11.07.2015 Views

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ISSN 1905-8284ปที่ 2 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2551Volume 2 Number 2 April-June 2008ฉบับนอมรำลึกอาจารยจารุจินต นภีตะภัฏคางคาวปกขนใหญHarpiocephalus mordaxจิ้งเหลนหวยเขมรTropidophorus microlepisงูปลองฉนวนเขมรLycodon cardamomensisตั๊กแตนตำขาวดอกไมCreobrother gemmatusเนื้อหาที่หลากหลายในฉบับนกกระเต็นเฮอรคิวลิส (Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules) Blyth'sKingfisher: Alcedo hercules (Coraciiformes: Alcedinidae)............................3งูลายสอจุดเหลือง Yellow-spotted mountain stream snake (Serpentes:Colubridae: Natricinae)...............................................................................................5ปลาตีนใหญอันดามัน (Periopthalmus walailakae) Walailak's mudskipper(Gobiidae: Oxudercinae)............................................................................................7คางคาวยอดกลวย (Kerivoula spp.) ชนิดใหมของไทย Two new recordsof Thai Kerivoula (Chiroptera: Vespertilionidae)....................................10แหลงแพรกระจายแหงใหมของคางคาวปกขนใหญ (Harpiocphalusmordax) ในประเทศไทย New locality of Harpiocephalus mordax(Chiroptera: Vespertilionidae) in Thailand.................................................13จิ้งเหลนหวยเขมร Tropidophorus microlepis Gunther,1861 จากภาคตะวันออกของประเทศไทย On the Khao Sebab water skink (Tropidophorusmicrolepis Gunther, 1861) in Eastern Thailand..................................................16พบงูปลองฉนวนเขมร (Lycodon cardamomensis Daltry and Wuster,2002) ที่จังหวัดชลบุรี New distributional records for Lycodoncardamomensis Daltry & Wuster, 2002 (Ophidia: Colubridae) in ChonBuri province, Thailand............................................................................................20งูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi (Schulz &Helfenberger, 1998)) รายงานแรกจากจังหวัดพิษณุโลก New Recordof Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger, 1998)(Serpentes: Colubridae) from Pitsanulok Province, Thailand..........22พบถิ่นอาศัยใหมของกบดอยชาง (Nanorana aenea) และภัยคุกคามที่ยังดำรงอยู A new locality of Nanorana aenea (Amphibians: Anura:Dicroglossidae) and their threatened factors............................................24พฤติกรรมการปองกันศัตรูของอึ ่งกรายขางแถบ (Brachytarsophryscarinensis) Self-defence techniques of the Burmese Horned FrogBrachytarsophrys carinensis (Anura: Megophryidae)........................27ปลาหมอแคระ (Badis spp.) ที่พบในประเทศไทย Badis spp.(Perciformes: Actinopterygii: Badidae) of Thailand..............................30พฤติกรรมการปองกันอาณาเขตของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม(Rhinagrion mima) Territory defending of Rhinagrion mima (Insecta:Odonata: Megapoagrionidae) and other damselflies in Thailand.....34มีตอที่ปกหลัง Continue on the back cover


เรื่องเดนในฉบับปที่ 2 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2551Volume 2 Number 2 April-June 2008ที่ปรึกษา Consulantsดร. นงลักษณ ปานเกิดดี Dr.Nongluck Pankurddeeพิศมัย เจนวนิชปญจกุล Peesamai Jenvanitpanjakulสุชาติ ทีฆกุลSuchart Teekagulดร. จารุจินต นภีตะภัฏ Dr. Jarujin Nabhitabhataกองบรรณาธิการ Editorial Boardสุรชิต แวงโสธรณ Surachit Waengsothornดารณี ประภาสะโนบล Daranee Prabhasanobolปฐมสุดา สำเร็จPatamasuda Sumretกุลธิดา เมืองคำ Kullatida Muangkhamพัทธนันท นาถพินิจ Patthanant Natpinitธัญญา จั่นอาจ Tanya Chan-ardพงษศักดิ์ พลเสนา Pongsak Phonsenaศิลปกรรม Art Workปญจพร ศรีบุญชวย Panchaporn Sriboonchuaiประสานงาน Coordinatorอรรณพ จาฏามระAnnop Jathamra"หอยทากอำพันอินโดจีน" เปนหอยทากบก สกุล Indosuccinea (Rao, 1924) อยูในวงศ Succinedae ซึ่งเปนหอยทากบกสกุลใหมที่พบในประเทศไทย โดย อาจารยพงษรัตน ดำรงโรจนวัฒนา และทีมงานวิจัยจากภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา ปจจุบันยังไมสามารถระบุถึงระดับชนิดได รายละเอียดใน หนา 50-53โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย196 พหลโยธิน จตุจักร ลาดยาว กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 0-2579-1121-30 ตอ 1122โทรสาร 0-2561 4771E-mail : surachit@tistr.or.thwww.tistr.or.thbyThailand Institute of Scientific and Technological Research196 Phahonyothin Rd, Chatuchak, Bangkok 10900 ThailandTel.(66) 0-2579-1121-30, Ext. 1122Fax.(66) 0-2561-4771, 0-2579-8533E-mail : surachit@tistr.or.thwww.tistr.or.thดวยความรวมมือจากองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ35 หมูที่ 3 เทคโนธานี ต. คลองหาอ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120โทรศัพท 0 2577 9999 ตอ 1501โทรสาร 0 2577 9991www.nsm.or.thwith collaboration ofNational Science Museum35 Moo 3 Technopolis, Tambon Khlong 5Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120 ThailandTel: (66) 0-2577-9999 Ext. 1501Fax. (66) 0-2577-9991www.nsm.or.th2


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):3-4 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):3-4สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological ResearchแนะนำตัวอยางอางอิงCollection Specimensจาก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (<strong>วว</strong>.)from The Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR), THAILANDนกกระเต็นเฮอรคิวลิส (Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules)Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules (Coraciiformes: Alcedinidae)สุรชิต แวงโสธรณSurachit WAENGSOTHORNฝายเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมและทรัพยากร, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทยEnvironment and Resources Department,Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Thailand.*Corresponding author: swaengso@gmail.comAbstractBlyth's Kingfisher (Alcedo hercules), probably a local and rare resident in the MekongDrainage of northern Thailand, known from only two records. It is listed as globallynear-threatened (BirdLife International, 2001) and nationally critically endangered(Sanguansombat, 2005). The single specimen in the TISTR collection (CTNRC 53-3312) was taken in lowland forest along a stream at Ban Saeo, Chiang Saen, ChiangRai on 21 November 1972 by Kitti Thonglongya.นกกระเต็นเฮอรคิวลิส (Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules) เปนนกที่อยูในวงศนกกระเต็น (Alcedinidae) จากขอมูลใน A Red Data Book for Asian Birds ของ BirdLifeInternational (2001) ไดระบุวา มีการกระจายคอนขางกวางขวางในประเทศแถบเอเชีย ไดแกประเทศเนปาล ภูฏาน อินเดีย บังกลาเทศ พมา จีน ลาว เวียดนาม และไทยในประเทศไทยพบวา นกกระเต็นเฮอรคิวลิสเปนนกอพยพ มีแหลงการกระจายบริเวณดานตะวันตกของภาคเหนือ (Lekagul and Round 1991; Robson, 2005) แตก็มีรายงานระบุชี้ชัดวา พบบริเวณแมน้ำโขง ในทองที่ อ. เชียงแสน จ. เชียงราย (ลักขณา และนิเวช, 2543)และที่อุทยานแหงชาติดอยผาหมปก (หรือในอดีตเรียกอุทยานแหงชาติแมฝาง) จ. เชียงใหม ซึ่งคนพบโดย Phil D. Round บริเวณที่ทำการอุทยานฯ ระดับความสูง 400-500 ม. เมื่อวันที่ 20กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 (Round and Jukmongkol, 2003)แมวานกกระเต็นเฮอรคิวลิสมีเขตการกระจายกวางขวาง แตถิ่นที่อยูอาศัยกลับถูกจำกัดแคบ ๆ ตามแนวลำน้ำเทานั้นซึ่งมักถูกบุกรุกและยึดครองพื ้นที่ และประชากรมีจำนวนนอยและ3


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):3-4 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):3-4สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchแหลงแพรกระจายของนกกระเต็นเฮอรคิวลิสในประเทศไทย1. อุทยานแหงชาติดอยผาหมปก จ. เชียงใหม2. อ. เชียงแสน จ. เชียงรายภาพจาก Google EarthDistributional ranges of Alcedo hercules.1. Doi Pha Hom Pok National Park, Chiangmai province.2. Chiang Saen, Chiang Rai province.Photo modified from Google Earthกำลังลดลง จึงถูกจัดสถานภาพในระดับนานาชาติที่กำหนดโดย IUCN (2008) วา ใกลถูกคุกคาม (NT)(BirdLife International, 2001) และมีสถานภาพในระดับประเทศของไทยวา ใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (CR)(Sanguansombat, 2005)ในประเทศไทยมีตัวอยางอางอิงของนกกระเต็นเฮอรคิวลิสเพียงตัวอยางเดียวเทานั้น เปนตัวอยางนกตัวเมีย เก็บโดยนายกิตติ ทองลงยาจากบริเวณปาริมน้ำ อ. เชียงแสน จ. เชียงราย เมื่อวันที่21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ปจจุบันตัวอยางอางอิงนกกระเต็นเฮอรคิวลิสเก็บรักษาไวที่ศูนยรวบรวมตัวอยางอางอิงทางชี<strong>วว</strong>ิทยา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (<strong>วว</strong>.) เปนตัวอยางหมายเลข CTNRC 53-3312in TISTR. Photo by Surachit Waengsothornเอกสารอางอิงลักขณา ปราการเสรี และนิเวช นาดี. 2543. ฐานขอมูลตัวอยางนกในศูนยรวบรวมตัวอยางอางอิงทางชี<strong>วว</strong>ิทยา. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 213 น.Lekagul, B. & P. D. Round. 1991. A guide to the Birds of Thailand. Saha Karn Bhaet Co., Ltd., Bangkok. 457 pp.Robson, C. 2002. Birds of South-East Asia. New Holland Publishers, Ltd., London. 504 pp.Round, P. D. & R. Jukmongkol. 2003. Recent Reports, late October 2002-February 2003. BCST Bulletin, 20 (4):10-20.BirdLife International. 2001. Threatened birds of Asia: the BirdLife International Red Data Book. Cambridge, UK:BirdLife International.Sanguansombat, W. 2005. Thailand Red Data: Birds. Office of Natural Resources and Environmental Policy andPlanning. Bangkok, Thailand. 158 pp.4ตัวอยางอางอิงนกกระเต็นเฮอรคิวลิสตัวเมียหมายเลข CTNRC 53-3312ภาพโดย สุรชิต แวงโสธรณA single specimen of adult female of Alcedohercules (CTNRC 53-3312) was deposited


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):5-6 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):5-6สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological ResearchแนะนำตัวอยางอางอิงCollection Specimensจาก องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.)from The National Science Museum (NSM), THAILANDงูลายสอจุดเหลืองThe yellow-spotted mountain stream snake (Serpentes:Colubridae: Natricinae)ธัญญา จั่นอาจ*Dhanya CHAN-ARD*พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา, องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติThailand Natural History Museum (THNHM), National Science Museum, Thailand.*Corresponding author: dhanya_ch@hotmail.comAbstractThe yellow-spotted mountain stream snake (Opisthotropis maculosus Stuart &Chuaynkern, 2007) was described from a single specimen collected at Bung Khla,Nong Khai province, north-eastern Thailand, about 190 m asl. on 7 September 2004.This specimen (THNHM 05343), the holotype, was deposited in the Thailand NaturalHistory Museum, National Science Museum, and remains the only known specimen inthe world.งูลายสอจุดเหลือง (Yellow-spotted mountain stream snake: Opisthotropismaculosus Stuart & Chuaynkern, 2007) สำรวจพบครั้งแรกที่ อ. บุงคลา จ. หนองคาย พิกัด 18 o14' 31.0" N 103 o 57' 44.5" E ความสูงจากระดับทะเล 190 ม. งูที่พบถูกเก็บเปนตัวอยางอางรายละเอียดของสวนหัวงูลายสอจุดเหลือง ที่ตีพิมพใน Stuart & Chuaynkern (2007)Head detail of O. maculosus published inStuart & Chuaynkern (2007)5


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):5-6 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):5-6สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchอิงโดย นายยอดชาย ชวยเงิน นายชาติชาย เชื้อชาติ นายสัญชัย เมฆฉาย และนายไบรอันสตวต เมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2547 เมื่อไดทำการตรวจสอบแลวจึงพบวา เปนงูชนิดใหมโดยไดตั้งชื่อและตีพิมพในวารสาร Current Herpetology ปที่ 26 ฉบับที่ 1 หนา 35-40 (Stuart& Chuaynkern, 2007)งูลายสอจุดเหลือง จัดอยูในวงศยอย Natricinae วงศ Colubridae มีลักษณะเดนคือเกล็ดลำตัวเรียบ แถวเกล็ด ณ กึ่งกลางตัวมี 15 แถว เกล็ดขอบปากบนเกล็ดที่ 4 แตะกับขอบตา เกล็ดคางคูทายยาวกวาเกล็ดคูหนา ลำตัวดานบนสีดำเปนเงา แตละเกล็ดมีจุดเหลือง 1 จุดโดยจุดดังกลาวมีขนาดใหญขึ้นบนเกล็ดทางดานขางของลำตัว ขนาดความยาวทั้งตัว 520 มม.มีแหลงอาศัยอยูในปาไผผสมกับปาดิบแลง พฤติกรรมขณะที่พบคือ งูตัวนี้กำลังวายน้ำอยูในหวยแหงซึ่งนองไปดวยน้ำฝนที่ตกลงมาอยางหนักระดับสูง 5 ซม.ลักษณะทั่วไปของตัวอยางตนแบบงูลายสอจุดเหลือง ภาพโดย ธัญญา จั่นอาจDorsal and vental colourations of O. maculosus Photo by Tanya Chan-ardในขณะนี้พบงูลายสอจุดเหลืองเพียงตัวอยางเดียวเทานั้นและเปนตัวอยางตนแบบ(specimen) ปจจุบันเก็บรักษาไว ณ พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ จ. ปทุมธานี เปนตัวอยางตนแบบชนิด holotype หมายเลข THNHM 05343 เปนตัวอยางงูตัวผูที่โตเต็มวัยเอกสารอางอิงStuart, B. L. & Y. Chuaynkern. 2007. A New Opisthotropis (Serpentes: Colubridae: Natricinae) from NortheasthernThailand. Current Herpetology, 26(1): 35-40.6


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):7-9 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):7-9สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological ResearchแนะนำตัวอยางอางอิงCollection Specimensจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน (สวพ.)from The Phuket Marine Biological Center (PMBC), THAILANDปลาตีนใหญอันดามัน (Periopthalmus walailakae)Walailak's mudskipper (Gobiidae: Oxudercinae)เรืองฤทธิ์ พรหมดำ 1 *และอุดมศักดิ์ ดรุมาศ 2Rueangrit PROMDAM 1 * and Udomsak DARUMAS 21พิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเล สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน2สำนักวิชาวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ1Reference Collection, Phuket Marine Biological Center, Thailand2Institute of Science, Walailak University, Thailand*Corresponding author: r_promdam@yahoo.comAbstractWalailak's mudskipper (Periophthalmus walailakae Darumas & Tantichodok, 2002), anew species of mudskipper from Thailand, were collected from mangrove habitat in thePhangnga province, western peninsular Thailand. The specific epithet "walailakae" wascommemorated to the Ten th Anniversary of Walailak University. Two paratype ofPeriophthalmus walailakae are deposited in the Reference Collection of Phuket MarineBiological Center (PMBC), Thailand.ปลาตีน เปนปลาบูชนิดหนึ่งในวงศยอย Oxudercinae ภายในวงศปลาบู (Gobiidae)ในประเทศไทยมีการตรวจสอบพบแลวทั้งสิ้น 11 ชนิด จาก 4 สกุล (Darumas, 1997) โดยทั่วไปอาศัยอยูในแหลงน้ำกรอย โดยเฉพาะบริเวณปากแมน้ำ ลำคลอง หาดเลน และปาชายเลนสำหรับปลาตีนใหญอันดามันที่นำมาแนะนำใหรูจักนี้ ถูกศึกษาพบโดย อ. อุดมศักดิ์ดรุมาศ และ ดร. ปติวงษ ตันติโชดก แหงมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ (Darumas & Tantichodok,2002) ในขณะที่กำลังตรวจสอบชนิดปลาตีนที่อาศัยจำเพาะอยูกับปาชายเลนลักษณะตาง ๆ ทางภาคใตของประเทศไทย จึงไดพบวา ปลาตีนที่เก็บตัวอยางมาจากปาชายเลนใน จ. ระนอง และพังงาทางฝงทะเลอันดามัน ที่ดูผิวเผินภายนอกแลวนาจะเปนชนิด Periopthalmodon schlosseriซึ่งเปนปลาตีนขนาดใหญที่พบไดทั่วไปทางฝงอาวไทย แตกลับมีลักษณะทางอนุกรมวิธานที่ไมตรงกัน เริ่มตั้งแตลักษณะแถวฟนบนขากรรไกรบน ที่ปลาจากอันดามันมีฟนเพียง 1 แถวอันเปนปลาในสกุล Periophthalmus ขณะที่ Periophthalmodon มี 2 แถว ลักษณะแตกตางตอมาคือ7


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):7-9 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):7-9สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchสีสัน ที่ใน Pn. schlosseri มีแถบสีดำคาดจากตาไปสุดที่โคนหาง ซึ่งไมมีในตัวอยางจากอันดามันนี้ นอกจากนั้น Dr. Monia Niklasson แหง Aarhus University ประเทศเดนมารค ยังชวยยืนยันความแตกตางทางพันธุกรรมอยางชัดเจน ดวยการทำอิเล็กโตรฟอเรซิส เปรียบเทียบกันใน 2ชนิดนี้อีกดวยภาพตัวอยางอางอิง (holotype) ที่ตีพิมพใน Darumas & Tantichodok (2002)Holotype specimen of Ps. walailakae published in Darumas & Tantichodok (2002)ดวยลักษณะดังกลาวนี้ เปนลักษณะของปลาตีนที่ยังไมมีรายงานมากอน ทางผูวิจัยจึงไดทำการบรรยายลักษณะตีพิมพเผยแพร โดยใชชื่อวิทยาศาสตรวา Periophthalmuswalailakae เพื่อเปนการรวมเฉลิมฉลองใหกับ 10 ป ในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ตีพิมพใน Phuket Marine Biological Center Research Bulletin เมื่อป พ.ศ. 2545 พรอมทำการเปรียบเทียบลักษณะกับปลาตีนสกุลเดียวกัน และมีลักษณะรวมกันที่ครีบอกมีการเชื่อมรวมกันเปนแผนกลม คือ Periophthalmus chrysospilos โดยมีจุดสังเกตความแตกตางไดแก ครีบหลังอันแรก ใน Ps. walailakae จะมีขอบสวนทายที ่โคงมน แต Ps. chrysospilos จะตรง และมีกานครีบ 1 หรือ 2 อันแรกที่ยาวออกมา สวนสีสันใน Ps. walailakae จะมีจุดสีน้ำตาลเขมกับเหลืองครีมที่สวนหัว ในขณะที่ Ps. chrysospilos จะมีจุดสีเทากับเหลืองเขมหรือสมบนลำตัวภาพลักษณะถิ่นที่อยูอาศัยของปลาตีนใหญอันดามัน ที่ตีพิมพใน Darumas &Tantichodok (2002)Habitats of Ps. walailakae publishediin Darumas & Tantichodok (2002)8


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):7-9 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):7-9สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchสำหรับพฤติกรรมของปลาตีนชนิดนี้ ผูวิจัยไดพบความแตกตางอยางหนึ่งจากปลาตีนชนิดอื่น ๆ คือ บริเวณรอบรูจะมีการสรางขอบสูงขึ้น โดยการใชปากขุดรูแลวพนออกมาโดยรอบปากรู เหมือนกันทั้งในเพศผูและเมีย ซึ่งบางครั้งจะพบทั้งสองเพศอยูในรูเดียวกัน ในชวงเวลากลางวันมักพบปลาตีนใหญอันดามันสาละวนอยูกับการตกแตงรูที่มันอาศัย ในชวงน้ำขึ้น Ps.chrysospilos จะเกาะอยูตามวัตถุตาง ๆ เชน รากไม ลำตน หลักไม หรือกอนหิน แตใน Ps.walailakae จะแคโผลหัวหรือลำตัวขึ้นมาจากน้ำ จะเริ่มออกหากินในตอนเย็น และกลับมาที่รูเดิมของมันในตอนเชาตรู จัดเปนปลาที่ออกหากินตอนกลางคืน (nocturnal) และเปนปลากินเนื้อ (ปูกุง หรือแมลง ฯลฯ) เชนเดียวกับชนิดอื่น ๆ ในสกุล Periophthalmus และสกุล Periophthalmodonการแพรกระจาย ในประเทศไทยพบที่ จ. ระนอง และพังงา (type locality) และมีรายงานพบเพิ่มเติมที่ประเทศสิงคโปร ซึ่งมี Pn. schlosseri อาศัยอยูในแหลงเดียวกัน (Jaafar et al.,2006) พื้นที่อื่นๆ ที่อยูในระหวางระนอง และสิงคโปรจึงมีโอกาสพบปลาตีนชนิดนี้ดวย รวมทั้งอาจจะเคยมีการจำแนกชนิดเปน Pn. schlosseri มากอน ดวยลักษณะภายนอกที่คลายคลึงกันสำหรับตัวอยางที่เก็บรักษาไวที่หองเก็บตัวอยางตนแบบชนิดใหมของโลก พิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเลของ สวพ. เปนตัวอยางตนแบบ (paratype) หมายเลข 1950 และ 1951 เก็บตัวอยางโดย อ. อุดมศักดิ์ ดรุมาศ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 จากอาวพังงา จ. พังงาตัวอยางตนแบบ (paratype) ของ Ps. walailakaeหมายเลข 1950 และ 1951 ที่เก็บรักษาไวที่พิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเล สวพ.ภาพโดย เรืองฤทธิ์ พรหมดำTwo paratypic specimens of Ps. walailakae, No.1950 and 1951 are now deposited in the ReferenceCollection, PMBC, Thailand.Photo by Rueangrit PromdamเอกสารอางอิงDarumas, U. 1997. Taxonomy and ecology of Mudskippers (Gobiidae: Oxudercinae) in southern Thailand. M.Sc.Thesis, Prince of Songkla University, Songkhla. 117 pp.Darumas, U. & P. Tantichodok 2002. A new species of Mudskipper (Gobiidae: Oxudercinae) from southernThailand. Phuket MarineBiological Center Research Bulletin, 64: 101-107.Jaafar, Z., K. K. P. Lim & L. M. Chou. 2006. Taxonomical and morphological notes on two species of mudskippers,Periophthalmus walailakae and Periophthalmodon schlosseri (Teleostei: Gobiidae) from Singapore.Zoological Science, 23: 1043-1047.9 2


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):10-12 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):10-12สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchคางคาวยอดกลวย (Kerivoula spp.) ชนิดใหมของไทยTwo new records of Thai Kerivoula (Chiroptera: Vespertilionidae)พิพัฒน สรอยสุข*Pipat SOISOOK*สถานีวิจัยความเปนเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแหงคาบสมุทรไทย, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรExcellence Centre for Biodiversity of Peninsular Thailand, Faculty of Science, Prince of Songkla University, Thailand*Corresponding author: pipat66@gmail.comAbstractWith an intensive survey of bats during last two years, 11 species of bats in subfamilyKerivoulinae are currently recorded. Two species of these, Kerivoula kachinensis andK. titania, are recognized as new records for the country. K. kachinensis were capturedfrom Loei province, northeastern region and Petchabun province, Eastern cenral region.K. titania has been discovered in Chiang Mai, Phetchabun and Loei Provinces, locatedin northern, eastern central and northeastern regions, respectively. Moreover, thetaxonomic status of Kerivoula hardwickii depressa remains unclear although it wasclassified as K. h. hardwickii. However, the clear evidence of the sympatry of these twotaxa strongly supports treating them as specifically distinct.คางคาวยอดกลวย (สกุล Kerivoula) และคางคาวฟนรอง (สกุล Phoniscus) เปนคางคาวกินแมลง จัดอยูในวงศยอย Kerivoulinae วงศ Vespertilionidae จากรายงานอยางเปนทางการลาสุดในประเทศไทยพบคางคาวในวงศยอยคางคาวยอดกลวยทั้งสิ้น 8 ชนิด (Bumrungsriet al., 2006; Thong et al., 2006) ตอมาไดมีการคนพบคางคาวยอดกลวยชนิดใหมของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอีก 2 ชนิด คือ คางคาวยอดกลวยคะฉิ่น (Kerivoula kachinensis) ซึ่งพบครั้งแรกที่Namdee Forest, Bhamo Township รัฐคะฉิ่น ประเทศพมา (Bates et al., 2004) สวนในประเทศไทยพบที่อุทยานแหงชาติภูสวนทราย จ. เลย และที่อุทยานแหงชาติน้ำหนาว จ. เพชรบูรณอีกชนิดหนึ่ง คือ คางคาวยอดกลวยไททาเนีย (K. titania) เปนคางคาวยอดกลวยชนิดใหมของโลก มีการกระจายตั้งแตประเทศพมา ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดยตัวอยางตนแบบมาจากประเทศกัมพูชา สวนตัวอยางจากประเทศไทยมีเพียงตัวเดียวเปนตัวอยางที่เก็บ10บันทึกธรรมชาติNotes on Nature


