เปนตนรวมทั้งเสนสายของตรอกซอกซอยปจจุบันที่เปนเอกลักษณของยานยังคงปรากฎใหเห็นถึงแนวเสนทางของลําประโดงเดิมที่เกิดขึ้นจากการถมคลองเพื่อตัดถนน สะทอนใหเห็นถึงความเปนชุมชนละแวกบานที่มีรูปแบบในการใชพื้นที่มาตั้งแตอดีตทั้งเสนสายของตรอกซอกซอยที่มาจากแนวลําประโดงเดิม กลุมอาคารประวัติศาสตรที่ตั้งเรียงรายอยูตามแนวลําคลอง และกิจกรรมของพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่ยังคงสะทอนใหเห็นอยูจนถึงปจจุบันไดเปนอยางดี แมวา “น้ํา” ในปจจุบันเปนเพียงทางเลือกในการเดินทาง หรือทางระบายน้ําเสียลงสูคลองสายหลัก แต .น้ํา” ยังคงสรางใหเกิดการรับรูถึงบรรยากาศ และความเปนพื้นที่ริมน้ําเกาแกไดเปนอยางดี อยางไรก็ตาม โครงการทางรถไฟสายสีแดงในอนาคตกําลังจะเขามาทําใหพื้นที่ยานตลาดพลูเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญอีกครั้ง ดังนั้น การผสานใหกิจกรรม กายภาพ และวิถีชีวิตของชุมชนริมน้ําใหสามารถตอบรับ และปรับปรุงตามการเปลี่ยนแปลงดังกลาวนั้นเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง เพื่อใหศูนยรวมวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่นที่มีคุณคา และความสําคัญทางประวัติศาสตรยังคงอยูตอไปดังที่ไดกลาวไวในขางตน การพัฒนาพื้นที่รอบจุดเปลี่ยนถายการสัญจร ไมไดมีการกลาวถึงขอคํานึงถึงและการนํามาใชในบริบทของยานเมืองเกา ทําใหการนําแนวคิด Transit-Oriented Development ตองมาประยุกตใหสอดคลองกับสภาพปจจุบัน และองคประกอบความเปนสถานที่ที่สําคัญผานขอพิจารณาถึงลักษณะทางกายภาพ ระบบกิจกรรม และความหมาย ซึ่งองคประกอบตางๆ เหลานี้ไดรวมกันกลายเปนคุณคา และเอกลักษณที่สะทอนใหเห็นถึงความเปนพื้นที่ไดเปนอยางดี นอกจากนี้ การออกแบบ และวางผังทางกายภาพจําเปนตองพิจารณาถึงเงื่อนไขทางกายภาพที่สงเสริมพลวัติของพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ํา นํามาสูการปรับเปลี่ยนหรือฟนฟูรูปแบบทางกายภาพที่มีอยู โดยการสรางรูปแบบการใชที่ดินที่มีความสอดคลองกับระบบการขนสงที่อาศัยถนน และทางเดินเทาเปนเสนทางเชื่อมตอในแตละกิจกรรมเขาไวดวยกัน และควบคุมความหนาแนนของพื้นที่พาณิชยกรรมใหมีความเหมาะสมตอขนาดของพื้นที่ เพื่อใหพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ํากลับมามีความสําคัญและเกิดการใชงานอีกครั้งหนึ่งง ซึ่งสามารถนําพื้นที่ยานตลาดพลูไปเปนกรณีศึกษา หรือตัวอยางในยานเมืองเกาและพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่มีคุณคา และเอกลักษณสําคัญที่กําลังเผชิญกับระบบขนสงมวลชนขนาดใหญคลายคลึงกับกรณีของยานตลาดพลู ซึ่งสามารถนําไปเปนแนวทางในการประยุกตใชในการวางแผนปรับปรุงพัฒนาพื้นที่อื่นๆ ตอไป488


6. รายการอางอิงไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ. วาทกรรมของเมืองผานโครงสรางเชิงสัณฐาน. วารสารวิชาการคณะสถาปตยกรรมศาสตรฉบับภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง, 2548.พวงรอย กลอมเอี้ยง และคณะ. 2547. ประวัติศาสตรทองถิ่นวิถีชีวิตยานตลาดพลูจากคลองบางหลวงถึงคลองดาน. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,วันเสด็จ แกวดก. รูปแบบของชุมชนเสมือนในพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟาใตดินพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางผังชุมชน ภาควิชาการวางแผนภาคและเมืองคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.American Planning Association (APA). Planning and Urban Design Standard.New Jersey: John Wiley & Sons, 2006.Bertolini, Luca and Spit, Tejo. Cities on Rails: The Redevelopment of Railway Station Areas.London: E & FN Spon, 1998.Deguchi, A. RE-EVALUATING STREET VENDORS IN ASIAN CITIES AND ASIAN URBANISM [Online].Available from: http://www.apsa2005.net/FullPapers/PdfFormat/Full%20Paper%20(A-H)/Atsushi%20Deguchi.pdf [2008, August 1]The Australia ICOMOS Charter for Places of Cultural Significance (The Burra Charter) [Online].Available from: http://www.icomos.org/australia/burra.html. [2007, December 4]489


พลวัตเชิงพื้นที่และการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเการิมน้ํา: กรณีศึกษายานปากคลองตลาด กรุงเทพมหานครDYNAMICS OF SPACE AND REHABILITATION FOR OLD COMMERCIAL DISTRICTS IN WATERFRONT AREAS: A CASE STUDY OF PAK KHLONG TALAT DISTRICT, BANGKOKนางสาวปาริษา มูสิกะคามะหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย1. บทคัดยอยานปากคลองตลาด กรุงเทพมหานคร คือยานพาณิชยกรรมริมน้ําคาสงผลิตผลทางการเกษตรประเภทผัก ผลไม และดอกไม ที่มีความสําคัญระดับภูมิภาคของประเทศ และไดรับการยอมรับวาเปนยานพาณิชยกรรมริมน้ําที่ยังคงมีพลวัตเชิงพื้นที่สูงที่สุดแหงหนึ่ง อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในเชิงพื้นที่ยอยจะพบวายานปากคลองตลาดกําลังประสบกับปญหาการปรับตัวจากน้ําสูบกอยางมีประสิทธิภาพ เกิดเปนปญหาขาดการใชประโยชนพื้นที่ริมน้ําและดานในของอาคารตลาดอยางเต็มศักยภาพ ในขณะที่ตองพบกับปญหาความหนาแนนและแออัดจากความตองการใชประโยชนพื้นที่พาณิชยกรรมริมถนนที่สูงมาก จนสงผลกระทบตอปญหาการจราจร และเกิดเปนความเสี่ยงตอการถูกยายออกของกิจกรรมทั้งหมดตามแผนแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร และสูญเสียพลวัตเชิงพื้นที่และความเปนสถานที่ของยานปากคลองตลาดตอไปในที่สุดการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเการิมน้ําดวยการออกแบบชุมชนเมืองจึงเปนหนึ่งในแนวทางการรักษาพลวัตและความเปนสถานที่ของยานปากคลองตลาดใหคงอยูอยางตอเนื่องและและยั่งยืน โดยผลจากการศึกษาทําใหพบวาระดับความนิยมใชพื้นที่ภายในยานที่มีความแตกตางกันนั้นเกิดจากเงื่อนไข 3 ประการคือศักยภาพในการเขาถึงและมองเห็นที่แตกตางกัน ความไมสัมพันธกันระหวางโครงขายและจุดเปลี่ยนถายการสัญจรกับพื้นที่ตั้งของกิจกรรม และการขาดความตอเนื่องของกิจกรรมการคาที่สงเสริมการสัญจรทางเทา จึงนํามาสูการเสนอแนวความคิดเพื่อการฟนฟูบูรณะพื้นที่ดวยการวางผังและออกแบบเชิงกายภาพ ซึ่งประกอบดวยการปรับปรุงระบบการเขาถึงพื้นที่และโครงขายการสัญจร การปรับเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดิน อาคาร และที่วางสาธารณะ และการฟนฟูจินตภาพของยานพาณิชยกรรมริมน้ํา ทั้งนี้ เพื่อเปนการฟนชีวิตและบทบาทของการเปนพื้นที่ศูนยกลางทางสังคมและเศรฐกิจของพื้นที่ริมน้ําใหกลับมามีบทบาทสําคัญรวมสมัยอีกครั้งหนึ่ง490


2. ที่มาและความสําคัญของปญหายานพาณิชยกรรมริมน้ําเกิดขึ้นพรอมกับการตั้งถิ่นฐานขึ้นเปนชุมชนริมฝงแมน้ําลําคลอง โดยมีสายน้ําเปนเสนทางสัญจรหลักเพื่อลําเลียงผลิตผลทางการเกษตรไปแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายกันที่จุดนัดพบ ซึ่งมักจะเปนทาน้ําของวัดหรือทาน้ําสาธารณะที่ตั้งอยูบริเวณปากคลองที่เปนจุดตัดกันระหวางคลองและแมน้ําสายสําคัญ(Chaweewan, 2001: 2-24, วิลาวัณย, 2548: 42) เกิดเปนตลาดน้ําที่คาขายแลกเปลี่ยนสินคากันในทองน้ําโดยอาศัยเรือเปนพาหนะ โดยมีเพิงคาขายหลังคามุงจากอยางงายตั้งอยูบนบกใหรูวาเปนแหลงเริ่มของการคาขายตอมาเมื่อตลาดน้ําอยูตัวมีกิจกรรมสม่ําเสมอเปนที่รูจักของคนทั้งในและนอกชุมช นและมีการพัฒนาการสัญจรทางบกมากขึ้น จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากตลาดน้ําสูตลาดนัดแผงลอยบนตลิ่งริมน้ํา และเปนตลาดถาวรที่สามารถคาขายไดตลอดวัน ทั้งยังเกิดการพัฒนาพื้นที่ขางเคียงเปนอาคารตึกแถวสรางติดดิน ที่สามารถรองรับไดทั้งกิจกรรมการคาขายและอยูอาศัย ใหบริการสินคาในชีวิตประจําวันและการบริการทั่วไป จนเกิดเปนภาพของชุมชนหรือยานการคาริมน้ําที่ชัดเจนขึ้น (อรศิริ, 2544: 27-30)อยางไรก็ตาม การเกิดกระบวนการเปลี่ยนสภาพชุมชน สังคม และประเพณีไปสูสังคมสมัยใหมทําใหระบบโครงสรางชุมชนดั้งเดิมเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งในเชิงกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยปจจัยที่สงผลกระทบตอยานพาณิชยกรรมริมน้ํามากที่สุดคือการเรงพัฒนาระบบคมนาคมทางบกขึ้นมาทดแทนการคมนาคมทางน้ํา โดยรูปแบบของการตัดถนนที่เราพบเห็นไดทั่วไปคือการสรางถนนขนานไปกับแนวแมน้ําลําคลองเดิม สงผลใหพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําหลายแหงเสมือนมีหนาบาน 2 ทาง คือมีชองทางการเขาถึงและกระจายสินคาไดทั้งทางบกและทางน้ํา ซึ่งในระยะเวลาหนึ่งนั้นก็สงผลใหยานพาณิชยกรรมหลายแหงประสบความสําเร็จเปนอยางมาก ทั้งยานปากคลองตลาด ทาเตียน ทาชาง หรือทาพระจันทร แตเมื่อความสมดุลระหวางการเดินทางน้ําและบกเปลี่ยนแปลงไป ดวยคลองจํานวนมากที่เคยเปนโครงขายเสนทางขนถายสินคาตองถูกถมและแทนที่ดวยถนนหรือทางเดินเทา แหลงที่มาและแหลงกลางในการแลกเปลี่ยนสินคาที่เคยตั้งอยูริมน้ําจึงตองแปรเปลี่ยนไปสูพื้นที่อื่นที่มีความสะดวกสบายตอการขนสงทางบกมากกวา บทบาทของของน้ําในฐานะของเสนทางสัญจรหลักในการคาขายและขนสงสินคาจึงลดความสําคัญลง และทําใหรูปแบบการคาที่เคยพึ่งพาสายน้ําและเปนเอกลักษณของเมืองตองสูญหายไป โดยเรามักพบวาหลายพื้นที่ริมน้ําที่สําคัญและเคยเปน“หนาบาน” ในอดีตนั้นถูกละเลยใหทิ้งรางกลายเปนพื้นที่ ”หลังบาน” และเกิดอาคารโกดังริมน้ําที่เปนดัง “หองเก็บของ” ขึ้นมาทําลายความสัมพันธระหวางบกและน้ํา ซึ่งทายที่สุดแลวยานพาณิชยกรรมริมน้ําหลายแหงอาศัยการปรับเปลี่ยนรูปแบบของกิจกรรมและการใชพื้นที่จากน้ําสูบกเชนนี้ เพื่อใหสามารถเอาตัวรอดไดกับภาวะการเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน (existence) ในขณะที่บางยานไมสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไดจนตองสูญเสียกิจกรรมการคาขายไปในที่สุด (disappearance)ยานปากคลองตลาด กรุงเทพมหานคร คือหนึ่งในยานพาณิชยกรรมริมน้ําเกาที่มีพัฒนาการของยานทั้งกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ควบคูมากับการเปลี่ยนแปลงของระบบคมนาคมโดยรอบพื้นที่มาอยางตอเนื่องตั้งแตสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน โดยความสัมพันธระหวางน้ําและบกของยานปากคลองตลาดนั้นยังเปนไปอยางสมดุล ตราบจนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการขนสงและแหลงที่มาของสินคาจากการขนสงทางน้ํา491


มาพึ่งพาถนนอยางสมบูรณขึ้นเรื่อยๆภายหลังการเปดใชสะพานรถยนตขามแมน้ําเจาพระยาเปนครั้งแรกเมื่อปพ.ศ.2475เมื่อเปรียบเทียบกับอีกหลายยานที่ตองเผชิญกับสถานการณที่คลายคลึงกัน จะพบวาปากคลองตลาดคือหนึ่งในพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่เปลี่ยนแปลงจาก “น้ําสูบก” และยังคงพลังและความมีชีวิตชีวาไวไดในปจจุบัน ทั้งยังเปนหนึ่งในพื้นที่พาณิชยกรรมทองถิ่นขนาดใหญที่คงความสําคัญระดับภูมิภาคในการเปนแหลงกลางการคาผลิตผลทางการเกษตรประเภทผัก ผลไม และดอกไมสด ที่มีการใชงานอยางตอเนื่องและหนาแนนทั้งกลางวันและกลางคืน จนอาจกลาวไดวาเปนพื้นที่ที่มีพลวัตการใชงานสูงที่สุดแหงหนึ่งในเขตอนุรักษเกาะรัตนโกสินทร อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในระดับพื้นที่จะพบวาการปรับตัวจากน้ําสูบกของปากคลองตลาดยังมิใชรูปแบบการปรับตัวที่เปนไปอยางมีระบบและมีประสิทธิภาพ แตเปนเพียงการปรับตัวไปตามธรรมชาติของการใชพื้นที่ ซึ่งทําใหเกิดผลลัพธเปนพื้นที่ ”หนาบาน / หลังบาน” ที่มีความแตกตางกันในเชิงความหนาแนนของการใชประโยชนพื้นที่อยางสิ้นเชิง ทั้งยังตองประสบปญหาความแออัดจากการคาและการขนสงทางบกมากยิ่งขึ้นทุกวันจนเกิดเปนภัยคุกคามตอยานโดยแผนแมบทเพื่อการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร ที่มีนโยบายพัฒนาพื้นที่โดยมุงสรางความเปนสัญลักษณของรัฐและสงเสริมกิจกรรมทองเที่ยว ดวยการรื้อยายกิจกรรมการคาสงที่มีการขนสงดวยรถยนตขนาดใหญทั้งหมดออกจากที่ตั้งเดิม เพื่อพัฒนาพื้นที่วางสาธารณะสงเสริมทัศนียภาพริมแมน้ําเจาพระยา ซึ่งปจจุบันกําลังอยูในระหวางการควบคุมการพัฒนาใหเปนไปตามแผนโดยคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร (ซินครอนกรุป, 2538)ยานปากคลองตลาดจึงเปนพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําที่กําลังเผชิญกับภาวะการปรับเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากทั้งปจจัยภายในและแรงกระตุนภายนอกในขณะเดียวกัน การปรับตัวของยานปากคลองตลาดในอนาคตเพื่อการคงอยูของความเปนสถานที่และพลวัตของพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ําจึงเปนประเด็นที่นาสนใจ และสามารถนํามาเปนกรณีศึกษาเพื่อคนหาชุดขององคความรูในการฟนฟูบูรณะพื้นที่พาณิชยกรรมเการิมน้ํา ซึ่งปจจุบันนี้ความรูความเขาใจที่เกี่ยวของกับการปรับตัวของยานพาณิชยกรรมริมน้ําเกาในประเทศไทยนั้นยังเปนไปในลักษณะของการอธิบายปรากฎการณที่เกิดขึ้นและปจจัยที่เกี่ยวของ แตมิไดมีการสังเคราะหเพื่อนําไปสูการเสนอแนวคิดเพื่อการฟนฟูบูรณะพื้นที่พาณิชยกรรมเหลานี้เทาใดนัก งานวิจัยนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อคนหาคําตอบดังกลาว โดยมุงเนนไปที่การศึกษาตรรกะเชิงกายภาพและกิจกรรมที่สัมพันธกับปรากฎการณใชพื้นที่กรณีศึกษา โดยไดทําการประมวลและสังเคราะหผลจากการศึกษาขอมูลเชิงประจักษที่ไดจากการสํารวจภาคสนามในชวงปพ.ศ.2551 เปนชุดความคิดที่เปนคําตอบของผลการวิจัย ดังมีรายละเอียดตอไปนี้- สรุปแนวคิดเรื่องยานพาณิชยกรรมริมน้ํา ผานมุมมองการบูรณะฟนฟูมรดกทางวัฒนธรรมเมือง- สรุปแนวคิดเรื่องการใชพื้นที่วางแบบมีพลวัตและเงื่อนไขเชิงกายภาพและกิจกรรม- วิเคราะหความเปนสถานที่ และความสัมพันธระหวาง “พลวัตเชิงพื้นที่” กับ“เงื่อนไขเชิงกายภาพและกิจกรรม” โดยอางอิงจากกรณีศึกษายานปากคลองตลาด กรุงเทพมหานคร- สังเคราะหแนวความคิดในการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมริมน้ําผานมิติของการออกแบบชุมชนเมือง492


ภาพที่ 01 พื้นที่กรณีศึกษายานปากคลองตลาด กรุงเทพมหานคร (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)ภาพที่ 02 พื้นที่ริมน้ําและดานในของอาคารตลาดที่ขาดการใชงาน (ภาพแถวบน) และพื้นที่พาณิชยกรรมริมถนนที่มีความแออัดของกิจกรรมและการสัญจร (ภาพแถวลาง) (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)3. ยานพาณิชยกรรมริมน้ํา มรดกวัฒนธรรมที่มีชีวิตของชุมชนเมืองเอเชียในบริบทของชุมชนเมืองเอเชีย ยานพาณิชยกรรมริมน้ํามีความสําคัญมากกวาการเปนพื้นที่ศูนยกลางทางสังคมและเศรษฐกิจ แตเปรียบไดดังมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนเมืองที่มีชีวิต (living heritage) และมีคุณคาแหงความเปนสถานที่ (place) ซึ่งเกิดขึ้นจากเงื่อนไขสําคัญ 2 ประเภทคือ เงื่อนไขเชิงกายภาพ และเงื่อนไขเชิงกิจกรรมและความหมาย โดยกลุมแนวคิดที่ใหความสําคัญตอเงื่อนไขเชิงกายภาพจะเนนที่ความเปน493


สถานที่ซึ่งเกิดจากจินตภาพขององคประกอบทางกายภาพที่ชัดเจน โดยเฉพาะอาคารหรือสิ่งกอสรางที่มีมาแตอดีตและเปนที่จดจําไดจนเปนสัญลักษณและชื่อเสียงของพื้นที่ (Lynch, 1960: 47-90) ในขณะที่กลุมแนวคิดที่ใหความสําคัญตอเงื่อนไขเชิงกิจกรรมและความหมายนั้น รอซซี่ (Rossi, 1999) ไดเสนอไววาการพิจารณาองคประกอบของความเปนสถานที่ของพื้นที่ใดๆก็ตามจะตองมองภาพรวมอันประกอบขึ้นจาก 2 สวนคือองคประกอบทางกายภาพ (permanencies) อันเปรียบไดกับรางกายของพื้นที่ที่ปกคลุมอยูภายนอก และคุณคาทางจิตใจ (spiritual values) หรือจิตวิญญาณของพื้นที่ ที่เปนองคประกอบภายในและเปนคุณคาที่มองไมเห็นดวยตา เกิดจากวิถีชีวิตของผูคนที่มีการสะสมซอนทับกันของเรื่องราวและความหมายจากการตั้งถิ่นฐานอยูอาศัยกันมาอยางตอเนื่อง จนเปนความทรงจํารวมกันของทุกคน เปนเอกลักษณของพื้นที่และเปนที่รับรูของผูคนทั่วไป ซึ่งก็สอดคลองกับกฎบัตรเบอรรา (The Burra Charter, 2004) ที่ไดเสนอไววาความเปนสถานที่นั้นเกิดขึ้นจากองคประกอบสําคัญ 4 ประการคือ โครงสรางและสิ่งแวดลอมทางกายภาพ (fabric and setting) ประโยชนใชสอย (uses) ความหมาย (meaning) และความสัมพันธระหวางผูคนกับสถานที่ (associations)แนวคิดเรื่องความเปนสถานที่ในลักษณะขางตนจึงมีบทบาทสําคัญตอความเปนสถานที่ของชุมชนเมืองในทวีปเอเชีย ที่มีพื้นฐานของมรดกทางวัฒนธรรมที่แตกตางจากประเทศในทวีปยุโรปและอเมริกาอยางชัดเจน โดยเฉพาะลักษณะทางกายภาพของสิ่งกอสรางในอดีตที่โครงสรางสวนใหญทํามาจากไมซึ่งเปนวัสดุธรรมชาติที่เสื่อมสลายงาย และตองการการซอมแซมหรือสรางใหมเปนระยะ จนทําใหชุมชนเมืองในภูมิภาคนี้ไมหลงเหลือรองรอยของมรดกทางวัฒนธรรมที่เปนองคประกอบทางกายภาพในอดีต ที่สามารถกําหนดความเปนสถานที่ของพื้นที่นั้นไดชัดเจนนัก (Logan, 2002: xix-xx) ในขณะที่สิ่งที่ไดรับการยอมรับโดยทั่วไปวาเปนเสนหและเอกลักษณของประเทศตะวันออกในสายตาของชาวตะวันตก คือมรดกทางวัฒนธรรมที่เปนรูปธรรมแตจับตองไมได (intangible value) ที่สะทอนผานทางกิจกรรม วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรม แมกระทั่งสถาปนิกระดับนานาชาติ เรม คูลฮาส (Rem Koolhaas) ยังไดกลาวสนับสนุนแนวคิดนี้ไววา “องคประกอบของเมืองในทวีปเอเชียนั้นชางอัศจรรยและเปนเสนหที่ทําใหเขาหลงไหล แมวายากที่จะเขาใจไดดวยบริบทของเมืองแบบประเทศตะวันตก โดยสาเหตุที่ทําใหเมืองในทวีปเอเชียยังคงรักษาความนาสนใจและพลวัตไวไดนั้น อาจเนื่องมาจากความไรระเบียบแบบแผน ความแตกตางทางฐานะที่หลากหลาย และความซับซอนของการใชประโยชนพื้นที่ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติอยางเหมาะสม” (Lim, 1998) เชนเดียวกับทัศนะของนักวิชาการไทยศรีศักร วัลลิโภดม ที่ไดกลาวไววา “ความเปนสถานที่ของชุมชนเมืองไทยนั้นมีองคประกอบสําคัญคือ ความเปนถิ่น ยาน ละแวก ตรอก ซอก ซอย ที่ผูคนรูจักกันทั่วถึง เนื่องจากมีกิจกรรมการอยูอาศัยสืบตอกันมาเปนรุนตอรุนไมต่ํากวา 20-30 ป ไมใชเพียงแคชุมชนทางกายภาพ” (ยุวดี มณีกุล อางโดยวิมลรัตน, 2543)การใหคุณคาของความเปนสถานที่ตอยานพาณิชยกรรมริมน้ํา ทั้งในเชิงกายภาพในฐานะของพื้นที่ประวัติศาสตรที่ถายทอดเรื่องราวของการตั้งถิ่นฐานริมน้ํา และพัฒนาการจากน้ําสูบกของชุมชนเมืองไทยตั้งแตอดีตสูปจจุบัน และในเชิงกิจกรรมและความหมายในฐานะของพื้นที่ศูนยกลางทางสังคมและเศรษฐกิจรวมสมัยที่เราสามารถพบเห็นผูคนที่หลากหลายวัย เพศ อาชีพ ชนชั้น และฐานะสลับกันเขามาใชพื้นที่เพื่อการซื้อขายสินคาและกิจกรรมนานาประเภทกันอยางคึกคักและหนาแนน ที่สมควรจะไดรับการรักษาหรือปกปองใหดําเนินตอไปไดอยางมีพลวัตจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง (Orbasli, 2000: 8-20) อยางไรก็ตาม การฟนฟูบูรณะยาน494


ประวัติศาสตรที่มีชีวิตเชนยานพาณิชยกรรมเการิมน้ํานี้ นั้นตองการการพิจารณาสภาพแวดลอมแบบบูรณาการกลาวคือ ตองมีการพิจารณาองคประกอบทางกายภาพควบคูไปกับระบบกิจกรรมที่หลากหลาย คลอบคลุมถึงวิถีชีวิตของเมือง และทําใหองคประกอบทางประวัติศาสตรกลายเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวัน ทั้งยังตองคัดเลือกวิธีการอยางเหมาะสม ทั้งนี้ สิ่งที่สําคัญที่สุดคือการระมัดระวังไมใหนโยบายการฟนฟูบูรณะเขาไปหยุดพลวัตของพื้นที่ ดวยการใหความสําคัญตอการสงวนรักษาเชิงกายภาพมากกวาการเจริญเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจโดยเฉพาะโครงการที่มีลักษณะดําเนินการจากเบื้องบนสูเบื้องลาง (top-down approach) (Feilden, 1996,Maeno อางโดยทิพยสุดา, 2543, วิมลรัตน, 2543) โดยโลแกน (Logan, 2002) และโคเฮน (Cohen, 1999: 39)ไดใหขอเสนอแนะไวในลักษณะเดียวกันไววา การใหความสําคัญตอบริบทเชิงวัฒนธรรมของที่ตั้ง กิจกรรม และผูคนที่อยูอาศัยดั้งเดิมจะเปนแรงผลักดันภายในใหเกิดการรักษาการใชประโยชนพื้นที่อยางตอเนื่อง หลากหลายและคงไวซึ่งเอกลักษณของมรดกทางวัฒนธรรมทองถิ่น ในขณะเดียวกับที่เปนแรงดึงดูดปจจัยภายนอกที่ทําใหเกิดการพัฒนาพื้นที่เพื่อตอบรับความตองการรวมสมัย รวมทั้งการพัฒนาเชิงการทองเที่ยว การอนุรักษและพัฒนาที่ตั้งอยูบนจุดที่สมดุลเทานั้นที่จะทําใหชีวิตเมืองเปยมไปดวยวัฒนธรรมและชีวิตชีวา และเปนแรงขับเคลื่อนใหเกิดการอนุรักษหรือพัฒนาพื้นที่อื่นในลําดับตอไปไดอยางตอเนื่องและยั่งยืน3. ตลาด: พื้นที่วางสาธารณะที่มีพลวัต กับเงื่อนไขเชิงกายภาพและกิจกรรมของชุมชนเมืองพื้นที่วางที่ถูกใชงานอยางมีพลวัตจะมีสภาวะการเคลื่อนไหวของพื้นที่หรือ “พลวัตเชิงพื้นที่” ทั้งในเชิงกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ที่เกิดขึ้นจากเงื่อนไขสําคัญคือความหลากหลายของกิจกรรม ผูคน และเวลา ซึ่งโดยมากแลวเราจะพบวาพื้นที่ที่เกิดพลวัตการใชงานสูงคือพื้นที่อเนกประโยชน (multi – used) หรือพื้นที่ที่มีการใชประโยชนหลากหลายเชิงพฤติกรรมนิยม (ไขศรี, 2548) ซึ่งเปนหนึ่งในรูปแบบการใชพื้นที่ตามวัฒนธรรมของชาวเอเชียที่ทําใหชุมชนเมืองเกิดปรากฎการณใชพื้นที่อยางซับซอน ผสมผสานระหวางกิจกรรมที่หยุดนิ่ง (static)และกิจกรรมที่เคลื่อนไหว (dynamic) ทําใหเกิดชีวิตชีวาและการปะทะสังสรรคของผูคนที่หลากหลายทั้งวัย เพศสถานะ ลักษณะ ชนชั้น อาชีพ และระดับรายได ซึ่งระดับความหลากหลายของผูคนเหลานี้ก็จะกลับไปสัมพันธตอความหลากหลายของกิจกรรมภายในพื้นที่ คือยิ่งมีคนใชพื้นที่ที่มากเทาใด ความหลากหลายของเพศและวัยของผูใชพื้นที่ก็จะยิ่งมากขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเกิดวัตถุประสงคของการใชพื้นที่และกิจกรรมที่หลากหลายในชวงเวลาตางๆ เกิดเปนการพบปะสังสรรค สรางสีสันและบรรยากาศของชุมชนเมืองที่คึกคัก มีชีวิตชีวา และสะทอนใหเห็นเอกลักษณวิถีชุมชนที่มีคนเขามาปฏิสัมพันธกันเปนจํานวนมาก (Lennard & Lennard, 1995)พลวัตเชิงพื้นที่จึงมีความสําคัญตอวัฒนธรรมเมืองและเปนผลดีตอการพัฒนาชุมชนเมือง พื้นที่ที่มีพลวัตการใชงานสูงจะดึงดูดผูคนและกิจกรรมการคาการบริการอื่นของเมืองใหเขามาในพื้นที่มากขึ้น เอื้อใหเกิดแนวโนมการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน และฟนฟูพื้นที่รอบขางใหมีการใชงานอยางคุมคายิ่งขึ้น เปนโอกาสในการสนับสนุนเศรษฐกิจทองถิ่นและสรางรายไดตอธุรกิจทั้งขนาดเล็กและใหญ ในทางกลับกัน ชุมชนเมืองใดที่มีการใชงานพื้นที่อยางไรประสิทธิภาพ เงียบเหงา จนอาจกลาวไดวามีพลวัตเชิงพื้นที่ต่ํานั้น หากทิ้งไวรกรางตอไปก็จะกอใหเกิดปญหาทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ไมวาจะเปนตนทุนในการบํารุงรักษาที่สูงขึ้น ปญหาความปลอดภัยสุขอนามัย หรือสภาพแวดลอมที่เสื่อมโทรม (กาญน, 2550)495


ภาพที่ 03 การใชพื้นที่แบบอเนกประโยชนที่ทําใหเกิดการพบปะของผูคนที่หลากหลายในชวงเวลาตางๆสรางสีสันและความมีชีวิตชีวาใหกับทองถนน (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)ตลาดซึ่งเปนพื้นที่สาธารณะลําดับตนของชุมชนเมือง ก็เปนหนึ่งในพื้นที่สาธารณะที่มีการใชงานอยางคึกคักและมีชีวิตชีวาที่สุด อยางไรก็ตาม พื้นที่วางสาธารณะใดๆที่จะเกิดการใชงานแบบมีพลวัต มีการใชประโยชนพื้นที่แบบอเนกประโยชนดวยกิจกรรม ผูคน และเวลาที่หลากหลาย จะตองประกอบไปดวยเงื่อนไขสําคัญที่เปนคุณลักษณะเชิงพื้นที่ 4 ประการ ไดแก ความยืดหยุน ความหนาแนน ความเชื่อมตอ และคุณภาพของพื้นที่ ซึ่งก็สอดคลองกับคุณสมบัติพื้นฐานของตลาดสาธารณะที่ดีที่โอนิล (O'Neil, 2551) ไดกลาวไววาจะตองมีตําแหนงที่ตั้งที่เหมาะสมระหวางแหลงผลิตและผูซื้อ ที่ประกอบไปดวยศักยภาพในการมองเห็นและเขาถึงที่ดีทั้งทางบกและน้ํา เกิดเปนจุดรวมของกิจกรรมและการเดินทางที่ตั้งอยูทามกลางการใชประโยชนที่ดินที่หลากหลาย ทั้งยังสอดคลองกับระบบขนสงมวลชนของพื้นที่ที่มีคนหลากหลายประเภทสามารถเขามาใชรวมกันได (O'Neil, 2551) ดังมีรายละเอียดตอไปนี้- ความยืดหยุน (flexibility)ความยืดหยุนเปนเงื่อนไขที่สําคัญที่สุดตอความหลากหลายของประโยชนใชสอยที่ไมเปนทางการโดยเฉพาะที่วางสาธารณะที่ตั้งอยูในยานพาณิชยกรรมซึ่งมักจะมีขนาดเล็กและจํานวนนอย จะตองสามารถปรับตัวเพื่อใหเกิดศักยภาพของการใชพื้นที่ที่สูงที่สุด รูปแบบที่เรามักพบโดยทั่วไปคือการใชบริการสาธารณูปการแบบผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนตลอด 24 ชั่วโมง (cyclic use) โดยอาศัยองคประกอบทางกายภาพแบบชั่วคราว(temporary setting) เชน การปรับเปลี่ยนลานโลงหรือทางเดินเทาเพื่อใชประโยชนชั่วคราวทางการคาและการบริการในชุมชนเมืองทวีปเอเชีย หรือรานกาแฟริมถนนของเมืองในทวีปยุโรป (Deguchi, 2005, วันเสด็จ, 2548)- ความหนาแนน (density)ความหนาแนนของกิจกรรมและกลุมคนที่เขามาใชพื้นที่ มีผลสําคัญตอความมีชีวิตชีวาและพลวัตเชิงพื้นที่ของชุมชนเมือง ทั้งนี้ ขนาดและความหนาแนนที่สูงจะเปนปจจัยขั้นตนระดับเมืองที่มีผลตอความสําเร็จของพื้นที่วางสาธารณะในยานพาณิชยกรรมหลัก เพราะความหนาแนนที่สูงจะทําใหเกิดอุปทานคือผูคนจํานวนมากที่มีศักยภาพตอการใชประโยชนพื้นที่ ในขณะที่ปจจัยสําคัญในระดับยานและพื้นที่ที่มีผลตอความมีชีวิตชีวาบน496


พื้นที่วางสาธารณะนั้นคือปริมาณความหนาแนนของการสัญจรทางเทาในบริเวณโดยรอบ อยางไรก็ตาม ความหลากหลายของการใชประโยชนพื้นที่และผูคนก็เปนปจจัยที่สําคัญเชนเดียวกับความหนาแนน เพราะจะเปนปจจัยที่ทําใหมีผูคนหมุนเวียนกันเขามาใชพื้นที่ไดอยางตอเนื่องและหลากหลาย (Gibberd, 1967: 95)- ความเชื่อมตอ (connectivity)ทฤษฎีการสัญจรอิสระของฮิลลีเออร (Hillier et al., 1993 อางโดยไขศรี, 2548) ไดอธิบายถึงความสําคัญของการเชื่อมตอของโครงขายทางเดินเทาที่มีผลตอพลวัตเชิงพื้นที่ไววา พื้นที่รวมกลุมของกิจกรรมการคาและพาณิชยกรรมนั้นจะเกิดขึ้นไดเมื่อมีการหลอเลี้ยงดวยการสัญจรอิสระที่มากกวาปกติ ซึ่งระดับการสัญจรอิสระของถนนแตละสายภายในเมืองนั้นจะไมเทากัน ขึ้นอยูกับลักษณะการเลื่อนไหลเชื่อมตอของโครงขายทางสาธารณะหรือระบบทางเดินเทาในพื้นที่ หากโครงขายถนนและพื้นที่สาธารณะมีการประสานเชื่อมตอกันอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ คนเดินเทาจะสามารถสัญจรจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในระบบไดอยางเสรี ถนนและพื้นที่สาธารณะก็จะมีทั้งกิจกรรมการสัญจรเพื่อผานไป (moving through) และเขาถึง(moving to) เกิดการไหลเวียนปะปนกันของผูคนเดินถนนที่มีวัตถุประสงคหลากหลาย มีจุดมุงหมายที่แตกตางเอื้อใหเกิดการใชประโยชนพื้นที่อยางหลากหลาย คึกคัก และมีชีวิตชีวาได ในขณะที่โอนิล (O'Neil, 2551) ไดใหความเห็นไววาศักยภาพในการมองเห็นและเขาถึงพื้นที่ที่เลื่อนไหลและเขาใจงาย ทั้งยังสอดคลองกับระบบขนสงมวลชนโดยรอบนั้นคือเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหพื้นที่สาธารณะประเภทตลาดนั้นประสบความสําเร็จในการใชงาน- คุณภาพของพื้นที่ (quality of space)คุณภาพของพื้นที่วางที่ดีเปนอีกหนึ่งเงื่อนไขสําคัญตอความสําเร็จของการใชงานพื้นที่ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิตและสถานการณทางสังคมของแตละพื้นที่ สําหรับประเทศไทยซึ่งมีภูมิอากาศรอนชื้นสภาพแวดลอมและภูมิอากาศที่เหมาะสมและสะดวกสบายจะเปนปจจัยที่สําคัญที่สุด ที่จะทําใหผูคนเขามาใชงานและใชระยะเวลาอยูในพื้นที่ไดหลากหลายและยาวนานยิ่งขึ้น ในขณะที่พื้นที่ใดที่มีองคประกอบทางกายภาพและภูมิทัศนที่ดีแลวก็จะชวยสงเสริมใหพื้นที่สาธารณะนั้นดูนาสนใจและเอื้อใหเกิดการใชงานพื้นที่ที่ยาวนานขึ้นไดเชนเดียวกัน ทั้งนี้ ขวัญสรวง อติโพธิไดเคยอธิบายคุณภาพของพื้นที่วางสาธารณะดีอยางไทยไววา“นอกจากจะตองเปนพื้นที่ขนาดเล็กที่มีชั้นมีเชิง หรือเปนชุดของพื้นที่ที่เชื่อมไหลตอเนื่องกันแลว จะตองเอื้อใหเกิดการนั่งพื้นลอมวงคุยกันไดภายใตรมเงาที่ดี โดยมีน้ําเปนองคประกอบสําคัญของพื้นที่ ทั้งยังตองมีกิจกรรมการกินหรือมีอาหารและเครื่องดื่มขายที่บริเวณขางเคียงอีกดวย” (ขวัญสรวง อติโพธิ อางโดยไขศรี, 2551) ซึ่งก็สอดคลองกับคุณภาพของพื้นที่ในยานตลาดของโอนิล (O'Neil, 2551) ที่ไดใหขอเสนอแนะไววาขนาดของพื้นที่ที่เหมาะสม และรมเงาหรือที่นั่งที่มีไวเพื่อสรางโอกาสสําหรับการพบปะพูดคุยกันของผูที่เขามาใชพื้นที่จะเปนเงื่อนไขสําคัญที่ชวยเพิ่มบทบาททางสังคมใหกับพื้นที่ไดมากขึ้น4. ความเปนสถานที่ของยานปากคลองตลาดปากคลองตลาดเปนพื้นที่พาณิชยกรรมริมน้ํา ที่มีพัฒนาการทางกายภาพและกิจกรรมควบคูมากับการพัฒนาเสนทางคมนาคมขนสงมาตั้งแตครั้งตนกรุงรัตนโกสินทร โดยในอดีตเมื่อยังมีการเดินทางทางน้ํา497


ปากคลองตลาดคือชุมชนตลาดน้ําที่เปนพื้นที่ศูนยกลางทางสังคมและเศรษฐกิจของชุมชน แมเมื่อมีการพัฒนาเสนทางคมนาคมทางบก ปากคลองตลาดก็ยังคงดํารงบทบาทความเปนศูนยกลางการคาสงผลิตผลทางการเกษตรที่มีพลวัตของการใชประโยชนพื้นที่สูงที่สุดแหงหนึ่งในเขตเกาะรัตนโกสินทร พลวัตเชิงพื้นที่ซึ่งเกิดขึ้นจากความสัมพันธระหวางการใชพื้นที่ กิจกรรม และเวลา จึงเปนองคประกอบสําคัญของความเปนสถานที่ของยานปากคลองตลาด ซึ่งสามารถพิจารณาในเชิงรายละเอียดผานองคประกอบเชิงกายภาพ กิจกรรม และความหมายไดดังตอไปนี้4.1 กายภาพ: ตึกแถว ที่วาง แผงลอย รมผาใบองคประกอบเชิงกายภาพของยานปากคลองตลาดเปรียบไดดังภาชนะใสกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เกิดจากการผสมผสานกันระหวางอาคารตลาดกับตึกแถวที่มีความสูงตั้งแต 2-5 ชั้น ซึ่งถูกสรางขึ้นมาในหลายยุคสมัยระหวางรัชกาลที่ 5 - ปจจุบัน รูปแบบของอาคารตึกแถวในยานจึงมีความหลากหลายทั้งรูปแบบทางสถาปตยกรรม โครงสราง และสภาพอาคาร โดยกลุมอาคารที่ไดรับการประเมิณวามีคุณคาทางสถาปตยกรรมที่ควรจะไดรับการอนุรักษไวคือ กลุมอาคารตึกแถวที่ตั้งอยูสองขางทางของถนนบานหมอและถนนจักรเพชร ซึ่งสวนใหญนั้นถูกสรางขึ้นมาในระหวางสมัยรัชกาลที่ 5-7 ดวยรูปแบบของสถาปตยกรรมที่ผสมผสานศิลปะตะวันตก มีทั้งอาคารที่มีการตกแตงอยางเรียบงายและประดับประดาดวยปูนปน อยางไรก็ตาม เปนที่นาเสียดายวากลุมอาคารเหลานี้โดยสวนมากแลวปจจุบันอยูในสภาพทรุดโทรมและถูกตอเติมเสียทั้งหมด มีเพียงแตอาคารตึกแถวบริเวณสี่แยกบานหมอเทานั้นที่ยังคงสภาพเดิมไดเปนอยางดีนอกจากตึกแถวจะเปนองคประกอบเชิงกายภาพที่สําคัญของยานแลว รูปแบบการจัดวางอาคารตึกแถวยังเปนองคประกอบสําคัญที่สรางลักษณะพิเศษของพื้นที่วางสาธารณะภายในยาน ซึ่งแผนที่บริเวณยานปากคลองตลาดที่ไดรับการบันทึกไวในระหวางปพ.ศ.2450-2550 คือ เอกสารที่แสดงใหเห็นพัฒนาการเชิงกายภาพของยานทั้งอาคารและพื้นที่โลงวาง ทั้งนี้ จะสังเกตุไดวารูปแบบของพื้นที่เปดโลงริมแมน้ําเจาพระยาในอดีตนั้นมีลักษณะที่สัมพันธกับน้ําอยางชัดเจน คือมีอาคารตึกแถวลอมรอบ 3 ทิศและเปดโลงสูแมน้ําเจาพระยาทางทิศตะวันตก ซึ่งรูปแบบของพื้นที่วางดังกลาวนี้ก็ยังคงหลงเหลือเคาโครงใหเห็นอยูในปจจุบัน หากแตถูกแทนที่ดวยอาคารตลาดซึ่งถูกสรางขึ้นมาภายหลังจากที่กิจกรรมการคาขายมีความรุงเรืองขึ้นเปนอยางมากอยางไรก็ตาม นอกเหนือจากพื้นที่วางที่มีลักษณะเปนลานโลงแลว ปากคลองตลาดยังมีพื้นที่วางสาธารณะที่อยูในรูปแบบของเสนทางสัญจร ซึ่งเกิดจากการปดลอมโดยอาคารตึกแถวสองขางทาง พื้นที่วางสาธารณะในลักษณะนี้นับวามีบทบาทตอความคึกคักของยานปากคลองตลาดในปจจุบันเปนอยางมาก เนื่องจากเปนพื้นที่ที่ถูกใชงานแบบอเนกประโยชน และมีกิจกรรมเศรษฐสัญจรเกิดขึ้นตลอดทั้งวันหาบเรแผงลอยคืออีกหนึ่งองคประกอบสําคัญที่เราสามารถพบเห็นไดทั่วไปบนทางเดินเทาริมถนนจักรเพชร โดยกลุมแผงลอยเหลานี้จะมีขนาดและความซับซอนในการติดตั้งแตกตางกันไปตามประเภทของสินคาที่วางขายซึ่งสวนใหญคือดอกไมสด ซึ่งก็เปนที่นาสนใจวาวิธีการจัดวางสินคาของดอกไมแตละประเภทนั้นจะมีความแตกตางกันในเชิงรายละเอียด แตไมวาจะเปนลักษณะใดก็ตามลวนตองการอุปกรณกันแดด ซึ่งมีตั้งแตรมกันแดดขาเดียวและกันสาดแบบชั่วคราวที่มีความยืดหยุนในการใชงานสูงและสามารถพับเก็บไดเมื่อไมตองการ498


หรือกันสาดแบบถาวรที่เปนองคประกอบหนึ่งของอาคาร โดยบอย<strong>ครั้งที่</strong>อุปกรณกันแดดหลากหลายประเภทจะถูกใชงานรวมกันเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด4.2 กิจกรรม: ผัก ผลไม ดอกไม และการคาขาย “ตลอด 24 ชั่วโมง”กิจกรรมการคาสงผลิตผลทางการเกษตรประเภทผัก ผลไม และดอกไมสดคือเอกลักษณของยานปากคลองตลาดมาเปนเวลานานกวา 50 ป นับตั้งแตมีการเปดใชตลาดองคการตลาดเปนพื้นที่ตลาดสดแหงแรกของยาน ซึ่งเอกลักษณดังกลาวก็ยังคงอยูอยางตอเนื่อง ดังจะสังเกตุไดจากการใชประโยชนอาคารชั้นลางจะพบวามีการใชประโยชนอาคารเพื่อการคาขายสินคาคิดเปนรอยละ 76 ของอาคารตึกแถวทั้งหมด โดยสินคาที่พบไดในยานมากกวารอยละ 50 เปนผลิตผลทางการเกษตรประเภทผัก ผลไม และดอกไม ที่มีทั้งการคาสงและปลีกโดยสินคาทั้งหมดนี้จะถูกจัดแบงพื้นที่การขายไวคอนขางเปนระบบ กลาวโดยสรุปอยางงายก็คือกลุมสินคาเพื่อการคาสงผักและผลไมจะใชพื้นที่อาคารตลาด รวมทั้งอาคารตึกแถวที่อยูริมถนนซอยและทางเดินเทาโดยรอบเปนพื้นที่เพื่อการพักกองและขนถายสินคา กลุมสินคาประเภทดอกไมสวนใหญแลวจะมีทั้งการคาสงและปลีกคละเคลากันไป ในชวงเวลากลางวันจะใชพื้นที่ทางเดินเทาบริเวณจุดตัดกันระหวางถนนจักรเพชรและถนนบานหมอเปนจุดขายสินคา และจะขยายพื้นที่ไปยังทางเดินเทาบริเวณตอเนื่องกันในชวงเวลากลางคืน คลอบคลุมทางเดินเทาริมถนนจักรเพชรหนาตลาดสงเสริมเกษตรไทยและถนนตรีเพชรตลอดแนว สําหรับสินคาและการบริการทั่วไปนั้นพบวามีการเกาะกลุมใชพื้นที่อาคารตึกแถวริมถนนสายหลัก รอง และพื้นที่วางสาธารณะโดยรอบในการใหบริการลักษณะเดนของกิจกรรมการคาขายในยานปากคลองตลาดจึงอยูที่การใชพื้นที่ทั้ง “ภายนอก / ภายใน”อาคารไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ ทําใหผูคนที่สัญจรผานไปมารับรูไดถึงกิจกรรมของพื้นที่และทําใหภูมิทัศนของกิจกรรมในยานเกิดความนาสนใจมากขึ้น ทั้งนี้ กิจกรรมการคาขายที่เกิดขึ้นภายนอกและภายในอาคารตลอดทั้ง 24 ชั่วโมงยังเปนองคประกอบสําคัญของพลวัตและความเปนสถานที่ของยานปากคลองตลาด ระบบของการใชพื้นที่ในภาพรวมคือการคาปลีกในชวงเวลากลางวัน และการคาสงในชวงเวลากลางคืน โดยในชวงเวลากลางวัน กิจกรรมการคาปลีกจะกระจุกตัวอยูเปนจํานวนมากที่บริเวณทางเดินเทาริมถนนจักรเพชร ในขณะที่พื้นที่ดานในตลาดและบริเวณริมแมน้ําเจาพระยาจะเงียบเหงา มีกิจกรรมใหเห็นบางตาเมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลากลางคืน ซึ่งเปนชวงเวลาที่มีกิจกรรมการสงผัก ผลไม และดอกไมเกิดขึ้นภายในอาคารตลาดและทางเดินเทาโดยรอบอยางหนาแนน ทั้งยังมีการใชพื้นที่ทางเดินเทาใตสะพานพระพุทธยอดฟาและสะพานพระปกเกลา เพื่อเปนตลาดนัดขายปลีกเสื้อผาและเครื่องประดับของกลุมวัยรุน ปากคลองตลาดในชวงเวลากลางคืนจึงคึกคักมีชีวิตชีวาเปนพิเศษ และเปนพื้นที่ศูนยกลางทางเศรษฐกิจและสังคมของกลุมคนที่หลากหลายวัย เพศ และอาชีพ4.3 ความหมาย: ตลาด “ริมน้ํา”ยานปากคลองตลาดคือยานการคา “ริมน้ํา” ที่มีกิจกรรมผูกพันกับการคาขายมาอยางตอเนื่องยาวนานกิจกรรมการคาจึงเปนองคประกอบสําคัญที่ทําใหผูคนที่หลากหลายทั้งวัย เพศ หรือฐานะเขามาใชพื้นที่ริมน้ําเพื่อการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินคา พบปะสังสรรค และเปลี่ยนถายการเดินทาง ซึ่งในอดีตนั้นภาพของกิจกรรมเหลานี้499


จะมีสัมพันธกับน้ําที่ชัดเจนกวาปจจุบันมาก ดังจะสังเกตุไดจากชื่อเรียกขานตางๆที่สัมพันธกับน้ํา ไมวาจะเปนชื่อยาน “ปากคลองตลาด” ที่แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของตลาดน้ําที่เคยตั้งอยู ณ ปากคลองคูเมืองเดิมเมื่อสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร “ซอยทากลาง” และ “ซอยทาโรงยา” ที่เปนชื่อเรียกขานถนนซอยในยานที่แสดงใหเห็นถึงพัฒนาเชิงกายภาพที่เริ่มมีการสัญจรทางบกเขามาเกี่ยวของกับกิจกรรมและการสัญจรทางน้ํามากขึ้น หรือแมแตองคประกอบเชิงกายภาพที่ในอดีตเคยใหความสําคัญตอรูปแบบการจัดวางอาคารและพื้นที่เปดโลงที่ “หันหนาเขาสูแมน้ํา” ซึ่งเปนที่นาเสียดายวาการพัฒนากายภาพของพื้นที่ทางบกที่ใหความสําคัญกับถนนมากกวาน้ํานั้นกําลังทําใหจินตภาพเดิมของพื้นที่ลางเลือนไป ดังจะสังเกตุไดจากรูปแบบของลานโลงหนาอนุเสาวรียรัชกาลที่ 1ที่ถูกสรางขึ้นมาพรอมกับสะพานพระพุทธยอดฟาที่หันหนาสูบก หันหลังใหน้ํา หรือการที่พื้นที่พาณิชยกรรมริมถนนเขามามีบทบาทสําคัญตอกิจกรรมภายในยานมากขึ้น จนทําใหพื้นที่ริมน้ําถูกทิ้งรางเกิดอาคารเก็บสินคาขึ้นมาขวางความสัมพันธระหวางคนกับน้ํา ซึ่งถาหากปลอยใหการพัฒนาดําเนินตอไปเรื่อยๆเชนนี้ ความสําคัญและความหมายของยานพาณิชยกรรมริมน้ําก็จะสูญหายไปในที่สุด5. พลวัตเชิงพื้นที่ของยานปากคลองตลาดยานปากคลองตลาดคือพื้นที่พาณิชยกรรมเการิมน้ําที่ภายหลังการปรับตัวจาก “น้ําสูบก” แลวยังคงมีการใชงานอยางคึกคักมีชีวิตชีวาตลอดทั้งวัน จนไดรับการยอมรับกันโดยทั่วไปวาเปนพื้นที่พาณิชยกรรมทองถิ่นที่มีพลวัตสูงที่สุดแหงหนึ่งในพื้นที่อนุรักษเกาะรัตนโกสินทร อยางไรก็ตาม ผลจากการสํารวจภาคสนามในระหวางปพ.ศ.2551 ไดแสดงใหเห็นวาพลวัตของยานปากคลองตลาดซึ่งถูกสะทอนออกมาดวยความหลากหลายของกิจกรรม ผูคน และเวลานั้นไมไดเกิดขึ้นอยางสม่ําเสมอทุกพื้นที่ แตกระจุกตัวอยูที่บริเวณริมถนนตางๆของยานในขณะที่พื้นที่ริมน้ําหรือพื้นที่ดานในของอาคารตลาดซึ่งเคยเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพการใชงานสูงในอดีตนั้นกลับขาดการใชประโยชนพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพในปจจุบัน ทั้งนี้ สามารถอธิบายเงื่อนไขที่ทําใหพื้นที่ทั้ง 2 บริเวณของยานปากคลองตลาดมีระดับการใชงานที่แตกตางกันนั้นไดดวย 4 คุณลักษณะเชิงกายภาพและกิจกรรมของพื้นที่ ซึ่งประกอบดวย ความยืดหยุน ความหนาแนน ความเชื่อมตอ และคุณภาพของพื้นที่ ดังตอไปนี้5.1 ความยืดหยุนการทบทวนวรรณกรรมที่ผานมาไดแสดงใหเห็นวา ความยืดหยุนของพื้นที่จะทําใหเกิดการใชพื้นที่อเนกประโยชน ซึ่งจะมีผลดีทั้งในเชิงความหนาแนนและความหลากหลายของกิจกรรม เนื่องจากเปนการเอื้อใหเกิดการใชประโยชนพื้นที่แบบชั่วคราว และเพิ่มความหนาแนนของกิจกรรมทั้งในมิติของพื้นที่และเวลา ทั้งนี้ ผลจากการสํารวจไดแสดงใหเห็นวาการใชพื้นที่แบบอเนกประโยชนในยานปากคลองตลาดนั้นปรากฎอยูใน 2 ลักษณะคือ การใชพื้นที่ทางเดินเทาริมถนนจักรเพชรเพื่อการคาขายแบบหาบเรแผงลอย และการใชพื้นที่ทางเดินเทาใตสะพานพุทธเปนพื้นที่ตลาดนัดขายเสื้อผา โดยรูปแบบของการใชพื้นที่ริมถนนจักรเพชรนั้นคือการตั้งแผงลอยขายสินคาตลอดทางเดินเทา ซึ่งเปนที่นาสนใจวากลุมแผงลอยบริเวณนี้จะมีวงรอบของการใชพื้นที่ถึง 3 ผลัดตอวันผลัดละ 8 ชั่วโมง โดยผูคาในแตละผลัดจะหมุนเวียนกันเขามาใชพื้นที่แผงลอยเดียวกันตลอดทั้งวัน ในขณะที่รูปแบบการใชพื้นที่ของผูคาตลาดนัดนั้นจะแตกตางกัน เนื่องจากใชแผงลอยที่มีลักษณะเปนซุมสินคาที่ซับซอน500


กวา และมีโอกาสคาขายไดเฉพาะชวงกลางคืน ผูคาขายในกลุมนี้จึงตองการพื้นที่โกดังสินคาเพื่อเก็บอุปกรณการคาขายในชวงเวลากลางวัน5.2 ความหนาแนนความหนาแนนของยานปากคลองตลาดนั้นสามารถอธิบายไดทั้งในเชิงกายภาพและกิจกรรม กลาวคือความหนาแนนในเชิงกายภาพของยานปากคลองตลาดนั้นเกิดขึ้นจากโครงขายถนนที่มีขนาดเล็กและมวลอาคารที่มีขนาดไมใหญนัก แตถูกสรางกันอยางตอเนื่องและหนาแนน ซึ่งสัณฐานเชิงกายภาพในลักษณะนี้เปนลักษณะรวมที่สามารถพบเห็นไดทั่วไปในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร อยางไรก็ตาม ปจจัยที่มีผลตอความมีชีวิตชีวาของยานปากคลองตลาดมากกวานั้นคือความหนาแนนในเชิงกิจกรรม ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแกกิจกรรมการจับจองพื้นที่และกิจกรรมการสัญจรกิจกรรมการจับจอง (static activities) หมายถึง กิจกรรมที่ทําใหเกิดการหยุดนิ่งเพื่อจับจองอาคารและที่วางสาธารณะ ไมวาจะเปนการนั่ง ยืน คาขาย หรือจับกลุมทํากิจกรรมตางๆ (ไขศรี, 2551) ผลจากการสํารวจทําใหทราบวายานปากคลองตลาดมีการใชพื้นที่เพื่อกิจกรรมการจับจองที่ซับซอน เนื่องจากมีการใชพื้นที่แบบ“ผสม” (mix-used) และ “อเนกประโยชน” (multi-used) ในขณะเดียวกัน กลาวคือ เมื่อพิจารณาพื้นที่ในระดับยานจะพบวาปากคลองตลาดคือพื้นที่พาณิชยกรรมที่ตั้งอยูทามกลางพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดินอยางหลากหลาย ทั้งสถาบันการศึกษา ราชการ ศาสนา พักอาศัย และพาณิชยกรรม และมีการใชประโยชนอาคารที่ผสมสานระหวางพาณิชยกรรมที่ระดับพื้นดินและพักอาศัยที่ระดับอาคารชั้น 2 เปนตนไป ซึ่งการใชประโยชนที่ดินและอาคารในลักษณะผสมเชนนี้จะมีผลดีตอความหลากหลายของกิจกรรม ผูคน และชวงเวลาในการใชประโยชนพื้นที่ นอกเหนือจากนั้น ปากคลองตลาดยังมีลักษณะพิเศษของการใชพื้นที่วางสาธารณะแบบอเนกประโยชน โดยมีองคประกอบทางกายภาพแบบชั่วคราวเปนเงื่อนไขที่สนับสนุนใหเกิดการใชพื้นที่เดิมแบบผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งการจับจองพื้นที่ในลักษณะนี้สวนใหญเกิดขึ้นบนพื้นที่วางที่เปนทางสัญจรทางเทาที่มีผูคนเดินผานไปมาเปนจํานวนมากกิจกรรมการสัญจรในที่นี้หมายถึงกิจกรรมที่ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ (moving) ทั้งการสัญจรเพื่อเขาถึง(moved to) และการสัญจรผาน (moved through) ซึ่งลักษณะของการสัญจรทั้ง 2 ประเภทนั้นเกิดขึ้นโดยผูใชพื้นที่ 4 กลุม ไดแก ผูสัญจรที่เปนพอคาแมคา คนงานเข็นรถสงสินคา ลูกคาคนไทย และนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ทั้งนี้ ผลจากการสํารวจภาคสนาม 2 วิธี ไดแกการบันทึกอัตราการสัญจรผานและการสะกดรอยเพื่อบันทึกรูปแบบการเลือกเสนทางของคนเดินเทา พบวาผูสัญจรสวนใหญจะใชพื้นที่เพื่อการสัญจรแบบเขาถึงหรือมีพื้นที่ยานปากคลองตลาดเปนจุดหมายในการเดินเทา ยกเวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เปนการสัญจรเพื่อผานไปสูสถานที่ทองเที่ยวแหงอื่น ทั้งนี้ ผูสัญจรจะมีรูปแบบการเลือกเสนทางที่แตกตางกันไปตามกิจกรรมที่เปนวัตถุประสงค เชน พอคาแมคาและคนงานเข็นรถสงสินคาจะเลือกใชเสนทางที่อยูลึกเขาไปทางดานในของตลาดซึ่งเปนพื้นที่ที่มีกิจกรรมการคาสง ในขณะที่กลุมลูกคาชาวไทยและนักทองเที่ยวชาวตางชาติจะเลือกใชเสนทางเดินเทาที่อยูริมถนนสายหลักและรองที่มีกิจกรรมการคาปลีก อยางไรก็ตาม เมื่อวิเคราะหผลการสํารวจพื้นที่ดวยสถิติความนิยมใชเสนทางเดินเทาก็จะพบวาพื้นที่ริมถนนจักรเพชรและซอยสะพานพุทธนั้นเปนเสนทางที่ไดรับ501


ความนิยมมากที่สุด ในขณะที่เสนทางเดินเทาที่อยูถัดเขาไปจากถนนสายหลักและพื้นที่ดานในของอาคารตลาดนั้นกลับมีผูใชงานเบาบางทั้งในชวงเวลากลางวันและกลางคืน5.3 ความเชื่อมตอทฤษฎีการสัญจรอิสระของฮิลลีเออร (hillier et al., 1993 อางโดยไขศรี, 2548) ไดกลาวไววาความเชื่อมตอของโครงขายการเดินเทาที่มีศักยภาพจะทําใหเกิดการสัญจรอิสระที่มากกวาปกติ ซึ่งระดับการสัญจรอิสระของถนนแตละสายจะไมเทากันขึ้นอยูกับศักยภาพในการเขาถึงและมองเห็นพื้นที่ ทั้งนี้ เมื่อดูผลการสํารวจโครงขายการสัญจรทางเทาในพื้นที่ศึกษาจะพบวามีการเชื่อมตอกันอยางทั่วถึงในระดับหนึ่ง แตจะมีกลุมพื้นที่ที่มีศักยภาพการเขาถึงและมองเห็นที่ต่ํากวา ไดแกพื้นที่ดานในของอาคารตลาด และริมแมน้ําเจาพระยา ซึ่งเมื่อพิจารณาประกอบกับแผนที่บันทึกรูปแบบการสัญจรของคนเดินเทาในยาน จะพบวาพื้นที่บริเวณดังกลาวนี้มีปริมาณผูสัญจรทางเทาที่ต่ํากวาบริเวณถนนจักรเพชรและถนนซอยตางๆที่มีที่มีศักยภาพการเขาถึงและมองเห็นที่ดีกวา ทั้งนี้ ผลจากการสํารวจยังแสดงใหเห็นวาถนนจักรเพชร ซอยทาโรงยา และซอยสะพานพุทธซึ่งเปนเสนทางสําคัญที่ตั้งอยูระหวางจุดเปลี่ยนถายการสัญจรทางบกและน้ําของยานในปจจุบัน เปนเสนทางที่ไดรับความนิยมในการเลือกใชอยางเห็นไดชัด ซึ่งก็สอดคลองกับทฤษฎีที่โอนิล (O’Neil, 2551) ไดกลาวไววานอกจากศักยภาพในการเขาถึงและมองเห็นที่เขาใจงายแลว เสนทางที่สอดคลองกับจุดเปลี่ยนถายระบบขนสงมวลชนจะมีโอกาสประสบความสําเร็จไดมากกวา5.4 คุณภาพของพื้นที่ผลจากการสํารวจแสดงใหเห็นวา คุณภาพของพื้นที่ในยานปากคลองตลาดคือเงื่อนไขเชิงกายภาพที่ยังขาดแคลนมากที่สุดในปจจุบัน ทั้งคุณภาพของเสนทางเดินเทาที่ตองสูญเสียพื้นที่ครึ่งหนึ่งเพื่อการวางแผงลอยขายสินคา และทําใหคนเดินเทาตองลงไปใชผิวถนนรวมกับรถยนต การขาดความปลอดภัยของคนเดินขามถนนการขาดพื้นที่รองรับกิจกรรมการจับจองพื้นที่ที่ยาวนานขึ้น เชน พื้นที่กิจกรรมริมน้ํา หรือพื้นที่นันทนาการ ทั้งนี้พื้นที่โลงวางขนาดใหญที่มีอยูในยาน เชน ลานโลงหนาอนุเสาวรียรัชกาลที่ 1 ก็เปนอีกหนึ่งพื้นที่ที่ไมไดรับการใชงานอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีศักยภาพในการเขาถึงพื้นที่ที่ต่ําและขาดความปลอดภัยเนื่องดวยมีถนนโอบลอม 3 ดาน และขาดคุณภาพของพื้นที่สาธารณะที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและพฤติกรรมของคนทองถิ่นเนื่องจากเปนพื้นดาดแข็งโลงแจงขนาดใหญ และไรรมเงา ซึ่งลักษณะของพื้นที่วางสาธารณะที่ดีและเหมาะสมกวาสําหรับคนไทยนั้นควรจะเปนพื้นที่ขนาดเล็กที่เชื่อมตอกันไปตามแนวทางสัญจรและมีรมเงาที่ดีจากมวลอาคารหรือตนไมที่โอบลอม (ไขศรี, 2551)6. อภิปรายผลการศึกษาเมื่อประมวลผลจากการสํารวจภาคสนาม และวิเคราะหดวยการซอนทับขอมูลเชิงแผนที่ตามสมมติฐานเรื่องการใชพื้นที่วางแบบมีพลวัตกับเงื่อนไขเชิงกายภาพและกิจกรรมที่ผูวิจัยไดสรุปไวแลวขางตน จะพบวาประเด็นที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการจับจองพื้นที่ ทั้งเงื่อนไขของความหนาแนนของกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากการใชประโยชนที่ดินและอาคารแบบผสมผสาน (Gibberd, 1967: 95) และความยืดหยุนของพื้นที่ที่ทําใหเกิดการใช502


พื้นที่แบบอเนกประโยชน (Deguchi, 2005, วันเสด็จ, 2548) ลวนมีความสอดคลองกับปรากฎการณใชพื้นที่ของยานปากคลองตลาดในปจจุบัน โดยพื้นที่ที่เกิดการใชงานสูงสุดตลอดทั้งวันคือพื้นที่ริมถนนจักรเพชร ซึ่งเปนถนนสายหลักที่มีกิจกรรมการคาปลีกตลอดแนว และเปนพื้นที่ผอนผันของเทศกิจที่อนุญาตใหมีการคาแผงลอยไดตลอด 24 ชั่วโมง ในขณะที่พื้นที่ที่ขาดการใชงานมากที่สุดคือพื้นที่บริเวณโกดังริมแมน้ําเจาพระยาและพื้นที่ดานในของอาคารตลาด โดยเฉพาะอาคารตลาดองคการตลาดและตลาดยอดพิมาน ซึ่งผูวิจัยวิเคราะหวากิจกรรมที่เปนโกดังสินคาและการคาสงที่เกิดขึ้นในบริเวณดังกลาวคือสาเหตุสําคัญที่ทําใหพื้นที่ขาดการใชงานอยางคึกคักและตอเนื่อง โดยเฉพาะในชวงเวลากลางวันที่กิจกรรมคาสงนั้นยังไมเกิดขึ้น ซึ่งเงื่อนไขขอนี้นั้นก็สอดคลองกับผลของการสํารวจกิจกรรมการสัญจรดวยเชนเดียวกันการที่ระดับการใชพื้นที่เพื่อกิจกรรมการจับจองและการสัญจรนั้นมีปญหาและศักยภาพที่สอดคลองกันกลาวคือ พื้นที่บริเวณริมถนนสายหลักนั้นเกิดการใชงานอยางคึกคักและหนานแนนตลอด 24 ชั่วโมง ในขณะที่พื้นที่ริมน้ําและดานในของอาคารตลาดนั้นกลับไมไดรับการใชงานอยางมีประสิทธิภาพนั้นมีเงื่อนไขที่เกี่ยวของอยู 3 ประการ ซึ่งสามารถอธิบายไดดวยกระบวนการเปนสัณฐานศูนยกลางเมืองที่มีชีวิตชีวา (urban spatialcentrality process) ของฮิลลีเออร (Hillier et al., 1993 อางโดยไขศรี, 2548) คือ1. ศักยภาพในการเขาถึงและมองเห็นจากพื้นที่ภายนอกที่แตกตางกัน2. ลักษณะของกิจกรรมโดยรอบที่เอื้อใหเกิดวัตถุประสงคของการเดินเทาที่แตกตางกัน โดยจะเห็นไดวากิจกรรมการคาสงที่บริเวณดานในของอาคารตลาดและพื้นที่ริมน้ํานั้นไมใชกิจกรรมที่เปนวัตถุประสงคของการเดินเทาของผูคนทั่วไป ในขณะที่กิจกรรมการคาปลีกริมถนนจักรเพชรนั้นจะดึงดูดกิจกรรมการสัญจรไดดีกวา3. การมีพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรตั้งอยูบนเสนทางคือโอกาสในการเพิ่มความหนาแนนของผูสัญจรทางเทา ถนนจักรเพชรและซอยสะพานพุทธนั้นคือเสนทางเดินเทาที่อยูภายใตเงื่อนไขดังกลาว ในขณะที่เสนทางเดินเทาที่อยูลึกเขามาจากถนนสายหลักนั้นไมไดอยูบนเงื่อนไขเดียวกันนอกจากนี้ ผูวิจัยยังไดตั้งขอสังเกตุเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของสินคาและการบริการที่อาจเปนเงื่อนไขสนับสนุนใหเกิดการใชประโยชนพื้นที่ดวยกลุมคนที่หลากหลาย จากการที่พบวาถนนจักรเพชรซึ่งเปนถนนสายหลักที่เกิดการใชงานแบบอเนกประโยชนสูงที่สุดนั้นมีประเภทของสินคาและการบริการที่หลากหลาย และคลอบคลุมทั้งสินคาหลักของยานที่เปนผลิตผลทางการเกษตร และสินคาหรือการบริการประเภทรอง เชน อาหารเครื่องดื่ม การเงิน สถานพยาบาล ของชํา ยา หนังสือ และสังฆภัณฑ โดยความหลากหลายของสินคาและการบริการเหลานี้อาจเปนอีกหนึ่งเครื่องมือที่ดึงดูดใหผูคนเขามาใชพื้นที่ไดหลากหลายกวา เมื่อเปรียบเทียบกับการจํากัดประเภทของสินคาไวเพียงชนิดเดียว อยางไรก็ตาม ขอควรระวังของการวางแผนการใชประโยชนพื้นที่ในลักษณะนี้คือ การสูญเสียภาพลักษณของการเปนแหลงสินคาเฉพาะทางที่เปนเอกลักษณของยานนั้นๆ503


7. ขอเสนอแนะ: “กลับหนากลับหลัง” กับการฟนฟูบูรณะยานพาณิชยกรรมเการิมน้ําผลการศึกษาเนนใหเห็นเงื่อนไขเชิงกายภาพและกิจกรรมบางประการที่สัมพันธกับระดับการใชพื้นที่ ซึ่งปรากฎออกมาเปนความแตกตางระหวางพื้นที่ริมถนนหรือ “หนาบานใหม” และพื้นที่ที่อยูลึกเขามาดานในริมน้ําหรือ “หนาบานเกา” อยางชัดเจน กลาวคือ พื้นที่ริมถนนซึ่งเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงพื้นที่สูงที่สุด และตั้งอยูบนเสนทางที่สัมพันธกับจุดเปลี่ยนถายการสัญจรหลักของยานจะมีปริมาณของผูสัญจรทางเทามากกวาพื้นที่ดานในหรือพื้นที่ริมน้ํา ที่มีศักยภาพในการเขาถึงและมองเห็นที่ต่ํากวาและไมไดสัมพันธใดๆกับจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่สําคัญ นอกจากนี้ยังพบวาตัวกิจกรรมเองก็มีสวนสําคัญในการสรางแรงจูงใจเพื่อเขาไปใชพื้นที่สวนตางๆ ดังจะเห็นไดวาพื้นที่ที่มีกิจกรรมการคาปลีกและการบริการที่หลากหลายจะเอื้อใหเกิดการเขาไปใชพื้นที่ที่หลากหลายกวาพื้นที่ที่มีกิจกรรมการคาสงหรือโกดังสินคาประเภทเดียว เชนเดียวกับพื้นที่ที่เอื้อใหเกิดการใชพื้นที่แบบอเนกประโยชนตลอดทั้งวันก็จะดึงดูดผูคนใหเขามาใชพื้นที่ไดอยางตอเนื่องกวาพื้นที่ที่ขาดการใชประโยชนแบบนี้ ตรรกะความสัมพันธของระดับการใชพื้นที่และเงื่อนไขเชิงกายภาพและกิจกรรมขางตนยังสอดคลองและสามารถอธิบายไดอีกวาการที่ลานโลงหนาอนุเสาวรียรัชกาลที่ 1 ซึ่งเปนพื้นที่วางขนาดใหญของยานนั้นไมไดรับการใชงานอยางมีประสิทธิภาพนั้นเกิดขึ้นจากหลายเงื่อนไขประกอบกัน ไดแก ศักยภาพการเขาถึงพื้นที่ที่ต่ําเนื่องจากมีถนนโอบลอม 3 ดาน การขาดความนาสนใจจากกิจกรรมที่เขารองรับผูใชพื้นที่ทั้งกิจกรรมถาวรและชั่วคราว และสําคัญกวานั้นคือการขาดคุณภาพของพื้นที่สาธารณะที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและพฤติกรรมของคนทองถิ่น เนื่องจากเปนพื้นดาดแข็งโลงแจงขนาดใหญ และไรรมเงา ซึ่งลักษณะของพื้นที่วางสาธารณะที่ดีและเหมาะสมสําหรับคนไทยนั้นควรจะเปนพื้นที่ขนาดเล็กที่เชื่อมตอกันไปตามแนวทางสัญจรและมีรมเงาที่ดีจากมวลอาคารหรือตนไมที่โอบลอม (ไขศรี, 2551)ดังที่ไดกลาวไปแลวขางตนวายานปากคลองตลาดในปจจุบันกําลังมีสภาพ ”หันหลังใหน้ํา-หันหนาใหบก” จนทําใหเกิดปญหาขาดการใชงานพื้นที่ริมน้ํามากขึ้นดังที่ปรากฎใหเห็นอยูในปจจุบัน การที่จะรื้อฟนความสัมพันธระหวางคนและยานกับน้ําจึงเปนเรื่องที่ทาทาย และจําเปนที่จะตองมีการบูรณะฟนฟูพื้นที่อยางเปนระบบ กลาวคือ ตองพิจารณาทั้งในเชิงกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม โดยใชทั้งเครื่องมือการอนุรักษและการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ- ระบบโครงขายการสัญจรขอดอยที่สุดของยานพาณิชยกรรมริมน้ําเปนจํานวนมากคือระบบการเขาถึงพื้นที่ที่ไมสมดุลกันระหวางน้ําและบก ในกรณีของยานปากคลองตลาดจะพบวาระบบการเขาถึงพื้นที่ในปจจุบันนี้อางอิงจากการเดินทางทางบกเสียเปนหลัก ถึงแมวาจะมีทาเรือเพื่อการขนสงสาธารณะทางน้ํา แตก็ไมไดมีที่ตั้งที่สัมพันธกับกิจกรรมอื่นๆภายในยานอยางเปนระบบ ผูวิจัยจึงเสนอใหมีการพิจารณาระบบโครงขายการสัญจรใหมที่มีการถักทอระบบการเขาถึงพื้นที่ทางน้ําเขาเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมภายในยาน และฟนฟูความสําคัญของ “หนาบาน” ทางน้ําดวยการสงเสริมหรือสรางแกนทางเดินเทาที่ตั้งเปนมุมฉากกับน้ํา เชื่อมตอพื้นที่ริมน้ําจากเสนทางทางบกมากขึ้น ในขณะเดียวกับที่เสนอใหมีการจัดเสนทางเดินเทาเพื่อผูใชพื้นที่ประเภทตางๆอยางเปนระบบมากขึ้น504


- การใชประโยชนที่ดิน อาคาร ที่วางสาธารณะการคาขายคือเอกลักษณแหงความเปนสถานที่ของยานปากคลองตลาดซึ่งควรจะไดรับการอนุรักษไวเพื่อเปนแหลงการเรียนรูที่มีชีวิต และเพื่อผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจและสังคมของพื้นที่เอง อยางไรก็ตาม ผูวิจัยมีความเห็นวาควรจะมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมการคาบางสวนใหเขากับความตองการรวมสมัยและสอดคลองกับนโยบายของภาครัฐมากขึ้นดวยการสงเสริมใหมีผูคาปลีกสินคาทางการเกษตรในสัดสวนที่สูงขึ้น ทั้งนี้ ผูวิจัยยังเสนอใหมีการสงเสริมการใชประโยชนพื้นที่ทั้งแบบผสมผสานและเอนกประโยชนที่มีอยูเดิมอยางตอเนื่อง โดยเนนใหมีการใชพื้นที่เพื่อพาณิชยกรรมที่ระดับอาคารชั้น 1-2 พักอาศัยที่ชั้น 3-4 และใชพื้นที่วางสาธารณระโดยรอบเพื่อการสัญจร คาขาย หรือพักผอนหยอนใจได โดยใหเตรียมพื้นที่เพื่อการคาขายหรือกิจกรรมแบบชั่วคราวไวอยางเปนระบบ นอกจากนี้ ยังสงเสริมใหมีการใชประโยชนพื้นที่เพื่อการศึกษาเชิงนันทนาการมากขึ้น(edutainment) โดยสนับสนุนใหมีพื้นที่หรืออาคารสาธารณูปการที่เปนศูนยวัฒนธรรมชุมชนเพื่อใหความรูเรื่องยานพาณิชยกรรมเการิมน้ําและเปนพื้นทีสวนกลางที่จะใหคนในยานเขามาใชเพื่อการประชุมชุมชนหรือจัดกิจกรรมอื่นๆไดในอนาคต- “กลับหนา-กลับหลัง” จินตภาพของยานพาณิชยกรรมริมน้ําแมน้ําลําคลองคือองคประกอบความเปนสถานที่สําคัญของยานปากคลองตลาด และเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรของการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนริมน้ํา การฟนฟูจินตภาพและคุณภาพของพื้นที่จึงเปนเครื่องมือสําคัญในการกลับมาใหความสําคัญตอ “หนาบานทางน้ํา” ดวยการฟนฟูบูรณะพื้นที่ริมน้ําใหเปนพื้นเปดโลงเพื่อพาณิชยกรรม การสัญจร การทองเที่ยว และนันทนาการ ใหสามารถรองรับผูคนทั้งภายในและภายนอกพื้นที่รวมถึงกิจกรรมตางๆ ในอนาคตไดอยางเหมาะสม ทั้งนี้ การเปดมุมมองเชื่อมตอภูมิทัศนวัฒนธรรมของสองฝงเจาพระยาและสรางทัศนียภาพที่สวยงามจะเปนปจจัยดึงดูดที่ทําใหประชาชนเขามาภายในพื้นที่ยานมากยิ่งขึ้น8. รายการอางอิงกาญน นทีวุฒิกุล. ตรรกะของการใชพื้นที่วางสาธารณะอยางอเนกประโยชนในเมืองเชียงใหม. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550.ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ. วาทกรรมของเมืองผานโครงสรางเชิงสัณฐาน. วารสารวิชาการคณะสถาปตยกรรมศาสตรฉบับภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง, 2548.ซินครอนกรุป, บริษัท. แผนแมบทเพื่อการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร, เสนอสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด พิมพพรรณการพิมพ, 2538.505


ทิพยสุดา ปทุมานนท. สถาปตยกรรม กังสดาลแหงความคิด. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.วิมลรัตน อิสระธรรมนูญ. การศึกษาเพื่อจัดทําโครงการอนุรักษและฟนฟู ยานสามแพรง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2543.วันเสด็จ แกวดก. รูปแบบของชุมชนเสมือนในพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟาใตดินพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางผังชุมชน ภาควิชาการวางแผนภาคและเมืองคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.Cohen, N. Urban Conservation. Massachusetts: The MIT Press, 1999.Deguchi, A. RE-EVALUATING STREET VENDORS IN ASIAN CITIES AND ASIAN URBANISM [Online].Available from: http://www.apsa2005.net/FullPapers/PdfFormat/Full%20Paper%20(A-H)/Atsushi%20Deguchi.pdf [2008, August 1]Lennard, S. and Lennard, H. Livable Cities Observed. Southampton: Gondolier Press, 1995.Logan, William (ed.). The Disappearing Asian City. 1 st Ed. Hong Kong: Oxford University Press(China) Ltd., 2002.O’Neil, David. 10 qualities for successful public markets [Online]. Available from: www.pps.org[2008, July 3]Orbasli, Aylin. Tourists in Historic Towns. 1 st Ed. London: E&FN SPON, 2000.Rossi, Aldo. The Architecture of the City. U.S.A.: The M.I.T. Press, 1999.William S. W. Lim. Asian New Urbanism. 1 st Ed. Singapore: SNP Printing. Ltd, 1998.506


การศึกษาความสัมพันธระหวางบริบทที่อยูอาศัยกับลักษณะของยานตลาดที่ประสบความสําเร็จในปจจุบัน เพื่อการฟนฟูยานตลาดพระโขนงบทคัดยอนางสาวพรนภา พรพันธุไพบูลยหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยการศึกษาความสัมพันธระหวางบริบทที่อยูอาศัยกับลักษณะของยานตลาดที่ประสบความสําเร็จในปจจุบัน เพื่อการฟนฟูยานตลาดพระโขนง เปนการศึกษาถึงปจจัยที่ทําใหยานตลาดประสบความสําเร็จ โดยศึกษาผานกรณีศึกษาซึ่งคัดเลือกจากยานตลาดที่ประสบความสําเร็จในกรุงเทพฯ 4 แหง 4 ประเภท และนําขอสังเกตที่ไดมาใชในการฟนฟูยานตลาดพระโขนงดวยการเปรียบเทียบบริบทที่อยูอาศัยของกรณีศึกษากับบริบทที่อยูอาศัยของยานตลาดพระโขนง เพื่อหาลักษณะของยานตลาดพระโขนงที่เหมาะสมที่จะทําใหยานตลาดประสบความสําเร็จ และสามารถคงความเปนศูนยกลางทั้งการเปนศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชน โดยเฉพาะการเปนศูนยกลางชุมชนซึ่งเปนสวนสรางใหเกิดลักษณะเฉพาะ ชีวิตชีวาและเสนหที่ “ตลาดติดแอร” ในปจจุบันไมมีผลจากการศึกษากรณีศึกษาจํานวน 4 แหง พบวา ยานตลาดที่จะประสบความสําเร็จจะตองมีพื้นที่สาธารณะเพื่อชุมชน มีบรรยากาศที่ดี นอกเหนือไปจากเรื่องของสินคาและความสะดวกในการสัญจร โดยยานตลาดที่ตั้งอยูในยานพักอาศัยระดับรายไดดีจะมีการออกแบบตกแตงใหมีลักษณะโดดเดนเพื่อดึงดูดความสนใจสวนยานตลาดที่ตั้งอยูในพื้นที่ชานเมืองหรือในยานชุมชนระดับรายไดปานกลางถึงนอยจะมีการออกแบบตกแตงเพื่อความสะดวก สะอาด และถูกสุขลักษณะ สวนการใชพื้นที่สาธารณะพบวา บริบทที่เปนที่อยูอาศัยความหนาแนนสูงจะมีความตองการพื้นที่สาธารณะมากกวาบริบทที่เปนที่อยูอาศัยความหนาแนนต่ําถึงปานกลางขอสังเกตที่ไดจากกรณีศึกษาทําใหพบแนวทางในการฟนฟูยานตลาดที่อาจแขงขันกับ ”ตลาดติดแอร” ซึ่งเปนที่นิยมในปจจุบัน และมีความหวังที่จะเปนศูนยกลางชุมชนที่ดีไดอีกครั้ง ควบคูไปกับการเปนศูนยกลางการคาที่ดียานตลาดเปนพื้นที่สําคัญตอชุมชนในดานการใหบริการและเปนที่พบปะรวมตัวของชุมชน พื้นที่ยานตลาดสามารถสะทอนใหเห็นวิถีชีวิตของคนในชุมชน จึงทําใหยานตลาดมีชีวิตชีวาและมีเสนหที่ ”ตลาดติดแอร” ในปจจุบันไมมี ยานตลาดทําหนาที่เปนสถานที่แลกเปลี่ยนสินคา บริการ และ ขอมูลขาวสาร จึงมีบทบาทเปนทั้งศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชนซึ่งแตกตางจาก “ตลาดติดแอร” ที่มักจะเปนศูนยกลางการคาแตเพียงอยางเดียวยานตลาดพระโขนงเปนยานตลาดเกาแกยานหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีมานานกวา 70 ป ตั้งแตยังเปนตลาดน้ําเล็กๆริมคลองพระโขนง เจริญรุงเรืองจนมีบทบาทเปนตลาดระดับสี่มุมเมือง และเสื่อมโทรมลงปจจุบันยานพระโขนงมีแนวโนมที่จะกลับมามีชีวิตอีกครั้ง เนื่องจากความนิยมในการอยูอาศัยของคนกรุงเทพฯไดเปลี่ยนแปลงไป โดยเนนความสะดวกในการเดินทางเปนหลัก แมวาจะตองอาศัยอยูในที่อยูอาศัยขนาดเล็กที่มี507


ความหนาแนนสูงก็ตาม ที่ดินตลอดเสนทางรถไฟฟาซึ่งรวมถึงยานตลาดพระโขนงจึงนิยมถูกสรางใหเปนคอนโดมิเนียม ซึ่งสงผลใหวิถีชีวิตของชุมชนเปลี่ยนแปลงไป และมีคนยายเขามาอาศัยอยูมากขึ้น จึงเปนโอกาสอันดีที่จะฟนฟูยานตลาดพระโขนงใหสามารถคงความเปนศูนยกลางชุมชนไวไดเชนในอดีต แมวาวิถีชีวิตของตนในชุมชนจะเปลี่ยนแปลงไปก็ตามในการศึกษาความสัมพันธระหวางบริบทที่อยูอาศัยกับลักษณะของยานตลาดในกรุงเทพฯ ที่ประสบความสําเร็จในปจจุบัน เพื่อการฟนฟูยานตลาดพระโขนงแบงออกเปน 3 สวน คือ การศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับยานตลาดโดยการคนควาเอกสาร การศึกษาหาตัวอยางความสัมพันธระหวางบริบทที่อยูอาศัยกับลักษณะของยานตลาดโดยการสํารวจพื้นที่กรณีศึกษา และการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่ยานตลาดพระโขนงโดยการคนควาเอกสารและการสํารวจพื้นที่ยานตลาดพระโขนง1. การศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับยานตลาด1.1. ความหมายและความสําคัญของยานตลาด“ตลาด” มีความหมายวา การแลกเปลี่ยนสินคา ซึ่งมีทั้งความหมายที่เปนนามธรรมอยาง กระบวนการทางเศรษฐศาสตรและรูปธรรมอยางสถานที่ที่เกิดการแลกเปลี่ยนสินคาและขอมูลขาวสาร ซึ่งก็มีทั้งแบบชั่วคราวและถาวร สถานที่ที่เกิดการแลกเปลี่ยนสินคาและขอมูลขาวสารแบบถาวรสามารถสะทอนใหเห็นถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน หรือความเปน “ยาน” ไดเปนอยางดี นอกเหนือไปจากการสะทอนระบบเศรษฐกิจของชุมชน เพราะตลาดแบบถาวร หรือ “ยานตลาด” นั้น มีชุมชนหรือการอยูอาศัยผสมผสานอยูรวมกับตลาดหรือการคาขาย จึงสามารถพบเห็นลักษณะทางกายภาพที่แสดงถึงวิถีชีวิตไดโดยงาย เชน การใชประโยชนอาคารแบบผสมผสานระหวางการอยูอาศัยและพาณิชยกรรม พื้นที่ทํากิจกรรมรวมกันหรือพื้นที่สาธารณะของชุมชน สถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจหรือศาสนสถานของชุมชน เปนตน จึงอาจกลาวไดวา สถานที่ที่เกิดการแลกเปลี่ยนสินคาและขอมูลขาวสารแบบถาวร หรือ “ยานตลาด” มีบทบาทเปนทั้งศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชน1.2. การเกิดยานตลาดและปจจัยที่ทําใหยานตลาดสามารถคงอยูไดยานตลาดจะเกิดขึ้นในสถานที่ที่มีคนจํานวนมากหรือเปนชุมชน ซึ่งชุมชนนี้มักเกิดขึ้นตามแหลงงานหรือที่ทํามาหากิน เมื่อชุมชนขยายก็เกิดความตองการ (demand) ในการแลกเปลี่ยนสิ่งของกับสิ่งของที่ตองการแลกเปลี่ยน (supply) เกิดเปนตลาดตามหลักการทางเศรษฐศาสตร จากนั้นจึงเริ่มเกิดสถานที่ที่เหมาะสมที่จะใชเปนสถานที่แลกเปลี่ยน ซึ่งมักจะคํานึงถึงความสะดวกในการเดินทางเขามาของคนในชุมชนสวนใหญเปนหลักแรกเริ่มอาจจะเปนตลาดแบบชั่วคราวและเมื่อมีความตองการในการแลกเปลี่ยนเพิ่มมากขึ้นจึงพัฒนาตอมาเปนตลาดแบบถาวรหรือยานตลาด และเมื่อยานตลาดมีสิ่งของที่ตรงตามความตองการของชุมชน ยานตลาดก็จะเปนที่นิยมมากขึ้นและมีคนเขามาใชบริการมากขึ้น ทําใหเกิดบรรยากาศที่มีชีวิตชีวา เกิดปฏิสัมพันธทางสังคม และการทํากิจกรรมตางๆรวมกัน การแลกเปลี่ยนในยานตลาดจึงเริ่มมีขอมูลขาวสารเพิ่มขึ้นมานอกเหนือจากสินคา และเกิดเปนศูนยกลางขึ้นทั้งศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชน508


ดังนั้น สามารถสรุปไดวา ยานตลาดเกิดขึ้นไดเมื่อมีความตองการในการแลกเปลี่ยนสินคากับสิ่งของที่ตรงตามตองการในสถานที่ที่สามารถเขาถึงไดสะดวก และอาจกลาวในทางกลับกันไดวาปจจัยที่ทําใหยานตลาดสามารถคงอยูไดก็จะตองมีความตองการในการแลกเปลี่ยนสินคากับสิ่งของที่ตรงตามตองการเชนเดียวกัน1.3. ลักษณะของยานตลาดที่ดีนอกจากยานตลาดจะทําหนาที่เปนสถานที่แลกเปลี่ยนสินคาและขอมูลขาวสารแลว ยังมีบทบาทเปนศูนยกลางอีกดวย การศึกษาลักษณะของยานตลาดที่ดีจึงสามารถพิจารณาไดจากบทบาทการเปนศูนยกลางทั้งลักษณะที่ดีของศูนยกลางการคาและลักษณะที่ดีของศูนยกลางชุมชน(American Planning Association, 2006)ซึ่งสามารถสรุปไดเปนลักษณะที่ดีของยานตลาด ดังตอไปนี้- มีความสะดวกในการสัญจรทั้งการเขาถึงและการเดินเลือกซื้อสินคา- มีสินคาและบริการที่เพียงพอและตรงตามความตองการของชุมชน- มีกิจกรรมการพักผอนและพื้นที่สาธารณะเพื่อชุมชน ซึ่งสนับสนุนปฏิสัมพันธทางสังคมของชุมชน- มีบรรยากาศที่ดีอาจกลาวไดวายานตลาดจะตองมีลักษณะที่ตอบสนองตอความตองการของชุมชนโดยรอบหรือบริบทได ตั้งแตความสะดวกสบายในการเขาถึง สินคาและบริการ ลักษณะทางกายภาพ กิจกรรมตลอดจนบรรยากาศ1.4. พัฒนาการของตลาดและยานตลาดในกรุงเทพฯตลอดระยะเวลาที่ผานมา ตลาดไดมีการเปลี่ยนแปลงมากมาย พรอมๆกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชน ตั้งแตสมัยรัตนโกสินทรตอนตนที่ตลาดยังคงใหความสําคัญกับตลาดน้ํา ตามลักษณะการสัญจรและวิถีชีวิตของชีวิตของชุมชนในสมัยนั้นที่ผูกพันกับน้ํา ตอมาในสมัยการปรับตัวเขาสูยุคใหม กรุงเทพฯไดรับอิทธิพลจากประเทศตะวันตก การสัญจรเริ่มเปลี่ยนความนิยมจากการสัญจรทางน้ําเปนทางสัญจรทางบกตลาดน้ําจึงเริ่มลดบทบาทลงและตลาดบกเริ่มมีความสําคัญมากขึ้นตามความนิยมในการสัญจรนั้น เมื่อเขาสูสมัยการเปลี่ยนแปลงวิถีทางเศรษฐกิจ กรุงเทพฯขยายตัวออกไปอยางรวดเร็ว วิถีชีวิตมีการแขงขันและรีบเรงมากขึ้นลักษณะของตลาดจึงเปลี่ยนแปลงอีกครั้งโดยเนนใหเกิดความสะดวก สบายมากขึ้น ทั้งในการเขาถึงและการเดินเลือกซื้อสินคา โดยเฉพาะการเขาถึงโดยรถยนตสวนตัว และการเดินเลือกซื้อสินคาในสภาพอากาศที่เย็นสบายดวยเครื่องปรับอากาศ เกิดเปน “ตลาดติดแอร” ซึ่งเปนที่นิยมในปจจุบัน และถึงแม ”ตลาดติดแอร” เหลานี้จะมีความสะดวกสบาย แตก็ขาดเสนหและความมีชีวิตชีวาของ ”ยานตลาด” เพราะขาดชุมชน หรือวิถีชีวิตที่แทรกตัวอยูรวมกันกับตลาด จากการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ จึงอาจกลาวไดวา ลักษณะของตลาดกับลักษณะของชุมชนมีความสัมพันธกัน โดยลักษณะของชุมชนมีผลตอลักษณะของตลาด และในทางกลับกันลักษณะของตลาดก็สะทอนใหเห็นถึงลักษณะของชุมชนดวย509


จากการศึกษาพัฒนาการของตลาดและยานตลาดในกรุงเทพฯพบวา ลักษณะของยานตลาดที่ประสบความสําเร็จในปจจุบันของกรุงเทพฯจะตองมีลักษณะตางๆ ตั้งแตสินคาและบริการที่ตรงกับความตองการ ความสะดวกสบาย ลักษณะทางกายภาพ และบรรยากาศที่สามารถตอบสนองตอความตองการของชุมชนโดยรอบหรือบริบทได ทั้งในบทบาทการเปนศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชน โดยเฉพาะบทบาทการเปนศูนยกลางชุมชนซึ่งในปจจุบันเริ่มเปนที่ตองการของชุมชนในกรุงเทพฯ และมีแนวโนมจะมีความสําคัญมากยิ่งขึ้นในอนาคต ดังจะเห็นไดจากลักษณะของยานตลาดที่ประสบความสําเร็จในปจจุบันที่มักจะตองมีบรรยากาศที่ดี มีพื้นที่สาธารณะเพื่อรองรับกิจกรรมการพักผอนเพิ่มขึ้นมาจากพื้นที่คาขายการศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับยานตลาดที่กลาวมาแลวทั้งหมด พอจะสรุปไดวา ยานตลาดจะประสบความสําเร็จ และสามารถทําหนาที่เปนสถานที่แลกเปลี่ยนสินคาและขอมูลขาวสาร ตลอดจนเปนศูนยกลางชุมชนที่ดี ขึ้นอยูกับปจจัย 2 ประการ คือ 1) ความตองการในการแลกเปลี่ยน ซึ่งพิจารณาไดจากบริบทของชุมชนหรือที่อยูอาศัย 2) สิ่งที่ตอบสนองตอความตองการนั้น ซึ่งก็คือลักษณะของยานตลาด ตั้งแตสินคา การบริการ กิจกรรมความสะดวกสบาย ลักษณะทางกายภาพ ตลอดจนบรรยากาศภายในยานตลาด โดยพิจารณาลักษณะตามบทบาทของการเปนศูนยกลางที่ดี ทั้งศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชน-มีความสะดวกในการสัญจรทั้งการเขาถึงและการเดินเลือกซื้อสินคา-มีสินคาและบริการเพียงพอและตรงตามความตองการของชุมชน-มีกิจกรรมการพักผอนและพื้นที่สาธารณะเพื่อชุมชนซึ่งสนับสนุนปฏิสัมพันธทางสังคมของชุมชน-มีบรรยากาศที่ดีศูนยกลางการคาศูนยกลางชุมชนบริบทยานตลาดความตองการในการแลกเปลี่ยนทั้งทางดานการซื้อขายและทางดานสังคมสิ่งที่ตอบสนองตอความตองการทั้งทางดานการซื้อขายและทางดานสังคมยานตลาดที่ประสบความสําเร็จทั้งการเปนศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชนรูป 1 ผังกรอบแนวความคิดเกี่ยวกับปจจัยที่ทําใหยานตลาดประสบความสําเร็จ510


2. การศึกษาตัวอยางความสัมพันธระหวางบริบทที่อยูอาศัยกับลักษณะของยานตลาดการศึกษาหาตัวอยางความสัมพันธระหวางบริบทที่อยูอาศัยกับลักษณะของยานตลาดเปนการศึกษาผานกรณีศึกษายานตลาดที่ประสบความสําเร็จในปจจุบันและมีแนวโนมที่จะประสบความสําเร็จในอนาคตของกรุงเทพมหานคร โดยการวิเคราะหภายใตกรอบแนวความคิดที่วายานตลาดจะประสบความสําเร็จไดขึ้นกับปจจัย2 ประการ คือลักษณะของความตองการในการแลกเปลี่ยน และ สิ่งที่ตอบสนองตอความตองการนั้น ซึ่งพิจารณาไดจากบริบทที่อยูอาศัยและลักษณะของยานตลาดยานตลาดที่นํามาเปนกรณีศึกษาจะตองเปนยานตลาดที่ประสบความสําเร็จ คือ มีบรรยากาศที่มีชีวิตชีวา และเปนที่รูจักของคนในชุมชนยานตลาดและชุมชนใกลเคียง ตลอดจนเปนตัวแทนของยานตลาดในปจจุบันของกรุงเทพฯ 4 ประเภท ดังนี้-ยานตลาดที่สรางใหม ไดแก ศูนยการคา-ตลาด นัมเบอรวัน ราม 2-ยานตลาดเดิมที่ปรับปรุงใหม ไดแก ตลาดยิ่งเจริญ-ยานตลาดที่สรางใหมใหมีลักษณะและบรรยากาศแบบ “ตลาดติดแอร” ไดแก ตลาดบองมารเช-“ตลาดติดแอร” ที่สรางใหมใหมีลักษณะและบรรยากาศแบบยานตลาด ไดแก เจ เอเวนิวตาราง 1 ตารางเปรียบเทียบบริบทที่อยูอาศัยศูนยการคา-ตลาด นัมเบอรวัน ราม2ทําเลที่ตั้ง รอยตอระหวางเขตตอเมืองกับเขตชานเมืองการใชประโยชนที่ดิน สถานศึกษาพาณิชยกรรมที่อยูอาศัยความสามารถในการเชื่อมตอกับยานอื่นๆประเภทที่อยูอาศัยตลาดยิ่งเจริญ ตลาดบองมารเช เจ เอเวนิวรอยตอระหวางเขตตอเมืองกับเขตชานเมืองพาณิชยกรรมที่อยูอาศัยรอยตอระหวางเขต เขตเมืองชั้นในเมืองชั้นในกับเขตตอเมืองที่อยูอาศัย พาณิชยกรรมที่อยูอาศัย(1)* (2) (3) (4)(3) (2) (4) (1)(ความหนาแนนในการอยูอาศัย)ประเภทที่อยูอาศัย(ราคา) (4) (3) (2) (1)รายไดของกลุมคน (4) (3) (2) (1)คาครองชีพ (4) (3) (2) (1)* หมายเหตุ (1) มีคาสูงหรือมากที่สุด (2) มีคาสูงหรือมาก (3) มีคาต่ําหรือนอย (4) มีคาต่ําหรือนอยที่สุด511


ตาราง 2 ตารางเปรียบเทียบลักษณะของยานตลาดศูนยการคา- ตลาดยิ่งเจริญ ตลาดบองมารเช เจ เอเวนิวตลาด นัมเบอรวัน ราม2ความสะดวกในการเขาถึง มีความสะดวกทั้งทางรถยนตสวนตัว ระบบขนสงสาธารณะ จักรยาน และการเดินเทาความสะดวกในการสัญจร มีความสะดวกและแยกเปนสัดสวนจากถนนการจัดหมวดหมูการใช มีการจัดหมวดหมูรานคาประโยชนอาคารและรานคากิจกรรมการพักผอน/(1) (2) (3) (4)ปฏิสัมพันธทางสังคมการจัดเตรียมพื้นที่(1) (3) (2) (4)สาธารณะความเปนทางการของพื้นที่ (3) (4) (2) (1)สาธารณะความเชื่อมั่นในคุณภาพ(4) (3) (2) (1)สินคาราคาสินคา (4) (3) (2) (1)ความหลากหลายของสินคา (1) (2) (3) (4)การตกแตง (4) (3) (2) (1)* หมายเหตุ (1) มีคาสูงหรือมากที่สุด (2) มีคาสูงหรือมาก (3) มีคาต่ําหรือนอย (4) มีคาต่ําหรือนอยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบขอมูลของกรณีศึกษาทั้ง 4 แหง พบวา ยานตลาดที่จะประสบความสําเร็จจะตองมีลักษณะตามลักษณะความเปนศูนยกลางที่ดีของยานตลาดทั้งในบทบาทการเปนศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชนเหมือนกัน แตมีรายละเอียดแตกตางกันตามบริบทที่แตกตางกันของยานตลาดแตละแหง ดังนี้- ความสะดวกในการสัญจรทั้งการเขาถึงและการเดินเลือกซื้อสินคายานตลาดในกรณีศึกษาทั้ง 4 แหงมีความสะดวกในการสัญจรเหมือนกัน มีการเขาถึงไดหลายทาง มีที่จอดรถเพียงพอ มีทางเดินเทาที่แยกเปนสัดสวนจากถนน แตมีความสะดวกในการเขาถึงแตกตางกันในแตละวิธี ตามกบริบทที่แตกตางกัน เชน ตลาดบองมารเช ซึ่งมีบริบทเปนหมูบานจัดสรรราคาปานกลางถึงสูง มีการสัญจรโดยใชรถยนตสวนตัวเปนจํานวนมาก การเขาถึงโดยรถยนตสวนตัวจึงมีความสะดวกมากกวาการเขาถึงโดยรถขนสงสาธารณะ เปนตน512


ศูนยการคา-ตลาด นัมเบอรวัน ราม 2 ตลาดยิ่งเจริญตลาดบองมารเชเจ เอเวนิวรูป 2 แผนที่แสดงโครงขายการสัญจรของกรณีศึกษา- ความเพียงพอและตรงตามความตองการของสินคาและบริการยานตลาดในกรณีศึกษาทั้ง 4 แหงมีสินคาเพียงพอและตรงตามความตองการของชุมชนหรือบริบทเหมือนกัน แตยานตลาดที่ตั้งอยูในเขตเมืองหรือยานพักอาศัยระดับรายไดดีจะมีสินคาที่เนนคุณภาพ มีชื่อการคา(ยี่หอ) รับประกันเพื่อสรางความนาเชื่อถือ จึงทําใหมีราคาสูง และไมคอยมีความหลากหลายของสินคามากนักสวนยานตลาดที่ตั้งอยูในพื้นที่ชานเมืองหรือในยานชุมชนระดับรายไดปานกลางถึงนอย จะมีสินคาไมเนนคุณภาพแตเนนใหมีราคาถูก และมีความหลากหลาย5<strong>13</strong>


ตลาดบองมารเชเจ เอเวนิวรูป 3 การสรางความเชื่อมั่นในคุณภาพสินคาของกรณีศึกษาที่ตั้งอยูในเขตเมืองหรือยานพักอาศัยระดับรายไดดีไมมียี่หอเพื่อสรางความนาเชื่อมั่นในคุณภาพสินคาศูนยการคา-ตลาด นัมเบอรวัน ราม 2 ตลาดยิ่งเจริญรูป 4 การสรางความเชื่อมั่นในคุณภาพสินคาของกรณีศึกษาที่ตั้งอยูในพื้นที่ชานเมืองหรือยานพักอาศัยระดับรายไดปานกลางถึงนอย- การมีกิจกรรมการพักผอนและพื้นที่สาธารณะเพื่อชุมชนยานตลาดในกรณีศึกษาทั้ง 4 แหงมีการสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมการพักผอนตามบทบาทการเปนศูนยกลางชุมชน ดวยการจัดเตรียมพื้นที่สาธารณะเพื่อชุมชนเหมือนกัน แตยานตลาดที่มีบริบทเปนที่อยูอาศัยความหนาแนนสูงจะมีความตองการพื้นที่สาธารณะมากกวาบริบทที่เปนที่อยูอาศัยความหนาแนนต่ําถึงปานกลางและยานตลาดที่ตั้งอยูในเขตเมืองหรือยานพักอาศัยระดับรายไดดีจะมีลักษณะพื้นที่สาธารณะที่เปนทางการ คือ มีการตกแตงเพื่อความสวยงาม โดดเดน เปนระเบียบเรียบรอย และมีการเก็บคาบริการในบางพื้นที่ สวนยานตลาดที่ตั้งอยูในพื้นที่ชานเมืองหรือในยานชุมชนระดับรายไดปานกลางถึงนอยจะมีลักษณะพื้นที่สาธารณะที่ไมเปนทางการ คือ มีการตกแตงเพียงเล็กนอย และสามารถใชพื้นที่ไดตามอัธยาศัย ซึ่งเมื่อพิจารณาจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นพบวา พื้นที่สาธารณะที่ไมเปนทางการจะไดรับความนิยมมากกวา มีกลุมคนเขาใชพื้นที่และกิจกรรมที่หลากหลายมากกวา เชน พื้นที่สาธารณะของตลาดยิ่งเจริญซึ่งมีลักษณะที่ไมเปนทางการ แตไดรับความนิยมมาก มีกลุมคนเขามาใชพื้นที่และกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมที่ไมเปนทางการ เชน การนั่งเลน การพูดคุย การถกปญหาตางๆและกิจกรรมที่เปนทางการ เชน การไหวเจา การแสดงงิ้ว ตลาดนัด การเตนแอโรบิค และกิจกรรมงานเทศกาลตางๆซึ่งกิจกรรมเหลานี้เปนกิจกรรมที่ชวยสรางบรรยากาศความมีชีวิตชีวาใหแกตลาด สวนเจ เอเวนิวมีลักษณะของพื้นที่สาธารณะที่เปนทางการ แตพื้นที่สาธารณะเหลานี้กลับไมคอยเปนที่นิยม กลุมคนที่เขาไปใชพื้นที่และกิจกรรมไมมีความหลากหลาย มีเพียงกิจกรรมที่ไมเปนทางการ เชน การนั่งเลน การพูดคุย และการถกปญหาตางๆ เทานั้น514


ตลาดบองมารเชเจ เอเวนิวรูป 5 แผนที่แสดงศูนยรวมกิจกรรมของกรณีศึกษาที่ตั้งอยูในเขตเมืองหรือยานพักอาศัยระดับรายไดดีศูนยการคา-ตลาด นัมเบอรวัน ราม 2 ตลาดยิ่งเจริญรูป 6 แผนที่แสดงศูนยรวมกิจกรรมของกรณีศึกษาที่ตั้งอยูในพื้นที่ชานเมืองหรือในยานชุมชนระดับรายไดปานกลางถึงนอย- บรรยากาศยานตลาดในกรณีศึกษาทั้ง 4 แหงมีการตกแตงใหมีบรรยากาศที่ดี มีความสะดวกในการใชพื้นที่ สะอาดและถูกสุขลักษณะเหมือนกัน แตยานตลาดที่ตั้งอยูในเขตเมืองหรือยานพักอาศัยระดับรายไดดีจะมีการตกแตงเพื่อความสวยงาม มีลักษณะโดดเดน นาสนใจ และมีเอกลักษณเฉพาะตัว ซึ่งเปนการสรางภาพลักษณใหยานตลาดเปนที่จดจํา นอกจากนี้ยังเนนบรรยากาศใหมีความใกลชิดธรรมชาติ เพราะเปนสิ่งที่หาไดยากในเขตเมือง สวนยานตลาดที่ตั้งอยูในพื้นที่ชานเมืองหรือในยานชุมชนระดับรายไดปานกลางถึงนอยจะมีการตกแตงเพียงเล็กนอยเพื่อความสะดวกในการใชพื้นที่ สะอาด และถูกสุขลักษณะเทานั้น515


ตลาดบองมารเชเจ เอเวนิวรูป 7 ลักษณะการตกแตงอาคารและบรรยากาศภายในกรณีศึกษาที่ตั้งอยูในเขตเมืองหรือยานพักอาศัยระดับรายไดดีศูนยการคา-ตลาด นัมเบอรวัน ราม 2 ตลาดยิ่งเจริญรูป 8 ลักษณะการตกแตงอาคารและบรรยากาศภายในกรณีศึกษาที่ตั้งอยูในพื้นที่ชานเมืองหรือในยานชุมชนระดับรายไดปานกลางถึงนอย3. การศึกษาขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่ยานตลาดพระโขนงเปนการศึกษาขอมูลบริบทของพื้นที่ยานตลาดพระโขนงเพื่อหาลักษณะที่จะทําใหยานตลาดพระโขนงประสบความสําเร็จ สามารถแขงขันกับ ”ตลาดติดแอร” ซึ่งเปนที่นิยมในปจจุบัน และมีความหวังที่จะเปนศูนยกลางชุมชนที่ดีไดอีกครั้ง ควบคูไปกับการเปนศูนยกลางการคาที่ดี โดยการเปรียบเทียบลักษณะของยานตลาดกับลักษณะที่ดีของการเปนศูนยกลาง และบริบทที่อยูอาศัยของพื้นที่ยานตลาดพระโขนงกับบริบทที่อยูอาศัยของกรณีศึกษาทั้งสี่ ดังนี้- ความสะดวกในการสัญจรทั้งการเขาถึงและการเดินเลือกซื้อสินคายานตลาดพระโขนงเปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่สําคัญมาตั้งแตอดีต สามารถเดินทางเชื่อมตอไปยังยานอื่นๆไดหลายแหง และมีความสะดวกในการเขาถึงโดยเฉพาะรถโดยสารประจําทางและเรือ แตไมมีความสะดวกในการเขาถึงโดยรถยนตสวนตัวและรถไฟฟา ซึ่งเปนโครงขายการสัญจรที่ไดรับความนิยมในปจจุบัน เพราะ516


ไมมีที่จอดรถที่เพียงพอ และตําแหนงของสถานีรถไฟฟาที่อยูหางจากยานตลาดออกไป ทําใหไมสะดวกและไมมีความจําเปนที่จะตองเดินผานหรือแวะเขามาใชบริการในยานตลาดสวนการเดินเลือกซื้อสินคาหรือโครงขายการสัญจรภายในยานตลาดไมมีความสะดวก เพราะเสนทางเดินที่ไมเปนระบบ ซึ่งทําใหเกิดความสับสนในเรื่องของทิศทาง ตลอดจนสภาพพื้นของตลาดและบรรยากาศที่เฉอะเฉะและคับแคบ ลวนทําใหไมสามารถเดินเลือกซื้อสินคาไดสะดวกรวดเร็วตามวิถีชีวิตที่เรงรีบในปจจุบันรูป 9 แผนที่แสดงจุดเปลี่ยนถายการสัญจรภายในและบริเวณยานตลาดพระโขนงรูป 10 แผนที่แสดงโครงขายการสัญจรภายในและบริเวณยานตลาดพระโขนง517


- ความเพียงพอและตรงตามความตองการของสินคาและบริการสินคาที่ขายมีความหลากหลาย แตไมมีมาตรฐานของสินคา ทําใหตองเสียเวลาในการเดินเลือกซื้อสินคาเปนเวลานาน เพื่อใหไดสินคาที่มีคุณภาพ และราคาก็ไมไดถูกแตกตางจากตลาดที่อื่น ซึ่งมีมาตรฐานของสินคา ทําใหคนนิยมเขามาใชบริการยานตลาดพระโขนงลดนอยลง- การมีกิจกรรมการพักผอนและพื้นที่สาธารณะเพื่อชุมชนกิจกรรมการพักผอนและกิจกรรมสาธารณะในยานตลาดพระโขนงมีเปนจํานวนมากและหลากหลายไดแก กิจกรรมทางศาสนา เชน การไหวเจา การแสดงงิ้ว กิจกรรมในงานเทศกาลตางๆ เชน กิจกรรมวันลอยกระทงกิจกรรมรดน้ําดําหัวผูใหญในวันสงกรานต กิจกรรมสงเสริมสุขภาพ เชน กิจกรรมการเตนแอโรบิค และกิจกรรมการพักผอนทั่วไปที่ไมเปนทางการ เชน การนั่งเลน การพูดคุย การถกปญหาตางๆ โดยมีองคกรกลางของยานตลาดเปนผูดูแล ซึ่งเปนขอดีที่แตกตางจากตลาดที่อื่น แตพื้นที่สาธารณะในยานตลาดกลับมีนอยมาก คือ บริเวณริมคลองพระโขนง ศาลเจา และโรงเจเทานั้น และไมมีการจัดพื้นที่หรือตกแตงใดๆ- บรรยากาศรูป 11 แผนที่แสดงศูนยรวมกิจกรรมภายในยานตลาดพระโขนงยานตลาดพระโขนงไมมีการตกแตงใดๆ ทั้งเพื่อความสวยงาม ความสะดวกในการใชพื้นที่ และความสะอาด ถูกสุขลักษณะ518


รูป 12 ลักษณะการตกแตงอาคารและบรรยากาศภายในยานตลาดพระโขนงเมื่อเปรียบเทียบลักษณะของยานตลาดพระโขนงกับลักษณะของการเปนศูนยกลางที่ดีพบวา ยานตลาดพระโขนงในปจจุบันขาดลักษณะของการเปนศูนยกลางที่ดีทั้งการเปนศูนยกลางการคาและศูนยกลางชุมชน เชนความไมสะดวกในการเขาถึงและการเดินเลือกซื้อสินคา สินคาไมสามารถแขงขันกับตลาดอื่นๆไดทั้งในเรื่องราคาและคุณภาพ พื้นที่สาธารณะมีจํานวนนอย และบรรยากาศที่วุนวาย ไมมีทั้งความเปนระเบียบเรียบรอยและความสวยงามใดๆ สิ่งเหลานี้ลวนเปนอุปสรรคสําคัญที่ทําใหยานตลาดพระโขนงไมประสบความสําเร็จเมื่อเปรียบเทียบบริบทที่อยูอาศัยของยานตลาดพระโขนงกับบริบทที่อยูอาศัยของกรณีศึกษาทั้งสี่ พบวายานตลาดพระโขนงในปจจุบันมีบริบทที่อยูอาศัยคลายกับบริบทที่อยูอาศัยของตลาดยิ่งเจริญ คือ ตั้งอยูบนถนนเสนสําคัญ เปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่สําคัญมาตั้งแตอดีต ถึงแมในปจจุบันยานตลาดพระโขนงจะไมมีความสะดวกในการเขาถึงเหมือนกับตลาดยิ่งเจริญ แตก็มีแนวโนมที่จะกลับมามีความสะดวกอีกขึ้นดวยนโยบายการฟนฟูโครงขายการสัญจรทางเรือในคลองพระโขนง ซึ่งจะทําใหเกิดการเชื่อมตอโครงขายการสัญจรตางๆเขาดวยกันมีการใชประโยชนที่ดินเปนพาณิชยกรรม กลุมคนมีรายไดนอยถึงปานกลาง แตรูปแบบการพัฒนา และกลุมคนที่มีรายไดปานกลางถึงสูงที่จะเพิ่มเขามาในอนาคตมีความเปนไปไดที่จะมีลักษณะเชนเดียวกับเจ เอเวนิว เพราะยานตลาดพระโขนงตั้งอยูในเขตเมืองชั้นในเชนเดียวกับเจ เอเวนิว และกระแสการพัฒนาก็ขยายมาจากในเมืองตามเสนทางรถไฟฟาดังนั้น ลักษณะของยานตลาดพระโขนงที่จะประสบความสําเร็จจึงตองมีลักษณะครบตามลักษณะที่ดีของการเปนศูนยกลาง และผสมผสานกันระหวางลักษณะของตลาดยิ่งเจริญ และเจ เอเวนิว ดังนี้- ความสะดวกในการสัญจรทั้งการเขาถึงและการเดินเลือกซื้อสินคาควรมีความสะดวกในการเขาถึงทั้งทางรถโดยสารประจําทาง รถยนตสวนตัว รถไฟฟา และเรือ โดยการกําหนดและออกแบบใหมีเสนทางที่สามารถเชื่อมตอการเขาถึงดวยระบบตางๆนี้เขาดวยกัน ทั้งยังเปนการเพิ่มศักยภาพใหเปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่สําคัญของเมืองอีกดวย519


- ความเพียงพอและตรงตามความตองการของสินคาและบริการสินคาที่ขายไมไดเนนใหมีราคาถูกมากนัก และก็ไมไดเนนสินคาที่มียี่หอรับประกันคุณภาพซึ่งมักจะมีราคาสูง แตมีคุณภาพตามมาตรฐานของรัฐ เพื่อสรางความมั่นใจใหแกผูซื้อ- การมีกิจกรรมการพักผอนและพื้นที่สาธารณะเพื่อชุมชนควรมีการจัดเตรียมพื้นที่สาธารณะใหมีมากขึ้น เพื่อสนับสนุนใหเกิดการรวมกลุมทางสังคม ซึ่งเปนการสรางบทบาทการเปนศูนยกลางชุมชนใหแกตลาด โดยใชเปนที่ชุมนุมหรือประชุมกันในยานตลาด ตลอดจนใชทํากิจกรรมตางๆรวมกัน โดยเฉพาะกิจกรรมที่มีอยูเดิม คือ กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมในงานเทศกาลตางๆ กิจกรรมสงเสริมสุขภาพ และกิจกรรมการพักผอนทั่วไปที่ไมเปนทางการ นอกจากนี้ควรสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมสงเสริมการคาขายเพิ่มขึ้นมา เพื่อชวยเหลือพอคาแมคาที่อาศัยอยูในยานตลาดสวนลักษณะของพื้นที่สาธารณะควรมีทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ แตกตางกันตามพื้นที่และประเภทของกิจกรรมที่แตกตางกัน เพื่อใหสามารถตอบสนองตอความตองการของคนที่อยูอาศัยโดยรอบไดทั้ง 2กลุม คือ กลุมคนที่อาศัยอยูดั้งเดิม และกลุมคนที่จะยายเขามาใหม- บรรยากาศควรมีการตกแตงใหมีบรรยากาศที่ดี มีความสะดวกในการใชพื้นที่ สรางความเปนระเบียบเรียบรอยสะอาด และถูกสุขลักษณะเปนหลัก แตก็ไมไดละทิ้งการตกแตงเพื่อความสวยงาม หรือสรางความโดดเดน นาสนใจและมีเอกลักษณ ซึ่งเปนการสรางภาพลักษณใหเปนที่จดจํา นอกจากนี้ยังเนนบรรยากาศใหมีความใกลชิดธรรมชาติ เพราะเปนสิ่งที่หาไดยากในเขตเมืองยานตลาดพระโขนงที่ไดรับการฟนฟูใหสามารถตอบสนองตอความตองการของชุมชนหรือบริบทที่อยูอาศัยทั้งชุมชนที่อาศัยอยูดั้งเดิม และชุมชนที่จะยายเขามาใหมซึ่งก็คือชุมชนที่อาศัยอยูในคอนโดมิเนียมแลว จะมีบทบาทเปนศูนยกลางที่ดีของชุมชนโดยรอบภายในรัศมีบริการ และเปนทางเลือกหนึ่งในการจับจายซื้อขายสินคาพักผอน และพบปะสังสรรคของคนในยานใกลเคียง เพราะเมื่อพิจารณาตลาดอื่นๆบนถนนสุขุมวิท ตั้งแตซอยสุขุมวิท 55 (ทองหลอ) ถึงซอยสุขุมวิท 95 (บางจาก) พบวา ไมมีตลาดในลักษณะเดียวกับยานตลาดพระโขนง ที่ใหความสําคัญและสนับสนุนใหเกิดปฏิสัมพันธทางสังคม หรือมีบทบาทการเปนศูนยกลางชุมชนที่ดีควบคูไปกับการเปนศูนยกลางการคาที่ดี ตลอดจนนาจะเปนตัวอยางที่ดีในการฟนฟูยานตลาดหรือตลาดในแนวราบแหงอื่นๆได520


บรรณานุกรมหนังสือ1. สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. เลม 28, 2547.2. เกียรติ จิวะกุล และคณะ. ตลาดในกรุงเทพมหานคร : การขยายตัวและพัฒนาการ. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2525.4. สมรักษ ชัยสิงหกานานนท. ตลาดในชีวิต ชีวิตในตลาด. กรุงเทพมหานคร : ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร, 2549.6. สุวิมล ณ ตะกั่วทุง, กนกวรรณ ฤทธิ์ไพโรจน, จาตุรี ติงศภัทย. ตลาดบก: ยานชุมชนแหงนครสยาม.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพเมืองโบราณ, 2535.7. อรศิริ ปาณินท และสมคิด จีระทัศนกุล. เรือนคาขายพื้นถิ่นในชุมชนเมือง. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพเจ พริ้น, 2544.8. American Planning Association. Planning and urban design standards. Hoboken, N.J. : John Wiley &Sons, 2006.บทความในการสัมมนา1. Apiwat Ratanawaraha. Traditional Fresh Market in Transition : The Bangkok Case. The fifth Inter-University Seminar on Asian Megacities. Bangkok : Chulalongkorn University, 2000.บทความในอินเตอรเน็ต1. ตลาดยิ่งเจริญ. [online] http://www.talad-yingcharoen.com. 19 Oct 08.2. บทบาทของรถไฟฟากับอสังหาริมทรัพย. [online] http://www.teerachon.com/print.php?dr=86. 05 July 08.3. ศูนยการคา-ตลาด นัมเบอรวัน ราม2. [online] http://www.numberonegroup.com. 04 Nov 08.4. Bon marche market park. [online] http://www.bonmarche.co.th. 16 Nov 08.5. J. Avenue. [online] http://www.siamfuture.com/OurProperties/JAvenue/default.asp. 19 Oct 08.6. From Instinct to Social Hub. [online] http://www.brandage.com/issue/cs_detail.asp?id=2072. 05 July08.7. Social hub. [online] http://www.brandage.com/issue/cs_detail.asp?id=2066. 05 July 08.521


การพัฒนาพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในศูนยกลางคมนาคมแหงใหม: กรณีศึกษาพื้นที่ศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสันDEVELOPMENT OF URBAN TRANSIT INTERCHANGE AREA IN NEW TRANSPORTATION CENTER: A CASE STUDY OF MAKKASAN MASS TRANSIT INTERCHANGE CENTERนายชณัฐ กาญจนะหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอ1. บทนําพื้นที่ยานโรงงานมักกะสันเปนที่ดินของการรถไฟแหงประเทศไทย ใชพื้นที่สําหรับการเปนโรงซอมบํารุงรถไฟ โกดังเก็บอะไหลรถไฟและบานพักพนักงานรถไฟ เปนตน พื้นที่ยานโรงงานมักกะสันมีขนาดพื้นที่ประมาณ745 ไร พื้นที่มีขอบเขตติดตอกับพื้นที่ตางๆ คือ ทิศเหนือติดกับทางดวนจตุรทิศ ทิศตะวันออกติดกับถนนรัชดาภิเษก ทิศตะวันตกติดกับถนนราชปรารภและทิศใตติดกับถนนเพชรบุรี ซึ่งพื้นที่ยานโรงงานมักกะสันทางการรถไฟมีโครงการที่จะยายโรงงานออกจากพื้นที่ และไปตั้งอยูนอกเขตกรุงเทพมหานครอยูแลวจึงเปนโอกาสที่จะพัฒนาพื้นที่มักกะสัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใชประโยชนที่ดินใหเกิดความคุมคาทางเศรษฐกิจและเนื่องจากเปนพื้นที่ที่อยูใกลใจกลางเมืองที่มีระบบคมนาคมตางๆ เชน รถไฟระหวางประเทศ รถระหวางเมืองรถไฟชานเมือง รถไฟฟาขนสงมวลชน รถประจําทางในเมือง และโครงขายระบบถนนที่สามารถเขาถึงไดหลากหลายเสนทาง จึงเนนที่การวางผังการใชประโยชนที่ดิน และวางผังระบบคมนาคมขนสงใหสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่และเอื้อประโยชนตอสวนรวมกอใหเกิดการพัฒนาที่ตอเนื่องในพื้นที่อื่นๆจากนโยบายการพัฒนาตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร และนโยบายการพัฒนาพื้นที่เฉพาะแหงตามผังเมืองรวมฉบับใหมกําหนดมาตรการควบคุมการใชประโยชนที่ดิน และขอกําหนดการออกแบบสถาปตยกรรมและ ภูมิสถาปตยกรรมเพื่อใหเกิดความตอเนื่องสวยงามทางดานกายภาพของเมือง การพัฒนาพื้นที่ยานมักกะสันเปนโครงการที่สงผลกระทบอยางยิ่งตอการพัฒนาพื้นที่เมืองชั้นใน เปนศูนยกลางทางดานธุรกิจระดับนานาชาติ ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่บริเวณโดยรอบมีความเปนศูนยกลางเมืองทางดานธุรกิจเดิมอยูแลว ทั้งศูนยการคา โรงแรม สํานักงาน ฯลฯ ดังนั้น การพัฒนาโครงการยานมักกะสันจะสงผลใหพื้นที่โดยรอบเกิดความตอเนื่องกันของพื้นที่สําคัญทางธุรกิจซึ่งจะทําใหเกิดการสงเสริมซึ่งกันและกัน การใชประโยชนที่ดินตามผังเมืองรวมไดกําหนดแนวทางการพัฒนาเมืองภายในเขตถนนวงแหวนรัชดาภิเษกในบริเวณที่มีความสัมพันธกับการกอสรางระบบขนสงมวลชนและศูนยคมนาคมการพัฒนาในเขตถนนวงแหวนรัชดาภิเษกนี้ โดยเฉพาะบริเวณที่ไดมีการใหบริการโดยระบบขนสงมวลชนซึ่งไดแก ระบบรถไฟฟายกระดับและระบบรถไฟฟาใตดินจะเปนบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงสุด และจะเปนบริเวณที่มีความตอเนื่องกับยาน พาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองในปจจุบัน ซึ่งเปนตัวเชื่อมโยงดวยระบบขนสงมวลชนกับสนามบินสุวรรณภูมิผังเมืองรวม (ฉบับใหม) ไดกําหนดการใชที่ดินในบริเวณยานมักกะสันใหเปนพื้นที่พาณิชยกรรม (พ.4 ,พ5 ) ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อพาณิช-ยกรรม มีอัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดินไมเกิน 10:1 และ 8:1 ซึ่งเปนบริเวณที่สงเสริมใหเปนศูนยกลางพาณิชยกรรมของกรุงเทพมหานคร522


การพัฒนาพื้นที่ศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสัน ซึ่งเปนโครงการการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ (Mega-Project) อยางโครงการรถไฟฟาเชื่อมตอสนามบิน (Airport Link) เชื่อมตอจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิมายังสถานีมักกะสัน ซึ่งรูปแบบของสถานีมักกะสันเปนสถานีที่มีรูปแบบการจองบัตรโดยสารที่เดินทางจากสถานีไดเลยโดยไมตองจองบัตรโดยสารที่สนามบิน ซึ่งโครงการนี้เปนสวนหนึ่งภายในโครงการ การพัฒนาโครงการยานมักกะสัน หรือที่เรียกกันวา “โครงการมักกะสันคอมเพล็กซ” ซึ่งรูปแบบของระบบขนสงสาธารณะทางรางนี้ของ โครงการรถไฟฟาเชื่อมตอสนามบิน (Airport Link) มีรูปแบบเฉพาะที่เรียกวา“ระบบการเดินทางที่หลากหลาย” (Intermodal Transportation) ซึ่งเปนรูปแบบที่จะตองมี ระบบขนสงสาธาณะขนาดใหญหลายระบบมารวมกันอยูในบริเวณเดียวกัน และยังตองมีเสนทางที่เชื่อมตอกับสนามบินโดยตรงมายังสถานีมักกะสันที่เปนสถานีที่มีระบบการจองบัตรโดยสารและยังจะตองเปนสถานีที่มีขนาดพื้นที่ที่สามารถรองรับผูคนไดในปริมาณมาก รวมทั้งสภาพกายภาพของบริเวณโดยรอบจะตองสรางการรับรูไดถึงการมาถึง เปนประตู(Gateway) สูกรุงเทพได ลักษณะเฉพาะแบบนี้เองที่ทําใหสถานีมักกะสันมีความพิเศษมากกวาสถานีอื่นๆในเสนทางเดียวกันสภาพปจจุบันของพื้นที่บริเวณโดยรอบศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสัน มีรูปแบบกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินและอาคารที่มีสภาพเสื่อมโทรม มีที่วางที่ไมไดใชงาน ประกอบกับโครงสรางพื้นฐานการสัญจรไมมีประสิทธิภาพที่จะรองรับระบบขนสงมวลชนรูปแบบใหมและโครงการพัฒนาพื้นที่ขนาดใหญไดเพียงพอกับความตองการการใชพื้นที่โดยรอบสถานี ซึ่งจํานวนผูโดยสารที่เขามาใชงานบริเวณโดยรอบพื้นที่ในชวงเวลาเรงดวนเชา และชวงเวลาเรงดวนเย็น มีปริมาณที่มากที่มีการสัญจรพื้นที่ทางเทา ประกอบกับปริมาณของยานพาหนะที่เขามาในชวงเวลาเดียวกันทําใหพื้นที่โดยรอบเกิดความหนาแนน เนื่องจากไมมีทางเลือกในการสัญจรจึงจําเปนตองสัญจรผานไปมาในเสนทางหลักเทานั้น นอกจากนี้รานคาหาบเล รถเข็ญตางๆยังกีดขวางทางสัญจรของผูคนที่ผานไปมา เนื่องจากขาดพื้นที่สาธารณะในการคาขาย รวมไปถึงระยะของปายรถเมลและระบบขนสงสาธาระยอยตางๆ ยังอยูในตําแหนงที่ไกลจากสถานีระบบขนสงสาธารณะหลัก ทําใหผูที่ตองสัญจรผานไปมาตองเดินทางเปนระยะทางที่ไกลและจําเปนจะตองพึ่งพาระบบขนสงยอย เชน มอเตอรไซดรับจาง เปนตน และการใชประโยชนที่ดินของพื้นที่ปจจุบันยังเปนอุปสรรคตอการใชงานเนื่องจากเปนที่ดินที่มีแปลงที่ดินขนาดเล็กๆหลายแปลง ทําใหลักษณะของพื้นที่สาธารณะดานหนาอาคารหรือบริเวณโดยรอบอาคารมีพื้นที่นอย ประกอบกับพื้นที่การใชประโยชนที่ดินบางแหงยังเปนสวนของเอกชนที่มีพื้นที่วาง แตไมสามารถเขาไปใชงานได รวมถึงพื้นที่วางที่ปลอยทิ้งไวไมไดใชงานและเปนพื้นที่เสี่ยงอันตรายไมปลอดภัยและพื้นที่ดังกลาวยังมีระบบถนนที่ใหบริการภายในที่มีขนาดคับแคบเปนซอยตันอยูจํานวนมากทําใหยานพาหนะจะตองพึ่งพาระบบถนนหลักเปนสวนมาก ซึ่งความตองการพื้นที่สาธารณะมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับผูคนและยวดยานพาหนะที่เขามาใชบริการพื้นที่โดยรอบสถานีดังนั้นจึงทําใหนําไปสูวัตถุประสงคหลักของการศึกษาวารูปแบบกิจกรรมของพื้นที่และระบบโครงสรางพื้นฐานการสัญจร รูปแบบใดที่จะสามารถใชงานบริเวณโดยรอบจุดเชื่อมตอศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสันไดอยางมีประสิทธิภาพและชวยใหพื้นที่เกิดจินตภาพที่ดีของความเปนเมืองนาอยูในฐานะเปนประตูสูกรุงเทพมหานครได523


2. แนวคิดการพัฒนาพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในพื้นที่ศูนยกลางคมนาคมแหงใหมพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสันเปนพื้นที่ที่มีเสนทางพาดผานเขามาหลากหลายเสนทาง รวมถึงยังมีระบบการขนสงสาธารณะที่หลากหลายรูปแบบและยังอยูในพื้นที่ที่มีกิจกรรมทางธุรกิจ การคา สถานศึกษา ที่อยูในพื้นที่เดียวกันจึงทําใหพื้นที่มีความหลากหลายทั้งเสนทางการเดินทาง ระบบขนสงสาธารณะและกิจกรรมตางๆ2.1 แนวคิดของรูปแบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal Transportation)Richards (1990) ไดกลาวถึงเมืองศูนยกลางใหมวาในเมืองศูนยกลางจะมีศูนยกลางระบบขนสงมวลชนที่จะมีการเปลี่ยนถายการสัญจรซึ่งพื้นที่ในบริเวณนี้จะเปนประตู (Gateway) ไปสูเมืองมันจะเปนสถานีผานมากกวาสถานีปลายทางดวยรถไฟความเร็วสูงที่เดินทางตอเนื่องไปยังเมืองตางๆมันจะถูกเชื่อมตอโดยตรงกับจุดเดินทางอื่นๆของพื้นที่ศูนยกลางดวย โดยระบบขนสงมวลชนระบบยอยภายในเมืองจะเปนตัวรองรับการเดินทางไปยังที่ตางๆของเมืองRodrigue, Stack และ Comtois (1999) กลาวถึงรูปแบบของการขนสงสาธารณะในพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในลักษณะรูปแบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal Transportation) วาเปนรูปแบบการสัญจรของคนและสิ่งของจากหนึ่งระบบการขนสงไปยังอีกหลายระบบการขนสงในพื้นที่เดียวกันในรูปแบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal Transportation) นี้ระบบการขนสงจะมีการสัญจรจากพื้นที่ภายนอกเมืองที่เปนตนทางของระบบขนสงสาธารณะผานพื้นที่ตางๆของเมืองกอนจะเขาสูประตู(Gateway) ทางผานของพื้นที่ใจกลางเมืองและไปยังพื้นที่อื่นๆของเมืองชั้นในตอไปซึ่งระบบการขนสงสาธารณะอื่นๆจะเปนตัวรองรับระบบการขนสงสาธารณะขนาดใหญที่เขามาสูพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในบริเวณพื้นที่เดียวกันรูปแบบการเดินทางที่หลากหลายประตูทางผานภาพที่ 2.1 แสดงลักษณะโครงสรางของรูปแบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal Transportation)524


2.2 แนวคิดการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีที่มีรูปแบบการเดินทางที่หลากหลายSano (2005) ไดแบงพื้นที่ออกเปนสวนตางๆโดยรอบรัศมีของสถานีในระยะตางๆที่สามารถเขาถึงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรไว 6 สวนดังตอไปนี้1) สวนของสถานีเปนสวนที่มีการใหบริการพื้นฐานภายในสถานีของผูโดยสารที่เขามาใชงาน checkin และตรวจสอบกระเปาเดินทางหรือรอรับ พักคอยภายในสถานีซึ่งภายในสถานีที่จะมีการใหบริการซื้อตั๋วเดินทางหองน้ํา รานอาหาร รานคาตางๆ2) สวนของพื้นที่โดยรอบสถานีที่จะถูกจัดเตรียมใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกของระบบการขนสงระบบยอยรองรับการใชงานในการเดินทาง พื้นที่จอดรถและพื้นที่วางสาธารณะตางๆที่จะรองรับปริมาณของผูคนที่เดินทางผานเขาและออกโดยรอบพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจร3) สวนของพื้นที่โดยรอบสถานีที่สามารถเดินทางเขามาดวยเทาในระยะ 100-200 เมตรซึ่งในพื้นที่บริเวณนี้จะมีระบบการขนสงสาธารณะอื่นๆที่ใหบริการ4) สวนของพื้นที่โดยรอบสถานีที่สามารถเดินทางเขามาดวยเทาในระยะ 400-500 เมตร5) สวนของพื้นที่โดยรอบสถานีที่มีระยะเกิน 500 เมตรขึ้นไปซึ่งจะเดินทางเขาและออกดวยยานพาหนะขนาดเล็กเชน มอเตอรไซดและจักรยาน6) สวนของพื้นที่โดยรอบสถานีที่มีระยะไกลที่จะตองใชระบบการขนสงสาธารณะระบบยอยหรือการเดินทางดวยรถยนตสวนบุคคลภาพที่ 2.2 แสดงการแบงระยะและหนาที่การใชงานของพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรโดยรอบสถานี525


Sano (2005) ไดแบงหนาที่การใชงานพื้นที่โดยรอบสถานี โดยแบงการใชประโยชนที่ดินใหสามารถใชงานไดเหมาะสมกับรูปแบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal Transportation) มีเกณฑในการกําหนดแตละพื้นที่ในบริเวณจุดเปลี่ยนถายการสัญจรไวดังนี้1) การใชประโยชนของพื้นที่บริเวณโดยรอบจุดเปลี่ยนถายการสัญจรหรือสถานีโดยแบงสิ่งที่จะตองจัดเตรียมไวสําหรับผูคนหรือยานพาหนะที่จะเขามาใชงานภายในพื้นที่มีดังตอไปนี้1.1) ประสิทธิภาพของการจัดการระบบจราจรซึ่งสถานีจะเปนตัวดึงดูดใหระบบขนสงยอยและรถยนตสวนบุคคลใหเขามาภายในพื้นที่ในชวงเวลาเดียวกันในชวงเรงดวนทําใหเกิดปญหาจราจรติดขัดซึ่งระบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal) จะหลีกเลี่ยงปญหาจราจรโดยใหความสําคญกับการแยกระบบขนสงและรถยนตสวนบุคคลออกจากกันใหสามารถสัญจรไดอยางอิสระตอเนื่องโดยการจัดการระบบขนสงสาธารณะตางๆสามารถทําไดโดย- ระบบขนสงยอยจําพวกรถแท็กซี่ รถยนตและระบบขนสงขนาดใหญจําพวกรถบัสหรือมินิบัสควรจะตองถูกแยกออกจากกันตามชวงเวลาตางๆตามพฤติกรรมการใชงานของผูโดยสารและความตองการการสัญจร- ระบบ Intermodal ควรจะตองมีเสนทางการเขาถึงที่ดีและเพียงพอของรถยนตสวนบุคคลขนาดเล็กที่มีการควบคุมระบบการจราจรหรือแยกพื้นที่สําหรับรถยนตสวนบุคคลที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆออกจากระบบขนสงอื่นๆ- ความปลอกภัยและประสิทธิภาพของคนเดินเทาภายในระบบการเดินทางที่หลากหลาย(Intermodal) จะตองตัดเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆที่ผูใชงานจะมีการติดตอสัมพันธไวโดยใหเพียงพอกับปริมาณของผูสัญจรไปมา- จะตองทําใหพื้นที่มีความเขาใจไดงายโดยการไมใหมีสิ่งที่เปนอุปสรรคทางสายตาของการเดินทางและจะตองมีปายบอกทาง บอกสถานที่ ที่ผูคนจะตองเดินทางเขาและออกภายในบริเวณพื้นที่- จะตองจัดเตรียมที่วางสําหรับการจัดการระบบการขนสงตางๆที่มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนพื้นที่วางที่ไดจัดเตรียมสามารถรองรับในกรณีฉุกเฉินหรือเหตุการณตางๆได1.2) การจัดเตรียมระบบขนสงสาธารณะที่สามารถรองรับหรือใหบริการผูคนที่เดินทางมาจากรถไฟฟาในราคาที่ถูกและเปนมิตรตอผูคนและสภาพแวดลอมซึ่งพื้นที่โดยรอบสถานีจะเปนตัวชวยใหสิ่งอํานวความสะดวกตางๆเหลานี้กับระบบขนสงสาธารณะที่จะเขามาใหบริการกับผูเดินทาง- สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับรถยนตสวนบุคคลที่เพียงพอสําหรับการเขามาจอดเทียบทาในถานีหรือการแยกสวนเทียบทาออกจากสถานีออกไป- สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆที่สามารถเอื้อตอระบบขนสงสาธารณะสวนบุคคลไดแก Shuttle Busสําหรับพนักงานหรือนักทองเที่ยว- ระบบการเดินทางที่เปนมิตรตอสภาพแวดลอมและผูคนรวมถึงใหการสนับสนุนใหมีการใชจักรยานและการเดินเทาและมีการจัดเตรียมพื้นที่สําหรับจอดรถจักรยาน526


1.3 ) ระดับการใหบริการของพื้นที่โดยรอบจุดเปลี่ยนถายหรือสถานีรถไฟควรจะมีระดับของการใหบริการพื้นที่วางที่เพียงพอกับความตองการการใชงานซึ่งเปนสิ่งจําเปนสําหรับระบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal) ซึ่งระบบการสัญจรควรจะมีการวางแผนใหมีประสิทธิภาพและมีทางเลือกของการใหบริการของสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆภายในพื้นที่ไดหลากหลายและเปนพื้นที่ที่มีที่วางสาธารณะที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบไดหลายชวงเวลาหลายกิจกรรมและสามารถใชงานรวมกับพื้นที่อื่นๆในบริเวณใกลเคียงกันไดซึ่งสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่มีความสําคัญมากของระบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal)1.4 ) โครงขายของการเดินเทาที่มีประสิทธิภาพซึ่งของระบบการเดินทางที่หลากหลาย(Intermodal) ถือเปนหัวใจสําคัญของระบบนี้ที่จะทําใหพื้นที่มีการสัญจรผานไดอยางราบรื่นจากผูเดินทางมาจากระบบการขนสงสาธาณะตางๆไมวาจะเปนรถไฟฟาหรือระบบขนสงยอยตางๆภายในพื้นที่จุดเปลี่ยนถายหรือแมกระทั่งรถยนตสวนบุคคล โครงขายของการเดินเทามีขอควรพิ-จรณาสําหรับความตองการในการวางแผนระบบโครงขายการเดินเทาไวดังตอไปนี้- เสนทางที่สั้นที่สุดในแตละระบบของจุดใหบริการการขนสงตางๆภายในบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายที่สามารถเดินทางไดดีมีระดับของเสนทางหลัก รอง ยอยของการสัญจรดวยเทา- มีการจัดเตรียมสําหรับคนพิการที่ใชรถเข็นในการเดินทางและการเขาถึงจากถนนไปยังสวนตางๆของพื้นที่ในพื้นที่จุดเปลี่ยนถาย แมกระทั่งลิฟทโดยสารสําหรับคนพิการและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆภายในพื้นที่จุดเปลี่ยนถายของระบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal)- มีการสงเสริมการเดินเทาภายในพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรและสรางระบบโครงขายการสัญจรดวยเทาที่เปนระบบและสามารถเชื่อมตอไปยังสวนตางๆภายในพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรได2) การใชประโยชนของพื้นที่สาธารณะในรูปแบบการเดินทางที่หลากหลาย (Intermodal-Transportation) สําหรับคนเดินเทาหรือผูโดยสารที่สัญจรผานไปมาภายในบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรซึ่งมีรายละเอียดสําหรับการใชงานดังตอไปนี้2.1) พื้นที่สาธารณะและการใหบริการตางๆในพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรพื้นที่เหลานี้มีความสําคัญที่จะเปนตัวแทนของพื้นที่เมืองสวนแรกที่ผูเดินทางผานเขามาสูประตู Gateways ซึ่งจะตองมีการจัดเตรียมสภาพแวดลอมที่เหมาะสมบอกความเปนสถานที่ของเมืองนั้นๆไดโดยองคประกอบตางๆที่จะตองจัดเตรียมใหกับพื้นที่มีดังตอไปนี้- จะตองมีมานั่งสําหรับนั่งคอยและที่พักชั่วคราวที่สามารถกันแดดและฝนได- มีที่วางที่พอดีตอผูคนที่จะสามารถสรางความเปนสวนตัวไดในระดับหนึ่งและในขณะเดียวกันก็สามารถมองเห็นพื้นที่สวนอื่นๆได527


- มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมโดยมีรมไม ดอกไมประดับตกแตงอยูในบริเวณพื้นที่และแสงประดิษฐสําหรับยามค่ําคืน- สิ่งอํานวยความสะดวกในการใหขอมูลการเดินทางไมวาจะเปนปายบอกทางแบบติดตั้งพื้นหรือติดผนังหรือสถานีตํารวจทองเที่ยวที่ใหขอมูลการเดินทาง- การคาปลีกตางๆอันไดแก รานอาหาร รานสะดวกซื้อ มินิมารทและรานคาเล็กๆตางๆ ทั้งที่สามารถเคลื่อนยายไดหรือแบบชั่วคราว- สิ่งอํานวยสาธารณะตางๆเชน หองน้ํา ที่ทําการไปรษณีย อื่นๆ2.2) พื้นที่วางตางๆในบริเวณจุดเปลี่ยนถายที่เอื้อตอระบบชุมชนในบริเวณใกลเคียงและเปนตัวแทนของพื้นที่เมืองที่สามารถเปนพื้นที่หมายตาหรือพื้นที่วางที่รวมกิจกรรมตางๆที่มีความหลากหลายและสามารถปรับเปลี่ยนหรือใชประโยชนพื้นที่ไดหลายชวงเวลา- เปนพื้นที่วางที่อยูในตําแหนงที่สามารถพัฒนาใหเปนพื้นที่ที่มีภูมิทัศนอันสวยงามสรางความประทับใจและสามารถสรางเอกลักษณภายในพื้นที่ของเมืองได สรางความเปนสถานที่ของการมาถึงของผูเดินทางที่เดินทางเขาสู Gateways ของเมืองได โดยมีความเฉพาะของกิจกรรมของพื้นที่ในเชิงวัฒนธรรม สังคมและเศรษฐกิจและมีจุดศูนยรวมที่สําคัญที่เปนตัวแทนของพื้นที่ยานของชุมชนได- สรางพื้นที่วางที่สามารถหมุนเวียนกิจกรรมตางๆไดรวมถึงเปดโอกาสใหพื้นที่มีการใชงานในหลากหลายเปนที่วางที่เปนประโยชนตอกิจกรรมตางๆหรือเทศกาลสําคัญของเมืองและเปนที่วางที่ชวยในการรองรับผูคนในเหตุการหนีภัยที่จะเกิดขึ้นภายในเมืองที่มีความหนาแนนสูงอยางเชนไฟไหม น้ําทวมภาพที่ 2.3 แสดงการใชงานพื้นที่ในสวนตางๆโดยรอบพื้นที่เปลี่ยนถายการ528


