22.02.2015 Views

Scarification - CRDC

Scarification - CRDC

Scarification - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

550 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

เช่นเดียวกับ Nerson (2002) พบว่า เมล็ดพันธุ ์ watermelon ที่ลอกเปลือกหุ ้มเมล็ดออกสามารถกระตุ ้นท าให้เมล็ดมีเปอร์เซ็นต์<br />

ความงอก และอัตราการงอกมากกว่าร้อยละ 50 เมื่อน าเมล็ดบวบเหลี่ยม แฟง และมะระ แช่ในน ้าอุ ่น อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส<br />

นาน 30 นาที ท าให้เมล็ดมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงขึ ้น 65-89 เปอร์เซ็นต์(ภานุมาศ และปิ ยดา, 2550) เมล็ดฟักเขียวที่แช่ในน ้าพร้อม<br />

กับการให้อากาศผ่านน ้า ท าให้เมล็ดมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเพิ่มขึ ้น 99.0 เปอร์เซ็นต์ (นาฏญา, 2548) ส่วนเมล็ดถั่วที่มีปัญหาการ<br />

งอกน ามาขัดด้วยกระดาษทรายช่วยท าให้เมล็ดงอกเพิ่มขึ ้นและงอกเร็วกว่าวิธีการอื่น (Ortega และคณะ, 2002) นอกจากนี ้ยังมีวิธี<br />

scarification อื่นๆ เช่น วิธีการอบเมล็ดด้วยลมร้อนเป็ นต้น แม้ว่าสามารถปรับปรุงการงอกของเมล็ดแฟงที่พักตัวได้เพิ่มขึ ้น แต่ความ<br />

งอกยังค่อนข้างต ่า<br />

ดังนั ้นงานวิจัยนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการงอกของเมล็ดแฟงที่พักตัวด้วยวิธี scarification ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

น าเมล็ดแฟงที่ซื ้อจากบริษัทเมล็ดพันธุ ์ตราสิงห์มาศึกษาการกระตุ ้นการงอกของเมล็ดโดยการท า scarification 7 วิธี ได้แก่ การ<br />

ตัดเปลือกเมล็ด, การแกะเปลือกเมล็ด, การขัดด้วยกระดาษทราย, การอบลมร้อนที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง, การ<br />

แช่น ้าอุ ่นอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที, การแช่น ้าอุ ่นอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที ร่วมกับการอบลมร้อน<br />

อุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส นาน 16 ชั่วโมง, การแช่น ้ากลั่น 7 ชั่วโมงร่วมกับการให้อากาศผ่านน ้า 45 นาที ทุกชั่วโมง แล้วน ามา<br />

ตรวจสอบลักษณะต่างๆ ได้แก่ ร้อยละความงอก (Germination percentage) ตามมาตรฐานของ ISTA (2007) ความแข็งแรงของ<br />

เมล็ดทดสอบโดยวัดอัตราการเจริญเติบโตของต้นกล้า (Seedling growth rate; SGR) ดัชนีการงอก (Germination index; GI) และ<br />

ค่า Days to emergence (DTE) ซึ่งท าการทดลอง 4 ซ ้าๆ ละ 100 เมล็ด และน าทดสอบความมีชีวิตโดยวิธี Tetrazolium test (TZ)<br />

วางแผนการทดลองแบบ Complete randomized design (CRD) วิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance, ANOVA) และ<br />

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan , s New Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

จากการศึกษาผลของการใช้วิธี scarification เพื่อปรับปรุงการงอกของเมล็ดพันธุ ์แฟงที่มีการพักตัวพบว่า scarification ทุกวิธี<br />

ท าให้ร้อยละความงอกของเมล็ดแฟงเพิ่มขึ ้น เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม โดยวิธีการตัดปลายและแกะเปลือกเมล็ดกระตุ ้นให้<br />

เมล็ดมีเปอร์เซ็นต์การงอกเพิ่มขึ ้น (50-48 เปอร์เซ็นต์) ดีกว่าวิธีการอื่นๆ (Table 1) ในขณะที่การอบลมร้อนที่อุณหภูมิ 50 องศา<br />

เซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง ท าให้เมล็ดมีความงอกต ่าสุด (23.8 ร้อยละ) นอกจากนี ้การแช่น ้าอุ ่นอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 30<br />

นาที, การขัดด้วยกระดาษทราย, การแช่น ้ากลั่น 7 ชั่วโมงร่วมกับการให้อากาศผ่านน ้า 45 นาที ทุกชั่วโมง และการแช่น ้าอุ ่นอุณหภูมิ<br />

50 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที ร่วมกับการอบลมร้อนอุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส นาน 16 ชั่วโมง เมล็ดมีเปอร์เซ็นต์ความงอก<br />

33.3, 32.3, 30.0 และ 25.5 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ (Table 1) การตัดปลายและแกะเปลือกเมล็ดยังท าให้ดัชนีการงอกและอัตราการ<br />

เจริญเติบโตของต้นกล้ามีค่าสูง แต่ให้ผลไม่แตกต่างกันกับวิธีอื่นๆ (Table 1) เดือนเต็ม และคณะ (2552) รายงานว่า การตัดปลาย<br />

และการแกะเปลือกเมล็ดพันธุ ์ฟักและแฟงท าให้มีเปอร์เซ็นต์การแทงรากมีค่า 96.0 และ 99.5 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ซึ่งเพิ่มสูงกว่า<br />

ชุดควบคุม เนื่องจากองค์ประกอบโครงสร้างเปลือกเมล็ดแฟงส่วนใหญ่เป็ น cellulose (β-glucan) และเซลล์มีการจัดเรียงตัวกัน<br />

อย่างหนาแน่น (Yim และ Bradford,1998) โดยลักษณะโครงสร้างเปลือกของเมล็ดพันธุ ์แฟงมีสารประกอบจ าพวก wax และ<br />

suberin ซึ่งเป็ นชั ้นที่ป้ องกันการซึมผ่านของน ้าและอากาศในส่วน outer membrane (Welbaum และ Branford, 1990) ดังนั ้นเมื่อ<br />

น าเมล็ดมาตัดปลาย หรือแกะเปลือกจึงท าให้น ้าและอากาศซึมผ่านเข้าไปในส่วน outer membrane ส่งผลให้เมล็ดแฟงมีความงอก<br />

เพิ่มสูงขึ ้นกว่า scarification วิธีอื่น (Table 1) เช่นเดียวกับ สรายุทธ์ และคณะ (2550) กล่าวว่า การตัดเปลือกหุ ้มเมล็ดโดยใช้ใบมีด<br />

ผ่าตัด หรือใช้กรรไกรตัดเล็บในเมล็ดพันธุ ์ถั่วคาวาลเคด ถั่วไมยรา ถั่วท่าพระสไตโล และถั่วฮามาต้า ช่วยให้เมล็ดสามารถงอกได้ดี<br />

ขึ ้นกว่า scarification วิธีอื่น การท า scarification โดยตัดปลายและแกะเปลือกเมล็ดท าให้มีต้นกล้าผิดปกติ (15.8 และ17.8<br />

เปอร์เซ็นต์) และมีเมล็ดเน่าน้อยที่สุด (12.5 และ 12.0 เปอร์เซ็นต์) (Table 1) ส่วนการอบลมร้อนที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน<br />

48 ชั่วโมง และการแช่น ้าอุ ่นอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที ร่วมกับการอบลมร้อนอุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส นาน 16<br />

ชั่วโมง มีต้นกล้าผิดปกติ 25.0 และ 28.5 เปอร์เซ็นต์ และเมล็ดเน่ามีค่า 30.0 และ 25.0 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ สูงกว่าวิธี<br />

scarification อื่นๆ นอกจากนี ้ทั ้ง 2 วิธี DTE มีค่า 5.7 และ 4.4 ซึ่งสูงสุด (Table 1) เมื่อน าเมล็ดที่มีการดูดน ้าแต่ไม่งอก ไปทดสอบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!