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):10-12 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):10-12สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchโดยนายกิตติ ทองลงยา เมื่อ พ.ศ.2510 จากดอยปุย จ. เชียงใหม ปจจุบันเก็บไวที่ The Natural HistoryMuseum ซึ่งเปนชื่อเดิมของ BritishMuseum (Natural History) กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักรไดถูกรวมเขาเปนคางคาวยอดกลวยชนิดใหมนี้ดวย (Bates et al., 2007)และมีการคนพบเพิ่มเติมอีกเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 ที่อุทยานแหงชาติภูสวนทราย จ. เลย และอุทยานแหงชาติน้ำหนาว จ. เพชรบูรณนอกจากนั้นยังมีคางคาวยอดกลวยที่สถานภาพทางอนุกรมคางคาวยอดกลวยคะฉิ่น (Kerivoula kachinensis) พบที่อุทยานแหงชาติภูสวนทราย จ.เลย และที่อุทยานแหงชาติน้ำหนาว จ.เพชรบูรณภาพโดย พิพัฒน สรอยสุขKerivoula kachinensis found at Loei and Petchabun provincesPhoto by Pipat Soisookวิธานยังไมชัดเจน คือ คางคาวยอดกลวยหัวแบน (K. depressa ) ซึ่งไดรับการพิจารณาวาเปนชนิดยอยของคางคาวยอดกลวยปกใส (K. hardwickii ) แตมีหลักฐานการพบคางคาวทั้งสองชนิดยอยในพื้นที่เดียวกันทั้งในประเทศเวียดนาม (Hendrichsen et al., 2001) และในประเทศไทย(เขตรักษาพันธุสัตวปาโตนงาชาง จ.สงขลา และที่เขตรักษาพันธุสัตวปาแมน้ำภาชี จ.ราชบุร)ี ชี้ใหเห็นวา คางคาวสองชนิดยอยนี้ไมใชชนิดเดียวกันและนาจะยกฐานะของคางคาวยอดกลวยหัวแบนเปนชนิดใหม คือ K. depressa แตอยางไรก็ตามควรจะตองมีการศึกษาอยางละเอียดและรายงานอยางเปนทางการตอไปคางคาวยอดกลวยไททาเนีย (K. titania)พบที่อุทยานแหงชาติภูสวนทราย จ. เลยอุทยานแหงชาติน้ำหนาว จ. เพชรบูรณและที่อุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุยจ. เชียงใหมภาพโดย พิพัฒน สรอยสุขK. titania, initially found at Chaingmaiprovince in 1967 and rediscovered atLoei and Petchabun provinces in 2007.Photo by Pipat Soisook11


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):10-12 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):10-12สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchรายชื่อคางคา<strong>วว</strong>งศยอย Kerivoulinae ของไทยThe species list of bats in subfamily Kerivoulinae of Thailandชนิด (Species) เอกสารอางอิง (References)1. คางคาวยอดกลวยปกใส (Kerivoula hardwickii) Corbet & Hill (1992); Lekagul & McNeely (1988)2. คางคาวยอดกลวยหัวแบน (Kerivoula depressa) Lekagul & McNeely (1988)3. คางคาวยอดกลวยเล็ก (Kerivoula minuta) Corbet & Hill (1992); Lekagul & McNeely (1988)4. คางคาวยอดกลวยปา (Kerivoula whiteheadi) Corbet & Hill (1992); Lekagul & McNeely (1988)5. คางคาวยอดกลวยผีเสื้อ (Kerivoula picta) Corbet & Hill (1992); Lekagul & McNeely (1988)6. คางคาวยอดกลวยปกปุม (Kerivoula papillosa) Corbet & Hill (1992); Robinson et al. (1995)7. คางคาวยอดกลวยปกบาง (Kerivoula pellucida) Bumrungsri et al. (2006)8. คางคาวยอดกลวยคะฉิ่น (Kerivoula kachinensis) Soisook et al. (2007)9. คางคาวยอดกลวยไททาเนีย (Kerivoula titania) Bates et al. (2007)10. คางคาวฟนรอง (Phoniscus atrox) Corbet & Hill (1992); Lekagul & McNeely (1988)11. คางคาวฟนรองเทาดำ (Phoniscus jagorii) Thong et al. (2006)เอกสารอางอิงBates, P. J. J., M. J. Struebig, S. J. Rossiter, T. Kingston, Sai Sein Lin Oo, & Khin Mya Mya. 2004. A newspecies of Kerivoula (Chiroptera: Vespertilionidae) from Myanmar (Burma). Acta Chiropterologica. 6: 219-226.Bates, P. J. J., M. J. Struebig, B. D. Hayes, N. M. Furey, Khin Mya Mya, Vu Dinh Thong, Pham Duc Tien,Nguyen Troung Son, D. L. Harrison, C. M. Francis and G. Csorba. 2007. A new species of Kerivoula(Chiroptera: Vespertilionidae) from Southeast Asia. Acta Chiropterologica, 9: 323-327.Bumrungsri, S., D. L. Harrison, C. Satasook, A. Prajukjitr, S. Thong-Aree & P. J. J. Bates. 2006. A review of batresearch in Thailand with eight new species records for the country. Acta Chiropterologica. 8: 325-359.Corbet, G. B., & J. E. Hill. 1992. The mammals of the Indomalayan Region: A systematic review. OxfordUniversity Press, New York. 488 pp.Hendrichsen, D. K., P. J. J. Bates, B. Hayes & J. L. Walston. 2001. Recent records of bats (Mammalia:Chiroptera) from Vietnam with six species new to the country. Myotis. 39: 35-122.Lekagul, B. & J. A. McNeely. 1988. Mammals of Thailand. 2 nd ed. Saha Karn Bhaet Co., Bangkok. 758 pp.Robinson, M. F., A. Smith, & S. Bumrungsri . 1995. Small mammals of Thung Yai Naresuan and Huai KhaKhaeng Wildlife Sanctuaries.Natural History Bulletin of the Siam Society, 43: 27–54.Soisook, P., S. Bumrungsri, A. Dejtaradol, C. M. Francis, G. Csorba, A. Guillen-Servent & P. J. J. Bates. 2007.First records of Kerivoula kachinensis (Chiroptera: Vespertilionidae) from Cambodia, Lao PDR andThailand. Acta Chiropterologica. 9: 339-345.Thong, V. D., S. Bumrungsri, D. L. Harrison, M. J. Pearch, K. M. Helgen & P. J. J. Bates. 2006. New recordsof Microchiroptera (Rhinolophidae and Kerivoulinae) from Vietnam and Thailand. Acta Chiropterologica.8: 83-93.12


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):13-15 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):13-15สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchแหลงแพรกระจายแหงใหมของคางคาวปกขนใหญ(Harpiocphalus mordax) ในประเทศไทยNew locality of Harpiocephalus mordax (Chiroptera: Vespertilionidae)in Thailandสุรชิต แวงโสธรณ* และเธียรศิริ มูลจันทรSurachit WAENGSOTHORN* and Tiensiri MOONCHANฝายเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมและทรัพยากร, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทยEnvironment and Resources Department,Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Thailand.*Corresponding author: swaengso@gmail.comAbstractHarpiocephalus mordax, a member of family Vespertilionidae, is one of least-knownbats. The taxonomic status of H. mordax and H. harpia is unclear and they are treated asconspecific by some authorities. However, we follow Corbet and Hill (1992) in treatingthem as specifically distinct. We reported here our discovery of a new locality ofHarpiocephalus mordax in Thailand. A single lactating female was captured using mistnet from the rainforest, Ranong province, Southern region. Our finding becomes thethird record, the second locality, and the southmost distributional range of the speciesever reported in Thailand.คางคาวปกขน (Harpiocephalus spp.) เปนคางคาวกินแมลงอยูในวงศคางคาวลูกหนู(Family Vespertilionidae) ทั่วโลกมีคางคาวในสกุลนี้ 2 ชนิด เทานั้น คือ H. harpia และ H.mordax (Simmons, 2005) อยางไรก็ตามการจำแนกชนิดระหวาง H. harpia และ H. mordaxดูเหมือนจะยังไมมีขอยุติวาเปนชนิดเดียวกันหรือไม การวิเคราะหตัวอยางที่จับไดจากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย โดย Das (1986) ระบุวา ตัวอยางที่ระบุชื่อเปน H. mordaxซึ่งมีขนาดใหญนั้นเปนตัวอยางตัวเมียของ H. harpia อยางไรก็ตาม Corbet and Hill (1992)ไดจำแนกออกเปน 2 ชนิดที่แตกตางกัน โดยใชขนาดของกะโหลก ระยะหางระหวางเขี้ยวบนและขนาดของเขี้ยว ซึ่งพบวา H. mordax มีขนาดใหญกวา H. harpia การจำแนกชนิดที่แตกตางกันนี้ไดรับการยอมรับในการจำแนกชนิดของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมของโลกในหนังสือMammal species of the world ที่จัดพิมพครั้งที่ 3 (Simmons, 2005)ตอมา Lin et al. (2006) ศึกษาลักษณะทั่วไปและโครโมโซมของคางคาวปกขน H.harpia จากเกาะไตหวันพบวา ตัวเมียมีขนาดใหญกวาตัวผูและกะโหลกมีการพัฒนาดีกวา จึงสรุปวา เปนคางคาวชนิดเดียวกัน คือ H. harpia แตจำนวนของโครโมโซมของคางคาว H. harpia13


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):13-15 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):13-15สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchภาพดานหลังคางคาวปกขน (Harpiocephalus sp.) มีลักษณะเดนคือ มีขนสีสมขึ้นบริเวณเยื่อปกและเยื่อหางภาพโดย เธียรศิริ มูลจันทรDetail of the back of Harpiocephalus sp. indicates the remarkable characteristic, orange hair on thewing and tail membranes, Ngao waterfall, Ranong province. Photo by Tiensiri Moonchanจากเกาะไตหวัน (2n=44) แตกตางจากคางคาวปกขน H. mordax (2n=40) ซึ่งเปนคางคาวตัวเมียที่จับจากเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง จ. อุทัยธานี (McBee et al., 1986) สอดคลองกับ Robinson et al. (1995) ที่รายงานการคนพบคางคาวปกขนที่จับจากเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง จ. อุทัยธานี และไดระบุชื่อวา H. mordax แมวา Francis (2008) ไดอางผลการศึกษาในปจจุบันวา ในประเทศไทยคางคาวปกขนมีเพียงชนิดเดียวก็ตาม แตจากหลักฐานลักษณะของกายภาพที่มีขนาดใหญกวา และมีจำนวนโครโมโซมแตกตางจากคางคาวปกขนที่พบในประเทศไตหวัน ในบทความนี้จึงยังคงระบุวา คางคาวปกขนของไทยมี 2 ชนิด คือ คางคาวปกขนใหญ (H. mordax) และ คางคาวปกขนเล็ก (H. harpia) เชนเดียวกับรายงานของBumrungsri et al. (2006) จนกวาจะมีผลการศึกษายืนยันอยางแนชัดอีกครั้งอนึ่ง ในการตั้งชื่อภาษาไทย คางคาวปกขนใหญ และ คางคาวปกขนเล็ก ผูเขียนไดกำหนดขึ้นเองเพื่อใหสอดคลองกับจำนวนชนิดที่พบในประเทศไทยและขนาดของรางกายที่แตกตางกันคางคาวปกขนจับไดครั้งแรกในประเทศไทย โดย Doyle Damman เมื่อป พ.ศ. 2523จากเขาสอยดาว จ. จันทบุรี ซึ่งไดระบุชื่อวา “คางคาวปกขน” (H. harpia) (Lekagul and McNeely,1988) หรือชื่อ คางคาวปกขนเล็ก ตามบทความนี้14


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):13-15 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):13-15สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchคางคาวปกขนใหญ (Harpiocephalusmordax) ที่สำรวจพบที่ จ. ระนอง เมื่อวันที่22 เมษายน พ.ศ. 2551ภาพโดย สุรชิต แวงโสธรณHarpiocephalus mordax found at Nam TokNgao National Park, Ranong province,Peninsular Thailand on 22 April 2008.Photo by Surachit Waengsothornในการสำรวจทรัพยากรสัตวปา ตามโครงการศึกษารวบรวมขอมูลวิทยาศาสตรและกิจกรรมทองเที่ยวเพื่อการพัฒนาและเรียนรูอยางยั่งยืนในแหลงทองเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต ชุมพรและระนอง ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (<strong>วว</strong>.) ไดสำรวจพบ คางคาวปกขนใหญ ตัวเมีย 1 ตัว โดยดักจับดวยตาขาย สูงจากพื้นดินประมาณ 1.2 ม. ในปาดิบชื้นบริเวณน้ำตกหงาว เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2551 มีความยาวหัวและลำตัว (HB) 67.4 มม.หางยาว 53.8 มม. ขนาดหู 21.0 มม. ความยาวฝาตีนหลัง 11.9 มม. ความยาวแขนทอนปลาย(FA) 55.2 มม. ระยะหางระหวางดานนอกเขี้ยวบน 7.9 มม. และน้ำหนัก 25 ก. คางคาวปกขนใหญหากินในพื้นที่รวมกับคางคาวอื่น ๆ อีก 4 ชนิด ไดแก คางคาวมงกุฎสามใบพัด (Rhinolophustrifoliatus) คางคาวขอบหูดำ (Megarops ecaudatus) คางคาวขอบหูขาวเล็ก (Cynopterussphinx) และคางคาวไผหัวแบนใหญ (Tylonycteris robustula)การคนพบคางคาวปกขนใหญครั้งนี้เปนรายงานการคนพบครั้งที่ 3 เปนรายงานแหลงแพรกระจายแหงที่ 2 และเปนรายงานการคนพบครั้งแรกในภาคใตของประเทศไทยเอกสารอางอิงBumrungsri, S., D. L. Harrison, C. Satasook, A. Prajukjitr, S. Thong-Aree & P. J. J. Bates. 2006. A review of batresearch in Thailand with eight new species records for the country. Acta Chiropterologica. 8: 325-359.Corbet, G. B., & J. E. Hill. 1992. The mammals of the Indomalayan Region. Natural History Museum Publications, OxfordUniversity Press, Oxford, 488 pp.Francis, C. M. 2008. Mammals of Thailand and South-east Asia. Asia Books Co., Ltd. Bangkok. 392 pp.Hill, J. E. & C. M. Francis. 1984. New bats (Mammalia: Chiroptera) and new records of bats from Borneo andMalaya. Bulletin of the British Museum (Natural History) Zoology, 46: 305-329.Lekagul, B. & J. A. McNeely. 1988. Mammals of Thailand. 2 nd ed. Saha Karn Bhaet Co. Bangkok. 758 pp.Lin, L., M. Harada, M. Motokawa & L. Lee. 2006. Updating the occurrence of Harpiocephalus harpia (Chiroptera:Vespertilionidae) and its karyology in Taiwan. Mammalia, 70(1/2): 170-172.McBee, K., J. W. Bickham, S. Yenbutra, J. Nabhitabhata & D. A. Schlitter. 1986. Standard karyology of nine species ofvespertilionid bats (Chiroptera: Vespertilionidae) from Thailand. Annals of Carnegie Museum, 55: 95-116.Robinson, M. F., A. Smith & S. Bumrungsri.1995. Small mammals of Thung Yai Naresuan and Huai Kha KhaengWildlife Sanctuaries.Natural History Bulletin of the Siam Society, 43:27-54.Simmons, N. B. 2005. Order Chiroptera. in: (D.E. Wilson and D.M. Reeder, eds.) Mammal species of the world.3 rd ed. Johns Hopkins University Press, Baltimore. pp. 312-529.15


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):16-19 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):16-19สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchจิ้งเหลนหวยเขมร Tropidophorus microlepis Gunther,1861จากภาคตะวันออกของประเทศไทยOn the Khao Sebab water skink (Tropidophorus microlepisGunther, 1861) in Eastern Thailandศราวุธ โกมุทธพงษ* และกำธร ธีรคุปตSarawoot GOMUTTAPONG* and Kumthorn THIRAKHUPTภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา, คณะวิทยาศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยDepartment of Biology, Faculty of Sciences, Chulalongkorn University, Thailand*Corresponding author: oldskink_scincid@hotmail.comAbstractTropidophorus microlepis Gunther, 1861 is a semi-aquatic skink found in Vietnam,Cambodia and eastern Thailand. The diagnostic characters in adults are: 3 enlargedpreanal scales, dorsal part of the body covered with keeled scales, and a yellowishventral side. Juveniles are distinguished by their whitish ventral side. We report here onthe courtship behavior of this species, that was observed in late December, 2007 in astream of Borwen Sub-district, Chanthaburi province, Thailand, and on other biologicalobservations.จิ้งเหลนหวยเขมร (Tropidophorus microlepis Gunther, 1861) เปนจิ้งเหลนในกลุมจิ้งเหลนน้ำ หรือจิ้งเหลนหวย จัดอยูในวงศจิ้งเหลน (Family Scincidae) ในประเทศไทยมีรายงานการสำรวจพบที่บริเวณทิวเขาสระบาปและทิวเขาสอยดาว จ. จันทบุรี สถานีวิจัยวนเกษตรตราดจ. ตราด และอุทยานแหงชาติปางสีดา จ. สระแกว (Nabhitabhata et al., 2000; พิทักษ และคณะ, 2549)จิ้งเหลนหวยเขมร ภาพโดยพงศกร โกฉัยพัฒนT. microlepis photo taken froma creek, Klung, Chanthaburiprovince. Photo byPhongsakorn Kochaiphat16


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):16-19 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):16-19สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchจิ้งเหลนหวยเขมร มีลักษณะทั่วไปคือ มีเกล็ดหนารูทวาร (preanal scales) ขยายใหญ จำนวน 3 แผน เกล็ดบนหัวมีลักษณะขรุขระหรือเปนสัน เกล็ดบริเวณหลังมีสันแข็งตอเนื่องไปถึงปลายหาง เกล็ดขางลำตัวเรียงในแนวทแยง ลำตัวดานหลังมีสีน้ำตาลเขม และสีดำ ในตัวเต็มวัยดานทองมีสีครีม หรือสีเหลืองเขม เพศผูมีอวัยวะสืบพันธุที่เรียกวา hemipenis มักพบอาศัยอยูใกลธารน้ำตก ในเวลากลางวันมักจะหลบซอนตัวใตกอนหินหรือรากไม และออกหากินเวลากลางคืน ซึ่งมักพบอยูบนกอนหินในธารน้ำตกที่มีน้ำไหลผานเบา ๆ สำหรับตัวออน(juvenile) มีลักษณะของสีสันที่แตกตางจากตัวเต็มวัย คือ บริเวณทองเปนสีขาวถึงสีเทา ลำตัวดานหลังมีสีน้ำตาลออน และสีดำ แถบลายดานหลังมีสีครีมลักษณะของเกล็ดหนารูทวาร 3 แผน และอวัยวะสืบพันธุตัวผู ภาพโดย ศราวุธ โกมุทธพงษPreanal scales and hemipenes of an adult male. Photo by Sarawoot Gomuttapongจากการสังเกตพฤติกรรมการสืบพันธุ ในชวงประมาณปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550ณ บริเวณธารน้ำตก ต. บอเวฬุ อ. ขลุง จ. จันทบุรี พบวา จิ้งเหลนเพศเมียจะกระดิกปลายหางคลายกับพฤติกรรมของจิ้งจก ซึ่งคาดวา นาจะเปนพฤติกรรมในการดึงดูดเพศผู เมื่อเพศผูเห็นพฤติกรรมเชนนั้น เพศผูจะคลานเขาไปหาเพศเมียแลวใชสวนหัวถูไปมาบนลำตัวของเพศเมีย จึงคาดวา นาจะเปนพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีของจิ้งเหลนหวยเขมร นอกจากนี้ยังพบวา แถบสีสมบริเวณโคนหางที่พบไดทั้งในเพศผูและเพศเมียนาจะมีความสำคัญในการเกี้ยวพาราสี ซึ่งสีสม17


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):16-19 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):16-19สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Research18ลักษณะตัวออนของจิ้งเหลนหวยเขมร ภาพโดย ประทิน บุญงามDorsal and ventral views of young T. microlepisPhoto by Pratin Boon-ngamที่โคนหางจะมีสีสันสดใสเมื่อเปยกน้ำ พฤติกรรมที่กลาวมาขางตนพบในเวลากลางคืน บริเวณน้ำตื้นกระแสน้ำไหลผานเบา ๆ นอกจากนี้ Taylor (1963) ไดรายงานวา จิ้งเหลนชนิดนี้ออกลูกเปนตัวครั้งละ 7-9 ตัว ในชวงปลายเดือนเมษายนจิ้งเหลนหวยเขมรที่ทำการศึกษา มีการลอกคราบที่แตกตางจากจิ้งเหลน หรือสัตวเลื้อยคลานในกลุม Lizard ชนิดอื่น ๆ คือ ลักษณะของคราบที่ลอกออกมาจะเปนแผงคราบเหมือนกับงู ซึ่ง Lizard ชนิดอื่น ๆ อาทิเชน จิ้งจกบาน (Hemidactylus spp.) ตุกแก (Gekko spp.) และกิ้งกา (Calotes spp.) มีการลอกคราบเปนแผนๆHonda et al. (2006) ไดทำการศึกษาสายสัมพันธทางวิวัฒนาการและชีวภูมิศาสตรของจิ้งเหลนหวย โดยใชเทคนิคทางชีวโมเลกุล พบวา เปนเรื่องที่นาสนใจที่จิ้งเหลนหวยเขมรและจิ้งเหลนหวยเวียดนาม (T. cocincinesis) ซึ่งเปนจิ้งเหลนหวยในเขตอินโดจีนมีบรรพบุรุษรวมกับจิ้งเหลนหวยชนิดอื่นที่พบอยูบนเกาะบอรเนียว สุลาเวสี และฟลิปปนส สันนิษฐานวา ชวงตอนกลางของยุค Miocene นาจะเกิดจากการแยกกันของประชากรที่เปนบรรพบุรุษรวม เนื่องจากการแยกกันของแผนทวีป จึงมีความใกลชิดในเชิงวิวัฒนาการกับชนิดบนเกาะ


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):16-19 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):16-19สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchลักษณะของคราบจิ้งเหลนหวยเขมรที่ลอกออกทั้งตัวคลายพวกงู ภาพโดย พงศกร โกฉัยพัฒนShed skin of a Khao Sebab water skink (T. microlepis ), entirely peeled out like in snakes, contraryto most other lizards such as Calotes emma. Photo by Phongsakorn Kochaiphatขอขอบคุณ ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานความหลากหลายทางชีวภาพ คณะวิทยา--ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย อาจารยพงษรัตน ดำรงโรจนวัฒนา ภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา คุณอนุชาติ คุณสุข และครอบครัวคุณสุข ที่ชวยเหลือในการเก็บขอมูลในการทำงานวิจัยครั้งนี้ รวมทั้งภาพประกอบโดยคุณพงศกร โกฉัยพัฒน และคุณประทิน บุญงามเอกสารอางอิงพิทักษ หางาม, ประทีป ดวงแค และจงรัก วัชรินทรรัตน. 2549. การสำรวจชนิดของสัตวสะเทินน้ำสะเทินบกและสัตวเลื้อยคลาน บริเวณสถานีวิจัยวนเกษตรตราด จ.ตราด. วารสารสัตวปาเมืองไทย,13:190-200Cox, M.J., P. P. Van Dijk, J. Nabhitabhata & K. Thirakhupt. 1998. A Photographic Guide to Snakes andOther Reptiles of Thailand and Southeast Asia. Asia Book Co., Ltd., Bangkok.Greer, A. E. & S. Biswas. 2004. A Generic Diagnosis for the South East Asia Scincid Lizard GenusTropidophorusDumeril & Bibron, 1839 with Some Additional Comments on Its Morphology andDistribution. Journal of Herpetology, 38(3): 426-430.Honda, M., H. Ota , W. R. Murphy & T. Hikida. 2006.Phylogeny and Biogeography of Water Skinks of theGenus Tropidophorus (Reptilia: Scincidae): a Molecular Approach. Zoologica Scripta, 35(1):85-95Nabhitabhata, J., T. Chan-ard & Y. Chuaynkern. 2000. Checklist of Amphibians & Reptiles in Thailand. Officeof Environmental Policy and Planning, Bangkok, Thailand.Taylor, E. H. 1963. The lizards of Thailand. University of Kansas Science Bulletin,44 (14): 983-986.19