2.3 กรณีศึกษาโครงการพัฒนาพื้นที่ศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมสถานีกัวลาลัมเปอรหรือเปนที่รูจักกันวาสถานีเดินทางรถไฟสวนสนามบินภายในเมืองของสถานีกัวลาลัมเปอร KualaLumpur City Air Terminal (KL CAT) ซึ่งเปนสถานีรถไฟฟาที่มีขนาดใหญที่สุดของมาเลเซียซึ่งเปนลักษณะสถานีที่มีการเช็คอินตั๋วโดยสารเดินทางลวงหนากอนไปยังสนามบินนานาชาติมาเลเซีย โดยไมตองไปซื้อตั๋วโดยสารที่สนามบินเพื่อชวยเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทางแ ละไมทําใหเกิดความแออัดภายในบริเวณสนามบินแรกเริ่มกัวลาลัมเปอร (KL CAT) เปนสถานีรถไฟระบบรางที่ใชน้ํามันดีเซลที่อยูในเมืองเกากอนที่มาเลเซียจะยายเมืองไปอยูในสถานที่ใหมซึ่งปจจุบันกลายเปนเมืองศูนยกลางใหมของมาเลเซียที่มีตึกเปรโตนาส (PETRONAS) เปนสัญลักษณของประเทศ แตอยางไรก็ตามพื้นที่ที่เปนสถานีรถไฟเกาก็ไดถูกทางรัฐบาลพัฒนาใหเปนศูนยกลางของพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรขนาดใหญระดับนานาชาติ (IntermodalTransportation Hub) โดยอยูภายใตการพัฒนาตามแนวความคิดของ Transit-Oriented Development(TOD) ซึ่งพื้นที่โดยรอบสถานีจะถูกแบงพื้นที่ตามความเหมาะสมตามหลักการจากพื้นที่รอบสถานีที่มีระบบการขนสงยอยคอยรองรับ ถัดไปก็เปนพื้นที่การคา ที่จอดรถ ตอดวยพื้นที่สีเขียวและพักอาศัยตามลําดับและเนนการเดินเทาและระบบขนสงยอยเปนหลักในการเดินทางตอไปยังพื้นที่อื่นๆแผนที่ 2.1 แสดงโครงขายเสนทางรถไฟภายในมาเลเซีย (ที่มา: www.wikipidia.com)529


พื้นที่ภายในของสถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร (KL CAT) ไดถูกพัฒนาใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ในการใชประโยชนที่ดินใหคุมคากับเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบไปดวย โรงแรม อาคารสํานักงาน ศูนยการคาขนาดใหญและที่พักอาศัยประเภทคอนโดสูงและตัวสถานีถูกออกแบบใหมีความสวยงามและเปนสัญลักษณใหกับพื้นที่ของผูที่จะเดินทางเขามาถึง ภายในตัวสถานียังมีสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆอีก เชน รานคารานอาหาร เคาทเตอรเช็คอินตั๋วไปยังสนามบินและที่จําหนายตั๋วเดินทางรถไฟไปยังสถานีอื่นๆ รวมถึงที่พักคอยระหวางเดินทาง หองน้ําพื้นที่โดยรอบสถานีและโครงการพัฒนาศูนยกลางธุรกิจใหมประกอบไปดวยที่จอดรถขนาดใหญและเสนทางการสัญจรที่มีขนาดกวางพอสําหรับการเดินทางและมีการเชื่อมตอเสนทางกับทางยกระดับ เพื่อความรวดเร็วในการเดินทาง รวมถึงพื้นที่สาธาณะที่เชื่อมตอจากลานกวางภายในพื้นที่โครงการกับพื้นที่รอบๆ ซึ่งเปนพื้นที่สาธารณะที่จะรองรับผูคนที่จะตองอาศัยการเดินทางดวยเทาในบริเวณโดยรอบพื้นที่เปนหลัก นอกจากนี้ยังมีสวนสาธารณะขนาดใหญอยูติดกับพื้นที่โครงการภาพที่ 2.4 แสดงผังโครงการKL CATและทัศนียภาพโครงการ (ที่มา: www.klsentral.com.my/)530


3. ลักษณะและสภาพของพื้นที่ศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสัน3.1 สภาพทั่วไปและปญหาของการใชประโยชนที่ดินและอาคาร1. พื้นที่ดานใตของทางดวนจตุรทิศถึงถนนกําแพงเพชร 7 เปนพื้นที่บริเวณการทางพิเศษแลชุมชนริมทางรถไฟโคงอโศกพื้นที่ในบริเวณนี้เปนพื้นที่ที่เปนที่โลงวางของการทางพิเศษ ปจจุบันไดใชเปนที่เก็บเครื่องมือและวัสดุ อุปกรณกอสรางของบริษัทที่ไดรับสัมปทานในการกอสรางโครงการรถไฟฟาเชื่อมตอสนามบิน (Airport Link) สวนพื้นที่ชุมชนเปนชุมชนแอดอัดที่อยูริมทางรถไฟและติดกับอาคารพาณิชยพักอาศัยที่อยูริมถนนรัชดาภิเษกปญหาของพื้นที่ในบริเวณนี้เปนชุมชนแออัดที่มีสถาพเสื่อมโทรมรวมทั้งอาคารตางๆมีสภาพไมสวยงามขาดการบํารุงรักษาประกอบกับมลภาวะทางเสียงของรถไฟที่วิ่งอยูริมทาง รวมทั้งพื้นที่วางของการทางพิเศษที่ไมไดใชประโยชนที่มีเนื้อที่ขนาดใหญ ทําใหภาพรวมของพื้นที่ในบริเวณนี้เปนพื้นที่เสี่ยงภัยอันตรายในยามค่ําคืนและไมกอใหเกิดความคุมคาทางเศรษฐกิจภาพที่ 3.1 ภาพพื้นที่บริเวณสวนที่ 12. พื้นที่ถัดลงมาชวงสถานีรถไฟฟาใตดินสวนพื้นที่จอดรถถึงริมถนนเพชรอุทัยพื้นที่บริเวณนี้เปนโชวรูมรถยนต และศูนยซอม นอกจากนี้ยังมีสถานบันเทิง โรงแรม และรานอาหาร รานขายอุปกรณ วัสดุกอสราง อีกทั้งอาคารพาณิชยที่ขายของและซอมรถมอเตอรไซด531


ภาพที่ 3.2 ภาพพื้นที่บริเวณสวนที่ 2ปญหาของพื้นที่ในบริเวณนี้เปนพื้นที่มีกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินและอาคารบางประเภทที่ขาดความเหมาะสมกับความเปนพื้นที่พานิชยกรรมใจกลางเมือง เชน โชวรูม อูซอมรถยนต มอเตอรไซด เปนตน ประกอบกับขนาดแปลงที่ดินระหวางอาคารทั้งที่อยูดานหนาอาคารและดานหลัง ทําใหขาดพื้นที่สําหรับการใหบริการรถยนตที่เขามาใชบริการไดอยางเพียงพอทําใหเกิดความแออัดและลนออกมาภายนอกพื้นที่ นอกจากนี้ยังมีรานขายวัสดุกอสรางที่อยูใกลกับทางขึ้นลงสะพานขามแยกและพื้นที่วางที่ใหบริการรถขนวัสดุมีอยูอยางจํากัด ในบางเวลาที่จะตองใชงานทําใหเกิดปญหาการจราจรติดขัดภายนอกพื้นที่ และกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินเหลานี้ยังสรางมลภาวะแวดลอมใหกับพื้นที่3. พื้นที่ชวงสถานฑูตญี่ปุนเดิมถึงริมถนนเพชรอุทัยดานใตพื้นที่บริเวณนี้มีอาคารสํานักงานขนาดใหญคืออาคารไทยสัมมิตร (Thai summit) และอาคารที่พักอาศัยประเภทอาคารคอนโดสูงที่กําลังกอสรางอาคารบานพักอาศัยประเภทบานไม 1 ถึง 2 ชั้นอยูในซอยริมคลองแสนแสบเกาะตัวกันอยูริมน้ํา และยังมีอาคารพาณิชย 4 ชั้นอยูริมถนนเพชรบุรีดัดแปลงทําเปนโชวรูมรถมือสอง รวมถึงอาคารพาณิชยที่ประกอบกิจกรรมการคาขายภาพที่ 3.3 ภาพพื้นที่บริเวณสวนที่ 3ปญหาบริเวณพื้นที่สวนใหญกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินประเภทพื้นที่วางที่ไมไดใชงานในพื้นที่ของสถานฑูตและพื้นที่ของชุมสายโทรศัพท รวมทั้งอาคารพาณิชยมีสถาพเสื่อมโทรมและยังมีบานพักอาศัยประเภทบานไมอยูริมคลองแสนแสบที่มีความแออัด อาคารบางประเภทไมไดถูกใชงานใหเกิดประโยชน532


ปลอยทิ้งรางไวหรือถูกปลอยทิ้งไวเพื่อการเกร็งกําไรของนักลงทุน เพื่อหวังผลจากการขายที่ดินไดในราคาที่สูง4. พื้นที่ชวงดานใตโครงการรถไฟฟาเชื่อมตอสนามบิน (Airport Link) เริ่มตั้งแตสถานีรถไฟฟาใตดินถึงสุดแนวเขตที่ดินของการรถไฟแหงประเทศไทย พื้นที่บริเวณนี้สวนใหญเปนอาคารพาณิชยพักอาศัยและการคา สถานบันเทิง อาบอบนวด เปนตน เปนกลุมอาคารขนาดเล็กวางตัวเรียงกันอยูริมถนนเพชรบุรีบางชวง และอยูภายในซอยตางๆ และยังมีโรงเรียนดอนบอสโกที่เปนโรงเรียนชางที่มีเนื้อที่ขนาดใหญ รวมทั้งยังมีศาสนสถานที่เปนคริสจักรพระเยซูที่มีเนื้อที่วางขนาดใหญเชนเดียวกันอยูในบริเวณใกลเคียง ในบริเวณพื้นที่ยังมีกลุมอาคารขนาดใหญที่ใหบริการที่พักเปนอาคารประเภทโรงแรม และสถานบันเทิงขนาดใหญที่ใหบริการตลอดทั้งวันภาพที่ 3.4 ภาพพื้นที่บริเวณสวนที่ 4ปญหาของการใชประโยชนที่ดินและอาคารในพื้นที่บริเวณนี้สวนใหญเปนอาคารที่มีสภาพเสื่อมโทรมไมไดใชงานรวมถึงพื้นที่วางหลายๆสวนในบริเวณพื้นที่ที่ถูกปลอยทิ้งรางไว เนื่องจากเปนเพราะสาเหตุของการหวังผลกําไรจากการขายที่ดินหลังโครงการรถไฟฟาเชื่อมตอสนามบิน (Airport Link) ดําเนินการแลวเสร็จ นอกจากนี้ยังมีโรงงานอุตสาหกรรมประเภทรถยนตที่มีการปลอยของเสียสูรางระบายน้ําสงกลิ่นเหม็นไปทั่วพื้นที่ดานหลังโรงงานและที่สําคัญอยูใกลกับบริเวณโรงเรียนดอนบอสโก กิจกรรมการใชประโยชนที่ดินไมเหมาะสม มีสถานบันเทิง โรงงานอุตสาหกรรมอยูใกลกับบริเวณโรงเรียน ซึ่งอาจสงผลทางดานสังคมและสิ่งแวดลอมดวย5. พื้นที่ถัดลงมาชวงสถานีรถไฟฟาใตดินดานใตริมถนนรัชดาภิเษกถึงสุดแนวเขตที่ดินของการรถไฟแหงประเทศไทย สภาพทั่วไปของพื้นที่เปนอาคารสํานักงานและโรงเรียนที่มีพื้นที่ขนาดใหญรวมถึงที่วางภายในพื้นที่ดวย ซึ่งอาคารสํานักงานเปนอาคารสํานักงานของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย และมีโรงเรียนเซ็นดอมินิคอยูในบริเวณพื้นที่ใกลเคียง นอกจากนี้ยังมีอาคารพาณิชยการคา โชวรูม อูซอมรถยนตขนาดใหญ และตลาดขายอาหาร เสื้อผาขนาดเล็กสําหรับบริการใหกับพนักงานที่อยูในบริเวณพื้นที่ใกลเคียง533


ภาพที่ 3.5 ภาพพื้นที่บริเวณสวนที่ 5ปญหาของพื้นที่มีการใชประโยชนที่ดินที่ไมเหมาะสมกับศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่ เนื่องจากอาคารพาณิชยที่มีสภาพเสื่อมโทรมไมมีที่วางสาธาณะที่เพียงพอสําหรับผูคนหรือยานพาหนะที่จะเขามาใชบริการและกิจกรรมไมเหมาะสมอยางเชน อูซอมรถยนตที่เปนมลพิษตอสิ่งแวดลอมและสถานศึกษาใกลเคียงซึ ่งไมเหมาะสมในการใชพื้นที่พานิชยกรรมใจกลางเมือง รวมถึงที่วางดานหลังอาคารริมคลองแสนแสบที่ไมไดใชงานใหเกิดประโยชนตอเนื่องของอาคารตางๆในบริเวณพื้นที่ พื้นที่โรงเรียนขาดพื้นที่วางสําหรับจอดรถใหเพียงพอกับความตองการ3.2 สภาพทั่วไปและปญหาของการใชระบบโครงสรางพื้นฐานการสัญจรในพื้นที่โดยรวมโครงสรางพื้นฐานการสัญจรบริเวณโดยรอบศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสันประกอบไปดวยถนนสายหลักที่ผานเขามาในพื้นที่อยูสองเสนทาง เสนทางแรกเปนถนนที่วิ่งมาจากทางทิศเหนือมาจากเขตหวยขวางถนนรัชดาภิเษกวิ่งเขาสูยานอโศกที่เปนแหลงธุรกิจสําคัญ เสนทางที่สองจากทิศตะวันตกยานประตูน้ํายานการคาสงขนาดใหญวิ่งมาตัดกับถนนรัชดาภิเษกที่แยกอโศกเพชร ถนนเพชรบุรีตัดใหมนอกจากนี้ยังมีทางยกระดับจตุรทิศวิ่งขนานกับถนนเพชรบุรีตัดใหมทางทิศเหนือ ระหวางทางยกระดับจตุรทิศและถนนเพชรบุรีมีถนนสายรองที่วิ่งขนานทางรถไฟ ถนนกําแพงเพชร 7 ที่วิ่งมาจากศรีนครินทรมาบรรจบกันที่ถนนราชปรารภ จะเห็นไดวาเสนทางตางที่พาดผานเขามาในพื้นที่เปนถนนสายสําคัญที่จะใหบริการยวดยานพาหนะที่วิ่งมาจากพื้นที่สําคัญตางๆภายในเมือง และอีกเสนทางที่ยังมีความสําคัญอีกเสนทางหนึ่งคือเสนทางน้ํา คลองแสนแสบที่วิ่งมาจากพื้นที่โซนตะวันออกของกรุงเทพผานเขามาในพื้นที่และไปสุดเสนทางที่เกาะรัตนโกสินทรบริเวณทาภูเขาทองและเสนทางของระบบขนสงสาธารณะระบบรางที่มีความสําคัญไมแพกันอีกคือ เสนทางรถไฟฟาใตดินสายสีน้ําเงินที่วิ่งอยูใตถนนรัชดาภิเษกที่วิ่งใหบริการผูโดยสารในเมืองชั้นใน สวนระบบรางบนพื้นดินเปนรถไฟดีเซลที่วิ่งใหบริการทั้งในพื้นที่กรุงเทพ ปริมณฑลตางจังหวัดและยังไปถึงอินโดจีนจะเห็นไดวาระบบการขนสงสาธารณะในรูปแบบตางๆรวมไปถึงเสนทางที่ใหบริการผานเขามาภายในพื้นที่มีความหลากหลายอยูมาก และในอนาคตอันใกลโครงการรถไฟฟาเขื่อมตอสนามบิน (Airport Link) จะแลวเสร็จก็ยังจะชวยใหพื้นที่มีการเดินทางและเขาถึงที่สะดวกมากยิ่งขึ้น534


ถ.พญาไทถ.วิภาวดีรังสิตถ.รัชดาภิเษกถ.รัชดาภิเษกถ.พระรามเกาพื้นที่ศึกษาพื้นที่โครงการอาคารพื้นที่วางถ.นานาถ.นานาถ.อโศกมนตรีถ.สุขุมวิทแผนที่ 3.1 โครงขายถนนบริเวณพื้นที่ศึกษาและพื้นที่โครงการถ.เพชรบุรีตัดใหมปญหาของระบบโครงสรางพื้นฐานการสัญจรโดยรอบพื้นที่ศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสันที่เปนปญหาพื้นฐานนั้นคือ ปริมาณความหนาแนนของการจราจรที่เกิดการติดขัดในชวงวันธรรมดาในชวงชั่วโมงเรงดวนเชาและชั่วโมงเรงดวนเย็น รวมถึงชวงวันธรรมดาบางชวงเวลาที่ปริมาณความหนาแนนของจราจรที่เกิดการติดขัดตามแยกสําคัญในบริเวณพื้นที่เปนผลตอเนื่องไปทั้งเสนทาง ซึ่งปญหานี้เกิดจากลําดับศักยของถนนที่ใหบริการไมเปนไปตามมาตรฐานซึ่งพื้นที่มีขนาดชวงบล็อกถนนขนาดใหญหางกันมาก ขาดเสนทางที่เปนถนนสายรองในการเลือกเสนทางผานไปยังพื้นที่อื่นๆโดยไมตองอาศัยถนนสายหลักถนนสายหลักมีถนนซอยตันที่ไมสามารถเชื่อมตอไปยังถนนสายรองหรือถนนอื่นๆได ปจจุบันถนนสายหลักรับหนาที่ในการเดินทางของยานพาหนะทุกประเภททําใหเกิดความสามารถในการที่จะรองรับไดอยางเพียงพอ นอกจากระบบถนนที่ไมไดมาตรฐานแลวทางสัญจรดวยเทายังมีขนาดที่ไมเพียงพอกับความตองการในการเดินเทาอีกดวย รวมทั้งตําแหนงของปายรถประจําทางยังอยูในตําแหนงที่หางจากระบบขนสงมวลชนรถไฟฟาใตดินทําใหตองเดินทางเปนระยะทางที่ไกล และไมมีทางเลือกในการเลือกเสนทางในการเดินทางซึ่งเปนผลมาจากระบบถนนที่ไมมีลําดับศักยในการเขาถึงทําใหผูสัญจรตองใชเสนทางในการเดินเทาเพียงเสนทางเดียวกันทั้งหมด4. สรุปปญหาและศักยภาพของพื้นที่รวมถึงแนวทางของพื ้นที่ในอนาคตจากปญหาและศักยภาพโดยรวมทั้งหมดของพื้นที่บริเวณโดยรอบศูนยกลางระบบขนสงมวลชนรวมมักกะสันไมวาจะเปนเรื่องการใชประโยชนที่ดินและอาคารที่ไมมีความสอดคลองเหมาะสม ไมเกิดประโยชนและทําใหเกิดความคุมคาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งระบบโครงสรางพื้นฐานการสัญจรโดยรอบพื้นที่มีความหนาแนนของผูคนและยานพาหนะที่เขามาใชงานระบบพื้นฐานการสัญจรตางๆเปนจํานวนมากทําใหเกิดความไมเพียงพอเปนผลอันเนื่องมาจากขาดลําดับศักยในการเขาถึงของรูปแบบถนนโครงขายการสัญจรดังนั้นจากสภาพปจจุบันจะเปนตัวชี้ใหเห็นถึงปญหาตางๆที่จะเกิดขึ้นตามมาหากโครงการรถไฟฟาเชื่อมตอ535


สนามบิน (Airport Link) และโครงการมักกะสันคอมเพล็กซไดดําเนินการเสร็จสิ้นยิ่งจะมีผลกระทบทวีคูณโดยตรงกับระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการตางๆของพื้นที่อยางแนนอนหากพื้นที่ไมมีการพัฒนารูปแบบการใชประโยชนที่ดินใหเกิดความสอดคลองเหมาะสมกับระบบโครงสรางพื้นฐานการสัญจรในปจจุบันดังนั้นพื้นที่วางสาธารณะตางๆ รวมถึงพื้นที่ที่ไมมีความคุมคาทางเศรษฐกิจและพื้นที่ที่มีกิจกรรมไมเหมาะสมควรไดรับการพัฒนาเปลี่ยนใหเปนพื้นที่ที่เอื้อประโยชนแกสวนรวมในการเปนพื้นที่รองรับผูคนที่จะเขามาใชงาน เพื่อเปลี่ยนถายการสัญจรไปยังพื้นที่อื่นๆไดอยางคลองตัว รวมถึงขยายทางเดินเทาและมีพื้นที่จอดรถขนาดใหญเพื่อใหผูใชรถยนตเปลี่ยนการเดินทางเขามาใชพื้นที่ดวยการเดินเทาแทนและยังชวยลดปญหาของการจราจรที่ติดขัดลงได เนนใหพื้นที่เปนโซนสําหรับการเดินเทาเปนหลักและมีลักษณะการใชประโยชนที่ดินที่มีความหลากหลายสามารถปรับเปลี่ยนไดในโอกาสตางๆ มีกิจกรรมในแตละชวงเวลาปรับเปลี่ยนกันไปในตลอดทั้งวัน เพื่อรองรับกับผูโดยสารตางชาติที่ผานเขามาในบริเวณพื้นที่และชวยรองรับปริมาณผูคนและยานพาหนะที่จะลนออกมาภายนอกพื้นที่จากโครงการมักกะสันคอมเพล็กซไดและสรางลักษณะทางกายภาพตางๆใหเกิดจินตภาพที่ดีของการรับรูการเปนสถานที่หรือการมาถึงเปนประตู(Gateway)สูกรุงเทพมหานครไดบรรณานุกรม1. Dr. Jean-Paul Rodrigue, Dr. Brian Stack และ Dr. Claude Comtois. The Geography ofTransport Systems. http://people.hofstra.edu/geotrans/eng/ch3en/ch3menu.html.2. Brian Richarrds. New City Movement.1990.3. Hiroto Sano. station plaza planning guildeline. Japan International Cooperation Agency,2005: 6-164. ธนพล จรัลวณิชวงศ. “การฟนฟูเมือง”. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการดานการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550: 735. พนิต ภูจินดา. “การฟนฟูเมือง”. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการดานการวางแผนภาคและเมืองคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550: 59-70536


การปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในเมือง: กรณีศึกษาพื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิกรุงเทพมหานคร.Area Improvement of Urban Transit Interchange: A case study of Victory Monument Area, Bangkokรอยโท ฉัฐวัฒน บุญรําไพหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย1.บทนําการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในเมือง โดยมีกรณีศึกษาไดแก พื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิ ซึ่งถือเปนพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรที่สําคัญแหงหนึ่งของกรุงเทพฯ โดยใช การออกแบบชุมชนเมือง โดยมักมีพื้นฐานมาจากแนวคิดที่เนนการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ ใหเปนทั้งจุดเชื่อมตอการเดินทาง (node) ที่มีประสิทธิภาพ ควบคูกับการเปนสถานที่ (place) ที่สําคัญและมีความหมาย (Bertolini และ Spit, 1998)พื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรอยางพื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิเปนศูนยกลางการคมนาคมที่สําคัญแหงหนึ่งของกรุงเทพฯ ตั้งอยูบนถนนสายหลักที่เชื่อมโยงระหวางกรุงเทพและปริมณฑล พื้นที่โดยรอบวงเวียนอนุสาวรียฯเปนพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรของระบบขนสงหลากหลายประเภท ในอนาคตบริเวณนี้ยังเปนจุดเชื่อมตอกับรถไฟฟาใตดิน (MRT) สงผลใหดึงดูดพื้นที่การคาและการบริการที่หลากหลาย แตในปจจุบันพื้นที่ไมสามารถรองรับสภาพการณดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ อันเนื ่องจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสัญจรจากการเดินเทาเปนการใชยานพาหนะและระบบขนสง สงผลใหเกิดศักยภาพการเขาถึงมากขึ้น โดยขาดการวางแผนพัฒนาพื้นที่อยางเปนระบบและการเชื่อมตอโครงขายการสัญจรที่เหมาะสม ทําใหเกิดการใชพื้นที่อยางหนาแนนเฉพาะบริเวณแนวแกนถนนสายหลัก ซึ่งมีความจํากัดคับแคบ เสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ ในขณะที่พื้นที่ดานในบริเวณถนนสายรองและถนนซอยกลับมีกิจกรรมที่เบาบาง ใชพื้นที่ไมคุมคา พื้นที่สาธารณะโดยรอบองคอนุสาวรียฯกลายเปนเกาะกลางถนนที่ไมสามารถเขาถึงไดจากคนเดินเทา เนื่องจากถูกปดลอมดวยถนนที่มีการจราจรอยางคับคั่ง ขาดการวางแผนการกําหนดรูปแบบอาคาร และสิ่งปลูกสรางตางๆ อาคารโดยรอบจึงขาดรูปลักษณที่เปนเอกภาพ ขาดการรับรูถึงความเปนยานที่ชัดเจน ไมสรางใหเกิดสภาพการปดลอมที่ดีของบริเวณที่เปนที่ตั้งภูมิสัญลักษณที่สําคัญในระดับเมือง นอกจากนี้ยังมีความขัดแยงระหวางกิจกรรมการสัญจร และกิจกรรมการคาในหลายจุด เนื่องจากพื้นที่ถูกใชโดยคนจํานวนมากและมีวัตถุประสงคหลากหลายบนพื้นที่เดียวกัน และในชวงเวลาเดียวกัน ในขณะที่บางเวลาพื้นที่เกิดความเงียบเหงาเนื่องจากการคาและระบบขนสงปดใหบริการลง สงผลใหบางพื้นที่มีโอกาสเปนแหลงมั่วสุมและมีแนวโนมในการเกิดอาชญากรรมขึ้นไดบทความนี้เปนสวนหนึ่งของงานวิจัยมีวัตถุประสงคในการเสนอแนวทางการปรับปรุงดานกายภาพของพื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิ ใหเปนพื้นที่รองรับกิจกรรมการสัญจร (node) และการเปนภูมิสัญลักษณสําคัญของเมืองรวมทั้งเปนยานพาณิชย พักอาศัยในเมือง ที่ควรมีคุณสมบัติของความเปนสถานที่ (place) ที่มีคุณภาพ โดยการพัฒนาคุณลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ผานมิติการปรับปรุงในดานตางๆ ไดแก มิติเชิงสัณฐาน: โดยการเชื่อมตอโครงขายการสัญจรเพื่อใหเกิดการเขาถึงจากพื้นที่ดานนอกไปสูดานในอยางมีลําดับศักดิ์ เอื้อใหเกิดการแทรกซึมเลื่อนไหลของผูคนและกิจกรรม รวมทั้งเชื่อมโยงเสนทางใตดินไปสูพื้นที่สาธารณะโดยรอบองคอนุสาวรียฯ อยางเหมาะสม/มิติเชิงจินตภาพ: โดยการปรับปรุงมวลอาคารและพื้นที่วางใหเกิดการรับรูอยางเปนเอกภาพ ปรับปรุงองคประกอบทางภูมิทัศน สงเสริมความสงางามของภูมิสัญลักษณระดับเมือง มิติทาง537


เศรษฐกิจและสังคม: โดยการผสมผสานพื้นที่กิจกรรมที่ดึงดูดการใชงานทั้งผูคนภายนอกและภายในพื้นที่เพื่อใหเกิดความหลากหลายของผูคนและกิจกรรมตลอดวัน ประกอบกับวางแผนประโยชนการใชที่ดินและอาคาร ใหสอดคลองกับลําดับศักดิ์ของถนนและทางเดินเทา เพื่อใหมีลําดับการเขาถึงที่เหมาะสม เกิดการพัฒนาทั่วบริเวณพื้นที่2. แนวคิดในการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในเมือง2.1 ความขัดแยงระหวางจุดเชื่อมตอการเดินทาง (node) และความเปนสถานที่ (place)Bertolini และ Spit (1998) ซึ่งกลาววา โครงขายการคมนาคมและระบบขนสงจะนําพาผูคนจํานวนมากเขาถึงและผานพื้นที่ที่เปนจุดรวม จุดตัด เกิดการรวมกลุมของโครงสรางพื้นฐาน สาธารณูปโภค รวมทั้งเปลี่ยนแปลงประโยชนการใชที่ดินของพื้นที่บริเวณรอบเพื่อรองรับการใชงานที่เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไดเกิดขึ้นบนพื้นฐานของความเปนสถานที่เดิม ทั้งในดานของกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวิถีชีวิตเดิม ซึ่งเปนที่มาของความขัดแยงระหวางจุดตัดระบบคมนาคมขนสง (node) และความเปนสถานที่เดิม (place) เนื่องจากความเปนจุดตัดระบบขนสงมักมีบรรยากาศความจอแจหนาแนนของยานพาหนะหลากหลายประเภท ในขณะที่ความเปนสถานที่ตองการความสมดุลของ ผูคน กิจกรรม เวลา บางพื้นที่ตองการความสงบเงียบและเขาถึงดวยคนเดินเทาเปนหลัก เพื่อเอื่อใหเกิดปรากฏการณระลึกรู และบรรยากาศของความเปนสถานที่อยางมีความหมายการเขาถึงพื้นที่ (accessibility) ที่ดีขึ้นทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่หลายประการ เนื่องจากสัดสวนปริมาณการสัญจรมีความสัมพันธกับรูปแบบและปริมาณของกิจกรรม รวมทั้งชวงเวลาการใชพื้นที่และประเภทของผูคน สภาพการณดังกลาวจะสงผลกระทบใหเกิดความขัดแยงใน ดังนี้- ความขัดแยงเชิงสัณฐาน ระบบคมนาคมขนสงที่ซับซอนขึ้น ทําใหพื้นที่ยานมักถูกตัดขาดเปนพื้นที่ยอยๆ (fragmented spaces) การแทรกซึมเลื่อนไหลของผูคน และการพัฒนาพื้นที่อาจทําไดไมทั่วถึงทุกบริเวณเกิดเปนพื้นที่ปดลอมขนาดตางๆ ที่ขาดการเขาถึง- ความขัดแยงเชิงจินตภาพ สืบเนื่องจากความขัดแยงเชิงสัณฐานที่มีพื้นที่ปดลอมเปนจํานวนมากในพื้นที่ จึงทําใหผูคนขาดการรับรูในภาพรวม- ความขัดแยงเชิงเศรษฐกิจและสังคม เกิดความไมสมดุลเปนอยางมาก เนื่องจากพื้นที่บางบริเวณมีการเขาถึงที่ดี มีกิจกรรมพาณิชยจํานวนมาก ในขณะที่บางบริเวณเปนพื้นที่ปดลอม กลายเปนพื้นที่รางไมมีการพัฒนา ขาดกิจกรรมที่ทําใหพื้นที่คึกคัก และเสียงตอการเกิดอาชยากรรม2.2 แนวคิดในการสรางความสมดุลการเปนจุดเชื่อมตอการเดินทาง (node) และความเปนสถานที่ (place)2.2.1 แนวคิดการปรับปรุงมิติเชิงสัณฐานจากแนวคิดของ Benedikt (1979) ซึ่งกลาววาศักยภาพในการมองเห็นมีความสําคัญและสัมพันธกับปริมาณการสัญจรของพื้นที่ หากพื้นที่สาธารณะใดที่มีความสามารถในการถูกมองเห็นและมีมุมมองออกสูพื้นที่อื่นไดหลายมุมและกวางไกล สามารถดึงดูดปริมาณการสัญจร สงผลใหเกิดการใชพื้นที่อยางหลากหลายรูปแบบอยางคึกคักดังนั้นจึงจําเปนตองพัฒนา”ศักยภาพการมองเห็นและเขาถึง” ดวยการสรางความเชื่อมตอของโครงขายพื้นที่วางสาธารณะ เพื่อใหเกิดการจราจรที่มีประสิทธิภาพ และเนนการเลื่อนไหลแทรกซึมของผูคนเดินเทา จากพื้นที่ดานนอกไปสูดานใน538


กรณีศึกษาโครงการปรับปรุงพื้นที่โลงวางสาธารณะทาฟอกา สแคว (Trafalgar Square London)ซึ่งเปนพื้นที่โลงวางสาธารณะทาฟอกา สแคว (Trafalgar Square London) เปนพื้นที่สาธารณะขนาดใหญที่มีความสําคัญมากอยูบริเวณศูนยกลางเมืองลอนดอน เปนจุดหมายตาขนาดใหญสําหรับผูคนที่เดินไปมา รวมทั่งเปนที่ตั่งของอาคารพิพิธภัณฑที่มีความสําคัญระดับชาติ ดานหนาเปนจุดตัดของโครงขายถนนมีการเขาถึงที่ดีสําหรับยานพาหนะ แตในขณะเดียวกันกลับมีผูคนเขาไปใชงานจํานวนนอยมาก จึงทําการพิสุทธ โดยใชโปรแกรม Visual Graph Analysis (VGA) ในการวิเคราะห ซึ่งพบวา มีการเชื่อมตอโครงขายพื้นที่วางสาธารณะสําหรับคนเดินเทาไมมีประสิทธิภาพจึงไดทําการปรับปรุงพื้นที่โดยการเชื่อมตอโครงขายทางเดินเทาในพื้นที่เขากับระบบโครงขายพื้นที่วางสาธารณะของเมือง ดวยการเจาะชองทางบริเวณตรงกลางอาคารพิพิธภัณฑ เพื่อเดินผาน รวมทั่งจัดระบบการจราจรบริเวณรอบใหสอดคลองกับการเดินเทา ซึ่งทั่งหมดไดประสบความสําเร็จ ตามไดผลการวิเคราะหVisual Graph Analysis (VGA) ที่ทํานายไว (ภาพที่ 2.1)ภาพที่2.1 พื้นที่โลงวางสาธารณะ Trafalgar Square London กอนและหลังการปรับปรุง (ที่มา : Space Syntax Laboratory, 2006)จากหลักการดังกลาวสามารถประยุกตใชกับพื้นที่อนุสาวรียฯ ซึ่งมีปริมาณของผูคนเปนจํานวนมาก แตมีการใชงานพื้นที่ไมทั่วถึง โดยใชวิธีการเชื่อมตอโครงขายพื้นที่วางสาธารณะใหเกิดศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงเขาสูพื้นที่สําคัญตางๆ และพื้นที่ดานในเหนี่ยวนําใหเกิดการแทรกซึมของผูคนไปทั่วบริเวณจากแนวคิดของ Roger (1986) กลาวถึงทฤษฏีที่ศึกษาความสัมพันธระหวางมวลของสิ่งกอสรางที่ปกคลุมพื้นดิน (figure) และพื้นที่โลงวางที่มีชองเปดเชื่อมโยงเขาถึงกันหรือพื้น (ground) เปนเครื่องมือที่ชวยในการจัดลําดับความสําคัญของพื้นที่ที่มีขนาดที่แตกตางกันจะเรียงตัวสัมพันธตอเนื่องกันไป การปรับปรุงพื้นที่จึงควรใชวิธีนี้ในการปรับปรุงสัณฐานใหเกิดสภาพการปดลอมที่เหมาะสม(ภาพที่ 2.2) แสดงถึงการวิเคราะหถึงมวลอาคาร และพื้นที่วางที่เปลี่ยนแปลงไปโดยรอบสถานีรถไฟในยานตางๆของเมือง Londonเนื่องจากผลกระทบจากการขนสง เกิดความหนาแนนขึ้นของสัณฐาน มีมวลอาคารที่ละเอียดขึ้น อีกทั้งยังมีลักษณะสัณฐานที่ถูกแบงเปน 2 สวนจากการถูกรางรถไฟขนาดใหญผาดผาน ทําใหพื้นที่บริเวณรอบโดยเฉพาะพื้นที่ดานในมีมวลอาคารที่แตกเปนเสี่ยงๆ ไมเกิดสภาพการปดลอมที่ดีมีพื้นที่สูญเปลา ทําใหพื้นที่ขาดการพัฒนาKings CrossPaddingtonMaryleboneค.ศ. 1835 ค.ศ. 1888 ค.ศ. 1995ภาพที่ 2.2 พื้นที่วางและมวลอาคารของพื้นที่บริเวณรอบสถานีรถไฟใน Londonในสถานีตางๆ (ที่มา: ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ, 2551)539


กลายเปนพื้นที่เสื่อมโทรม ภายหลังจึงมีกระแสในการปรับปรุงพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟ โดยสรางกลุมอาคารพาณิชกรรมบริเวณพื้นที่เสื่อมโทรม ควบคูกับการพัฒนาพื้นที่วาง เพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางมวลอาคารและพื้นที่วาง โดยอาศัยโอกาสในเชิงเศรษฐกิจที่สูงจากระบบขนสงของพื้นที่ ในการพัฒนาดังนั้นการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรตองใชทฤษฏีแผนภาพและพื้นเพื่อทําการปรับปรุงพื้นที่ใหมีสัดสวนของพื้นที่วางและมวลอาคารที่เหมาะสม ทําใหเกิดสภาพการปดลอมที่เอื้อตอการเกิดกิจกรรมที่หลากหลาย อีกทั้งยังสงผลตอการรับรูสภาพแวดลอมของผูคน เกิดจินตภาพที่ดีอีกดวย2.2.2 แนวคิดการปรับปรุงมิติเชิงจินตภาพLynch (1959) กลาวไววา ความสําคัญขององคประกอบตางๆ ในสภาพแวดลอม จะมีผลตอการสรางจินตภาพ จะตองอาศัยองคประกอบตางๆของเมืองในการจดจํา สามารถแบงออกไดเปน 5 ประเภท ตามลักษณะทางกายภาพ ไดแก เสนทาง (paths) ขอบเขต (edges) ยาน (districts) ศูนยรวมกิจกรรม (nodes)และภูมิสัญลักษณ (landmarks) จึงจะตองพิจารณาองคประกอบทางสัณฐานใหเปนระเบียบเรียบรอย เชน- ปรับปรุงเสนทาง (paths) ใหเกิดการรับรูความตอเนื่องของ “กําแพงถนน” (street facade)โดยมีอาคารชิดเปนแนวตอเนื่อง โดยรักษา ระยะหางที่เหมาะสม ไมทําใหกําแพงถนนหายไป- การปรับปรุงกําแพงถนน จะชวยใหเกิดโครงสรางสัณฐานที่ชัดเจนขึ้น เกิดการรับรูถึงขอบเขต- ควรกําหนดสภาพการปดลอมที่มีเอกลักษณ เกิดพื้นที่วางที่สามารถรับรูในการเปน ศูนยรวมกิจกรรม (nodes)- สงเสริมภูมิสัญลักษณ (landmarks) ใหโดดเดนยิ่งขึ้นดวยการปรับปรุงแนวอาคารและสิ่งปลูกสรางใหเกิดมุมมองที่ชัดเจน- สัดสวนของมวลอาคารทั้งขนาดใหญและเล็กที่ชัดเจน จะทําใหสามารถรับรูการใชประโยชนพื้นที่ยาน (districts) Cullen (1973) ไดกลาวถึงการปรับปรุงทัศนียภาพ รูปแบบสถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม พืชพรรณตนไม และปาย แผนโฆษณา ใหมีความสอดคลองกัน จะชวยใหเกิดการรับรูถึงความเปนยานสําคัญการปรับปรุงดังกลาวชวยใหเกิดจินตภาพ (Image ability) ที่ชัดเจนและเขาใจไดงาย โดยเฉพาะลดความสับสนวุนวายบริเวณพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจร และสรางใหเกิดการรับรูถึงสถานที่สําคัญ2.2.3 แนวคิดการปรับปรุงมิติทางดานเศรษฐกิจและสังคมการจัดการพื้นที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจตาม “ระบบเศรษฐสัญจร”เสนทางที่มีศักยภาพการเขาถึงมากมักจะดึงดูดกิจกรรมการคา และในขณะเดียวกันก็จะดึงดูดปริมาณการสัญจรใหมากขึ้นเปนทวีคูณ (multipliereffect) ในขณะเดียวกันพื้นที่ที่มีศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงต่ํา เกิดความเงียบกวาจะดึงดูดกิจกรรมการพักอาศัย จึงตองกําหนดสมดุลของการใชงานทั้ง 2 ประเภทใหชัดเจนทั่งพื้นที่ยาน โดยการปรับปรุงการใชประโยชนอาคารพาณิชกรรม ใหอยูบริเวณถนนสายหลัก การใชประโยชนอาคารพาณิช/พักอาศัย ใหอยูบริเวณถนนสายรอง การใชประโยชนอาคารพักอาศัย ใหอยูบริเวณถนนซอย สอดคลองกับ แนวคิดสรางความหลากหลายบนถนน Jacobs (1961) ในการสงเสริมพื้นที่รองรับกิจกรรมทางสังคม โดยการสงเสริมใหประโยชนการใชอาคารริมถนนรวมทั้งทางเดินเทาใหมีความหลากหลายของกิจกรรม มีชีวิตชีวา ซึ่งพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรควรมีความสมดุลของผูคนและกิจกรรมในชวงเวลาตางๆ ผูคนมีปฏิสัมพันธ กิจกรรมสรางสรรค และชวยกันสอดสองดูแลความปลอดภัย ปองกันไมใหเกิดอาชยากรรม540


2.3 กรอบแนวคิดในการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจร (Conceptual Framework)สามารถสรุปในเบื้องตนไดวา การปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในเมืองนั้น มีความจําเปนตองสรางความสมดุลระหวางจุดเชื่อมตอการเดินทาง (node) กับความเปนสถานที่ (place) โดยการพัฒนาและปรับปรุงทางกายภาพในดานตางๆ มีรายละเอียด(แผนภูมิ2.1) ดังนี้แผนภูมิ2.1 กรอบแนวคิดของการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรอนุสาวรียฯ (Conceptual Framework)ทําการสํารวจขอมูลของลักษณะทางสัณฐาน เศรษฐกิจและสังคมของบริเวณพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรอนุสาวรีชัยสมรภูมิ โดยใชเครื่องมือในการสํารวจ(ตาราง2.1) ดังนี้ตาราง 2.1 วิธีการสํารวจพื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิ541


3. โปรแกรมในการปรับปรุงพื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิ3.1 การวิเคราะหสภาพปจจุบันของพื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิอนุสาวรียชัยสมรภูมิไดถูกสรางขึ้นในยุคของจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2485 ซึ่งกรมโยธาธิการไดทําการพัฒนาพื้นที่โดยรอบอนุสาวรียชัยสมรภูมิเปนครั้งแรก เพื่อสงเสริมความเปนภูมิสัญลักษณระดับเมือง มีการตัดถนนสายหลัก 2 สาย ไดแก ถนนราชเทวี และถนนพญาไท รวมทั้งนําเอาระบบวงเวียนมาใช ทั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อเนนความเปนสถานที่สําคัญเปนหลัก และไมไดคํานึงถึงการบรรเทาปญหาการจราจรแตอยางใด มีการเปดมุมมองดวยการสรางพื้นที่โลงวางสาธารณะขนาดใหญโดยรอบอนุสาวรียฯ พรอมปรับปรุงทางเดินเทาตามแนวแกนถนนอยางสงางาม เพื่อใหสะดวกตอการเขาถึงของผูคนเดินเทาที่เขามาคารวะเยี่ยมชมอนุสาวรียฯ รวมทั้งกําหนดการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่โดยรอบเปนอาคารบริการสาธารณะตางๆ เชนสถานที่ราชการ โรงพยาบาล ฯลฯภาพที่3.1 การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ตั่งแตการกอสรางอนุสาวรีชัยสมรภูมิจนถึงปจจุบันตอมาการคมนาคมขนสงเริ่มมีมีประสิทธิภาพและทันสมัยมากขึ้น ประกอบกับโครงขายถนนแผออกไปทุกทิศทางจากศูนยกลางเมือง ทั้งนี้พื้นที่จึง เริ่มมีบทบาทกลายเปนเสมือนพื้นที่ศูนยกลางอีกแหงหนึ่ง เกิดการใชประโยชนพื้นที่ในเชิงพาณิชกรรมมากขึ้น และมีบทบาทเปนพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในเมือง จนปจจุบันเปนพื้นที่รวมระบบขนสงที่หลากหลาย(ภาพที่3.1) ซึ่งจากการสํารวจสภาพปจจุบันของพื้นที่พบวาเกิดความไมสมดุลกันของโครงสรางพื้นฐานตางๆ ซึ่งมีความลาสมัย รวมทั่งมีการจัดการที่ไมเปนระบบ และขาดการวางแผนรูปแบบอยางเปนเอกภาพของที่วางและอาคาร ตลอดจนขาดการวางแผนการจัดการตางๆใหเปนระบบ ทําใหพื้นที่ไมมีประสิทธิภาพรองรับการใชงาน โดยรายละเอียดการวิเคราะหในแตละมิติ มีดังนี้3.1.1 ลักษณะเชิงสัณฐานของพื้นที่อนุสาวรียฯ-รูปแบบโครงขายการสัญจรภายในพื้นที่พื้นที่อนุสาวรียฯ มีการจราจรที่คับคั่งเฉพาะถนนสายหลักเทานั้น เนื่องจากพื้นที่ถูกลอมรอบดวยโครงขายถนนในสวนราชการเปนจํานวนมาก ประกอบกับถนนสายรองและถนนซอยตางๆทําใหไมเกิดลําดับศักดิ์ของการเขาถึงที่ดี สงผลใหไมมีประสิทธิภาพที่จะสามารถระบายความหนาแนนจากการจราจรบริเวณถนนสายหลักไดและมักมีการใชงานซอนทับกับการสัญจรของคนเดินเทา ทั้งที่ถนนซอยมีขนาดที่คับแคบและมีการเชื่อมตออยางไมเปนระบบ เพราะมีซอยตันจํานวนมาก ทําใหไมมีประสิทธิภาพในการรองรับการจราจรจากยานพาหนะทุกประเภท เกิดความสับสนหลงทิศทาง ตลอดจนไมปลอดภัยตอคนเดินเทาในขณะที่ทางเดินเทาบริเวณติดถนนสายหลักหลายบริเวณมีความคับแคบตลอดจนมีการตั้งแผงการคาลุกล้ําเสนทางเดินเทาทั้งที่มีปริมาณการสัญจรมาก สวนเสนทางเดินเทาภายในถนนซอย และภายในชุมชนขาดการเชื่อมโยงโครงขายที่เปนระบบ คนเดินเทาตองใชเสนทางรวมกับถนนยานพาหนะเกิดความไมสะดวกสบายและมีความอันตราย รวมทั้งขาดเสนทางเชื่อมตอไปสูพื้นที่สาธารณะรอบองคอนุสาวรียฯ542


-ระบบขนสงและที่จอดยานพาหนะภายในพื้นที่ระบบขนสงหลากหลายประเภทในพื้นที่อนุสาวรีย ใหบริการอยูในตําแหนงตางๆบนพื้นที่สาธารณะ หลายบริเวณขาดพื้นที่รองรับที่มีประสิทธิภาพ การเชื่อมตอเขาถึงไดลําบาก ตลอดจนมีระยะหางของแตละประเภทการขนสงที่ไมสะดวกรวดเร็วตอการเดินเทา หรืออยูในพื้นที่อับสายตา เกิดความไมสะดวกและอันตราย สวนที่จอดยานพาหนะในพื้นที่อนุสาวรียฯนั้น มีไมเพียงพอตอความตองการของผูใชทั้งผูคนภายในและภายนอกพื้นที่รวมทั้งอยูในบริเวณที่เขาถึงไดยาก และไมเกิดการเชื่อมโยงที่ดีตอระบบการเดินเทาและระบบขนสง อีกทั้งในบางพื้นที่ยังใหบริการเฉพาะบางเวลาเทานั้น-ประโยชนการใชที่ดินและประโยชนการใชอาคารภายในพื้นที่การใชประโยชนที่ดินและอาคารเชิงพาณิชกรรมมีการกระจุกตัวหนาแนนอยูบริเวณแกนถนนสายหลักในขณะที่พื้นที่ดานในถัดจากถนนสายหลัก บริเวณถนนซอยซึ่งมีเนื้อที่คอนขางมาก แตมีการใชประโยชนที่ดินและอาคารไมเต็มที่ และยังมีการใชประโยชนที่ดินและอาคารเปนที่พักอาศัยหนาแนนนอยอยูหลายบริเวณ ซึ่งไมสอดคลองกับการกําหนดประโยชนการใชที่ดินของผังเมืองรวมที่เปนพื้นที่พาณิชยกรรม(เขตสีแดง) รวมทั้งขาดการวางแผนการใชประโยชนที่ดินและอาคารใหสอดคลองกับสําดับศักดิ์การเขาถึงที่เหมาะสม ทําใหพื้นที่เกิดความเงียบเหงาใชประโยชนไมคุมคาทั้งที่พื้นที่มีศักยภาพสูง-สภาพและความสูงของอาคารภายในพื้นที่สภาพอาคารภายในพื้นที่อนุสาวรียฯสวนใหญมีสภาพทรุดโทรมมาก โดยที่อาคารทรุดโทรมมากมักเปนอาคารพานิชยพักอาศัย และบานเดี่ยว ซึ่งอยูดานในพื้นที่ อาคารดานในพื้นที่สวนใหญจึงมีความสูงประมาณ 2-3 ชั้น สงผลใหความหนาแนนของประชากรที่พักอาศัยหรือทํางานภายในพื้นที่มีเพียง 1 ใน 6 ของประชากรภายในพื้นที่ศึกษาทั่งหมด (สวนใหญเปนประชากรที่เขามาจากระบบขนสง) ทําใหพื้นที่เกิดความเงียบเหงาในเวลากลางวัน(ชวงเวลาทํางาน)และเวลากลางคืน(ชวงเวลาพักอาศัย)-รูปแบบของมวลอาคารและพื้นที่วางภายในพื้นที่จากการพิจารณาความสมดุลของพื้นที่วางพบวา บริเวณติดแนวแกนถนนสายหลักจะมีความหนาแนนของมวลอาคารขนาดใหญมีลักษณะเปนเหมือนกําแพงปดลอมพื้นที่ดานใน สวนภายในถนนซอยจะเปนมวลอาคารขนาดเล็กกระจัดกระจายไมเปนระเบียบ ไมสามารถสรางกําแพงถนนที่ชัดเจนได เนื่องจากสวนใหญเปนที่ตั้งของอาคารพักอาศัยขนาดเล็ก พื้นที่วางหลายแหงเปนพื้นที่สวนบุคคล จึงสงผลใหพื้นที่วางสาธารณะภายในพื้นที่ศึกษามีสัดสวนที่นอยมากและเมื่อ เปรียบเทียบพื้นที่วางทั้งหมดกับพื้นที่วางสาธารณะที่ผูคนที่สามารถเขาไปใชงานได พบวา พื้นที่วางสาธารณะที่ผูคนสามารถเขาไปใชงานไดจริงในปจจุบันมีเนื้อที่ไมถึง 50% จากพื้นที่วางทั้งหมด ในขณะที่แนวถนนสายหลักโดยเฉพาะบริเวณลานโลงวางทั้ง 4 ดานรอบอนุสาวรียฯ ซึ่งเปนพื้นที่วางสาธารณะขนาดใหญทําหนาที่รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และการเปลี่ยนถายการสัญจร แตไมมีคุณลักษณะทางกายภาพที่จะสงเสริมใหเกิดการใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดการกระจุกตัวของผูคนและกิจกรรมหลายบริเวณ-การวิเคราะหรูปแบบศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงภายในพื้นที่การวิเคราะหโปรแกรมทางคอมพิวเตอร Visual Graph Analysis (VGA) คือผลที่แสดงการวิเคราะหพื้นที่ที่มีศักยภาพการมองเห็นเละเขาถึงในระดับที่แตกตางกัน ภายในระบบหนึ่งๆ โดยจะแสดงคาออกมาเปนแผนภูมิสีคือ พื้นที่มีคาสีโทนรอน หมายถึงพื้นที่ที่ถูกมองเห็นและเขาถึงมากที่สุดไปจนถึงคาสีซึ่งหมายถึง พื้นที่ที่ถูกมองเห็นและเขาถึงนอยที่สุดในระบบโดยมีผลวิเคราะหดังตอไปนี้ (ภาพที่3.1)543


จะเห็นไดวาพื้นที่วางสาธารณะที่มีศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงสูงจะอยูเฉพาะบริเวณลานโลงวางสาธารณะทั่ง 4 ดานรอบอนุสาวรียฯเทานั้น ในขณะที่พื้นที่ดานในขาดศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงที่ดีจึงสามารถทํานายจากผลการวิเคราะหดังกลาวไดวา พื้นที่อนุสาวรียฯ จะมีการสัญจรที่คึกคัก เกิดกิจกรรมที่หลากหลาย เฉพาะบริเวณลานโลงวางสาธารณะทั่ง 4 ดานรอบอนุสาวรียฯ ในขณะที่พื้นที่ดานในจะมีการสัญจรที่เบาบาง เกิดความเงียบเหงาแผนที่3.1 ศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงบนพื้นที่วางสาธารณะ -รูปแบบดานหนาอาคารพื้นที่อนุสาวรียฯมีอาคารใหมและเกาผสมปนเปหลายประเภท และมีรูปแบบดานหนาอาคารหลากหลายรูปแบบ อันเนื่องมาจากการวางแผนกําหนดประเภทและรูปแบบอาคารที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง โดยสามารถแบงรูปแบบดานหนาอาคารติดถนน ออกเปน 2 บริเวณ ไดแก- อาคารบริเวณแนวแกนติดถนนสายหลัก สวนใหญเปนอาคารประเภทพานิชยกรรมจึงมีดานหนาอาคารหลากหลายรูปแบบ มีจังหวะแนวตั่งและแนวนอนของชองเปดตางๆที่ไมสอดคลองกัน อาคารมีความสูงที่แตกตางกันทําใหเกิดระดับของเสนขอบฟา(Sky Line) ที่ไมเสมอกันตลอดแนว ตลอดจนมีปายโฆษณาจํานวนมากติดตั่งอยางไมเปนระเบียบ ซึ่งทําใหขาดเอกลักษณ และไมสงเสริมทัศนะวิสัยของมุมมองสูองคอนุสาวรียฯ- อาคารบริเวณถนนซอยภายในชุมชน มีอาคารหลากหลายประเภทผสมปนเปอยางไมเปนระเบียบอาคารตางๆมีรูปแบบที่แตกตางกันอยางไมเปนเอกภาพ ทําใหผูคนสับสนหลงทิศทาง ไมเกิดจินตภาพที่ดี3.1.2 ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของพื้นที ่การวิเคราะหรูปแบบการใชพื้นที่วางสาธารณะ (Space use patterns) ภายในพื้นที่การสํารวจขอมูลรูปแบบการใชพื้นที่วางสาธารณะดวยวิธีการบันทึกภาพนิ่งตอเนื่อง (Time-LapPhotography) คือการถายภาพนิ่งอยางเปนระบบ เพื่อบันทึกกิจกรรมและผูคนทั่วบริเวณพื้นที่โลงวางสาธารณะโดยบันทึกในชวงเวลาตางๆ เพื่อที่จะนํามาเปนขอมูลในการใชงานจริงบนพื้นที่วางสาธารณะ (โดยเปรียบเทียบกับการวิเคราะหโปรแกรมทางคอมพิวเตอร VGA) พรอมทั้งทราบถึงชวงเวลาในการใชพื้นที่ของกิจกรรมและผูคนแตละประเภท โดยสามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้-กิจกรรมบนพื้นที่วางสาธารณะในแตละชวงเวลา กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคมในพื้นที่อนุสาวรียฯนั้น เนนรองรับผูคนจํานวนมากจากภายนอกพื้นที่ซึ่งเขามาใชพื้นที่เพื่อเปลี่ยนถายการเดินทาง ทําใหเกิดกิจกรรมหลายรูปแบบอยางคึกคักหนาแนนโดยเฉพาะในเวลาเรงดวนชวงเชา/ชวงเย็น ซึ่งมักจะซอนทับกัน ทําใหไมสะดวกสบายเปนอยางมาก สวนชวงเวลาอื่นๆจะมีกิจกรรมที่เบาบางลงตามลําดับโดยเฉพาะในชวงเวลากลางคืน เกิดความเงียบเหงา ตาราง3.1 กิจกรรมบนพื้นที่วางสาธารณะในแตละชวงเวลารานคาตางๆ เบาบางลงไปเปนอยางมากเนื่องจากพื้นที่สวนใหญไมเปนเสนทางที่ถูกผานจากผูคนภายในชุมชน544


เมื่อชวงเวลาที่ผูคนจากภายนอกพื้นที่เบาบางลงกิจกรรมทางเศรษฐกิจตางๆจึงซบเทราในชวงเวลานั้นๆดวย และยังสงผลกระทบไปสูปญหาทางสังคม คือ หลายบริเวณมีโอกาสเปนแหลงมั่วสุม เปนที่พักของคนเรรอน มีแนวโนมในการเกิดอาชญากรรม (ตารางที่3.1)-ความหนาแนนของผูคนบนพื้นที่วางสาธารณะบริเวณที่มีกลุมคนหลากหลายประเภท จะเหนี่ยวนําใหเกิดวัตถุประสงคในการใชพื้นหลากหลายรูปแบบ สงผลใหเกิดความหนาแนนของกิจกรรมและผูคนบริเวณนั้น ซึ่งมักจะอยูบริเวณระบบขนสงตางๆ หรือพื้นที่การคา ตามพื้นที่วางสาธารณะติดถนนสายหลัก ในขณะที่ถนนซอยและพื้นที่ดานในนั้น ไมมีพื้นที่สําหรับรองรับผูคนหลายหลายประเภท ทําใหมีจํานวนผูคนที่ใชพื้นที่อยางเบาบาง-รูปแบบการสัญจรบนพื้นที่วางสาธารณะกิจกรรมการสัญจร (Moving Activity) เปนรูปแบบการเคลื่อนที่ของผูคนทั้งรวดเร็วและชา ซึ่งจะมีความสัมพันธกับกิจกรรมในพื้นที่บริเวณนั้น และกิจกรรมแตละประเภทจะมีความตองการความรวดเร็วในการเคลื่อนที่ในระดับที่แตกตางกัน ตลอดจนการหยุดจับจองพื้นที่ (Static Activity) เพื ่อทํากิจกรรม ซึ่งพบวาพื้นที่วางสาธารณะที่มีโอกาสในการถูกผานมากและมีกิจกรรมหลากหลายประเภท มักมีการซอนทับกันของกิจกรรมการสัญจรและกิจกรรมการจับจองพื้นที่ และมักเกิดความขัดแยงในการเคลื่อนที่หลายจุด ในทางกลับกันพื้นที่วางสาธารณะที่มีโอกาสในการถูกผานต่ําและมีกิจกรรมอยางเบาบาง จะสงผลใหไมเกิดการหยุดเพื่อจับจองพื้นที่ในบริเวณนั้นๆ พื้นที่เหลานี้มักมีความเงียบเหงาอยูในจุดอับสายตาและมีโอกาสสูงในการเกิดอาชยากรรมซึ่งตรงกับผลการวิเคราะหศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงจะเห็นไดวามีพื้นที่ที่มีโอกาสถูกผานต่ําหลายบริเวณ-รูปแบบเศรษฐสัญจรในพื้นที่บริเวณพื้นที่วางสาธารณะติดถนนสายหลักมักจะเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่คึกคักจากผูคนและกิจกรรมที่หนาแนนโดยเฉพาะบริเวณลานโลงวางสาธารณะ 4 ดานรอบอนุสาวรียฯ ทางเดินเทาหนาศูนยการคาเซ็นเตอรวัน และทางเดินเทาหนาชุมชนวัดมะกอก เนื่องจากเปนเสนทางผานไปบริเวณอื่นๆไดหลากหลายประกอบกับมีระบบขนสงรวมตัวกันอยูหลายตําแหนงภายในพื้นที่ สงผลใหเกิดการประกอบกิจกรรมการคาและการบริการเขมขนกวาพื้นที่บริเวณอื่นๆ สวนพื้นที่ถัดไปดานในมีกิจกรรมเบาบางลงไปอยางชัดเจนทั้งที่พื้นที่อยูบริเวณใกลเคียงกันเนื่องจากขาดการเชื่อมโยงโครงขายพื้นที่วางสาธารณะที่ดี ทําใหหลายบริเวณเปนพื้นที่ที่ไมมีโอกาสถูกผาน และขาดการวางแผนการกําหนดการใชประโยชนที่ดินและอาคารภายในบริเวณถนนซอยและภายในชุมชน จึงขาดความตอเนื่องของกิจกรรมที่จะดึงดูดปริมาณการสัญจรของผูคนอยางเหมาะสม3.2 การวิเคราะหปญหาและศักยภาพของพื้นที่อนุสาวรียฯจากการวิเคราะหปญหาแบบบูรณาการ พบวาพื้นที่ขาดการเชื่อมโยงที่เปนระบบของโครงขายการสัญจรทุกประเภท สงผลใหเกิดระยะหางของระบบขนสงประเภทตางๆ ไมเหมาะสม ขาดชองทางการเขาถึงพื้นที่สาธารณะรอบองคอนุสาวรียฯ มีการใชที่ดินและประโยชนอาคารไมคุมคา ดานในพื้นที่มีอาคารขนาดเล็กที่เสื่อมโทรมอยูเปนจํานวนมาก มวลอาคารและพื้นที่วางขาดการปดลอมที่เหมาะสมทั่วบริเวณ สงผลใหไมเกิดพื้นที่วางสาธารณะที่มีประสิทธิภาพและขาดศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงภายในพื้นที่ดานใน อีกทั้งรูปแบบดานหนาอาคารบริเวณติดถนนสายหลักขาดเอกลักษณและความสวยงามที่จะสงเสริมมุมมองสูอนุสาวรียฯ สวนอาคารดานในผสมปนเปหลากหลายประเภท ขาดความเปนเอกภาพ รวมทั้งขาดพื้นที่กิจกรรมเศรษฐกิจและสังคม เกิดการใชพื้นที่เฉพาะบางชวงเวลา ตลอดจนขาดความหลากหลายของกิจกรรมตามระบบเศรษฐสัญจร (แผนที่3.2)545


แผนที่3.2 ปญหาของพื้นที่อนุสาวรียฯจากการวิเคราะหศักยภาพแบบบูรณาการพบวา พื้นที่ที่มีการเขาถึงจากถนนสายหลัก ทางดวนยกระดับและระบบขนสงที่หลากหลาย รวมทั้งเปนจุดเชื่อมตอเสนทางรถไฟฟาใตดินในอนาคต ทําใหเกิดโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ในเชิงการคา มีแนวโนมที่จะเกิดความหนาแนนของอาคารสํานักงาน, ที่พักอาศัยหนาแนนสูง ฯลฯอีกทั้งยังเปนที่ตั้งขององคอนุสาวรียฯซึ่งเปนภูมิสัญลักษณระดับเมือง และสถานที่สําคัญหลายแหง ซึ่งเปนสิ่งดึงดูดใหมีผูคนหลายหลายประเภทเขามาใชพื้นที่ เปนโอกาสในการพัฒนาพื้นที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมที่เหมาะสม ซึ่งปจจุบันมีบริเวณลานโลงวางสาธารณะทั่ง 4 ดานรอบวงเวียนอนุสาวรียฯเปนจุดรวมกิจกรรมการคาขนาดเล็ก และบริการสาธารณะตางๆซึ่งมีการใชงานอยางหลากหลายคึกคักคลอดวัน เนื่องจากมีศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงที่ดี ประกอบกับมีศูนยการคาขนาดใหญอยูหลายแหง (และที่3.3)แผนที่3.3ศักยภาพของพื้นที่อนุสาวรียฯ546


3.3 แนวทางการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรจากการวิเคราะหสภาพปจจุบันของพื้นที่ นําไปสูแนวทางพัฒนาปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรอนุสาวรียฯซึ่งมีวิสัยทัศนในการปรังปรุงพื้นที่ในอนาคตดังนี้- การเปนพื้นที่การเปลี่ยนถายที่มีประสิทธิภาพ(node) คือการปรับปรุงพื้นที่เพื่อใหสามารถเปลี่ยนถายการสัญจร อยางสะดวกรวดเร็ว รองรับการสัญจรผาน (move though) และการสัญจรแบบเขาถึง (move to)ไดอยางมีประสิทธิภาพตลอดจนปรับปรุงสภาพแวดลอมใหมีคุณสมบัติทางกายภาพที่สามารถจะรองรับกิจกรรมการคาการบริการที่หลากหลายในพื้นที่- การมีคุณสมบัติของความเปนสถานที่ที่มีความหมาย(place) คือการปรับปรุงพื้นที่อนุสาวรียฯใหมีคุณสมบัติ ในการเปนยานพาณิชกรรมและที่พักอาศัยหนาแนนมากในศูนยกลางเมืองที่มีความนาอยู เกิดจินตภาพที่ดีตอผูคนทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ อาคารโดยรอบมีรูปลักษณที่เปนเอกภาพสรางใหเกิดสภาพการปดลอมที่เหมาะสม สอดคลองกับพื้นที่วางสาธารณะที่สงเสริมความสงางามของภูมิสัญลักษณระดับเมือง มีระบบโครงขายการเขาถึงที่ดีสูพื้นที่สาธารณะบริเวณรอบองคอนุสาวรียฯ และสถานที่หรือพื้นที่ที่มีความสําคัญโดยรอบ เกิดการเลื่อนไหลแทรกซึมของผูคนและกิจกรรมในชวงเวลาตางๆไปทั่วบริเวณ เปนประโยชนทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม (แผนที่3.4)แผนที่3.4 แนวทางการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรอนุสาวรียฯโดยมีแนวคิดในการปรับปรุง ซึ่งสามารถจําแนกเปน มิติทางสัณฐาน มิติทางจินตภาพ มิติทางเศรษฐกิจและสังคม มีรายระเอียดดังตอไปนี้3.3.1 มิติเชิงสัณฐาน ทําโดยการเชื่อมตอโครงขายพื้นที่วางสาธารณะเพื่อใหเกิดการเขาถึงจากพื้นที่ดานนอกไปสูดานในอยางมีลําดับศักดิ์ พรอมปรับปรุงระบบพื้นที่วางสาธารณะใหสามารถรองรับกิจกรรมการสัญจร (moving activity) และกิจกรรมการหยุดนิ่ง (static activity) อยางมีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงเสนทางใตดินไปสูพื้นที่สาธารณะโดยรอบองคอนุสาวรียฯ อยางเหมาะสม โดยมีรายละเอียดในการปรับปรุงดังนี้547


1) แนวทางพัฒนาปรับปรุงโครงขายการสัญจร- ปรับปรุงลําดับศักดิ์ของถนนซอยราชวิถี และทางเดินเทาทั่งถนนสายหลักและถนนซอย(2-8เมตร) ดวยการกําหนดความกวางของพื้นผิวทางสัญจร โดยใหมีการเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ- เชื่อมโยงเสนทางเดินเทา (ใตดิน)จากสถานีรถไฟฟาใตดิน MRT เพื่อการเขาถึงพื้นที่สาธารณะบริเวณรอบองคอนุสาวรียฯ และเชื่อมตอเขาสูลานโลงวางสาธารณะทั้ง 4 ดานรอบอนุสาวรียฯ2)แนวทางพัฒนาปรับปรุงระบบขนสงและที่จอดยานพาหนะ- กําหนดตําแหนงของระบบขนสงทั่งรถประจําทาง รถไฟฟาแบบราง(BTH/MRT) ใหมีระยะหาง แตละตําแหนงไมหางกันเกิน 200 เมตร และตําแหนงที่หางกันที่สุดจากประเภทระบบขนสงทั้งหมดไมควรเกิน 600เมตร- ปรับปรุงพื้นที่จอดยานพาหนะสวนบุคคลในบริเวณพื ้นที่ใตทางดวน บริเวณชุมชนวัดมะกอก สวนสันติภาพ และบริเวณสถานีรถไฟฟาBTH/MRT (อาคารจอดแลวจร)3)แนวทางพัฒนาปรับปรุงการใชประโยชนที่ดินและอาคาร- ปรับปรุงการใชประโยชนอาคารแบบอาคารพานิชกรรมและอาคารพาณิชพักอาศัยใหมากขึ้น (ชั้นลางสําหรับการคา ชันบนสําหรับพักอาศัย) โดยผสมผสานอยูบริเวณถนนพญาไท, พหลโยธิน, ราชวิถี และถนนรางน้ํา รวมทั้งตลอดแนวเสนทางการแทรกซึมของคนเดินเทา- เพิ่มประโยชนการใชที่ดินประเภทพานิชกรรมและพื้นที่วางสาธารณะ แทรกซึมเขาไปดานในพื้นที่ทั่งฝงสวนสันติภาพ และฝงชุมชนวัดมะกอก4) แนวทางพัฒนาปรับปรุงสภาพและความสูงอาคารกําหนดการฟนฟูบูรณะอาคาร โดยมีการดําเนินการปรับปรุงอาคาร ดังนี้- ปรับปรุงอาคารพาณิชพักอาศัยที่มีความเสื่อมโทรม บริเวณติดถนนสายหลักและถนนซอยตางๆโดยทําการฟนฟูสภาพอาคาร- อาคารที่อยูในสภาพดีบริเวณติดถนนสายหลัก กําหนดประโยชนการใชอาคารเปนพานิชกรรม/สํานักงาน หรือพานิชพักอาศัย- ปรับปรุงอาคารพักอาศัยขนาดเล็กที่มีความเสื่อมโทรมบริเวณดานในติดถนนซอยราชวิถีตางๆ โดยทําการรื้อถอน แลวสรางใหมเปนอาคารพักอาศัยเพิ่มพื้นที่ในแนวตั่ง หรือพัฒนาเปนพื้นที่วางสาธารณะ-เพิ่มความสูงของอาคารทั่งติดถนนสายหลัก สายรอง และถนนซอยเพื่อเพิ่มความหนาแนนของพานิชกรรมและที่พักอาศัยหนาแนนมาก ควบคูกับเพิ่มพื้นที่วางใหเกิดความสมดุล5) แนวทางพัฒนาปรับปรุงขอบเขตของพื้นที่วางสาธารณะ- ปรับปรุงพื้นที่วางสาธารณะบริเวณลานโลงวางสาธารณะ 4 ดาน พื้นที่สาธารณะใตทางดวน พื้นที่เชื่อมตอสถานีรถไฟฟาBTS และรถไฟฟาใตดิน MRT ตลอดจนทางเดินเทาติดถนนสายหลัก ใหมีขนาดในการรองรับปริมาณการสัญจรของผูคนจากระบบขนสงทุกประเภท รวมถึงรองรับกิจกรรมการคา การบริการอยางมีประสิทธิภาพ- เพิ่มพื้นที่วางสาธารณะภายในชุมชนพักอาศัยหนาแนนสูง และอาคารสํานักงานตางๆฝงสวนสันติภาพ และฝงชุมชนวัดมะกอก- พัฒนาพื้นที่วางสาธารณะบริเวณรอบองคอนุสาวรียฯใหรองรับกิจกรรมทางสังคมสอดคลองกับประวัติศาสตรของพื้นที่548


3.3.2 มิติเชิงจินตภาพ ทําโดยการปรับปรุงองคประกอบทางภูมิทัศนใหเกิดความเปนเอกลักษณและฟนฟูบูรณะรูปแบบอาคารใหเกิดการรับรูอยางเปนเอกภาพ สงเสริมความสงางามของภูมิสัญลักษณระดับเมือง1) การกําหนดแนวทางพัฒนาศักยภาพการมองเห็นและเขาถึง- เชื่อมโยงระบบพื้นที่วางสาธารณะใหเกิดมุมมองและการเขาถึงที่ดีเชื่อมโยงไปสูสถานที่สําคัญตางๆไดแก ลานโลงวางสาธารณะ 4 ดาน , พื้นที่สาธารณะใตทางดวน, พื้นที่เชื่อมตอสถานีรถไฟฟาBTS และรถไฟฟาใตดิน MRT, พื้นที่สาธารณะรอบองคอนุสาวรีย เปนตน เพื่อใหเกิดทางเลือกในการเดินทางไปสูบริเวณตางๆ ไดหลากหลายชองทาง- เนนกําหนดรูปแบบของแนวอาคารเพื่อเปดมุมมองใหเห็นถึงพื้นที่สําคัญ และเนนใหเกิดความโดดเดนและสงางามของมุมมองสูอนุสาวรียฯ2) การกําหนดแนวทางพัฒนาปรับปรุงรูปแบบดานหนาอาคารที่สรางใหเกิดจินตภาพ- ปรับปรุงแนวอาคารติดถนนสายหลัก ไดแก ถนนพญาไท, พหลโยธิน, ราชวิถี และถนนรางน้ํา โดยกําหนดระยะรนถอย แนวกันสาดของอาคาร และแนวเสนขอบฟาของอาคาร (Sky Line) รวมทั้งรักษาระยะและชองเปดตางๆใหรูปแบบดานหนาอาคารมีความเปนเอกภาพ ตลอดจนแนวทางในการติดตั้งปายโฆษณาตางๆเพี่อยังคงรูปแบบของเอกลักษณและแนวอาคาร โดยปรับปรุงใหเกิดความตอเนื่องและสีสันที่สวยงามของรูปแบบดานหนาอาคารแตละดาน ที่นําสายตาสูอนุสาวรียฯ โดยเฉพาะอาคารที่ปดลอมองคอนุสาวรีย (รอบวงเวียน)ตองคํานึงถึงความกลมกลืนของโครงสรางรถไฟฟา- กําหนดรูปแบบและแนวอาคารภายในถนนซอยราชวิถีและภายในชุมชนวัดมะกอก ใหเกิดความเปนยานที่ชัดเจน โดยกําหนดประเภทและรูปแบบของอาคารที่มีลักษณะคลายคลึงกันใหเรียงตอเนื่องกันอยางเปนระบบ ผสานกับระบบพื้นที่วางสาธารณะภายในชุมชน (Pocket Park)3.3.3 มิติทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการผสมผสานพื้นที่กิจกรรมใหเกิดการใชงานทั้งผูคนภายนอกและภายในพื้นที่เพื่อใหเกิดความหลากหลายของผูคนและกิจกรรมตลอดวัน รวมทั้งกําหนดชวงเวลาในการเปด/ปดของรานคาและระบบขนสงเพื่อควบคุมไมใหเกิดชวงเวลาที่ไมมีกิจกรรมระหวางวัน และไมเกิดการซอนทับกันในชวงเวลาเดียวกันจนเกิดความหนาแนนเกินไป1) การกําหนดแนวทางพัฒนาปรับปรุงพื้นที่กิจกรรม- กําหนดชวงเวลาในการเปดและปด การคา การบริการประเภทตางๆ โดยกําหนดชวงเวลาสลับผลัดเปลี่ยนกันในการเปดและปดกิจกรรมทั่งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใหเกิดกิจกรรมตอเนื่องตลอดวัน และควบคุมไมใหมีการเปดกิจกรรมที่ซอนทับกันในชวงเวลาเดียวกัน จนเกิดความหนาแนนเกินไป- กําหนดพื้นที่ผสมผสานกิจกรรมใหแทรกเขาไปดานในบริเวณซอยราชวิถีฝงสวนสันติภาพ และฝงชุมชนวัดมะกอก โดยสอดแทรกกิจกรรมที่มีการใชงานทั่งผูคนภายในและภายนอกพื้นที่ เชน รานอาหาร รานคาปลีกยอย ผสมผสานกับการคาขนาดใหญ เนนความหลากหลายของสินคาและบริการ เพื่อใหเกิดการสลับสับเปลี่ยนในการใชพื้นที่ของผูคนหลากหลายประเภทตลอดทุกชวงเวลา2) การกําหนดรูปแบบเศรษฐสัญจร(Movement Economic)- โดยการวางแผนประโยชนการใชอาคารใหสอดคลองกับลําดับศักดิ์ของถนน ไดแก การใชประโยชนอาคารพาณิชกรรมตามแนวถนนสายหลักพญาไท, พหลโยธิน, ราชวิถี การใชประโยชนอาคารพาณิชพักอาศัย549


ผสมผสานบริเวณถนนรางน้ําและถนนราชวิถีการใชประโยชนอาคารพักอาศัยใหอยูบริเวณถนนซอยหรือดานในสุดของพื้นที่บริเวณถนนซอยราชวิถี3,5 และบริเวณชุมชนวัดมะกอก4.ผังแนวคิดในการออกแบบปรับปรุงพื้นที่จากแนวทางในการออกแบบสามารถนํามาวางผังทางกายภาพของพื้นที่อนุสาวรียฯ(แผนที่4.1) โดยมีรายละเอียดดังนี้มิติเชิงสัณฐาน เชื่อมตอถนนใหเปนระบบตาราง เชื่อมโยงผานสถานที ่สําคัญ ไดแก โรงเรียนดุสิตพาณิชยาการ, สวนสันติภาพ, วัดอภัยทายาราม, ที่จอดยานพาหนะ (ปรับปรุงใหมบริเวณใตทางดวนและจุดเปลี่ยนถายระบบขนสงตางๆ) บริเวณถนนซอยราชวิถีตางๆเนนการจราจรทิศทางเดียวเพื่อจํากัดความเร็วของยานพาหนะ กําหนดทางเดินเทาทั้งสองฝงถนนและเชื ่อมโยงเสนทางเดินเทาไปสูจุดรวมกิจกรรมทุกรูปแบบ ใหเกิดการเขาถึงไปในพื้นที่ดานใน โดยมีระยะทางเดินที่สั้น ปรับปรุงทางเดินเทาใตดินโดยเชื่อมตอจากลานโลงวางสาธารณะ โดยรอบวงเวียนอนุสาวรียฯทั้ง 4 ดาน ไปสูพื้นที่สาธารณะรอบองคอนุสาวรียฯ พรอมทั้งปรับปรุงใหเกิดความสมดุลของมวลอาคารและพื้นที่วาง ใหเกิดพื้นที่วางสาธารณะแทรกซึมไปทั้งระบบ ควบคูกับการปรับปรุงขนาดและความสูงของมวลอาคารโดยเนนใหเปนศูนยกลางของอาคารพาณิชกรรมและที่พักอาศัยหนาแนนสูง เพิ่มจํานวนอาคารสํานักงานและอาคารพาณิชยพักอาศัย เพื่อเพิ่มความหนาแนนของผูคนและกิจกรรมในพื้นที่มิติเชิงจินตภาพ เปดมุมมองโดยเชื่อมโยงแนวแกนอยางเปนระบบ ผานสถานที่สําคัญตางๆ ไดแก จุดเปลี่ยนถายระบบรถไฟฟา (BTS./MRT.), รถประจําทาง (ลานโลงวางรอบวงเวียนอนุสาวรียฯ), จุดเปลี่ยนถายรถตูรวมบริการ (ใตทางดวน) เปดมุมมองจากวัดอภัยทายารามผานชุมชนวัดมะกอก และจากสวนสันติภาพผานยานพาณิชยพักอาศัยสูองคอนุสาวรีย ซึ่งมีมุมในการมองเห็นยาวไกลที่สุดเนื่องจากมีการเชื่อมโยงกับพื้นที่สําคัญหลายแหง ควบคูกับการปบปรุงรูปแบบดานหนาอาคารบริเวณติดถนนสายหลักใหสงางามสอดคลองกับองคอนุสาวรียฯ อาคารและพื้นที่วางที ่ปดลอมองคอนุสาวรียฯกําหนดรูปแบบที่เปนเอกภาพ และอาคารที่ติดถนนซอยราชวิถีตางๆ ภายในพื้นที่ มีความตอเนื่องของกําแพงถนนจากแนวอาคารและตนไม มีหัวมุมอาคารตรงกันทุกเสนถนน เกิดการรับรูและจดจําไดโดยงายมิติทางเศรษฐกิจและสังคม กําหนดพื้นที่และการผสมผสานกิจกรรมของผูคนทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ โดยใหอยูบริเวณที ่มีโอกาสในการผานไดหลากหลายชองทาง ไดแกบริเวณดานหนาดุสิตพาณิชยการ ลานโลงวาง 4 ดานรอบวงเวียนอนุสาวรียฯ ดานหนาชุมชนวัดมะกอก ซึ่งจะทําใหเกิดการใชงานพื้นที่ตลอดวัน ควบคูกับการกําหนดประโยชนการใชอาคาร บริเวณถนนสายหลัก (ถนนราชวิถี, ถนนพหลโยธิน, ถนนพญาไท) ใหเปนพาณิชกรรมบริเวณถนนซอยราชวิธี 5-16 เปนพาณิชยพักอาศัยและสํานักงาน และบริเวณถนนซอยราชวิถี3และซอยวัดมะกอก (ดานในสุด) เปนอาคารพักอาศัย ทั้งนี้เพื่อใหเกิดปริมาณการเลื่อนไหลไปอยางทั่งถึง และสามารถควบคุมความเปนพื้นที่สวนตัวดวยการปดชองทางเดินบางแหงเมื่อเวลากลางคืน เชน ดุสิตพาณิชยการ,โรงพญาบาลราชวิถี, ศูนยการคาตางๆ และทางเดินเทาใตดิน550


แผนที่4.1 ผังแมบท (Master Plan)5. ปจฉิมภิปรายบทความทางวิชาการนี้ เปนความรูใหมสําหรับการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในเมืองซึ่งเปนยานพาณิชยพักอาศัยที่มีความหมายและความสําคัญในเชิงสัญลักษณ ซึ่งประสบปญหาจากการเขาถึงของผูคนที่มากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบระบบขนสงและยานพาหนะ โดยขาดการวางแผนพัฒนาคุณลักษณะทางกายภาพที่เหมาะสม สงผลใหเกิดทั้งปญหาและศักยภาพ จึงใชกระบวนการ การออกแบบชุมชนเมืองเพื่อสรางความสมดุลใหกับพื้นที่ โดยเปนจุดเชื่อมตอการเดินทาง (Node) ที่มีประสิทธิภาพควบคูกับการเปนสถานที่ที่มีความหมาย (Place) ดวยวิธีการเชื่อมตอโครงขายและปรับปรุงระบบพื้นที่วางสาธารณะใหสามารถรองรับการเขาถึงของผูคนเดินเทาและยานพาหนะ เชื่อมโยงมุมมองและการเขาถึงไปสูสถานที่สําคัญตางๆ ตลอดจนเชื่อมโยงไปสูพื้นที่ดานในที่ใชประโยชนไมคุมคา ควบคูกับการวางแผนกําหนดพื้นที่ผสมผสานกิจกรรมของผูคนภายในและภายนอกเพื่อดึงดูดใหเกิดการใชงานพื้นที่ตลอดวัน รวมทั้งกําหนดรูปแบบอาคารและพื้นที่วางใหเกิดความเปนเอกภาพสมกับเปนสถานที่ตั้งของภูมิสัญลักษณระดับเมืองแนวทางนําไปสูการปฏิบัติ การดําเนินงานปรับปรุงพื้นที่ใหเปนไปตามแผนที่วางไวขึ้นอยูกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนาเมืองของภาครัฐ ไดแก กทม. และหนวยงานทองถิ่นที่มีสวนรับผิดชอบโดยตรง ไดแกสํานักงานเขตราชเทวี รวมถึงผูคนภายในและภายนอกที่เขามาใชพื้นที่ที่ตองเห็นความสําคัญของปญหาและศักยภาพของพื้นที่ โดยเนนประโยชนใหแกสวนรวมเปนที่ตั้ง โดยมีวิธีการดําเนินการคือภาครัฐที่สามารถเวนคืนที่ดินเพื่อทําการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ โดยจัดสรางที่อยูใหมใหมีสภาพแวดลอมที่ดีกวาเดิมโดยใชกฎหมายที่เกี่ยวของตางๆ ในการบังคับใช ในดานการจัดสรรงบประมาณ ใหของความรวมมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มภาษีกับศูนยการคาหรือหางรานขนาดใหญ แลวเปดใหเชาที่ดินในเชิงการคาประเภทตางๆ ตลอดจนใหเชาซื้ออาคารสํานักงาน โดยใชแรงจูงใจจากโอกาสในเชิงการคาที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต อยางไรก็ตาม ควรมีการทํา551


ประชาพิจารณเพื่อรับฟงความติดเห็นขางมากของผูคนในพื้นที่ เพื่อใหการปรับปรุงพื้นที่สอดคลองกับความตองการอยางแทจริงแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงนี้ สามารถนําไปเปนขอมูลพื้นฐานในการนําไปประยุกตใชกับพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรในยานพาณิชย/พักอาศัยศูนยกลางเมือง ที่มีบทบาทเปนภูมิสัญลักษณที่สําคัญของเมืองในบริเวณอื่นๆ ไดเอกสารอางอิงกรมการผังเมือง กระทรวงมหาดไทย. ทฤษฎีและความรูดานผังเมือง. กรุงเทพมหานคร, 2543กําธร กุลชล. การออกแบบชุมชนเมืองคืออะไร การติดตามหาคําตอบในรอบ40 ป. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.ดํารง ใจมา. พฤติกรรมและการใชพื้นที่สัญจรของผูโดยสารรถไฟฟา ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพฯ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาการออกแบบชุมชนเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ,2544.Charles W. Harris. Time-sever Standard for Landscape Architecture. USA :MC-Hill, 1988.Cullen, G. Townscape. New York: Reinhold Publishing Corporation,1961.Jane Jacobs. The death and Life of Great American Cities. Vintage Books,1961.John J. Fruin. Time-sever Standard for Urban Design. USA: The M.I.T Press, 1997.Hillier, B. and Hanson, J. 1984. The Social Logic of Space. Cambridge, U.K: Cambridge Universitypress, 1984.Lynch, K. The image of city. United States of America: The M.I.T. Press, 1960.Luca, B. and terjo, S. Cities on Rails. USA: Great Britain 1998.552


แนวทางการออกแบบพื้นที่เพื่อรองรับจุดเปลี่ยนระบบขนสงรถไฟฟามวลชนบริเวณสถานีเตาปูนเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานครDEVELOPMENT GUIDELINES FOR THE MASS TRANSIT INTERCHANGE AT TAO POON STATIONBANG SUE BANGKOKนายสุเชาว ทุมมากรณหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอบทความครั้งนี้มุงเนนเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟาเตาปูน เนื่องจากโครงการรถไฟฟาสายสีมวงไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟา(บริเวณยานเตาปูน)ใหกลายเปนศูนยกลางลําดับรอง( Sub Center )ของกรุงเทพมหานคร ที่มีความตองการใชที่ดินในประเภท การคา พาณิชยกรรมศูนยกลางธุรกิจและแหลงงาน ทําใหเกิดความไมสอดคลองกับการใชประโยชนที่ดินในปจจุปน และเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของใชที่ดิน พื้นที่สาธารณะรวมถึงระบบของโครงขายถนนที่จะตองมีการเปลี่ยนแปลงใหสอดคลองกับรูปแบบการเดินทางแบบใหม จากการวิจัยพบวาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการพัฒนารูปแบบการขนสงสาธารณะระบบรางและพื้นที่โดยรอบนั้นบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือบริเวณพื้นที่โดยรอบสถานีที่จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามตามรูปแบบของทฤษฎี Transit Oriented Developmentดังนั้นผลของการศึกษาครั้งนี้ไดเสนอแนะแนวทางการออกแบบปรับปรุงพื้นที่ใหสอดคลองกับบริบทเดิมในพื้นที่ กิจกรรม และรูปแบบการขนสงมวลชนระบบรางโดยใชหลักการออกแบบตามทฤษฎี Transit OrientedDevelopment เปนแนวคิดหลัก รวมถึงการนําเสนอการวางผังแนวทางพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สอดคลองกันระหวางการขนสงมวลชนระบบรางสาธารณะกับพื้นที่โดยรอบความสําคัญของการพัฒนาระบบขนสงรถไฟฟามวลชนระบบรางสาย “สีมวงและสีน้ําเงินสวนตอขยาย” ถูกสรางขึ้นเพื่อแกไขปญหาการจราจรและเพื่อเชื่อมโยงระหวางแหลงงานที่อยูเขตกรุงเทพฯชั้นในไปยังแหลงพักอาศัยบริเวณชั้นนอกนั้น ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอพื้นที่โดยรอบบริเวณสถานีรถไฟฟา เนื่องจากองคประกอบทางกายภาพของระดับโครงสรางของสถานี สงผลใหพื้นที่ใชงานของผูอยูอาศัยและผูใชงานในบริเวณโดยรอบสถานีรวมถึงกิจกรรมไดเพิ่มความซับซอนมากขึ้น จากการเพิ่มของระบบการสัญจรที่ไมใชระดับพื้นลางระดับเดียว เกิดเปนการสัญจรหลายระดับ(Multi Level Transportation) เรื่องของทัศนียภาพโดยรอบสถานีที่จะตองเปลี่ยนแปลง ทั้งยังทําใหเกิดปจจัยทั้งในดานบวกและดานลบในพื้นที่ เชน มีความตองการใชพื้นที่สาธารณะในแนวตั้งเพิ่มขึ้นตามลักษณะโครงสรางของสถานีรถไฟฟา ทําใหมีทางเลือกใหมในการสัญจรจากลักษณะเดิมที่เกิดในระดับพื้นลางเปนระดับชั้นสอง เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายในการเขาสูพื้นที่กิจกรรมหรือแมกระทั่งการเปลี่ยนการใชประโยชนของอาคารโดยรอบตามแนวโดยรอบสถานี553


การพัฒนาระบบสงมวลชนระบบรางนั้นยังทําใหเกิดความตองการใชประโยชนที่ดินในยานเตาปูนและพื้นที่โดยรอบตําแหนงของตัวสถานี พื้นที่รอบๆสถานีจะเปลี่ยนจากพื้นที่พักอาศัยเปนการใชเพื่อการคา สํานักงานธุรกิจและที่อยูอาศัยมากขึ้น ขนาดแปลงที่ดินและอาคารวางเปลามีจํานวนลดลงและเปลี่ยนแปลงไปตามการออกแบบเพื่อรองรับปริมาณของผูที่ใชระบบขนสงมวลชนในอนาคตภาพที่ 1 แสดงบริเวณพื้นที่ศึกษายานเตาปูน บางซื่อ (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)ปญหาสําคัญและเรงดวนที่มีผลกระทบตอพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟาเตาปูน1. เกิดการเปลี่ยนแปลงของการใชประโยชนที่ดินโดยรอบสถานีรถไฟฟาและความตองการของการใชประโยชนที่ดินของพื้นที่ศึกษา2. สภาพของอาคารเดิมโดยรอบสถานีไมสอดคลองกับรูปแบบกิจกรรมใหม3.พื้นที่โดยรอบสถานียังไมไดมาตรฐานของการเปนศูนยกลางจุดเปลี่ยนถายระบบคมนาคม4.รถไฟฟาสถานีเตาปูนเปนเรงใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานพื้นที่อยางรวดเร็วโดยพื้นที่ที่โครงการผานจุดศูนยกลางดานการคาขายของเขตบางซื่อตั้งแตอดีตมีคนและกิจกรรมตางๆในพื้นที่จํานวนมากบนสายหลักและมีการรวมกลุมธุรกิจการคาการเชื่อมโยงยานการคาทั้งระดับชุมชน จะสงผลใหสภาพการแขงขันทางดานพาณิชยกรรมมากขึ้น จะทําใหรูปแบบของอาคารและพื้นที่รอบนอกปรับเปลี่ยนเพื่อความคุมคาใหกับพื้นที่มากขึ้น554


การคาแบบเดิมในระดับพื้น รูปแบบของระบบขนสงมวลชน เกิดการเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมและอาคารโดยรอบภาพที่ 3 แสดงการเปลี่ยนแปลงดานกิจกรรมและพื้นที่โดยรอบ (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)หมายเหตุ: พื้นที่ศึกษาพิจารณาจากปจจัยคมนาคมและพื้นที่กิจกรรมโดยรอบเปนหลัก ไดแกสภาพโครงขายถนน จุดจอดรถบริการสาธารณะ และรัศมีการใหบริการสถานีรถไฟฟา ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพฯประเมินไวที่ 500 เมตร ซึ่งสามารถเขามาใชบริการไดโดยระบบทางเดินเทาภาพที่ 4 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาการเปลี่ยนแปลงดานกิจกรรมและพื้นที่โดยรอบ (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)ผลการศึกษาผลกระทบในพื้นที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ไดทําการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบรูปแบบของวิวัฒนาการของพื้นที่ออกมาตามลักษณะของการตั้งถิ่นฐานของเมืองและระบบของเสนทางสัญจรที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ทั้งดานกายภาพ เศรษฐกิจ สามารถแบงลําดับของการของการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ไดเปน 3 ลักษณะสําคัญ คือ1 สัณฐานเมืองที่เปลี่ยนแปลงตามการโครงขายน้ํา 2 สัณฐานเมืองเปลี่ยนแปลงตามโครงขายถนน และ3 สัณฐานเมืองเปลี่ยนแปลงตามโครงขายการคมนาคมระบบรางยกระดับ ทั้ง 3 ลักษณะนี้ผูวิจัยไดทําการศึกษาเพื่อทําการคาดการณแนวโนมการเปลี่ยนแปลงรวมถึงศึกษามาตรฐานของการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟาที่เปนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการสัญจรที่ถือวาเปนขนสงมวลชนสาธารณะที่เหมาะสมและดีที่สุดในเรื่องของงบประมาณและพลังงานของการเดินทางในเมือง โดยทําการศึกษาจากมาตรฐานของสถานีที่มีรูปแบบการพัฒนาที่ใกลเคียงและสอดคลองกับรูปแบบของสถานีรถไฟฟาเตาปูน555


สภาพพื้นที่ในปจจุบัน1. พื้นที่ยานการคาเกาและความเปนเอกลักษณของพื้นที่2 พื้นที่กิจกรรมและการคาหลักในพื้นที่3 รานคารูปแบบใหมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษาเกิดหางสรรพสินคาและรานคาประเภท มินิมารทและ ไฮเปอรมาเกต เกิดขึ้นในพื้นที่ตามแนวของเสนทางรถไฟฟาที่สะทอนถึงพฤติกรรมการเขาถึงและรองรับรูปแบบความตองการของผูที่เขามาใชงานไดอยางดี556


มาตรฐานในการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีและจุดเปลี่ยนถายระบบคมนาคมCharacteristics of successful transit station areasระยะรัศมีในการใหบริการของสถานีทางเลือกของการเขาถึงสถานีระยะหางของสถานีประมาณ 0.5 ไมลประมาณ 1 ไมลประมาณ 3 ไมล ขึ้นไปรูปแบบของการเขาถึงทางเดินระยะสั้น จักรยาน หรือรถประจําทางทางเดินระยะยาว จักรยาน หรือรถประจําทางจักรยาน รถประจําทาง หรือจุดจอดแลวจรจากตารางจะพบวาระยะหางของสถานีรถไฟฟาและยานการคาเตาปูนอยูในทางเลือกที่ 1 คือ ประมาณ 0.5ไมล โดยการเขาถึงพื้นที่จะเปนการเชื่อมการเดินจักรยานและระบบขนสงสาธารณะซึ่งสามารถนําไปเปรียบเทียบและกําหนดเปนเกณฑในการออกแบบและพัฒนาพื้นยานเตาปูนไดโดยในขั้นของการวิเคราะหพื้นที่ศึกษาจะทําใหพบวามาตรฐานของพื้นที่ปจจุบันอยูในเกณฑขอใดบางและจะตองมีการเพิ่มเติมในสวนใดเพื่อใหเขากับขอกําหนดพื้นที่โดยรอบสถานีและคุณภาพที่ทําใหเกิดความสมบูรณการพัฒนาพื้นที่แบบผสมผสาน- สงเสริมใหเพิ่มความหนาแนนในพื้นที่- ผสมผสานการพัฒนาพื้นที่โดยรอบ และบริเวณใกลเคียง- รวมพื้นที่เปดโลงเพื่อสาธารณะและพื้นที่เปดโลงของเมืองเขาดวยกัน- กระตุนใหใชรถจักรยาน และการเดินเทา- ผสมผสานการใชประโยชนที่ดินรวมกัน- เพิ่มระยะเวลาของกิจกรรมตางๆ- ปรับปรุงตลาด และความเปนไปไดทางการเงินใหดีขึ้น- พัฒนาระบบรักษาความปลอดภัย- จํากัดจํานวนคนโดยสารโดยประมาณการพัฒนาพื้นที่แบบเต็มรูปแบบ- สนับสนุนใหเกิดความหนาแนนเพิ่มขึ้น และcommercial traffic- รวมรูปแบบการเดินทางใหนอยลงเพิ่มความรื่นรมยของสิ่งแวดลอมดวยจักรยาน- ประชาสัมพันธทางเลือกใหมในการขี่จักรยาน- ทําใหการขี่จักรยานมีความสะดวกสบายเขาถึงงาย และปลอดภัยความเปนสถานีตองมีระบบขนสงมวลชนสาธารณะที่ดีรองรับ- พัฒนาการเขาถึงระบบขนสงมวลชน และสงเสริมใหเกิดการใชงาน- พัฒนาเสนทางจักรยานและทางเดินเทาเขาสูสถานี- เพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงสถานีกับพื้นที่ขางเคียง- เพิ่มมุมมองทางสายตามาสูสถานี- เพิ่มระบบการคมนาคมขนสงที่มีประสิทธิภาพ- เชื่อมโยงกิจกรรม และการใชประโยชนที่ดิน- ลดการพัฒนา และคาใชจายตางๆ557


- ทําใหทางเดินเทา และทางจักรยานกลายเปนทางเลือกที่สะดวกสบายมากขึ้น- อนุญาตการใชประโยชนที่ดินที่สนับสนุนพื้นที่ขางเคียง- ปรับปรุงสภาพแวดลอมทางเดินเทาใหดีขึ้น และเพิ่มระบบการสัญจรการสรางความเติมเต็มใหกับการใชประโยชนที่ดิน- ทําใหเสนทางของการเดินทางมีความสะดวกสบาย- สนับสนุนใหเกิดความเปนไปไดทางการเงิน- สงเสริมใหเกิดกิจกรรมทั้งกลางวันและกลางคืนรวมถึงเพิ่มความปลอดภัย- ปรับปรุงบริเวณสถานีใหความความนาสนใจมากขึ้น- สรางอาคารที่มีความสําคัญสําหรับชุมชนดวยการรวมองคประกอบตางๆ ของเมืองการสงเสริมใหเกิดสิ่งแวดลอมที่ดีในการเดินเทา- เพิ่มความหนาแนนของอาคารในขั้นที่ยอมรับได- สงเสริมใหเกิดกิจกรรมบนถนนและทางเทา- จัดลําดับทางเดินเทาแยกจากทางรถยนต- รวมถึง ทางเดินเทา แนวตนไม มานั ่ง ความสวางและ พื้นที่เปดโลงเพื่อสาธารณะที่สามารถใชประโยชนได- ทําใหระบบการขนสงมีความคลองตัวขึ้น- เพิ่มความปลอดภัยในการเดินเทา- สนับสนุนใหเกิดการพัฒนาพื้นที่แบบผสมผสานมีที่จอดรถที่เพียงพอ- เพิ่มความปลอดภัยสําหรับคนเดินเทา ดวยการสรางแนวกั้นระหวางคนเดินเทาและรถยนต- จัดหาที่จอดรถที่สะดวก- ลดความตองการพื้นที่จอดรถ- สรางการเขาถึงของรานคายอยองคประกอบสําคัญของที่จอดรถ- การลดลงของพื้นที่โดยรวมสําหรับความตองการการใชที่จอดรถในอนาคต- ใหความสําคัญของพื้นที่จอดรถใหอยูใกลกับกลุมอาคารและสํานักงาน- การพัฒนาทางเดินเทาใหสมบูรณยิ่งขึ้นตารางที่ 1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาการเปลี่ยนแปลงดานกิจกรรมและพื้นที่โดยรอบ (ที่มา:Transit Facilities ,Urban planning and station area development Station Area Development)558


ตัวอยางกรณีศึกษาการออกแบบพื้นที่จุดเปลี่ยนถายตามทฤษฎี Transit Oriented Developmentกรณีศึกษา KL Centralที่ตั้ง Kuala Lumpur มาเลเซียรูปแบบสถานี ยกระดับระบบราง Heavy rialการลงทุน ภาคเอกชนผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงของ ระบบการคมนาคมรองรับพื้นที่ รถประจําทางสาธารณะสรุปผลการวิเคราะหOffice Hotel/Residential KL Monorail โครงการ KL Central จัดอยูในResidential CommercialRegional rail ประเภทพื้นที่ Town CenterLocal Bus เปนการจัดบริหารพื้นที่เพื่อCommercial & Officeรองรับการขยายตัวของการrail, retail and food and beverageการเดินเทาเปนศูนยกลางคมนาคมระบบรางขนาดใหญโครงการ KL Central มีหลักการในการพัฒนาที่ดินโดยรอบดวยวิธี transit-orienteddevelopment เพื่อพัฒนาพื้นที่อสังหาริมทรัพยรอบสถานี โดยเริ่มใหบริการ เมื่อ 16เมษายน 2542 โดยลักษณะสําคัญคือของสถานีคือการที่มีมีรถไฟผานเขาไปในเขตเมืองเกาและเปนสถานีขนาดใหญที่สุดในแถบอาเซียน ทําหนาที่นําคนทํางานที่พักอาศัยอยูนอกเมืองแบบไปเชาเย็น-กลับและมีรูปแบบสถานีลอยฟาตารางที่ 2 สรุปกรณีศึกษาโครงการ KL Central Kuala Lumpur มาเลเซีย ( ที่มา : ผูวิจัย ,2551 )559


กรณีศึกษากรณีศึกษา Gare-Lille-Europeที่ตั้ง franceรูปแบบสถานี รถไฟความเร็วสูงระบบราง Heavy rialการลงทุน ภาครัฐผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงของ ระบบการคมนาคมรองรับพื้นที่ รถประจําทางสาธารณะสรุปผลการวิเคราะหOffice Hotel/ResidentialResidential CommercialCommercial & Officerail, retail and food and beveragecenterRegional railLocal Busการเดินเทาโครงการ Gare-Lille-Europeจัดอยูในประเภทพื้นที่ citycenter เปนการจัดบริหารพื้นที่เพื่อรองรับการขยายตัวของการเปนศูนยกลางคมนาคมระดับประเทศที่มีบทบาทเปนศูนยกลางธุรกิจสําคัญโครงการนี้เริ่มตนเมื่อป คศ.1993 โดยเปนสถานีเชื่อมระหวางประเทศ ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร เบลเยียม และ เนเธอแลนด โดยใชรถไฟความเร็วสูงใหบริการ พบวาพื้นที่โดย รอบสถานีมีการออกแบบพื้นที่ใหสอดคลองกับพื้นที่เมืองเดิม ทั้งเรื่องของระบบการสัญจรเดิมที่เขามารองรับกับระบบราง และเรื่องของความเปนศูนยกลางธุรกิจที่มีการเกิดขึ้นของ office building และการปรับปรุง public space ของเมืองโดยเนนใหผูใชที่อยูในชุมชนและผูใชงานที่มาจากภายนอกไดใชงานรวมกันตารางที่ 2 สรุปกรณีศึกษาโครงการ Gare-Lille-Europe ฝรั่งเศส ( ที่มา : ผูวิจัย ,2551 )560


บทสรุปปญหาและศักยภาพของพื้นที่ และการเสนอแนวทางการออกแบบจากการศึกษาบทบาทและแนวทางจากการพัฒนาพื้นที่ของยานเตาปูนนั้นพบวาปจจัยที่สงเสริมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่มีจํากัดทําใหเมืองมีการเจริญเติบโตคอนขางชาแตเนื่องจากการวางแนวทางและนโยบายการพัฒนาระบบขนสงมวลชนสงผลใหเกิดความเปลี่ยนแปลงและความตองการในการใชประโยชนที่ดินและอาคารมากขึ้นประกอบกับในการกอสรางสถานีรถไฟฟานั้นไดมีการเวนคืนแนวอาคารพาณิชยที่อยูริมสองขางถนนเพื่อกอสรางเปนอาคารสถานีรวมขนาดใหญระหวางรถไฟฟาสายสีมวงและสีน้ําเงินดังนั้นเมื่อพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงเปนศูนยกลางจุดเปลี่ยนถายคมนาคมเพื่อรองรับปริมาณคนที่เขามาพื้นที่พื้นที่โดยรอบจึงมีความตองการในการเปลี่ยนสภาพเพื่อใหสอดคลองกับรูปแบบกิจกรรม ไมวาจะเปน อาคารพาณิชยพื้นที่สวนกลาง ตลาด หรือแมกระทั่งความตองการในเรื่องของที่อยูอาศัยที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเมื่อสรุปภาพรวมของกรณีศึกษาและมาตรฐานของความเปนศูนยกลางการเปลี่ยนถายการสัญจร( Station Area )ทําใหพบวาพื้นที่บริเวณโดยรอบสถานียังขาดมาตรฐานและกายภาพเดิมของพื้นที่ยังตองมีการปรับปรุงเพื่อใหรองรับกับการเปน ศูนยกลางการเปลี่ยนถายการสัญจร และศูนยกลางลําดับรองของเมือง (Sub center)ในอนาคตภาพที่ 5 แสดงมาตรฐานการพัฒนาพื้นที่โดยรอบจุดเปลี่ยนถายสถานี( ที่มา: Station Plaza Planning Guideline Proposal for Station Plaza Development in Suburban Area ofBangkok Japan International Cooperation Agency, 2550 )561


ดังนั้นการเกิดขึ้นของสถานีสงผลใหเกิดแรงผลักดันการพัฒนาฟนฟูพื้นที่บริเวณสถานีรถไฟฟาเตาปูนและพื้นที่โดยรอบโดยใหความสําคัญกับเรื่องของ”ระดับความสามารถในการเขาถึงพื้นที่”และ”ความสามารถในการใหบริการของระบบสาธารณูปโภคที่อยูสองขางถนน” รวมถึง “การใชประโยชนที่ดินแตละประเภท” มาเปนแนวคิดหลักในการออกแบบพื้นที่และกิจกรรมแตละประเภทก็จะถูกพิจารณาจากระดับการเขาถึงพื้นที่และการใชประโยชนที่ดินตามลําดับและในการพัฒนาพื้นที่ใหเกิดความยั่งยืนและสอดคลองกับบริบทของยาน จําเปนจะตองศึกษาถึงลักษณะของกิจกรรมเดิมในพื้นที่และพฤติกรรมการใชงานเดิมกอนนํามาเปนเกณฑในการศึกษาปญหาและศักยภาพเพื่อใชในการออกแบบตอไปภาพที่ 6 การวิเคราะห ศักยภาพพื้นที่ (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)จากสภาพพื้นที่การเขาถึงพื้นที่โดยรอบจากสถานีรถไฟฟาพบวาขีดความสามารถในการเขาถึงพื้นที่ยังมีขอจํากัดทั้งเรื่องของถนนยอยในพื้นที่ที่สวนใหญเปนซอยตันและไมมีการเชื่อมระหวางกันทําใหพื้นที่สวนมากจะเปนพื้นที่ตาบอดที่ขัดแยงกับแนวทางของการใชประโยชนที่ดินของผังเมืองรวมที่มีการกําหนดใหเปนพื้นที่พาณิชยกรรมชั้นดีดังนั้นแนวคิดการเชื่อมระบบโครงขายภายในพื้นที่พักอาศัยจึงเปนแนวทางหลักในการพัฒนาพื้นที่โดยคํานึงถึงการเขาถึงดวยระบบทางเดินเทาและการขนสงสาธารณะเชื่อมไปยังพื้นที่กิจกรรมอื่นๆเปนหลักภาพที่ 7 แนวคิดในกาพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานี (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)562


จากแนวคิดการพัฒนาพื้นที่มีแนวคิดหลักในการพัฒนาพื้นที่คือการเชื่อมพื้นที่กิจกรรมหลักที่เปนตัวผลักใหเกิดกิจกรรมภายในพื้นที่เชื่อมกับตัวสถานีรถไฟฟาที่เกิดขึ้นจะเปนตัวผลักใหเกิดความเขมขนของกิจกรรมในพื้นที่โดยในที่นี้สถานีรถไฟฟาไดตั้งอยูบริเวณกิจกรรมการคาหลักของพื้นที่ที่ประกอบไปดวยตลาดสด ตลาดเสื้อผา และหางสรรพขายสินคาของเอกชน ถนนสายไมที่เปนแหลงรวมของยานการเฟอรนิเจอร รวมถึงการคาขายในพื้นที่ระดับพื้นชั้นลางที่จะยังคงเปนกิจกรรมที่สรางความเปนยานการคาเตาปูนที่จะยังคงอยูในพื้นที่โดยสามารถอาศัยโอกาสของการมีรถไฟฟาที่เปนตัวนําคนเขามาในพื้นที่สรางความเปนยานใหพื้นที่ตลาดสามแยกเตาปูนมีชีวิตชีวาและเกิดโอกาสในการพัฒนาพื้นที่มากขึ้น โดยแนวทางในการพัฒนาพื้นที่จะมีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนอาคารในพื้นที่ที่บางสวนจะมีการเปลี่ยนแปลงจากตึกแถวมาเปนถนนการคาที่มีพื้นที่สวนกลางสําหรับนั่งพักคอยและมีทางเดินเชื่อมระหวางอาคารชั้นสองเพื่อเขาไปสูตัวสถานีรถไฟฟาเพื่อสนับสนุนใหเกิดการเชื่อมตอของกิจกรรมการคาและกิจกรรมการสัญจรในพื้นที่พื้นที่รอบสถานี Station Plazaพื้นที่การคาสามแยกเตาปูนพื้นที่พักอาศัยภาพที่ 8 ทางเลือกในการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟา (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)ภาพที่ 9 แนวคิดแสดงรูปแบบการสรางจุดเปลี่ยนถายรอบสถานี (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)563


ภาพที่ 10 แนวคิดรูปแบบการใชงานอาคารโดยรอบสถานี (ที่มา: โดยผูวิจัย, 2551)แนวทางนําไปสูการปฏิบัติจากแนวทางในการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับจุดเปลี่ยนระบบขนสงรถไฟฟามวลชนบริเวณสถานีเตาปูน ที่ไดกําหนดไวในผังแมบทการพัฒนาพื้นที่ นํามาสูการปฏิบัติใหเปนจริง เพื่อใหแนวทางในการพัฒนาที่เกิดขึ้น สามารถสรางประโยชน และกอใหเกิดการพัฒนาภายในพื้นที่ไดจริง ซึ่งเปนสิ่งที่ความสําคัญตอการวางแผนพัฒนา โดยการนําแผนงานไปสูขั้นตอนการปฏิบัติ สามารถทําไดดังนี้ คือ1. การนําไปบังคับใชตามกฎมาย2. มาตรการควบคุม และมาตรการในการสรางแรงจูงใจภายในพื้นที่การรวมมือในการดําเนินงาน ระหวางภาครัฐ ทั้งในสวนกลาง ภาคเอกชน และประชาชนในพื้นที่ โดยวิธีการในการดําเนินการความรวมมือตางๆ อยูในรูปแบบของ Contracting Out กับ Franchising โดย Contracting Out คือการทําสัญญาโดยรัฐใหเอกชนดําเนินการพัฒนากอสรางโครงการพัฒนา โดยรัฐเปนผูควบคุม และกํากับดูแลใหเปนไปตามสัญญารวมทั้งขั้นตอนการจายเงิน สําหรับ Franchising คือ การใหสัมปทานแกบริษัทเอกชนในการดําเนินงาน เพื่อลงทุนในโครงการรวมทั้งการเก็บคาบริการ โดยสวนใหญวิธีการ Contracting Out จะใชในการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน และบริการสาธารณะตางๆ ใหกับเขต เชน การปรับปรุงเสนทางเดินเทา ระบบรักษาความปลอดภัยภายในพื้นที่ เปนตน และวิธีการ Franchising จะใชในการสงเสริมกิจกรรมทางดานเศรษฐกิจภายในพื้นที่เชน ปรับปรุงพื้นที่ใตโครงสรางยกระดับ ใหเปนพื้นที่เปดโลงและการคา พัฒนาใหเปนพื้นที่เพื่อการนันทนาการ เปนตน นอกจากนี้ยังตองมีการสรางระบบสื่อสารกับชุมชน และกลุมสังคมในพื้นที่ เนื่องจากประชาชน หรือกลุมชุมชนเขามามีสวนรับผิดชอบในการพัฒนาการดูแลและบํารุงรักษาพื้นที่ เพื่อใหเกิดความเขาใจรวมกันแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงนี้ สามารถนําไปเปนแนวทางเพื่อประยุกตใชและพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟาโครงการอื่นๆไดในอนาคต564


รายการอางอิงภาษาไทยสมฤทัย เล็กสกุล. แนวทางการออกแบบเพื่อประสานระบบพื้นที่โลงในเมืองยานธุรกิจ ถนนสีลม.กรุงเทพมหานคร:วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองเมือง, คณะสถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544สุนทร มลทา. แนวทางการจัดระเบียบพื้นที่ เพื่อการสัญจรทางเทาระหวางสถานีรถไฟฟาสยามสแควรและสนามกีฬาแหงชาติกับพื้นที่พาณิชยกรรมเกี่ยวเนื่อง: วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการวางผังเมือง, คณะสถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542สิทธา กองสาสนะ. แนวทางการฟนฟูศูนยการคาสยามสแควร: วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง, คณะสถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545ภาษาอังกฤษBurra Charter. The Australia ICOMOS Charter for Places of Cultural Significance, 1999.http://www.icomos.org/australia/burra.html. Retrieved 4 December 2007.565


การพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรยานชานเมือง: กรณีศึกษาพื้นที่บริเวณแยกรังสิต ปทุมธานี.Transit District Development Plan: A Case Study of Rangsit Interchange area, Pathumtaniนาย ปยะภัทร เต็มแยมหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย1. บทนําพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรซึ่งอยูบริเวณแยกรังสิต อยูในเขตเทศบาลเมืองรังสิต หรือ เมืองรังสิต เปนเทศบาลในเขตอําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี โดยเมืองรังสิตเปนเมืองปริมณฑลที่เปนพื้นที่รองรับการขยายตัวของกรุงเทพมหานครในทางตอนเหนือ และมีพื้นที่ที่เปนจุดเชื่อมตอของการเปลี่ยนถายคมนาคมยานชานเมืองที่มีความสําคัญ โดยเปนแยกที่เปนจุดตัดของถนนวิภาวดีรังสิต ถนนรังสิต-ปทุมธานี และถนนรังสิต-นครนายก ซึ่งการเดินทางไดเชื่อมกับถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข1 (ถนนพหลโยธิน) สายเอเชียและสายมิตรภาพ ซึ่งในปจจุบันรังสิตกลายเปนจุดศูนยกลาง ในการเดินทางไปภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกอีกทั้งจังหวัดปทุมธานียังเปนเมืองศูนยกลางการศึกษา วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีของภูมิภาค (Education andTechnology Hub) รวมถึงในอนาคตภาครัฐยังมีแผนในการขยายเสนทางระบบขนสงมวลชนทางยาวเขามาในพื้นที่ และไดมีการวางแผนที่จะเปนสถานีปลายทางของรถไฟฟา (สายสีแดง มหาชัย-รังสิต) ซึ่งจะชวยเพิ่มความสะดวกในการเดินทางและทําใหพื้นที่มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นและจะกอใหเกิดปจจัยในการเปลี่ยนแปลงทุกๆดานในพื้นที่รังสิตในอนาคต แตในปจจุบันพื้นที่ไมสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพการณดังกลาวไดคือ การรองรับจํานวนผูที่เขาใชพื้นที่ที่มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นในอนาคตหรือการใชประโยชนที่ดินที่ไมไดเปนไปตามศักยภาพ โดยขาดการวางแผนพัฒนาพื้นที่อยางเปนระบบและการเชื่อมตอโครงขายของระบบการสัญจรที่เหมาะสม เกิดการใชพื้นที่อยางหนาแนนโดยเฉพาะบริเวณแนวแกนถนนสายหลัก ทําใหเกิดจุดเปลี่ยนถายการสัญจรกระจัดกระจายอยูตามแนวถนนสายหลักและพื้นที่รวมกิจกรรมในพื้นที่ ทําใหมีความยากตอการเขาถึง มีความคับแคบเนื่องดวยถูกจํากัดโดยพื้นที่การใชงาน นอกจากนี้พื้นที่ยังมีความขัดแยงระหวางกิจกรรมการสัญจรและกิจกรรมการคา เนื่องจากพื้นที่ถูกใชโดยคนจํานวนมากและมีวัตถุประสงคหลากหลายบนพื้นที่เดียวกัน อีกทั้งการใชประโยชนที่ดินและการใชประโยชนอาคารยังขาดความตอเนื่องจากพื้นที่กิจกรรมจุดเปลี่ยนถายการสัญจรในแตละจุด ทําใหในชวงเวลาที่พื้นที่การคาและระบบขนสงปดการใหบริการ ทําใหพื้นที่เกิดความเงียบเหงาสงผลใหมีโอกาสเปนแหลงมั่วสุมและมีแนวโนมในการเกิดแหลงอาชญากรรมบทความนี้เปนสวนหนึ่งของงานวิจัยเพื่อหาแนวทางการพัฒนาดานกายภาพของพื้นที่บริเวณแยกรังสิต ในการรองรับกิจกรรมดานการสัญจร และการเปนพื้นที่ยานพาณิชยกรรมยานชานเมือง โดยพัฒนาคุณลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ผานการวิเคราะหดานตางๆไดแก เชิงสัณฐานของพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรตอพื้นที่โดยรอบเพื่อใหเกิดการใชพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ และการพัฒนาระบบพื้นที่วางสาธารณะใหสามารถรองรับกิจกรรมการสัญจรในพื้นที่ และพัฒนาการใชประโยชนที่ดินและการใชประโยชนอาคารใหเกิดการรับรูอยางเปนเอกภาพ มีความเปนเอกลักษณ รวมถึงดานเศรษฐกิจและสังคมโดยการผสมผสานพื้นที่กิจกรรมการสัญจรให566


ควบคูกิจกรรมดานการคาเกิดการใชงานทั้งผูคนภายนอกและคนภายในพื้นที่ เกิดความหลากหลายของผูคนและกิจกรรมตลอดทั้งวัน อยางไรก็ตามจากสภาพการณดังกลาวพื้นที่ศึกษายังมีอุปสรรคในการพัฒนา ซึ่งจะเห็นไดถึงปญหาในการเขามารวมตัวของประชากรในการใชพื้นที่เพื่อเปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณชานเมือง หรือการเดินทางเขามาใชพื้นที่ในสวนการคารวมไปถึงการคาดการณในอนาคตที่อาจมีผลกระทบจากระบบรถไฟฟาขนสงมวลชน จึงเปนที่มาของแนวทางในการศึกษาเพื่อการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น จากการเปนพื้นที่ในบริเวณจุดเปลี่ยนถายการสัญจรรวมไปถึงสรางแนวทางการใชประโยชนจากที่ดิน และเพื่อเพิ่มศักยภาพของพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพสูงสุดในการเปนจุดเปลี่ยนถายการคมนาคมที่สมบูรณแบบและรองรับกิจกรรมการคาในอนาคตซึ่งมีผลตอการพัฒนาสภาพพื้นที่แยกรังสิต และชุมชนโดยรอบใหสอดคลองกับสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาความเปนอยูที่ดีของประชาชนในพื้นที่อันเปนหนวยยอยทางสังคม ที่มีผลสืบเนื่องตอการพัฒนาในระดับประเทศตอไป2. คําถามและความสําคัญในการวิจัย2.1) ประเด็นปญหาระบบโครงขายการสัญจรและระบบขนสงมวลชนสาธารณะ ในบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่มีความหนาแนนและกระจัดกระจาย โดยขาดความเชื่อมโยงในการใชงาน2.2) ประเด็นปญหาการใชประโยชนที่ดินและการใชประโยชนอาคาร ที่ยังมีพื้นที่ที่ยังไมมีการพัฒนาใหมีความสอดคลองกับศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพื้นที่ในอนาคต3. วัตถุประสงคของการศึกษา3.1 เพื่อศึกษาวิเคราะหสภาพพื้นที่ในปจจุบันทางกายภาพ ไดแก โครงสรางพื้นฐานและ โครงขายการสัญจรตางๆการใชประโยชนที่ดินและการใชประโยชนอาคารของพื้นที่บริเวณแยกรังสิตและพื้นที่โดยรอบ3.2 ศึกษาและวิเคราะหถึงพฤติกรรมการสัญจร และการใชพื้นที่ระหวางการเปลี่ยนถายการสัญจรของคนที่เขามาใชในพื้นที่บริเวณยานรังสิต และพื้นที่โดยรอบ3.3 วิเคราะหความเชื่อมโยง ความสัมพันธของบทบาทกิจกรรมและการใชสอยพื้นที่ที่เกิดขึ้นจริงของคนที่อาศัยอยูในพื้นที่ในบริเวณพื้นที่แยกรังสิตและพื้นที่โดยรอบ4. ขอบเขตพื้นที่เพื่อการศึกษาและพื้นที่โครงการการกําหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาคํานึงถึงพื้นที่ที่มีกิจกรรมเกี่ยวของกับการสัญจรที่เกิดขึ้นโดยรอบแยกรังสิตเพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธระหวางกิจกรรมการสัญจรที่เกิดขึ้น โดยพื้นที่ศึกษาจะครอบคลุมบริเวณยานรังสิตซึ่งเปนพื้นที่ที่มีกิจกรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยนถายการสัญจร ที่เกิดขึ้นบริเวณริมถนนพหลโยธิน ถนนรังสิต –ปทุมธานี พื้นที่วางใตทางยกระดับขามแยกรังสิต บริเวณพื้นที่หางฟวเจอรพารค รังสิต เมเจอรรังสิต บริเวณตลาดรังสิต ชุมชนตลาดรังสิต ชุมชนหมูบานรัตนโกสินทร ชุมชนยอยโดยรอบริมคลองรังสิต และพื้นที่วางโดยรอบขอบเขตของพื้นที่ศึกษาทิศเหนือ จรดถนนพหลโยธิน 96ทิศตะวันออก จรดริมคลองหนึ่งทิศใต จรดริมคลองรังสิตประยูรศักดิ์ทิศตะวันตก จรดซอยรังสิต - ปทุมธานี 7567


ขอบเขตพื้นที่ศึกษาคํานึงถึงลักษณะกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่คือ การเปลี่ยนถายการสัญจรในรูปแบบตางๆไดแก การใชรถโดยสารประจําทาง รถโดยสารประจําทางระหวางจังหวัด รถตูโดยสารสาธารณะ เปนตนซึ่งกิจกรรมดังกลาวที่เกิดขึ้นมีผลกระทบกับกิจกรรมในพื้นที่โดยรอบไดแก กิจกรรมการคาขาย สถานศึกษาและการทองเที่ยว ซึ่งการกําหนดขอบเขตการศึกษาชุมชนใกลเคียงแลวยังครอบคลุมไปถึงพื้นที่การกอสรางสถานีรถไฟฟา ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและการขยายตัวที่จะเกิดขึ้นโดยรอบสถานีรถไฟฟาอีกดวยแผนที่ 1 แสดงขอบเขตการศึกษา5. วิธีการดําเนินการศึกษาการศึกษาไดใชพื้นที่บริเวณแยกรังสิต ซึ่งเปนพื้นที่สวนหนึ่งในเขตเทศบาลเมือง โดยเปนการวิจัยเชิงสํารวจ(Survey Research) และไปสูขั้นตอนเสนอแนะแนวทางการออกแบบ โดยเปนการศึกษาขอเท็จจริงที่ปรากฏในการใชพื้นที่บริเวณแยกรังสิต เปนการศึกษาสภาพปจจุบัน พฤติกรรมการใชพื ้นที่ โดยมีรายละเอียดวิธีดําเนินการศึกษาแบงออกเปน 1) วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 2) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมขอมูล5.1 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล5.1.1 การเก็บขอมูลลักษณะกายภาพทั่วไป สํารวจภาคสนามของลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจสังคมและบริบทของพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณแยกรังสิต568


การศึกษาภาคสนามจะเก็บขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ศึกษา แบงออกไดเปนการสํารวจภาคสนามดวยการสังเกตการณ(Observation) โดยใชเครื่องมือในการรวบรวมขอมูล คือ การบันทึกภาพนิ่ง/ภาพเคลื่อนไหว (Time-lapse photography) ซึ่งสามารถที่จะนํามาเก็บขอมูลรูปแบบกิจกรรมแบบหยุดนิ่ง (static activity patterns) และรูปแบบกิจกรรมการสัญจร (moving activity patterns) รวมทั้งปริมาณการสัญจรผาน (move through) และการสัญจรเขาถึง (move to) ซึ่งเปนขอมูลที่มีความเฉพาะในพื้นที่โดยมีวิธีในการเก็บขอมูลแบงออกได ดังนี้1) วิธีการเก็บขอมูลดวยการสอบถามและการสังเกตการณ คือ ขอมูลสวนการใชงานของระบบขนสงมวลชน เชน ปริมาณการเดินรถในแตละวัน จํานวนรถโดยสารในแตละประเภท พฤติกรรมการใชพื้นที่บริเวณจุดเปลี่ยนถายของผูที่ใชพื้นที่ในบริเวณตางๆ เปนตน2) วิธีการเก็บขอมูลดวยการใชแผนผังบันทึกกิจกรรม ขอมูลที่เก็บรวบรวมเปนการบันทึกกิจกรรมภายในพื้นที่ศึกษา เพื่อเปนตัวบอกถึงกิจกรรมการใชพื้นที่ที่เกิดขึ้นจริง5.1.2 การเก็บขอมูลลักษณะเชิงสัณฐานของพื้นที่เฉพาะบริเวณจุดเปลี่ยนถายการสัญจร โดยใชเครื่องมือในการสํารวจดังนี้การเก็บขอมูลเชิงประจักษหรือวิธีการเก็บขอมูลดวยการเขาสังเกตการณในพื้นที่ศึกษา ซึ่งไดใชวิธีวิจัยไดแก การบันทึกอัตราการสัญจรผานของรถโดยสารสาธารณะและของคนเดินเทาในพื้นที่ ดวยวิธีการนับดาน (Gate Observation) เปนการเก็บขอมูลปริมาณการสัญจรผานของรถโดยสารสาธารณะและของคนเดินเทา โดยการนับปริมาณที่สัญจรผานในแตละดานที่กําหนดตําแหนงเลือกบริเวณจุดตัดหรือทางแยก ซึ่งจะตองออกแบบการเก็บขอมูลของแตละชวงเวลาที่กําหนดโดยนับดานครั้งละ 10 นาที และนํามาหาคาเฉลี่ยเปนอัตรา/ชั่วโมง จากการเก็บขอมูลในหลายชวงเวลาของวันทั้งวันระหวางสัปดาหและวันหยุดสุดสัปดาห ซึ่งการเก็บขอมูลดวยวิธีนี้ทําใหทราบถึงปริมาณการสัญจรผานพื้นที่ในแตละดานและบริเวณที่มีอัตราสัญจรผานสูงสุดในแตละชวงเวลาของวัน5.2 ระยะเวลาชวงเวลาการเก็บรวบรวมขอมูลกําหนดการเก็บขอมูลโดยทําการเก็บขอมูลจากวันในระหวางสัปดาห (ยกเวนวันจันทรและวันศุกร เพื่อใหไดขอมูลที่ไมเบี่ยงเบนจากอิทธิพลของวันเริ่มและวันสิ้นสุดการทํางานในสัปดาห) และวันหยุดสุดสัปดาหในวันเสาร ทั้งนี้ไดกําหนดชวงเวลาในการบันทึกขอมูลออกเปน 4 ชวงเวลาไดแกชวงที่ 1 เวลา 07.00 – 09.00 น. ชวงเวลาเชาเวลาทํางานชวงที่ 2 เวลา 10.00 – 12.00 น. ชวงเวลากลางวันชวงที่ 3 เวลา <strong>13</strong>.00 – 15.00 น. ชวงเวลาบายชวงที่ 4 เวลา 16.00 – 19.00 น. ชวงเวลาเย็นเวลาเลิกงานซึ่งการแบงชวงเวลาในการเก็บขอมูลจะเลือกชวงเวลาเรงดวนที่มีการเขาใชพื้นที่บริเวณจุดเปลี่ยนถายการสัญจรมากที่สุด เพื่อใหไดคาที่แมนยําและมีความคลาดเคลื่อนนอยที่สุด ในการเขาใชพื้นที่ ทั้งนี้ก็เพื่อใหครอบคลุมการเขาใชพื้นที่ของลักษณะการสัญจรของรถโดยสารสาธารณะและของคนเดินเทาตลอดทั้งวัน569


6. กรอบแนวความคิดในการศึกษาพื้นที่จากการสํารวจพื้นที่ศึกษาเบื้องตนและการทบทวนวรรณกรรม การสรางกรอบแนวคิดในงานวิจัยการพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณแยกรังสิต คือ การพัฒนาลักษณะสําคัญของพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่มีคุณภาพ (Node of Transport)แผนภูมิที่ 1 แสดงกรอบแนวความคิดในการศึกษาพื้นที่7. ผลการศึกษาลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ มีรายละเอียดดานตางๆดังนี้7.1 ระบบโครงขายการสัญจรบริเวณพื้นที่ศึกษาเปนจุดรวมของเสนทางการสัญจรโดยการมีโครงขายการคมนาคมหลักที่สําคัญ ซึ่งเปนพื้นที่ที่เปนจุดเชื่อมตอการสัญจรที่สําคัญระหวางรถโดยสารสาธารณะและกึ่งสาธารณะ เนื่องจากบริเวณพื้นที่เปนรอยตอในการเดินทางจากกรุงเทพมหานครไปทาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางตอนบน ที่มุงไปยังแหลงงานหรือที่พักอาศัย ทําใหมีปริมาณยานพาหนะที่ผานในพื้นที่จํานวนมาก โดยถนนสายรองและสายยอยตางๆในพื้นที่ไมมีประสิทธิภาพในการบรรเทาความหนาแนนจากถนนสายหลัก เนื่องจากถนนสายยอยในพื้นที่มีบทบาทการรองรับการสัญจรผานและการสัญจรเขาถึงของยานพาหนะทุกประเภท ทั้งนี้ถนน570


สายยอยในพื้นที่มีการใชงานที่เกินความจําเปน เชน ผิวถนนถูกรุกล้ําเปนพื้นที่จอดรถ รุกล้ําของรานคาเปนพื้นที่คาขายแผงลอยหาบเร และถนนสายยอยกลับมีขนาดที่คับแคบ มีการเชื่อมตอถนนอยางไมเปนระบบ ทําใหไมมีประสิทธิภาพในการรองรับการสัญจรผานและการสัญจรเขาถึงของยานพาหนะ ตลอดจนไมปลอดภัยตอคนเดินเทา7.1.1 โครงขายการสัญจรของรถโดยสารสาธารณะเนื่องจากมีระบบขนสงสาธารณะหลากหลายประเภทในพื้นที่ โดยอยูในตําแหนงตางๆบนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร แตขาดพื้นที่รองรับที่มีประสิทธิภาพ การเชื่อมโยงเขาถึงลําบาก ตลอดจนมีระยะหางของแตละประเภทที่ไมสะดวกรวดเร็วตอการเดินเทา สวนพื้นที่จอดยานพาหนะมีพื้นที่ไมเพียงพอตอความตองการของผูใชทั้งผูใชภายในพื้นที่และผูใชภายนอกพื้นที่ รวมทั้งอยูในบริเวณที่เขาถึงไดยากและไมเกิดการเชื่อมโยงที่ดีตอระบบการเดินเทาและระบบขนสงมวลชน7.1.2 รูปแบบการสัญจรของคนเดินเทาเนื่องจากบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายอยูอยางกระจัดกระจายโดยรอบพื้นที่ ทําใหยากตอการเขาถึงและความเขาใจในการใชพื้นที่ โดยเสนทางเดินเทาที่อยูในพื้นที่ชุมชนยังขาดการจัดการระบบถนนที่ดีพอตอความตองการและยังใชไดไมเต็มศักยภาพ ซึ่งเห็นไดจากการจัดการพื้นที่หนาอาคารที่รุกล้ําเขามาในผิวทางจราจร การจอดรถกีดขวาง ซึ่งสิ่งเหลานี้ก็เปนผลมาจากขาดการจัดระบบระเบียบการสัญจรที่ดีภายในชุมชน ถาพิจารณาในขอดีนั้นสามารถเชื่อมตอกันเปนโครงขายที่ทําใหการสัญจรทางเดินเทานั้นมีความเขาใจและการรับรูไดงาย7.2 การใชประโยชนที่ดินและการใชประโยชนอาคารการใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน ถือเปนการใชประโยชนที่ดินแบบผสมผสานทางดานการคาและการพักอาศัย ที่รองรับผูใชในพื้นที่คือ ที่มีจํานวนมากในพื้นที่ ทั้งดานการคาการบริการ และที่พักอาศัย โดยพื้นที่สวนใหญจะพบปญหาการใชประโยชนที่ดินไมคุมคาและปญหาความเสื่อมโทรมของพื้นที่ เนื่องมาจากการขาดดูแลรักษา และขาดการวางแผนการใชประโยชนที่ดินใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งขาดการพัฒนาดานคุณภาพสิ่งแวดลอมดวย ทําใหมีการเพิ่มจํานวนบานจัดสรรคอนขางมาก ดังนั้นอาคารสวนใหญในพื้นที่จึงเปนอาคารเพื่อการพาณิชยกรรมกึ่งพักอาศัยเปนหลัก โดยมีอาคารพาณิชยแทรกตัวอยูในชุมชน และบริเวณริมถนนสายหลักไดแก อาคารพาณิชยกรรมขนาดใหญตางๆ ซึ่งผูอยูอาศัยเปนทั้งเจาของอาคารเองและเปนผูเชาอาศัยทางดานกรรมสิทธิ์ที่ดินในพื้นที่ศึกษาประกอบดวยแปลงที่ดินขนาดใหญ มีผูถือครองกรรมสิทธิ์เจาเดียว โดยมีการใชที่ดินทั้งในเชิงพาณิชยกรรม พื้นที่พักอาศัย และพื้นที่ที่ยังไมไดทําประโยชนอยางจริงจัง ซึ่งที่ดินแปลงนี้เปนลักษณะของการถือครองมาแตเดิม กลาวคือในดานศักยภาพแลวมีขอดีที่วาเมื่อเปนกรรมสิทธิ์ที่ดินเพียงเจาของเดียวนั้นสามารถลงทุนในการจะทําโครงการใหญได สําหรับผลดีตอสวนรวมนั้นการถูกควบคุมมาตรการตางๆจะถูกผลกระทบนอยกวา การบังคับหรือการคัดคานมาตรการตางๆที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นการพิจารณาหามาตรการพัฒนาที่เหมาะสม จึงเปนปจจัยหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่ดวย โดยในแงของกรรมสิทธิ์ที่ดินขึ้นอยูบริเวณชุมชนตลาดรังสิต ซึ่งที่ดินเหลานี้มีผูเชาในรูปตางๆ ซึ่งการพัฒนาปรับปรุงใดๆยอมสงผลกระทบตอผูเชาเหลานี้โดยการสูญเสียสถานที่ประกอบอาชีพและที่อยูอาศัยอยางไรก็ตามในการศึกษาและจากการสํารวจ571


พื้นที่พบวา ผูเชาเห็นวาการพัฒนาปรับปรุงจะชวยประสิทธิภาพในดานการคาการบริการ ตลอดจนสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น7.3 ดานเศรษฐกิจและสังคมการสํารวจขอมูลรูปแบบการใชพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรดานกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมดวยวิธีการบันทึกภาพนิ่งตอเนื่อง คือการบันทึกภาพในแตละชวงเวลา เพื่อบันทึกกิจกรรมของผูคนที่เขามาใชพื้นที่บริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรและพื้นที่ที่มีกิจกรรมใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร โดยมีขอมูลจากการสํารวจไดดังนี้7.3.1 กิจกรรมในแตละชวงเวลาบนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร เนนรองรับผูคนจํานวนมากจากภายนอกพื้นที่ซึ่งมีกิจกรรมที่สําคัญอยู 2 กิจกรรมคือ การเขามาใชพื้นที่เพื่อเปลี่ยนถายการสัญจรและกิจกรรมการคาการบริการ ทําใหเกิดกิจกรรมหลายรูปแบบอยางหนาแนน ชวงเชาและชวงเย็นตลอดทั้งวัน7.3.2 ความหนาแนนของผูใชพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร บริเวณที่มีกลุมคนหลากหลายประเภท จะทําใหเกิดการใชพื้นที่ที่หลากหลายรูปแบบ สงผลใหเกิดความหนาแนนของกิจกรรม ซึ่งจะอยูบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรและพื้นที่ที่มีกิจกรรมใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรหรือพื้นที่การคาการบริการ ในขณะที่ถนนซอยและพื้นที่ดานในนั้นไมมีพื้นที่สําหรับรองรับผูคน ทําใหมีจํานวนผูคนที่ใชพื้นที่อยางเบาบาง7.3.3 ประเภทและความสัมพันธของผูใชพื้นที่จุดเปลี่ยนถายเพื่อการสัญจร ลักษณะของกลุมผูใชพื้นที่จากการบันทึกและการสํารวจภาคสนามพบวามีกลุมผูใชทุกประเภทและมีความหลากหลาย ซึ่งสามารถจําแนกกลุมผูใชพื้นที่ตามจุดมุงหมายหรือตามระยะเวลาที่ทํากิจกรรมในพื้นที่ สามารถแบงประเภทผูใชได 3 ประเภทดังนี้1) ผูที่อยูในพื้นที่และบริเวณใกลเคียงพื้นที่ศึกษา หรือเปนคนทองถิ่นซึ่งผูที่เขามาอาศัยอยูในพื้นที่หรือทั้งอยูอาศัยและทํางานในพื้นที่ โดยสวนมากจะเปนผูประกอบกิจการการคาหรือที่อาศัยใชชีวิตประจําวันอยูในพื้นที่ซึ่งเปนกลุมที่มาใชพื้นที่อยูโดยตลอดเวลา ไดแก ชาวบานในพื้นที่ เจาของกิจการหางรานตางๆ เปนตน มีการใชพื้นที่ตลอด 24 ชั่วโมง2) ผูที่เขามาใชพื้นที่ คือผูที่เขามาทํากิจกรรมในพื้นที่เปนระยะเวลานานหรือผูที่เขามาทํางานในพื้นที่ เขามาใชพื้นที่ในการทํากิจกรรมที่ใชระยะเวลานาน มักเปนผูที่เดินทางเขามาใชพื้นที่ในการทํางานหรือมาพักอาศัย กลุมนี้ก็จะใชพื้นที่สวนใหญใชในการเปลี่ยนเสนทางการสัญจรเขาออกพื้นที่รวมทั้งกิจกรรมการคาและการบริการดวยไดแก พนักงานบริการตางๆ นักเรียนนักศึกษา เปนตน3) ผูที่เขามาใชพื้นที่ในการเปลี่ยนถายการสัญจร คือผูที่เขามาใชพื้นที่ในการทํากิจกรรมที่จําเปนเทานั้น เชน ผูที่เขามาเพื่อเปลี่ยนรถไปยังพื้นที่อื่นหรือใชในการสัญจรผาน โดยกลุมนี้ใชพื้นที่เพื่อเปนจุดแวะพักและใชในการเปลี่ยนถายการสัญจรซึ่งจะมีการหมุนเวียนเขามาใชพื้นที่อยางตอเนื่อง572


แผนที่ 2 แสดงการวิเคราะหลักษณะทางกายภาพของพื้นที่7.4 ลักษณะเชิงสัณฐานของพื้นที่เฉพาะบริเวณจุดเปลี่ยนถายเพื่อการสัญจรจากการวิเคราะหแสดงใหเห็นถึงรูปแบบกิจกรรมการใชพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร ทั้งการจับจองพื้นที่ ความหนาแนนและรูปแบบเสนทางของคนเดินเทา ซึ่งมีความหลากหลายและแตกตางกันไปในแตละพื้นที่ไดทําการวิเคราะหรวมกับลักษณะเชิงสัณฐานของบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรโดยรวมสภาพปญหาสําคัญที่พบบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร คือ การขาดความเชื่อมตอที่ดีและยังขาดภูมิทัศนที่ดีในการเดินเทาที่จะเชื่อมโยงกับจุดเปลี่ยนการสัญจรตางๆและการขาดพื้นที่รอรถโดยสารที่เปนสัดสวนเนื่องจากขาดการจัดระบบระเบียบที่ดีของสาธารณูปการและสภาพภูมิทัศน โดยสามารถสรุปการวิเคราะหประเด็นปญหาศักยภาพของพื้นที่ที่เปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรในแตละจุดรวมถึงจุดรวมกิจกรรมที่สําคัญและมีผลกระทบตอเนื่องกับระบบการสัญจรเปนการสรุปจากการวิเคราะหขอมูลลักษณะทางกายภาพของพื้นที่การสัญจรและจุดเปลี่ยนถายการสัญจรถือเปนองคประกอบสําคัญที่สามารถทําใหเกิดกิจกรรมและเชื่อมตอกิจกรรมการเดินทางในพื้นที่ ซึ่งจากการสํารวจและวิเคราะหพื้นที่สามารถแบงลักษณะของจุดเปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณพื้นที่ศึกษาออกเปน 5 พื้นที่คือ 1) บริเวณถนนพหลโยธินดานทิศใต บริเวณเมเจอรฯ รังสิต2) บริเวณถนนพหลโยธินดานทิศตะวันออก บริเวณหนาฟวเจอรพารค รังสิต 3) บริเวณถนนรังสิต – ปทุมธานีดานทิศใต บริเวณหนาตลาดรังสิต 4) บริเวณถนนพหลโยธินดานทิศเหนือ บริเวณแยกรังสิต 5) บริเวณถนนพหลโยธินดานทิศเหนือ บริเวณหนาศูนยแสดงรถยนต573


แผนที่ 3 แสดงบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร ภาพที่ 2 แสดงลักษณะสัณฐานของพื้นที่จุด -เปลี่ยนถายการสัญจร8. การกําหนดโปรแกรมในการออกแบบพัฒนาพื้นที่8.1 การวางกรอบประเด็นปญหาที่นํามาใชในการออกแบบพัฒนาพื้นที่ในอดีตพื้นที่บริเวณยานรังสิตเปนพื้นที่ชุมชนเกษตรกรรมที่อยูยานชานเมือง โดยตอมาเมื่อเมืองมีการพัฒนามีโครงขายการสัญจรตัดผานบริเวณพื้นที่ทําใหเกิดลักษณะการใชประโยชนที่ดินแบงแยกเปนกลุม จากเดิมที่เปนพื้นที่ผืนเดียวกัน ทําใหการเชื่อมโยงการใชประโยชนที่ดินและพื้นที่กิจกรรมถูกตัดขาดออกจากกัน ทําใหเกิดการใชงานพื้นที่ออกเปนสวนๆทั้งที่มีการใชงานพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพและไมมีประสิทธิภาพ อีกทั้งสงผลใหพื้นที่จุดเปลี่ยนถายขาดการเชื่อมโยงกันทําใหเกิดปญหาตางๆตามมา ซึ่งประเด็นปญหาหลักที่นํามาสูการออกแบบพัฒนาพื้นที่นั้นมาจากบทสรุปที่ไดจากการวิเคราะหปญหาและศักยภาพของพื้นที่ในดานตางๆดังนั้นการกําหนดแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ จึงไดสรุปแนวทางการพัฒนาตามประเด็นปญหาสําคัญอยู 2ประเด็นใหญๆดังนี้1) กรอบประเด็นปญหาระบบโครงขายการสัญจรและระบบขนสงมวลชนสาธารณะ จากการวิเคราะหปญหาในภาพรวมของพื้นที่ทําใหเห็นลักษณะระบบโครงสรางดานการคมนาคมภายในพื้นที่ เนื่องจากมีพื้นที่ที่ยังไมพัฒนาทําใหโครงขายการสัญจรไมมีความเชื่อมโยงสงผลใหเกิดปญหาตางๆตามมา อีกทั้งพื้นที่ศึกษาและพื้นที่ตอเนื่องมีความสัมพันธการใชพื้นที่รวมกันทั้งกิจกรรมการคาการบริการและการคมนาคมขนสง ดังนั้นการพัฒนาตองคํานึงถึงความเหมาะสมกับพื้นที่และการใชประโยชนใชสอยของพื้นที่ใน การจัดหาแนวทางในการแกไขปญหาพื้นที่นั้นเปนการจัดรูปแบบโครงสรางของระบบการสัญจรในพื้นที่ใหมีความกระชับ ความคลองตัวมากขึ้นรวมถึงการเสริมสรางกิจกรรมใหมีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ทั้งนี้ เพื่อที่จะมุงเนนการพัฒนาพื้นที่โดยรอบของจุดเปลี่ยนถายการสัญจรใหมีการลดพื้นที่จอดรถโดยรอบพื้นที่ สนับสนุนใหผูคนใชการเดินเทามากขึ้น โดย574


