11.07.2015 Views

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):22-23 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):22-23สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchงูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi (Schulz &Helfenberger, 1998)) รายงานแรกจากจังหวัดพิษณุโลกNew Record of Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger,1998) (Serpentes: Colubridae) from Phitsanulok Province, Thailandหัสชัย บุญเนือง 1 และมนตรี สุมณฑา 2 *Hasachai BOON-NUANG 1 and Montri SUMONTHA 2 *1นักเขียนและชางภาพ, 2 สถานีประมงทะเลจังหวัดระนอง1Writer and Photographer, 2 Ranong fisheries station, Thailand*Corresponding author: montri.sumontha@gmail.comAbstractCox's Mountain Racer, Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger, 1998), is arare subspecies, endemic to Thailand. It is one of the most colorful Thai snakes, and iseasily diagnosed by its pinkish orange body with a pair of black paravertebral stripes ondorsum, a conspicuous black stripe on the middle of the head dorsal surface, and thelack of transverse bands like in the other subspecies. We report here on the first recordof this subspecies from Phitsanulok Province, Northern Thailand. The subspecies is stillpoorly known. Currently, it has been reported from only three provinces, Loei, Chaiyaphum,and presently, Phitsanulok.งูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi) ไดรับการบรรยายลักษณะทางอนุกรมวิธานครั้งแรกภายใตชื่อ Elaphe porphyracea coxi โดย Schulz & Helfenberger(1998) และตอมา Utiger et. al. ( 2002) ไดศึกษาทางชีวโมเลกุลของงูสกุล Elaphe และมีการจัดลำดับทางอนุกรมวิธานใหมโดยใหงูทางมะพราวแดงอยูในสกุล Oreophis ซึ่งมีความหมายวา "งูที่อาศัยบนเขาสูง" ปจจุบันมีสมาชิกเพียงชนิดเดียวคือ Oreophis porphyraceus ซึ่งในประเทศไทยมี 3 ชนิดยอย ไดแก O. p. coxi, O. p. laticinctus และ O. p. porphyraceus (ปยวรรณ, 2549;Nabhitabhata and Chan-ard, 2005) โดยมีการกระจายพันธุทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต ซึ่งงูทางมะพราวแดงภูหลวงเปนสัตวถิ่นเดียวของไทยในระดับชนิดยอย มีรายงานพบในพื้นที่ปาดิบเขาที่มีความสูงเหนือระดับ 800 ม. ขึ้นไป ที่ภูหลวงจ. เลย และที่ภูเขียว จ. ชัยภูมิ (Chan-ard et al., 1999; Nabhitabhata & Chan-ard, 2005)ในวันที่ 12 สิงหาคม 2550 เวลาประมาณ 15:30 น. คุณหัสชัย บุญเนือง ไดเดินทางไปสำรวจกลวยไมที่น้ำตกหมันแดง ซึ่งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา จ. พิษณุโลก และไดพบงูชนิดหนึ่งอยูในกอกลวยไมลิ้นมังกร Habenaria rhodocheila Hance เฟรน และประดับหิน22

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!