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):20-21 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):20-21สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพบงูปลองฉนวนเขมร (Lycodon cardamomensis Daltry & Wuster,2002) ที่จังหวัดชลบุรีNew distributional records for Lycodon cardamomensis Daltry &Wuster, 2002 (Ophidia: Colubridae) in Chon Buri province, Thailandมนตรี สุมณฑา 1 * และกีรติ กันยา 2Montri SUMONTHA 1 * and Kirati KUNYA 21สถานีประมงทะเลจังหวัดระนอง, 2 สวนสัตวนครราชสีมา1Ranong Fisheries Station, Thailand, 2 Nakhon Ratchasima Zoo, Thailand*Corresponding author: montri.sumontha@gmail.comAbstractLycodon cardamomensis Daltry & Wuster, 2002 is a colorful snake, distinct from its Thaicongeneric species by its color pattern: head dark brown, alternate pinkish-orange andblack bands on dorsum and tail in adults, venter whitish. We report here on the firstrecord of this rare species from Chon Buri province, eastern Thailand, based on thefourth known Thai specimen. The species is still known only from the CardamomMountains in Cambodia and adjacent southeastern Thailand.งูปลองฉนวนเขมร เปนงูปลองฉนวนที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง โดยพบครั้งแรกที่ทิวเขา Cardamom ซึ่งอยูทางดานตะวันตกเฉียงใตของประเทศกัมพูชา เมื่อ พ.ศ. 2545 โดยมีตัวอยางตนแบบเปนลูกงูเพียงตัวเดียว (Daltry & Wuster, 2002) ตอมาในป พ.ศ. 2548 ไดมีการพบและตรวจสอบตัวอยางงูปลองฉนวนที่ไดตัวอยางจากบริเวณเขาสอยดาว อ. สอยดาวและน้ำตกมะกอก อ. ขลุง จ. จันทบุรี จำนวน 3 ตัวอยาง พบวาเปนงูปลองฉนวนเขมร ซึ่งนับเปนรายงานแรกของประเทศไทย (Pauwels et al., 2005) แตยังไมปรากฏในบัญชีรายชื่อสัตวสะเทินและเลื้อยคลานในประเทศไทย (Nabhitabhata et al., 2004) และในบัญชีกำหนดสถานภาพสัตวของประเทศไทย (Nabhitabhata & Chan-ard, 2005)จากการสำรวจสัตวสะเทินบกสะเทินน้ำและสัตวเลื้อยคลาน บริเวณน้ำตกชันตาเถรจ. ชลบุรี ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2551 เวลาประมาณ 21:00 น.ไดพบงูปลองฉนวนที่ยังไมทราบชนิดในขณะนั้นบริเวณลำธารที่น้ำแหงในชวงฤดูแลง จึงไดนำงูมาถายรูปเพื่อตรวจสอบชนิดภายหลัง พบวาเปนงูปลองฉนวนเขมร ซึ่งมีลักษณะเดนที่สังเกตงาย คือ เปนงูปลองฉนวนที่มีลำตัวเรียวยาว หัวสีน้ำตาลเขม มีลายสีดำสลับชมพูอมสมตัดกันชัดเจนในงูที่มีชีวิต ซึ่งแตกตางจากตัวอยางตนแบบที่พบในประเทศกัมพูชาที่รายงานวา มีสีขาวสลับดำเนื่องจากเปนงูวัยออน ปกติแลวงูในกลุมงูปลองฉนวนมักมีการเปลี่ยนสีเมื่ออายุมากขึ้นและรอยตอระหวางแถบสีเปนรอยหยักไมสม่ำเสมอ20


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):20-21 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):20-21สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchงูปลองฉนวนเขมร (Lycodon cardamomensis) ถายจากน้ำตกชันตาเถร จ. ชลบุรี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2551ภาพโดยมนตรี สุมณฑาLycodon cardamomensis Photo taken at Chan Taten Waterfall, Chon Buri province, ThailandPhoto by Montri Sumonthaงูปลองฉนวนเขมรที่พบบริเวณน้ำตกชันตาเถร มีแถบสีชมพูอมสมบนลำตัวและหางจำนวน 22 แถบ ซึ่งตางจากตัวอยางตนแบบมี 17 แถบ และตัวอยางที่เคยพบรายงานในประเทศไทยมาแลวมี 19 แถบ ในแถบสีชมพูมีจุดสีดำจาง ๆ บริเวณกลางแถบ แถบสีดำไมคาดผานทอง จากการพบงูปลองฉนวนเขมรครั้งนี้ นับเปนรายงานแรกของจังหวัดชลบุรี และเปนการรายงานการพบครั้งที่สองซึ่งเปนตัวอยางที่ 4 ของประเทศไทยเอกสารอางอิงDaltry, J. C. & W. Wuster. 2002. A new species of wolf snake (Serpentes: Colubridae: Lycodon) from theCardamom mountains, southwestern Cambodia. Herpetologica, 58(4): 498-504.Nabhitabhata, J., T. Chan-ard & Y. Chuaynkern. 2004. Checklist of amphibians and reptiles in Thailand. Officeof Environmental Policy and Planning, Bangkok. 152 pp.Nabhitabhata, J. & T. Chan-ard. 2005. Thailand red data: Mammals, Reptiles and Amphibians. Office ofEnvironmental Policy and Planning, Bangkok. 234 pp.Pauwels, O. S. G., M. Sumontha, P. David, T. Chan-ard & G. Vogel. 2005. First Record of Lycodoncardamomensis from Thailand, with a key to Thai Lycodon (Serpentes: Colubridae). TheNatural History Bulletin of the Siam Society, 53(1): 79-86.21


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):22-23 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):22-23สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchงูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi (Schulz &Helfenberger, 1998)) รายงานแรกจากจังหวัดพิษณุโลกNew Record of Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger,1998) (Serpentes: Colubridae) from Phitsanulok Province, Thailandหัสชัย บุญเนือง 1 และมนตรี สุมณฑา 2 *Hasachai BOON-NUANG 1 and Montri SUMONTHA 2 *1นักเขียนและชางภาพ, 2 สถานีประมงทะเลจังหวัดระนอง1Writer and Photographer, 2 Ranong fisheries station, Thailand*Corresponding author: montri.sumontha@gmail.comAbstractCox's Mountain Racer, Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger, 1998), is arare subspecies, endemic to Thailand. It is one of the most colorful Thai snakes, and iseasily diagnosed by its pinkish orange body with a pair of black paravertebral stripes ondorsum, a conspicuous black stripe on the middle of the head dorsal surface, and thelack of transverse bands like in the other subspecies. We report here on the first recordof this subspecies from Phitsanulok Province, Northern Thailand. The subspecies is stillpoorly known. Currently, it has been reported from only three provinces, Loei, Chaiyaphum,and presently, Phitsanulok.งูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi) ไดรับการบรรยายลักษณะทางอนุกรมวิธานครั้งแรกภายใตชื่อ Elaphe porphyracea coxi โดย Schulz & Helfenberger(1998) และตอมา Utiger et. al. ( 2002) ไดศึกษาทางชีวโมเลกุลของงูสกุล Elaphe และมีการจัดลำดับทางอนุกรมวิธานใหมโดยใหงูทางมะพราวแดงอยูในสกุล Oreophis ซึ่งมีความหมายวา "งูที่อาศัยบนเขาสูง" ปจจุบันมีสมาชิกเพียงชนิดเดียวคือ Oreophis porphyraceus ซึ่งในประเทศไทยมี 3 ชนิดยอย ไดแก O. p. coxi, O. p. laticinctus และ O. p. porphyraceus (ปยวรรณ, 2549;Nabhitabhata and Chan-ard, 2005) โดยมีการกระจายพันธุทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต ซึ่งงูทางมะพราวแดงภูหลวงเปนสัตวถิ่นเดียวของไทยในระดับชนิดยอย มีรายงานพบในพื้นที่ปาดิบเขาที่มีความสูงเหนือระดับ 800 ม. ขึ้นไป ที่ภูหลวงจ. เลย และที่ภูเขียว จ. ชัยภูมิ (Chan-ard et al., 1999; Nabhitabhata & Chan-ard, 2005)ในวันที่ 12 สิงหาคม 2550 เวลาประมาณ 15:30 น. คุณหัสชัย บุญเนือง ไดเดินทางไปสำรวจกลวยไมที่น้ำตกหมันแดง ซึ่งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา จ. พิษณุโลก และไดพบงูชนิดหนึ่งอยูในกอกลวยไมลิ้นมังกร Habenaria rhodocheila Hance เฟรน และประดับหิน22


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):22-23 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):22-23สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchงูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi) พบที่น้ำตกหมันแดง จ. พิษณุโลก ภาพโดย หัสชัย บุญเนืองCox's Mountain Racer (Oreophis porphyraceus coxi) foundat Mandaeng Waterfall, Pitsanulok province, Thailand.Photo by Hasachai BOON-NUANG(Argostemma sp.) ใกลน้ำตก ซึ่งมีละอองน้ำจากน้ำตกกระเซ็นฟุงกระจาย อุณหภูมิระหวาง 26-28 องศาเซลเซียส จึงไดถายรูปมาเพื่อจำแนกชนิดภายหลังและไมมีการเก็บตัวอยางกลับมา ซึ่งจากการตรวจสอบภายหลัง พบวา งูชนิดดังกลาวเปนงูทางมะพราวแดงภูหลวง โดยมีลักษณะจำแนกที่สำคัญ คือ หัวและลำตัวสีสมแดง มีขีดหนาสีดำตามยาวกลางหัว และมีแถบลายสีดำขนานกับแนวกลางสันหลังตั้งแตคอจรดหาง โดยแถบสีดำแตละแถบจะคลุมพื้นที่เกล็ดลำตัวแถวที่ 6-8 ทำใหดูวาแถบหนากวางูทางมะพราวแดงชนิดยอยอื่น ๆ และไมมีลายพาดขวางลำตัว ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของงูชนิดยอยนี้ การพบงูทางมะพราวแดงครั้งนี้นับเปนรายงานการพบงูทางมะพราวแดงภูหลวงครั้งแรกในเขต จ. พิษณุโลก และเปนจังหวัดที่สามที่มีรายงานการพบงูดังกลาวเอกสารอางอิงปยวรรณ นิยมวัน. 2549. รายงานการพบงูทางมะพราวแดงชนิดยอย Elaphe porphyracea laticincta (Reptilia:Colubridae) ในประเทศไทย. วารสารสัตวปาเมืองไทย, 13(1): 249-251Chan-ard, T., W. Grossmann, A. Gumprecht & K. Schulz, 1999. Amphibians and reptiles of peninsularMalaysia and Thailand: an illustrated checklist. Bushmaster Publications.Wuerselen. 240 p.Nabhitabhata, J. & T. Chan-ard. 2005. Thailand red data: Mammals, Reptiles and Amphibians. Office ofEnvironmental Policy and Planning. Bangkok. 234 p.Schulz, K. & N. Helfenberger. 1998. Eine Revision des Untererten-Komplexes der Roten BambusnatterElaphe porphyracea (Cantor, 1839). Sauria, 20(1): 25-45.Utiger U., N. Helfenberger, B. Schatti, C. Schmidt, M. Ruf & V. Ziswiler, 2002. Molecular systematics andphylogeny of old and new world ratsnake Elaphe Auct., and related genera (Reptilia:Squamata: Colubridae). Russian Journal of Herpetology. 9(2): 105-124.23


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):24-26 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):24-26สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพบถิ่นอาศัยใหมของกบดอยชาง (Nanorana aenea)และภัยคุกคามที่ยังดำรงอยูA new locality of Nanorana aenea (Amphibians: Anura:Dicroglossidae) and their threatened factorsสมชาติ ธรรมขันทา 1 และธัญญา จั่นอาจ 2 *Somchart DHAMMAKHANTHA 1 and Tanya CHAN-ARD 2 *1ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม จ. เชียงใหม,2พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา, องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ1Chiangmai Inland Fisheries Research and Development Center, ThailandThailand Natural History Museum (THNHM), National Science Museum, Thailand.*Corresponding author: dhanya@yahoo.comAbstract''We report here on the discovery of a new locality for Nanorana aenea in Thailand. Thenew locality, discovered in 2002, is Ban Sibare, Tambon (Subdistrict) Mae Tun, Amphoe(District) Omkoi, Chiang Mai Province. This species is nationally and globally classifiedas Data Deficent (DD), but appears to have a restricted distribution and, moreover, ishunted by local people. Therefore Nanorana aenea should be upgraded to eithervulnerable or endangered. We here provide photographs of mature adults of both sexes,as well as an egg-clutch that was attached under a rock on the forest floor.กบดอยชาง (Nanorana aenea) เปนกบในกลุมกบอกหนาม อาศัยอยูในแหลงอาศัยเฉพาะ ในสังคมพืชแบบปาดิบเขาที่ชุมชื้นบนภูเขาที่ระดับความสูงมากกวา 1,000 ม. เหนือระดับทะเล มีเขตการแพรกระจายพบที่อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท อุทยานแหงชาติหวยน้ำดัง และอุทยานแหงชาติแมฝาง จ. เชียงใหม (ธัญญา และคณะ, 2550) ถูกจัดเปนสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 แตก็เปนที่รูจักกันนอย อาจเนื่องมาจากมีขอมูลไมปรากฏแพรหลาย หรือขอมูลบางประการจึงถูกเก็บงำไว ทำใหผูพบขอมูลยังไมสามารถจำแนกชนิดกบดังกลาวไดในระหวางการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินสถานภาพสัตวสะเทินน้ำสะเทินบกสำหรับเตรียมโครงการอนุรักษนอกแหลงอาศัย ระหวางวันที่ 27-29 พฤษภาคม พ.ศ. 2551ณ คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดโดยองคการสวนสัตว และโครงการ AmphibianArk ของ IUCN เนื่องในปแหงการอนุรักษกบ ไดปรากฏภาพชุดหนึ่งขึ้นในระหวางการประชุมครั้งนี้24


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):24-26 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):24-26สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchภาพชุดดังกลาวบันทึกโดยศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม ในป พ.ศ. 2545ระหวางการเก็บรวบรวมชนิดกบเพื่อการเพาะพันธุในโครงการเพาะขยายพันธุกบที่อาศัยอยูในแหลงอาศัยบนภูเขาและถูกคุกคามโดยการลาของมนุษย เปนภาพกบดอยชางในแหลงอาศัยทองที่ บานซิแบร ต. แมตื ่น อ. อมกอย จ. เชียงใหม เปนชวงเวลาที่เหมาะสมตรงกับฤดูผสมพันธุพอดี มีการพบกบเพศผู และกบเพศเมียวัยเจริญพันธุ ขนาดโตเต็มที่เกือบเทาฝามือ แสดงลักษณะที่แตกตางระหวางเพศอยางชัดเจน โดยกบเพศผูมีกลุมหนามสั้น ๆ สีดำ 2 กลุม ที่บริเวณหนาอก แตในกบเพศเมียไมมีกลุมหนามดังกลาว ซึ่งสอดคลองกับขอมูลของกบที่พบในประเทศเวียดนาม (Dubois & Ohler, 2005)ลักษณะของกบดอยชางตัวผู (ซาย) และตัวเมีย (ขวา) ที่พบบริเวณ อ. อมกอย จ. เชียงใหม เมื่อป พ.ศ. 2545ภาพโดย สมชาติ ธรรมขันทา''Ventral view of Nanorana aenea, an adult male (left) and an adult female (right), from AmphoeOmkoi, Chiangmai Province, 2002. Photo by Somchart Dhammakhanthaจากขอมูลของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหมพบวา ชาวบานมักจับกบเหลานี้เปนอาหารครั้งละหลายตัว โดยรูวาสามารถหาจับกบเหลานี้ไดจากซอกหินตามพื ้นปาที่ชุมชื้นซึ่งเมื่อพลิกตะแคงแผนหินขนาดใหญขึ้นมา จะพบไขจำนวนมาก รูปทรงกลม ขนาดใหญ มี 2 สีคือ สีเหลืองออน และสีดำ เกาะเปนกลุมที่พื้นผิวดานในของแผนหิน เปนการย้ำวา กบดอยชางไมไดวางไขในแหลงน้ำ การเจริญและพัฒนาการของลูกออดเกิดอยูภายในไขตลอดระยะของmetamorphosis25ชาวบานกำลังมองหากบดอยชาง จากแหลงที่อยูอาศัยภาพโดย สมชาติ ธรรมขันทาLocal people hunting Nanorana aeneain Omkoi District.Photo by Somchart Dhammakhantha


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):24-26 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):24-26สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchแหลงวางไขของกบดอยชางแผนหินขนาดใหญ (ซาย) ไขของกบจะติดอยูใตกอนหิน(ขวา) แสดงใหเห็นวา กบดอยชางไมไดวางไขในแหลงน้ำ ภาพโดย สมชาติ ธรรมขันทาEgg clutch of Nanorana aenea in Omkoi District. The eggs are layed under rocks (left) and stick onthe rock (right), indicating that they are not laid in open water. Photo by Somchart DhammakhanthaNabhitabhata & Chan-ard (2005) ไดจัดสถานภาพปจจุบันในระดับประเทศของกบดอยชางจัดวาเปนสัตวที่ยังไมมีขอมูลเพียงพอ (DD) และมีสถานภาพเดียวกันกับสถานภาพระดับนานาชาติ (van Dijk & Chan-ard, 2004.) แตจากขอมูลที่กลาวมาขางตน ควรเปลี่ยนแปลงสถานภาพในระดับประเทศและระดับนานาชาติของกบดอยชางใหเปนชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม (VU) จนใกลสูญพันธุ หรือใกลสูญพันธุ (EN) เนื่องจากแหลงอาศัยที่เปราะบาง การแพรกระจายแคบ และถูกลาโดยชุมชนทองถิ่น สถานภาพทางกฎหมายที่เปนสัตวปาคุมครองอาจจะไมเพียงพอตอการรักษาความคงอยูของสัตวปาชนิดนี้ไดเอกสารอางอิงธัญญา จั่นอาจ สัญชัย เมฆฉาย และยุทธพงษ รัศมี. 2550. กบดอยชาง (Nanorana aenea) ในขอมูลใหมหลังปสหัสวรรษ.<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong>, 1(4): 17-18.Dubois, A. & A. Ohler. 2005. Taxonomic notes on the Asian frogs of the tribe Paini (Ranidae, Dicroglossidae):1. Morphology and synonymy of Chaparana aenea (Smith, 1922), with proposal of a new statisticalmethod for testing homogeneity of small samples. Journal of Natural History, 39(20): 1759-1778.Nabhitabhata, J. & T. Chan-ard. 2005. Thai red data: mammals, reptiles and amphibians. Office of NaturalResources and Environmental Policy and Planning. Bangkok, Thailand. 234 pp.van Dijk, P.P. & T. Chan-ard. 2004. Chaparana aenea. In: IUCN 2007. 2007 IUCN Red List of ThreatenedSpecies. . Downloaded on 02 July 2008.26


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):27-29 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):27-29สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพฤติกรรมการปองกันศัตรูของอึ่งกรายขางแถบ(Brachytarsophrys carinensis)''Self-defence techniques of the Burmese Horned FrogBrachytarsophrys carinensis (Anura: Megophryidae)ศิริวัฒน แดงศรี1 * และวรพจน บุญความดี2Siriwat DAENGSRI 1 * and Worapot BOONKHUAMDEE 21กลุมอนุรักษปลาไทยและสิ่งแวดลอม, 2 ชมรมอนุรักษนกและธรรมชาติลานนา1Thailand Nature Explorer www.siamensis.org2Lanna Bird & Nature Conservation Club http://lannabird.org/nuke/index.php*Corresponding author: s4250078@yahoo.comAbstractBrachytarsophrys carinensis is a remarkably camouflaged frog which mainly lives alongstreams in evergreen forest. It was attributed a near-threatened conservation status.One individual was found in a dry creek in Doi Suthep-Pui National Park, Chiang MaiProvince, northern Thailand, on 30 April 2008 during a rainfall. When disturbed the frogfirst hid itself in the surrounding environment by moving under leaves and flattening itsbody. When the degree of disturbance increased, the frog lifted up its body and made avery loud noise about 6-10 seconds long. It repeated that behavior as long as the threatremained.อึ่งกรายขางแถบ (Brachytarsophryscarinensis) เปนอึ่งกรายที่มีขนาดใหญ ลำตัวคอนขางแบนกวาง ลำตัวมีสีน้ำตาลเขมหรือสีน้ำตาลอมแดง จากไหลยาวไปตามขอบหลังมีแถบกวางสีจาง ๆ คางสีดำ อกมีจุดประสีเทา ทองสีน้ำตาลขุน ตีนสีดำ (ธัญญา, 2546) ชอบซุกตัวตามกองใบไมแหงบนพื้นปาทำใหพบเห็นตัวไดยาก ยกเวนในฤดูฝนอึ่งกรายขางแถบจะลงไปสงอึ่งกรายขางแถบมีลวดลายและสีลำตัวกลมกลืนกับสิ่งแวดลอมภาพโดย ศิริวัฒน แดงศรีNatural camouflage of Brachytarsophrys carinensis,Doi Suthep-Pui National Park.Photo by Siriwat Daengsri27


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):27-29 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):27-29สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchเสียงรองริมลำธารเพื่อผสมพันธุ (จารุจินต, 2531) Taylor (1962) ยังไดระบุวา สามารถไดยินเสียงรองที่ระยะ 1 ใน 4 ของไมล โดยมีเสียงรองนำแลวตามดวยเสียงเปนจังหวะ 5-6 ครั้ง เวนแตละจังหวะสั้น ๆ และรองซ้ำทุก 10-15 นาที หากมีการรบกวนอาจจะหยุดรองไปนานถึง 45นาที ปจจุบันอึ่งกรายขางแถบ มีสถานภาพใกลถูกคุกคาม (NT) (Nabhitabhata & Chan-ard,2005)นอกจากมีสีของลำตัวกลมกลืนกับสภาพสิ่งแวดลอมในการพรางตัว อึ่งกรายขางแถบยังใชเสียงในการขมขูและขับไลศัตรูเพื่อปองกันตัวเองอีกดวย เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2551เวลาประมาณ 22.30 น. สภาพอากาศชื้นและมีฝนตกโปรยปราย คณะผูเขียนพบอึ่งกรายขางแถบ 1 ตัว ซอนตัวในกองใบไมแหงขางลำหวยขนาดเล็กในอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย จึงไดสังเกตพฤติกรรมการปองกันตนเองจากผูลา พบวา เมื่อมีแสงไฟมากระทบและมีสิ่งรบกวนเขาไปใกล อึ่งกรายขางแถบจะซุกลงในใบไมและยอตัวลงใหแบนราบพื้น ขาแนบอยูดานขางลำตัวเปนการลดขนาดกรอบนอกของลำตัวเพื่อใหลวดลายบนตัวในการอำพรางตัวจากศัตรูเมื่อคณะผูเขียนพยายามใชมือจับพบวา อึ่งกรายขางแถบแสดงพฤติกรรมการขู (threatbehavior) โดยพองตัวใหมีขนาดใหญและยกตัวขึ้น ซึ่งเปนการขยายกรอบนอกของลำตัวใหใหญขึ้น คลายกับพฤติกรรมของอึ่งอางบาน (Kaloula pulchra) แลวอาปากกระโดดพุงเขาใสสิ่งรบกวนพรอมทั้งสงเสียงรองดัง 1 พยางค ซึ่งเปนการแสดงอาวุธ (ในที่นี้คือปากที่มีขนาดใหญ) ใหศัตรูเห็นชัดเจน หลังจากนั้นอาปากคางไวพรอมทั้งเปลงเสียงรองที่แหลม ยาว และดังมาก คลายเสียงเมื่อถูกรบกวนอึ่งกรายขางแถบเริ่มอาปากกวางเพื่อขูศัตรู ภาพโดย ศิริวัฒน แดงศรีBurmese Horned Frog starting to open its mouth to scare intruders when disturbed, Doi Suthep-Pui National Park. Photo by Siriwat Daengsri28


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):27-29 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):27-29สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchเมื่อถูกรบกวนหนักขึ้น อึ่งกรายขางแถบจะอาปากกวางสุดและสงเสียงรองดังเพื่อขูศัตรูภาพโดย ศิริวัฒน แดงศรีBurmese Horned Frog widely opening itsmouth to produce a loud noise whendisturbed, Doi Suthep-Pui National Park.Photo by Siriwat Daengsriเมื่อบีบปลายลูกโปงแลวปลอยลมออก โดยเปลงเสียงเปนเวลา 6.2 - 9.8 วินาที (n=4) เสียงที่เปลงออกมาอยูในชวงความถี่ 0-4 kHz มีลักษณะเปน harmonic คือ มีเสียงหลายชวงความถี่ในขณะเวลาเดียวกัน จะหยุดเมื่อลมในปอดหมดและลำตัวแฟบลง หากสิ่งรบกวนยังคงอยูอึ่งกรายขางแถบจะพองลมและขูซ้ำโดยใชเวลาในการเตรียมการขู 10.0 - 13.5 วินาที (n=3)คลื่นเสียงรองของอึ่งกรายขางแถบขณะแสดงพฤติกรรมการขู ภาพโดย วรพจณ บุญความดีSonogram of Burmese Horned Frog producing loud noise when disturbed, Doi Suthep-PuiNational Park. Photo by Worapot Boonkhuamdeeรายงานนี้แสดงใหเห็นถึงแบบแผนพฤติกรรมการปองกันตัวของอึ่งกรายขางแถบ(Brachytarsophrys carinensis) ที่ใชเสียงเพื่อขับไลศัตรู นอกเหนือจากการใชเสียงเพื่อดึงดูดคูผสมพันธุ การที่อึ่งกรายขางแถบเลือกใชเปนเสียงที่แหลมยาวและดังเมื่อถูกจับ (distressscream) เพื่อใหศัตรูตกใจกลัวและหนีไป การที่อึ่งกรายขางแถบเปลงเสียงนี้ออกมา ถือวาประสบความสำเร็จ อยางนอยที่สุดก็ทำใหคณะผูเขียนลังเลไมกลาจับ และใชเวลารบกวนในการบันทึกภาพเพียงไมนานเนื่องจากทนรำคาญเสียงที่ดังจนแสบแกวหูนั้นไมไดเอกสารอางอิงธัญญา จั่นอาจ. 2546. คูมือสัตวสะเทินน้ำสะเทินบกในเมืองไทย. พิมพครั้งที่ 1. บริษัทดานสุธาการพิมพจำกัด. กรุงเทพฯ.จารุจินต นภีตะภัฎ. 2531. สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก. พิมพครั้งที่ 1. องคการการคาคุรุสภา. กรุงเทพฯ.นริทธิ์ สีตะสุวรรณ. 2547. พฤติกรรมวิทยา. พิมพครั้งที่ 1. คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เชียงใหม.Nabhitabhata, J. & T. Chan-ard. 2005. Thailand red data: Mammals, Reptiles and Amphibians. Office of EnvironmentalPolicy and Planning, Bangkok: 234 pp.Taylor, E. H. 1962. The Amphibian Fauna of Thailand. University of Kansas Science Bulletin, 43(8):265-59929