มุงเนนแนวทางในการพัฒนาเพื่อสงเสริมศักยภาพการใชพื้นที่ใหเปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่สําคัญซึ่งสามารถใชเปนแนวทางในการพัฒนาจุดเปลี่ยนถายการสัญจรอื่นๆ ที่ตั้งอยูในบริเวณพื้นที่ไดอยางเหมาะสมและมีความสอดคลองกับลักษณะทางกายภาพ2) กรอบประเด็นปญหาการใชประโยชนที่ดินและการใชประโยชนอาคาร พบวาภายในพื้นที่ขาดความเชื่อมโยงระหวางการใชประโยชนที่ดินกับลักษณะพื้นที่กิจกรรมการคาและการบริการที่เกิดขึ้น โดยมีการกระจุกตัวของพื้นที่กิจกรรม เนื่องจากพื้นที่ถูกแบงแยกออกจากกันทําใหไมสามารถกระจายกิจกรรมออกไปได อีกทั้งยังมีพื้นที่โลงวางที่ยังไมไดรับการพัฒนาโดยรอบ ซึ่งในการพัฒนาพื้นที่ที่ตองมุงเนนการสรางสภาพแวดลอมที่ดีใหกับเมืองทําใหกิจกรรมเกิดการเชื่อมโยงใหสอดคลองกับการใชประโยชนที่ดินและประโยชนอาคารกันอยางเปนระบบใหเขากับเนื้อเมืองในบริเวณพื้นที่ศึกษาและพื้นที่โดยรอบ รวมถึงการเพิ่มความหนาแนนและความหลากหลายในการใชประโยชนที่ดิน ใหมีความเหมาะสมและมีทิศทางที่ชัดเจนแผนที่ 4 แสดงกรอบประเด็นปญหาที่นํามาใชในการออกแบบพัฒนาพื้นที่575


8.2 เปาหมายในการพัฒนาพื้นที่แนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณแยกรังสิต ซึ่งเปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่มีบทบาทที่สําคัญกับพื้นที่มาก โดยกระบวนการที่คํานึงถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้นทางเศรษฐกิจควบคูกับทางสังคมอยางเหมาะสม เพื่อสรางเปาหมายในการพัฒนาพื้นที่ใหเกิดภาพรวมและสรางความหลากหลายในระดับพื้นที่สวนยอยสามารถแบงเปาหมายของแนวทางในการพัฒนาออกเปน ประการดังตอไปนี้1) พัฒนาพื้นที่ใหมีการใชประโยชนที่ดินสูงสุด และมีลักษณะของการใชงานพื้นที่แบบผสมผสานโดยมีองคประกอบที่สมบูรณแบบซึ่งสามารถรองรับความตองการของผูคนไดอยางทั่วถึงและมีบทบาทสําคัญในการรองรับการใชพื้นที่อันเนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจคือ แหลงงาน สถานศึกษาและแหลงที่พักอาศัย2) พัฒนาและปรับปรุงพื้นที่ใหมีความเหมาะสมกับบทบาทเพื่อเพิ่มศักยภาพความเปนจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ทันสมัยยานพื้นที่ชานเมือง3) ปรับปรุงและสรางสรรคพื้นที่สาธารณะใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมทางกายภาพของพื้นที่ใหมีคุณภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใชงาน4) สงเสริมกิจกรรมพื้นที่ที่เปนประโยชนสาธารณะ สอดคลองกับความตองการของกลุมคนที่เขามาใชพื้นที่ที่มีความหลากหลาย9. กรอบแนวทางในการออกแบบพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณแยกรังสิต9.1 ระบบโครงขายการสัญจรและระบบขนสงสาธารณะ1) กรอบแนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบโครงขายการสัญจร1.1) กําหนดลําดับศักดิ์ของถนนใหชัดเจน โดยการกําหนดความกวางของพื้นผิวทางสัญจรโดยคํานึงถึงการใชงานเปนหลัก โดยการสรางระบบโครงขายการสัญจรใหมในบริเวณพื้นที่วางที่ไมมีการใชงานใหเชื่อมโยงกับแนวถนนเดิมไปสูพื้นที่ที่มีความสําคัญ ไดแก พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร ระบบพื้นที่วางสาธารณะ1.2) ปรับปรุงโครงขายถนนภายในถนนซอยใหมีการเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบกับถนนสายหลักเกิดทางเลือกของชองทางในการเขาถึงพื้นที่จากถนนสายหลักมากขึ้น เพื่อลดความคับคั่งของการจราจรบริเวณจุดแยก, จุดตัด และเนนการผานไปสูพื้นที่เสื่อมโทรมตางๆ เพื่อใหเกิดโอกาสในการพัฒนา ตลอดจนแยกถนนที่มีการใชงานของยานพาหนะที่ใชความเร็วสูงและถนนที่มีการใชงานของยานพาหนะที่ใชความเร็วต่ําออกจากกันเพื่อใหเกิดการจราจรที่คลองตัวและความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น โดยตองควบคูกับการปรับปรุงขนาดของถนนใหเหมาะสม1.3) จัดระบบการจราจรภายในพื้นที่ ใหรองรับการสัญจรผาน (Move through) และการสัญจรเขาถึง(Move to) โดยถนนที่รองรับการสัญจรผานกําหนดใหยานพาหนะวิ่งสวนทิศทางกันไดเพื่อความคลองตัว สวนถนนที่รองรับการสัญจรแบบเขาถึงกําหนดใหยานพาหนะวิ่งทิศทางเดียว โดยมุงเนนความสะดวกและปลอดภัยของทางเดินเทาเปนหลัก576


2) กรอบแนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบขนสงมวลชนสาธารณะแนวทางกําหนดโปรแกรมการพัฒนาระบบขนสง โดยการจัดระบบตําแหนงของระบบขนสงใหเกิดความตอเนื่อง มี่ระยะหางที่เหมาะสม ควบคูไปกับการพัฒนาพื้นที่รองรับที่มีประสิทธิภาพสอดคลองกับระบบทางเดินเทา เอื้อตอการเปลี่ยนถายการเดินทางไดอยางสะดวกรวดเร็ว และปรับปรุงองคประกอบทางภูมิทัศนใหเกิดจินตภาพที่ดี ลดความสับสนวุนวายในการเดินทาง โดยมีรายระเอียดในการดําเนินการปรับปรุงพื้นที่ ดังนี้2.1) กําหนดตําแหนงของระบบขนสงโดยแบงประเภทแยกกันอยางชัดเจน รวมทั้งตําแหนงที่หางกันที่สุดจากประเภทระบบขนสงทั้งหมดไมควรเกิน 600 เมตร เพื่อความตอเนื่องและคลองตัว2.2) กําหนดพื้นที่จอดยานพาหนะของระบบขนสงประเภทตางๆไมใหกีดขวางการจราจรภายในพื้นที่โดยกําหนดขอบเขตและใหอยูในพื้นที่ที ่เหมาะสม3) กรอบแนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบโครงขายการสัญจรของคนเดินเทา3.1) เชื่อมโยงเสนทางเดินเทาใหเปนโครงขายที่เปนระบบ โดยเนนใหเกิดทางเลือกในการเดินทางไปสูระบบขนสง พื้นที่รวมกิจกรรม และสถานที่สําคัญตางๆ อยางสะดวก รวดเร็ว โดยการถายเทความหนาแนนปริมาณการสัญจรทางเดินเทาที่ติดถนนสายหลักที่รวมกิจกรรมของผูคนอยางหนาแนน3.2) สงเสริมเสนทางเดินเทาใหเชื่อมตอกับระบบพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรและพื้นที่วางสาธารณะโดยเฉพาะพื้นที่วางสาธารณะที่ไมถูกใชงานอยางคุมคา เพื่อเพิ่มโอกาสในการถูกใชงาน และเกิดประสิทธิภาพในการเดินทางเชื่อมตอไปยังพื้นที่ตางๆ9.2 การใชประโยชนที่ดินและการใชประโยชนอาคาร1) กําหนดการใชที่ดินตามลําดับศักดิ์ของระบบการสัญจรในพื้นที่โดยเนนลําดับศักดิ์จากบริเวณแนวแกนถนนสายหลัก ซึ่งกําหนดใหเปนพื้นที่พาณิชกรรมถัดจาดถนนายหลักกําหนดใหเปนพื้นที่พาณิชยกรรมพักอาศัย และถนนซอยยอยหรือพื้นที่ดานในกําหนดใหเปนพื้นที่หนาแนนสูง2) กําหนดใหเนนการใชประโยชนอาคารแบบอาคารพาณิชยกรรมพักอาศัยใหมากขึ้น (ชั้นลางสําหรับการคา ชั้นบนสําหรับพักอาศัย) โดยผสมผสานอยูบริเวณถนนสายหลักและถนนสายรอง รวมทั้งตามแนวการแทรกซึมของการเดินเทาเพื่อใหพื้นที่เกิดกิจกรรมในแนวราบมากขึ้น3) ควบคุม F.A.R. และ O.S.R. โดยการเพิ่มความสูงและขนาดของอาคาร เพื่อเพิ่มความหนาแนนของพาณิชยกรรมและที่พักอาศัยหนาแนนสูง รวมทั้งเพิ่มพื้นที่โลงวางสาธารณะโดยคํานึงถึงขอกําหนดของผังเมืองรวมจังหวัด พ.ศ.2549 เปนหลัก9.3 รูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคม1) สงเสริมใหพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่อยูในบริเวณที่มีความสําคัญตางๆ เกิดกิจกรรมทางสังคมที่สะทอนถึงอัตลักษณที่ดีของพื้นที่ โดยเฉพาะลานสาธารณะฝงศูนยการคาฟวเจอรพารครังสิต ซึ่งมีเนื้อที่ในการทํากิจกรรมมาก หรือบริเวณพื้นที่โลงวางที่มีศักยภาพในการพัฒนาควรปรับใหมีเปนลานกิจกรรมสรางสรรคทางสังคม โดยมีเวทีและที่นั่งถาวร รองรับการใชงานของผูคนภายในพื้นที่เอื้อใหเกิดปฏิสัมพันธภายในชุมชน โดยมีขอบเขตพอเหมาะในการสังสรรคพูดคุย และมีความเปนสวนตัวตามความเหมาะสม ซึ่งสามารถใชอุปกรณประกอบถนนและพืชพรรณ ชวยใหเกิดบรรยากาศที่เปนสวนตัว577


2) ปรับปรุงที่พักอาศัยที่เสื่อมโทรมใหเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มมากขึ้น ในการวางผังและกําหนดการใชงานเพื่อใหมีสภาพแวดลอมที่ดีเหมาะแกการอยูอาศัย และสามารถใชประโยชนจากพื้นที่ไดอยางเหมาะสมตามรูปแบบการใชประโยชนที่ดินและอาคาร3) กําหนดพื้นที่ผสมผสานกิจกรรมใหแทรกเขาไปดานในพื้นที่ เชื่อมโยงการเขาถึงโดยสะดวกโดยสอดแทรกกิจกรรมที่มีการใชงานทั้งผูคนภายในและภายนอกพื้นที่เชน รานคาขนาดยอมผสมผสานการคาขนาดใหญ โดยเนนความหลากหลายของสินคาและการบริการ เพื่อใหเกิดการสลับปรับเปลี่ยนในการใชพื้นที่ของผูคนหลากหลายตลอดทุกชวงเวลา9.4 กรอบแนวทางในการออกแบบพัฒนาพื้นที่เฉพาะบริเวณจุดเปลี่ยนถายเพื่อการสัญจรแนวทางกําหนดโปรแกรมการพัฒนารูปแบบการใชพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจร ในการพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรใหเกิดศักยภาพนั้นควรใหมีความสัมพันธกับกิจกรรมโดยรอบพื้นที่และการเขาถึงพื้นที่ดีซึ่งจะทําใหมีโอกาสทั้งผูคนทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ รวมทั้งกิจกรรมที่หลากหลายเลื่อนไหลไปบนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรในชวงเวลาตางๆ สงผลใหพื้นที่จุดเปลี่ยนถายบริเวณนั้นๆ ใหเกิดศักยภาพสูงสุด อยางไรก็ตามจากการวิเคราะหสภาพปญหาและศักยภาพทําใหทราบวา พื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรในพื้นที่ศึกษาในแตละพื้นที่โดยรวม คือ ขาดความสะดวกในการใชงานและการรับรูในการใชพื้นที่อยางชัดเจน เนื่องจากขาดความตอเนื่องและการเชื่อมโยงของจุดบริการสาธารณะ ปญหาเรื่องการซอนทับของระบบรถขนสงมวลชนที่หลากหลายในพื้นที่หรือพื้นที่รองรับการใชงานบริเวณจุดเปลี่ยนถายการสัญจรที่ไมเพียงพอตอความตองการ ซึ่งเปนตัวแปรที่ทําใหบริเวณพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรขาดประสิทธิภาพในการใช ดังนั้นการทําใหพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรมีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ การจัดกลุมพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรใหอยูใกลกันหรืออยูบริเวณพื้นที่เดียวกันใหเกิดความกระชับมากที่สุด เนื่องจากพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรเปนกิจกรรมที่ตองการความรวดเร็ว และเขาใจไดงาย สะดวกตอผูใชพื้นที่1) จัดกลุมพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรใหอยูใกลกันหรืออยูบริเวณพื้นที่เดียวกันใหเกิดเพื่อใหเกิดความกระชับมากที่สุด เนื่องจากพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรเปนกิจกรรมที่ตองการความรวดเร็ว และเขาใจไดงาย และสะดวกตอผูใชพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจร2) จัดเสนทางการสัญจรของระบบขนสงมวลชนประเภทตางๆโดยใหจําแนกระบบขนสงมวลชนและระบบขนสงมวลชนรวมออกจากกันอยางชัดเจน เพื่อใหเกิดการใชที่สะดวก งายตอการใชงานแลวยังชวยลดการสับสนของผูใชพื้นที่ รวมทั้งไมเกิดการกีดขวางการไหลเวียนของยานพาหนะอีกดวย3) จัดวางพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณที่มีมุมมองที่เห็นไดอยางชัดเจน โดยเชื่อมโยงโครงขายพื้นที่วางสาธารณะที่ผูคนแทรกซึมไปไดใหเปนระบบ โดยเชื่อมโยงใหเกิดการเขาถึงไดงายและเนนศักยภาพการมองเห็นและเขาถึงสูงสุดบริเวณพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจร รวมทั้งคํานึงถึงการถายความหนาแนนของการสัญจรจากบริเวณพื้นที่วางติดถนนสายหลักสูพื้นที่วางติดถนนสายรองและซอยยอย4) กําหนดการเปดมุมมองสําคัญตางๆ ดวยการกําหนดแนวอาคาร กําแพงถนน ควบคูกับอุปกรณประกอบถนนและพืชพรรณตางๆ เพื่อเนนมุมมองของการรับรูในการเขาถึงพื้นที่5) จัดกลุมกิจกรรมประเภทตางๆที่เกี่ยวกับระบบขนสงสาธารณะ เชน พื้นที่บริการรถขนสงสาธารณะจุดจอดยาพาหนะ หรือจุดพักซอมบํารุง บนพื้นที่จุดเปลี่ยนถายการสัญจรอยางเหมาะสม โดยเนนการเชื่อมโยง578


กิจกรรมจากบริเวณพื้นที่สาธารณะที่มีกิจกรรมอยางคึกคัก โดยเฉพาะพื้นที่ที่ติดถนนสายหลักใหมีความเลื่อนไหลเขาไปดานในของพื้นที่ ควบคุมใหเกิดความตอเนื่องอยางเหมาะสม เพื่อใหเกิดความคุมคาในการใชงานพื้นที่สูงสุดแผนที่ 5 แสดงแนวทางในการออกแบบพัฒนาพื้นที่9. สรุปขอเสนอแนะการศึกษาพัฒนาพื้นที่บริเวณจุดเปลี่ยนถายการสัญจรบริเวณแยกรังสิต เปนพื้นที่ที่มีความซับซอนหลายมิติทั้งในแงของผูใชที่หลากหลาย โดยมีปจจัยตางๆที่ทําใหเกิดการแตกตางกันออกไป ซึ่งการนําเสนอแนวทางในการออกแบบนั้นเปนสวนหนึ่งของการศึกษาที่ยังไมไดปฏิบัติถึงขั้นตอนการสอบถามความคิดเห็นหรือการทําประชาพิจารณของคนในพื้นที่ชุมชนและผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหไดทราบความเห็นความตองการของประชาชนโดยการดําเนินงานพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ใหเปนไปตามแผนที่วางไวขึ้นอยูกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ไดแก กรมโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดปทุมธานี หนวยงานทองถิ่นที่มีสวนรับผิดชอบโดยตรงเทศบาลเมืองรังสิต กรมการขนสงทางบก และเจาของที่ดิน โดยเห็นความสําคัญของปญหาและศักยภาพของพื้นที่ที่เนนประโยชนสวนรวม ซึ่งใหมีวิธีการดําเนินการคือภาครัฐที่สามารถเวนคืนที ่ดินเพื่อพัฒนาปรับปรุงหรือพัฒนาปรับปรุงพื้นที่รวมกับภาคเอกชน โดยจัดสรางที่อยูใหมใหมีสภาพแวดลอมที่ดีกวาเดิมโดยใชกฎหมายที่579


เกี่ยวของตางๆ ในการบังคับใชดานการจัดงบประมาณ ใหความรวมมือกับภาคเอกชน โดยเปดใหเชาที่ดินในเชิงการคาประเภทตางๆตลอดจนการใหเชาซื้ออาคารสํานักงาน รานคา ที่พักอาศัยในเชิงพาณิชย โดยใชแรงจูงใจจากโอกาสในเชิงการคาที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต อยางไรก็ตามควรมีการทําประชาพิจารณเพื่อรับฟงความคิดเห็นของผูคนในพื้นที่ เพื่อใหเกิดแนวทางในการพัฒนาที่สอดคลองกับความตองการอยางแทจริง โดยแนวทางในกพัฒนาพื้นที่สามารถนําไปเปนขอมูลพื้นฐานในการนําไปประยุกตใชกับพื้นที่เปลี่ยนถายการสัญจรยานชานเมืองในบริเวณอื่นๆไดบรรณานุกรมสํานักงานการจราจรและขนสง. (online).2008. Available from: http//www.ttd-bma.cjb.net (2008)สํานักงานเขตเทศบาลเมืองรังสิต, สํานักงาน. ขอมูลพื้นฐานเทศบาลเมืองรังสิต. ปทุมธานี : 2551หางฟวเจอรพารครังสิต, สํานักงาน. ขอมูลการใชประโยชนที่ดินและปริมาณความหนาแนนของการใชงานพื้นที่ของหางฟวเจอรพารครังสิต. ปทุมธานี : 2550580


การออกแบบและผสมผสานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนกับการเรียนการสอนรูปแบบเดิมและผลสัมฤทธิ์จากการใชสื่อกรณีศึกษา : สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ภาพและพื้นภาพรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยDesign of computer assisted instruction and blend in traditional learning on “Figure & Ground”and Its achievement to Students: A case study on course 2501117 Studio in Design, Faculty of Architecture, ChulalongkornUniversity.นางสาว แสงเดือน แกวแกมเสือหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสถาปตยกรรมศาสตร ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อจัดทําสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ภาพและพื้นภาพสําหรับการเรียนการสอนในรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ (Studio in Design) และประเมินผลสัมฤทธิ์จากการใชสื่อ 2) นําเสนอรูปแบบการเรียนการสอนรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม(Principle of Design in Architecture) และรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ (Studio in Design) ที่ผสมผสานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนเขากับการเรียนการสอนรูปแบบเดิมอยางเปนระบบกลุมตัวอยางเปนนิสิตชั้นปที่ 1 คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2551จํานวน 88 คน โดยคัดเลือกจากกลุมนิสิตที่มีคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ระดับสูงสุด 30 คน ระดับเฉลี่ยกลาง 28 คน ระดับต่ําสุด 30 คน แบงกลุมตัวอยางออกเปน 2 กลุมคือกลุมที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน และกลุมที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน โดยแตละกลุมมีนิสิตจากระดับคะแนนตางๆ ในจํานวนที่เทากัน วิเคราะหผลสัมฤทธิ์จากการใชสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ดวยคะแนนจากงานออกแบบของกลุมตัวอยางตามโจทยการออกแบบที่เกี่ยวของกับเรื่อง ภาพและพื้นภาพ 3 โปรแกรม จํานวน5 ชิ้นงาน สถิติที่ใชในการศึกษาคือ คาเฉลี่ย คารอยละ และคา t-testผลการศึกษา1. กลุมตัวอยางที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงกวา กลุมตัวอยางที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .052. กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรสูงสุด ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงกวา กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรสูงสุด ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน อยางไมมีนัยสําคัญ581


3. กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเฉลี่ยกลาง ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงกวา กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเฉลี่ยกลาง ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน อยางไมมีนัยสําคัญ4. กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรต่ําสุด ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงกวา กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรต่ําสุด ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05บทนํานิสิตสถาปตยกรรมศาสตรทุกคน เริ่มตนเรียนรูพื้นฐานการออกแบบ จากการเรียนการสอนในรายวิชา2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม (Principle of Design in Architecture) และรายวิชา2501117 ปฏิบัติการออกแบบ (Studio in Design) ในลักษณะการเรียนรูควบคูกัน โดยนิสิตจะไดฟงการบรรยายภาคทฤษฏีเกี่ยวกับการออกแบบหัวขอตาง ๆ จากรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรมระยะเวลา 3 ชั่วโมงตอสัปดาห และนําความรูนั้นมาออกแบบงานตามโจทยแบบฝกหัดที่ไดรับในรายวิชา2501117 ปฏิบัติการออกแบบ สัปดาหละ 2 ครั้ง ใชเวลาครั้งละประมาณ 4-5 ชั่วโมงปการศึกษา 2551 นี้ ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรไดมีการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อใหสอดคลองและมีความเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบันมากขึ้น โดยในสวนของรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม การเรียนรูในภาคทฤษฎีไดมีการเพิ่มเติมเนื้อหาและปรับชั่วโมงในการศึกษาเกี่ยวกับหัวขอการออกแบบตางๆ ใหกระชับมากขึ้น ทําใหกระบวนการเรียนรูบางสวนจะมีการเหลื่อมกันของระยะเวลาในการเรียนรูระหวางภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติเปนระยะเวลาประมาณ 3-42 วัน จากขอมูลทางสถิติของ Research Institute of America พบวา ความจําของผูเรียนจะลดนอยลงไปตามระยะเวลาที่ผานไปหลังจากฟงการบรรยาย โดยจะจําได 51% เมื่อเวลาผานไป 33 นาที จําได 33% เมื่อเวลาผานไป 2 วัน และจําได 15%เมื่อระยะเวลาผานไป 3 สัปดาห (สุชาย ธนวเสถียร และชูเกียรติ ศักดิ์จิรพาพงษ, 2549 อางถึงใน สุวภัทรศรีกัสสป, 2550) และตามแนวความคิดของทฤษฏีการเรียนรู ระยะเวลา 3-42 วันนั้น เปนระยะเวลาที่นานเกินไปสําหรับกระบวนการพัฒนาจากความจําระยะสั้นสูความจําระยะยาว ที่จะทําใหเกิดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นในการเรียนการสอน นิสิตจึงจําเปนจะตองมีการทบทวนความรูเดิมในภาคทฤษฏี เพื่อเปนการกระตุนและเตรียมระบบการเรียนรูใหพรอมกอนการปฏิบัติการออกแบบตามโจทยที่ไดรับ ซึ่งเปนกระบวนการในการนําความรูเดิมมาใชซ้ําๆ ในสถานการณใหม เกิดเปนการเรียนรูที่มีความหมายปจจุบันความกาวหนาทางเทคโนโลยีและระบบเครือขาย ไดเขามามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนและเพิ่มศักยภาพในการเรียนรูของนิสิต ไดมีการศึกษาวิจัยและการพัฒนาการเรียนการสอนโดยการใชเทคโนโลยีและระบบเครือขาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรูและแกปญหาการเรียนรูในประเด็นตางๆมากมาย รวมทั้งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะสถาปตยกรรมศาสตร และภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร ไดมีนโยบายสนับสนุนการนําการเทคโนโลยีและระบบเครือขาย มาใชเปนเครื่องมือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนการสอน เชนกัน582


การศึกษาครั้งนี้มีแนวคิดในการจัดทําสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนที่เกี่ยวของกับหัวขอการออกแบบ ในรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม และรายวิชา 2501117ปฏิบัติการออกแบบ และนําสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นมาใชอยางเปนระบบสําหรับการเรียนการสอน โดยการนําเสนอรูปแบบของการใชสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนในการเรียนการสอนผานเครือขาย รวมกับการเรียนการสอนรูปแบบเดิมของรายวิชา ที่ใชการเรียนการสอนแบบเผชิญหนาในหองเรียนปกติ รวมทั้งศึกษาถึงผลของสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนตอสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษาของนิสิต โดยมีจุดมุงหมายเพื่อเปนการแกปญหาในเรื่องการเหลื่อมกันของระยะเวลาในการเรียนรูระหวางภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ และขอจํากัดของระยะเวลาที่ใชในการเรียนการสอนของรายวิชา โดยการใชสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนเพื่อกระตุนความรูเดิมกอนการปฏิบัติการออกแบบ รวมทั้งเปนสื่อเสริมสรางความเขาใจในภาคทฤษฏีแกกลุมนิสิตที่มีการทําความเขาใจกับบทเรียนไดชา และเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในระบบ e-learning ของรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม และรายวิชา2501117 ปฏิบัติการออกแบบ ตอไปการคัดเลือกกลุมตัวอยางและเครื่องมือที่ใชในการศึกษาทําการศึกษาโดยการคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง จากนิสิตชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2551 คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมีเกณฑในการคัดเลือกกลุมตัวอยาง 3 กลุม ดังนี้กลุมที่ 1 นิสิตที่มีคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรในระดับสูงสุดจํานวน 30 คนกลุมที่ 2 นิสิตที่มีคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรในระดับเฉลี่ยกลางจํานวน 28 คนกลุมที่ 3 นิสิตที่มีคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรในระดับต่ําสุดจํานวน 30 คนจัดแบงกลุมตัวอยางทั้งหมดออกเปน 6 กลุมยอย จํานวนกลุมละ 14-15 คน โดยกลุมตัวอยางแตละกลุมยอยจะมีนิสิตที่มีระดับคะแนนทั้ง 3 ระดับในจํานวนเทา ๆ กันจัดแบงกลุมตัวอยางทั้ง 6 กลุมยอยออกเปน 2 กลุมใหญ คือกลุมที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนจํานวน 3 กลุม และกลุมที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 3 กลุม โดยกลุมตัวอยางทั้งหมดมีการเรียนการสอนที่เหมือนกันทุกประการ คือมีการเรียนรูภาคทฤษฏีในรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม จากอาจารยคนเดียวกัน เรียนรูภาคปฏิบัติโดยการปฏิบัติการออกแบบ ในรายวิชา 2501117ปฏิบัติการออกแบบ และไดรับการประเมินผลงานการออกแบบโดยคณาจารยกลุมเดียวกันจํานวน 7 ทานเครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง ภาพและพื้นภาพ ที่มีเนื้อหาตามการเรียนการสอนในรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม และวัดผลการศึกษาเฉพาะโจทยแบบฝกหัดที่เกี่ยวของกับ เรื่องภาพและพื้นภาพ 3 โปรแกรม จํานวน 5 ชิ้นงาน ในรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบการออกแบบและจัดทําสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ภาพและพื้นภาพการออกแบบและจัดทําสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนในการศึกษาครั้งนี้ มุงเนนการเรียนรูตามแนวทฤษฏีปญญานิยม (Cognitive Theory) ซึ่งมีแนวคิดวาการเรียนรูคือการผสมผสานความรู เปนการสรางและถายโอน583


ความรูเดิมเขากับความรูใหม เกิดเปนการเรียนรูอยางมีความหมาย และใชบทสรุปจากผลการวิจัยของ MonicaW.Tracey and Rita C.Richey (2006) เปนแนวทางในการออกแบบ ซึ่งสรุปขั้นตอนในการออกแบบพัฒนาบทเรียน (instructional design model) จากแบบจําลองตางๆ ออกเปน 4 ขั้นตอน คือ1. ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล (analysis)ความตองการจําเปนจากขอมูลตางๆ พบวาในการเรียนการสอนของรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม และรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ มีขอจํากัดในดานระยะเวลาในการเรียนการสอนภาคทฤษฏีที่นอยลง เกิดการเหลื่อมกันของระยะเวลาในการเรียนรูระหวางภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ และในปที่ผานมามีนิสิตบางสวนมีระดับการเรียนรูต่ํากวาวัตถุประสงคในการเรียนการสอนของรายวิชาคุณลักษณะของผูเรียน- ระดับเชาวนปญญา นิสิตคณะสถาปตยกรรมศาสตรชั้นปที่ 1 มีอายุ17 ปขึ้นไป มีพัฒนาการดานเชาวนปญญาในระดับ formal operation สามารถเรียนรูในสิ่งที่เปนนามธรรมที่มีการแปรเปลี่ยนไดอยางซับซอนสามารถตั้งสมมุติฐานและคิดไดอยางเปนระบบ และมีความรูทางคอมพิวเตอรอยูในระดับที่สามารถเรียนรูผานเครือขายไดอยางคลองแคลว- ความพรอมในการเรียนผานเครือขาย คณะสถาปตยกรรมศาสตรและภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรในปจจุบันมี webpage ที่พรอมสําหรับการเรียนการสอนในรายวิชาตางๆ อยูแลว รวมทั้งมีการพัฒนาการเรียนการสอนผานเครือขายอยูเสมอคณะสถาปตยกรรมศาสตรมีหองคอมพิวเตอร ที่มีคอมพิวเตอรพรอมระบบเครือขาย ประมาณ 45-50เครื่อง ใหนิสิตทุกคนสามารถเขาใชได รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัวของนิสิตเนื้อหาของบทเรียนการเรียนการสอนเกี่ยวกับพื้นฐานการออกแบบ ของรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม และรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ แบงหัวขอการออกแบบ ออกเปน 12 หัวขอใหญ คือDot Line Plane Shape & Form Color Space Composition Texture MeaningTechnique Rhythm Proportion Movement & Balance 3Dimensionในการศึกษาครั้งนี้เลือกทําสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนในหัวขอ ภาพและพื้นภาพ จากเรื่อง dot lineplane เนื่องจากเห็นวาเปนพื้นฐานที่สําคัญในการออกแบบ และมีสื่ออิเลคทรอนิกสของภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรที่เกี่ยวของกับเรื่องความสัมพันธระหวางองคประกอบ อันเปนเนื้อหาที่ตอเนื่องกันอยูแลว584


รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบเดิมของรายวิชา สามารถสรุปไดดังนี้ภาพที่ 1 แสดงรูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบเดิมของรายวิชารายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรมฟงการบรรยายภาคทฤษฏีจากหองบรรยายรวมรับโปรแกรมและฟงการอธิบายโจทยการออกแบบจากหองบรรยายรวมปฏิบัติงานตามโจทยการออกแบบ โดยไดรับคําอธิบายและคําชี้แนะจากอาจารยประจํากลุมในหองปฏิบัติการเปนกลุมยอยและรายบุคคลไดรับการประเมินผลงานการออกแบบจากคณาจารยในกลุมใหญไดรับผลปอนกลับและคําชี้แจงการประเมินผลงานการออกแบบจากอาจารยประจํากลุมในหองปฏิบัติการเปนกลุมยอยและรายบุคคลรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ2. ขั้นตอนการออกแบบ (design)การกําหนดวัตถุประสงคของสื่อการสอนจัดทําสื่อการสอนเพื่อแกปญหาดานขอจํากัดของระยะเวลาในการเรียนรูภาคทฤษฏี การเหลื่อมกันของระยะเวลาในการเรียนรูระหวางภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ และเพิ่มระดับในการรับรูเรื่องภาพและพื้นภาพโดยใชสื่อการสอนเพื่อขยายระยะเวลาในการเรียนรูภาคทฤษฏีของนิสิต โดยเนนกลุมนิสิตที่มีการทําความเขาใจในบทเรียนไดชา และเพื่อเปนการทบทวนความรูเดิมที่นิสิตไดเรียนรูจากการฟงบรรยายในภาคทฤษฏี เปนการกระตุนระบบการเรียนรูของนิสิตใหพรอมกอนการปฏิบัติการออกแบบตามโจทยแบบฝกหัดที่ไดรับ กอใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมายมากขึ้นการตัดสินใจเลือกแนวคิดและกลยุทธเลือกใชสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer-Assisted Instruction) ในรูปแบบการสอนเนื้อหา(tutorial)โดยการใชสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนผสมผสานเขากับรูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบเดิม ที่มีขอกําหนดใหนิสิตทุกคนตองเขาเรียนรูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนกอนการปฏิบัติการออกแบบ เพื่อเปนกรอบในการเรียนการสอนเนื่องจากนิสิตไมสามารถควบคุมตนเองในการเรียนรูผานเครือขายไดดีทุกคนแนวความคิดในการออกแบบดานการออกแบบการสอนมีการออกแบบการสอนในบทเรียนสําหรับการเรียนรูในระดับความเขาใจ (understand) และระดับการประยุกตใช (apply) เปนหลัก เพราะมีวัตถุประสงคหลักในการยกระดับการเรียนรูของนิสิตที่มีระดับการทําความ585


เขาใจในบทเรียนไดชา จึงใชโครงสรางบทเรียนแบบเสนตรงที่ใหนิสิตเรียนตามลําดับขั้นของการเรียนรูจากรูปแบบงายๆ ไปสูรูปแบบที่ซับซอนขึ้นนําเสนอเนื้อหาดวยการใชภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวประกอบคําอธิบายสั้นๆ เพื่อใหเกิดการรับรูที่ชัดเจนและถูกตอง สามารถเชื่อมโยงความรูเกิดเปนการเรียนรูอยางมีความหมายไดงายกําหนดใหใชระยะเวลาในการเรียนรูบทเรียนแตละครั้งไมเกิน 15 นาที เนื่องจากเปนระยะเวลาที่ผูเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนรูและใหความสนใจในบทเรียนดีที่สุดการกําหนดขอบขาย การจัดแบงเนื้อหาและการออกแบบโครงสรางของบทเรียนกําหนดเนื้อหาของบทเรียนเฉพาะเรื่อง ภาพและพื้นภาพ ที่เกิดจากการจัดองคประกอบของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส แบงเนื้อหาออกเปน 2 สวนใหญ 8 สวนยอยๆ ตามระดับขั้นของเนื้อหาและระดับการเรียนรู ซึ่งประกอบดวยหัวขอตางๆ ดังนี้คือ - องคประกอบพื้นฐานในการออกแบบ - คุณลักษณะขององคประกอบที่มองเห็นได- องคประกอบในความนึกคิด - ความสัมพันธระหวางองคประกอบ- แรงในตัวเองและแรงที่เกิดขึ้นระหวางองคประกอบ- คุณลักษณะของภาพและพื้นภาพ - ความสัมพันธระหวางภาพและพื้นภาพภาพที่ 2 แสดงการออกแบบแผนผังโครงสรางของบทเรียนเรื่อง ภาพและพื้นภาพภาพและพื้นภาพ ตอนที่ 1องคประกอบพื้นฐาน (ตัวตนของเรา)ภาพและพื้นภาพ ตอนที่ 2ความสัมพันธระหวางองคประกอบ (ผมและเพื่อน)ภาพและพื้นภาพตอนที่ 1(ผมและเพื่อนบนเวที)ภาพและพื้นภาพตอนที่ 2 (ผมและเพื่อนบนเวที)ภาพและพื้นภาพเปลี่ยนแปลง 1 (เวทีที่ 1)ภาพและพื้นภาพเปลี่ยนแปลง (ผมและเพื่อนบนเวทีที่ 1)ภาพและพื้นภาพเปลี่ยนแปลง 2 (เวทีที่ 2)ภาพและพื้นภาพกลับกลาย (ผมและเพื่อนบนเวทีที่ 2)แนวทางในการออกแบบ ดานรูปแบบของการนําเสนอบทเรียน1. นําเสนอเนื้อหาดวยการใชภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวประกอบคําอธิบายสั้นๆ เพื่อใหนิสิตเขาใจเนื้อหาในแบบรูปธรรมมากขึ้น เกิดการเชื่อมโยงระหวางภาพและคํา สงเสริมใหเกิดการเรียนรูไดงายขึ้น เพิ่มระดับการเรียนรูอยางมีความหมายและเปลี่ยนแปลงความรูไปสูหนวยความจําระยะยาวอยางมีประสิทธิภาพ2. ใชลักษณะการวางตําแหนงของภาพประกอบและคําอธิบายใกลเคียงกัน เลือกใชตัวอักษรของเนื้อหาภาษาไทยและภาษาอังกฤษแบบหัวกลมธรรมดา รูปแบบเดียวกันตลอดบทเรียน นําเสนอเนื้อหาไมเกิน 3บรรทัด และภาพประกอบจํานวนไมเกิน 3 ภาพ ในหนึ่งหนาจอ เพื่อลดภาระในเรื่องความทรงจําของสมอง586


3. มีการเนนตัวอักษรที่มีความหนาและสีที่แตกตางเพื่อเปนตัวกระตุนความสนใจ และเปนตัวชี้นํา(cueing) ใหเกิดการเรียนรูที่ถูกตองและตรงประเด็น4. เลือกใชรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่นิสิตตองใชในการปฏิบัติการออกแบบ ในโปรแกรมการออกแบบที่เกี่ยวของกับเรื่ององคประกอบพื้นฐานและการจัดองคประกอบ เปนแนวความคิดหลักในการออกแบบ เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงความรูจากการเรียนรูดวยรูปทรงเดียวกัน เกิดการทบทวนทําซ้ําๆ ฝกการใชในหลายๆ สถานการณ5. เลือกใชพื้นภาพรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่นิสิตตองใชในการปฏิบัติการออกแบบ ในโปรแกรมการออกแบบที่เกี่ยวของกับเรื่ององคประกอบพื้นฐานและการจัดองคประกอบ เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงความรูจากการเรียนรูดวยรูปทรงเดียวกัน ใชสีฟาเปนตัวแทนของรูปรางของพื้นภาพ เพื่อใชเปนตัวแทนในการทําความเขาใจ และใหนิสิตสามารถทําความเขาใจดวยการเห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้น3. ขั้นตอนการพัฒนาสื่อการสอน (development)ทําการประเมินและแกไขการออกแบบดานเนื้อหาโดยการนําเสนอตอผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และผลิตสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนโดยโปรแกรม Macromedia flash MX พรอมกับนําเสนอตอผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาเพื่อตรวจสอบเปนระยะ4. ขั้นตอนการประเมินผล (evaluation)ทําการประเมินคุณภาพดานเนื้อหาของบทเรียนโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ประเมินคุณภาพของการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยผูเชี่ยวชาญดานการเรียนการสอนผานเครือขาย และทําการประเมินผลของสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนตอกลุมเปาหมายผานขั้นตอนการศึกษาภาพที่ 3 แสดงตัวอยางการออกแบบดานรูปแบบของการนําเสนอบทเรียนเรื่อง ภาพและพื้นภาพ587


การผสมผสานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนเขากับการเรียนการสอนรูปแบบเดิมการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning Models) คือการจัดการเรียนการสอนที่มีการผสมผสานกันระหวางการเรียนการสอนในหองเรียนปกติกับการเรียนการสอนผานเครือขาย ซึ่งมีระดับการผสมผสานที่แตกตางกันไปหลายระดับ ตั้งแตใชเปนเพียงสื่อกลางในการสงขอมูลขาวสาร จนถึงเปนกระบวนการสําคัญในหลักสูตรการเรียนการสอนการออกแบบการผสมผสานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องภาพและพื้นภาพ เขากับการเรียนการสอนรูปแบบเดิมของรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม และรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ ใชแนวความคิดการเรียนการสอนแบบผสมผสานในระดับ course-level blending คือใชการเรียนการสอนแบบเผชิญหนา (face-to-face) ผสมผสานกับกิจกรรมที่ใชคอมพิวเตอรเปนสื่อกลางซึ่งเปนสวนหนึ่งของหลักสูตร โดยใชแนวความคิดรูปแบบการเรียนการสอนของกาเย (Gagne’ Instructional Model) รวมกับรูปแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรูรวมกันตามหลักทฤษฏีคอนสตรัคติวิซึ่ม (Constructivism Theory) ในสัดสวน 80% : 20% เปนหลักในการออกแบบการผสมผสานรูปแบบการเรียนการสอนของกาเย (Gagne’ Instructional Model) เปนรูปแบบการเรียนการสอนตามหลักทฤษฏีปญญานิยม (Cognitive Theory) ที่สงเสริมกระบวนการเรียนรูภายในสมอง การถายโอนความรูเดิมเขากับความรูใหม การจัดสภาพการเรียนรูภายนอกใหเอื้อกับกระบวนการเรียนรูภายในของผูเรียน โดยมีหลักการอยู 9 ขั้นตอน คือ1. กระตุนความสนใจ (gain attention)2. บอกวัตถุประสงคแกผูเรียน เพื่อใหทราบถึงความคาดหวัง (specify objective)3. กระตุนใหระลึกถึงหรือทบทวนความรูเดิม เพื่อใหพรอมรับความรูใหม (activate prior knowledge)4. นําเสนอสิ่งเราหรือเนื้อหาใหม (present new information)5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู หรือการจัดระบบขอมูลใหมีความหมาย (guide learning)6. กระตุนใหผูเรียนตอบสนองหรือแสดงความสามารถ (elicit response)7. ใหขอมูลปอนกลับ หรือเสริมแรงโดยการใหขอมูลที่เปนประโยชน (provide feedback)8. ประเมินผลการแสดงออกของผูเรียน (assess performance) เพื่อใหผูเรียนทราบวาบรรลุวัตถุประสงคไดมากนอยเพียงใด9. สรุปและนําไปใช (review and transfer) สงเสริมความคงทนและการถายโอนความรู โดยการฝกฝนในหลายๆ สถานการณรูปแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรูรวมกัน เปนการรูปแบบการเรียนรูตามหลักทฤษฏีคอนสตรัคติวิซึ่ม (Constructivism Theory) ซึ่งเปนแนวความคิดที่ใหผูเรียนสรางประสบการณการเรียนรูจากสิ่งที่พบเห็นดวยตนเอง และจากการเรียนรูรวมกันของกลุมผูเรียน โดยแตละคนจะพยายามใชความรูความเขาใจที่ไดรับสรางเปนองคความรูเฉพาะตัวของตนเองขึ้นมา588


โดยมีรายละเอียดในการผสมผสานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ที่กําหนดใหเปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอนผานเครือขาย กับรูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบเดิมของรายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม และรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ ดังนี้ตารางที่ 1 แสดงการออกแบบการผสมผสานการเรียนการสอนรูปแบบเดิมกับการเรียนการสอนผานเครือขายโดยใชรูปแบบการเรียนการสอนตามหลักทฤษฏีปญญานิยม (Cognitive Theory) ตามแนวความคิดของกาเย(Gagne’ s Instructional Model) รวมกับ การเรียนการสอนตามหลักทฤษฏีคอนสตรั๊คติวิส (Constructivism) ในอัตราสวน 80 : 20 % และระดับของการเรียนรูในแตละขั้นตอน ตามรูปแบบการเรียนรูทางปญญาของAnderson and Krathwohl (2001)การเรียนการสอนตามหลักทฤษฏีปญญานิยม (Cognitive Theory) โดยใชรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวความคิดของกาเย (Gagne’ s Instructional Model) 9 ขั้นตอน 80%ขั้นตอน การเรียนจากหองเรียน การเรียนบนเครือขายขั้นที่ 1 : การกระตุนความสนใจของผูเรียนขั้นที่ 2 : แจงวัตถุประสงคของการเรียนการสอนขั้นที่ 3-4-5 : การกระตุนความรูเดิมและสรางสิ่งเราใหมขั้นที่ 6 : การกระตุนการตอบสนองและแสดงความสามารถขั้นที่ 7 : การใหขอมูลปอนกลับเสริมแรงดวยขอมูลที่เปนประโยชนฟงการบรรยายภาคทฤษฏีจากหองบรรยายรวมรับโปรแกรมและฟงการอธิบายโจทยการออกแบบ จากหองบรรยายปฏิบัติการออกแบบตามโจทยการออกแบบที่ไดรับฟงคําอธิบายและคําแนะนําถึงแนวทางในการออกแบบจากอาจารยประจํากลุมในหองปฏิบัติการเปนรายบุคคลรับทราบขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเรียนการสอน: หนา Homeดู สื่อการสอน ซึ่งกําหนดใหนิสิตตองเขาดูสื่อใหครบกอนไดรับอนุญาตใหเขาสูขั้นตอนตอไป: หัวขอ E-learningดูกิจกรรมที่ตองเตรียมตัวกอนการปฏิบัติการออกแบบ: หัวขอ กิจกรรมลงผลงานที่ไดคะแนนดีและคําชี้แจงเกี่ยวกับงานนั้นๆ: หัวขอ งานดี A/B+589


ขั้นที่ 8 : การประเมินผลการแสดงออกของผูเรียนไดรับเกรดในงานออกแบบและคําชี้แจงจากอาจารยประจํากลุมในหองปฏิบัติการเปนกลุมขั้นตอน การเรียนจากหองเรียน การเรียนบนเครือขายขั้นที่ 9 : การเสริมความคงทนของความรู ความเขาใจโดยการฝกฝนในหลายสถานการณปฏิบัติการออกแบบตามโจทยการออกแบบที่ไดรับ (โจทยการออกแบบใหม ในหัวขอการออกแบบเดิม)ฟงคําอธิบายและคําแนะนําถึงแนวทางในการออกแบบจากอาจารยประจํากลุมในหองปฏิบัติการเปนรายบุคคลดูสื่อการสอน (สื่อการสอนใหม ในหัวขอการออกแบบเดิม): หัวขอ e-learningการเรียนการสอนตามทฤษฏีคอนสตรั๊คติวิส (Constructivism) 20%การเรียนจากหองเรียนการเรียนบนเครือขาย- นิสิตสามารถแสดงความคิดเห็น สอบถามเกี่ยวกับงานออกแบบที่ไดคะแนนดีในแตละโปรแกรม : หัวขอ งานดี A/B+- นิสิตเรียนรู ดูตัวอยางงานออกแบบทุกสาขาในแตละหัวขอการเรียน : หัวขอ เปดมุมมอง- นิสิตแสดงความคิดเห็น สอบถามเกี่ยวกับการเรียนการสอนและเรื่องอื่นๆ กับเพื่อนนิสิตและอาจารยประจําวิชา : หัวขอ คุยกันการออกแบบหองเรียนออนไลนในสวนของการเรียนการสอนผานเครือขายการเรียนการสอนผานเครือขาย ใชการเรียนการสอนผานเว็บไซตของภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร ในหัวขอวิชา Principle of Design และ Studio in Design ที่รวมเนื้อหารายวิชา 2501121 หลักการออกแบบในงานสถาปตยกรรม (Principle of Design in Architecture) และรายวิชา 2501117 ปฏิบัติการออกแบบ (Studio in590


Design) เขาดวยกัน โดยมีรายละเอียดการออกแบบการเรียนการสอน การแบงหนาและหัวขอตาง ๆ ของหองเรียนออนไลน ดังนี้การเขาถึง นิสิตเขาเว็บไซตสําหรับการเรียนการสอนของรายวิชา Principle of Design และ Studio inDesign ผานทางเว็บไซตของภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยหนาที่ 1 ตอนรับเขาสูหองเรียน : แจงขอมูลเกี่ยวกับรายวิชาหนาที่ 2Home : หนาแรกของหองเรียน แจงขอมูลขาวสารตางๆ เกี่ยวกับรายวิชา ประกอบดวยหัวขอตางๆ คือlog in : นิสิตตอง log in เขาสูหองเรียนกอน เพื่อใหระบบบันทึกขอมูลการเขาหองเรียนออนไลนของนิสิตแตละคนได จากนั้นจึงจะไดรับอนุญาตใหดูบันทึกของตนเอง ปฏิทินการศึกษา ตารางการเรียนการสอนตารางการเรียนการสอน : นิสิตจะเขาสูการเรียนการสอนโดยการคลิ๊กปุม ตารางการเรียนการสอน ซึ่งจะแสดงโปรแกรมการเรียนการสอนที่มีอยูทั้งหมดวิธีการใชหองเรียน : บอกวิธีการเขาใชหองเรียนกิจกรรม : บอกกิจกรรมที่เกิดขึ้นในหองเรียนออนไลนบันทึกของคุณ : รายละเอียดการเขาใชหองเรียนออนไลนของนิสิตแตละคน เพื่อใหนิสิตใชสําหรับตรวจสอบการเรียนของตนเองปฏิทิน : กําหนดวันเวลาของกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับรายวิชาหนาที่ 3 ตารางการเรียนการสอน : เปนสวนที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนของรายวิชาประกอบดวยหัวขอตางๆ คือตารางการเรียนการสอน : แสดงหัวขอของโปรแกรมปฏิบัติการออกแบบทั้งหมดE-learning : สื่อคอมพิวเตอรชวยสอนที่นิสิตจะตองเขาดูกอนปฏิบัติการออกแบบในแตละโปรแกรมกอนจะไดรับอนุญาตใหเขาถึงหัวขอกิจกรรม591


กิจกรรม : บอกรายละเอียดวัสดุ อุปกรณหรืองานที่นิสิตจะตองเตรียมในแตละโปรแกรมกอนการปฏิบัติการออกแบบงานดี A/B+ : เปนการแสดงผลงานของนิสิตทุกคนที่ไดรับเกรด A และ B+ ในโปรแกรมการปฏิบัติการออกแบบนั้นๆเปดมุมมอง : เปนการแสดงผลงานทางดานวิชาชีพตางๆ ที่คณะสถาปตยกรรมศาสตรมี เพื่อใหนิสิตไดเขาใจถึงการนําหลักการออกแบบที่เรียนในแตละโปรแกรมไปประยุกตใชกับงานจริง ซึ่งนิสิตจะเขาถึงไดเมื่อมีการปฏิบัติการออกแบบในโปรแกรมที่เกี่ยวของนั้นครบทุกโปรแกรมแลวคุยกัน : เปนการเปดโอกาสใหนิสิตไดพูดคุย สอบถาม แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนในทุกดาน โดยจะมีนิสิตรวมชั้นป อาจารยประจําวิชาเปนผูตอบคําถาม หรือรวมแสดงความคิดเห็น592


วิธีดําเนินการศึกษาทําการศึกษาโดยกําหนดใหกลุมตัวอยางกลุมที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เขาดูสื่อ ณ หองคอมพิวเตอร ของคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จํานวน 2 ครั้ง คือ Figure & GroundPart 1 และ Figure & Ground Part 2ทําการประเมินผลการปฏิบัติการออกแบบของกลุมตัวอยางทั้งหมด โดยการใหคะแนนจากคณาจารยประจํากลุมการเรียนการสอน จํานวน 7 ทาน คะแนนที่ไดเปนคะแนนที่ไดจากผลการตัดสินของอาจารยทั้งหมดทําการวิเคราะหขอมูล โดยใชโปรแกรมสถิติ SPSS (Statistical Package for the Social Science) ในการหาคาเฉลี่ย คารอยละ คาความเบี่ยงเบน และการทดสอบแบบ t-test จากระดับคะแนนที่กลุมตัวอยางไดรับจากการปฏิบัติการออกแบบตามโจทยการออกแบบ 3 โปรแกรม จํานวน 5 ชิ้นงาน คือโจทยการออกแบบ เรื่อง Dot Line Plane II : ภาพและพื้นภาพ ภาพ Hโจทยการออกแบบ เรื่อง Dot Line Plane III : การแปรเปลี่ยนองคประกอบ ภาพ Kโจทยการออกแบบ เรื่อง Shape & Form : รูปทรงและหนวยรูปทรง ภาพ L,M,Nโดยมีคะแนนในแตละชิ้นงานดังนี้ คือ ภาพ H และภาพ N มีคะแนนของชิ้นงาน เทากับ 2 คะแนน ภาพK L และM มีคะแนนของชิ้นงาน เทากับ 1 คะแนน รวมคะแนน 5 ชิ้นงาน เทากับ 7 คะแนนผลการศึกษาตารางที่ 2 แสดงผลเปรียบเทียบคาคะแนนระหวางกลุมตัวอยางที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน และกลุมตัวอยางที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนรายละเอียดของกลุมตัวอยาง คาเฉลี่ย คารอยละ SD คา t-testกลุมตัวอยางที่ไดดูสื่อการสอน 4.09 58.00% 1.22 2.538กลุมตัวอยางที่ไมไดดูสื่อการสอน 3.52 50.29% .96คา t ที่ .05 = 1.64จากตารางที่ 2 กลุมตัวอยางที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.09 สูงกวาคะแนนเฉลี่ยกลุมตัวอยางที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.52 อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05ตารางที่ 3 แสดงผลเปรียบเทียบคาคะแนนระหวางกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรสูงสุด ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน และกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรสูงสุด ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนรายละเอียดของกลุมตัวอยาง คาเฉลี่ย คารอยละ SD คา t-testกลุมตัวอยางที่ไดคะแนนสอบเขาสูงสุดและไดดูสื่อการสอน 4.23 60.43% 1.19 1.057กลุมตัวอยางที่ไดคะแนนสอบเขาสูงสุดและไมไดดูสื่อการสอน 3.83 54.71% .72คา t ที่ .05 = 1.76593


จากตารางที่ 3 กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรสูงสุด ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.23 สูงกวาระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรสูงสุด ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.83 อยางไมมีนัยสําคัญตารางที่ 4 แสดงผลเปรียบเทียบคาคะแนนระหวางกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเฉลี่ยกลาง ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน และกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเฉลี่ยกลาง ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนรายละเอียดของกลุมตัวอยาง คาเฉลี่ย คารอยละคาความเบี่ยงเบนกลุมตัวอยางที่ไดคะแนนสอบเขาเฉลี่ยกลางและไดดูสื่อการสอน 4.04 57.71% 1.05กลุมตัวอยางที่ไดคะแนนสอบเขาเฉลี่ยกลางและไมไดดูสื่อการสอน 3.64 52.00% 1.02คา t-testคา t ที่ .05 = 1.77จากตารางที่ 4 กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเฉลี่ยกลาง ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.04 สูงกวาระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเฉลี่ยกลาง ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.64อยางไมมีนัยสําคัญ1.229ตารางที่ 5 แสดงผลเปรียบเทียบคาคะแนนระหวางกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรต่ําสุด ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน และกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรต่ําสุด ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนรายละเอียดของกลุมตัวอยาง คาเฉลี่ย คารอยละ คาความเบี่ยงเบนกลุมตัวอยางที่ไดคะแนนสอบเขาต่ําสุดและไดดูสื่อการสอน 4.00 57.14% 1.18กลุมตัวอยางที่ไดคะแนนสอบเขาต่ําสุดและไมไดดูสื่อการสอน 3.10 44.29% 1.00คา t-testคา t ที่ .05 = 1.76จากตารางที่ 5 กลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรต่ําสุด ที่ไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.00 สูงกวาระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุมตัวอยางที่มีระดับคะแนนสอบเขาคณะสถาปตยกรรมศาสตรต่ําสุด ที่ไมไดดูสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.10 อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .051.975594


การศึกษาองคประกอบและเทคนิควิธีปองกันปญหาการควบแนนบริเวณผิวกระจกชองแสงดานบนสําหรับอาคารพักอาศัยปรับอากาศTHE STUDY OF COMPONENTS AND GLASS SURFACE CONDENSATION PREVENTIONTECHNIQUES OF SKYLIGHT IN AIR CONDITIONED RESIDENTIAL BUILDING.นายกุลวุฒิ จิณวุฒิหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยปจจุบันการนําแสงธรรมชาติมาใชในอาคารพักอาศัยโดยผานทางชองกระจกดานบนหรือที่เรียกกันวาSkylight ไดถูกนํามาใชในงานสถาปตยกรรมมากขึ้นเพื่อสนองประโยชนใชสอย ความตองการดานสุนทรียภาพและสรางสภาวะนาสบาย (Comfort Zone) ซึ่งนิยมนํากระจกนํามาใชเปนวัสดุชองแสง เนื่องจากมีความทนทานตอสภาวะอากาศที่รอน เย็น เปยกชื้น อีกทั้งมีคุณสมบัติของคาสัมประสิทธิ์การขยายตัวที่นอย. แตปญหาการที่เกิดขึ้นตามมา ก็คือ สภาวะการเกิดหยดน้ําควบแนนบนผิวกระจก ทําใหเกิดคราบสกปรก คราบฝุน และยากตอการดูแลรักษาทําความสะอาด รวมถึงอายุการใชงานที่สั้นลงของวัสดุขอบกระจก และกรอบกระจก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาองคประกอบในการเกิดการควบแนน คาการถายเทความรอนของกระจกชนิดตางๆเพื่อคนหาเทคนิควิธีสําหรับการลดปญหาการควบแนนที่ผิวกระจก.ขั้นตอนการวิจัยทําการสรางกลองทดลองสําหรับกระจกชองแสงดานบน และจําลองสภาพการใชงานจริง เพื่อเปรียบเทียบอัตราการถายเทความรอน และคาความเปนฉนวน โดยวัสดุที่นํามาทดลองเปรียบเทียบมี 4ชนิด ไดแก (1) กระจกใสนิรภัยชั้นเดียว หนา 6 มม. (2) กระจกนิรภัยหลายชั้น Low-E หนา 8.38 มม. (3) กระจกฉนวนกันความรอน Heat Stop หนา 24 มม. (4) กระจกฉนวนกันความรอน 2 ชั้น หนา 41 มม. ซึ่งวัสดุทดลองแตละชนิดมีขนาด 50 X 50 ซ.ม. การทดลองไดทําการวัดผลจากสภาพจริง และทําการควบคุมอุณหภูมิอากาศภายในกลองทดลองที่ 25 o C ผลการทดลองพบวากระจกที่มีคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนสูง จะมีคุณสมบัติความฉนวนที่ต่ํา จะทําใหอุณหภูมิผิวของกระจกใกลเคียงกับอุณหภูมิอากาศ.ผลการเปรียบเทียบกระจกชนิดตางๆพบวา กระจกใสนิรภัยชั้นเดียว หนา 6 มิลลิเมตร มีศักยภาพสูงสุดในการประยุกตใชเปนกระจกชองแสงดานบนสําหรับอาคารพักอาศัยปรับอากาศเขตภูมิประเทศรอนชื้น ซึ่งมีคุณสมบัติที่ลดการเกิดการควบแนนที่ผิวกระจก พบวาจากการทดลองนี้จึงนาจะเปนทางเลือกใหมสําหรับผูออกแบบที่ควรนําไปประยุกตใชเปนอาคารตนแบบในอนาคตขอแนะนําเพิ่มเติม การนํากระจกใสนิรภัยชั้นเดียวมาใชเพื่อประโยชนที่จะลดการเกิดการควบแนนที่ผิวกระจกมีความเหมาะสม แตผลจากการวิจัยคุณสมบัติของกระจกใสนิรภัยชั้นเดียวที่ได นั้นมีคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนสูงและคาความเปนฉนวนที่ต่ํา การพิจารณาเลือกใชผูออกแบบตองคํานึงถึงความรอนจากการแผรังสีดวงอาทิตยเขาสูภายในอาคาร ซึ่งเปนภาระของระบบปรับอากาศในการทําความเย็นทําใหเสียคาใชจายดานพลังงานที่สูงขึ้นดวย595


วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อศึกษาองคประกอบในการเกิดการควบแนนที่มีอิทธิตอสภาวะการควบแนนที่ผิวกระจก บริเวณชองแสงดานบน2. เพื่อศึกษาคุณสมบัติของคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน (U-Value) ของกระจกชนิดตางๆ มีบทบาทตอการเกิดการควบแนนที่ผิวกระจก.3. เพื่อคนหาเทคนิควิธีสําหรับการปองกันปญหาการควบแนนที่ผิวกระจกขอบเขตของการวิจัย- การทดลองจะศึกษาถึงลักษณะขององคประกอบการและเทคนิควิธีการแกไขปญหาควบแนนบริเวณชองแสงดานบนที่ใชกระจกเทานั้น- การทดลองจะทําการเลือกกระจกขนาด 50 * 50 เซนติเมตร ที่มีคาสัมประสิทธิ์ความเปนฉนวน (U-Value) ที่แตกตางในแตละชนิดมาทดลอง ดังนี้- ทุกขั้นตอนจะทดลองภายในกลองทดลองขนาด 120 *120*120 เซนติเมตร ที่ใชระบบปรับอากาศภายโดยกําหนดอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส แลวทําการติดตั้งกระจกทดลองในทิศทางการหันชองแสงสูดานบนอาคาร และไมใชอุปกรณบังแดด- ศึกษาชองเปดสําหรับอาคารปรับอากาศในเขตภูมิอากาศแบบรอนชื้น เชน ประเทศไทย โดยการทดลองเก็บขอมูลจะกระทําภายในพื้นที่เขตบางนาและใชสถานที่เดียวกัน เพื่อควบคุมผลกระทบจากสภาพแวดลอม และอิทธิพลภายนอกตางๆ- กําหนดตัวแปร- ตัวแปรตน• อุณหภูมิอากาศภายในและนอกอาคาร (Air Temperature)• ปริมาณความชื้นสัมพันธ (Relative humidity %)- ตัวแปรตาม• อุณหภูมิผิวของกระจก (Surface Temperature)• อุณหภูมิจุดน้ําคาง (Dew point Temperature)- ตัวแปรควบคุม• ขนาดของกระจก• กระจกติดตั้งในแนวระนาบ• สภาพแวดลอมภายในที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส- ตัวแปรดานประสิทธิภาพวัสดุกระจก (เปนตัวแปรที่มีผลตอการปองกันความรอนของวัสดุกระจกเทานั้น)• คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของกระจกโดยมีหนวยเปน วัตต-ชั่วโมง ตอตารางเมตร องศา596


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ- ทราบถึงองคประกอบและตัวแปรที่มีอิทธิพลตอสภาวะการเกิดการควบแนนบริเวณกระจกชองแสงที่ผิวกระจก- เพื่อใชเปนแนวทางสําหรับการกําหนดคาคุณลักษณะชนิดกระจกสําหรับชองแสงดานบนอาคารบานพักอาศัยปรับอากาศ- เพื่อนําเทคนิควิธีการมาประยุกตใชในการปองกันปญหาการควบแนนบนผิวกระจกวิธีดําเนินการวิจัย- ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของและวิเคราะหปจจัยที่มีอิทธิพลตอสภาวะการเกิดการควบแนน- ดําเนินการทดลองเพื่อหาปจจัยที่มีมีอิทธิพลตอสภาวะการเกิดการควบแนนที่ผิว ของกระจกชองแสงดานบนอาคารบานพักอาศัยปรับอากาศในเขตรอนชื้น• กําหนดสภาพการใชงานในอาคารบานพักอาศัยเพื่อทําการทดลองกําหนดใหอาคารเปนสภาวะที่มีการปรับอากาศตลอด 24 ชั่วโมง โดยอุณหภูมิภายในควบคุมที่ 25 องศาเซลเซียส• ศึกษาวิเคราะหขอมูลเพื่อทําการเตรียมการทดลอง• การวิจัยนี้เปนการศึกษาประสิทธิภาพในการถายเทความรอนของวัสดุกระจกทดลองทั้ง 4 ชนิดที่มีคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน (U-Value) แตกตางกัน• วิเคราะหขอมูลเพื่อทําการออกแบบการทดลองตามสภาพการใชงานจริงของอาคารบานพักอาศัย รวมถึงกําหนดตัวแปรในการวิจัยและกําหนดประเภทของขอมูลที่ตองการใชในการวิจัย- ตรวจสอบความนาเชื่อถือของเครื่องมือที่ใชในการทดลองเนื่องจากการทดลองตองใชเครื่องวัดอุณหภูมิ(Temperature sensor) เปนจํานวนมาก จึงจําเปนตองทดสอบความเชื่อถือและปรับแตงคามาตรฐานใหตรงกันกอน เพื่อที่จะไดขอมูลที่แมนยําและสามารถนํามาวิเคราะหหาผลสรุปได- จัดเตรียมกลองทดลองที่ใชในการเปรียบเทียบวัสดุกระจกทดลอง เปนกลอง 1 ใบ รูปทรง 4 เหลี่ยมขนาด 1.20x1.20x1.20 เมตร โครงสรางไม ผนังและพื้นผลิตจากวัสดุที่มีความเปนฉนวน โดยใชโฟมEPS ความหนาแนน 2 ปอนดตอลูกบาศกฟุต หนา 4 นิ้ว ผูกลวดตาขายแลวฉาบดวยคอนกรีต เมื่อประกอบเสร็จแลวติดตั้งเครื่องปรับอากาศขนาด 6,000 บีทียู./ ชั่วโมง จํานวน 1 เครื่อง เพื่อทําความเย็นใหภายในกลองทดลอง- เก็บและวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการทดลองของวัสดุกระจกทดลองทั้ง 4 ชนิด ตลอด 24 ชั่วโมง เปนเวลา 3 วัน โดยเก็บขอมูลทุก 30 นาที ภายใตสภาวะปรับอากาศตลอด 24 ชั่วโมง และแบงการเก็บขอมูล ดังนี้• ขอมูลดานพฤติกรรมดานการถายเทความรอน (Thermal performance) ของกระจกทดลองทั้ง 4 ชนิด โดยพิจารณาจากความสัมพันธของปจจัยตาง ๆ ที่เกิดขึ้นของแตละวัสดุ เชน (1) อุณหภูมิอากาศภายนอก (2) อุณหภูมิอากาศภายใน (3)597


อุณหภูมิผิวกระจกภายนอก (4) อุณหภูมิผิวกระจกภายใน (5) การติดตั้งกระจกทํามุมกับทองฟา ซึ่งการทดลองนี้เปนการทดลองในสภาพแวดลอมจริงตามธรรมชาติ• ขอมูลดานสภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธตลอดทั้งวัน ณ.พื้นที่ทดลอง- นําขอมูลที่บันทึกไวมาทําการเปรียบเทียบและคํานวณ เพื่อใหทราบถึงอุณหภูมิจุดควบแนนของอากาศในชวงเวลาตางๆ ตลอดทั้งวันที่ทําการทดลอง- นําผลการทดลองที่ไดมาวิเคราะหถึงการศึกษาองคประกอบและเทคนิควิธีปองกันปญหาการควบแนนบริเวณผิวกระจกชองแสงดานบนสําหรับอาคารพักอาศัยปรับอากาศ- สรุปผลการทดลองเพื่อใชเปนแนวทางสําหรับการกําหนดคาคุณลักษณะชนิดกระจกและเทคนิควิธีการมาประยุกตใชสําหรับชองแสงดานบนอาคารบานพักอาศัยปรับอากาศลําดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิจัย598


การดําเนินการวิจัยการศึกษาองคประกอบและเทคนิควิธีปองกันปญหาการควบแนนบริเวณผิวกระจกชองแสงดานสําหรับอาคารพักอาศัยปรับอากาศ โดยทําการเก็บขอมูลดวยเครื่องมือบันทึกขอมูลจากกลองทดลองจริงและทําการเก็บขอมูลดวยการคํานวณคาการถายเทความรอนของกระจก คาสัมประสิทธิ์ความเปนฉนวน พรอมทั้งนําขอมูลมาประมวลผลเพื่อศึกษาองคประกอบ เทคนิควิธีปองกันปญหาการควบแนน และสรุปผลการทดลองเพื่อใชเปนแนวทางสําหรับการกําหนดคาคุณลักษณะชนิดกระจกและเทคนิควิธีการมาประยุกตใชสําหรับชองแสงดานบนอาคารบานพักอาศัยปรับอากาศ ซึ่งสามารถแบงวิธีการดําเนินการวิจัยดังนี้- อุปกรณที่ใชในการวิจัย- การตรวจสอบเครื่องมือ- การเตรียมการทดลองและการติดตั้งเครื่องมือในการทดลอง• การติดตั้งวัสดุทดลองและหัววัดอุณหภูมิ• การเตรียมอาคารทดลอง- การเก็บขอมูล- การวิเคราะหขอมูล- สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการดําเนินการทดลองผูวิจัยไดทําการสรางกลองทดลองขนาด 120*120*120 เซนติเมตร. ซึ่งจําลองเปนอาคารพักอาศัย โดยผนังทั้ง 4 ดานและพื้นประกอบจากวัสดุที่มีคาเปนฉนวนสูง นั้นคือโฟม EPS หนา 2 นิ้ว ความหนาแนน 1 ปอนดนํามาหุมดวยเหล็กตาขายและฉาบดวยคอนกรีตอีกครั้ง สวนดานบนนํากระจกที่นํามาทดลองจํานวน 4 แผน มาประกอบ โดยที่ขนาดแผนละ 50*50 เซนติเมตร. ซึ่งมีคาคุณสมบัติและความหนารวมของกระจกที่แตกตางกันแลวทําการติดตั้งกระจกเปนแนวระนาบกับทองฟา เพื่อใหไดรับอิทธิการแผรังสีจากทองฟาโดยตรง.ซึ่งภายในของกลองทดลองผูวิจัยไดประกอบติดตั้งระบบปรับอากาศไวภายในดวย โดยใชเครื่องปรับอากาศขนาด 6,000 บีทียู/ชั่วโมง จํานวน 1 เครื่อง และควบคุมอุณหภูมิภายในที่ 25 องศาเซลเซียสเพื่อจําลองสภาวะภายในอาคารพักอาศัยที่ปรับอากาศ599


เมื่อประกอบโครงสรางและวัสดุหองทดลองเรียบรอยแลว ก็เตรียมติดตั้งอุปกรณสําหรับเก็บบันทึกและวัดอุณหภูมิตางๆ ซึ่งแยกออกเปน 4 สวน คือ- อุณหภูมิอากาศภายนอกกลองทดลอง และความชื้นสัมพัทธ- อุณหภูมิผิวกระจกดานนอกกลองทดลอง- อุณหภูมิผิวกระจกดานในกลองทดลอง- อุณหภูมิอากาศภายในกลองทดลอง และความชื้นสัมพัทธวิธีการเก็บขอมูลโดยทําการจดบันทึกอุณหภูมิตางๆที่ไดกลาวไวทุก 30 นาที ตอเนื่องตลอดทั้งวันเปนเวลารวม 7 วันหลังจากนั้นนําขอมูลที่ไวมาทํารายการคํานวณเปรียบเทียบ แลวนํามาแสดงผลเปนตารางและกราฟเชิงเสนเพื่อหาคาความสัมพันธกันขององคประกอบในการเกิดการควบแนนที่มีอิทธิตอสภาวะการควบแนนที่ผิวกระจกบริเวณชองแสงดานบน การเก็บขอมูลของการวิจัยนี้แบงเปน 2 สวน ดังนี้1.อุณหภูมิผิวกระจก (Surface temperature)เพื่อเก็บขอมูล (1) อุณหภูมิผิวกระจกภายนอก (2) อุณหภูมิผิวกระจกดานใน ณ.ชวงเวลาตางๆ ตลอดทั้งวัน และเพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการถายเทความรอนของกระจกทดลองทั้ง4 ชนิด โดยเรียงลําดับและลักษณะการเก็บขอมูล ดังนี้- กระจกใสนิรภัยชั้นเดียว ความหนา 6 มม. รุน TUFF-LITE 6600


- กระจกนิรภัยหลายชั้นลามิเนต Low-E หนา 8.38 มิลลิเมตร รุน 8.38 SE-061- กระจกฉนวนกันความรอน Heat Stop หนา 24 มิลลิเมตร รุน 24 Heat Stop SGLE50-RSCAZ- กระจกฉนวนกันความรอน 2 ชั้นหนา 41 มิลลิเมตร รุน SPACE-LITE5/14ARS/3TEC/14ARS/5TEC2.อุณหภูมิอากาศดานนอกและดานในกลองทดลอง และคาความชื้นสัมพัทธโดยเก็บขอมูลทั้งอุณหภูมิกระเปาะแหง (Dry bulb temperature) และกระเปาะเปยก (Wetbulb temperature) และนํามาหาคาความชื้นสัมพันธ ซึ่งในการหาปริมาณความรอนที่ถายเทเขาสูอาคารนั้นพิจารณาจากคาความแตกตางระหวางผิวกระจกภายในและอุณหภูมิอากาศภายในกลองทดลองหนวยเปนองศาเซลเซียส (°C) คูณกับคาการนําความรอนที่ผิว (Surface conductance) ของอากาศนิ่ง ตามมาตรฐานASHRAE กําหนดไวที่ 8.29 W/m2° K ดังสมการ601


การประมวลผลและการวิเคราะหแสดงผลขอมูลเปนตารางเปรียบเทียบและกราฟเชิงเสน เพี่อวิเคราะหถึงลักษณะการแปลงเปลี่ยนอุณหภูมิ ณ.ตําแหนงตางๆ ที่วางจุดบันทึกของกระจกทดลองแตละชนิด รวมถึงคาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธตามธรรมชาติ ณ.ชวงเวลาตางๆ ในแตละวันผลการวิเคราะหจากขอมูลที่ไดสามารถนํามาวิเคราะหหาปจจัยและความสัมพันธขององคประกอบการควบแนนที่ผิวกระจกดานนอกที่เปนอาคารพักอาศัยปรับอากาศในเขตภูมิประเทศรอนชื้น โดยมีวัสดุกระจกทดลองที่แตกตางกัน โดยแบงตามวัตถุประสงคของการวิจัยดังนี้- การวิเคราะหเพื่อศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิตอสภาวะการควบแนนที่ผิวกระจก บริเวณชองแสงดานบน- เพื่อศึกษาคุณสมบัติคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน (U-Value) ของกระจกชนิดตางๆ ที่มีอาจบทบาทตอการเกิดการควบแนนที่ผิวกระจก.- การวิเคราะหเพื่อคนหาเทคนิควิธีสําหรับการปองกันปญหาการควบแนนที่ผิวกระจกTemperature (C) TUFF-LITE(F)47.043.039.035.031.027.023.019.0อุณหภูมิผิวกระจกภายนอกอุณหภูมิผิวกระจกภายในอุณหภูมิอากาศภายใน119.0114.0109.0104.099.094.089.084.079.074.069.064.015.019.30 21.30 23.30 1.30 3.30 5.30 7.30 9.30 11.30 <strong>13</strong>.30 15.30 17.30 19.30 21.30 23.30 1.30 3.30 5.30 7.30 9.30 11.30TIMEแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิผิวภายนอกของกระจก TUFF-LITE59.0602


Temperature (C) 8.38 SE-061(F)47.043.039.035.031.027.023.019.0อุณหภูมิผิวกระจกภายนอกอุณหภูมิผิวกระจกภายในอุณหภูมิอากาศภายใน119.0114.0109.0104.099.094.089.084.079.074.069.064.015.059.019.30 21.30 23.30 1.30 3.30 5.30 7.30 9.30 11.30 <strong>13</strong>.30 15.30 17.30 19.30 21.30 23.30 1.30 3.30 5.30 7.30 9.30 11.30TIMEแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิผิวภายนอกของกระจก 8.38 SE-061Temperature (C) 24 HEAT STOP SGLE50-RSCAZ(F)47.043.039.035.031.027.023.019.0อุณหภูมิผิวกระจกภายนอกอุณหภูมิผิวกระจกภายในอุณหภูมิอากาศภายใน119.0114.0109.0104.099.094.089.084.079.074.069.064.015.059.019.30 21.00 22.30 24.00 1.30 3.00 4.30 6.00 7.30 9.00 10.30 12.00 <strong>13</strong>.30 15.00 16.30 18.00 19.30 21.00 22.30 24.00 1.30 3.00 4.30 6.00 7.30 9.00 10.30 12.00TIMEแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิผิวภายนอกของกระจก 24 HEAT STOP SGLE50-RSCAZ603


Temperature (C) SPACE-LITE 5TEC/14ARS/3TEC/14ARS/5TEC(F)47.043.039.035.031.027.023.019.0อุณหภูมิผิวกระจกภายนอกอุณหภูมิผิวกระจกภายในอุณหภูมิอากาศภายใน119.0114.0109.0104.099.094.089.084.079.074.069.064.015.059.019.30 21.00 22.30 24.00 1.30 3.00 4.30 6.00 7.30 9.00 10.30 12.00 <strong>13</strong>.30 15.00 16.30 18.00 19.30 21.00 22.30 24.00 1.30 3.00 4.30 6.00 7.30 9.00 10.30 12.00TIMEแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิผิวภายนอกของกระจก SPACE-LITE 5TEC/14ARS/3TEC/14ARS/5TECพิจารณาพฤติกรรมการถายเทความรอนของกระจกแตละชนิดที่นํามาติดตั้งบนกลองทดลองโดยทํามุมระนาบกับทองฟา ของวันที่ 27-29 เมษายน 2552 จากกราฟพบวาอุณหภูมิผิวกระจกภายนอกสูงสุด เปรียบเทียบอุณหภูมิผิวของกระจกทั้ง 4 ชนิด พบวา อุณหภูมิผิวกระจกรอนที่สุดในชวงสาย-บาย เวลา 12.00-<strong>13</strong>.00 น. เนื่องจากอิทธิพลของการแผรังสีความรอนจากดวงอาทิตย และเมื่ออุณหภูมิอากาศภายนอกรอนขึ้นและสูงสุดที่เวลา 14.30-15.30 น. กระจกแตละชนิดมีอุณหภูมิผิวที่แตกตางกันตามลําดับดังนี้กระจก 24 HEAT STOP SGLE50-RSCAZอุณหภูมิผิวกระจกสูงสุด เวลา 12.30 น. ผิวกระจกภายนอก 45.39 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 38.77 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศสูงสุด เวลา 14.30 น. ผิวกระจกภายนอก 33.17 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 30.71 องศาเซลเซียสกระจก SPACE-LITE 5TEC/14ARS/3TEC/14ARS/5TECอุณหภูมิผิวกระจกสูงสุด เวลา 12.30 น. ผิวกระจกภายนอก 45.18 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 37.50 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศสูงสุด เวลา 14.30 น. ผิวกระจกภายนอก 33.25 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 30.94 องศาเซลเซียสกระจก 8.38 SE-061604


อุณหภูมิผิวกระจกสูงสุด เวลา 12.30 น. ผิวกระจกภายนอก 43.91 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 37.88 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศสูงสุด เวลา 14.30 น. ผิวกระจกภายนอก 30.71 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 27.91 องศาเซลเซียสกระจก TUFF-LITE 6อุณหภูมิผิวกระจกสูงสุด เวลา 12.30 น. ผิวกระจกภายนอก 35.00 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 33.10 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศสูงสุด เวลา 14.30 น. ผิวกระจกภายนอก 28.72 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 26.74 องศาเซลเซียสอุณหภูมิผิวกระจกภายนอกต่ําสุด เปรียบเทียบอุณหภูมิผิวของกระจกทั้ง 4 ชนิด พบวา อุณหภูมิผิวกระจกเย็นที่สุดในชวงเวลา 05.30-06.30 น. เนื่องจากอิทธิพลของการแผรังสีความเย็นจากทองฟา และเมื่ออุณหภูมิอากาศภายนอกเย็นขึ้นและสูงสุดที่เวลา 06.00-07.00 น. กระจกแตละชนิดมีอุณหภูมิผิวที่แตกตางกันตามลําดับดังนี้กระจก 24 HEAT STOP SGLE50-RSCAZอุณหภูมิผิวกระจกต่ําสุด เวลา 06.30 น. ผิวกระจกภายนอก 22.48 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 24.40 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศต่ําสุด เวลา 07.00 น. ผิวกระจกภายนอก 22.86 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 24.40 องศาเซลเซียสกระจก SPACE-LITE 5TEC/14ARS/3TEC/14ARS/5TECอุณหภูมิผิวกระจกต่ําสุด เวลา 06.30 น. ผิวกระจกภายนอก 22.81 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 24.03 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศต่ําสุด เวลา 07.00 น. ผิวกระจกภายนอก 22.98 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 24.03 องศาเซลเซียสกระจก 8.38 SE-061อุณหภูมิผิวกระจกต่ําสุด เวลา 06.30 น. ผิวกระจกภายนอก 22.86 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 23.24 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศต่ําสุด เวลา 07.00 น. ผิวกระจกภายนอก 23.24 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 23.24 องศาเซลเซียสกระจก TUFF-LITE 6อุณหภูมิผิวกระจกต่ําสุด เวลา 06.30 น. ผิวกระจกภายนอก 23.34 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 23.82 องศาเซลเซียส605


อุณหภูมิอากาศต่ําสุด เวลา 07.00 น. ผิวกระจกภายนอก 23.53 องศาเซลเซียสผิวกระจกภายใน 23.82 องศาเซลเซียสอุณหภูมิผิวกระจกภายนอกเมื่อพิจารณาขอมูลพบวาอุณหภูมิผิวกระจกจะเริ่มลดลงตั้งแตเวลา <strong>13</strong>.00 น.ไปจนมีอุณหภูมิต่ําที่สุดที่22.81 องศาเซลเซียส ในชวงเวลาตั้งแต 05.00 – 06.30 น. เนื่องจากอิทธิพลของการแผรังสีความเย็นจากทองฟาในชวงเวลา หลังจากนั้นผิวกระจกก็จะมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องจนสูงสุดที่ 45.81 องศาเซลเซียสในชวงเวลา 12.30 น.คาความชื้นสัมพัทธเปรียบเทียบขอมูลจากการบันทึกพบวาคาความชื้นสัมพัทธในอากาศมีการเปลี่ยนแปลงตลอดทั้งวันโดยมีคาต่ําสุดที่ 54 เปอรเซ็นต ในชวงเย็นเวลา 16.00 น. และจะมีคาสูงขึ้นตอเนื่องจนมีคาสูงสุดที่ 94เปอรเซ็นต ในชวงเวลาตั้งแต 03.30 – 05.00 น. หลังจากนั้นคาปริมาณความชื้นสัมพัทธก็จะคอยลดลงอีกครั้งเนื่องจากอิทธิพลการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอากาศภายนอกจากแผรังสีความรอนจากดวงอาทิตย และปริมาณไอน้ําในอากาศอุณหภูมิจุดควบแนนเปรียบเทียบขอมูลพบวามีอุณหภูมิจุดควบแนนจะมีคาต่ําสุดที่ 21.40 องศาเซลเซียส เมื่อเวลา <strong>13</strong>.00น. เนื่องจากอิทธิพลของอุณหภูมิอากาศภายนอกที่สูงและปริมาณความชื้นสัมพันธในอากาศที่ต่ําประกอบกันในทางกลับกันอุณหภูมิจุดควบแนนจะมีคาสูงสุดที่ 24.30 องศาเซลเซียส เมื่อเวลา 04.00 น. เนื่องจากอิทธิพลของอุณหภูมิอากาศภายนอกที่ต่ําและมีปริมาณความชื้นสัมพันธในอากาศที่สูงอุณหภูมิผิวกระจกภายในพิจารณาพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิผิวกระจกระหวางภายนอกและภายในของกระจกSPACE-LITE 5TEC/14ARS/3TEC/14ARS/5TEC พบวาผิวกระจกภายนอกมีอุณหภูมิสูงกวาผิวกระจกภายในตลอดชวงเวลาตั้งแต 08.30 – 19.30 น. โดยเฉลี่ยอยูที่ 3.42 องศาเซลเซียส และตั้งแตเวลา 19.30 – 08.30 น.ผิวกระจกภายนอกจะมีอุณหภูมิต่ํากวาผิวกระจกดานภายในโดยเฉลี่ยอยูที่ 0.60 องศาเซลเซียส.606


COMPARE SUFFACT TEMP50.0100%24 HEAT STOP SGLE50-RSCAZ90%45.0SPEC-LITE 5/14ARS/3TEC/14ARS/5TEC80%40.08.38 SE-06170%TUFF-LITE35.060%50%30.0Outside Temperature25.0Inside Temperature20.0CONDENSATION Dewpoint Temp.CONDENSATION15.019.3020.0020.3021.0021.3022.0022.3023.0023.3024.000.301.001.302.002.303.003.304.004.305.005.306.006.307.007.308.008.309.009.3010.0010.3011.0011.3012.0012.30<strong>13</strong>.00<strong>13</strong>.3014.0014.3015.0015.3016.0016.3017.0017.3018.0018.3019.0019.3020.0020.3021.0021.3022.0022.3023.0023.3024.000.301.001.302.002.303.003.304.004.305.005.306.006.307.007.308.008.309.009.3010.0010.3011.0011.3012.00C40%30%20%10%0%27-Jan-09 28-Jan-09 TIME29-Jan-09แสดงการเปรียบเทียบ อุณหภูมิอากาศภายนอกและภายใน อุณหภูมิผิวกระจกภายนอกและภายใน อุณหภูมิจุดควบแนน ปริมาณความชื้นสัมพัทธ และชวงเวลาของการเกิดการควบแนนที่ผิวของกระจกทดลองทั้ง 4 ชนิด ในสภาวะการจําลองการใชงานอาคารบานพักอาศัยปรับอากาศตลอด 24 ชั่วโมง โดยทําการเก็บขอมูลตั้งแต 19.30 น. ของวันที่ 27 มกราคม 2552 ถึงเวลา 11.30 น. ของวันที่ 29 มกราคม 2552607


วิเคราะหคุณสมบัติคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของกระจก (U-VALUE) มีบทบาทตอการเกิดการควบแนนที่ผิวกระจก และประมวลขอมูลในการทดลองครั้งนี้พบวาคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของกระจก (U-VALUE) มีอิทธิพลตอการเกิดการควบแนนที่ผิวกระจกมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับกระจกที่มีคาการถายเทความรอนต่ํา (มีความเปนฉนวนสูง)จะมีโอกาสที่จะเกิดการควบแนนมากกวากระจกที่มีคาการถายเทความรอนสูง (มีความเปนฉนวนต่ํา) กลาวคือกระจก SPACE-LITE 5TEC/14ARS /3TEC/14ARS/5TEC มีคาการถายเทความรอนต่ํา ซึ่งคาดังกลาวนี้มีบทบาทตอการเกิดการควบแนนที่ผิวกระจกสําหรับชองแสงดานบนอาคารพักอาศัยปรับอากาศเขตภูมิประเทศรอนชื้นมากที่สุดรองลงมา กระจก 24 HEAT STOP SGLE50-RSCAZ, กระจก 8.38 SE-061 และกระจก TUFF-LITE 6 ตามลําดับบทสรุปการทดลองผลการเปรียบเทียบกระจกทดลองทั้ง 4 ชนิดตางๆพบวา กระจกใสนิรภัยชั้นเดียวหนา 6 มิลลิเมตร มีศักยภาพสูงสุดในการประยุกตใชเปนกระจกชองแสงดานบนสําหรับอาคารพักอาศัยปรับอากาศ ซึ่งมีคุณสมบัติที่สามารถปองกันการเกิดการควบแนนบนผิวกระจกได เนื่องจากกระจกนิรภัยชั้นเดียวหนา 6 มิลลิเมตร มีคาคุณสมบัติความเปนฉนวนที่ต่ํา ซึ่งเปนเหตุใหเกิดการถายเทความรอนระหวางผิวกระจกทั้ง 2 ดานไดสูง ทําใหอุณหภูมิผิวของกระจกทั้งดานนอกและดานในแตกตางกันนอยมาก แลวทําใหอุณหภูมิผิวของกระจกมีอุณหภูมิที ่สูงกวาอุณหภูมิจุดควบแนนจากการทดลองนี้กระจกใสนิรภัยชั้นเดียวหนา 6 มิลลิเมตร (TUFF-LITE 6) จึงนาจะเปนทางเลือกใหมสําหรับผูออกแบบที่นําไปประยุกตใชในการออกแบบอาคารพักอาศัยปรับอากาศเขตภูมิประเทศรอนชื้นตอไป.608


โครงสรางเหล็กชวงกวางสําหรับอาคารขายรถมือสองWIDE-SPAN STEEL STRUCTURE FOR USED CAR CENTERกฤต เสถียรพัฒนากูลหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอ1. บทนํา1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาอาคารขายรถมือสองเปนอาคารที่ออกแบบมาเพื่อครอบคลุมรถยนตสําหรับจําหนาย โดยสวนใหญใชโครงสรางเหล็กเปนสวนประกอบหลัก โครงสรางเหล็กชวงกวางเปนโครงสรางที่ผูประกอบการนิยมใช ดังนั้นจึงมีโครงสรางเหล็กชวงกวางมากมายหลายรูปแบบเขามามีบทบาทกับอาคารขายรถมือสอง แตรูปแบบและรายละเอียดของโครงสรางเหล็กชวงกวางสําหรับอาคารขายรถมือสองนั้นมีจํานวนมาก ผนวกกับคุณสมบัติของโครงสรางเหล็กชวงกวางแตละชนิดนั้นมีไมเทากัน ซึ่งยังคงไมมีคําตอบที่ชัดเจนสําหรับผูประกอบการอาคารขายรถมือสอง จึงเกิดปญหาขึ้นกับผูประกอบการที่ไมทราบถึงขอมูลเชิงลึกของโครงสรางเหล็กชวงกวาง เพื่อใชเปนแนวทางในการเลือกใชโครงสรางเหล็กชวงกวาง จึงเปนอุปสรรคตอการตัดสินใจเลือกใชโครงสรางเหล็กชวงกวางแตละชนิด ผูวิจัยจึงทําการศึกษารูปแบบของโครงสรางเหล็กชวงกวางสําหรับอาคารขายรถมือสองจากการสํารวจ 5 ยานหลักในกรุงเทพมหานครที่มีอาคารขายรถมือสองหนาแนนที่สุด ไดแก (1) ยานพุทธมณฑลสาย 1 (2) ยานรัชดาภิเษก (3) ยานเกษตรนวมินทร-รามอินทรา (4) ยานพัฒนาการ (5) ยานโชคชัยสี่พบวามีโครงสรางเหล็ก 4 ประเภท ไดแก (1) โครงสรางเหล็กชวงกวาง (Wide-span steel structure) (2)โครงสรางเตนทผาใบ (Tent) (3) โครงสรางเคเบิ้ลระบบเสาชวงเดี่ยว (Cable-stayed system) (4) โครงสรางผาใบรับแรงตึงสูง (Membrane fabric) จากโครงสรางเหล็กทั้งหมดที่พบในอาคารขายรถมือ จํานวน 63 หนวยโครงสรางเหล็กที่นิยมใชมากที่สุดเปนอันดับหนึ่ง คือ โครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักทางเดียว (Lineartruss) จํานวน 35 หนวย สามารถแบงไดเปน 2 ชนิด คือ โครงถักรูปแบน (Flat truss) จํานวน 19 หนวย และโครงถักรูปโคง (Bowstring truss) จํานวน 16 หนวย โครงสรางเหล็กที่นิยมใชเปนอันดับสอง คือ โครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยม (Two-way lattice grid) จํานวน 28 หนวย สามารถแบงไดเปน2 ชนิด คือ โครงถักรูปแบน (Flat truss) จํานวน 25 หนวย และโครงถักรูปโคง (Bowstring truss) จํานวน 3หนวย จากการศึกษาพบวาโครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยม (Two-way lattice grid)ชนิดโครงถักรูปแบน (Flat truss) เปนโครงสรางเหล็กที่นิยมใชในอาคารขายรถมือสองมากที่สุดในกรุงเทพมหานคร609


1.2 วัตถุประสงคของการวิจัยศึกษารูปแบบโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสองในกรุงเทพมหานคร1.3 ขอบเขตของการวิจัยกรณีศึกษาโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสองจํานวน 63 หนวย บริเวณ 5 ยานหลักในกรุงเทพมหานครที่มีอาคารขายรถมือสองหนาแนน ไดแก (1) ยานพุทธมณฑลสาย 1 (2) ยานรัชดาภิเษก (3)ยานเกษตรนวมินทร-รามอินทรา (4) ยานพัฒนาการ (5) ยานโชคชัยสี่1.4 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาแบบปฐมภูมิ1. ลงพื้นที่สํารวจอาคารขายรถมือสองในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษารูปแบบโครงสรางเหล็กที่พบในอาคารขายรถมือสอง และพื้นที่ที่มีอาคารขายรถมือสองหนาแนน2. สัมภาษณผูประกอบการอาคารขายรถมือสองเกี่ยวกับเรื่องราวของอาคารขายรถมือสอง3. ลงพื้นที่สํารวจรายละเอียด โดยศึกษาโครงสรางเหล็กชวงกวางที่ปรากฎในอาคารขายรถมือสองจํานวน 63 หนวย ในพื้นที่ศึกษาแบบทุติยภูมิ1. ศึกษางานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับโครงสรางเหล็กชวงกวาง2. ศึกษากฏหมายที่เกี่ยวของ1.5 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาการวิจัยครั้งนี้มีทั้งการสัมภาษณ การสํารวจ และสังเกต โดยความสัมพันธระหวางตัวแปรกับเครื่องมือที่ใชในการศึกษาแสดงได ดังนี้1. การสํารวจและการสังเกต ใชกับโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสอง2. การสัมภาษณแบบเฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับที่มาของอาคารขายรถมือสอง ใชกับการศึกษาประวัติความเปนมาของอาคารขายรถมือสอง ซึ่งทําการสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของ ดังนี้ผูชวยศาสตราจารย ดร. เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร (อาจารยที่ปรึกษา) โดยสัมภาษณเกี่ยวกับเรื่องหนวยงานที่มีบทบาทเกี่ยวของกับอาคารขายรถมือสองในกรุงเทพมหานคร และวิวัฒนาการของโครงสรางเหล็กชวงกวางคุณณัฐพัทธ วีรพัฒนเกียรติ (ผูประกอบการอาคารขายรถมือสองยานรัชดาภิเษก) โดยสัมภาษณเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของอาคารขายรถมือสองคุณภควัฒน ดํารงคกุล (วิศกรโยธา 6 สํานักงานเขตจตุจักร) โดยสัมภาษณเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของอาคารขายรถมือสอง610


1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับเพื่อเปนขอมูลสําหรับการนําเสนอหนวยงานที่เกี่ยวของ และผูประกอบการอาคารขายรถมือสอง ในการเลือกใชโครงสรางเหล็กชวงกวาง2. ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับโครงสรางเหล็กชวงกวาง2.1 ความหมายของโครงสรางเหล็กชวงกวางสนั่น เจริญเผา (2527: 11-12) กลาววาโครงสรางเหล็กชวงกวาง (Wide-span steel structure) เรียกอีกอยางหนึ่งวาโครงถัก (Truss structures) หรือโครงขอหมุน (Steel truss) คือ โครงสรางที่สามารถพาดชวงไดกวาง เปนโครงสรางซึ่งประกอบขึ้นดวยชิ้นสวนตอเนื่องกันในรูปของสามเหลี่ยม โดยขอตอชนิดที่หมุนได ในทางทฤษฎีนั้นถือวาขอตอนั้นๆ เปนขอตอที่หมุนไดอยางสมบูรณไมมีความฝดใดๆ แตในทางปฏิบัติขอตอเหลานี้มักจะยึดกันในลักษณะของนอตหมุดย้ําหรือการเชื่อม ซึ่งทําใหเกิดการตานทานการหมุนขึ้น ขอสมมติอีกอยางหนึ่งในการคํานวณ คือ แรงภายนอกที่กระทําตอโครงขอหมุนนั้นกระทําที่ขอตอ ดังนั้นชิ้นสวนของโครงสรางขอหมุนจึงเปนองคประกอบ 2 แรง ไดแก แรงเฉพาะแรงดัด หรือ แรงดึงตามแนวแกนเทานั้น โครงสรางเหล็กชวงกวางเปนโครงสรางที่ใชแรงดึงตานทานแรง (Nonlinear Characteristics)จรัญพัฒน ภูวนันท (2542: 1<strong>13</strong>-119) ไดใหความหมายของ โครงถัก (Truss structures) หรือโครงขอหมุน (Steel truss) คือ โครงสรางที่ประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยม โดยมีหลักการพื้นฐานดังนี้(1) สามเหลี่ยมเปนรูปทรงที่แข็งเกร็ง (Rigid form) มีเสถียรภาพ และไมเปลี่ยนรูป เมื่อมีแรงกระทําเกิดขึ้นที่จุดรอยตอของชิ้นสวนประกอบโครงสราง ซึ่งตางกับรูปสี่เหลี่ยมหรือรูปทรงแบบอื่น ที่โยหรือเปลี่ยนรูปไดงายเมื่อมีแรงกระทําเกิดขึ้นที่จุดรอยตอ(2) ในรูปสามเหลี่ยมของแรง (Triangle of force) จะเกิดการสมดุลของแรงขึ้นเมื่อ ที่จุดตัดของแรง มีแรงรวมทั้งทางแนวตั้ง และ ทางแนวนอน มีคาเทากับศูนย โมเมนตที่เกิดขึ้นที่จุดตัดของแรง หรือ ที่รอยตอของโครงถักจึงมีคาเทากับศูนย(3) แรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนของโครงสรางแตละตัวจะรับแรงเฉพาะแรงดึง หรือ แรงอัดตามแนวแกน (Axial force) เทานั้น ไมมีแรงกระทําทางดานขาง หรือมีโมเมนตดัด เกิดขึ้นบนชิ้นสวนโครงสราง ทําใหประหยัดวัสดุโครงสราง และงายในการเลือกใชวัสดุใหเหมาะสมกับชนิดของแรงที่เกิดขึ้น(4) โครงถักทางเดียว (Linear truss) จะมีพฤติกรรมในการรับแรง เชนเดียวกับคาน (Simplebeam) แตโครงถักสามมิติ (Space frame) จะเหมือนวัสดุแผน หรือโครงสรางแบบแผน (Plate structure)โครงถักสามารถนํามาใชเปนโครงสรางทุกสวนของอาคาร เชน เสา (Space column), ตง (Open webjoist), คาน (Truss girder) พื้น ผนัง และ หลังคา หรือ ประกอบตอเนื่องเปนโครงสรางอาคารทั้งหลังได จึงเปนระบบโครงสรางที่สามารถนํามาใชในงานออกแบบสถาปตยกรรม หรือนํามาใชรวมกับโครงสรางประเภทอื่นๆไดกวางขวาง2.2 ประเภทของโครงถัก (Trusses structural system) สามารถแยกประเภทของโครงถักออกไดหลายแบบ เชน611


(1) แบงตามวัสดุ ไดแก โครงถักไม (Wooden truss) โครงถักเหล็ก (Steel truss) โครงถักคอนกรีต (Reinforced concrete truss) และ โครงถักองคประกอบ (Composite truss)(2) แบงตามรูปแบบ หรือ ลักษณะทางกายภาพของโครงสราง เชน โครงถักรูปจั่ว โครงถักรูปแบน และ โครงถักรูปโคง(3) แบงตามลักษณะการถายแรง หรือ ตามระบบโครงสราง เชน โครงถักทางเดียว โครงถักหลายระนาบ โครงถักรูปตาราง โครงถักรูปโดม (Dome) รูปโคง (Arch) โวลท (Vault) หรือ โคงแบบประทุน(Barrel vault)อยางไรก็ตามโดยทั่วไปแลว นิยมแบงโครงถักออกไดเปน 3 ประเภท คือ2.2.1 โครงถักทางเดียว (Linear truss)2.2.2 โครงถักหลายระนาบ (Double layer truss)2.2.3 โครงถักแบบพิเศษ (Complicated truss)โครงถักทั้ง 3 ชนิดนั้น ยังสามารถแบงออกไปไดอีกมากมายหลายชนิด สามารถนํามาใชงานแตกตางกันไปตามประเภท ขนาด และรูปทรงของอาคารที่ตองการ การนําโครงถักแตละชนิดไปใชในงานออกแบบจําเปนตองพิจารณาถึง ความลึก ชวงพาดที่ประหยัด และ สัดสวนของความสูงตอความยาวของชวงพาด (H:L)ของโครงสราง และ องคประกอบอื่นๆ ที่ไดกลาวมาแลวขางตน2.2.1 โครงถักทางเดียว (Linear truss) ใชเปนโครงสรางหรือโครงหลังคาของอาคารทั่วไปขอดีของโครงถักทางเดียว คือ ออกแบบไดงาย สามารถออกแบบใหรับน้ําหนักบรรทุกที่แผกระจาย (Uniformedload) และ น้ําหนักกระทําเปนจุด (Point load) ไดดี ตําแหนงเสา และ ระบบโครงสรางโดยรวม ใหความอิสระในการออกแบบมาก สามารถปรับใชใหเหมาะสมกับผัง หรือรูปทรงอาคารที่มีลักษณะ และ น้ําหนักบรรทุกพิเศษหรือแตกตางจากปกติไดโดยงาย จึงนิยมใชกันทั่วไป โดยเฉพาะอาคารอุตสาหกรรม และ อาคารสาธารณะ ซึ่งมีชวงพาดขนาดกลางตั้งแต 12 ถึง 60 เมตร หากเรียงตามประสิทธิภาพในการพาดชวงจะสามารเรียงได ดังนี้(1) โครงถักรูปโคง (Bowstring truss) ใชกับอาคารที่ตองการหลังคารูปโคง และ ตองการเนื้อที่โลง หรือ ปริมาตรภายในขนาดใหญ ถาน้ําหนักบรรทุกบนโครงมีมาก ถายทอดลงอยางสม่ําเสมอ และแผตลอดความยาวเทาๆกัน การใชโครงถักรูปโคงจะถือวาประหยัดที่สุด ยิ่งถาใชรูป Parabola จะถูกตองตามหลักทฤษฎีเปนอยางยิ่ง เพราะน้ําหนักจะถายทอดลงบนทอนโคง ขื่อตัวดึง และตัวยึดอยางตรงไปตรงมา หนาตัดของทอนโคงจะรับเฉพาะแรงอัดเทานั้น ไมเกิดแรงดัด จึงไมจําเปนตองใสตัวตั้งเพื่อชวยในการรับแรงดัด อยางไรก็ตามโครงถักรูปโคงสวนมากมีการรับแรง และการรับน้ําหนักบรรทุกไมเทากัน เพราะจําเปนตองเผื่อรับน้ําหนักจรน้ําหนักคนขึ้นไปขางบน จึงจําเปนตองใสตัวตั้งเพื่อความสะดวกในการสราง การประกอบ และการเลื่อยตัดใหไดรูป จึงมักทําทอนโคงเปนรูปสวนของวงกลม และใสตัวตั้งเพื่อชวยลดขนาดหนาตัดของทอนไมโคงตัวบนลง ความประหยัดของโครงสรางขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุที่ใช เชน วิธีการบรรทุกน้ําหนัก ระยะหางของการวางโครง ขนาดหนาตัดของวัสดุ ความยาว การทํารอยตอ และวิธีการประกอบเปนตัวโครง เปนตน(2) โครงถักรูปจั่ว (Pitched truss) มีหลายรูปแบบ ไดแก แบบแพรท (Pratt truss) แบบโฮว (Howe truss) แบบสฟงค (Squink truss) และ แบบขากรรไกร (Scissors truss) เหมาะกับหลังคาทรงสูง มี612


ความลาดเอียงมาก หรือ ตองการเนื้อที่ใชสอยใตหลังคา โครงถักรูปจั่ว (Pitched truss) มีขอดี คือ สวนหนึ่งของน้ําหนักบรรทุกที่พาดอยูบนโครงจะถายทอดลงจุดรองรับโดยตรง เลือกใชเครื่องมุงหลังคางาย ใชพาดชวงกวางปานกลาง ทอนบนของโครงใชทอนรูปตรงธรรมดา วิธีสรางประกอบงาย แตตองมีตัวดั้ง ตัวค้ํายัน การติดตั้งกับโครงรองรับทําไดงาย ระยะหางระหวางโครงอยูในชวงประมาณ 4.5-6 เมตร อัตราสวนระหวางความลึกของโครงกับความยาวชวงใชประมาณ 1 : 5-7(3) โครงถักรูปแบน (Flat truss) หรือ โครงถักขนาน (Paralleled truss) มีหลายรูปแบบไดแก แบบแพรท (Pratt truss) แบบโฮว (Howe truss) แบบวอรเรน (Warren) เหมาะทีจะใชกับอาคารที่ตองการหลังคาแบนราบ มีความลาดเอียงนอย หรือ ตองการลดความสูง ประสิทธิภาพ และความประหยัดของโครงดอยกวาโครงทั้งสองชนิดขางตน แตมีขอดี คือ เหมาะสําหรับใชเปนโครงพื้น โครงหลังคาดาดฟา ขึ้นไปใชงานขางบน การค้ํายึดยันกับเสารองรับทําไดงายมาก เพราะทอนบน และทอนลางของโครงอยูยึดติดขนานกับตัวเสา การเดินทออุปกรณอาคารขนาดใหญสามารถทําไดตลอดทั่วบริเวณในความลึกของโครงเมื่อโครงมีความลึกมาก แรงที่เกิดขึ้นในตัวตั้ง ตัวค้ํา ตัวยัน ของโครงแบบนี้มีมากกวาที่เกิดในโครงสองชนิดขางตน การทํารอยตอจะยุงยากสิ้นเปลืองมากกวา โครงหลังคาตองทําความลาดเล็กนอยพอใหน้ําไหลไดงาย โดยควรใชความลาด 1 : 50เมื่อใชสรางเปนดาดฟา อัตราสวนของโครงใชความลึกตอความยาวชวงประมาณ 1 : 8-10(4) โครงถักรูปแบนผสมจั่ว (Lank-Teco truss) เปนโครงสรางที่มีรูปแบบผสมผสานระหวางโครงถักรูปจั่วและโครงถักรูปขนาน ซึ่งสามารถพาดชวงไดกวางก้ํากึ่งกันระหวางโครงถักรูปแบน และโครงถักรูปจั่ว2.2.2 โครงถักหลายระนาบ (Double layer truss) หรือ โครงถักสามมิติ (Space frame) เหมาะที่จะพาดชวง หรือคลุมเนื้อที่กวางๆ เหมาะที่จะพาดชวง หรือคลุมเนื้อที่กวางๆ โครงถักประเภทสเปซกริด (Spacegrid) หรือ สเปซเฟรม (Space frame) สามารถออกแบบใชเปนเสา คาน ผนัง พื้น และ หลังคา ของอาคารไดหรืออาจประกอบขึ้นเปนโครงสรางคลุมพื้นที่กวางไดหลายประเภท เชน แผนพับ (Folded plate) หรือ โดม(Dome) ซึ่งปกติสรางขึ้นจากคอนกรีตมีความหนาในชวง 10 ถึง 25 ซม. แตอาจใชโครงถักเหล็กสามมิติที่มีความลึกในชวง 30 ถึง 50 เซนติเมตร ทําหนาที่แทนแผนคอนกรีตประกอบเปนแผนพับหรือโดมได ทําใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นเพราะเหล็กมีหนักเบา และกําลังวัสดุสูงกวาโครงถักหลายระนาบ สามารถแบงออกไดหลายชนิด ไดแก(1) โครงถักรูปตาราง (Lattice grid)- ตารางรูปสี่เหลี่ยมผืนผา (Two-way lattice grid, Lattice truss)- ตารางรูปสามเหลี่ยม (Diagonal grid)- ตารางรูปวงกลม (Circular grid)(2) สเปซกริด (Space grid) หรือ สเปซเฟรม (Space frame)- ชนิด 2 ทาง (Two-way space grid)- ชนิด 3 ทาง (Three-way space grid)6<strong>13</strong>


2.2.3 โครงถักแบบพิเศษ )Complicated trusses) หรือ โครงถักแบบผสมกับโครงสรางประเภทอื่น ใชกับอาคารที่มีรูปทรงพิเศษ เชน โครงถักรูปโคงประทุน โครงถักรูปโดม และ โครงถักแขวน สวนใหญเปนโครงถักที่ประกอบขึ้นเปนโครงสรางประเภทอื่นเพื่อใหมีน้ําหนักเบาและพาดชวง หรือใชคลุมพื้นที่ไดมากขึ้นไดแก- โครงถักรูปโคงประทุน (Braced barrel vaults)- โครงถักรูปโดม (Braced dome และ Geodesic dome)- โครงถักแขวน (Suspended truss structure)- โครงถักรูปเปลือกบาง (Suspended skin structure)- ฯลฯโครงถักทั้ง 3 ชนิดนั้น ยังสามารถแบงออกไปไดอีกมากมายหลายชนิด สามารถนํามาใชงานแตกตางกันไปตามประเภท ขนาด และรูปทรงของอาคารที่ตองการ การนําโครงถักแตละชนิดไปใชในงานออกแบบจําเปนตองพิจารณาถึง ความลึก ชวงพาดที่ประหยัด และ สัดสวนของความสูงตอความยาวของชวงพาด (H:L)ของโครงสราง และ องคประกอบอื่นๆ ที่ไดกลาวมาแลวขางตนอนึ่ง เหล็กสามารถประกอบเปนโครงสรางสําเร็จรูป หรือหนวยยอยๆ (Modular unit) ไดโดยสะดวกเพื่อใหมีน้ําหนักเบา และ สะดวกในการขนสง แลวนําไปประกอบเปนโครงสรางประเภทอื่นได ตัวอยางเชนโครงสรางแบบขอแข็ง 1 (Rigid frame) ถาประกอบจาก ค.ส.ล. หรือเหล็กโครงสรางปกติ มีชวงพาดที่ประหยัดประมาณ 15.00 ถึง 45 เมตร แตถาประกอบขึ้นจากโครงถักเหล็ก สามารถพาดชวงไดเพิ่มขึ้นถึง 60.00 เมตรและ ถาออกแบบใหเปนโครงถักสามมิติ (Space truss) รูปคานโคง (Arch) มีจุดหมุน 3 จุด (Three-pin archframe) ก็สามารถพาดชวงไดถึง 90.00 เมตร หรือมากกวาก็ได การนําเหล็กซึ่งเปนผลิตภัณฑอุตสาหกรรมมาใชกับโครงสรางขนาดใหญหรือใชคลุมเนื้อที่กวางๆ นาจะสะดวก และ ประหยัด เชน จีโอเดสิกโดม (Geodesicdome) สามารถออกแบบใหคลุมเมืองไดทั้งเมือง เปนตน614


ตารางที่ 2.1 ระบบและชนิดของโครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักชนิดตางๆระบบโครงสราง/ชนิดของโครงสรางก. โครงถักทางเดียว1. โครงถักรูปจั่ว2. โครงถักรูปแบน3. โครงถักรูปโคง4. โครงถักรูปแบนผสมจั่วข. โครงถักหลายระนาบ1. โครงถักรูปตาราง1.1 ตารางรูปสี่เหลี่ยมผืนผา1.2 รูปสามเหลี่ยม1.3 รูปหกเหลี่ยม1.4 รูปวงกลม2. สเปซกริด2.1 สเปซกริดสองทาง2.2 สเปซกริดสามทางค. โครงถักแบบพิเศษ1. โครงถักโคงประทุน2. โครงถักเบรซโดม3. โครงถักจีออเดสิกโดม4. โครงถักเปลือกบาง5. โครงถักแขวนที่มา: จรัญพัฒน ภูวนันท พ.ศ. 2542วัสดุที่นิยมใชไม/เหล็กไม/เหล็กไม/เหล็กไม/เหล็กไม/เหล็กไม/เหล็กเหล็กเหล็กเหล็กไม/เหล็ก/อลูมิเนียมชวงพาดที่ประหยัด(เมตร)7.50 ถึง 60.007.50 ถึง 18.009.00 ถึง 45.0030.00 ถึง 90.0012.00 ถึง 18.0021.00 ถึง 120.0021.00ถึง 30.0021.00ถึง 30.0021.00ถึง 30.0030.00ถึง 90.0060.00ถึง 120.00ใชพาดชวงหรือคลุมปริมาตร มากๆสัดสวนความลึก:ชวงพาด(H:L)1/2 ถึง 1/101/2 ถึง 1/101/101/6 ถึง 1/81/8 ถึง 1/101/20 ถึง 1/401/20 ถึง 1/301/20 ถึง 1/301/20 ถึง 1/301/25 ถึง 1/401/25 ถึง 1/40ขึ้นอยูกับประเภทของโครงสรางแตละชนิดหมายเหตุมีพฤติกรรมในการรับแรงเหมือนคาน(Beam)ถาชวงพาดแคบๆH/L จะมีคามากกวา(>1/20 – 1/25)มีพฤติกรรมในการรับแรงเหมือน(Plate)มีพฤติกรมมในการรับแรงเหมือนกับโครงสรางประเภทนั้นๆ615


3. ผลการศึกษาอาคารขายรถมือสอง3.1 ผลการศึกษาที่มาและรูปแบบโครงสรางเหล็กของอาคารขายรถมือสอง3.1.1 ประวัติความเปนมาของอาคารขายรถมือสองจากการสัมภาษณผูประกอบการสวนใหญถึงประวัติความเปนมาของอาคารขายรถมือสองใหความเห็นวา อาคารขายรถมือสองในอดีตสรางจากโครงสรางไมทั้งระบบ ตอมาจึ่งเริ่มพัฒนาโดยการใชเสาและฐานรากเปนปูน และในที่สุดใชโครงสรางเหล็กทั้งระบบ ผูประกอบการอาคารขายรถมือสองบางทานกลาวถึงที่มาของคําวา “เตนทรถ” วามีที่มาจากการที่มีผูประกอบการจํานวนมากนําเตนทผาใบมาใชครอบคลุมรถ จึงเปนสาเหตุทําใหคนสวนใหญเรียกอาคารขายรถมือสองวา “เตนทรถ”3.1.2 พื้นที่ในอาคารขายรถมือสองจากการศึกษาเบื้องตนพบวาอาคารขายรถมือสองมีพื้นที่ ดังนี้(1) พื้นที่ใชสอย- พื้นที่จอดรถสําหรับขาย- พื้นที่สํานักงาน(2) พื้นที่บริการ- พื้นที่จอดรถสําหรับลูกคา- พื้นที่ซอมบํารุง- พื้นที่ลางทําความสะอาด- พื้นที่สําหรับพนักงานดูแลความปลอดภัย3.1.3 รูปแบบโครงสรางเหล็กของอาคารขายรถมือสองจากการสํารวจอาคารขายรถมือสองในกรุงเทพมหานคร พบรูปแบบโครงสรางเหล็ก จํานวน 4รูปแบบ ดังนี้(1) โครงสรางเหล็กชวงกวาง (Wide-span steel structure) ตามรูปที่ 3.1(2) โครงสรางเตนทผาใบ (Tent) ตามรูปที่ 3.2(3) โครงสรางเคเบิ้ลระบบเสาชวงเดี่ยว (Cable-stayed system) ตามรูปที่ 3.3(4) โครงสรางผาใบรับแรงตึงสูง (Membrane fabric) ตามรูปที่ 3.4616


รูปที่ 3.1 แสดงตัวอยางโครงสรางเหล็กชวงกวาง (Wide-span steel structure)รูปที่ 3.2 แสดงตัวอยางโครงสรางเตนทผาใบ (Tent)รูปที่ 3.3 แสดงตัวอยางโครงสรางเคเบิ้ลระบบเสาชวงเดี่ยว (Cable-stayed system)617


รูปที่ 3.4 แสดงตัวอยางโครงสรางผาใบรับแรงตึงสูง (Membrane fabric)3.2 ผลการศึกษารายละเอียดโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสอง ในพื้นที่ที่มีอาคารขายรถมือสองหนาแนนในกรุงเทพมหานคร พบวามี 5 ยานหลัก ไดแก (1) ยานพุทธมณฑลสาย 1 (2) ยานรัชดาภิเษก (3) ยานเกษตรนวมินทร-รามอินทรา (4) ยานพัฒนาการ (5) ยานโชคชัยสี่3.2.1 ผลการศึกษาโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสอง ยานพุทธมณฑลสาย 1 จํานวน 32 หนวย ไดแก618


(1) รัตนโกสินทร คาร คอมเพล็ก(2) ศูนยรวมรถยนต พี เซ็นเตอร(3) ราชารถ(4) Car corner(5) ศิรศิทธิ์ รถบาน(6) นพ คาร เซ็นเตอร(7) A sport(8) คุณพง ศูนยรวมรถฮอนดาทุกชนิด(9) PS motor(10) ธนโชติ คาร เซนเตอร(11) ศูนยรถยนต P&J(12) ศูนยรถบานไพโรจนโชติชวง(<strong>13</strong>) ศูนยรวมรถยนตชัวร ออโต(14) อิคคิว ออโต สปอรต(15) ศูนยรวมรถยนต เดอะเบส ออโต(16) โชกุนออโต(17) ไพศาล เจริญยนต 2(18) ปอ ออโต(19) เอ็ดดี้คาร(20) นครินทร คาร เซ็นเตอร(21) Central auto sale(22) จําลอง ออโต(23) Net Auto used car(24) Best car center(25) ตลาดรถยนต ฟฟา(26) สมเกียรติ ออโต คาร(27) สงวน used car(28) เจปอม ชัวร(29) Exotic cars(30) แฟมมิลี่ used car(31) พีทูร คาร Big car(32) NK car plaza used car3.2.2 ผลการศึกษาโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสอง ยานรัชดาภิเษก จํานวน 14หนวย ไดแก(1) สตารเซิฟ ศูนยรวมรถคุณภาพ(8) Unity car center(2) ศูนยรวมรถยนต กวิน กรุป(9) CCK car center(3) CST รัชดา(10) โชคชัยศูนยรถยนต(4) Benz motor mall(11) P.S.ศูนยรวมรถคุณภาพ(5) ศูนยรวมรถคุณภาพ เอเชีย(12) Section 2 car center(6) ศูนยรวมรถยนต ดีประเสริฐ(<strong>13</strong>) Auto image(7) Setpoint used car(14) ยุย รัชดา3.2.3 ผลการศึกษาโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสอง ยานเกษตรนวมินทร-รามอินทรา จํานวน 8 หนวย ไดแก(1) ศูนยรวมรถยนต เกษตร-ศรีศิลป(2) วิศรุตม ขายรถ619


(3) สามปอ รถดี มีสุข(4) Anan auto(5) J.C.auto(6) T.T.car center(7) แมละมัย รถบาน(8) Auto trade center3.2.4 ผลการศึกษาโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสอง ยานพัฒนาการ จํานวน 6 หนวย ไดแก(1) O.K.รถดี(2) เทพเสถียรยนตรการ(3) Grand auto(4) S.J.auto city(5) World cars(6) ตลาดรถยนต เสรีนครินทร3.2.5 ผลการศึกษาโครงสรางเหล็กชวงกวางของอาคารขายรถมือสอง ยานโชคชัยสี่ จํานวน 3 หนวยไดแก(1) City car master(2) Car fashion(3) สหกรณยานยนต620


4. ผลการวิเคราะห4.1 ผลการวิเคราะหรายละเอียดโครงสรางเหล็กชวงกวาง4.1.1 ผลการวิเคราะหประเภทและชนิดของโครงสรางเหล็กชวงกวางตารางที่ 4.1 แสดงผลการวิเคราะหประเภทและชนิดของโครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทและชนิดของโครงสรางเหล็กชวงกวาง1. โครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักทางเดียวชนิดโครงถักรูปแบน(Linear truss-Flat truss)2. โครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักทางเดียวชนิดโครงถักรูปโคง(Linear truss-Bowstringtruss)3. โครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยมชนิดโครงถักรูปแบน(Two-way lattice grid-Flattruss)4. โครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยมชนิดโครงถักรูปโคง(Two-way lattice grid-Bowstring truss)ยานพุทธมณฑลสาย1ยานรัชดาภิเษกยานเกษตรนวมินทร-รามอินทรายานพัฒนาการยานโชคชัยสี่5 3 6 5 0 1912 2 1 1 0 1615 7 0 0 3 250 2 1 0 0 3รวม 32 14 8 6 3 63รวม621


สรุปตารางที่ 4.1 โครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยมชนิดโครงถักรูปแบน(Two-way lattice grid-Flat truss) ถูกพบในอาคารขายรถมือสองมากที่สุด จํานวน 25 หนวย จากอาคารขายรถมือสองทั้งหมด จํานวน 63 หนวย4.1.2 ผลการวิเคราะหชวงพาดของโครงสรางเหล็กชวงกวางตารางที่ 4.2 แสดงผลการวิเคราะหชวงพาดของโครงสรางเหล็กชวงกวางลําดับ ประเภทและชนิดของโครงสรางเหล็กชวงกวางชวงพาด (เมตร)5 6 8 10 12 201 โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักทางเดียว 1 6 3 6 3 0ชนิดโครงถักรูปแบน (Linear truss-Flat truss)2 โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักทางเดียว 0 2 4 2 7 0ชนิดโครงถักรูปโคง (Linear truss-Bowstring truss)3 โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยม 2 5 5 11 3 0ชนิดโครงถักรูปแบน (Two-way lattice grid-Flat truss)4 . โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยม 0 0 0 1 1 1ชนิดโครงถักรูปโคง (Two-way lattice grid-Bowstring truss)รวม 3 <strong>13</strong> 12 20 14 1สรุปตารางที่ 4.2 ชวงพาด 10 เมตร เปนระยะชวงพาดที่โครงสรางเหล็กชวงกวางทุกประเภทใชมากที่สุด และโครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยมชนิดโครงถักรูปแบน (Two-way lattice grid-Flat truss)สวนใหญ มีชวงพาด 10 เมตร622


4.1.3 ผลการวิเคราะหความสูงของโครงสรางเหล็กชวงกวางตารางที่ 4.3 แสดงผลการวิเคราะหความสูงของโครงสรางเหล็กชวงกวางลําดับ ประเภทและชนิดของโครงสรางเหล็กชวงกวาง ความสูง (เมตร)1 โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักทางเดียวชนิดโครงถักรูปแบน (Linear truss-Flat truss)2 โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักทางเดียวชนิดโครงถักรูปโคง (Linear truss-Bowstring truss)3 โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยมชนิดโครงถักรูปแบน (Two-way lattice grid-Flat truss)4 . โครงสรางเหล็กชวงกวาง ประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยมชนิดโครงถักรูปโคง (Two-way lattice grid-Bowstring truss)4 5 62 7 105 2 81 9 160 0 3รวม 8 18 37สรุปตารางที่ 4.3 ความสูง 6 เมตร เปนระยะความสูงที่โครงสรางเหล็กชวงกวางทุกประเภทใชมากที่สุด และโครงสรางเหล็กชวงกวางประเภทโครงถักตารางรูปสี่เหลี่ยมชนิดโครงถักรูปแบน (Two-way lattice grid-Flat truss)สวนใหญ มีความสูง 6 เมตร623


ความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานREDUNDANCY BY THE LAW OF FACTORY’S FACILITY AUDITนายรัฐพล พัฒนศิริหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นเนื่องจาก โรงงานอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวของและถูกกํากับดูแลดวยกฎหมายหลายฉบับ อาทิเชนพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535. พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ.2514การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพิจารณาความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงาน และความคิดเห็นของผูประกอบกิจการโรงงาน โดยมีขอบเขตในการศึกษาเฉพาะ กลุมอุตสาหกรรมโลหะ เครื่องจักรกล ยานยนต และมีพื้นที่ ตั้งแต 5,000 ตารางเมตร ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานีวิธีการศึกษา โดยการแยกประเด็นความซ้ําซอนจากกฎหมายฉบับตาง ๆ เปนรายประเด็น และใชเครื่องมือในการเก็บขอมูล เปนแบบสอบถาม และวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนาจากการศึกษาเบื้องตน พบวา ประเด็นหลักดานกายภาพของโรงงานที่มีความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานมีจํานวน 38 ประเด็น โดยความซ้ําซอนที่เกิดขึ้น เปนผลมาจากอํานาจหนาที่ ที่กฎหมายบัญญัติไว แตกตางกันจากหลายหนวยงาน สงผลใหผูประกอบกิจการตองรับการตรวจสอบดานกายภาพของโรงงานจากหนวยงานตาง ๆ ที่อาจซ้ําซอนกันอยางหลีกเลี่ยงไมได โรงงานที่มีขนาดเงินทุนรวมมากกวาและมีจํานวนคนงานมากกวา จะมีแนวโนมของระดับความคิดตอความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานวา เปนผลดีตอองคกร สูงกวา โรงงานที่มีขนาดเงินทุนนอยกวาและจํานวนแรงงานนอยกวา จากการทดสอบสมมติฐาน คาสถิติระหวางผูที่ทราบและผูที่ไมทราบวามีความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงาน พบวา ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ สวนภาพรวมความคิดเห็นของผูประกอบกิจการ เห็นวา ความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานเปนผลดีตอการดําเนินกิจการของโรงงานจากการศึกษาในครั้งนี้ สรุปไดวา แมวาความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานจะกอใหเกิดปญหาบางประการตอการดําเนินกิจการของโรงงาน แตความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานก็ยังเปนผลดีตอการดําเนินกิจการของโรงงานโดยรวมในดานลดความเสี่ยงของผูประกอบกิจการ624


ความเปนมาและความสําคัญของปญหาความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นเนื่องจาก โรงงานอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวของและถูกกํากับดูแลดวยกฎหมายหลายฉบับ อาทิเชนพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535พระราชบัญญัติ จดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ.2514 ไดกําหนดอํานาจหนาที่ใหพนักงานเจาหนาที่ ในการกํากับดูแลโรงงาน เพื่อใหผูประกอบกิจการโรงงานปฏิบัติตามหลักเกณฑและขอกําหนดในกฎหมายอยางเครงครัด มิใหประกอบกิจการโรงงานไปในทางที่ฝาฝนตอกฎหมาย หรือประกอบกิจการที่อาจกอใหเกิดอันตราย ความเสียหาย ความเดือดรอนแกบุคคล หรือทรัพยสินที่อยูในโรงงานหรืออยูบริเวณใกลเคียง ตลอดจนสุขภาพอนามัยอีกทั้งปญหามลภาวะที่เปนพิษอันมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (เสกสรร ชาญวิธะเสนา, 2539) สงผลใหผูประกอบกิจการตองรับการตรวจสอบดานกายภาพของโรงงานจากหนวยงานตางๆ ที่อาจซ้ําซอนกันอยางหลีกเลี่ยงไมไดความซ้ําซอนกันในกฎหมายแตละฉบับ ที่แตละหนวยงานราชการถือปฏิบัติ หรือถือปฏิบัติตามกฎหมายฉบับเดียวกันแตปฏิบัติซ้ําซอนกัน แนวการปฏิบัติการวินิจฉัย หรือการใชดุลพินิจอาจแตกตางกัน ยอมมีผลถึงผูประกอบกิจการโรงงานงานอุตสาหกรรมในดานคาใชจาย ทําใหเสียเวลาโดยไมสมควร ทั้งยังกอใหเกิดการขัดแยงกัน ระหวางสวนราชการที่มีความเห็น หรือดําเนินการไมเปนไปในทางเดียวกัน ทําใหผูประกอบกิจการโรงงานเกิดความลําบากใจ ลังเลใจ ไมแนใจวาควรจะปฏิบัติตามการดําเนินการหรือความเห็นของหนวยราชการใดจึงจะถูกตอง (ไพรัช จันทรดวง, 2541)ความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานบางประเด็นก็เปนผลดีตอการดําเนินกิจการของโรงงานในดานลดความเสี่ยงของผูประกอบกิจการ แตประเด็นความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานบางประเด็นก็อาจเปนภาระปญหาตอการดําเนินกิจการของโรงงาน ทั้งในดานความลาชา และคาใชจายเปนจํานวนมาก ดังนั้น ปญหาเหลานี้ จึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งที่ตองทําการศึกษาหาทางแกไขปรับปรุง เพื่ออํานวยความสะดวกและเปนประโยชนตอผูประกอบกิจการวัตถุประสงคการศึกษาการศึกษานี้มีวัตถุประสงค คือประเด็น• เพื่อพิจารณาความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานเปนราย• เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผูประกอบกิจการโรงงาน โดยมีขอบเขตในการศึกษาเฉพาะ กลุมอุตสาหกรรมโลหะ เครื่องจักรกล ยานยนต และมีพื้นที่ ตั้งแต 5,000 ตารางเมตร ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี625


วิธีการศึกษาการศึกษาในครั้งนี้แบงวิธีการศึกษาเปน 2 สวน คือ1. ศึกษาวิเคราะหขอกฎหมาย จากพระราชบัญญัติ 8 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติควบคุมอาคารพ.ศ.2522 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติพ.ศ.2535. พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักรพ.ศ.2514 และกฎหมายที่ออกความตามในพระราชบัญญัติทั้ง 8 ฉบับ โดยการแยกประเด็นความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานจากกฎหมายฉบับตางๆ เปนรายประเด็น2. โดยใชเครื่องมือในการเก็บขอมูล เปนแบบสอบถาม และวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนาโดย กลุมตัวอยาง คือ โรงงานในกลุมอุตสาหกรรมโลหะ เครื่องจักรกล ยานยนต และมีพื้นที่ตั้งแต 5,000ตารางเมตร ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานีผลการศึกษา4.1 จากการศึกษาขอกฎหมาย จากพระราชบัญญัติ 8 ฉบับ และกฎหมายที่ออกความตามในพระราชบัญญัติทั้ง 8 ฉบับ โดยแยกประเด็นความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานจากกฎหมายฉบับตางๆ เปนรายประเด็น พบวา ประเด็นหลักดานกายภาพของโรงงานที่มีความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานมีจํานวน 38 ประเด็น แบงเปนหมวด ดังนี้หมวด 1 ที่ตั้ง สภาพแวดลอม ลักษณะอาคารและลักษณะภายในของโรงงาน1. การรื้อถอน ดัดแปลง ตอเติม2. กาซธรรมชาติ ภาชนะบรรจุกาซ สถานที่เก็บกาซ สถานที่ใชกาซ3. ระบบปองกันฟาผา4. ปายอาคาร หรือปายที่มีขนาดใหญเขาขายอาคาร5. สวนตางๆ ของอาคาร เชน เพดาน ระเบียง ประตู ผนัง6. บันไดอาคาร7. ที่วาง หรือพื้นที่วาง ภายในและภายนอกอาคาร8. สถานที่เก็บวัตถุอันตราย ภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย9. ระดับและระยะของอาคาร เชน ระยะดิ่ง ระยะหางระหวางอาคาร10. ความมั่นคง แข็งแรง ของอาคาร11. สถานที่อับอากาศ เชน ไซโล หองใตดิน12. สถานพยาบาล หรือหองพยาบาลในโรงงาน<strong>13</strong>. สถานที่ประกอบอาหาร หรือสถานที่จําหนายอาหาร14. สวม หองอาบน้ํา ที่อาบน้ําฉุกเฉิน15. โกดัง หรือคลังสินคา16. ที่จอดรถ อาคารจอดรถ626


หมวด 2 เครื่องจักร เครื่องอุปกรณ หรือสิ่งที่นํามาใชในโรงงาน1. เครื่องจักร ในโรงงาน2. เครื่องปองกันอันตรายที่ติดอยูกับสวนเคลื่อนไหวของเครื่องจักร3. หมอน้ํา4. ระบบลิฟต5. ยานพาหนะ เชน รถยนต รถจักรยานยนต รถบรรทุก6. ระบบไฟฟา หมอแปลงหมวด 3 คนงานประจําโรงงาน1. ระดับอุณหภูมิหรือความรอนในสถานที่ทํางาน2. ระดับของเสียง หรือเสียงรบกวนในสถานที่ทํางาน3. ระดับแสงสวางในสถานที่ทํางาน4. เครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล5. น้ําดื่มน้ําใชหมวด 4 การควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม1. สิ่งปฏิกูล และมูลฝอย2. ของเสียอันตราย3. น้ําเสีย การบําบัดน้ําเสีย และระบบบําบัดน้ําเสีย4. น้ําทิ้ง แหลงรองรับน้ําทิ้ง ระบบระบายน้ํา5. อากาศเสีย เขมา ควัน กลิ่น6. การระบายอากาศ ระบบระบายอากาศ ทอระบายอากาศ การฟอกอากาศ ชองระบายอากาศชองลม ปลองระบายอากาศ หนาตางหมวดที่ 5 ความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน1. การซอมอพยพ การซอมหนีไฟ2. เครื่องดับเพลิง เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ3. บันไดหนีไฟ4. ทางออกฉุกเฉิน5. ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม สัญญาณแจงเหตุ สัญญาณเตือนภัย อุปกรณสงสัญญาณ4.2 จากการวิเคราะหขอมูล ที่รวบรวมจากแบบสอบถามพบวา• ระดับความคิดเห็นแยกเปนรายประเด็น สวนมากมีระดับความคิดเห็นวา ความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงาน เปนผลดีตอองคกร ประเด็นที่มีระดับความคิดเห็นวาเปนผลดีตอองคกรมากที่สุด คือ ทางออกฉุกเฉิน ประเด็นที่มีระดับความคิดเห็นวาไมเปนผลดีตอองคกรมากที่สุดคือ ระดับอุณหภูมิหรือความรอนในสถานที่ทํางาน627


• ผูที่ทราบวา การตรวจสอบกายภาพของโรงงานในประเด็นตาง ๆ มีความซ้ําซอนกันในขอกฎหมายกับผูที่ไมทราบวา การตรวจสอบกายภาพของโรงงานในประเด็นตาง ๆ มีความซ้ําซอนกันในขอกฎหมายมีระดับความคิดที่เปนผลดี ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ• ความคิดเห็นโดยรวมของผูประกอบกิจการ เห็นวา ความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานเปนผลดีตอการดําเนินกิจการของโรงงาน• ปจจัยดานเงินทุนรวม และจํานวนแรงงาน มีความสัมพันธกับระดับความคิดเห็นของผูประกอบการในเชิงบวก โรงงานที่มีขนาดเงินทุนมากกวา และจํานวนแรงงานมากกกวา จะมีแนวโนมของระดับความคิดตอความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานวา เปนผลดีตอองคกรสูงกวา โรงงานที่มีขนาดเงินทุนนอยกวา และจํานวนแรงงานนอยกวาการอภิปรายผลการศึกษาจากการศึกษาในครั้งนี้ สรุปไดวา• ความคิดเห็นรายดานของผูประกอบกิจการโรงงาน ตอการตรวจสอบกายภาพของโรงงานในประเด็นตาง ๆ มีความซ้ําซอนกันในขอกฎหมายสวนมาก เห็นวา ความซ้ําซอนเกือบทุกประเด็น เปนผลดีตอองคกร• ความซ้ําซอนที่เกิดขึ้น เปนผลมาจาก อํานาจหนาที่ ที่กฎหมายบัญญัติไว แตกตางกันจากหลายหนวยงาน สงผลใหผูประกอบกิจการตองรับการตรวจสอบดานกายภาพของโรงงานจากหนวยงานตางๆ ที่อาจซ้ําซอนกันอยางหลีกเลี่ยงไมได• แมวาความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานจะกอใหเกิดปญหาบางประการตอการดําเนินกิจการของโรงงาน แตความซ้ําซอนตามกฎหมายของการตรวจสอบสภาพดานกายภาพของโรงงานก็ยังเปนผลดีตอการดําเนินกิจการของโรงงานโดยรวม ในดานลดความเสี่ยงของผูประกอบกิจการบรรณานุกรมและเอกสารอางอิงวิทยานิพนธไพรัช จันทรดวง. 2541. การปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับการอนุญาตตั้งและประกอบกิจการโรงงานเพื่อเอื้ออํานวยตอการลงทุน : ศึกษากรณีความซ้ําซอนของกฎหมาย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.เสกสรร ชาญวิธะเสนา. 2539. อํานาจของพนักงานเจาหนาที่ในการกํากับและดูแลโรงงานอุตสาหกรรม : ศึกษาเฉพาะกรณีตามมาตรา 37, 39 และ 42 ของพระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ.2535. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.628


กฎหมายพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518. ราชกิจจานุเบกษา เลม 92/ตอนที่ 33/ฉบับพิเศษ หนา 8/<strong>13</strong> กุมภาพันธ2518.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535. ราชกิจจานุเบกษา เลม 109/ตอนที่ 38/หนา 27/5 เมษายน 2535.พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522. ราชกิจจานุเบกษา เลม 96/ตอนที่ 80/ฉบับพิเศษ หนา 1/14พฤษภาคม 2522.พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541. ราชกิจจานุเบกษา เลม 115/ตอนที่ 8 ก/หนา 1/20 กุมภาพันธ2541.พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ.2514. ราชกิจจานุเบกษา เลม 88/ตอนที่ 44/หนา 246/27 เมษายน2514.พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535. ราชกิจจานุเบกษา เลม 109 ตอนที่ 44 ลงวันที่ 9 เมษายน 2535.พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535. ราชกิจจานุเบกษา เลม 109/ตอนที่ 39/หนา 21/6 เมษายน 2535.พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535. ราชกิจจานุเบกษา เลม 109/ ตอนที่37/หนา 1/4 เมษายน 2535.629


จํานวนงานบริการดานการดูแลรักษาทรัพยากรกายภาพของหมูบานจัดสรรนางสาวภคพร ชอนทองหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยการปฏิบัติงานดานกายภาพและพื้นที่สวนกลางของหมูบานจัดสรรซึ่งถือไดวาเปนองคประกอบสําคัญในการสงผลตอสภาพแวดลอม สภาพทางกายภาพและความเปนอยูของผูพักอาศัย ใหไดรับความสะดวก สะอาดปลอดภัยตลอดจนการจัดการใหทรัพยสวนกลางอยูในสภาพที่ดีตลอดไป การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ขอบเขตรูปแบบ วิธีการปฏิบัติงาน โดยไดรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณ จากผูจัดการหมูบานและผูปฏิบัติงานและสํารวจสภาพทางกายภาพ ในเรื่องดังกลาว จากหมูบานกรณีศึกษาจํานวน 30 หมูบานในระดับราคาที่แตกตางกัน คือ หมูบานระดับราคาต่ํา (L) ราคาตั้งแต 599,000 – 1,000,000 บาท, หมูบานระดับราคาปานกลาง(M) ราคาตั้งแต 1,000,001 –3,500,000 บาท, หมูบานระดับราคาสูง(H) ราคาตั้งแต 3,500,001 ลานบาทขึ้นไป ที่ตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑลจากหมูบานกรณีศึกษาพบงานบริการ 7 งาน ไดแก งานรักษาความปลอดภัย, งานดูแลสวนและภูมิทัศน, งานกวาดถนน, งานเก็บขยะ, งานดูแลบํารุงรักษาระบบสาธารณูปโภค, งานบํารุงรักษาสโมสร, งานกําจัดแมลง จํานวนงานบริการของหมูบานแตละระดับราคาจะแตกตางกันตามลักษณะทางกายภาพและสิ่งอํานวยความสะดวกของหมูบาน และพบวามี 4 งานบริการที่ทุกหมูบานจัดใหมีเหมือนกันซึ่งถือไดวาเปนงานบริการสาธารณะพื้นฐาน ไดแก 1. งานรักษาความปลอดภัยหมู วิธีการปฏิบัติงานที่พบในทุกระดับราคาคือ การตรวจตราการเขา-ออกของบุคคลภายนอก และการลาดตระเวนโดยรอบโครงการ 2. งานดูแลสวนและภูมิทัศน พบวิธีการปฏิบัติงาน 3 งาน คือ รดน้ําตนไม ตัดแตงกิ่ง-ตัดหญา ใสปุยปองกันศัตรูพืชโดยพบวาหมูบานที่อยูในระหวางการดูแลของเจาของโครงการซึ่งอยูในระหวางการขาย จะมีการดูแลสวนและภูมิทัศนมากกวา เชน รดน้ําตนไมเก็บเศษใบไมตลอดจนกําจัดวัชพืชทุกวัน และตัดแตงกิ่ง ใสปุย ตัดหญาทุก 15 วัน 3. งานกวาดถนนพบ วิธีการปฏิบัติ เหมือนกันทุกหมูบาน คือ กวาดเศษใบไมกําจัดวัชพืชบนพื้นถนนเมน ถนนซอย กวาดรางวี และบอพัก โดยจะแตกตางกันที่จํานวนรอบของการกวาด และพบวาหมูบานระดับราคาสูงทุกหมูบานจัดใหมีการปฏิบัติงานดังกลาววันละ 2 รอบ 4.งานเก็บขยะ พบวาทุกหมูบานในระดับราคาต่ํา และ ปานกลาง จัดเก็บโดยใหเทศบาลมาเก็บหนาบริเวณบานพักอาศัย สัปดาหละ 2 ครั้ง และพบวาหมูบานระดับราคาสูงทุกหมูบานจัดใหพนักงานเขาเก็บหนาบานทุกวัน และนําขยะไปพักไวบริเวณดานหนาโครงการซึ่งไดมีการจัดที่เตรียมไวสําหรับเปนที่พักขยะซึ่งใหรถเทศบาลเขาเก็บบริเวณที่พักขยะดานหนาโครงการ สัปดาหละ 2 ครั้งผลการศึกษาแสดงใหเห็นวางานบริการพื้นฐาน 4 ประเภทขางตน มีความสําคัญตอสภาพความเปนอยูของผูพักอาศัยภายในหมูบาน และพบวาวิธีการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับระดับราคาของหมูบาน โดยจากหมูบานกรณีศึกษาพบวาหมูบานระดับราคาสูง จะพบขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานที่หลากหลายกวาหมูบานระดับราคาต่ําและปานกลางเชน การปฏิบัติงานการดูแลรักษาความปลอดภัย นอกเหนือจากการตรวจตราการเขา-ออก ของบุคคลภายนอก และการลาดตระเวนโดยรอบโครงการ ยังมีการควบคุมและตรวจสอบโดยการจัดทําบัตรผูมาติดตอใหกับบุคคลภายนอก นําไปให630


เจาของบานประทับตราหรือลงชื่อกํากับ และนําบัตรผูมาติดตอใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยบริเวณปอมหนาตรวจสอบกอนออกจากโครงการ ดังนั้นเพื่อใหการปฏิบัติงานบริการดังกลาวมีประสิทธิภาพหลังจากเจาของโครงการสงมอบใหนิติบุคคลเปนผูดูแลโดยคณะกรรมการหมูบาน ตองกําหนดขอบเขต ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงานและความถี่ในการปฏิบัติงานในแตละประเภทใหชัดเจน631


1. ความเปนมาและสาระสําคัญปจจุบันงานบริการดูแลพื้นที่สวนกลางและสาธารณูปโภคของหมูบานจัดสรร เปนองคประกอบสําคัญที่สามารถสงผลตอสภาพแวดลอม สภาพทางกายภาพ และความเปนอยูของเจาของบานและผูพักอาศัย ใหเกิดความสะดวก สะอาด ปลอดภัย งานดูแลพื้นที่สวนกลางและสาธารณูปโภค จัดวาเปนเรื่องใหม รัฐจึงไดกําหนดใหมีกฎหมายออกมา 3 ฉบับสําคัญ ไดแก พ.ร.บ. อาคารชุด พ.ศ. 2522 พ.ร.บ. จัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 และ กฎกระทรวงวาดวยการขอจดทะเบียนจัดตั้งการบริหาร การควบคุมและยกเลิกนิติบุคคลบานจัดสรร พ.ศ. 2545 เพื่อกําหนดใหการอยูรวมกันของผูพักอาศัยเปนระเบียบเรียบรอย และมีการดูแลทรัพยสวนกลางอยูในสภาพที่ดีใชงานได โดยมีการออกขอกําหนด ระเบียบในการอยูรวมกัน ปจจุบันการปฏิบัติงานดูแลพื้นที่สวนกลาง มีความหลากหลายและแตกตาง ทําใหการบริหารจัดการเปนไปดวยความยุงยาก เนื่องจากยังไมมีรูปแบบ ขอบเขตและ วิธีปฏิบัติงานที่ชัดเจน 1การกําหนดขอบเขตและวิธีการปฏิบัติงานจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญอยางยิ่ง โดยจะชวยใหการบริหารจัดการงานดูแลพื้นที่สวนกลางและสาธารณูปโภคของหมูบานจัดสรร เปนไปอยางเหมาะสมและนําไปสูประสิทธิภาพที่สูงขึ้นบทความนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาเรื่องการปฏิบัติงานดูแลรักษาทรัพยากรกายภาพของหมูบานจัดสรร ที่มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารายละเอียดของงานบริการภายในหมูบานจัดสรรเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล2. วัตถุประสงคการศึกษา3. วิธีการศึกษา• เพื่อศึกษาขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานของงานการดูแลรักษาทรัพยากรกายภาพของหมูบานจัดสรร• เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาวิธีการปฏิบัติงานของงานการดูแลรักษาทรัพยากรกายภาพของหมูบานจัดสรรเริ่มจากการกําหนดขอบเขตในการศึกษา โดยเลือกศึกษาหมูบานจัดสรรที่อยูในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จํานวน 30 หมูบาน โครงการหมูบานราคาตั้งแต 0.6 – 20 ลานบาท โดยใชแนวทางศึกษาเชิงประจักษ จากการปฏิบัติงาน ฯ จริง โดยใชวิธีการสัมภาษณ และสํารวจสภาพในปจจุบัน โดยทําการสัมภาษณผูจัดการ/ผูบริหารหมูบาน ตลอดจนผูปฏิบัติงานดานบริการภายในหมูบาน632


