11.07.2015 Views

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):13-15 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):13-15สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchภาพดานหลังคางคาวปกขน (Harpiocephalus sp.) มีลักษณะเดนคือ มีขนสีสมขึ้นบริเวณเยื่อปกและเยื่อหางภาพโดย เธียรศิริ มูลจันทรDetail of the back of Harpiocephalus sp. indicates the remarkable characteristic, orange hair on thewing and tail membranes, Ngao waterfall, Ranong province. Photo by Tiensiri Moonchanจากเกาะไตหวัน (2n=44) แตกตางจากคางคาวปกขน H. mordax (2n=40) ซึ่งเปนคางคาวตัวเมียที่จับจากเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง จ. อุทัยธานี (McBee et al., 1986) สอดคลองกับ Robinson et al. (1995) ที่รายงานการคนพบคางคาวปกขนที่จับจากเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง จ. อุทัยธานี และไดระบุชื่อวา H. mordax แมวา Francis (2008) ไดอางผลการศึกษาในปจจุบันวา ในประเทศไทยคางคาวปกขนมีเพียงชนิดเดียวก็ตาม แตจากหลักฐานลักษณะของกายภาพที่มีขนาดใหญกวา และมีจำนวนโครโมโซมแตกตางจากคางคาวปกขนที่พบในประเทศไตหวัน ในบทความนี้จึงยังคงระบุวา คางคาวปกขนของไทยมี 2 ชนิด คือ คางคาวปกขนใหญ (H. mordax) และ คางคาวปกขนเล็ก (H. harpia) เชนเดียวกับรายงานของBumrungsri et al. (2006) จนกวาจะมีผลการศึกษายืนยันอยางแนชัดอีกครั้งอนึ่ง ในการตั้งชื่อภาษาไทย คางคาวปกขนใหญ และ คางคาวปกขนเล็ก ผูเขียนไดกำหนดขึ้นเองเพื่อใหสอดคลองกับจำนวนชนิดที่พบในประเทศไทยและขนาดของรางกายที่แตกตางกันคางคาวปกขนจับไดครั้งแรกในประเทศไทย โดย Doyle Damman เมื่อป พ.ศ. 2523จากเขาสอยดาว จ. จันทบุรี ซึ่งไดระบุชื่อวา “คางคาวปกขน” (H. harpia) (Lekagul and McNeely,1988) หรือชื่อ คางคาวปกขนเล็ก ตามบทความนี้14

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!