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):30-33 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):30-33สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchปลาหมอแคระ (Badis spp.) ที่พบในประเทศไทยBadis spp. (Perciformes: Actinopterygii: Badidae) of Thailandนณณ ผาณิตวงศ*Nonn PANITVONG*กลุมอนุรักษปลาไทยและสิ่งแวดลอม Thailand Nature Explorer www.siamensis.org*Corresponding author: thaikilli@yahoo.comAbstractBadidae, a small family of freshwater fishes, comprises of only 2 genera, Badis andDario. They are widespread in South Asia, East Asea, and South East Asia. Only Badisoccurred in Thailand with three known species. Badis ruber occurs in the Salweenbasin, northern region, and in the Mekong basin. Badis siamensis is known from thewestern drainage of peninsular Thailand, starting from Ranong province down to itstype locality; Phuket Island. Badis khwae, a Thai endemic species, is specific to upperKhwae Noi River in the Maeklong basin. These three species inhabit forest coveredsmall streams with dense aquatic vegetation. This habitat is vulnerable to devastation inorder to anthropogenic activities. Developing projects in the watershed ecosystem ishighly recommended to concern about negative impacts on these species.ปลาในวงศ Badidae เปนปลาน้ำจืดขนาดเล็ก โดยในวงศนี้มีอยูดวยกัน 2 สกุลคือBadis และ Dario ปลาในวงศนี้มีการกระจายพันธุอยูในเขตเอเชียใต เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน ในประเทศอินเดีย บังกลาเทศ พมา จีน และไทย มีความหลากหลายสูงสุดอยูในเขตประเทศเอเชียใตและพมา สวนประเทศไทยนั้นถือเปนเขตตะวันออกสุดของการแพรกระจายพันธุของปลาในวงศนี้และประเทศจีนทางตอนใตเปนขอบการกระจายพันธุสูงสุด โดยปลาในวงศ Badidae นี้มีการกระจายพันธุอยูในลุมแมน้ำสำคัญของทวีปเอเชีย เชน คงคาพรหมบุตร สาละวิน โขง และแมกลอง (Kullander & Britz, 2002)ในประเทศไทยมีปลาในวงศ Badidae เพียงสกุลเดียวคือ Badis ทั่วโลกปลาในสกุลนี้มีอยูทั้งหมด 13 ชนิด พบในประเทศไทย 3 ชนิด ทั้งหมดเปนปลาน้ำจืดขนาดเล็ก โดยเฉลี่ยมีขนาดประมาณ 3-4 ซม. เทานั้น (Froese & Pauly, 2008) จากการสังเกตพบวา ปลาในสกุลนี้มักอาศัยอยูในแหลงน้ำที่มีการไหลเวียนดี เชน ตามขอบตลิ่งที่มีตนไมน้ำ ไมลอยน้ำ หรือไมชายน้ำหนาแนนของแมน้ำขนาดใหญ หรือในลำธารขนาดเล็กที่มีน้ำไหลเอื่อย ๆ และมีที ่หลบซอน เชน ตามรากไมชายน้ำ และตามกอพืชชายน้ำ สวนในหนาแลงที่ลำธารมีน้ำนอยหรือแหงไป มีปลาบางสวนลงมาอาศัยอยูในพื้นที่น้ำขังถาวร เชน ตามบึงน้ำริมคันนา เปนตน (ชัยวุฒิ30


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):30-33 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):30-33สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchกรุดพันธ, 2551 การติดตอสวนบุคคล) ปลาในสกุลนี้มีลักษณะการหากินแบบซุมโจมตี คือ ปลาจะลอยตัวอยูนิ่ง ๆ และคอยฮุบเหยื่อซึ่งเปนสัตวน้ำขนาดเล็กที่วายผานมา พฤติกรรมดังกลาวทำใหปลามีลักษณะพิเศษที่นาสนใจ เชน สามารถเปลี่ยนสีตามลำตัวไดอยางรวดเร็วเพื่อพรางตัวทั้งตามสถานที่อาศัยและตามอารมณ นอกจากนั้นยังมีตาที่กรอกไปมาไดรอบทิศ มีลักษณะคลายกับตาของกิ้งกาคาเมเลี่ยน ซึ่งอาจเปนที่มาของชื่อการคาในตลาดปลาสวยงามตางประเทศวาChameleon fishปลาในวงศ Badidae เปนปลาขนาดเล็กที่มีความสวยงาม มีพฤติกรรมที่นาสนใจ และมีชนิดใหเลือกหลายชนิด ทำใหปลาในวงศนี้เปนที่นิยมในตลาดปลาสวยงาม ทั้งในประเทศไทยและในตางประเทศ ในประเทศไทยนั้นใชชื่อทางการคาวา "ปลาหมอแคระ" ปจจุบันปลาหมอแคระในประเทศไทยทุกชนิดยังไมไดรับการจัดสถานภาพวา มีสถานะที่เสี่ยงตอการสูญพันธุ(Vidthayanon, 2005) ปลาในสกุล Badis ที่พบในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ1. ปลาหมอแคระพมา (Badis ruber Schreitmuller, 1923)มีจุดเดนแตกตางจากปลาหมอแคระในสกุล Badis ชนิดอื่นที่พบในประเทศไทย คือ ลำตัวมีจุดสีแดงสดสลับกับจุดสีฟาอมเทา จึงจัดเปนปลาน้ำจืดที่สวยงามมากชนิดหนึ่งของไทย มีการกระจายพันธุอยูทางตอนเหนือของประเทศ ในลุมแมน้ำสาละวิน เชน ในเขต จ. แมฮองสอนและในลุมแมน้ำโขง เชน ในเขต จ. เชียงราย การกระจายพันธุอยูในสองลุมน้ำของปลาชนิดนี้เปนหนึ่งในหลักฐานที่บงชี้วา ในอดีตตนน้ำของแมน้ำโขงและแมน้ำสาละวินเคยเชื่อมตอกัน(Kullander & Britz, 2002)ปลาหมอแคระพมา ภาพโดย นณณ ผาณิตวงศBadis ruber Photo by Nonn Panitvongปลาหมอแคระพมา ภาพโดย นณณ ผาณิตวงศBadis ruber Photo by Nonn Panitvong31


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):30-33 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):30-33สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Research2. ปลาหมอแคระขี้เซา (Badis siamensis Klausewitz, 1957)เปนปลาหมอแคระที่มีสีสันไมจัดจานนัก ปลาที่สมบูรณเต็มที่มีลำตัวสีน้ำตาลออน มีจุดประสีดำตามลำตัว อาจจะมีจุดสีแดงจาง ๆ บางเล็กนอย ทางภาคใตเรียกวา "ปลาหมอขี้เซา"เนื่องจากพฤติกรรมที่มักจะลอยซุมตัวอยูนิ่ง ๆ ไมคอยขยับตัวมากนักพบครั้งแรกที่จังหวัดภูเก็ต แตมีการกระจายพันธุตามแหลงน้ำที่ไหลลงแนวชายฝงดานทะเลอันดามันของไทย เริ่มตั้งแต จ. ระนอง ลงไปแตไมมีหลักฐานแนชัดวามีการกระจายพันธุลงไปทางใตถึงระดับใด อยางไรก็ดี เว็บไซต fishbase.org ระบุวา ปลาชนิดนี้เปนปลาประจำถิ่นของประเทศไทย (Froese & Pauly, 2008) แตไมปรากฏวา มีในรายงานของ Vidthayanon(2005) ปจจุบันยังไมพบวา มีการกระจายพันธุอยูในแหลงน้ำที่ไหลลงทางฝงตะวันออก (ฝงอาวไทย) ของคาบสมุทรมลายู (ชัยวุฒิ กรุดพันธ, 2551 การติดตอสวนบุคคล)ปลาหมอแคระขี้เซาภาพโดย นณณ ผาณิตวงศBadis siamensisPhoto by Nonn Panitvong3. ปลาหมอแคระแมกลอง (Badis khwae Kullander & Britz, 2002)เปนปลาที่พึ่งไดรับการบรรยายลักษณะทางอนุกรมวิธานเมื่อป พ.ศ. 2545 (Kullander& Britz, 2002) มีชวงลำตัว ชวงระหวางตา และจุดเริ่มตนของครีบหลังยาว โดยรวม จึงเปนปลาที่มีลำตัวคอนขางยาวเมื่อเปรียบเทียบกับสองชนิดแรก ปลาที่สมบูรณเต็มที ่มีจุดประสีสมสลับดำตามลำตัว จึงจัดเปนปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง มีการกระจายพันธุอยูทางตนแมน้ำแควนอย เชน ใน อ. สังขละบุรี และ อ. ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรีเทานั้น จึงเปนปลาประจำถิ่นของประเทศไทย (Vidthayanon, 2005)จากประสบการณในการเลี้ยงและเพาะพันธุปลาหมอแคระในสกุล Badis ของผูเขียนพบวา ปลาหมอแคระมีลักษณะการสืบพันธุที่นาสนใจ กลาวคือ ปลาตัวผูซึ่งมีสีสันสดใสกวาปลาตัวเมียอยางเห็นไดชัด เปนตัวเลือกทำเลในการสรางรังบริเวณที่เปนถ้ำหรือโพรงขนาดเล็ก ใน32


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):30-33 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):30-33สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchปลาหมอแคระแมกลองภาพโดย นณณ ผาณิตวงศBadis khwaePhoto by Nonn Panitvongที่เลี้ยงสามารถใชกระถางตนไมหรือกะลามะพราวทดแทนได แลวตัวผูมีการจีบตอนใหตัวเมียเขามาวางไข โดยตัวเมียจะวางไขติดกับผนังถ้ำ หลังจากนั้นปลาตัวผูจะเฝาดูแลไขจนกระทั่งลูกปลาฟกเปนตัวโดยจะใชเวลาประมาณ 3-4 วัน ลูกปลาแรกฟกจะกินไขแดงที่ติดออกมากับตัวและเกาะติดอยูกับผนังถ้ำหรือวัสดุตาง ๆ จนกระทั่งลูกปลามีอายุประมาณ 3-4 วันจึงเริ่มวายแนวขนานและสามารถหาอาหารเองได พอปลาจะเลิกดูแลลูกปลาในชวงนี้ สวนลูกปลาก็จะเติบโตกลายเปนปลาหมอแคระรุนตอไปในธรรมชาติปลาหมอแคระอาศัยอยูในลำธารที่มีระบบนิเวศจำเพาะ ที่มีปรับเปลี่ยนหมุนเวียนไปตามฤดูกาล รวมกับสิ่งมีชีวิตอีกหลายชนิดที่อาศัยอยูในที่เดียวกันและไดวิวัฒนาการปรับตัวตามการผันแปรตามฤดูกาลของลำธาร การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ตอระบบนิเวศลำธารอยางฉับพลันยอมสงผลตอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในบริเวณดังกลาวรวมทั้งปลาหมอแคระ การพัฒนาหรือดำเนินการใด ๆ ในระบบนิเวศลำธาร ตองคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและหาทางหลีกเลี่ยงหรือปองกันแกไขผลกระทบเปนอันดับแรกขอขอบคุณ อ. ชัยวุฒิ กรุดพันธ อาจารยประจำสาขาวิชาประมง คณะเกษตรศาสตรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สำหรับขอมูลในการเขียนประกอบบทความเอกสารอางอิงชัยวุฒิ กรุดพันธ. 2551. การติดตอสวนบุคคล.Froese, R. & D. Pauly. Editors. 2008. FishBase. World Wide Web electronic publication. www.fishbase.org,version (04/2008).Kullander, S. O. & R. Britz. 2002. Revision of the family Badidae (Teleostei: Perciformes), with description of anew genus and ten new species. Ichthyological Exploration of Freshwaters, 13(4): 295-372.Vidthayanon, C. 2005. Thailand Red Data : Fishes. Office of Natural Resources and Environmental Policy andPlanning. Bangkok. 107 pp.33


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):34-36 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):34-36สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพฤติกรรมการปองกันอาณาเขตของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม(Rhinagrion mima)Territory defending of Rhinagrion mima (Insecta: Odonata:Megapodagrionidae) and other damselflies in Thailandนพปฎล มากบุญ*Noppadon MAKBUN*กลุมอนุรักษปลาไทยและสิ่งแวดลอม Thailand Nature Explorer www.siamensis.org*Corresponding author: due_n@hotmail.comAbstractDamselflies exhibit their habitat of territorial defense as same as many insects such asbutterflies, wasps, spiders, bees etc. Rhinagrion mima (Karsch, 1891), a damselfly speciesof Megapodagrionidae, was observed its defending behavior. The visual observationwas taken during 18-19 March and 30 April-2 May, 2008 at Erawan waterfall, Kanchanaburiprovince, western Thailand. A male of R. mima occupies dry twigs or leaves in theunderstorey of trees with sunlight spot along the creek. The fight begins when anothermale invades its territory. They angle their tips of abdomen, chase, and fight each otherusing their legs for 10-15 seconds. The fight will remain 2-3 times until another maledefeat. This territory defending behavior is also observed in other species of damselflies.แมลงปอเปนแมลงอีกกลุมหนึ่งที่มีพฤติกรรมในการปกปองอาณาเขต คลายกับแมลงอีกหลายประเภท เชน ผีเสื้อ (Cordero & Soberon, 1990) แตน (Alcock & O'Neill, 1987) ผึ้งมด และแมงมุม (Brase, 1995) เปนตน อยางไรก็ตามยังไมเคยมีรายงานพฤติกรรมดังกลาวไวอยางเปนทางการในประเทศไทยมากอนแมลงปอเข็มภูเขาหางสม Rhinagrionmima (Karsch, 1891) เปนสมาชิกหนึ่งในสามชนิด ที่ไดรับการตั้งชื่ออยางเปนทางการแลวของวงศ Megapodagrionidae ที่พบในประเทศไทย (Hamalainen & Pinratana,1999) ตัวผูและตัวเมียมีลักษณะและสีสันภาพลายเสนระบุลักษณะและรายละเอียดของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม (ดัดแปลงจาก Asahina,1985Drawing shows detail of Rhinagrion mima (derivedfrom Asahina, 1985)34


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):34-36 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):34-36สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchคลายคลึงกัน คือ สวนหัวมีลายจุดและแถบสีเหลืองหรือเหลืองอมเขียว อกปลองใหญสีดำมีลายสีเหลืองหรือเหลืองอมเขียว ขาสีเหลืองซีด ปกใสและแคบ ตาปกแคบสีดำ ทองสั้นและหนา สีสมแดง รยางคปลายทองของตัวผูมีสีดำ ปลายรยางคดานบน (superior appendage) แบนปลายแหลม รยางคปลายทองดานลางมองไมเห็น (Asahina, 1985) รยางคปลายทองในตัวเมียมีขนาดเล็ก แหลมยาว สามารถพบไดทั่วประเทศและพบไดตลอดปใน จ. กาญจนบุรี (Hamalainen &Pinratana, 1999)แมลงปอเข็มภูเขาหางสม (R. mima) ตัวเมีย (ซาย) และตัวผู (ขวา) ภาพโดย นพปฎล มากบุญA female (left) and a male (right) of Rhinagrion mima Photo by Noppadon Makbunอาณาเขตของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม (Rhinagrion mima) มักเปนกิ่งไมหรือใบไมที่อยูตามขางริมลำธารที่มีแสงแดดสอง ในการสำรวจและถายรูปแมลงปอที่น้ำตกเอราวัณจ.กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 18-19 เมษายน พ.ศ. 2551 และวันที่ 30 เมษายน-2 พฤษภาคม พ.ศ.2551 ผูเขียนไดพบพฤติกรรมการปองกันอาณาเขตของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม (R. mima)ตัวผูหลายครั้งจากการสังเกตพฤติกรรมการปองกันอาณาเขตของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม (R.mima) ตัวผู พบวา เมื่อมีแมลงปอเข็มตัวผูบินเขามาในอาณาเขตของแมลงปอเข็มอีกตัวหนึ่งแมลงปอทั้งสองตัวจะยกปลายทองขึ้น แลวขับไลกันอยางรวดเร็วหรือตอสูกันโดยใชขาหนา การตอสูกันใชเวลาประมาณ 10-15 วินาทีตอครั้ง พฤติกรรมเหลานี้จะเกิดขึ้น 2-3 ครั้งติดตอกันจนกวาจะรูผลแพหรือชนะ อยางไรก็ตาม Wilson & Gilbert (2005) รายงานวา การตอสูครั้งหนึ่งอาจจะใชเวลานานกวา 20 นาที การตอสูนี้จบลงเมื่อผูแพบินหนีไปและผูชนะอยูอาณาเขตของตนเองนอกจากแมลงปอเข็มภูเขาหางสมแลว ผูเขียนไดพบพฤติกรรมการปองกันอาณาเขตในแมลงปอเข็มธาราลายเสน (Libellago lineata lineata) และแมลงปอเข็มน้ำตกสั้นผูขีด35


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):34-36 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):34-36สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchการปองกันอาณาเขตของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม (R. mima)(ซาย) ภาพจาก Wilson & Gilbert (2005) และของแมลงปอเข็มธาราลายเสน (Libellago lineata lineata) (ขวา)ภาพโดย นพปฎล มากบุญTerritory defending of R. mima (left) Photo from Photo from Wilson & Gilbert (2005) and Libellagolineata lineata (right) Photo by Noppadon Makbun(Rhinocypha iridea) แมลงปอเข็มน้ำตกสั้นวงมวง (R. b. biforata) และแมลงปอเข็มน้ำตกสั้นผูดำ (R. f. fenestrella) เชนเดียวกันสำหรับแมลงปอเข็มธาราลายเสน (L. l. lineata) การตอสูมักใชเทาหนาโดยใชเวลา10-15 วินาทีตอครั้ง และการตอสูครั้งหนึ่งจะใชเวลาประมาณ 5-6 นาที อาณาเขตของแมลงปอเข็มเหลานี้มีลักษณะคลายกับแมลงปอเข็มภูเขาหางสม คือ บริเวณที่มีกิ่งไมริมบึงและในบึง หรือลำธารที่น้ำไหลเอื่อยและมีแดดสองถึงเอกสารอางอิงAlcock, J. & K. M. O'Neill. 1987. Territory Preferences and Intensity of Competition in the Grey HairstreakStrymon melinus (Lepidoptera, Lycaenidae) and the Tarantula Hawk Wasp Hemipepsis ustulata(Hymenoptera, Pompilidae). American Midland Naturalist, 118 (1): 128-138.Asahina, S. 1985. A list of the Odonata recorded from Thailand, Part VII. Megapoagrionidae. Cho Cho. 8(6): 2-8.Brase, J. 1995. An Overview of Insects Territoriality. Colorado State University. http://www.colostate.edu/Depts/Entomology/courses/en507/papers_1995/brase.html. Data accessed on 27 April 2008.Cordero, C. R. & J. Soberon. 1990. Non-resource based territoriality in males of the butterfly Xamia xami(Lepidoptera: Lycaenidae). Journal of Insect Behavior, 3 (6): 719-732.Hamalainen, M. & Pinratana, B. A. 1999. Atlas of the Dragonflies of Thailand, Bangkok: Chok Chai CreationPrinting Group Co., Ltd., 176 pp.Wilson, K. D. P. & E. Gilbert. 2005. Endau-Rompin 20-24 July '04. Echo #3. http://www.asia-dragonfly.net/Articles/ECHO003.php. Data accessed on 27 April 2008.36


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):37-39 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):37-39สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchความสัมพันธระหวางมด Polyrhachis สกุลยอย Myrmhopla กับมดสกุลDiacamma ในดินSocial Relationship between two subgenera of subterranean ants;Myrmhopla and Diacamma (Hymenoptera: Formicidae)พรเพ็ญ โกศลปญญาภิวัฒน* และวียะวัฒน ใจตรงPornpen KOSONPANYAPIWAT* and Weeyawat JAITRONGพิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา, องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติThailand Natural History Museum (THNHM), National Science Museum, Thailand.*Corresponding author: kosonpanyapiwat69@yahoo.comAbstractIn the late April 2008, a survey of ant fauna in Phu Rua district, Loei province, northeasternThailand was conducted. Our results revealed the first time in Thailand for their coexistingof 2 ant genera in the same subterranean nest. The ants Polyrhachis (Myrmhopla)and Dicamma dwell together in the relationship that could enhance their survivals.Dicamma is a fierce and dangerous for the predators. It becomes a model of mimicry forstingless ants.มดเปนแมลงสังคมที่สวนใหญสรางอาณาจักรแยกเพื่อความอยูรอดจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น แตมีมดบางชนิดจำเปนตองอาศัยหรือมีความสัมพันธกับสิ่งมีชีวิตกลุมอื่น ๆ เชน มดสกุลCladomyrma สรางรังอยูเฉพาะในแกนกลางกิ่งของตนฮอสะพายควาย Sphenodesme mollisCraib เพื่อเปนที่อยูอาศัย เลี้ยงดูตัวออน และหลบภัย (วียะวัฒน, 2550) มดกระโดดเหลืองมีความสัมพันธแบบพึ่งพากับมดคันสกุล Pheidole 2 ชนิด (วียะวัฒน และศศิธร, 2550) ในขณะที่มดหนามกะทิงอกแดง (Polyrhachis rufipes) เลียนแบบลักษณะของมดคอมอกแดง(Gnamptogenys bicolor) และสรางรังอยูใกล ๆ เพื่อใหตัวเองรอดพนจากศัตรูผูลา (วียะวัฒน,2551)เชนเดียวกับมดที่คณะผูเขียนพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จากการสำรวจบริเวณ อ. ภูเรือ จ. เลย ประมาณปลายเดือนเมษายน 2551 พบมด 2 ชนิด คือ มดหนามกระทิง(Polyrhachis) สกุลยอย Myrmhopla และมดสกุลหนามคู (Diacamma) สรางรังอยูรวมกันในดินลึกประมาณ 30-40 ซม. ภายในรังพบตัวหนอนและดักแดของมดหนามคู แตไมพบตัวหนอนของมดหนามกระทิง เขาใจวา มดหนามกระทิงสรางรังอยูใกล ๆ กับรังของมดหนามคูและใช37


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):37-39 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):37-39สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchมดสกุลหนามคู (Diacamma) ภาพโดย พรเพ็ญ โกศลปญญาภิวัฒนAn ant genus Diacamma Photo by Pornpen Kosonpanyapiwatอาณาเขตรวมกันโดยไมทำอันตรายหรือแกงแยงกัน ถือเปนการคนพบการอยูรวมกันของมดทั้งสองชนิดนี้ครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งคลายกับที่ Maschwitz et al. (2004) พบมดหนามกระทิง(Polyrhachis lama) อาศัยอยูในรังของมดหนามคูในประเทศอินโดนีเซียจากการสังเกตในธรรมชาติ มดทั้ง 2 ชนิดนี้มีลักษณะทั่วไปคลายกันมาก โดยมีลำตัวสีดำ และมีรูปแบบการเดินใกลเคียงกัน ผูเขียนเขาใจวา มดหนามกระทิงสกุลยอย Myrmhoplaซึ่งปกติสรางรังเหนือพื้นดิน (Liefke et al., 1998) เลียนแบบมดหนามคูเพื่อความอยูรอดโดยปรับตัวสรางรังอยูในดินและมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางใหคลายกับมดหนามคูมากที่สุด ซึ่งสัตวผูลากลุมตาง ๆ เชน สัตวเลื้อยคลาน สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก สัตวปก ไมกลาจับกินเปนอาหาร เนื่องจากคิดวาเปนมดหนามคูซึ่งเปนมดที่มีพิษ การที่มดทั้งสองชนิดอยูดวยกันไดนั้น อาจเนื่องมามดหนามกระทิง (Polyrhachis สกุลยอย Myrmhopla) ภาพโดย พรเพ็ญ โกศลปญญาภิวัฒนPolyrhachis, sungenus Myrmhopla Photo by Pornpen Kosonpanyapiwat38


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):37-39 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):37-39สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchรังของมดหนามคูและมดหนามกระทิงในดินลึกประมาณ 30-40 เซนติเมตรภาพโดย ทัศนัย จีนทองPolyrhachis, sungenus Myrmhoplashares the same habitata dep in thesoil 30-40 cm.Photo by Thasanai Jeenthongจากมดหนามกระทิงสกุลยอย Myrmhopla ปลอยสารเคมีที่ใกลเคียงกับสารเคมีของมดหนามคูเชนเดียวกับการปลอยสารเคมีเพื่อดึงดูดกันของมดสกุล Cladomyrma และพืชสกุลSphenodesme (Fujiwara et al., 2004) ซึ่งจำเปนตองทำการศึกษาอยางละเอียดตอไปดักแดของมดสกุลหนามคูภาพโดย ทัศนัย จีนทองLarva of the ant genus Diacamma.Photo by Thasanai Jeenthongเอกสารอางอิงวียะวัฒน ใจตรง. 2550. ความสัมพันธระหวาง มดสกุล Cladomyrma และพืชสกุล Sphenodesme ในประเทศไทย.<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong>, 1(1):16.วียะวัฒน ใจตรง. 2551. เรื่อง มด มด....ตอน มดหนามกะทิงอกแดง. วารสาร อพวช. 67: 33.วียะวัฒน ใจตรง และ ศศิธร หาสิน. การสรางรังอยูรวมกันของ มดกระโดดเหลือง (Odontomachus rixosus Smith,1857) และมดคัน (Pheidole spp.). <strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong>, 1(3): 17-18.Fujiwara N., K. Murase, R. Yamaoka, D. Wiwatwitaya, W. Jaitrong & S. Yamane. 2004. A Comparison ofcomposition and profile of surface chemicals between Cladomyrma ants and their host plant Sphenodesmesp. Anet Newsletter, 7: 9-13.Liefke C., W. H. O. Dorow, B. Holldobler & U. Maschwitz. 1998. Nesting and food resources of syntopic speciesof the ant genus Polyrhachis (Hymenoptera, Formicidae) in West-Malaysia. Insectes Sociaux, 45: 411-425.Maschwitz, U., C. Go, E. Kaufmann & A. Buschinger. 2004. A unique strategy of host colony exploitation in aparasitic ant: workers of Polyrhachis lama rear their brood in neighbouring host nests. Naturwissenschaften,91: 40-43.39