4. ผลการศึกษาจากการสรุปผลการศึกษา พบวาทรัพยที่ตองมีการดําเนินการรวมกันเพื่อจัดการและดูแลรักษาใหอยูในสภาพที่ดี คือทรัพยสวนกลาง เมื่อวิเคราะหตามลักษณะและหนาที่ใชสอยสามารถจําแนก ทรัพยสวนกลาง ไดเปน 4 กลุม ดังนี้• ระบบสาธารณูปโภค โดยที่ระบบสาธารณูปโภคของโครงการหมูบานจัดสรร ไดแก ถนน ทางเทา ระบบระบายน้ํา ระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบรักษาความปลอดภัย เปนตน• พื้นที่สวนกลางและสิ่งอํานวยความสะดวก ในโครงการหมูบานจัดสรร ไดแก สวน สนาม ภูมิทัศน อาคารสโมสรที่จอดรถ ฯลฯ• สิ่งแวดลอม ไดแก คู คลอง ทางน้ําสาธารณะที่ผานเขามาในหรืออยูโดยรอบพื้นที่โครงการฯ อากาศ พลังงานทัศนียภาพ สัตว และแมลง ฯลฯ• พื้นที่อื่นๆ เชน สิ่งประดับโครงการ ไดแก ซุมประตูทางเขาหมูบาน น้ําพุ น้ําตก ทะเลสาบ ภูมิทัศนริมถนน เปนตนงานบริการจํานวนหมูบานกราฟสรุปจํานวนงานบริการของหมูบานทุกระดับราคานอกจากนี้ การจะใชงานทรัพยากรกายภาพและการทําใหทรัพยากรกายภาพทํางานไดจําเปนตองมีการการกําหนดขอบเขตและวิธีการปฏิบัติงาน งานบริการ จากการรวบรวมขอมูลพบวา มีประเภทงานบริการ 7 งานทั้งสิ้นดังนี้1. งานดูแลรักษาความปลอดภัย2. งานดูแลสวนและภูมิทัศน3. งานเก็บขยะ633


4. งานกวาดถนน5. งานดูแลบํารุงรักษาระบบสาธารณูปโภค6. งานดูแลบํารุงรักษาสโมสร7. งานกําจัดแมลงการมีหรือครอบครองทรัพยากรกายภาพในฐานะทรัพยสวนกลางเหลานี้ กอใหเกิดภาระเรื่องการดูแลและบํารุงรักษา ภาระเหลานี้กลายเปนความจําเปนที่สําคัญของทุกชุมชนหรือโครงการที่อยูอาศัยแบบรวม ไมวาจะเปนระดับราคาขายใด ไมวาจะเปนโครงการที่สรางโดยรัฐหรือเอกชน ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรกายภาพจะเสื่อมโทรมไปตามกาลเวลา อายุและการใชงาน โดยหากไมมีการดําเนินการบํารุงรักษาและซอมแซมอยางตอเนื่อง ทรัพยากรกายภาพก็จะทรุดโทรมและชํารุด ไมสามารถใชงานตอไปได และกลายเปนปญหาหรืออาจกอใหเกิดความเดือดรอนแกผูอยูอาศัยตามมาได ทั้งนี้ปญหาทางดานกายภาพที่พบมาก ไดแก อาคารสโมสรชํารุดหรือถูกทิ้งราง ความชํารุดและทรุดโทรมของระบบสาธารณูปโภคของหมูบาน i และในระยะยาวหากทรัพยากรกายภาพไมมีการปรับปรุง ปรับเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงใหสอดคลองกับความตองการ และพฤติกรรมการใชของผูอยูอาศัยที่อาจเปลี่ยนแปลงไป ก็อาจทําใหทรัพยากรกายภาพนั้นไมสามารถรองรับการใชงานไดอยางเต็มที่ หรือคุมคา นอกจากนี้เมื่อมีการใชงานไปจนถึงชวงเวลาหนึ่งทรัพยากรกายภาพจําเปนตองไดรับการบูรณะหรือซอมแซมใหญ เพื่อใหกลับมามีสภาพสมบูรณอีกครั้งหนึ่งเพื่อใหสามารถใชงานไดดีดังเดิม ดังนั้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาวนิติบุคคลจําเปนที่จะตองมีการเตรียมการหรือวางแผนลวงหนาเพื่อเตรียมรับกับปญหาที่อาจเกิดขึ้นเหลานี้ นอกจากนี้ การจะใชงานทรัพยากรกายภาพและการทําใหทรัพยากรกายภาพทํางานไดจําเปนตองมีการดําเนินงานบางอยางที่มักรูจักกันโดยทั่วไปวา การบริการอาคารสถานที่ งานบริการที่กลาวถึงนี้ ไดแกงานดูแลและควบคุมการทํางานระบบประกอบอาคาร งานบํารุงรักษา งานรักษาความสะอาด งานรักษาความปลอดภัยงานกําจัดแมลงและควบคุมโรคสัตว งานสุขอนามัย เชน การกําจัดขยะ ของเสีย และปองกันโรคระบาด เปนตนการใชงานและการดูแลรักษาทรัพยากรกายภาพลวนแตกอใหเกิดคาใชจาย ทั้งคาสาธารณูปโภค คาจางผูมาดําเนินการงานบริการตางๆ ฯลฯ ซึ่งเมื่อนํามาคิดเปนคาใชจายรวมแลวก็จะเปนจํานวนคอนขางสูง คาใชจายเหลานี้เปนภาระของผูอยูอาศัยทุกคนที่มีหนาที่ตองชวยกันจัดใหมีงบประมาณเพียงพอ ทั้งการดําเนินการประจําเดือน และกองทุนเพื่อดําเนินการดูแลรักษาฯใหญ และคาใชจายบางอยางหากไมมีการเตรียมการไวลวงหนาหรือทยอยจัดเก็บก็อาจกลายเปนปญหาการบริหารทรัพยากรกายภาพสําหรับชุมชนที่อยูอาศัยหรือโครงการที่อยูอาศัยแบบรวมควรเปนไปอยางเปนระบบและมีทิศทางในการทํางานที่ชัดเจน ในอีกทางหนึ่ง การบริหารทรัพยากรกายภาพฯ นี้ ก็ควรมีลักษณะ ขอบเขต และแนวทางการปฏิบัติงานที่แตกตางจากการบริหารทรัพยากรกายภาพสําหรับองคกร 2634


5. อภิปรายผลจากการศึกษาผลการศึกษาสรุปเบื้องตนไดพบวา 4 งานบริการ ไดแก งานดูแลรักษาความปลอดภัย, งานดูแลสวนและภูมิทัศน, งานเก็บขยะ,งานกวาดถนน, จัดเปนงานบริการขั้นพื้นฐานที่จําเปนของทุกหมูบาน เพราะเกี่ยวของกับความสะดวก สะอาด ปลอดภัย และสุขอนามัยที่ดีของผูพักอาศัย โดยจะชวยใหการบริหารจัดการงานดูแลพื้นที่สวนกลางและสาธารณูปโภคของหมูบานจัดสรร เปนไปอยางเหมาะสมและนําไปสูประสิทธิภาพที่สูงขึ้น ดังนั้นเพื่อใหการปฏิบัติงานดังกลาวขางตนมีประสิทธิภาพภายหลังจากเจาของโครงการสงมอบใหนิติบุคคล กํากับดูแลโดยคณะกรรมการหมูบานตองกําหนดขอบเขต ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงานตลอดจนความถี่ในการเขาปฏิบัติงานในงานแตละประเภทใหชัดเจนทายอรรถ1ดู สถานการณการบริหารชุมชนที่อยูอาศัยป 2549 ในวารสารธนาคารอาคารสงเคราะห ปที่ 12 ฉบับที่ 44 ประจําเดือนมกราคม – มีนาคม 2549, หนา412แนวทางการบริหารทรัพยากรกายภาพโครงการที่อยูอาศัยแบบรวม เสริชย โชติพานิช พ.ศ. 2544635


ตนทุนคาใชจายพื้นที่สวนกลางอาคารชุดพักอาศัย 8 ชั้น ในเขตพื้นที่ธุรกิจกรุงเทพมหานครนางสาวนฤมล อาภรณธนกุลหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยออาคารชุดพักอาศัยความสูง 8 ชั้น เปนโครงการพักอาศัยที่มีการพัฒนาอยางมากในชวงปลายปที่ผานมา ตนทุนคาใชจายในการบริหารพื้นที่สวนกลางของอาคารชุดพักอาศัยเปนสิ่งสําคัญที่จะสงผลตอการอยูอาศัยและสภาพอาคาร การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาตนทุนคาใชจายพื้นที่สวนกลางของอาคารชุดพักอาศัยปจจัย และแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของคาใชจายที่สงผลกระทบตอคาใชจายสวนกลางอาคารชุด โดยมีขอบเขตการศึกษาครอบคลุมตนทุนคาใชจายของอาคารชุดพักอาศัย ความสูง 8 ชั้น ในเขตพื้นที่ธุรกิจกรุงเทพมหานครจํานวน 14 อาคาร และการศึกษานี้ใชวิธีการรวบรวมขอมูลทั้งจากเอกสารของแตละอาคาร และการสัมภาษณผูจัดการอาคารจากการศึกษาพบวา การบันทึกคาใชจายสวนใหญไมไดจัดใหมีการแยกประเภทคาใชจายที่เกิดขึ้นตามหมวดหมู หรือ ลักษณะงาน โดยมีการนํารายการคาใชจายที่เปนการจายรายเดือน รายป หรือเปนสัญญารายครั้งมาไวในหมวดเดียวกัน ทั้งนี้มิไดแยกวาเปนงานซอมบํารุง หรือ งานบริการสิ่งอํานวยความสะดวก จึงทําใหอาคารไมสามารถจัดเก็บขอมูลคาใชจายในแตละประเภทงานได สงผลใหยากตอการคาดการณในอนาคตของคาใชจายที่เกิดขึ้นจริงการศึกษานี้ไดพบขอสรุปวา ตนทุนคาใชจายของอาคารชุดพักอาศัยมีแนวโนมสูงขึ้นตามอายุอาคารและปจจัยที่สงผลตอตนทุนคาใชจายอาคารชุดพักอาศัย ประกอบดวย บริการสิ่งอํานวยความสะดวก และระบบประกอบอาคาร และผูบริหารอาคารชุดจําเปนตองทราบโครงสรางและแนวโนมของคาใชจายของอาคารอยางถองแท เพื่อสามารถควบคุมตนทุนคาใชจาย และจัดสรรงบประมาณในการบริหารจัดการอาคารชุดพักอาศัยไดอยางเหมาะสม และคุมคา การศึกษานี้เสนอวา ผูบริหารอาคารชุดพักอาศัยควรมีขอมูลรายละเอียดของคาใชจายที่แมนยําและมีการจดบันทึกขอมูลตนทุนคาใชจายที่ถูกตอง เพื่อใหสามารถบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ และปองกันปญหางบประมาณไมเพียงพอ หรือไมไดจัดเตรียมไวความเปนมาและสาระสําคัญจากขอมูลทางสถิติการจดทะเบียนอาคารชุดทั่วประเทศตั้งแต พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2551 ของสํานักสงเสริมธุรกิจอสังหาริมทรัพย กรมที่ดิน กรุงเทพมหานคร พบวาจากรายงานการจดทะเบียนอาคารชุดของกรมที่ดิน ณ เดือนธันวาคม 2551 มีอาคารชุดพักอาศัยเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในกรุงเทพมหานคร มีการขอจดทะเบียนอาคารชุด จํานวน 1,823 อาคาร รวม 278,999 ยูนิต จากขอมูลดังกลาว ทําใหเห็นวาผูบริโภคมีความตองการครอบครองที่อยูอาศัยประเภทอาคารชุดพักอาศัยมากขึ้น ซึ่งบุคคลเหลานี้มีภาระหนาที่ในการชําระ636


คาใชจายสวนกลางของอาคารชุด ทั้งนี้คาใชจายสวนกลางมีความสําคัญตอสภาพความเปนอยูของการพักอาศัยและสภาวะแวดลอมในอาคารชุดนั้น ๆตารางที่ 1. แสดงการจดทะเบียนอาคารชุดพักอาศัยป จํานวนอาคาร จํานวนยูนิต2538 300 44,1682539 357 63,8232540 285 47,0672541 129 21,0462542 53 7,6392543 60 5,7502544 21 4,5612545 33 5,8962546 50 7,1152547 60 8,0572548 81 10,2342549 103 <strong>13</strong>,7172550 93 15,3212551 198 24,605รวม 1823 278,999ที่มา : สํานักสงเสริมธุรกิจอสังหาริมทรัพย ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551วัตถุประสงคการศึกษา1 เพื่อศึกษาตนทุนคาใชจายพื้นที่สวนกลางของอาคารชุดพักอาศัย2 เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอคาใชจายสวนกลางอาคารชุดวิธีการศึกษาในการศึกษานใชวิธีการสัมภาษณ และเก็บรวบรวมขอมูล บันทึก รายการคาใชจายยของอาคารชุดพักอาศัย และ ขอมูลอาคาร เชน อายุอาคาร จํานวนยูนิต พื้นที่สวนกลาง สิ่งอํานวยความสะดวกอาคาร และระบบประกอบอาคาร ของอาคารชุด 8 ชั้น ที่ตั้งอยูบนถนนสุขุมวิท ถนนสาทร และถนนสีลมผลการศึกษาจากการศึกษาขอมูลรายการคาใชจายที่เกิดขึ้นของอาคารชุดกรณีศึกษา จํานวน 14 อาคาร พบวามีรายการคาใชจายเกิดขึ้นตามลักษณะทางกายภาพ ระบบประกอบอาคาร และสิ่งอํานวยความสะดวกของอาคารนั้น มีการแบงแยกรายการเปนจํานวนมาก ตามตารางที่ 2637


ตารางที่ 2. แสดงรายการคาใชจายอาคารชุดพักอาศัย1 คาบริหารอาคาร 22 คาใชจายในการประชุม 43 ระบบ MATV2 คาสวัสดิการพนักงาน 233 คาเงินเดือนพนักงาน 244คาเสื่อมราคา-เครื่องใชสํานักงาน44 ระบบ CCTVคาเสื่อมราคาร-เครื่องตกแตงและติดตั้ง 45 ระบบดับเพลิงคาบริการรักษาความปลอดภัย 25 คาหนังสือพิมพ 46 ระบบปรับอากาศ5 คาเบี้ยขยัน 26 คาธรรมเนียมธนาคาร 47 ระบบไฟฟาอาคาร6 คาบริการรักษาความสะอาด 27 คาธรรมเนียมวิชาชีพอิสระ 48 4.6 ระบบไฟฟาฉุกเฉิน7 คาบริการกําจัดปลวก-แมลง 28 คากําจัดสิ่งปฏิกูล 49 หมอแปลงไฟฟา8 คาเบี้ยประกันภัยอาคาร 29 คาใชจายงานสวน 50 ระบบประปา9 คาบริการบํารุงลิฟท 30 คาใชจายเบ็ตเตล็ด 51 หองสันทนาการ10 คาดูแลงานสวน 31 คาเสื่อมราคา 52 ตู MDB11คาดูแลรักษาหมอแปลงไฟฟา 32 คาวัสดุอุปกรณงานสวน 53 ลิฟท (อะไหล)12 คาตรวจสอบอาคาร 33คาอํานวยงานจราจรและสายตรวจ54 ระบบระบายอากาศ<strong>13</strong> คาตรวจสอบบัญชี 34 คา Internet 55 คาวัสดุสิ้นเปลืองใชไป14 คาเบี้ยประกันภัยรถตุกๆ 35คาวัสดุอุปกรณทําความสะอาด56 งานบํารุงรักษาสวนกลาง15 คาเชาเครื่องถายเอกสาร 36 คาเชาเครื่องใชสํานักงาน 57 ระบบสัญญาณเตือนภัย16 คาน้ําประปา 37 อุปกรณสํานักงาน 58 ระบบคียการด17 คาไฟฟา 38 บํารุงรักษาพื้นที่สวนกลาง 5918 คาโทรศัพท 39 สระวายน้ํา 604.16 ระบบคอมพิวเตอรสํานักงานคาทําบุญเลี้ยงพระและจัดกิจกรรม19 คาเครื่องเขียนและแบบพิมพ 40 ระบบบอบําบัดน้ําเสีย 61 คาซอมอพยพหนีไฟ20 คาไปรษณีย, โทรเลข 41 ระบบไฟฟา 6221 คาพาหนะ, น้ํามัน 42 ระบบPABXคาใชจายในการปรับปรุงพัฒนา638


จากการศึกษา รายการคาใชจายและขอมูลการบันทึกรายการคาใชจายของอาคารชุดพักอาศัย เมื่อนํามาจัดเรียงตามทฤษฎีการบริหารทรัพยากรกายภาพ ลักษณะกายภาพ ระบบประกอบอาคาร และสิ่งอํานวยความสะดวก โดยการแบงหมวดหมู ประกอบดวย คาบริหารจัดการและพนักงาน คาบริการอาคาร คาสาธารณูปโภค คาดําเนินการและสํานักงาน คาภาษีและเบี้ยประกันภัย คาซอมแซมและบํารุงรักษา ทั้งนี้เพื่อใหผูบริหารอาคารสามารถจัดเตรียมงบประมาณในอนาคตไดอยางเหมาะสม ตามภาพที่ 3ตารางที่ 3. แสดงการจัดหมวดหมูคาใชจายอาคารBuilding Operation Costคาบริหารและเงินเดือนพนักงาน คาดําเนินการและสํานักงาน คาภาษีและเบี้ยประกันภัยอาคารคาบริหาร คาเครื่องเขียนและแบบพิมพ คาเบี้ยประกันภัยคาสวัสดิการพนักงาน คาไปรษณีย, โทรเลขคาเงินเดือนพนักงาน คาพาหนะ, น้ํามัน คาซอมแซมและบํารุงรักษาคาใชจายในการประชุม คาบริการบํารุงลิฟทและอะไหลงานบริการอาคาร คาเสื่อมราคา-เครื่องใชสํานักงาน สระวายน้ําRenovation Costรายจายเงินกองทุนคาทาสีอาคารติดตั้งกลอง CCTVเปลี่ยนผาไวนิลสระวายน้ําคาบริการรักษาความปลอดภัย คาเสื่อมราคาร-เครื่องตกแตงและติดตั้ง ระบบไฟฟาคาบริการรักษาความสะอาด คาหนังสือพิมพ คาดูแลรักษาหมอแปลงไฟฟาคาวัสดุอุปกรณทําความสะอาด คาธรรมเนียมธนาคาร ระบบไฟฟาฉุกเฉินคาบริการกําจัดปลวก-แมลง คาธรรมเนียมวิชาชีพอิสระ หมอแปลงไฟฟาคาดูแลงานสวน คากําจัดสิ่งปฏิกูล ระบบประปาคาใชจายงานสวน คาอํานวยงานจราจรและสายตรวจ ระบบบอบําบัดน้ําเสียคาวัสดุอุปกรณงานสวน อุปกรณสํานักงาน ระบบPABXคาเสื่อมราคา ระบบ MATVคาสาธารณูปโภค คาตรวจสอบอาคาร ระบบ CCTVคาน้ําประปา คาตรวจสอบบัญชี ระบบดับเพลิงคาไฟฟา คาใชจายรถตุกๆ ระบบปรับอากาศคาโทรศัพท คาเชาเครื่องถายเอกสาร หองสันทนาการระบบคอมพิวเตอรสํานักงาน ระบบระบายอากาศคา Internet คาวัสดุสิ้นเปลืองใชไปคาใชจายเบ็ตเตล็ด งานบํารุงรักษาสวนกลางระบบสัญญาณเตือนภัยระบบคียการดจากการศึกษาพบวาการบันทึกคาใชจายสวนใหญไมไดจัดใหมีการแยกประเภทคาใชจายที่เกิดขึ้นตามหมวดหมู หรือ ลักษณะงาน โดยมีการนํารายการคาใชจายที่เปนการจายรายเดือน รายป หรือ เปนสัญญารายครั้งมาไวในหมวดเดียวกัน ทั้งนี้มิไดแยกวาเปนงานซอมบํารุงรักษา หรือ งานบริการสิ่งอํานวยความสะดวก จึงทําใหอาคารไมสามารถเก็บขอมูลคาใชจายในแตละประเภทงานได สงผลใหยากตอการคาดการณในอนาคตของคาใชจายในแตละหมวดหมูตนทุนคาใชจายอาคารชุดพักอาศัยตอพื้นที่สวนกลางจากการศึกษาตนทุนคาใชจายของอาคารชุดพักอาศัย 14 อาคาร ไดแบงการวิเคราะหตนทุนคาใชจายเปน 2 สวน คือ อาคารที่มีอายุตั้งแต 10 ป ประกอบดวยอาคาร A-B และอาคารชุดที่มีอายุอาคารไมเกิน 5 ปประกอบดวยอาคาร C-N ตามตารางที่ 4639


ตารางที่ 4. แสดงตนทุนคาใชจายตอพื้นที่สวนกลางอาคาร อายุอาคาร ตนทุนคาใชจายตอพื้นที่สวนกลาง คาเฉลี่ยกรณีศึกษา ป/เดือน ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9A 11.10 59.16 54.98 54.51 58.81 56.23 59.04 71.69 88.64 68.45 63.50B 10.11 <strong>13</strong>5.35 127.59 <strong>13</strong>6.58 <strong>13</strong>3.36 198.00 151.83 <strong>13</strong>5.34 147.17 145.65C 5 17.62 21.84 22.83 26.99 27.07 23.27D 4.7 43.29 47.24 47.68 47.92 50.49 47.32E 4.6 36.83 48.16 54.90 55.30 57.06 50.45F 4.4 51.89 52.68 54.88 54.89 57.03 54.27G 4.2 59.02 64.27 67.39 68.12 64.70H 4.1 75.96 83.82 86.28 80.79 81.71I 4 34.79 51.48 53.92 56.82 49.25J 3.9 17.10 22.96 23.41 24.59 22.02K 3.4 31.52 44.77 47.14 48.91 43.09L 3.3 62.85 60.20 65.38 62.81M 3.2 43.06 53.51 55.91 50.83N 3.1 43.99 47.86 50.49 47.45กราฟที่ 1. แสดงตนทุนคาใชจายตอพื้นที่สวนกลาง อาคาร A-B250.00200.00บาท ตารางเมตร150.00100.0050.00AB0.00ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9จากกราฟที่ 1 แสดงตนทุนคาใชจายอาคาร A-B ที่มีอายุอาคารตั้งแต 10 ป พบวาคาใชจายทั้งหมดในแตละปของอาคารเมื่อเทียบกับพื้นที่สวนกลางที่บริหารจัดการแลวนั้น พบวาอาคาร A มีตนทุนเพิ่มสูงขึ้นในปที่ 7และ ปที่ 8 อาคาร B มีตนทุนเพิ่มสูงขึ้นในปที่ 5 โดยคาใชจายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทาสีอาคารกราฟที่ 2. แสดงตนทุนคาใชจายตอพื้นที่สวนกลาง อาคาร C-N640


บาท / ตารางเมตร100.0090.0080.0070.0060.0050.0040.0030.0020.0010.00-ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5DEFGHIJKLMNจากการศึกษาตนทุนคาใชจายตอพื้นที่สวนกลางอาคาร C-N ซึ่งมีอายุอาคารไมเกิน 5 ป พบวาตนทุนคาใชจายสูงสุดไดแกอาคาร H และตนทุนคาใชจายต่ําสุดอยูที่อาคาร J ซึ่งจากการวิเคราะหขอมูลพบวาดวยลักษณะทางกายภาพของอาคาร H พบวามีจํานวนยูนิตเพียง 51ยูนิต และมีพื้นที่สวนกลาง 2,985.10 ตารางเมตร มีสิ่งอํานวยความสะดวกเชนเดียวกับอาคารอื่นๆ ทําใหตนทุนคาใชจายสูง และจากแนวโนมคาใชจายของอาคารชุดพักอาศัย C-N จะพบวาคาใชจายอาคารอาคารชุดจะมีแนวโนมสูงขึ้นในปที่ 3 และมีสัดสวนตนทุนคาใชจายตอตารางเมตรอยูระหวาง 40 -50 บาทตอตารางเมตรการอภิปรายผลการศึกษาจากการศึกษาพบวาการบันทึกคาใชจายสวนใหญไมไดจัดใหมีการแยกประเภทคาใชจายที่เกิดขึ้นตามหมวดหมู หรือ ลักษณะงาน โดยมีการนํารายการคาใชจายที่เปนการจายรายเดือน รายป หรือ เปนสัญญารายครั้งมาไวในหมวดเดียวกัน ทั้งนี้มิไดแยกวาเปนงานซอมบํารุงรักษา หรือ งานบริการสิ่งอํานวยความสะดวก จึงทําใหอาคารไมสามารถเก็บขอมูลคาใชจายในแตละประเภทงานได สงผลใหยากตอการคาดการณในอนาคตของคาใชจายในแตละหมวดหมูจากการศึกษาตนทุนคาใชจายของอาคารชุดพักอาศัย 14 อาคาร พบวา ปจจัยที่สงผลตอคาใชจายของอาคาร ประกอบดวยอายุอาคาร มีความสัมพันธกับคาใชจาย ดังจะเห็นจากอาคารที่มีอายุ 10 ป จะเกิดคาใชจายทางดานกายภาพ หรือ คาใชจาย Renovate เนื่องการใชงานที่ยาวนาน641


ลักษณะทางกายภาพของอาคารมีความสัมพันธกับคาใชจาย เชน อาคารที่มีแสงสวางเขาถึงยอมลดพลังงานการใชไฟฟาระบบประกอบอาคารมีความสัมพันธกับคาใชจาย เชน ระบบลิฟต ซึ่งเปนระบบประกอบอาคารที่จําเปนและมีสวนประกอบของอะไหลจํานวนมาก ยอมสงผลตอคาใชจายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสิ่งอํานวยความสะดวกมีความสัมพันธกับคาใชจาย ดังจะเห็นไดวา ทุกอาคารกรณีศึกษามี สระวายน้ําหองออกกําลังกาย เมื่อมีผูใชงานอยางเหมาะสมยอมเกิดความคุมคาสมกับคาใชจายที่สูญเสียไป642


การจัดทําประตูหนาตางมาตรฐานของประเทศไทยFORMATION OF STANDARDIZED WINDOW AND DOOR FOR THAILANDโสธิดา งามวิวัฒนสวางหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอกระแสตื่นตัวภาวะโลกรอนในภาคธุรกิจกอสรางอาคารของไทย หลากหลายแนวทางและมาตรการเพื่อกระตุนใหมีการบริโภคพลังงานอยางคุมคาจึงไดเกิดขึ้นอยางจริงจัง แนวทางหนึ่งเพื่อชวยลดปญหาภาวะโลกรอนที่กําลังเกิดขึ้นในภาคธุรกิจกอสรางอาคารในปจจุบันคือ การหันมาใหความสําคัญกับการเลือกใชวัสดุประหยัดพลังงานสําหรับประเทศรอนชื้นอยางประเทศไทย และการใชเทคโนโลยีการกอสรางอาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไมกอใหเกิดขยะจากการกอ สราง ประตู-หนาตางประหยัดพลังงานเปนหนึ่งในวัสดุหลักสําคัญในอุตสาหกรรมกอสราง ที่มีราคาที่คอนขางสูง สงผลใหผูที่มีรายไดนอยไมมีโอกาสไดใช ในปจจุบัน ธุรกิจการประกอบและติดตั้งประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานในประเทศไทยยังมีตนทุนที่สูงมาก การวิจัยนี้ จึงมีแนวคิด “จัดทําประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย” ใหมีประสิทธิภาพสูงในการประหยัดพลังงาน เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ราคาถูก ติดตั้งงายและรวดเร็ว เพื่อชวยสงเสริมใหประชาชนมีโอกาสไดใชประตูหนาตางที่ประหยัดพลังงานมากขึ้น เปนการสงเสริมใหชวยกันลดภาวะโลกรอนวิธีการวิจัยกระทําโดยการเก็บรวบรวมขนาดประตูหนาตางที่นิยมใชกันปจจุบันมาทําการคํานวณและวิเคราะหเปรียบเทียบกับขนาดประตู-หนาตางที่ไดรับการปรับใหมีขนาดมาตรฐาน จากนั้นจึงเปรียบเทียบการใชวัสดุอยางมีประสิทธิภาพ จํานวนแรงงาน และระยะเวลาในการติดตั้ง โดยใชหลักวิเคราะหทางเศษฐศาสตรเปนเกณฑในการพิจารณาในรูปของคาใชจาย และเวลาผลการวิจัยสรุปวา ประตู-หนาตางมาตรฐานของประเทศไทยสามารถลดตนทุนไดมากถึง 34.90 %ประหยัดเวลาในการประกอบติดตั้งถึง 84.60% จากเดิมใชเวลาในการประกอบติดตั้งที่ 43 วัน ลดลงมาเหลือ 7วันทําการ และชางรับเหมาทั่วไปสามารถติดตั้งได โดยไมจําเปนตองเปนชางฝมือเทานั้น ผลการวิจัยนี้จึงสามารถนําไปใชในการออกแบบอาคารไดอยางมีประสิทธิภาพ1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาวิกฤตภาวะโลกรอนไดสรางจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงาน และการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประโยชนสูงสุดใหเกิดขึ้นในวงการตางๆทั่วโลก โดยมีสาเหตุจากการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล เชน ถานหิน น้ํามัน และกาซธรรมชาติ เปนตน เพื่อในการผลิตพลังงานรูปแบบตางๆ เพื่อใชในภาคอุตสาหกรรม อาคาร643


และการขนสง เปนตน วิกฤตภาวะโลกรอนเปนปญหาใหญของประเทศไทยดวย กระแสตื่นตัวภาวะโลกรอนในภาคธุรกิจกอสรางอาคาร หลายๆ ฝายทั้งภาครัฐและเอกชนรวมถึงผูออกแบบและเจาของอาคาร จึงไดรวมรณรงคเพื่อหยุดหรือชะลอภาวะโลกรอนใหเกิดผลกระทบนอยที่สุด หลากหลายแนวทางและมาตรการเพื่อกระตุนใหมีการบริโภคพลังงานอยางคุมคาจึงไดเกิดขึ้นอยางจริงจังแนวทางหนึ่งเพื่อชวยลดปญหาภาวะโลกรอนที่กําลังเกิดขึ้นในภาคธุรกิจกอสรางอาคารในปจจุบันคือ การออกแบบสิ่งกอสรางตางๆ ดวยวัสดุกอสรางประหยัดพลังงานคุณภาพสูงที่เหมาะสมกับภูมิประเทศรอนชื้น และการอาศัยประโยชนจากธรรมชาติที่มีใหใชอยางเหลือเฟอ เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานน้ํา ตนไม และสภาพแวดลอม 1 เปนตน เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและไมทําลายสิ่งแวดลอมปจจุบันผูออกแบบและเจาของอาคารเริ่มหันมาใหความสําคัญกับการเลือกใชวัสดุกอสรางที่ประหยัดพลังงานเพิ่มมากขึ้น และการใชเทคโนโลยีการกอสรางอาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไมกอใหเกิดมลพิษและขยะจากการกอสราง เนื่องจากการออกแบบอาคารและการเลือกใชวัสดุในการกอสรางนั้น มีผลกระทบตอการใชพลังงานมวลรวมของประเทศ ประตู-หนาตางกระจกเปนวัสดุกอสรางชนิดหนึ่งที่ใชปดผิวอาคาร และเปนองคประกอบหลักที่สําคัญของอาคาร ไมวาจะเปนอาคารขนาดใหญจนถึงอาคารที่อยูอาศัยขนาดเล็ก ประตู-หนาตางกระจกไดเขามามีบทบาทสําคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพและความสวยงามใหกับอาคารหลายอยาง เชน การประหยัดพลังงาน กันขโมย กันเสียง กันรังสียูวี (UV Ray) และสามารถทําความสะอาดไดเอง ในปจจุบัน ประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานไดรับความนิยมและใชกันอยางแพรหลาย และมีแนวโนมที่สูงขึ้นอยางมากทั้งนี้เปนผลมาจากประตู-หนาตางมีคุณสมบัติโปรงใส ใหแสงธรรมชาติเขามาในอาคารไดมาก ทําใหลดคาใชจายในการใชไฟฟาสองสวาง ในขณะเดียวกันก็สกัดกั้นความรอนจากภายนอกอาคารใหผานเขามาภายในอาคารไดนอย พลังงานความรอนที่ผานเขามาไดนอยทําใหชวยลดภาระในการทําความเย็นใหกับอาคาร นอกจากนี้ประตู-หนาตางก็มีความแข็งแรงและปลอดภัยสามารถหนวงเหนี่ยวผูไมประสงคดีที่พยายามบุกรุกเขามาภายในอาคาร ดูแลรักษางาย และยังคงความทันสมัยโดดเดนแกอาคารจากสถิติการใชพลังงานไฟฟาของอาคารที่พักอาศัย พบวาในชวงป 2535-2544 มีปริมาณเพิ่มขึ้นจาก 10,200 เปน 19,644 GWh ตอป ซึ่งเทียบไดกับการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณรอยละ 10 ตอป หรือคิดเปนสัดสวน 20-25% ของการใชไฟฟาในทุกภาคเศรษฐกิจของประเทศและมีแนวโนมที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นจึงควรใหความสําคัญกับลักษณะของการใชพลังงานในบานพักอาศัยมากขึ้น โดยเริ่มตั้งแตการออกแบบใหมีความสอดคลองทั้งคุณภาพชีวิตและการใชพลังงานเชิงอนุรักษควบคูกันไป644


แผนภูมิที่ 1.1 การปลอยกาซเรือนกระจกของโลกที่มา: World Resourceตารางที่ 1.1 ไทยปลอยกาซเรือนกระจกเปนอันดับที่ 31 ของโลกWorld Rank Countries % of World Emission*1 สหรัฐอเมริกา 15.792 จีน 11.883 อินโดนีเซีย 7.414 บราซิล 5.375 รัสเซีย 4.73… … …31 ไทย 0.75ที่มา: World Resource Institute, 2000645


ตารางที่ 1.2 ไทยปลอยกาซเรือนกระจกเปนอันดับที่ 4 ของเอเซียASEAN Rank Countries % of World Emission*1 อินโดนีเซีย 7.412 มาเลเซีย 2.093 พมา 1.234 ไทย 0.755 ฟลิปปนส 0.556 กัมพูชา 0.307 เวียดนาม 0.208 สิงคโปร 0.149 ลาว 0.0710 บรูไน 0.02ที่มา: World Resource Institute, 2000แผนภูมิที่ 1.2 การปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคพลังงานของไทยเปรียบเทียบป 1994 และ2003ที่มา: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2550646


ในปจจุบัน ธุรกิจประกอบและติดตั้งประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูงที่สามารถสกัดกั้นและลดปริมาณความรอนไมใหเขาสูภายในอาคารในประเทไทยยังมีราคาที่คอนขางจะสูงมากเมื่อเทียบกับประตู-หนาตางกระจกใสหรือกระจกสีเขียวที่ใชกันทั่วไปปจจุบันนี้ สาเหตุสําคัญหนึ่งคือ ในตลาดประตู-หนาตางกระจกปจจุบันไมมีขนาดที่เปนมาตรฐาน ประตู-หนาตางแตละบานยังเปนลักษณะสั่งทํา ทําใหเกิดการสูญเสียวัตถุดิบในการผลิตสูง ใชเวลาในการผลิตที่ยาวนาน และตองอาศัยชางฝมือเฉพาะดานกระจกในการติดตั้งเทานั้น สงผลใหเจาของอาคารหันไปใชประตู-หนาตางราคาถูกกวา การออกแบบและสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย เปนประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานสําหรับประเทศรอนชื้นอยางเชนประเทศไทยใหมีราคาที่ถูก ติดตั้งไดงายและรวดเร็ว นับวาเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะชวยสงเสริมใหเจาของอาคารมีโอกาสไดใชประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานมาตรฐานสากลกันมากขึ้น เปนการสงเสริมใหชวยกันลดภาวะโลกรอน และลดขยะจากเศษวัสดุเหลือใช เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยกระดับคุณภาพชีวิตตอผูใชอาคาร และมีสวนรวมกันรับผิดชอบตอสังคมประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานที่ใชเปนวัสดุปดผิวอาคารปจจุบันที่มีประสิทธิภาพในการกันความรอนสูง จะมีราคาที่คอนขางสูง ตองใชเวลาในการติดตั้งที่ยาวนาน และราคาก็เปนปจจัยหลักในการเลือกใชวัสดุ ปจจัยหลักที่ทําใหการประกอบและติดหนาประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานในประเทศไทยมีราคาสูงคือแผนภูมิที่ 1.3 สัดสวนตนทุนการผลิตประตู-Production Wage20.00%Energy4.50%Over Head0.50%Material & Supply75.00%ที่มา: TGSG Technical Service, 2009‣ ใชวัสดุไมเต็มประสิทธิภาพ ตัวแปรหลักที่ทําใหประตู-หนาตางมีตนทุนที่สูงคือวัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองที่เกี่ยวของกับการผลิตซึ่งเปนตนทุนหลักเฉลี่ยประมาณ 75% ของตนทุนทั้งหมดนั้น647


ไมไดถูกใชอยางเต็มประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจากประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานในประเทศไทยนั้นยังเปนลักษณะสั่งทํา ทําใหเสียเศษวัสดุในการผลิตสูง ใชแรงงานเปนจํานวนมากและใชระยะเวลาในการผลิตที่ยาวนาน ผูออกแบบและเจาของอาคารไมทราบถึงปจจัยหลักที่ทําใหประตู-หนาตางมีราคาสูงอีกทั้งไมมีขนาดประตู-หนาตางใหเลือกใชในทองตลาด จึงจําเปนตองออกแบบขนาดประตู-หนางตางตามความตองการของตนเอง ทําใหเกิดเศษวัสดุหลักจากการผลิต คือกระจกและกรอบบานเหลือทิ้งเฉลี่ยสูงถึง 30% ของวัตถุดิบหลักทั้งหมดที่นํามาประกอบเปนประตู-หนาตาง เศษวัตถุดิบเหลานั้นจะกลายเปนขยะสรางปญหาใหกับสังคมในการกําจัดและทําลายตอไป‣ ใชแรงงานจํานวนมาก ตัวแปรรองที่ทําใหตนทุนประตู-หนาตางมีราคาที่สูงคือจํานวนแรงงานที่ใชในการผลิตในโรงงาน และจํานวนแรงงานที่ใชในการติดตั้งประตู-หนาตางตองใชมากขึ้น ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูที่ 20% ของตนทุนรวม กระบวนการผลิตและติดตั้งที่ยืดยาว เริ่มตั้งแตการสํารวจหนางาน การวัดขนาดชองเปดทุกบาน การตัดและผลิตที่โรงงาน ตลอดจนการขนสงและติดตั้งหนางาน ทําใหตองใชแรงงานจํานวนมากมาย และตองเปนแรงงานฝมือที่มีความชํานาญเทานั้นจึงจะทํางานที่ยุงยากซับซอนและปราณีตได‣ ใชพลังงานจํานวนมาก ตัวแปรสําคัญที่รองลงมาและมีความมองขามที่ทําใหตนทุนประตู-หนาตางสูง คือตนทุนดานพลังงาน การใชพลังงานเพื่อการผลิต พลังงานทางดานการเดินทางไปวัดหนางาน พลังงานเพื่อการขนสง การผลิต เปนตน จะตองใชตนทุนดานพลังงานเฉลี่ยประมาณ 4.5% ของตนทุนรวม ในอนาคตตนทุนดานพลังงานมีแนวโนมจะสูงขึ้นอันเนื่องมาจากความตองการดานพลังงานของโลกที่สูงขึ้นและแหลงพลังงานธรราชาติเริ่มขาดแคลน ดังนั้น การลดขั้นตอนในการเดินทางไปวัดขนาดชองเปดที่หนางาน การลดการขนสงที่ไมจําเปน การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตที่โรงงานดวยขนาดประตู-หนาตางมาตรฐานจะทําใหตนทุนการผลิตลดลง‣ คาใชจายอื่นๆ ตัวแปรยอยที่มีผลตอตนทุนการผลิตเชน คาเขียนแบบการผลิตคาเสื่อมของเครื่องจักร คาดอกเบี้ยเงินกู คาหีบหอ เปนตน คิดเปนตนทุนเฉลี่ยอยูที่ 0.5% ของตนทุนทั้งหมดประตู-หนาตางมาตรฐาน จะทําใหไดผลการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูง สงผลใหการใชสินทรัพยหมุนเวียนไดดีROA (Return Of Asset) ก็จะสูงขึ้นปจจุบันการใชประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานสําหรับอาคารที่อยูอาศัยในประเทศไทยนั้นยังถือวาอยูในเกณฑที่คอนขางต่ํามาก การวิจัยนี้ จึงมีแนวคิด “จัดทําประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย” กลาวคือ มีราคาที่ไมสูงเกินไป มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานไดมาตรฐานสากล มีขนาดที่เปนมาตรฐาน มีขั้นตอนการประกอบติดตั้งงายและรวดเร็ว เพื่อใหคนไทยไดมีโอกาสใชประตู-หนาตางประสิทธิภาพสูงในการประหยัดพลังงาน เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยใหเทาเทียมกับประเทศพัฒนา648


%80แผนภูมิที่ 1.4 ตนทุนการผลิตประตู-หนาตาง ป200975.00604020020.004.500.50Material & Supply Production Wage Energy Over Headโครงงานการสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย เปนงานวิจัยเพื่อกําหนดขนาดและกําหนดคุณสมบัติมาตรฐาน ประตู-หนาตางสําหรับประเทศไทย โดยมีจุดมุงหมายที่จะลดตนทุนและเวลาในการผลิตและติดตั้งประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงาน ซึ่งมีตัวแปรหลักคือ การใชวัตถุดิบประเภทกระจกนิรภัยประหยัดพลังงานและเฟรมพีวีซีใหไดประสิทธิภาพสูงสุดใหไดมากถึง 90% ขึ้นไป ลดจํานวนแรงงานสูญเปลา เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและลดคาพลังงานในกระบวนการผลิตและการขนสง ลดเวลาในการสั่งซื้อและติดตั้งประตู-หนาตางสําหรับผูรับเหมาหรือเจาของอาคารที่อยูอาศัยใหลงเหลือ 6-7 วันการสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย จึงไดคํานึงถึงการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและกอใหเกิดมลภาวะนอยตอสิ่งแวดลอม ในขณะเดียวกันก็สรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับคนไทยดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองผลักดันประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทยใหเกิดขึ้น เพื่อใหการบริโภคทรัพยากรของโลกเปนไปอยางยั่งยืน2 วัตถุประสงคของการวิจัย‣ เพื่อลดตนทุนการประกอบประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงาน อันเนื่องมาจากการใชวัสดุอยางไมเต็มประสิทธิภาพ ใชแรงงานจํานวนมาก และการใชพลังงานที่ไมจําเปน‣ เพื่อลดระยะเวลาในการประกอบติดตั้งประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงาน อันเนื่องมาจากความยุงยากในการติดตั้ง และตองใชเครื่องมือจํานวนมาก649


3. ขอบเขตของการวิจัยโครงงานสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย ไดนําเอากรอบประตู-หนาตาง uPVC และกระจกนิรภัยประหยัดพลังงาน เขามาทําการกําหนดขนาดที่เหมาะสมที่ทําใหการใชวัตถุดิบ กระจกและเฟรมพีวีซีใหมีประสิทธิภาพมากกวา 90% ลดจํานวนแรงงานฝมือและลดการใชพลังงานในการผลิตและขนสง เพื่อลดตนทุนการผลิตลงใหมากกวา 30% และตองมีขั้นตอนและวิธีการติดตั้งที่งายและรวดเร็วไมเกิน 7 วันทําการ โดยมีขอบเขตการวิจัยดังตอไปนี้1.3.1 เปนการวิจัยแบบสรางประตู-หนาตางนิรภัยประหยัดพลังงานสําหรับที่อยูอาศัย บานเดี่ยวและคอนโดมิเนี่ยม ในประเทศไทย1.3.2 ประตู-หนาตาง บานติดตาย บานเลื่อน และบานเปด1.3.3 ไมรวมระบบ curtain wall ระบบ fix point และ ระบบ sky light1.3.4 มีน้ําหนักตอบานไมเกิน 100 กิโลกรัม1.3.5 ใชกระจกนิรภัยประหยัดพลังงาน ความหนารวม 24 มม. ประกอบดวย กระจกหนา 6มม.ชองวางอากาศกวาง 12 มม. และกระจกนิรภัยลามิเนตหนา 6 มม. คา SC /= 40%คา U-Value


5 คําจํากัดความที่ใชในการวิจัยประตู หมายถึง ชองทางหรือทางผานเขาออกของผูใชอาคาร สวนประกอบของประตูคือ วงกบและกรอบประตู โดยมี 2 ลักษณะคือ ประตูบานเปดเดี่ยว ประตูบานเปดคู หนาตางบานติดตาย และประตูบานเลื่อนคูสลับหนาตาง หมายถึง ชองทางถายเทอากาศ และรับแสงสวาง นอกจากนี้ยังใหความรูสึกสัมพันธระหวางภายในกับภายนอกอาคาร สวนประกอบของหนาตาง คือ วงกบ และกรอบหนาตาง โดยมี 3 ลักษณะคือหนาตางบานเปดเดี่ยว หนาตางบานเปดคู หนาตางบานเลื่อนคูสลับ และหนาตางบานติดตายมาตรฐาน หมายถึง สิ่งที่ถือเอาเปนเกณฑสําหรับเทียบกําหนดในดานขนาด คุณสมบัติและคุณภาพกระจกนิรภัยประหยัดพลังงาน หมายถึง กระจกที่กันรังสีความรอนทั้งคลื่นสั้นและคลื่นยาวไดดีโดยมีคาสัมประสิทธิ์การบังเงาไมเกิน 0.35 มีคาแสงผานไดไมต่ํากวา 40% ตัดรังสี UV ไดมากกวา 99% มีคาการนําความรอน U-Value ไมเกิน 1.8 วัตตตอตารางเมตร และเมื่อกระจกแตกดวยสาเหตุใดก็ตาม จะตองไมทําอันตรายตอผูใชงานและยังหนวงเหนี่ยวการบุกรุกได มีความหนารวม 24 มม. ประกอบดวย กระจกแผนนอกอาคารหนา 6 มม. ชองวางอากาศกวาง 12 มม. ใส Argon Gas 90 % และกระจกภายในอาคารเปนกระจกนิรภัยลามิเนต ความหนารวม 6 มม.เฟรม uPVC หมายถึง วงกบและกรอบประตู-หนางตางที่ทําดวยวัสดุ uPVC หรือ UnplasticizedPoly Vinyl Chloride ที่มีสวนผสมของ PVC เปนหลัก 70-85% uPVC มีลักษณะภายนอกคลายกับพลาสติก มีคุณสมบัติที่กันความรอนไดดี uPVC มีการสวนผสมของสาร UV Stabilizer เพื่อใหทนตอรังสี UV มีสวนผสมของ Titanium Dioxine เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและปองกันซัลเฟต โครงสรางหนาตัดของเสน uPVC เปนลักษณะMulti-chamber ปองกันความรอน กันเสียงรบกวนจากภายนอกและกันการั่วซึมของน้ําและอากาศไดดีสามารถติดตั้งกับกระจกหนา 24 มม. โดยไมมีการดัดแปลง6 ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัยที่ใชในการศึกษา เพื่อสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทสไทย ปจจัยที่มีอิทธิพลตอตนทุนและเวลาในการติดตั้งประตู-หนาตาง โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง โดยการสรางประตู-หนาตาง ใหมีขนาดมาตรฐานดวยการปรับขนาดประตู-หนาตางที่เปนที่นิยมและแพรหลายที่ใชในปจจุบันใหลงตัวกับขนาดของวัตถุดิบที่ใชในการผลิต และปรับใหลงตัวกับสรีระของคนไทยในการใชงาน เปรียบเทียบตนทุนและเวลาที่ใชในการผลิตประตู-หนาตางมาตรฐาน กับประตูหนาตางที่ไมใชมาตรฐาน จากนั้นนําประตู-หนาตางมาตรฐานที่ไดทําการออกแบบใหงายตอการติดตั้งเพื่อใหกลุมตัวอยางเชนบุคคลทั่วไปและชางทั่วไปทําการ651


ทดลองติดตั้ง และทําการจับเวลาในการติดตั้ง แลวนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและสรุปแนวทางที่เหมาะสมตอไปรายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงานในการวิจัย มีดังตอไปนี้6.1 ศึกษาคนควาและเก็บขอมูลพื้นฐานที่เกี่ยวของกับงานวิจัย6.1.1 การศึกษาจากทฤษฏีและขอมูลตางๆที่เกี่ยวของการศึกษาจะคนควาจากหนังสือ งานวิจัยที่เกี่ยวของ บทความในวารสาร สิ่งตีพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งที่มีอยูในประเทศและตางประเทศ รวมทั้งจากประสพการณโดยตรงโดยการคนควานั้นจะทําควบคูไปกับการทดลองจนกระทั่งเสร็จสิ้นการวิจัย โดยจะทําการศึกษาทฤษฏีและแนวคิดตางๆ ที่เกี่ยวของกับงานวิจัยดังตอไปนี้‣ ประเภทของชองเปด ประตู-หนาตาง‣ ขนาดที่เหมาะสมตอสรีระของคนไทยและการใชงาน‣ ชนิดและขนาดมาตรฐานของกระจกที่เหมาะสมตอประเทศไทย‣ ชนิดและขนาดมาตรฐานของเฟรมที่เหมาะสมตอประเทศไทย‣ น้ําหนักที่เหมาะสม‣ วิธีการผลิต‣ วิธีการประกอบและติดตั้ง‣ ตลาดแรงงาน และตลาดที่อยูอาศัย6.1.2 การศึษาตัวแปรตางๆที่เกี่ยวของเปนการศึกษาตัวแปรตางๆที่มีผลตอตนทุนการผลิต แบงพิจารณาออกเปน 3 สวนหลักคือ วัตถุดิบทางตรงและทางออม แรงงานทางตรง และคาพลังงานที่ใชในการเดินทาง ขนสง และการผลิตเปนการนําขอมูลและแนวทางตางๆ ที่ไดจากการศึกษาคนควาและใชความรูที่ไดรับจากประสบการณการทํางานที่มีอยู เพื่อสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย เพื่อลดตนทุนการผลิต ลดเวลาการติดตั้ง และบุคลทั่วไปสามารถติดตั้งไดเองดวยจํานวนแรงงานไมเกิน 2 คน มากําหนดแนวทางใหชัดเจน เพื่อกําหนดเปนขอบเขตการวิจัยและใชกําหนดสมมติฐานในแนวทางที่เหมาะสม รวมทั้งเปนการสรุปนิยามคําจํากัดความตางๆ ที่เกี่ยวของ และกําหนดแนวทางในการการออกแบบการทดลอง6.2 การเตรียมการวิจัยการสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย ประกอบดวยการสรางประตู-หนาตางจากวัสดุที่ผานการทดสอบดานการประหยัดพลังงานในหองทดลองวามีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานไดจริง ทําการปรับขนาดใหไดขนาดที่เหมาะสมตอสรีระของคนไทยและไดใชวัสดุอยางเต็มประสิทธิภาพ จากนั้นก็ดําเนินการทดลองการติดตั้ง โดยดําเนินการตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน ดังนี้652


6.2.1 ศึกษาคนควาเอกสารที่เกี่ยวของดังนี้6.2.2 ศึกษาประเภทของกระจกประหยัดพลังงาน6.2.3 ศึกษาประเภทของเฟรมที่ใชและประหยัดพลังงาน6.2.4 ศึกษาแนวคิดตางๆ ใหนการกําหนดขนาดมาตรฐาน6.2.5 ศึกษาสํารวจระบบและขนาดประตู-หนาตาง สําหรับบานพักอาศัยที่เปนบานเดี่ยว และ คอนโดมิเนี่ยมในประเทศไทย6.2.6 ขั้นตอนการเลือกกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย6.2.7 ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ อาคารบานเดี่ยวที่กอสรางในป 2551 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล6.2.8 กลุมตัวอยางคือ อาคารบานเดี่ยวจํานวน 11 หลังที่ใชกระจกประหยัดพลังงานความหนารวม 24 มม. ดวยเฟรม uPVC6.2.9 กลุมตัวอยางติดตั้งกระจก ที่เปนชางติดตั้งกระจก อลูมินั่ม ชางติดตั้งกระจกuPVC ชางกอสรางทั่วไป และบุคคลตัวไป สายอาชีพละ 2 กลุมๆละ 2 คน6.2.10 ขั้นตอนการสรางประตู-หนาตางมาตรฐาน และผนังจําลองที่ใชในการทดลองติดตั้ง เพื่อจับเวลาการติดตั้ง6.3 การเก็บขอมูลเนื่องจากการวิจัยนี้เปนการสรางประตู-หนาตางมาตรฐานสําหรับประเทศไทย ที่มีราคาถูกกวาการติดตั้งแบบทั่วไป มีการออกแบบใหติดตั้งไดงาย ใชเวลาในการติดตั้งสั้น โดยใชวิธีการรวบรวมขอมูลดังตอไปนี้6.3.1 รวบรวมขอมูลตัวอยางและวิเคราะหปริมาณการใชวัตถุดิบ แรงงาน และพลังงาน จากตัวอยางโครงการที่อยูอาศัยบานเดี่ยว จํานวน 11 โครงการที่ใช วัสดุประหยัดพลังงานคุณภาพสูงความหนากระจก 24 มม. ในป 2551 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ แบบใหม6.3.2 บันทึกและเปรียบเทียบระยะเวลาในการติดตั้งประตู-หนาตาง แบบเกา6.3.3 ศึกษา และบันทึก น้ําหนักที่เหมาะสมของประตู-หนาตางในการติดตั้งสําหรับคน 2 คนชวยกันยก6.3.4 ศึกษาและรวบรวม คูมือการประกอบและติดตั้งประตู-หนาตาง ในรูปของเอกสาร และ วีดีโอ ที่เขาใจงายจากทั้งในและตางประเทศ653


6.4 การวิเคราะหขอมูลนําขอมูลจากการทดลองที่รวบรวมไดและผานการตรวจสอบความถูกตองและสมบูรณของขอมูลมาแปลผลเปนตารางและแผนภูมิ แลวนํามาศึกษาพิจารณาเปรียบเทียบความสัมพันธและความเหมาะสมของตัวแปรตางๆ วามีผลตอตนทุนการผลิต และเวลาในการประกอบติดตั้งประตู-หนาตาง โดยใชสถิติวิเคราะหในการเปรียบเทียบความสัมพันธของขอมูลมาศึกษารอยละของตัวแปรตางๆ6.5 การประเมินผลในการประเมินผลการวิจัยจะกําหนดเกณฑการประเมินผลในดานตางๆดังตอไปนี้6.5.1 ขอมูลตางๆ ที่เก็บรวมรวมได จากการวิจัย เปนขอมูลเชิงปริมาณ ที่ตองมีคาความคลาดเคลื่อนของผลลัพธนอยที่สุด เพื่อความถูกตองในการนําขอมูลนั้นไปทําการคํานวณตอไป สถิติที่นํามาใชคือ รอยละ และคาเฉลี่ยน6.5.2 มีความเปนไปไดในการนําขอมูลไปใชในการออกแบบประตู-หนาตางตอไป6.5.3 มีความเปนไปได และมีความเหมาะสมที่จะนําไปใชกับงานอาคารไดจริง6.6 การสรุปผลการวิจัย6.6.1 สรุปรายละเอียดและผลกา+วิจัยที่ไดอยางชัดเจน6.6.2 เสนอแนะขอผิดพลาด ขอจํากัด และแนวทางปรับปรุงการวิจัย เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมตอไป6.6.3 เสนอแนะทางเลือกที่เหมาะสมเพื่อใชเปนปรัชญาในการออกแบบเพื่อใชกับงานอาคารจริงไดอยางถูกตองและเหมาะสม7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ7.1 สามารถทราบถึงผลเปรียบเทียบราคาประตู-หนาตางมาตรฐาน ที่ลดลงเฉลี่ยไดมากกวา34.60%7.2 ลดระยะเวลาในการติดตั้งเฉลี่ยจาก 43 วันเปน 6.75 วัน7.3 แกปญหาแรงงานที่ไมเพียงพอในการติดตั้งประตู-หนาตาง ดวยเทคนิค DIY7.4 เพื่อใชในการประยุกตออกแบบใชงานกับอาคารที่อยูอาศัย7.5 ลดการปลอยกาซ CO 27.6 สามารถควบคุมคุณภาพของประตู-หนาตางไดดี654


การสรางบานพอเพียงในประเทศไทย (การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ)(Building Sustainable Self-reliant Housing in Thailand (A Comparative Study)นางสาวปวริศา เพ็ญชาติหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยผลกระทบทางสิ่งแวดลอมจากสิ่งกอสรางเปนที่พึงตระหนักเปนอยางมาก ที่ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตของสังคมเมืองขึ้นสูง ไดสรางปญหามากมายไมวาในดานเศรษฐกิจ สังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานสิ่งแวดลอม การเจริญเติบโตของชุมชนแออัดตามมาดวยภาวะมลพิษ การลดนอยถอยลงของทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ประเด็นที่นาเปนหวงมากที่สุดในปจจุบันคือ ปญหาของ “ภาวะโลกรอน” “บาน” ซึ่งเปนหนึ่งในปจจัยสี่ สิ่งจําเปนตอการดํารงชีพของมนุษยเปนหนึ่งในองคประกอบสําคัญในการสรางหนทางไปสู “สังคมสีเขียวที่ยั่งยืน” จากนี้เทคโนโลยีใหมๆ จะตองถูกนํามาใช เพื่อที่บานจะใชพลังงานนอยลง ชวยใหบรรยากาศรอบขางรื่นรมย และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสอดคลองกับพระราชดํารัสขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง บานพอเพียงนั้นหมายถึงบานซึ่งสามารถผลิตพลังงานที่ใชภายในบานจากแผงพลังงานแสงอาทิตย มีระบบหมุนเวียนของการบําบัดน้ําเสียที่ดี และสามารถอยูไดดวยตนเองไมขึ้นอยูกับแหลงพลังงานใดๆวัตถุประสงคของการวิจัยศึกษาประโยชนของการประหยัดพลังงานไฟฟาของบานพอเพียง ศึกษาความเปนไปได ผลดี และผลเสียในการนําเอาความคิดบานพอเพียงมาสรางนโยบายการจัดสรรที่อยูอาศัยในระดับชาติ วิเคราะหความแตกตางที่ชัดเจนระหวางบานลักษณะทั่วไป และบานพอเพียงในความคุมคาของดานเศรษฐกิจในภาพรวม (Economic Feasibility)ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของการวิจัยนี้คือการตั้งสมมุติฐานโครงการนํารอง (Pilot Project) จํานวน 60,000 หลัง โดยตัวบานมีขนาด145 ตารางเมตร บนเนื้อที่ 45 ตารางวา การออกแบบตัวบานมี 1 แบบ ในเขตกรุงเทพและจังหวัดปริมณฑล 3 จังหวัด ไดแก ถนนบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร ถนนคลอง 6 อําเภอคลอง จังหวัดปทุมธานี และตําบลบางโฉลง อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการโดยจะทําการศึกษาบานพอเพียงกับการประหยัดไฟฟาเทานั้นขอจํากัดของการวิจัยขอมูลเกี่ยวกับบานพอเพียงนี้ยังไมมีการศึกษากันอยางกวางขวาง บานพอเพียงยังสรางไมครบวงจร เนื่องจากยังไมมีขอมูลที่แนนอนเกี่ยวกับระบบการประหยัดน้ําและการนําเอาน้ํากลับมาใชใหมรวมถึงการกักเก็บน้ําคางเพื่อการใชน้ําใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด ยังไมมีการศึกษาเกี่ยวกับการนําเอาของเสียมาทําระบบกาซชีวภาพ รายงานนี้ศึกษาเฉพาะการประหยัดพลังงานไฟฟาของตัวบานพอเพียงประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1.เพื่อเปนแหลงขอมูลแกสาธารณะใหเขาใจถึงหลักการและประโยชนของบานพอเพียงที่จะมีตอเศรษฐกิจ และเปนแนวทางเพื่อการศึกษาคนควาทางดานนี้ตอไปในอนาคต2.เพื่อผลักดันใหรัฐบาลสนับสนุนการศึกษาเพิ่มเติมทางดานนี้และสงเสริมบานลักษณะเชนนี้และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ655


3.เพื่อผลักดันใหผูประกอบการโดยเฉพาะผูประกอบการทางดานอสังหาริมทรัพยไดพิจารณาบานลักษณะดังกลาวอยางเปนจริงเปนจังมากขึ้น ซึ่งจะนําไปสูการลงทุนในธุรกิจบานประเภทนี้มากยิ่งขึ้นอีกทั้งจะเปนผลดีตอเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมของประเทศชาติลําดับและขั้นตอนในการเสนอผลการวิจัยรวบรวมขอมูลและทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับที่อยูอาศัยที่เกิดขึ้นในอดีตจนถึงปจจุบันที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหพัฒนามากๆยิ่งขึ้นเพื่อสังคมสีเขียว นําเสนอประโยชนและเทคโนโลยีที่กาวหนาอยางไมมีวันหยุดยั้งเพื่อสังคมที่ยั่งยืนในสภาวะโลกรอนและใหอยูในขอบเขตของความพอเพียง แนะนําแนวทางที่มีประโยชนสําหรับประชาชนโลกที่อยูกับพลังงานที่สิ้นเปลืองและพลังงานหมุนเวียน เสนอผลดี และผลเสียของบานพอเพียงเพื่อที่อยูอาศัยในระดับจุลภาค และมหภาค สรุปความเปนไปไดในการนําเอาบานพอเพียงมาเปนที่อยูอาศัยในระดับประเทศบานพอเพียง เปนผลงานการออกแบบของศาสตราจารย ดร.สุนทร บุญญาธิการ และรองศาสตราจารย ดร.วรสัณฑบูรณากาญจน ที่ทดลองสรางขึ้นที่ อําเภอ ปากชอง จังหวัดนครราชสีมา แนวคิดและหลักการทั่วไปเพื่อใหเกิดรูปแบบบานพักอาศัยโดยเนนการอนุรักษสิ่งแวดลอมและประหยัดพลังงาน การเลือกใชอุปกรณเพื่อประหยัดพลังงาน การกอสรางที่รวดเร็ว บานพอเพียงสามารถใชประโยชนจากระบบธรรมชาติไดมาก การเลือกใชวัสดุที่มีการเก็บกักความรอนนอย การจัดวางพื้นที่ใชงานโดยแยกครัวไทยและครัวตะวันตก เอาโครงสรางของบานมารับน้ําหนักจนกลายเปนบานไมมีเสา เปนการประยุกตวิธีการประหยัดพลังงานผานแนวความคิดในการออกแบบไปสูกระบวนการออกแบบทางสถาปตยกรรมโดยการเลือกใชวัสดุที่เหมาะสมเพื่อลดการนําความรอนออกแบบมาเพื่อรักษาอุณหภูมิภายในบาน การออกแบบหลังคาใหมีความลาดชันที่เหมาะสมตอการกักเก็บน้ําคางที่เกิดขึ้นในประมาณที่เพียงพอ เมื่อบานพอเพียงสามารถกักเก็บน้ําคางไดทําใหลดปริมาณการบริโภคน้ําลดลง และสิ่งปฏิกูลตาง ๆ ก็สามารถนํามาหมักเปนกาซไวใชในครัวเรือน น้ําทิ้งสามารถนําไปใชรดผักสวนครัว วัสดุที่ใชในการกอสรางสามารถรักษาอุณหภูมิของบานได ประหยัดเวลาในการกอสรางเพราะไมมีเสาเข็มประหยัดคาใชจาย ประชาชนสามารถมีบานพอเพียงประหยัดพลังงานไดการออกแบบที่มีทั้งการประยุกตใชประโยชนจากปจจัยธรรมชาติ โดยคํานึงถึงการประหยัดพลังงานสูงสุดเปนหลัก แนวคิดนี้ทําใหไดบานที่สามารถควบคุมอุณหภูมิภายในบานใหอยูในอยางสบายตลอดเวลา อุณหภูมิภายในบานคงที่เนื่องจากการออกแบบที่เนนการปองกันความรอนจากภายนอกไมใหเขาสูภายในบานดังนั้นสภาวะการทําความเย็นของ เครื่องปรับอากาศจึงมีคาต่ํามาก โดยประหยัดกวาบานทั่วไป6-7 เทา ทําใหผูอยูอาศัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งจะเปนรูปแบบของบานพักอาศัยที่เหมาะสมกับการอยูอาศัยในเขตปริมณฑลบานพอเพียงเหมาะสําหรับผูที่มีครอบครัว ลักษณะของบาน พื้นที่ 45 ตารางวา 2 หองนอน 2 หองน้ํา หองใตหลังคาหองรับแขก ครัวแบบตะวันตกอยูในบาน ครัวไทยอยูนอกบาน พื้นที่ใชสอย 145 ตารางเมตร โครงสรางทั้งหมด ไมมีเสาเข็มใหเสียพื้นที่ แตมีโครงเหล็กที่สามารถรองน้ําหนักของตัวบาน กลายเปนบานไมมีเสาทําใหเกิดพื้นที่ภายในกวางขวางและทําใหการกอสรางเสร็จเร็วขึ้น ตางจากบานทั่วไปที่มีโครงสรางที่ยุงยากและมีน้ําหนักมาก รวมถึงระยะเวลาในการกอสรางก็ใชเวลานานการกอสรางบานพอเพียงใชสวนผสมคือคอนกรีตผสมโฟมไมผสมทรายจากการเลือกใชวัสดุอุปกรณเพื่อการประหยัดพลังงานการเลือกใชวัสดุที่มีการกักเก็บความรอนนอย เพื่อเปนการลดการบริโภคพลังงาน การจัดวางพื้นที่การใชสอยจึงจําเปนตองใหสอดคลองกับการออกแบบบาน โดยการแยกครัวไทยไวนอกบานเพื่อความรอนในระหวางการประกอบอาหารจะไมทําใหตัวบานมีอุณหภูมิสูงขึ้น การออกแบบที่ใหมีระเบียงอยูตรงดานหองนอนและมีหลังคายื่นออกไปเหนือระเบียงนั้นทําใหแสงแดดสองเขามาในหองนอนไมรอนจนเกินไปและเปนการประหยัดพลังงานไดโดยการที่เครื่องปรับอากาศไมทํางานหนักจนเกินไปวัสดุที่ใชคือซีเมนตผสมโฟมมีความหนาของผนังเกือบ 12 นิ้ว ของบานยุคใหมนี้ ทําใหเกิดความแตกตางระหวางอุณหภูมิภายนอกบานและภายในบาน เมื่ออากาศรอนภายนอกบาน ภายในบานอากาศจะต่ํากวาประมาณ 2 องศา และเมื่อ656


อากาศภายนอกหนาวอากาศภายในบานจะอุนกวาอากาศภายนอก เปนเพราะคุณสมบัติของโฟมผสมกับปูนที่กันความรอนไดดีตางจากสวนผสมระหวางปูนกับทราย ในความคิดที่วาจะตองจายคาไฟแพงเมื่อติดตั้งเครื่องปรับอากาศนั้น สําหรับบานหลังนี้คาไฟไมไดแพงอยางที่คิด เพราะบานสามารถรักษาอุณหภูมิในบานไดเปนอยางดี ทําใหระบบเครื่องปรับอากาศคือตัวคอนเดนซิ่งซึ่งเปนตัวตัดไฟทํางานนัอยลงและเปนการประหยัดไฟฟาและยืดอายุการใชงานของเครื่องปรับอากาศอีกวิธีหนึ่งผลวิเคราะหทางเทคนิคบานพอเพียงเปนนวัตกรรมสรางสรรคที่เนนการกอสรางที่รวดเร็วประหยัดและบํารุงรักษางายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีวัสดุที่ใชไดรับการคนควาและเลือกสรรที่มีคุณสมบัติพิเศษในการประหยัดพลังงานและประหยัดวัสดุที่ใชในการดําเนินการกอสรางสมมุติฐานในการวิเคราะหการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรเกี่ยวของกับการศึกษาความเปนไปในการนําเอาแนวคิดบานพอเพียงมาใชประโยชนในการเศรษฐศาสตรกลาวคือ ศึกษาความเปนไปไดในการนําเอาแนวคิดบานพอเพียงมาใชประโยชนในระดับชาติในฐานะของนโยบายการจัดสรรที่อยูอาศัยใหแกกลุมคนที่เหมาะสมโดยจะเนนที่การวิเคราะหผลไดและผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับกลุมคนตางๆไมวาจะเปนผูบริโภคและรัฐบาล ทั้งนี้เพื่อเปนขอมูลใหแกภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน การเคหะแหงชาติ ในการตัดสินใจนําเอาบานพอเพียงมาใชประโยชนตอไป โดยการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรสามารถจําแนกรายละเอียดไดดังตอไปนี้1. เปนชุมชนในเขตชานเมือง โดยเปนชุมชนที่อยูหางจากยานศูนยกลางเมือง และกระจายตัวอยูในยานพักอาศัยแถบชานเมือง โดยเชื่อมโยงกับศูนยกลางเมืองดวยระบบเครือขายคมนาคม เหมาะสําหรับกลุมเปาหมายที่เปนครอบครัวขนาดกลางถึงขนาดใหญ หรือครอบครัวที่มีลักษณะการอยูอาศัยแบบดั้งเดิม โดยกําหนดใหมีความหนาแนนโครงการประมาณไมเกิน12 ครอบครัวตอไร (การเคหะแหงชาติ, 2546)2 . กําหนดใหเริ่มตนโครงการบานพอเพียงในเขตกรุงเทพและจังหวัดปริมณฑล 3 จังหวัด ไดแก ถนนบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร ถนนคลอง 6 อําเภอคลอง จังหวัดปทุมธานี และตําบลบางโฉลง อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีเปาหมายรวม 60,000 หนวย ภายในระยะเวลา 2 ป (2552 – 2554)3 . คากอสรางบานพรอมที่ดินหนวยละประมาณ 1,000,000 บาท คิดเปนคาบานสองชั้น พื้นที่ใชสอย 145 ตารางเมตร เปนเงินประมาณ 700,000 บาท และคาที่ดินขนาด 45 ตารางวา เปนเงินประมาณ 300,000 บาท (เฉลี่ยแลวประมาณ 6,700บาทตอ 1 ตารางวา) ทั้งนี้ราคาประเมินที่ดินในบริเวณดังกลาวไดมาจากกรมธนารักษ (2552) รวมเปนเงินลงทุนทั้งสิ้นประมาณ60,000 ลานบาท4 . รัฐบาลใหเงินอุดหนุนคากอสรางระบบสาธารณูปโภคหนวยละ 80,000 บาท ทั้งนี้เปนจํานวนเดียวกับที่รัฐบาลใหการอุดหนุนโครงการบานเอื้ออาทร (การเคหะแหงชาติ, 2546) ทําใหตนทุนบานพอเพียง 1 หนวยเหลือประมาณ 920,000 บาท ซึ่งผูซื้อจะตองเปนผูรับผิดชอบคาใชจายดังกลาว หากกําหนดใหทําการกู 30 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 7 ตอป ผูซื้อจะตองชําระคาบานเปนจํานวนเงินประมาณ 6,200 บาทตอเดือน ซึ่งผูที่จะสามารถผอนชําระไดควรจะมีรายไดอยางนอย 17,500 บาทตอเดือน5 . ธนาคารอาคารสงเคราะหและธนาคารออมสินเปนผูรับผิดชอบในการใหสินเชื่อเพื่อซื้อบานพอเพียง6 . ประชากรเปาหมายของโครงการคือประชากรที่มีรายไดครัวเรือนไมเกิน 22,000 บาทตอเดือน ซึ่งเปนรายไดขั้นสูงตามเกณฑของโครงการบานเอื้ออาทร (การเคหะแหงชาติ, 2546) ซึ่งถือเปนรายไดที่เหมาะสม7 . รัฐบาลใหการอุดหนุนโดยการใหสิทธิพิเศษทางภาษี ทั้งนี้เปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีในวันอังคารที่ 20 มกราคมพ.ศ. 2552 (สํานักเลขาธิการรัฐมนตรี, 2552) ซึ่งอนุมัติใหผูที่ซื้อบานราคาไมเกินหนึ่งลานบาทและโอนกรรมสิทธิ์ภายในป พ.ศ.657


2552 สามารถนําเอาเงินตนในการซื้อบานมาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดไมเกิน 300,000 บาท และนําเอาดอกเบี้ยเงินกูซื้อบานมาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดไมเกิน 100,000 บาท โดยในกรณีของบานพอเพียง รัฐบาลใหสิทธิดังกลาวกับผูเขารวมโครงการบานพอเพียงทุกราย ทั้งนี้เพื่อเปนการจูงใจใหผูบริโภคเขารวมโครงการเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหเครื่องมือที่จะใชในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรจะอาศัยกระบวนการเชิงปริมาณเปนหลัก เชน การเทียบสัดสวนเพื่อคํานวณรายจายคาไฟฟาจากการใชเครื่องปรับอากาศที่สามารถประหยัดไดจากการใชนําเอานโยบายบานพอเพียงมาใชเปนนโยบายที่อยูอาศัยในระดับประเทศ โดยจะทําการคํานวณรายจายคาไฟฟาที่สามารถประหยัดไดดังกลาวทั้งในระดับบุคคลและระดับประเทศการคํานวณภาษีที่ผูบริโภคจะสามารถประหยัดไดจากการเขารวมโครงการบานพอเพียง รวมทั้งการคํานวณภาระในการผอนชําระเงินกูเพื่อซื้อบานพอเพียงนอกจากนี้จะใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ซึ่งเปนหนึ่งในกระบวนการสถิติแบบใชพารามิเตอร (Parametric Statistics) เพื่อประมาณสมการถดถอยพหุคูณของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GrossDomestic Product) หรือ GDP ทั้งนี้เพื่อทําการคํานวณมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศที่เพิ่มขึ้นจากการที่มูลคารายจายเพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น รายจายภาครัฐบาลเพิ่มขึ้น และมูลคาการนําเขาลดลง จากการนําเอานโยบายบานพอเพียงมาใชเปนนโยบายที่อยูอาศัยในระดับประเทศการเก็บรวบรวมขอมูลการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรเกี่ยวของกับขอมูลทุติยภูมิจํานวนคอนขางมาก ทั้งนี้สามารถแสดงรายละเอียดของขอมูลและแหลงที่มาของขอมูลที่ใชไดดังนี้1. มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ไดมาจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ2. มูลคารายจายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน (Private Consumption Expenditure) ไดมาจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ3. มูลคารายจายเพื่อการลงทุนภาคเอกชน (Private Investment Expenditure) ไดมาจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ4. มูลคารายจายภาครัฐบาล (Government Expenditure) ไดมาจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ5. มูลคาการสงออก (Export) ไดมาจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ6. มูลคาการนําเขา (Import) ไดมาจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทั้งนี้ ขอมูลขางตนเปนขอมูลทุติยภูมิรายไตรมาสตั้งแตไตรมาสที่ 1 ป พ.ศ. 2536 ถึงไตรมาสที่ 3 ป พ.ศ. 2551 รวม63 ไตรมาสนอกจากนี้ ในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรยังตองอาศัยขอมูลจากหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนหลายหนวยงานไดแก- แนวทางในการคํานวณคาไฟฟา ไดมาจากการไฟฟานครหลวง- แนวทางในการคํานวณปริมาณน้ํามันที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟา ไดมาจาก International Dark Sky Association- แนวทางในการคํานวณคางวดรายเดือนสําหรับเงินกูซื้อบาน ไดมาจากธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)658


- นโยบายภาครัฐซึ่งใหสิทธิในการนําเอาคาใชจายในการซื้อบานรวมทั้งดอกเบี้ยที่ตองชําระเงินกูซื้อบานไปหักลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาตามมติคณะรัฐมนตรีในวันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2552 ไดมาจาก สํานักเลขาธิการรัฐมนตรีการวิเคราะหขอมูล และผลการวิเคราะหการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรแบงออกเปน 2 สวน จําแนกตามระดับการวิเคราะหไดแก ระดับจุลภาคและระดับมหภาค โดยมีรายละเอียดดังนี้ระดับจุลภาค (Microeconomics) ทําการวิเคราะหผลดีและผลเสียจากการนําเอาโครงการบานพอเพียงมาใชเปนนโยบายจัดสรรที่อยูอาศัยใหแกประชาชนที่จะเกิดขึ้นกับผูบริโภคและหนวยธุรกิจ โดยจะวิเคราะหผลดีที่ผู บริโภคจะไดรับจากการเขารวมโครงการในแงของคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นจากการเปนเจาของที่อยูอาศัยของตนเอง รวมทั้งการประหยัดคาไฟฟาซึ่งถือเปนหนึ่งในคาใชจายหลักของผูบริโภค ตลอดจนทําการวิเคราะหปจจัยเกื้อหนุนจากการดําเนินนโยบายกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ที่เอื้อประโยชนใหแกผูซื้อบานในการนําเอารายจายในการซื้อบานมาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา นอกจากนี้จะทําการวิเคราะหผลดีที่หนวยธุรกิจจะไดรับจากการที่รัฐบาลนําเอาแนวคิดบานพอเพียงมาจัดสรรเปนที่อยูอาศัยใหแกประชาชนอีกดวย นอกจากการวิเคราะหผลดีของโครงการแลว ก็จะทําการวิเคราะหผลเสียที่ผูบริโภคจะไดรับจากการเขารวมโครงการในแงของการเปนหนี้ที่คอนขางเปนจํานวนมากเมื่อเทียบกับบานเอื้ออาทร และผลเสียที่หนวยธุรกิจ (ในภาคอสังหาริมทรัพย) จะไดรับจากการที่รัฐบาลเขามาเปนคูแขงในตลาดอสังหาริมทรัพยอีกดวยการวิเคราะหในระดับจุลภาคสามารถสรุปสิ่งที่จะศึกษาและวิธีการศึกษาไดดังนี้1. ผลดีที่ผูบริโภคไดรับ1.1 การมีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นการวิเคราะหคุณภาพชีวิตของผูบริโภคจากการที่สามารถเปนเจาของที่อยูอาศัยของตนเอง ทั้งนี้จะอาศัยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการศึกษาความสัมพันธระหวางการเปนเจาของที่อยูอาศัยและระดับคุณภาพชีวิตเปนหลักผลวิเคราะห ในการนําเอาโครงการบานพอเพียงมาใช ผูบริโภคยอมไดประโยชนจากการที่สามารถมีบานที่อยูอาศัยเปนของตนเอง ทั้งนี้ การเปนเจาของที่อยูอาศัยถือเปนหนึ่งในปจจัยที่กําหนดคุณภาพชีวิตซึ่งเปนองคประกอบในการคํานวณดัชนีความอยูดีมีสุข (Well-Being Index) ทําการศึกษาโดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2550) โดยเปนหนึ่งในตัวบงชี้ของคุณภาพชีวิตในดานสภาพแวดลอม ในการนี้ทางสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดตั้งเปาหมายของการเปนเจาของที่อยูอาศัยไวที่รอยละ 100 ดังนั้น เปนที่แนนอนวาการที่ประชาชนไดเปนเจาของที่อยูอาศัยของตนเองยอมทําใหประชาชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้น หรืออาจกลาวไดวาประชาชนมีคุณภาพชีวิตสูงขึ้นนั่นเอง1.2 การประหยัดคาใชจายคาไฟฟาทําการวิเคราะหการประหยัดคาไฟฟาจากการใชเครื่องปรับอากาศระหวางบานพอเพียงและบานโดยทั่วไป โดยจะทําการคํานวณเปนตัวเงินเพื่อเปรียบเทียบจํานวนเงินที่สามารถประหยัดไดใน 1 เดือน และ 1 ป ทั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบความคุมคาในการเขารวมโครงการบานพอเพียง โดยมีขอกําหนดคือ การเปดเครื่องปรับอากาศในบานโดยทั่วไปเปนระยะเวลา 10 ชั่วโมง จะเสียคาไฟฟาเปนจํานวนเงิน 40 บาท ในขณะที่การเปดเครื่องปรับอากาศในบานพอเพียงเปนระยะเวลา 24 ชั่วโมง จะเสียคาไฟฟาเปนจํานวนเงิน 40 บาทเทากับ จากขอมูลดังกลาว จะทําการคํานวณคาตางๆ ดังนี้ 1) จํานวนเงินที่จะตองเสียสําหรับบานพอเพียงหากเปดเครื่องปรับอากาศเปนระยะเวลาเทากัน 2) จํานวนเงินคาไฟฟาใน 1 เดือนจากการเปดเครื่องปรับอากาศเปนระยะเวลา 10ชั่วโมงตอวันของบานพอเพียงและบานโดยทั่วไป จากนั้นทําการเปรียบเทียบการประหยัดคาไฟฟาระหวางบานทั้งสอง และ 3)659


จํานวนเงินคาไฟฟาใน 1 ปจากการเปดเครื่องปรับอากาศเปนระยะเวลา 10 ชั่วโมงตอวันของบานพอเพียงและบานโดยทั่วไปจากนั้นทําการเปรียบเทียบการประหยัดคาไฟฟาระหวางบานทั้งสองผลวิเคราะหจะทําใหประชาชนโดยเฉพาะผูที่มีรายไดนอยและยังไมมีที่อยูอาศัยเปนของตนเองมีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นแลว ผูบริโภคยังจะไดรับประโยชนจากการเขารวมโครงการบานพอเพียง ซึ่งเหนือกวาการซื้อบานจากโครงการบานเอื้ออาทร โครงการบานอื่นๆ ของเอกชน รวมทั้งการสรางบานดวยตนเอง จากการที่สามารถประหยัดคาไฟฟาไดมากกวา ทั้งนี้บานพอเพียงไดถูกออกแบบใหเหมาะสมกับภูมิอากาศของประเทศที่คอนขางรอน ทั้งลักษณะของตัวบานและวัสดุที่ใชสรางบาน ทําใหสามารถกักเก็บความเย็นไดดีกวาบานทั่วไป โดยจากการศึกษาพบวา บานพอเพียงสามารถประหยัดคาไฟฟาจากการเปดเครื่องปรับอากาศไดมากกวาบานโดยทั่วไปถึงรอยละ 58.32 หรืออีกนัยหนึ่งคือบานพอเพียงใชไฟฟาเพียงรอยละ 41.68 ของบานโดยทั่วไปในการเปดเครื่องปรับอากาศเปนระยะเวลาเทากัน จากการศึกษาพบวา- สําหรับบานโดยทั่วไป จะเสียคาไฟฟาเปนจํานวนเงินประมาณ 40 บาท หากเปดเครื่องปรับอากาศเปนระยะเวลา 10ชั่วโมง- สําหรับบานพอเพียง จะเสียคาไฟฟาเปนจํานวนเงินประมาณ 40 บาท หากเปดเครื่องปรับอากาศเปนระยะเวลา 24ชั่วโมง- เมื่อคิดเปนการเปดเครื่องปรับอากาศเปนระยะเวลา 10 ชั่วโมงเทากับบานโดยทั่วไป จะเสียคาไฟฟาเพียงประมาณ16.67 บาท- ดังนั้น หากสมมติใหทุกบานเปดเครื่องปรับอากาศทุกวันๆ ละ 10 ชั่วโมง จะไดวาบานโดยทั่วไปจะเสียคาไฟฟาจากการเปดเครื่องปรับอากาศเดือนละ 1,200 บาท ในขณะที่บานพอเพียงจะเสียคาไฟฟาเพียงประมาณเดือนละ 500 บาท เทากับวาบานพอเพียงสามารถประหยัดคาไฟฟาจากการเปดเครื่องปรับอากาศไดถึงเดือนละ 700 บาท ทั้งนี้มีขอสมมติฐานวามีการใชเครื่องใชไฟฟาอื่นๆ ในปริมาณเทากัน- ดังนั้น จะไดวาบานพอเพียงสามารถประหยัดคาไฟฟาไดมากถึงปละ 8,400 บาทจากการวิเคราะหคาใชจายที่สามารถประหยัดไดขางตน จะเห็นวาผูบริโภคที่เขารวมโครงการบานพอเพียงจะไดประโยชนอยางมากจาการที่สามารถประหยัดคาไฟฟาจากการเปดเครื่องปรับอากาศไดมากถึงปละ 8,400 บาท เมื่อเทียบกับบานโดยทั่วไป1.3 การไดสิทธิลดหยอนภาษีทําการวิเคราะหจํานวนเงินภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่สามารถประหยัดไดจากการเขารวมโครงการบานพอเพียง ทั้งนี้มีขอสมมติวา 1) กูเงินซื้อบานจํานวน 920,000 บาท เปนระยะเวลา 30 ป สถาบันการเงินคิดดอกเบี้ยรอยละ 7 ตอป 2) ผูกูเปนผูเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในอัตรารอยละ 10 ตอป และ 3) รัฐบาลใหการอุดหนุนโดยการใหสิทธิพิเศษทางภาษีกับผูเขารวมโครงการบานพอเพียงทุกราย โดยอนุมัติใหผูที่ซื้อบานราคาไมเกินหนึ่งลานบาทและโอนกรรมสิทธิ์ภายในป พ.ศ. 2552 สามารถนําเอาเงินตนในการซื้อบานมาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดไมเกิน 300,000 บาท และนําเอาดอกเบี้ยเงินกูซื้อบานมาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดไมเกิน 100,000 บาท โดยสิ่งที่จะทําการคํานวณคือ จํานวนเงินภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่สามารถประหยัดไดจากการเขารวมโครงการผลวิเคราะหจะไดประโยชนจากการเขารวมโครงการบานพอเพียงตามที่ไดกลาวมาขางตนแลว ผูบริโภคยังจะไดประโยชนจากสิทธิในการนําเอาคาใชจายในการซื้อบานรวมทั้งดอกเบี้ยที่ตองชําระเงินกูซื้อบานไปหักลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาอีกดวย ทั้งจากจากมติคณะรัฐมนตรีในวันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2552 (สํานักเลขาธิการรัฐมนตรี, 2552) ไดอนุมัติใหผูที่ซื้อบานราคาไมเกินหนึ่งลานบาท สามารถนําเอาเงินตนในการซื้อบานมาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดไมเกิน 300,000 บาท และนําเอาดอกเบี้ยเงินกูซื้อบานมาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดไมเกิน 100,000 บาท ทําใหประหยัดคาใชจายไดอีกทางหนึ่ง660


2. ผลเสียที่ผูบริโภคไดรับทําการวิเคราะหผลเสียที่จากการเขารวมโครงการบานพอเพียงที่ผูบริโภคอาจไดรับจากการที่ตองกูเงินเพื่อซื้อบานในมูลคาที่คอนขางสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อทําการเปรียบเทียบกับบานในโครงการบานเอื้ออาทรซึ่งมีราคาเพียง 390,000 บาท (การเคหะแหงชาติ, 2546) ในขณะที่บานพอเพียงมีราคาสูงกวาที่ 920,000 บาท ทั้งนี้จะทําการเปรียบเทียบภาระในการผอนชําระเงินกูเพื่อซื้อบานในทั้งสองโครงการในระยะเวลาตางๆ กัน ไดแก 10 ป (120 งวด) 15 ป (180 งวด) 20 ป (240 งวด) 25 ป (300 งวด) และ 30ป (360 งวด)ผลการวิเคราะหการเขารวมโครงการบานพอเพียงจะมีประโยชนหลายประการดังกลาวขางตน แตการเขารวมโครงการบานพอเพียงก็มีขอเสียดวยเชนกัน ทั้งนี้ขอเสียของโครงการคือการที่บานในโครงการบานพอเพียงมีราคาที่สูงกวาบานในโครงการบานเอื้ออาทรซึ่งมีราคาเพียง 390,000 บาท ในขณะที่บานพอเพียงมีราคาหลังการอุดหนุนของภาครัฐเทากับ 920,000 บาท ซึ่งทําใหผูบริโภคมีภาระในการผอนชําระคาบานพอเพียงที่หนักกวาการผอนชําระคาบานเอื้ออาทร หากทําการเปรียบเทียบภาระในการชําระคางวดเงินกูในระยะเวลาตางๆ กัน จะเห็นไดชัดวาภาระในการผอนชําระคางวดบานพอเพียงหนักกวาบานเอื้ออาทรอยางชัดเจน3. ผลดีที่หนวยธุรกิจไดรับทําการวิเคราะหผลดีที่หนวยธุรกิจจะไดรับจากการที่รัฐบาลดําเนินโครงการบานพอเพียง โดยวิเคราะหผลดีจากเงินลงทุนตามโครงการมูลคา 60,000 บาท ซึ่งหนวยธุรกิจบางสวนที่เกี่ยวของกับอสังหาริมทรัพยยอมไดประโยชนผลการวิเคราะหหนวยธุรกิจที่เกี่ยวของกับโครงการบานพอเพียง กลาวคือมีสวนไดสวนเสียกับโครงการ เชน ธุรกิจวัสดุกอสราง รับเหมากอสราง ตกแตงภายใน เฟอรนิเจอร สาธารณูปโภคตางๆ รวมไปถึงธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางบานและที่อยูอาศัยยอมไดประโยชนจากโครงการบานพอเพียงจากการที่มีเม็ดเงินจากโครงการถึง 60,000 ลานบาท เพื่อซื้อสินคาและบริการจากหนวยธุรกิจดังกลาวซึ่งหมายถึงการที่มีอุปสงคตอสินคาและบริการของหนวยธุรกิจมากขึ้น ทําใหมีรายรับและกําไรสูงขึ้น4. ผลเสียที่หนวยธุรกิจไดรับทําการวิเคราะหผลเสียที่หนวยธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งหนวยธุรกิจในอุตสาหกรรมโครงการที่อยูอาศัยราคาต่ํา จะไดรับจากการที่รัฐบาลดําเนินโครงการบานพอเพียง โดยจะเนนวิเคราะหที่สภาพการแขงขันของอุตสาหกรรมซึ่งอาจทําใหเกิดความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจของหนวยธุรกิจดังกลาวผลการวิเคราะหมีหนวยธุรกิจที่อาจไดรับผลกระทบจากโครงการบานพอเพียงดวยเชนกัน ซึ่งไดแกหนวยธุรกิจที่ทําธุรกิจเกี่ยวกับโครงการที่อยูอาศัย ไมวาจะเปนบานเดี่ยว ทาวนเฮาส หรือหองชุด โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงการที่มีราคาใกลเคียงกับโครงการบานพอเพียง จากการที่มีคูแขงมากขึ้น โดยเปนคูแขงที่ไดรับการอุดหนุนรวมทั้งตัวบานที่มีขอไดเปรียบเรื่องการประหยัดพลังงาน ลักษณะดังกลาวอาจสงผลใหยอดขายของหนวยธุรกิจดังกลาวนอยกวาที่ควรจะเปน ทําใหรายรับและกําไรลดลงในที่สุดระดับมหภาค (Macroeconomics) ทําการวิเคราะหผลดีและผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับภาครัฐ รวมทั้งระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยหากมีการนําเอาโครงการบานพอเพียงมาใชเปนนโยบายจัดสรรที่อยูอาศัยใหแกประชาชน โดยจะทําการวิเคราะหผลดีที่จะเกิดขึ ้นกับระบบเศรษฐกิจมหภาคของประเทศจากการเปลี่ยนแปลงรายจายที่เปนองคประกอบของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product) หรือ GDP ไดแก รายจายเพื่อการลงทุน (Private Investment Expenditure) ซึ่งวัดโดยมูลคาอสังหาริมทรัพยที่ถูกสรางขึ้นใหม ในที่นี้ไดแกบานพอเพียงจํานวน 60,000 หนวย หลังหักเงินอุดหนุนจากภาครัฐ661


มูลคารวม 55,200 ลานบาท รายจายภาครัฐบาล (Government Expenditure) ซึ่งวัดโดยเงินอุดหนุนโครงการจากภาครัฐเปนเงินทั้งสิ้น 4,800 ลานบาท และมูลคาการนําเขาน้ํามันดิบ (Import) ซึ่งวัดโดยมูลคาการนําเขาที่ลดลงจากการประหยัดไฟฟาของบานพอเพียง ผลดีที่เกิดจากการจางงานที่สูงขึ้น รวมไปถึงผลดีทางออมที่เกิดจากโอกาสในการจัดเก็บภาษีเงินไดนิติบุคคลจากหนวยธุรกิจที่จะไดรับผลประโยชนจากโครงการมากขึ้น นอกจากนี้จะทําการวิเคราะหผลเสียจากการที่ภาครัฐตองรับภาระในการอุดหนุนตนทุนในการสรางบานพอเพียงอีกดวยการวิเคราะหในระดับมหภาคสามารถสรุปสิ่งที่จะศึกษาและวิธีการศึกษาไดดังนี้1. ผลดีกับเศรษฐกิจมหภาคของประเทศ1.1 มูลคาการนําเขาลดลงวิเคราะหผลดีจากการดําเนินโครงการบานพอเพียงที่เกิดขึ้นกับเศรษฐกิจมหภาคของประเทศในแงที่ทําใหมูลคาการนําเขาของประเทศลดลง เนื่องจากบานพอเพียงสามารถประหยัดการใชไฟฟาจากการใชเครื่องปรับอากาศไดมากกวาบานโดยทั่วไปลักษณะดังกลาวยอมทําใหปริมาณการใชไฟฟาของประเทศลดลง ทําใหสามารถลดปริมาณน้ํามันดิบ (Crude Oil) ที่ตองใชในการผลิตกระแสไฟฟาได ทั้งนี้เปนที่ทราบกันดีวาประเทศไทยตองนําเขาน้ํามันดิบจากตางประเทศเนื่องจากปริมาณการผลิตในประเทศไมเพียงพอกับปริมาณความตองการใช ดังนั้น การที่ประเทศสามารถลดการใชน้ํามันดิบลงไดยอมทําใหประเทศสามารถลดการนําเขาไดนั่นเอง สําหรับวิเคราะหในสวนนี้จะทําการคํานวณมูลคาการนําเขาที่สามารถลดลงไดจากการที่รัฐบาลดําเนินนโยบายบานพอเพียง ทั้งนี้มีขอสมมติวาบานพอเพียงทั้ง 60,000 หนวย สามารถจําหนายไดทั้งหมดผลวิเคราะหมูลคาการนําเขาลดลง การดําเนินโครงการบานพอเพียงจะทําใหมูลคาการนําเขาของประเทศลดลงเนื่องจากบานพอเพียงสามารถประหยัดการใชไฟฟาจากการใชเครื่องปรับอากาศไดมากกวาบานโดยทั่วไป ทําใหปริมาณการใชไฟฟาของประเทศลดลง สงผลทําใหสามารถลดปริมาณน้ํามันดิบที่ตองใชในการผลิตกระแสไฟฟาได และ การที่ประเทศสามารถลดการใชน้ํามันดิบลงไดยอมทําใหประเทศสามารถลดการนําเขาไดนั่นเอง หากสมมติใหบานพอเพียงทั้ง 60,000 หนวย สามารถจําหนายไดทั้งหมด และผูซื้อทุกรายอยูในเกณฑที่ตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในอัตรารอยละ 10 จะสามารถคํานวณมูลคาการสงออกที่ลดลงไดดังนี้- จากการคํานวณขางตน พบวาบานพอเพียงสามารถประหยัดคาไฟฟาจากการเปดเครื่องปรับอากาศไดเดือนละ 700บาท- จากขอมูลของการไฟฟานครหลวง (2552) พบวาคาไฟฟา 700 บาทตอเดือน เทียบเทาไดกับปริมาณไฟฟาประมาณ209 กิโลวัตตตอเดือน ทั้งนี้มีขอสมมติวาบานแตละหลังเปดเครื่องปรับอากาศทุกวันๆ ละ 10 ชั่วโมง ดังนั้น ใน 1 ป บานพอเพียง1 หนวย สามารถประหยัดไฟฟาไดประมาณ 2,508 กิโลวัตต- หากสมมติใหบานพอเพียงทั้ง 60,000 หนวย จําหนายไดหมด เทากับวาใน 1 ป ประเทศจะสามารถประหยัดไฟฟาไดถึง 150,480,000 กิโลวัตต หรือเทากับ 150,480 เมกกะวัตต- จากขอมูลของ International Dark Sky Association แหงเมือง Tucson รัฐ Arizona ประเทศสหรัฐอเมริกา พบวาน้ํามันดิบ 1 บารเรล สามารถผลิตกระแสไฟฟาได 556 กิโลวัตต (IDA, 1990) ดังนั้น เทากับวาโครงการบานพอเพียงจะทําใหประเทศสามารถประหยัดการนําเขาน้ํามันดิบไดถึง 270,647.48 บารเรลตอป- หากใชราคาน้ํามันดิบ ณ ปจจุบัน ตามตลาด New York Mercantile Exchange หรือ NYMEX (วันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2552 เวลา 10.30 น.) ซึ่งมีราคาประมาณ 42.88 ดอลลารสหรัฐตอ 1 บารเรล (NYMEX, 2009) เทากับวาประเทศไทยสามารถลดมูลคาการนําเขาในสวนของน้ํามันดิบไดถึง 11,605,364.03 ดอลลารสหรัฐตอป662


- หากอัตราแลกเปลี่ยนปจจุบัน (วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2552) เทากับ 35.05 บาทตอ 1 ดอลลารสหรัฐ (Bank ofThailand, 2009) เทากับวาประเทศไทยสามารถลดมูลคาการนําเขาไดถึง 406,768,009.21 บาทตอป หรือประมาณ 407 ลานบาทตอปนั่นเอง1.2 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศสูงขึ้นวิเคราะหผลดีที่จะเกิดขึ้นกับระบบเศรษฐกิจมหภาคของประเทศจากการเปลี่ยนแปลงรายจายที่เปนองคประกอบของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product) หรือ GDP ไดแก รายจายเพื่อการลงทุน (Private InvestmentExpenditure) ซึ่งวัดโดยมูลคาอสังหาริมทรัพยที่ถูกสรางขึ้นใหม ในที่นี้ไดแกบานพอเพียงจํานวน 60,000 หนวย หลังหักเงินอุดหนุนจากภาครัฐ มูลคารวม 55,200 ลานบาท รายจายภาครัฐบาล (Government Expenditure) ซึ่งวัดโดยเงินอุดหนุนโครงการจากภาครัฐเปนเงินทั้งสิ้น 4,800 ลานบาท และมูลคาการนําเขา (Import) ซึ่งวัดโดยมูลคาการนําเขาที่ลดลงจากการประหยัดไฟฟาของบานพอเพียง ทั้งนี้จะทําการประมาณการเพิ่มขึ้นของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศหากกําหนดใหรายจายที่เปนองคประกอบทั้งสามประเภทดังกลาวเปลี่ยนแปลงไป สําหรับเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหในสวนนี้จะใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เปนหลักผลการวิเคราะหจากการประมาณสมการมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศโดยวิธีวิเคราะหการถดถอยพหุคูณโดยกําหนดใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศขึ้นอยูกับรายจายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน รายจายเพื่อการลงทุนของภาคเอกชน รายจายภาครัฐบาล มูลคาการสงออก และมูลคาการนําเขาจากผลลัพธขางตน พบวาสมการถดถอยที่ไดสามารถอธิบายความแปรปรวนในตัวแปรตามซึ่งไดแก มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ไดถึงรอยละ 99 โดยสมการโดยรวมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีคาสถิติ F เทากับ706.327 และมีคา P-Value เทากับ 0.000 นอกจากนี้เมื่อพิจารณาปญหา Autocorrelation ซึ่งเปนปญหาทางสถิติที่มักเกิดขึ้นกับการวิเคราะหขอมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) ดวยคาสถิติ Durbin-Watson พบวาคาสถิติดังกลาวมีคาเทากับ 1.880 ซึ่งใกลเคียงกับ 2.000 มาก ดังนั้นจึงสรุปไดวาสมการถดถอยที่ไดไมมีปญหา Autocorrelationเมื่อพิจารณานัยสําคัญของตัวแปรอิสระแตละตัว พบวาตัวแปรที่มีอิทธิผลกับมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีเพียง 5 ตัว ไดแก รายจายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน (C) รายจายเพื่อการลงทุนของภาคเอกชน (I) มูลคาการสงออก (X) มูลคาการนําเขา (M) และผลของฤดูกาลในไตรมาสที่ 2 (Q2) โดยมีรายละเอียดดังนี้- คาสัมประสิทธิ์การถดถอยของรายจายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชนเทากับ 0.961 หมายถึง หากรายจายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชนเพิ่มขึ้น 1 ลานบาท มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะเพิ่มขึ้น 0.961 ลานบาทนั่นเอง- คาสัมประสิทธิ์การถดถอยของรายจายเพื่อการลงทุนของภาคเอกชนเทากับ 0.791 หมายถึง หากรายจายเพื่อการลงทุนของภาคเอกชนเพิ่มขึ้น 1 ลานบาท มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะเพิ่มขึ้น 0.791 ลานบาทนั่นเอง- คาสัมประสิทธิ์การถดถอยของมูลคาการสงออกเทากับ 0.700 หมายถึง หากมูลคาการสงออกเพิ่มขึ้น 1 ลานบาท มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะเพิ่มขึ้น 0.700 ลานบาทนั่นเอง- คาสัมประสิทธิ์การถดถอยของมูลคาการนําเขาเทากับ -0.558 หมายถึง หากมูลคาการนําเขาลดลง 1 ลานบาทมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะเพิ่มขึ้น 0.558 ลานบาทนั่นเอง- คาสัมประสิทธิ์การถดถอยของผลของฤดูกาลในไตรมาสที่ 2 เทากับ -<strong>13</strong>,919.291 หมายถึง ผลของฤดูกาลในไตรมาสที่ 2 ทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศในไตรมาสดังกลาวต่ํากวาไตรมาสอื่นๆ ประมาณ <strong>13</strong>,919 ลานบาท- สําหรับตัวแปรตัวอื่นๆ ซึ่งไมมีอิทธิพลตอมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ไดแก รายจายภาครัฐบาล แนวโนมเวลา ผลของฤดูกาลในไตรมาสที่ 1 และผลของฤดูกาลในไตรมาสที่ 3 สามารถตัดออกจากสมการถดถอยพหุคูณได663


ทําใหไดสมการของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศดังนี้GDP = 0.961C + 0.791I + 0.700X – 0.588M – <strong>13</strong>,919.291Q2จากสมการมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศขางตน สามารถคํานวณการเพิ่มขึ้นของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจากการที่รัฐบาลดําเนินโครงการบานพอเพียง โดยมีขอสมมติคือ บานพอเพียงทั้ง 60,000 หนวยจําหนายไดหมดไดดังนี้1.จากขอมูลขางตน การดําเนินโครงการบานพอเพียงจะทําใหมีรายจายเพื่อการลงทุนของภาคเอกชนเพิ่มขึ้น55,200 ลานบาท ดังนั้นจะไดวามูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะเพิ่มขึ้นเทากับ 43,663.20 ลานบาทในชวงเวลาที่ดําเนินโครงการ (ชวงเวลา 2 ป คือ พ.ศ. 2552 – 2554)2.จากขอมูลขางตน การดําเนินโครงการบานพอเพียงจะทําใหมีมูลคาการนําเขาลดลง 407 ลานบาทตอป ดังนั้นจะไดวามูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะเพิ่มขึ้นเทากับ 239.32 ลานบาทตอป1.3 การจางงานในประเทศสูงขึ้นทําการวิเคราะหผลดีจากการดําเนินโครงการบานพอเพียงในแงของการเพิ่มการจางงานในประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากการดําเนินโครงการจะทําใหเกิดการจางงานเปนจํานวนมากทั้งแรงงานมีทักษะ (Skilled Labor) เชน วิศวกร สถาปนิก และแรงงานไรทักษะ (Unskilled Labor) เชน ชางกอสราง กรรมกรผลการวิเคราะหการดําเนินโครงการบานพอเพียงจะทําใหเกิดการจางงานเปนจํานวนมากทั้งแรงงานมีทักษะ (SkilledLabor) เชน วิศวกร สถาปนิก และแรงงานไรทักษะ (Unskilled Labor) เชน ชางกอสราง กรรมกร แมวาจะไมสามารถคํานวณอัตราการวางงานที่ลดลงจากการดําเนินโครงการได แตก็เพียงพอที่จะสรุปไดวาการวางงานจะตองลดลงอยางแนนอน เนื่องจากโครงการดังกลาวเปนโครงการขนาดใหญ ตองใชกําลังแรงงานจํานวนมากดังกลาวขางตน ลักษณะดังกลาวยอมสงผลดีตอเศรษฐกิจมหภาคของประเทศในแงที่จะทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเพิ่มสูงขึ้น ทั้งเปนไปตามกฎของ Okunหรือ Okun’s Law ซึ่งกลาววา หากอัตราการวางงานเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะทําใหผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศในรูปของคาที่แทจริงลดลงรอยละ 2 (Bernanke, 2002) ดังนั้น การที่โครงการบานพอเพียงจะทําใหเกิดการจางงาน หรืออีกนัยหนึ่งคือ การวางงานลดลง ยอมสงผลทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้นในที่สุดอัตราการวางงานลดลงไมไดสงผลดีเฉพาะตอมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเทานั้น หากแตยังสงผลตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ตลอดจนความกินดีอยูดีของประชาชนในประเทศอีกดวย ซึ่งจะสงผลดีในทุกๆ ดาน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในที่สุดผลดีกับภาครัฐบาลทําการวิเคราะหผลดีทางออมที่รัฐบาลจะไดรับจากการดําเนินโครงการบานพอเพียงในแงที่โครงการดังกลาวทําใหหนวยธุรกิจที่เกี่ยวของมีรายไดจากการขายสินคาและบริการมากขึ้น ซึ่งจะทําใหรัฐบาลมีโอกาสในการจัดเก็บภาษีเงินไดนิติบุคคลไดมากขึ้น อยางไรก็ตามจะไมทําการวิเคราะหผลดีที่อาจเกิดขึ้นจากการที่การดําเนินโครงการซึ่งทําใหรัฐบาลสามารถจัดเก็บภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดมากขึ้น แมวาการดําเนินโครงการจะทําใหการจางงานมากขึ้นซึ่งหมายถึงการที่คนมีรายไดมากขึ้น เนื่องจากแรงงานสวนใหญที่มีรายไดจากโครงการจะเปนแรงงานไรทักษะ เชน กรรมกร ชางกอสราง ซึ่งมีรายไดหลังหักคาใชจายไมถึงเกณฑที่จะตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ดังนั้นการที่คนกลุมนี้มีงานทําจึงไมทําใหโอกาสในการจัดเก็บภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาของรัฐบาลเพิ่มขึ้นแตอยางใด สําหรับแรงงานมีทักษะ เชน วิศวกร สถาปนิก แมจะมีรายไดมากขึ้นจากโครงการดังกลาว แตก็มีปริมาณนอย ดังนั้นภาษีที่อาจจัดเก็บไดจากแรงงานกลุมนี้จึงไมมากนักหากเทียบกับรายไดภาษีทั้งหมด664


ผลการวิเคราะหรัฐบาลจะไดรับผลดีทางออมจากการดําเนินโครงการบานพอเพียงในแงที่โครงการดังกลาวทําใหหนวยธุรกิจที่เกี่ยวของ เชน ธุรกิจวัสดุกอสราง รับเหมากอสราง ตกแตงภายใน เฟอรนิเจอร สาธารณูปโภคตางๆ รวมไปถึงธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางบานและที่อยูอาศัย มีรายไดจากการขายสินคาและบริการมากขึ้น ซึ่งจะทําใหรัฐบาลมีโอกาสในการจัดเก็บภาษีเงินไดนิติบุคคลไดมากขึ้น รายไดจากภาษีเงินไดนิติบุคคลที่จัดเก็บไดมากขึ้นจะสามารถนําไปชดเชยรายไดภาษีที่ลดลงจากการใหสิทธิพิเศษทางภาษีแกผูเขารวมโครงการบานพอเพียงและรายจายเพื่ออุดหนุนโครงการบานพอเพียงไดระดับหนึ่งผลเสียกับภาครัฐบาลทําการวิเคราะหภาระทางการเงินที่รัฐบาลตองเปนผูแบกรับจากการดําเนินโครงการบานพอเพียงทั้งในสวนของรายจายภาครัฐบาลที่มากขึ้นจากการอุดหนุนโครงการและรายไดภาษีบุคคลธรรมดาที่ลดลงจากการใหสิทธิพิเศษทางภาษีแกผูที่เขารวมโครงการบานพอเพียง ในการนี้จะทําการคํานวณรายจายภาครัฐบาลที่มากขึ้นและรายไดภาษีที่ลดลง ตลอดจนผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับงบประมาณรัฐบาล ทั้งนี้มีขอสมมติวาบานพอเพียงทั้ง 60,000 หนวย สามารถจําหนายไดทั้งหมดและผูซื้อทุกรายอยูในเกณฑที่ตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในอัตรารอยละ 10ผลการวิเคราะหการดําเนินโครงการบานพอเพียงจะสงผลเสียแกภาครัฐในแงที่ทําใหเกิดภาระทางการเงินที่รัฐบาลตองเปนผูแบกรับจากการดําเนินโครงการดังกลาวทั้งในสวนของรายจายภาครัฐบาลที่มากขึ้นจากการอุดหนุนโครงการและรายไดภาษีบุคคลธรรมดาที่ลดลงจากการใหสิทธิพิเศษทางภาษีแกผูที่เขารวมโครงการบานพอเพียง ทั้งนี้ อาจแยกวิเคราะหภาระทางการเงินที ่รัฐบาลตองแบกรับจากการดําเนินโครงการไดเปน 2 สวนดังนี้- รัฐบาลจะตองมีรายจายภาครัฐบาลเปนจํานวนเงินที่มากขึ้นซึ่งเกิดจากการอุดหนุนโครงการบานพอเพียงรวม60,000 หนวยๆ ละ 80,000 บาท รวมเปนเงินอุดหนุนทั้งสิ้น 4,800 ลานบาท ทั้งนี้การที่ภาครัฐมีรายจายที่มากขึ้นเชนนี้อาจสงผลใหงบประมาณรัฐบาลขาดดุลได- รัฐบาลจะตองสูญเสียรายไดภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาเปนจํานวนมากจากการใหสิทธิพิเศษทางภาษีแกผูเขารวมโครงการบานพอเพียงในการนําเอาคาใชจายในการซื้อบานรวมทั้งดอกเบี้ยที่ตองชําระเงินกูซื้อบานไปหักลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ทั้งนี้จากการวิเคราะหขางตนพบวาจากการเขารวมโครงการ (ซึ่งในที่นี้คือการซื้อบานพอเพียงนั่นเอง) ผูบริโภคสามารถนําเงินตนของเงินกูซื้อบานจํานวน 920,000 บาทไปลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาไดเปนจํานวน 300,000 บาทดังนั้นจะไดคืนภาษีสูงสุดถึง 30,000 บาทตอคน หากกําหนดใหบานพอเพียงทั้ง 60,000 หนวย สามารถจําหนายไดทั้งหมด และผูซื้อทุกรายอยูในเกณฑที่ตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในอัตรารอยละ 10 จากลักษณะดังกลาวจะทําใหภาครัฐตองสูญเสียรายไดจากใหสิทธิพิเศษดังกลาวเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 1,800 ลานบาทอยางไรก็ตาม ภาระทางการเงินที่เกิดจากการใหสิทธิแกผูบริโภคในการนําเอาดอกเบี้ยเงินกูซื้อบานมาลดหยอนภาษีไดไมเกิน 100,000 บาทตอปนั้นไมถือเปนภาระทางการเงินที่ภาครัฐตองแบกรับจากการดําเนินโครงการบานพอเพียง ทั้งนี้เนื่องจากเปนนโยบายที่ภาครัฐใชมาเปนระยะเวลานานแลวและใหสิทธิแกผูบริโภคที่กูเงินเพื่อซื้อหรือสรางบานและที่อยูอาศัยทุกประเภททุกโครงการ ดังนั้นจึงไมถือเปนภาระทางการเงินที่เกิดจากโครงการบานพอเพียงแตอยางใดสรุปผลการวิจัยจากการวิเคราะหดวยวิธีตางๆ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ถึงผลดีและผลเสียของบานพอเพียงหากภาครัฐจะนําเอาแนวคิดในการสรางบานพอเพียงมาดําเนินการสรางเปนโครงการที่อยูอาศัยสําหรับคนที่มีรายไดไมมากนัก ซึ่งจากการวิเคราะหพบวาผลดีที่ไดรับมีมากกวาผลเสียที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งผลดีที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว ทั้งในระดับผูบริโภคและในระดับเศรษฐกิจมหภาค ตัวอยางเชน การประหยัดคาไฟฟาของผูบริโภค การประหยัดการใชพลังงานของประเทศ ทําใหปริมาณการใชและการนําเขาน้ํามันดิบลดลง มูลคาการสงออกลดลง ทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้น665


อยางไรก็ตาม หากพิจารณามูลคาการนําเขาที่ลดลงจากการดําเนินโครงการบานพอเพียงซึ่งเทากับ 407 ลานบาทตอปตัวเลขดังกลาวอาจดูเปนจํานวนที่ไมมากนัก เมื่อเทียบกับมูลคาการนําเขาของประเทศไทยที่มีมูลคาเกินกวา 5.5 ลานบาทในปพ.ศ. 2550 ที่ผานมา (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2552) อยางไรก็ตาม ตองไมลืมวามูลคาการนําเขาที่ลดลงดังกลาวเกิดจากการที่มีบานพอเพียงจํานวนเพียง 60,000 หนวย หรืออีกนัยหนึ่งคือ 60,000 ครัวเรือน ซึ่งคิดเปนเพียงรอยละ 0.32 ของครัวเรือนทั้งหมดในประเทศไทย ซึ่งมีอยูเปนจํานวน 18.9 ลานครัวเรือน (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2552)ดังนั้นหากรัฐบาลสามารถขยายจํานวนบานพอเพียงไดมากขึ้นเรื่อยๆ ประเทศไทยก็จะสามารถประหยัดกระแสไฟฟาไดมากขึ้นสามารถลดปริมาณการใชน้ํามันดิบในการผลิตกระแสไฟฟาไดมากขึ้น สามารถลดการนําเขาน้ํามันดิบไดมากขึ้น ทําใหมูลคาการนําเขาลดลงยิ่งขึ้น และสงผลทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศมากขึ้นในที่สุด ตัวอยางเชน หากมีการขยายจํานวนบานพอเพียงไดถึง 1 ลานหนวย (หรือ 1 ลานครัวเรือน) ประเทศไทยจะสามารถประหยัดการใชน้ํามันไดถึง 4,510,791.37 บารเรลตอป ทําใหมูลคาการนําเขาลดลงถึง 6,779.47 ลานบาท ซึ่งจะทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้นถึง 3,782.94ลานบาทตอปนอกจากนี้ การประหยัดไฟฟาของบานพอเพียงยังสงผลทางออมที่ทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้นเนื่องจากจะทําใหรายจายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชนเพิ่มขึ้นอีกดวย จากที่ไดกลาวไวขางตนวาผูบริโภคที่เขารวมโครงการบานพอเพียงจะไดรับผลดีจากการที่สามารถประหยัดคาไฟฟาจากการเปดเครื่องปรับอากาศไดถึง 8,400 บาทตอป การที่ผูบริโภคสามารถลดคาใชจายไดก็เทากับกับวาเขามีรายไดเพื่อซื้อสินคาและบริการมากขึ้น ซึ่งเปนที่แนนอนวาผูบริโภคยอมใชเงินที่เพิ่มขึ้นนี้สวนหนึ่งเพื่อการบริโภค การที่ผูบริโภคมีการใชจายเพื่อการบริโภคมากขึ้นยอมทําใหมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งจากการวิเคราะหการถดถอยขางตนพบวาหากผูบริโภคมีรายจายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 1 ลานบาทมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะเพิ่มขึ้นถึง 0.961 ลานบาทจากที่กลาวมาทั้งหมดจึงเพียงพอที่จะสรุปไดวาบานพอเพียงเหมาะสมเปนอยางยิ่งที่ภาครัฐจะนําเอาไปพัฒนาเปนโครงการที่อยูอาศัยใหกับประชาชนในประเทศไทย ไมวาจะเปนทางดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือการชวยลดภาวะโลกรอน ประหยัดพลังงาน อีกทั้งประโยชนในระยะยาวที่ประเทศไทยจะไดรับจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความสามารถในการพึ่งพาตนเองในทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจในที่สุด666


บานพักอาศัยเพื่อแกปญหาสภาวะโลกรอน : กรณีศึกษาบานสูโลกรอนSINGLE HOUSE FOR GLOBAL WARMING CASE STUDY ECO HOMEหวานทิพย พงษประพันธหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเมื่อมองถึงสภาวะแวดลอมในอดีตจะพบวาบานไทยในอดีตนั้นมีสภาวะนาสบาย อุณหภูมิภายในบานและภายนอกแทบไมแตกตางกัน แตปจจุบันภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับสภาวะโลกรอนที่สงผลกระทบตอสภาพภูมิอากาศที่รอนขึ้น เกิดมลภาวะเปนพิษตางๆ ปจจุบันปญหาสภาวะโลกรอนจึงเปนปญหาที่มนุษยพยายามหยุดยั้งปญหาสภาวะโลกรอน เปนปญหาที่ทั่วโลกตางตระหนักและรับรูถึงผลกระทบที่สงผลตอมนุษยชาติ ปญหาโลกรอน (Global Warming) คือ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เกิดจากการกระทําของมนุษยที่ทําใหอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกรอนเพิ่มสูงขึ้น มนุษยทําใหเกิดสภาวะโลกรอนโดยกิจกรรมที่ทําใหปริมาณเรือนกระจกในบรรยากาศเพิ่มขึ้น สาเหตุของการเกิดสภาวะโลกรอนไมไดมาจากอุตสาหกรรมหรือจากประเทศที่พัฒนาแลวเปนหลัก แตเราทุกคนบนพื้นผิวโลก ตางก็เปนสวนหนึ่งของตนเหตุที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอน เพราะการใชชีวิตประจําวันของเรา ไมวาจะเปนการใชไฟฟา การเดินทาง การขนสง การบริโภค การสรางที่พักอาศัยลวนมีสวนสําคัญในการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดขึ้นสูชั้นบรรยากาศ อันสงผลใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นอยางตอเนื่องและเกิดภัยธรรมชาติบอยขึ้น แตในทางกลับกันการพัฒนาธุรกิจจําเปนตองดําเนินตอไป ซึ่งการลงทุนในเรื่องสิ่งปลูกสรางยอมสงผลตอการใชพลังงานและทรัพยากรที่มีอยู ในป 2550 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดจัดทําคูมือ 80 วิธีหยุดโลกรอนขึ้นมาเพื่อเนื่องในวันสิ่งแวดลอมโลกประจําป 2550 ระบุบทบาทหนาที่ของสถาปนิกและนักออกแบบในการชวยหยุดโลกรอน คือ ออกแบบพิมพเขียวบานพักอาศัยที่สามารถชวย “หยุดโลกรอน” การลดปริมาณกาซเรือนกระจก โดยคํานึงถึงการติดตั้งระบบการใชพลังงานที่งาย ไมจําเปนตองใชเทคโนโลยีสูงๆ แตใชงานไดจริง“บาน”ถือวาเปนหนึ่งในปจจัยพื้นฐานที่มีความจําเปนสําหรับมนุษยในทุกยุคทุกสมัย ซึ่งเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงวัฒนธรรม สภาพเศรษฐกิจ ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการและการจัดการทรัพยากรเขามาใชใหเกิดประโยชนในยุคสมัยนั้นๆ ซึ่งในสถานการณปจจุบันนี้ บานพักอาศัยควรเนนถึงวัสดุและการออกแบบที่ใสใจสุขภาพของผูอาศัย รวมถึงสิ่งแวดลอมดวยบานสูโลกรอน คือตัวอยางบานที่ออกแบบมาเพื่อลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งของการเกิดภาวะโลกรอน เนื่องจากในสภาวะเศรษฐกิจปจจุบันที่คาใชจายดานพลังงานสูงขึ้นทุกวันการหาวิธีประหยัดพลังงานจึงเปนสิ่งสําคัญ ทั้งยังเปนการชวยโลกที่กําลังเผชิญกับวิกฤติการณโลกรอนอีกทางหนึ่ง บานสูโลกรอนไดรับการสรางสรรคจากผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณยาวนานกวา 30 ป นับเปนนวัตกรรมสรางสรรคบานยุคใหมที่เนนความสะดวกสบาย คุณภาพชีวิตสูงการกอสรางรวดเร็ว ราคาประหยัด บํารุงรักษางาย ประโยชนใชสอยครบครัน โดยผสมผสานความงาม ทันสมัยอยางลงตัว ซึ่งเปนการออกแบบสําหรับภูมิประเทศแถบรอนชื้นโดยเฉพาะ (สุนทร บุญญาธิการ, 2552)667


1. แนวคิดหลักของบานสูโลกรอน1.1 การออกแบบที่มีการเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับ เมืองรอนชื้น (กันแดด กันฝนกันความรอน กันความชื้น)1.2 การใชวัสดุโฟม Recycleที่เหมาะสมสําหรับภูมิอากาศรอนชื้น สามารถกันความรอน ความชื้นไดดี1.3 การใชเทคนิคการกอสรางที่ลดความยุงยาก วัสดุเปนเม็ดโฟมคอนกรีตเปนหลัก1.4 การเลือกอุปกรณประหยัดพลังงาน1.5 เนนการปรุงแตงสภาพแวดลอมที่เหมาะ ภาพแสดงแบบจําลองบานสูโลกรอนสมและบํารุงรักษาต่ํา2. เทคนิคการกอสราง2.1 เปลือกอาคารและผนังรับน้ําหนัก (Load bearing wall system) คือวัสดุเม็ดโฟมคอนกรีต หนา 8นิ้ว ประกอบกับไดปรับเปลี่ยนเทคนิคการกอสรางใหมีประสิทธิภาพ2.2 วัสดุที่ใชในการกอสรางเปนวัสดุปองกันปลวก 100% จึงลดความจําเปนในการปองกันปลวกใหกับผนังและตัวบาน2.3 บานหลังนี้ออกแบบพิเศษ ทําใหน้ําหนักของบานลดลงกวาบานทั่วไป 4 เทา เปนการประหยัดคาใชจายในการกอสราง2.4 การออกแบบการกอสรางใหเปนแผงขนาดใหญและเล็ก เพื่อใหการกอสรางสะดวกและรวดเร็วขึ้น โดยบานจะสรางเสร็จภายใน 1 เดือน ดวยเหตุดังกลาวจึงเปนบานที่ตอบสนองความตองการใชรวดเร็วทันใจ ความตองการของคนรุนใหมและสามารถสรรหาสิ่งตกแตงใหเหมาะสมกับตัวบานได2.5 ขั้นตอนการออกแบบกอสรางเปนการใชวัสดุแบบ single material ไมมีเสา ไมมีคาน2.6 ระบบภายในและภายนอกตัวบานมีการนําเอาทุนธรรมชาติอันไดแก แสงธรรมชาติ ตนไม สายลมแสงแดด มาใชประโยชน3. วัสดุสวนประกอบที่สําคัญของตัวบานประเทศไทยอยูในเขตรอนชื้น และมีฝนตกชุก โดยมีอุณหภูมิสูงเกือบตลอดป ปญหาใหญอยางหนึ่งของการออกแบบอาคารคือ การลดปริมาณความรอนที่จะเขามาในอาคาร จากการศึกษา (สุนทร บุญญาธิการ,2537) พบวาการที่จะนําเอาความเย็นตอนชวงกลางคืนมาใชกับกลางวันโดยอาศัยการหนวงเวลาของวัสดุนั้นทําไดยากมาก เพราความแตกตางอุณหภูมิระหวางกลางวันและกลางคืนมีไมมากพอ การลดปริมาณความรอน668


เทาที่เทคโนโลยียุคปจจุบันจะเอื้ออํานวย จึงเปนการควบคุมความรอนใหเขามาในอาคารใหนอยที่สุดเปนหลักและถาจะมองภาพรวมของวัสดุที่จะนํามาใชทําผนังภายนอกของอาคาร ควรมีลักษณะ ดังนี้คุณสมบัติทางดานประหยัดพลังงานและการกันความชื้น- มีความสามารถในการกันความรอนไดดี- ไมสะสมความรอนหรือไมมีความจุความรอนสูงคุณสมบัติในการกอสรางและระบบเศรษฐกิจ- มีน้ําหนักเบา- ทํางานงาย- บํารุงรักษาต่ําและมีความทนทานสูงคุณสมบัติทางดานที่เกี่ยวกับสภาพแวดลอม- ไมเปนอันตรายตอสุขภาพและสภาพแวดลอม- มีความสวยงามและทนทาน3.1 ผนังบานสูโลกรอน ใชวัสดุที่เหมาะสมสําหรับภูมิอากาศรอนชื้นอยางประเทศไทย เลือกกรอบอาคารที่มีคุณสมบัติในการตานทานความรอนและความชื้นไดเปนอยางดี โดยสวนกรอบอาคารทั้งหมดเปนผนังเม็ดโฟมคอนกรีต หนา 8 นิ้ว (EPS foam concrete panel) และกระจกฉนวนกันความรอน (Insulated Glass) ที่คุณสมบัติปองกันรังสีอุลตราไวโอเล็ตคุณสมบัติที่สําคัญของวัสดุกอสรางที่ใชเปนเปลือกอาคาร หากมีน้ําหนักเบาก็อาจมีคุณสมบัติความเปนฉนวน และกักเก็บความรอนนอย ซึ่งจะเปนผลดีตอการประหยัดพลังงาน ดังนั้น จึงควรหาแนวทางที่จะปรับปรุงคุณภาพของวัสดุเบาใหมีคุณสมบัติอื่น เชน ทางดานการรับแรง เพื่อจะใชวัสดุเบา นํามากอสรางโดยเปนวัสดุชนิดเดียว (single material) สามารถนํามากอสรางเปลือกอาคารในสวนตางๆไดโดยสะดวก หรือตางกันเล็กนอยในการทําโครงสราง ชิ้นสวนของเปลือกอาคารตางๆ เชน พื้น ผนัง และหลังคาผนังโฟมคอนกรีต หนา 8 นิ้วเปนวัสดุรีไซเคิล (โฟมผสมกับซีเมนต)สามารถรับแรงไดสูง กันความรอนความชื้นไดดีเมื่อเปรียบเทียบกับผนังกออิฐ และผนังมวลเบา จะพบวาผนังโฟมคอนกรีตหนา 8 นิ้ว สามารถกันความรอนไดดีกวาบานทั่วไป 5เทาภาพแสดงโฟมคอนกรีตซึ่งใชในการสรางบานสูโลกรอน669


ภาพแสดงการเปรียบเทียบปริมาณการถายเทความรอนของผนังชนิดตางๆ(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)Form concrete ( 8 นิ้ว)จากกราฟแผนภูมิเปรียบเทียบปริมาณการถายเทความรอนของผนังชนิดตางๆ ทิศตะวันตก ในเดือนเมษายน พบวา ผนังบานสูโลกรอน ซึ่งกอสรางดวยผนังเม็ดโฟมคอนกรีตหนา 8 นิ้ว มีคาการถายเทความรอนนอยสุด หรือนอยกวา ผนังกออิฐฉาบปูนหนา 4 นิ้ว ประมาณ 5 เทา670


่่Btu/h.ft 2 o F0.600.500.400.300.200.100ภาพแสดงการเปรียบเทียบคุณสมบัติการถายเทความรอนของผนังชนิดตางๆ(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)ลดการถายเทความรอนการเปรียบเทียบคุณสมบัติการถายเทความรอนของผนังชนิดตางๆ ที่นิยมใชอยูในปจจุบัน พบวา ผนังเม็ดโฟมคอนกรีตมีคุณสมบัติการตานทานความรอนสูง ดังนั้นการเลือกวัสดุสําหรับบานสูโลกรอน จึงสามารถสกัดกั้นความรอนจากภายนอกเขาสูภายในอาคารได671


Btu/h.ft2 of usablearea4,000ผนังกออิฐมอญฉาบปูน 4 นิ้ว12Watt/m2 of usablearea12,6003,0003,0009,4502,0002,000ลดคาการใชพลังงานเกิดจากเปลือกอาคารถึง 6 เทา6,3001,0001,0003ผนังเม็ดโฟมคอนกรีต 8 นิ ้ว23,15000BRICK 0.10 ม.FOAM CONCRETE0.10 ม.FOAM CONCRETE0.20 ม.0ภาพแสดงการเปรียบเทียบอัตราสวนคาภาระการทําความเย็น Cooling load ของวัสดุผนัง ชนิดตางๆ(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)ภาระการทําความเย็นมีเปลือกอาคารเปนวัสดุเม็ดโฟมคอนกรีต หนา 8 นิ้ว สามารถลดคาการใชพลังงานที่เกิดจากเปลือกอาคารถึง 6 เทา โดยสามารถลดพลังงานในสวนผนังอาคารถึง 3,333 บีทียูตอชั่วโมงตอตารางฟุต (10,500 วัตตตอตารางเมตร) หรือประมาณ 6.5 เทา, สวนพื้นอาคารถึง 751 บีทียูตอชั่วโมงตอตารางฟุต (2,365.6 วัตตตอตารางเมตร) หรือประมาณ 7.5 เทา และสวนหลังคาอาคารถึง 3,998 บีทียูตอชั่วโมงตอตารางฟุต (12,593.7วัตตตอตารางเมตร) หรือประมาณ 4 เทา672


อุณหภูมิผิวภายนอก ผนังโฟมคอนกรีต 8 นิ้วอุณหภูมิผิวภายนอก ผนังกออิฐมอญ 4 นิ้วอุณหภูมิอากาศภายนอกอุณหภูมิผิวภายใน ผนังกออิฐมอญ 4 นิ้วอุณหภูมิผิวภายใน ผนังโฟมคอนกรีต 8 นิ้วอุณหภูมิอากาศภายในภาพแสดงการเปรียบเทียบอุณหภูมิผิวภายใน-ภายนอกของบานสูโลกรอนและบานทั่วไป(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)ประโยชนของการใชวัสดุโฟมคอนกรีตเปนองคประกอบโครงสรางบานสูโลกรอนโฟมเปนวัสดุเบา และอาจนํามาจากวัสดุใชแลวที่นํามาเขากระบวนการใหม เมื่อนํามาปรับปรุงประกอบการจัดระบบโครงสราง และรูปราง ตลอดจนหนาตัด และรายละเอียดอื่นๆ แลวอาจเปนคําตอบของวัสดุที่เหมาะสม งายตอการกอสราง และมีประสิทธิภาพดีในการรับแรง พรอมดวยคุณสมบัติการเปนฉนวนกันความรอน และความชื้นอยูในตัว จึงเปนนวัตกรรมใหม ในการเปนโครงสรางบานพักอาศัยประหยัดพลังงานโฟมคอนกรีต มีกระบวนการผลิต ที่เกิดจากการนําเม็ดโฟมมาผสมผสานเขายึดเกาะกับปูนซีเมนตไดเปนอยางดี โดยไมตองใชทราย ผลลัพธที่ไดคือ- ทําใหมีน้ําหนักที่เบา งายตอการใชงาน- เปนฉนวนปองกัน ความรอนและเสียง- ลดการใชพลังงานอยางสิ้นเปลือง- สามารถใชงานในการกอสรางไดทุกประเภท673


3.2 หลังคาบานสูโลกรอนใชวัสดุ Roof Panel หนา 6 นิ้ว ในการกอสรางอาคารสวนของหลังคา ทั้งยังใชในบางสวนของพื้นบานและพื้นระเบียงของบานสูโลกรอนอีกดวยภาพแสดงวัสดุที่ใชทําหลังคาบานสูโลกรอน(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)674


จากแผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบปริมาณการถายเทความรอนของหลังคาชนิดตางๆ ในเดือนเมษายน พบวาคาการถายเทความรอนของหลังคาบานสูโลกรอนซึ่งเปนวัสดุ Roof panel หนา 6 นิ้ว มีคาการถายเทความรอนนอยสุด นอยกวาประมาณ 6 เทาเมื่อเปรียบเทียบกับหลังคาซีแพคโมเนียที่มีชองวางอากาศ3.3 การเลือกใชกระจกภาพแสดงสวนประกอบของกระจก Low-E ซึ่งเปนวัสดุที่ใชในการกอสรางบานสูโลกรอนในการออกแบบอาคารทั่วไปนั้น มักจะไมมีการคํานึงถึงปญหาที่เกิดจากรังสีความรอนจากผิวกระจกไปยังผูใชอาคาร เนื่องจากกระจกเปนวัสดุที่มีคาการนําความรอนที่ดี จึงสามารถถายเทความรอนเขาสูอาคารไดมาก การนํากระจกมาใชในอาคารก็มีขอดี ในเรื่องการนําแสงธรรมชาติมาสูอาคารได ดังนั้นการเลือกใชกระจกจึงควรใชกระจกที่ยอมใหแสงธรรมาชาติเขาสูอาคารมากที่สุด แตความรอนเขามานอยที่สุด ในกรณีบานสูโลกรอน เลือกใชกระจกลามิเนต ที่ยอมใหแสงเขามาไดมาก แตความรอนเขามานอยบานสูโลกรอน ไดออกแบบบานกระจกหนาตางปองกันความรอนใหแสงสองถึงในชวงกลางวัน แตจะมีวัสดุพิเศษที่ปองกันความรอนเขาสูตัวบาน ทําใหบานมีอุณหภูมิเย็น ผลลัพธที่ไดจะทําใหลดการใชเครื่องปรับอากาศ โดยเลือกสรรกระจกพิเศษ เปนกระจกสีเขียวธรรมชาติ เคลือบภายในดวยสารที่มีคุณสมบัติการแผรังสีต่ํา(Low-E coating) มีความหนาถึง 10 ม.ม. ทําใหสามารถสกัดกั้นการทะลุทะลวงของรังสีอุลตราไวโอเล็ตและอินฟราเรดไดดี ทําใหผูอยูอาศัยปลอดภัยจากรังสีอุลตราไวโอเล็ตซึ่งเปนสาเหตุทําใหวัสดุมีสีซีดจางและเปนสาเหตุของโรคมะเร็งผิวหนังการใชแสงในบานแสงสะทอนจากทองฟาเปนแสงที่มีคุณภาพสูงและสม่ําเสมอดังนั้นการออกแบบแสงธรรมชาติควรเนนการนําแสงธรรมชาติจากทองฟามาใชรวมทั้งการใชแสงธรรมชาตินี้ยังสามารถลดการใชแสงประดิษฐหรือหลอดไฟตางๆใหนอยลงเปนแนวคิดในการอิงกับระบบธรรมชาติใหมากที่สุดในเวลากลางวัน โดยไมตองใชแสงจากหลอดไฟหรือแสงประดิษฐ แนวความคิดนี้ทําไดโดยควบคุมความสม่ ําเสมอของแสงสะทอนจากทองฟา675


(Indirect Light) และสภาพแวดลอมขางเคียง ซึ่งในการออกแบบพยายามใหมีแสงสะทอนเขาสูอาคารไดมากที่สุด โดยปราศจากแสงจากดวงอาทิตยโดยตรง (Direct Sun) ยกเวนเฉพาะในชวงเชาตรูและชวงเย็นการออกแบบไดใชทั้งสวนยื่นของอาคารแผงบังแดด ตนไมรอบๆบริเวณบานและเทคนิคอื่นๆที่เหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยงรังสีโดยตรงจากดวงอาทิตย ที่เมื่อสองทะลุหนาตางเขามาภายในบาน จะเกิดความจามากซึ่งเปนบรรยากาศที่ไมพึงปรารถนาสําหรับเขตรอนชื้น4. พื้นที่ใชสอย4.1 ชั้นที่ 1ภาพแสดงผังพื้นชั้นที่1 ของบานสูโลกรอน(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)ที่จอดรถ อยูบริเวณหนาบานไดประยุกตเทคนิคการออกแบบระบบกอสรางแบบไรเสาทําใหการจอดรถเปนไปไดโดยสะดวกถึง 2 คัน สําหรับบานขนาดเล็กภาพแสดงพื้นที่จอดรถโดยกอสรางแบบไรเสา676


ภาพแสดงพื้นที่หองรับแขกของบานสูโลกรอน ภาพแสดงพื้นที่ในสวนหองรับประทานอาหาร4.2 ชั้นที่ 2ภาพแสดงผังพื้นชั้นที่ 2 ของบานสูโลกรอน(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)หองนอน มีจํานวน 3 หอง เปนหองใตหลังคาที่เย็นสบาย เพราะระบบหลังคาของบานทั้งหลังไดสรรหาเทคนิคหลังคาที่สกัดกั้นความรอนจากดวงอาทิตยไดอยางสมบูรณแบบเปนหองที่เปดรับการระบายอากาศไดอยางดีในขณะเดียวกัน สวนหนึ่งของหลังคาไดเปดเปน moonroof สรางบรรยากาศภายในบานภาพแสดง moon roof ของหองนอนใหญ677


ภาพแสดงหองนอนของบานสูโลกรอน ภาพบรรยากาศหองทํางานภายในบานสูโลกรอนระเบียง รูปลักษณของบานจะเปนลักษณะที่โดดเดนแบบไทยประยุกตโดยมีระเบียง อยูทางดานหนา เหนือระเบียงเปนหลังคาที่มีมุมเอียงเหมาะสมเพื่อที่จะไดรับแสงอาทิตยที่ตกกระทบเซลลแสงอาทิตยบนหลังคาไดอยางเต็มที่เพื่อหาประโยชนจากเซลแสงอาทิตยที่มีมุมอยูบนหลังคาอยางสมบูรณภาพแสดงพื้นที่ระเบียงที่ของบานสูโลกรอน4.3 ชั้นใตหลังคาภาพแสดงผังพื้นหองใตหลังคาของบานสูโลกรอน(ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม, 2552)678


พื้นที่ชั้นใตหลังคา เหมาะแกการทํากิจกรรมทุกประเภท เชน การพบปะสังสรรค เลนกีฬาในรม บานหลังนี้ออกแบบโดยใช roof panelเพื่อที่จะสกัดกั้นความรอนไดทุกรูปแบบ เมื่อเปรียบเทียบความรอนหลังคากับบานทั่วไปภาพแสดงพื้นที่ใชงานในสวนหองใตหลังคาบานสูโลกรอนภาวะโลกรอนเปนปญหาที่สําคัญในปจจุบันมีสาเหตุมาจากการใชพลังงานในอาคารพักอาศัยและอาคารอื่นๆ “บาน” หนึ่งในปจจัยสี่ ที่จําเปนตอการดํารงชีพของมนุษยเปนหนึ่งในองคประกอบสําคัญในการสรางหนทางแกปญหาสภาวะโลกรอนดังกลาว อีกทั้งยังเปนการกาวไปสู “สังคมสีเขียวที่ยั่งยืน” ทั้งนี้บานหรือที่พักอาศัยเปนหนึ่งในแหลงปลอยมลพิษหลักมาหลายศตวรรษ จากนี้เทคโนโลยีใหมๆที่ทันสมัย จะตองถูกนํามาใชเพื่อที่การใชพลังงานในอาคารพักอาศัยหรือบานลดลง ซึ่งสอดคลองกับพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ที่อาคารพักอาศัยนั้นสามารถอยูไดดวยตนเองไมขึ้นอยูกับแหลงพลังงานใดๆ มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับสภาพอากาศรอนชื้น เชนประเทศไทย อีกทั้งยังสงเสริมคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัย ไดอยางยั่งยืนบานสูโลกรอนเปนบานที่ตอบคําถามคนรุนใหมไดครบวงจร ภายใตงบประมาณที่จํากัด และเพิ่มพูนคุณภาพชีวิตใหสูงกวาบานธรรมดาและคาดวาจะเปนจุดเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการออกแบบบานพักอาศัยสําหรับคนรุนใหมที่ตอบคําถามไดอยางครบวงจรบานสูโลกรอน เปนบานที่ออกแบบโดยใชจินตนาการที่ล้ํายุค นับเปนนวัตกรรมการสรางสรรคบานคุณภาพชีวิตยุคใหม ที่เนนทั้งความสุขสบาย คุณภาพชีวิตสูง การกอสราง ราคาประหยัด การบํารุงรักษาต่ําประโยชนใชสอยครบครัน ในขณะเดียวกันไดเลือกสรรวัสดุและเทคนิคการออกแบบที่นับวาเปนคําตอบแหงยุคอนาคตที่แทจริง ถาจะลงรายละเอียดถึงเทคนิคการออกแบบ จะพบวา ตั้งแตมองรูปลักษณของบาน จะเปนลักษณะที่โดดเดนแบบไทยประยุกตโดยมีระเบียงแบบไทย ๆ อยูทางดานหนา เหนือระเบียงเปนหลังคาที่ปรับมุมเพื่อหาประโยชนจากเซลลแสงอาทิตยที่อยูบนหลังคาอยางสมบูรณแบบโดยเนนใหเซลลแสงอาทิตยที่อยูบนหลังคามีประสิทธิภาพสูง ขณะเดียวกันก็มีฝุนเกาะนอย นับเปนรูปลักษณที่ทันสมัย เหมาะสําหรับการแกปญหาโลกรอนแหงยุคอนาคต เมื่อติดแผงเซลลแสงอาทิตยเต็มรูปแบบจะพบวา บานหลังนี้สามารถอยูไดโดยไมตองพึ่งพาแหลงพลังงานจากภายนอกบริเวณรอบบานไดสรรหาเทคนิคการออกแบบที่ใชทั้งวิทยาศาสตรและภูมิปญญาไทยผนวกเขาดวยกันทําใหบานเกิดความรมรื่นในทุกทิศทาง ทั้งยังมีการสัญจรรอบบาน เพื่อประโยชนในการออกกําลังกายชื่นชมความงามบริเวณบานและตรวจสอบความเรียบรอยรอบบานไดโดยสะดวก ที่จอดรถที่อยูบริเวณหนาบาน679


ไดประยุกตเทคนิคการออกแบบระบบกอสรางแบบไรเสาทําใหการจอดรถเปนไปไดโดยสะดวกถึง 2 คัน สําหรับบานขนาดเล็กหองน้ําสวนครัวภายนอกและสวนบริการของคนรับใช ไดแยกสัดสวนออกจากกัน ทําใหกลิ่นไมเขาบาน เพราะอยูในมุมที่อยูใตลมเกือบตลอดทุกฤดู เมื่อเขามาสูหองรับแขก จะพบบรรยากาศที่โลง โปรง สบายเย็น ไมมีแสงรบกวนสายตา ดวยเหตุที่บานหลังนี้ปราศจากเสาทําใหพื้นที่ใชสอยสามารถใชไดเต็มรูปแบบเมื่อขึ้นมาชั้นบนจะพบวาหองนอนใหญซึ่งเปนนวัตกรรมสูงสุดของโลกยุคอนาคต คือเปนหองใตหลังคาที่เย็นสบาย เพราะระบบหลังคาของบานทั้งหลังไดสรรหาเทคนิคหลังคาที่สกัดกั้นความรอนจากดวงอาทิตยไดอยางสมบูรณแบบ ในขณะเดียวกัน สวนหนึ่งของหลังคาไดเปดเปน moon roof เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตตอผูอยูอาศัยเทคนิคการออกแบบนี้ไดใชงานวิจัยเปนระยะเวลาอันยาวนานทําใหอุณหภูมิผิวโดยรอบของหองเย็นเทา ๆ กับอุณหภูมิของอากาศภายในดังจะพบวาเมื่ออยูในบานหลังนี้แลวจะรูสึกเย็นสบาย ไมวาจะปรับอากาศหรือไมปรับอากาศก็ตาม และนี้คือเอกลักษณของไทยเทาที่คนพบจากภูมิปญญาไทยคือการสรางสรรอุณหภูมิผิวโดยรอบตัวเราใหเย็นเทา ๆ อุณหภูมิอากาศ แนวคิดนี้ไดแตกตางจากบานทั่วไป ซี่งจะพบวาดวยความไมเขาใจดังกลาวทําใหอุณหภูมิผิวผนังและหลังคารอน ผูอยูอาศัยเกิดความไมสบายจึงเกิดการวิจัยและประยุกตใชจนเกิดเปนวัสดุยุคใหมที่ปองกันไดทั้งความรอนและความชื้นอยางสมบูรณแบบ ทําใหอุณหภูมิผิวโดยรอบของทุกหองอยูในเกณฑที่ไมรอนกวาอากาศภายนอกหรือใกลเคียงกับอากาศภายนอก เทคนิคดังกลาวไดเกิดจากการเลือกใชวัสดุกรอบอาคารเปนเม็ดโฟมคอนกรีตที่มีคุณสมบัติความเปนฉนวน ทําจากวัสดุRecycle จึงชวยลดปริมาณขยะที่ไมสามารถกําจัดไดมาใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบกับเทคนิคการกอสรางที่ใชวัสดุชนิดเดียว (Single Material) การนําวัสดุ recycle ของโฟมผสมกับซีเมนต โดยใชเทคนิคทางการวิจัยทําใหเกิดผนังยุคใหมที่กันไดทั้งความรอน ความชื้น ในขณะเดียวกันก็มีความแข็งแรงทนทานตอแรงสั่นสะเทือนและแรงลม เมื่อนําองคประกอบและแนวคิดทางงานวิจัยมาผสมผสานกัน จึงเกิดเปนบานพอเพียงสําหรับคนรุนใหมที่พรอมที่จะแกไขปญหาภาวะโลกรอน ขณะเดียวกันชีวิตความเปนอยูจะสุขสบาย มีการบํารุงรักษาต่ํา โดยเฉพาะตัวบานแลวเปนระบบแรกที่ไมตองเปนกังวลกับอิทธิพลของปลวกและแมลงเนื่องจากวัสดุที่ใชเปนองคประกอบของโฟมและซีเมนต ซึ่งนอกจากจะกันปลวกไดอยางดีแลว ยังสามารถกันไฟไดอยางยอดเยี่ยมดวย การบํารุงรักษาในบานหลังนี้จึงอยูในเกณฑ นอยหรือนอยมาก ในขณะที่เมื่อมีการใชเครื่องปรับอากาศ ใชเพียง 1 ตัวเทานั้น บานหลังนี้ก็จะเย็นสบายทั้งหลัง นับเปนการประหยัดพลังงานเปนการประหยัดพลังงานไดมากกวาบานทั่วไป ไมต่ํากวา 6 เทา บานหลังนี้ยังลดการปลดปลอยกาซ CO 2 ขึ้นสูชั้นบรรยากาศไดมากกวาบานธรรมดาถึง 6 เทา เชนกัน ดวยเทคนิคทั้งปวงนี้จะพบวาบานหลังนี้ สามารถกอสรางไดเร็วมาก โดยสภาวะปกติ สามารถทําใหสําเร็จไดภายในเวลาไมเกิน 1 เดือน ดวยนวัตกรรมการออกแบบอยางล้ํายุค บานสูโลกรอนา เปนแนวคิดที่สามารถไปประยุกตกับการออกแบบบานพักอาศัยไดอยางแทจริง680