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):40-42 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):40-42สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchชี<strong>วว</strong>ิทยาวิทยาการสืบพันธุของตั๊กแตนตำขาวดอกไมCreobroter gemmatus Stoll แมลงตัวห้ำสวยงามในธรรมชาติReproductive biology of Flower Mantids Creobroter gemmatus Stoll(Insecta: Dictyoptera: Hymenopodidae), a colorful predatorวิชัย สรพงษไพศาล และศันสนีย อมรภูรินันท*Wichai SORAPONGPAISAL and Sansani AMORNPURINANอุทยานแมลงเฉลิมพระเกียรติฯ ศูนยวิจัยและพัฒนากีฏวิทยาสิ่งแวดลอมสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กำแพงแสนLife Insect Museum to Commemorate His Majesty the King Prestige, Environmental Entomology Researchand Development Center, Kasetsart University Research and Development Institute at Kamphaeng Saen,Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Thailand*Corresponding author: rdissn@ku.ac.thAbstractThe Flower Mantids, Creobroter gemmatus Stoll could be diagnosed by hyalineanal membrane of the fore wing, and the larger smoky patch in the female hind wing. Itis a common species of Thailand but its reproductive ecology is poorly known. Wecaught 2 pregnant females in nature, brought and kept in the Living Insect Museum, andthen observed their reproductive processes. The female mantids laid a ootheca on stickaveragely hatched 8.4±2.16 nymphs. The nymph took six development stages to reachfully grown mantids. Consecutively, the nymph spent time developing in six stageswhich are 8.57±1.78, 8.10±2.25, 7.83±3.25, 8.52±1.57, 9.94±3.50, and 13.55 ±4.10days, respectively.ตั๊กแตนตำขาวในปจจุบัน ทั่วโลกไดสำรวจพบแลวกวา 2,300 ชนิด (Grimaldi andEngel, 2005) ใน 8 วงศ มีลักษณะที่สำคัญคือ สวนของอกปลองแรก (prothorax) และ coxaของขาคูหนายาว ขาคูหนาเปนแบบขาหนีบ (grasping legs) และมีหนามแข็ง (spine) ที่สวนของตนขา (femur) และหนาแขง (tibia) เพื่อชวยในการหนีบจับเหยื ่อ ในตัวเมียนั้นวางไขเปนกลุมมีกระเปาะหุมและเกาะติดแนนตามกิ่งไมหรือตนหญา ซึ่งมีลักษณะคลายคลึงกับการวางไขของแมลงสาบ จึงจัดแมลงในกลุมตั๊กแตนตำขาว มีความสัมพันธใกลชิดกับแมลงอันดับแมลงสาบ(Blattodea ) (สาวิตรี, 2542)ตั๊กแตนตำขาวดอกไม (Creobroter gemmatus Stoll, 1813) เปนตั๊กแตนตำขาวในวงศ Hymenopodidae อันดับ Mantodea เพื่อใหสอดคลองกับชื่อสามัญวา flower mantid จึงขอเรียกวา "ตั๊กแตนตำขาวดอกไม" ลักษณะของตัวเต็มวัยตัวผูคือ หนวดสีดำเขม ลำตัวเรียว40


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):40-42 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):40-42สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchยาวสีเขียว ปกยาวกวาลำตัว ที่กลางปกมีขอบวงกลมสีดำ ภายในวงกลมสีดำมีสีเหลืองจาง ๆตัวเต็มวัยตัวเมีย ลำตัว มีลักษณะอวนและหนากวาตัวผู ปกยาวกวาหรือเทากับสวนทอง หนวดสีดำแตไมเขมหนาเทาตัวผู ลำตัวมีสีเขียวสลับกับแถบสีดำ ที่โคนปกคูแรกมีแถบสีขาวโคงสั้นๆ2 แถบ บริเวณกลางปกมีขอบวงกลมสีดำ ภายในวงกลมสีดำ มีสีเหลือง และมีจุดดำเล็ก ๆ 2 จุดอยูในวงกลม ปกคูที่ 2 มีลักษณะบางใส เหนียว ลักษณะเดนของตั๊กแตนตำขาวชนิดนี้ จุดเดนจะอยูในตัวเมีย ซึ่งในปกคูหลังนั้นเมื่อกางปกจะพบวา มีแถบสีชมพูเขมและแถบสีดำขนาดใหญซึ่งใชเปนลักษณะสำคัญในการจำแนกชนิด (Mukherjee et al., 1995) ตั๊กแตนตำขาวดอกไมเปนแมลงที่รูจักกันคอนขางนอย โดยเฉพาะนิเวศวิทยาการสืบพันธุของตั๊กแตนตำขาวดอกไมยังไมเปนที่ทราบแนชัดตั๊กแตนตำขาวดอกไมขณะผสมพันธุภาพโดย วิชัย สรพงษไพศาลCreobrother gemmatus in mating.Photo by Wichai Sorapongpaisalเมื่อเดือนเมษายนในป 2549 ผูเขียนไดออกทริปจับแมลงที่ จ. กาญจนบุรี และไดพบกับตั๊กแตนตำขาวชนิดนี้เกาะอยูที่ตนสัก เมื่อจับมาดูก็พบวา เปนตัวเมียและกำลังทองอยู จึงไดเก็บมา ทำการศึกษาและเพาะเลี้ยงเพื่อเพิ่มปริมาณเพื่อใชในการจัดแสดงในรูปแบบพิพิธภัณฑแมลงมีชีวิต (Living Insect Museum) ของศูนยฯ ผลการศึกษาพบวา ตัวเมีย ใชเวลาวางไขในแตละครั้งประมาณ 45 นาที จนถึง 1 ชั่วโมง เมื่อวางไขใหม ๆ ไขจะมีสีเหลืองนวลเรียวยาวและนิ่ม หลังจากนั้นจะเริ่มแข็งและกลายเปนสีน้ำตาล ความกวางเฉลี่ย 4.40±0.20 มม.ความยาวเฉลี่ย37.65±4.80 มม. ความสูงเฉลี่ย 3.0 มม. ในระยะไขนี้ใชเวลาประมาณ 24.03±2.39 วัน จึงฟกตั๊กแตนตำขาวดอกไมขณะวางไขภาพโดย วิชัย สรพงษไพศาลCreobrother gemmatus laying eggs.Photo by Wichai Sorapongpaisal41


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):40-42 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):40-42สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchออกมา ในแตละวัยเจริญเติบโตโดยการลอกคราบ ระยะตัวออนนั้นมีทั้งหมด 6 วัย ใชเวลาในแตละวัย ดังนี้ วัยที่ 1 8.57±1.78 วัน, วัยที่ 2 8.10±2.25 วัน, วัยที่ 3 7.83±3.25 วัน, วัยที่ 48.52±1.57 วัน, วัยที่ 5 9.94±3.50 วันและวัยที่ 6 13.55±4.10 วัน จากนั้นจึงเติบโตเปนตัวเต็มวัยตัวผูและตัวเมีย โดยเฉลี่ยแลว ตัวเมียสามารถวางไขไดเฉลี่ย 8.4±2.16 ฝกตั๊กแตนตำขาวดอกไมเปนนักลาหรือเปนตัวห้ำ มันจึงจับแมลงดวยกันเปนอาหาร รวมทั้งตัวผูที่มาผสมพันธุ เมื่อผสมพันธุเสร็จแลวหากพลั้งเผลอก็อาจตกเปนเหยื่อของตัวเมียไดสาเหตุในการจับตัวผูกินเปนอาหารอาจเปนไปได 2 ประการ คือ การเปนผูลาโดยสัญชาตญาณหรือ เพื่อใชในการบำรุงไขใหสมบูรณและพรอมที่จะวางไขตอไปในธรรมชาตินั้น ไดกำหนดใหตั๊กแตนตำขาวเปนตัวห้ำซึ่งมีประโยชนในการรักษาสมดุลในระบบนิเวศ โดยชวยลดและควบคุมปริมาณประชากรของแมลงชนิดตาง ๆ ไมใหมากหรือนอยเกินไป ตั๊กแตนตำขาวสามารถจับเหยื่อที่มีขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญกวาตัวมันได สามารถหันหัวเหลียวกลับไปทางดานหลังเพื่อมองหาเหยื่อได มักพรางตัวตามกิ่งไม หรือใบไม และรออยูนิ่ง ๆ รอจนกระทั่งเหยื่อเขามาใกลในระยะที่สามารถเอื้อมถึง แลวจึงรีบตะครุบเหยื่อและกัดกินทันทีเอกสารอางอิงสาวิตรี มาไลยพันธุ. 2542. บทปฏิบัติการกีฏวิทยาเบื้องตน. โรงพิมพลินคอรน โปรโมชั่นม กรุงเทพฯ. 266 น.Grimaldi D. & S. M. Engel. 2005. Evolution of the Insects. Cambridge University Press, Cambridge. 772 pp.Mukherjee T.K., A. K. Hazra & A. K. Ghosh. 1995. The Mantid Fauna of India (Insecta: Mantodea).OrientalInsects, 29:185-358.421 231. ขณะฟกเปนตัว2. ตัวออนวัยที่ 13. ตัวออนวัยที่ 6ภาพโดย วิชัย สรพงษไพศาล1. hatching stage2. stage 1 nymphs3. stage 6 nymphPhoto by Wichai Sorapongpaisal


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):43-45 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):43-45สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchการลาเหยื่อของแมงมุมปูเขียว Green Crab Spider (Oxytate sp.)Predation of Green Crab Spider (Insecta: Araneae: Thomisidae)ศีลาวุธ ดำรงศิริ*Seelawut DAMRONGSIRIi*กลุมอนุรักษปลาไทยและสิ่งแวดลอม Thailand Nature Explorer www.siamensis.org*Corresponding author: gra_een@hotmail.comAbstractGreen crab spiders (Oxytate sp.), a member of Family Thomisidae, is currently knownonly one species in Thailand, Oxytate parallela. It was commonly in the orange orchard.However, its behaviors were poorly recorded in Thailand. I report here a visual observationof green crab spiders hunting behavior on a rose apple tree in February, 2008. Greencrab spiders were likely flat body with green color, and possessed two front pairs of legsmuch longer than other two back pairs. They stalked their prey by hanging under theleaves with one last leg holding on the edge of the leaf. This was to ensure that theycan move quickly to the upper-side of the leaf to catch the prey. Subsequently, they tookthe prey back to under-side, and consume it by sucking body fluid.แมงมุมปูเขียวเปนแมงมุมสกุล Oxytate อยูในวงศ Thomisidae ทั่วโลกไดรับการตั้งชื่อแลว 22 ชนิดจากหลายประเทศ (Platnick, 2008) มีการกระจายใน 3 ทวีป คือ ทวีปแอฟริกาพบบริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใตของทวีป พบในประเทศเอธิโอเปย เกาะแซนซิบาประเทศแทนซาเนีย ไอวอรี ในทวีปเอเชีย เชน ประเทศพมา ภูฎาน อินเดีย รัสเซีย จีน ญี่ปุนศรีลังกา เวียดนาม สิงคโปร เกาหลี และภาคตะวันตกของทวีปออสเตรเลียแมงมุมในวงศ Thomisidae เปนแมงมุมที่ไมสรางใยดักเหยื่อแตออกลาเหยื่อเอง แตก็มีอวัยวะสรางใยได ซึ่งจากการศึกษาของ Moon และ An (2006) เกี่ยวกับลักษณะของ spigotของมัน คาดวา นาจะใชใยในการสรางรังไข (cocoon) แตอยางไรก็ตามการใชงานของใยของแมงมุมสกุลนี้ที่แนนอนยังไมเคยมีการศึกษา (Moon and An, 2006) แตผูเขียนพบวา มักมีใยถูกขึงติดกับใบไมไว ในตำแหนงที่มันเกาะ ซึ่งยังไมทราบวามีไวทำไม และมักพบกับแมงมุมที่นาจะเปนตัวเมีย (ผูเขียนไมสามารถแยกตัวผูที่ไมโตเต็มที่กับตัวเมียได)จากการสืบคนจากอินเทอรเนต พบวาในประเทศไทยมีรายงานการพบเห็นอยูเพียงชนิดเดียว คือ Oxytate parallela โดยพบในสวนสมเขียวหวาน (วิภาดา และ เทวินทร, ไมระบุปที่พิมพ) และในสวนมะมวง (วิภาดา, 2547) อยางไรก็ตามยังไมมีการระบุชนิดของแมงมุมที่43


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):43-45 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):43-45สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพบในสวนมะมวง นอกจากนี้ผูเขียนเองไดเห็นภาพของแมงมุมสกุลนี้จากชางภาพสมัครเลนอยูหลายครั้งเชนกัน แสดงวา แมงมุมชนิดนี้เปนแมงมุมที่อาจพบเห็นไดไมยากนัก อยางไรก็ตามในประเทศไทยแมงมุมชนิดนี้ไดรับความสนใจนอยมากและยังขาดรายงานการพบเห็นแมงมุมชนิดนี้อยางเปนทางการราวกลางเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ผูเขียนไดบังเอิญพบกับแมงมุมชนิดหนึ่ง สีเขียวขนาดลำตัว ราว 1 ซม. ขาสองคูหนายาวกวาขาคูหลังมาก เกาะอยูใตใบของตนชมพู ตลอดตัวคอนขางแบนราบไปกับใบไมที่เกาะอยู จึงไดถายรูปไวและกลับมาคนหาขอมูลเพิ่มเติม ภายหลังพบวา แมงมุมตัวนี้โดยทั่วไปนิยมเรียกกันวา Green Crab Spider จัดอยูในกลุมแมงมุมปู (CrabSpider) วงศ Thomisidae สกุล Oxytate L. Koch, 1878 อยางไรก็ตามในประเทศไทยยังไมมีการตั้งชื่อภาษาไทยกับแมงมุมชนิดนี้ เพื่อใหชื่อสอดคลองกับชื่อภาษาอังกฤษ ผูเขียนจึงไดเรียกชื่อแมงมุมชนิดนี้ วา "แมงมุมปูเขียว"สีสันของแมงมุมสกุลนี้ที่พบ จะกลืนกันไดดีกับใตใบไมและตัดกับสีบนใบชัดเจน จากการศึกษาของ Moon and An (2006) พบวา สิ่งสำคัญในการจับเหยื่อของแมงมุมสกุลนี้ คือการพรางตัวเองเขากับสภาพแวดลอม ทั้งโครงสรางภายนอก (morphologically) และ การเปลี่ยนสีสัน (pigment migration) และมันก็ไมจำเปนตองใชใยในการจับเหยื่อของมัน"แมงมุมปูเขียว" ในสกุล Oxytate เปนแมงมุมที่หากินในเวลากลางคืนโดยมักจะเกาะกลับหัวอยูใตใบไม มีประสาทรับสัมผัสที่ไวและสามารถรับรูถึงแรงสั่นสะเทือนไดเมื่อมีเหยื่อเดินอยูบนใบไม และเขาจับเหยื่ออยางรวดเร็ว (Benjamin, 2001) จากการสังเกตของผูเขียนพบวาแมงมุมปูเขียวสกุลนี้ยังลาเหยื่อในตอนกลางวันเชนกัน โดยผูเขียนพบแมงมุมปูเขียวเกาะอยูใตใบตนชมพู บางครั้งสังเกตพบวาไตไปมาชา ๆ บนใบไม แตสวนมากจะเกาะอยูกับที่ตรงขอบใบไม โดยใชขาค ูสุดทาย (ลำดับที่ 4) หนึ่งขางเกี่ยวไวที่ขอบใบตลอดเวลา จากลักษณะดังกลาวแมงมุมปูเขียวที่ทำการสังเกตพฤติกรรมการลาเหยื่อบนตนชมพูภาพโดย ศีลาวุธ ดำรงศิริGreen crab spider found on a roseapple tree was visully observed itshunting behaviors.Photo by Seelawut Damrongsiri44


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):43-45 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):43-45สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchแมงมุมปูเขียวกำลังจับเหยื่อ ภาพโดย ศีลาวุธ ดำรงศิริGreen crab spider is hunting on another insect. Photo by Seelawut Damrongsiriแมงมุมปูเขียวสามารถพลิกตัวกลับไปอยูอีกดานของใบไมไดอยางรวดเร็ว เมื่อมีเหยื่อเดินมาบนใบไมแมงมุมปูเขียวจะพลิกตัวไปบนใบไมดานนั้นแล<strong>วว</strong>ิ่งเขาจับเหยื่อทันที เมื่อไดเหยื่อแลวก็จะกลับมาอยูใตใบไมหอยหัวดูดกินเหยื่อจนแหงแลวปลอยทิ้งลงมายังพื้นดินเทาที่สังเกตพบวาเหยื่อของแมงมุมปูเขียวสวนมากเปนแมลงวันขายา<strong>วว</strong>งศ Dolichopodidaeเอกสารอางอิงวิภาดา วังศิลาบัตร และเทวินทร กุลปยะวัฒน .ไมระบุปที่พิมพ. การศึกษาอนุกรมวิธานแมงมุมในสวนสมเขียวหวานกลุมงานวิจัยไรและแมงมุม. กลุมกีฏและสัต<strong>วว</strong>ิทยา, สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร,กระทรวงเกษตรและสหกรณ.วิภาดา วังศิลาบัต มานิตา คงชื่นสิน เทวินทร กุลปยะวัฒน และพิเชฐ เชาวนวัฒนวงศ. 2547. การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุพืช ขยายพันธุพืช พิสูจนพันธุ ตรวจสอบพืช ศัตรูพืชและจุลินทรียและการอนุรักษพันธุ. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.Benjamin, S. P. 2001. The genus Oxytate L. Koch 1878 from Sri Lanka, with description of Oxytate taprobanesp. n. (Araneae: Thomisidae). Journal of South Asian Natural History, 5(2): 153-158.Moon, M. J. & J. S. 2006. Microstructure of the silk spigots of the green crab spider Oxytate striatipes (Araneae:Thomisidae). Entomological Research, 36: 133-138.Platnick, N. I. 2008. The world spider catalog, version 8.5. American Museum of Natural History. http://research.amnh.org/entomology/spiders/catalog/. Downloaded on 05 April 2008.45


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):46-49 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):46-49สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchปูแสมแหงหาดปะการัง (Metasesarma obesum) กับรายงานการพบครั้งแรกในประเทศไทยThe sesarmid crab Metasesarma obesum (Crustacea: Decapoda:Sesarmidae) of coral rubble beach, the new record of Thailandเรืองฤทธิ์ พรหมดำ 1 * และมนตรี สุมณฑา 2Rueangrit PROMDAM 1 * and Montri SUMONTHA 21พิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเล สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน2สถานีประมงทะเลจังหวัดระนอง1Reference Collection, Phuket Marine Biological Center, Thailand,2Ranong Fisheries Station, Thailand*Corresponding author: r_promdam@yahoo.comAbstractMetasesarma obesum, one of marine crabs, is a member of Sesarmidae. This speciestypically spreads in islands, north of Borneo and prefers gravel or sandy beaches withoutfreshwater. This article reports the first record of Metasesarma obesum in Thailand. Itwas found in the supra-intertidal zone of Panwa cape, Phuket province, Southern Thailandon 10 June, 2008. The crab is common on the coral rubber beach and shares itshabitats with another rare crab, Cardisoma carnifex.ปูแสม (Metasesarma spp.) เปนปูที่อยูในวงศ Sesarmidae จากการตรวจสอบในNaiyanetr (1998), Ng & Davie (2002) และการจัดลำดับทางอนุกรมวิธานลาสุดใน Ng et al.(2008) พบวา ในประเทศไทยมีจำนวนทั้งสิ้น 55 ชนิด แตการสำรวจและศึกษาดานอนุกรมวิธานของปูกลุมนี้ในประเทศไทยยังไมเปนที่แพรหลาย จึงมีโอกาสพบเห็นชนิดที่เปนรายงานใหมระดับประเทศไดไมยากนักปูไก Cardisoma carnifex ปูหายากที่เคยพบบนชายหาดปลายแหลมพันวาภาพโดย เรืองฤทธิ์ พรหมดำCardisoma carnifex, a rare crab, foundat Panwa cape, Southern ThailandPhoto by Rueangrit Promdam46


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):46-49 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):46-49สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchเมื่อวันที่ 10 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 คณะผูเขียนไดเดินสำรวจบริเวณชายหาดแคบ ๆริมหนาผาของสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน (สวพ.)ที่ตั้งอยูบริเวณปลายแหลมพันวาของเกาะภูเก็ต ในชวงเวลากลางคืนเพื่อสำรวจปูไก Cardisomacarnifex (Herbst, 1794) ปูหายากในปจจุบัน ซึ่งเคยพบมากอน 2 ครั้ง ไดพบปูที่มีรูปรางคลายปูแสมแตยังไมแนใจวาอยูในวงศใด เนื่องจากปจจุบัน (Ng et al., 2008) ไดมีการแยกวงศปูแสมออกเปนหลายวงศ โดยลักษณะของปูแสมที่พบนี้ใกลเคียงกับปู 3 วงศ คือ Grapsidae,Sesarmidae และ Varunidae จึงไดเก็บตัวอยางและบันทึกภาพถิ่นที่อยูอาศัยเพื่อตรวจสอบชนิดที่แนนอนตอไปจากการตรวจสอบตัวอยางปูแสมที่เก็บมาไดโดยไดเปรียบเทียบลักษณะตาง ๆ กับNg & Schubart (2003) และ Ng & Davie (1995) พบวา เปนปูแสมในวงศ Sesarmidae ชนิดMetasesama obesum (Dana, 1851) ซึ่งยังไมมีรายงานการพบมากอนในประเทศไทย(Naiyanetr, 1998; Ng & Davie, 2002) โดยมีชื่อพอง (synonym) ที่นิยมใชกันกอนหนานี้ คือMetasesarma rousseauxi H. Milne Edwards, 1853ลักษณะสำคัญของ M. obesum คือ ขอบดานขางกระดองที่คอนขางตรง และขนานกันทั้งสองขาง ทำใหมองกระดองเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส แตในตัวใหญขอบดานขางอาจจะโคงมนกวาตัวเล็ก ถัดจากมุมดานนอกเบาตาจะเรียบและคอนขางตรง ไมมีรอยหยัก หนวดคูที่ 2(anntena) แยกออกจากเบาตา (ปูแสมสกุลอื่นสวนใหญหนวดคูนี้จะอยูเกือบติดกับกานตา)รยางคขางปาก (exopod) ไมมีแส (flagellum) ผิวกระดองเรียบมัน ไมมีขน อีกชนิดภายในสกุลเดียวกันและมีลักษณะคลายกัน คือ M. aubryi (A. Milne Edwards, 1869) แตแตกตางตรงที่M. obesum มีขอบดานนอกรยางคปากคูที่ 3 ที่โคงปาน สวน M. aubryi โคงเปนมุมแคบกวาปูแสมปะการัง Metasesarma obesum ตัวแรกที่พบซึ่งเปนตัวเมีย (ซาย) และปูแสมปะการังตัวผู ซึ่งมีลวดลายและสีเขมกวา (ขวา) ภาพโดย เรืองฤทธิ์ พรหมดำA first discovery female of Metasesarma obesum (left), and a darker color of adult mail (righ)Photo by Rueangrit Promdam47


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):46-49 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):46-49สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchเกือบคลายมุมฉาก ขอบมุมดานนอกเบาตาของ M. obesum ตัดตรงเกือบตั้งฉาก สวน M. aubryiโคงเขาหาเบาตา อวัยวะเพศผูคูแรก (gonopod 1) ของ M. obesum สวนปลายคอนขางตรง มีติ่งยื่นออกมาเปนตะขอขนาดเล็กไมชัดเจน แต M. aubryi สวนปลายหักเปนมุมฉากและเปนตะขอชัดเจนแหลงอาศัยของปูแสมปะการัง M. obesum เคยมีรายงานพบตามเกาะตาง ๆ โดยเฉพาะทางตอนเหนือของเกาะบอรเนียวที่มีหาดกรวดหินหรือหาดทราย ที่ไมมีแมน้ำ หรือแหลงน้ำจืด(Ng & Schubart, 2003) ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพคลายกับบริเวณปลายแหลมพันวา เกาะภูเก็ตที่ยื่นออกมาไกลจากตัวแผนดินใหญ ในขณะที่ปูแสมชนิด M. aubryi จะพบไดในปา หรือสภาพพื้นที่ที่เปนแหลงน้ำจืด สวนพื้นที่ที่สำรวจพบปูแสมปะการังบริเวณ จ. ภูเก็ตมีลักษณะเปนหาดเศษปะการัง ตั้งอยูสูงกวาระดับน้ำขึ้นปกติ หรือเขตเหนือระดับน้ำขึ้นสูงสุด (supra-intertidalzone) โดยที่เศษปะการังเหลานี้ถูกซัดขึ้นมาโดยคลื่นลมของพายุที่อาจจะเกิดขึ้นมากกวาหนึ่งครั้งสีของปูแสมปะการัง (M. obesum) ที่พบใน จ. ภูเก็ต มีสีกลมกลืนกับปะการัง กลาวคือ มีสีเหลืองครีมออน ๆ และมีลวดลายสีน้ำตาลเขม สวนตัวเมียมีกระดองสีขาวชัดเจน ชวยในการพรางตัวอยูกับแนวเศษซากปะการัง แตบางตัวที่พบมีสีสะดุดตา เชน กระดองสีขาวและขาสีสมสด บริเวณนี้มีปูแสมปะการังคอนขางชุกชุม จึงไดเก็บตัวอยางเพิ่มเติมเปนตัวอยางอางอิง และทำการเลี้ยงเพื่อสังเกตพฤติกรรมเพศเมียตัวนี้มีขาสีสมสดและเปนตัวที่มีไขนอกกระดองภาพโดย เรืองฤทธิ์ พรหมดำAn adult female of Metasesarmaobesum have bright orange legs iscarrying her eggsPhoto by Rueangrit Promdamการสังเกตในที่เลี้ยงพบวา ปูแสมปะการังสามารถลอกคราบบนบกได และมีการกินคราบของตัวเอง แตเนื่องจากลอกคราบในที่โลงตามสภาพจำกัดของที่เลี้ยง ทำใหคราบอาจจะถูกกินโดยปูหลายตัวนอกจากเจาของคราบอีกดวย พฤติกรรมการกินคราบนี้มักเปนพฤติกรรมของปูที่ไมไดอาศัยอยูในน้ำทะเลเพื่อสงวนแรธาตุที่สำคัญตอความแข็งแรงของกระดองไวไมใหสูญเปลา ปูแสมปะการังสามารถอาศัยอยูบนบกไดโดยไมพึ่งน้ำเค็มแตบริเวณที่อาศัยอยูตองมีความ48


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):46-49 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):46-49สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchชื้นเพียงพอ จากสภาพของแหลงที่อยูอาศัยสันนิษฐานไดวา ตัวเมียนาจะวางไขในบริเวณหาดปะการังบริเวณนี้ โดยอาศัยชวงระหวางน้ำขึ้นสูงในรอบเดือนจากอิทธิพลของดวงจันทรที่หนุนน้ำขึ้นมาไดถึงบริเวณหาดจากการสังเกตยังพบวา แหลมพันวา จ. ภูเก็ต อันเปนที่ตั้งของ สวพ. นั้น ถูกรบกวนจากกิจกรรมของมนุษยบางแตนับวาเล็กนอยเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณอื่นๆ ของเกาะภูเก็ต ซึ่งมีโครงการกอสรางที่อยูอาศัยบริเวณชายฝงเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง จึงยังคงมีความหลากชนิดของปูสูง ทั้งในเขตน้ำขึ้น-น้ำลง และเหนือเขตน้ำขึ้นสูงสุดขึ้นไป นอกจากปูแลวอาจมีสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อีกหลายชนิดที่ยังไมมีการรายงานการคนพบในประเทศไทยหรือในระดับโลกมากอนลักษณะดานบน (ซาย) และดานหนา (ขวา) ของปูแสมปะการังตัวผูที่จับจาก จ. ภูเก็ตภาพโดย เรืองฤทธิ์ พรหมดำTop view (left) and front view (right) of M. obesum collected from Phuket provincePhoto by Rueangrit Promdamหมายเหตุเนื่องจากปูแสมชนิด M. obesum เปนปูที่เพิ่งคนพบครั้งแรกในประเทศไทยจึงยังไมมีชื่อภาษาไทยดังนั้นจึงไดเสนอชื่อใหวา "ปูแสมปะการัง" เนื่องจากพบอาศัยในบริเวณหาดเศษปะการังเอกสารอางอิงNg, P. K. L. & P. J. F. Davie. 1995. The terrestrial sesarmine crabs of the genera Metasesarma andGeosesarma (Crustacea: Decapoda: Brachyura: Grapsidae) of Ujung Kulon, West Jawa, Indonesia.Tropical Biodiversity, 3: 29-43.Ng, P. K. L. & P. J. F Davie. 2002. A checklist of the brachyuran crabs of Phuket and western Thailand.Phuket MarineBiological Center Special Publication, 23(2): 369-384.Ng P. K. L. & Schubart C. D. 2003. On the identities of Sesarma obesum Dana, 1851, and Sesarmaeydouxi H. Milne Edwards, 1853 (Crustacea, Decapoda, Brachyura, Sesarmidae). Zoosystema, 25(3): 425-437.Ng, P. K. L., D. Guinot & P. J. F. Davie, 2008. Systema Brachyurorum: Part 1. An Annotated checklistof extant Brachyuran crabs of the world. Raffles Bulletin of Zoology, Supplement Series No. 17: 1-286.Naiyanetr, P. 1998. Checklist of Crustacean Fauna in Thailand. Office of Environment Policy and Planing,Bangkok, Thailnd. 161 p.49


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):50-53 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):50-53สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchหอยทากอำพันอินโดจีนแหงภาคตะวันออก (Indosuccinea sp.)New genus record of Amber snails (Gastropoda: Stylommatophora:Succineidae) in Thailandรุงวิทย ชัยจิรวงศ และพงษรัตน ดำรงโรจนวัฒนา*Rungwit CHAIJIRAWONG and Pongrat DUMRONGROJWATTANA*ภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสนDepartment of Biology, Faculty of Science, Burapha University, Thailand*Corresponding author: pongrat@buu.ac.thAbstractIn Thailand, amber snails, belong to family Succineidae, previously reported only in onegenus with two species, Succinea tenella and S. cochinchinensis. The MalacologicalResearch Team from Burapha University, Thailand collected some scientific samples ofamber snails from Eastern Thailand. Their morphology, shell, jaw, radula, andreproductive anatomy were examined relative to those of Succinea putris (Linnaeus).The results revealed that the amber snails were morphologically dissimilar to S. putris.Those snail samples shares the same morphological characteristics in terms of shell,jaw, radula and genitalic characters as in genus Indosuccinea. This is the first anatomicalstudy of Succineidae and new record of genus Indosuccinea in Thailand.ประเทศไทยเปนพื้นที่หนึ่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ไมวาจะเปน สัตว พืชหรือจุลินทรียตาง ๆ เชนเดียวกันกับหอยทากบก (land snails) ที่มีความหลากหลายไมนอยหนากลุมอื่น สมศักดิ์ (2543) รายงานวา ประเทศไทยมีหอยทากบกมากถึง 600 ชนิด ในจำนวนนี้ มีหอยทากอำพัน (amber snails) รวมอยูดวย ซึ่งเปนกลุมหอยทากบกมีปอดโบราณจัดอยูในวงศ Succineidae พบแพรกระจายทั่วโลก มักพบตามตนไม หรือใตใบไมใกลกับแหลงน้ำ หรือบริเวณที่มีความชื้น คอนขางสูง ทั่วโลกพบทั้งสิ้น 2 วงศยอย 12 สกุล และ 42 ชนิด (Patterson,1971) และมีรายงาน ที่กลาวถึงหอยทากบกวงศนี้ในประเทศไทยเพียง 1 สกุล 2 ชนิดคือSuccinea tenella และ S. cochinchinensis (Panha, 1996) เทานั้นลักษณะทั่วไปของหอยทากบกวงศ Succineidae คือ เปลือกรูปทรงกรวย วงเปลือก(spire) ต่ำเมื่อเทียบกับวงเปลือกสุดทาย (body whorl) ที่มีขนาดใหญ ชองเปดปาก (aperture)กวาง ริมขอบปากเรียบ เปลือกบางใส เปราะ แตกหักงาย ผิวเปลือกเรียบสีน้ำตาลออนหรือสีอำพัน อันเปนที่มาของชื่อ หอยอำพัน (amber snail) หอยทากบกในวงศนี้มีความแปรผันของลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเปลือกคอนขางมาก ทำใหการจัดจำแนกในทางอนุกรมวิธานไมสามารถใชเปลือกเพียงอยางเดียวจำตองใชลักษณะอื่น ๆ เขารวมในการจัดจำแนก เชน ขอบปาก (jaw) แรดูลา (radula) และกายวิภาคของระบบสืบพันธุ เปนตน50


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):50-53 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):50-53สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchการสำรวจความหลากหลายของหอยทากบกในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก โดยคณะสำรวจจากภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ไดพบหอยทากบกวงศSuccineidae แพรกระจายตามปาเขาและสวนผลไม ในเบื้องตนยังไมสามารถจัดจำแนกทางอนุกรมวิธานไดถึงระดับชนิด ทางคณะวิจัยจึงไดทำการศึกษาตัวอยางหอยทากบกที่เก็บไดโดยใชลักษณะสัณฐานวิทยาของ เปลือก ขอบปาก แรดูลา และกายวิภาคของระบบสืบพันธุเปนหลัก เปรียบเทียบกับ S. putris ที่ไดรับการอนุเคราะหตัวอยางจาก Prof. Dr. Robert G.Moolenbeek ประเทศเนเธอรแลนดผลการศึกษาของ Dumrongrojwattana etal. (2007) พบวา หอยทากอำพันที่พบในตะวันออกของประเทศไทย มีลักษณะแตกตางกับ S. putris ซึ่งถือเปนตนแบบของสกุล Succinea กลาวคือ เปลือกของหอยทากอำพันไทยมีวงเปลือก 2 1/2 วง แตกตางกับ S. putris ที่มีวงเปลือก 3 1/2 วง นอกจากนี้ขอมูลการศึกษาทางกายวิภาคของระบบสืบพันธุพบวา receptacula seminis ซึ่งเปนสวนที่ใชในการจัดจำแนกระดับสกุลของหอยทากอำพันไทยมีขนาดเทากัน แต S. putris มีขนาดแตกตางกันอยางเห็นไดชัดเจนจากลักษณะของสัณฐานวิทยาที่กลาวมาแลวขางตน พบวา หอยทากอำพันที่พบในพื้นที่ภาคตะวันออกของไทยมีความแตกตางจาก S. putris แตกลับมีความคลายคลึงกับสกุล Indosccinea (Rao,1924) ที่รายงานโดย Rao ในป 1924 มากกวา ซึ่งมีรายงานวา หอยทากอำพันสกุลนี้มีการแพรกระจายในแถบอินโดจีนจนถึงแหลมมลายู (Patterson,1971) ดังนั้นจึงกลาวไดวา หอยทากอำพันที่พบในภาคตะวันออกตั้งแต จ. ระยอง จ. จันทบุรี จนถึงจ. ตราด ควรจะจัดอยูในสกุล Indosuccinea คณะผูวิจัยจึงไดตั้งชื่อหอยทากอำพันที่พบในภาคตะวันลักษณะเปลือกหอยทากอำพันอินโดจีน (บน)เปรียบเทียบกับหอยทากบก S. putris (ลาง)ภาพโดย รุงวิทย ชัยจิรวงศ และ คณิตานวมศรีShell morphology of Indosuccinea sp.(above), a new genus of Amber snails ofThailand and Succinea putris (below)Photo by Rungwit Chaijirawong andKanita Nuamsee51


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):50-53 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):50-53สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchกายวิภาคระบบสืบพันธุหอยทากอำพันอินโดจีน (ซาย) เปรียบเทียบกับหอยทากบก S. putris (ขวา)ภาพโดย รุงวิทย ชัยจิรวงศ และ คณิตา นวมศรีReproductive morphology of Indosuccinea sp. (left) and Succinea putris (right)Photo by Rungwit Chaijirawong and Kanita Nuamseeออกของไทยใหมวา "หอยทากอำพันอินโดจีน" จากชื่อสกุล คือ Indosuccinea (Rao, 1924)ทำใหรายงานเกี่ยวกับหอยทากบกวงศ Succinedae ในประเทศ เพิ่มขึ้นจากที่เคยรายงานเพียงวา พบเพียง Succinea สกุลเดียว เปน 2 สกุล คือ Succinea และ Indosuccinea (Rao, 1924)แตการระบุชื่อถึงระดับชนิดนั้นยังตองมีการศึกษาเพิ่มตอไปหอยทากอำพันอินโดจีนที่พบในภาคตะวันออกของไทย ภาพโดย พงษรัตน ดำรงโรจนวัฒนาIndosuccinea , a new genus of Amber snails of Thailand, was found in Eastern region.Photo by Pongrat Dumrongrojwattana52


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):50-53 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):50-53สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchขอมูลดานชี<strong>วว</strong>ิทยาที่นาสนใจบางประการของหอยทากอำพันอินโดจีนการวางไขจากการสำรวจเก็บขอมูลภาคสนามในพื้นที่ภาคตะวันออก พบวาในฤดูฝน หอยทากอำพันอินโดจีนวางไขใตใบไม ไขหอยทากอำพันอินโดจีน ไมมีชั้นเปลือกที่เปนพวกแคลเซียมหุม จึงมีลักษณะคลายวุนเหมือนเม็ดสาคู และจะรวมกลุมอยูประมาณ 10 ฟองติดอยูใตใบไม แตเมื่อใดก็ตามที่อากาศแหงทำใหชั้นนอกสุดของไขสูญเสียน้ำ ไขนั้นไมสามารถเจริญเปนตัวออนได แตถาสภาพแวดลอมเหมาะสมไขก็จะเจริญและฟกเปนหอยตัวเล็ก ๆ ตอไปการจำศีลในฤดูแลงในฤดูแลงหรืออากาศรอนจัด หอยทากอำพันอินโดจีนจะจำศีลหนีรอน โดยเกาะอยูตามใตใบไมและสรางแผนเยื่อที่เรียกวา เอพิแฟรม (epiphram) ปดปากเปดเอาไว เมื่อมีฝนตกลงมาน้ำฝนจะละลายแผนเยื่อดังกลาวออก หอยก็จะฟนตื่นจากสภาพจำศีล แลวออกหากินตอไประยะตัวออนของ Indosuccinea ที่พบในพื้นที่ภาคตะวันออกของไทยA. ไขของ Indosuccinea sp.B. ตัวออนในระยะ EmbryoC. ตัวออนในระยะประมาณ 1-2 วันภาพโดย รุงวิทย ชัยจิรวงศEmbryo development of IndosuccineaA. eggsB. embryoC. 1-2 days embryoPhoto by Rungwit Chaijirawongเอกสารอางอิงสมศักดิ์ ปญหา. 2543. หอยทากบก. บทความปริทัศนงานวิจัยดานความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย, 110-126 น.Barker, G. M. 2001. The Biology of Terrestrial Molluscs. CABI Publishing. UK. 73-101 pp.Dumrongrojwattana, P., R. Chaijirawong, S. Matchacheep, & R. G. Moolenbeek. 2007. Comparative Anatomy ofLand snail genus Succinea from Eastern Thailand (Pulmonata: Succineidae). Kasetsart Journal: NaturalScience, 41: 229-238.Patterson, C. M. 1971. Taxonomic studies of the land snails family Succineidae. Malacologica Review, 4: 131-202.Panha, S. 1996. A checklist and classification of the pulmonate snail of Thailand. Walkerana, 19: 31-40.Vaught, K. C. 1989. A Classification of the living Mollusca. American Malacologists, Melbourne. 94 pp.53


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):54-56 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):54-56สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchแหลงแพรกระจายแหงใหมในประเทศไทยและนิเวศวิทยาบางประการของหอยเม็ดมะคา Pollicaria myersii (Haines, 1855)New localities of Land operculate snail Pollicaria myersii(Gastropoda: Mesogastropoda: Diplommatinidae) in Thailand andnotes on some their ecologyศักดิ์บวร ตุมปสุวรรณ 1 * และชนิดาพร ตุมปสุวรรณ 2Sakboworn TUMPEESUWAN 1 * and Chanidaporn TUMPEESUWAN 21ภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม2หนวยวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปญญาทองถิ่น, ภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยมหาสารคาม1Department of Biology, Faculty of Science, Mahasarakham University, Thailand2Biodiversity and Traditional knowledge Research Unit, Department of Biology, Faculty of Science,Mahasarakham University, Thailand*Corresponding author: stumpeesuwan@yahoo.comAbstractThe land operculate snail Pollicaria myersii (Haines, 1855) was reported from two newlocalities in dry evergreen forest at Phu Wiang National Park, northeastern Thailand.The first location was near the stream and the second one was on the mountain. Ourrecent discovery and previous information suggested that the habitat of P. myersii islikely specific to dense and humid forests which are highly threatened by anthropogenicactivities, especially the drainage areas.หอยทากบกในสกุล Pollicaria เปนหอยทากบกมีฝาปดเปลือกในวงศ Diplommatinidaeที่มีขนาดใหญ โดยชื่อสกุลมาจาก pollicaris ในภาษาละติน แปลวา "แหงนิ้วโปง" ทั่วโลกพบทั้งหมด 3 ชนิด ไดแก P. elephas (de Morgan, 1885) พบในประเทศมาเลเซีย P. gravida (Benson,1856) พบในประเทศพมาและเวียดนาม และ P. myersii (Haines, 1855) พบในประเทศไทยกัมพูชา และเวียดนามP. myersii มีชื่อเรียกอยางไมเปนทางการในภาษาไทยหลายชื่อ เชน หอยศิวลึงค(สมหวัง ปทมคันธิน, 2551 การติดตอสวนบุคคล) หอยเลี้ยงนอง (จารุจินต นภีตะภัฏ, 2551การติดตอสวนบุคคล) หอยนิ้วโปง หอยปากแดง นอกจากนี้ชาวบานในบางทองที่ของ จ. เลยเรียกหอยชนิดนี้วา หอยจุบจิ๊บ เนื่องจากเชื่อวา หอยชนิดนี้สงเสียงคุยกันในเวลากลางคืน (อุษากลิ่นหอม, 2551 การติดตอสวนบุคคล) แตแทจริงแลวเปนเสียงที่เกิดจากฝาปดเปลือกในขณะที่หอยหดตัวเขาออกจากเปลือกP. myersii ในตัวเต็มวัยมีความสูงของเปลือก 3.07-3.60 ซม. ความกวาง 1.70-2.00 ซม.ลักษณะของเปลือกเปนรูปทรงกลมรี สวนของวงแรก ๆ มีสีสม ผิวเปลือกที่เหลือมีสีน้ำตาลเขมถึงสีดำ ปากเปลือกรูปทรงหยดน้ำที่มุมบนดานนอกเปนมุมแหลม สีเหลืองออนถึงสีสม ฝาปด54


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):54-56 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):54-56สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchเปลือกเปนสารหินปูนแข็งแบนบาง ผิวดานนอกเปนรอยหมุนวนเปนเกลียว ที่ขอบรอบนอกและผิวดานในเปนเรียบมันวาว (horny) จากลักษณะรูปทรง ขนาด และสีสันของเปลือกหอยชนิดนี้มีความคลายคลึงกับเมล็ดของมะคาโมง Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib ซึ่งพบไดทั่วไปในปาเบญจพรรณในประเทศไทย ผูเขียนจึงมีความคิดเห็นวา ควรใชชื่อ "หอยเม็ดมะคา" เปนชื่อทางการของ Pollicaria myersii (Haines, 1855) เพราะสื่อใหเห็นถึงรูปทรง ขนาด และสีสันของเปลือกหอยชนิดนี้ไดดีกวาชื่ออื่น ๆ ที่กลาวมาขางตนหอยเม็ดมะคาในประเทศไทยมีการแพรกระจายตามแนวเทือกเขาเพชรบูรณ ตั้งแต จ. เลยไลลงมาถึง จ. สระบุรี ที่ผานมามีรายงานการคนพบหอยชนิดนี้ไมมากนัก จากการสืบสวนเอกสารและศึกษาตัวอยางหอยทากบกที่มีการเก็บรวบรวมลักษณะรูปทรง ขนาด และสีสันของเปลือกหอยชนิดนี้มีความคลายคลึงกับเมล็ดมะคาโมงซึ่งเปนที่มาของชื่อหอยเม็ดมะคาภาพโดย ศักดิ์บวร ตุมปสุวรรณAn external morphology of Pollicaria myersii (left) is similarto the nut of Afzelia xylocarpa (right), a common tree inDeciduous forest leading to its Thai name.Photo by Sakboworn Tumpeesuwanไว ณ ภาควิชาชี<strong>วว</strong>ิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีสถานที่ที่พบหอยชนิดนี้8 แหง คือ (1) สวนพฤกษศาสตรพุแค อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. สระบุรี (Habe, 1965) (2) เขาหินปูน20 ก.ม. ทางตะวันออกของ อ. วังสะพุง จ. เลย (Solem, 1966) (3) อ. มวกเหล็ก จ. สระบุรี(Pain, 1974) (4) เขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียว จ. ชัยภูมิ (5) เขตรักษาพันธุสัตวปาผาผึ้งอ. คอนสาร จ. ชัยภูมิ (6) ถ้ำผาทาพล อ. เนินมะปราง จ. พิษณุโลก (7) วัดถ้ำดาวเขาแกวอ. มวกเหล็ก จ. สระบุรี และ (8) อุทยานแหงชาติน้ำหนาว จ. เพชรบูรณ สวนในตางประเทศพบจำนวน 3 แหง คือ (1) Lao Mountains ประเทศกัมพูชา (Pfeiffer, 1862) (2) Mungo Boประเทศเวียดนาม (Pain, 1974) และ (3) Lao Kay, Tonkin ประเทศเวียดนาม (Solem, 1966)แหลงแพรกระจายของหอยเม็ดมะคาในประเทศไทย (พื้นที่ในเสนสีแดง) และแหลงแพรกระจายแหงใหมในอุทยานแหงชาติภูเวียง อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน (จุดสีเหลือง)ภาพโดย ศักดิ์บวร ตุมปสุวรรณFormer distributional ranges of Pollicaria myersii (areasin red), and new localities (yellow spots) located inKhon Kaen province, northeastern region.Photo by Sakboworn Tumpeesuwan55


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):54-56 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):54-56สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchในการสำรวจหาแหลงซากดึกดำบรรพหอยกาบคูยุคครีเตเชียสตอนตนในหมวดหินเสาขัวของผูเขียน ณอุทยานแหงชาติภูเวียง อ. ภูเวียง จ. ขอนแกน ระหวางป พ.ศ.2547-2548 ไดพบเปลือกของหอยเม็ดมะคาบริเวณลานหินริมลำหวยบอง ทางตะวันตกเฉียงใตของอุทยานฯ ซึ่งเปนรอยตอของปาดิบแลงที่ขึ้นอยูตามริมลำหวยกับปาปลูกกระถินยักษและพบในปาดิบแลงบนภูปอ ใกลวัดผาถ้ำเกิ้ง ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอุทยานฯ หอยเม็ดมะคาเปนหอยทากบกแตมักถูกเขาใจผิดวาเปนหอยน้ำจืดเนื่องจากมักพบเปลือกลักษณะเปลือกและฝาปดเปลือกดานหอยตามริมลำธารในปาหรือบนโขดหินในลำธาร ใน (ลางซาย) และดานนอก (ลางขวา)การคนพบในครั้งนี้นอกจากเปนการพบแหลงแพร ของหอยเม็ดมะคา จากอุทยานแหงชาติภูเวียง จ. ขอนแกนกระจายแหงใหมนอกแนวเทือกเขาเพชรบูรณของหอยเม็ด ภาพโดย ศักดิ์บวร ตุมปสุวรรณมะคาแลวยังทำใหสามารถสรุปไดในเบื้องตนวา หอยเม็ดมะคา A shell (upper) and inner (lower left)มักอยูในปาดิบแลงที่มีตนไมขนาดใหญที่ไมผลัดใบขึ้นอยูคอน and outer (lower right) of operculumof Pollicaria myersii Photo byขางหนาแนนและมีความชื้นคอนขางสูง ซึ่งควรมีการศึกษาชีพ Sakboworn Tumpeesuwanพิสัย (ecological niche) และนิเวศวิทยาของหอยชนิดนี้ตอไปในอนาคตเปรียบเทียบเปลือกหอยในสกุล Pollicaria ทั้ง 3 ชนิด P. myersiiจากภูเวียง ประเทศไทย (ซาย), P. gravida จากกวางสี ประเทศจีน (กลาง) และ P. elephas จากประเทศมาเลเซีย (ขวา)ภาพโดย ศักดิ์บวร ตุมปสุวรรณShell morphology comaparison of Pollicaria myersii (left: fromThailand), P. gravida (middle:from China), and P. elephas(right; from Malaysia) Photo by Sakboworn Tumpeesuwanเอกสารอางอิงจารุจินต นภีตะภัฏ, 2551. การติดตอสวนบุคคล.อุษา กลิ่นหอม, 2551. การติดตอสวนบุคคล.สมหวัง ปทมคันธิน, 2551. การติดตอสวนบุคคล.Habe, T. 1965. Operculated land mollusks from Southeast Asia. Nature and life in Southeast Asia, 4: 111-128.Haines, W. M. A. 1855. Description of Four New Species of Terrestrial Shells, from Siam. Annals of the Lyceumof Natural History of New York, 6: 157-158.Pain, T. 1974. The Land Operculate Genus Pollicaria Gould (Gastropoda), A Systematic Revision.Journal ofConchology, 28: 173-178.Pfeiffer, L. 1862. Descriptions of Thirty-six New Land Shells, from the Collection of H.Cuming, Esq. Proceedingof the Zoological Society of London, 30: 268-278.Solem, A. 1966. Some Non-marine Mollusks from Thailand, with notes on classification of the Helicarionidae.Spolia Zoologica Musei Hauniensis, 24: 1-110.56