บรรณานุกรมสุนทร บุญญาธิการ. บานชีวาทิตย บานพลังงานแสงอาทิตย เพื่อคุณภาพชีวิตผลิตพลังงาน.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.กฤษณะพล วัฒนวันยู. SUSTAINABLE DESIGN : การออกแบบอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ, 2546.ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร. สาระศาสตรสถาปตย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคการออกแบบบานประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกวา. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 2. กรุงเทพฯ: จีเอ็ม แม็ก มีเดีย จํากัด, 2545.สารี อองสมหวัง. พลวัตรและผลกระทบของปญหาที่อยูอาศัยของคนเมือง. กรุงเทพ: คณะสังคมสงเคราะหศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2533.681


แนวคิดในการใชแสงและน้ําออกแบบสปาเพื่อการสรางสรรคบรรยากาศConceptual using light and feature water for creating atmosphere of spaนางสาว ภัทรภร พันธุภักดีหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการสรางสรรคบรรยากาศใหกับสปา มีความสําคัญตอการรับรูและประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยมีตัวแปรที่มีความสําคัญและมีอิทธิพลตอความรูสึกอยูมาก จุดประสงคของวิทยานิพนธนี้ เพื่อศึกษาหาตัวแปร คาน้ําหนักของตัวแปรสูงสุด ที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคบรรยากาศ เพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมในการสรางสรรคบรรยากาศใหกับสปาวิธีวิจัย คือ การนําตัวแปรที่เกี่ยวของตอการรับรูในการสรางสรรคบรรยากาศในสปามาใชประกอบการเก็บขอมูลโดยการทําแบบสอบถาม นําขอมูลที่ไดเขาสูระบบกระบวนการวิเคราะหทางสถิติ โดยกลุมตัวอยาง อายุตั้งแต16 -45 ป ขึ้นไป โดยใชการสํารวจสปาทั้งหมด 25 แหง กระจายไปตามยานธุรกิจกลางเมือง เชน สีลม สาทร สุรวงศืสุขุมวิท นานา ทองหลอ เพลินจิต เปนตน แลวนํามาคัดเลือกกลุมตัวอยางเพียง 3 กลุมตัวอยาง โดยการทําแบบสอบถามขึ้นเพื่อการวิเคราะหทางสถิติอีกครั้งหนึ่ง โดยดูในเรื่องของตัวแปรใดบางที่ทําใหสปาดูสวยงาม มีการใหคะแนนตามความรูสึกจากคานอยที่สุดถึงมากที่สุด เปนคะแนน ที่ 1 ถึง 5 แลวนําผลที่ไดเขาสูกระบวนการทางสถิติตอไปผลการวิจัยพบวา ตัวแปรที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคบรรยากาศสปาบริเวณดานนอก คือ1 รูปฟอรมน้ําแตกกระจายเปนฟอง 2. เสียงน้ําไหล โดยผลการวิจัยทําใหทราบวารูปฟอรมน้ําที่สวยที่สุดสําหรับบรรยากาศสปาคือ มานน้ําและน้ําลน ตามลําดับ โดยอัตราการไหลของน้ําอยูที่ 30 ครั้ง / 15 วินาที สวนตัวแปรตอมาที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคบรรยากาศภายในรานสปา คือ การสะทอนแสง ระยะทางในการมอง ปริมาณแสง และขนาดของวัตถุ ตามลําดับ จากผลการวิจัยปริมาณแสงที่หองรับรองลูกคาควรเปน 40 ลักซ และปริมาณแสงภายในหองนวดควรเปน 2.9 ลักซแนวคิดและทฤษฎีทฤษฎีแสงแสงเปนพลังงานรูปหนึ่งที่เคลื่อนที่ได การเคลื่อนที่ของพลังงานแสงจะอยูในรูปของคลื่น ซึ่งมีชวงความยาวคลื่นอยูระหวาง 380-760 นาโนเมตร ชวงความยาวคลื่นของพลังงานแสงดังกลาวชวยทําใหเกิดการเห็น สวนพลังงานรูปอื่นเชน รังสีอัลตราไวโอเลต, รังสีเอกซ ที่มีความยาวคลื่นสั้นกวา 380 นาโนเมตร หรือคลื่นวิทยุ,คลื่นโทรทัศนและพลังงานไฟฟา ที่มีชวงความยาวคลื่นยาวกวา 760 นาโนเมตร พลังงานเหลานี้มิไดชวยใหเกิดการเห็นแสงไฟเปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งสําหรับการใชชีวิตของมนุษย เพื่อทดแทนหรือเพิ่มเติมความสวางจากแสงธรรมชาติ เพื่อใหการทํากิจกรรมตาง ๆ เปนไปอยางสะดวกและปลอดภัยหรือเปนการเพิ่มความสวางใหกับมุมอัน682


มืดทึบของบานแสงไฟมีความสําคัญในเรื่องประโยชนใชสอยแลว แสงไฟยังเปนองคประกอบหนึ่งของการตกแตง รูปแบบและดีไซนของไฟชนิดตาง ๆ เปนรายละเอียดหนึ่งที่สรางเสนหใหกับบาน แตที่สําคัญที่สุดก็คือ แสงไฟสรางอารมณและบรรยากาศที่แตกตางกันไป สามารถขับรายละเอียดของสถาปตยกรรมใหโดดเดน เนนความสวยงามของของตกแตงใหเดนขึ้น การออกแบบแสงไฟจึงเปนสิ่งหนึ่งที่เปนสไตล และความนาสนใจของงานตกแตงเชนกันแหลงแสง1. แสงจากธรรมชาติ หมายถึง แสงที่ไดจากพลังงานธรรมชาติซึ่งสองสวางทําใหเกิดการมองเห็น เชน แสงจากดวงอาทิตย แสงจากไฟปา แสงจากหิ่งหอย หรือแสงจากดวงจันทร เปนตน2. แสงจากไฟประดิษฐ หมายถึงแสงที่มนุษยสรางขึ้น แบงออกเปน 2 ประเภท คือ2.1 แสงสวางที่เกิดจากความรอน เชน การจุดไฟ จุดเทียน หรือหลอดไฟประเภทที่ใชการเผาไหมไสในหลอดบรรจุกาซ เชน ไฟสปอตไลท หลอดไส ฯ2.2 แสงสวางที่เกิดขึ้นโดยไมอาศัยความรอน เชน หลอดฟลูออเรสเซนต หลอดนีออน ฯปจจัยที่มีอิทธิพลตอการรับรูของการมองเห็น ( Factor in Visual Acuity)ปจจัยพื้นฐานของการมองเห็นชิ้นงานหรือวัตถุไดชัดเจนมี 4 ปจจัยไดแก ขนาด (Size) ความสวางจา(Luminous intensity) ความเปรียบตาง (Task Contrast) และเวลาที่ใชในการมอง (Time of Viewing) นอกจากปจจัยพื้นฐานทั้ง4ปจจัยนี้ยังมีปจจัยอื่นๆรองลงมาไดแก การปรับตัวของสายตา (Adaptation) ประสบการณ(Experience) และระยะทางการมอง (Distance) เปนตน ซึ่งทั้งหมดจะเปนปจจัยที่พิจารณารองลงมาจากปจจัยพื้นฐานทั้ง4ปจจัยขางตนขนาดของวัตถุที่มองเห็น (Size of Visual Object or View-angle)โดยทั่วไปแลวความชัดเจนในการมองเห็นเปนสัดสวนของขนาดทางกายภาพของวัตถุ และขึ้นอยูกับการใหความสวางที่วัตถุ (Fixed brightness) ความเปรียบตางและเวลาที่ใชในการมอง แมวาในทางกายภาพไมมีขอบเขตในการมองภาพที่แทจริงก็ตามแตมุมแหงการมอง (subtended visual angle) มีผลตอความสามารถในการมองเห็นไดดีขึ้นเมื่อมีการนําวัตถุหรือภาพเขามาใกลตาการมองเห็นของตาคนเรานั้นจะสามารถเห็นวัตถุที่ใหญไดงายกวาวัตถุที่เล็ก และมีแนวโนมที่จะเห็นวัตถุชิ้นเดียวกันมีขนาดเล็กลงในเวลากลางคืนเมื่อเทียบกับเวลากลางวัน การเพิ่มปริมาณแสงที่พอเหมาะ คือ การทําใหตาของคนเรามีความรูสึกเห็นวัตถุชิ้นเดียวกันนั้นเสมือนขยายใหญขึ้นมาเทากับขนาดที่เราเห็นในเวลากลางวันวัตถุยิ่งเล็กๆรายละเอียดมาก ปริมาณแสงที่ตองการจะมีมากขึ้นเปนเงาตามตัว เชน การอานหนังสือ การพิมพดีด การเขียนแบบ ยอมตองการปริมาณแสงมากขึ้นเปนพิเศษความสวางจาและความสวาง (Luminous intensity)การมองเห็นวัตถุตางๆไดชัดเจนหรือไมนั้นขึ้นอยูกับขนาดของวัตถุหรือสีของวัตถุ ถาความสวางไมเพียงพอจะทําใหเราสามารถแยกแยะวัตถุนั้นไดลําบาก ยิ่งถาวัตถุนั้นกําลังเคลื่อนที่อยูก็นอย หรือมีลักษณะคลายๆกัน หรือ683


ขนาดของวัตถุยิ่งเล็กก็ตองการแสงสวางมากและเวลาในการมองเห็นก็ตองเพิ่มมากขึ้น องคประกอบเหลานี้จะตองนําไปพิจารณาในการออกแบบระบบแสงสวาง การออกแบบแสงสวางที่ดีไดปริมาณแสงที่เหมาะสมถูกตองกับการใชงาน จะตองคํานึงถึงองคประกอบตางๆมากมาย ในที่นี้จะพิจารณาถึงความสัมพันธขององคประกอบตางๆดังกลาวขางตนที่มีผลกระทบตอการเห็นความเปรียบตางๆ (Contrast)ความแตกตางของขาว-ดํา ระหวางวัตถุกับสิ่งตางๆที่อยูรอบตัวมัน จะเห็นไดวาเมื ่อความแตกตางของความดํา – ขาว ยิ่งมากการมองเห็นก็จะทําไดงายขึ้น ความตองการปริมาณแสงจะนอยลง ยกตัวอยางเชนตัวหนังสือดําบนกระดาษสีขาว ยอมถูกเห็นไดงายกวาตัวหนังสือดําบนพื้นเทาและถาความแตกตางของความดํา –ขาว ยิ่งนอยปริมาณแสงที่ตองการจะมีมากขึ้น อยางเชน การเย็บผาสีดําดวยดายสีดํายอมตองการปริมาณแสงเปนจํานวนมาก เปนตนเวลา (Time of viewing)ตามปกติตาของคนเราไมสามารถมองเห็นวัตถุที่ปรากฎขึ้นตรงหนาทันที เพราะตองมีชวงเวลาใหตาไดสัมผัสหรือมองเห็นกับวัตถุ เนื่องจากตาตองใชเวลาชวงหนึ่งเพื่อการปรับกลามเนื้อตาใหขยายหรือหดตัวใหเขากับปริมาณแสง ซึ่งถาปริมาณแสงยิ่งนอยการเห็นก็ตองการเวลามากยิ่งขึ้น ดังนั้นผูออกแบบระบบแสงสวางจะตองคํานึงถึงปญหานี้เปนพิเศษ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ เชน การเลนฟุตบอลปริมาณแสงที่ตองการจะตองสูงพิเศษ ผูออกแบบควรนําขอจํากัดเหลานี้มาพิจารณาเปนพิเศษทฤษฏีสุนทรียศาสตรและสุนทรียภาพสุนทรียศาสตร แปลตรงความหมาย หมายถึงวิชาวาดวยความงาม มีนักปราชญและนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของสุนทรียศาสตร ซึ่งมีความหมายโดยสรุป หมายถึง การศึกษาเรื่องมาตรฐานความงามในเชิงทฤษฎี อันเกี่ยวกับประสบการณทางสุนทรียภาพ กฏเกณฑ ทางศิลปะคําวา สุนทรียภาพ แมวาจะเปนที่เขาใจและใชกันมานานแลว แตในความเปนจริงนั้น ความหมายสุนทรียภาพเขาใจแตกตางกันออกไป โดยขึ้นอยูกับเรื่องตางๆ อยูหลายเรื่อง เชน ประสบการณผูใช ความเหมาะสมในกาลเทศะตางๆกัน จึงตองทําความเขาใจรวมกันในเบื้องตนในเบื้องตน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดกลาวถึงคําวา สุนทรียภาพ คือ ความรูสึกถึงคุณคาของสิ่งที่งาม โดยสุนทรียภาพเกิดขึ้นเมื่อเรามองเห็นวาสิ่งใดสวยงาม เกิดคุณคาภายในจิตใจของมนุษยและคุณคาความงามภายในจิตใจ ขึ้นอยูกับประสบการณและจินตนาการของมนุษย เมื่อสุนทรียภาพเปนเรื่องของความรูสึก จินตนาการ และประสบการณในจิตใจของคน ที่มีตอคุณคาความสวยงามของสิ่งตางๆจึงเกี่ยวของกับศาสตรตางๆหลายสาขาสุนทรียภาพในงานสถาปตยกรรมและการออกแบบที่เกี่ยวเนื่อง จะกลาวถึงการศึกษาและการกําหนดความหมายของสุนทรียภาพอยูเสมอ โดยถือวาการออกแบบตางๆลวนเกี่ยวของกับสุนทรียภาพ ความสวยงามและรสนิยมดี ซึ่งมักใชเปนแนวทางหนึ่งในการออกแบบ โดยกําหนดวาสุนทรียภาพของการออกแบบใดๆจะตองคํานึงถึงในการจัดองคประกอบ รูปราง สี ผิวสัมผัส ความกลมกลืน และอื่นๆโดยที่สุนทรียภาพในงานสถาปตยกรรมนั้น ลวนเปนเรื่องเกี่ยวกับความงามอันเกิดจากสถาปตยกรรมเอง จากเรื่องตางๆที่ไดกลาวไปขางตน ที่สะทอนออกมาจากการใชสอยของมนุษย โครงสรางและสภาพแวดลอมโดยรอบ ออกมาเปนการจัดองคประกอบอยางลงตัวกลมกลืน684


และเหมาะสม จึงอาจสรุปในขั้นตนไดวา สุนทรียภาพนั้นอยูบนพื้นฐานที่เกิดจากความกลมกลืนกันขององคประกอบทางสถาปตยกรรม ซึ่งจัดวางไดอยางเหมาะสมและสัมพันธกับมนุษยปจจุบันสุนทรียศาสตร มีความหมายที่กวางขวางขึ้น ไดแก การศึกษาศิลปะแขนงตางๆหลักของศิลปะกระบวนการสรางสรรคศิลปะ ประสบการณทางศิลปะ ศิลปะกับชีวิตและสังคมรวมถึงความงามและปรากฏการณที่งดงามของธรรมชาติ จะสังเกตเห็น ไดแก สุนทรียศาสตรเปนเรื่องของศิลปะ จึงมีความจําเปนที่ตองเขาใจระดับของศิลปะ ซึ่งมี 2 ระดับ ไดแก1. อรรถศิลป ( Useful Arts) หมายถึง ศิลปะที่ใหประโยชนและความเพลิดเพลินใจทางสุนทรียะ คือ ใชประโยชนไดและมีความงามเชน เครื่องแตงกาย เครื่องประดับ การตกแตงบานและสวน เปนตน2. วิจิตรศิลป (Fine Arts) เปนศิลปะที่เนนความเพลิดเพลินทางสุนทรียะเพียงอยางเดียวแบงเปนทัศนศิลป (Visual Art) ไดแก งานดานภาพเขียน งานแกะสลักโสตศิลป (Audio Art) ไดแก ดนตรีสัญลักษณศิลป ( Symbolic) ไดแก วรรณคดีศิลปะผสม ( Mixed Art) ไดแก ละคร ภาพยนตร การลีลาศการจะเห็นและเขาใจสุนทรียะไดดีนั้นตองมีความเขาใจและสั่งสมประสบการณทางสุนทรียะ ซึ่งมีองคประกอบอยู 3 ระดับ ไดแก1. การทําใหกิจกรรมในชีวิตจริงหยุดพักชั่วคราว เชน การฟงดนตรีทําใหเราเพลิดเพลินจนลืมเรื่องราวในชีวิตประจําวันไปชั่วคราว2. เกิดอารมณรวม (Sympatity ) เมื่อตาเรามองเห็นในสิ่งที่สวยงามเราก็จะรับรูสีสันของสิ่งเหลานั้น เชน ภาพติดตา สีสันอันสวยงาม เปนตน ซึ่งประสบการณทางสุนทรียะในลักษณะนี้เรียกวา อารมณรวม3. เกิดจินตนาการ ( In Feeling ) หรือความคิดสองสวย เชน เมื่อสายตาของเรามองที่ใดเปนเวลานานๆ เราจะจดจําภาพเหลานั้นขึ้นในใจหรือเกิดมโนภาพ ซึ่งขึ้นอยูกับประสบการณเดิมของปจเจกบุคคล โดยมีทิศทางในการเกิดจินตนาการไปในทางเดียวกัน แ ตอาจแตกตางกันในรายละเอียดแสงมีวัตถุประสงคใหเกิดประสบการณทางสุนทรียะในระดับการเกิดอารมณรวมไมพึงใหเกิดจินตนาการเนื่องจากประสบการณทางสุนทรียะของแตละบุคคลแตกตางกัน ตามสภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรมซึ่งบางครั้งผลที่ออกมาจากการเกิดจินตนาการ เปนการโยงประสบการณที่เปนเชิงลบของบุคคลนั้นใหเกิดขึ้นในจินตนาการการสรางสรรคงานดานแสง หรือแมแตการคัดเลือกแสงเพื่อใชในกิจกรรมสปาใหเหมาะสม นอกจากจะเขาใจถึงสุนทรียะ วัฒนธรรม อํานาจของแสงแลว สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งตองเขาใจองคประกอบบของแสงดวยองคประกอบทางกายภาพอื่นๆ685


โทนสีของหอง สีแตละสีใหความรูสึกที่แตกตางกัน เชน สีเหลืองใหความรูสึกอบอุน รอน สีเขียวใหความรูสึกชื่นใจ เปนตน แสงที่ใชตองไมขัดแยงกับโทนสีของหองแสงในสปา แสงธรรมชาติในการทําสปาที่เหมาะสมที่สุด คือชวงเชาประมาณ 7.00 น. และชวงเย็นเวลาประมาณ 17.00 -18.00 น. แตการทําสปามักจะไมใชชวงเวลานี้ ซึ่งการเปดไฟดวงเล็กๆตามมุมหอง หรือจุดเทียนหอมแทนองคประกอบทางกายภาพอื่นๆ เชน สถานที่ทําสปานั้นเปนสถานที่เปด เชน สวนหรือหองน้ําที่เปดเห็นธรรมชาติภายนอก หรือเปนสถานที่ปด เชน อาคารพาณิชย ลวนมีผลกระทบตอแสงทั้งนั้น สถานที่เปดนั้นสิ่งที่โนมนาวสายตา มักเปนธรรมชาติรอบตัว ดังนั้นแสงจึงตองเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของธรรมชาติ สวนสถานที่ปดสิ่งที่โนมนามสายตา เปนการประดับตกแตงในสถานที่นั้น ซึ่งเปนการออกแบบเชิงสถาปตย ซึ่งเปนเรื่องของความนิยมและระบบวัฒนธรรม การเลือกแสงจึงตองเหมาะสมกับการตกแตงภายในของสถานที่นั้นดวยทฤษฎีนี้ใชศึกษาความสามารถของน้ําในการเปนสิ่งจูงใจที่กระตุนความสนใจของผูบริโภคตอธุรกิจสปาไดผลมากนอยอยางไรสภาพแวดลอมนั้นจัดไดวาเปนทรัพยากร (resource) และสิ่งเรา (stimuli) สิ่งหนึ่งที่สามารถทําความพอใจใหแกมนุษย ซึ่งความพอใจนี้ Shelley ไดกลาววา มนุษยจะเกิดความรูสึกขึ้นภายในตัว เนื่องจากผลกระทบของสภาพแวดลอมกายภาพสองประการ คือ ความรูสึกในทางบวก และความรูสึกในทางลบ เมื่อใดมนุษยมีความรูสึกทางบวก ความสุขก็เกิดขึ้น ซึ่งความรูสึกทางบวก ความรูสึกลบ และความสุขนั้น มีความสัมพันธกันอยางซับซอน และถูกรวมเรียกวา ระบบความพอใจ โดยความพอใจในสภาพแวดลอมนั้นๆจะเกิดขึ้นเมื่อระบบความพอใจมีความรูสึกทางบวกมากกวาทางลบ มนุษยก็จะมีความสุขมากที่สุดความรูสึกของมนุษยไมวาจะเปนความรูสึกในทางบวกหรือทางลบ จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อสิ่งเรา หรือทรัพยากรเปนตัวปจจัยมากระทบ ซึ่งขึ้นอยูกับวา สิ่งเราชนิดไหนที่จะทําใหมนุษยเกิดความพอใจมากที่สุด ดังนั้นผลที่ไดรับจากความเขาใจในระบบความพอใจนี้ จะทําใหสามารถออกแบบที่นําไปสูการใชทรัพยากรตางๆที่มีอยูแลวตามธรรมชาติใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น แตเนื่องจากทรัพยากรมีอยูจํากัด ความพอใจของมนุษยจึงมีเพียงระดับหนึ่ง และจะมีมากที่สุดก็ตอเมื่อ การจัดทรัพยากรเปนไปอยางถูกตองและเหมาะสม ซึ่งนั้นก็คือ ตําตอบที่ตองการสําหรับผูที่อยูอาศัยจะมีความพึงพอใจสูงสุด ณ สภาพแวดลอมเชนใด (ธงชัย สวัสดิสาร, 2530)คุณคาทางสุนทรีย (Aesthetic Value) น้ํามีความงดงามนาดึงดูดใจมากอยางไมตองสงสัย อยางไรก็ตาม มันเปนไปไมไดที่จะแยกคุณคาทางความงามออกจากคุณคาของการทําหนาที่อื่นๆของน้ํา โดยเฉพาะในเรื่องการเปนที่พักผอนหยอนใจทฤษฎีและแนวความคิดของน้ํา“น้ํา” เปนวัสดุที่ยืดหยุนไดมากที่สุด น้ําจะมีรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ น้ําเปรียบเสมือนแมเหล็กของภูมิทัศนในทางจิตวิทยา น้ําเปนตัวดึงดูดมนุษยเขาหาตัวมันไดมากที่สุด น้ําใหความเย็นและใหความสะทอนเงา ถาอยูในสระหรือบอที่ใหญและนิ่ง น้ําใหความรูสึกเย็นสบาย น้ําเปนปจจัยสําคัญยิ่งในการดํารงชีวิตที่สมดุล ในเขตที่รอนแหง น้ําชวยใหชีวิตดํารงอยูได เสียงชนิดตางๆที่เกิดจากน้ําก็ชวยใหเกิดความรูสึกที่ดีขึ้นได น้ําในบอน้ําตกหรือในสระ อาจสาดกระจาย หยด ไหลยอน ซึมเซาะเปน ไหลทวมบา เท ไหลลง กระฉอก เปนระลอก เปนคลื่น พนเปนฝอย หรือพุงเปนลํา ฯลณ เราอาจออกแบบน้ําพุขนาดตางๆใหเหมาะสมเพื่อใหไดเสียงของน้ําที่ตองการไดแสงแดด686


และแสงไฟในตอนกลางคืน อาจนํามาใชเพื่อเสริมสรางคุณคาและความสําคัญของน้ําไดเปนอยางดี น้ํายังเปนตวสรางความรูสึกใหเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในงานออกแบบไดดีที่สุด ถาใชในลักษณะที่เปนธรรมชาติขนาดใหญๆ ทั้งนี้เนื่องจากน้ําเปนตัวประกอบที่มีลักษณะใหเอกภาพที่ดีที่สุด(เดชา บุญค้ํา,2532)ดานนิเวศวิทยา ที่ลุมน้ําขังเปนที่เลวเปลาประโยชนและเปนบอเกิดของยุงและเชื้อโรคจริงหรือไมในสมัยกอนมีความเชื่อกันวาเปนเชนนั้น ปจจุบันความคิดดังกลาวไดถูกลบลางจากผลของการคนควาทางวิทยาศาสตรและดานนิเวศวิทยาเปนจํานวนมาก ซึ่งสรุปไดวา ที่ลุมน้ําขังตามธรรมชาติมีคุณคาทางนิเวศวิทยาเปนอยางมาก กลาวคือเปนแหลงเพาะพันธุสัตวน้ํา มีสัตวน้ําจืดนานาชนิด รวมทั้ง กุง หอย ปู และปลา ที่เจริญเติบโตในระยะเปนตัวออนอยูในที่ลุม เหลานี้ รวมทั้งที่ลุมน้ําจืดและน้ํากรอย นอกจากนี้ที่ลุมน้ําขังยังมีพืชน้ํา ที่เปนแหลงอยูอาศัยพึ่งพาของนก สัตวเลื้อยคลานและแมลงนานาชนิดดานอุทกศาสตรที่ลุมน้ําขังคือแหลงเติมน้ําใตดินและแหลงพักน้ําที่เกิดจากพายุฝนฉับพลัน ทําใหสามารถบรรเทาน้ําทวมไดมากการดึงดูดความสนใจ และประโยชนของบึงน้ํา ทะเลสาบ (Booth,Norman K.)มีการกลาวถึงสําหรับพิจารณาในการออกแบบไวหลายประเด็น ดังนี้น้ําเปนองคประกอบวัตถุ ทางกายภาพที่ภูมิสปานิกใชในการออกแบบและจัดการในงานภูมิสถาปตยกรรม น้ําเปนสิ่งที่สามารถนําไปออกแบบไดหลากหลายรูปแบบ ไมวาจะเปน ทะเลสาบ สระน้ํา น้ําตก น้ําพุ น้ําเปนสิ่งที่ใชในงานภูมิสถาปตยกรรม เสมือนธรรมชาติแหงความสวยงาม หรือเปนทั้งปจจัยใน ดานสาธารณูปการในการผลิตความรมเย็นในอากาศ , การลดความดังของเสียง, การบรรเทาความแหงแลวของดิน รวมทั้งการสรางสรรคงานขึ้นใหมน้ําเปนองคประกอบที่มีความหลากหลายในตัวของมันเอง เปนคุณลักษณะที่ปรากฏไดตามปจจัยที่กระทบตอน้ํา การออกแบบดวยน้ําในประการแรกคือศึกษารูปทรง , ขนาด , ความสูง และความเอียงลาดของภาชนะหรือสิ่งที่รองรับ อยางไรก็ตามสิ่งที่เราควบคุมไมไดเชน แสงแดด , ลม และอุณหภูมิมีอิทธิพลตอแหลงน้ําโดยธรรมชาตินั้น น้ําอาจจะใชกับสิ่งแวดลอมภายนอกเสมือนเปนแหลงน้ํา การสะทอนกลับ การเคลื่อนไหว รวมทั้งเสียง ที่เกิดขึ้นจากน้ําตก โดยแรงโนมถวง หรือเสียงน้ําพุ ในจุดที่ตองการสรางความสนใจ นอกจากนี้ น้ํายังเปนสิ่งพิเศษ ในการเพิ่มความหมาย และความรูสึกตอชีวิตความเปนอยูภายนอกอาคารประโยชนทั่วไป (general use of water) น้ํายังคุณประโยชนมากมายในการออกแบบและดูแลรักษาพื้นที่ภายนอกอาคาร น้ํายังสามารถใชในการออกแบบใหเกิดปรากฏการณตางๆนอกจากที่ใชเปนสาธารณูปการอีกดวย1. ดานอุปโภค บริโภค (consumption) น้ําถูกใชเปนสิ่งอุปโภคบริโภคของมนุษยและสัตวตางๆ สนามกีฬา , สนามตั้งแคมป คางแรม , สวนสาธารณะ ก็ตองใชน้ําดวยเชนกัน แหลงน้ํา ทางสัญจรทางน้ํา จึงมีความสําคัญตอการออกแบบมากทีเดียว2. ดานชลประทาน (irrigation) น้ําใชในการชลประทาน ทุงหญา , สนามหญา , สวนดอกไม ,สวนสาธารณะ การชลประทานนั้นมี 3 แบบคือ การรดน้ํา , การราดน้ํา , และการปลอยเปนหยดน้ํา การรดน้ําเปนวิธีที่นิยมทํากันมากที่สุด สวนการราดน้ํานั้นพื้นที่ที่จะทํานั้นจะตองมีความลาดเอียงเพียงพอ การหยดน้ําเปนการใหน้ําอยางชาๆซึ่งไดประสิทธิภาพและเปนการประหยัดน้ําที่สุด687


3. ควบคุมสภาวะอากาศ (climate control) น้ําอาจจะใชเปนงานตกแตงภายนอกอาคาร เพื่อชวยปรับสภาวะอากาศและพื้นผิวดิน เปนที่ทราบกันวาพื้นที่แหลงน้ําขนาดใหญจะสามารถปรับสภาวะอากาศโดยรอบบริเวณแหลงน้ํานั้นไดการระเหยของความชื้นของผิวน้ําจะชวยลดอุณหภูมิของบริเวณนั้นได พื้นที่ที่มีน้ํามักจะมีอุณหภูมิต่ํากวาพื้นที่ที่ไมมีน้ํา4. การควบคุมเสียง (sound control) น้ําสามารถใชในการลดความดังของเสียงรบกวนได เชนเสียงจากรถยนต , จากคนหรือจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ําพุ หรือ น้ําตก สามารถกลบเสียงรบกวนจากภายนอกไดเปนอยางดี5. ออกแบบแหลงพักผอนหยอนใจ (recreation) น้ําเปนที่นิยมในการสรางสรรคแหลงพักผอนหยอนใจ สระวายน้ํา , บึงตกปลา , ทะเลสาบเพื่อการเลนเรือ , ดําน้ํา , สกีน้ําหรือแมกระทั้งสเก็ตน้ําแข็ง ภูมิสถาปนิก ไดมีสวนในการวางผังของการออกแบบแหลงพักผอนหยอนใจเหลานี้ และตองใหความสําคัญกับการดูแลรักษาและการจัดการแหลงน้ําเหลานี้ดวยประโยชนทางการมอง (Visual Uses of Water)น้ําสามารถใชในการสรางสรรคงานสิ่งแวดลอมภายนอกอาคารไดมากมาย1. น้ําใชเปนงานสิ่งแวดลอมภายนอกอาคาร เชน เปนบอน้ํา สระน้ํา หรือบึงน้ํา ตามแตสิ่งบรรจุหรือสิ่งรองรับน้ํานั้นๆ สระน้ํา จัดเปนงานกอสรางถาวรที่มนุษยสรางขึ้นมา ซึ่งไมมีการจํากัดวาจะตองเปนรูปรางอยางไร รูปรางของสระน้ําเปนหนึ่งในสวนของการออกแบบ บอน้ําจัดเปนสิ่งที่มักจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรืออาจจะโดยการสรางขึ้นโดยมนุษยก็ไดรูปรางของบอน้ํา โดยทั่วไป มักจะเปนรูปทรงอิสระหรือโคงเวาตามธรรมชาติ บอน้ําอาจจะใชในการสรางสรรคความรูสึกของการพักผอนกับงานภายนอกอาคารและสามารถใชเปนสิ่งเชื่อมตอระหวางพื้นที่สองแบบใหสอดคลองกันไดดีมาก2. ทางน้ํา จัดเปนรูปแบบที่สอง ของน้ํา ซึ่งอาจจะอยูในรูปแมน้ําลําคลอง ลําธารและแหลงน้ําไหลตามธรรมชาติทั่วไป ทางน้ํานี้ สามารถที่จะนําไปออกแบบสิ่งแวดลอมได คุณสมบัติและคุณลักษณะของทางน้ําเหลานี้มักขึ้นอยูกับปริมาณของน้ํา , ทางลาดชันของแหลงน้ํา ,ขนาดของแมน้ําลําคลอง รวมทั้งพื้นผิวของแหลงน้ําหรือแหลงรองรับทางน้ํานั้นๆ ความรุนแรงแปรปรวนของทางน้ํา สามารถที่จะทําขึ้นไดโดยการเปลี่ยนแปลง ของรูปรางระหวางความกวางกับความแคบของทางน้ําการสรางปรากฏการณทางน้ํานี้ยังมีอีกหลายรูปแบบ3. น้ําตก รูปแบบที่สามของน้ําคือ น้ําตก ซึ่งเกิดจากการที่น้ําเคลื่อนที่จากที่สูงลงสูที่ต่ําอยางรวดเร็ว น้ําตกนี้จึงแสดงถึงแรงโนมถวงของโลก โดยมีอยู 3 รูปแบบคือ free – fall ,obstructed flow และ sloped fallFree – fall เปนน้ําตกที่เกิดขึ้นโดยการที่น้ําตกจากที่หนึ่งลงสูอีกที่ซึ่งต่ํากวาโดยตรงไมมีสิ่งกีดขวางใดๆคุณลักษณะของน้ําตกนี้ จึงขึ้นอยูกับปริมาณ ความเร็ว ความสูง และขอบเขตของแหลงน้ํานั้นๆเปนตัวกําหนด688


obstructed flow เปนน้ําตกที่เกิดจากการไหลของน้ําไปกระทบสิ่งกีดขวางที่มีความแตกตางของระดับความสูง น้ําตกชนิดนี้มักทําใหเกิดความตื่นตาตื่นใจของปรากฏการณและการรับรูทางเสียงsloped fall เปนน้ําตกชนิดที่สาม กลาวคือเปนน้ําตกที่มีลักษณะของการหยดของน้ําจากความลาดเอียงของแหลงน้ํา น้ําตกชนิดนี้คลายกับทางน้ํา เพียงแตเปนการเคลื่อนที่ของน้ําทางแนวเอียงลาด น้ําตกชนิดนี้เหมาะที่จะใชเก็บเปนแหลงน้ํา เพื่อการชลประทานมากกวาสองแบบแรก น้ําตกทั้งสามรูปแบบนี้ สามารถที่จะถูกทําใหใชงานรวมกันและเอื้อประโยชนรวมกันเปนอยางดีไดถาตองการ4. น้ําพุ เปนรูปแบบที่สี่ของน้ํา น้ําพุเกิดจากการบังคับใหน้ําพุงขึ้นสูที่สูง ในอากาศเหนือบริเวณแหลงน้ํานั้นๆน้ําพุสวนมาก จะใชกับบริเวณที่เปนแหลงน้ําที่เงียบสงบ น้ําพุมีดวยกัน4 รูปแบบดังนี้Single-orifice เปนน้ําพุแบบเรียบงายที่สุด โดยมีทอน้ําพุทอเดียวSpray น้ําพุชนิดนี้ ถูกสรางขึ้นโดยใชทอน้ําพุเล็กหลายทอเพื่อใหเกิดเปนฝอยหรือละอองน้ําใหปรากฏการณของความนุมนวลและสรางบรรยากาศความชุมชื้นบริเวณนั้นไดAerated น้ําพุชนิดนี้ เหมือนกับน้ําพุแบบแรก เพียงแตวา หัวพนน้ําแบบนี้มักจะใหญกวาทําใหเกิดฟองสีขาวมาก เพิ่มความรูสึกสดชื่น สดใสFormed เปนน้ําพุ ที่สรางขึ้นตามรูปทรงที่ตองการ เพื่อใชในการทําสเปเชียลเอฟเฟคMorning glories or mushrooms เปนสองรูปแบบที่เปนที่นิยมกันของน้ําพุชนิดนี้5. ผสมผสานของน้ํา อาจจะนํามาใชเองในแตละชนิด หรือสามารถนํามาผสมผสานรวมกันไดเพื่อใหเกิดปรากฏการณและสรางสรรคเสียงของน้ําไดหลากหลายสวยงาม น้ํายังมีสวนรวมกับสิ่งอื่นๆเพื่อใชการออกแบบทางภูมิสถาปตยกรรมใหมีความชุมชื้นสุขสดชื่นของงานสรางสรรคของพื้นที่ภายนอกอาคารกระบวนการของการรับรู เกิดขึ้นเปนลําดับดังนี้สิ่งเราไมวาจะเปนคน สัตว สิ่งของ หรือสถานการณ มาเราอินทรีย ทําใหเกิดการสัมผัส (Sensation) และเมื่อเกิดการสัมผัสบุคคล จะเกิดมีอาการแปล การสัมผัสและมีเจตนา (Conation) ที่จะแปลสัมผัสนั้น การแปลสัมผัส จะเกิดขึ้นในสมอง ทําใหเกิดพฤติกรรมตางๆเชน การที่เราไดยินเสียงดัง ปง ปง ๆ สมองจะแปลเสียงดังปง ปงโดยเปรียบเทียบกับเสียง ที่เคยไดยินวาเปน เสียงของอะไร เสียงปน เสียงระเบิด เสียงพลุ เสียงประทัด เสียงของทอไอเสียรถ เสียงเครื่องยนตระเบิด หรือเสียงอะไร ในขณะเปรียบเทียบ จิตตองมีเจตนา ปนอยู ทําใหเกิดแปลความหมาย และ ตอไปก็รูวา เสียงที่ไดยินนั่นคือ เสียงอะไร อาจเปนเสียงปน เพราะบุคคลจะแปลความหมายได ถาบุคคลเคย มีประสบการณในเสียงปนมากอน และอาจแปลไดวา ปนที่ดังเปนปนชนิดใด ถาเขาเปนตํารวจ จากตัวอยางขางตนนี้ เราอาจสรุป กระบวนการรับรู จะเกิดไดจะตองมีองคประกอบดังตอไปนี้1. มีสิ่งเรา (Stimulus) ที่จะทําใหเกิด การรรับรู เชน สถานการณ เหตุการณ สิ่งแวดลอม รอบกาย ที่เปนคน สัตว และสิ่งของ2. ประสาทสัมผัส (Sense Organs) ที่ทําใหเกิดความรูสึกสัมผัส เชน ตาดู หูฟง จมูกได กลิ่น ลิ้นรูรส และ689


ผิวหนังรูรอนหนาว3. ประสบการณ หรือความรูเดิมที่เกี่ยวของกับสิ่งเราที่เราสัมผัส4. การแปลความหมายของสิ่งที่เราสัมผัส สิ่งที่เคยพบเห็นมาแลวยอมจะอยูในความทรงจําของสมอง เมื่อบุคคลไดรับสิ่งเรา สมองก็จะทําหนาที่ทบทวนกับความรูที่มีอยูเดิมวา สิ่งเรานั้นคืออะไรเมื่อมนุษยเราถูกเราโดยสิ่งแวดลอม ก็จะเกิดความรูสึกจากการสัมผัส (Sensation) โดยอาศัยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา ทําหนาที่ดูคือ มองเห็น หูทําหนาที่ฟงคือ ไดยิน ลิ้นทําหนาที่รูรส จมูก ทําหนาที่ดมคือไดกลิ่น ผิวหนังทําหนาที่สัมผัสคือรูสึกไดอยางถูกตอง กระบวนการรับรู ก็สมบูรณแตจริงๆ แลวยังมีการสัมผัสภายในอีก 3 อยางดวยที่จะชวยใหเรารับสัมผัสสิ่งตางๆที่มาและความสําคัญของปญหาปจจุบันมีการนําน้ํามาเปนแนวคิดดานการสงเสริมคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอมที่ดีมาใชในการดึงดูดลูกคาโดยเฉพาะการนํา “น้ํา”เขามาเปนจุดขายของธุรกิจซึ่งถือวาเปนแนวโนมที่ไดรับความสนใจอยางมาก บางธุรกิจเนนการนําน้ํามาเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและใหความสําคัญตอสิ่งแวดลอม รวมไปถึงการคํานึงเรื่องระบบนิเวศ ซึ่งจําเปนตองคํานึงถึงการออกแบบ วางแผนทางกายภาพ โดยนําปจจัยดานตางๆเขามาแกปญหาเกี่ยวกับการจัดผืนแผนดินและที่วาง (เยี่ยมพันธ โชติปญญา,2546:1) แตถึงอยางไร น้ํายังคงเปนสิ่งที่ไดรับความนิยมในดานการใชงานและการสรางความสุขเนื่องจากมีการพัฒนาพลิกแพลงรูปแบบใหสอดคลองกับลักษณะการดําเนินชีวิตแบบใหมที่เปลี่ยนแปลงไดทุกวัน(โกสิต อิสรียวงศ,2546:1) การคนพบวา “น้ํา“ เปนแมเหล็กดึงดูดคนไดนี้เปนการคนพบโดยบังเอิญในแคลิฟอรเนียและภาคตะวันตกกลางของสหรัฐฯ ปรากฏวาจุดขายที่ไดผล รุนแรงที่สุดคือ ‘’น้ํา’’ ซึ่งจําเปนตองทําเทียมขึ้นมา(เดชา บุญค้ํา,2532:17)เมื่อเปนดังนี้จึงมีการนําน้ํามาตกแตงอาคารใหดูสวยงามเพื่อเปนแมเหล็กดึงดูดภายในอาคารมากขึ้นนั่นคือธุรกิจสปาที่มีการนําน้ํามาใชเพื่อการตกแตงพรอมๆกับการใชแสงในการตกแตงเชนกัน ที่ตองใชน้ําและแสงในการตกแตงสปาเพื่อการสรางสรรคบรรยากาศที่ดี เพื่อการผอนคลาย จึงเกิดเปนจุดขายใหกับธุรกิจสปา อีกทั้งเนื่องจากธุรกิจสปามีการแขงขันกันสูงมาก ซึ่งพบไดจากการเกิดขึ้นอยางรวดเร็วของธุรกิจประเภทนี้ อีกทั้งยังพยายามหากลยุทธหลายๆแนวทางมานําเสนอกับผูบริโภค บางแหงเนนดานราคา บางแหงเนนทําเล บางแหงเนนรูปลักษณภายนอกบางแหงเนนรูปลักษณภายใน แตก็ยังมีบางแหงที่เนนทางดานคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อเปนจุดขายใหกับธุรกิจของตน ซึ่งการพัฒนารูปแบบธุรกิจสปาใหประสบความสําเร็จทางดานคุณภาพชีวิตที่ดีนั้นจําเปนจะตองคํานึงถึงการออกแบบวางแผนทางกายภาพ โดยนําปจจัยดานตางๆเขามาแกปญหาในบริเวณดานในของสปา ซึ่งก็คือ การออกแบบแสงสีภายในสปา การจัดวางอุปกรณใหเขากับรูปแบบของสปา และในปจจุบันไดมีธุรกิจสปาหลายแหงพยายามสรางสภาพแวดลอมภายในที่ดีขึ้นมา เพื่อเปนจุดขายในรูปแบบตางๆ มาเสนอในหลายๆลักษณะ หลากหลายแนวคิดไมวาจะเปนเพื่อใหเกิดการผอนคลายจากประสาทสัมผัสทั้งหา ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และรางกายซึ่งสงผลทําใหจิตใจดีขึ้นและดนตรีก็เปนสวนหนึ่งที่ขาดไมไดสําหรับการทําสปา และองคประกอบทางกายภาพอื่นๆเชน โทนสีของหอง แสงในสปา ซึ่งอาจมีวัตถุประสงคที่แตกตางกันไปประเด็นปญหาที่นาสนใจก็คือ แนวความคิดในการมี น้ําและแสง ในสปา เกิดจากอะไร รูปแบบตางๆมีวัตถุประสงคตางกันหรือไม และมีประโยชนในการออกแบบสปาในเชิงความรูสึกอยางไร รูปแบบในลักษณะตางๆนั้นไดมีการวางแผนการใชน้ําและแสงที่เหมาะสมแลวหรือไม สามารถชวยแกปญหาใหกับธุรกิจสปาและผูเขามาใชบริการไดมากนอยเพียงไร ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้ จึงเปนเรื่องการศึกษาแนวคิดในการใชแสงและน้ําออกแบบสปา690


เพื่อใหทราบวาแสงและน้ํามีประโยชนในการสรางสรรคบรรยากาศสปาเพียงไร หรือเปนไปเพียงเพื่อจุดประสงคสําหรับเปนจุดขายของสปาเทานั้น และรวมทั้งเพื่อใชเปนแนวทางในการนําไปพัฒนาสําหรับการออกแบบสปาในอนาคตตอไปวัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อศึกษาหาตัวแปรที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคบรรยากาศที่ดีใหกับสปา2. เพื่อศึกษาคาน้ําหนักของตัวแปรที่มีคาสูงสุดตอผลความรูสึกของคนที่ทําใหเกิดอารมณดานความสวยงาม3. เพื่อศึกษาหารูปแบบที่เหมาะสมจากตัวแปรที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคบรรยากาศระเบียบวิธีการวิจัย1. หาขอมูลของธุรกิจสปาในเขตกรุงเทพมหานคร โดยดูจากนิตยสาร,หนังสือพิมพ,แผนพับโฆษณา,สมุดหนาเหลือง,เว็บไซต แลวออกสํารวจธุรกิจสปา 25 แหง จากนั้นเลือกกลุมตัวอยาง 3 กลุม โดยเลือกกลุมสปาที่มีบรรยากาศที่สวยงามที่สุดในกลุมตัวอยาง25 แหง โดยเรียงความสวยงามจากสวยนอย สวยกลาง และสวยมาก2. เครื่องมือการวิจัยแบบฟอรมการสัมภาษณเพื่อใหไดขอมูลครบถวนในประเด็นตางๆแบบสอบถามสําหรับ กลุมบุคคลทั่วไปที่มีอํานาจในการเขาใชบริการสปา2.2.1 โดยใชกลุมตัวอยางดังตอไปนี้เก็บขอมูลจากแบบสอบถามจาก ผูมีอายุ 16 - 45 ปขึ้นไป2.2.2 ใชวิธีการเก็บขอมูลจากแบบสอบถาม และทําการสัมภาษณเพิ่มเติมโดยเก็บจากสภาพสิ่งแวดลอมที่มีน้ําและแสงของอาคาร แลวเก็บขอมูลจากกลุมเปาหมาย3. การเก็บรวบรวมขอมูล โดยทั้งขอมูลจากการสัมภาษณ,แบบสอบถาม,และสํารวจเพื่อนําขอมูลที่ไดนํามาวิเคราะห4. การวิเคราะหขอมูล นําทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของมาเรียบเรียงเปนหมวดหมูวิเคราะหผลที่ไดจากการสัมภาษณ แบบสอบถาม และสํารวจ วิเคราะหขอมูลจากทฤษฎีที่ศึกษาเทียบกับขอมูลที่ไดมาจากกรณีศึกษา และตีความเพื่อสรุปผล5. สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ6. จัดทํารายงานการวิจัยเครื่องมือที่ใชในการวิจัย691


จะมีการกําหนดตัวแปรในการวิจัย โดยใชขอมูลที่ไดจากการศึกษาเบื้องตน ทั้งจากขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิเปนการกําหนดตัวแปร จัดทํากรอบความคิดเพื่อสรุปขอบเขตของการศึกษา และวัตถุประสงคในการวิจัยเครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ คําถามที่ใชในการสัมภาษณ (Interview) และคําถามแบบสอบถาม (Questionaire)โดยขอมูลที่ไดจะสามารถที่จะใหคําตอบและขอมูลตางๆตามวัตถุประสงคของการวิจัยครั้งนี้ไดเปนอยางดี มีขั้นตอนในการจัดทําเครื่องมือในการทําวิจัยจําแนกเปน 4 ขั้นตอนคือ1. ชนิดรูปแบบคําถาม คําถามที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ แบงออกเปน 2 ประเภทคือ1. คําถามแบบเปด (Open Ended Question) เปนคําถามแบบใหตอบอยางเสรี2. คําถามแบบปด (Close Ended Question) เปนคําถามแบบใหตอบตามคําตอบที่กําหนดไวเรียบรอยแลว การสรางคําถามแบบปดมี 3 รูปแบบคือ1.แบบตอบคําถามสองคําตอบ เปนคําถามที่สามารถเลือกตอบไดอยางใดอยางหนึ่งในสองคําตอบ2.แบบคําถามใหเลือกหลายคําตอบ แบบนี้คลายกับแบบคําถามใหเลือกตอบแตตางกันตรงที่วาใหเลือกตอบไดหลายคําตอบ(ตอบไดมากกวา 1ขอ)3.แบบวัดทัศนคติ ใชมาตราวัดแบบลิเคอรท(Likert Scale)กําหนดระดับคาคะแนนเปน 5 ระดับ คือ 5,4,3,2 และ 1 โดยมีความหมายดังนี้5 หมายถึง มากที่สุด4 หมายถึง มาก3 หมายถึง ปานกลาง2 หมายถึง นอย1 หมายถึง นอยที่สุด2. การสรางเครื่องมือแบบสอบถาม ไดดําเนินการกอสรางแบบสอบถามโดยมีการกําหนดตัวแปรโดยวิธีการศึกษาจากเอกสารตางๆแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของ ผลการศึกษาสามารถจําแนกตัวแปรที่ใชในการวิจัย3. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือทําการวิจัย เมื่อกําหนดตัวแปรเรียบรอยแลว จึงนําไปตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ของเครื่องมือ4. การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม ในดานความเที่ยง(Reliability) และความเที่ยงตรง (Validity) พรอมทั้งนําไปทดลองใช (Pre-Test) ดังตอไปนี้1. การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Comment Validity)หลังจากที่นําคําถามของแบบสัมภาษณและแบบสอบถามไปใหอาจารยที่ปรึกษาพิจารณาและปรากฏวามีบางขอที่จะตองทําการปรับปรุงแกไขเพื่อใหมีความตรงในระดับสูงกอนที่จะนําไปใชทดลองกับกลุมตัวอยาง692


2. การทดสอบกับกลุมตัวอยาง (Pre-Test) เมื่อปรับปรุงแบบสอบถามเรียบรอยแลวจึงนําแบบสอบถามไปถามกลุมตัวอยางจํานวน 10 รายกอนนําไปใชกับกลุมตัวอยางจริง โดยผูวิจัยนําไปทดลองเอง และอยูดวยเพื่อคอยสังเกตคําตอบและเปดโอกาสใหซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับคําถามคําตอบทําใหทราบถึงขอบกพรองของแบบสอบถาม3. เมื่อตรวจสอบในระหวางการทดลองใชเสร็จแลว จะวิเคราะหดูความชัดเจน ของการตอบ ความสมบูรณครบถวนของการตอบ และการสอดคลองในการตอบระหวางขอแกไขปรับปรุงคําถามและตัวเลือกในแบบสอบถามใหชัดเจนรัดกุม เพื่อความเขาใจและจะไดรับคําตอบตรงตามวัตถุประสงคของการวิจัยการเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยผูวิจัยไดทําหนังสือแนะนําตนเองพรอมทั้งชี้แจงวัตถุประสงคในการแจกแบบสํารวจ ลักษณะของแบบสํารวจและประโยชนที่จะนํามาใช ถึงตนสังกัดของธุรกิจสปาที่เปนกรณีศึกษาเพื่อขอความรวมมือในการทําวิจัย โดยใชแบบสอบถามที่มีโครงรางแนนอน (StructuredQuestionaire) และแบบคําถามที่ใชในการสัมภาษณ (Interview) ) เปนเครื่องมือในการทําวิจัย ซึ่งไดออกแบบและจัดทําขึ้นเพื่อการวิจัยครั้งนี้ ใชวิธีการกําหนดกลุมตัวอยางอายุระหวาง 16 -45 ปขึ้นไป โดยเลือกกลุมสปาที่อยูในยานธุรกิจ เชน เพชรบุรีตัดใหม สีลม สาทร สุรวงศ สุขุมวิท นานา ทองหลอ เพลินจิต เปนกลุมสปาตัวอยางดําเนินการโดยติดตอกับผูมีอํานาจเขารับบริการสปาโดยตรงเพื่อขอทําการวิจัยเรื่องนี้ โดยผานขั้นตอนของการทําวิทยานิพนธ แบบสอบถามจะถูกสัมภาษณและสอบถามกับผูเขาใชบริการโดยตรงที่เปนกลุมตัวอยางประชากรที่ศึกษา เพื่อไดขอมูลที่แมนยําและตรงประเด็นมากที่สุด และแบบสอบถามจะถูกสงกลับมายังผูวิจัยอยางรวดเร็วที่สุด ทั้งนี้แบบสอบถามที่ไดแจกจริงทั้งหมดมีจํานวน 266 ฉบับ และไดรับกลับคืนมา 266 ฉบับ(คิดเปน100%) ผูวิจัยไดทําการคัดเลือกเฉพาะแบบสอบถามที่ตอบกลับอยางสมบูรณ และเปนไปตามสัดสวนที่กําหนดในแตละแหงของสปา รวมทั้งสิ้น 266 ฉบับ เมื่อไดขอมูลมาครบแลวนําขอมูลดังกลาวมาวิเคราะหแลวเลือกกลุมตัวอยางที่สวยงามเพียง 3 กลุมตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม ที่สรางขึ้นมาใหมอีกครั้งเพื่อเจาะประเด็นในตัวแปรที่สําคัญๆทั้งหมด 300 ฉบับ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่สามารถจะนํามาวิเคราะหได และไดรับกลับคืนมา 300 ฉบับ (คิดเปน 100%)การวิเคราะหขอมูลหลังจากมีการรวบรวมแบบสอบถามที่ไดรับการตอบกลับคืนมา มาตรวจสอบความถูกตองและความสมบูรณจํานวน 266 ฉบับในชุดแรก และชุดที่สองเปนจํานวน 300 ฉบับ นํามาจัดเตรียมลงโคดคําตอบพรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองของการลงโคต ขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามจะถูกแปรในรูปของตัวเลขเพื่อใหสามารถใชกับเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรม SPSS/PC ในการประมวลผลขอมูลโดยวิธีการวิเคราะหขอมูลใชรอยละ(Percentage) การลําดับความสําคัญเฉลี่ย โดยใชคาดัชนีความสําคัญ ( Index Value) เปนตัวอธิบาย สวนการวิเคราะหคําถามใชมาตรฐานการวัดแบบประมาณคา(Rating Scale) ของ Likert โดยกําหนดคาซึ่งเปนตัวเลขที่ใชแทนคําตอบที่แสดงระดับความพึงพอใจและระดับความคาดหวัง ซึ่งมี 5 ระดับ คือ 5,4,3,2 และ 1 โดยให 5 แทนระดับที่มากที่สุดจนถึง 1 แทนระดับที่นอยที่สุดแลวคํานวณคาเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจและความคาดหวัง693


ดังกลาว ขั้นตอนตอมาคือ วิเคราะหขอมูลที่ไดจากการประมวลผลและสรุปผลการศึกษา โดยการนําเสนอผลการวิจัยในรูปของการบรรยาย ตามลําดับคะแนนใชวิธีการทางสถิติ โดยการใชเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูปชวยในการทําวิจัย โดยวิเคราะหขอมูลดังตอไปนี้1. ขอมูลเกี่ยวกับคาของตัวแปรใดๆที่มีอิทธิพลตอการวิจัยในครั้งนี้ โดยใชแจกแจงจํานวนความถี่รอยละชวยในการวิเคราะห เพราะเนื่องจากลักษณะของขอมูลไดกําหนดอยางมีโครงสรางและขอมูลลักษณะแบบชวงเปนสวนใหญ2. ขอมูลเกี่ยวกับการเปรียบเทียบความแตกตางในระดับของตัวแปร เชน ปริมาณแสง รูปฟอรมของน้ํา การสะทอนของน้ําและแสง ขนาดของวัตถุ เวลาที่มอง ที่เกี่ยวกับความงามของการใชน้ําและแสงตกแตงอาคารเพื่อการสรางสรรคบรรยากาศ นํามาวิเคราะหจํานวน 266 ตัวอยาง ในเบื้องตน จากนั้นมีการเก็บขอมูลเพิ่มเติมในสวนของหนารานสปาซึ่งจะประกอบไปดวยการตกแตงดวยน้ําและแสง บริเวณพื้นที่หองรับรองลูกคาของสปาและบริเวณพื้นที่ในหองนวดนํามาวิเคราะหจํานวน 300 ตัวอยาง โดยนําขอมูลมาแปรทางสถิติ โดยใชโปรแกรม SPSS แลวนํามาวิเคราะหเปนตาราง Cross-Tab โดยใชหลักการวิเคราะหความถี่ หรือคาเปอรเซนตของคุณสมบัติที่ตองการ3. สรุปขอมูลตางๆที่เกี่ยวกับ การใชแสงที่เหมาะสมทั้งภายในและภายนอกของธุรกิจสปาในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อสรางสรรคบรรยากาศที่ดีตอไปสรุปผลการวิจัยจากผลการวิจัย พบวา ตัวแปรดาน เสียงของน้ํามีอิทธิพลทางการสรางสรรคบรรยากาศบริเวณดานนอกอาคารสปาสูงสุดจากการวิจัย จากการวิเคราะหพบวาตัวแปรนี้เปนตัวแปรที่มีผลดานการสรางสรรคบรรยากาศที่เกี่ยวของกับการไดยินคอนขางมาก โดยในกลุมปจจัยตอมาที่มีผลตอการสรางสรรคบรรยากาศบริเวณสปาปานกลาง คือ ความสวาง และกลุมตัวแปรดานการสะทอนแสงมีอิทธิพลทางการสรางสรรคบรรยากาศภายในบริเวณสปาสูงสุดขอเสนอแนะจากผลที่ไดศึกษามาทั้งหมด การใชน้ําและแสงเพื่อการสรางสรรคบรรยากาศสปาทึ่ควรจะเปนดังนี้• บริเวณดานนอกสปาการที่จะรับรูถึงความรูสึกที่ดีไดนั้น ตองเกี่ยวของกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ รูป รส กลื่น เสียง สัมผัส ในหัวขอนี้ทําใหผูวิจัยทราบวาประสาทสัมผัสทั้ง 5 นี้เกิดขึ้นในการวิจัยครั้งนี้เกี่ยวของสัมพันธกันดังนี้ การที่เราตองการอยากจะพักผอนจากการเครียดจากทํางานมาเราก็ตองการเวลาที่อยากจะผอนคลายอารมณบางดังนั้นเราก็ตองการอยากเขาใชบริการสปา แลวทําใหผูวิจัยพบวาปจจัยใดบางที่สงผลใหผูใชบริการสปารูสึกวาบรรยากาศแบบใดดานนอกอาคารสปาที่ทําใหผูใชบริการสปาอยากจะพักผอน คือ การไดยินเสียงน้ํา และรูปฟอรมของน้ําตามลําดับ694


จากการไดยินเสียงน้ําที่ทําใหผูใชบริการสปาตองการอยากจะพักผอนเมื่อไดยิน หรือเมื่อไดเห็นรูปฟอรมของน้ํา ดังนั้นพบวาเกี่ยวของกับประสาทสัมผัส หูและตา เมื่อสรุปออกมาไดวาเสียงน้ํามีอิทธิพลสูงสุดของการสรางสรรคบรรยากาศดานนอกสปา ดังนั้นผูวิจัยจึงไดแนวคิดเพิ่มเติมวาการที่จะไดยินเสียงน้ําไดนั้นน้ําตองมีอัตราการไหลของน้ําที่สูงซึ่งจากการวิจัยไดพบวาอัตราการไหลหรือการเคลื่อนไหวของน้ําอยูที่ 30 ครั้ง / 15 วินาที (หรือ1600 วัตต) ที่ทําใหผูใขบริการสามารถไดยินเสียงน้ําและเห็นรูปฟอรมของน้ําอยางชัดเจน• บริเวณดานในสปาเมื่อทราบปจจัยใดที่ผูใชบริการรูสึกอยากจะพักผอนกับบรรยากาศดานนอกรานสปาแลว ตอมาจะกลาวถึง เมื่อผูใชบริการสปาเห็นบรรยากาศนอกรานแลวก็ตองการพักผอน ดังนั้นเมื่อผูใชบริการใชประสาทสัมผัสดานตาทําใหมองเห็นภายในรานสปาก็ยิ่งมีความตองการอยากจะมาดูภายในวาสวยงามเพียงไร ดังนั้นตองทราบวาภายในนั้นตองสวยงามเพียงไร ผูวิจัยไดพบวาปจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุดกับการสรางสรรคบรรยากาศภายในสปาคือการสะทอนแสงและปริมาณแสงตามลําดับ แลวแสงปริมาณที่เทาใดทําใหสรางสรรคบรรยากาศ ซึ่งผูวิจัยตองศึกษาในสวนนี้และไดคําตอบไดวาปริมาณแสงที่ชวยในการสรางสรรคบรรยากาศภายในสปาที่ควรจะเปนคือ 40 ลักซ อึกทั้งผูวิจัยยังไดมีการศึกษาตอเนื่องไปยังหองนวดที่ชวยในการพักผอนควรใชปริมาณแสงที่ควรจะเปนคือ 2.9 ลักซผูวิจัยไดศึกษาแตละตัวแปรหลักๆเทานั้นในแตละบริเวณของสปาที่ชวยในการสรางสรรคบรรยากาศแตยังมีตัวแปรอื่นๆที่มีความสําคัญรองลงมาที่ชวยในการสรางสรรคบรรยากาศใหกับสปา ซึ่งผูวิจัยไมไดทําการสํารวจเนื่องจากผูวิจัยใหความสําคัญกับตัวแปรที่มีคาน้ําหนักมากสูงสุด ดังที่ไดกลาวไปแลวขางตน695


การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว: กรณีศึกษา ศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นจังหวัดนครปฐมADMINISTRATION MODEL OF TOURIST INFORMATION CENTER: A CASE STUDY OF TOURIST INFORMATION CENTERNAKOHNPATHOM PROVINCEนายคมปราชญ บุตรศรีหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื ่อเสนอแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น บึงลาดโพธิ์ จังหวัดนครปฐมเนื่องจากศูนยบริการนักทองเที่ยวไดถูกจัดสรางขึ้นและเปดใหบริการเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2550แตการดําเนินงานของศูนยฯ ยังไมเปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวอันสงผลทําใหจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวมีจํานวนนอย ผูประกอบการทั้งรานอาหารและรานจําหนายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑประสบปญหาขาดทุนและผูประกอบการภายนอกไมมีความเชื่อมั่นในการเขามาลงทุนในศูนยบริการนักทองเที่ยววิธีการศึกษา อาศัยขอมูลปฐมภูมิ ซึ่งไดจากการสํารวจภาคสนาม โดยใชการสัมภาษณแบบสอบถาม และขอมูลทุติยภูมิ เพื่อศึกษาความตองการของนักทองเที่ยวตอการเขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว พรอมทั้งศึกษาปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวใหเกิดประสิทธิภาพ และศึกษาสภาพปญหา อุปสรรคและขอจํากัดในการดําเนินงาน เพื่อนําเสนอแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพผลการศึกษาพบวา ปจจัยสําคัญที่ดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามาใชบริการคือ บริการจําหนายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑที่มีชื่อเสียง บริการจําหนายอาหาร บริการขอมูลแหลงทองเที่ยว ที่สําคัญของจังหวัด ในดานปจจัยสําคัญตอการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวไดแก องคกรภาครัฐ เอกชน และองคการบริหารสวนทองถิ่นตองมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว และ มีการตั้งคณะกรรมการเพื่อกําหนดมาตรการในการควบคุม ตรวจสอบการดําเนินงานและการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว696


AbstractThe purpose of this study is to propose the administration model for touristinformation center Nakohnpathom Province. Since this tourist information center hasstarted to service the tourists, there are not many tourists come to use the service. Asthe result, the seller can not make the income to support their businesses.The study is based on primary data collected from field survey. The objective isto study the demand of tourists that come to use the services in the tourist informationcenter and study the administrative factors that affect the tourist information center. Thesurvey is carried out by using interview and questionnaires. Moreover, secondary dataare investigated to determine tourism situation, the pattern of current management,problems and limitations in managementThe result of the research shows that the major factors attracting tourists to cometo the tourist information center are the selling One Tumbon One Product and taste offood.To solve the problems, a new administration model should be set up. It shouldmanage by every part of organization in Nakohnpathom Province that relevant to touristinformation center. Furthermore, the tourist information center should be linked to theother tourist attractions that located near byความเปนมาและความสําคัญของปญหาการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่มีอัตราการเติบโตอยางตอเนื่องและสรางรายไดใหกับประเทศเปนจํานวนมากโดยในป พ.ศ 2550 มีนักทองเที่ยวชาวตางประเทศที่เดินทางเขามาในประเทศไทยทั้งสิ้นจํานวน 14.46 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 4.65 จากป 2549 กอใหเกิดรายไดจากการทองเที่ยวเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 547,781.81 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ <strong>13</strong>.57 และการเดินทางทองเที่ยวของคนไทยภายในประเทศ มีจํานวนทั้งสิ้น 81.49 ลานคน-ครั้ง เพิ่มขึ้นจากป2549 รอยละ 2.46 กอใหเกิดรายไดจากการทองเที่ยวเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 365,276.28 ลานบาทเพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ 9.<strong>13</strong> (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2549: 9-<strong>13</strong>) ดวยเหตุนี้รัฐบาลจึงไดนําการทองเที่ยวมาใชเปนเครื่องมือในการแกปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการขาดดุลการคาและดุลการชําระเงินตางประเทศ ซึ่งรายไดที่เปนเงินตราตางประเทศที่ไดจากอุตสาหกรรมการทองเที่ยวจะชวยผอนคลายภาวการณขาดดุลการคาไดเปนอยางดี นอกจากนี้อุตสาหกรรมการทองเที่ยวยังกอใหเกิดการสรางรายไดใหกับชุมชนและบุคคลหลายกลุมทั้งนี้697


เพราะการเดินทางทองเที่ยวจําเปนตองอาศัยกิจกรรมรองรับหลายลักษณะ เชน การคมนาคมขนสง ธุรกิจโรงแรมที่พัก บริการนําเที่ยว รานอาหาร ที่พัก ธุรกิจจําหนายของที่ระลึก เปนตนนอกจากจะกอใหเกิดการลงทุนทางดานธุรกิจทองเที่ยวขางตนแลว ยังกอใหเกิดการกระจายรายไดสู ชนบท ทั่งนี้เพราะทรัพยากรทองเที่ยวไดแก ทรัยยากรทองเที่ยวประเภทธรรมชาติ ประเภทประวัติศาสตร โบราณสถาน โบราณวัตถุ และประเภทประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และอื่นๆกระจายอยูทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวจึงจําเปนตองอาศัยแรงงานทองถิ่นเปนจํานวนมากจึงเปนการสรางรายไดใหกับคนในพื้นที่อุตสาหกรรมการทองเที่ยวนอกจากจะสงผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจแลว ยังสงผลทางดานสังคมและวัฒนธรรมอีกดวย คือ ชวยสนับสนุนฟนฟูอนุรักษศิลปวัฒนธรรมและประเพณีตางๆใหคงอยูสืบไปอีกทั้งยังมีบทบาทในการสรางสรรคความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่นทั้งทางดานสาธารณูปโภคและเทคโนโลยีตางๆ ดังจะเห็นไดจากความเปลี่ยนแปลงจากอดีตจนถึงปจจุบันที่ในทองถิ่นอันหางไกลไดมีการพัฒนาสาธารณูปโภคและเทคโนโลยีใหมีความเจริญกาวหนาทัดเทียมกับเมืองใหญ (ปญญโชติ สอนคม, 2538: 1)การนําการทองเที่ยวมาเปนเครื่องมือในการพัฒนาทางเศรษฐกิจจึงเปนสิ่งที่รัฐบาลใหความสําคัญและเรงพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10(พ.ศ.2550-2554) ไดกําหนดไวในสวนยุทธศาสตรการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืนวาการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมไทยเปนอยางมาก ดังนั้นการปรับโครงสรางภาคบริการใหเปนแหลงรายไดหลักของประเทศจึงมีความสําคัญ โดยพัฒนาการทองเที่ยวไทยใหเปนศูนยกลางการทองเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของภูมิภาคบนฐานความโดดเดนและหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและความเปนไทย พัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของธุรกิจบริการใหมีศักยภาพ เพื่อขยายฐานการผลิตและตลาดธุรกิจบริการใหครอบคลุมระดับภูมิภาค และพัฒนาการสรางเครือขายความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรชุมชนในทองถิ่น รวมถึงสนับสนุนการรวมกลุมของชุมชนทองถิ่นในรูปแบบตางๆใหเกิดประสิทธิภาพ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2550: 195-200)จากนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดังกลาวขางตนรัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะเชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวตางๆ เขากับจังหวัด กลุมจังหวัด ภูมิภาค และประเทศเพื่อนบานเปนเครือขายการทองเที่ยวที่เชื่อมโยง สงเสริมใหทุกสวนของสังคมตั้งแตระดับชุมชนใหเขามามีสวนรวมในการบริหารและจัดการพื้นที่ของตนใหเปนแหลงทองเทียวที่มีศักยภาพและความพรอมมากที่สุด โดยอนุมัติงบประมาณในการสรางศูนยบริการนักทองเที่ยวเพื่อที่จะเปนจุดเริ่มตนในการหาขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยวในพื้นที่รวมทั้งบริการอื่นๆเชน ขอมูลเสนทางการทองเที่ยว698


แหลงทองเที่ยวสําคัญที่นาสนใจ โรงแรมที่พัก รานอาหาร รวมไปถึงเปนแหลงรวบรวมสินคาที่มีชื่อเสียงของจังหวัดจังหวัดนครปฐมเปนจังหวัดในภาคกลางตะวันตกซึ่งมีประวัติศาสตรความเปนมาอันยาวนานจึงทําใหจังหวัดนครปฐมเปนแหลงรวมมรดกทางประวัติศาสตรอาทิ โบราณสถานโบราณวัตถุ ดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรมประเพณีประกอบกับความเหมาะสมทางดานภูมิศาสตรซึ่งตั้งอยูบริเวณลุมแมน้ําทาจีนที่มีลักษณะเปนพื้นที่ราบลุมภาคกลางจึงทําใหจังหวัดเปนแหลงผลิตธัญญาหารที่สําคัญมาตั่งแตอดีตจนถึงปจจุบัน จังหวัดนครปฐมไดจัดสรางศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นขึ้น โดยตั้งอยูที่ หมูที่ 2 ตําบลหนองดินแดง อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม โดยใชพื้นที่สาธารณะบึงลาดโพธิ์และที่ดินเอกชนจํานวน 5 ไร 2 งาน ใชเวลากอสราง 1 ป ตั้งแตวันที่ 4 เมษายน 2549 ถึงวันที่ 30 มีนาคม 2550และไดประกอบพิธีเปดอาคารศูนยบริการนักทองเที่ยวฯ ขึ้น เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2550 ในศูนยบริการนักทองเที่ยวฯ ประกอบไปดวยสิ่งกอสรางดังนี้ อาคารแสดงจําหนายผลิตภัณฑพรอมศาลา อาคารศูนยบริการนักทองเที่ยว แพอาหาร อาคารหองน้ําสาธารณะ โรงจอดรถยนตและปายโครงการ วัตถุประสงคในการสราง เพื่อเปนโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่องในโอกาสงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ป ในป พ.ศ. 2549 และเปนแหลงรวมของขอมูลขาวสารดานการทองเที่ยวเพื่อบริการประชาชนทางดานขอมูลขาวสารการทองเที่ยวและเปนศูนยบริการ แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น อีกทั้งใหบริการโตะจีน และอาหาร ที่มีชื่อเสียงของจังหวัดปจจุบันศูนยบริการนักทองเที่ยวไดเปดใหบริการแตการดําเนินงานของศูนยฯ ยังไมเปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวเนื่องจากประสบกับปญหาและขอจํากัดหลายประการ เชนจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวมีจํานวนนอยสงผลใหผูประกอบการทั้งรานอาหารและรานจําหนายสินคาหนึ่งผลิตภัณฑหนึ่งตําบลประสบปญหาขาดทุนและผูประกอบการภายนอกไมมีความเชื่อมั่นในการเขามาลงทุนในศูนยบริการนักทองเที่ยว การประชาสัมพันธขาดประสิทธิภาพในการนําขอมูลไปสูกลุมลูกคาเปาหมาย กลยุทธทางการตลาดขาดประสิทธิภาพในการดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามาใชบริการ การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวขาดประสิทธิภาพทั้งทางดานการบริการและการใหขอมูลขาวสารการทองเที่ยวแกนักทองเที่ยว องคกรหรือหนวยงานที่ทําการบริหารงานขาดความตอเนื่องของนโยบายบริหาร และการบริหารงานศูนยบริการนักทองเที่ยวขาดการมีสวนรวมจากชุมชนและองคกรที่เกี่ยวของ จากปญหาและขอจํากัดดังกลาวทําใหการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวไมเกิดประสิทธิภาพเทาที่ควร699


ดังนั้นผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะทําการศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารและจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นโดยเนนใหความสําคัญกับชุมชนทองถิ่นและองคกรที่รับผิดชอบใหมีบทบาทในการบริหารงาน สามารถเปนศูนยกลางเชื่อมโยงทองถิ่นกับหนวยงานภาครัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการระดับตางๆไดทั้งนี้รูปแบบการบริหารจัดการจะตองสอดคลองกับความตองการของชุมชนและนักทองเที่ยวโดยคํานึงถึงความสมดุลของการไดรับผลประโยชนและการมีสวนรวมขององคกรที่มีสวนเกี่ยวของทุกภาคสวนวัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อศึกษาความตองการของนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น2. เพื่อศึกษาปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น3. เพื่อเสนอแนวทางและรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวที่มีประสิทธิภาพกรอบแนวคิดการวิจัยการศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวจะมีลักษณะการจัดการเชิงระบบ ซึ่งเปนแนวทางของแคทซและคาหน ที่กลาววาการดําเนินการขององคกรเชิงระบบจะประกอบดวย ปจจัยนําเขา (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output)สภาพแวดลอม (Context)และขอมูลยอนกลับ (Feedback) (Katz and Kahn,1978: 20)โดยปจจัยนําเขา (Input) ไดแก งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ และสถานที่ จากนั้นนําปจจัยตางๆมาผานกระบวนการ (Process)ซึ่งผูศึกษาจะศึกษาถึงปจจัย 5 ดานที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว อันไดแก การบริหารและจัดการองคกร การตลาดและการโฆษณาประชาสัมพันธ บริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการทองเที่ยว และการรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว รวมถึงสภาพปญหาและขอจํากัดของการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว เพื่อเสนอแนวทางและรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ (Output) ดังแสดงตามแผนภาพที่ 1700


ขอบเขตการศึกษาวิจัย1. ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวและบุคคลากรที่มีหนาที่เกี่ยวของกับ ศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐม2. กลุ มตัวอยาง ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว จํานวน 30 คน และบุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดงและจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐม จํานวน <strong>13</strong>5 คนโดยแบงออกเปน5 กลุ มไดแก ผูกําหนดนโยบายดานการทองเที่ยวของจังหวัด ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารองคกรสวนทองถิ่น ผูปฏิบัติงานองคกรสวนทองถิ่น และผูประกอบกิจการภายในศูนยฯ3. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ผูวิจัยไดใชในการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวยตัวแปรพื้นฐานตัวแปรตน และตัวแปรตาม ซึ่งรายละเอียดมีดังนี้3.1 ตัวแปรพื้นฐาน เปนตัวแปรที่เกี่ยวกับสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงงานปจจุบัน และประสบการณทํางาน3.2 ตัวแปรตน เปนตัวแปรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยว ไดแกนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว บุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวจําแนกตามตําแหนงหนาที่ในการปฏิบัติงาน3.2 ตัวแปรตาม เปนตัวแปรที่เกี่ยวกับปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวซึ่งผูวิจัยไดแบงออกเปน 5 ดานไดแก การบริหารและจัดการองคกร การตลาดและการโฆษณาประชาสัมพันธ บริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการทองเที่ยว และการรักษาความปลอดภัย และความคิดเห็นที่มีตอปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวของบุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวจําแนกตามตําแหนงหนาที่ในการปฏิบัติงานเครื่องมือที่ใชในการวิจัย1. แบบสัมภาษณนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว2. แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว3. การจัดสัมมนาเชิงวิชาการ701


วิธีการศึกษาเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัยผูวิจัยไดกําหนดวิธีการศึกษาวิจัยดังนี้1. สัมภาษณนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวเพื่อทราบความตองการของนักทองเที่ยวเพื่อที่จะนํามากําหนดปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว2. นําแบบสอบถามปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวไปใหบุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวทําการประเมินเพื่อที่จะนําขอมูลไปหาคาทางสถิติที่บงชี้ถึงตัวแปรที่มีประสิทธิภาพและนํามาทําการสรุปผลเพื่อเสนอแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว3. จัดสัมมนาเชิงวิชาการระหวางผูวิจัยและบุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวเพื่อรวมกันหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ทราบถึงความตองการของนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น2. ทราบถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นใหเกิดประสิทธิภาพ3. นําปจจัยที่มีอิทธิพลตอการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวมาประยุกตใชเปนแนวทางในการเสนอรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ4. ศูนยบริการนักทองเที่ยวหรือแหลงทองเที่ยวอื่น ที่ประสบสถานการณคลายคลึงกันสามารถนําแนวทางการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวไปใชเปนแนวทางประกอบการพิจารณาในการวางแผนและหาแนวทางการบริหารจัดการไดสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะสรุปผลการวิจัย จากากรวิเคราะหขอมูล ผลของการวิจัยการศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว สรุปผลการศึกษาไดดังนี้1. นักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยฯมีความตองการใหศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐม มีการเปดโอกาสใหกิจการรานสะดวกซื้อ ปมน้ํามัน และรานกาแฟเขามาประกอบกิจการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว สินคาหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) และสินคาอื่นๆที่นํามาจําหนายตองมีความหลากหลายนาสนใจ มีการสงเสริมการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวในโอกาสสําคัญภายในศูนยบริการ702


นักทองเที่ยว และควรมีการจัดสรางสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานใหเพียงพอกับจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการ2. ปจจัยที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวประกอบดวย 5 ดานไดแกการบริหารและจัดการองคกร การตลาดและการประชาสัมพันธ บริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก การพัฒนาปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยว และการรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว และจากการศึกษาพบวาบุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวมีความเห็นวาปจจัยดานการพัฒนาปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยวมีความสําคัญในการบริหารจัดการเปนอันดับแรกรองลงมาคือดานการบริหารและจัดการองคกร และดานบริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวกเปนอันดับสุดทาย และจากการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีตอปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวของบุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาดานการบริหารและจัดการองคกร ดานการตลาดและการประชาสัมพันธ ดานบริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก ดานการพัฒนาปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยว และดานการรักษาความปลอดภัย ความคิดเห็นของบุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวแตกตางกันทุกดาน3. รูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวที่มีประสิทธิภาพควรมีการบริหารจัดการที่ประกอบดวย การบริหารและจัดการองคกร การตลาดและการประชาสัมพันธ บริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก การพัฒนาปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยว และการรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว ซึ่งการบริหารจัดการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้นองคประกอบขางตนจะตองมีการบริหารจัดการที่สอดคลอง และสมดุลกันอภิปรายผล จากผลการวิเคราะหขอมูลการวิจัยของตน มีหลายประเด็นที่ควรนํามาพิจารณา เพื่อใหแนวทางการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวเกิดประสิทธิภาพ และสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ผูวิจัยจึงเสนอผลการอภิปรายดังนี้1. จากผลการวิจัยที่พบวา นักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวมีความตองการใหศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นจังหวัดนครปฐม มีการเปดโอกาสใหกิจการรานสะดวกซื้อ เชน รานSeven- Eleven ปมน้ํามัน และรานกาแฟเขามาประกอบกิจการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว สินคาหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ(OTOP) และสินคาอื่นๆที่นํามาจําหนายตองมีความหลากหลาย นาสนใจและตรงกับความตองการของผูซื้อ ศูนยบริการนักทองเที่ยวควรมีการสงเสริมการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวในโอกาสสําคัญภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวเพื่อเปนการดึงดูดความสนใจนักทองเที่ยวใหเขามาใชบริการ และศูนยบริการนักทองเที่ยวควรมีการจัดสรางสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน เชน หองน้ํา ที่703


จอดรถ และปายบอกเสนทางการเขามาใชบริการภายในศูนยฯ ใหเพียงพอกับจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากนักทองเที่ยว มีความตองการความสะดวกสบาย ความหลากหลาย และความสะดวกรวดเร็วในการเขามาใชบริการทั้งนี้พฤติกรรมการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวอาจเปลี่ยนแปลงไป อันสามารถพิจารณาไดจากปจจัยทางดานสังคม ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ ปจจัยทางดานเทคโนโลยี และปจจัยทางดานการเมืองดังนั้น ผูบริหารศูนยบริการนักทองเที่ยวควรมีการจัดหาบริการ หรือพัฒนาศูนยบริการนักทองเที่ยว ใหตรงกับความตองการของนักทองเที่ยวกลุมเปาหมายที่เขามาใชบริการ2. จากผลการวิจัยที่พบวารูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวควรประกอบดวย 5 ดาน คือ การบริหารและจัดการองคกร การตลาดและการประชาสัมพันธ บริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก การพัฒนาปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยว และการรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว ทั้งนี้ผูวิจัยไดแยกพิจารณาเปนรายดานไดดังตอไปนี้ดานการบริหารและจัดการองคกร ปจจุบันศูนยบริการนักทองเที่ยวประสบปญหาจํานวนนักทองเที่ยวเขามาใชบริการนอยทําใหสงผลตอผูประกอบกิจการรายยอยภายในศูนยฯไมสามารถที่จะทําการจําหนายสินคาไดเทาที่ควร ดังนั้น ผูบริหารศูนยบริการนักทองเที่ยวควรพิจารณาปจจัยในการบริหารจัดการองคกรใหเกิดประสิทธิภาพอันไดแก นโยบายในการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวตองมีความตอเนื่องและมีการนําไปปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม เพราะในปจจุบันอํานาจการบริหารจัดการอยูกับสวนกลางคือจังหวัดนครปฐมผูบริหารสูงสุดคือผูวาราชการจังหวัดในกรณีที่เกิดมีการโยกยายตําแหนงและมีผูบริหารคนใหมเขามาทําหนาที่นโยบายชุดเกาอาจจะไมไดรับการสานตอทําใหการดําเนินงานที่เปนประโยชนกับศูนยฯอาจจะเกิดการหยุดชะงักดังนั้นการแกปญหาคือจัดตั้งคณะกรรมการที่ทําหนาที่บริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวโดยตรงหรือถาผูบริหารไดพิจารณาแลวาศักยภาพในการบริหารหารจัดการศูนยฯยังมีไมเพียงพอ อันเนื่องมาจากขอจํากัดทางราชการ งบประมาณบริหารมีไมเพียงพอ หรือนโยบายบริหารไมตอเนื่องผูบริหารที่มีหนาที่รับผิดชอบควรที่จะทําการพิจารณาการโอนอํานาจการบริหารจัดการใหองคกรอื่น ซึ่งไดแก องคการบริหารสวนทองถิ่น หรือภาคเอกชนที่มีศักยภาพในการบริหารเขามาบริหารจัดการ ทั้งนี ้การบริหารและจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวตองไดรับการมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายบริหารจากองคกรที่มีสวนเกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวทุกภาคสวน ประเด็นตอมาคือการมีสวนรวมขององคกรที่เกี่ยวของและชุมชนในทองถิ่น การที่จะทําใหศูนยบริการนักทองเที่ยวเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวและบุคคลทั่วไปนั้นองคกรหรือบุคคลในชุมชนที่มีสวนรวมในศูนยบริการนักทองเที่ยวไมวาจะเปน รานคาที่เขามาประกอบกิจการหรือการเขามาใชบริการในชวงเวลาวางของบุคคลในชุมชน รวมทั้งการเขามารวมเปดกิจการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวของภาคเอกชน เชนรานคาสะดวกซื้อ ปมน้ํามัน รานอาหารที่มีชื่อเสียงภายในจังหวัดสิ่งเหลานี้704


เปนสิ่งดึงดูดความตองการของนักทองเที่ยวใหเขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวดังนั้นบุคคลหรือหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของทั้งหมดตองเขามารวมกันเพื่อที่จะกําหนดทิศทางและแนวทางในการบริหารและจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวรวมกันดานการตลาดและการประชาสัมพันธ การบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวใหเกิดประสิทธิภาพนั้นการนํากลยุทธทางการตลาดเขามาใชเพื่อเปนการดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามาใชบริการก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ผูบริหารควรที่จะมีการวางกลยุทธใหเหมาะสมกับกลุมนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการ ซึ่งมีประเด็นใหพิจารณาไดแก การนํากลยุทธดานราคาเขามาใชเพื่อดึงดูดความสนใจของนักที่องเที่ยว การนํากลยุทธดานการสงเสริมการขายเขามาใช เพื่อกระตุนใหเกิดการซื้อผลิตภัณฑการทองเที่ยว การจัดจําหนายสินคาหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ที่มีความหลากหลาย และนาสนใจ การประสานกับธุรกิจนําเที่ยวภายในจังหวัดเพื่อนํานักทองเที่ยวเขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว การสงเสริมการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวในโอกาสสําคัญภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว และการจัดหาหนวยงานหรือองคกรที่มีประสิทธิภาพเขามาทําหนาที่ประชาสัมพันธเพื่อเผยแพรขอมูลไปสูลูกคากลุมเปาหมายดานบริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก ผูบริหารศูนยบริการนักทองเที่ยวควรที่จะมีการจัดบริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวกใหมีความพรอมในการรองรับการเขามาใชบริการของนักทองเที่ยวเพื่อใหนักทองเที่ยวเกิดความสะดวกสบาย และเกิดความประทับใจสงผลใหเกิดการกลับเขามาใชบริการอีกครั้ง ผลจากการวิจัย ศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐม มีประเด็นเกี่ยวกับบริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวกที่ผูบริหารศูนยฯควรใหความสําคัญในการพัฒนาปรับปรุงไดแก การจัดเจาหนาที่ประจําภายในศูนยฯเพื่อใหบริการขอมูลดานการทองเที่ยว การพัฒนาปรับปรุงสื่อสารสนเทศการใหบริการขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ โรงแรมที่พัก รานอาหาร และรานคา ใหมีประสิทธิภาพในการบริการขอมูลขาวสารการทองเที่ยวใหมากขึ้น มีการบริการและจําหนายสินคาที่มีชื่อเสียงของจังหวัด ไวบริการนักทองเที่ยวที่มาใชบริการศูนยฯ เชน บริการนวดฝาเทา บริการนวดสมุนไพร บริการจําหนายอาหาร เปนตน และบริการโปรแกรมการทองเที่ยวที่นาสนใจภายในจังหวัดผูบริหารศูนยบริการนักทองเที่ยวควรใหความสําคัญตอคุณภาพการบริการ การเอาใจใสและการสรางความประทับใจใหแกนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการ เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวใหกลับเขามาใชบริการอีก ดังนั้นการใหความสําคัญตอการพัฒนาบุคคลากรทางดานการบริการจึงเปนสิ่งสําคัญ นอกจากนี้ผูบริหารควรใหความสนใจกับเรื่องความพึงพอใจของนักทองเที่ยวใหมากโดยการเก็บขอมูลเกี่ยวกับความคาดหวัง ความพึงพอใจในการเขามาใชบริการศูนยบริการนักทองเที่ยว และนําขอมูลเหลานั้นมาแกไขปรับปรุงการบริการใหดีอยูเสมอ705


ดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการทองเที่ยว ศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐม ควรมีการพัฒนา และปรับปรุงปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยว ไดแก ศูนยบริการนักทองเที่ยวควรจัดใหมีบริการรถสาธารณะผานเพื่อเปนการสะดวกตอการเขามาใชบริการของนักทองเที่ยว ปายบอกเสนทางการเขามาใชบริการศูนยควรมีความชัดเจน ตอเนื่อง และสังเกตเห็นไดงาย บริเวณที่กลับรถควรอยูใกลกับศูนยบริการนักทองเที่ยว ควรมีการเพิ่มบริเวณที่จอดรถใหเพียงพอตอการเขามาใชบริการของนักทองเที่ยวติดตั้งระบบโทรคมนาคมและการสื่อสาร เชน โทรศัพทสาธารณะ สัญญาณอินเตอรเน็ตไวบริการนักทองเที่ยว จัดสรางหองน้ําสะอาดใหมีปริมาณเพียงพอตอจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการและจัดสรางระบบการกําจัดสิ่งปฏิกูลที่มีประสิทธิภาพศูนยบริการนักทองเที่ยวที่มีประสิทธิภาพนั้นควรมีการวางแผนการจัดการศูนยฯดานโครงสรางพื้นฐานการทองเที่ยวที่เปนระบบ เนื่องจากนักทองเที่ยวมีความคาดหวังในการที่จะไดรับบริการที่สะดวกรวดเร็ว และมีขอผิดพลาดนอยในการเขามาใชบริการ นอกจากนี้การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการทองเที่ยวยังสงผลดีตอชุมชนผูอาศัยโดยรอบในการเปนสวนสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจในชุมชนดานการดูแลรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว เปนที่ทราบกันดีวานักทองเที่ยวมีความตองการที่จะเดินทางไปในแหลงทองเที่ยวที่มีความปลอดภัย และเคยไดรับความพึงพอใจมากอนแลวมากกวาที่จะเดินทางไปในแหลงทองเที่ยวที่ไมเคยรูจัก ดังนั้นผูบริหารศูนยบริการนักทองเที่ยวควรใหความสําคัญและใหความเอาใจใสในเรื่องความปลอดภัยของนักทองเที่ยวอันไดแก จัดหาเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยประจําศูนยบริการนักทองเที่ยวตลอด 24 ชั่วโมงการจัดเจาหนาที่ตํารวจเขามาตรวจตราความเรียบรอยบริเวณศูนยบริการนักทองเที่ยวในเวลากลางคือ และการประสานงานกับสถานพยาบาลใกลเคียงเพื่อชวยเหลือนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการศูนยบริการนักทองเที่ยวในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ เพื่อใหนักทองเที่ยวเดินทางเขามาใชบริการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐม อยางปลอดภัยตั้งแตเริ่มจนสิ้นสุดการเดินทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น บึงลาดโพธิ์ จังหวัดนครปฐมที่มีประสิทธิภาพควรที่จะประกอบดวยองคประกอบสําคัญ5 ดานไดแก การบริหารและจัดการองคกร การตลาดและการประชาสัมพันธ บริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก การพัฒนาปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยว และการรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว การบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของนักทองเที่ยวในการเขามาใชบริการศูนยบริการนักทองเที่ยวนั้นองคประกอบขางตนจะตองมีการบริหารจัดการที่สอดคลอง และสมดุลกันการมุงเนนเฉพาะดานใด706


ดานหนึ่งยอมไมกอเกิดความสมดุลทางการทองเที่ยวและอาจไมตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวไดอยางครบถวนจากผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีตอปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวพบวา บุคลากรที่เกี่ยวของกับศูนยบริการนักทองเที่ยวมีความเห็นเกี่ยวกับปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวแตกตางกัน และเมื่อพิจารณารายดานผูกําหนดนโยบายดานการทองเที่ยวมีความคิดเห็นตอปจจัยการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยวสอดคลองกับผูบริหารองคกรสวนทองถิ่นแตมีความคิดเห็นแตกตางจากผูปฏิบัติงาน ผูปฏิบัติงานองคกรสวนทองถิ่น และผูประกอบกิจการทั้งนี้อาจเนื่องมาจากตําหนาที่ในการปฏิบัติงานทําใหมุมมองในการบริหารจัดการมีความแตกตางกัน เพื่อที่จะทําใหบุคคลทั้งหมดมีแนวความคิดที่สอดคลองกันผูบริหารระดับสูงขององคกรตองจัดใหมีการสัมมนาเพื่อและเปลี่ยนความคิดเห็นตลอดจนสภาพปญหาที่ผูปฏิบัติงานกําลังประสบอยูเพื่อที่จะรวมกันหาแนวทางแกปญหาและหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว3. รูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น บึงลาดโพธิ์ จังหวัดนครปฐม ที่มีประสิทธิภาพควรมีการบริหารจัดการที่ประกอบดวยการบริหารและจัดการองคกร การตลาดและการประชาสัมพันธ บริการการทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก การพัฒนาปจจัยพื้นฐานการทองเที่ยว และการรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยวซึ่งงานวิจัยขางตนมีความสอดคลองกับงานวิจัยของหลายหนวยงาน ไดแก มหาวิทยาลัยเชียงใหมและสถาบันดํารงราชานุภาพ (2541) ที่ไดทําการศึกษาแนวทางการบริหารและจัดการการทองเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบล และสภาตําบลโดยผลการศึกษาพบวาแนวทางและรูปแบบการบริหารจัดการการทองเที่ยวสําหรับองคการบริหารสวนตําบล และสภาตําบล ควรประกอบดวย 5 ประเด็นคือ 1 การตลาดและการประชาสัมพันธ 2 การสํารวจและพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยว 3 การบริหารและจัดการองคกร 4 การวางแผนปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเที่ยว และ 5 การรักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว ซึ่งอํานาจหนาที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการการทองเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบล และสภาตําบลควรดําเนินการโดยคณะกรรมการรวมจากหลายฝายที่เกี่ยวของ วรัญู เวียงอําพล (2546) ไดศึกษาการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืนในประเทศไทยผลการศึกษาพบวา แนวคิดของการจัดการการทองเที่ยวแบบยั่งยืนในประเทศไทยจะตองเกิดจากการรวมมือกันของทุกภาคสวนที่มีหนาที่รับผิดชอบซึ่งผูวิจัยไดกําหนดไว 4 กลุมไดแก 1) ภาครัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐ 2) ภาคเอกชนหรือผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยว 3) ชุมชนหรือเจาของพื้นที่และ 4) นักทองเที่ยว ทั้ง 4 กลุมนี้ตองบริหารและรับผิดชอบรวมกันเพื่อใหการบริหารจัดการแหลงทองเที่ยวเกิดประสิทธิภาพ โดยผูวิจัย707


ไดกําหนดแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการซึ่งประกอบดวย 1) การจัดการทรัพยากรแหลงทองเที่ยวดานโครงสรางพื้นฐานที่เหมาะสมและเพียงพอ 2)การตลาด การบริการ การโฆษณาประชาสัมพันธ เพื่อเปนกลยุทธไวชวยในการสงเสริมและเผยแพรการทองเที่ยว3)การสนับสนุนการศึกษาและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวอยางตอเนื่อง และ 4)การจัดการดานการมีสวนรวมของทุกฝายที่เกี่ยวของ ซึ่งการจัดการทุกอยางตองทําอยางสอดคลองและเปนระบบการบริหารและจัดการจึงจะไดออกมาอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดงและจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐมใหเกิดประสิทธิภาพนั้นศูนยบริการนักทองเที่ยวตองสรางเอกลักษณหรือจุดเดนเพื่อเปนการดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามาใชบริการซึ่งแนวมีดังนี้1. การจัดเตรียมปจจัยพื้นฐานดานการทองเที่ยวใหมีความพรอมในการรองรับนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวไดแก บริเวณที่จอดรถ บริการหองน้ําสะอาด ปายบอกเสนทางเขาศูนยบริการนักทองเที่ยวที่มีความชัดเจน ตอเนื่อง และสังเกตเห็นไดงาย และการจัดเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยและเจาหนาที่ตํารวจเขามาตรวจสอบความเรียบรอยตลอด24 ชั่วโมง2. บริการรานขายอาหารที่มีชื่อเสียงของจังหวัด จัดหวัดนคปฐมจัดไดวาเปนจังหวัดที่มีรานอาหารที่มีชื่อเสียงในหลายพื้นที่ของจังหวัด เชน เปนยางโกเท วุนคุณอุ ขาวหลามนครชัยศรีผูบริหารศูนยบริการนักทองเที่ยวควรมีการติดตอรานหารอาหารเหลานี ้ใหเขามาประกอบกิจการภายในศูนยฯเพื่อเปนการสรางจุดดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามาใชบริการ3. บริการจําหนายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) จังหวัดนครปฐมเปนจังหวัดหนึ่งที่มีสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) หลายประเภทที่มีความนาสนใจอยูในหลายพื้นที่ของจังหวัดดังนั้นศูนยบริการนักทองเที่ยวตองจัดหาสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ที่มีความหลากหลาย นาสนใจ และตรงกับความตองการของนักทงเที่ยวเขามาจัดจําหนายเพื่อเปนอีกหนึ่งบริการที่สามารถสรางจุดดึงดูดใหนักทองเที่ยวเขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว4. บริการรานสะดวกซื้อ ปจจุบันในหลายพื้นที่ของประเทศไดมีการเปดบริการของรานสะดวกซื้อไมวาจะเปนราน 7-11 หรือ รานมินิมาท ทําใหประชนทั่วไปมีความสะดวกสบายในการซื้อหาสินคาเบ็ดเตล็ดที่ใชอยูทั่วไปในชีวิตประจําวัน ดังนั้นศูนยบริการนักทองเที่ยวตองมีการจัดหาบริการรานสะดวกซื้อเขามาบริการนักทองเที่ยวเพื่อทําใหนักทองเที่ยวมีความสะดวกสบายในการเขามาใชบริการภายในศูนย5. บริการนวดแผนไทย บริการนวดสมุนไพร และบริการนวดฝาเทา เปนอีกบริการหนึ่งที่ศูนยบริการนักทองเที่ยวตองมีการจัดหาเขามาบริการนักทองเที่ยวเพราะในปจจุบันบริการเรื่องการ708


ดูแลสุขภาพเปนสิ่งที่นักทองเที่ยวหลายคนใหความสนใจอันจะเห็นไดจากในหลายแหลงทองเที่ยวไดมีการเปดบริการและมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศใหความสนใจ6. การสงเสริมการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวภายในศูนยฯในโอกาสสําคัญ การจัดกิจกรรมการทองเที่ยวในโอกาสสําคัญ เชน งานสงกรานต งานปใหม และงานไหวพระประจําปจังหวัดนครปฐม เปนอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถดึงนักทองเที่ยวใหเขามาใชพื้นที่และบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยว7. บริการสื่อสารสนเทศการใหขอมูลการทองเที่ยวจังหวัดนครปฐม นอกจากนักทองเที่ยวจะไดเขามาใชบริการที่ศูนยบริการนักทองเที่ยวไดจัดไวบริการขางตนแลวนักทองเที่ยวสามารถหาขอมูลแหลงทองเที่ยวที่นาสนใจภายในจังหวัดรวมทั้งขอมูลอื่นทีเกี่ยวของไดแก ที่พัก รานอาหารเสนทางการเดินทาง ซึ่งเปนการชวยสงเสริมการทองเที่ยวใหกับจังหวัดอีกทางหนึ่งดวย8. การประสานกับธุรกิจนําเที่ยว จังหวัดนครปฐมเปนจังหวัดที่มีการนํานักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศเขามาทองเที่ยวโดยบริษัทนําเที่ยว (Tour) เปนจํานวนมากศูนยบริการนักทองเที่ยวควรมีการติดตอกับบริษัทเหลานี้เพื่อทําขอตกลงในการจัดนักทองเที่ยวเขามาใชบริการภายในศูนยบริการนักทองเที่ยวซึ่งจะเปนอีกหนึ่งแนวทางในการเพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาใชบริการขอเสนอแนะ การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนยบริการนักทองเที่ยว:กรณีศึกษา ศูนยบริการนักทองเที่ยวแสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น จังหวัดนครปฐม สําหรับการวิจัยครั้งตอไปผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะที่ควรมีการศึกษาในประเด็นดังตอไปนี้1) ผูบริหารศูนยบริการนักทองเที่ยวควรมีการพิจารณาแนวทางการบริหารจัดการที่ผูวิจัยไดนําเสนอเพื่อเปนแนวทางในการแกไขปญหาการดําเนินงานที่ประสบอยูในขณะนี้2) ศูนยบริการนักทองเที่ยว แสดง และจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นจังหวัดนครปฐม ควรมีการกระจายอํานาจการบริหารจัดการใหกับองคกรหรือหนวยงานที่มีศักยภาพไดแก องคการบริหารในพื้นที่ ภาคเอกชน เขามามีอํานาจในการบริหารจัดการศูนยฯเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงค709


บรรณานุกรมภาษาไทยการทองเที่ยวแหงประเทศไทย. จํานวนนักทองเที่ยวและรายไดจากการทองเที่ยวของประเทศไทยตั้งแตป 2549-2550. กรุงเทพฯ : 2549.ปญญโชติ สอนคม. แนวทางการพัฒนาแหลงทองเที่ยวชายหาดบางแสน. ปริญญาการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538.มหาวิทยาลัยเชียงใหม. โครงการศึกษาวิจัยการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม. โครงการศึกษาแนวทางการบริหารและจัดการการทองเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบล(อบต. ) และสภาตําบล (สต.). กรุงเทพฯ : 2541.วันเสด็จ ถาวรสุข. ในเอกสารบทความวิชาการประกอบการสัมมนา. การสรางจุดขายรูปแบบใหมของการทองเที่ยวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน. กรุงเทพฯ: 2551.วรัญู เวียงอําพล. การจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืนในประเทศไทย. ปริญญาการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2546.สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบที่ 10 พ.ศ. 2550-2554. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเม็ดทรายพริ้นติ้ง, 2550.ภาษาอังกฤษDanial Katz and Robert. Kahn, The Social Psychology of Organization, 2 nd ed. New York, JohnWile & Sons, 1978.John Swarbrooke, Sustainable Tourism Management. Oxen : CABI Publishing, 2000.Likert, Rensis. New patten of Management. Tokoyo: McGraw- Hill Kogakusha, 1960.710


สภาพปญหาทางดานกายภาพของโรงพยาบาลรัฐ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลปทุมธานีนางสาว วรัตม บุณยบุตรหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอโรงพยาบาลปทุมธานีเปนโรงพยาบาลขนาดใหญ ที่มีผูขอเขารับบริการเปนจํานวนมากในแตละวัน แตในปจจุบันอาคารสถานที่ของโรงพยาบาลมีสภาพชํารุดและทรุดโทรมเปนอยางมาก อาจสงผลกระทบตอผูใชอาคาร และกอใหเกิดภาพลักษณที่ไมดีตอโรงพยาบาลได การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปญหาและสาเหตุของปญหาทางดานกายภาพของโรงพยาบาลฯ รวมถึงลักษณะการดําเนินงานดานการดูแลรักษาอาคารสถานที่ ในปจจุบัน เพื่อเสนอแนะแนวทางในการดูแลรักษางานดานอาคารสถานที่สําหรับโรงพยาบาลปทุมธานีตอไป โดยการศึกษาในครั้งนี้ ผูทําการศึกษา เลือกใชวิธีการสํารวจ สังเกตการณ สอบถาม และการสืบคนขอมูลจากเอกสาร โดยในการศึกษา ผูทําการศึกษาเลือกศึกษาสภาพทางกายภาพเฉพาะอาคารในสวนรักษาพยาบาล จํานวน 6 อาคาร จากทั้งหมด 22 อาคารจากการศึกษาพบวา สภาพปญหาดานกายภาพของโรงพยาบาลปทุมธานี สามารถจําแนกออกไดเปน2 กลุม ไดแก 1. สภาพปญหาดานงานสถาปตยกรรม พบลักษณะของการเกิดปญหาทั้งหมด <strong>13</strong> ประเภท 2.สภาพปญหาดานงานระบบประกอบอาคาร พบลักษณะของการเกิดปญหา 9 ประเภท โดยแบงประเภทของปญหาที่พบตามระบบประกอบอาคาร ปญหาที่เกิดขึ้นสามารถพบไดทั้งในพื้นที่ที่มีความสําคัญตอการรักษาพยาบาล เชน หองผาตัด หองผูปวยหนัก (ICU) หองพักผูปวย และหองทําหัตถการตางๆ และพบในพื้นที่ทั่วไป เชน ทางเดิน หองน้ํา หอพยาบาล เปนตนจากการศึกษาพบสาเหตุหลักของปญหาดานกายภาพ ไดแก การขาดงบประมาณ การขาดความรูความชํานาญของผูปฏิบัติงาน การขาดความเขาใจของผูใชงาน วัสดุหมดอายุการใชงาน และการขาดการบํารุงรักษาเปนตนการศึกษานี้สรุปวา โรงพยาบาลปทุมธานีประสบปญหาสภาพอาคารชํารุด และทรุดโทรม เนื่องมาจากการขาดการดูแลรักษาอาคารที่สม่ําเสมอ ดังนั้นจึงควรกําหนดใหมีแผนการบํารุงรักษาที่เปนระบบ ควรมีการกําหนดนโยบายดานการดูแลอาคารสถานที่ใหชัดเจน และการกําหนดคุณสมบัติของบุคลากรใหเหมาะสมกับการปฏิบัติงานความเปนมาและสาระสําคัญโรงพยาบาล เปนสถานที่ที่ใหบริการดานสาธารณสุขใหแกประชาชน ซึ่งในปจจุบันการใหบริการทางดานการแพทยนั้นไดถูกพัฒนาใหมีความกาวหนาในเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้นจากในอดีต จึงสงผลใหระบบประกอบอาคารนั้นมีความสลับซับซอนมากขึ้นตามไปดวย สงผลใหการดูแลบํารุงรักษาอาคารและระบบประกอบอาคารควรมีความเหมาะสม และไมสงผลเสียตอกิจกรรมหลักของโรงพยาบาล711


ในอีกทางหนึ่งหากวาโรงพยาบาลมีสภาพชํารุดทรุดโทรม ไมสะอาด หรือไมปลอดภัย หรือมีการดูแลรักษาอาคารที่ไมเหมาะสม ก็จะสงผลโดยตรงตอผูใชอาคาร และตองเสียคาใชจายในการดูแลอาคาร รวมทั้งอาจสงผลกระทบตอภาพลักษณของโรงพยาบาลตามมาในภายหลัง ซึ่งในชวงหลายปที่ผานมา โรงพยาบาลที่ตั้งอยูในตางจังหวัด เริ่มมีการพัฒนาระบบประกอบอาคารใหมีความทันสมัยทัดเทียมกับโรงพยาบาลในเมืองหลวงมากขึ้น อันเนื่องมาจาก นโยบายดานการพัฒนาวงการแพทยใหเจริญกาวหนาโดยทั่วถึงกันทุกพื้นที่ในประเทศไทยจึงสงผลใหการดูแลงานดานอาคารสถานที่มีความสําคัญมากขึ้นตามไปดวยโรงพยาบาลปทุมธานี เปนโรงพยาบาลประจําจังหวัดที่มีขนาดใหญ และมีความสําคัญตอจังหวัดปทุมธานีเปนอยางมาก และในปจจุบันโรงพยาบาลกําลังมีการขยายตัวเพื่อพัฒนาอาคารสถานที่ใหสามารถใหบริการแกประชาชนไดสะดวกมากขึ้น แตปจจุบันอาคารและระบบประกอบอาคารของโรงพยาบาลมีสภาพชํารุดทรุดโทรม โดยหากปลอยไวนานจะยิ่งสงผลเสียตอผูใชอาคารและกอใหเกิดภาพลักษณที่ไมดีตอโรงพยาบาลไดวัตถุประสงคของการศึกษา1. เพื่อศึกษาสภาพปญหาทางกายภาพในปจจุบัน และปญหาดานการดูแลรักษาอาคารสถานที่ของโรงพยาบาลปทุมธานี2. เพื่อนําเสนอแนวทางแกไขปญหาดานการดูแลรักษางานดานอาคารสถานที่ ในสวนของงานฝายงานดานอาคารสถานที่ของโรงพยาบาลปทุมธานีวิธีการศึกษาการศึกษาในครั้งนี้ ผูศึกษาไดกําหนดขอบเขตในการศึกษาโดยเลือกศึกษาเฉพาะอาคารที่ใหบริการดานการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลปทุมธานีจํานวน 6 อาคาร เนื่องจากอาคารในสวนนี้จะสงผลตอกิจกรรมหลักของโรงพยาบาลมากกวาอาคารในสวนอื่นๆ ซึ่งอาคารทั้ง 6 อาคารที่ทําการศึกษา ประกอบดวย อาคาร 1 (อาคารบุณฑริก) อาคาร 2 (อาคาร 100 ป) อาคาร 3 (ตึกกระดูก) อาคาร 4 อาคารคลอด และอาคารเฉลิมพระเกียรติโดยในการศึกษาผูศึกษาไดเลือกทําการศึกษาในเรื่องของสภาพปญหาดานกายภาพของโรงพยาบาลฯที่ปรากฏอยูในชวงป 2551 โดยมีรายละเอียดดังนี้• สภาพปญหา และสาเหตุของปญหาดานสถาปตยกรรม โดยวิธีการ สํารวจ สังเกตการณ และสอบถาม โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้1. สํารวจ และสังเกตการณสภาพลักษณะของการเกิดปญหาภายในอาคาร2. ทําการจดบันทึกจํานวนจุดที่เกิดปญหา3. สอบถามสภาพปญหาจากเจาหนาที่ และชางประจําของโรงพยาบาลฯ• สภาพปญหา และสาเหตุของปญหาดานระบบประกอบอาคาร ชวงระยะเวลา 6 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม – 31 มิถุนายน พ.ศ. 2551 โดยวิธีการ สืบคนขอมูลจากเอกสาร และการสอบถาม โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้1. คัดแยกสภาพปญหาที่มีลักษณะของปญหาเหมือนกัน712


2. ทําการจดบันทึกจํานวนงานซอมแซมของสภาพปญหาเหลานั้น3. สอบถามสภาพปญหาจากชางผูดูแลระบบประกอบอาคารที่มีปญหาจากนั้นจึงทําการรวบรวมขอมูลที่ไดทําการสํารวจ สังเกตการณ สอบถาม และการสืบคนขอมูลจากเอกสาร งานวิจัย แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาวิเคราะห สรุปผลและเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหาดานกายภาพใหกับโรงพยาบาลฯตอไปผลการศึกษา1.ขอมูลดานกายภาพของอาคารในสวนรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลปทุมธานีโรงพยาบาลปทุมธานีจัดวาเปนอาคารประเภทสาธารณะที่ประกอบดวยอาคารที่สนับสนุนทางการรักษาพยาบาลทั้งหมด 22 อาคาร โดยมีอาคารดานการรักษาพยาบาลทั้งหมดจํานวน 6 อาคาร ซึ่งขอมูลทางกายภาพของโรงพยาบาลปทุมธานี มีรายละเอียด ดังนี้ตารางที่ 1 รายละเอียดของอาคารดานการรักษาพยาบาลอาคาร พื้นที่ อายุ ความสูงวัตถุประสงคของการใชงาน(ตรม.) (ป) (ชั้น)อาคารคลอด 1,145 15 2 หองคลอดและสวนกายภาพบําบัดอาคารศัลยกรรมกระดูกและกุมารเวชกรรม1,294 19 2 ผูปวยศัลยกรรมกระดูก และสวนพักผูปวยหนักเด็กอาคาร 4 4,039 11 5 สวนพักผูปวยศัลยกรรมอาคาร 1 (บุณฑริก) 4,039 9 5 ผูปวยนอก และสวนพักผูปวยอายุรกรรมอาคารเฉลิมพระเกียติ 5,000 9 4 สวนของหองผาตัด และสวนสนับสนุนทางการแพทยอาคาร 100 ป สมเด็จพระศรีฯ 4,039 7 5 สวนพักผูปวยอายุรกรรมเด็ก2. การปฏิบัติงานของฝายบํารุงรักษา และอาคารสถานที่ของโรงพยาบาลปทุมธานีฝายบํารุงรักษา และอาคารสถานที่ เปนฝายสนับสนุนใหการปฏิบัติงานตางๆ ภายในโรงพยาบาลใหสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีหนาที่รับผิดชอบดวยกัน 2 สวน คือ สวนที่ 1 เปนงานดูแลและซอมแซมระบบประกอบอาคาร สวนที่ 2 เปนงานดูแลและซอมแซมงานดานสถาปตยกรรมของโรงพยาบาล โดยมีรายละเอียดลักษณะ และวิธีการปฏิบัติงานดังนี้7<strong>13</strong>


ตารางที่ 2 การปฏิบัติงานดานการดูแลรักษาอาคารสถานที่ประเภทของงาน ระบบ/งาน การบํารุงรักษาสถาปตยกรรมระบบประกอบอาคารเปลือกอาคาร ซอมเมื่อเสียหายโครงสรางอาคาร ซอมเมื่อเสียหายอุปกรณประกอบอาคาร ซอมเมื่อเสียหายไฟฟา ซอมเมื่อเสียหายปรับอากาศลางทําความสะอาดสุขาภิบาล ซอมเมื่อเสียหายลิฟทตรวจเช็คระบบสื่อสาร ซอมเมื่อเสียหายปองกันอัคคีภัย ตรวจเช็คน้ํายารักษาความปลอดภัย ซอมเมื่อเสียหายแกสทางการแพทย ซอมเมื่อเสียหายจากการศึกษาพบวา ในการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลมีลักษณะเปนการซอมแซมเมื่อเกิดความเสียหายมากกวาการบํารุงรักษากอนเกิดความเสียหาย สวนงานที่มีการบํารุงรักษาก็เปนแคเพียงการตรวจเช็คระบบ และการทําความสะอาดเพียงเทานั้น และมีการบํารุงรักษาแคเฉพาะงานดานระบบประกอบอาคาร สวนงานดานสถาปตยกรรมไมมีแผนการบํารุงรักษาเลย3. สภาพปญหาดานอาคารสถานที่ของโรงพยาบาลปทุมธานีจากการสํารวจสภาพทางกายภาพในปจจุบันของโรงพยาบาล พบวา อาคารของโรงพยาบาลโดยสวนใหญมีสภาพชํารุดและทรุดโทรม เนื่องจากอาคาเปนอาคารเกา ประกอบกับอาคารถูกใชงานหนักและไมไดรับการดูแลรักษาใหเหมาะสมเทาที่ควร ซึ่งสิ่งที่ไดกลาวมานี้ กําลังเปนปญหาที่ทางโรงพยาบาลตองเผชิญอยู ดังนั้นจากการศึกษา สามารถจําแนกสภาพปญหาทางดานกายภาพของโรงพยาบาลออกไดเปน 2 สวน คือ สภาพปญหาดานสถาปตยกรรม และสภาพปญหาดานระบบประกอบอาคาร ตามอาคารที่ทําการศึกษาไดดังนี้A = ฝาแตกหักเสียหาย B = ฝามีคราบเชื้อรา C = ฝาสีลอก D = ผนังสีหลุดรอนE = ฝามีคราบเกลือ F = ผนังมีรอยแตกราว G = ผนังเปนเชื้อรา H = ผนังกระเบื้องหลุดรอนI = พื้นหินขัดมีรอยแตกราว J = พื้นกระเบื้องแตกชํารุด K = พื้นกระเบื้องหลุดรอน L = ประตูผุM = ประตูเปนเชื้อรา N = หลอดไฟชํารุด O = พัดลมชํารุด P = น้ําไมไหลQ = ทอน้ําดีตัน R = น้ํารั่วซึม S = น้ําไหลไมหยุด T = อุปกรณสุขภัณฑชํารุดU = เครื่องปรับอากาศไมเย็น V = ฟลเตอรหรือทอน้ําทิ้งเครื่องปรับอากาศอุดตัน714


ตารางที่ 3 จํานวนสภาพปญหาดานกายภาพแยกตามอาคารอาคารสภาพปญหาดานสถาปตยกรรมสภาพปญหาดานระบบประกอบอาคารA B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U Vอาคาร 1 6 12 0 35 8 17 7 7 32 9 3 46 46 23 16 27 9 11 8 7 4 12อาคาร 2 14 51 1 30 15 92 11 1 39 3 5 63 63 46 10 9 20 12 6 9 5 5อาคาร 3 16 17 10 <strong>13</strong> <strong>13</strong> <strong>13</strong> 5 2 0 60 26 10 10 29 1 1 6 4 7 11 5 10อาคาร 4 36 50 15 57 0 26 3 3 6 29 12 44 44 25 7 20 11 5 6 5 6 10อาคารคลอด 5 24 0 17 3 42 8 5 28 17 0 2 2 7 2 4 2 2 0 1 0 0อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 109 4 26 0 153 41 35 48 25 0 <strong>13</strong> 12 58 5 6 14 9 8 7 9 8รวม 83 263 30 178 39 343 75 53 153 143 46 178 177 188 41 67 62 43 35 40 29 45จากการศึกษาสภาพปญหาดานกายภาพของแตละอาคารพบวา• สภาพปญหาฝาเพดานชํารุดและทรุดโทรมที่พบมากที่สุดในทุกๆ อาคาร คือ ปญหาฝาเพดานมีคราบเชื้อรา• สภาพปญหาประตูชํารุดและทรุดโทรมนั้น พบวา ทั้งปญหาประตูผุ และปญหาประตูเปนเชื้อรามีจํานวนปญหาใกลเคียงกันทุกอาคาร นั่นอาจแสดงใหเห็นวา ประตูชนิดไมอัดที่ใชเปนประตูหองน้ําของโรงพยาบาลฯ จะเกิดปญหาทั้ง 2 ปญหานี้ขึ้นกับประตูทุกบาน• อาคาร 1 อาคาร 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ และอาคารคลอด ทั้ง 4 อาคารเปนอาคารที่อยูใกลเขตกอสรางมากที่สุด ซึ่งจากการศึกษาสภาพปญหาพื้นและผนัง ชํารุดและทรุดโทรม พบวา ในอาคารทั้ง 4 พบปญหาผนังมีรอยแตกราว และพื้นหินขัดแตกราวมากที่สุด• สภาพปญหาอุปกรณไฟฟาชํารุดที่พบมากที่สุดของทุกๆ อาคาร คือ ปญหาหลอดไฟชํารุด• อาคารคลอดเปนอาคารเดียวที่ไมพบปญหาเครื่องปรับอากาศชํารุดเลยผลการวิเคราะหการศึกษาจากการศึกษาการใชประโยชนพื้นที่ใชสอยของแตละอาคาร พบวา แตละอาคารจะมีการใชประโยชนของพื้นที่ที่แตกตางกันออกไปตามความตองการ และความสามารถของอาคารในการรองรับการใชงาน ซึ่งจากตรงจุดนี้จึงทําใหอาคารแตละอาคารมีสภาพปญหาที่แตกตางกันออกไป ซึ่งจากการศึกษาพบวา• อาคารที่พบจํานวนปญหาดานกายภาพมากที่สุดคือ อาคารเฉลิมพระเกียรติ เนื่องจากเปนอาคารที่มีการใชงานอยางหลากหลาย ทั้งสวนของหองปฏิบัติการตางๆ ที่ตองมีการใชอุปกรณหลายๆ อยางที่ตองใชเครื่องกําเนิดไอน้ํา จึงสงผลใหฝาเพดานเปนเชื้อรา หรือเครื่องมือ และสารเคมีอีกมากมายที่สงผลใหเกิดปญหาขึ้น• อาคาร 3 พบจํานวนของปญหาพื้นกระเบื้องแตกชํารุดมากที่สุด เนื่องมาจากการเปนอาคารที่ตองใชประโยชนใชสอยจากเครื่องมือที่มีน้ําหนักมาก เชน ตูอบเด็กแรกเกิด จึงสงผลใหพื้นกระเบื้องไมสามารถรองรับน้ําหนักที่มากจนเกินขีดความสามารถที่จะรับไหวไดจึงทําใหชํารุดและเสียหาย715


• อาคาร 1 อาคาร 2 และอาคาร 4 เปนอาคารที่มีลักษณะและการใชสอยอาคารที่คลายกัน คือเปนอาคารสวนพักฟนผูปวย จึงทําใหทั้ง 3 อาคารจําเปนตองมีการใชน้ําอยูตลอดเวลา ซึ่งทําใหมีจํานวนปญหาที่เกี่ยวกับระบบสุขาภิบาลน้ําดีใกลเคียงกัน• อาคาร 3 และอาคารคลอด เปนอาคารที่ไมมีความสลับซับซอนของระบบฯ เนื่องจากเปนอาคารที่มีความสูงไมเกิน 2 ชั้น จึงทําใหพบจํานวนปญหาดานระบบประกอบอาคารนอยกวาอีก 4 อาคารจากการศึกษาความสัมพันธของการใชประโยชนพื้นที่ใชสอยของแตละอาคารกับจํานวนปญหาดานกายภาพพบขอสังเกต คือ สาเหตุหนึ่งที่สงผลใหเกิดจํานวนปญหาดานกายภาพที่มากหรือนอยในแตละอาคารนั้น อาจขึ้นอยูกับการใชประโยชนจากพื้นที่ใชสอยที่แตกตางกัน โดยเฉพาะอาคารที่มีการใชสอยพื้นที่ที่หลากหลายหรือมีกิจกรรมที่ตองใชสอยพื้นที่มาก ซึ่งอาจเปนสาเหตุหนึ่งที่สงผลใหจํานวนปญหาเพิ่มมากขึ้นตามไปดวยตารางที่ 4 ความสัมพันธของการใชประโยชนพื้นที่ใชสอยของอาคารกับจํานวนสภาพปญหาดานกายภาพสภาพปญหาดานสถาปตยกรรมสภาพปญหาดานระบบประกอบอาคารอาคาร การใชประโยชนอาคารA B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U Vผูปวยนอก และสวนพักอาคาร 1ผูปวยอายุรกรรม 6 12 0 35 8 17 7 7 32 9 3 46 46 23 16 27 9 11 8 7 4 12อาคาร 2 สวนพักผูปวยอายุรกรรมเด็ก 14 51 1 30 15 92 11 1 39 3 5 63 63 46 10 9 20 12 6 9 5 5ผูปวยศัลยกรรมกระดูกอาคาร 3และสวนพักผูปวยหนักเด็ก 16 17 10 <strong>13</strong> <strong>13</strong> <strong>13</strong> 5 2 0 60 26 10 10 29 1 1 6 4 7 11 5 10อาคาร 4 สวนพักผูปวยศัลยกรรม 36 50 15 57 0 26 3 3 6 29 12 44 44 25 7 20 11 5 6 5 6 10หองคลอดและอาคารคลอดสวนกายภาพบําบัด 5 24 0 17 3 42 8 5 28 17 0 2 2 7 2 4 2 2 0 1 0 0อาคารเฉลิมพระเกียรติสวนของหองผาตัด และสวนสนับสนุนทางการแพทย 6 109 4 26 0 153 41 35 48 25 0 <strong>13</strong> 12 58 5 6 14 9 8 7 9 8อภิปรายผลการศึกษา1. การดูแล และบํารุงรักษาอาคารสถานที่ที่สงผลตอสภาพปญหาการชํารุด และทรุดโทรมจากผลการศึกษาการปฏิบัติงานดานการดูแลรักษาอาคารสถานที่ของโรงพยาบาลปทุมธานี พบวาลักษณะการปฏิบัติงานเปนไปในลักษณะการซอมแซมเมื่อเกิดความเสียหายมากกวาการบํารุงรักษากอนการเสียหาย สวนงานที่มีการบํารุงรักษาก็มีแคเพียงการตรวจเช็คระบบ การทําความสะอาด เพียงเทานั้น โดยลักษณะงานโดยสวนใหญที่ทางโรงพยาบาลฯทําการปรับปรุง และซอมแซมนั้น ก็เปนลักษณะการซอมแซมแบบปกติ คือ เปนการดําเนินการซอมแซมตามลําดับเมื่อไดรับแจงเหตุ เมื่อเหตุขัดของหรือชํารุดไมเปนอันตรายหรือสงผลกระทบตอการทํางานในอาคารมากกวางานซอมแซมฉุกเฉินที่ตองไดรับการแกไขโดยเรงดวนจากที่ไดกลาวมาทั้งหมด นั่นอาจเปนสาเหตุที่ทําใหโรงพยาบาลฯไมตระหนักถึงความสําคัญของการดูแลรักษาอาคารสถานที่ จึงสงผลใหอาคาร และระบบประกอบอาคารของโรงพยาบาลฯ อยูในสภาพชํารุด และทรุดโทรม เหมือนดังที่ไดกลาวมาในบทที่ 4 ซึ่งจากการศึกษาในครั้งนี้ทําใหไดทราบวา จริงๆ แลวสภาพปญหา716


ดานกายภาพทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับโรงพยาบาลปทุมธานีนั้น เปนปญหาที่สามารถหลีกเลี่ยงได หากไดรับการดูแลและบํารุงรักษาอยางเหมาะสม2. ลักษณะของสภาพปญหาและความรุนแรงของสภาพปญหาที่เกิดขึ้นกับโรงพยาบาลฯจากการศึกษาสภาพปญหาดานกายภาพพบจุดที่เกิดปญหาทั้งในสวนที่ใหบริการดานการรักษาพยาบาลใหกับผูปวย และที่ไมใชสวนรักษาพยาบาล ซึ่งหากมองโดยภาพรวมของสภาพปญหาอาจดูเหมือนเปนปญหาที่ไมเปนอันตรายรายแรงตอผูใชอาคารมากนัก หากเกิดกับสวนที่ไมไดใหบริการรักษาพยาบาลผูปวย แตจากการศึกษากลับพบวา สภาพปญหาโดยสวนใหญนั้นเกิดขึ้นภายในหองที่ใหบริการรักษาพยาบาลอาทิเชน หองผาตัด หองพักฟนผูปวย เปนตน ซึ่งในความเปนจริงแลวนั้น หองเหลานี้ควรไดรับการดูแล ใหมีความสะอาด และปลอดภัยมากกวาหองอื่นๆ แตปญหาที่เกิดขึ้นโดยสวนใหญก็ยังคงเกิดขึ้นภายในสวนเหลานี้ ซึ่งทางดานการรักษาพยาบาลถือไดวา โรงพยาบาลฯ กําลังประสบปญหาขั้นวิกฤตในดานของอาคารที่ใหบริการรักษาพยาบาล ซึ่งทางโรงพยาบาลฯไมควรปลอยใหเกิดเหตุการณเชนนี้ขึ้นกับหองที่ควรไดรับการดูแลใหปลอดเชื้อที่สุดบรรณานุกรมและเอกสารอางอิงวันรัตน จันทกิจ, 17 เครื่องมือนักคิด (17 Problem Solving Devices), พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1 (กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด ซีโน ดีไซน, 2546).เสริชย โชติพานิช, เอกสารประกอบการสอนวิชา Facility Management, (กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงการณมหาวิทยาลัย, 2550).เสริชย โชติพานิช, เอกสารประกอบการสอนวิชา การดูแล บํารุงรักษาทรัพยากรกายภาพและการจัดการพลังงาน, (กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551).อนุวัฒน ศุภติกุล, เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ, พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1 (กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไซร จํากัด, 2543).717


ปจจัยเลือกวิธีบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรรโครงการบานแถว : กรณีศึกษาโครงการบานแถวในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครนาย สุรเดช เติมเจิมหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการบริหารงานนิติบุคคลหมูบานจัดสรรเปนงานที่มีความสําคัญเพราะสงผลตอสภาพแวดลอมและสภาพความเรียบรอยทั่วไปของโครงการหมูบานจัดสรร ตลอดเวลากวา 8 ป ที่มีพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดินพ.ศ. 2543 พบการบริหารจัดการหลากหลายรูปแบบและการดําเนินงานแตกตางกันในแตละหมูบาน การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความแตกตางและปจจัยที่สงผลตอการเลือกวิธีบริหารจัดการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร โดยการศึกษานี้มีขอบเขตครอบคลุมเฉพาะโครงการหมูบานจัดสรรแบบบานแถว จํานวน 14 หมูบานในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครจากการศึกษาพบวา วิธีการบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรรแบบบานแถว พบ 2 วิธี ไดแก วิธีการที่ 1จัดจางบริษัทบริหารเอกชนมาดําเนินการ พบ 5 หมูบาน วิธีการที่ 2 คณะกรรมการบริหารดําเนินการเอง โดยเปนผูควบคุม ดูแล สวนการบริการบํารุงรักษาและซอมแซมระบบสาธารณูปโภค และการใหบริการสาธารณะดําเนินการจัดจางบริษัทเอกชน หรือบุคคลธรรมดาเขาดําเนินการ พบ 9 หมูบาน ซึ่งมีโครงสรางการบริหารจําแนกเปน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1 คณะกรรมการแบงหนาที่ความรับผิดชอบ จํานวน 3 หมูบาน, ลักษณะที่ 2 คณะกรรมการรวมงานบริหาร จํานวน 1 หมูบาน และลักษณะที่ 3 คณะกรรมการวาจางบุคคลธรรมดาเขารวมบริหาร จํานวน 5 หมูบานปจจัยการเลือกวิธีบริหารจัดการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ไดแก งบประมาณ ความสะดวกหรือเวลาในการบริหารงาน จํานวนบาน และอื่นๆ สิ่งที่เห็นวาเปนปญหาของการบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรรแบบบานแถว ไดแก งบประมาณไมเพียงพอ ปญหาการใชพื้นที่สวนกลาง การขาดประสิทธิภาพของบุคลากร ปญหาดานงานรักษาความปลอดภัย และการขาดความรวมมือในการชําระคาบริการสาธารณะของเจาของบานภายในหมูบาน ปญหาทั้งหมดพบในหมูบานที่มีการบริหารจัดการทั้ง 2 วิธีการศึกษานี้มีขอเสนอแนะวา การเลือกวิธีการบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ควรพิจารณาการเลือกวิธีการบริหารใหสอดคลองกับความตองการ และขอจํากัดของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรเปนสําคัญ แทนการเลือกตามอยางของหมูบานอื่นความเปนมาและสาระสําคัญนับจากพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 ไดมีผลบังคับใชมาเปนเวลา 8 ปแลว แตเรื่องการจัดตั้งนิติบุคคลหมูบานจัดสรรก็ยังเปนเรื่องใหม สําหรับผูที่เกี่ยวของทั้งหมด ไมวาจะเปนผูประกอบการเจาของโครงการ ผูซื้อ เจาพนักงานที่ดิน หลักสําคัญที่กฎหมายตองการใหมีการจัดตั้งนิติบุคคลหมูบานจัดสรร เพื่อเปดโอกาสใหผูจัดสรรที่ดินสามารถ โอนสาธารณูปโภคในโครงการจัดสรรที่ดิน ใหผูซื้อที่ดินจัดสรรที่มีจํานวนไมนอย718


กวากึ่งหนึ่งของจํานวนแปลงยอยรวมตัวกัน จัดตั้งนิติบุคคลหมูบานจัดสรรขึ้น เพื่อรับโอนสาธารณูปโภคในโครงการจัดสรรที่ดินมาดูแลบํารุงรักษาจัดการกันเองนิติบุคคลหมูบานจัดสรรไดเกิดขึ้นตาม พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 การบริหารจัดการหมูบานจัดสรร มีการบริหารจัดการหลากหลายรูปแบบในการดําเนินงานแตกตางกันไปในแตละหมูบานโครงสรางการบริหาร หรือ รูปแบบการดําเนินการก็จะถูกพิจารณาเลือกใชโดยคณะกรรมการหมูบานซึ่งยังไมมีเกณฑที่ชัดเจน ซึ่งจะสงผลตอสภาพแวดลอมและสภาพความเรียบรอยทั่วไปของโครงการ อยางไรก็ตามถึงแมวาจะมีนิติบุคคลหมูบานจัดสรร และคณะกรรมการบริหารหมูบานจัดสรรเกิดขึ้นแลว พบวาการบริหารจัดการหมูบานจัดสรร มีการบริหารจัดการหลากหลายรูปแบบในการดําเนินงานแตกตางกันไปในแตละหมูบาน และโครงสรางการบริหาร หรือ รูปแบบการดําเนินงานก็จะถูกพิจารณาเลือกใชโดยคณะกรรมการหมูบานซึ่งยังไมมีเกณฑที่ชัดเจนวัตถุประสงคการศึกษา1. เพื่อศึกษาโครงสรางการบริหารจัดการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร โครงการบานแถว ในรูปแบบตางๆ2. เพื่อศึกษาปจจัยการเลือกวิธีบริหารจัดการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร โครงการบานแถววิธีการศึกษาการศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษา ปจจัยการเลือกวิธีบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ซึ่งประเด็นสําคัญในเรื่องที่ตองการศึกษานี้คือ การที่เจาของบานไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุมใหญเจาของรวมหมูบานจัดสรร และไดเปนคณะกรรมการนิติบุคคลหมูบานจัดสรรถูกตองตามกฎหมาย ซึ่งมีภาระหนาที่ในการควบคุมดูแลการบริหารจัดการของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรนั้น มีแนวคิดในการจัดโครงการสรางการบริหารงานอยางไร และคํานึงถึงอะไรบางในการเลือกวิธีการบริหารจัดการหมูบาน เพื่อใหการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ และตอบสนองตอความตองการสวนมากของผูพักอาศัยภายในหมูบาน การบริหารจัดการที่เหมาะสมกับกายภาพของหมูบาน และความตองการของเจาของบานทั้งนี้ เพื่อใหไดขอมูลเพียงพอตอการวิเคราะหถึงปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกโครงการสรางและวิธีการบริหารของคณะกรรมการหมูบานจัดสรร ผูศึกษาจะดําเนินการคัดเลือกกลุมตัวอยางของนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ที่มีลักษณะเปนโครงการบานแถว ตามพระราชบัญญติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 ที่อยูในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และมีระดับราคาสูง ราคาตั้งแต 3 ลานบาทขึ้นไป เพื่อดําเนินการตามขั้นตอนการวิจัย โดยคัดเลือกนิติบุคคลหมูบานจัดสรร กลุมประชากรคือคณะกรรมการหมูบานจัดสรร และผูอยูอาศัยภายในหมูบานโดยผูวิจัยดําเนินการสํารวจสภาพทางกายภาพทั่วไปของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรที่จะสํารวจความคิดเห็นโดยการสัมภาษณและการจัดสงแบบสอบถามใหกับกลุมตัวอยาง เพื่อใหไดขอมูลและนําขอมูลทั้งหมดที่ไดรับมาวิเคราะห เพื่อทําการสรุปผลและเสนอแนะ719


ผลการศึกษาจากจํานวนหมูบานโครงการบานแถว ที่จัดตั้งเปนนิติบุคคลหมูบานจัดสรรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครรวมจํานวน 216 หมูบาน ณ เดือน พฤศจิกายน 2551 ในการศึกษา โครงสรางการบริหาร หรือ รูปแบบการดําเนินการของนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ผูศึกษาดําเนินการเลือกพื้นที่ที่ตองการทําการศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยคัดเลือกจากโครงการบานราคาระดับสูง (3 ลานบาทขึ้นไป) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ดําเนินการจัดตั้งนิติบุคคลหมูบานจัดสรรแลว จํานวน 14 หมูบาน รายละเอียดตามตารางที่ 1ลําดับ ชื่อหมูบานกรมที่ดิน สาขาบางกะป พระโขนง กรุงเทพ ประเวศ1 บานกลางเมือง แกรนดเดอ ปารีส 1 12 บานกลางเมือง แกรนดเดอ ปารีส 2 <strong>13</strong> บานกลางเมือง เหมงจาย 1 14 บานกลางเมือง เหมงจาย 2 15 บานกลางเมือง เหมงจาย 3 16 บานกลางเมือง เหมงจาย ลาดพราว 80 17 บานกลางกรุง สาทร นราธิวาส 18 บานกลางเมือง โชคชัย 4 19 บานกลางเมือง รัชดา ลาดพราว 25 110 บานกลางกรุง สาทร-เย็นอากาศ 111 บานกลางกรุง สาทร-ถนนเหนือใต 112 บานกลางกรุง บริติช ทาวน ทองหลอ 1<strong>13</strong> บานกลางเมือง พระราม 9 114 บานกลางเมือง พระราม 9 – ศรีนครินทร 1รวม 8 1 3 2ตารางที่ 1 จํานวนและชื่อนิติบุคคลหมูบานจัดสรรแบงตามเขตพื้นที่จากการศึกษาพบวา ระบบการบริหารงานหมูบานที่พบในทุกกรณีศึกษา ประกอบดวย งานรักษาความปลอดภัย (พนักงานรักษาความปลอดภัย, รปภ., ยาม), งานรักษาความสะอาด (พนักงานรักษาความสะอาด,แมบาน), งานดูแลรักษาสวน-ตนไม (คนสวน), งานดูแลสาธารณูปโภคสวนกลาง (คนกวาดถนน) และงานธุรการสวนระบบการบริหารงานหมูบานที่พบในบางกรณีศึกษา คือ งานที่ปรึกษา, งานดูแลสโมสร (งานบริการสโมสร)ซึ่งโครงสรางการบริหาร หรือ รูปแบบการดําเนินการของนิติบุคคลหมูบานจัดสรร แบงได 2 แบบ คือ720


แบบ ก : นิติบุคคลหมูบานจัดสรรวาจางบริษัทบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรรโดยคณะกรรมการซึ่งไดรับเลือกจากที่ประชุมใหญเจาของบานตามกฎหมายดําเนินการวาจางบริษัทเอกชนเขาดําเนินการดูแลงานบริหารโครงการทั้งระบบ จํานวน 5 หมูบาน โดยคณะกรรมการมีนโยบายจัดจางบริษัทบริหารงานเอกชนเขามาบริหารจัดการงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรทั้งหมด โดยคณะกรรมการมีหนาที่กํานดนโยบายและตรวจสอบการทํางานของบริษัทบริหารงานเทานั้น โดยมีตัวอยางโครงสรางดังนี้คณะกรรมการทีมงานบริหารบริษัทบริหารงานรปภ. ความสะอาด สวน ธุรการแบบ ข : คณะกรรมการนิติบุคคลหมูบานจัดสรรบริหารเองนิติบุคคลหมูบานจัดสรรโดยคณะกรรมการซึ่งไดรับเลือกจากที่ประชุมใหญเจาของบานตามกฎหมายดําเนินการแบงหนาที่ใหกรรมการแตละทานรับผิดชอบดูแลงานแตละระบบภายในหมูบาน จํานวน 9 หมูบานแบงยอยเปน 3 ลักษณะ คือลักษณะที่ 1 คณะกรรมการแบงหนาที่รับผิดชอบแตละงานอยางชัดเจน มีการคัดเลือกประธานกรรมการและจัดสรรหนาที่ใหกรรมการแตละคนเพื่อรับผิดชอบงานแตละงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรอยางชัดเจนและเปนระบบ จํานวน 3 หมูบาน โดยมีโครงสรางดังนี้721


ประธานกรรมการกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการรปภ. ความสะอาด สวน ธุรการลักษณะที่ 2 คณะกรรมการรวมงานบริหาร ซึ่งคณะกรรมการจะทํางานเปนทีมมีนโยบายในการบริหารงานและสั่งงานตรงกับผูปฏิบัติงานในแตละงาน โดยคณะกรรมการจะเปนผูติดตามและควบคุมการทํางานเองทั้งหมด จํานวน 1 หมูบาน โดยมีโครงสรางดังนี้คณะกรรมการรปภ. ความสะอาด สวน ธุรการลักษณะที่ 3 คณะกรรมการวาจางบุคคลธรรมดาเขามาควบคุมดูแลงานบริหารหมูบานทั้งหมด ซึ่งคณะกรรมการมีการบริหารงานเชิงนโยบาย และเนนการควบคุมการปฏิบัติงานของตัวแทนที่จัดจางมาควบคุมการปฏิบัติงานของสวนงานตางๆ อีกทางหนึ่ง จํานวน 5 หมูบาน โดยมีโครงสรางดังนี้คณะกรรมการธุรการรปภ. ความสะอาด สวน722


จากการศึกษาผูศึกษาสามารถสรุปขอมูลที่ไดจากการสํารวจรูปแบบการบริหารงานนิติบุคคลหมูบานจัดสรร และแยกลักษณะการบริหารงานนิติบุคคลหมูบานจัดสรรของกลุมตัวอยางที่มีไดดังตารางที่แสดงนี้ลําดับ โครงการ วาจางคณะกรรมการบริหารเองบริษัทบริหาร ลักษณะ1 ลักษณะ2 ลักษณะ31 บานกลางเมือง แกรนดเดอ ปารีส 1 12 บานกลางเมือง แกรนดเดอ ปารีส 2 <strong>13</strong> บานกลางเมือง เหมงจาย 1 14 บานกลางเมือง เหมงจาย 2 15 บานกลางเมือง เหมงจาย 3 16 บานกลางเมือง เหมงจาย ลาดพราว 80 17 บานกลางกรุง สาทร นราธิวาส 18 บานกลางเมือง โชคชัย 4 19 บานกลางเมือง รัชดา ลาดพราว 25 110 บานกลางกรุง สาทร-เย็นอากาศ 111 บานกลางกรุง สาทร-ถนนเหนือใต 112 บานกลางกรุง บริติช ทาวน ทองหลอ 1<strong>13</strong> บานกลางเมือง พระราม 9 114 บานกลางเมือง พระราม 9 – ศรีนครินทร 1รวม 5 3 1 5และจากขอมูลที่ไดรับจากการสัมภาษณตัวแทนคณะกรรมการบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรร สามารถจําแนกปญหาที่เกิดขึ้นในงานบริหารจัดการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร และสงผลตอการบริหารงานรวมถึงสภาพโครงการในปจจุบัน โดยมีกลุมปญหา ดังนี้• ปญหาดานนโยบาย, แผนงานการบริหารงาน• ปญหาดานความรวมมือของสมาชิกภายในหมูบาน• ปญหาดานการจัดเก็บคาบริการสาธารณะ• ปญหาดานการดูแลสาธารณูปโภคสวนกลาง• ปญหาดานบุคลากรไมมีประสิทธิภาพ• ปญหาดานความรวมมือของคณะกรรมการอภิปรายผลการศึกษาจากการศึกษาพบวา วิธีการบริหารของนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ทั้ง 2 วิธี มีความสัมพันธกับคณะกรรมการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ซึ่งเมื่อเลือกวิธีการบริหารแลวคณะกรรมการจะเปนผูกําหนดนโยบายการบริหารงานวาจะเลือกวิธีการบริหารดวยตนเอง หรือ วาจางบริษัทบริหารเขาดําเนินการงาน ซึ่งมีปจจัยในการคัดเลือกวิธีการบริหารงาน ไดแก รายได ความสะดวก และจํานวนบาน เมื่อคณะกรรมการนิติบุคคลหมูบาน723


จัดสรร ไดคัดเลือกวิธีการบริหารงานหมูบานที่เหมาะสมแลว ก็จะพิจารณาการจัดโครงการสรางการบริหารใหเหมาะสมกับวิธีการบริหารงาน โดยมีโครงสรางการบริหารตามวิธีการบริหาร โดยคณะกรรมการรวมหารือและกําหนดวิธีการ เพื่อเปนขอมูลเพื่อการตัดสินใจเลือกรูปแบบการดําเนินงานบริหารที ่เหมาะสมกับนิติบุคคลหมูบานจัดสรรทั้งนี้ ปจจัยที่เปนผลตอการเลือกวิธีบริหารจัดการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ซึ่งไดแก รายได และความสะดวก หรือเวลาในการบริหารงาน อยางไรก็ตามการบริหารนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ยังคงพบปญหาตอเนื่องในหมูบาน เชน งบประมาณไมเพียงพอ, ปญหาการใชพื้นที่สวนกลาง เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงการใชงานจากบานพักอาศัยเปนสํานักงาน ทําใหมีผูมาติดตอและใชพื้นที่สวนกลางเพิ่มขึ้น สงผลกระทบตอผูพักอาศัยรายอื่นๆ รวมถึงงานดานการรักษาความปลอดภัย, ความไมมีประสิทธิภาพของบุคลากร และขาดความรวมมือการชําระคาบริการสาธารณะของเจาของบานภายในหมูบาน ทําใหไมมีงบประมาณในการดูแลบํารุงรักษาหมูบานการเลือกวิธีการบริหารจัดการนิติบุคคลหมูบานจัดสรร ทั้ง 2 วิธี ยังคงพบปญหาดานการบริหารจัดการหมูบานเชนเดียวกัน ดังนั้น จึงควรพิจารณาการเลือกวิธีการบริหารใหสอดคลองกับความตองการ และขอจํากัดของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรเปนสําคัญบรรณานุกรมและเอกสารอางอิงบัณฑิต จุลาสัย และ เสริชย โชติพานิช, การบริหารทรัพยากรกายภาพ (Facility Management), พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>1 (กรุงเทพฯ:โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547).เสริชย โชติพานิช, เอกสารประกอบการสอนวิชา Facility Management, Costs and Investment Issues inFM, (กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551).เสริชย โชติพานิช, เอกสารแนวคิดการบริหารทรัพยากรกายภาพสําหรับโครงการที่อยูอาศัยแบบรวม,(กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551).วรวิทย กอกองวิศรุต, การเลือกระบบบริหารดูแลชุมชนหมูบานจัดสรร ระดับปานกลาง, ภาควิชา เคหการบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543724