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):57-59 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):57-59สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchปลาหมึกผาหม Tremoctopus violaceus cf. gracilis พบครั้งแรกในนานน้ำไทยFirst Record of Blanket Octopus Tremoctopus violaceus cf. gracilis(Octopoda: Tremoctopodidae) in Thai Watersจารุวัฒน นภีตะภัฏ 1 * และจรวย สุขแสงจันทร 2Jaruwat NABHITABHATA 1 * and Charuay SUKHSANGCHAN 21ศูนยความหลากหลายทางชีวภาพแหงคาบสมุทรไทย, คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร2ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล, คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร1Centre for Biodiversity of Peninsular Thailand, Faculty of Science, Prince of Songkla University, Thailand2Department of Marine Science, Faculty of Fisheries, Kasetsart University, Thailand*Corresponding author: jaruwatnabhitabhata@gmail.comAbstractBlanket octopus, Tremoctopus violaceus cf. gracilis, is a pelagic-oceanic species, inhabitsopen waters in tropic and sub-tropic zone of Indo-Pacific region. The dorsal anddorsolateral arms of females are connected by an extensive web of 2-3 folds of mantlelength. Males are dwarf, 5-10% of female size. Female specimens collected from theAndaman Sea, Phuket province, Thailand in February 2007 became the first record inThai waters.ปลาหมึกผาหม หรือ blanket octopus เปนปลาหมึกในกลุมปลาหมึกสาย (octopus)ซึ่งเปนปลาหมึกกลุมที่มีหนวดแปดเสนในอันดับ Octopoda วงศ Tremoctopodidae สกุลTremoctopus โดยมีเพียงสกุลเดียวที่จัดอยูในวงศนี้ ลักษณะเดน คือ มีรูเปด (cephalic waterpore) ที่สวนบนและสวนลางของหัวดานละ 1 คู รูที่อยูดานบนจะมีขนาดใหญกวาดานลางเล็กนอย หนาที่ของรูเปดนี้ยังไมเปนที่ทราบ ลักษณะเดนอีกประการ คือ แผนเนื้อบาง ๆ (web) ที่เชื่อมระหวางหนวดคูแรก (คูที่อยูกลางดานบนของหัว, dorsal arms) และระหวางหนวดคูแรกกับคูที ่สอง (dorso-lateral arms) จะแผออกเปนแผน โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนที่อยูสองขางของหนวดคูแรกทั้งสองเสนจะยาวมาก อาจยาวเปนสองถึงสามเทาของความยาวลำตัว ซึ่งเปนที่มาของชื่อสามัญ นอกจากนั้น สวนปลายของหนวดคูแรกนี้ยังมีลักษณะเปนเสนยื่นยาวเลยสวนที่เปน "ผาหม" ออกไปอีกสองถึงสามเทา รวมแลวหนวดคูแรกนั้นยาวกวาลำตัวหาถึงหกเทาเลยทีเดียว ความยาวรวมของปลาหมึกผาหมจึงอาจจะยาวไดถึง 2 ม.แมจะเปนญาติใกลชิดกับปลาหมึกสาย (Octopus spp.)ที่ดำรงชีวิตดวยการคืบคลานหาอาหารอยูตามหนาดินและอาศัยอยูตามโพรงหิน ปลาหมึกผาหมเปนปลาหมึกที่หากินกลางน้ำ บริเวณกลางน้ำนี้แมจะมีอาหารอุดมสมบูรณแตก็เต็มไปดวยอันตรายจากสัตวนักลาเชนกันปลาหมึกผาหมจึงพัฒนากลวิธีเอาชีวิตรอดขึ้นมาสองแบบ คือ แบบแรกปลาหมึกผาหมจะคลี่57


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):57-59 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):57-59สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Research"ผาหม" ออกอยางรวดเร็วทำใหศัตรูตกใจและสับสนกับ "ขนาด" ของเหยื่อที่เปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน เปดโอกาสใหปลาหมึกผาหมพุงตัวหนีไปได การปองกันตัวแบบนี้ใชโดยตัวเมียที่มีขนาดใหญตั้งแตระยะวัยรุนขึ้นไป แบบที่สองเปนการนำเอาสวนของหนวดที่เปนเข็มพิษของแมงกะพรุนลูกโปงหรือแมงกะพรุนหมวกกุศเลน ที่รูจักกันดีในนาม Portugese man-of-war (Physaliaspp.) ที่มีพิษถึงตายมาติดไวบนหนวดของตัวเอง (Jones, 1963) แบบนี้ใชโดยปลาหมึกผาหมเพศผูและเพศเมียขนาดเล็ก วิธีการปองกันตัวทั้งสองแบบที่เปน passive ยังอาจใชในลักษณะactive ดวย คือใชในการจับเหยื่อนั่นเองปลาหมึกผาหม Tremoctopus violaceus ขนาดประมาณ 1.5 ม. จากรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกาภาพโดย Cassandra L. Cox, ที่มา: http://tolweb.org/Tremoctopus/20202/1996.01.01)Tremoctopus violaceus about 1.5 m.in lenght, photo taken from Florida, USA.Photo by Cassandra L. Cox, Source: http://tolweb.org/Tremoctopus/20202/1996.01.01)การที่ปลาหมึกผาหมตัวผูตองใชหนวดแมงกะพรุนปองกันตัวเพราะมันมีขนาดเล็กกวาตัวเมียมาก โดยที่มีขนาดเพียง 5-10% ของตัวเมียเทานั้น (Norman et al., 2002) ตัวผูมีหนวดที่เปลี่ยนหนาที่และรูปรางไปทำหนาที่ผสมพันธุโดยเฉพาะ เรียกวา hectocotylus เชื้อตัวผูจะเก็บอยูในถุงที่ปลายหนวดเสนนี้ ระหวางการผสมพันธุหนวดเสนนี้จะขาดหลุดเขาไปอยูในชองตัวตัวเมียแลวสามารถคืบคลานไปไดเองเพื่อหาทางไปสูชองเปดของระบบสืบพันธุตัวเมีย ลักษณะการผสมพันธุแบบนี้ยังพบในปลาหมึกสายกลางน้ำกลุมอื่น เชน กลุมหอยงวงชางกระดาษ(Argonauta spp.) เชนกัน จำนวนของปุมดูดบนหนวดผสมพันธุนี้เปนลักษณะที่ใชในการจำแนกชนิดรวมกับจำนวนซี่เหงือก ไขของปลาหมึกผาหมมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับขนาดตัว โดยมีขนาดประมาณ 1 มม. เทานั้น ไขติดกับแกนเปนพวง ตัวเมียจะอุมไขไวตลอดเวลาจนกระทั่งไขฟก (Norman, 2000) สันนิษฐานวา ปลาหมึกตัวผูจะตายสิ้นสุดอายุขัย (แกตาย) ภายหลังการผสมพันธุ สวนตัวเมียตายภายหลังจากไขฟกเปนตัวแลว เชนเดียวกับปลาหมึกชนิดอื่น ๆ58


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):57-59 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):57-59สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchปลาหมึกผาหมพบไดในเขตรอนจนถึงเขตกึ่งรอน ทั่วโลกมีรายงานไว 3 ชนิด (Thomas,1977; O'Shea, 1999) โดย Tremoctopus violaceus มีการแพรกระจายกวางขวางที่สุด แบงออกเปน 2 ชนิดยอย คือ T. violaceus violaceus พบในมหาสมุทรแอตแลนติก และ T. violaceusgracilis พบในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟก (Thomas, 1977) แตยังไมมีรายงานการพบในเขตทะเลอันดามันและนานน้ำไทย ตัวอยางที่พบในนานน้ำไทยครั้งนี้ จึงถือเปนครั้งแรก เปนตัวอยางที่เก็บไดจากเรืออวนลอม ที่ทาเรือรัษฎา จ. ภูเก็ต ในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2550 เปนตัวเมียทั้งหมด ตัวอยางที่พบมีสวน "ผาหม" ที่ไมสมบูรณ ขาดแหวงอาจเปนเพราะความบอบบางประกอบกับวิธีการจับที่มุงหมายสัตวอื่นมากกวา เนื่องจากยังไมมีตัวอยางตัวผูมาชวยยืนยัน จึงจำแนกชนิดไวเปน T. violaceus cf. gracilis (Nabhitabhata et al., 2008)หนึ่งในตัวอยางปลาหมึกผาหม Tremoctopus violaceus cf. gracilis ที่พบในนานน้ำไทยภาพโดย กรอร วงศคำแหงOne of specimens of Tremoctopus violaceus collected in Thai watersPhoto by Koraon WongkamhaengเอกสารอางอิงJones, E. C. 1963. Tremoctopus violaceus Uses Physalia Tentacles as Weapons. Science, 139: 764-766.Nabhitabhata, J., C. Sukhsangchan & K. Wongkamhaeng. 2008. First Record of Two Pelagic Octopods from theAandama Sea, Thailand. Vie Mileu. (Manuscript Submitted).Norman, M. D. 2000. Cephalopods A World Guide. ConchBooks, Hackenheim.320 p.Norman, M. D., D. Paul, J. Finn & T. Tregenza. 2002. First Encounter with a Live Male Blanket Octopus: theWorld's Most Sexually Size-Dimorphic Large Animal. New Zealand Journal of Marine and FreshwaterResearch, 36: 733-736.O'Shea, S. 1999. The Marine Fauna of New Zealand: Octopoda (Mollusca: Cephalopoda). NIWA BiodiversityMemoir, 112. 280 p.Thomas, R. F. 1977. Systematics, Distribution, and Biology of Cephalopods of the Genus Tremoctopus(Octopoda: Tremoctopodidae). Bulletin of Marine Science, 27(3): 353-392.59


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):60-61 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):60-61สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพบมะยมหยักที่เขาวง จังหวัดระยองSauropus suberosus Airy Shaw (Euphobiaceae): a new localityrecord for Thailandพงษศักดิ์ พลเสนา*Phongsak PHONSENA*สวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออก (เขาหินซอน), สำนักงานหอพรรณไม, กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชKhao Hin SonBotanical Garden, The Forest Herbarium,National Park, Wildlife and Plant Conservation Department, Thailand*Corresponding author: p_phonsena@yahoo.comAbstractSauropus suberosus Airy Shaw (Euphobiaceae), a very rare species, locally scatteredpopulation ranging from Penninsular Thailand to Malaysia (Perak). Recently, it wasdiscovered in a very small group, approximately 10 m 2 , at limestone foothill of KhaoWong, Rayong province, southeastern Thailand. This location becomes the secondfloristic region of the species in Thailand.มะยมหยัก Sauropus suberosus Airy Shaw เปนไมพุม อยูในวงศ Euphorbiaceaeเปนพรรณไมที่ถูกคุกคาม (threatened species) (Pooma, 2005) ตอมา Santisuk et al. (2006)จัดใหเปนพรรณไมหายาก (rare species) พบทางภาคใตที่ จ. สุราษฎรธานีและตรัง สวนในตางประเทศพบเฉพาะที่มาเลเซีย (Airy Shaw, 1972; Welzen, 2007)มะยมหยักที่นำมาปลูกในเรือนเพาะชำของสวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออก (เขาหินซอน)ภาพโดย ดำรงศักดิ์ ชูศรีทองSauropus suberosus was cultivated at TheEastern Botanical Garden (Khao Hin Son),Thailand.Photo by Damrongsak Chusithong60จากการสำรวจของคณะผูวิจัยโครงการความหลากหลายของพรรณไมเขาหินปูนในภาคตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทย ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากโครงการ BRT พบ “มะยมหยัก” ที่เขาวง ในอุทยานแหงชาติเขาชะเมา-เขาวง จ. ระยอง ขึ้นเปนหยอมขนาดเล็กบริเวณเชิงเขาหินปูน ใกลลำธาร ฝงตรงขามกับวัดเขาวงกต ที่ระดับความสูง 20 ม. (ตัวอยางหมายเลข Phonsena,Bunpha, Chusithong, Loetsombunsuk andWongnongwaeng 5539; Phonsena &Chusithong 5713)มะยมหยัก ที่พบเปนไมพุมขนาดเล็กสูง 30-60 ซม. ออกดอกตามลำตนใกลพื้นดิน ดอกแยกเพศรวมตน ชอดอกยาว 5-12 ซม. ดอกสีแดง


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):60-61 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):60-61สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchลักษณะชอดอกของมะยมหยักภาพโดย ดำรงศักดิ์ ชูศรีทองInflorescence of Sauropus suberosusPhoto by Damrongsak Chusithongมีกลีบเลี้ยง 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงชั้นในมีขนาดใหญกวากลีบเลี้ยงชั้นนอกและยังคงติดอยูจนกระทั่งเปนผล ผลรูปถวย ปลายตัด ขอบผลเวาตื้น ๆ เปน 3 พูขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 1 ซม.การสำรวจพบ "มะยมหยัก" ในครั้งนี้ถือวา เปนการคนพบเขตการกระจายพันธุของพรรณไมชนิดนี้ในประเทศไทยเพิ่มอีก 1 เขต และยังพบผลเปนครั้งแรกในโลกอีกดวย นอกจากนี้ยังพบวา ตนที่นำไปปลูกในเรือนเพาะชำของสวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออก (เขาหินซอน) จ. ฉะเชิงเทรา ออกดอกและผลตลอดป ในอนาคตนาจะขยายพันธุใหไดปริมาณมากแลวนำไปปลูกคืนสูปาธรรมชาติที่มีลักษณะทางนิเวศวิทยาใกลเคียงกับบริเวณที่พบหรือพัฒนาเปนไมประดับ อันเปนการอนุรักษพันธุกรรมอีกทางหนึ่งเขาหินปูนสถานที่ที่พบมะยมหยัก (บน) และชอผลมะยมหยัก (ขวา)ภาพโดย ดำรงศักดิ์ ชูศรีทองHabitat of S. suberosus (above) and its fruits, the first sightingrecord of the world (right). Photo by Damrongsak ChusithongเอกสารอางอิงAiry Shaw, H. K. 1972. The Euphorbiaceae of Siam. Kew Bulletin, 26: 338.Pooma, R., ed. 2005. A Preliminary Check-list of Threatened Plants in Thailand. The Forest Herbarium, NationalPark, Wildlife and Plant Conservation Department, Bangkok.Santisuk, T., K. Chayamarit, R. Pooma & S. Suddee. 2006. Thailand Red Data: Plants. Office of NaturalResources and Environmental Policy and Planning. Bangkok, 219 pp.Welzen, P. C. van. 2003. Revision of the Malesian and Thai species of Sauropus (Euphobiaceae: Phyllanthoideae).Blumea, 48(2): 375-376.Welzen, P. C. van. & K. Chayamarit. 2007. Euphorbiaceae. In T. Santisuk and K. Larsen (eds). Flora of Thailand,8(2): 549-551.61


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):62-63 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):62-63สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchสมลม ดอกมีหลายสีCorolla coloration of Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire(Apocynaceae)ภานุมาศ จันทรสุวรรณBhanumas CHANTARASUWANพิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา, องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติThailand Natural History Museum, National Science Museum, ThailandCorresponding author: bhanushine@yahoo.comAbstractAganonerion polymorphum Pierre ex Spire, a climber plant, commonly found in DryDipterocarp and Mixed Deciduous Forests. Corolla of Aganonerion polymorphum istypically pale yellowish, pinkish, or red. Two of unusual color patterns were additionallyfound at Pong Nam Ron district, Chanthaburi province, Southeastern Thailand. Thecorollas were white and mixed between white and pale pink. The population ratio ofpinkish, white, and mixed groups are 80%, 15%, and 5%, respectively.สมลม Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire จัดอยูในวงศ Apocynaceaeเปนพรรณไมที่พบไดทั่วไปตามปาเต็งรังและปาผสมผลัดใบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเขตกระจายพันธุในประเทศเวียดนาม กัมพูชา ลาว และไทย ลักษณะเปนไมเถา ใบรูปรีหรือรูปไข เรียงตรงขาม ดอกออกเปนชอ กลีบดอกสีแดง สีชมพู หรือสีคอนขางเหลือง (Middleton,1999) โดยทั่วไปแลวดอกสมลมมักมีกลีบดอกสีออกแดงหรือสีชมพูบอยครั้งที่สุด และก็มีบางที่พบสีชมพูออน ๆดอกสมลมสีชมพูเปนลักษณะของสีที่พบเห็นไดทั่วไปภาพโดย ภานุมาศ จันทรสุวรรณPink flowers, a typpical colorof Aganonerion polymorphumPhoto byBhanumas Chantarasuwan62


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):62-63 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):62-63สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchเมื่อตนเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ที่ผานมา ผูเขียนมีโอกาสเดินทางไปสำรวจพรรณพืชบริเวณวัดถ้ำแกว ต. ซับตาเมา อ. โปงน้ำรอน จ. จันทบุรี สภาพปาเปนปาผสมผลัดใบพื้นที่ขนาดเล็กที่อยูรอบวัด เนื้อที่ประมาณ 100 ไร ปกคลุมเขาหินปูน ใกลกับชายแดนกัมพูชา พรรณพืชสวนใหญคลายคลึงกับปาผสมผลัดใบแหงอื่นๆ ของประเทศ แตเมื่อสำรวจอยางละเอียดก็พบดอกของตนสมลมที่มีสีของกลีบดอกแตกตางไปจากที่เคยพบเห็นทั่วไปจากการสังเกตพบวา ดอกสมลมมีกลีบดอกสีขาว และเมื่อแบงกลุมออกตามสีกลีบดอกที่ปรากฏ พบวา มี 3 กลุม คือ กลุมสีชมพู กลุมสีขาว และกลุมที่มีทั้งสีขาวและสีชมพู คือ พื้นหลักเปนสีขาวและมีสีชมพูออน ๆ ปะปน โดยมีสัดสวนของกลุมสีชมพูเปนกลุมประชากรหลักพบมากถึง 80% กลุมสีขาวมี 15% และสวนกลุมผสมระหวางขาวกับชมพู มีเพียง 5%ดอกสมลมสีขาวปนชมพู (ซาย) และดอกสีขาวลวน (ขวา) เปนลักษณะของสีที่หาไดยากภาพโดย ภานุมาศ จันทรสุวรรณA typical color patterns of corolla of A. polymorphum, a pink and white (left), and pure white (right)Photo by Bhanumas Chantarasuwanและเพื่อเปนการยืนยันใหแนใจวาทั้งหมดเปนชนิดเดียวกัน จึงศึกษาในรายละเอียดของโครงสรางสวนตาง ๆ พบวา มีลักษณะโครงสรางและขนาดของดอกไมแตกตางกัน ซึ่งมีความเปนไปไดวา กลีบดอกที่มีสีแตกตางไปนั้น นาจะเกิดจากความผันแปรของยีน จนทำใหลักษณะบางประการผิดเพี้ยนไปจากกลุมประชากรหลัก และกลุมประชากรที่มีลักษณะผิดเพี้ยนดังกลาวมักมีจำนวนนอยและพบเห็นไดยาก จนเกิดความเขาใจผิดคิดวาเปนเรื่องแปลกประหลาด โดยขอเท็จจริงแลวเปนเหตุการณปกติที่เกิดขึ้นไดกับทุกสิ่งมีชีวิตเอกสารอางอิงMiddleton, D. J. 1999. Apocynaceae. in T. Santisuk & K. Larsen (eds.) Flora of Thailand, 7(1): 141.63


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):64-66 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):64-66สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchตามหาพรหมขาว Mitrephora alba Ridl. บนเกาะสมุยRediscovery of Mitrephora alba Ridl. (Annonaceae) in Ko Samui,Thailandจิรพันธ ศรีทองกุล* และอนันต พิริยะภัทรกิจJirapan SRITONGKUL* and Anan PIRIYAPATTARAKITฝายเทคโนโลยีการเกษตร, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (<strong>วว</strong>.)Agricultural Technology Department, Thailand Institute of Scientific and technological research (TISTR)*Corresponding author: j.zeamay@gmail.comAbstractMitrephora alba Ridl. (Family Annonaceae) was discovered in 1915 by Robinson at KohSamui, Surat Thani province, Peninsular Thailand. It is a small tree, up to 8 m in heightwith smooth and black bark, white-dotted lenticels, and ovate leaves. The tree is floweringin April. A pleasing scent flowers contains 2 whorls; white outer petals, and white andpink inner petals, and clawed rhomboid. A young fruit is curved and green and becomesgray-blackish when ripen. It was rediscovered at its type locality by Thailand Institute ofScientific and Technological Research (TISTR) team in 2005, 90 years after the firstdiscovery. The tree can be propagated using grafting techniques and also succeededin ex-situ cultivation.พรหมขาว Mitrephora alba Ridl. เปนพรรณไมในสกุลมหาพรหม (Genus Mitrephora)ที่เก็บไดครั้งแรกจากเกาะสมุย จ. สุราษฎรธานี เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2456 โดย C. B.Robinson ซึ่งปรากฏจากหลักฐานตัวอยางพรรณไมแหงที่เปนตัวอยางตนแบบหมายเลข 5717ปจจุบันเก็บรักษาไวที่หอพรรณไม KEW ประเทศสหราชอาณาจักร โดยมีขอมูลระบุวา เก็บจากระดับความสูง 70 ม. และไดรับการตั้งชื่อเปนพรรณไมชนิดใหมของโลกในอีก 2 ป ถัดมาหลังจากนั้นยังไมเคยมีรายงานการคนพบอีกเลย (Aruna, 2001) จวบจนปจจุบันเปนเวลากวา 90 ป ดังนั้นเกาะสมุยจึงเปนแหลงตัวอยางตนแบบ (type locality) ของพรหมขาวลักษณะดอกของพรหมขาว มีกลีบดอก 2 ชั้นภาพโดย อนันต พิริยะภัทรกิจFlower detail of Mitrephora albaPhoto by Anan Piriyapattarakit64


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):64-66 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):64-66สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchในฐานะที่ผูเขียนเปนคนทองถิ่นของเกาะสมุย เมื่อไดรับทราบขอมูลขางตนจึงมีความตื่นเตนและสนใจที่จะติดตามไปดูพรหมขาวในถิ่นกำเนิดวา ตนพรหมขาวมีรูปรางหนาตาเปนอยางไร? ขึ้นอยูในสภาพภูมิประเทศแบบไหน? ปจจุบันอยูในสถานภาพอยางไร?ทีมศึกษาธรรมชาติ จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (<strong>วว</strong>.)ไดเขาไปสำรวจในพื้นที่ถิ่นกำเนิดเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2548 การติดตามพรหมขาวครั้งนี้ ไดคาดเดาจากลักษณะพรรณไม ลักษณะของปาที่เปนอยู และการตั้งถิ่นฐานของราษฎรบนเกาะสมุย ซึ่งในปจจุบันมีการตั้งบานเรือนบนเกาะสมุยอยางหนาแนน ทำใหพื้นที่ปาดั้งเดิมบนเกาะสมุยลดนอยลง ดังนั้น พื้นที่ที่นาจะพบพรหมขาวจึงนาจะเปนพื้นที่ปาอนุรักษ จากสมมติฐานนี้ทีมงาน<strong>วว</strong>. จึงตัดสินใจไปสำรวจที่วนอุทยานน้ำตกหนาเมือง โดยเริ่มตนเดินจากลานจอดรถที่อยูขางน้ำตกชั้นแรก แลวเดินไปตามเสนทางศึกษาธรรมชาติไตระดับขึ้นไปบนเขา สมาชิกทุกคนชวยกันคนหาตนไมที่มีลักษณะพรรณไมดังที่เคยมีคำบรรยายไวเมื่อเดินสำรวจขึ้นไปประมาณ 1 กม. ที่ระดับความสูง 70 ม. เริ่มไดกลิ่นหอมคลายกับกลิ่นของพรรณไมที่อยูในสกุลมหาพรหมและเมื่อเดินสำรวจมาจนถึงบริเวณที่มีกลิ่นหอมแรงมากขึ้น จึงพบดอกไมสีขาวรวงอยูตามทางเดิน มีขนาดเสนผานศูนยกลางดอก 2.5-3.0 ซม.กลีบดอกมี 2 ชั้น กลีบชั้นนอกมีสีขาว (บริสุทธิ์) จำนวน 3 กลีบ และมีกลีบดอกชั้นในรูปโดมสีขาวลวน บางดอกมีลายขีดสีมวงออน และพบวาบนตนไมที่สูง 5-6 ม. แตละกิ่งเต็มไปดวยดอกเรียงหอยระยา เมื่อไดตรวจสอบลักษณะทั่วไปของตนและลักษณะของดอก จึงแนใจวาเปน "พรหมขาว" ซึ่งนับเปนการคนพบอีกครั้งหนึ่งในรอบ 90 ป นับจากรายงานการคนพบครั้งแรกชอดอกของพรหมขาว ออกตรงขามใบ 1-3 ดอกภาพโดย อนันต พิริยะภัทรกิจInflorescence of Mitrephora alba contains 1-3flowers. Photo by Anan Piriyapattarakit65


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):64-66 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):64-66สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพรหมขาวเปนไมตนขนาดเล็ก สูง 6-8 ม. เปลือกลำตนเรียบ สีดำ กิ่งออนสีน้ำตาลและมีขนออนปกคลุมชองอากาศสีขาวเปนจุดๆ แตกกิ่งนอย ใบรูปรี โคนใบมน ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเปนคลื่น ดอกออกตรงขามใบ 1-3 ดอก สีขาวอมมวง ดอกบานอยูได 1-2 วันมีกลิ่นหอมออน กลีบดอกเรียงเปน 2 ชั้น ชั้นนอกรูปรางคอนขางกลม กลีบชั้นในรูปซอนปลายกลีบแผกวางประกบกันเปนรูปกระเชา ผลกลุม มี 5-9 ผลยอยผลยอยรูปทรงกระบอก เมื่อแกสีเหลืองออกดอกเดือนเมษายนถึงสิงหาคม(ปยะ, 2544)ลักษณะผลออนของพรหมขาวภาพโดย อนันต พิริยะภัทรกิจYoung fruits of Mitrephora albaPhotp by Anan Piriyapattarakitหลังจากนั้นอีก 4 เดือน (เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2548) ผูเขียนไดกลับไปยังตนเดิมอีกครั้ง และพบวาติดผลแลว เปนผลกลุม มี 4-8 ผลยอย แตละผลรูปทรงกระบอกโคงงอ มีเสนผานศูนยกลาง 1-1.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. เปลือกเปนตุมขรุขระ ผลออนมีเปลือกสีเขียว เมื่อแกเปลี่ยนเปนสีเหลือง แตละผลมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดที่ไดจากผลแกเมื่อนำมาเพาะ ปรากฏวา เมล็ดงอกไดภายในระยะเวลา 1.5-2 เดือน ตนกลาสามารถเจริญเติบโตไดในแปลงทดลองของ <strong>วว</strong>.ที่เทคโนธานี ต. คลองหา อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานีหลังจากนั้นไดมีการทดลองขยายพันธุโดยวิธีการทาบกิ่ง โดยใชตนกลามะปวนMitrephora tomentosa Hook.f. & Thomson เปนตนตอ พบวา สามารถทาบติดไดดี ตนทาบกิ่งที่ไดแข็งแรงสมบูรณ เมื่อนำลงปลูกในแปลงกลางแจง พบวา ดอกไดดีภายใน 2 ปการพบพรหมขาวอีกครั้งในแหลงตัวอยางตนแบบ และสามารถทำการขยายพันธุพรหมขาวได ทำใหผูเขียนรูสึกภาคภูมิใจอยางยิ่งที่สามารถขยายพันธุและปลูกนอกถิ่นกำเนิด ซึ่งเปนหลักประกันไดวาพรหมขาวไมสูญพันธุไปจากประเทศไทยแนนอนเอกสารอางอิงปยะ เฉลิมกลิ่น. 2544. พรรณไมวงศกระดังงา. อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 368 น.Aruna, D. W. 2001. Systematics, Phylogeny and Reproductive Biology of Mitrephora (ANNONACEAE). Thesisof the degree of Doctor of Philosophy at the University of Hong Kong. 342 pp.66