ระบบการบริหารจัดการเมืองยุคทุนธรรมชาติ กรณีศึกษาเทศบาลนครตรังนายเดชอัศม กางอิ่มหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอเทศบาลนครตรังหรือเมืองตรังเปนอีกเมืองหนึ่งที่มีการเติบโตและการขยายตัวของเมืองอยูตลอดเวลา ทําใหการขยายตัวของเมืองมีความแออัดมากยิ่งขึ้น เกิดปญหาตางๆตามมาในหลายๆดานไมวาจะเปนในดานกายภาพเมืองและการจราจร , ดานสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม , ดานเศรษฐกิจ , ดานคุณภาพชีวิตฯลฯ ปญหาตางๆที่กลาวมาลวนเปนปญหาที่มีความสอดคลองและสงเสริมกัน กลาวคือถาเราไมมีการจัดการกายภาพเมืองและการจราจรที่ดีก็จะทําใหเกิดปญหาทางดานคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมตามมา ทั้งหมดที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวาถาเราสามารถพัฒนาใหเมืองตรังเปนเมืองนาอยูได ปญหาตางๆที่เกิดขึ้นก็จะหมดไปหรือลดลงไดในอนาคต ในอดีตที่ผานมาการพัฒนาและแกปญหาเมืองเปนการแกปญหาโดยการใช ทุนมนุษย(ในรูปแรงงาน) ทุนที่เปนตัวเงิน และทุนที่มนุษยผลิต (โรงงาน เครื่องจักร ฯลฯ) เปนตัวชวยในการพัฒนาและแกปญหาเกือบทั้งสิ้น โดยที่เราไมเคยคํานึงหรือนึกถึงวาเรายังมีทุนอีกทุนหนึ่งที่เราสามารถนํามาใชและแกปญหาตางๆได ก็คือทุนธรรมชาติเรามีแตทําลายหรือขวางกั้นทุนธรรมชาติไมเคยนําประโยชนของทุนธรรมชาติ มาใชกับเมืองอยางแทจริงเลย จึงเกิดแนวคิดในการที่จะนําเสนอในการบริหารและจัดการเมืองในรูปแบบสถาปตยกรรมที่ยั่งยืนขึ้นโดยเปนการใชแนวคิดในการใชทุนธรรมชาติมาชวยในการบริหารและจัดการเมืองตรังในรูปแบบใหมโดยในการพัฒนาเมืองใหมแบงพัฒนาออกไดเปนเปนแกนหลักๆสองดานดังนี้ 1. พัฒนาเมืองใหนาอยู 2.พัฒนาเมืองใหยั่งยืน (ธรรมชาติ) การพัฒนาเมืองใหนาอยูในที่นี้ หมายความวา เมืองนาอยูตองมีการสรางสรรคและปรับปรุงสิ่งแวดลอม ทั้งดานกายภาพและสังคมอยางตอเนื่อง รวมทั้งตองมีการขยายแหลงทรัพยากรธรรมชาติของเมืองโดยใหประชาชนในเมืองนั้นๆ มีสวนรวมและชวยเหลือซึ่งกันและกันในการดําเนินชีวิตประจําวัน เพื่อใหไดศักยภาพหรือคุณภาพของชีวิตที่ดีที่สุดกลาวอยางงายๆคือ เมืองที่นาอยูตองเปนเมืองที่อยูแลว สุขภาพดีรางกายแข็งแรง คาครองชีพต่ํา ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน การเดินทางสะดวกสบายและปลอดภัย การพัฒนาเมืองใหยั่งยืนในที่นี้ หมายความวา เมืองตองมีการรักษาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูเคียงคูกับมนุษยชาติตลอดไป โดยในการพัฒนาเมืองใหยั่งยืนเปนการพัฒนาโดยการใช ทุนธรรมชาติ (สิ่งแวดลอมตางๆ) เปนแนวคิดหลักในการการพัฒนาเมืองใหยั่งยืน เพราะทุนธรรมชาติเปนทุนที่มีอยูแลวในโลกใบนี้ การที่จะหมดไปของทุนธรรมชาติก็คือการหมดไปของโลก725


การบริหารและจัดการเมืองใหม : ปจจุบันเทศบาลนครตรังมีการขยายตัวที่กระจุกตัวอยูเฉพาะในเขตการคาใจกลางเมืองเทานั้น โดยสภาพของเมืองตรังจะประกอบไปดวย 1.รานคาและที่อยูอาศัยที่เปนที่ดินของเอกชน 2.หนวยงานราชการตางๆไมวาจะเปน ศาลากลางจังหวัด ศาล สถานีตํารวจ สถานีอนามัยองคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล ที่ดินเหลานี้ถือไดวาเปนของราชการ สามารถแบงสัดสวนของที่ดินทั้งหมดคราวๆไดประมาณ 70 ตอ 30 ของพื้นที่ใจกลางเมืองทั้งหมด ในการที่เราจะนําที่ดิน 70 เปอรเซ็นตของเอกชนมาบริหารและจัดการคงเปนไปไดยาก ฉะนั้นที่ดินที่จะสามารถนํามาจัดการและบริหาร เพื่อจะสามารถแกปญหาของเมืองได ก็ควรจะเปนที่ดินที่เปนของหนวยงานราชการตางๆที่มีอยูประมาณ 30 เปอรเซ็นต คือการยายหนวยงานราชการตางๆที่อยูในใจกลางเมืองออกไปอยูในพื้นที่ที่ไดจัดสรรเอาไว หนวยงานตางๆก็จะอยูในพื้นที่เดียวกัน การเขาไปติดตอของประชาชนก็สามารถเขาไปติดตอกับหนวยงานตางๆไดในพื้นที่เดียวกันไดงายไมตองเดินทางไปหลายที่ การจราจรในเมืองก็จะลดปริมาณความแออัดลง คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมก็จะดีขึ้น เศรษฐกิจในตัวเมืองก็จะคลองตัวและเติบโตมากขึ้น เพราะพื้นที่ที่นํามาพัฒนาในสวนของ 30 เปอรเซ็นต ก็จะสามารถนํามาแปรเปลี่ยนเปนพื้นที่ของสวนสาธารณะ ลานจอดรถ ลานวัฒนธรรม ลานกิจกรรม พื้นที่การคาของเมืองได โดยการพัฒนาพื้นที่ทั้งหมดตองเปนการพัฒนาที่คํานึงถึงการใชสถาปตยกรรมแบบยั่งยืนเขามาจัดการโดยเนนเรื่องทุนธรรมชาติเปนหลัก1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาจังหวัดตรังตั้งอยูภาคใตของประเทศไทย หางจากกรุงเทพประมาณ 828 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ4,941.439 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,088,399.375 ไร (จังหวัดตรัง, 2550) สภาพพื้นที่เปนเนินสูงๆต่ําๆสลับดวยเขาเล็กๆ กระจัดกระจายอยูทั่วไป พื้นที่คอนขางราบเรียบมีอยูนอย ลักษณะดินสวนใหญเปนดินรวนปนทราย สภาพปาเปนปาดิบชื้น ทั้งยังมีชายฝงติดทะเลอันดามันที่ยาวถึง 119 กิโลเมตร กับเกาะตางๆ กระจัดกระจาย อยูกวา 46 เกาะ และปาชายเลนที่ยังคงอยูในสภาพที่อุดมสมบูรณ ภูมิอากาศมีฝนตกตลอดป อุณหภูมิเฉลี่ยอยูที่ 27.4 องศาเซลเซียส จังหวัดตรังมีแรธาตุที่สําคัญ ไดแก ดีบุก ฟลูออไรท และถานหินลิกไนท และมีทรัพยากรปาไมที่สําคัญๆ เชน เคี่ยม ยาง ตะเคียน หลุมพอ สามพอน ดําดง ตําเสา และตาเสือ เปนตน สวนทางดานปาชายเลนมี ไมโกงกาง ตะบูน ตาตุม ปะสัก หลุดพอทะเล ฯลฯ นอกจากนี้ทางดานชายฝงทะเลยังอุดมไปดวยสัตวทะเลนานาชนิด และยังมีแหลง รังนกนางแอน ซึ่งไดมีเอกชนขอสัมปทานเก็บในแตละปจากสภาพภูมิอากาศที่เอื้ออํานวยและและทรัพยากรอันสมบูรณ ทําใหประชากรของจังหวัดตรังโดยทั่วไปมีฐานะความเปนอยูที่ดี จังหวัดตรังมีจํานวนประชากร รวมทั้งสิ้น 607,430 คน สําหรับอําเภอที่มีความหนาแนนของประชากรมากที่สุดคือ อําเภอเมือง มีจํานวนประชากร 148,236 คน (สํานักบริหารการทะเบียนกรมการปกครอง, 2549) เขตอําเภอเมืองมีการแบงเขตการปกครองสวนทองถิ่นในรูปสุขาภิบาลเปน 2 เขตการปกครอง คือ เทศบาลนครตรัง และ เทศบาลตําบลครองเต็ง ประชากรสวนใหญในเขตอําเภอเมือง จะอยูในเขตเทศบาลนครตรัง เทศบาลนครตรังมีพื้นที่ทั้งหมด 14.77 ตารางกิโลเมตร มีจํานวนประชากรทั้งหมด 61,157 คน(สํานักทะเบียนทองถิ่น เทศบาลนครตรัง, 2551) ลักษณะพื้นที่เปนที่ราบเนินดินแดงเหมาะแกการเพาะปลูกบริเวณตอนเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือเปนที่ราบลุมมีน้ําทวมขังเสมอ บริเวณตะวันออกเปนที่ดอนมีเนินสูง726


ลักษณะภูมิอากาศไมรอนหรือหนาวเกินไป มีฝนตกตลอดป มีฤดูเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูรอนและฤดูฝน โดยมีฝนตกประมาณ 8 เดือน แดดออก 4 เดือน ประชากรโดยทั่วไปประกอบอาชีพคาขาย รับราชการและเปนพนักงานรัฐวิสาหกิจเปนสวนใหญ เทศบาลนครตรังเปนศูนยกลางทางดานการคาและการบริการใหบริการประชาชนทั้งในภาครัฐและเอกชนเทศบาลนครตรังหรือเมืองตรังเปนอีกเมืองหนึ่งที่มีการเติบโตและการขยายตัวของเมืองอยูตลอดเวลาทําใหการขยายตัวของเมืองมีการแออัดของเมืองมากยิ่งขึ้น เกิดปญหาตางๆตามมาในหลายๆดานไมวาจะเปนในดานกายภาพเมืองและการจราจร , ดานสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม , ดานเศรษฐกิจ , ดานคุณภาพชีวิต ฯลฯปญหาตางๆที่กลาวมาลวนเปนปญหาที่มีความสอดคลองกัน เชน ถาเราไมมีการจัดการกายภาพเมืองและการจราจรที่ดีก็จะทําใหเกิดปญหาทางดานคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมตามมาที่ผานมาการพัฒนาและแกปญหาเมืองเปนการแกปญหาโดยการใช ทุนมนุษย(ในรูปแรงงาน) ทุนที่เปนตัวเงิน และทุนที่มนุษยผลิต (โรงงาน เครื่องจักร ฯลฯ) เปนตัวชวยในการพัฒนาและแกปญหาเกือบทั้งสิ้น โดยที่เราไมเคยคํานึงหรือนึกถึงวาเรายังมีทุนอีกทุนหนึ่งที่เราสามารถนํามาใชและแกปญหาตางๆได ก็คือทุนธรรมชาติ(สิ่งแวดลอมตางๆ) เรามีแตทําลายหรือขวางกั้นทุนธรรมชาติไมเคยนําประโยชนของทุนธรรมชาติ (สิ่งแวดลอมตางๆ) มาใชกับระบบการบริหารจัดการเมืองอยางแทจริงเลย โดยทุนธรรมชาติประกอบดวยพลังงาน = ธรรมชาติสายลมวิทยาศาสตรชีววิทยาฟสิกสแสงแดดสายน้ํา/สายฝนBio-GasBio-Massที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยแนวความคิดและการนํามาประยุกตใชในเรื่องทุนธรรมชาตินั้น ยังเปนการเริ่มตนแตยังไมมีโครงการใดสามารถปฏิบัติไดครบวงจร การนําแนวความคิดดานระบบนิเวศนมาใช(Ecology) เปนการใชตัวอยางจาก727


ธรรมชาติมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับกิจกรรมตางๆ จึงเปนแนวคิดที่สามารถตอบสนองวัตถุประสงคดานสิ่งแวดลอมไดครบถวนมากกวา แนวคิดการนําระบบนิเวศนมาใชควบคูกับเทคโนโลยีสมัยใหม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพชีวิตแกโครงการ ไดแก- การนําของเสียทั้งหมดมาใชประโยชน- การใชพลังงานทดแทน- การนําสภาพแวดลอมมาใชอยางเหมาะสม- การสรางกิจกรรมที่มีมูลคาเพิ่มอีกทางหนึ่ง1.2 วัตถุประสงคของการศึกษาวัตถุประสงคทั่วไปเพื่อจัดทําขอเสนอระบบการบริหารจัดการเมืองสูยุคทุนธรรมชาติ ใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นวัตถุประสงคเฉพาะ : เพื่อ1.2.1 เพื่อศึกษาลักษณะเฉพาะของสภาพแวดลอมธรรมชาติของเทศบาลนครตรังและเพื่อศึกษาความเปนไปไดในการนําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และเพื่อเปนขอมูลอางอิงสําหรับผูบริหาร นักวิจัย และผูที่เกี่ยวของในการบริหารจัดการตลอดจนการกํากับดูแล1.2.2 เพื่อศึกษาแผนการพัฒนาและขอกําหนดทั้งปจจุบันและในอดีตขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาล1.2.3 ศึกษาแนวคิดและกลยุทธในการบริหารและจัดการของขาราชการและผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาล และวิเคราะหความตองการพัฒนาและมีสวนรวมของประชาชน1.2.4 วิเคระหแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการการบริหารจัดการเมืองของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาล1.2.5 ประเมินแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติโดยผูบริหาร องคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลสมัยปจจุบัน และสรุปผล1.3 ขอบเขตของการศึกษาแบงออกเปน 3 สวน1.3.1 ขอบเขตดานพื้นที่ศึกษาในครั้งนี้เปนบริเวณเขตพื้นที่ของเทศบาลนครตรัง โดยศึกษาหาลักษณะเฉพาะของสภาพแวดลอมธรรมชาติของเทศบาลนครตรัง1.3.2 ขอบเขตดานเนื้อหาที่ศึกษาเนนในสวนของยุคทุนธรรมชาติ728


1.3.3 ขอบเขตดานเนื้อหาที่ศึกษาเนนในสวนของการบริหารจัดการเมือง โดยการศึกษาวิจัยนี้ เปนการศึกษาวิจัยแบบ Explanatory Research โดยมีหนวยการวิเคราะหระดับบุคคล ไดแก บทบาทของผูบริหารสวนทองถิ่น ระดับเทศบาล 1.นายกเทศมนตรี 2.รองนายกเทศมนตรี 3.สมาชิกสภาเทศบาล1.4 วิธีการดําเนินการศึกษาการศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาจากเอกสาร (Documentary Study) โดยการทบทวนวรรณกรรม ทั้งจากตํารา คูมือการดําเนินงาน ตลอดจนผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ แลวนํามาสังเคราะห และนําเสนอผลการศึกษา ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวขั้นตอนการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาลักษณะเฉพาะของสภาพแวดลอมธรรมชาติของเทศบาลนครตรัง และดําเนินการศึกษาขอมูลพื้นฐานดานทรัพยากรธรรมชาติ สภาพแวดลอม ลักษณะเดน ลักษณะเฉพาะ เพื่อนํามาวิเคราะหสรางกรอบนโยบายและแผนในการพัฒนา โดยใชแนวคิดการผสมผสานและการพัฒนาอยางยั่งยืนสูยุคทุนธรรมชาติขั้นตอนที่ 2 ศึกษาแผนการพัฒนาและขอกําหนดทั้งปจจุบันและในอดีตขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลขั้นตอนที่ 3 รวบรวมและสัมภาษณขาราชการ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลและประชาชนขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห ประเมินผลตัวแปรสําคัญเพื่อกําหนดแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการการบริหารจัดการเมืองขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลขั้นตอนที่ 5 นําเสนอแผนตอผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาล เพื่อปรับปรุงตอไปเครื่องมือที่ใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาแบงออกเปน1. แบบสัมภาษณขอมูลทั่วไปของผูบริหารสวนทองถิ่นและขาราชการสวนทองถิ่นและประชาชน เชน เพศอายุ การศึกษาตําเหนงและเงินเดือน2. แบบสัมภาษณเพื่อวัดปจจัยที่มีผลตอการบริหารจัดการเมืองสูยุคทุนธรรมชาติ ขาราชการ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลและประชาชน3. แบบสัมภาษณเพื่อวัดภูมิความรูความชํานาญของผูบริหารสวนทองถิ่นและขาราชการสวนทองถิ่นตอการบริหารจัดการเมืองสูยุคทุนธรรมชาติการเก็บรวบรวมขอมูล ในการศึกษานี้ผูวิจัยมีวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดังนี้729


- ในการศึกษาผูวิจัยเก็บขอมูลโดยตรงจากผูบริหารสวนทองถิ่น ขาราชการสวนทองถิ่นและประชาชน- ขอความรวมมือในการเก็บขอมูลจากเทศบาลนครตรัง- ติดตอขอขอมูลจากหนวยงานตางๆในทองถิ่น ที่นอกเหนือจากเทศบาลนครตรัง1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1.5.1 ทราบถึงลักษณะเฉพาะของสภาพแวดลอมและการบริหารจัดการอยางถูกตองเหมาะสม1.5.2 ทําใหทราบแผนการพัฒนาและขอกําหนดทั้งปจจุบันและในอดีตขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาล1.5.3 ไดแนวทางและความตองการในการกําหนดแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการการบริหารจัดการเมือง ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาล1.5.4 ไดแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการการบริหารจัดการเมือง ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาล1.5.5 ไดรูปแบบการบริหารจัดการเมือง ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาล ที่สามารถใชไดกับเทศบาลทุกแหง1.6 การเก็บขอมูลและศึกษาเบื้องตน1.6.1 ประชากรผูบริหารสวนทองถิ่นและขาราชการสวนทองถิ่น ของเทศบาลนครตรังแบงเปน สวนทองถิ่น ประกอบดวย- นายกเทศมนตรี 1 คน , รองนายกเทศมนตรี 4 คน- สมาชิกสภาเทศบาล 24 คนขาราชการสวนทองถิ่น- ปลัดเทศบาล 1 คน, รองปลัดเทศบาล 2 คน- ขาราชการสวนทองถิ่นฝายตางๆรวมทั้งสิน 257 คน (สํานักปลัด เทศบาลนครตรัง, 2550)1.6.2 ลักษณะเฉพาะสภาพแวดลอมธรรมชาติของเมืองตรัง730


1.6.2.1 ภาพโดยรวมของเมืองตรัง1.6.2.1 รูปแบบสถาปตยกรรม731


1.6.2.2 สถานที่พักผอนของเมืองตรัง1.6.2.3 สถานที่จัดเเก็บขยะของเมืองตรัง732


1.6.2.4 สถานที่บําบัดน้ําเสียของเมืองตรัง1.6.2.5 ปะติมากรรมและถนนของเมืองตรัง733


สวนที่ 2 ตัวแปรและการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน2.1 ลักษณะเฉพาะของสภาพแวดลอมธรรมชาติของเทศบาลนครตรัง และขอมูพื้นฐานดานทรัพยากรธรรมชาติสภาพแวดลอม ลักษณะเดน ลักษณะเฉพาะและเอกลักษณของสิ่งแวดลอมของเมืองตรัง โดยมีรายละเอียดดังนี้ตัวแปร อดีต ปจจุบัน อนาคต1. ความรูสึกรอน-หนาวไดแกอุณหภูมิอากาศความชื้นอุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโดยรอบ และความเร็วลมอุณหภูมิต่ํา ความชื้นสูงอุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโดยรอบเย็น ความเร็วลมคอนขางต่ํา2. ระดับความสวาง สภาพแสงนุมนวล(ธรรมชาติสมบูรณ)3. ระดับเสียง เสียงไพเราะจากธรรมชาติโดยรอบ4. ระดับความปลอดภัย มาก เพราะคนคอนขางนอย และคุนเคยกันอุณหภูมิคอนขางสูงความ ชื้นสูง อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโดยรอบรอนความ เร็วลมคอนขางต่ํา (ไมเปลี่ยน)แสงสะทอนบาดตา(สะทอนจากผิวถนนและอาคารสมัยใหม)มีเสียงรบกวนจากยานพาหนะตางๆมาก เพราะถึงแมคนจะเพิ่มมากขึ้น แตยังคุนเคยกัน5. ตนไมใหญ มาก ลดนอยลง นอยมาก6. พืชคลุมดิน มาก ลดนอยลง นอยมาก7. ดิน มาก ลดนอยลง นอยมาก8. ลม มาก ลดนอยลง นอยมาก9. ความลาดเอียงพื้นดิน มาก ลดนอยลง นอยมาก10. แหลงน้ํา มาก ลดนอยลง นอยมาก11. ความสบายสายตา มาก ลดนอยลง นอยมาก12. บรรยากาศ,ความงาม มาก ลดนอยลง นอยมาก<strong>13</strong>. คุณภาพอากาศ มาก ลดนอยลง นอยมาก14. รูปทรงอาคาร เหมาะสมกับเทคโนโลยีและสภาพแวดลอมที่ธรรมชาติยังสมบูรณไมเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมการนําความรูและเทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใชนอยแนวโนมอุณหภูมิสูงขึ้นความชื้นสูงอุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโดยรอบรอนความเร็วลมคอนขางต่ํา(ไมเปลี่ยน)แสงสะทอนรบกวนสายตามากขึ้น เพราะมีปริมาณถนนและอาคารมากขึ้นมีเสียงรบกวนมากขึ้นจากยานพาหนะตางๆลดนอยลง เพราะคนมากขึ้น และมีคนแปลกหนาอพยพเขาออกแบบโดยคํานึงถึงสภาพแวดลอมและการนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใชอยางเหมาะสม734


15. การใชวัสดุผนังทึบ เหมาะสมกับยุคสมัย ไมเหมาะสม ตองเปลี่ยนแปลง16. การใชวัสดุผนังโปรงแสง เหมาะสมกับยุคสมัย ไมเหมาะสม ตองเปลี่ยนแปลง17. การใชวัสดุพื้น เหมาะสมกับยุคสมัย ไมเหมาะสม ตองเปลี่ยนแปลง18. การใชวัสดุหลังคา เหมาะสมกับยุคสมัย ไมเหมาะสม ตองเปลี่ยนแปลง19. การใชหลอดไฟ เหมาะสมกับยุคสมัย ไมเหมาะสม ตองเปลี่ยนแปลง20. การใชอุปกรณไฟฟา เหมาะสมกับยุคสมัย ไมเหมาะสม ตองเปลี่ยนแปลง21. ดานประวัติศาสตร มีอิทธิพลตอวิถีชีวิตมาก มีอิทธิพลตอวิถีชีวิตมาก (ไมเปลี่ยน)22. ดานวัฒนธรรม/วิถีชีวิต/อาชีพ23. ดานรูปแบบสถาปตยกรรม / วัสดุพื้นถิ่นเรียบงาย อยูรวมกับธรรมชาติแบบดั้งเดิม ใชวัสดุจากธรรมชาติมีอิทธิพลตอวิถีชีวิตมาก (ไมเปลี่ยน)เปลี่ยนแปลงบางบางสวน เปลี่ยนแปลงมากขึ้นจากปจจัยภายนอกแบบสมัยใหม รับอิทธิพลจากตะวันตกใชวัสดุที่มีทั่วไปในทองตลาด เชนอิฐคอนกรีต ปูน ฯลฯคํานึงถึงความเหมาะสมในการเลือกใชวัสดุอยางแทจริง รวมถึงการนํากลับมาใชใหม(Recycle)24. ดานพืชพรรณธรรมชาติ อุดมสมบูรณ ลดปริมาณลง เปลี่ยนแปลงคอนขางนอยเพราะมีแนวคิดในการอนุรักษพื้นที่ธรรมชาติ25. ดานสภาพเศรษฐกิจ/อุตสาหกรรม/เกษตรกรรม26. ดานประชากร/รายไดของประชากร/การศึกษาการผลิตอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเพื่อใชในทองถิ่น27. ดานศาสนา/ความเชื่อ ผสมผสานกันอยางกลมกลืน28. ดานอุตสาหกรรมการ นอยทองเที่ยวเศรษฐกิจขยายตัวอยางรวดเร็ว การผลิต อุตสาหกรรมและเกษตร กรรมเพื่อสงขายนอกพื้นที่ระดับปานกลาง รายไดของประชากสูงขึ้นมีการสงเสริมดานการศึกษาผสมผสานกันอยางกลมกลืนมาก โดยมีแนวคิดในการพัฒนาการทองเที่ยอยางยั่งยืนเศรษฐกิจขยายตัวอยางตอเนื่องรายไดของประชากรสูงขึ้น มีการสงเสริมดานการศึกษาอยางตอเนื่องผสมผสานกันอยางกลมกลืนมากขึ้น และเนนการทองเที่ยวอยางยั่งยืน735


2.2 แผนการพัฒนาและขอกําหนดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เทศบาลนครตรังการบริหารงานของเทศบาลนครตรังมีแผนพัฒนาสามปเปนกรอบและขอกําหนดในการบริหารและจัดการเปนหลัก นิยามแผนพัฒนาสามป ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 วาแผนพัฒนาสามป หมายถึง แผนพัฒนาเศรฐกิจและสังคมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนา อันมีลักษณะเปนการกําหนดรายละเอียดแผนงานโครงการพัฒนาที่จัดทําขึ้นสําหรับงบประมาณแตละป ซึ่งมีความตอเนื่อง และเปนแผนกาวหนาครอบคลุมระยะเวลาสามป โดยมีการทบทวน เพื่อปรับปรุงเปนประจําทุกปนอกจากนั้น แผนพัฒนาสามป เปนแผนที่มีความสัมพันธใกลชิด กับงบประมาณรายจายประจําปกลาวคือ เทศบาลใชแผนพัฒนาสามปเปนกรอบในการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป และงบประมาณรายจายเพิ่มเติม รวมทั้งวางแนวทางเพื่อใหมีการปฏิบัติใหบรรลุวัสถุประสงคตามที่กําหนดไวในแผนพัฒนาสามปดังนั้น โครงการที่บรรจุในแผนพัฒนาสามป โดยเฉพาะแผนประจําปแรกของหวงเวลาสามปนั้น ควรมีสภาพความพรอมอยานอย 2 ประการ คือ1. มีความแนนอนของกิจกรรมที่จะดําเนินการ โดยควรมีการประเมินถึงความเปนไปไดของโครงการ/กิจกรรม รวมทั้งผลประโยชนสาธารณะที่จะไดรับจากโครงการ/กิจกรรม2. กิจกรรมที่อยูในแผนประจําปแรกขแงหวงเวลาสามป ควรมีความพรอมในเรื่องรูปแบบ และรายละเอียดทางเทคนิคพอสมควร เพื่อใหสามารถกําหนดรายการในแผนพัฒนาที่จะนําไปใชจัดทํางบประมาณรายจายประจําปไดตอไปโดยแผนพัฒนาสามป มีลักษณะกวางๆ ดังตอไปนี้1. เปนเอกสารที่แสดงความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนา2. เปนเอกสารที่แสดงแนวทางการพัฒนา3. เปนเอกสารที่แสดงโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาที่จะดําเนินการเปนหวงเวลาสามป4. เปนเอกสารที่แสดงความเชื่อมโยงระหวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนากับงบประมาณรายจายประจําปประโยชนของการจัดทําแผนพัฒนาสามปการจัดทําแผนพัฒนาสามป เปนเครื่องมือที่จะชวยใหเทศบาลไดพิจารณาอยางรอบคอบที่แสดงใหเห็นถึงความเชื่อมโยงระหวางแนวทางการดําเนินงานตางๆ ที่อาจมีความเชื่อมโยงและสงผลทั้งในเชิงสนับสนุนและเปนอุปสรรคตอกัน เพื่อใหเทศบาลนํามาตัดสินใจกําหนดแนวทางการดําเนินงานและใชทรัพยากรการบริหารของทองถิ่นอยางมีประสิทธิภาพ เกิดประโยขนตอสาธารณชนสูงสุด มีสภาพการพัฒนาอยางยั่งยืนสืบไปทรัพยากรการบริหาร โดยทั่วไปประกอบดวยเงิน ทั้งเงินงบประมาณของเทศบาลเองและแหลงงบประมาณภายนอก รวมทั้งมาตการประหยัดงบประมาณรายจายดวยคน ซึ่งหมายความรวมทั้งผูบริหาร รองนายกเทศมนตรี พนักงานเทศบาลทุกระดับ ซึ่งจะมีความหลากหลายทั้งดานความรู ทักษะ และทัศนคติ ซึ่งเทศบาลจะตองนําศักยภาพของกําลังคนเหลานั้นมาใช รวมทั้ง736


ตองพัฒนากําลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานใหเทศบาลและถาพิจารณาในความหมายอยางกวาง และอาจหมายความรวมถึงประชาชนในทองถิ่น ซึ่งมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่นดวยวัสดุอุปกรณ หมายถึงเครื่องจักร เครื่องมือ รวมทั้งอาคารสถานที่ใหมีความทันสมัย เพื่อรองรับความกาวหนาของสังคมสวนรวมไดอยางเทาเทียมกันและใชวัสดุอุปกรณดังกลาวอยางเต็มศักยภาพการบริหารจัดการ เปนสิ่งที่ชวยขับเคลื่อนทรัพยากรทั้งสามประการขางตนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และมีสภาพการพัฒนาอยางยั่งยืน การบริหารจัดการเปนทั้งศาสตรและศิลปที่ตองศึกษาและนําไปปฎิบัติอยางตอเนืองสวนที่ 3 บทสรุปจะเห็นไดวาในการจัดทําแผนพัฒนาสามปที่ผานมาจะเปนการบริหารทรัพยากรที่ประกอบดวย เงิน คนวัสดุอุปกรณ แตไมเคยมีการนําทุนธรรมชาติที่เรามีมาเปนเครื่องมือหรือพัฒนาและบริหารเมือง การพัฒนาและบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนนั้น จําเปนจะตองตั้งตนกันบนกระบวนทัศนใหมที่ไมใชมีมนุษยเปนศูนยกลาง(Anthropocentric) แตเปนการมองที่กระบวนการที่หลอเลี้ยง โอบอุม ค้ําชูชีวิตทั้งหมด ซึ่งก็คือกระบวนการแหงธรรมชาติ (ทุนธรรมชาติ) นั่นเอง โดยในการจัดทําแผนพัฒนาสามปนั้นตองคํานึงและไมเปนปฏิปกษกับธรรมชาติ737


บทคัดยอบทความทางวิชาการเรื่อง: การปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญของธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 1MAJOR RENOVATION OF BUILDING SYSTEM OF BANGKOK BANK HEADQUARTERSนาย ฐาปกรณ เจริญศุภผลหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอาคารสํานักงานใหญของธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เปนอาคารสูง 32 ชั้น ชั้นใตดิน 1 ชั้น พื้นที่อาคารรวมประมาณ 122,000 ตารางเมตร เปดใชเมื่อ พ.ศ.2525 อาคารมีอายุการใชงานกวา 25 ป มีสภาพภายนอกทรุดโทรม อุปกรณระบบประกอบอาคารสวนใหญมีอายุเกินกวาประมาณการเวลาใชงาน มีสภาพชํารุดการทํางานมีการสะดุดติดขัดเปนระยะ เพื่อใหอาคารมีความทันสมัยมีความปลอดภัยตอผูใชอาคาร และตอบสนองการทํางานของธนาคารฯไดอยางมีประสิทธิภาพ ทางธนาคารฯ จึงตองดําเนินโครงการปรับปรุงระบบฯของอาคารสํานักงานใหญธนาคารกรุงเทพ ดังนั้น การจัดการโครงการนี้จึงมีลักษณะพิเศษ แตกตางจากโครงการกอสรางอาคารใหมทั่วไป เนื่องจากตองทําการดําเนินงานปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอุปกรณโดยไมสงผลกระทบตอการใชอาคาร และการดําเนินธุรกิจของธนาคารฯ ในแตละวัน โดยทําการศึกษาเกี่ยวกับการดําเนินงานโครงการปรับปรุงอาคารขนาดใหญในขณะที่ยังคงมีการใชงานอยู และศึกษาการปฏิบัติงานในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงระบบประกอบอาคาร ในขณะที่อาคารยังคงมีการใชงานอยูจากการศึกษา พบวา โครงการฯแบงออกเปน 2 ระยะ โดยในระยะที่ 1 ทําการปรับปรุงระบบและวัสดุอุปกรณที่เสื่อมสภาพและมีผลตอสิ่งแวดลอมในอาคาร รวมทั้งปรับปรุงระบบ Life Safety ใหไดมาตรฐาน ไดแกระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิบาล รวมไปถึงงานโครางสรางและสถาปตยกรรม และในระยะที่ 2เปนการทําใหอาคารสํานักงานใหญสามารถประกอบธุรกิจได โดยไมเกิดผลกระทบจากอุปกรณของระบบฯเกิดการลมเหลว และระบบฯที่ทําการศึกษาในขอบเขตของโครงการฯระยะที่ 2 ไดแก ระบบไฟฟา และระบบปรับอากาศ โครงการทั้ง 2 ระยะเปนการดําเนินงานปรับปรุงในขณะที่อาคารตองมีการใชงานอยูทั้งในสวนของพื้นที่ภายในอาคาร และพื้นที่ภายนอกอาคาร โดยทําการปฏิบัติงานทั้งในชวงเวลากลางวัน และกลางคืน เพื่อปองกันผลกระทบตอการใชอาคารจากการเชื่อมตอระบบฯหลังการเปลี่ยน และอุปสรรคที่พบในโครงการฯเปนเรื่องเกี่ยวกับความจํากัดของพื้นที่ปฏิบัติงาน ลักษณะของการติดตั้งอุปกรณที่มีความซับซอนดังนั้นการดําเนินโครงการปรับปรุงใหญระบบฯในระหวางที่มีการใชอาคาร จึงจําเปนที่ตองทําการจัดการเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลกระทบตอการใชอาคารลวงหนา โดยคํานึงถึงปจจัย 3 ประการ ไดแก วิธีปฏิบัติงาน ชวงเวลาในการปฏิบัติงาน และการกําหนดพื้นที่ในการปฏิบัติงาน การจัดการปจจัยทั้ง 3 ไดอยางเหมาะสมจะสามารถปองกันและลดผลกระทบตอการใชอาคาร และการดําเนินธุรกิจขององคกร ผูใชไดอยางมาก738


โครงการปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญของธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เปนโครงการที่ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการของทางธนาคาร ดวยสาเหตุสืบเนื่องมาจากการที่คณะทํางานดานเทคนิค (Building Service) ไดทําการตรวจสอบถึงปญหาที่เกิดขึ้นกับตัวอาคาร และปญหาที่อาจจะเกิดกับผูใชอาคาร เนื่องดวย เพราะ ตัวอาคารมีการเปดใชงานมาตั้งแตป พ.ศ. 2525 จนถึง ณ ปจจุบัน รวมระยะเวลาทั้งสิ้น26 ป จึงทําใหเกิดปญหา ดังตอไปนี้1. เสื่อมสภาพการใชงานแมวาจะไดรับการบํารุงรักษามาอยางตอเนื่อง ทําใหคาใชจายในการซอมแซมสูง2. มีระดับความปลอดภัยในการใชงานลดลง3. มีประสิทธิภาพและเสถียรภาพต่ํา ทําเกิดการสิ้นเปลืองพลังงาน4. 4.ไมเพียงพอที่จะสนองตอบตอการใชงานในปจจุบัน ซึ่งมีปริมาณผูใชอาคาร (รวมลูกคา) เฉลี่ย 5,000คนตอวัน ณ ปจจุบันธนาคารฯ จึงเห็นความจําเปนที่ตองปรับปรุงระบบประกอบอาคาร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ1. เพิ่มศักยภาพของระบบใหสามารถรองรับการดําเนิน และขยายธุรกิจของธนาคารอยางมีประสิทธิภาพ2. ทําใหอาคารมีระบบที่ทันสมัย มีระดับความปลอดภัยที่ไดมาตรฐาน ประหยัดพลังงาน และใชงานไปไดอีกเปนระยะเวลา 20 ป3. ทําใหลูกคาและพนักงานไดรับความสะดวกสบาย สงเสริมใหพนักงานทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพสงผลตอประสิทธิผลโดยรวมของธนาคารซึ่งโครงการฯ นี้มีลักษณะพิเศษ เพราะ ตองทําการดําเนินการปรับปรุงในขณะที่อาคารยังคงมีการใชงานและตองไมสงผลกระทบตอลูกคา และพนักงานที่ทํางานประจําอยูในอาคาร หรือทําใหธุรกิจของธนาคารตองหยุดชะงัก จากการศึกษาพบวา โครงการฯ แบงออกเปน 2 ระยะ โดยในโครงการฯ ระยะที่ 1 ทําการปรับปรุงระบบ และวัสดุอุปกรณที่เสื่อมสภาพ และมีผลตอสิ่งแวดลอมในอาคาร รวมทั้งปรับปรุงระบบ Life safety ใหไดมาตรฐาน ซึ่งระบบที่ทําการศึกษาในโครงการระยะที่ 1 ไดแก ระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิบาลงานโครงสรางสถาปตยกรรม และในโครงการ ฯ ระยะที่ 2 เปนการทําใหอาคารสํานักงานใหญสามารถประกอบธุรกิจได โดยไมเกิดผลกระทบจากอุปกรณของระบบฯเกิดการลมเหลว ซึ่งระบบฯที่ทําการศึกษาในขอบเขตของโครงการฯระยะที่ 2 ไดแก ระบบไฟฟา และระบบปรับอากาศ ซึ่งทั้ง 2 ระยะจะมีวิธีการดําเนินการตามขอกําหนดเบื้องตนในการปฏิบัติงานเหมือนกัน ไดแก1. ทําการสํารวจพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อทําการวางแผนดําเนินการปฏิบัติงาน2. ชวงเวลาในการปฏิบัติงานที่ไมสงผลกระทบกับการใชอาคารในวันธรรมดา หรือในชวงวัน เสาร -อาทิตย จะมีการกําหนดชวงเวลาในการปฏิบัติงานตั้งแตเวลา 08.00 น. ไปจนถึง 24.00 น.3. หากมีการปฏิบัติงานที่สงผลกระทบตอการใชอาคาร หรือการดําเนินงานในชวง วันจันทร - ศุกร ผูใชอาคาร รวมไปถึงธุรกิจของธนาคาร ชวงเวลาในการปฏิบัติงานเหลานั้น ตองกระทําหลังชวงเวลา 18.00 น.__________________________________________________________________________________________1. บทความนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)739


จนถึงชวงเวลา 04.00 น. โดยการปฏิบัติงานในชวงเวลานั้นจะตองไมสงผลกระทบตอผูอาศัยอยูโดยรอบ หลังจากนั้นตองทําการเก็บอุปกรณ และทําความสะอาดสถานที่ปฏิบัติงานใหเรียบรอย กอนเวลา 08.00 น.จากโครงการฯ ระยะที่1 ทางคณะกรรมการบริหารโครงการ จะเปนผูพิจารณาหลักการคัดเลือกผูรับจางขอบเขตของงาน และการประมาณราคางานปรับปรุง จากขอมูลที่คณะทํางานดานเทคนิคเปนผูนําเสนอ.ใหสําหรับโครงการฯ ระยะที่ 1 ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 2 หัวขอ ไดแก1. การขออนุมัติขอบเขตและงบประมาณการปรับปรุงระบบอาคารสํานักงานใหญ ตามแบบบริษัท เอ็นไวรอนเมนทัลฯ จํากัด (เปนผูทําราคากลาง) โดยการออกแบบเปนไปตามหลักการที่กําหนดใน Design Brief ที่จัดทําโดย Citek system ซึ่งคณะทํางานดานเทคนิคไดใหความเห็นสมควรเพิ่มขอบเขตงานบางสวนที่ไมอยูในขอบเขตงานของ Citek system โดยปรับปรุงตามความเห็นของคณะทํางานดานเทคนิค เพื่อเพิ่มระดับความปลอดภัยใหกับผูใชอาคาร ใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ไดแก1. ติดตั้งระบบระบายควันระหวางเกิดเพลิงไหมในพื้นที่สํานักงาน2. ติดตั้งระบบ Fire Alarm ในพื้นที่โถงลิฟต หองน้ําชั้น 4-303. งานซอมรอยรั่วถังเก็บน้ําชั้น 19 และชั้นดาดฟา (ถัง T2-T9)4. งานเปลี่ยนระบบทอน้ําเย็น และเพิ่มระบบกําจัดเชื้อโรค5. ระบบเติมน้ํา Cooling Tower ในระหวางการซอมรอยรั่วถัง T0, T1แผนงานหลักของโครงการ สรุปไดดังนี้1. สอบราคา2. พิจารณา วิเคราะห และตอรองราคา3. นําเสนอขออนุมัติจาง4. งานปรับปรุงอาคาร ระยะที่ 1โดยกําหนดใหผูรับจางจัดทําแผน และขั้นตอนการทํางานโดยละเอียดมาใหพิจารณากอนการเริ่มงาน เพื่อลดผลกระทบตอการใชอาคารในระหวางการปรับปรุง ซึ่งรวมถึงการติดตั้งระบบสํารอง และแผนฉุกเฉินในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น2. อนุมัติคัดเลือกผูเสนอราคาจํานวน 5 ราย โดยใหฝายอาคารสํานักงาน และทรัพยสินเปนผูดําเนินการสอบราคาดวยวิธี Lump Sum Price Closed Bid วิเคราะหราคาซึ่งโครงการฯ ระยะที่ 1 ไดกําหนดใหดําเนินงานกอสรางและปรับปรุงงานบางสวนที่มีความจําเปนเรงดวน โดยมีวัตถุประสงคใหปรับปรุงระบบและวัสดุอุปกรณที่เสื่อมสภาพและมีผลตอสิ่งแวดลอมในอาคารรวมทั้งปรับปรุงระบบ Life Safety ใหไดมาตรฐาน โดยคณะกรรมการบริหารโครงการปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญ ในงานโครงการปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญ ระยะที่ 1 ใชระยะเวลาชวงการกอสรางตั้งแตเดือน กรกฎาคม 2547ถึงเดือน พฤศจิกายน 2548 รวม 17 เดือน (เปาหมายเดิมกําหนดแลวเสร็จ 3 กันยายน 2548)740


ผูที่เกี่ยวของกับโครงการฯ ระยะที่1 ประกอบดวย1. บริษัท กรุงเทพ จํากัด(มหาชน) เจาของโครงการ2. บริษัท วิศวกรที่ปรึกษา อาร เค วี จํากัด ผูออกแบบงานโครงสราง3. บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด ผูออกแบบงานระบบประกอบอาคาร4. บริษัท ไอ เอ อารคิเทค 49 จํากัด ผูออกแบบงานตกแตงภายใน5. บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอรวิส จํากัด ที่ปรึกษาบริหารและควบคุมงานกอสราง6. บริษัท นันทวัน จํากัด ผูรับจางสาเหตุที่ตองเพิ่มระยะเวลาการดําเนินการโครงการ1. ปญหาการเพิ่มงานเนื่องจากสํารวจพบในระหวางการปรับปรุงฯเนื่องจากพื้นที่ปรับปรุงฯไดผานการใชงานมากวา 24 ป ดังนั้นในการสํารวจภายหลังการปดการใชงานพื้นที่กอสราง พบวามีงานระบบฯและอุปกรณที่อยูในสภาพเกาและใกลสิ้นอายุการใชงาน โดยมีความยากในการจะปรับปรุงฯในโอกาสตอไป เชน- ระบบทอสุขาภิบาลและหองน้ําผูบริหารชาย-หญิง ชั้น 26 – 30- ระบบทอสุขาภิบาลเหนือบอบําบัดน้ําเสีย- การจัดเตรียมถังเก็บน้ําสํารองชั่วคราวพรอมระบบเครื่องสูบน้ํา สําหรับใชงานในขณะที่ปดการใชงานถังเก็บน้ําหลัก T 1 และ ถังเก็บน้ํา T 0 เพื่อซอมแซมและติดตั้งวัสดุกันซึมใหม เปนตน ทําใหระยะเวลาการกอสรางตองขยายออกไปรายละเอียดขอบเขตงาน ความจําเปน และประโยชนที่จะไดรับในโครงการฯ ระยะที่ 1 แบงออกไดดังนี้1. ปรับปรุงระบบไฟฟาแสงสวางชั้นจอดรถใตดินและชั้น 5–7 เนื่องจากความสวางในพื้นที่ลานจอดรถกอนการปรับปรุงมีคาความสวางเพียง 3-15 Lux ซึ่งไมเพียงพอและอาจจะเกิดอันตรายได จึงไดเปลี่ยนระบบไฟฟาแสงสวางเพื่อใหมีคาความสวางในพื้นที่ชั้นจอดรถและทางลาดขึ้น-ลงที่ 30-50 Lux ตามมาตรฐานสากลวิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง เปนการเปลี่ยนอุปกรณในระบบไฟฟาแสงสวางทั้งหมด โดยมีการเดินสายไฟ และอุปกรณใหมทั้งหมดกอน แลวจึงทําการรื้อถอนสายไฟ และอุปกรณชุดเกาออก โดยเปนการทํางานในชวงเวลาปกติ2. เปลี่ยน Cooling Tower 6 ชุด และระบบทอน้ําเย็น เนื่องจากกําลังการผลิตความเย็นของCooling Tower เดิมเหลือเพียง 2,500 Ton_ ref จาก 3,000 Ton_ ref เพราะชํารุดจนใชการไมได 1 เครื่องโดย Chillers แตละเครื่องที่ใชงานได มีสภาพใชงานเพียง 80% จึงไมสามารถทําความเย็นไดเพียงพอกับความ741


ตองการใชงาน สิ้นเปลืองการใชพลังงาน และปริมาณการสูญเสียน้ําไหลเวียนสูงถึง 200 ลบ.ม.ตอวัน จึงไดเปลี่ยน Cooling Tower เพื่อเพิ่มกําลังการผลิตความเย็นใหได 3,250 Ton_ ref ใหรองรับปริมาณผูใชอาคารได6,000 คน โดยติดตั้งประเภท Cross Flow ซึ่งประหยัดการใชพลังงานไดมากกวา 35% และลดปริมาณการสูญเสียน้ําไหลเวียนในระบบไดมากกวา 50%วิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง มีการวางแผนในเรื่องของการกําหนดชวงเวลาในการติดตั้งวาลว ที่จะทําหนาที่เปนตัวเชื่อมตอระหวาง ทอ Main Riser กับ Cooling Tower โดยเลือกทําในวันหยุดยาวของธนาคารเพราะเปนงานที่จะสงผลกระทบโดยตรงตอระบบของตัวอาคาร และผูใชอาคารทั้งหมด แลวจึงเริ่มทําการเปลี่ยน Cooling Tower ทีละตัว โดยการติดตั้งเครนที่ชั้นดาดฟาเพื่อยก Cooling Tower ลงมาทีละชุด ดวยสาเหตุเนื่องจากมีพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่จํากัด3. ปรับปรุงระบบระบายอากาศชั้นใตดิน เพื่อใหเกิดการถายเทอากาศ ลดความอับชื้นที่เปนสาเหตุของมลภาวะที่มีผลตอสุขภาพ และอายุใชงานของวัสดุอุปกรณวิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง ทําโดยการติดตั้งพัดลมระบายอากาศเพิ่มเติม ชวงเวลาในการปฏิบัติงานเปนชวงเวลาปกติ4. ติดตั้งระบบอัดอากาศในบันไดหนีไฟ และระบบดูดควัน เนื่องจากกอนการปรับปรุง ภายในอาคารไมไดมีการติดตั้งระบบดูดควัน และมีบันไดหนีไฟเพียง 2 ชุดทางดานถนนสาทรที่ติดตั้งระบบอัดอากาศ(Pressurization) เพื่อเพิ่มระดับความปลอดภัย (Life Safety) ใหกับผูใชอาคารในกรณีฉุกเฉิน จึงไดปรับปรุงดังนี้a. ติดตั้งระบบ Smoke Exhaust เพิ่มในพื้นที่สํานักงานชั้น 8 ถึงชั้น 30 เพื่อที่จะปองกันผูใชอาคารจากการขาดอากาศหายใจในระหวางการอพยพออกจากพื้นที่เพื่อใหสามารถไปถึงบันไดหนีไฟไดอยางปลอดภัยb. ติดตั้งระบบอัดอากาศในชองบันไดเพื่อใหมีคุณสมบัติเปนบันไดหนีไฟทั้ง 4 ชองบันได (ติดตั้งดานถนนสีลมเพิ่มอีก 2 ชุด) เพื่อใหเพียงพอและไมเกิดความสับสนในการใชบันไดหนีไฟในระวางการอพยพออกจากพื้นที่5. เปลี่ยนทอระบบประปา และสุขาภิบาล (Cold Water, Soil, Waste Water, Ventilation pipe)เนื่องจากทอเดิมเปนสนิม ผุกรอนเสี่ยงตอการรั่วซึม มีระบบทอสงน้ําขึ้นอาคารทางซอยสุรเสนาเพียงดานเดียว(Single Riser) สงไปยังถังเก็บน้ําชั้น 19 และชั้น 31 ทําใหมีความเสี่ยงตอการใชอาคารในกรณีที่เครื่องสูบน้ําหรือทอสงน้ําชํารุดจึงไดทําการเปลี่ยนทอและอุปกรณใหมทั้งหมดรวมทั้งทอในหองน้ําชั้น 5 -30 รวมถึงการเพิ่มเครื่องสูบน้ําและทอสงน้ําขึ้นอาคารอีก 1 ชุดทางดานซอยพิพัฒน (Dual Riser) ซึ่งทําใหมีน้ําใชในอาคารแมวาเครื่องสูบน้ําและทอสงน้ําชุดใดชุดหนึ่งจะชํารุดหรือหยุดใชงานเพื่อทําการซอมบํารุงวิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง ทําโดยการเพิ่ม Riser ในฝงของซอยพิพัฒนใหแลวเสร็จกอน แลวจึงทําการเปลี่ยนทอ Riser ในฝงของซอยสุรเสนาตอ เพื่อไมใหสงผลกระทบตอการใชน้ําในอาคาร ซึ่งชวงเวลาในการปฏิบัติงานจะเปนไปตามขอกําหนดเบื้องตน742


6. เปลี่ยนระบบบําบัดน้ําเสีย 2 บอ เนื่องจากอุปกรณระบบบําบัดน้ําเสียเดิมเสื่อมสภาพ สิ้นสุดอายุการใชงาน และมีปริมาณน้ําเสียเกินกวาขนาดของบอบําบัดทําใหเกิดมลภาวะในอาคารโดยเฉพาะชั้นใตดิน จึงจําเปนที่จะตองเปลี่ยนอุปกรณและระบบบําบัดใหมีประสิทธิภาพ และระบายน้ําเสียที่ผานการ Pretreatmentลงสูทอรวบรวมน้ําเสีย กทม. เพื่อไปบําบัดตอที่โรงบําบัดน้ําเสียชองนนทรี และมีระบบควบคุมปองกันน้ําเสียทวมชั้นใตดินในกรณีฉุกเฉินวิธีการปฏิบัติงานในการปรับปรุง จะทําการปดปรับปรุงและซอมแซมถังบําบัดทีละใบ โดยจะทําการBypass น้ําทิ้งจากตัวอาคารที่จะลงบอฯ ที่ทําการปรับปรุงอยูไปยังอีกบอฯ หนึ่งแทน โดยในการปรับปรุงบอบําบัดฯ จะเปนการเปลี่ยนอุปกรณในบอฯ ทั้งหมดรวมถึงทําการซอมแซมผนังภายในบอ ซึ่งในการลงไปปฏิบัติงานจะตองทําการติดตั้งอุปกรณประเภท O 2 Sensor เสียกอน เพื่อทําใหเกิดความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน และชวงเวลาในการปฏิบัติงานสามารถทําไดตามเวลาปกติ7. สรางถังเก็บน้ําประปาสํารองเพื่อซอม/บํารุงรักษาถังเก็บน้ํา T1 และเสริมโครงสรางพื้นชั้นดาดฟาใหรองรับ Cooling Tower 6 ชุด ดังนี้ เนื่องจากผนังโครงสรางถังเก็บน้ําหลัก (T1) ขนาด 1,200 ลบ.ม. ผุกรอน และมีรอยรั่วซึม จึงตองสรางถังเหล็กเพื่อสํารองน้ําความจุ 400 ลบ.ม. เหนือถังเก็บน้ําเดิมเพื่อใชในระหวางการซอมผนังและติดตั้งระบบกันซึมที่ถังเก็บน้ํา T1 ซึ่งถังเหล็กดังกลาวยังสามารถเก็บไวสํารองน้ําใชในกรณีฉุกเฉินหรือปดซอมถังเก็บนา T1 ไดเนื่องจากการเพิ่มขนาด Cooling Tower จึงทําใหพื้นชั้นดาดฟาไมแข็งแรงพอที่จะรับน้ําหนัก จึงตองเสริมโครงเหล็กเพื่อถายน้ําหนัก Cooling Tower ไปยังเสาอาคารโดยตรงไมผานโครงสรางพื้น8. งานปรับปรุงหองน้ํา Ante Room และระบบปรับอากาศ ระบายอากาศ โถงลิฟต ชั้น 5-30และสรางหอง Comms Room 20 หอง ประกอบดวยงานปรับปรุงหองน้ําพนักงาน หองน้ําผูบริหาร Ante Room และ Pantry ระบบปรับอากาศ ระบายอากาศ บริเวณโถงลิฟต ชั้น 5-30 เนื่องจากวัสดุตกแตง รวมทั้งระบบไฟฟา ระบบประปา และระบบระบายอากาศ ชํารุด ไมปลอดภัยตอการใชงาน จึงทําการปรับปรุงตกแตงใหมโดยการรื้อกระเบื้องพื้นและผนังเดิมออกพรอมกับการเปลี่ยนทอประปาที่ฝงในผนังและเลือกใชวัสดุตกแตงที่ทันสมัย บํารุงรักษาไดงายปดผิวทดแทนรวมทั้งการเลือกใชอุปกรณสุขภัณฑ และอุปกรณไฟฟารุนที่ประหยัดพลังงาน (ยกเวนหองน้ําพนักงานชั้น 26 ถึงชั้น 30 ที่จะปรับปรุงพรอมการปรับปรุงพื้นที่ทําการในชั้นนั้น)สภาพหอง Comms Room ไมเหมาะสม และไมมีความปลอดภัยเพียงพอที่รองรับการเปลี่ยนอุปกรณและขยายโครงขายสื่อสารในธนาคาร จึงไดปรับปรุงหองใหมีคุณสมบัติกันไฟได 2-3 ชั่วโมง ติดตั้ง AccessFloor ควบคุมการเขาออกดวย Access Control และ Monitor ทั้งภายใน/นอกหองระบบ CCTVวิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง จะทําโดยการปดปรับปรุงในสวนของนาแตละฝงของธนาคาร ฝงละ 3ชั้น โดยใชเวลาในการปรับปรุงประมาณ 2 เดือน ดังนั้น ผูใชอาคารในชั้นที่ทําการปรับปรุง จะสามารถใชหองน้ําไดแคฝงเดียวของอาคาร และงานปรับปรุงนี้จะทําควบคูไปกับงานลําดับที่ 4 และ 5 โดยใชชวงเวลาในการปฏิบัติงานชวงเดียวกัน743


9. ซอมผนังโครงสรางและติดตั้งระบบกันซึมถังเก็บน้ํา 10 ถัง เนื่องจากระบบกันซึมเดิมหมดอายุการใชงานโดยคลอรีนในน้ําประปากัดกรอนผนังโครงสรางเสียหาย จึงไดหยุดการใชถังน้ําชั่วคราวเพื่อซอมผนังโครงสรางที่ไดรับความเสียหาย และติดตั้งระบบกันซึมภายในถังเก็บน้ําทุกดาน โดยมีระยะเวลารับประกัน 10ปวิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง จะทําการสรางถังเก็บน้ําสํารอง และติดตั้ง Pump น้ําสํารองรวมถึงทําแนวทอใหมจากถังเก็บน้ําสํารองสงไปยังถังเก็บน้ําที่เหลือในอาคาร ในระหวางที่ถังเก็บน้ําหลักยังคงทําการซอมแซมและปรับปรุงอยู10. จางบริษัทที่ปรึกษาและควบคุมงาน บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอรวิส จํากัด เพื่อบริหารและควบคุมงานปรับปรุงระบบปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญ ใหเปนไปตามสัญญา ในระยะเวลา 16เดือน“ในโครงการฯ ระยะที่ 2” จะเปนการปรับปรุงและเปลี่ยนอุปกรณ เพื่อทําใหธนาคารสามารถใชอาคารสํานักงานใหญในการประกอบธุรกิจตอไปไดโดยไมไดรับผลกระทบจากอุปกรณระบบลมเหลวคณะกรรมการบริหารงานโครงการปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญไดสอบราคาแบบ Close Bidโดยคัดเลือกผูเสนอราคาที่ไดรวมในการเสนอราคางานโครงการปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญระยะที่ 1 จํานวน 5 ราย โดยมีบริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอรวิส จํากัด ผูบริหารและควบคุมงานกอสรางระยะที่1 เปนผูดําเนินงานสอบราคางานปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญ ระยะที่ 2 ใหกับธนาคารขอบเขตงานที่ไดทําการปรับปรุงไปบางสวนแลวจนถึงสิ้นป พ.ศ. 2551 ประกอบดวย1. เปลี่ยนเครื่องกําเนิดไฟฟา หมอแปลง MDB Busduct HV&LV Switchgear และติดตั้ง UPS2. Main Chillers & AHU Replacement3. 24-Hrs Air cooled System & PCU Installationคณะกรรมการบริหารงานโครงการปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญ ไดมอบหมายใหคณะทํางานเทคนิคพิจารณาทบทวนขอบเขตงานปรับปรุงระบบปรับปรุงระบบประกอบอาคารสํานักงานใหญเพื่อปรับลดคาใชจายโครงการ โดยการทบทวนจะตองไมมีผลกระทบตอระดับความปลอดภัยในการใชงานสามารถใชงานไดโดยยังระดับ Reliability และ Redundancy ตามที่ออกแบบไว โดยใหปรับขอบเขตงานตามขอเสนอของคณะทํางานเทคนิคผูที่เกี่ยวของกับโครงการฯ ระยะที่2 ประกอบดวย1. บริษัท กรุงเทพ จํากัด(มหาชน) เจาของโครงการ2. บริษัท วิศวกรที่ปรึกษา อาร เค วี จํากัด ผูออกแบบงานโครงสราง3. บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด ผูออกแบบงานระบบประกอบอาคาร4. บริษัท ไอ เอ อารคิเทค 49 จํากัด ผูออกแบบงานตกแตงภายใน5. บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอรวิส จํากัด ที่ปรึกษาบริหารและควบคุมงานกอสราง744


6. บริษัท นันทวัน จํากัด ผูรับจางโดยมีขอบเขตการจางงาน วงเงิน ความจําเปน และประโยชนที่จะไดรับ สําหรับโครงการฯ ระยะที่ 2ในป พ.ศ. 2551 จากการปรับปรุง/เปลี่ยนวัสดุอุปกรณ /ระบบ มีดังนี้A. ปรับปรุงระบบปรับอากาศ ประกอบดวย• เปลี่ยน Main Chillers ระบบทอน้ําเย็น และระบบไฟฟาควบคุมการทํางาน เนื่องจากขนาดทําความเย็นของ Chillers 5 x 475 + 1 x 350 = 2,725 Ton ref ซึ่งออกแบบใหรองรับปริมาณผูใชอาคาร 4,500คน เสื่อมสภาพ 5 ชุด และใชงานไมได 1 ชุด (ขนาด 475 Ton ref ) เครื่องที่ใชงานไดมีประสิทธิภาพต่ําสิ้นเปลืองพลังงาน โดยมีอัตราการใชพลังงานไฟฟาเพื่อผลิตความเย็น 1 Ton_ref มากกวา 1 kW และไมสามารถทําความเย็นเพื่อรองรับปริมาณผูใชอาคาร 6,000 คนในปจจุบันไดจึงเสนอเปลี่ยน Main Chillers ขนาดทําความเย็น 6 x 500 + 1 x 200 = 3,200 Ton ref รวมทั้งเครื่องสูบน้ําในระบบ 25 ชุด ซึ่งสามารถรองรับผูใชอาคารได 6,000 คน สามารถประหยัดคาไฟฟาเนื่องจากอัตราการใชพลังงานไฟฟาเพียง 0.65 kW เพื่อผลิตความเย็น 1 Ton_ref (ลดการใชพลังงานลงได 35% ตอ Ton_ref)บริหารจัดการดวยระบบควบคุมอัตโนมัติ มี Chiller ขนาดเล็ก 200 Ton_ref 1 เครื่องใชงานในชวง Low Loadและมี Stand by Chiller ขนาด 500 Ton_ref ไว 1 เครื่องในกรณีฉุกเฉินเมื่อพิจารณาการประหยัดคาไฟฟาแลว Chillers ชุดใหมจะประหยัดคาไฟฟาในขณะที่ผลิตความเย็น1,330 Ton/ref ไดประมาณ 358,000 บาทตอเดือนExistingNewMain Chillers 4 x 475 5 x 500Peak Load 1,900.00 1,900.00Average Load per day = 70% Peak Load 1,330.00 1,330.00Power Consumption rate kW per Ton_ref 1.00 0.65Power Consumption - kW 1,330.00 864.50kW-H Units (10 hrs/day x 22 days= 220 hrs) 292,600.00 190,190.00Rate per unit 3.50 3.50คาไฟฟาตอเดือน 1,024,100.00 665,665.00ประหยัดคาไฟฟาตอเดือน 358,435.00วิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง เปนการเปลี่ยน Chiller ทีละตัว โดยเริ่มจากการสํารวจพื้นที่ เพื่อทําการเจาะผนังอาคารในชั้น 19 เพื่อทําการติดตั้งระบบยก Chiller ใหสามารถยกออกไปโดยใชชั้น 8 ของอาคารเปนจุดหยุดพักในการขนถาย ซึ่งในจุดที่ทําการขนยายลงไปนั้นมีระบบประกอบอาคารเดิมติดตั้งอยู จึงตองทําการยายระบบประกอบอาคารเหลานั้นไปยังจุดใหมในบริเวณใกลเคียงเสียกอน จากนั้นจึงทําการใชเครนเพื่อทําการ745


ยก Chiller ตัวเกาลง แลวติดตั้ง Chiller ตัวใหมเขาไปแทนที่ แลวจึงทําการเดินระบบเพื่อทดสอบเมื่อติดตั้งเสร็จทีละตัว ซึ่งชวงเวลาปฏิบัติงานจะตองเปนไปตามขอกําหนดเบื้องตนB. ปรับปรุงระบบไฟฟา เปนเงิน 577.06 ลานบาท ประกอบดวย• หมอแปลงไฟฟา (สามารถเปลี่ยนจาก 12 เปน 24 KV) และชุดอุปกรณควบคุมการจายไฟMDB DB RMU และ HV& LV Switchgear เนื่องจากปริมาณไฟฟาที่จายจากหมอแปลงเดิมขนาด 12,600kVA ไมเพียงพอที่จะจายกระแสไฟฟาใหกับอาคารไดอยางปลอดภัย เนื่องจากการเพิ่มขนาด Main Chillersและการเพิ่มระบบ 24 Hour Chillers จึงมีผลใหตองเพิ่มขนาดหมอแปลงใหจายกระแสไฟฟาในแตละพื้นที่ใชงานไดอยางเหมาะสม โดยหมอแปลงชุดใหมจะมีขนาดรวมกัน 14,000 kVA ประกอบดวย 2 x 2,500 kVA + 2x 1,250 kVA (Base building) + 1 x 1,600 kVA(Data center)ติดตั้งที่ชั้น G และ 4 x 1,250 kVA(ChillerPlant) ติดตั้งที่ชั้น 19• Busduct, Cable, Raceway และ อุปกรณประกอบ เนื่องจาก Busduct เดิมสามารถรับกระแสไฟฟาไดเพียง 6000A ซึ่งมีขนาดไมเพียงพอกับที่รับกระแสไฟฟาขนาด 8,500A จากหมอแปลง และฉนวนเสื่อมสภาพซึ่งอาจจะทําใหเกิดไฟฟาลัดวงจรได จึงตองเปลี่ยน Bus Duct ใหสามารถรับกระแสไฟฟาไดอยางปลอดภัย• Main Electrical Incoming เนื่องจากสายแรงสูงจากสถานีจายไฟฟายอยสีลม และสถานีจายไฟฟายอยสุรวงศ รวม 2 Feeders ที่จายใหกับธนาคารเดินมาในแนวเดียวกันทางดานซอยพิพัฒน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่อาคารจะไมมีกระแสไฟใช หาก Feeders ดานนี้ไดรับความเสียหายจากเหตุสุดวิสัย จึงเสนอขอแยก Feedersเปน 2 แนว กลาวคือ เดินสาย Feeder ใหมทางดานซอยสุรเสนา 1 ชุด และดานซอยพิพัฒนอีก 1 ชุด เชื่อมตอกับ RMU ภายในอาคาร โดย Feeder ดานซอยพิพัฒนรับกระแสไฟฟาจากสถานีจายไฟฟายอยสีลม และFeeder รับกระแสไฟฟาจากสถานีจายไฟฟายอยสุรวงศ• เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง และชุดอุปกรณควบคุมการจายไฟ EMDB เนื่องจากการเพิ่มความตองการกระแสไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อสํารองไวใชในกรณีฉุกเฉิน ไดแก ระบบปรับอากาศชั้น 26 – 30ไฟฟาแสงสวางและปลั๊ก 100% ใชงานในพื้นที่ชั้น 1-3 และชั้น 9 เพิ่มอีก 10% ใชงานในพื้นที่สํานักงานชั้น 10-25, Comms Rooms & Network Equipment, Fire man lift, 24 hrs chillers, Fire Pumps & Jocky Pumps,Pressurization & Smoke System และอุปกรณ Life Safety ทั้งหมด จึงทําใหตองเพิ่มขนาดเครื่องกําเนิดไฟฟาจากขนาด 3 x 625 kVA เปน 2 x 2,000 kVA และกอสรางถังน้ํามันดีเซลขนาด 28,000 ลิตรใตถนนดานหลังอาคาร เพื่อสํารองน้ํามันใหกับการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟาได 3 วัน• UPS System และชุดอุปกรณควบคุมการจายไฟ เพื่อติดตั้งระบบปรับสภาพกระแสไฟใหเสถียรกอนการจายเขาอุปกรณโครงขายสื่อสารใน Comms Room รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอรชั้น 1-3 และ Treasuryและ MDF&PABX โดยติดตั้ง UPS 2 x 300 kVA - Full Redundancyวิธีปฏิบัติงานในการปรับปรุง สําหรับในสวนของหมอแปลงไฟฟานั้น ในสวนของ HV (High Voltage)& LV (Low Voltage) จะตองทําการสํารวจพื้นที่ในการติดตั้งใหม เนื่องจาก พื้นที่เดิมที่ทางบริษัท Citek ไดทํา746


การออกแบบไว มีสภาพพื้นที่ไมเหมาะสม และไมถูกตองตามกฎหมาย จึงตองมีการกําหนดขอบเขตงานใหมโดยบริษัท นันทวัน ซึ่งไดเลือกพื้นที่ในการติดตั้งใหมเปนพื้นที่บริเวณชั้น 8 ของอาคาร เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสมมากที่สุด แลวจึงทําการขนยายอุปกรณดวยเครนขึ้นไป เพื่อทําการติดตั้งอุปกรณไหมใหแลวเสร็จเสียกอน แลวจึงทําการเดินระบบเขาไปแทนที่ระบบเกาที่ทํางานอยูแทน ซึ่งในการปฏิบัติงานสวนนี้จะรวมไปถึงการติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองดวยเชนกัน โดยชวงเวลาในการทํางานจะเปนไปตามขอกําหนดเบื้องตนจากการเขาไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับโครงการฯ ทําใหไดทราบถึงขั้นตอนในการดําเนินการในโครงการลักษณะของการแบงชวงระยะเวลาในการปฏิบัติงานของโครงการ การวิเคราะหถึงสภาพและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นหากไมทําการเปลี่ยนอุปกรณในระบบของอาคาร ซึ่งผลที่จะตามมาอาจสรางความเสียหาย และเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอธุรกิจหลักของธนาคาร พนักงาน รวมถึงลูกคาของธนาคาร ดังนั้น โครงการฯ นี้จึงมีความพิเศษ เนื่องจากการที่ธุรกิจของธนาคารมีความสัมพันธเกี่ยวโยงกับการทํางานของระบบประกอบอาคาร ซึ่งหากระบบเกิดการหยุดชะงักก็จะทําใหธุรกิจของธนาคารตองหยุดชะงักดวยเชนกัน จึงจําเปนที่จะตองมีการดําเนินการปรับปรุงอยางเรงดวนในขณะที่อาคารยังคงมีการใชงานอยู แตไมใชการปรับปรุงเพียงเพื่อแคใหระบบสามารถทํางานได แตยังตองมองไปใหไกลถึงความจําเปน ความคุมคา และปญหาในระยะยาวตอไปอีกในอนาคต747


การบริหารทรัพยากรกายภาพ : กรณีศึกษา อาคารสํานักงานวิริยะประกันภัยFACILITY MANAGEMENT : CASE STUDIES OF VIRIYAH INSURANCE BRANCH OFFICEEนาย ณัฏฐศิกษ บุณยะวัฒนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอเนื่องจากบริษัท วิริยะประกันภัย ที่ดําเนินธุรกิจดานประกันภัย มีอาคารสํานักงานตามลําดับสายงานไดแก สํานักงานภาค สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน สาขา และ ศูนยฯสินไหมทดแทน รวม 75 แหง การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค จะศึกษาสภาพและการดูแลอาคารสํานักงานในปจจุบัน เพื่อเสนอแนะแนวทางในการดําเนินงานดานอาคารตอไป โดยเลือกอาคารสํานักงานที่ตั้งอยูในภาคกลางและกรุงเทพมหานครจํานวน 12 แหงประกอบดวย สํานักงานภาค 1 แหง สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน 4 แหง สาขา 2 แหง และ ศูนยฯสินไหมทดแทน 5 แหง เปนกรณีศึกษาจากการศึกษาพบวา อาคารกรณีศึกษาทั้ง 12 แหง มีอายุอาคารตั้งแต 2 – 27 ป ขนาดที่ดิน 23 –1,112.30 ตารางวา สวนใหญเปนอาคารเดี่ยว ยกเวนอาคารสํานักงานภาค และ สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทนสุขาภิบาล 3 พื้นที่โดยรวมอาคารมีขนาด 280 – 1,415.70 ตารางเมตร จํานวนบุคลากร 7 – 94 คน คาใชจายตอตารางเมตร มีตั้งแต 86.44 – 355.95 บาท ทั้งนี้ อายุอาคาร ขนาดเนื้อที่ และพื้นที่อาคารรวมที่แตกตางกัน ไมขึ้นอยูกับระดับสายงานสภาพอาคารสวนใหญทรุดโทรม มีการบํารุงรักษาระบบปรับอากาศเพียงอยางเดียวเทานั้น โดยจัดจางบริษัทภายนอกเขามาดําเนินการ สวนระบบอื่นๆจะซอมเมื่อเสีย แตละหนวยงานจะดําเนินการซอมแซมเทาที่อยูในงบประมาณ และอํานาจอนุมัติของผูจัดการหนวยงานนั้น งานที่มีความซับซอนหรือที่เกี่ยวกับโครงสรางอาคาร สวนกลางจะเปนผูรับผิดชอบ สงผลใหเกิดความลาชาจนเสียหายรุนแรงขึ้น สวนบุคลากรที่ดูแลดานอาคารสถานที่สวนใหญมาจากเจาหนาที่สายการเงินหรือบริหารทั่วไป ระบบประกอบอาคารหมดสภาพหรือหมดอายุ ก็ไมมีงบประมาณเตรียมไว ดวยเหตุดังกลาวทําใหเกิดปญหาและไมมีแนวปฏิบัติชัดเจน ทําใหสงผลในการดําเนินธุรกิจ ภาพลักษณและความนาเชื่อถือขององคกร จึงมีขอเสนอแนะวาควรนําเอาระบบบริหารทรัพยากรกายภาพมาใช ที่ครอบคลุมทั้งดานการบริหาร การจัดการ การบํารุงรักษา และ การบริการโดยปรับใหสอดคลองและเหมาะสมสําหรับสํานักงานแตละระดับสายงานตอไปความเปนมาและสาระสําคัญบริษัท วิริยะประกันภัย จํากัด มีเครือขายครอบคลุมทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ปจจุบันมีอาคารสํานักงานทั้งสิ้น 75 แหง อาคารสํานักงานของบริษัทจึงเปนปจจัยสําคัญในการดําเนินธุรกิจขององคกร เพื่อตอบสนองและรองรับการใหบริการแกลูกคา การใหความสําคัญกับอาคารจึงเปลี่ยนจากแนวคิดที่วา อาคารเปน748


เพียงสถานที่ทํางานและรวมผูคน ที่มิไดมีความจําเปนที่จะตองไดรับการดูแลและจัดการที่ดี กลายมาสูความคิดที่วา อาคารตองกลายมาเปนเครื่องมือในทางธุรกิจอันใหม ที่จะสามารถเพิ่มศักยภาพในทางธุรกิจความสามารถในการแขงขันและเพิ่มผลผลิตใหกับองคกร ดังนั้นความสัมพันธระหวาง อาคาร องคกร และมนุษย จึงเปนสิ่งสําคัญที่จะตองคํานึงถึงในการดําเนินธุรกิจขององคกร ใหสามารถทํางานรวมกันไดอยางสอดคลองเพื่อผลสําเร็จขององคกรที่ตั้งไว1 จึงทําการศึกษาสภาพอาคารสํานักงานในปจจุบันและปญหาที่เกิดขึ้น เพื่อเสนอแนะแนวทางในการดําเนินงานดานอาคารตอไปวัตถุประสงค1. เพื่อศึกษาสภาพทางกายภาพและการดูแลอาคารสํานักงานวิริยะประกันภัยในปจจุบัน2. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการบริหารจัดการของอาคารสํานักงานวิริยะประกันภัยวิธีการศึกษาในการศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดขอบเขตในการศึกษา โดยเลือกศึกษาอาคารสํานักงานของบริษัท วิริยะประกันภัย ที่ตั้งอยูในเขตภาคกลางและกรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งสิ้น 12 แหง เปนอาคารกรณีศึกษา การเก็บขอมูลใชวิธีการสํารวจ สังเกตการณ และเก็บภาพถาย สภาพอาคารปจจุบันและสัมภาษณบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของกับการดูแลอาคารสถานที่ ในเรื่องของปญหาที่เกิดขึ้นและสาเหตุของปญหา เพื่อวิเคราะห สรุปผลและเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาตอไปผลการศึกษาจากการศึกษาอาคารกรณีศึกษา ทั้ง 12 แหง แบงออกเปน สํานักงานภาค 1 แหง สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน 4 แหง สาขา 2 แหง และ ศูนยฯสินไหมทดแทน 5 แหง โดยมีรายละเอียดดานกายภาพ ดังนี้ขอมูลเบื้องตนดานกายภาพของอาคารกรณีศึกษาประเภทอาคาร อายุอาคาร(ป)ขนาดที่ดิน(ตารางวา)พื้นที่โดยรวม(ตารางเมตร)จํานวนอาคารอาคารสํานักงานภาค (นครปฐม) 3 - 14 558 1,415.70 3สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน พระราม 2 2 1,112.30 1,320 1สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน วงศสวาง 17 156 424 1สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน สุขาภิบาล 3 25 591 708 2สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน อยุธยา 15 72 672 1สาขาสระบุรี 27 58 288 1สาขาบางพลัด 17 61.50 912 1ศูนยฯสินไหมทดแทน บางพลัด 19 <strong>13</strong>1 432 11 บัณฑิต จุลาสัย และ เสริชย โชติวานิช. การบริหารทรัพยากรกายภาพ.กรุงเทพ. : โรงพิมพแหงจุฬามหาวิทยาลัย, 2547749


ประเภทอาคารอายุอาคาร(ป)ขนาดที่ดิน(ตารางวา)พื้นที่โดยรวม(ตารางเมตร)จํานวนอาคารศูนยฯสินไหมทดแทน สระบุรี 25 36.20 376 1ศูนยฯสินไหมทดแทน สุพรรณบุรี 20 23 280 1ศูนยฯสินไหมทดแทน สมุทรสงคราม 15 50.40 424 1ศูนยฯสินไหมทดแทน อางทอง 14 42 344 1จากตารางอาคารกรณีศึกษาสามารถสรุปไดวา- อายุอาคารมีตั้งแต 2 – 27 ป , ขนาดที่ดินมีตั้งแต 23 – 1,112.30 ตารางวา , พื้นที่โดยรวมของอาคารมีตั้งแต 280 – 1,415.70 ตารางเมตร- สวนใหญเปนอาคารเดี่ยว ยกเวน อาคารสํานักงานภาค ที่มีอาคาร 3 อาคาร และ สาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน สุขาภิบาล 3 มีอาคาร 2 อาคาร- อาคารสํานักงานกรณีศึกษา มีที่ตั้ง แตกตางกันในแตละพื้นที่ การไดมาของสถานที่ตั้งมีระยะเวลาที่ตางกัน ความสัมพันธดานลักษณะทางกายภาพของอาคารจึงไมมีความสัมพันธกันและไมขึ้นอยูกับระดับสายงานคาใชจายของอาคารอาคารคาจางคาบํารุงรักษาคาสาธารณูปโภครวมคาใชจายรวม ตอตารางเมตรสํานักงานภาค (นครปฐม) 50,767 10,667 155,291 206,058 145.55สาขา/ศูนยฯสินไหมฯ พระราม 2 46,817 5,833 82,558 129,375 98.01สาขา/ศูนยฯสินไหมฯ วงศสวาง 45,233 3,333 83,479 128,712 303.57สาขา/ศูนยฯสินไหมฯ สุขาภิบาล 3 43,400 4,500 95,257 <strong>13</strong>8,657 195.84สาขา/ศูนยฯสินไหมฯ อยุธยา 20,100 - 85,918 106,018 157.76สาขาสระบุรี 21,900 - 80,6<strong>13</strong> 102,5<strong>13</strong> 355.95สาขาบางพลัด 51,070 7,000 77,736 128,806 141.23ศูนยฯสินไหมทดแทน บางพลัด 33,003 4,000 88,014 121,017 280.<strong>13</strong>ศูนยฯสินไหมทดแทน สระบุรี 24,100 - 56,822 80,922 215.22ศูนยฯสินไหมทดแทน สุพรรณบุรี 23,190 2,290 37,912 61,102 218.22ศูนยฯสินไหมทดแทน สมุทรสงคราม 16,983 883 23,224 40,207 94.83ศูนยฯสินไหมทดแทน อางทอง 15,600 - 14,<strong>13</strong>6 29,736 86.44- คาจาง หมายถึง คารักษาความสะอาด , คารักษาความปลอดภัย , คาดูแลสวนและภูมิทัศน ,คากําจัดปลวกและแมลง- คาบํารุงรักษา หมายถึง คาบํารุงรักษาระบบปรับอากาศเพียงอยางเดียว750


- คาสาธารณูปโภค หมายถึง คาไฟฟา , คาน้ําประปา , คาโทรศัพทสัดสวนคาใชจายทั้งหมดของอาคารคาจาง คาบํารุงรักษา คาสาธารณูปโภคคาสาธารณูปโภค,67.17%คาจาง, 29.90%คาบํารุงรักษา, 2.94%เมื่อนําคาใชจายทุกตัวมาคํานวณหาคาเฉลี่ย พบวา คาสาธารณูปโภคเปนคาใชจายที่มากที่สุด คิดเปนสัดสวนรอยละ 67.17 ของคาใชจายทั้งหมด รองลงมาคือ คาใชจายดานคาจาง คิดเปนสัดสวนรอยละ 29.90สวนคาใชจายที่ต่ําที่สุด คือ คาบํารุงรักษา คิดเปนสัดสวนรอยละ 2.94จะเห็นไดวา คาใชจายดานการบํารุงรักษา เปนคาใชจายที่นอยที่สุด เนื่องจากมีเพียงคาบํารุงรักษาระบบปรับอากาศเพียงอยางเดียว ที่มีการบํารุงรักษาหนวยงานที่ดูแลรักษาดานอาคารสถานที่พบวา เกือบทุกอาคารไมมีหนวยงานที่ดูแลดานอาคารสถานที่โดยตรง โดยใหบุคลากรเจาหนาที่ฝายสํานักงานและบุคคลที่ประจําอยูตามหนวยงาน ทําหนาที่ดูแลและใหพนักงานในหนวยงานชวยกันซอมแซมแกไขเบื้องตนเทาที่สามารถดําเนินการได ยกเวนอาคารสาขา สระบุรี เพียงแหงเดียวที่มีชางประจําอาคารคอยทําหนาที่ดูแลบํารุงรักษาอาคารสถานที่โดยตรงการดําเนินการซอมแซมอาคารการซอมแซมอาคารแบงเปนงาน 2 ลักษณะ คือ งานซอมเล็ก (งานซอมแซมทั่วไป) ผูจัดการแตละหนวยงานสามารถอนุมัติดําเนินการเองไดและมีวงเงินในการอนุมัติประมาณ 5,000 บาท โดยการจัดจางชางทองถิ่นเขามาดําเนินการ สวนงานซอมใหญ (งานที่เกี่ยวกับโครงสรางอาคาร) ทางสํานักงานสวนกลางจะเปนผูเขามาดําเนินการโดยตรง751


ตารางแสดงการดําเนินการซอมแซมอาคารอาคารลักษณะการดําเนินงานงานซอมทั่วไป งานซอมใหญสํานักงานภาค ดําเนินการทันที รอการดําเนินการจากสวนกลางสาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน พระราม 2 รอการดําเนินการจากสวนกลาง รอการดําเนินการจากสวนกลางสาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน อยุธยา รอการดําเนินการจากชางประจําสาขา รอการดําเนินการจากสวนกลางสระบุรีสาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน วงศสวาง รอการดําเนินการจากสวนกลาง รอการดําเนินการจากสวนกลางสาขา/ศูนยฯสินไหมทดแทน สุขาภิบาล 3 รอการดําเนินการจากสวนกลาง รอการดําเนินการจากสวนกลางสาขาสระบุรี ดําเนินการทันที รอการดําเนินการจากสวนกลางสาขาบางพลัด รอการดําเนินการจากสวนกลาง รอการดําเนินการจากสวนกลางศูนยฯสินไหมทดแทน บางพลัด รอการดําเนินการจากสวนกลาง รอการดําเนินการจากสวนกลางศูนยฯสินไหมทดแทน สระบุรี รอการดําเนินการจากชางประจําสาขา รอการดําเนินการจากสวนกลางสระบุรีศูนยฯสินไหมทดแทน สุพรรณบุรี รอการดําเนินการจากสวนกลาง รอการดําเนินการจากสวนกลางศูนยฯสินไหมทดแทน สมุทรสงคราม รอการดําเนินการจากสวนกลาง รอการดําเนินการจากสวนกลางศูนยฯสินไหมทดแทน อางทอง รอการดําเนินการจากชางประจําสาขาสระบุรีรอการดําเนินการจากสวนกลางจากตารางแสดงการดําเนินการซอมแซมอาคาร พบวา งานซอมเล็ก (งานซอมทั่วไป) แตละหนวยงานมีอํานาจและวงเงินในการดําเนินการซอมแซมเอง แตสวนใหญจะรอใหทางสวนกลางเขามาดําเนินการ ซึ่งบางครั้งจะมีความลาชาในการเขามาดําเนินการวิเคราะหสาเหตุของปญหาจากผลการศึกษา ทําใหทราบวา อาคารสวนใหญมีสภาพทรุดโทรม เนื่องจากการปฏิบัติงานดานอาคารสถานที่ เปนลักษณะการซอมแซมเมื่อเกิดปญหา บุคลากรที่ดูแลดานอาคารสถานที่สวนใหญเปนเจาหนาที่สายการเงินหรือบริหารทั่วไป การบํารุงรักษามีเพียงระบบปรับอากาศ ที่มีการจัดจางบริษัทภายนอกเขามาดําเนินการ สวนระบบอื่นๆจะซอมเมื่อเสีย แตละหนวยงานจะดําเนินการซอมแซมเทาที่อยูในงบประมาณและอํานาจอนุมัติของผ็จัดการหนวยงานนั้น งานที่มีความซับซอนหรือที่เกี่ยวของกับโครงสรางอาคาร สวนกลางจะเปนผูรับผิดชอบโดยตรง สงผลใหเกิดความลาชา จนมีความเสียหายรุนแรงขึ้น ระบบประกอบอาคารหมดสภาพหรือหมดอายุการใชงาน ก็ไมมีงบประมาณจัดเตรียมไวลวงหนา ซึ่งปญหาทั้งหมดเนื่องมาจากการไมมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน752


สรุปผลการศึกษาจากปญหาที่เกิดขึ้น สรุปไดวา บริษัทฯไมไดตระหนักถึงความสําคัญของการบํารุงรักษาอาคารสถานที่เทาที่ควร เพราะปญหาดานกายภาพที่เกิดขึ้นนั้น อาจไมสงผลกระทบที่รายแรงตอผูใชอาคาร แตกลับสงผลเสียโดยตรงตอภาพลักษณและความนาเชื่อถือขององคกร ซึ่งองคกรเปนธุรกิจดานประกันภัย จําเปนตองมีภาพลักษณที่ดี มีความนาเชื่อถือ และมีความมั่นคงเปนที่ยอมรับของลูกคาผูมาติดตอ ซึ่งปญหาดานกายภาพทั้งหมด สามารถหลีกเลี่ยงได หากไดรับการบํารุงรักษาและมีแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม และทุกอาคารนาจะมีความตองการที่เหมือนกัน คือ ตองการใชอาคารสถานที่ที่เปนทรัพยากรกายภาพใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงมีขอเสนอแนะวา ควรนําเอาระบบบริหารทรัพยากรกายภาพมาใช เพื่อครอบคลุมทั้งดานการบริหาร การจัดการการบํารุงรักษาและการบริการ ที่สอดคลองและเหมาะสมกับแตละสํานักงานบรรณานุกรมและเอกสารอางอิงบัณฑิต จุลาสัย และ เสริชย โชติพานิช. 2547. การบริหารทรัพยากรกายภาพ. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1(กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย).เสริชย โชติพานิช, เอกสารประกอบการสอนวิชา Facility Management, (กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงการณมหาวิทยาลัย, 2550).วีรทัศน วัชโรทัย. 2545. การบริหารจัดการและดูแลรักษาอาคาร ในอาคารสาขาธนาคารออมสิน.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาสถาปตยกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.753


การประยุกตใชวัสดุโฟมซีเมนตเปนองคประกอบโครงสรางบานพักอาศัยประหยัดพลังงานAN APPLICATION OF EPS FOAM CEMENT FOR STRUCTURAL COMPONENT IN ENERGYEFFICIENT SINGLE HOUSEนายณัฐพร พรหมสุทธิหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอการออกแบบบานพักอาศัยในเขตอากาศรอนชื้นใหไดผลดีนั้น มีขอควรพิจารณาหลายประการ เชนความปลอดภัย, ความคงทน, ความตานทานความรอน และความชื้น บานพักอาศัยเหลานี้ ตองสามารถสรางไดงาย และในขณะเดียวกันมีประสิทธิภาพดานตนทุน และพลังงาน วัสดุที่มีน้ําหนักเบา ที่มีการถายน้ําหนักที่เหมาะสมอาจเปนคําตอบที่เปนไปไดคําตอบหนึ่งการศึกษานี้ไดพิจารณาใชโฟม (EPS) เปนวัสดุหลัก เสริมความแข็งแรงดวยการรวมเขากับซีเมนต และโลหะอื่น เพื่อใหเขากับความตองการของเกณฑการออกแบบ ขนาด และมิติตางๆ ของชิ้นสวนแตละชิ้น สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรับน้ําหนักที่ออกแบบ และทําใหเกิดการกอสรางสะดวก และรวดเร็วขอดีอีกประการหนึ่งของวัสดุที่มีน้ําหนักเบาคือ ชวยลดน้ําหนักของโครงสรางเอง เพิ่มประสิทธิภาพในการรับน้ําหนัก และยังคงมีคุณภาพในการเปนฉนวนอยางไรก็ตาม ขีดจํากัดของการปรับปรุงความแข็งแรงของ EPS ทําใหผูออกแบบสามารถออกแบบไดเฉพาะที่อยูอาศัยขนาดเล็ก และดังนั้น EPS ที่ไดรับการปรับปรุงแลวจึงเปนทางเลือกอีกทางหนึ่งที่ยังคงตองการการพัฒนาปรับปรุงตอไปอีกในอนาคต1. บทนําการศึกษานี้จะเริ่มตนจากคุณสมบัติของวัสดุในดานความเปนฉนวน และคุณสมบัติทั่วไปเพื่อใชในงานกอสรางอาคาร และใหความสนใจกับวัสดุ EPS โดยสรุปประวัติความเปนมาในการผลิต และความปลอดภัยดานสุขอนามัยในการใชงานตามขั้นตอนวงจรอายุของวัสดุเนื่องจากการนํา EPS ผสมกับซีเมนตเปนแนวทางของเรื่องคอนกรีตน้ําหนักเบา จึงไดมีการทบทวนสรุปสาระสําคัญของเรื่องดังกลาว มีการแสดงตัวอยางกรณีคอนกรีตน้ําหนักเบาบางประเภทที่นํามาใชเปนโครงสรางรับน้ําหนัก และไดแสดงถึงคุณสมบัติของคอนกรีตน้ําหนักเบาที่แบงเปนพวกตางๆ วาพวกใด สามารถนํามาใชไดดีสําหรับเปนโครงสราง, โครงสรางกึ่งฉนวน และฉนวน แสดงคุณสมบัติทางดานการรับน้ําหนัก และความเปนฉนวนที่มีพฤติกรรมที่ขัดแยงกันอยางไร และเทาใด แตทั้งนี้ก็ไดมีขอแนะนําในการสังเกตเพิ่มเติมจากโครงสราง754


ขนาดจริง ในเงื่อนไขการใชงานจริง และในระยะยาวเพื่อเพิ่มพูนองคความรูใหมากขึ้นไปกวาขอมูลที่ไดจากหองทดลองดวยระบบโครงสรางเปนเรื่องสําคัญที่ไดทบทวนโดยสังเขปเพื่อใหเห็นการทํางานของโครงสรางพื้นฐานอยางงายสําหรับบานพักอาศัย ในเรื่องวัสดุทําใหเห็นวามีวัสดุที่มีความหนาแนนที่ดูเหมือนต่ํา แตยังคงมีกําลังรับน้ําหนักไดพอสมควร และมีคุณสมบัติดานฉนวน และคุณสมบัติอื่นๆ ที่พอเหมาะในการเปนชิ้นสวนในงานกอสราง เนื่องจากผานขบวนการผลิตที่มีเทคนิคที่ดี จากนั้นจึงมาพิจารณาที่ระบบ EPS ผสมซีเมนตอีกครั้ง โดยพิจารณาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับประเภทการใชงาน และกําลังรับน้ําหนัก เพื่อเปรียบเทียบโดยสังเขปกับคอนกรีตน้ําหนักเบาแบบอัดอากาศ (กาซ) ที่มีความสมดุลดีพอสมควรในดานโครงสราง และดานฉนวน ไดผลที่ตองมีสวนปรับปรุง และอาจตองเพิ่มเติมความแข็งแรงในโครงสรางเมื่อนํา EPS ผสมซีเมนตมาใช โดยไดกําหนดแนวทางไวตามสมควรสวนสุดทายของบทความนี้ เปนขอสรุป และขอเสนอแนะ ซึ่งเปนสิ่งที่จะตองดําเนินตอไปเพื่อใหไดผลเกี่ยวกับความเหมาะสมในการนํามาใชงานในอนาคต2. คุณสมบัติของวัสดุฉนวน2.1 คุณสมบัติทั่วไปในการนําไปใชในงานอาคารวัสดุฉนวนกันความรอน (thermal insulating material) มีคุณสมบัติสําคัญคือ การมีคาการนําความรอนต่ํา (low thermal conductivity) แตในขณะเดียวกันเมื่อคํานึงถึงการประยุกตใชงานแลว ก็อาจมีความจําเปนตองพิจารณาถึงปจจัยอื่น ประกอบดวย เชนในกรณีที่จะนํามาประกอบเปนสวนของโครงสรางรับน้ําหนักวัสดุฉนวนอาจตองมี หรือปรับปรุงใหมีคุณสมบัติดานการรับน้ําหนัก เชนกําลังรับน้ําหนัก (strength) ในลักษณะตางๆ เชน กําลังรับแรงอัด (compressive strength) กําลังรับแรงดัด (flexural strength) หรือกําลังรับแรงดึง(tensile strength) เปนตน นอกจากนี้ก็อาจตองมีการพิจารณาคุณสมบัติอื่นๆ ที่ตองการในการใชงานดานสถาปตยกรรม และประโยชนใชสอยตอผูใชงาน รวมถึงคุณสมบัติเชน ปฏิกิริยาตอไฟ (reaction to fire) ดวยเปนตนคุณสมบัติตางๆ ที่ตองการในภาวะที่ใชงานนั้น อาจเปนคุณสมบัติที่ขัดแยง และตรงกันขาม หรือเปนคุณสมบัติที่ขจัดกันเอง ดังนั้น การผลิต หรือจัดการเพื่อใหไดคุณสมบัติที่ผานการปรุงแตงใหพอเหมาะกับการใชงานจึงเปนเรื่องละเอียดออนที่ตองอาศัยการพิจารณาความพอดีของคุณสมบัติแตละดานที่สําคัญ เพื่อหาจุดสมดุลในทางปฏิบัติ เพื่อนํามาใชงานจริงไดอยางเหมาะสม2.2 ความเปนฉนวนการนําความรอนมาตรฐาน DIN 4108 “thermal insulation and energy in buildings” ไดใหนิยามของวัสดุที่เปนฉนวนความรอนวา เปนวัสดุที่มี thermal conductivity นอยกวาหรือเทากับ 0.10 W/mK วัสดุที่มีคาความเปนฉนวนถือวาดี (good) อยูในชวง 0.030 ถึง 0.050 W/mK755


การนําความรอนของวัสดุ ไดรับอิทธิพลสําคัญจากองคประกอบตางๆ คือ วัตถุดิบที่ใชความหนาแนนของวัสดุฉนวนธรรมชาติ โครงสรางสวนยอย (microstructure) ขององคประกอบของแข็ง (solid component)ปริมาณความชื้น อุณหภูมิของวัสดุฉนวน และกาซในเซล เปนตน อิทธิพลของตัวประกอบดังกลาวมีผลมากนอยตอชนิดของวัสดุชนิดตางๆ ดังนั้น ในการผลิตวัสดุฉนวน จึงตองมีการตรวจสอบตัวประกอบสําคัญที่มีผลตอคุณสมบัติการเปนฉนวนอยางระมัดระวัง และตอเนื่อง2.3 คุณสมบัติของฉนวนในงานกอสรางอาคารคุณสมบัติของวัสดุฉนวนที่จะนําไปใชในฐานะเปนวัสดุกอสราง จะตองคํานึงถึงคุณสมบัติอื่นๆ ที่ประกอบอยูดวย เพื่อใหไดคุณสมบัติรวมที่เหมาะแกการใชงานตามวัตถุประสงคไดดี คุณสมบัติสําคัญที่มักใชในการพิจารณาความเหมาะสมในการใชงานของวัสดุฉนวน (Pfundstein and other, 2008: 8 - 14) ไดแก ความหนาแนน (density), การนําความรอน (thermal conductivity), การตานทานความรอน การตานทานความรอนรวม การสงผานความรอน (thermal resistance (R) , Total thermal resistance (RT), thermal transmittance(U) ) , ความจุความรอนจําเพาะ (specific heat capacity) , ความเสถียรดานอุณหภูมิ (temperature stability), ความเสถียรดานขนาดมิติ และการเปลี่ยนแปลงความยาว เนื่องจากการเหนี่ยวนําโดยอุณหภูมิ (Dimensionalstability and temperature induced changes in length), การหายใจได (Breathability), ความตานทานตอการแพรของไอน้ํา (water vapor diffusion resistance) แรงเคนอัด และกําลังรับแรงเคนอัด (compressivestress and compressive strength), แรงเคนอัดคงที่ (constant compressive stress) , กําลังรับแรงดึง(tensile strength) , กําลังรับแรงดัด (Bending strength) , การหนวงเสียงตอหนวยความยาว (Soundimpedance per unit length), และปฏิกิริยาตอไฟ (Reaction to fire)3. Expanded polystyrene (EPS)3.1 ประวัติความเปนมา และคุณลักษณะทั่วไปไดมีการพัฒนา EPS เปนครั้งแรกเมื่อป ค.ศ.1951 ใชชื่อวา Styropor เปนเครื่องหมายจดทะเบียนการคาของ BASF ประเทศเยอรมัน ไดเริ่มมีการนํา Polystyrene มาใชในอุตสาหกรรมกอสรางตอมา ตั้งแตทศวรรษ 1950 (Hegger and other, 2006: <strong>13</strong>7) ตอมาในกลางทศวรรษ 1990 ไดมีการใช graphite particlesในโครงสรางเซล ซึ่งสามารถลด thermal conductivity ลงไปอีก เหลือประมาณ 0.032 W/mK โดยทั่วไป EPS จะมีคา thermal conductivity ประมาณ 0.03 – 0.04 W/mK ซึ่งถือวาเปนฉนวนที่ดี หรือดีคอนขางมาก ไมนําความชื้น (not hygroscopic) ไมผุพัง (not rot) มีตัวแปรเรื่องคุณภาพที่สําคัญ ไดแก ความหนาแนน (density)ขีดขั้นในการเกาะตัว (degree of adhesion) ระหวางเม็ดโฟม เปนตน มักนํามาประยุกตใชในเรื่องฉนวนของหองใตดิน, หลังคาที่มีน้ํา หรือพื้นที่อยูบนผิวระดับดินที่มีการรับน้ําหนักบรรทุกปานกลาง เปนวัสดุตกแตงตางๆ บางกรณีใชเปนวัสดุถมหลวม เพื่อใหเกิดชองวางเปนฉนวน756


EPS จะเกิดการเสื่อมสภาพซีด และเปราะเมื่อถูกรังสีอุลตราไวโอเลต (Ultraviolet radiation) เปนเวลาหลายสัปดาห หรือหลายเดือน ในกรณีเชนนี้ตองมีวัสดุปกคลุม หรือตกแตงไวกอน นอกจากนี้ Polystyrene จะเสื่อมเมื่อถูกตัวทําละลาย (solvents) หรือเชื้อเพลิง และน้ํามัน ที่ผลิตจากสินแร (fuel and mineral oils)EPS จะไมไดรับผลกระทบมากนักจากกรด และดาง สวนใหญ EPS ไมเหมาะในการใชรวมกับ hotbitumen หรือ mastic asphaltEPS มีความหนาแนน (density) 15 – 30 kg/m. 3คุณสมบัติทางกายภาพ (physical properties) ไดมีรวบรวมไว ตามตารางที่ 1(Pfundstein and other, 2008: 35)3.2 การผลิตโดยสังเขปEPS ผลิตขึ้นจาก polystyrene (PS), blowing agent (petane), flame retardant (HBCD) และstabilizersPolystyrene (PS) เปนวัสดุสังเคราะห (Synthetic materials) จําพวก thermoplastic การทําโฟม(Foaming) ผลิต expanded (EPS) หรือ extruded (XPS) polystyrene ซึ่งทั้งสองรูจักกันดีในฐานะที่เปนวัสดุฉนวนดานความรอน และเสียง (Hegger and other, 2006: 94)การผลิต EPS เปนวัสดุฉนวน เกิดขึ้นดวยขบวนการหลายขั้นตอน ซึ่งในที่สุดจะมีการขยายตัวมีปริมาตร 20 – 50 เทาของปริมาตรเริ่มตน เปนวัสดุที่มีเนื้อเดียวกัน (Homogeneous materials) ขบวนการผลิต757


อาจใหผลเปนกอนขนาดใหญ (large – format block) ซึ่งเมื่อพนระยะเวลาการเก็บ (storage) แลว จะตัดเปนรูปแผน (boards) และชิ้นสวน (sections)อนึ่ง EPS ที่จะนําไปผสมซีเมนตในการศึกษานี้ จะมีลักษณะเปนเม็ดกลม เสนผาศูนยกลางประมาณ3 – 5 มม.3.3 ความปลอดภัยดานสุขอนามัยในดานสุขภาพ และนิเวศวิทยา มีขอพิจารณาในเบื้องตนวา polystyrene เปนกลางทางชีววิทยา(Biologically neutral) และไดรับการอนุมัติเปนวัสดุสําหรับการบรรจุอาหาร ในขั้นตอนขบวนการผลิต ไดมีการพิจารณาในขั้นตอนการผลิตวา สาร petane ที่ใชเปน blowing agent โดยหลักการแลวมีผลกระทบต่ําตอสภาวะแวดลอม และผูผลิตสามารถนํากลับมาไดใหขบวนการผลิต ในดานการใชงานปกติ การใชวัสดุฉนวน EPS ไมมีความเสี่ยงดานสุขภาพใดๆ โดยมีการยืนยันโดยการวัดการปลดปลอยของ styrene monomers ที่เหลืออยูวาต่ํากวาความเขมขนสูงสุดที่แนะนําไวในสถานที่ทํางาน และปริมาณต่ําจนกระทั่งไมสามารถจับไดในอากาศอยางไรก็ตาม ในระหวางที่เกิดไฟไหมจะมีการปลดปลอย styrene และ polycyclic aroma hydro(PAH) ออกมาเกี่ยวกับเรื่องอันตรายตอสุขภาพ (Health hazards) ไดมีบทสรุปสําหรับวัสดุสังเคราะห (syntheticmaterials) (Hegger and other, 2006: 92 – 93) ไววา เรื่องวัสดุสังเคราะหไมมีอันตรายใดๆ เมื่อไดมีการระมัดระวังอยางถูกตองในขั้นตอนการผลิต และการใชงานตามปกติ สารประกอบที่เปนพิษ (Toxiccompounds) เชน dioxins หรือ furans อาจเกิดตามมาระหวางเกิดไฟไหม สารประกอบฮาโลเจน (Halogencompounds) นํามาใชบอยเพื่อเปนตัวหนวงเปลว (flame retardants) ในวัสดุสังเคราะหบางประเภทเพื่อลดปญหานี้ วัตถุประสงคของตัวหนวงนี้คือ เพื่อลดการสันดาป (combustibility) ของวัสดุสังเคราะห ในทางกายภาพมันจะทําใหเกิดความเย็น (cooling) หรือทําใหเกิดการเคลือบหอหุม (coating) ในเมื่อเกิดเหตุการณไฟไหม หรือในทางเคมี คือ ทําใหเกิดชั้นของเถา (layer of ash) หรือปองกันการออกซิเดชั่นของกาซที่เกิดการสันดาปได (oxidation of combustible gases) ตัวหนวงเปนหนึ่งในสารที่เติมเขา (Additives) ที่มีอิทธิพลตอคุณสมบัติของวัสดุสังเคราะห (synthetic materials)3.4 การ Recycle และการใชประโยชนจากเศษ EPSในดานการพิจารณาเกี่ยวกับเรื่อง Recycling ไดมีการสรุป (Hegger and other, 2006: 93, <strong>13</strong>7) วาสัดสวนของ pure recycled สามารถเปนปริมาณรอยละ 40 ขึ้นอยูกับการใชงาน และสรุปถึงการ recycling ของของเสียพลาสติก (plastic waste) ได 4 ทางคือ การนําผลิตภัณฑกลับมาใชอีก (Reusing the products), การนําวัสดุกลับมาใชอีก (Reusing the materials), การนําวัตถุดิบกลับมาใชอีก (Reusing the raw materials) และการนํากลับมาใชสําหรับวัตถุประสงคดานพลังาน (Reusing for energy purposes)ในกรณีของประเทศเยอรมัน (Pfundstein and other, 2008: 35) มีการเก็บรวบรวมเศษที่ตัดเหลือจากหนวยงานกอสราง มีจุดรับประมาณ 1,500 แหง ซึ่งจะไปบด และ recycle เพื่อผลิต เชน ทําวัสดุหีบหอ หรือเปนวัสดุมวลเบาสําหรับคอนกรีต มอรตา หรือวัสดุเททับหนา (render) เปนตน ถาไมสามารถทํา recycling ได EPS758


สวนที่เหลือ จะถูกนํามาทิ้งในบริเวณถมพิเศษ นอกจากนี้ โรงงานหลายแหงใชสวนเหลือในการสรางไฟ และเปนเชื้อเพลิง4. คอนกรีตน้ําหนักเบา (Lightweight concrete)คุณสมบัติของคอนกรีต และเทคนิคการผลิตคอนกรีตน้ําหนักเบา (Newman and Choo, 2003: 2/3)สรุปไดโดยสังเขป คือ4.1 คอนกรีตน้ําหนักธรรมดา และคอนกรีตน้ําหนักเบาคอนกรีตน้ําหนักธรรมดา (normal weight concrete) มีน้ําหนักประมาณ 2,100 ถึง 2,500 kg/m. 3 มีกําลังแทงลูกบาศก (cube strengths) ประมาณ 15 ถึง มากกวา 100 MPa และ thermal conductivity 1.6 ถึง1.9 W/mKคอนกรีตน้ําหนักเบา (lightweight concrete) หนัก 300 ถึง 2,000 kg/m. 3 กําลังแทงลูกบาศก 1 ถึง 60MPa และ thermal conductivity 0.2 ถึง 1.0 W/mK4.2 เทคนิคการผลิตคอนกรีตน้ําหนักเบาเทคนิคการทําคอนกรีตน้ําหนักเบาสามารถสรุปเปน 3 วิธี คือ แบบคอนกรีตไมมีสวนละเอียด(No – fine concrete, NFC) แบบคอนกรีตอัดอากาศ (กาซ) และอัดโฟม (aerated and foamed concrete)และแบบคอนกรีตมวลรวมเบา (Lightweight aggregate concrete)คอนกรีตไมมีสวนละเอียด ใชแตสวนผสมหยาบเพื่อสราง air filled voidsคอนกรีตอัดอากาศ และอัดโฟม มีขบวนการผลิตที่ทําใหเกิดกาซใน cement paste หรือ mortarmatrix เกิดเปน cellular structure ประกอบดวยชองวางประมาณรอยละ 30 ถึง 50คอนกรีตมวลรวมเบา มีการใชมวลรวมบางสวน หรือทั้งหมดที่เบากวามวลรวมธรรมชาติ (naturalaggregates) คือ มวลรวมที่มีชองวางที่มีสัดสวนชองวางมาก หรือพรุนในตัวเอง และมีผลเบากวามวลรวมธรรมชาติ ทําใหไดคอนกรีตโดยรวมที่มีน้ําหนักเบากวาคอนกรีตปกติ5. การใชคอนกรีตอัดอากาศ (กาซ) เปนสวนของโครงสราง5.1 ประวัตินักวิทยาศาสตรชาวสวีเดนไดคนพบการทําคอนกรีตที่มีชองวางของเซลคอนกรีต (cellular concrete)ตั้งแตป ค.ศ.1923 โดยปฏิกิริยาของผงอลูมิเนียม (aluminium powder) เขากับซีเมนต, lime น้ํา และทรายบดที่ละเอียด เกิดฟองกาซ ทําใหผลิตภัณฑขยายตัวเพิ่มปริมาตรอยางมาก ทําใหไดผลิตภัณฑที่ยังมีกําลังทางดานโครงสรางอยูบาง และยังคงมีน้ําหนักเบา สามารถผลิตขึ้นไดดวยวัตถุดิบที่นอยลงสําหรับปริมาตรเดียวกับคอนกรีตแบบดั้งเดิม ผลิตภัณฑนี้ไดแพรหลายอยางกวางขวางเปนครั้งแรกในประเทศเยอรมันตั้งแตสงครามโลก759


<strong>ครั้งที่</strong>สอง และยังคงแพรหลายอยูในทวีปยุโรปในปจจุบัน มีคุณสมบัติที่ดีของคอนกรีต และทั่วไปอยูกับมัน เชนเรื่องการทนไฟ และคงทน (durability) การทํารูปรางไดโดยการตัด หรือขูด มีความตานทานตอ water, rot,mold, mildew และ insects ใหประสิทธิภาพทางดานพลังงานที่ดี น้ําหนักเบา ใชวิธีการกอสรางที่คลายคลึงหรือสะดวกกวาเมื่อเทียบกับงานคอนกรีต หรืองานกอแบบดั้งเดิม5.2 การใช AAC ในสหรัฐอเมริกาเมื่อประมาณเกือบ 20 ปที่ผานมา ไดมีการใชคอนกรีตแบบ Autoclaved aerated concrete (AAC) ซึ่งคือคอนกรีตอัดกาซ และใชความดัน และความรอนในขบวนการผลิต ในทางภาคใตฝงตะวันออก และภาคใตตะวันตกของสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยคุณสมบัติของคอนกรีตดังกลาวที่มีคุณสมบัติสําคัญที่พอเหมาะพื้นฐาน2 ประการ ไดแก ความเปนฉนวน และความแข็งแรงในการรับน้ําหนัก หรือเสริมความแข็งแรงเพื่อใหมีคุณสมบัติพอเพียงในการเปนสวนองคประกอบของโครงสรางได และอาศัยคุณสมบัติของความแข็งแรงของคอนกรีตที่ทนทานตอไฟไหม และคุณสมบัติที่พิเศษ คือความออนนุมของเนื้อผิวที่สามารถขูด หรือตัดออกได และน้ําหนักโดยรวมที่เบากอใหเกิดขอไดเปรียบดานการกอสรางเพิ่มขึ้นอีก6. คุณสมบัติที่สําคัญของวัสดุเพื่อวัตถุประสงคทางโครงสราง และฉนวน6.1 คุณสมบัติสําคัญของ AAC (VanderWerf and other, 2006: 178)ความหนาแนน 25 – 50 ปอนด / ลบ.ฟุต (400 – 800 kg./m. 3 )ความเปนฉนวน AAC มีคา R – value 0.8 ถึง 1.25 ตอความหนา 1 นิ้วกําลังรับแรงอัด (compressive strength) 300 – 900 psi (21 – 63 kg/cm. 2 )กําลังรับแรงเฉือน (shear strength) 8 – 22 psi (0.5 – 1.5 kg/cm. 2 )ตารางที่ 2 แสดงคุณสมบัติของ AAC (Properties of AAC.)ตารางที่ 3 แสดง คุณสมบัติทั่วไปของ autoclaved aerated concrete(VanderWerf and other, 2006: 178)760


(Newman and Choo, 2003: 2/8)ไดขอสรุปวา ความหนาแนน 450 – 750 kg/m. 3 มี compressive strength 3.2 – 7.5 MPa หรือแปลงเปนหนวยแทงทรงกระบอก คือ 2.7 – 6.4 MPa ซึ่งคือประมาณ 27 – 64 kg/cm. 2 คา Thermal conductivity ที่3% moisture คือ 0.12 – 0.20 W/mKเมื่อนํามาใชเปน masonry unit (Hegger and other, 2006: 61) AAC ที่มีความหนาแนน 300 – 500kg/m. 3 มีคากําลังรับแรงอัด (compressive strength) ประมาณ 20 kg/cm. 2 และที่ประมาณความหนาแนน650 – 800 kg/m. 3 คานี้เปน 60 kg/m. 3 สําหรับที่ความหนาแนน 800 – 100 kg/m. 3 มีคากําลังรับแรงอัดเปน 80kg/cm. 26.2 คุณสมบัติสําคัญของ Lightweight aggregate concreteหนวยงาน RILEM / CEB ไดเสนอการจําแนกชั้นไวโดยสรุป (Newman and Choo, 2003: 2/9) ตามตารางที่ 4 โดยแบงชั้น และประเภทออกเปน 3 จําพวก คือ I. Structural, II. Structural / insulating และ III.Insulating โดยมีคุณสมบัติที่สําคัญนํามาพิจารณา 3 ประการ คือ กําลังรับแรงอัด (compressive strength),สัมประสิทธิ์การนําความรอน (Coefficient of thermal conductivity) และชวงของความหนาแนนโดยประมาณ(Approximate density range)(Newman and Choo, 2003: 2/9)761


จากขอมูลคุณสมบัติของ AAC ขางตนสามารถสรุปสาระสําคัญไดวา (Hegger and other, 2006: 60)เนื่องจากขบวนการผลิตอยูในแบบ autoclave คือการมีแรงอัดสูงรวมกับอุณหภูมิที่สูงประมาณ 200 °C ผลที่ไดคือ คอนกรีตที่อาจมีชองวาง (voids) ขึ้นถึงสัดสวนรอยละ 80 ซึ่งหมายความถึงการมีความหนาแนนต่ําควบคูไปกับการมีกําลังรับน้ําหนัก (strength) ที่ดี และคุณลักษณะการปองกันไฟจากขอมูลคุณสมบัติของคอนกรีตมวลเบา (lightweight aggregate concrete) ขางตน การปรับปรุงคุณสมบัติของวัสดุเพื่อใหมีคุณสมบัติหนักไปทางดานฉนวน จึงคงมีคุณสมบัติระหวาง ชั้นที่ III (Insulating) และชั้นที่ II (Structural / insulating) นั่นคือ มีกําลังรับแรงอัด 0.5 – 3.5 MPa (5 – 35 kg/cm. 2 ), การนําความรอน0.30 – 0.75 W/mK และชวงความหนาแนนโดยประมาณตั้งแตนอยกวา 1450 ถึง 1600 kg/m. 3ดวยการใชความรอนอุณหภูมิ และแรงอัดเขาชวยในการผลิต ในการปรับปรุงคุณภาพ AAC และผลที่ไดจึงทําใหเห็นไดจากขอมูลขางตนวา ที่ความหนาแนนเดียวกัน AAC จะมีความแข็งแรงดานการรับน้ําหนักโดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลของกําลังการรับแรงอัดที่เห็นไดชัดวาดีกวาคอนกรีตมวลเบา (lightweight aggregateconcrete) โดยทั่วไป7. ประสบการณในการใชคอนกรีตมวลรวมเบา (lightweight aggregate concrete)มีการใชคอนกรีตมวลเบา (lightweight aggregate concrete) อยางกวางขวางในอดีตจนถึงปจจุบันในเงื่อนไข และลักษณะงานตางๆ กัน ซึ่งจะมีลักษณะเฉพาะบางอยางของกรณี หรือกลุมของกรณีนั้น เชน การใชงานในทะเล (marine application) งานสะพาน และทางหลวง การเปรียบเทียบการใชงานระหวางคอนกรีตมวลเบา (lightweight aggregate concrete) กับคอนกรีตน้ําหนักปกติ (normal weight concrete) ในแงความคงทน (durable) ชนิดของมวลรวมที่ใชตางชนิดกัน และอื่นๆ ซึ่งมีการรวบรวมขอมูลศึกษาวิจัยไวในแตละเรื่องอยางกวางขวาง สวนใหญแลวใหผลที่นาพอใจ แตก็อาจมีประเด็นที่ตองศึกษาตอไป ขอสรุปที่สําคัญประเด็นหนึ่งในการศึกษาเรื่องคอนกรีตมวลเบา (Newman and Choo, 2003: 2/24 – 2/25) ก็คือ ถึงแมวาคุณสมบัติตางๆ ของคอนกรีตมวลเบา (lightweight aggregate concrete) สามารถที่จะไดมาโดยการทดสอบจากหองทดลอง แตการทํางานจริงของวัสดุสามารถจะแสดงใหเห็นไดอยางพอเพียงก็ดวยการทํางานจริงในสนามและที่ควรพิจารณาก็คือ การใชชิ้นสวน หรือโครงสรางเต็มตามขนาดจริง (full – scale element or structure)ภายใตเงื่อนไขของการใชงานนั้น8. ระบบโครงสรางโครงแบบ หรือเคาโครงของระบบโครงสราง (configuring the structural system) สําหรับบานที่พักอาศัย ใชแนวทาง พิจารณาเบื้องตน (Allen and Iano, 2007: 35 – 45) เกี่ยวกับระบบเสถียรทางดานขางและโครงสราง (Lateral stability and structural systems) ระบบผนังและพื้น (wall and slab systems) ระบบเสาและคาน (column and beam systems) และระบบเสา และพื้น (column and slab systems)762


8.1 ระบบความเสถียรทางดานขาง และโครงสราง (lateral Stability and Structural systems)สาระสําคัญระบบความเสถียรทางดานขาง และโครงสราง ไดแก การออกแบบใหโครงสรางสามารถตานทานตอแรงกระทําดานขาง (lateral force) การพิจารณาโครงแบบของโครงสรางที่จะนํามาใชเดี่ยว หรือรวมกันมีเบื้องตนของแบบตางๆ คือ shear walls , braced frames และ rigid frames และใหมีการพิจารณาถึงศูนยกลางของความตานทาน (center of resistance) กับศูนยกลางของมวล (center of mass) ตลอดจนความหนักของชิ้นสวนที่ตานทานแรงทางดานขาง8.2 ระบบผนัง และพื้น (wall and slab systems)ระบบผนัง และพื้นมีชิ้นสวนที่รับแรงกระทําตามแนวดิ่ง ประกอบดวยผนังรับน้ําหนัก (load bearingwall) ที่มีพื้นตามแนวราบ (Horizontal slabs) มีความสัมพันธระหวางหนวยของโครงสราง (structural module)และการใชงานของอาคาร (Building functions) ความประหยัดอยูที ่สามารถจัดผนังใหมีความเหมือนกัน ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับอาคารที่ตองการที่วางที่มีขนาดเทาๆ กัน อาจพิจารณาใชชิ้นสวนที่รับแรงกระทําตามแนวดานขาง เปนระบบ shear wall อยางเดียว หรือรวมกับอยางอื่นดวย อนึ่ง ระบบนี้สามารถรวมกับระบบเสาเพื่อใหมีชองเปดที่มากขึ้นได แตก็ควรรักษาผนังเอาไวในตําแหนงที่เหมาะสม เพื่อตานทานตอแรงกระทําดานขาง8.3 ระบบเสา และคาน (column and beam systems)ระบบเสา และคาน มีขอสังเกตวา เสาในระบบนี้มีผลตอการวางแผนพื้นที่ภายในอาคารนอยกวาแบบผนังรับน้ําหนัก ในดานชิ้นสวนรับแรงกระทําดานขาง อาจพิจารณาเรื่องรอยตอที่แข็งเกร็ง (rigid joint) bracedframe หรือ shear walls ที่ใชสําหรับความเสถียรดานขาง ถึงแมวาระยะหางของเสาสามารถแปรเปลี่ยนไดภายในขีดจํากัดของกําลังรับน้ําหนักของคาน แตดวยเหตุผลดานความประหยัด จึงมักจัดเสาที่มีระยะหางเปนชวงปกติที่แนนอนไว8.4 ระบบเสา และพื้น (column and slab system)ระบบเสา และพื้น ประกอบดวยเสาในแนวดิ่งที่รองรับพื้นในแนวราบโดยตรง และปราศจากคาน ในระบบนี้อาจมีความคลองตัวในการจัดผัง (layouts) เนื่องจากเสาไมตองการวางไวในแนวของคานเหมือนเชนในระบบเสา และคาน ลักษณะกิริยาการรับแรงแบบ rigid frame ยังคงเปนไปได ซึ่งจะขึ้นอยูกับความหนาของพื้นโดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณที่ใกลเสา อาจพิจารณานําเอา shear walls หรือ braced frame มาใช เพื่อใหเกิดความตานทานตอแรงดานขางเพิ่มเติมเขาไปในระบบนี้การที่ไมมีคานในระบบนี้ อาจทําใหสะดวกในการวางตําแหนงเสาที่ไมเปนลักษณะปกติ แตดวยเหตุผลดานความประหยัด และประสิทธิภาพทางโครงสรางอาจพิจารณาในระยะหางของเสาใหมีสัดสวนเปนจัตุรัสโดยประมาณ และจํากัดการเบี่ยงเบนของตําแหนงเสาจากเสนปกติใหมีนอยที่สุด763


9. ประสิทธิภาพในกําลังการรับน้ําหนัก ตอความหนาแนนของวัสดุดวยวิธีการผลิตของวัสดุ AAC ทําใหไดผลิตภัณฑท ี่ความหนาแนนประมาณ 400 – 800 kg/m. 3 มีกําลังรับแรงอัด (compressive strength) ไดประมาณ 20 – 60 kg/cm. 2 เนื่องจากใชความดัน และอุณหภูมิรวมในการผลิต โดยทั่วไปแลวจะทําใหได AAC ที่มีความหนาแนนต่ํา ในขณะที่มีกําลังรับแรงอัด (compressivestrength) สูง เมื่อเทียบกับมาตรฐานของคอนกรีตมวลเบา (lightweight aggregate concrete)10. แนวทางการใช EPS ผสมซีเมนต เพื่อปรับปรุงเปนโครงสรางบานที่อยูอาศัย10.1 กําลังรับน้ําหนักของ EPS ผสมซีเมนตระบบโครงสรางที่อยูอาศัยในสวนที่เปนเลือกอาคาร อาจเปนแบบที่เปนสวนรับน้ําหนัก เพื่อเปนสวนหนึ่งของโครงสรางดวย เชนในระบบโครงสรางแบบระบบผนัง และพื้น (wall and slab system) อยางไรก็ตามคาดวา ดวยแนวโนมของกําลังคอนกรีตแบบคอนกรีตมวลเบา (lightweight aggregate concrete) ที่ใช EPSเปนมวลวัสดุผสม (aggregate) ผสมซีเมนต อาจใชทรายรวมดวยหรือไมก็ไดนี้ จะไดคอนกรีตที่มีกําลังรับแรงอัด(compressive strength) ต่ํากวาของ AACขอมูลทางเทคนิคของผูผลิต EPS และนํามาผสมซีเมนต (www.cebau.com) ในประเทศไทย พบวาการผสมใชซีเมนตขนาด 200 – 350 kg/m. 3 ของผลิตภัณฑ ไดคากําลังรับแรงอัด (compressive strength)ประมาณ 7- 17 kg/cm. 2 เทานั้น ซึ่งเปนเพียงประมาณ 1 ใน 3 เมื่อเทียบกับของ AAC10.2 แนวทางการใชผลิตภัณฑ EPS ผสมซีเมนตเปนผนังรับน้ําหนักการใชผลิตภัณฑ EPS ผสมซีเมนตในกรณีเปนผนังรับน้ําหนัก จึงมีแนวโนมที่ตองมีชองที่ตองเทอุดเสริมเหล็ก (reinforced grouted cells) เพื่อเปนเสารับกําลัง และมีคาน (beams) โดยตําแหนงตางๆ ของสิ่งเหลานี้จะพิจารณาโดยกําลังของโครงสราง (structural strength) ที่ผนังจะตองมีชิ้นสวนเพื่อการกอสราง อาจพิจารณาเปนวัสดุหลอสําเร็จ (precast product) ซึ่งอาจเปนในลักษณะของผลิตภัณฑบลอค (block products) หรือแบบแผน (panels) ที่มีความแข็งแรงในตัวเองระดับหนึ่ง และเสริมโครงสรางใหไดความแข็งแรง เพิ่มเติมตามความจําเปนอีกในขั้นตอนที่นําชิ้นสวนนั้นๆ มาประกอบกันเปนองคประกอบโครงสรางอาคารขนาดความหนาของผลิตภัณฑพิจารณาไดจากกําลังของวัสดุ ความเสถียรของโครงสราง ชองวางเพื่อทําการเสริมแรงของโครงสราง ระบบเพื่อเปนบารับน้ําหนักของพื้น หรือหลังคาดานบน ขอพิจารณาเรื่องน้ําหนักตอชิ้นของผลิตภัณฑ สําหรับความสะดวกในการทํางาน คาดวาความหนาของผนังในระบบนี้ขั้นต่ําควรเปน8 นิ้ว (20 ซม.) อาจถึง 10 นิ้ว (25 ซม.) ระบบ modular ในกรณีเปนผลิตภัณฑบลอค (block products) อาจเปนระบบ 8 นิ้ว (20 ซม.) ในกรณีเปนผลิตภัณฑแบบแผน panel ตัวแผนอาจมีหนากวาง 24 นิ้ว (60 ซม.)ในกรณีใชเปนชิ้นสวนโครงสรางพื้นรับน้ําหนัก ที่มีชวงพาด (span) ต่ํากวา 5 เมตร อาจใชเปนระบบแผนหลอสําเร็จ (precast plank) ตองพิจารณาระบบเสริมรับน้ําหนักดวยวัสดุอื่น เชน การเสริมเหล็กเขาในเนื้อ764


ของวัสดุ แตมีขอพิจารณาเกี่ยวกับการไปกันได (compatibility) ของการทํางานของวัสดุตางชนิดรวมกันในการรับแรง หรือการเสริมภายนอกที่ตองการการประสานกันของระบบโครงสราง เพื่อเพิ่มความแข็งแรง อาจมีความจําเปนตองเกี่ยวของกับวัสดุเปยก (wet materials) เชน กรณีของรอยตอ (joint) และการยึดโยงโครงสรางระหวางแผน (plank) โดยอุดรอยรอง (groove) ระหวางดานขางตามแนวระหวางแผนที่วางเคียงกัน และการยึดเขากับโครงสราง เพื่อใหเกิดเปนโครงสรางโดยรวม ดวยการเทคานขอบเหนือผนังดานลาง เปนตน หรือการเททับหนา (topping) หากตองการหรือมีความจําเปน แผนหลอสําเร็จดังกลาวคาดวานาจะมีความหนาไมต่ํากวา 10นิ้ว หรือ 25 ซม. ความกวางของแผนไมเกิน 2 ฟุต หรือ 60 ซม. และมีรองของเพื่อเชื่อมถายแรงระหวางแผนขางเคียง และสําหรับใสการยึดโยงไปสูโครงสราง แนวดิ่งที่รับน้ําหนักถายตอลงสูฐานราก11. ขอสรุป และเสนอแนะคุณสมบัติเดนของวัสดุ EPS คือ ความเปนฉนวน และมีความหนาแนนต่ํา ซึ่งมีนัยบงชี้วาคุณสมบัติในคูตรงขามคือเรื่องกําลังวัสดุจะดอยลงเปนอันมาก และเปนสิ่งที่ตองปรับปรุงเพื่อที่สามารถนํามาใชเปนวัสดุโครงสรางได นอกจากนี้ คุณสมบัติอื่นๆ นอกเหนือจากความเปนฉนวน และความแข็งแรงในการเปนโครงสราง ก็เปนเรื่องที่ควรพิจารณาควบคูกันไปดวย ทั้งในเรื่องความปลอดภัยในสุขอนามัยในทุกขั้นตอนตั้งแตการผลิตจนถึงการใชงานปกติ และปฏิกิริยาตอไฟ ตลอดจนการจัดการของเสีย และการนํากลับมาใช หรือการจัดการเมื่อไมตองการใชงานแลว เปนตนสาระสําคัญที่เนนในบทความนี้เพื่อทบทวนคุณสมบัติของวัตถุ EPS และแนวทางในการปรับปรุงเบื้องตน โดยการนํามาผสมซีเมนต ซึ่งเปนแนวทางในลักษณะของคอนกรีตที่มีน้ําหนักเบา จึงไดพิจารณาโดยสังเขปเรื่องคุณสมบัติของคอนกรีตดังกลาว และมาตรฐานแนวทางอันเปนเครื่องบงชี้การใชวัสดุที่เนนความเปนโครงสราง ความเปนฉนวน หรือผสมผสานวาจะมีกําลัง และคุณสมบัติทางดานความเปนฉนวน แปรเปลี่ยนไปในแตละวัตถุประสงคอยางไร เทาใดคอนกรีตน้ําหนักเบาที่มีการใชเพื่อมีคุณสมบัติโครงสรางที่ดี แตมีน้ําหนักเบา หรือความหนาแนนต่ําและยังคงความเปนฉนวนที่ดีพอใช มีใหเห็นในทางปฏิบัติ แตวัสดุดังกลาวในตัวอยางที่นํามาแสดง เสมือนเปนการเริ่มปรับปรุงวัสดุที่เปนโครงสรางใหมีความเปนฉนวน แตในกรณีของ EPS ซึ่งเปนมวลที่ผสมซีเมนต และอาจผสมมวลอื่นๆ ตามความเหมาะสม เสมือนเปนการปรับปรุงวัสดุที่เปนฉนวนใหมีความเปนโครงสรางมากขึ้น จึงตองพิจารณาวาในการนํามาใชกับโครงสรางที่อยูอาศัยแบบบาน ซึ่งมีขนาดพื้นที่ชองวางตามปกติที่ถือเปนโครงสรางขนาดเล็ก และชวงการใชงานตามแนวราบอาจแบงไดขนาดสั้นกวา 5 เมตรนั้น วัสดุ EPS ที่ไดรับการปรับปรุงแลวนั้น จะนํามาใชเปนโครงสรางไดดีเพียงใดในการทบทวนการใชคอนกรีตน้ําหนักเบาบางประเภท คือ คอนกรีตอัดอากาศดวยความดัน และอุณหภูมิ (Autoclaved aerated concrete) พบวา ดวยขั้นตอนขบวนการผลิตที่ปรับปรุงคุณสมบัติสวนผสมคอนกรีตโดยปฏิกิริยาเคมีเพิ่มฟองกาซ และการใชความดัน และอุณหภูมิ บมคุณภาพของผลิตภัณฑ จนไดผลิตภัณฑที่เทียบแลวมีความหนาแนนต่ํากวาคอนกรีตน้ําหนักปกติมาก แตยังคงมีความแข็งแรงในดานการใชงานโครงสราง โดยชิ้นหลอสําเร็จ (precast) มีความแข็งแรง สําหรับสวนที่ทําเปนผนังรับแรงอาจตองการการ765


เสริมภายในบางสวนของผนังดวยการเทคอนกรีตอุดชองที่ไดเตรียมไว พรอมกับมีการเสริมเหล็กเพิ่มความแข็งแรงตามความจําเปน และมีคานบางชวงชวยเพิ่มความแข็งแรงของตัวผนัง สําหรับสวนที่เปนพื้นมีความแข็งแรงจากการเสริมเหล็กเขาไปในแผนหลอสําเร็จ และมีงานเปยกเทอุดรองระหวางแผน และเชื่อมโยงชิ้นสวนและเขาไปในชิ้นรับแรงอื่นๆ เชน คานรอบเสนรอบรูปของพื้นโครงสราง และผิวบนของขอบผนังรับน้ําหนักในชิ้นลาง เปนตน ทําใหชิ้นโครงสรางประสานกัน มีความแข็งแรงเปนระบบโครงสรางรับน้ําหนักได และมีความเปนฉนวนที่ยังดีอยู นอกจากนี้ ยังมีคุณสมบัติที่ดีของวัสดุซีเมนตที่มีความแข็งแรงคงทน และมีปฏิกิริยาตอไฟที่มีความปลอดภัย ผิวนุมที่จะขูดหรือตัดได เพื่อตัดแตงไดในระดับหนึ่ง หรือใชประโยชนเกี่ยวกับการฝงทอ และเดินสายสาธารณูปโภคตางๆขอมูลสําหรับการใช EPS ผสมซีเมนตนั้น ในประเทศไทยไดมีผูนํา EPS ที่มีลักษณะเปนเม็ดกลม ขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 3 – 5 mm. และ 5 – 7 mm. ผสมซีเมนตเพื่อใชในงานเปยก เชน การเททับหนาพื้นหรือหลังคาเพื่อปรับระดับเรียบ และมีความเปนฉนวน หรือหลอเปนชิ้นเพื่อเปนวัสดุที่เติมเต็ม (infilled) ผนัง และไมไดใชรับน้ําหนักโดยตรง เมื่อพิจารณาขอมูลเบื้องตนพบวามีกําลังรับแรงอัดประมาณ 1 ใน 3 ของคอนกรีตแบบ AAC การนํา EPS ผสมซีเมนต และวัสดุอื่นตามจําเปนนั้น จึงตองปรับปรุงเรื่องขนาด และรูปรางของชิ้นโครงสรางที่ใชงาน ซึ่งชิ้นอาจตองมีปริมาตรมากกวาในแบบ AAC และตองมีการเสริม หรือการกรอกอุดชองเพื่อเสริมวัสดุอื่นๆ เชน เหล็กรูปตางๆ หรือแทงเหล็ก เพื่อเสริมความแข็งแรง แตก็มีขอพิจารณาในเรื่องพฤติกรรมของวัสดุที่จะนํามาใชรวมกันรับแรงในเชิงการเขา และรวมไปกันได (compatibility) ดวย เนื่องจากกําลังรับน้ําหนักของเนื้อ EPS ผสมซีเมนตนั้นมีคากําลังต่ําจนพฤติกรรมแบบคอนกรีตน้ําหนักธรรมดาเสริมเหล็กอาจผิดเพี้ยนไปการมีโครงสรางภายนอกที่อาจชวยเสริมการรับแรงในฐานะที่เปนโครงสรางของระบบจึงอาจตองมีเพิ่มเติมขึ้นตามความจําเปนคุณสมบัติตางๆ ที่ไดจากหองทดลองในเรื่องของวัสดุที่นํามาประยุกตใชงานชนิดใหมๆ นี้ อาจตองเสริมดวยการสังเกต และการทดสอบตัวอยางที่มีสภาพเหมือนจริง ทั้งขนาดของโครงสราง และเงื่อนไขแวดลอม และเปนขอแนะนําขอหนึ่งที่มักกลาวในเรื่องของวัสดุประยุกตใชงานในแนวใหม โดยเฉพาะอยางยิ ่งพฤติกรรมที่อาจเกิดขึ้นในระยะยาว เชน การแตกราว การหดตัว การลาของโครงสราง หรือความคงทนในระยะยาว เปนตนการศึกษา และทดลองเพื่อพิจารณานํา EPS มาใชงานเปนโครงสรางโดยการปรับปรุงคุณภาพ เชนการผสมซีเมนต ยังคงตองพัฒนาตอไปเพื่อหาขอมูล และขอดีขอเสียเพื่อสรุปความเหมาะสมในการนํามาใชงานตอไปในอนาคต766


บรรณานุกรม1. Allen, E., and Iano, J. The architect’s studio companion. 4th ed. New Jersey: John Wiley &Sons, 2007.2. Hegger, M., Auch-Schwelk V., Fuclas M., and Rosenkranz T. Construction materials manual.Munich: Birkhauser, 2006.3. Merritt, F.S., and Ricketts, J.T. Building design and construction handbook. 6th ed. New York:McGraw-Hill, 2001.4. Newman, J., and Choo, B., S. (ed.) Advanced Concrete Technology. Oxford : Butterworth –Heinemann, 2003.5. Pfundstein, M., Gellert, R., Spitzner, M., H., and Rudolphi, A. Insulating Materials. Munich:Birkhauser, 2008.6. Place, W. Architectural structures. New Jersey: John Wiley & Sons, 2007.7. Vanderwerf, P., A., Panushev, I., S., Nicholson, M, and Koronowski, D. Concrete Systems forHomes and Low – Rise Construction. New York: McGraw - Hill, 2006.8. แหลงที่มา : http://www.cebau.com767


ปจจัยหลักที่มีผลการจัดรูปแบบภูมิสถาปตยกรรมเพื่อกระตุนความรูสึกอยากออกกําลังกายA STUDY OF LANDSCAPE DESIGN FACTORS TO ENHANCE EXERCISE IN NORMAL LIFESTYLEพัชรชนก หิรัญกาญจนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยความเปนมา และความสําคัญของปญหากระแสโลกาภิวัฒนและอิทธิพลระบบทุนนิยมที่เนนความสําคัญดานวัตถุในสังคมไทยกอของคานิยมวัฒนธรรมตะวันตก การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมสูสังคมอุตสาหกรรม สังคมชนบทกลายเปนสังคมเมืองเพิ่มมากขึ้น กระแสวัตถุนิยม บริโภคนิยมเลียนแบบการบริโภคของตางชาติ ทําใหเกิดพฤติกรรมการบริโภคที่ไมเหมาะสม รวมทั้งปจจุบันมีเทคโนโลยีมากมายเพื่ออํานวยความสะดวกกับสงผลตอวิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปจนขาดความสมดุล คนไทยสวนมากใชชีวิตโดยไมคํานึงปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบตอสุขภาพ เชน การไมออกกําลังกาย ทํางานหนักจนเกิดความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา ซึ่งเปนสาเหตุของโรคอวน และเกิดโรคที่ไมติดตอเรื้อรัง (Non-communication disease-NCD) ในที่สุด โรค NCDระบาดไปทั่วโลกและมีแนวโนมรุนแรงมากขึ้น เกิดการเจ็บปวย พิการ และเสียชีวิต ประเทศจึงมีภาระคาใชจายดานสุขภาพและการสูญเสียศักยภาพทางเศรษฐกิจตามมาอยางมหาศาล โรค NCD ที่สําคัญ ไดแก โรคหัวใจโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง สาเหตุหลักของโรค คือ1. การบริโภคอาหารที่มีไขมันและโปรตีนสูงตามแนวนิยมของตะวันตก อาหารจานดวนอาหารสําเร็จรูปกึ่งสําเร็จรูปที่หาไดงาย สะดวก ไมสิ้นเปลืองเวลามาก ซึ่งสวนมากมักเปนอาหารประเภทผัดทอด ยาง หรือปงที่เปนเนื้อสัตวมากกวาอาหารประเภทผัก ดวยชีวิตที่รีบเรงในแตละวันทําใหการเลือกในการกินคอยๆลดนอยลง อาหารประเภทดังกลาวกลายเปนวิถีชีวิตประจําวันซึ่งทําใหพฤติกรรมการกินอาหารเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต2. การขาดการออกกําลังกาย จากพฤติกรรมการใชชีวิตที่เปลี่ยนไปจากอดีตที่มนุษยเคยอยูกับธรรมชาติโดยปราศจากเทคโนโลยีหรือสิ่งอํานวยความสะดวก กิจกรรมทุกอยางจะตองทํานอกบาน ตั้งแตการอาบน้ํา การหาอาหารเลี้ยงชีพ การเดินเทาไปทํางาน กลายเปนการเดินทางโดยรถยนตสวนบุคคล การใชเทคโนโลยีทําใหชีวิตของเราสะดวกสบายแตกลับไมสอดคลองกับรางกายของมนุษยซึ่งตองการออกกกําลังกายเปนกิจวัตร นอกจากนี้ยังเกิดความเครียดสะสมรวมทั้งการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา การออกกําลังกายแบบแอบแฝงเขาไปกับกิจกรรมที่เกิดขึ ้นในชีวิตประจําวัน จึงเปนเรื่องที่สําคัญสําหรับคนในยุคปจจุบันวัตถุประสงคของการศึกษาปญหาโรค NCD เปนปญหาที่ทําใหภาครัฐเสียคาใชจายจํานวนมหาศาลในแตละป ทั้งยังสูญเสียบุคคลากรของชาติเปนจํานวนมากซึ่งประกอบดวยผูเจ็บปวย ผูดูแลผูปวย และผูที่รับภาระการทํางานแทนผูปวยสาเหตุหลักของการเกิดโรค NCD มาจากการขาดการออกกําลังกาย การแกปญหาเรื่องดังกลาวจึงกลายเปนวาระสําคัญของชาติ การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคดังนี้768


1. วิเคราะหวิจัยเกี่ยวกับตัวแปรอันเกิดจากปญหาของโรค NCD ทั้งในประเทศและตางประเทศตลอดจนปจจัยตางๆที่เกี่ยวของกับการเกิดโรค โดยเนนเรื่องการออกกําลังกายทั้งในระยะสั้นและระยะยาวแบบตอเนื่องและไมตอเนื่อง2. ศึกษาปจจัยหรือตัวแปรที่เปนแรงกระตุนใหเกิดการออกกําลังกายแบบแอบแฝงในรูปแบบตางๆเชน การเดิน การเคลื่อนไหว การเดินขึ้นลงเนิน สรางกิจกรรมที่กระตุนใหไมอยูนิ่งเฉย หรือกิจกรรมที่ทําใหคนออกกําลังกายโดยไมรูสึกตัว3. ประเมินผลพลังงาน (กิโลแคลลอรี่) จากการออกกําลังกายแอบแฝงของกิจกรรมในชีวิตประจําวัน4. ประยุกตปจจัยหรือตัวแปรที่ทําใหเกิดการออกกําลังกายแบบแอบแฝงแตละวันเปรียบเทียบกับกิจกรรมเดิม และการประยุกตกับการออกแบบเพื่อสรางสภาพแวดลอมที่ทําใหเกิดแรงกระตุนใหออกกําลังกายระเบียบวิธีการศึกษา1. ทบทวนวรรณกรรมและขอมูล วิเคราะหปริมาณการเผาผลาญพลังงานจากการกิจกรรมตางๆการประยุกตปจจัยตางๆใหเหมาะสมกับคนไทย โดยเฉพาะอยางยิ ่งกิจกรรมที่เหมาะสมกับรางกายของคนไทย- การศึกษาเอกสาร การวิจัย ทฤษฎีที่เกี่ยวของทั้งในเรื่องกิจกรรมตาง ๆ ที่สัมพันธกับอัตราการเผาผลาญของรางกาย ชนิดของอาหารและพลังงานที่ไดรับจากอาหาร รวมไปถึงเรื่องการสรางแรงจูงใจในการเขาไปใชพื้นที่ภายนอกอาคารผานการรับรูของมนุษย- การสังเกต และการสํารวจ ในอาคารกรณีศึกษาที่มีการใชการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกาย- การศึกษาเปรียบเทียบพลังงานที่ไดจากอาหาร และพลังงานที่ใชในกิจกรรมตาง ๆ ในหนึ่งวันของคนไทยในอดีตกับปจจุบัน- การศึกษาเปรียบเทียบการใชพลังงานระหวางอาคารทั่วไปกับอาคารตัวอยางที่มีการใชการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกาย- การศึกษาอิทธิพลของตัวแปรที่ทําใหเกิดแรงจูงใจในการออกไปใชพื้นที่ภายนอกอาคาร2. วิเคราะหปจจัยที่เกี่ยวของกับรูปแบบสภาพแวดลอมที่กอใหเกิดแรงกระตุนใหเกิดการออกกําลังกายแบบแอบแฝงของ รูป รส กลิ่น เสียง และประสาทสัมผัส3. ประเมินผลโดยแบบสอบถามประกอบกับการวัดคาตางๆ โดยใชเครื่องมือทางวิทยาศาสตร เพื่อเปรียบเทียบและกําหนดตัวแปรที่ทําใหเกิดแรงกระตุนใหกลุมตัวอยางเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้น ระยะเวลาในการทํากิจกรรม- การคํานวณคาการใชพลังงานในกลุมตัวอยาง คือ ผูที่เขาไปใชพื้นที่ทดสอบจริง ในพื้นที่จริง- การตรวจวัดคาการใชพลังงานในกลุมตัวอยางเปรียบเทียบระหวางอาคารที่ใชการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกายกับอาคารทั่วไปที่ไมมีการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกาย769


4. ประเมินผลและเปรียบเทียบอิทธิพลตัวแปรที่เปนปจจัยสําคัญในการทําใหเกิดแรงกระตุนใหคนอยากออกกําลังกายแบบแอบแฝง เพื่อเสนอแนะการออกแบบและสรางสรรคสภาพแวดลอมปจจัยการออกแบบโดยแฝงกิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพผลการศึกษาทั้งทฤษฎี เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ ปจจัยแรงจูงใจที่ทําใหเกิดการใชพื้นที่ภายนอกอาคาร และการศึกษาวิเคราะหการใชพลังงานจากการเดินพบวา แนวทางการออกแบบโดยแฝงกิจกรรมออกกําลังกายประกอบดวย1. การเพิ่มระยะของการเดิน ระยะการเดินที่เพิ่มขึ้นทําใหรางกายเผาผลาญพลังงานมากขึ้น เนื่องโดยการเพิ่มจํานวนกาว และเวลาที่ใชในการเดิน2. การสรางใหเกิดระดับความสูงต่ําของพื้นที่การเดิน ความแตกตางของระดับยิ่งมาก ทําใหรางกายใชพลังงานมากขึ้น การใชกลามเนื้อใหญพารางกายขึ้นไปบนที่สูง3. การสรางแรงจูงใจผานประสาทสัมผัสตาง ๆ ของมนุษย เปนสวนที่สําคัญมาก หากไมมีแรงจูงใจแลว จะเปนการยากที่จะทําใหเกิดการเดินเพื่อเผาผลาญพลังงาน และสรางเสริมสุขภาพการออกแบบสวนใหญของประเทศไทยในปจจุบัน มีสาเหตุจากการขาดกระบวนการออกแบบและแนวคิดแบบบูรณาการตัวแปรที่สําคัญในการออกแบบอยางเหมาะสม “ปจจัยหลักที่มีผลการจัดรูปแบบภูมิสถาปตยกรรมเพื่อกระตุนความรูสึกอยากออกกําลังกาย” จึงเปนโครงการวิจัยที่เปนการแปรกระบวนการเรียนรูยุคใหมของการศึกษาการออกแบบในภูมิภาคอากาศรอนชื้น โดยการประยุกตเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับปจจุบันและอนาคต ซึ่งจะเปนตนแบบสําหรับการออกแบบอาคารในอนาคต โดยคํานึงถึงการบูรณาการ ตัวแปรตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางครบวงจร เทคนิคดังกลาวนี้จะชวยประหยัดพลังงาน ลดปญหาโลกรอน และอนุรักษสิ่งแวดลอมการปจจัยทั้ง 3 กอสรางอาคาร หองเรียนธรรมชาติ หรือ Zero e center มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรศูนยรังสิต ซึ่งใชแนวทางการออกแบบภูมิทัศน ดังนี้1. ใชประโยชนและเทคนิคการสรางสภาวะนาสบายของมนุษยจากตัวแปรที่มีอิทธิพลและปจจัยของสภาพแวดลอม- ลดพื้นที่ผิววัสดุรอนรอบตัวคนจากสภาพแวดลอม ทําใหรางกายรูสึกเย็นลง- ใชลมตามธรรมชาติเพื่อใหรูสึกสบาย โดยอาศัยกระแสลมธรรมชาติ1- ใชการระเหยของน้ําบนผิววัสดุรอบตัวคน ทําใหรางกายรูสึกเย็นลง2. สรางสภาพแวดลอมภายนอกหองเรียนที่เนนการออกกําลังกายแบบแฝง ใหเกิด การเดิน การเคลื่อนไหวรางกาย ทําใหสามารถออกกําลังกายไปพรอมกับกิจกรรมเดิมในชีวิตประจําวันได770


ผลการทดสอบการออกแบบโดยแฝงกิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพการทดสอบการใชพื้นที่ภายนอกอาคารโดยแฝงการออกกําลังกาย โดยการวัดระยะการเดิน ระยะเวลาในการเดินของเสนทาง และคํานวณการใชพลังงาน โดยทําการเปรียบเทียบกับกิจกรรมที่ไมมีการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกาย และกิจกรรมที่มีการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกายภาพที่ 1 แสดงทางเดินโดยรอบที่มีการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกาย771


ภาพที่ 2 แสดงทางเดินบริเวณภายนอกหองเรียนธรรมชาติ772


ภาพที่ 3 แผนผังบริเวณหองเรียนธรรมชาติและเสนทางการเดิน 2 เสนทางภาพที่ 3 แสดงเสนทางการสัญจรจากจุด A คือบริเวณทางเขาที่เกิดขึ้นใหม ภายหลังจากที่ไดมีการกอสรางอาคารแลวเสร็จ ไปยังจุด B ซึ่งเปนสวนที่เชื่อมตอกับอาคารเรียนหลักของคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมืองเดิม อีกเสนทางหนึ่ง คือ เสนทางการเดินรอบพื้นที่โครงการที่มีการออกแบบโดยแฝงกิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ (คือเดินจากจุด B วนกลับไปยังจุดเดิม)773


การเผาผลาญพลังงานที่สะสมในรางกายในระหวางที่ทํากิจกรรมภายนอกหองเรียนธรรมชาติ ตามจุดตาง ๆ สามารถคํานวณพลังงานได ดังนี้จุด A ไปที่จุด B ใชระยะเวลาทั้งหมดประมาณ 7 นาที เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 560กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 27.1 กิโลแคลอรี่ เดินความเร็วปกติประมาณ 2.75 กิโลเมตรตอชั่วโมง คิดที่น้ําหนักเฉลี่ยของคนไทย 56.14 กิโลกรัมตัวเลขไดจากการคํานวณ จากเครื่องนับกาว(Pedometer) รุน JS-210Bจุด B ไปที่จุด B (วนกลับไปที่จุดเดิม) ใชระยะเวลาทั้งหมดประมาณ 15 นาที เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 1,200 กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 56 กิโลแคลอรี่ คนเดินความเร็วปกติประมาณ 2.75กิโลเมตรตอชั่วโมง คิดที่น้ําหนักเฉลี่ยของคนไทย 56.14 กิโลกรัมตัวเลขไดจากการคํานวณ จากเครื่องนับกาว(Pedometer) รุน JS-210Bกรณีใชเวลา 1 วัน เดินไป-กลับตามจุด A ไปที่จุด B จะใชระยะเวลา 14 นาที เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 1,120 กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 54.2 กิโลแคลอรี่กรณีใชเวลา 1 วัน เดินไป-กลับตามจุด B ไปที่จุด B (วนกลับไปที่จุดเดิม) จะใชระยะเวลา 30 นาที เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 2,400 กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 112 กิโลแคลอรี่กรณีใชเวลา 1 สัปดาห เดินไป-กลับตามจุด A ไปที่จุด B จะใชระยะเวลา 98 นาที เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 7,840 กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 379.4 กิโลแคลอรี่กรณีใชเวลา 1 สัปดาห เดินไป-กลับตามจุด B ไปที่จุด B (วนกลับไปที่จุดเดิม) จะใชระยะเวลา 210นาที เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 16,800 กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 784 กิโลแคลอรี่ตอสัปดาหกรณีใชเวลา 1 เดือน เดินไป-กลับตามจุด A ไปที่จุด B จะใชระยะเวลา 420 นาที เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 33,600 กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 1626 กิโลแคลอรี่กรณีใชเวลา 1 เดือน เดินไป-กลับตามจุด B ไปที่จุด B (วนกลับไปที่จุดเดิม) จะใชระยะเวลา 900 นาทีเปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 72,000 กาว ใชพลังงานในการเผาผลาญทั้งหมด 3360 กิโลแคลอรี่774


ตารางที่ 3 แสดงจํานวนกาว ระยะเวลาในการเดิน และพลังงานที่สูญเสียจากเสนทางการเดินในบริเวณตาง ๆเดินความเร็วปกติประมาณ 2.75 กิโลเมตรตอชั่วโมง คิดที่น้ําหนักเฉลี่ยของคนไทย 56.14 กิโลกรัม ตัวเลขไดจากการคํานวณ จากเครื่องนับกาว(Pedometer) รุน JS-210B775


แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบจํานวนกาวของการเดินจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งของอาคารรูปแบบทั่วไป และอาคารที่ออกแบบโดยการใชการออกกําลังกายแฝง เดินความเร็วปกติประมาณ 2.75 กิโลเมตรตอชั่วโมง คิดที่น้ําหนักเฉลี่ยของคนไทย 56.14กิโลกรัม ตัวเลขไดจากการคํานวณ จากเครื่องนับกาว (Pedometer) รุน JS-210B776


แผนภูมิที่ 2 เปรียบเทียบระยะเวลาของการเดินจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งของอาคารรูปแบบทั่วไป และอาคารที่ออกแบบโดยการใชการออกกําลังกายแฝง เดินความเร็วปกติประมาณ 2.75 กิโลเมตรตอชั่วโมง คิดที่น้ําหนักเฉลี่ยของคนไทย 56.14 กิโลกรัมตัวเลขไดจากการคํานวณ จากเครื่องนับกาว (Pedometer) รุน JS-210B777


แผนภูมิที่ 3 เปรียบเทียบปริมาณพลังงานที่ใชในการเดินจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งของอาคารรูปแบบทั่วไป และอาคารที่ออกแบบโดยการใชการออกกําลังกายแฝง เดินความเร็วปกติประมาณ 2.75 กิโลเมตรตอชั่วโมง คิดที่น้ําหนักเฉลี่ยของคนไทย56.14 กิโลกรัมตัวเลขไดจากการคํานวณ จากเครื่องนับกาว (Pedometer) รุน JS-210Bจากแผนภูมิดังกลาวสามารถแสดงใหเห็นวา การออกแบบภูมิทัศนภายนอกหองเรียนธรรมชาติสามารถเพิ่มทั้งจํานวนกาว ระยะเวลาในการเดิน และปริมาณพลังงานที่ใชในการเดินไดเปนอยางดี ทั้ง ๆ ที่หองเรียนธรรมชาติไมไดเปนอาคารที่มีขนาดใหญเทียบเทากับอาคารอนุรักษพลังงานเฉลิมพระเกียรติสรุปผลการวิจัยปริมาณพลังงานที่ใชในกิจกรรมที่เปนผลจากการออกแบบที่แฝงการออกกําลังกายนั้นมีคามากกวาปริมาณพลังงานที่ใชในกิจกรรมในกรณีที่ไมมีการออกแบบที่แฝงการออกกําลังกาย โดยกิจกรรมภายนอกอาคารจะเปนสาเหตุใหเกิดการเผาผลาญพลังงานจากการเดิน และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ทําใหสามารถลดปริมาณพลังงานสวนเกิน ทําใหสามารถที่จะลดสาเหตุของโรคอวน และโรครายอื่น ๆ ที่จะตามมาดวย ผลการคํานวณคาพลังงานที่เกิดขึ้นจากการใชพลังงานในการเดินและทํากิจกรรมภายนอกอาคารนี้เองซึ่งจะสามารถมาชดเชย778


กับปริมาณพลังงานสวนเกินประมาณ 600-800 กิโลแคลอรี่ ที่ไดจากอาหารรูปแบบปจจุบัน ทําใหเกิดความสมดุลระหวางพลังงานที่ไดจากอาหารและพลังงานที่ใชในกิจกรรมประจําวัน ดังแสดงในแผนภูมิที่ 4-1แผนภูมิที่ 4 เปรียบเทียบปริมาณพลังงานที่ไดจากการรับประทานอาหารและพลังงานที่ใชในกิจกรรมรวมตอวัน ระหวางพฤติกรรมในอดีต ปจจุบัน และการปรับปรุงโดยใชการออกแบบโดยแฝงการออกกําลังกาย คิดที่น้ําหนักเฉลี่ยของคนไทย 56.14 กิโลกรัม779


ภาพที่ 4 การออกแบบภูมิทัศนโดยแฝงกิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพการออกแบบโดยแฝงกิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ ดังแสดงดวยการออกแบบหองเรียนธรรมชาติ(Zero e center) นั้น มีประสิทธิภาพในการลดการสะสมของพลังงานสวนเกินจากอาหารที่รับประทาน ซึ่งเปนสาเหตุของโรคอวนและโรค Non Communication Disease (NCD) ทําใหสามารถลดคาใชจายในการรักษาพยาบาล และคาความเสียหายอื่น ๆ ที่เกิดความเจ็บปวยไดเปนอยางดี อีกทั้งการออกแบบนี้ยังสามารถที่จะนําไปประยุกตใชในอาคารรูปแบบอื่น ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพตอไปในอนาคต ทั้งนี้การออกแบบเพื่อแฝงการออกกําลังกายจะมีประสิทธิภาพในการปองกันโรคดังกลาวนี้สูงขึ้น หากผูใชอาคารมีการควบคุมปริมาณและชนิดของอาหารที่รับประทานในหนึ่งวัน780


เอกสารอางอิงชนิดา ปโชติการ และสุนาฎ เตชางาม. โภชนาการเพื่อการสงเสริมสุขภาพ. ในรายงานการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเปนวิทยากรดานการสรางเสริมสุขภาพ, หนา 83-103. 6-8 พฤษภาคม 2551 ณ โรงแรมบางกอกเซ็นเตอร กรุงเทพมหานคร.ธรรมธร ไกรกอกิจ. ระบบสัญจรในโครงการเพื่อการอนุรักษพลังงาน : กรณีศึกษา วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต,ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร บัณฑิตวิยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน. โรคแหงการพอกพูนสะสม[CD-ROM]. คณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ผูเผยแพร), 2551.สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคการออกแบบบานประหยัดพลังงาน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542.America Society of Heating, Refrigerating and Air Conditioning Engineerings. ASHRAEApplications Handbook. I-P Edition. Atlanta Geogia: (n.p.), 2001.Plowman, S. A., and Smith, D. L. Exercise Physiology for Health, Fitness, andPerformance . 2nd ed. San Francisco: Benjamin Cummings, 2003.Stein, B., and Reynoids, J. S. Mechanical and Electrical Equipment for Buildings. 9 th ed.New York: Jon Wiley & Sons, 2000.781


องคประกอบคุณภาพงานบริการอาคารนาง วิรดา ตั้งวงศเกษมหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยองานบริการอาคาร (Facility services) ไดแก งานดูแลรักษาความสะอาด งานดูแลรักษาความปลอดภัยและงานดูแลสวนและภูมิทัศน เปนงานขั้นพื้นฐานที่มีความจําเปนตออาคาร เพื่อใหอาคารมีความพรอมสามารถตอบสนองตอความตองการใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปงานบริการอาคารมักจะมีปญหาดานคุณภาพที่ไมแนนอน สม่ําเสมอ และยังพบปญหาที่มีความแตกตางกันไปในแตละผูใหบริการ ผูควบคุมงาน และผูวาจางบทความนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาแนวทางการจัดการคุณภาพงานบริการอาคาร เพื่อศึกษาองคประกอบคุณภาพของงานบริการอาคาร โดยรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณแบบกึ่งมีโครงสราง (Semi-structuredinterview) จากผูที่มีสวนเกี่ยวของในงานบริการอาคาร 3 กลุม ไดแก ผูใหบริการ, ผูควบคุมงาน และผูวาจางจากการศึกษาพบวา องคประกอบคุณภาพงานดูแลรักษาความสะอาดนั้น ผูใหบริการไดคํานึงถึงวิธีการปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใช สําหรับผูควบคุมงานคํานึงถึงวิธีการปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใชรวมถึงการฝกอบรมเพื่อการเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงาน และสําหรับผูวาจางคํานึงถึงการฝกอบรมเพื่อการเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงาน จํานวนผูปฏิบัติงาน การแตงกาย และมารยาทในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ พบวาทั้ง 3 กลุมไมมีการกําหนดตัวชี้วัดคุณภาพที่ชัดเจน สําหรับองคประกอบคุณภาพงานดูแลรักษาความปลอดภัยนั้น ผูใหบริการผูควบคุมงาน ขณะที่ผูวาจางจะคํานึงถึงลักษณะของงานตามหนาที่ ( Job Description) จํานวนผูปฏิบัติงานเครื่องมือและอุปกรณที่ใช และมารยาทในการปฏิบัติงาน แตยังไมมีหนวยวัดชี้วัดคุณภาพที่ชัดเจน และในการพิจารณาองคประกอบคุณภาพของงานดูแลสวนและภูมิทัศนนั้น ผูใหบริการจะพิจารณาที่คุณภาพของวัสดุพันธุไม วิธีการปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ ผูควบคุมงานคํานึงถึงชนิดของพันธุไม จํานวนผูปฏิบัติงาน คุณภาพของหัวหนางาน สวนผูรับบริการจะคํานึงในดานของจํานวนผูปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใช และยังไมมีการกําหนดตัวชี้วัดคุณภาพที่ชัดเจนเชนกันผลการศึกษาเบื้องตนแสดงใหเห็นวา คุณภาพของงานบริการอาคารทั้งงานดูแลรักษาความสะอาด งานดูแลรักษาความปลอดภัย และงานดูแลสวนและภูมิทัศนนั้น ทั้งผูใหบริการและผูควบคุมงานใหความสําคัญในเรื่องที่เกี่ยวกับรายละเอียดการปฏิบัติงาน วิธีการ เครื่องมือและอุปกรณที่ใช แตแตกตางกับผูวาจางที่จะใหความสําคัญกับผลสําเร็จของงาน จึงเนนคุณภาพงานตามหนาที่การปฏิบัติงาน มารยาท และการฝกอบรมเพื่อการเพิ่มทักษะของผูปฏิบัติงานดังนั้นเพื่อใหผลการปฏิบัติงานบริการอาคารมีคุณภาพ (Service Quality) เปนที่ยอมรับตรงกัน ผูใหบริการและผู ควบคุมงาน ควรเพิ่มการเนนความสําคัญในเรื่องคุณภาพงานตามหนาที่การปฏิบัติงาน มารยาท782


และการเพิ่มทักษะของผูปฏิบัติงาน รวมทั้งการสื่อสารและการจัดทํารายละเอียดการปฏิบัติงาน วิธีการ เครื่องมือและอุปกรณที่ใชใหสอดคลองกับความตองการของผูวาจางความเปนมาและความสําคัญของปญหางานบริการอาคาร (Facility services) ถือเปนงานขั้นพื้นฐานที่มีความจําเปนตออาคาร อันไดแก งานดูแลรักษาความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย และงานดูแลสวนและภูมิทัศน ทุกอาคารจําเปนตองมีงานบริการอาคารขั้นพื้นฐานเหลานี้ เพื่อใหอาคารสถานที่สามารถตอบสนองตอความตองการใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนอาคารที่ปลอดภัย มีสุขอนามัย สรางความพึงพอใจของผูใชอาคาร และลด/ปองกันปญหาการสะดุดติดขัดจากการใชงานอาคารงานบริการสวนมากเปนสิ่งที่จับตองยาก และเปนการผลิตที่ตองผสมระหวางเครื่องมือทางเทคนิคบวกกับทักษะและความชํานาญของพนักงานบริการเอง ซึ่งที่กลาวมานี้ทําใหการผลิตบริการใหมีคุณภาพมาตรฐานเหมือนกันนั้นมีความไมแนนอนสูง (สมวงศ พงศสถาพร,2550) ซึ่งการปฏิบัติงานบริการอาคาร (Facilityservices) เองก็มีปญหาเชนเดียวกันมักมีความแตกตางกันไปในแตละผูปฏิบัติงาน / ผูใหบริการงาน Facilityserviceเพื่อใหเกิดความสม่ําเสมอในการปฏิบัติงาน ทั้งผูปฏิบัติงาน/ผูใหบริการ Facility services ผูจัดการ/ผูควบคุมการปฏิบัติงาน Facility services และตัวแทนผูวาจางตองมีกระบวนการ วิธีการปฏิบัติงาน รายละเอียดในการปฏิบัติงาน และวิธีการตรวจสอบการปฏิบัติงานบริการอาคารที่สอดคลองและตรงกัน แตปจจุบันเรื่องนี้ยังเปนปญหา และไมมีระบบ เกณฑ หรือมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เปนบรรทัดฐานเดียวกัน ทําใหมักไมไดรับคุณภาพงานบริการ (Service Quality) ตามความคาดหมายที่ตั้งไวการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาในงานบริการอาคาร (Facility services) เฉพาะงานบริการขั้นพื้นฐาน 3งาน อันไดแก งานดูแลรักษาความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย และงานดูแลสวนและภูมิทัศน ในอาคารสํานักงานในเขตกรุงเทพมหานคร โดยกําหนดใหใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งเครื่องมือหลักที่ใชเปนจากการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi-Structured Interview) และประกอบกับใชการสังเกตุการปฏิบัติงานเบื้องตน(Observation Survey) เปนเครื่องมือรอง และเลือกแหลงที่มาของขอมูลใหครอบคลุมกลุมผูที่เกี่ยวของทั้ง 3 กลุมไดแก ผูปฏิบัติงาน/ผูใหบริการ Facility services, ผูจัดการ/ผูควบคุมการปฏิบัติงาน Facility services providerและตัวแทนผูวาจาง โดยไดกําหนดตารางในการจัดเก็บขอมูลใหเปนหมวดหมู ดังนี้1. ผูปฏิบัติงาน / ผูใหบริการงาน Facility services- วิธีการปฏิบัติงานดานงานบริการอาคาร (Facility services)- วิธีการตรวจสอบการปฏิบัติงาน- เครื่องมือ อุปกรณที่ใช- ความถี่ในการปฏิบัติงานการศึกษานี้จะเลือกศึกษาผูปฏิบัติงาน / ผูใหบริการงาน Facility services ที่เปนบริษัทชั้นนําและมีจํานวนโครงการที่อยูในความดูแลเปนลําดับตนๆ จํานวน 3 บริษัท783


ผลการศึกษา2. ผูจัดการ/ผูควบคุมการปฏิบัติงาน Facility services (FM Service Provider)- วิธีการปฏิบัติงานดานงานบริการอาคาร (Facility services)- วิธีการตรวจสอบการปฏิบัติงาน- ความถี่ในการปฏิบัติงานเกณฑในการเลือกผูจัดการ/ผูควบคุมการปฏิบัติงาน Facility services จํานวน 3 บริษัท โดยเปนบริษัทชั้นนํา และมีจํานวนโครงการที่อยูในความดูแลเปนลําดับตนๆ3. ผูวาจาง- วิธีการปฏิบัติงานดานงานบริการอาคาร (Facility services)- วิธีการตรวจสอบการปฏิบัติงาน- ความถี่ในการปฏิบัติงานเกณฑในการเลือกผูวาจางพิจารณาจากเปนบริษัทที่มีหนวยงานดูแลทางดานนี้เปนการเฉพาะและมีวิธีการปฏิบัติงานที่ชัดเจน จํานวน 3 บริษัทจากการศึกษาพบวาพบวา องคประกอบคุณภาพงานดูแลรักษาความสะอาดนั้น ผูใหบริการไดคํานึงถึงวิธีการปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใช สําหรับผูควบคุมงานคํานึงถึงวิธีการปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใช รวมถึงการฝกอบรมเพื่อการเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงาน และสําหรับผูวาจางคํานึงถึงการฝกอบรมเพื่อการเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงาน จํานวนผูปฏิบัติงาน การแตงกาย และมารยาทในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ พบวาทั้ง 3 กลุมไมมีการกําหนดตัวชี้วัดคุณภาพที่ชัดเจน สําหรับองคประกอบคุณภาพงานดูแลรักษาความปลอดภัยนั้นผูใหบริการ ผูควบคุมงาน และผูวาจางจะคํานึงถึงลักษณะของงานตามหนาที่ ( Job Description) จํานวนผูปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใช และมารยาทในการปฏิบัติงาน แตยังไมมีหนวยวัดชี้วัดคุณภาพที่ชัดเจนและในการพิจารณาองคประกอบคุณภาพของงานดูแลสวนและภูมิทัศนนั้น ผูใหบริการจะพิจารณาที่คุณภาพของวัสดุพันธุ ไม วิธีการปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ ผูควบคุมงานคํานึงถึงชนิดของพันธุไม จํานวนผูปฏิบัติงานคุณภาพของหัวหนางาน สวนผูรับบริการจะคํานึงในดานของจํานวนผูปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใช และยังไมมีการกําหนดตัวชี้วัดคุณภาพที่ชัดเจนเชนกันซึ่งขอแสดงผลในตารางในการจัดเก็บขอมูล ดังรายละเอียดตอไปนี้1. งานดูแลรักษาความสะอาด2. งานรักษาความปลอดภัย3. งานดูแลสวนและภูมิทัศน784


785


786


787


788


789


790


สรุปผลการศึกษาผลการศึกษาเบื้องตนแสดงใหเห็นวา คุณภาพของงานบริการอาคารทั้งงานดูแลรักษาความสะอาด งานดูแลรักษาความปลอดภัย และงานดูแลสวนและภูมิทัศนนั้น ทั้งผูใหบริการและผูควบคุมงานใหความสําคัญในเรื่องที่เกี่ยวกับรายละเอียดการปฏิบัติงาน วิธีการ เครื่องมือและอุปกรณที่ใช แตแตกตางกับผูวาจางที่จะใหความสําคัญกับผลสําเร็จของงาน จึงเนนคุณภาพงานตามหนาที่การปฏิบัติงาน มารยาท และการฝกอบรมเพื่อการเพิ่มทักษะของผูปฏิบัติงานดังนั้นเพื่อใหผลการปฏิบัติงานบริการอาคารมีคุณภาพ (Service Quality) เปนที่ยอมรับตรงกัน ผูใหบริการและผูควบคุมงาน ควรเพิ่มการเนนความสําคัญในเรื่องคุณภาพงานตามหนาที่การปฏิบัติงาน มารยาทและการเพิ่มทักษะของผูปฏิบัติงาน รวมทั้งการสื่อสารและการจัดทํารายละเอียดการปฏิบัติงาน วิธีการ เครื่องมือและอุปกรณที่ใชใหสอดคลองกับความตองการของผูวาจาง นําขอมูลมาประมวลและวิเคราะหขอมูล791


ปจจัยสําคัญในการออกแบบหองประชุมเพื่อสรางคุณภาพเสียงที่ดีMajor Acoustical Parameters Design Guideline in Auditorium for The Best Acoustics Qualityนายสราวุฒิ โสนะมิตรหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตย ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรคณะ สถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยบทคัดยอวิทยานิพนธนี้ เปนสวนหนึ่งของการวิจัยในโครงการการออกแบบหองประชุมแบบไมใชระบบขยายเสียง การออกแบบระบบอะคูสติกสใหไดคุณภาพเสียงที่ดี มักไมไดรับความสําคัญในขั้นตอนการออกแบบเนื่องจากเปนสิ่งที่จับตองไมได และไมสามารถมองเห็นไดในขั้นตอนการออกแบบ จึงทําใหงานออกแบบที่ตองการคุณภาพเสียงที่ดีมักมีปญหาตลอดมา การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคหลัก เพื่อหาตัวแปรที่มีผลกระทบตอคุณภาพเสียงของหอประชุม ลําดับอิทธิพลของตัวแปรหลักที่ทําใหคุณภาพเสียงของหองเปลี่ยนแปลงไป นําผลการวิจัยมาประยุกตใชเพื่อกําหนดเปนแนวทางการออกแบบหองประชุมใหมีคุณภาพเสียงที่ดีกระบวนการศึกษาอาศัยทฤษฎีและขอมูลที่เกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบหองประชุมเพื่อควบคุมการเดินทางของเสียง การปองกันเสียงจากสภาพแวดลอมภายนอก การควบคุมเสียงรบกวนภายในหองประชุมและการควบคุมคุณภาพอะคูสติกส และการเดินทางของเสียงภายในหองประชุมตัวแปรหลักที่ใชในการประเมินแบงเปน 3 สวน ไดแก เกณฑระดับเสียงรบกวน คาความกองของเสียง และรูปรางลักษณะของหองประชุม ขั้นตอนตอมาเปนการใหคะแนนกลุมตัวแปรตางๆ เพื่อสรางดัชนีโดยวิเคราะห คุณสมบัติและเทคนิคในการควบคุมการสะทอน การดูดซับและการกระจายเสียง วิเคราะหคุณสมบัติในการปองกันเสียงรบกวนของตัวแปร ตามเกณฑมาตรฐานการออกแบบเพื่อควบคุมคุณภาพของเสียง ควบคุมเสียงรบกวนจากภายในและภายนอกหองประชุม จากการวิเคราะหผลการวัดคาอะคูสติกสจากกลุมตัวอยางทั้ง2 แหง พบวา อิทธิพลในการควบคุมคุณภาพเสียงมีสัดสวนของตัวแปรที่เกี่ยวของกับเกณฑเสียง (NC) ตัวแปรที่เกี่ยวของกับคาความกองของเสียง และตัวแปรที่เกี่ยวของกับรูปแบบหองประชุม จากนั้นจึงหาเกณฑที่เหมาะสมในการประเมินคาตัวแปรตางๆ และสรางระดับที่เปนตัวชี้วัดถึงคุณภาพเสียงที่ดี โดยแบงเปนเกณฑ ที่ดีที่สุด(0.0-3.0)นําผลการศึกษาตัวแปร มาออกแบบหองประชุมตนแบบเพื่อใหมีคุณภาพเสียงที่ดี และจะใชโปรแกรมคอมพิวเตอรคํานวณ ปริมาตรของหอง, การกําหนดทิศทางการสะทอนและการกระจายเสียงของหองและใชวัสดุกรุผิวผนังหอง สวนการควบคุมเสียงรบกวนของระบบผนังเพื่อควบคุมการรบกวนเสียงจากภายนอกอาคาร และการปองกันเสียงรบกวนจากระบบปรับอากาศ และอุปกรณไฟฟา792


1 บทนําอดีตกาลกอนพุทธศาสนา ครั้งพระสัมมาสัมพุทธเจายังแสดงธรรมเทศนาอยู มีสิ่งที่เราไมคาดคิดอยูมาก สิ่งหนึ่งนั้นคือเหตุการณในวันมาฆะบูชา ซึ่งเปนวันที่มีพระสงฆจํานวน 1250 รูป มาประชุมกันโดยมิไดนัดหมาย และพระพุทธเจาไดแสดงธรรมปาติโมกขในเวลานั้น ซึ่งสิ่งที่เราไมคาดฝนคือ ในเวลานั้นไมมีเครื่องขยายเสียง ไมมีไมโครโฟน ไมมีแมกระทั่งไฟฟา แตทําไมพระพุทธเจาสามารถแสดงธรรมเทศนาใหแกพระสงฆทั้งหมดสามารถรับฟงคําสอนไดรูปที่ 1 ภาพแสดงการแสดงธรรมเทศนาของพระพุทธเจาในวันมาฆบูชาองคประกอบสําคัญที่ทําใหพระสงฆทุกรูปสามารถฟงเสียงเทศนาจากพระพุทธเจาไดก็คือ ในชวงเวลานั้น ไมมีไฟฟา ไมมีเครื่องปรับอากาศ ไมมีรถยนต ไมมีเครื่องบิน ไมมีโรงไฟฟา ไมมีสิ่งประดิษฐที่ทําใหเกิดเสียงรบกวนขึ้น ทําใหสภาพแวดลอมในชวงเวลานั้นเงียบสงัด เมื่อพระพุทธเจาเทศนาจึงทําใหพระสงฆทุกรูปสามารถรับฟงไดอยางนาอัศจรรยใจรูปที่ 2 แสดงการลดทอนของเสียงในอากาศกราฟแสดงการลดทอนของเสียงในอากาศ โดยคาเฉลี่ยของผูพูดจะมีความดังประมาณ 70 dBSPL ณ จุด A ที่ 1 เมตร จากระยะผูพูด และจะลดทอนลงทุกๆ 6 dB SPL ที่ระยะทางเพิ่มขึ้น 2 เทา ณ จุด B เปนจุดที่การรับฟงเสียงภายในหองที่มีคาเสียงรบกวนโดยทั่วไป ซึ่งมักจะมีคาเสียงรบกวนที่ 50 dB การรับฟงเสียงที่จะเขาใจความแตกตางของเสียงที่รับฟงกับเสียงรบกวน มีคามากกวา 5 dB ดังนั้น ณ จุด B จะสามารถรับฟงเสียงหางจากผูพูดเพียง 6 เมตร นั่นหมายถึง หองประชุมนั้นตองเล็กมาก หรือตองใชระบบขยายเสียง แตหากเรา793


สามารถลดเสียงรบกวนลงมาที่ 35 dB จะทําใหเราสามารถฟงและเขาใจเสียงพูดที่จุด C ซึ่งมีระยะหางจากผูพูดถึง 30 เมตร ซึ่งคาดังกลาว จะเปนคาพื้นฐานในการทําความเขาใจสําหรับงานวิจัยนี้การออกแบบทางสถาปตยกรรม เปนสิ่งที่ผูออกแบบทุกแขนงที่มีความเกี่ยวของตองทํางานรวมกันแตอะคูสติกสมักไมไดรับความสําคัญในขั้นตอนการออกแบบ เนื่องจากเปนสิ่งที่จับตองไมได และไมสามารถมองเห็นไดในขั้นตอนการออกแบบ จึงทําใหงานออกแบบที่ตองการคุณภาพอะคูสติกสที่ดีมักมีปญหาตลอดมาหองประชุม เปนอีกหนึ่งสวนซื่งมีความสําคัญ และมีความละเอียดออนในการใชงานมาก ในประเทศไทยหองประชุมขนาด 200 – 500 ที่นั่ง สวนใหญแลวเปนหองประชุมอเนกประสงคซึ่งมีการใชงาน ทั้งการบรรยายและการแสดงดนตรี จึงมีความหลากหลายในวัตถุประสงคของการใชงานแตกตางกันไปตามโอกาสแตปจจุบัน หองประชุมหลายแหงในเมืองไทยมักพบกับปญหาคุณภาพอะคูสติกส บางแหงมีเสียงกองมาก บางแหงมีเสียงรบกวนมาก ที่สุดแลวก็ทําใหการฟงบรรยาย หรือการฟงดนตรีไมมีคุณภาพ ซึ่งเกิดขึ้นในขั้นพื้นฐานการออกแบบที่ไมใหความสําคัญกับเรื่องอะคูสติกส หรือยังมองไมเห็นถึงปญหาที่จะเกิดขึ้น ยังผลทําใหการแกไขปญหาภายหลังเกิดปญหาตางๆอยางตอเนื่อง และสงผลทําใหเสียทรัพย และเวลาอีกมากมายในการแกไขปญหาดานอะคูสติกสของหองประชุม2 วัตถุประสงค2.1 เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีผลกระทบตอสภาพอะคูสติกสของหอประชุม2.2 เพื่อจัดลําดับอิทธิพลของตัวแปรหลักที่ทําใหสภาพอะคูสติกสของหองเปลี่ยนแปลงไป2.3 เพื่อนําผลการวิจัยมาประยุกตใชในการกําหนดแนวทางการออกแบบหอประชุมใหมีสภาพอะคูสติกสที่ดี3 ขอบเขตของการศึกษาเลือกศึกษากลุมตัวอยางจากหอประชุมในกรุงเทพมหานคร/ปริมณฑล ทั้งในสวนของมหาวิทยาลัยรัฐบาล และ/หรือเอกชน ที่ใชสําหรับการพูด (เรียน, สัมมนา, ประชุม) และการแสดงดนตรี (ดนตรีที่ใชระบบขยายเสียง และไมใชระบบขยายเสียง) ที่มีขนาดไมนอยกวา 200 – 500 ที่นั่ง ไมนอยกวา 2 แหงขอบเขตในการดําเนินงาน สวนการศึกษากลุมตัวอยางโดยการวัดสภาพอะคูสติกส เปรียบเทียบกับสภาพงานสถาปตยกรรมภายในหอประชุมกลุมตัวอยาง4. ระเบียบวิธีการศึกษา4.1 ทําการศึกษารวบรวมขอมูลจากหนังสือ หรือผลงานวิจัย ที่ไดมีผูทําการศึกษาไว เพื่อทําความเขาใจ และสรุปตัวแปรที่มีผลตอสภาพของอะคูสติกสของหอง4.2 ทําการคํานวณ และวัดคาจริงจากการเก็บรวบรวมขอมูลจากสถานที่จริง4.3 ดําเนินการวัดสภาพอะคูสติกสในกลุมประชากรเปาหมาย 2 ตัวอยาง โดยใชเครื่องมือวัดวิเคราะหสภาพเสียง และอะคูสติกส มาวิเคราะหรวมกับสภาพงานสถาปตยกรรมของกลุมตัวอยางนั้นๆ794


4.4 ทําการคํานวณคาจากตัวแปรที่เก็บไดสรุปผลจัดลําดับตัวแปรที่มีอิทธิพล5. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ5.1 รูอิทธิพลของตัวแปรหลักที่มีผลกระทบตอสภาพอคูสติกสของหอประชุม5.2 สามารถกําหนดลําดับการปรับปรุงตัวแปรหอประชุมใหมีสภาพอะคูสติกสที่ดีได5.3 ไดแนวทางในการออกแบบหอประชุม เพื่อกําหนดมาตรฐานทางดานอะคูสติกสสําหรับหอประชุม6. การประเมินปจจัยสําคัญในการออกแบบหองประชุมเพื่อสรางคุณภาพเสียงที่ดีจากทฤษฏีและแนวความคิดในการประเมินปจจัยที่มีผลตอคุณภาพเสียงหองประชุม คือ การกําจัดเสียงรบกวนที่ไมตองการออกไป (Noise Control) และควบคุมเสียงภายในที่ตองการ (Room Acoustics) ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหองประชุม โดยผูที่อยูในหองประชุมสามารถไดยินเสียงอยางชัดเจนและไมตองใชระบบเสียง (Sound System) ในการใชงานรูปที่ 3 แสดงการควบคุมเสียงหองประชุม6.1 การควบคุมเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมภายนอกในการออกแบบหองประชุมใหมีคุณภาพเสียงที่ดีนั้น การที่หองประชุมมีศักยภาพในการปองกันเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมภายนอกเปนสวนหนึ่งที่สําคัญที่ทําใหหองประชุมมีคุณภาพเสียงที่ดีได กลาวคือ หองประชุมที่มีระดับเสียงที่เปนแบคกราวดอยูในขอบเขตระดับของเกณฑเสียง (Noise Criteria) ที่ยอมรับไดนั้นความเปนฉนวนกันเสียงของระบบเปลือกอาคารมีสวนสําคัญในการลดระดับเสียงกอนสงผานเขามาในหองประชุม การออกแบบระบบเปลือกอาคารเพื่อปองกันเสียงรบกวนควรพิจารณารวมกับกลุมตัวแปรตาง ๆ ไดแกระดับเสียงแบคกราวดที่ตองการ ขั้นสูญเสียการสงผานเสียง (STC)ระบบเปลือกอาคาร หมายถึง สวนที่ทําหนาที่ปกปองภายในอาคารไดแก พื้น ผนัง หลังคา ซึ่งเปนสวนประกอบที่สําคัญในการปองกันหรือลดระดับเสียงรบกวนกอนเขาถึงภายในหองหรือภายในอาคารความสามารถในการปองกันเสียงของระบบเปลือกอาคารขึ้นอยูกับคุณสมบัติความเปนฉนวนกันเสียงของวัสดุ795


กอสรางที่ใชถาวัสดุที่ใชมีคาความเปนฉนวนกันเสียงสูง ระบบเปลือกอาคารก็จะมีขั้นการสูญเสียการสงเสียงผานมาก (Sound Transmission Class, STC) ขั้นการสูญเสียการสงผานเสียงเปนระดับการยอมใหเสียงผานไดของระบบเปลือกอาคารชนิดตางๆ การศึกษาครั้งนี้จะพิจารณาระบบเปลือกอาคารเฉพาะในสวนของผนัง1. ระบบเปลือกอาคารในสวนของผนังแบงออกเปน 4 ประเภท คือ- ผนังทึบชั้นเดียว (Single Homogeneous Wall) เชน ผนังไม, ผนังกออิฐ, ผนังคอนกรีตบล็อก ฯลฯ ขั้นการสูญเสียการสงผานเสียง (STC) ของผนังทึบชั้นเดียวจะขึ้นกับมวลอาจมีคาถึง 70 ผนังที่มีมวลหนักจะสามรถกันเสียงไดมากกวาผนังที่มีมวลเบา คา STC ของผนังทึบชั้นเดียวจะไดจากการคํานวณหรือจากหองทดลองของ Ceder Knolls, Geiger and Hamme, Riverbank, etc จากหนังสืออางอิงของ Egan,M. David- ผนังสองชั้นมีชองวางอากาศ (Cavity Wall) เมื่อไดประโยชนจากระบบผนังทึบแลวไดมีการศึกษาถึงระบบผนังที่มีชองวางอากาศ เชน กระจกสองชั้น ผนังกออิฐสองชั้น ผนังยิบซั่มหรือไมอัดสองชั้นที่ประกอบดวยโครงสรางไม-เหล็ก ชองวางอากาศภายในมีคุณประโยชนในการดูดซับเสียง โดยเสียงรบกวนที่กระทบกับพื้นผิว ผนังจะสะทอนกลับไปมาภายในชองวางอากาศทําใหความเขมเสียงที่สงผานผนังนั้นลดลงโดยทั่วไปผนังที่มีชองวางอากาศจะทําใหโครงสรางอาคารสามารถกันเสียงเพิ่มขึ้นอีก 3-6 เดซิเบล (Stein, B;and Reynolds, J.S, 1992: <strong>13</strong>87)- ผนังผสม (Composite Wall) หมายถึง ผนัง พื้น ฝาเพดาน ที่มีองคประกอบเปนวัสดุสองชนิดขึ้นไป ผนังผสมสรางดวยเหตุผลทางดานการใชงาน เชน การระบายอากาศ การดูวิว แสงสวาง ฯลฯโดยทั่วไปโครงสรางผสมจะประกอบดวย ประตู หนาตาง และชองแสง คาการสูญเสียการสงผานเสียงรวมของผนังคํานวณไดจากคาสัมประสิทธิ์คาความเปนฉนวนเฉลี่ยของผนัง (Sound Transmission Coefficient, α)ผนังผสมเปนสาเหตุทําใหคุณสมบัติความเปนฉนวนกันเสียงของผนังลดลงเมื่อเทียบกับผนังทึบ- ผนังกรณีที่เปดชองเปด เชน เปดประตู หนาตาง หรือชองแสง เพื่อการระบายอากาศหรือเพื่อรับแสง สวาง ซึ่งเปนสาเหตุใหเสียงรบกวนจากภายนอกเขาสูภายในหองประชุม ถาหากพื้นที่ชองเปดยิ่งมากทําใหคา ความเปนฉนวนกั้นเสียงของระบบเปลือกอาคารลดลง6.2 การควบคุมเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมภายในโดยทั่วไปเสียงรบกวนที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายใน จะเปนเสียงจากอุปกรณภายในหองประชุมจากระบบปรับอากาศ ซึ่งวิธีปองกันหรือลดระดับเสียงรบกวนในเบื้องตนควรศึกษาระดับเกณฑเสียงที่ตองการของหองประชุม จากขอมูล พบวาระดับเสียงรบกวนที่เกิดขึ้นจาก Fan Coil Unit สามารถทําใหเกิดเสียงรบกวนภายในหองประชุมไดถึง 53 dBA และจากการศึกษาในเบื้องตนระดับเกณฑเสียงที่ตองการของหองประชุมสําหรับคาระดับเสียงรบกวนที่ยอมรับไดของหองประชุมคือ NC-20 to NC-30 ระดับเสียง 30 to 38 dBA ดังนั้นความตองการในการออกแบบระบบปรับอากาศในระบบจาย และยอนกลับของอากาศเย็น ตองมีการออกแบบใหเกิดเสียงรบกวนในระดับที่ยอมรับไดของหองประชุมซึ่งตองควบคุมความเร็วของลมใหไดในระดับที่ทําใหเกิด796


NC 20 – 30 คือ ความเร็วลมบริเวณหัวจายลมเย็น 300 ถึง 425 fpm และ ความเร็วลมบริเวณตะแกรงยอนกลับลมเย็น 360 – 510 fpmตารางที่ 1 คาเสียงรบกวนจากอุปกรณประกอบอาคารตางๆที่มา: M.David Egan, Architectural Acoustics (New York: McGraw-Hill, 1988), P.233.ตารางที่2 แสดงคาเสียงรบกวนที่เกิดจากความเร็วลมของระบบปรับอากาศอาคารNoise CriteriaAir Velocity atSupply Register (fpm)Air Velocity atReturn Grille (fpm)NC-15 to NC-20 250 to 300 300 to 360NC-20 to NC-25 300 to 350 360 to 420NC-25 to NC-30 350 to 425 420 to 510NC-30 to NC-35 425 to 500 510 to 600NC-35 to NC-40 500 to 575 600 to 690NC-40 to NC-45 575 to 650 690 to 780ที่มา: M.David Egan, Architectural Acoustics (New York: McGraw-Hill, 1988), p.3016.3 การควบคุมคุณภาพอะคูสติกส และการเดินทางของเสียงภายในหองประชุมในการศึกษาปจจัยสําคัญในการออกแบบหองประชุมเพื่อสรางคุณภาพเสียงที่ดี ในสวนของการควบคุมคุณภาพเสียงภายในหองประชุมนั้นเพื่อใหหองประชุมมีศักยภาพในการควบคุมเสียงภายในควรมีการศึกษา เสียงกอง ที่เกิดขึ้นภายในหองประชุม ซึ่งการออกแบบรูปรางของหองประชุมที่ดีที่ทําใหเกิดการสะทอนเสียงกลับไปมา ที่เหมาะสมกับกิจกรรมภายในหองประชุม และการกําหนดสัดสวนของหองประชุมที่เหมาะสมจะสงผลใหไดคา Reverberant Time (RT) ที่เหมาะสมในการประเมินคาเกี่ยวกับ Reverberation Time ภายในหองประชุม ใชวิธีศึกษา RT ที่เหมาะสมสําหรับหองประชุม ที่ศึกษาโดย Russell Johnson (Country of Russell Johnson and Bolet Beranek and797


Newman, Inc) พบวาRT ที่เหมาะสมสําหรับหองประชุม อยูระหวาง 0.7 -1.1 วินาที ดังนั้น การประเมินคาโดยการกําหนด RT ที่เหมาะสมจึงอางอิงคาของ Russell Johnson เปนหลัก6.3.1 Reverberation Time (RT60) คาความกองของเสียงReverberation Time (RT หรือ RT60) คือ เวลาการสะทอนกลับของเสียงที่คงเหลืออยูเมื่อตนเสียงหยุดแลว เปนการวัดคาของเวลาทีเสียงสะทอนกลับที่มีระดับเสียงลดลง 60dB เมื่อตนเสียงหยุดแลว ถาเวลานอยไปจะทําใหรูสึกวาเสียงในหองนั้นหายเร็วเกินไป ไมมีชีวิตชีวา หรือเสียงแหง(Dead Sound) โดยเฉพาะหองเลนดนตรี แตถาคาของเวลามากไป ก็จะไดยินเสียงสะทอนมาก (Live Sound)การออกแบบหองตางๆ การสะทอนเสียงและการใชวัสดุสะทอนเสียง กระจายเสียง และดูดซับเสียงมีความสําคัญอยางมากตอผูที่ใช เพราะหากเสียงกองเกินไปจะทําใหการสื่อสารขอมูลผิดพลาดไปขาดความชัดเจน ซึ่งมีผลตอการทํางานของผูที่อยูในพื้นที่ เพราะฉะนั้นการออกแบบหองจําเปนตองควบคุมความกองกังวาน(RT60) ใหเหมาะสม RT ที่เหมาะสมสําหรับหองประชุม อยูระหวาง 0.7 -1.1 วินาทีการหาคา RT ตามวิธีของซาบิน (Sabine) มีดังนี้ (Cabanaugh, William J; and Wikes, Joseph A,Architectural Acoustics: Principles and Practice (New York: John Wiley&Sons, 1998) p.21)RT = 0.161 V/A (In metric Units)เมื่อ RT = Reverberation Time (RT), SecondV = ปริมาตรของหอง, m³A = คาการดูดซับเสียงรวมของหอง, (Sabine, m³)6.3.2 ขนาดและรูปรางของหองรูปรางของหองประชุมที่ดีสําหรับการออกแบบเสียงภายในหองประชุม คือ การทําใหผนังไมขนานกันเพื่อกันการสะทอนเสียง รูปรางหองที่เหมาะสมควรเปน รูปพัด (Fanshape) ในการออกแบบเพื่อหลีกเลี่ยงการขนานกันของพื้นและฝาเพดาน ซึ่งเปนการทําลายการไดยินเสียงที่ดี โดยการทําที่นั่งฟงเปนขั้นบันไดหรือการออกแบบเพดานเปนสวนๆ ยอยจะชวยในการกระจายเสียงที่สม่ําเสมอ รูปรางที่ควรหลีกเลี่ยง คือ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (Square) รูปวงกลม (Circular) และวงรี (Oval Shape) เพราะพื้นที่โคงกวาง (Large curved area) จะเปนเขตรวมเสียงเปนจุด และสัดสวนของหองที่เหมาะสมที่สุด (กวาง:ยาว:สูง) คือ 1: 1.2-1.7 : 0.4-0.7รูปที่ 5 รูปสัดสวนของหองประชุมที่เหมาะสม รูปที่ 6 รูปแบบหองประชุมรูปพัด798


7 การประเมินคุณภาพเสียงที่ดีของหองประชุม7.1 เกณฑระดับเสียงรบกวน Noise Criteria (NC) ในการพิจารณาเพื่อใหไดคาระดับ NC ที่เหมาะสมกับหองประชุมนั้นจะพิจารณาโดย แบงออกเปน 5 ระดับ ระดับ NC ที่เหมาะสมกับหองประชุม คือระดับ NC ไมเกิน 30 จะไดคาเทากับ 1 และระดับ NC ที่มีคามากขึ้นก็จะไดคาระดับ 0.8, 0.6, 0.4 และ0.2 ตามลําดับ ซึ่งการศึกษาเพื่อแบงคาระดับขึ้นกับระดับ NC ที่แตกตางกัน ดังนี้เกณฑระดับเสียงรบกวนคาระดับระดับที่เหมาะสม นอยกวา 30 1ระดับรบกวนนอย ตั้งแต 30 - 31 0.8ระดับรบกวนปานกลาง ตั้งแต 32 - 33 0.6ระดับรบกวนมาก ตั้งแต 34 - 35 0.4ระดับรบกวนที่ใชไมได ตั้งแต 36 ขึ้นไป 0.27.2 คาความกองของเสียง Reverberation Time (RT) ในการประเมินคาเกี่ยวกับ RT ภายในหองประชุม ใชวิธีการศึกษา RT ที่เหมาะสมกับหองประชุมที่ศึกษาโดย Russell Johnson (Country ofRussell Johnson and Bolet Beranek and Newman, Inc) พบวาRT ที่เหมาะสมสําหรับหองประชุมอยูระหวาง 0.7 -1.1 วินาที ดังนั้น การประเมินคาโดยการแบงชวง RT ออกเปน 5 ระดับ โดยการกําหนดใหคา RT ที่ตรงกับ RT ที่เหมาะสมของ Russell Johnson มากที่สุด ไดคะแนนเทากับ 1 และคา RT ที่ลดลงหรือเพิ่มขึ้นจากชวง RT ที่เหมาะสมนั้นไดคะแนนลดลงตามลําดับการแบงชวง RTคาระดับRT ตั้งแต 0.70 แตนอยกวา 1.1 วินาที 1RT ตั้งแต 0.65 แตนอยกวา 0.7 และ ตั้งแต 1.1 แตนอยกวา 1.3 วินาที 0.8RT ตั้งแต 0.60 แตนอยกวา 0.65 และ ตั้งแต 1.3 แตนอยกวา 1.5 วินาที 0.6RT ตั้งแต 0.55 แตนอยกวา 0.60 และ ตั้งแต 1.5 แตนอยกวา 1.7 วินาที 0.4RT นอยกวา 0.55 และ ตั้งแต 1.7 วินาทีขึ้นไป 0.2799


7.3 รูปรางของหองประชุม Shape Form ในการพิจารณารูปรางของหองประชุมที่ดีสําหรับการออกแบบเสียงภายในหองประชุม พิจารณาถึงศักยภาพการสะทอนเสียงของพื้นผิวภายในหอง จึงใชรูปรางของผังพื้นที่เปนสวนที่กําหนดรูปทรงของหองมากําหนดชวงคะแนนเปน 5 ระดับ ดังนีรูปรางของหองประชุมคาระดับรูปวงกลม 0.2รูปวงรี 0.4รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 0.6รูปสี่เหลี่ยมผืนผา 0.8รูปสี่เหลี่ยมคางหมู และรูปพัด 1การประเมินคาการควบคุมเสียงภายในหองประชุมจากกลุมตัวอยางหองประชุม ศ.สังเวียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหองประชุมอเนกประสงค สําหรับการบรรยาย และการแสดงดนตรี ขนาด 300 ที่นั่ง1. วัสดุปริมาณพื้นผิวและคาการดูดซับเสียงของหองประชุมหองประชุม ศ.สังเวียนตาราง คํานวณคาวัสดุซับเสียงรวมหองประชุม ศ.สังเวียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยArea of Surface, m² Absorption Coefficients, αNRC NumberA = SxαSabine, m²S1 Ceiling: 256 m² α1 = 336 x 0.15= 16 x 0.850.412.8S2 Floor: <strong>13</strong>8 m² α2 = <strong>13</strong>8 x 0.05= 22 x 0.15S3 Wall: 234 m² α3 = 64 x 0.15= 176 x 0.15693.39.626.4S4 Door: 6 m² α4 = 6 x 0.10 0.6S5 Window: 4.2 m² α5 = 4.2 x 0.15 0.63S6 Seat: 300 seats(118 m²) α6 = 118 x 0.81 95.58Total 268.31800


RT = 0.161 V/ART = 0.161 x (22x16x4.5) / 268.31RT = 0.95 Secเมื่อคํานวณโดยการแทนคาสูตร สูตร พบวาคาที่ได มีความใกลเคียงกับการวัดดวยเครื่อง และคาที่ไดเหมาะสมกับกิจกรรมของหอง คือ อยูในชวงระหวาง 0.7 -1.1 วินาที ซึ่งปจจัยที่สงผลตอคา RT ที่เหมาะสมนั้นเปนความสัมพันธระหวางปริมาตร และการดูดซับเสียงโดยรวมของหอง ซึ่งการดูดซับเสียงโดยรวมนั้นจําเปนตองไดรับการออกแบบที่เหมาะสม ในสัดสวนของวัสดุกรุผิวที่ตองเลือกใชวัสดุสะทอนเสียง วัสดุดูดซับเสียง และกระจายเสียงที่เหมาะสม รวมถึงการกําหนดทิศทางการเดินทางของเสียงที่เหมาะสม2. แสดงผลการวัด NC หองประชุม ศ.สังเวียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยPointNC ValueA1 27A2 26A3 25B1 25B2 26B3 27C1 25C2 27C3 26Overall 263. รูปรางของหองประชุม Shape Form การพิจารณาคาตัวแปรรูปรางของหองประชุม ศ.สังเวียน พบวา รูปรางของหองประชุมมีลักษณะเปน รูปพัด (Fan Shape)รูปที่ 7 ภาพลักษณะรูปรางหองประชุม ศ.สังเวียน801


หอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดลหองประชุมอเนกประสงค สําหรับการบรรยาย และการแสดงดนตรี ขนาด 353 ที่นั่ง1. วัสดุปริมาณพื้นผิวและคาการดูดซับเสียงของหอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป ม.มหิดลArea of Surface, m² Absorption Coefficients, αNRC NumberA = SxαSabinex, m²S1 Ceiling: 414 m² α1 = 96 x 0.15= 318 x 0.3014.495.4S2 Floor: 420 m² α2 = 160 x 0.05= 77 x 0.15811.5S3 Wall: 462 m² α3 = 493.8 x 0.15 74.07S4 Door: 6 m² α4 = 6 x 0.10 0.6S5 Window 4.2 m² α5 = 4.2 x 0.15 0.63S6 Seat (353 Seats) α6 = <strong>13</strong>9 x 0.81 112.59Total 317.19RT = 0.161 V/ART = 0.161 x (18x23x7) / 317.19RT = 1.47 Secเมื่อคํานวณโดยการแทนคาสูตร สูตร พบวาคาที่ได มีความใกลเคียงกับการวัดดวยเครื่อง และคาที่ไดนั้นมากกวา คาที่เหมาะสมกับกิจกรรมของหอง คือ อยูในชวงระหวาง 0.7 -1.1 วินาที อยูเล็กนอย ซึ่งปจจัยที่สงผลตอคา RT ที่เหมาะสมนั้น เปนความสัมพันธระหวางปริมาตร และการดูดซับเสียงโดยรวมของหอง ซึ่งการดูดซับเสียงโดยรวมนั้น จําเปนตองไดรับการออกแบบที่เหมาะสม ในสัดสวนของวัสดุกรุผิวที่ตองเลือกใชวัสดุสะทอนเสียง วัสดุดูดซับเสียง และกระจายเสียงที่เหมาะสม รวมถึงการกําหนดทิศทางการเดินทางของเสียงที่เหมาะสม802


2. แสดงผลการวัด NC หอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป ม.มหิดลPointNC ValueA1 32A2 34A3 33B1 32B2 34B3 33C1 35C2 32C3 32Overall 333. รูปรางของหองประชุม Shape Form การพิจารณาคาตัวแปรรูปรางของหอแสดงดนตรีวิทยาลัยดุริยางคศิลป ม.มหิดลพบวา รูปรางของหองประชุมมีลักษณะเปน รูปพัด (Fan Shape)รูปที่ 8 รูปลักษณะหอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล803


การถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักคาปจจัยที่สงผลตอคุณภาพเสียงที่ดีของหองประชุมกลุมตัวอยาง NC RT(Sec) Shape Formหองประชุม ศ.สังเวียนตลาดหลักทรัพย 26 (1) 0.94 (1) Fan Shape (1)หอแสดงดนตรีวิทยาลัยดุริยางคศิลป 33 (0.6) 1.42 (0.6) Fan Shape (1)หองประชุม ศ.สังเวียน มีคาน้ําหนัก1 + 1 + 1 = 3หอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป มีคาน้ําหนัก0.6 + 0.6 + 1 = 2.2ชวงคะแนนสําหรับประเมินคุณภาพอะคูสติกสของหองประชุม2.40 – 3.00 ดีมาก1.80 – 2.39 ดี1.20 – 1.79 พอใช0.60 – 1.19 คอนขางมีปญหา0 – 0.59 ตองปรับปรุงเมื่อนําแบบประเมินทดสอบประเมินกับกลุมตัวอยาง ที่เปนหองประชุม พบวาหองประชุม ศ.สังเวียน NC มีคาคะแนนเทากับ 3 หมายความวา มีคาระดับที่เหมาะสม และ RT มีคาน้ําหนักเทากับ 1 หมายความวา มีคาระดับที่เหมาะสม และ Shape Form มีคาน้ําหนักเทากับ 1 หมายความวามีรูปทรงของหองประชุมที่เหมาะสม ดังนั้น เมื่อถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักมีคาโดยรวมเทากับ 3 หมายความวา เปนหองประชุมที่มีศักยภาพ และประสิทธิภาพอยูในระดับดีมากหอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป NC มีคาคะแนนเทากับ 2.2 หมายความวา มีคาระดับเกณฑเสียงรบกวนในระดับดัง และ RT มีคาน้ําหนักเทากับ 0.6 หมายความวา มีคาระดับคาความกองกังวานที่มากและ Shape Form มีคาน้ําหนักเทากับ 1 หมายความวา มีรูปทรงของหองประชุมที่เหมาะสม ดังนั้น เมื่อถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักมีคาโดยรวมเทากับ 2.2 หมายความวา เปนหองประชุมที่มีประสิทธิภาพอยูในระดับดีเทานั้น804


8 สรุปผลการวิจัย แนวทางในการออกแบบที่ดีหองประชุมที่ไดทําการวัดประเมินผล ประกอบดวย 2 ตัวอยาง แตตัวอยางที่มีคุณภาพเสียงดอยกวาคือ หอแสดงดนตรีวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีปญหาในสวนของเสียงรบกวน และเสียงกองโดยการปรับลดเสียงรบกวนที่อยูในระดับเกณฑรบกวนปานกลาง สามารถดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดในหมวดของการควบคุมเสียงรบกวนจากระบบปรับอากาศได แตเสียงกองกังวานจะตองทําการแกไขวัสดุกรุผิวหองโดยมีแนวทางดังนี้จากการกําหนดเกณฑในการประเมินผลหองประชุมที่ดี และผลการวัดสภาพหนางานในกลุมตัวอยางที่มีสภาพของปญหาดานความกองกังวานของเสียง ไดดําเนินการคํานวณคาความกองกังวานดวยโปรแกรมEASE 3.0 ใหม โดยทดสอบใชวัสดุในแนวผนังหลังคนดูเปน 2 แบบ แบบแรกเปนผนังแบบกระจายเสียง(Diffuser) และแบบที่ 2 เปนผนังแบบดูดซับเสียง โดยติดตั้งผามานขนาด 18oz/y 2 ซึ่งการทดสอบการคํานวณดังกลาว ไดผลดังนี้รูปที่ 7 รูป 3D ในสภาพปจจุบัน รูปที่ 8 กราฟแสดงคาความกองกังวานในสภาพปจจุบัน8.1 แนวทางการแกปญหาแบบที่ 1 โดยการเปลี่ยนแนวผนังโคงดานหลังเปนวัสดุกระจายเสียงรูปที่ 8 รูป3D ในสภาพแกไขผนังดานหลังแบบกระจายเสียง รูปที่ 9 กราฟแสดงคาความกองกังวาน805


คาความกังวานลดลงจาก 2.0 วินาที เหลือ 1.2 วินาที ถือวาเปนคาที่ลดลงอยูในเกณฑที่ยอมรับได ซึ่งจะยังไมดีมากสําหรับการพูด แตดีสําหรับกิจกรรมพูด และเสียงดนตรี8.2 แนวทางการแกปญหาแบบที่ 2 โดยการเปลี่ยนแนวผนังโคงดานหลังเปนวัสดุดูดซับเสียงรูปที่ 10 รูป 3D ในสภาพแกไขผนังดานหลังแบบซับเสียง รูปที่ 11 กราฟแสดงคาความกองกังวานคาความกังวานลดลงจาก 2.0 วินาที เหลือ 1.1 วินาที ถือวาเปนคาที่ลดลงเริ่มตนอยูในเกณฑที่ดี ซึ่งเปนเกณฑที่ดีสําหรับการพูด แตสําหรับเสียงดนตรีก็ถือวาพอใชจากผลการวัดวิเคราะห และการทดลองแกไขสภาพอะคูสติกสของหอง เพื่อใหไดคาอะคูสติกสที่ดี จึงทําใหทราบวา การจะออกแบบหองประชุมใหไดคุณภาพอะคูสติกสที่ดีนั้น มีตัวแปรอะไรบางที่เกี่ยวของ และตัวแปรสําคัญที่ทําใหสภาพอะคูสติกสเปลี่ยนแปลงไป และสุดทาย ก็ทราบถึงแนวทางการปรับสภาพปญหา เพื่อใหไดหองประชุมที่มีคุณภาพอะคูสติกสที่ดีได806


กรณีศึกษาการปฏิบัติงานดานการบริหารทรัพยากรกายภาพของธนาคารในประเทศไทย1. บทนําผูชวยศาสตราจารย ดร. เสริชย โชติพานิชsarich.c@chula.ac.thอาจารย วีรสันต เลิศอริยานันทVeerason.l@chula.ac.thศูนยศึกษาการบริหารทรัพยากรกายภาพ(Centre of Facility Management Study)คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยการบริหารทรัพยากรกายภาพ มุงเนนที่การจัดการใหระบบกายภาพทํางานตอบสนองเปาหมาย และการดําเนินกิจการขององคกรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นเปาหมาย กลยุทธ วิธีการ ตลอดจนโครงสรางการปฏิบัติงานบริหารทรัพยากรกายภาพ จึงจําเปนตองสอดคลองไปกับ นโยบาย เปาหมาย และแผนทางธุรกิจ รวมถึงวิธีปฏิบัติงานและลักษณะของทรัพยากรกายภาพขององคกรนั้นๆ (Chotipanich and Nutt, 2008)ในประเทศไทยการปฏิบัติทางดานการบริหารทรัพยากรกายภาพกําลังมีการพัฒนาเปนอยางมาก กลุมธุรกิจหนึ่งที่มีความหนาในการทํางานดานการบริหารทรัพยากรกายภาพคือกลุมธุรกิจธนาคาร ซึ่งในดานการบริหารทรัพยากรกายภาพนั้น กลุมธุรกิจธนาคารจัดเปนกลุมที่มีความพิเศษเฉพาะในหลายดาน ไดแก ทรัพยากรกายภาพทําหนาที่ทั้งเปนสวนสนับสนุนและสวนหลักของการดําเนินธุรกิจ การมีอาคารจํานวนมากตั้งอยูในหลายพื้นที่ ฯลฯการศึกษาการบริหารทรัพยากรกายภาพของธนาคารในประเทศไทย จะกอใหเกิดความรู ในเรื่องของแนวคิดรูปแบบ วิธีการ การจัดระบบงาน และการจัดโครงสรางหนวยงานที่ทําหนาที่ดานการบริหารทรัพยากรกายภาพที่มีการเลือกใชอยูในประเทศไทยในปจจุบัน ซึ่งเปนรูปแบบและระบบการบริหารทรัพยากรกายภาพขององคกรขนาดใหญ ที่มีทรัพยสินประเภทอาคารหรือทรัพยากรกายภาพจํานวนมากในหลายทําเลที่ตั้ง โดยความรูที่ไดนี้จะเปนประโยชนไมเฉพาะเพียงผูปฏิบัติงานดานนี้ในธุรกิจธนาคารเทานั้นแตยังจะเปนประโยชนแกผูปฏิบัติงานในองคกรประเภทอื่นอีกดวย และเพื่อใหเกิดความรูและความเขาใจในเรื่องดังกลาวขางตน2 ระเบียบวิธีการศึกษาการศึกษานี้เลือกใชแนวทางการศึกษาแบบกรณีศึกษา หรือ Case study approach (Yin, 1994) การเลือกกรณีศึกษาสําหรับในการศึกษานี้ใชวิธีการเลือกแบบ Theoretical sampling (Eisenhardt, 1989;Yin, 1994) โดยมีกรอบความคิดวา กรณีศึกษาควรครอบคลุมความหลากหลายของแนวทางการปฏิบัติงานดาน FM สําหรับธนาคารใหมากที่สุด โดยการศึกษานี้ไดเลือกกรณีศึกษาที่เปนธนาคารไทยและตางประเทศที่ยินดีและใหขอมูลได รวมทั้งหมด 5 กรณีศึกษาไดแกo ธนาคารกรุงเทพo ธนาคารไทยพาณิชยo ธนาคารกรุงไทยo ธนาคาร HSBCo ธนาคาร UOB(BBL)(SCB)(KTB)(HSBC)(UOB)807


ตารางที่ 1 Bank’s profileBBL SCB KTB HSBC UOBจํานวนอาคารสํานักงานใหญ 9 2 5 1 2จํานวนสาขารวม 817 920 776 None 153จํานวนอาคารสวนสนับสนุนธุรกิจ N/A 3 3 None Noneจํานวนเครื่อง ATM 4,000 4,833 4,900 None 351พื้นที่อาคารที่ดูแลรวม (ตร.ม.) N/A N/A N/A 14,000 N/Aผูใชอาคารรวม 19,000 N/A N/A 1,450 N/Aนโยบายองคกร ที่เกี่ยวของกับFM• เนนการ outsourceงานที่มิใช core business• เนนการครอบครองasset ที่มีความคลองตัวสูงจึงเนนการเปดสาขาขนาดเล็กและทําการเชาพื้นที่เพื่อเปดสาขาในหางฯ• เนนการใหความสําคัญตอสถานที่ทํางานอันจะสงผลตอประสิทธิภาพการทํางาน สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงานขององคกร• เนนการ outsourceงานที่มิใช core business• เนนการครอบครองasset ที่มีความคลองตัวสูง• การควบรวมสวนสํานักงานใหญใหรวมกันในอาคารเดียวกัน/ในบริเวณที่ใกลกัน เพื่อลดความยุงยากในการติดตอประสานงาน• เนนการ outsourceงานที่มิใช core business• เนนการ outsourceงานที่มิใช core business• เนนการครอบครองasset ที่มีความคลองตัวสูงการศึกษาฯ ใชวิธีการรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณแบบ Semi-structured interview โดยหัวขอหลักในการสัมภาษณ ไดแก• นโยบายทั่วไปและนโยบายดานทรัพยสินอาคารของธนาคาร• ลักษณะของทรัพยากรกายภาพของธนาคาร• ขอมูลหนวยงานที่ดูแลงานในขาย FM• ขอบเขตความรับผิดชอบและการปฏิบัติงานของหนวยงาน• เรื่องสําคัญในการปฏิบัติงาน• นโยบาย และแนวคิดในการปฏิบัติงานของหนวยงาน• ลักษณะและแนวคิดการจัดโครงสรางหนวยงาน• แนวทางและวิธีการปฏิบัติงาน• แผนในอนาคต• ทรัพยากรกรและเครื่องมือในการปฏิบัติงานของหนวยงานการสัมภาษณของทุกกรณีศึกษาเปนการสัมภาษณโดยตรง กับผูบริหารของฝายที่มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบงานดาน FM และมีการสัมภาษณทางโทรศัพทเพิ่มเติมในกรณีที่จําเปนตองรวบรวมขอมูลเพิ่มเติม หรือตองการความชัดเจนในขอมูลที่ไดรับจากการสัมภาษณครั้งแรก นอกจากนี้ที่ปรึกษายังไดสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากเอกสารที่เกี่ยวของทั้งที่ไดรับจากหนวยงานดาน FM ของธนาคารนั้นๆ โดยตรง และจากแหลงอื่น รายละเอียดของขอมูลที่ไดรับขึ้นอยูขอจํากัดของตามนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติของแตละธนาคาร และในบางกรณีศึกษายังมีขอจํากัดเนื่องจากขอมูลที่ตองการยังไมมีการจัดเก็บหรืออยูในการกํากับดูแลของหนวยงานอื่นซึ่งไมสามารถเขาถึงไดเนื่องจากขอจํากัดดานเวลาในการศึกษา ครั้นเมื่อทําการรวบรวมขอมูลแลวเสร็จ จึงไดทําการวิเคราะหแตละกรณีศึกษาโดยวิธีการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ (Miles and Huberman, 1994)จากนั้นนํามาเปรียบเทียบกันทั้ง 5 กรณีศึกษา ในรูปแบบตารางเปรียบเทียบ ดังแสดงไวในสวนที่ 3 ของบทความฉบับนี้808


3 ผลการศึกษาการศึกษานี้ มีผลการศึกษาสําคัญ ไดดังตอไปนี้3.1 หนวยงาน FM• สายงานตนสังกัดของ FMหนวยงาน FM ของธนาคารกรณีศึกษาสวนใหญตั้งอยูภายใตสายงาน “สนับสนุนธุรกิจ” ยกเวน KTBและ HSBC ที่อยูในสายงาน “ปฏิบัติการ”• ระดับตําแหนงระดับตําแหนงของผูบริหารงานหนวยงาน FM ของทุกธนาคารกรณีศึกษา มีระดับตําแหนงเทียบเทา VPหรือสูงกวา• ที่มาของผูบริหารงาน FMสวนใหญเปนการยายมาจากสายงานอื่นหรือ Recruit มาจากภายนอก ยกเวนกรณีของ KTB ที่ผูบริหารเปนผูปฏิบัติงานในสายงานมาแตตน• การรายงานตอผูบริหารธนาคารพบเปน 2 ลักษณะo รายงานโดยตรงตอผูบริหารสูงสุดของธนาคาร เชน BBL หรือผูบริหารที่รับชอบเฉพาะ เชนHSBCo รายงานผานผูบริหารกลุมงานสนับสนุน• ระดับการทํางานและการมีสวนรวมตัดสินใจระดับบริหารธุรกิจพบเปน 2 ลักษณะ ไดแกo มีสวนรวมในระดับกลยุทธขององคกร เชน BBL และ HSBCo มีสวนรวมในการบริหารระดับกลางขององคกร เชน SCB, KTB และ UOB809


ตารางที่ 2 หนวยงานการบริหารทรัพยากรกายภาพของธนาคารกรณีศึกษาสายงานตนสังกัดBBL SCB KTB HSBC UOBสายงานสนับสนุนและอํานวยการกลุมงานสนับสนุน สายงานปฏิบัติการ Operation กลุมสนับสนุนธุรกิจธนาคารกลุมงานที่สังกัด None สายอํานวยการกลาง กลุมปฏิบัติการกลาง None NoneDepartment nameฝายอาคารสํานักงานและทรัพยสิน(Property Management Dept.)ฝายบริหารงานอาคาร(Building Management)ฝายอาคารและจัดการทรัพยสิน(Premises and PropertyManagement Departement)Administration, Procurementand Corporate Real Estateสายงานทรัพยสิน(Property ManagementDivision)Title of FM Head Head of Property Management ผูจัดการบริหารงานอาคาร ผูอํานวยการฝาย ฝายอาคารและจัดการทรัพยสิน (First VicePresident Premises andProperty ManagementDepartment)Vice presidentAdministration, Procurementand Corporate Real Estateผูอํานวยการสายงานทรัพยสิน(Head of PropertyManagement Division)Management Positionof FM HeadExecutive Vice President Vice President Vice President Vice President Vice Presidentการรายงาน กรรมการผูอํานวยการ /กรรมการผูจัดการใหญระดับการทํางานSourcing methodStrategic & Tactical level• มีสวนรวมในการเขาประชุมบริหารธุรกิจอยางสม่ําเสมอ• มีอํานาจจัดการทรัพยากรกายภาพทั้งหมด• มีสวนรวมในการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตรCombination of In-house &outsourcingผูอํานวยการสายอํานวยการกลาง (SVP)ผูบริหารกลุมปฏิบัติการกลาง Chief Operating Office &Asian Pasific FMกรรมการรองผูจัดการใหญTactical level Strategic & Tactical level Strategic level Strategic & Tactical levelCombination of In-house &outsourcingOutsourcing model Individual service contracts Grouped service contract +Individual service contractsCombination of In-house &outsourcingGrouped service contract +Individual service contractsTotal outsourcingTotal facilities managementOutsourced functions Operational services Operational services Operational services Management and operationalservicesลักษณะการจัดระบบงาน FM ของธนาคารAffiliate/Subsidiaryfacility servicesuppliersIntegrated FM arrangementมีหนวยงาน FM เฉพาะDiversified FM arrangementหลายฝายทํางานรวมกันDiversified FM arrangementหลายฝายทํางานรวมกันIntegrated FM arrangementมีหนวยงาน FM เฉพาะCombination of In-house &outsourcingIndividual service contractsOperational servicesDiversified FM arrangementหลายฝายทํางานรวมกันNo Yes Yes No No3.2 FM Strategy• Main rolesบทบาทหนาที่ของหนวยงาน FM ที่พบจากการศึกษา จําแนกไดเปน 2 กลุมo กลุมที่เนนการเปน Value creator ที่มีสวนรวมในการวางแผนกลยุทธขององคกร มี 2 แหงo กลุมที่หนวยงาน FM มองตัวเองในเชิง support function มี 3 แหง• ลักษณะการจัดรูปแบบงาน FMจากกรณีศึกษาพบ ลักษณะการจัดรูปแบบงาน FM เปน 2 ลักษณะ คือ810


o แบบ integrated ที่มีหนวยงานดูแลงานดาน FM รวมทั้งหมด เชน BBL และ HSBCo แบบ diversified โดยมีหลาย divisions รวมกันทํางาน เชน SCB, KTB และ UOBโดยหนวยงาน FM ของทุกกรณีศึกษาใชรูปแบบโครงสรางแบบ functional ที่มีการแยกแผนกงานตามประเภทงานหรือความเชี่ยวชาญ• เปาประสงค/จุดมุงหมายจากกรณีศึกษาทั้ง 5 พบวาเปาประสงค/จุดมุงหมายของการดําเนินการดาน FM แบงเปน 2 แนวทางใหญ ไดแกo เพื่อสนับสนุนเปาหมายและการดําเนินธุรกิจ - โดยมุงที่ผลสัมฤทธิ์และผลผลิตดานธุรกิจของธนาคารo เพื่อใหอาคารพรอมใช - โดยมุงที่ประสิทธิภาพของคุณภาพอาคาร งานบริการและคาใชจาย• นโยบายและยุทธศาสตรสําคัญจากที่พบ แบงไดเปน 2 กลุมตามเปาประสงค ดังนี้1) กลยุทธของหนวยงาน FM ที่มุงเนนการสนับสนุนเปาหมายและการดําเนินธุรกิจของธนาคาร เชนo การทํางานเชิงกลยุทธ และเชิงรุกo การบริหารทรัพยากรกายภาพใหสอดคลองไปกับรูปแบบและแผนการดําเนินธุรกิจo การนํา Technology มาใช2) กลยุทธของหนวยงาน FM ที่มุงเพื่อใหอาคารพรอมใชงานo การจัดการใหอาคารเรียบรอย ปลอดภัย พรอมตอการใชงานo การสรางการบริการที่มีประสิทธิภาพจากระบบที่เปนมาตรฐานo การใช effective outsourcing model• Main focuses and Key issuesเรื่องที่หนวยงาน FM ในทุกกรณีศึกษา จัดเปนเรื่องที่มีลําดับสําคัญในการปฏิบัติงาน ไดแกo การลดการลงทุน และคาใชจายo การประหยัดพลังงานo ภาพลักษณและชื่อเสียงธนาคาร รวมถึง Corporate identityo ความปลอดภัย สะดวกสบาย และความพึงพอใจของพนักงานo ประสิทธิภาพของสถานที่ทํางานและพื้นที่ทํางาน ทั้งในดานปริมาณและคุณภาพนอกจากนี้ เรื่องที่มีการเนนในหลายกรณีศึกษา ไดแกo คุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานo ความตองการและความสัมฤทธิ์ผลของเปาหมายo สิ่งแวดลอมเรื่องที่จัดวาสําคัญเปนการเฉพาะไปตามความลักษณะหรือนโยบายของธนาคาร ไดแกo นโยบายภาครัฐ (KTB)o การสราง/เพิ่มคุณคา (value) ใหกับธุรกิจของธนาคาร (HSBC)811


• แนวคิดสําคัญในการปฏิบัติงาน FM (Key practice concepts)ที่พบจากการศึกษาครั้งนี้ มีดังนี้o Cost-effective/Cost-efficiencyo Standardised practiceo Strategic and proactiveo Performance-ledo Responsive• ลักษณะการ Sourcingจากการศึกษาพบการจัดหา Sourcing ผูปฏิบัติงาน/งานบริการดานบริการกลางเปน 2 ลักษณะ ไดแกo แบบผสมระหวาง ดําเนินการเอง และจัดจางภายนอก Combination of in-house andoutsourcing การดําเนินการแบบนี้พบใน 4 กรณีศึกษา การ outsourcing มีทั้งที่ใชบริการกับบริษัทในเครือธนาคาร และกับบริษัทผูใหบริการทั่วไปo แบบจัดจางภายนอกรวมทั้งหมด Total outsourcingโดยพบรูปแบบการจัดจางภายนอก Outsourcing Model ใน 3 ลักษณะ ไดแกo แบบแยกสวนสัญญา individual service contractso แบบเปนชุดบริการ Grouped service contract รวมกับ แบบแยกสวนo แบบ total facilities managementโดยระดับงานที่มีการดําเนินการแบบ outsourcing มักเปนงานปฏิบัติการหรือบริการ ที่ตองการแรงงานและทักษะเชิงเทคนิค ทั้งนี้ยกเวนรูปแบบ Total Facilities Management (TFM) ที่มีรวมสวน “การจัดการ” ไปในสวน outsourcing812


ตารางที่ 3 FM purpose, policy and conceptPurposes• สนับสนุนการทํางานขององคกรและยกระดับการใชตัวอาคารที่มีPolicy • เปนสวนหนึ่งของการดําเนินธุรกิจของธนาคารฯ• เปาหมายในการบริหารทรัพยากรกายภาพนั้นควรที่จะขับเคลื่อนไปพรอมกับธุรกิจ• เนนการทํางานระดับกลยุทธ• เนนการนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ• เนนการจางบุคลากรภายนอกที่เชี่ยวชาญมารับผิดชอบในสวนงานตางๆเปาหมายใน • สนับสนุนการทํางานขององคกรและเพื่อการปฏิบัติงาน ยกระดับการใชสอยและสมรรถภาพใหกับตัวทรัพยากรกายภาพที่มีอยู• รักษามูลคาของตัวทรัพยากรกายภาพ• ยกระดับการทํางานใหเนนการทํางานในระดับการวางแผนกลยุทธใหมากขึ้นMainfocuses andKey issuesFM practiceconceptsMain rolesแผนงานในอนาคตBBL SCB KTB HSBC UOB• ลดภาระการลงทุน• ความพึงพอใจของผูรับบริการ• ฐานขอมูลที่ถูกตอง ครบถวน• การซอมแซมปรับปรุงอาคารเนื่องจากอายุอาคาร4 แนวคิดพื้นฐาน• Cost-effective• Proactive• Integrative• Strategic• value added & business drivenเนนการวางแผนทางดานกลยุทธ• บริหารอาคารใหพรอมใชไมติดขัด• เตรียมพรอมสําหรับการขยายตัวและการโยกยายภายในขององคกรอยางตลอดเวลา• การปรับปรุงสภาพการทํางานของพนักงานใหมีมาตรฐานที่ดีและเหมาะสม• สรางความสะดวกสบายและปลอดภัยใหกับพนักงาน• การริเริ่มโครงการใหมๆ อยางตอเนื่อง• การปฏิบัติตนเปนผูใหบริการใหดีที่สุด“Anything, Tell us, We build it”• การรักษาSCB HQ ใหคงความทันสมัยอยูเสมอใหสมกับเปนอาคารอัจฉริยะที่ใหญที่สุดในประเทศไทย• การใชอาคารใหเต็มประสิทธิภาพสูงสุด• การประหยัดพลังงาน• การรักษาสภาพอาคารใหอยูในสภาพที่ดีพรอมใชงาน• รักษาชื่อเสียงขององคกร• ความสะดวกสบายและปลอดภัยของพนักงาน• การจัดการพื้นที่ใชสอยใหไดประสิทธิภาพสูงที่สุด• การลดคาใชจาย• ปรับปรุงสภาพการทํางานของพนักงานใหมีมาตรฐานที่ดีและเหมาะสม• Cost-efficiency• Standard practice• Management by performance• การมองหา strategic partner ในการดูแล • การลดคาใชจายดานพลังงานบํารุงรักษาและซอมแซม สาขาตางๆ • การลดคาดําเนินการอาคาร• การ convert งานดานโทรศัพทไปยังฝาย • การลดการลงทุนดานอาคารIT• การพัฒนาความรวดเร็วในการใหบริการ• การยกระดับ branch security ใหมีความสามารถและทักษะในการทํางานที่สูงขึ้น• บริหารอาคารใหพรอมใชไมติดขัด• ตอบสนองนโยบายของฝายอื่นๆในการพัฒนาธุรกิจขององคกร• เนนการบริหารอาคารใหมี ความเรียบรอยสะอาด สวยงาม ปลอดภัย พรอมที่จะใหการอํานวยความสะดวกแกลูกคา• เนนความสําคัญดาน สุขภาพและความปลอดภัยสําหรับผูใชอาคาร• การบริหารสาขาทุกสาขาในมาตรฐานเดียวกัน• การอนุรักษพลังงานและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในทุกอาคารขององคกร• การปฏิบัติงานตองเปนไปตามขอกฎหมายและขอบังคับมาตรฐานของทางราชการ อยางเครงครัด• รวมศูนยการปฏิบัติงานเฉพาะเรื่องสําคัญ และกระจายการปฏิบัติงานในเรื่องทั ่วไป• การจัดหาและจัดเตรียมตัวอาคารใหพรอมสําหรับความตองการทางธุรกิจ• การจัดหาทรัพยากรกายภาพใหสอดคลองกับความตองการทางธุรกิจ• จัดการใหอสังหาริมทรัพยเกิดประสิทธิผลในการใชงานทางธุรกิจ• จัดการใหสถานที่ทํางานมีบรรยากาศ และสภาพ ที่ปลอดภัยและนาพึงพอใจ• จัดหาและรักษาสถานที่รวมถึงการใหบริการสนับสนุนตางๆ ใหอยูในระดับมาตรฐาน• สงเสริมการเพิ่มผลผลิตทางธุรกิจ• จํากัดความเสี่ยงใหต่ําเพื่อความมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสวนบุคคล• มีการควบคุมทางการงินและการบริหารทรัพยสินดานกายภาพเชิงรุก และเตรียมพรอมอยางตอเนื่องเพื่อรับมือตอความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น• Harness advanced technology• รองรับงานเปดสาขาทั่วไปประมาณ • การประหยัดพลังงานไฟฟาใหได 1.8%/80-100 สาขาตอปป/คน• สาขา Exchange Booth 20-30 สาขาตอป • การลดคาคารบอน 2.1% / ป / คน• การลดปริมาณขยะลง 1.75% /ป/คน• ลดการใชน้ําลง 2.25% / ป / คน• ความปลอดภัยในชีวิตและสุขภาพ• ความพรอมใชงานของระบบประกอบอาคาร• การประหยัดพลังงาน• การมีสวนชวยในการรักษาสภาพแวดลอม• การรักษามาตรฐานเดียวกันทุกสาขา• การกระจายอํานาจในการตัดสินใจและดําเนินการ• การจัดการพื้นที่ทํางาน• นโยบายภาครัฐ• ชื่อเสียง ภาพลักษณ• Cost-efficiency• Standard practice• Management by performance• Business need and projected return oninvestment• Total Occupation Cost / Capital Costand Cost saving• Environment & Sustainability• Bank's Image• Effectiveness of support• Value adding to the organisation• Creating and sustaining the total work• Balancing between customer orientationand cost consciousness• Cost-efficiency• Sustainable organisation• Adapt easily to changing needs andpatterns of work• supportive • supportive • value added & business driven เนนการวางแผนทางดานกลยุทธ• การพัฒนา software ใหมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ (spacemanagement, แจงซอม, assetmanagement และระบบบริหารงานซอมบํารุงประกอบอาคาร)• การนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาใชเพื่อชวยในการทํางานและเพื่อทดแทนกําลังคน• การลดคาใชจายดานพลังงาน และการใชทรัพยากรธรรมชาติ เชนการปรับเปลี่ยนอุปกรณประกอบอาคารเปนอุปกรณประหยัดพลังงานเมื่อทําการปรับปรุงซอมแซม• บริหารอาคารใหพรอมใชไมติดขัด• คํานึงถึง Price Benchmarking ในการตัดสินใจ• ไมเนนการลงทุนมาก เนนความคลองตัว(Flexibility)• เนนการทํางานกับ outsource ในลักษณะเปนpartner• มีการทําสัญญาซอมแซมปรับปรุง สาขาทั่วประเทศโดยบริษัทเดียว• เนนการเพิ่มสัดสวนบุคลากรที่มีประสิทธิภาพในการทํางาน ทดแทนบุคลากรเดิม• การบริหารงานและการใหบริการในงบประมาณที่จํากัด• การใหบริการดวยคาใชจายที่ต่ําที่สุด• เนนการเชาพื้นที่เพื่อเปดสาขาเปนหลัก เนื่องจากความตองการพื้นที่ใชสอยลดลง• การจัดการ database ใหมีความถูกตอง• การประหยัดพลังงาน ใหได 5% หรือประมาณ 2.5 ลานบาท ตอป• รองรับงานเปดสาขาใหมประมาณ 20สาขาตอป• การเพิ่มระดับความพึงพอใจในการรับบริการ• การจัดพื้นที่รองรับการขยายตัวขององคกร• การบริหารงบประมาณใหเกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด และสนองความตองการของผูใชอาคาร• การประหยัดพลังงาน• การสราง corporate identity• ความปลอดภัย Health & Safety• คุณภาพการใหบริการ• การลดคาใชจาย• มาตรฐานการปฏิบัติงาน• การมองภาพทั้ง whole process เพื่อสามารถวางแผนการทํางานไดไมผิดพลาด• การใชการออกแบบและสถานที่ทํางานในการแสดงและรักษา Corporate image• เนนการตัดสินใจที่รวดเร็ว ไมยุงยาก โดยไมเนนการทํางานแบบคณะกรรมการมากจนเกินไป• supportive• รวบรวม cost สําหรับการ operate สาขาตางๆ และคาไฟตอตารางเมตร• การนํา software จัดการ assetmanagement มาใชงานดูแลบํารุงรักษาระบบประกอบอาคาร• FM Scopeจากการศึกษา พบวา งานที่จัดเปนงานพื้นฐาน Basic functions ของสวนงาน FM ที่พบในทุกกรณีศึกษา ไดแกo งานบัญชีและการของบประมาณo งานอนุรักษพลังงานo งานซอมแซม ปรับปรุงอาคารและระบบประกอบอาคารo งานออกแบบo งานบริหารการกอสราง ตกแตง ปรับปรุงo งานบริหารจัดการ contractor/outsource8<strong>13</strong>


และมีงานที่พบเปนการเฉพาะแลวแตกรณี Specific functions ดังนี้o งานจัดทําบัญชีทะเบียนทรัพยสินo เลือกทําเลที่ตั้งสาขาo เลือกทําเลที่ตั้งสํานักงาน back officeo งานบริหารจัดการสัญญาเชาอาคารo งานประกันภัยo การประมูลงานo การใหบริการยานพาหนะo การรับสงเอกสารo งานดูแลระบบรักษาความปลอดภัยo การจัดการเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยo การจัดการเจาหนาที่ทําความสะอาดตารางที่ 4 Scope of FMขอบเขตงานในความรับผิดชอบ BBL SCB KTB HSBC UOBงานจัดทําบัญชีทะเบียนทรัพยสินเลือกทําเลที่ตั้งสาขาเลือกทําเลที่ตั้งสํานักงานใหญ/ back officeงานบริหารจัดการสัญญาเชาอาคารสาขางานประกันภัยงานบัญชีและการของบประมาณการประมูลงานงานอนุรักษพลังงานงานซอมแซม ปรับปรุงอาคารและระบบประกอบอาคารงานออกแบบงานบริหารการกอสราง ตกแตง ปรับปรุงงานบริหารจัดการ contractor/outsourceHelp Deskการใหบริการยานพาหนะการรับสงเอกสารงานดูแลระบบรักษาความปลอดภัยการจัดการเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยการจัดการเจาหนาที่ทําความสะอาด* มีการจัดการโดยฝาย/แผนกที ่อยูในกลุมงานเดียวกัน3.3 FM Practices* *• FM Practiceระบบการแจงปญหาและความตองการการใหบริการo ทั้งหมดใชการแจงเขาสวนกลางและมี Helpdesk เปนศูนยกลางการรับเรื่องการดูแลและซอมแซมสาขา***************814


o เกือบทงหมดเปนการจัดจางหลายบริษัทหรือผูรับเหมายกเวน UOB ที่เปนการจัดจางบริษัทเดียวเขาดูแลและซอมแซมอาคารสาขาการจัดจาง รปภ และ แมบานประจําสาขา พบเปน 2 ลักษณะo รวมศูนยการจัดจาง พบในกรณีของ SCB และ UOBo กระจายอํานาจการจัดจาง พบในกรณีของ BBL และ KTC• FM Toolso มีเพียง BBL เทานั้นที่มีการใช software การจัดการดาน FM อยางเต็มรูปแบบo ทั้งนี้หนวยงาน FM ในกรณีศึกษาที่เหลือ มีการเริ่มนําระบบ Information Technology มาสนับสนุนการทํางาน และมีแผนที่จะนําระบบ Computer Aided Facilities Management(CAFM) มาใชในอนาคตตารางที่ 5 ลักษณะการปฏิบัติงานดานการบริหารทรัพยากรกายภาพการปฏิบัติงาน BBL SCB KTB HSBC UOBอํานาจในการตัดสินใจ N/A < 10,000 < 2,000,000 N/A < 100,000การ charge backAsset Inventory Computerized Computerized Paper based Computerized+PaperbasedPaper basedTools & Technology BBL SCB KTB HSBC UOBComprehensive FM application softwareN/ASpace Management ProgramN/AN/AWork Request Programการบริหารจัดการสาขา BBL SCB KTB HSBC UOBระบบการแจงปญหาและความตองการการใหบริการรับผิดชอบแยกตามภาคแจงเขาสวนกลาง/Help Deskแจงเขาสวนกลาง/Help Deskแจงเขาสวนกลาง/Help Deskแจงเขาสวนกลาง/Help DeskNoneแจงเขาสวนกลาง/Help Deskบริษัทที่ทําการซอมบํารุงสาขา หลายบริษัทตาม หลายบริษัทตาม หลายบริษัทตาม None บริษัทเดียวภูมิภาค ภูมิภาค ภูมิภาคการจัดจาง รปภ ประจําสาขากระจายอํานาจการ รวมศูนยการจัดจาง กระจายอํานาจการ None รวมศูนยการจัดจางจัดจางจัดจางการจัดจาง แมบาน ประจําสาขากระจายอํานาจการ รวมศูนยการจัดจาง กระจายอํานาจการ None รวมศูนยการจัดจางจัดจางจัดจางการจัดจาง และติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยประจําสาขา รวมศูนยการจัดจาง รวมศูนยการจัดจาง รวมศูนยการจัดจาง None รวมศูนยการจัดจาง815


4. สรุปผลการศึกษาและบทเรียนที่ไดรับบทเรียนที่ไดรับจากการศึกษากรณีศึกษาหนวยงาน FM ของธนาคารในประเทศไทยครั้งนี้ มีดังนี้• ทุกหนวยงาน FM ของธนาคารที่เลือกเปนกรณีศึกษาครั้งนี้ทั้งหมด มีการกําหนดบทบาทหนาที่ในการดําเนินงานไวอยางชัดเจน และพยายามที่ยกระดับตัวเองขึ้นเปนหนวยงานระดับบริหารและวางแผนStrategic function หรือไมต่ํากวาหนวยงานระดับจัดการ Tactical function• อาคารสถานที่และพื้นที่ทํางาน จัดเปนองคประกอบสําคัญในการดําเนินธุรกิจของทุกธนาคาร ในการเปนสถานที่ประกอบธุรกิจ ใหบริการลูกคา และสะทอนภาพลักษณของธนาคาร ทําใหสวนงาน FM ของทุกกรณีศึกษาตางไดรับความสําคัญคอนขางมากจากผูบริหารธนาคาร เห็นไดจาก (นโยบาย) การมีสวนรวมในการตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวของ การรายงานผลการดําเนินการ และระดับตําแหนงของผูบริหารสวนงานฯ ในอีกทางหนึ่ง จึงทําใหทุกหนวยงาน FM ตางมีเปาประสงคและนโยบายในการทําใหอาคารสถานที่และทรัพยสินถาวรในความดูแลรับผิดชอบใหเกิดประโยชนสูงสุดตามความตองการ นโยบาย และการดําเนินธุรกิจขององคกร โดยทุกหนวยงาน FM ตางมุงที่จะแสดงคุณคาและความสําคัญของตนเองดวยการบริหารจัดการใหทรัพยกรกายภาพ/อาคารสถานที่/ทรัพยสินถาวร ทําหนาที่การสนับสนุนการดําเนินธุรกิจอยางเต็มที่ ตั้งแตกระบวนการเริ่มตน (เชน การจัดหาอาคาร พื้นที่อาคาร) ไปจนถึงขั้นตอนการใชงานอาคาร/พื้นที่อาคาร และการปรับปรุงหรือโยกยายพื้นที่ใหเปนอยางราบรื่นปราศจากการสะดุดติดขัด• ทั้งนี้แมวาจะเปนหนวยงานทางดาน FM เชนเดียวกัน แตหนวยงาน FM ของแตละธนาคารตางก็มีรายละเอียดของนโยบาย ขอบเขตความรับผิดชอบ ขอบเขตงาน แนวทางการปฏิบัติและการจัดโครงสรางที่แตกตางกัน โดยปจจัยที่ทําใหเกิดความแตกตางในองคประกอบเหลานี้ ไดแก นโยบายของธนาคารประเภทของธนาคาร (เชน ธนาคารเอกชน ธนาคารของรัฐ และธนาคารตางประเทศ) จํานวนและขนาดของทรัพยากรกายภาพ เปนตน• การดําเนินการดาน FM ของธนาคาร ไมมีรูปแบบตายตัว หรือเปนแบบมาตรฐาน โดยนโยบายและแนวคิดของหนวยงาน FM เปนตัวกําหนดทิศทาง บทบาทหนาที่ และโครงสรางของหนวยงานนั้น ซึ่งนโยบายและแนวคิดของหนวยงาน FM นั้นจําเปนตองสอดคลองไปกับความตองการเฉพาะของผูบริหารธนาคารและนโยบายธุรกิจของธนาคาร ดังนั้นหนวยงาน FM ตองมีความสามารถในการแปลงแนวคิดหรือปรัชญาตามนโยบายของธนาคาร และวิเคราะหนัยของความตองการดานอาคารสถานที่/ทรัพยากรกายภาพของ Business units อื่นตามแผนทางธุรกิจออกมาใหได เพื่อสามารถที่จะเตรียมการและดําเนินการตอบสนองตอความตองการเหลานั้นไดอยางทันทวงทีและเหมาะสมแมนยํา• ขอบเขตการทํางานของหนวยงาน ระดับการมีสวนรวมในการตัดสินใจและการวางยุทธศาสตรในแผนงานของธนาคาร เปนองคประกอบสําคัญที่มีผลตอศักยภาพและความสามารถในการดําเนินการCapabilities ทั้งนี้การยิ่งมีสวนรวมมากในการตัดสินใจและการกําหนดกลยุทธของธนาคารจะเปนสวนที่จะชวยเพิ่มระดับความสําคัญและคุณคาของหนวยงาน FM• ระบบและแนวทางการปฏิบัติงาน เปนสวนสําคัญในการกอใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน คุณภาพของงาน และประสิทธิภาพคาใชจาย แตละหนวยงาน FM ตางพยายามที่จะสราง “แนวทางการปฏิบัติที่ดี/เปนเลิศ” Good/Best practice สําหรับการปฏิบัติงานแตละดาน• คุณคาของการดําเนินงานดาน FM สามารถสะทอนและสื่อสารกับผูบริหารธนาคาร ไดโดยผานผลหรือตัววัดทางการเงินและประสิทธิภาพการใชทรัพยากรของธนาคาร เชนประสิทธิภาพคาใชจาย อัตราผลตอบแทนทั้งทางตรงและทางออม ระดับประสิทธิภาพการใชพื้นที่ และการสรางเสริมภาพลักษณของธนาคาร เปนตน816


กิตติกรรมประกาศผูศึกษาขอขอบพระคุณผูมีสวนในการทําใหการศึกษานี้สําเร็จลุลวง และผูใหความอนุเคราะหขอมูล ดังนี้• คุณ ระดมเดช ทักษณา• คุณ พรเพ็ญ พิมพวิริยะกุล• คุณ นันทกา อุดมไพบูลยวงศ• คุณ วิทวัต เพชรกระจายแสง• คุณ ภิเศก โพธิ์นคร• คุณ ธรรมรัตน เปยมศิริมงคล• คุณ อุเทน มีสุขเอกสารอางอิงChotipanich, S. and Nutt, B. (2008) Positioning and Repositioning FacilityManagement, Facilities, Vol. 26 No. 9/10, pp. 374-388, Emerald Group PublishingLimited.Cotts, D.G. (1999) The Facility Management Handbook, 2 nd edition, AMACOM, NY.Easterby-smith, et. al. (2003) Management research: an introduction, 2nd ed., SAGE,London.Eisenhardt, K. M. (1989) Building Theories from Case Study Research, Academy ofManagement Review, Vol. 14, No. 4, pp. 532-550.Loosemore, M. (1998) Criticality of the relationship between the organisational coreand facilities management, MSc. Dissertation in Facility Management, UniversityCollege London.Loosemore, M. (2004) Aligning business, property, facilities and services, inConference Proceeding of Future in Property and Facility Management II, a two-dayinternational conference, pp. 17-22 University College London.Miles, M. and Huberman, A.M. (1994) Qualitative Data Analysis: and expandedsourcebook 2 nd edition, SAGE Publications.Miles, R. and Snow, C. (1978) Organizational Strategy, Structure and Process,McGraw-Hill.Nutt, B. (1992) Facility Management: the basis for applications research, in Barrett, P.(ed.) Facilities Management: Research Directions, pp. 2-8, prepared for the secondinternational symposium on Facilities Management, organised by the AFM,University of Salford.Nutt, B. (1999) Linking FM practice and research, Facilities, Vol. 17 1/2 pp. 11-17.Yin, R. (1994) Case Study Research: Design and Methods, 2 nd edition, SAGEPublications Inc., USA.817


ขีดความสามารถทางสังคม สําหรับการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพยขนาดเล็กกรณีศึกษา พื้นที่ชายหาดชะอําThe Social Charring Capacity: Small Business for Real Estate DevelopCase Study: Hat Cha-am Areaอรุณ ศิริจานุสรณArun Sirijanusornคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรFaculty of Architecture and Planning, Thammasat UniversityAbstractHat Cha-am, Petchaburi city is one of the most beautiful and popular beach in Thailand. Theincreasing number of tourists over the year. And effective in want to real estate business over all.Therefore, the study on the social charring capacity of Hat Cha-am was undertaken in order to identifythe levels of people density on the beach that are most satisfied by the tourists. It was hypothesizedthat the tourist characteristics, pattern of tourism, and types of activities are variables affecting thelevel of density desired by the tourist. More tourists should be attracted to visit Cha-am throughphysical improvement of the beach. The beach area should be divided into passive and activevacation zones. Can be information support project development of Hat Cha-am areas. And projectdevelopments are variables want to tourist to best.บทคัดยอชายหาดชะอํา จังหวัดเพชรบุรี เปนแหลงทองเที่ยวแหงหนึ่งที่มีความสวยงามและมีชื่อเสียง เปนที่นิยมอยางมากของนักทองเที่ยวในประเทศ จํานวนนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นทุกป สงผลใหเกิดความตองการในแงเชิงธุรกิจอสังหาริมทรัพยตามมากขึ้นไปดวย ดังนั้น การทําการศึกษาถึงระดับความหนาแนนของการใชพื้นที่ที่มีผลตอความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ในเชิงรูปแบบการพักผอนและกิจกรรมของนักทองเที่ยว ซึ่งอาจจะสามารถเชื่อมตอถึงชวงฤดูกาลทองเที่ยว การกําหนดวันพัก ลักษณะของสิ่งอํานวยความสะดวกสบายในการเขาถึง และสภาพสิ่งแวดลอมโดยรอบ ทั้งสามารถเปนขอมูลสนับสนุนการพัฒนาโครงการบนพื้นที่ชายหาดชะอํา และใหมีการพัฒนาโครงการที่สอดคลองตรงความตองการของนักทองเที่ยวใหมากที่สุดKeywords (คําสําคัญ)Real Estate Develop (การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย)Charring Capacity (ขีดความสามารถในการรองรับ)Environment Charring Capacity (ขีดความสามารถทางสภาพแวดลอม)Physical Charring Capacity (ขีดความสามารถทางกายภาพ)Social or Perceptual Charring Capacity (ขีดความสามารถทางสังคม)Small Business (ธุรกิจขนาดยอม ที่กําหนดเงินลงทุนโครงการ ไมเกิน 30 ลานบาท)818


1. ความเปนมา และความสําคัญของปญหานับแตมีการกระตุนเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับกิจการดานทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น แลวก็รายไดในธุรกิจดานนี้ก็ทํารายไดใหกับประเทศไทยสูงถึงปละ 40,000 ลานบาท ในป พ.ศ. 2547 และเพิ่มเปน 70,000 ลานบาท ในปพ.ศ. 2549 ซึ่งเปนแคชวงหางของระยะเวลาเพียง 2 ปเทานั้น (ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2550.)รวมทั้งเกิดความชะลอตัวของภาคธุรกิจสวนอื่นๆ ที่ไดรับผลกระทบมาจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ทั้งเชิงพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ทําใหประเทศไทยไดใหความสําคัญของการทองเที่ยวมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงนโยบายของรัฐและการดําเนินงานสงเสริมการลงทุนของภาคเอกชน ทั้งเรื่องพาณิชยกรรม อสังหาริมทรัพย และอุตสาหกรรมกอสราง ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดที่มีการทองเที่ยวอยางมาก อาทิเชน ภูเก็ต กระบี่ พังงา เชียงใหม ชายหาดพัทยา ชายหาดหัวหิน และชายหาดชะอํา โดยมีวัตถุระสงคหลักที่จะดึงดูดเงินตราตางประเทศเขามาเพื่อยกระดับสถานะทางเศรษฐกิจและสรางงานใหเกิดในทองถิ่น แตการสงเสริมการทองเที่ยวในชวงที่ผานมา ไมไดมีการวางกรอบแผนการทํางานและการจัดการยังไมดีเพียงพอ ยังมีความซ้ําซอนกันอยูของหนวยงานที่กํากับดูแล อาทิเชน องคการบริหารสวนทองถิ่น การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรม ธนาคารสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือผูประกอบการเดิมของทองถิ่น และผูประกอบการผูลงทุนใหม เปนตนแมในชวงปจจุบัน จะมีการรางแผนพัฒนาเชิงนโยบายเกี่ยวกับการทองเที่ยวก็ตาม แตยังเปนลักษณะตางคนตางเปนผูราง ไมมีการประชุมรวมของหนวยงานที่เกี่ยวของ ทําใหบางโครงการที่จะทําการสงเสริมนั้น ขัดแยงกันเองได ทั้งที่อยูในพื้นที่เดียวกันกลาวคือ มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและบริการ เชน ถนน ไฟฟา ประปา รานอาหาร แหลงสถาบันเทิง รวมทั้งเชิงขอกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมอาคารและการใชประโยชนที่ดินภายในพื้นที่ เปนตนบอยครั้งเมื่อชวงฤดูกาลทองเที่ยว ที่มีนักทองเที่ยวมาเยือนแนจํานวนมาก เชน ชวงหยุดเทศกาลตางๆ หรือชวงที่นักทองเที่ยวชาวตางชาติเขามาพักผอนในประเทศไทย ทําใหเกิดปญหาการขาดแคลนที่พักอาศัย ระบบสาธารณูปโภคที่รองรับไวไมเพียงพอ ทั้งการระบายและการกําจัดของเสีย สภาพแวดลอมถูกทําลาย เกิดความพลุกพลานขึ้นในแหลงทองเที่ยว รวมทั้งการเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบการที่ฉวยโอกาส ซึ่งสภาพการณเชนนี้ นับเปนจุดเริ่มที่จะสงผลกระทบตอบรรยากาศและกิจการทองเที่ยว รวมทั้งกิจการที่ลงทุนอื่นๆ ที่จะตามมาดวยจากการทองเที่ยว เชน ภาคการกอสราง หรือภาคอสังหาริมทรัพยดังนั้น การพัฒนาดานการทองเที่ยวจะตองคํานึงถึงและเตรียมการปองกันมิใหเกิดสภาพการณนี้ หรือลดความรุนแรงของผลกระทบที่มาจากเรื่องลักษณะดังกลาวนี้ ใหลดนอยลง แตการที่จะสรางสิ่งอํานวยความสะดวกใหเพียงพอยอมจะตองเงินลงทุนที่สูงและใชระยะเวลาในการดําเนินงานที่กินเวลานาน ซึ่งอาจจะไมคุมคาหรือทันตามความตองการของกิจการทองเที่ยวในแตละป โดยวิธีการแกไขอาจจะดําเนินไปในเชิงการจํากัดจํานวนนักทองเที่ยวใหมีความพอเหมาสําหรับแหลงทองเที่ยวในแตละแหง หรือที่เรียกวา การกําหนดขีดความสามารถในการรองรับ (Charring Capacity) นั่นเอง ซึ่งการพัฒนาการทองเที่ยวและการกําหนดขีดความสามารถในการรองรับนักทองเที่ยว จึงเปนสิ่งสําคัญและไดรับการพิจารณาในกระบวนการวางแผน เพราะเปนพื้นฐานของการพัฒนาและการประเมินความเปนไปได ทั้งเชิงกายภาพและธุรกิจ แตขีดความสามารถในการรองรับนี้ ไมสามารถจะกําหนดแนนอนได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ และที่สําคัญขึ้นอยูกับความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ตลอดจนกิจกรรม ชนิดของการพักผอน และความตองการพื้นฐานของนักทองเที่ยวแตละระดับชั้นและประเภทอีกดวย ดังนั้น การพัฒนาขีดความสามารถในการรองรับของแหลงทองเที่ยว จึงตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพและทางสังคม ตลอดจนการจัดหาโครงสรางพื้นฐานและผลกําไรเชิงเศรษฐกิจดวยการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับการทองเที่ยวของพื้นที่ชายหาดนั้น สามารถแบงออกเปน 3ประเภท (ที่มา: Prarce and Kirk, 2004.) ไดแก 1) ขีดความสามารถทางสภาพแวดลอม (Environment819


Charring Capacity) ซึ่งหมายถึง ความสามารถของสิ่งแวดลอมในการรองรับการทองเที่ยว วัดไดในรูปของดัชนีวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม 2) ขีดความสามารถทางกายภาพ (Physical Charring Capacity) หมายถึง ปริมาณสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการทองเที่ยว เชน สถานที่พัก และโครงสรางพื้นฐานตางๆ เปนตน ที่สามารถรองรับนักทองเที่ยวไดอยางสะดวกสบาย และ 3) ขีดความสามารถทางสังคม (Social or Perceptual CharringCapacity) นั้นหมายถึง ความสามารถรองรับนักทองเที่ยวของพื้นที่ชายหาดและบริเวณโดยรอบ ในทัศนะของนักทองเที่ยว สามารถวัดไดจากระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจที่จะมาพักผอน (ที่มา: Gatz, andKonrad, 1964.) จากการตรวจสอบเอกสารตางๆ พบวา ไดมีการศึกษาถึงขอมูลทางดานกายภาพและความเหมาะสมของสภาพแวดลอม จากหนวยงานที่เกี่ยวของที่กํากับดูแลพื้นที่นั้น เชน การกําหนดความสูงอาคารการใชประโยชนที่ดิน การควบคุมกอสรางอาคาร การควบคุมสิ่งแวดลอม เปนตน แตการใหความสําคัญทางดานสังคมมากนัก ซึ่งเปนอีกปจจัยหนึ่งที่สงผลตอการวเคราะหขอมูลในการลงทุนโครงการอสังหาริมทรัพยไดเชนกัน ดังนั้น การวิจัยในครั้งนี้ จึงเนนไปที่การศึกษาทางภาคสังคม เพื่อใชเปนขอมูลตนแบบและขอมูลพื้นฐานที่จะเปนประโยชนตอผูประกอบการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย รวมทั้งธุรกิจทองเที่ยวไดอีกดวย2. วัตถุประสงคของการวิจัย1. ศึกษาหาความหนาแนนของนักทองเที่ยวบริเวณชายหาดชะอํา ที่นักทองเที่ยวพึงพอใจและสามารถพักผอน ตลอดจนมีกิจกรรมตามความประสงคได2. ศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอระดับความหนาแนนของนักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจ3. นําผลการศึกษาวิจัยไปเสนอเปนแนวทางในการปรับปรุงและสงเสริมการทองเที่ยวประเภทชายหาดหรือลักษณะพื้นที่ตากอากาศ4. รวบรวมขอมูลเพื่อใชสนับสนุนตอผูประกอบการธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพยและการทองเที่ยว3. ขอบเขตการศึกษาวิจัยเนนการศึกษาบนพื้นที่ชายหาดชะอํา จังหวัดเพชรบุรีในเชิงกายภาพนั้น มีความยาวของชายหาดประมาณ 6 กิโลเมตร นับตั้งแตสะพานหิน บริษัทชลประทานซีเมนต ตอเนื่องไปจนถึงปากคลองบางหิน โดยมีถนนรวมจิตตเปนถนนเลียบชายหาดและกั้นระหวางพื้นที่ชายหาดกับอาคารสิ่งกอสราง รานคา และที่พักอาศัยแตในการศึกษาไดกําหนดพื้นที่ตลอดความยาวถนน เพราะปจจุบันไดมีการขยายตัวตอเนื่องโดยตลอดความยาวถนน มีการขยายตัวของผูที่ลงทุนธุรกิจอสังหาริมทรัพยขนาดเล็กจํานวนมาก และเปนพื้นที่ที่มีนักทองเที่ยวอยางหนาแนน รวมทั้งเปนที่ตั ้งของ โรงแรม บังกาโลว รานอาหาร และแผงลอยจํานวนมาก สวนความกวางของชายหาด นับจากถนนรวมจิตตดานชายหาด จนถึงระดับน้ําทะเลขึ้นสูงสุด เฉลี่ยประมาณ 30 เมตร ซึ่งสภาพกายภาพของหาดที่มีความลาดชันนอยและมีกลุมของตนสนทะเลขึ้นอยูริมหาด ทรายยังขาวอยูและคลื่นนอย ซึ่งเปนผลทําใหนักทองเที่ยวมักที่จะพักผอนบริเวณนี้4. สมมติฐาน การศึกษาวิจัย1. นักทองเที่ยวที่มีลักษณะสวนบุคคลแตกตางกัน จะมีความพึงพอใจตอความหนาแนนบริเวณพื้นที่ชายหาดชะอํา ที่แตกตางกัน2. นักทองเที่ยวที่มีรูปแบบกิจกรรมการพักผอนแตกตางกัน จะมีความพึงพอใจตอความหนาแนนบริเวณพื้นที่ชายหาดชะอํา ที่แตกตางกัน3. ตัวแปรดานลักษณะสวนบุคคล และรูปแบบกิจกรรมการพักผอน สามารถที่จะพยากรณความหนาแนนของนักทองเที่ยวบริเวณพื้นที่ชายหาดชะอําได820


5. ตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัย1. ตัวแปรดานลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ การศึกษา รายไดและรายจายตอเดือน ที่นํามาใชในการทองเที่ยวแตละครั้ง และภูมิลําเนา2. ตัวแปรดานรูปแบบการพักผอนของนักทองเที่ยว ไดแก จํานวนวันพัก ระยะเวลาในการพักผอนการเลือกสภาพแวดลอมแบบธรรมชาติ และแบบมีสิ ่งอํานวยความสะวดก ความพึงพอใจในภสพาแวดลอม ตลอดจนระยะหางจากกลุมขางเคียงที่นักทองเที่ยวตองการ3. ตัวแปรดานกิจกรรมการพักผอนของนักทองเที่ยว ไดแก กิจกรรมการพักผอนแบบสงบ มีความเปนสวนตัว และกิจกรรมการพักผอนแบบสนุกสนาน เชน เดินเลน เลนน้ํา นั่งและนอนรับประทานอาหาร เปนตน6. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับทางสังคม นับเปนเรื่องที่มีความสําคัญ และปจจุบันผูประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย ที่เปนโครงการขนาดเล็ก ยังใหความสําคัญที่นอยกวา ความพึงพอใจทางดานรายได เพราะเพียงแคคิดวาเปนปจจัยภายนอก ซึ่งควรจะเปนหนาที่ของภาครัฐ แตถาผูประกอบการมีขอมูลที่เพียงพอแลว ก็นาจะชวยใหการตัดสินใจทําโครงการไดงายยิ่งขึ้น นอกจากนั้น ในการศึกษาเบื้องตน ก็พอที่จะรับทราบวา แผนพัฒนาเศรษฐกิจหรือทางดานการทองเที่ยว มักจะเนนไปที่การดําเนินงานแกไขทางดานกายภาพ สภาพแวดลอม และเรงรัดการกอสรางตางๆ ที่เพิ่มขึ้น หรือไมก็เพียงแคขีดความสามารถในการรองรับทางกายภาพที่รองรับการทองเที่ยวไดเทานั้น ซึ่งผูวิจัยคาดหวังวา ผลการศึกษาในครั้งนี้ นาจะเปนลักษณะของแนวทางการศึกษาตนแบบ ที่นาจะนําไปใชประยุกตกับสถานที่ทองเที่ยวแหลงอื่นๆ ได แตก็อาจจะตองมีการปรับรายละเอียดปลีกยอยบางประการ ใหสอดคลองกับพื้นที่ที่จะทําการศึกษาที่ชัดเจน7. ขอจํากัดของการศึกษาวิจัยการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปนการศึกษาเฉพาะพื้นที่ชายหาดชะอํา จังหวัดเพชรบุรีเทานั้น ผลการศึกษาแมวาจะมีผลนาเชื่อถือไดสําหรับชายหาดชะอํา แตก็ไมสามารถที่จะนําไปใชสรุปกับชายหาดอื่นๆ ได ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพ สังคม และสภาพแวดลอมที่แตกตางกันได8. ทฤษฎี แนวความคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวของสาระสําคัญของการศึกษาวิจัยครั้งนี้ จะเปนในลักษณะเสนอแนวความคิดหลักๆ อยู 3 ประการ คือประการแรก ไดแก ความสามารถในการรองรับของสิ่งแวดลอม ซึ่งกลาวถึงความเหมาะสมของสิ่งแวดลอมกับจํานวนผูที่มาใช ประการที่สอง กลาวคือพฤติกรรมมนุษยกับสิ่งแวดลอมวา การแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษยนั้น สัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางไร ประการสุดทาย เปนการกลาวถึงมาตรฐานในการกําหนดขีดความสามารถของสิ่งแวดลอม ซึ่งผูวิจัยไดนํามาประมวลเปนแนวทางในการศึกษาในการรองรับทางสังคม- ขีดความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity)1. ขีดความสามารถในการรองรับสิ่งแวดลอมการดํารงชีวิตของมนุษย มีความเกี่ยวของกับสิ่งตางๆ รอบตัวอยางมากมาย ทั้งที่เปนสภาพแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น เชน อาคาร ถนน สะพาน หรือที่รวมตัวเปนขนาดใหญ ทั้งหมูบานและชุมชน และที่ปรากฎการณตามธรรมชาติ เชน อุณหภูมิ แสงสวาง ตนไม พื้นที่ เปนตน จากการที่มนุษยไมไดอยูอยางโดเดี่ยว แตรวมตัวกันเปนสังคม องคกร มีบทบาทที่สัมพันธกัน ทําใหมนุษยตองเกี่ยวของกับสิ่งที่เปนธรรมดวย821


เชน คานิยม วัฒนธรรม เปนตน ซึ่งความสัมพันธตางๆ เหลานี้มีปจจัยของเวลาเขามาเกี่ยวของ (วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, 2540)ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมนี้ มนุษยมีบทบาททั้งทางตรงและทางออม มนุษยจึงพยายามเขาไปควบคุมสิ ่งแวดลอมตางๆ ไว และมีความพยายามสรางสภาพแวดลอมใหมีความสอดคลองกับความตองการของมนุษยมากที่สุด ซึ่งความพยายามของมนุษยนั้น มีทั้งเปนผลดีและผลเสียตอสิ่งแวดลอมในพื้นที่หรือในระยะยาวซึ่งเปนปญหาที่มนุษยเองพยายามที่จะกําหนดขอบเขตและแนวทางในการพัฒนาสิ่งแวดลอม เพื่อลดปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคตแนวความคิดในการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะในสาขาเกี ่ยวกับสิ่งมีชีวิต ไดมีการพิจารณาชวงของการเจริญเติบโต ซึ่งมี 4 ขั้นตอน 1/ ชวงที่มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว(Acceleration Phase), 2/ ชวงที่สิ่งมีชีวิตมีการเจริญหรือเพิ่มพูนมากที่สุด (Point of Inflection), 3/ ชวงการเจริญเติบโตลดลง (Deceleration Phase) และ 4/ ชวงของความสมดุล (Carrying Capacity) ดังภาพที่ 1. (ชุมพล งามผองใส, 2545)ผูผลิต (Producers)ผูเอื้อหนุน (Supporters)ผูบริโภค (Consumers)ผูยอยสลาย (Decomposers)ภาพที่ 1. องคประกอบสิ่งแวดลอม แบงตามหนาที่ระบบสิ่งแวดลอม ตามทฤษฎีเอื้ออํานวยระบบสิ่งแวดลอมการที่จะทราบวาพื้นที่ใด หรือสภาพแวดลอมใด ถึงจุดที่เหมาะสมที่สุด หรือไมนั้น สังเกตไดจากสิ่งที่ปรากฎขึ้นตามธรรมชาติ หรือสภาพแวดลอมนั้นแสดงออกมา เชน มีการพังทลายของดิน ตนไม เปนตน ก็แสดงวาสภาพแวดลอมดังกลาวเกินจุดที่เหมาะสมไปแลว ตองมีการปองกันและแกไขกันตอไป เพราะความสามารถสูงสุดของพื้นที่ใดๆ จะแปรผันไปตามปจจัยของสิ่งแวดลอม ในขณะนั้น เมื่อเปนเชนนี้การแกไขและปรับปรุง หรือเปลี ่ยนแปลงความสามารถสูงสุดของพื้นที่ ก็ยอมจะทําได2. ขีดความสามารถในการรองรับสําหรับการทองเที่ยวการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวใดแหลงทองเที่ยวเที่ยวหนึ่ง หากมีจํานวนนักทองเที่ยวหลั่งไหลเขาไปมาก จนเกินขีดความสามารถของพื้นที่ที่จะรองรับได จะกอใหเกิดปญหาการขาดแคลนที่พัก น้ํา ไฟฟา การกําจัดของเสีย สภาพแวดลอมถูกทําลาย และมีความพลุกพลานมากขึ้น จนนักทองเที่ยวรับสภาพเชนนั้นไมไดหรือเมื่อนักทองเที่ยวตางรูสึกวาบรรยากาศที่ไมใชแหลงทองเที่ยว หรือสถานที่พักผอนหยอนใจไดเกิดขึ้นแลวนั้น คือ จุดที่ริเริ่มมีผลกระทบตอการทองเที ่ยวในบริเวณนั้น หรือกลาวไดวา จํานวนนักทองเที่ยวนั้นไดเกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่แลวปจจุบันแนวความคิดเกี่ยวกับขีดความสามารถในการรองรับของแหลงทองเที่ยว ยังไมแพรหลายในกลุมนักพัฒนาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะในประเทศกําลังพัฒนา ซึ่งพยายามที่จะเพิ่มรายไดทางเศรษฐกิจ ดวยการพัฒนาการทองเที่ยว โดยปราศจากการคํานึงถึงวาการดึงดูดนักทองเที่ยวนั้น ตองอาศัยการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมของประเทศ ถาคุณคาพื้นฐานถูกเปลี่ยนแปลงหรือทําลายไป การพัฒนาการทองเที่ยวยอมไมประสบผลสําเร็จ (ภราเดช พยัฆวิเชียร, 2545) ในทางตรงขามจะไดรับผลกระทบอยู2 ประการ คือ 1/ ผลกระทบตอภาพพจนของการทองเที่ยว คือ การลดลงของคุณภาพที่ดึงดูดนักทองเที่ยว และ822


2/ ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม คือ การทําลายสิ่งแวดลอมทางดานกายภาพ วัฒนธรรม และสังคม ที่อาจจะมาจากการลงทุนโครงการพัฒนาตางๆ ในเขตพื้นที่3. ขีดความสามารถในการรองรับสําหรับแหลงทองเที่ยวชายทะเลการศึกษาเพื่อหาขีดความสามารถในการรองรับ สําหรับแหลงทองเที่ยวชายทะเลมีความสําคัญมากเนื่องจากสภาพของแหลงทองเที่ยวเปนทัศนียภาพและความงาม มีแสงแดด หาดทราย และน้ําทะเล เปนองคประกอบที่สําคัญ นักทองเที่ยวสามารถจะมาทองเที่ยวไดอยางไมมีจํากัด ตราบเทาที่แหลงทองเที่ยวมีบริการสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพื้นฐานอยางพอเพียง โดยทั่วไปจะมีการแบงพื้นที่การใชประโยชนของที่ดิน แบงออกเปน 3 บริเวณ (Heberlein T.A., 1983) 1/ ที่พักและบริการสิ่งอํานวยความสะดวก(Accommodation and Service Sector Zone), 2/ เขตกั้นระหวางบริเวณที่พักกับบริเวณที่มีกิจกรรมการพักผอน (Transit Zone) และ 3/ บริเวณสําหรับกิจกรรมการพักผอน (Recreational Activity Zone)4. การกําหนดขีดความสามารถในการรองรับของแหลงทองเที่ยวขีดความสามารถถือเปนมาตรฐานพิเศษ ที่ตองกําหนดเฉพาะตามแตละประเภทของแหลงทองเที่ยว(ศรินทรา เตชะวีรยุทธ, 2544) และกําหนดระดับที่ยอมรับไดของแหลงทองเที่ยว จะนับกันเมื่อผลทางลบเริ่มแสดงผล แตการกําหนดเกณฑการวัดนั้นไมแนนอน แตกตางกันตามชนิดของแหลงทองเที่ยว ลักษณะทองถิ่นระยะเวลา และชนิดนักทองเที่ยว ซึ่งเกณฑการวัดนั้นมี 2 กลุม คือ 1/ กลุมที่วัดคาไดทางสถิติ เชน ที่พัก สิ่งอํานวยความสะดวก หรือผลกําไรทางเศรษฐกิจ สวนอีกกลุม คือ 2/ กลุมที่วัดคาไมแนนอน เชน ผลกระทบตอประเพณี วัฒนธรรม และคานิยม เปนตนสําหรับเกณฑการวัดขีดความสามาถในการรองรับการทองเที่ยว สามารถวัดไดเปนเวลา ที่เวนวางและอัตราการใชสอยพื้นที่ของนักทองเที่ยว (World Tourist Organization, 2000) กําหนดไวอยู 3 วิธีหลัก คือ 1/การวัดดวยระยะเวลา เปนการนับจํานวนสูงสุด ที่มีผูมาใชประโยชนในชวงเวลาหนึ่ง, 2/ การวัดดวยพื้นที่เวนวาง เปนการวัดจํานวนคนตอหนวยพื้นที่หรือความยาว (Fred Lawson and Manual Bared-Bovy, 1998) และ3/ การวัดอัตราการใชสอยของนักทองเที่ยว การวัดดวยวิธีนี้เปนการใหบริการทางสังคมและบริการสิ่งอํานวยความสะดวกแกนักทองเที่ยว ซึ่งจะสัมพันธกับจํานวนประชากรทองถิ่น ความหนาแนน ฤดูกาล หรือผลกําไรเชิงเศรษฐกิจ เชน จํานวนหองพัก หรือจํานวนเตียงพัก- พฤติกรรมมนุษยกับสภาพแวดลอม1. ความสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมพฤติกรรมเปนผลรวมขององคประกอบ 2 ประการ (Lynch Kevin, 1980) คือ ลักษณะนิสัยของบุคคลและสภาพแวดลอมในขณะนั้น ที่พฤติกรรมยอมขึ้นอยูกับความสัมพันธระหวางอิทธิพลตางๆ ของบุคคลกับสภาพแวดลอมที่บุคคลรับรู สภาพแวดลอมนี้จึงไมใชสภาพแวดลอมที่ปรากฎจริง และไมไดหมายถึงสภาพแวดลอมกายภาพเทานั้น แตรวมถึงสภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรมดวย (วิมลสิทธิ์ หรยางกูร,2540) อิทธิพลที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมนั้น มาจากตัวกําหนดตอไปนี้ คือ 1/ ตัวกําหนดดานมนุษย คืออิทธิพลดานสรีรวิทยา, อิทธิพลดานบุคคลิกภาพ, อิทธิพลดานสังคม และอิทธิพลดานวัฒนธรรม และ 2/ตัวกําหนดดานสภาพแวดลอม คือ ลักษณะของสภาพแวดลอมทางกายภาพ, คุณสมบัติตางๆของสภาพแวดลอมทางกายภาพ และตําแหนงของสภาพแวดลอมทางกายภาพ2. พฤติกรรมกับกระบวนการสภาพแวดลอมนักจิตวิทยาสังคมโดยทั่วไป ไดใหความสําคัญของสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ที่มีผลตอพฤติกรรมมนุษยมาก มนุษยจะตองแสวงหาการกระตุนจากสิ่งแวดลอมอยางพอเหมาะไมมากหรือนอยจนเกินไป โดยมนุษยจะใชสิ่งแวดลอมทางกายภาพเปนตัวกําหนดขอบเขตการมีปฏิสัมพันธกับผูอื่น (เอื้อมพร วีสมหมาย, 2539) ซึ่งจะมีตัวกําหนดขอบเขตที่จะตองคํานึงถึง ไดแก 1/ พฤติกรรมที่เวนวางสวนบุคคล (Personal Space Behavior)823


เปนพฤติกรรมของบุคคลกับการแสดงออก ที่เปนการปกปองการลวงล้ําอาณาเขต ที่เวนวางสวนบุคคลนี้เรียกวา เขตกันชนรางกาย (Body Buffer Zone) ซึ่งที่เวนวางสวนบบุคลนี้ แบงออกเปน 4 ระยะ (HeberleinT.A., 1983) ระยะใกลชิด (Intimate Distance), ระยะสวนบุคคล (Personal Distance), ระยะหางทางสังคม(Social Distance) และระยะสาธารณะ (Public Distance) 2/ การยึดอาณาเขต (Territoriality) คือ การรับรูวาเนื้อที่หรือสถานที่เฉพาะแหงนั้น มีเจาของยึดอานาเขตจึงมีความหนาแนนและชวยกําหนดความเปนสวนตัวและ 3/ ความแออัด (Crowding) คือ ความไมสมดุลระหวางจํานวนคนกับพื้นที่ เชน คนจํานวนมากใชเนื้อที่ที่จํากัดรวมกัน ยอมทําใหมีที่วางไมเพียงพอสําหรับทํากิจกรรมสวนตัวอยางตามที่ตองการ- ขีดความสามารถทางสังคม โดยใชความหนาแนน ความแออัด และความพึงพอใจ เปนตัวกําหนดความพึงพอใจ (Satisfaction) ที่ใชเปนพื้นฐานในการวัดความสามารถในการรองรับทางสังคม คือการที่นักทองเที่ยวไดรับความพอใจในสภาพทางกายภาพของแหลงทองเที่ยวมากที่สุด (Heberlein T.A., 1983)กลาวถึง การนําระดับความพึงพอใจของนักทองเที่ยวหลายๆ คนมารวมกัน ทั้งความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นและความพึงพอใจที่ลดลง ซึ่งเมื่อนําทั้งสองระดับมารวมกันก็ถือวาเปนความสามารถในการรองรับทางสังคมไดสวนความหนาแนนและความแออัดขึ้นของสังคม จะอยูดวยกัน 2 ประการ คือ 1/ สถานที่ และ 2/ การมีกิจกรรมกลาวไดโดยสรุปจะเห็นวา สถานที่ และการมีกิจกรรม เปนสิ่งจําเปนที่ควรคํานึงถึง สําหรับการกําหนดขีดความสามารถในการรองรับทางสังคม นอกจากนี้ การกําหนดขีดความสามารถควรมาจากฝายบริหาร หรือเจาของผูประกอบการของแหลงทองเที่ยวนั้นๆ ที่จะเปนเกณฑกําหนดใหมีกิจกรรมการพักผอนประเภทใด ไมควรใหมีความขัดแยงในกิจกรรมกันเอง9. ผลการศึกษาวิจัยผลการศึกษาวิจัยนั้น ไดนํามาวิเคราะหดวยวิธีทางสถิติ โดยใชคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อบรรยายสภาพทั่วไปที่ไดจากการศึกษา ดังนี้- ลักษณะสวนบุคคลของนักทองเที่ยวจากการสํารวจนักทองเที่ยวที่มาชายหาดชะอํา ในชวงวันหยุดและวันหยุดนักขัตฤกษนี้ พบวานักทองเที่ยวสวนใหญเปนเพศชายมากกวา และสวนใหญประกอบอาชีพเปนลูกจาง ที่เหลือก็เปนผูประกอบการนักศึกษา นักเรียน และอีกอาชีพที่สัดสวนสูงก็คือ พนักงานราชการและรัฐวิสาหกิจ มีรายไดเฉลี่ยคิดเปน 7,580บาทตอคนตอเดือน และพบวาการใชจายเพื่อการทองเที่ยวที่ชายหาดชะอํานี้มีมูลคาไมสูงมากนัก เฉลี่ยคนละ275 บาทตอคนตอวัน เนื่องจากพบวานักทองเที่ยวเปนผูที่มีภูมิลําเนาอยูในแถบภาคกลางและกรุงเทพมหานครเปนสวนใหญ- รูปแบบการทองเที่ยวนักทองเที่ยว รอยละ 90 มาที่นี้เพื่อพักผอนและทองเที่ยว สวนที่เหลือมาเพื่อทําธุรกิจ เยี่ยมญาติหรือเปนทางผาน นักทองเที่ยวสวนใหญเดินทางมาเปนหมูคณะ โดยจะเปนการมากับเพื่อนมากที่สุด รอยละ 60สวนนักทองเที่ยวที่มากับครอบครัวและญาติเปนอันดับรองลงไป คิดเปนรอยละ 40 สวนการเดินทางจะใชพาหนะสวนตัว ถึงรอยละ 75 และสวนที่เหลือเปนการใชบริการเดินทางจากยาพาหนะของภาครัฐ เชน รถไฟรถปรับอากาศ และ รถ บขส. ซึ่งนักทองเที่ยวสวนใหญที่นํารถสวนตัว ก็เพื่อความสะดวกสบายมากกวา การเนนความประหยัดคาใชจาย824


- การใชประโยชนพื้นที่ชายหาด1. การเลือกบริเวณที่พักผอนและระยะเวลาในการพักผอนนักทองเที่ยว รอยละ 50 มักเลือกบริเวณที่พักผอนดวยเหตุผลของความรมรื่น และความเปนธรรมชาติในบริเวณนั้นๆ สวนอีกประมาณรอยละ 30 เลือกเพราะมีสิ่งอํานวยความสะดวก เชน รานขายอาหาร หองอาบน้ําและหาบเรแผงลอย มีเพียงรอยละ 20 ที่ตองการมีสภาพแวดลอมทั้งสองอยางรวมกัน ซึ่งกอนที่นักทองเที่ยวจะเลือกพักผอนไดนั้น นักทองเที่ยวรอยละ 40 ไดตระเวนหากอน อีกรอยละ 35 เจาะจงตั้งใจมาบริเวณนั้นเลยสวนที่เหลือนั้นเปนนักทองเที่ยวที่พักผอนโดยไมไดตระเวณหาเลย กับนักทองเที่ยวที่ยายมาแลวหลายที่ ซึ่งทั้งสองกลุมนี้มีปริมาณรวมกัน รอยละ 252. กิจกรรมการพักผอนของนักทองเที่ยวกิจกรรมการพักผอนที่ชายหาดชะอํา มีประมาณ 12 ประเภท และนักทองเที่ยวเองแตละคนก็จะมีการประกอบกิจกรรมหลากหลายอยาง เชน นั่ง นอน เดินเลน รับประทานอาหาร เปนตน กิจกรรมที่นักทองเที่ยวนิยมมากที่สุด มักเปนกิจกรรมพักผอนอยางสงบ เนนความเปนสวนตัว ซึ่งมีรอยละ 75 รองลงมาคือ การเลนน้ําทะเล การเดินเลน และรับประทานอาหาร คิดเปนรอยละ 68, 57 และ 54 สวนกิจกรรมอื่นๆ คิดเปนรอยละ 20จะเห็นไดวากิจกรรมที่สําคัญๆ นั้น เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับทะเลโดยตรง สวนกิจกรรมพักผอนแบบสนุกสนาน มีไมมากนัก เชน ขี่จักรยาน วิ่ง เลนกีฬา เปนตน3. ความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของชายหาดการศึกษาความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ที่มีตอสภาพแวดลอม ทั้งสภาพแวดลอมธรรมชาติและสภาพแวดลอมดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่มีใหบริการ ซึ่งไดแก ความรมรื่นเปนธรรมชาติ ความเงียบสงบความสะอาด ความกวาง การตั้งเกาอี้ผาใบ กองหวงยาง หาบเร แผงลอย จักรยานเชา เปนตน4. ความคิดเห็นทั่วไปนอกจากความพึงพอใจในดานสิ่งแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกแลว นักทองเที่ยวยังไดแสดงความคิดเห็นทั่วไปเกี่ยวกับความประทับใจ การประสบปญหา และสิ่งที่ควรปรับปรุงบริเวณพื้นที่ชายหาดชะอําที่ผูประกอบการสามารถนําเปนขอมูลไปประกอบการดําเนินธุรกิจ ซึ่งความพอใจโดยสวนรวม อันดับตนๆ ก็ไดแก สภาพหาดสวยและอากาศดี สวรอันดับรองลงมา ไดแก ความสงบรมรื่น ตลอดจนน้ําทะเลนาวายสวนระหวางการทองเที่ยว นักทองเที่ยวจะพบปญหาการไมมีที่จอดรถมากที่สุด โดยเฉพาะในวันหยุดสําคัญๆ นอกจากนี้ราคาที่พักและสินคาตางๆ ก็แพงขึ้นดวย สวนปญหาอื่นๆ ก็อยางเชน การรักษาความปลอดภัย การบริการ และการประชาสัมพันธ- ระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจ ซึ่งเปนการวัดขีดความสามารถทางสังคมนี้ กระทําโดยนักทองเที่ยวแสดงความคิดเห็นตอจํานวนคนในการสัมภาษณ และการประมาณการของนักทองเที่ยว ที่จะทําใหเกิดความรูสึกอึดอัดและไมพอใจที่จะพักผอนตอไป1. ความหนาแนนของนักทองเที่ยวปจจุบันการนับจํานวนปริมาณนักทองเที่ยวตลอดชายหาดพื้นที่กรณีศึกษา ซึ่งแบงออกเปน 6 ชวงๆ ละ 500เมตร ปรากฎวาจํานวนนักทองเที่ยวมีความแตกตางกันมากในแตละกลุมพื้นที่และชวงเวลา กลาวคิอ ในวันหยุดเสาร-อาทิตย พบวา มีนักทองเที่ยวสวนนอยที่สุดเพียง 250 คน สวนจํานวนมากที่สุดมีถึง 2,580 คนซึ่งจํานวนนนี้สามารถนับไดในวันหยุดสําคัญ เชน วันตรุษจีน หรือวันสงกรานต ทําใหสามารถคิดคํานวณที่ไดมากจากการสํารวจ ตลอดทั้ง 7 วัน เปน 1,024 คน หรือ 18.4 ตารางเมตรตอคน825


2. ความหนาแนนที่นักทองเที่ยวยอมใหมีเพิ่มขึ้นจากการสอบถามนักทองเที่ยว ในชวงเวลาและสถานที่ตางๆ กันตลอดแนวชายหาด พบวานักทองเที่ยวสวนใหญมีความพึงพอใจตอความหนาแนนในปจจุบัน และมีความคิดเห็นวาความหนาแนนระดับนี้สามารถจะเพิ่มขึ้นไดอีกเฉลี่ย 2.83 เทา ซึ่งจะเห็นวานักทองเที่ยวรอยละ 76.4 มีความพึงพอใจที่จะใหมีความหนาแนนเพิ่มขึ้น 1 เทา และก็ยังมีนักทองเที่ยวที่ตองการความหนาแนนเพิ่มขึ้นอีก 2 และ 3 เทาดวย แตก็มีสัดสวนนอยลงตามลําดับ คือรอยละ 15 และ 9 อยางไรก็ตาม มีนักทองเที่ยวสวนนอยที่รูสึกความหนาแนนในปจจุบันมีมากเกินไป- ปจจัยที่มีความสัมพันธกับระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นเพื่อการวิจัย โดยมีตัวแปรตางๆ ดังนี้คือ1. ลักษณะสวนบุคคลของนักทองเที่ยว เชน เพศ อายุ การศึกษา รายไดตอเดือน รายจายในการมาทองเที่ยว และภูมิลําเนาของนักทองเที่ยว2. รูปแบบการพักผอน ตัวแปรที่นํามาพิจารณาคือ ระยะเวลาการคางคืน ระยะเวลาในการพักผอนที่ชายหาด บริเวณที่เลือกพักผอน และความพึงพอใจในสภาพแวดลอม3. กิจกรรมการพักผอน กิจกรรมการพักผอนของนักทองเที่ยว มีหลายประเภท แตกิจกรรมที่เลือกมาเปนตัวแปรคือ กิจกรรมที่มีนักทองเที่ยวมากที่สุด ไดแก เลนน้ําทะเล เดินเลน นั่ง และนอนพักผอนที่ชายหาด และการขี่จักรยานโดยตัวแปรอิสระตางๆ ดังกลาว ไดนํามาวิเคราะหเพื่อหาความสัมพันธกับตัวแปรตามคือ ระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจ ผลการวิเคราะหขอมูล ดังตารางที่ 1-4ความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ความถี่ หมายเหตุจํานวน รอยละความพึงพอใจของนักทองเที่ยวในปจจุบัน 455 100.00- พอใจมาก 455 10.10- พอใจ 281 61.80- ไมแนใจ 80 17.60 X = 3.70- ไมพอใจ 41 9.00 S.D. = 0.83- ไมพอใจเลย 7 1.50ถาพอใจ จํานวนคนเพิ่มขึ้นอีกเทาใด จึงจะไมพอใจ 335 100.0025% 59 17.0050% 90 26.9075% 52 15.50100% 55 16.40รวมกลุม 100% 256 76.40 X = 2.83125% 4 1.20150% 4 1.20175% 4 1.20200% 37 11.00รวมกลุม 200% 49 14.60826


225% 4 1.20250% 4 1.20275% 2 0.80300% 22 6.60รวมกลุม 300% 30 9.00ถาไมพอใจ จํานวนคนลดลงอีกเทาใด จึงจะพอใจ25% 7 14.650% 22 45.8 X = 0.2475% 19 39.6ระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจ 441 100- ต่ํากวา 5 ตร.ม. ตอคน 104 23.6- 6 - 23 ตร.ม. ตอคน 278 63- 23 ตร.ม. ตอคน ขึ้นไป 59 <strong>13</strong>.4ตารางที่ 1 แสดงคาสัมประสิทธิ์ระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจลักษณะสวนบุคคล X S.D. N SIG of Fรวมทั้งหมด 15.0231 17.4198 441เพศชาย <strong>13</strong>.9328 16.506 258 0.1181หญิง 16.5601 18.5697 183อายุต่ํากวา 23 ป 15.9991 14.7029 <strong>13</strong>624 - 35 ป 15.9292 20.5827 196 0.144635 ป ขั้นไป 12.1761 <strong>13</strong>.7940 109การศึกษาประถม <strong>13</strong>.0882 14.0185มัธยมตนและปลาย <strong>13</strong>.7728 14.1540 124 0.1730ปริญญาตรี หรือสูงกวา 18.5311 22.4403 146รายไดตอเดือนต่ํากวา 4,500 บาท <strong>13</strong>.3059 7.5050 1074,501 - 7,000 บาท <strong>13</strong>.0457 7.8206 1527,001 - 10,000 บาท 12.8959 7.1618 34 0.261010,001 - 15,000 บาท 10.2838 7.0783 3215,000 บาท ขึ้นไป 10.7539 6.9005 116รายจายในการทองเที่ยวครั้งนี้ (ตอวัน)ต่ํากวา 250 บาท 15.2769 15.7119 116251 - 1,000 บาท 14.0369 15.4637 215 0.42571,001 บาท ขึ้นไป 16.6829 22.1414 110827


ภูมิลําเนากรุงเทพฯ 17.4314 20.7148 163ภาคกลาง <strong>13</strong>.2224 14.0718 263 0.0248ภาคอื่นๆ 20.4253 26.5752 15ตารางที่ 2 แสดงความสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคลกับระดับความหนาแนนที่พอใจรูปแบบการพักผอน X S.D. N SIG of Fวันพักมาเชาเย็นกลับ <strong>13</strong>.1611 <strong>13</strong>.2162 318พัก 2 - 3 คืน 18.8662 23.0616 1<strong>13</strong> 0.0001พัก 3 คืน ขึ้นไป 30.8072 38.4701 10เวลาพักผอนต่ํากวา 3 ชั่วโมง 18.2774 22.8690 1034 - 6 ชั่วโมง 11.8774 8.27680 174 0.00606 ชั่วโมง ขึ้นไป 16.3167 20.0062 164การเลือกสภาพแวดลอมแบบธรรมชาติ 14.215 14.5968 222 0.1962แบบมีสิ่งอํานวยความสะดวก 15.0372 17.1768 168ทั้งสองแบบ 19.2787 27.8795 47ระยะหางที่ตองการ1 - 3 เมตร <strong>13</strong>.2090 12.9563 2084 - 6 เมตร 14.8852 16.3504 173 0.00376 - 15 เมตร 21.7094 28.94<strong>13</strong> 60ความพึงพอใจในสภาพแวดลอมนอย 17.2432 18.5549 162ปานกลาง 15.1280 18.1736 179 0.0248มาก 11.2387 <strong>13</strong>.1294 100ตารางที่ 3 แสดงความสัมพันธระหวางรูปแบบการพักผอนกับระดับความหนาแนนที่พอใจกิจกรรม X S.D. N SIG of Fเลนน้ําไมไดเลนน้ํา 14.5<strong>13</strong>2 14.5703 <strong>13</strong>6 0.7466เลนน้ํา 15.0901 18.3501 304ขี่จักรยานไมไดขี่จักรยาน <strong>13</strong>.9721 14.8365 362 0.0066ขี่จักรยาน 19.8389 25.7756 79เดินเลนไมไดเดินเลน <strong>13</strong>.5715 14.1153 189 0.1583828


เดินเลน 15.9210 19.2936 251นั่ง นอน พักผอนไมได นั่ง นอน พักผอน 15.0367 16.1546 1<strong>13</strong> 0.9923นั่ง นอน พักผอน 15.0618 17.8586 326จํานวนคนในกลุม1-2 คน <strong>13</strong>.4468 10.7678 1633-5 คน 15.5029 18.6423 166 1.19386 คน ขึ้นไป 16.606 22.6224 112ตารางที่ 4 แสดงความสัมพันธระหวางกิจกรรมการพักผอนของนักทองเที่ยวกับระดับความหนาแนนที่พอใจ10. สรุปผลการศึกษาวิจัยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อหาระดับขีดความสามารถทางสังคม หรือระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจ และเพื่อศึกษาความสัมพันธของตัวแปรลักษณะสวนบุคคล รูปแบบการพักผอน การเลือกสถานที่และกิจกรรมการพักผอน รวมทั้งความพึงพอใจ ตลอดจนศึกษาอิทธิพลของตัวแปรตางๆ เหลานี้วาสามารถนํามาพยากรณระดับความหนาแนน โดยที่กลุมตัวอยางในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ นักทองเที่ยวชาวไทย ที่อายุไมต่ํากวา 15 ป ที่เดินทางมาพักผอนบริเวณชายหาดชะอํา ในวันหยุดเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ โดยใชแบบสอบถามและการสัมภาษณ ที่มีลักษณะคําถามแบบเปดและแบบปด ซึ่งเลือกใชพื้นที่ตลอดความยาวของชายหาดชะอํา ความยาว 3 กิโลเมตร นอกจากนี้จากการวิเคราะหขอมูลตางๆ สามารถที่จะสรุปขอมูลการวิจัย ไดเปน 6 สวน คือ- ลักษณะสวนบุคคลของนักทองเที่ยวนักทองเที่ยวชะอํา มีเพศชายมากกวาเพศหญิง ถึงรอยละ 20 มีระดับอายุสวนใหญ 28 ปและมีถึงรอยละ 80 ทํางานแลว โดยประกอบอาชีพเปนพนักงานบริษัทเอกชนและนักธุรกิจมากที่สุด สวนอาชีพอื่นๆ ที่มีอตราสวนรอยละที่มากเชนกัน ก็ไดแก ขาราชการและรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนนักเรียนและนักศึกษานักทองเที่ยวเหลานี้มีรายไดตั้งแตระดับปานกลางจนถึงระดับสูง ซึ่งมีรายไดเฉลี่ยคิดเปน 7,580 บาทตอคนตอเดือน และพบวาการใชจายเพื่อการทองเที่ยวที่ชายหาดชะอํานี้มีมูลคาไมสูงมากนัก เฉลี่ยคนละ 275 บาทตอคนตอวัน เนื่องจากพบวานักทองเที่ยวเปนผูที่มีภูมิลําเนาอยูในแถบภาคกลางและกรุงเทพมหานครเปนสวนใหญ- รูปแบบการพักผอนและเลือกสถานที่นักทองเที่ยวรอยละ 60 เปนผูเดินทางแบบมาเชาเย็นกลับ หรือมาพักผอนคางไมเกิน 1 คืน และใชเวลาพักผอนอยูบนชายหาดคอนขางนาน เฉลี่ยประมาณ 4 ชั่วโมง ทั้งนี้นักทองเที่ยวไดเลือกสถานที่พักผอนที่มีสภาพแวดลอม ซึ่งใหความรมรื่นตามธรรมชาติมากกวาสภาพแวดลอมที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกและมีความพลุกพลาน และถาเปนไปไดนักทองเที่ยวตองการความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมระดับหาดอยูในระดับที่ดี- กิจกรรมการพักผอนกิจกรรมการพักผอนของนักทองเที่ยวชายหาดที่ชะอํา สวนใหญเปนกิจกรรมการพักผอนแบบสงบเนนความเปนสวนตัวสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งและนอนพักผอนบนชายหาด เปนกิจกรรมที่นิยมมาก สวนกิจกรรมที่สนุกสนานนั้น กิจกรรมเลนน้ําจะเปนที่นิยมมากที่สุด อยางไรก็ตาม ในแตละกลุมของนักทองเที่ยวพบวามีจํานวนคนโดยเฉลี่ย 5.15 คน ทั้งนี้การใชพื้นที่เพื่อกิจกรรมของนักทองเที่ยว จะมีรูปแบบเฉพาะตามลักษณะการวางเกาอี้ผาใบใหเชา หรือรานอาหารขนาดเล็กและที่พักอาศัยขนาดยอม โดยเฉลี่ยประมาณกลุมละ 3 เมตร829


- ระดับความหนาแนนตอพื้นที่ชายหาดชะอําจํานวนนักทองเที่ยวในวันหยุดเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษมีความแตกตางกันมาก แตโดยเฉลี่ยจะมีนักทองเที่ยววันละ 1,025 คน เฉลี่ยเปนความหนาแนนประมาณ 15.5 ตารางเมตรตอคน และมีความพึงพอใจที่จะใหจํานวนนักทองเที่ยวเพิ่มขึ้นอีก คิดเปนความหนาแนนตอพื้นที่ <strong>13</strong>.5 ตารางเมตรตอคน- ความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆ กับระดับความหนาแนนของพื้นที่จากการศึกษาวิจัย พบวา ปจจัยตงๆ ซึ่งประกอบดวยลักษณะสวนบุคคล รุปแบบการพักผอน การเลือกสถานที่ และกิจกรรมการพักผอน มีความสัมพันธตามตัวแปรตาม ดังนี้คือ รายได รายจาย การศึกษาภูมิลําเนา ลักษณะอาชีพ จํานวนวันพัก ระยะหางที่นักทองเที่ยวตองการ การเลือกสภาพแวดลอม และกิจกรรมการขี่จักรยาน กับรับประทานอาหาร โดยตัวแปรแตละตัวดังกลาวมีความสัมพันธกับระดับความหนาแนนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05- ความสามารถในการพยากรณระดับความหนาแนนของชายหาดจากการนําตัวแปรตางๆ ของนักทองเที่ยวมาพิจารณาพรอมกันทั้งหมด พบวาตัวแปรเกี่ยวกับจํานวนวันพัก ระยะหางที่นักทองเที่ยวตองการและคาใชจายในการพักผอนของนักทองเที่ยวมีอิทธิพลตอความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ในการกําหนดระดับความหนาแนนของชายหาดได ประมาณรอยละ 25โดยจะเริ่มมีอิทธิพลเมื่อระดับความหนาแนนเกิน 2.44 ตารางเมตรตอคน เปนตนไป ทั้งนี้ตัวแปรเกี่ยวกับจํานวนวันพัก เปนตัวแปรที่มีอิทธิพลมากที่สุด รองลงมาคือ ระยะหางที่นักทองเที่ยวตองการและคาใชจายในการเดินทางมาทองเที่ยว รวมทั้งใชชีวิตอยูขณะมาทองเที่ยวอีกดวย11. การสรางแบบจําลองเพื่อกําหนดขีดความสามารถทางสังคมจากผลการศึกษาระดับความหนาแนนที่นักทองเที่ยวพึงพอใจหรือระดับขีดความสามารถทางสังคมของชายหาดชะอํา ซึ่งพบวา ขีดความสามารถทางสังคมจะสามารถรองรับที่ 15.023 ตารางเมตรตอคนโดยขีดความสามารถในระดับตางๆ นั้น มีความแตกตางกันตามลักษณะของตัวแปรที่เกี่ยวของ คือลักษณะสวนบบุคลของนักทองเที่ยว รูปแบบการพักผอน ตลอดจนกิจกรรมการพักผอนของนักทองเที่ยว ที่มีการผนวกเขากับสมการตัวแปรตางๆ บนสมมติฐาน 4 ขอการสรางแบบจําลองในการประเมิน จะใชวิธีวิเคราะหสหสัมพันธถดถอยพหุ แบบขั้นตอน (StepwiseMultiple Regression Analysis) ซึ่งไดนําตัวแปรตามสมมติฐาน ขอที่ 1, 2 และ 3 มาเขาสมการ เพื่อใหมีการวิเคราะหตัวแปรอิสระเปนขั้นตอนทีละตัว โดยเริ่มจากตัวแปรอิสระที่สามารถอธิบายการผันแปรของตัวแปรตามไดมากที่สุด มาเปนสมการถดถอย สมการแรกกอน ตอไปก็นําตัวแปรที่มีความสําคัญรองลงมานํามารวมกับตัวแปรแรก จะทําใหสามารถอธิบายการผันแปรไดมากขึ้นตามลําดับ จนหมดตัวแปรที่สามารถอธิบายการผันแปรไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05- ตัวแปรในการวิเคราะหตัวแปรอิสระ ที่ใชในการวิเคราะห เปนตัวแปรชุดเดียวกับสมมติฐาน ขอที่ 1, 2 และ 3 โดยตัวแปรทุกตัวที่นํามาวิเคราะหอยูในรูปของตัวแปรชวง (Internal Scale) และตัวแปรหุน (Dummy Variable) ตามกฎการวิเคราะหถดถอยพหุ ตัวแปร กลาวคือ1. ลักษณะสวนบุคคลของนักทองเที่ยว เชน เพศ อายุ การศึกษา รายไดตอเดือน รายจายในการมาทองเที่ยว และภูมิลําเนาของนักทองเที่ยว2. รูปแบบการพักผอน ตัวแปรที่นํามาพิจารณาคือ ระยะเวลาการคางคืน ระยะเวลาในการพักผอนที่ชายหาด บริเวณที่เลือกพักผอน และความพึงพอใจในสภาพแวดลอม830


3. กิจกรรมการพักผอน กิจกรรมการพักผอนของนักทองเที่ยว มีหลายประเภท แตกิจกรรมที่เลือกมาเปนตัวแปรคือ กิจกรรมที่มีนักทองเที่ยวมากที่สุด ไดแก เลนน้ําทะเล เดินเลน นั่ง และนอนพักผอนที่ชายหาด และการขี่จักรยานตัวแปรตาม คือ ขีดความสามารถทางสังคม ซึ่งสามารถคิดเปรียบเทียบเปนพื้นที่เฉลี่ยตอคน (พื้นที่หนวย ตารางเมตรตอคน)- หลักการวิเคราะหและตีความหลักการวิเคราะห และตีความคาสถิติที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล ตามกฎการวิเคราะหสหสัมพันธถดถอยพหุ แบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ดังนี้1. นัยสําคัญ การวิเคราะหคํานวณ ทางสถิติของคาสัมประสิทธิ์ในสมการ (คา Factor F)โดยพิจารณาเฉพาะคาที่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 ตัวแปรใดที่ไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ถือวา มีคาสัมประสิทธิ์เปน 02. ความสัมพันธของตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม อธิบายไดดวยคา R กลาวคือ คา R ที่ใกล 1 มากจะมีความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรสูง ซึ่งความสัมพันธนี้ อธิบายไดดวยคา R 23. เปรียบเทียบ ตัวแปรอิสระที่มีผลตอแปรตามมากหรือนอยกวากัน โดยใชคา Beta4. See คือ คาความคลาดเคลื่อนจากการคาดคะเน- ผลการวิเคราะหผลการวิเคราะหในขั้นตอนที่ 1 พบวา ตัวแปรตัวแรกที่สามารถอธิบายการผันแปรของตัวแปรตาม ไดมากกวาตัวแปรอิสระตัวอื่นๆ คือ จํานวนวันพักของนักทองเที่ยว ความสัมพันธระหวางตัวแปรทั้งสองมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนี้ระดับความหนาแนนชายหาด = 6.83 + 6.47 วันพัก (1.44)(R = 0.26, R 2 = 0.07, SEE = 16.79, F = 20.16, SIG F = .0000)ผลการวิเคราะหในขั้นตอนที่ 2 พบวา เมื่อนําตัวแปรที่เปนระยะหางที่นักทองเที่ยวตองการ มารวมกับจํานวนพักแลว ตัวแปรทั้งสองสามารถอธิบายการผันแปรของระดับความหนาแนนไดเพิ่มขึ้น ดังนี้ระดับความหนาแนนชายหาด = 1.23 + 6.40 วันพัก (1.44) + 1.42 ระยะหาง (0.42)(R = 0.33, R 2 = 0.11, SEE = 16.48, F = 16.06, SIG F = .0009)ผลการวิเคราะหในขั้นตอนที่ 3 พบวา เมื่อนํารายจายในการทองเที่ยวรวมกับจํานวนวันพัก และระยะหางที่นักทองเที่ยวตองการ ตัวแปรทั้งสามสามารถอธิบายการผันแปรของระดับความหนาแนนไดมากขึ้นและเปนตัวแปรตัวสุดทายที่มีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนั้น สมการในขั้นตอนที่ 3 จึงเปนสมการสรุป สําหรับการพยากรณระดับความหนาแนนของชายหาดชะอํา ดังนี้ระดับความหนาแนนชายหาด = 2.44 + 7.34 วันพัก (1.48) + 1.36 ระยะหาง (0.42) - .01 คาใชจาย (.01)(R = 0.35, R 2 = 0.12, SEE = 16.39, F = 12.17, SIG F = .0463)โดยสรุป จากการวิเคราะหตัวแปรตางๆ เพื่อพยากรณระดับความหนาแนนของชายหาดตามขั้นตอนดังกลาว แสดงใหเห็นวาตัวแปร จํานวนวันพัก ระยะหางที่นักทองเที่ยวตองการและรายจายในการทองเที่ยวเปนปจจัยที่สามารถจะพยากรณระดับความหนาแนนของชายหาด ตามสมมติฐานขอที่ 4 ไดรอยละ 12 โดยที่จํานวนวันพักมีอิทธิพลมากที่สุด (Beta = 7.34), ระยะหางที่นักทองเที่ยวตองการ (Beta = 1.36)และสวนคาใชจายในการทองเที่ยว มีอิทธิพลนอยที่สุด (Beta = .01) และเปนอิทธิพลเชิงผกผัน กลาวคือระดับความหนาแนน หรือพื้นที่เฉลี่ยตอคน จะลดลงเมื่อคาใชจายการทองเที่ยวสูงขึ้น ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก831


คาใชจายสูงขึ้น เปนคาใชจายที่เกี่ยวกับสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ดังนั้น การที่นักทองเที่ยวใหความสําคัญกับสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ซึ่งมีสวนทําใหความตองการพื้นที่เพื่อการพักผอนหยอนใจลดลง อยางไรก็ตามสัมประสิทธิ์ของคาใชจายมีคาเพียง .01 ดังนั้น ผลลัพธที่ไดจะมีความสําคัญนอย เมื่อเปรียบเทียบกับตัวแปรจํานวนวันพัก หรือระยะหางจากกลุมขางเคียงที่นักทองเที่ยวตองการ12. ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาวิจัยครั้งตอไปจากการศึกษาวิจัย พบวา ชายหาดชะอํา ยังมีปญหาและสิ่งที่ควรปรับปรุง โดยเฉพาะอยางยื่งทางกายภาพ การปรับปรุงทางกายภาพ จะมีผลตอการจัดระดับความหนาแนนที่เหมาะสมดวย นอกจากนี้ การพัฒนาดานตลาดการทองเที่ยวสามารถใชผลการวิจัยเปนแนวทางไดดวย จึงเสนอแนะการศึกษาวิจัยครั้งนี้- การปรับปรุงทางกายภาพเนื่องจากการพักผอนบริเวณชายหาดชะอํา เปนที่นิยมของนักทองเที่ยวประเภทไปเชาเย็นกลับ หรืออาจจะมีการพักคางคืนไมเกิน 1 คืน และมีกิจกรรมการพักผอนแบบสงบ เนนความเปนสวนตัว ผสมกับกิจกรรมการพักผอนแบบสนุกสนาน อีกทั้งนักทองเที่ยวมีความพึงพอใจที่จะใหจํานวนนักทองเที่ยวเพิ่มขึ้นไดอีกเปน<strong>13</strong>.5 ตารางเมตรตอคน ดังนั้น เทศบาลตําบลชะอํา จึงควรจะมีการปรับปรุงในดานกายภาพ ดังนี้1. การจัดพื้นที่ทองเที่ยวชายหาดชะอํา เปนหาดที่เขาถึงไดอยางสะดวก มีชายหาดที่ยาว และน้ําทะเลยังคงมีความใสอยู พรอมทั้งมีสิ่งอํานวยความสะดวกบริการนักทองเที่ยวมีมาก สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ดึงดูดใจที่สําคัญของชายหาด เพราะนักทองเที่ยวสวนใหญจะมีกิจกรรมเดินเลน อาบน้ําทะเล นั ่ง นอนพักผอน และรับประทานอาหารทะเลตลอดจนขี่จักรยาน ดังนั้น จึงควรที่จะแบงแยกการบริการสิ่งอํานวยความสะดวกใหมีความเหมาะสมกับกิจกรรมของนักทองเที่ยว กลาวคือ ชวงกลางชายหาด หรือระหวางเขตที่ 3 และ 4 ประมาณความยาว 1.5 กิโลเมตรพื้นที่วิจัยซึ่งมีกลุมรานคา ผูประกอบการอยางหนาแนน ควรเปนเขตที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกอยางเต็มที่ตลอดจนเปนเขตที่มีอุปกรณกีฬาทั้งทางบกและทางน้ํา เพื่อบริการนักทองเที่ยวที่มีกิจกรรมแบบสนุกสนานโดยเฉพาะ สวนเขตที่อยูดานริมของชายหาดทั้งสองขางรวมความยาว 4.5 กิโลเมตร ควรจัดใหเปนเขตพักผอนแบบสงบ โดยมีสิ่งอํานวยความสะดวกเทาที่จําเปน เชน เกาอี้ผาใบ รมผาใบ เปนสวนนอย เพื่อเปดโอกาสใหนักทองเที่ยว มีพื้นที่พักผอนเปนบริเวณกวาง หรือสามารถที่จะนําอุปกรณในการพักผอนมาเอง โดยที่ไมตองเชา หรือถาเปนลักษณะที่เจาของผูประกอบการจะจัดบริการให ก็จะชวยเพิ่มระยะเวลาการคางคืนบริเวณชายหาด เพิ่มมากขึ้น ซึ่งโดยตลอดความยาวของชายหาด จะตองมีการจัดระเบียบที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับความหนาแนนของนักทองเที่ยว2. การปรับปรุงพื้นที่จอดรถนักทองเที่ยวสวนใหญจะเดินทางมาเปนกลุมและนําพาหนะมาเอง นิยมจอดรถริมถนน หรือถาใครพักคางคืน ก็จะฝากรถไวที่โรงแรมและมีการเชาจักรยาน มาใชในการเดินทางบริเวณเขตชายหาด โดยสวนใหญจะนิยมจอดรถริมถนนรวมจิตตดานที่ติดชายหาด ทําใหเกิดความไมเปนระเบียบและลดความกวางของชายหาดลงอีกดวย การปรับปรุงอาจจะทําไดโดยใหรถผานเขาหรืออก ถนนรวมจิตตเพียงอยางเดียวและจัดพื้นที่จอดรถที่เหมาะสมไวเปนระยะๆ ไมใหจอดตามความสะดวกอยางเชนในปจจุบัน3. การรักษาความสะอาดบริเวณชายหาดผูบริหารสวนทองถิ่น ควรจะมีการจัดตําแหนงถังขยะ หรือระยะเวลาในการจัดเก็บสิ่งปฏิกูลที่สอดคลองกับปริมาณของขยะ เพื่อรองรับเปนจุดๆ โดยเฉพาะจุดที่มีนักทองเที่ยวหนาแนน รวมทั้งปายประชาสัมพันธและ832


ประกาศขอความรวมมือในการรักษาความสะอาดบริเวณพื้นที่ชายหาด ในลักษณะการสรางจิตสํานึกในการอนุรักษสถานที่ทองเที่ยว รวมทั้งการรณรงคกับผูกอบการทั้งรายยอยและขนาดกลางที่อยูริมถนนรวมจิตตดวย4. การรักษาความปลอดภัยพื้นที่ทองเที่ยวการสรางความรูสึกปลอดภัยใหกับนักทองเที่ยว เปนสิ่งที่มีความจําเปนตอการสรางความเชื่อมั่นใหมีการเดินทางมาสูบริเวณนี้อยางมาก ดังนั้นการจัดระบบตรวจตราความปลอดภัยตางๆ อาจจะตองมีการประสานงานรวมมือกับองคกรทองถิ่นที่เกี่ยวของ ทั้งทางเทศบาลตําบลชะอําและทางสถานีตํารวจ รวมทั้งอาจจะมีการนําเทคโนโลยีตางๆ มาชวยในการดําเนินงานอีกดวย เชน การติดตั้งกลองวงจรปด บริเวณพื้นที่มุมอับหรือบริเวณพื้นที่ที่มีนักทองเที่ยวหนาแนน หรือการจัดหาอาสาสมัครประจําทองถิ่น มาชวยในการดูแล และที่สําคัญคือการสรางจิตตสํานึกการเอื้ออาทรกับนักทองเที่ยวตางถิ่น ที่ควรจะไดรับจากเจาของสถานที่5. การจัดลักษณะพื้นที่กิจกรรมจะเปนลักษณะของเชิงการวางกรอบขอกฎหมายหรือนโยบายการจํากัดลักษณะของการใชประโยชนที่ดิน หรือลักษณะสิ่งกอสรางอาคาร ใหมีการขยายตัวอยางเปนระบบระเบียบเรียบรอย เพื่อปองกันทัศนียภาพอุดจาดในเขตพื้นที่การทองเที่ยว รวมทั้งอาจจะเปนการปองกันที่ตนเหตุของเหตุที่ไมพึงประสงคในอนาคต เชนอัคคีภัย รวมทั้งอาจจะเปนการจัดระบบกลุมจองผูประกอบการใหเปนหมวดหมู ซึ่งก็จะเปนการงายในการบริหารจัดการพื้นที่ และสรางเอกลักษณะของพื้นที่ไดโดยงาย- การสงเสริมการตลาดเพื่อใหคงความเหมาะสมของบริเวณชายหาด ดังนั้น ในการสงเสริมการตลาดและการแนะนําผูประกอบการควรจะพิจารณาถึง ลักษณะของนักทองเที่ยว ประกอบกับชวงฤดูการทองเที่ยวดวย โดยในชวงระยะหยุดยาว สงเสริมหรือประชาสัมพันธใหมีนักทองเที่ยวมากขึ้น แตในชวงนอกฤดูการทองเที่ยว เชน วันธรรมดา หรือวันหยุดปกติ ควรเนนกลุมนักทองเที่ยวที่ตองการพื้นที่พักผอนและความสงบ เปนสวนตัวสูง เชนผูที่มีรายไดสูง มีอายุ และสามารถพักผอนคางไดระยะเวลายาวนานขึ้น เปนตน อีกทั้งมีการจัดกิจกรรมเฉพาะหรือใหความสะดวกแกนักเรียน นักศึกษา ในกรณีที่เดินทางมาเปนกลุม จะชวยทําใหมีการกระจายตัวของนักทองเที่ยวมากยิ่งขึ้นจากผลการศึกษาวิจัย และขอเสนอแนะที่กลาวมาแลวนั้น ซึ่งไดพบวา ความสัมพันธระหวางตัวแปรสวนบุคคลของนักทองเที่ยว รูปแบบการพักผอน และกิจกรรมการพักผอน ที่มีความสัมพันธกับระดับความหนาแนนของบริเวณชายหาดชะอําอยางมีนัยทางสถิตินั้น แตการศึกษาครั้งนี้มีลักษณะเฉพาะของหาด ทําใหนักทองเที่ยวมีกิจกรรมที่คลายคลึงกัน ดังนั้น ควรใหหนวยงาน หรือผูที่สนใจดานการทองเที่ยว ไดดําเนินการศึกษาวิจัยในลักษณะเดียวกัน คือ1. ทําการศึกษาวิจัยบริเวณพื้นที่ชายหาดชะอําที่ตอเนื่องตลอดป2. ทําการศึกษาวิจัยในลักษณะเดียวกัน เชิงเปรียบเทียบระหวางแหลงทองเที่ยวประเภทเดียวกัน3. ควรเปนลักษณะการศึกษาวิจัยในลักษณะนี้ กับแหลงทองเที่ยวที่สงบ และมีความเปนธรรมชาติโดยอาจจะเนนลงลึกในรายละเอียดมากขึ้น4. ทําการศึกษาวิจัย ระดับความหนาแนนที่ผูประกอบการและคนในทองถิ่นพึงพอใจในการประกอบธุรกิจ ที่อาจจะเนนภาคอสังหาริมทรัพย หรือภาคการคาการขาย ในโอกาสตอไปกิตติกรรมประกาศผูวิจัยขอขอบพระคุณ ดร.จิตตนัย ไพรสณฑ หัวหนาภาควิชาการบริหารทรัพยสิน คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย และอาจารย กีรติ ศตะสุข ประธานสาขานวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย คณะ833


สถาปตยกรรมศาตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และผูที่เกี่ยวของทุกๆ ฝาย กับขอมูลทั้งเชิงกายภาพและเชิงบริหารจัดการ เพื่อใชสําหรับความรู การวิเคราะห และประมวลผล จนไดขอสรุปในการศึกษาทายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณวรนารถ หลอวานิชรัตน ผูซึ่งเปนกําลังใจและใหความชวยเหลือในทุกๆ ดานอยางเสมอมาโดยตลอดระยะเวลาในการศึกษาวิจัย จนทําใหขาพเจาประสบความสําเร็จในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดอยางลุลวงและเปนผลสําเร็จไดดวยดีรายการอางอิงภาษาไทยเอื้อมพร วีสมหมาย. เกณฑการบริหารจัดการพื้นที่สวนสาธารณะและที่พักผอนหยอนใจ. วิทยานิพนธปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2539.กฤษณา ปานสุนทร. การมีสวนรวมของเจาของหองชุดในการบริหารทรัพยสวนกลางของอาคารชุดพักอาศัยระดับราคาปานกลาง. วิทยานิพนธปริญญาเคหพัฒนศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคหการจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.กอบกุล วิวิธมงคลไชย. แนวทางการลดผลกระทบตอการพัฒนาโครงการงานกอสราง สวนชวงเตรียมงานกอสราง (Pre-construction). วิทยานิพนธปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและวางแผน (พฤติกรรมมนุษยกับสภาพแวดลอม).พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 5. จํานวน 2,000 เลม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.เฉลิม สุจริต. รูปแบบการพัฒนาโครงการสถาปตยกรรม. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. จํานวน 1,000 เลม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.โยธิน ศันสนะยุทธ และ จุมพล พูลภัทรชีวิน. จิตวิทยาสังคมและสิ่งแวดลอม. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. จํานวน 1,000เลม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.ผุสดี ทิพทัส. สถาปนิกสยาม: พื้นฐาน บทบาท ผลงาน และแนวคิด (พ.ศ.2475-2537). พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 1. จํานวน1,000 เลม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.ภราเดช พยัฆวิเขียร. เกณฑการวางแผนพัฒนาโครงการดานสิ่งแวดลอม. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 10. จํานวน 1,000 เลม.กรุงเทพฯ: โรงพิมพเมฆาเพรส, 2542.ศรินทรา เตชะวีรยุทธ. แนวทางและองคระกอบการวางสวนสาธรณะและสถานที่พักผอนหยอนใจ. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>2. จํานวน 1,000 เลม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544.ชุมพล งามผองใส. รูปแบบการสรางความสัมพันธของการวางแผนสภาพแวดลอมในเขตเมือง. พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 2.จํานวน 1,000 เลม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.ภราเดช พยัฆวิเชียร. จิตวิทยาสังคมรวมสมัย. วารสารการทองเที่ยวไทย. ฉบับที่ 12/2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพประเสริฐสุขการพิมพ, 2545.ศรีเรือน แกวกังวาล, จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกวัย : Lifespan Human Development. (พิมพ<strong>ครั้งที่</strong> 6),กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรกฎาคม 2546.เลอสม สถาปตานนท, “แนวความคิดทางดานสถาปตยกรรม”, ใน แนวความคิดในการออกแบบสถาปตยกรรม.กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546. หนา 47-49.จิราภา เต็งไตรรัตน และคณะ, จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547ใสุรศักดิ์ นานานุกุล, การวางแผนโครงการและศึกษาความเปนไปได Project Planning and Feasibility Study.กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.834


ชุมพล งามผองใส, เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง สมรรถนะการยอมใหมีไดสูงสุดในระบบสิ่งแวดลอม,กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549.ชุมพล งามผองใส, เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง วิทยาศาสตรและการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม,กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549.ภาษาอังกฤษA.M O’Reilly,. Tourist Charring Capacity Concept and Issues. New York: F.A. Praeger, 1964.D.G. Pearce and R.M. Kirk. Charring Capacities for Coastal Tourism. London: The Industry andEnvironment Press, 1968.Robert C. Kyle and Floyd M. Baird. Property Management. New York: McGraw – Hill, 1978Lynch, Kevin, Site Planning. Cambridge, Massachusetts: M.I.T. Press, 1980.Snyder, James C., Introduction of Architecture & Environment. New York: McGraw-Hill, 1980.Abbott, Derek and Pollit, Kimball. Hill Housing. New York: Witney Library of Design, 1981.Heberlein, T.A. Density, Crowding and Sisfaction: Sociological Studies for Determining CarryingCapacities in Research. New York: Witney Library of Design, 1983.Assael, Henry. Marketing Principles & Strategy. The United State of America: The Dryden Press,1990.World Tourist Organization. Tourist Carrying Capacity: Industry and Environment. New Jersey: JohnWitney Library of Design, 1998.Fred Lawson, Manual Bared-Bovy. Tourisms & Recreation Development: A Handbook of HysicalEnvironment. Singapore: McGraw-Hill Press, 2000.Berges, Steve. The Complete Guide to Real Estate Finance for Investment Properties. New Jersey:John Wiley & Sons,Ince., Press, 2004.DeChiara, Joseph and others. Time-Saver Standards for Building Types 3rd Edition. Singapore:McGraw-Hill Press, 2004.DeChiara, Joseph and others. Time-Saver Standards for Interior Design and Space Planning SecondEdition. New York: McGraw-Hill Press, 2005.Neufert, Peter and Ernst. Neufert Architect’s Data Third Edition. Great Britain: The Alden Group Ltd,Oxfort and Northampton Press, 2005.835


พื้นที่ซอนเรน กับแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเมืองบริเวณยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิHidden Space and Guidelines for Urban Landscape Improvementaround Victory Monument Districtปาณิทัต รัตนวิจิตร 1บทคัดยอปจจุบัน กรุงเทพมหานครประสบปญหาการขาดแคลนพื้นที่วางสาธารณะเพื่อนันทนาการและความรื่นรมยบทความนี้จึงมุงเนนแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเมืองจากพื้นที่ซอนเรน ซึ่งเปนประเภทพื้นที่วางที่มีอยูแตขาดการตระหนักถึงและมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหแกเมือง โดยใชยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิเปนพื้นที่ศึกษาผานการเรียนการสอนในวิชาการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม โดยนิสิตไดเสนอโครงการเพื่อการพัฒนาภูมิทัศนเมืองจากพื้นที่ซอนเรน ไดแก โครงการปรับปรุงภูมิทัศนใตทางดวนใหเปนพื้นที่ทางเดินเทาและพื้นที่บริการ ศูนยเชื่อมตอการคมนาคมคนเมืองที่พัฒนาจากพื้นที่บานเสื่อมโทรมในซอยรางน้ํา โครงการพัฒนาพื้นที่วางบนบาทวิถีและเกาะกลางรอรถโดยสารสําหรับกิจกรรมพิเศษ โครงการลานกีฬาวันหยุดจากการพัฒนาพื้นที่จอดรถในโรงพยาบาลและพัฒนาพื้นที่นันทนาการ โครงการพาณิชยกรรมแนวตั้งที่เชื่อมโยงโครงขายพาณิชยกรรมเดิมผสานกับพื้นที่พาณิชยกรรมใหมที่อยูเหนือพื้นดิน และโครงการจัดระเบียบพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมเพื่อใหเกิดศักยภาพในการใชพื้นที่สูงสุด ทั้งนี้ รูปแบบพื้นที่ซอนเรนที่พบในยานอนุสาวรียชัยฯ มีทั้งการพัฒนาจากพื้นที่ที่เปนเศษเหลือ ไดแก พื้นที่เสื่อมโทรม พื้นที่ใตทางดวน และพื้นที่ริมคลอง การพัฒนาพื้นที่ที่สามารถใชงานสําหรับกิจกรรมสองลักษณะจากพื้นที่วางในหนวยงานราชการที่มีหลายแหงในพื้นที่ พื้นที่ซอนเรนอันเกิดจากการพัฒนาพื้นที่ที่ไมปรากฏชัดเจน โดยการคํานึงถึงพื้นที่บาทวิถี พื้นที่ดานขางสะพานลอยและโครงสรางของรถไฟลอยฟารวมถึงการจัดระเบียบพื้นที่ใหมีขอบเขตที่ชัดเจนและยังเกิดการใชงานสําหรับกิจกรรมสองลักษณะในขณะเดียวกัน โดยสรุป แมยานอนุสาวรียชัยฯ จะมีความหนาแนนของการใชงานบนพื้นที่สูง แตยังสามารถพบพื้นที่ซอนเรนไดทั้ง 3 รูปแบบที่มีศักยภาพในการพัฒนาภูมิทัศนเมือง โดยคํานึงถึงการเชื่อมโยงโครงการกับบริบทของเมือง และถึงแมโครงการที่นําเสนอสวนใหญจะมีสวนประกอบโครงการที่เนนพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมตามมูลคาทางเศรษฐศาสตร แตก็ไดคํานึงถึงกลยุทธในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และพื้นที่สําหรับกิจกรรมนันทนาการ ทั้งดานการออกกําลัง ดานสังคม และดานความสงบจิตใจ โดยโครงการที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาพื้นที่ซอนเรนเหลานี้เปนแนวทางที่นาสนใจในการพัฒนาภูมิทัศนเมืองในกรุงเทพมหานครตอไปคําสําคัญ: พื้นที่ซอนเรน ภูมิทัศนเมือง อนุสาวรียชัยสมรภูมิ1 อาจารย สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจบการศึกษา ระดับปริญญาตรี ภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยระดับปริญญาโท Master of Science (M.Sc. in Urban design) University College London (UCL),University of London836


บทนําเมื่อจํานวนประชากรในเมืองเพิ่มสูงขึ้น ทําใหการขยายตัวของสิ่งกอสรางเพื่อรองรับความตองการของการใชงานยอมมากขึ้นตามไปดวย สงผลใหพื้นที่วางในเมืองลดลง โดยเฉพาะพื้นที่วางสาธารณะ จึงเปนเหตุใหผูคนในเมืองมักจะประสบกับปญหาของการขาดแคลนพื้นที่พักผอนหยอนใจ จึงเกิดแนวคิดของการพัฒนาพื้นที่ที่ไมไดพิจารณาเพียงแตพื้นที่วางขนาดใหญสําหรับพักผอน มีตนไมและบอน้ําเทานั้น แตสามารถพิจารณาถึงพื้นที่วางซึ่งอาจจะมีขนาดเล็ก หรือเปนรูปรางแนวยาว หรือเปนพื้นที่ที่ไมไดถูกใชงานอยางเต็มประสิทธิภาพ เชน พื้นที่ที่ถูกปลอยทิ้งราง พื้นที่ใตทางดวน พื้นที่ที่เปนเศษเหลือจากการวางอาคาร พื้นที่ริมน้ําที่มีการเขาถึงยาก เปนตนโดยในบทความนี้ขอเรียกพื้นที่เหลานี้วา “พื้นที่ที่ซอนเรน” ซึ่งตามจริงแลวพื้นที่ประเภทนี้เปนพื้นที่ที่มีอยูแลวในเมือง แตขาดการตระหนักถึง และมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองจากความมุงหมายหลักที่มุงเนนการพัฒนาภูมิทัศนเมืองจากพื้นที่ซอนเรนในยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ จึงนําไปสูคําถามที่วา รูปแบบพื้นที่ซอนเรนในพื้นที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิที่นํามาพัฒนาไดนั้น มีลักษณะอยางไรบาง และมีแนวทางอยางไรที่นําไปสูการพัฒนาภูมิทัศนเมืองจากพื้นที่ซอนเรนนั้น โดยเริ่มตนจากกรณีศึกษาของการพัฒนาพื้นที่ซอนเรนที่ประสบความสําเร็จ ไดแก การฟนฟูพื้นที่สูญเปลา (Trancik, 1986) ซึ่งเปนตัวอยางของการพัฒนาพื้นที่วางในเมืองที่มีรูปรางพื้นที่ไมชัดเจน ใหเกิดขอบเขตที่ชัดเจนและมีการใชงานอยางเหมาะสม ดวยทฤษฏีภาพและพื้นภาพ และเปนตัวอยางของการพัฒนาพื้นที่ที่เปนเศษเหลือ โดยใชทฤษฎีการเชื่อมโยงเพื่อใหพื้นที่มีความสัมพันธกับบริบทโดยรอบและนําเสนอผานทฤษฎีการสรางสถานที่ กรณีศึกษาการออกแบบลานในเมือง (Cerver, 1997) ที่แสดงตัวอยางโครงการสงเสริมใหเกิดการใชงาน กรณีศึกษาการพัฒนาพื้นที่ใตรถไฟฟาของนครชิคาโก (Su, 2004) ดวยแนวความคิดวาพื้นที่วางสาธารณะทุกตารางนิ้วควรมีการใชใหเกิดประโยชนและคํานึงถึงลักษณะการใชงานที่เกิดขึ้นทั้งในรูปแบบสวนตัวและสาธารณะ กรณีศึกษาการพัฒนาพื้นที่วางในเมืองซีแอทเทิล (Winterbottom, 1999) ซึ่งชาวเมืองประสบปญหาเรื่องการเพิ่มพื้นที่เปดโลงเชนกัน ทั้งนี้ จากกรณีศึกษาสามารถแบงรูปแบบของพื้นที่หลบซอน ออกเปน 3 รูปแบบ ไดแก พื้นที่เศษเหลือ พื้นที่วางที่ตอบสนองกิจกรรมสองลักษณะ และพื้นที่ที่ไมปรากฏชัดเจน• พื้นที่เศษเหลือ (Leftover space) เปนพื้นที่ถูกทิ้งรางและไมสัมพันธกับพื้นที่ที่อยูโดยรอบ หรือเปนพื้นที่ที่เหลือหลังจากการสรางสิ่งกอสรางที่อยูโดยรอบ โดยรูปรางพื้นที่อาจจะมีรูปรางแปลก อาจอยูใกลกับทางแยก เปนพื้นที่ที่เกิดจากระยะถอยรน เปนพื้นที่ใตทางดวน ใตรถไฟลอยฟา เปนพื้นที่เกาะกลางถนน หรือวงเวียน เปนตน ตัวอยางของการพัฒนาพื้นที่เศษเหลือเชน โครงการโอเวอรทาวน พีเดสเทรียน มอลล ในไมอามี (Cerver, 1997) เปนการพัฒนาพื้นที่ใตทางดวน ซึ่งเปนพื้นที่รกรางจากเมืองทั้งสองฟากของทางดวนที่ถูกตัดขาดออกจากกัน เกิดการเชื่อมตอกันดวยการพัฒนาพื้นที่ใตทางดวนเปนทางเดินเทาที่สวยงาม มีพื้นที่ที่นั่งพักผอน และสนามเด็กเลนในบริเวณ• พื้นที่วางที่ตอบสนองกิจกรรมสองลักษณะ (Dual-use space) เปนพื้นที่ที่มีการใชงานรูปแบบหนึ่งในชวงเวลาหนึ่ง และสามารถใชงานอีกรูปแบบในอีกชวงเวลา เชน พื้นที่จอดรถในยานฟรีมอนตของเมืองซีแอทเทิลที่กลายเปนตลาดนัดในวันสุดสัปดาห (Winterbottom, 1999)837


• พื้นที่ที่ไมปรากฏชัดเจน (Non-space) คือ พื้นที่ที่ไมปรากฏขอบเขตของพื้นที่ไดชัดเจน ไดแก พื้นที่ที่อยูใกลกับแนวการเคลื่อนที่รวมถึงเกาะกลางและพื้นที่ริมถนน (Right-of-way) เชน พื้นที่ขางทางที่มีแนวตนไมขึ้นรก หากเปนพื้นที่ทางเทาที่มีการทําวัสดุปุพื้นไวแลว สามารถออกแบบใหเกิดการใชงานอื่นเพิ่มเชน ทางจักรยาน และออกแบบพืชพรรณเพื่อสรางรมเงา (Winterbottom, 1999) ลักษณะพื้นที่ที่ไมปรากฏชัดเจนอีกลักษณะ คือ พื้นที่ซึ่งมีลักษณะของภาพและพื้นภาพไมสอดประสานกัน ไมสามารถบงบอกขอบเขตพื้นที่ไดชัดเจนและเกิดความสับสนในการใชงาน โดยพื้นที่เหลานี้สามารถออกแบบใหเกิดการใชงานและสรางความสวยงามใหแกเมืองได เชน โครงการดรอททิงทอรเกท (Trancik, 1986) ที่อาคารโดยรอบไมสรางใหเกิดการปดลอมที่ชัดเจน เมื่อทําการพัฒนา ไดพิจารณาถึงแนวแกนของเมืองใชตนไมและอาคารเปนกรอบบงบอกถึงขอบเขตพื้นที่สําหรับการจัดกิจกรรมและพักผอนจากกรณีศึกษาของ Winterbottom พบวา ในเมืองซีแอทเทิลมีพื้นที่ประมาณ 5 % ทั้งที่เปนของรัฐบาลและเอกชน ที่สามารถพิจารณาใหเปนพื้นที่ซอนเรนได นอกจากนี้ ในแตละกรณีศึกษายังพบวาลักษณะของการพัฒนาพื้นที่และกิจกรรมที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ มีลักษณะแตกตางกันตามแตละวิถีชีวิต วัฒนธรรม ซึ่งแมจะเปนพื้นที่ในลักษณะเดียวกันในทางกายภาพ ก็มีแนวทางในการพัฒนาโครงการแตกตางกันสําหรับกรุงเทพมหานครมีความเปนเมืองเอกนคร ที่มีลักษณะความเปนเมืองใหญล้ําหนาเมืองอื่นๆ เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจและการคมนาคมของประเทศ (กาญจนา, 2550) หากพิจารณายานที่เหมาะสมจะนํามาเปนกรณีศึกษาเรื่องพื้นที่หลบซอน โดยพิจารณาตามศักยภาพของการพัฒนาตามทฤษฎีที่เกี่ยวของ พบวา ยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ ยังมีรูปแบบของภาพและพื้นภาพที่ไมชัดเจนนักและมีศักยภาพในการพัฒนาได อีกทั้งมีการใชที่ดินแบบผสมผสาน ทั้งพื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่พักอาศัย พื้นที่ราชการ และเปนจุดเปลี่ยนถายการคมนาคมที่สําคัญของกรุงเทพฯ โดย วรันธร (2545) พบวา อนุสาวรียชัยฯ เกิดปญหาในดานการใชที่ดินที่ไมคุมคา สภาพอาคารเสื่อมโทรม ขาดความตอเนื่องของระบบทางเดิน และปญหาทางภูมิทัศนและสภาพแวดลอมทั้งนี้ หากพิจารณาสวนสาธารณะในละแวกยาน พบวา มีเพียงแหงเดียวในระยะรัศมี 1 กิโลเมตร จากจุดศูนยกลางอนุสาวรียชัยฯ การคนหาพื้นที่ซอนเรนในยานนี้ จึงเปนสิ่งที่นาทาทายและเปนประโยชนตอประชากรในพื้นที่วิธีการการนํามาซึ่งวิธีการคนหาพื้นที่ซอนเรนของยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ ไดใชวิธีการเรียนการสอนผานวิชาการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม 4 สําหรับนิสิตชั้นปที่ 4 สาขาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยมีวัตถุประสงคของการเรียนการสอนที่มุงเนนดานการออกแบบชุมชนเมืองและภูมิทัศนเมือง ซึ่งนิสิตไดฟงการบรรยายเรื่องแนวคิดของการพัฒนาพื้นที่ซอนเรน รวมถึงหลักการของการฟนฟูพื้นที่ รูปแบบของพื้นที่ซอนเรน และกรณีศึกษา โดยมอบหมายใหนิสิตใชยานอนุสาวรียชัยฯ เปนพื้นที่ศึกษารูปแบบของพื้นที่ซอนเรนและแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเมือง838


กอนที่นิสิตจะทําการวิเคราะหถึงพื้นที่ซอนเรนบนยานอนุสาวรียฯ นิสิตไดผานกระบวนการเรียนรูดานการออกแบบชุมชนเมือง โดยเริ่มตนจากการเรียนรูเรื่องวิธีการหาตัวตนของพื้นที่ และทฤษฎีการสรางสถานที่ โดยนิสิตแตละกลุมไดศึกษาเอกลักษณของยานที่ไดรับมอบหมาย ผานการทําแบบฝกหัดชิ้นแรก คือ มัลติมีเดีย ซึ่งนิสิตไดเลือกวิธีในการนําเสนอเมืองผานสื่อตางๆ เชน เกม ศิลปะจัดวาง ภาพยนตรสั้น หนังสือ เปนตน โดยสื่อที่นิสิตเลือกไดสะทอนตัวตนของแตละพื้นที่ไดอยางเหมาะสม จากนั้นแบบฝกหัดชิ้นที่ 2 นิสิตไดเรียนรูทฤษฎีภาพและพื้นภาพ รวมถึงวิธีการเก็บขอมูลพื้นที่ทั้งมิติดานกายภาพ มิติดานสังคมวัฒนธรรม และมิติดานความงามผานเทคนิคการบันทึกขอมูลลงบนแผนที่ แบบฝกหัดถัดมา คือ แบบฝกหัดที่ 3 นิสิตสามารถสังเคราะหขอมูลเพื่อนําไปสูการพัฒนาเปนโครงการ และสวนประกอบโครงการได โดยกําหนดใหนิสิตเลือกพื้นที่ซอนเรนบนยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ เปนพื้นที่ศึกษา โดยนําหลักการเรื่องการหาตัวตนของพื้นที่ และการเก็บขอมูลซึ่งนิสิตไดฝกฝนในยานตางๆ นํามาใชในการวิเคราะหยานอนุสาวรียชัยฯ และเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่ตอไป และสุดทาย คือแบบฝกหัดที่ 4 เปนการออกแบบพื้นที่ภูมิทัศนเมือง โดยใหนิสิตในแตละกลุมแยกไปทําการคนหาพื้นที่ซอนเรนในแตละยานที่ไดรับมอบหมายในตอนแรก และนําขอมูลจากการวิเคราะหในแบบฝกหัดที่ 2 มาเสนอโครงการ และทําการออกแบบพื้นที่ดังนั้น ขอมูลที่เกี่ยวของกับบทความนี้ จึงเปนขอมูลจากแบบฝกหัดที่ 3 ซึ่งเปนการสรางโปรแกรมผานการวิเคราะหรูปแบบพื้นที่ซอนเรนบนยานอนุสาวรียฯ ซึ่งจากกระบวนการในการเรียนการสอน ไดพบวาวิธีการที่นิสิตเลือกไมไดเกิดจากการที่นิสิตมองหาแตเพียงพื้นที่วางหรือพื้นที่ที่ขาดการใชงานเทานั้น แตเกิดจากการศึกษาเรื่องการสรางสถานที่ การวิเคราะหตัวตนของอนุสาวรียในมุมมองที่แตกตางกัน การมองภาพและพื้นภาพของยาน และวิเคราะหบริบท เพื่อนํามาซึ่งการคนหาพื้นที่วางที่เหมาะสมในยานอนุสาวรียชัยฯ ตอไปผลจากการแบงนิสิตออกเปนกลุม นิสิตไดทําการเปรียบเทียบเอกลักษณของยานที่นิสิตไดรับมอบหมายกับยานอนุสาวรียชัยฯ และคนหาพื้นที่ซอนเรนตอไป โดยพบวามีแนวทางในการคนหาพื้นที่ซอนเรน และการพัฒนาโครงการสําหรับพื้นที่ซอนเรนที่แตกตางกันออกไป ดังนี้กลุมที่ 1 พื้นที่ศึกษา คือ พื้นที่เจริญกรุง เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อนุสาวรียชัยฯ พบวา ยานเจริญกรุงมีกิจกรรมการใชงานในแตละพื้นที่ที่แตกตางกัน อันเนื่องจากเปนพื้นที่ที่มีคนตางวัฒนธรรมมารวมกันอยูในพื้นที่ ทําใหเกิดรูปแบบการใชพื้นที่เกิดจากกิจกรรมของคนตางวัฒนธรรม แตพื้นที่อนุสาวรียชัยฯ มีประเภทกิจกรรมที่แตกตางอันเกิดจากวัยและอาชีพของคน นิสิตจึงพิจารณาพื้นที่ที่จะสามารถรวมกิจกรรมของคนแตละวัยแตละอาชีพไดโดยเลือกพื้นที่ใตทางดวนฝงดานถนนพหลโยธินที่เปนเสนทางลัดไปสูดินแดง โดยมีชื่อโครงการ คือ โครงการปรับปรุงภูมิทัศนพื้นที่ใตทางดวนยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาพื้นที่ทิ้งรางใหเกิดประโยชนและมีคุณคา และลดความแออัดของผูคนบริเวณริมถนนรอบอนุสาวรีย สวนประกอบโครงการประกอบดวย สวนการคา ที่จอดรถ จุดใหบริการรถตูโดยสารสาธารณะ จุดบริการขอมูล ลานกิจกรรม และสวนไมหอม และสวนบํารุงรักษา839


กลุมที่ 2 พื้นที่ที่ไดรับมอบหมาย คือ ยานปากคลองตลาด ลักษณะเดนที่นิสิตไดเรียนรู คือ รูปแบบการคาขายกับการคมนาคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบการคาขาย เมื่อนิสิตนําประเด็นศึกษา มาเปรียบเทียบกับยานอนุสาวรียชัยฯ พบวามีจุดเดนคือเรื่องของการคมนาคม มากกวาประเด็นเรื่องการคาขาย ซึ่งยานอนุสาวรียชัยฯถือวาเปนชุมทางของการคมนาคมและจุดเปลี่ยนถายที่สําคัญ มีทางพิเศษ และรถไฟลอยฟาผานในพื้นที่ มีรถประจําทางและรถตูโดยสารสาธารณะซึ่งมีจํานวนเสนทางมากที่สุดผานในยาน และในอนาคตจะมีโครงการระบบขนสงทางรถไฟเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการที่นิสิตกําหนด คือ ศูนยเชื่อมตอการคมนาคมคนเมือง อนุสาวรียชัยสมรภูมิ เปนจุดเปลี่ยนถายและเปนที่หยุดพักผอนระหวางการเดินทางของผูใชระบบขนสงในรูปแบบตางๆ ซึ่งพบวาตําแหนงที่โดดเดนอยูบนถนนรางน้ํา โดยพื้นที่ซอนเรนเปนบานเสื่อมโทรมในพื้นที่ซึ่งสามารถนํามาพัฒนาเปนโครงการ โดยมีสวนประกอบโครงการ ไดแก จุดบริการการเชื่อมตอการคมนาคม สวนการคาและอาหาร พื้นที่ลานกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ พื้นที่ลานนั่งเลนและหองสมุดธรรมชาติกลุมที่ 3 ไดรับมอบหมายใหศึกษาพื้นที่ 3 แพรง ไดแก แพรงนรา แพรงภูธร และแพรงสรรพศาสตร พบวาลักษณะของคนที่อยูในพื้นที่นี้มีอาชีพพิเศษซึ่งแตกตางจากพื้นที่อื่นและมีอยูเปนจํานวนมาก ไดแก คนเก็บของเกาขาย คนจรจัด รวมถึงหญิงขายบริการ เมื่อนิสิตศึกษาพื้นที่ยานอนุสาวรียชัยฯ ไดพบวาจุดเดนหนึ่งของยานคือ มีอาชีพพิเศษที่อยูในพื้นที่นี้เชนกัน โดยนิสิตเรียกคนกลุมนี้วา คนสูชีวิต โดยแบงประเภทกลุมคนออกเปน 3กลุม ไดแก คนสูชีวิตขอเงิน คนสูชีวิตแลกเงิน และคนสูชีวิตขายของ จากนั้นนิสิตไดสํารวจตําแหนงที่คนเหลานี้อยู ซึ่งพบวาเนนพื้นที่ที่มีคนผานไปมาจํานวนมาก เชน บนสะพานลอย ใตสะพานลอย และพื้นที่บนทางเดินเทาริมถนน เปนตน อยางไรก็ตาม กิจกรรมหรือตําแหนงของการทํากิจกรรมของกลุมคนเหลานี้ขัดตอกฎหมาย ดังนั้นจึงเสนอโครงการเพื่อคนสูชีวิต ที่เทศกิจไมตองตามจับกุม คนที่เดินผานไปมามากมายไดรวมกิจกรรม โดยการปรับปรุงพื้นที่บนบาทวิถีในลักษณะของพื้นที่ใตบันไดสะพานลอย รวมถึงพื้นที่เกาะกลางสําหรับรอรถประจําทางใหเกิดการใชงานสําหรับคนสูชีวิตและทําใหภูมิทัศนเมืองสวยงามและเปนระเบียบมากขึ้น โดยมีชื่อโครงการ คือโครงการพัฒนาพื้นที่วางบนบาทวิถีสําหรับกิจกรรมพิเศษกลุมที่ 4 นิสิตไดทําการศึกษายานสามเสน พบวาจุดเดน คือ เปนยานเกาแกของกรุงเทพฯ การใชที่ดินสวนใหญเปนสถานที่ราชการและพื้นที่พักอาศัย เมื่อนํามาศึกษาเปรียบเทียบกับยานอนุสาวรียชัยฯ พบวา เปนพื้นที่ที่มีสถานที่ราชการอยูหลายแหงเชนกัน โดยเฉพาะพื้นที่ทางดานทิศเหนือและตะวันตก ซึ่งสถานที่ราชการสวนใหญมีสัดสวนพื้นที่วางตอพื้นที่อาคารมากกวา 30% แตยังขาดการใชพื้นที่อยางเต็มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในชวงวันหยุดสุดสัปดาห และถือวาพื้นที่เหลานี้เปนพื้นที่ซอนเรน โครงการที่เหมาะสม คือ โครงการลานกีฬาวันหยุดดวยการพัฒนาพื้นที่จอดรถของซึ่งไมไดมีการใชอยางหนาแนนในชวงวันหยุดใหเปนลานกีฬา สวนพื้นที่ที่มีการจัดภูมิทัศนที่เนนประโยชนดานความสวยงามควรคํานึงถึงเพิ่มเติมสําหรับพื้นที่ออกกําลังและพื้นที่พักผอนสําหรับบุคลากร รวมถึงบางพื้นที่ควรเตรียมไวเพื่อนันทนาการดานความสงบจิตใจเพื่อชวยเยียวยาผูปวยในโรงพยาบาล ในขณะเดียวกัน ในตอนเย็นหรือในชวงวันหยุด พื้นที่เหลานี้ควรคํานึงถึงการใชพื้นที่เพื่อการพักผอนสําหรับประชากรที่พักอาศัยในยาน ทั้งนี้ พื้นที่ซอนเรนรูปแบบนี้ไมจําเปนตองมีสวนประกอบโครงการเพิ่มเติมนักหากแตเปนการออกแบบพื้นที่ใหเกิดความยืดหยุนและเกิดความคุมคามากที่สุด840


กลุมที่ 5 ไดรับพื้นที่ศึกษา คือ ยานโบเบ ซึ่งมีจุดเดน เรื่องการคาขายที่มีลักษณะการคาขายเปลี่ยนแปลงไปตามแตละชวงเวลา เมื่อนิสิตศึกษาในพื้นที่อนุสาวรีย จึงไดประเมินความสัมพันธคุณคาของพื้นที่วาง การใชประโยชนพื้นที่ของผูใชงานกับเวลาที่เปลี่ยนแปลงในชวงวัน โดยการศึกษาความสัมพันธของรูปแบบการใชพื้นที่เพื่อการคาขายกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง โดยพบวามีรูปแบบการคาที่แตกตางกันตามชวงเวลาการขายที่แตกตางออกไปเชนกัน รวมถึงตําแหนงของการตั้งรานคา ดังนั้น เมื่อลากเสนเชื่อมของเสนทางการคาขาย จึงพบวา มีอยูเกือบทุกพื้นที่ ไมวาจะอยูระดับที่อยูบนพื้น หรือระดับที่อยูเหนือพื้น เชน ในหางสรรพสินคาและบนสะพานลอยอันนําไปสูประเด็นศึกษาของพื้นที่ซอนเรนที่ไมไดอยูในระดับของพื้นดิน โดยมีชื่อวา โครงการพาณิชยกรรมแนวตั้ง โดยเนนการเชื่อมตอของพื้นที่พาณิชยกรรมจากบนบาทวิถีดานลางสูพื้นที่ดานบน ไดแก สวนโครงสรางของรถไฟลอยฟาและสะพานลอย และการเชื่อมตอเสนทางเขาไปที่หางสรรพสินคากลุมที่ 6 ไดศึกษาพื้นที่ยานสําเพ็ง และคนพบเทคนิคการใชพื้นที่ดวยการวางสินคาอยางมีระบบ เมื่อศึกษาเปรียบเทียบกับพื้นที่ยานอนุสาวรียชัยฯ พบวามีลักษณะความยืดหยุนของพื้นที่สูงกวาที่ยานสําเพ็งในเรื่องของการจัดวางสินคา แตในทางกลับกันสําเพ็งมีระบบของการคาที่ดีกวาดวยระบบการจัดการ ทําใหมีการใชพื้นที่ไดอยางเต็มประสิทธิภาพ โครงการที่นิสิตเสนอ คือ โครงการจัดระเบียบพื้นที่เชิงพาณิชยกรรม ซึ่งมีจุดประสงคคือ การใชประโยชนพื้นที่ยานอนุสาวรียขัยฯ อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งทางดานการใชพื้นที่และรูปแบบการคาขายโดยมีหลักการจัดการพื้นที่ดวยวิธีการใชชองแบง โดยแบงเขตของรูปแบบการคาใหเปนสัดสวนที่แนนอน มีการจัดพื้นที่สําหรับเก็บของ และการจัดระบบรอรับสงของในพื้นที่ ใชแผงลอยแบบพับเก็บไดตามบริเวณที่มีการขายแผงลอยริมถนนเพื่อการใชงานที่เปลี่ยนแปลงไปในแตละชวงเวลา ชวยสรางความเปนระเบียบและทําใหพื้นที่ที่สูญเสียไปกลับมาใชงานไดเหมือนเดิม มีการกระจายตัวของคนที่แนนอนไมสรางความติดขัดในการสัญจร ทําใหเพิ่มจํานวนรานไดและสรางรายไดเพิ่มมากขึ้น และทําใหพื้นที่ที่สีเขียวเพิ่มขึ้น841


จากการนําพื้นที่ซอนเรนของนิสิตแตละกลุมมารวมไวในผังเดียวกัน ปรากฏพื้นที่ซอนเรน ดังภาพทางพิเศษศรีรัชถนนราชวิถีวังพญาไทสวนพื้นที่พักอาศัยอนุสาวรียชัยสมรภูมิสถานที่ราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหมถนนพหลโยธินองคการสงเคราะหทหารผานศึกสวนสถานที่ราชการรพ.พระมงกุฎเกลาสวนพื้นที่พักอาศัยรพ.ราชวิถีเซ็นเตอรวันสวนพื้นที่พักอาศัยสถานีรถไฟลอยฟาอนุสาวรียฯหางเซ็นจูรี่สวนสันติภาพถนนพญาไทสวนพื้นที่พักอาศัยกลุมที่ 1 โครงการปรับปรุงภูมิทัศนพื้นที่ใตทางกลุมที่ 2 ศูนยเชื่อมตอการคมนาคมคนเมืองดวนยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิอนุสาวรียชัยสมรภูมิกลุมที่ 3 โครงการพัฒนาพื้นที่วางบนบาทวิถีกลุมที่ 4 โครงการลานกีฬาวันหยุดสําหรับกิจกรรมพิเศษกลุมที่ 5 โครงการพาณิชยกรรมแนวตั้งN/Aกลุมที่ 6 โครงการจัดระเบียบพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมบนบาทวิถีวิจารณจากโครงการพัฒนาพื้นที่ซอนเรนที่นิสิตไดเสนอ พบวานิสิตทั้ง 6 กลุม มีกลยุทธในการคนหาพื้นที่ที่แตกตางกันอันเนื่องจากประเด็นศึกษาที่มีความแตกตางกัน เมื่อนํามาจัดรูปแบบพื้นที่ซอนเรนที่พบในยานอนุสาวรียชัยฯพบวา พื้นที่ซอนเรนมีปรากฏทั้ง 3 รูปแบบ กลาวคือ มีทั้งการพัฒนาจากพื้นที่ที่เปนเศษเหลือ ไดแก พื้นที่เสื่อมโทรมในซอยรางน้ําของกลุมที่ 2 และโครงการพัฒนาพื้นที่ใตทางดวนขั้นที่ 2 ที่กลุมที่ 1 ไดเสนอไว นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ซอนเรนริมคลองสามเสนที่ขนานกับแนวถนนราชวิถี สวนพื้นที่ซอนเรนในรูปแบบที่ตอบสนองการใชงานสําหรับกิจกรรมสองลักษณะนั้น กลุมที่ 4 เสนอใหมีการใชลานจอดรถมาพัฒนาเปนลานกีฬาในวันหยุด และการพัฒนาภูมิทัศนสําหรับผูปวยและญาติในโรงพยาบาลที่เอื้อใหเกิดการใชประโยชนดานนันทนาการเพิ่มเติมสําหรับประชาชนในพื้นที่ในชวงวันสุดสัปดาห โดยรูปแบบพื้นที่สําหรับกิจกรรมสองลักษณะสําหรับยานอนุสาวรียชัยฯ นั้นมีศักยภาพในการพัฒนาสูง ดวยหนวยงานราชการที่อยูทางดานเหนือคือหนวยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหมบนถนนพหลโยธิน และดานตะวันตกบนถนนราชวิถี ถนนโยธี ที่มีโรงพยาบาลของรัฐและ842


หนวยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหมหลายแหง ซึ่งสามารถพัฒนาพื้นที่จอดรถและพื้นที่พักผอนอื่นๆ ใหมีการใชงานเพิ่มขึ้นไดโดยเฉพาะในวันหยุดและในตอนเย็นของวันทํางานได นอกจากนี้ยังพบลักษณะพื้นที่ซอนเรนที่นาสนใจอันเกิดจากการพัฒนาพื้นที่ที่ไมปรากฏพื้นที่ชัดเจน ไดแก การคํานึงถึงพื้นที่ซอนเรนในแนวตั้งที่ไมไดอยูในระดับพื้นดินโดยพัฒนาพื้นที่ดานขางสะพานลอยและพื้นที่ใตโครงสรางของรถไฟลอยฟาของกลุมที่ 5 รวมถึงการพัฒนาพื้นที่บนบาทวิถีของกลุมที่ 3 และการจัดระเบียบพื้นที่พาณิชยกรรมบนบาทวิถีของกลุมที่ 6 ซึ่งทําใหพื้นที่มีขอบเขตที่ชัดเจนเกิดการใชงานที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้นสังเกตไดวา สําหรับโครงการจัดการพื้นที่บนบาทวิถีเปนรูปแบบของการพัฒนาพื้นที่ที่ไมปรากฏชัดเจน โดยอาศัยแนวความคิดที่สอดคลองกับ Trancik (1986) ที่ใชทฤษฎีภาพและพื้นภาพในการฟนฟูพื้นที่สูญเปลานั้น นิสิตไดประยุกตใชทฤษฎีในพื้นที่เฉพาะมากกวาการมองในระดับมหภาค ซึ่งเปนหนึ่งในแนวทางการพัฒนาภูมิทัศนเมืองในยานนี้ที่มีความหนาแนนในการใชที่ดินอยูแลว นอกจากนี้ นิสิตยังไดบูรณาการนํารูปแบบการใชงานสําหรับตอบสนองกิจกรรมสองลักษณะมาวิเคราะหรวมกัน ทําใหพื้นที่วางนั้นมีการใชไดอยางเต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นสรุปแมยานอนุสาวรียชัยฯ จะมีความหนาแนนของการใชงานบนพื้นที่สูง แตยังสามารถพบพื้นที่ซอนเรนไดทั้ง 3รูปแบบที่มีศักยภาพในการพัฒนาภูมิทัศนเมือง ประกอบดวย พื้นที่ที่เปนเศษเหลือ พื้นที่วางที่ตอบสนองกิจกรรมสองลักษณะ และพื้นที่ที่ไมปรากฏพื้นที่ชัดเจน สําหรับพื้นที่วางที่ตอบสนองกิจกรรมสองลักษณะพบวา กิจกรรมที่เกิดขึ้นมาจากการวิเคราะหลักษณะทางกายภาพและพฤติกรรมของคนในยาน จนไดขอสรุปของกิจกรรมที่แตกตางกันเกิดจากการใชงานของประชากรกลางวันและประชากรกลางคืนที่แตกตางกัน สวนรูปแบบพื้นที่ซอนเรนที่ไมปรากฏชัดเจน ไดคนพบตัวอยางในลักษณะใหม คือ พื้นที่ซึ่งอยูเหนือพื้นดิน ซึ่งไมปรากฏเปนพื้นที่จนกวาจะมีการกําหนดพื้นที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ยังพบวา บางพื้นที่อาจมีมากกวา 1 รูปแบบได เชน พื้นที่เศษเหลือ หรือพื้นที่ที่ไมปรากฏชัดเจน สามารถเปนพื้นที่ที่ตอบสนองกิจกรรมสองลักษณะได เชน การพัฒนาพื้นที่ทางเดินเทาจากลักษณะพื้นที่ที่ไมปรากฏชัดเจนใหมีการใชงานในเชิงพาณิชย เปนพื้นที่ที่มีผูคนใชในการพบปะและแสดงตัวตนออกมา ดังนั้น การจัดระเบียบของพื้นที่พาณิชยกรรมเอง และการจัดระเบียบระหวางพาณิชยกรรมในชวงเวลาหนึ่งกับพื้นที่พักผอนเพื่อนันทนาการในอีกชวงเวลา จึงเปนสิ่งที่ทําใหเกิดการใชพื้นที่อยางเต็มประสิทธิภาพไดอยางไรก็ตาม บทความนี้ไดสรุปผลจากการเรียนการสอนที่มีผลงานถึงขั้นของการเสนอโครงการและสวนประกอบโครงการเทานั้น โดยที่นิสิตยังไมไดทําการออกแบบพื้นที่ จึงอาจจะทําใหยังไมเห็นภาพของการพัฒนาที่เปนรูปธรรมนัก บทสรุปสําคัญอีกสวนหนึ่งจึงเปนแนวทางของการพัฒนา โดยเริ่มจากกระบวนการของการคนหาพื้นที่ซอนเรน พบวา บางครั้งนิสิตเกิดการคนหาพื้นที่ซอนเรนที่มีศักยภาพกอนแลวจึงนํามาคนหาโครงการที่เหมาะสม เชน ตําแหนงพื้นที่ซอนเรนในสถานที่ราชการ จากนั้นจึงทําการวิเคราะหบริบทจนไดขอสรุปของกิจกรรมสองลักษณะอันเกิดจากความตองการใชงานที่ตางกัน ในทางกลับกัน บางครั้ง นิสิตไดศึกษาปญหา843


กอนแลวจึงทําการวิเคราะหพื้นที่ซอนเรนที่เหมาะสมในการพัฒนาโครงการ เชน ศูนยเชื่อมตอการคมนาคมคนเมืองฯ อันวิเคราะหจากเอกลักษณและศักยภาพของพื้นที่ซึ่งเปนศูนยกลางของระบบขนสงมวลชน จากนั้นจึงกําหนดเกณฑในการเลือกพื้นที่ซอนเรนที่เหมาะสม ทั้งนี้ ประเด็นสําคัญที่นําไปสูการเสนอโครงการ คือ การคํานึงถึงการเชื่อมโยงโครงการกับบริบทของเมือง ทั้งทางดานกายภาพและดานสังคมวัฒนธรรม สําหรับยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ โครงการที่นําเสนอสวนใหญจะมีสวนประกอบโครงการที่เนนพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมตามมูลคาทางเศรษฐศาสตร ซึ่งเกิดจากการวิเคราะหบริบทพื้นที่ อยางไรก็ตาม นิสิตยังไดคํานึงถึงกลยุทธในการเพิ่มคุณภาพชีวิตคนเมืองดวยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวสาธารณะ และพื้นที่สําหรับกิจกรรมนันทนาการ ทั้งดานการออกกําลัง เชน สนามกีฬา นันทนาการดานสังคม เชน ลานชุมชน ทางเดินเทา พื้นที่รอรถสาธารณะ หองสมุดธรรมชาติ เปนตน และนันทนาการดานความสงบจิตใจ เชน พื้นที่พักผอน สวนเพื่อการบําบัดรักษา อนึ่ง การพัฒนาพื้นที่ซอนเรนจะสําเร็จได การบริหารจัดการเปนเรื่องสําคัญตองอาศัยความรวมมือทั้งจากประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชน และงบประมาณจากรัฐบาล โดยโครงการที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาพื้นที่ซอนเรนในยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิจะเปนแนวทางหนึ่งในการพัฒนาภูมิทัศนเมืองในกรุงเทพมหานครตอไปกิตติกรรมประกาศขอขอบคุณ ผศ.ศนิ ลิ้มทองสกุล และ ผศ.ม.ล. วุฒิพงษ ทวีวงศ อาจารยผูรวมสอนในวิชา และนิสิตสาขาภูมิสถาปตยกรรม รุน 1 สําหรับขอมูลที่ใชในการเขียนบทความเอกสารอางอิงกําธร กุลชล. 2537. การออกแบบชุมชนเมืองคืออะไร – การติดตามหาคําตอบในรอบ 40 ป. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศิลปากร. หนา 299 – 307.กาญจนา ตั้งชลทิพย. 2550. "กรุงเทพมหานคร: เมืองโตเดี่ยวตลอดกาล". ประชุมวิชาการประจําป <strong>ครั้งที่</strong> 3"ประชากรและสังคม 2550" เรื่อง นคราภิวัตนและวิถีชีวิตเมือง. นครปฐม: สํานักพิมพประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.วรันธร ประสานสารกิจ. 2545. การปรับปรุงฟนฟูพื้นที่บริเวณอนุสาวรียชัยสมรภูมิ. วิทยานิพนธระดับปริญญาโท(การออกแบบชุมชนเมือง) คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.สํานักงานสวนสาธารณะ สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร. 2546. สวนในพื้นที่เขตตางๆ [Online]. Availablefrom: http://203.155.220.217/office/ppdd/publicpark/thai/otherpark/OtherPark.html. [Accessed5:01:09]Cerver, F. A. 1997. Redesigning city squares and plazas. New York: Hearst Books International.Su, J. 2004. Reclaiming residual space from elevated transport infrastructure: time, space, andactivity under the Chicago Brown Line. Massachusetts: Massachusetts Institute of Technology.Trancik, R. 1986. Finding lost space. New York: Van Nostrand Reinhold.Winterbottom, D. 2000. “Residual space re-evaluated [Portfolio]". Places: Vol. <strong>13</strong>: No. 3. Article. pp.40-47 .844


เทศะสะทอนยอนคิดReflexivity of Spaceศรันย สมันตรัฐสาขาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรบทคัดยอบทความนี้เสนอ กระบวนการศึกษาแบบภูมิทัศนวัฒนธรรมยอนคิดเปนผลจากการศึกษาพัฒนาทฤษฎีเฉพาะถิ่น(grounded theory)อยางตอเนื่อง เพื่อสรางความเขาใจสิ่งแวดลอมสรรคสรางเชิงบูรณาการจากหลายสาขาวิชา เชน ธรณีสัญฐาน,นิรุกติศาสตร, สังคมศาสตร,รัฐศาสตร ฯลฯ รวมกับแนวทางศึกษา ภูมิทัศนวัฒนธรรมและ กระบวนการเรียนรูที่ไดรับจาก การศึกษาสถาปตยกรรมพื้นถิ่นแบบหนึ่ง ในกระบวนทัศนแบบ “หลังสมัยใหม”โดยเสนอผลในสวนของหนวยที่วางเปนพื้นฐานทางวิชาการสิ่งแวดลอมสรรคสรางที่ไมสถิตยสามาถนําไปอธิบายกลไกเชิงพลวัต(อิทัปปจยตา) ในสภาวะแวดลอมสรรคสรางที่มีความเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ(อนิจจลักษณ) โดยมีเหตุปจจัยอยางสรุปสามประการคือตัวแทน, เงื่อนไขกระบวนการและที่วางสิ่งแวดลอมกรณีศึกษาถูกรวบรวมมาจากการศึกษาสวนตัวที่คนควาจากเอกสารชั้นตน และประสบการณ จากผลการวิจัยจากการวิจัยหลายชิ้น ที่ไดรับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย จากแหลงทุนตางๆในหลายกาลเทศะระหวางปพ.ศ.2548-2552 ไดแก มหาวิทยาลัยมหิดล,กระทรวงวัฒนธรรม,สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, การเคหะแหงชาติและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรบทความนี้ถูกตัดตอใหเหมาะสมในการประชุมวิชาการสถาปตยกรรมและศาสตรเกี่ยวเนื่อง<strong>ครั้งที่</strong><strong>13</strong>/2552จากบทเสนอในโครงการจัดอบรมการจัดทํางานวิจัยและวิชาการ”ชิมลางสิ่งแวดลอมสรรคสราง2009”คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร845


1 บทนํา“ตอนแรกคนสรางเมือง แตตอนหลังเมืองจะสรางคน” [2]“ที่วาง-space”เปน หนวยศึกษาทางสถาปตยกรรมศาสตรกระแสหลักมาแตเดิม อนุวิทย ชวศุภกุลไดเคยลองใชคําสันสกฤต”อากาศะ”แตไมแพรหลาย โดยในขณะนั้นที่วางเปนเรื่องทางกายภาพลวนๆ[4] ตอมาคํานี้กลายเปนประเด็นศึกษาสําคัญในศาสตรสาขาอื่นๆ เชนสาขาวิทยาศาสตรกายภาพแนวการศึกษาในปจจุบันฉายเห็นภาพของ “ที่วาง”อวกาศ 10 มิติในทฤษฎีสตริง [5] สวนสาขารัฐศาสตรหลังสมัยใหมก็สนใจหนวยศึกษา “Space” ในฐานะพื้นที่ของการแสดงออกของความรู และเห็นวาวาทกรรมความรูเปนสนามแหงการประลองอํานาจที่สําคัญความรูเปนสิ่งสัมพัทธมิใชสิ่งที่เปนจริงในตัวมันเอง โดยนัยนี้ความรูจึงมีไดหลายแบบนอกเหนือจากความรูกระแสหลักที่อางอิงกับความเปนตะวันตก/เพศชาย/ผิวขาว/คริสเตียน ความรูแบบอื่นจึงเปนความรูที่ประดิษฐานอยูในบริบทของแตละสังคมดังเชนที่ ชัยรัตนเจริญสินโอฬาร(2545),39 อางถึงมิเชล ฟูโก ซึ่งอางถึง บอรกซี่ง อางถึง สารานุกรมจีนฉบับหนึ่ง ความวา “ สัตวตางๆแบงออกไดเปน (a) สมบัติของจักรพรรดิ์, (b) ดองไว ,(c) เชื่อง,(d) ลูกหมูวัยดูดนม,(e)ยั่วยวน ,(f) เหลือเชื่อ, (g) สุนัขจรจัด, (h) รวมอยูในการจัดประเภทนี้,(i) คลุมคลั่ง,(j) นับไมถวน, (k) วาดดวยแปรงที่ทําจากขนอูฐที่ออนนุม, (l) และอื่นๆอีกมาก,(m) เพิ่งทําเหยือกน้ําแตก ดังนั้นความรูเองก็ไมอาจแยกพิจารณาไดกับอํานาจและอัตตลักษณในความเปนชายขอบภายในกระบวนการทางการเมืองในสังคม [6]นอกจากนี้ในระดับปจเจกชนสาขาปรัชญาของพุทธศาสนา ทองพันธ พูนสุวรรณ ชี้ใหเห็นถึงความเปนไปไดที่จะมี หนวยศึกษาที่มีอํานาจในการอธิบายและสะทอนยอนคิดซึ่งกันและกันของสรรพศาสตรที่อาจเปน “Unifiedsocial theory” ในทุกกระบวนการของชีวิต [7]ความเขาใจแบบองครวมเหลานี้อาจดูเขาใจยากแมในแตละสาขา แตดวยปฏิบัติการชีวิตดวย ความรู-ศึกษเชนในประสบการณชีวิตของ กวีเฮนรี่ เดวิด ธอโร (1817-1862) ที่ประกอบดวยการเปนผูใชคําวานิเวศวิทยาเปนคนแรก วิพากยสถาปตยกรรมกระแสหลัก/พื้นถิ่นเปนคนแรกและเปนผูปฏิบัติการอารยะขัดขืนเปนคนแรก รวมถึงทัศนะดานจริยธรรมสิ่งแวดลอมก็อาจเขาใจงายขึ้น กรณีนี้ถือเปนตัวอยางการเขาถึงหนวยศึกษาเชิงองครวมที่พบเห็นไดในประวัติศาสตร [8]สําหรับสถาปตยกรรมศาสตร/สิ่งแวดลอมสรรคสรางแลว ประเด็นอาจอยูในรอยตอความคิดระหวางบรรทัดในสองประโยคเกริ่นความที่ผูเขียนนํามาจากผลึกคิดของ นิจ หิญชีระนันท ที่นัยยะวา สังคมและสิ่งแวดลอมเปนผลสะทอนของกันและกัน โดยนัยยะนี้ความรูจากความเขาใจของที่วางแบบเดิมไดไมนาจะเปนเครื่องมือที่ทําใหเขาใจสัมพันธภาพ สิ่งแวดลอม สถานที่ สังคม ที่จะสงผลใหผูคนมีความสุขและทุกขอยางตอนื่องทั้งกายและจิตวิญญาณทั้งระดับปจเจกจนถึงระดับสังคมชุมชน ดํารงสันติถองแทในระยะยาวหรือ สันติสุขยั่งยืนผูเขียนเห็นวา ที่วางแบบดั้งเดิมมีจุดออนสองประการกลาวคือ1.เปนหนวยศึกษาที่มองไมเห็นมิติทางดานสังคมการเมืองที่เกี่ยวของดวย846


2.มีลักษณะสถิตยดานเวลา เห็นมิติของสิ่งแวดลอมสรรคสรางที่ตัดตอมาเฉพาะเมื่อออกแบบแลวเสร็จอุปมาเหมือนรูปถายที่จําลองสถิตยภาวะของเวลาหนึ่งในเหตุการณที่วาง แตกลับเชื่อมั่นถือมั่นวาสิ่งนี้จะนําไปสูความดีความงามความจริงไดในตัวเอง ขาดการโยงใยตามเหตุปจจัยอธิบายไมไดครบวงจรวาเกิดขึ้นไดอยางไรสงผลใหมีอํานาจในการอธิบายและตอรองความสําคัญตอสังคม(ไทย)ไดต่ํากวาสาขาวิชาอื่นๆ“ที่วาง”ในความหมายเดิมที่ไดถูกนิยามใหแยกออก จากความเขาใจดานสังคมวัฒนธรรมและบริบทความรูทางภูมิศาสตรธรณีสัณฐาน จึงสรางผลกระทบโดยรวมใหสังคมไทยโดยรวม อีกทั้งยังขาดจิตวินิจฉัยใหเขาใจในงสัมพันธภาพตางๆในที่วาง สงผลใหสภาวแวดลอมของเมืองใหญที่การศึกษาในระบบมีอิทธิพลไปถึงเชนของประเทศไทยอยูในสภาพนาเปนหวง กลาวไดวาสถาปตยกรรมศาสตรไมสามารถเปนที่พึ่งทางปญญาตอปญหาสิ่งแวดลอมหรืออาจเปนสาเหตุหนึ่งของปญหาเสียเอง สถานการณของประเทศทั้งดานการเมืองและสิ่งแวดลอมอยูในสภาพเลวราย “หนี ญญายพายจแจ” ก็เพราะ “รูเขาแตไมรูฟารูดินรูเรา” [9]ผูเขียนหวังวา หนวยศึกษา ที่วางสะทอนยอนคิดที่เสนอในที่นี้ อาจมีสวนเสริมความเขาใจเปนพื้นฐานใหสามารถแกจุดออนนั้น และสงผลใหมีอํานาจในการอธิบาย เปลี่ยนใหสถานการณใหเปน “หาวตอหาวหักหาญ ชาญตอชาญหักเชี่ยว” และ “ยอยุทธยุงบมิแตก แยกยุทธแยงบมิพัง”2 ประมวลความรูที่เกี่ยวของหนวยศึกษาที่มีสวนใกลเคียงกับที่วางแบบใหมนั้นเห็นวา ภูมิทัศนวัฒนธรรมีความเปนสีเทาและบรรจุความหมายที่หลายหลาก ในสวนนี้จะนําเสนอ การประมวลความรูเรื่องภูมิทัศนวัฒนธรรมโดยทบทวนเอกสารในสี่ประเด็นไดแก ภูมิทัศนวัฒนธรรมเชิงภูมิศาสตร,ภูมิทัศนวัฒนธรรมเชิงความสัมพันธและการตรวจทานเอกสารแนวทางการจัดการภูมิทัศนวัฒนธรรมในประเด็นสุดทายเปนการเสนอประมวลขอคนพบบางประการในการศึกษาสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่มีอิทธิพลตอการสรางกรอบที่วางสะทอนยอนคิดสําหรับภูมิทัศนวัฒนธรรมแลวถือไดวาเปนวาทกรรมที่มีอายุนอยทางวิชาการกลาวคือประมาณหนึ่งรอยปคําจํากัดความแรกสุดเสนอโดย Otto Schluter (1908) นักภูมิศาสตรหมายถึงภูมิทัศนที่เกิดจากวัฒนธรรมของมนุษยซึ่งตอมาถูกขยายความและเปนที่จดจําโดย Carl O. Sauerนักภูมิศาสตรมนุษยและนิเวศนวิทยาวัฒนธรรม (1925)วา [10]“ภูมิทัศนวัฒนธรรมคือการแตงกายใหภูมิทัศนธรรมชาติดวยกลุมวัฒนธรรม หากวัฒนธรรมคือตัวแทน, และธรรมชาติคือตัวกลาง ผลลัพธก็คือภูมิทัศนวัฒนธรรม”ตราบจนปจจุบันภูมิทัศนวัฒนธรรมยังคงอยูในสนามการวิพากย ของการใหความหมาย และเปน “พื้นที่สีเทา”ทียังเถียงไมตก ซึ่งไพศาล เทพวงศศิริรัตน ถอดรื้อใหเห็นอคติในระบบนิยามใน คํา วัฒนธรรม,ภูมิทัศน,ภูมิทัศนวัฒนธรรม ไปจนถึง ภูมิสถาปตยกรรมพื้นถิ่น โดยเรียกรองใหมองเห็นวาทกรรมที่ครอบงําคําเหลานี้ และ เสนอถึงความสําคัญแทนที่ของภูมิทัศนแหงชีวิตประจําวัน[10.5]สวนผูเขียนประมวลการนิยามภูมิทัศนวัฒนธรรมและจัดกลุมอยางงายวามีอยูสองดาน คือ ดานที่มองภูมิทัศนวัฒนธรรมเปนพื้นที่กลุมที่นิยามในลักษณะนี้ไดแกสมาคมทางวิชาชีพภูมิทัศนสถาปตยกรรมเชน The culturalLandscape Foundation (2005) USA, GARLAND (The Garden and Landscape Heritage Trust) UK. [12]กลุมนี้มีความเห็นวาการนิยามที่มีขอบเขตชัดเจนมีความจําเปนและมักนิยามโดยรวมวา ภูมิทัศนวัฒนธรรมเปนภูมิทัศนแบบหนึ่งและดานที่มองภูมิทัศนวัฒนธรรมเปนความสัมพันธ กลุมที่นิยามในลักษณะนี้ไดแกสมาคมทางวิชาการ847


ในวงการภูมิสถาปตยกรรมการศึกษาเชน Institute for Cultural Landscape Studies. Harvard University USA ,องคกรวาดวยการศึกษา,วิทยาศาสตรและศิลปวัฒนธรรมแหงสหประชาติ(UNESCO) ,ICOMOS กลุมนี้มีความเห็นวาการนิยามที่มีอํานาจในการอธิบายมีความจําเปนและมักนิยาม ภูมิทัศนวัฒนธรรม โดยรวมแลวเปนความสัมพันธเชน วิธีการมองเห็นและแปลความหมายและการแสดงออกทั้งนี้ความแตกตางนี้อาจเปนผลลัพธที่แตกตางกันที่สภาวะแวดลอมกระทําการตอมนุษยอยางไมรูตัวก็เปนได1 วิมลสิทธิ์ไดแสดงใหเห็นความแตกตางกันทํานองนี้ที่จะเปนปญหาสําหรับภูมิภาคโลกที่สาม 2 ของการใชขอกําหนดการสงวนรักษามรดกโลกทางวัฒนธรรมอยางละเอียด [11]เทศะสะทอนยอนคิด/ภูมิทัศนวัฒนธรรมยอนคิดกลาวโดยสรุปแลว มันเปนพัฒนาการตอเนื่องในงานวิจัยของผูเขียนและสหายรวมงาน แมวาจะมีความโนมเอียงมาในแงความสัมพันธ และโดยงายกวาระบบนิยามของอิโคโมสยูเนสโก โดยมีจุดสนใจในความเปลี่ยนแปลงหรืออนิจจลักษณดังนิยามที่เสนอตอไปนี้“ภูมิทัศนวัฒนธรรมคือดุลยภาพภายในสัมพันธภาพของกระบวนการที่มี พื้นที่ องคประกอบทางสังคมของมนุษย และเงื่อนไขทางนิเวศวิทยาของธรรมชาติ ณ ชวงเวลาหนึ่ง”สรรพชีวิต+,-พื้นที่แวดลอมกลไกทางสังคมแผนภูมิพื้นฐานภูมิทัศนวัฒนธรรมยอนคิด 31 สวนมนุษยชาติในเขตหนาวเย็นที่เรียกกันทางวิชาการวาเขตอบอุนนั้น แผนดินมีแสงแดดจํากัดในบางฤดูกาลความหลากหลายในธรรมชาติมีนอยกวาเมื่อเปรียบเทียบ การผลิตการสะสมผลผลิตสวนเกินหรือลดอัตราการบริโภคในฤดูหนาวมีความจําเปนตอสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไป ความผิดพลาดมีผลถึงชีวิต ความจําเปนที่การจัดการตองแจมชัดสงผล ใหรูปสัญญะและความหมายสัญญะมีความชัดเจนและไมหลากหลาย กาละเทศะของระบบเวลาที่ฤดูกาลสําคัญกวาทําใหสุริยคติมีความสําคัญกวาจันทรคติในชีวิตประจําวัน2 มนุษยชาติในเขตเย็นสบายที่เรียกกันทางวิชาการวาเขตรอนชื้นนั้น แผนดินมีแสงแดดและฝนชุกจึงมีผลิตภาพสูงการสะสมอาหารเปนภาระเมื่อเปรียบเทียบกับการสงวนรักษาผลิตภาพในธรรมชาติ ความหลากหลายในสรรพสิ่งเปนสิ่งที่พบเห็นทั่วไป รูปสัญญะในสังคมจึงมีความหมายสัญญะที่หลายหลากในกาลเทศะที่หลากหลาย รวมถึงระบบเวลาที่ใชเวลาทางจันทรคติซอนทับสําคัญไปดวยกันกับสุริยคติในชีวิตประจําวัน848


ขอใหพิจารณานิยาม(นาม)ดวยวงจรตามไดอะแกรมเพื่อใหเห็นขอความนี้ในฐาน “รูป/ภาพ”ประเด็นสําคัญก็คือวาในแตละปจจัยที่กอรูปในไดอะแกรมลวนมีคุณสมบัติสําคัญที่ตองระมัดระวังเปน Semitangibleระหวางสองดาน ดานที่เห็นไดแจมชัด และ ดานที่คลุมเครือ ยกตัวอยางเชน กลไกสังคมชีวิตของมนุษย ดานที่แจมชัดไดแกรัฐธรรมนูญ กฎหมาย มารยาท ประเพณี ฯลฯ ดานที่คลุมเครือไดแก อุดมการณ วาทกรรม (ในความหมายของมิเชล ฟูโกต) นิจกรรม ความหมายสัญญะ เปนตน ดานพื้นที่แวดลอมดานที่คลุมเครือไดแก วงการหรือ สนาม รูปสัญญะ ก็มีความคลุมเครือ มากกวา สถาปตยกรรมและ อาคาร สวนดานประชาชนในดานสรรพชีวิตก็อาจมีพบความหมายที่คลุมเครือขึ้น เชน ความเปนตัวแทน(Agent), ผูกระทําและผูถูกกระทํา (Subject/Object) เปนตน ภูมิทัศนวัฒนธรรมในขอบเขตของการวิจัยนี้มองเห็นแมกระทั่งความสัมพันธระหวางสรรพชีวิต เชน ขันติธรรมสันติประชาธรรม จึงมีความหมายที่กวางขวางกวา ภูมิทัศน หรือ แมแตภูมิทัศนวัฒนธรรมในความหมายกระแสหลัก3 เทศะกาละคุณลักษณะสําคัญของที่วางทางสถาปตยกรรม(ที่คนพบจากการศึกษาดานสถาปตยกรรมพื้นถิ่น)นั้น จําแนกแยกแยะไดเปน 12 ประเด็นในมิติ 3 ของที่วางไดแกที่วางทางกายภาพ หรือเทศะกายภาพ[18] ที่วางทางเทคโนโลยีที่เหมาะสมหรือเทศะทางภูมินิเวศน[19] และที่วางทางสังคมการเมืองหรือเทศะทางสังคม 4 (Social Space) [20] ในที่นี้จะกลาวเฉพาะประเด็น มิติที่3 ที่วางเกี่ยวกับสังคมการเมือง(Socio-Political Space) หรือเทศะทางสังคมผูเขียนเห็นวาประเด็นรายเอียดภายในมิตินี้ ซึ่งเดิมประกอบดวยหัวเรื่องยอย 3 ประการไดแก 1.การครองตนและการนับถือตนเอง 2. การมีสวนรวม(ไมใชการครอบครอง) ซี่งการมีสวนรวมนี้ปฏิกริยากับการไมแยแส (Ignorance)และ 3. สิทธิอํานาจโดยเห็นควรแยกประเด็น กาละในเทศะ หรือ เทศะกาละ เปนหัวเรื่องยอยที่ 4. ตางหากโดยใชพื้นที่ตอไปบรรยายเฉพาะประเด็นนี้สําหรับผูไดรับการประสบการณการเรียนรูทางสถาปตยกรรม/สิ่งแวดลอมสรรคสราง อาจลองตั้งขอสังเกตถึงความไดเปรียบเหนือศาสตรอื่นในดานประสบการณเชิงองครวม เนื่องจากนิสิตทางสถาปตยกรรมนั้น- คุนเคยกับการบูรณาการความรูกับศาสตรรอบตัวเชนวิศวกรรมสาขาตางๆอยูแลว- คุนชินกับมาตราสวนทางกายภาพ ใชไมสเกลจนขึ้นใจเมื่อมีจินตภาพกับมาตราสวนทางเทศะ จึงมีจินตภาพถึงมาตราสวนทางกาละไดงาย จึงมีขีดความสามารถที่จะเขาใจความรูที่มีมิติทางเวลาแตกตางกันโดยไมสลับใชบริบทได เชน ดาราศาสตรใชหนวยวัดระยะเปนเวลาปแสง, ธรณีสัณฐานเวลาเปนพัน-ลานป, ควันตัมฟสิกสเวลาเปนสิบยกกําลังลบสิบสองวินาที, เศรษฐศาสตรการเงินการบัญชีเวลาเปน อายุของแบรนดเนม,ฟสกัลเยียรปงบประมาณ ,ฯลฯ ไดงายกวาสนามของศาสตรอื่น ซึ่งการศึกษาแยกสวนมีอุดมการณและระเบียบวิธีวิทยาของการเจาะลึกทะลวงเขาไปในแตละสนาม3 เสนอแนวคิดนี้ครั้งแรก ใน งานเสวนาปาฐกถา แตกหนอตอยอด เพื่อเปนเกียรติในการเกษียณอายุราชการ ของศาสตราจารย อรศิริ ปาณินท ณ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร พย. 25474 ผูเขียนปรับใชตาม อาจารยชัยยันต รัชชกูล ซึ่งเลือกใชคําอยางกระทัดรัดและครอบคลุมวา “เทศะทางสังคม”849


- มีโอกาสไดพบกับประสบการณความรูสึกยามที่ครุนคิดอยางหนักหนวงแลวพลันคิดตกหรือการเกิดประกายความคิด (Illumination) อันระยะของการตกผลึก จากจิตใตสํานึกและปรีชาญาณ มักมาในเวลาที่ไมคาดหวังและเปนประสบการณตรงเรื่องเวลาสัมพัทธดวยการไหลบามาของความคิดดีๆจํานวนมากในหวงขณะ [21]ดวยเหตุนี้จึงมีคุณสมบัติที่สามารถจะมองภาพเชิงองครวมได อันอาจมีคุณสมบัติของการตัดสินใจอยางมีโอกาสถูกตองสูงดวยขอมูลที่มีอยูจํากัด 5 [22]ตอไปนี้จะกลาวถึงแนวคิดกาละในสาขาตางๆ เชนแฟรน็องด็ โบรเดล(1902-1985) จําแนกมาตราสวนเวลาทางประวัติศาสตรเปน 3 ชวงคือ- ชวงเวลาทางภูมิศาสตร (geological time)ในเวลานานหลายศตวรรษ โดย ประวัติศาตรเชิงภูมิศาสตรพิจารณาสัมพันธมนุษยกับสิ่งแวดลอม- ชวงเวลาทางสังคม (social time) ในมาตราเวลาศตวรรษ โดย ประวัติศาสตรโครงสรางสังคมที่พิจารณากระแสพลังการเปลี่ยนแปลงจากระบบการเมืองสังคมเศรษฐกิจเทคโนโลยี ฯลฯ- ชวงเวลาตามมาตราสวนชีวิตมนุษย เปนประวัติศาสตรของผูคนโบรเดลใหความสําคัญกับชวงเวลาทางภูมิศาสตรมากกวาชวงเวลาทางสังคมและชวงเวลาตามมาตราสวนชีวิตมนุษย[23] (ดูปนแกว เหลืองอรามศรี- หากสนามเปนที่มาของอํานาจทางการที่สรางขึ้นมาจากพื้นที่ มิติเชิงอํานาจอีกประการหนึ่งที่นักมานุษยวิทยาจําเปนตองพิจารณาอยางวิพากษคือ “เวลา”)โจฮานเนส ฟาเบียน [24]นักมานุษยวิทยา สนใจเวลาในแงการเมืองเชนเดียวกับพื้นที่หรือสนาม เขาเห็นวาการเมืองเชิงพื้นที่มีฐานทางอุดมการณที่สําคัญอยูในการเมืองวาดวยลําดับเวลา ดวยการเปลี่ยนใหเวลากลายเปน“เวลาสาธารณะ”ที่สามารถถูกครอบครอง วัด และจัดสรรได เชนเดียวกับอาณาบริเวณที่ถูกเปลี่ยนเปน “พื้นที่วางเปลา”, “ไรการพัฒนา” เขาเห็นวาเวลาในงานเขียนทางมานุษยวิทยาก็มีหลากหลายลักษณะ รวมเรียกวาการใชเวลาแปลกแยก(shizogenic use of time) แบงไดเปน 3 แบบ คือ เวลาเชิงกายภาพ(physical time) เวลาที่เกี่ยวกับทางโลก(mundane time) และเวลาแบบจําแนกประเภท (typology time) ซึ่งแมการจําแนกจะคลายกับโบรเดล แตฟาเบียนเนนวาการใชเวลาทั้งสามลักษณะตางเปนเครื่องมือในการสรางระยะหางในแงเวลาระหวางผูศึกษากับผูคนที่ถูกศึกษา สังคมที่ถูกศึกษาจึงถูกวางตําแหนงในอดีตที่หางไกล เปนการปฏิเสธความรวมในเวลาเดียวกันของเวลา(denialof coevalness)5 มหากาพยนวนิยายวิทยาศาสตรชุดสถาบันสถาปนาแตละเลม นําเสนอภาพ จักรวาลในอนาคตซึ่งมนุษยชาติไดตั้งถิ่นฐานทั่วทั้งเอกภพมีเทคโนโลยีที่กาวหนา แมจะเปนนวนิยายวิทยาศาสตรแตโครงสรางเรื่องในแตละภาคอิงกับประวัติศาสตรอารยธรรมตะวันตกทั้งสิ้น ตั้งแตการลมสลายของจักรวรรดิ-โรมัน, การปฏิรูปสมาคมวิชาชีพ-ยุคกลาง, การยึดเหนี่ยวมวลชนดวยอํานาจทางจิตของมโนมัย-ฮิตเลอร, สถาบันสถาปนาแหงที่สอง-กระบวนการจิตวิเคราะห เปนตน โดยมีวิชาอนาคตประวัติศาสตรเปนแกนกลาง ในภาคสุดทายมนุษยชาติตองเผชิญกับจุดเปลี่ยนแปลงและทางเลือกหลายเสนทาง ผูประพันธ ไอแซคอาซิมอฟ มอบการตัดสินอนาคตนี้ใหกับบุรุษซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษที่สุดในจักรวาลผูมีความสามารถในการตัดสินใจอยางถูกตองแมจะมีขอมูลจํากัด850


3.1 กาละกับมิติที่หาทองพันธุ พูนสุวรรณ [ 25 ]ใหความหมายวาเมื่อเราสนใจที่วางสี่มิติหรืออวกาศเวลาที่มิงคอฟสกี้พัฒนาจากไอนสไตน[26]หรือ กาละเทศะ มิติที่หานาจะเกี่ยวของกับวิบาก หรือ กรรม ซึ่งเห็นเปนผลลัพทหรือคลื่นผลสะทอนจากมิติที่หาไดในสี่มิติจากจุดของการกระทําในกาลเทศะแตเนื่องจากมิติที่หาอยูนอกเหนือมิติที่มนุษยใชชีวิตอยู การใชจินตภาพถึงมิติที่สูงขึ้นไปจึงจําเปน เราอาจนึกถึงปลาในภาพพิมพชื่อ Three worlds ของ M.C. Escher (ศิลปนภาพพิมพทานนี้สนใจที่วางในเชิงปรากฎการณเชน มิติ สัญวิทยา การลวงตา ความจริง สัมพัทธภาพ รวมไปถึงสิ่งที่เรียกวา เรขาคณิตเศษสวน 6 [47])ปลาในภาพจะรูสึกไดถึงมิติที่เหนือสระน้ําซึ่งมันดํารงอยูไดหรือไมอยางไร มันอาจจะรูสึกไดถึงโอกาสที่จะมีมิติที่อยูนอกเหนือจากสระสองมิติของมันไดจากการสังเกตปรากฎการณบางอยางภายในมิติของมัน เชน การกระเพื่อมที่ผิวน้ําที่เกิดจากใบไมในนอกมิติปลิวรวงตกใส และการระยิบสะทอนบางสวนของแสงและภาพจากการเกิดระลอกคลื่นเปนตน แลวโลกที่สาม เอสเชอจะหมายถึงอะไร? ใชจะหมายถึงโลกในมิติของเราผูสังเกตอาศัยอยูและกําลังมองภาพนี้อยูหรือไมนอกจากนี้ ทองพันธุ พูนสุวรรณ ยังกลาวถึงความเปนวงจรของเวลาผานการวิพากทการแปลความพุทธภาษิต อนิจจังวต สังขารา ที่มักแปลกันวา สังขารเปนสิ่งไมเที่ยงตรง โดยขาดการแปลคําวา วต ซึ่งหมายถึง “ความเปนวงจรของเวลา”และชี้ใหเห็นดวยวาในการติดตั้งฉลากใหน้ําหนักรูกับศาสตรกายภาพและรัฐศาสตรในเรื่องของเวลานั้น ความรูแบบอื่นแบบทองถิ่น(Indigenous Knowledge) ของชาวสยามไดกําหนดมโนทัศนลึกซึ้งนี้ในชื่อ “กาลเทศะ” เปนพื้นฐานในการใชชีวิตประจําวันมาแตโบราณกลาวโดยสรุป ผูเขียนเห็นวา กาละในเทศะ มีนัยยะดังนี้1.เวลาเปนสิ่งสมมุติสัมพัทธกับแกนการอางอิง2.เวลามีคุณลักษณเชิงวงจร เปนพลวัต (Dynamic) มีคุณลักษณเชิงวงจรรอบของวงจรขึ้นกับแตละสนามและหากพนเปลี่ยนสนามโคจรของระบบดาว เวลาในสนามนั้นก็จะเปลี่ยนไป3. เวลาเปนตัวกลางของกระบวนการและปฏิบัติการทางสังคมในแตละสนาม3.2 มายาคติในเทศะ และ กาละหากวาทกรรม ในความหมายที่วิรัชตคําศรีจันทรเชื่อมโยงกับ “การคิดแบบวิภัชชวาท ในการเปนกระบวนการคิดจําแนกแยกแยะที่เห็นจากวาทกรรม เปนการคิดผานการพูดแจกแจง ซึ่งเห็นไดจากงานของ มิเชล ฟูโก งานแนวนิรุกติศาสตรของ จิตร ภูมิศักดิ์ หรือศึกษากระบวนการทางวาทกรรม(Discourse Analysis)ซึ่งเชื่อวาการพูดการสื่อสารเปนสิ่งที่สรางความเปนมนุษย[29]หมายถึงกระแสความรูคิดที่ลองลอยและมีอํานาจกํากับผูคนใหถกเถียง/ขัดแยง/คลอยตาม/ประพฤติ/ปฏิบัติการราวกับมีชีวิต โดยการกระทําอันแนบเนียนในกระบวนการที่เรียกวาทําใหเปนธรรมดา แลว6 ผูเขียนเห็นวา รูปทรงสถาปตยกรรมพื้นถิ่น โดยทั่วไปอยูในเกณฑที่ผลิตซ้ําที่ “คลายตัวเอง” ในแบบจําลองของเรขาคณิตเศษสวนเชนกัน เชน รูปทรงหลังคา ตั้งแต ศาลพระภูมิ ซุมประตูเรือน หอนก ศาลา หอนั่ง เรือนครัวเรือนนอน หอโถง เรือนใหญ ไปจนถึงศาลาการเปรียญ ในสถาปตยกรรมถิ่นไทยภาคกลาง เปนตน851


ละก็มายาคติของกาละและมายาคติของเทศะสถานที่ ก็มีปฏิบัติการอันแนบเนียนเสมอกัน มนุษยชาติพึงรักษาความเปนมนุษยและจิตวินิจฉัยของตน ในกาลเทศะวาทกรรมดวยความเขาใจ มายาคติหรือกลวิธีดานลบของมันพรอมไปดวย[30]ตัวอยางของมายาคติของสถานที่อาจพบไดหากเรารูจักตั้งคําถามถึงบทบาทของการใช/ถูกใชสถานที่ เชนปฏิกิริยาของผูเขียนที่มีตอการหามนิสิตใสรองเทาเขาพบอาจารยในหองพักอาจารยในคณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อแรกพบตกใจประหลาดใจและเต็มไปดวยความไมเห็นดวยเนื่องจากยึดมั่นเห็นวาทกรรมทางการเมืองของที่วาง อยางไรก็ตามเมื่อภาระงานมากขึ้นหลายปผานไปผูเขียนพบตัวเองชาชินไมรูสึกอีกตอไปตราบเมื่อพบสนทนากับครูอาจารยที่เขาทํางานใหมซึ่งรูสึกถึงที่วางนี้ไดรุนแรงเชนกันอีกตัวอยางหนึ่งในฐานะวิจิตรศิลป หาประการนั้น ในสี่ประการผูเสพตองมีเจตนาที่จะเสวนาดวยไมวาจะเปนจิตรกรรม ประติมากรรม นาฏกรรมและวรรณคดี มีเพียงสถาปตยกรรมเทานั้นที่เจตนาไมใชสิ่งจําเปน มนุษยใชและถูกใชดวยสถาปตยกรรมอยางแนบเนียน ทั้งหมดนี้นาจะอธิบายถึงกระบวนการทําใหเปนธรรมดาธรรมชาติของสถานที่ไดมายาคติทางเวลา อาจทําความเขาใจผานมโนทัศนเรื่องสนามของ บูรดิเยอร ในแตละสนามจะมีสนามที่เหนือกวาและต่ํากวาควบคูไป โดยแตละสนามมีนิจภาพเรื่องเวลาที่แตกตางกันนออกไป ดังนั้นจึงเปนการงายที่จะหลงติดกับเวลาในสนามใดสนามหนึ่งที่เราตองอยูดวยมาก เชน นักธุรกิจก็อาจติดกับเวลารูปโคงเอสของอายุขัยผลิตภัณฑ หรือ สนามที่ใหญขึ้นดวยอายุขัยของแบรนดเนม และสนามที่แคบแตกวางกวาใน เวลาของดอกเบี้ยสวนนักการเมืองก็มีวาระสี่ปเปนมายาคติที่ไปกดทับ ความสําคัญโครงสรางโครงการสรางสรรคดีงามที่เห็นผลไดระยะยาวเชนการศึกษา หรือ ขาราชการก็มีระบบเวลาที่เรียกวา “ปงบประมาณ” กํากับมโนสํานึก ในฐานะวาทกรรมเวลาและ เทศะ กํากับกดทับเราไวดวยความคุนชิน จึงมีอันตรายมากสําหรับวาทกรรมการพัฒนาอยางยั่งยืนที่นําสูสถาปตยกรรมสีเขียว/สถาปตยกรรมยั่งยืนแลวสรุปไดวา“ยิ่งมองไกลยิ่งยั่งยืน”4 สัมพันธภาพกับสาขาวิชาตางๆของหนวยศึกษาตอนทายของหัวขอที่แลว ไดเสนอชื่อที่เปนไปไดจํานวนหนึ่งของภูมิทัศนวัฒนธรรมยอนคิด ในหัวขอนี้จะเปนการทดสอบพิสูจนแบบวิภัชวาทของการเห็นภาพในบางสาขาวิชาไดแก พฤติกรรมศาสตร-Paplove’s experiment,ทฤษฎีทางสังคมของบูรดิเยอร, วิทยาศาสตรกายภาพ, สัญวิทยาและ อนิจจลักษณ ในแผนภูมิใชรูปสามเหลี่ยมใชแทนความสัมพันธในกระบวนการยอนกลับของภูมิทัศนวัฒนธรรมยอนคิด4.1 การทดลองเชิงพฤติกรรมของพาพลอฟการทดลองที่มีชื่อเสียงนี้ เปนการสรางเงื่อนไขใหกับสุนัขทดลองและศึกษาพฤติกรรม เงื่อนไขการทดลองคือการใหอาหารซึ่งเกิดขึ้นพรอมกันทางเวลากับการใหสัญญาณเสียงกระดิ่ง และ สังเกตผลลัพธคือการอยากอาหารที่แสดงออกโดยการหลั่งน้ําลายของสุนัข เมื่อใช ชวงเวลาที่นานพอ การสั่นกระดิ่งถูกโยงสัญญะเวทนาสังขารวิญญาณใหกับการหลั่งน้ําลายโดยไมตองใหอาหาร ลองพิจารณานิยามภูมิทัศนวัฒนธรรมยอนกลับอีกครั้ง“ภูมิทัศนวัฒนธรรมคือดุลยภาพภายในสัมพันธภาพของกระบวนการที่มี พื้นที่ องคประกอบทางสังคมของมนุษยและเงื่อนไขทางนิเวศวิทยาของธรรมชาติ ณ ชวงเวลาหนึ่ง”852


ในแงนี้การทดลองที่ครอบคลุมนิยามนี้ อาจถูกเรียกวาภูมิทัศนวัฒนธรรมเชิงพฤติกรรมดวยเงื่อนไขทางพฤติกรรมของปจเจกนี้เราจะขยับขึ้นไปพิจารณาทฤษฎีทางสังคมวิทยาของ บูรดิเยอร ดวยแนวคิด วงการ-สนาม,นิจกรรมและการสะทอนยอนคิด,ตัวแทนของทาน4.2 ทฤษฎีทางสังคมของบูรดิเยอร“บูรดิเยอตองการชี้ใหเห็นวาวัฒนธรรมเปนองคประกอบสําคัญของสังคมที่มีแนวโนมถูกจัดใหอยูนอกประเด็นของการครอบงําเชิงอํานาจและการแบงชนชั้น ทั้งที่หากพิจารณาแลวจะเห็นวาบริเวณดังกลาวมีการแขงขันกันครอบงําทางอํานาจอยางเขมขนไมนอย การแขงขันที่เกิดขึ้นในการครอบงํานี้ บูรดิเยอร อธิบายดวยมโนทัศนวาดวย “สนาม”(Champ,Field)-วงการ,ปริมณฑล,แวดวง- โดยตองการสะทอนภาพของการแขงขันกีฬา ซึ่งตองมีเดิมพันในการแขงขัน ในแงนี้เดิมพันในสนามของวัฒนธรรมคือ ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางวัฒนธรรมในแตละสนามมีความแตกตางกันไปตามลักษณะเฉพาะของแตละสนาม อันเปนผลมาจาก “นิจภาพ”(habitus) ซึ่งประกอบขึ้นจากโครงสรางการรับรูและประเมินคุณคาที่สนามแหงนั้นไดปลูกฝงเอาไว อยางไรก็ตาม การแขงขันในสนามที่มีทุนทางวัฒนธรรมเปนเดิมพันนั้นตองดําเนินไปอยางแนบเนียน ซึ่งตองอาศัยกระบวนการตางๆคอยๆเสริมสรางขึ้นมาทั้งนี้เพื่อใหสามารถสะสมทุนดังกลาวไดไปอยางไมมีที่สิ้นสุดโดยปราศจากเสียงคัดคาน.......” [31]“ผูกระทําการ (Agent) หมายถึงปจเจกบุคคลหรือกลุมทางสังคม (หรือสิ่งอื่นที่มิใชมนุษย) ที่ในบางสถานการณอาจกระทําบางสิ่งบางอยางอันกอใหเกิดผลกระทบทางสังคมอยางใดอยางหนึ่ง (ในแงนี้ การกระทําจึงตางจากพฤติกรรม (behavior) ที่หมายถึงกิจกรรมหรือปฏิกริยาที่ไมจําเปนตองมีผลกระทบตอสังคม) โดยมีความสามารถในการเลือกและกระทําอยางเปนเอกเทศในระดับหนึ่ง” [32]“..ผูศึกษาจะตองมีความคิดวิพากษสะทอนกลับ (Reflexivity) เพื่อใหสามารถวิพากษสังคมโดยวิพากษตนเองไดในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากผูศึกษาไมวาจะเปนนักวิชาการสาขาใด ก็เปนสมาชิกคนหนึ่งซี่งผานการหลอหลอมมาโดยสังคมเชนเดียวกัน ดังนั้น หากผูศึกษามองขามการวิเคราะหตนเองแลว การสรางแนวคิดทฤษฎีที่ปราศจากอคติของผูศึกษาก็คงเปนไปไดยาก และการศึกษาสังคมก็คงเลี่ยงไมพนที่จะมีสวนพยุงความสัมพันธเชิงอํานาจที่ดําเนินในสังคมนั้นตอไป” [33]AgentEinstienField,ChampHabitus ,Reflexivityff fNewtonQuantumตัวเนนโดยผูเขียนทั้งนี้เปนผูกําหนดวางแนวคิดของทานไวในแผนภูมิภูมิทัศนวัฒนธรรมสะทอนคิดรูปซายการสะทอนคิดหมายความถึงลูกศรยอนคิดที่สะทอนกลับ และ แนวคิดเรื่องสนามแตละสนามซึ่งอาจเปนสวนหนึ่งของกันและกันแสดงในแผนภูมิรูปกลาง853


4.3 Bordieur ‘s field in Physicsผูเขียนดน(Improvise) แนวคิดเรื่องสนาม ของ ฟสิกสแบบสถิตยของนิวตัน ฟสิกสของไอนสไตนและควันตัมฟสิกสในฐานะแตละสนาม ในแผนภูมิตอไปนี้ อานสาระไดจาก จักรวาลของไอนไสตน โดย มิชิโอะ คากุ [34]แผนภูมิขวาสุด จําลอง กฏแหงความไมแนนอนของไฮเซนเบริก (Werner Heisenberg‘s uncertainty principle) และทวิลักษณของอีเลคตรอน ของ JJ Thompson เนื้อหาโดยสรุปเปนการคนพบวาในระดับควอนตัม เราไมสามารถสังเกตุการณอนุภาค ไปพรอมๆกันระหวางตําแหนงของมันกับความเร็ว และ อนุภาคแสดงตนไดทั้งดานที่เปนอนุภาคและ พลังงาน เปนการเปดฉากควันตัมฟสิกส แทนที่ระบบนิยามที่มีขอบเขตชัดเจนดวยความคลุมเคลือและกํากวม4.4 Semiologyในสัญวิทยา โรลองด บารท ไดพัฒนา ความกํากวมและคาบเกี่ยวกัน ในนาม ความหมายสัญญะอันลองลอย จากสัญวิทยาโครงสรางนิยม ของเฟอรดินานเดอโซชูร นําสู หลังโครงสรางนิยมตัวอยางที่ใชเปนเรื่อง รูปสัญญะของมา กับความหมายสัญญะของมาที่เปนสัตว และมาที่แปลวา ที่นั่งความเปนไปไดของ ความหมายสัญญะรวมของที่นั่งกับเกาอี้ ดวยรูปสัญญะของเกาอี้ มีความหมายสัญญะถึงตําแหนงทางอํานาจ ในวลี เลื่อยขาเกาอี้ ดังนั้นวันหนึ่งขางหนา เปนไปไดวา วลี เลื่อยขามา อาจเปนความหมายใหมที่ลองลอยของมา [35]4.5 เศรษฐศาสตรทรัพยากร และพิชัยสงครามในการสัมนาในหมูนิสิตปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยมี เกษม กุลประดิษฐ เปนผูจัดพื้นที่ใหมีการถกเถียงอยางอิสระในประเด็นที่วา ทรัพยากรใดที่เห็นนิสิตเห็นวาสําคัญที่สุด พบวา คําตอบที่ไดมีหลากหลายแตก็ลวนแลวแตสําคัญที่สุดทั้งสิ้น อวกาศ, โลก, มนุษยชาติ ,เวลา,ความรู ซี่งอาจจัดกลุมใหเปนสถานที่,มนุษย,และเวลา/ความรูในเงื่อนไข ก็ไดในวิชาการตลาดก็มี ปจจัย 5 ประการหรือ 5P ไดแก–Product,Price,Place,Promotion,People ซี่งพิจารณาแลวพบวาสองปจจัยเปนเรื่องของ มนุษยและสถานที่ สวนที่เหลือเปนเงื่อนไขกลไกในการผลิตการตั้งราคาและการนําเสนอสวนในวิชาการผลิตก็มีปจจัย 5ประการ 5m ไดแก Man-Machine-Medium-Mission-Management, ก็จะพบวา มนุษย และ เครื่องจักร/ตัวกลาง เปนปจจัยสองประการ สวน ปฏิบัติการและการจัดการก็คือเงื่อนไขและเวลาในการปริหารองคกรปจจัยชี้วัดความสําเร็จก็อยูที่การจัดการทรัพยากรหลักนี้ใหมีผลิตภาพไดสูงสุดนั้นเองอาจสรุปโดยทฤษฎีการบริหารที่มีรากฐานแตโบราณเชน ตําราพิชัยสงครามของซุนวู(BC770-476) ในยุคชุนชิว ในทายบทที่สิบวาดวยภูมิประเทศ ความวา“.....รูไพรพลเรารบได แตไมรูขาศึกตีไมได ชนะกี่งเดียวรูขาศึกตีได แตไมรูไพรพลเรารบไมได ชนะกึ่งเดียวรูขาศึกตีได แตไมรูภูมิประเทศรบไมได ชนะกึ่งเดียวฉะนั้น ผูรอบรูการศึก จักเคลื่อนไหวไดไมหลง จักทําการไดไมอับจนฉะนั้น จึงกลาววา รูเขารูเรา จักชนะมิพาย รูฟารูดิน จักชนะมิสิ้น854


4.6 สัมพันธภาพในกรอบระบบซับซอน/ทฤษฎีระบบ/ทฤษฎีไรระเบียบ/cybernaticsทฤษฎีระบบและ cybernatics-ศาสตรวาดวยกระบวนการปอนกลับ พัฒนาขึ้นในชวงสงครามโลก<strong>ครั้งที่</strong>สองเพื่อใชสําหรับการนําวิถีดวยตัวเองของอาวุธปลอย ตอมาในชวงราว ทศวรรษ1950 มีการพัฒนาความรูนี้แบบจําลองใหสามารถทํานายเชิงปริมาณในอนาคตได ทฤษฎีระบบเปนเครื่องมือสําคัญของกระบวนการสิ่งแวดลอมในยุคนั้นไมวาจะเปน คลับออฟโรม ไปจนถึง Agenda 21 ในการสรางความประจักษของปญหาการบริโภคพลังงาน มลภาวะของสิ่งแวดลอมและการสาบสูญของทรัพยากรโดยเฉพาะเชื้อเพลิงฟอสซิล ระบบประกอบดวยองคประกอบ สามประการคือ ขอบเขตของระบบ(หากกําหนดไดเปนระบบปด) เชนสนามฟุตบอล, สองแบบแผนกติกา,และทายสุด แรงขับหรือวัตถุประสงค เชน ชัยชนะตอมามีการพัฒนาตอเนื่องของทฤษฏีระบบในเรื่องทฤษฏีไรระเบียบเมื่อผนวกกับความรูเรื่องเรขาคณิตเศษสวน โดยมีสมมุติฐานหลักวาในโลกของความเปนจริงนนมีทั้งดานที่คงตัวและดานที่สับสน เชน ภูเขาไฟระเบิดตอมาเมื่อมีการสนใจเรื่องการเปลี่ยนผานจุดสนใจของจากทั้งสองทฤษฎีขางตนก็เลื่อนสูจุดรวมของการเปลี่ยนผานในชื่อของ ทฤษฎีซับซอน ตัวอยางหนึ่งของแบบจําลองทฤษฎีซับซอนเปนการทํางานของสมอง กลาวคือสมองฉลาดเพราะสถาปนาการเชื่อมโยงพูดคุยกันอยางซับซอนของเซลสมอง ไมใชผลรวมของคุณภาพของเซลสมองเอง หากแตเปน สัมพันธภาพระหวางซึ่งกันและกันของบรรดาเซลสมอง ตรงกับปรัชญาพุทธไดแก ปรโตโฆษะ /กัลยาณมิตร อันเปนคติสูงสุดของการหลุดพนเมื่อเปรียบปจเจกบุคคลกับแตละเซลสมองทฤษฎีระบบและวิวัฒนาการของมันทั้งหมดไดถูกบรรจุไวในเรื่อง อิทัปปจยตา กวาสองพันปมาแลว5 กรณีศึกษา ภูมิทัศนวัฒนธรรมยอนคิด หรือ ที่วางสะทอนยอนคิดผูเขียนใครขอเสนอประเด็นอภิปรายบางประการเสริมความเขาใจใหตัว บทและภูมิทัศนวัฒนธรรมสะทอนกลับโดยเฉพาะอยางยิ่ง จากกรอบอางอิงในวิถีชนชาวสยามไดดีขึ้น5.1.1 คัดเคา Oxyceros horridus Lour.“โอแมดอกคัดเคา นองจะเอาคนไหนบอกมา อยามาทําเตะทา ใชวาจาจับปลาสองมือ” ประโยคขางตนคัดจากเพลงแสบเขาไปถึงทรวงผลงานประพันธของ ครูฉลอง ภูสวาง ขับรองครั้งแรกโดย ชายธง ทรงพล ในป พ.ศ.2515-16 เพลงนี้ผูประพันธเขาใจถึงรูปสัญญะของ ตนคัดเคา ที่มีลักษณะเดนในแงการแตกกิ่งหนามใบเปนระบบคูมุมฉากเปนอยางดี การนํา “รูป”ดังกลาวมาใชดวยการเปรียบเปรยคูกับ “นาม” / “ความหมายสัญญะ” -“สองใจ” จึงเปนปฏิภาณกวีที่คมคาย และชี้ใหเห็น ถึง “การเห็น,การคิดดวยภาพ” ซึ่งผูเขียนเห็นวาเปนลักษณะสําคัญของภูมิทัศนวัฒนธรรมไทยการรับรูซาบซึ้งจากสาธาณชนที่มีตอกวีนิพนธดนตรีก็ตองการเนื้อหาไวยากรณของการเขาใจภาพหรือความหมายสัญญะเชนกัน จุดนี้จึงเปนปญหาสําหรับสังคมหลังสมัยใหมในแงที่เวลาปจจุบันตอเนื่องไมรูจบเต็มไปดวยการไหลของรูปสัญญะที่ไมตองการความหมายสัญญะเชน ในรายการดนตรีMTV [40] นอกจากคัดเคาแลวผูเขียนเคยเสนอภูมิทัศนวัฒนธรรม[41]จากพืชจากกรณีของตาลโตนดอานเพื่อเปรียบเทียบรายละเอียดแผนภาพตอนี้ไปจะใช รูปสามเหลี่ยมแทนระบบลูกศรในวงจรยอนกลับ855


5.1.2 เสือลายพาดกลอน (Panthera Tigris)พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2542 ใหความหมายเสือลายพาดกลอนไวดังนี้ “ชื่อเสือ Panthera Tigris ในวงศ Felidae เปนเสือใหญที่สุดในประเทศไทยตัวสีเหลืองมีลายดําพาดตามขวาง... แลว “กลอน”อะไรอยูในเสือลายพาดกลอน เมื่อวิเคราะหความหมาย (อรรถ)เพื่อตัดความหมายที่ไมเขาความ ตัดกลอนในความหมายรูปแบบคําประพันธ,ลูกตุม และไมขัดสลักประตูหนาตางซึ่งความหมายไมเขาความออก “กลอน”เดียวที่เหลืออยูคือ “ ไมที่พาดบนแปสําหรับวางเครื่องมุงหลังคาจาก” นั่นคือองคประกอบอาคารในสถาปตยกรรมไทยซึ่งเปนไมชิ้นบางพาดบนอกไกและแปหัวเสาตามแนวดานสกัดของหลังคาเพื่อรองรับระแนงกระเบื้องเครื่องมุงหลังคาจึงใหรูปหลังคาเรือนไทยภาคกลางที่โคงผายออก การวางกลอนความถี่คอนขางมากตามวัสดุมุงชิ้นเล็กเชนกระเบื้องดินขอ,กระเบื้องวาวหรือตับจากตับแฝก การปรุงเรือนไทยจะหลังคาเครื่องไมสับใหเสร็จบนพื้นดิน แลวคอยถอดนําไปประกอบบนยอดเสาอีกครั้งหนึ่ง ลองคิดดวยภาพ เสือที่เดินลอดโครงหลังคาเรือนเครื่องสับที่ปรุงคางอยูที่พื้นดิน แสงตะวันสองพาดเงากลอนเปนริ้วเปนทาง เมื่อเสือเดินลอดผานโครงสรางหลังคาลายกลอนจึงพาดไปบนรางเสือ “เสือลายพาดกลอน” 7 จึงบังเกิดดวยภาพเชนนี้ นอกจากการคิดดวยภาพแลว วิถีชีวิตแตเดิมตองใชทักษะหลายหลาก การปรุงเรือนสรางบาน ศัพทเกี่ยวกับเรือนเปนสิ่งคุนเคยในชีวิตประจําวันที่หยิบยืมใชในการสรางสรรคคําในภาษา คําเสือลายพาดกลอนจึงเปนหลักฐานทางโบราณคดีของวิถีชีวิตและสถาปตยกรรมพื้นถิ่น นาสังเกตุวาโลกทัศนแบบแยกสวนไดกระทําการแตกแยกความรูที่แตเดิมอยูดวยกันนี้ออกจากกันดวย คําชางซึ่งเคยเปนที่”รูกัน”โดยทั่วไปในสังคม ไดกลายเปนศัพทเทคนิคเฉพาะดานไปแลว[45]5.1.3 ผีมโนทัศนเรื่องผีในวัฒนธรรมไทยเปนมากกวาสิ่งนากลัวนาเกรงขาม โชคดีที่การศึกษาทางสังคมศาสตรมานุษยวิทยามีปริมาณและคุณภาพครอบคลุมมโนทัศนนี้ เราพบวา อยางนอย ผีอยูในฐานะ เงื่อนไขทางสังคมในสองลักษณะในสองบริบท กลาวคือ ในพื้นถิ่นเหนือ ผีเปนที่เคารพและเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทีปกปองรักษาพื้นที่และทรัพยากรเชน ผีขุนน้ําผีเหมือง สวนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผีอยูในเงื่อนไขทางสังคมอีกแบบหนึ่งคือมีบทบาทในการกํากับการทางสังคม เงื่อนไขการเปนผีปอบ ถูกใชในการจัดการความขัดแยง เปนเครื่องมือกลไกที่จะกําจัดอัปเปหิบุคคลหรือกลุมคนออกจากสังคมโดยรวม7 จารุจินต นภีตะภัฏ นักอนุกรมวิธานสัตววิทยาคนสําคัญของชาติ ไดใหความหมายของเสือลายพาดกลอนอีกแบบหนึ่ง ดังนี้ “ เสือลายพาดกลอนมาจากเสือลายกายกลอน กลอนเปนภาษาโบราณหมายถึงซี่โครง คือเปนเสือที่ลายกายอยูบนซี่โครง” ผูเขียนเห็นวา เปนไดที่คําวากลอนเปนคําโบราณหมายถึงซี่โครงจริง เพราะ ภาพโครงกระดูกที่มีซี่โครงเปนริ้ว เปนภาพรวมนัย กับโครงสรางหลังคาที่มีกลอนเปนโครงเปนริ้ว แตเห็นวา กลอน นาจะสัมพันธกับโครง ไปสู โครงที่เพี้ยนเสียงไปมากกวา นอกจากนี้กริยาพาดซึ่งหมายถึงวางในตําแหนงที่สูงโดยเปรียบเทียบเชน พาดบนตัก หรือ วางพาดบนตัก ก็ถือวาตักสูงกวาพื้น โดย ศัพทชางปรุงเรือนไทย ก็ใชคํา พาดกลอน คือวางพาดไมกลอนในตําแหนงที่สูง ในที่นี้คือ อกไกและแปหัวเสา เปนตน856


5.1.4 ศาลา,เรือนไทย“….เดี๋ยวนี้เราตองมีหอง จะนอนก็ตองนอนหองหนึ่ง จะกินก็ตองอีกหองหนึ่ง จะรับแขกก็ตองอีกหองหนึ่ง คนโบราณเขาไมมีหอง เขาอยูหลังไหนก็หลังนั้น กินก็ที่นั่น นอนก็ที่นั่น แขกไปใครมา ก็รับกันที่นั่น......” (ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ปราโมทย) เนนโดยผูเขียน [41] เชนเดียวกับเรือนไทย ศาลาทาน้ําของชาวบานสยามมีประโยชนและการใชสอยที่หลากหลายนามหัศจรรย เชนกัน ศาลาทาน้ําหลังหนึ่งเปนได ตั้งแต หองน้ํา หองนอน หองรับแขก สนามเด็กเลนรูปสัญญะไมเปลี่ยนแต ความหมายสัญญะเลื่อนไหลไป ตามกาลเทศะ5.1.5 จิตรกรรมฝาผนังโบสถ[42]งานวิจัย[42] ของเสมอชัย พูลสุวรรณ ไดชี้ใหเห็นการใชจิตรกรรมฝาผนังในโบสถไทย ความรูใหมอยูในประเด็นที่วาจิตรกรรมฝาผนังไทยเปนองคประกอบสัมพันธสภาพกับที่วางของสถาปตยกรรมและพุทธปฏิมาที่ประดิษฐานภายในทั้งโดยตําแหนงแหงที่ของจิตรกรรมฝาผนังและเนื้อหาของจิตรกรรมกลาวคือเปนภาพความคิดภายในพุทธองคขณะกําลังตรัสรูและการตัดสินพระทัย ที่จะเลือกหนทางแหงโลกุตรแหงการตรัสรูแทนการเลือกที่จะอยูในโลกียสุขในไตรภูมิจนองคประกอบทั้งหมดเปนหนวยทางที่วางเดียวกันผูใชอาคารตองแปลสาระ(Interpret) เขาใจเขาถึงเนื้อหาและรวมเปนประจักษพยานในปรากฏการณไปดวยนอกเหนือจากการใชสอยปกติ แตกตางอยางสิ้นเชิงจากจิตรกรรมฝาผนังในวัฒนธรรมอื่นๆ ซึ่งสามารถแยกรูปสัญญะและความหมายสัญญะออกจากที่วางได6 บทสรุปบทความทางวิชาการชิ้นนี้เปนบทความดานทฤษฎีซึ่งขอละการสรุปดานทฤษฎีไวกับการอานเชิงโครงสรางหรือระหวางบันทัดหรืออานภูมิทัศนทางความคิดซ้ํา จึงขอใชพื้นที่สวนที่เหลือในบทสรุปในจินตภาพเชิงปฏิบัติการทั้งสวนบุคคลและสังคมเทาที่จะคิดนึกในกรอบคิดนี้ภายในสนามตางๆสนามของปจเจกบุคคลของผูสราง/เสพยที่วาง การทบทวนสันชานของตนจากกรอบเทศะที่วางทางกายภาพแตเพียงอยางเดียว ตองสะทอนยอนคิดจาก ขยายความรูสึกอันละเอียดออนของอายตนะ-รสนิยม- ไปสูความละเอียดออนของสันชานแบบใหมดานเทศะทางสังคมการเมือง, เทศะกาละ, เทศะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรสนามของการสอนเชนคณะสถาปตยกรรมศาสตร การถอดรองเทาในหองพักอาจารย คงถูกรูสึกขัดแยงมากในสันชานแบบใหมนี้เพราะเทศะทางสังคมการเมืองเชนนี้ยอนแยงกับการสรางความรักรูสึกรวมทางสังคมกับผูมีสวนรวมกลุมใหญ และการสรางการมีสวนรวมใหเปนวัฒนธรรมองคกรมีสําคัญตอความยั่งยืนอยางยิ่งสําหรับผูศึกษาภาคสนามทางสถาปตยกรรมพื้นถิ่นและภูมิทัศนวัฒนธรรม นอกจากการพัฒนาสันชานแลวการสะทอนยอนคิดระหวางคุณคาของที่วางในสนามศึกษา กับที่วางสังคมรอบตัวและรวมถึงที่วางภายในตนเปนสิ่งที่ละเลยไมไดสนามพื้นที่ทางวิชาชีพ ในสาขาแพทยใช ศัพทวา ประกอบโรคศิลป หมายความวาการทํางานทางวิชาชีพตองใชสติปญญาประสบการณยิ่งยวดเชน ศิลป การสรางสังคมทางการทํางานเชนนั้นไดตองประกันไดวาผูมีสมบัติพรอมที่จะประกอบวิชาชีพไมตองไปใชเวลาสติปญญาและทรัพยากรสวนใหญกับเรื่องผลประโยชน ดังนั้นจึงมีสมาคมทางสาขาวิชาชีพจึงมีความหมายที่จะปกปองพื้นที่นี้ เชน สมาคมวิชาชีพทางทันตแพทยกําหนดอัตรา857


คาบริการทางวิชาชีพขั้นต่ํา เชนการอุดฟนให สมเหตุสมผลและมากพอจะดํารงชีวิตอยูได ทันตแพทยจึงใชสติปญญาสูงสุดกับ “การประกอบโรคศิลป”สมาคมทางวิชาชีพสิ่งแวดลอมสรรคสราง เชน สภาสถาปนิก หนาที่หลักที่ตองใหความสําคัญที่สุดคือปฏิบัติการใดๆที่จะมีสวนกําหนดสรางเทศะทางสังคมของการทํางานที่มีสันติสุขในที่สุด(เทาที่ผูเขียนทราบอัตราคาบริการวิชาชีพสถาปตยกรรมของไทยต่ํากวาอินโดนีเซียราวครึ่งหนึ่ง) ใหกับ ศิษยที่คณะสถาปตยกรรมศาสตรตางๆจะสงไปปอนสังคม เพื่อใหเขาเหลานั้นไดใชสติสมาธิเต็มที่กับการสรางสรรคที่วางใหสังคมไทยสมาคมทางวิชาการสิ่งแวดลอมสรรคสราง เชน สภาคณบดีสถาปตยกรรมแหงประเทศไทยใชความเขาใจในหนวยศึกษาใหมดวยการผลิตสรางกลไกการวิพากยและการเตือนสติตอสังคมอยาง Pro-Active เปนแสงสองทางใหปญญากับสังคม ซึ่งหากทุกๆวงการกระทําอยางดีแลว พื้นที่ของความขัดแยงทางการเมืองจะเปลี่ยนสนามจากทองถนนมาสูพื้นที่ทางสังคมที่เราออกแบบไดเชนนี้ตัวอยางที่เปนเทศะทางกายภาพ เชนที่ นิจ หิญชีระนันท [43] ไดชี้บงเมื่อสิบสองปมาแลวกรณี พลับพลาเปลื้องเครื่องวัดราชบพิตรกับหมอแปลงไฟฟา แตทําไมสภาพยังอยู ควรหรือไมที่จะนําขอเสนอแนะสิบประการของทานมารางกํากับนโยบายพื้นที่สาธารณะของประเทศกลาวถึงประเด็นในปจจุบันสมัยสิทธิของผูคนที่จะมีโอกาสที่จะผดุงความสงบสวนตนในระบบขนสงสาธารณะเชนบนรถไฟฟาBTS และรถโดยสารสาธารณะ มิใชใหทุกจุดในทุกคันในขบวนรถไฟฟาสามรถอัดฉีดภาพเคลื่อนไหวและเสียงโฆษณาใสผูโดยสารที่จายคาโดยสารตลอดเวลา เปนปญหาทางที่วางที่วิชาการตองตอสูชี้แนะใหสาธารณสังคมการผุดบังเกิดของปายโฆษณามหึมา ตองแสดงจุดยืนใหสังคมยึดเหนึ่ยวไดชัดเจน อยาปลอยปละละเลย(Ignorance) ในทุกๆ ทุกระดับของสนาม (field,champ)ที่เราพึงมีสวนไดสวนเสีย ตนทุนทางสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของประเทศกําลังถูกทําใหหมดไปจากปายยักษเหลานี้ [48]นอกจาก พื้นที่ทางการบริโภคสัญญะนอกจากปายแลว เทศะกาละของสื่อสารมวลชนเชนที่เปนอยูที่ไดกําหนดเวลาออกอากาศที่มีผูชม(ประชากรไทย)จํานวนมากที่สุด(Prime time)ใหกับละคอนโทรทัศนซึ่งมีเนื้อหาตายตัวแบบStereotype เชน พระเอกถูกเสมอ, มีตัวชวยเสมอ, และไมบาปแมใชความรุนแรงเชนตบจูบขมขืน เปนตนความถี่ของเรื่องไมเปนเรื่อง ที่กระทําซ้ําแลวซ้ําอีกอยางแนบเนียนยอมที่นอมใจใหคนที่เสพยทั้งโดยตั้งใจและไมตั้งใจเห็นไปไดวา ถาเปนพวกพระเอกแลว (ไมวาจะใสเสื้อสีใด)การกระทําใดก็ตามลวน ไมบาป ไมผิด และจะไดดีในที่สุด(happy ending) เมื่อโยงตัวเองเขาสูกระบวนการทางการเมือง ก็นอมนําใหมีพฤติกรรมอันนารังเกียจอยางที่เปนอยูใน และสรางความเสียหายใหประเทศนี้อยางบอบช้ําที่สุดเทาที่เคยเปนมา นี่คือความไรสาระทางการกํากับเวลาที่ไดกํากับกระทํากับสังคมไทยแลวอยางรุนแรงที่สุด [46]เรามีหนาที่ตองพูดวาทกรรมเหลานี้อยางจริงจังเพือแสวงหาฉันทามติโดยสังคมปญญาวินิจฉัย เพราะเราจําเปนที่จะตองรักษา/สถาปนาที ่วางสันติสุขในทุกสนามใหกับลูกหลานของมนุษยชาติเราในอนาคตเอกสารอางอิง[1] ปแยร บูรดิเยอ (2550) เศรษฐกิจของทรัพยสินเชิงสัญลักษณ. ชนิดา เสงี่ยมไพศาลสุข(ป).นพพร ประชากุล (บ).สํานักพิมพคบไฟ.กรุงเทพมหานครน.9 “...โดยมีเงื่อนไขวาผูศึกษาตองมีความคิดวิพากษสะทอนกลับ (re’flexivite’) เพื่อใหสามารถวิพากษสังคมโดยวิพากษตนเองไดในเวลาเดียวกัน”น.76,85 นิจภาพ (Habitus) และ โครงสรางเชิงภววิสัยที่บูรดิเยอเรียกวา สนาม (Champ หรือ field)[2] นิจ หิญชีระนันท(2537)ปาฐกถาชุด “สิรินธร”<strong>ครั้งที่</strong>๙ เรื่องสถาปตยกรรมไทย.โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร.858


ปาฐกถานี้ นอกจากความรอบรูทางสถาปตยกรรมในบริบทของประเทศแลว องคปาฐกไดเสนอ หลักการและแนวทางในการพัฒนาสถาปตยกรรมรวมสมัย 10 ประการ ขอความขางตนคัดจาก ประการที่ ๙ ผูเขียนเห็นวาหลักการทั้งสิบขอนี้ประกอบดวยวิสัยทัศนมองการณไกลจึงยังคงทนทันสมัยอยูในปจจุบัน สมควรที่สถาบันทางวิชาการวิชาชีพจะสัมมนาพินิจพิเคราะหเพื่อใชเปนฐานคิดแนวนโยบายสาธารณะวาดวยสภาวะแวดลอมสรรคสรางของประเทศตอไป[4] คําถามในลักษณะนี้ไมไดมีแตในสถาปตยกรรมเทานั้นแตสําหรับ”สิ่งแวดลอมสรรคสราง”แลวเปนประเด็นหลักในการทาทายที่จะหาคําตอบซึ่งอาจเปนทฤษฎีรวมทางสังคมสิ่งแวดลอมKoskela, Lauri (2008) 'Is a theory of the built environment needed?', Building Research & Information, 36:3, 211 — 215Hillier, Bill (2008) 'Space and spatiality: what the built environment needs from social theory', Building Research & Information, 36:3,216— 230[5] มิชิโอะ คากุ.(2550) จักรวาลของไอนสไตน. สวาง พงศศิริพัฒน(แปล). สํานักพิมพคบไฟ.กรุงเทพมหานคร[6] ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร.(2542) วาทกรรมการพัฒนา.พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>3. สํานักพิมพวิภาษา.กรุงเทพมหานครไชยรัตน เจริญสินโอฬาร.(2545) สัญวิทยา,โครงสรางนิยม,หลังโครงสรางนิยมกับการศึกษารัฐศาสตรสํานักพิมพวิภาษา.กรุงเทพมหา[7] ทองพันธุ พูนสุวรรณ(2550), Philosophy เผชิญปญญาสยาม: Epistemology เผชิญญาณวิทยาสยาม, เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องเดียวกันเมื่อ29 ม.ค 2551, ม.เกษตรศาสตร.กรุงเทพมหานคร[8] เฮนรี่ เดวิด ธอรโร(2534) วอลเดน.สุริยฉัตร ชัยมงคล (แปล).สํานักพิมพคบไฟ .กรุงเทพมหานคร[9] ซุนวู(2547) ตําราพิชัยสงคราม. บุญศักดิ์ แสงระวี(แปล).สํานักพิมพสุขภาพใจ.กรุงเทพมหานคร.- ซุนวู ใหความสําคัญกับมนุษยuser-เขาและเรา ในระดับเดียวกับ บริบท-ฟาดิน เชนเดียวกันกับ อุดมคติหลักการพื้นฐานทางการออกแบบสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรมที่ใหความสําคัญกับที่ตั้งและโปรแกรมประโยชนใชสอย-สํานวน“หนี ญญายพายจแจ” คัดจาก -พอขุนรามคําแหง ศิลาจารึกหลักที่หนึ่ง -สํานวน“หาวตอหาวหักหาญ ชาญตอชาญหักเชี่ยว” และ “ยอยุทธยุงบมิแตก แยกยุทธแยงบมิพัง”คัดจาก-สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ลิลิตตะเลงพาย[10] -วิกิพีเดีย http://th.wikipedia.org/wiki/ภูมิทัศนวัฒนธรรม 8 Jan. 2009-ไพศาล เทพวงศศิริรัตน(2009) จากมุมธรรมดาของชีวิตประจําวันสูสิ่งแวดลอมสรรคสรางในเอกสารโครงการจัดอบรมทํางานวิจัยและวิชาการเรื่อง“ชิมลางสิ่งแวดลอมสรรคสราง2009 คณะสถาปตยกรรมศาสร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร[11] Vimolsiddhi Horayangkura.(2005) The Future of Cultural Heritage Conservation amid Urbanization in Asia: Constraints and Prospects.In Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 3. 2005.Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University[12] Peter H.Goodchild(2007),Appendix A. GARLAND in Interpreting Landscape Heritage in Proceedings of ICOMOSThailand2007International Symposium: Interpretation from Monument to Living Landscape, ICOMOS Thailand,Bandkok[<strong>13</strong>] The Cultural Landscape Foundation. Downloaded available at http://www.tclf.org/whatis.htm 8 Jan. 2009[14] The Arnold Arboretum of Harvard University:Institue for Cultural Landscape Studies. Downloaded available athttp://www.icls.harvard.edu/language/whatare.html8 Jan. 2009[15] UNESCO , ICOMOS. Available download at http://www.icomos.org/landscapes/index2engl.htm#http://whc.unesco.org/en/culturallandscape#1http://whc.unesco.org/archive/opguide05-annex3-en.pdf8 Jan 2009[16] Saran Samantarat(2009), Aquatic Pinnabadha Invention Tradition : Relativity Cultural landscape paper prepare for 47 th KU AnnualAcademic Conference[17] ศรันย สมันตรัฐ (2550). วาดวยมิติของที่วางในสภาวะแวดลอมสรรคสรางองครวมและเหตุปจจัยแหงความยั่งยืน. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ สถาปตยปาฐะ สถาปตยกรรมในดินแดนสุวรรณภูมิ, คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร.185[18] วีระ อินพันทัง.(2545) รายงานการวิจัยเรื่อง เหยาเรือนพื้นบานภาคตะวันตก. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร(มหาชน), กรุงเทพฯ[19] วิวัฒน เตมียพันธ (2543)”สถาปตยกรรมพื้นถิ่น: ฐานะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม”ในความหลากหลายของเรือนพื้นถิ่นไทยหนา5-10., คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ[20] จอหน เอช อารโนลด (2549) ประวัติศาสตรของประวัติศาสตร .ไชยันต รัชชกูล (ป).ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร.[21] นวลนอย บุญวงศ (2539), หลักการออกแบบ, หนา162-168: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,กรุงเทพ[22] ไอแซค อาซิมอฟ, ชุดสถาบันสถาปนา[23] Reference20 หนา166-167[24] Fabian,Johannes (1983) Time and the Other:How Anthropology Makes Its Object .Columbia University Press. New York อางใน ปนแกวเหลืองอรามศรี เมื่อมานุษยวิทยาพบกับวัฒนธรรมศึกษาสัมพันธภาพที่นากระวนกระวาย เอกสารประกอบการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยา<strong>ครั้งที่</strong>7ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร 2551[25] Reference7, 71[26] Reference5 ,67859


[27] ศรันย สมันตรัฐ(2546). นิเวศวัฒนธรรม: สถาปตยกรรมน้ํากรอยปากน้ําแมกลองฝงขวา ใน Current:Reflection of Society, Proceedings SilpakornArchitectural Discourse 3 rd Symposium. Amarin Printing, P-4.5[28] ศรันย สมันตรัฐ และ คัทลียา นพรัตนราภรณ (2550), รายงานวิจัยเรื่อง บิณฑบาตเรือ: บทบาทของวัดและชุมชนในการสรางสรรคภูมิทัศนวัฒนธรรมไทย, คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ, กระทรวงวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร[29] วิรัตน คําศรีจันทร (2550), โยนิโสมนสิการ: วิธีคิดและกระบวนการคิดใหแยบคาย10วิธี, เอกสารการบรรยายพิเศษนิสิตปริญญาเอกสาขาเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กระบวนการเรียนรูแบบมโนทัศน (Conceptual Thinking) , สถาบันพัฒนาสาธารณสุขอาเซียน,มหาวิทยาลัยมหิดล น.7[30] Reference 6 ,19-20[31] Reference 1 ,81[32] Reference 1 ,104[33] Reference 1 ,(7)[34] Reference 5[35] ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร.(2545) สัญวิทยา,โครงสรางนิยม,หลังโครงสรางนิยมกับการศึกษารัฐศาสตร. สํานักพิมพวิภาษา.กรุงเทพมหานคร, 122-176[36] Reference7, 71 -75[37] ศรันย สมันตรัฐ.(ราง) รายงานวิจัยเรื่อง ความรูดั้งเดิมและสัมพันธภาพภายในภูมิทัศน วัฒนธรรมผานสถาปตยกรรมปกาเกอะญอ ,สถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร[38] ขวัญชีวัน บัวแดง(2546ก) การเปลี่ยนศาสนา: ความซับซอนของการแสดงตัวตนของคนกะเหรี่ยงทางภาคเหนือของประเทศไทยใน อัตลักษณ ชาติพันธุและความเปนชายขอบ, ปนแกว เหลืองอรามศรี (บก.) ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร.กรุงเทพฯขวัญชีวัน บัวแดง(2546ข) รายงานวิจัยเรื่อง ศาสนาและอัตลักษณของกลุมชาติพันธุ : ศึกษากรณีกลุมชนกะเหรี่ยงในประเทศไทยและประเทศพมา.สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม[39] Reference 28 and Saran Samantarat(2007),Salkapatpolamai as inventiontradition in Ruaksuan Cultural Landscape in Proceedings of ICOMOSThailand2007 International Symposium: Interpretation fromMonument to Living Landscape, ICOMOS Thailand,Bandkok[40] จันทนี เจริญศรี(2545)โพสตโมเดิรนและสังคมวิทยา.วิภาษา .กรุงเทพมหานคร, 11-12,25-33[41] ศรันย สมันตรัฐ(2551).ความมั่นคงและยั่งยืนในภูมิทัศนวัฒนธรรมตาลโตนด ใน Proceeding of CDAST2008 การประชุมวิชาการสภาคณบดีสถาปตยกรรมศาสตรแหงประเทศไทย[42] Reference 2, 15[43] เสมอชัย พูลสุวรรณ (2539) รายงานวิจัยเรื่องสัญลักษณในงานจิตรกรรมไทยระหวางพุทธศตวรรษที่๑๙ถึง๒๔. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มูลนิธิโตโยตา,กรุงเทพมหานคร[44] Reference 2, 45[45] วีระศักร จันทรสงแสง. ฝากความรูไวกับแผนดินจากจารุจินต นภีตะภัฏ ใน วารสารสารคดี 286 ธค. 2551 หนา 66 .สารคดี.รุงเทพ[46] Reference 6,342-367 อานประกอบบทวิเคราะหวาดวยความรุนแรงในสังคมโลกหลังสมัยใหมในรวันดาและกัมพูชา[47] ชัยวัฒน ถิระพันธุ (2544) ทฤษฎีไรระเบียบกับทางแพรงของสังคมสยาม.พิมพ<strong>ครั้งที่</strong>4.อมรินทร.กรุงเทพมหานคร.และ สันติรักษ ประเสริฐสุข(2004)เรขาคณิตเศษสวนในสถาปตยกรรมและผังเมือง In Journal of Architectural/Planning Research and StudiesVolume 2. 2004.Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University.155-170[48] อนุสรณ ภักดิ์สุขเจริญ (2004) ระบบคุณคาและสถาปตยกรรมความหมาย In Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 2.2004.Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University.123-<strong>13</strong>2.860

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!