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):67-70 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):67-70สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchเทคนิคธรรมชาติเทคนิคธรรมชาติมาดูผีเสื้อกันเถอะทัศนัย จีนทอง เรื่องและภาพกองพิพิธภัณฑอางอิง พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติการดูผีเสื้อ (butterfly watching) เปนกิจกรรมที่เพิ่งจะเริ่มตนมาเพียงไมกี่ป ซึ่งแตกตางจากการสะสมผีเสื้อ (butterfly collecting) ในอดีตการดูผีเสื้อจะมีอยูเฉพาะกลุมนักวิชาการเทานั้น โดยจะมุงเนนการเก็บรวบรวมตัวอยางผีเสื้อจากพื้นที่ตาง ๆ เพื่อนำไปศึกษา แตปจจุบันไดมีผูสนใจหันมาทองเที่ยวเชิงนิเวศมากขึ้น และกิจกรรมดูผีเสื้อก็ไดรับความนิยมมากขึ้น จากการสะสมตัวอยางเปนการเฝาดูพฤติกรรมในธรรมชาติ เปนการศึกษาโดยไมทำลาย (nondestructiveapproach) เพื่อเปนการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจำกัดใหยั่งยืนสืบไปหลักการดูผีเสื้อคลายกับการดูนก (bird watching หรือ birding) แตกตางกันที่ชวงเวลา การดูนกใชเวลาสวนใหญในชวงเชาและบาย สวนการดูผีเสื้อจะใชชวงเวลากลางวัน ดังนั้นการดูผีเสื้อสามารถทำควบคูไปกับการดูนกไดผีเสื้อเปนแมลงที่มีความสวยงาม มีความหลากชนิดสูง จึงกอใหเกิดกิจกรรมการดูผีเสื้อ และกำลังไดรับความนิยมอยางแพรหลายจนกระทั่งสำนักงานพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ไดกำหนดมาตรฐานกิจกรรมการดูผีเสื้อขึ้น ในป พ.ศ. 254967


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):67-70 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):67-70สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchการเตรียมตัวผีเสื้อสามารถมองเห็นสีตาง ๆ ไดดี โดยเฉพาะสีเหนือมวง (ultraviolet) ดังนั้น เสื้อผาที่ใสขณะทำกิจกรรมควรสวมผาสีเรียบ ๆ ไมดำสนิทและไมสะทอนแสง เชน สีกากี สีเทาออกเขียว หรือ สีน้ำตาลออกเหลือง แตบางครั้งสีสดใสหรือสีมันวาวก็สามารถดึงดูดผีเสื้อบางกลุมใหมาบินวนเวียนอยูใกลตัวเราได ผาที่ใชควรเปนผาที่ระบายอากาศไดดี ควรเปนเสื้อแขนยาวเพื่อปองกันแสงแดดกางเกงควรเปนผาที่คอนขางหนา ทนตอการขีดขวนของหนาม กิ่งไมหรือกอนหิน จะใชกางเกงขาสั้นหรือขายาวขึ้นอยูกับสภาพภูมิประเทศ กางเกงขาสั้นเหมาะกับการดูผีเสื้อบนถนนในปา หรือที่ที่ไมรกจนเกินไปรองเทาตองเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศที่ทำกิจกรรม ควรเปนรองเทาผาใบหุมสนหรือหุมขอ ไมควรใชรองเทาแตะ ควรใชหมวกปกกวางพอเหมาะเพื่อปองกันการเปนลมแดด(sunstroke) ติดผาขนหนูหรือกระดาษเย็นเพื่อใชซับเหงื่อและลดความรอนอุปกรณดูผีเสื้ออุปกรณสำหรับดูผีเสื้อนั้นไมแตกตางจากอุปกรณดูนกมากนักอุปกรณที่ใชไดแก กลองสองทางไกลแวนขยาย กลองถายภาพ หนังสือคูมือและสมุดบันทึกกลองสองทางไกลกลองสองทางไกลหรือกลองสองตา (binoculars) ชวยใหสามารถดูผีเสื้อในระยะไกลโดยที่ไมตองเขาใกลมากไป ซึ่งไมเปนการรบกวนการหากินของผีเสื้อ และยังชวยใหสามารถดูผีเสื้อที่อยูในที่สูง ๆ หรือในที่ ๆ ไมสามารถเขาไปได กลองที่ใชควรมีขนาดและกำลังขยายประมาณ 7-8 เทา เชน 7 x35 หรือ 8 x 40 ขอเสียของกลองสองตาคือ ใชดูผีเสื้อในระยะใกลกวา 2 ม. ไมไดการแตงกายที่เหมาะสมสำหรับการดูผีเสื้อ68


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):67-70 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):67-70สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchนอกจากนี้ยังสามารถใชกลองตาเดียว (telescope) ที่มีกำลังขยายสูงเหมือนที่ใชดูนกเพื่อดูผีเสื้อที่อยูนิ่งในระยะไกล ขอเสียคือ จะตองตั้งกลองใหนิ่งอยูกับที่ จึงสามารถใชมือถือสองดูผีเสื้อที่เคลื่อนไหวไปมาได เพราะการหาเปาหมายเปนไปไดชา ทำใหผีเสื้อบินหนีไปเสียกอนแวนขยายแวนขยายสามารถใชสำหรับการเฝาดูผีเสื้อระยะใกลไดเปนอยางดี ควรมีกำลังขยายตั้งแต 2 เทาจนถึงประมาณ 10 เทา วิธีใชที่ไดผลดีคือ ถือแวนขยายใหอยูใกลตาเสียกอนแลวคอย ๆ เลื่อนแวนขยายเขาไปหาผีเสื้อจนกระทั่งเห็นภาพผีเสื้อชัดเจนขึ้น ผีเสื้อสวนใหญมักจะบินหนีเมื่อเอาแวนขยายเขาไปใกลๆ แตถาหากมันกำลังเพลินกับการดูดกินน้ำหรือน้ำหวานแลวมันจะไมบินหนีไป ทำใหดูไดงายกลองถายภาพกลองถายภาพเปนอุปกรณเสริมที่จะชวยบันทึกภาพผีเสื้อหรือสภาพพื้นที่ทั่ว ๆ ไปทำใหไดขอมูลที่สมบูรณมากขึ้น และสามารถนำภาพถายผีเสื้อมาเปรียบเทียบหรือจำแนกชนิดไดในภายหลังหนังสือคูมือหนังสือคูมือจะชวยในการจำแนกชนิดของผีเสื้อทำใหการจดจำชนิดของผีเสื้อเปนไปไดงาย แตหนังสือคูมือสำหรับดูผีเสื้อในประเทศไทยคอนขางนอยอยูการเขาใกลผีเสื้อเพื่อถายภาพและชมความสวยงามของผีเสื้อ69


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):67-70 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):67-70สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchสมุดบันทึกใชสำหรับบันทึกชนิด ลักษณะพฤติกรรม และวัน เวลาที่พบผีเสื้อแตละชนิดเพื่อเปนขอมูลในการดูและศึกษาตอไป ควรบันทึกในขณะทำกิจกรรมเพราะจะทำใหไดขอมูล รายละเอียดมากกวามาบันทึกภายหลังวิธีการเขาใกลผีเสื้อที่อยูในแหลงธรรมชาติเดินชา ๆ เมื่อเห็นผีเสื้อเกาะอยูบนพื้น หลังจากที่เขาใกลไดระยะประมาณ 5 ม. ควรนั่งลงชา ๆ ถามีกลองสองตาก็ใชสองดูพฤติกรรมของผีเสื้อได ถาไมมีคอย ๆ ขยับเขาไปหาผีเสื้อทีละนิด ไมควรใจรอน หากผีเสื้อตกใจบินขึ้นควรนั่งนิ่ง ๆ รอสักพัก ถาผีเสื้อยังหวงอาหารอยูก็จะกลับมาที่เดิม เมื่อเขาใกลประมาณ 2 ม. ควรนอนลงและคอย ๆ คลานเขาไปชาจนไดระยะที่พอเหมาะ บางครั้งเราอาจเขาไปใกลตัวผีเสื้อจนเกือบจะสัมผัสตัวมันได ถาผีเสื้อนั้นยังเพลินกับแหลงอาหารอยูจากขอแนะนำขางตนผูเขียนหวังวาคงเกิดประโยชนแกผูที่สนใจหัดดูผีเสื้อไมนอย และหวังวากิจกรรมการดูผีเสื้อจะไดรับความนิยมไมแพกิจกรรมการทองเที่ยวธรรมชาติอื่น ๆ ของประเทศไทยเรา70ความสวยงามของผีเสื้อมักสรางความประทับใจแกผูพบเห็นไดทุกครั้ง


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchคอลัมน ลำเนา-พนาจร“จากปาพรุถึงยอดดอย”...โดย มะฟา หากา<strong>วว</strong>ันนี้เปนวันอาทิตยสุดทายของเดือน มิถุนายน 2551 ครึ่งปเขาไปแลวสิครับ เวลาชางผานไปอยางรวดเร็วเหลือเกิน แตก็ตองยอมรับในสามัญลักษณะของมันวาเวลาไดใหความเสมอภาคแกสรรพสิ่ง และสรรพสิ่งนั้นเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป บายวันนี้ของเดือนฝนผมกลับรูสึกวาอากาศแถวทุงนาหลังบาน เหมือนอากาศเวลาบายของเดือนในฤดูหนาวลมแหงแดดออนอยางไรก็ไมรู อีกไมนานเราตองเขาปงบประมาณใหมแลว ความรูสึกคุน ๆ นะครับ มีใครจำความรูสึกตอนนั้นไดบางวาครึ่งปหลังของปที่ผานมา หัวเปนน็อตตัวเปนเกลียวกันอยางไร เลยขออนุญาตถือเอาฉบับนี้ สงสัญญาณเตือนทุกทานไดเตรียมตัวกอนสิ้นปงบประมาณกันครับ (ที่สองวันสุดทายของเดือนเจาหนาที่ที่เราอยากจะติดตอดวยที่สุดใชสิทธิวันลา โอลั่นลา เคยทำเอาผมฮาน้ำตาซึมไปแลว) ใครที่ไมอยากกระหืดกระหอบเหมือนปที่ผานมา เหลือเวลาครึ่งหลัง อีกสองเดือนนะครับ สะสางงานที่ควรสะสาง เตรียมเวลาใหคนที่บาน วันแม ลูกหยุดเทอม ออกพรรษา ลอยกระทง วันพอ คริสตมาส สงทายและรับปใหมไวไดเลยครับอีกไมนานเลยยอหนาขางตนผมละไวตั้งแตวันที่ 29มิ.ย. ครับแตในระหวางนั้นมีภาระงานที่ตองตระเวนออกเก็บขอมูลภาคสนามเสียสองอาทิตย กลับมาเปดแฟม “งานเรงดวนกอนถูกทวง” ก็มีคอลัมนนี้ขึ้นเปนลำดับสาม ชวงนี้ผมแจงกับทุกโครงการ“ทวงกอนไดกอน” ขนาดขึ้นชารตงานรอนลำดับสามก็ยังไมวายโดนเสียงลอยขามประตูหองแหงความลับวา “ไมสงวันนี้โดนตัดเรื่องนะโวย” ผมจะทำอยางไรไดละครับ ก็ตองลงนั่งปนหนาตั้งเหมือนทุกครั้งสิครับสองอาทิตยที่หายไปผมไปแรลลี่หาพื้นที่พรุในภาคตะวันออกและบางสวนของภาคใต ตองเขาถึงทุกพื้นที่ ที่มีการแจงจุดมาวา เปน “ปาพรุ” ไปปฏิบัติภาระกิจ สำรวจวางแปลงเพื่อจัดทำฐานขอมูลพื้นที่พรุ ของประเทศครับ เพื่อนกับนองที่ไปปาพรุคันธุลี จ. สุราษฎรธานี71


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchดวยเห็นปานี้ครวญครางโอดควรญเปนเสือกินเมนกันเสียงขรมหลังจากดั้นดนเขาหาจุด “ปาพรุ” ที่กำหนดกันอยางทรหด “โอ! นี่หรือปาพรุ” “ปาเสม็ดเปนปาพรุเหรอพี่?” “เออ! มันเคยเปนปาพรุมากอนเวย” “พี่วัวเต็มเลยพี่” “เออ! เอ็งไมเคยเห็นวัวไง?”“พี่นากุงทั้งนั้นเลยเนาะ “ออ! นั่นเปนของซีพีครับผมกะวาจะขุดบอน้ำ สาธารณะกับถมที่เปนสนามฟุตบอลใหเด็กจะไดไหมครับ?” “เออ จะเสียดายตนเสม็ดนะฮะ” “เสม็ดตนใหญจัง” “ก็เรารักษามันไวครับ” “ผมไมแนะนำใหคุณเขาพื้นที่หรอกนะตอนนี้” “พี่ผมพายเรือไมเปน พี่ไมไปดวยเหรอ?” “โอย! ไปเลยครับนักวิจัยทำไดทุกอยาง”“พี่ภูเขานั่นเรียกวาอะไร” “เรียกวาควนคุณ ไมใชเขา” “ออ! ที่ตรงนี้เคยเปนปาแฉะ น้ำขัง เหมือนปาอื่นมากอนครับ พอผมเลาใหฟง ตนไมมันก็มีหลายอยางเหมือนกับตนไมในปานั่นแหละแลวทีนี้ไฟมันไหม ตนเสม็ดมันก็มา แลวก็โตเอาโตเอาไมมีไมอื่นขึ้นไดเลยครับ ไอตอไมตะเคียนที่โดนไฟก็ยังอยูนะ ถามีเวลา เหลือจะพาไปดู” “ควายที่เห็นนี่ชาวบานเขาพามาเลี้ยงตั้งแตรุนปูยาตาทวดโนนแลวตอนป 39 เราไปดูนกทำรังกันอีกที่หนึ่งไมใชตรงนี้คุณเลยไมเห็นควาย”“ทะเลนอยมันชักตื้นขึ้นทุกวันแลว” “เฮย! มีปลิงดวยเวย” “'จะไหวเหรอวะ! เสียเวลาขุดรองเทาออกจากโคลนหวะ เปลี่ยนจุดเหอะ” “เอา! ผมชวยลากเสน base line ใหละกันที่เหลือผมนอนรอในเรือนะ”“เสม็ดเหรอ ชาวบานก็เอาไมมาทำหลายอยางแหละคุณทั้งทำรั้ว ทำฟน เนี่ยเดี๋ยวคุณก็จะเห็นหละวา เขาตัดไมเปนมัดวางขายหนาบานทั้งหมูเลย” “มาทำไรกันหรือคุณ ผมของใจเมื่อกี้ตามเขาไปดูอยูแตหาคุณไมเจอ ผมเปนผูใหญบานเกา ตอนนี้ผมก็เปน อบต. ที่แถวนี้เมื่อกอนมันเปนทองนาพอทำถนนคลองสงน้ำมันก็ทำนาไมได น้ำมันทวม นั่นมันแผนที่อะไรหรือคุณ? ไหนเราอยูตรงไหนกัน? นี่ที่เห็น ๆ นี่ ตอนนี้มันเปนที่มือสองหมดแลวหละคุณ มีเอกสารสิทธิทั้งนั้น ผมมีแผนที่รังวัดนะคุณไปดูที่บานผมไหม? เอา!นี่เบอรโทรผม นี่คนนี้ก็ อบต. เหมือนกัน เอาเบอรเขาไวดวยเลย72


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchนะมีปญหาอะไรติดตอผม ที่แถวนี้อีกไมนานมันก็ตองเปลี่ยนเปนสวนปาลมน้ำมันอยูแลวแหละคุณ”ครับขอความหลังสุดนี่ผมโดนมวลชนรอดักถามตอนหาโมงเย็นกวา ๆ ดวยความของใจของเขาจริง ๆ ครับ เขาพูดดีนะครับน้ำเสียงไมมีขมขู แหลงใตไฟแลบ แตวาบรรยากาศมันโพลเพลและมาคุไปหนอย ที่สำคัญคนก็ชักจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จากสองเปนสี่เปนหก ผมเลยขอรวบรัดวา “ครับผูใหญ! ที่มานี่ก็มาดูปาเสม็ดที่นี่หนาตาเปนอยางไร แผนที่นี่ก็แผนที่ชุมชนธรรมดาไมใชแผนที่รังวัดขอบเขตครับไมไดมารังวัดเวนคืนที่ดินครับมาดูตนไมอยางเดียวครับ เดี๋ยวผมจะรายงานใหลูกพี่ผมทราบ และจะมาลงพื้นที่กันอีกครั้งครับ” พลางขยิบตากลมตี่ปกฉึกใสเพื่อนที่พยามเขาอกเขาใจอดีต อบต. เพื่อนผมมันขอมูลเยอะ รูวาเอกสารสิทธิชื่อแปลก ๆ อะไรมันเปนแบบไหนมีมวลชนเปนอยางมาก วาแลวก็ยกมือไหวร่ำลาทุกทานที่มาชุมนุมอยางนอบนอม “ขาวาแถบเสม็ดที่เราเห็นสวย ๆ กันวันนี้ เราอาจเปนคนสุดทายที่เห็นมันก็ไดนะ ถาคืนนี้มีคนเอาเลื่อยเขาดัน” “แกวาเรื่องไหนเศรากวากันวะ! ตนไมถูกตัด หรือชาวบานขายที่นาหมดที่ทำกินแลวนายทุนเปลี่ยนที่เปนสวนปาลม” “เฮย! แกเชื่อเหรอวา เปนที่นาเดิมหมด ไอตนเสม็ดที่เราเห็นกันเมื่อกี้ตนมันใหญมากเลยนะเวย” “เออวะ! แต growth rate ของเสม็ดมันสูงหรือเปลาวะ?” “สูงไมสูงไมรู แตที่วางแปลงวันนี้มันก็อายุไมนอยแลวละวะ” นี่เปนสวนหนึ่งของถอยสนทนาระหวางออกสำรวจที่อดเลาใหฟงไมไดตามที่สัญญากับตัวเองวาปนี้จะทำงานดวยมุมมองแบบสดชื่นแจมใสซาบซาเหมือนโซดาแชเย็นเขาไว ดังนี้แลวผมจึงพยามหากำรี้กำไรจากการทัศนาทิวทัศนสองขางทางอยางตั้งใจสุดขีด โอเมืองไทยของเรา ในน้ำยังมีปลาในนายังมีขาว ผมไดเห็นดงตาลที่หนาแนนที่สุดแถวอำเภอระโนด แสงอาทิตยยามเย็นฉาบไลดงตาล ฝูงวัวควายกลับคอก เห็นแลวสุดแสนจะโซมาติก (โซหิวโหย! บางวันเราไดกินขาวเที่ยงกันสี่โมงเย็น บางวันผมก็แกะลูกอมเคี้ยวแทนขาวจนปากพอง สามารถเตรียมหอขาวไดแตไมแมน เลยไมทำกัน จึงตองทำแมนแบบโซ ๆ และหิ้วทองอยางไมจำเปน อืมม! ไมตองชวยสมน้ำหนาหรอกครับ เรารูตัวดีวาทำอะไรลงไป ฮาฮา)73


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchถนนทางหลวงชนบทขามทะเลนอยทำเอาเคลิ้มวา ไดเห็นไบซันในทุงหญาแพรี่ของเยลโลสโตนอยางที่เห็นในรายการทีวีเลย แตที่นี่เปนวอเตอรบัฟฟาโลใน wet land ของแทบนถนนเขาก็จะทำที่ใหจอดรถดูทิวทัศนไดเปนจุด ๆ ตองขอชมเชยในความมีวิสัยทัศนของคนออกแบบถนนจริง ๆ ทิวทัศนของทุงสามรอยหกสิบองศาในหนึ่งเวลานั่น ภาพที่ผมเห็นคือหมูเมฆเลื่อมสีทั้งสวางเรืองรองและเลื่อมสีประภัสสรสะทอนแสงอาทิตยลาฟา ในขณะที่อีกฟากทุงเปนเมฆต่ำที่กำลังเปนฝนพรูสายลงสูโลก ไมไกลจากสะพานฝูงควายเดินทอดหุยเคลื่อนฝูงไปบนแผนดินชุมน้ำที่ดำดวยความอุดมสมบูรณสลับกับฝูงนกอีโกงที่ผกโผบินขึ้นฟาหนีควายบนถนน ความงามบวกกับสายลมออนในเวลานั้นทำใหไมเกรนแดดของผมทุเลาลง ใจกับกายที่ลาแรงผอนคลายขึ้น และชางเปนชวงเวลาที่นาเอาพวกขี้ฉอ ขี้เกียจ เซอซ้ำซาก ไปนั่งคุกเขาสำนึกผิดตอฟาดินเสียจริง อา! ไมใชครับมันเปนบรรยากาศของความสงบ ชวนหวังใหโลกมีสันติสุขดีกวา อธิษฐานสิจะ จบภาคลงสนามสำรวจพรุภาพตัดฉับไปที่โคงถนนยอดดอยจาก อ. แมสอด เขาอุมผาง ผมไมไดหายตัวมาหรอกครับ ขณะที่ผมกำลังยักแยยักยันตอสูกับแรงดูดของโคลนในปาพรุที่ไหนสักแหง ผมไดรับโทรศัพทจากสำนักงานใหเดินทางรวมตรวจประเมินเดินปากับลองแกงที่อุมผาง ภายใตเงื่อนไขราคาน้ำมันที่พรอมจะแตะหาสิบบาทไดทุกเมื่อ ทางเดียวกันตองไปพรอมกันนั่นครับผมจึงนั่งหัวสั่นหัวคลอนคอเคล็ดเขาอุมผางดวยรถตูที่ชำนาญเสนทาง หนึ่งพันสองรอยสิบเกาโคง74


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchในเวลาที่จำกัดเมื่อถึงที่นัดหมายเราก็เริ่มกระบวนการตรวจประเมินกันทันที อาว! ไมใชครับ พักกอนหนึ่งชั่วโมงเก็บขาวของเขาที่พัก รอใหผูประกอบการปรับปราณใหฟนจากไขออกมารับการตรวจประเมินเบื้องตนแลว เราก็เริ่มงานกัน (โอว! สไปรตลิตรของทั้งคนตรวจและถูกตรวจ ชางมีหลายขวดจริง ๆ) คืนนั้นผมกับเพื่อนผูตรวจเลยตองรับหนาที่ถายเทพลังปราณของเราใหผูประกอบการเสียหกขวด และสงกันนอนตอนหาทุมกวา โดยมีเวลานัดหมายเขาพื้นที่ในวันตอมาตอนเกาโมงเชา โดยคณะทำงานเปนนักทองเที่ยวเสมือนใหผูประกอบการเอาไปซอมดำเนินกระบวนการใหบริการในพื้นที่อาหารเชา “พี่อูด” เลี้ยงขาวตมนัยวาจะขอดูพลังจอมยุทธวา จะหมดแรงขาวตมที่ดอยมอนใด แตตัวพี่แกออกตั<strong>วว</strong>า พึ่งฟนไขขอกินขาวสวยที่พี่ยุยเตรียมใหดีกวา หลังอาหารเชา เราก็นั่งเกาะรถกระบะโงนเงนกระเดงกระดอนเขาส ูหมูบานอุมผางคี ทิวทัศนที่เขาหมูบาน ไมตางจากตามเสนทางที่เห็นเมื่อวาน ทุงขาวโพดสุดลูกหูลูกตาเทียมฟาเทียมเมฆ มันสวยก็จริงครับเปนความสวยเสียดแทงและนาเศราเสียดายปาไมเหลือเกิน นึกอีกทางก็ตองซูฮกใหความวิริยะอุตสาหพี่นองชนเผาของเราจริง ๆ “อายเหล็ก” ผูนำทางบอกกับเราวา “เปนมีกำแซว กั๋นวายางนี่ประมาทบะไดเนอ แลงถามีขอบกแหมอันนี้หนา” หมายความวา “อยาประมาท จอบในมือกะเหรี่ยงหนึ่งคนเปนอันขาด”ผานหมูบานกะเหรี ่ยง โอแมเจา! เสาเรือนและขนาดบาน สุดจะนาตื่นตาตื่นใจ บานเรือนเงียบเชียบ มีแตไกกับหมา บางบานที่มีคนอยูก็เปนแมกับลูก ยายกับหลานเล็ก ๆ “คนหนุมมีแฮงไปไฮกั๋นหมด” “อายเหล็ก” บอกเราขามลำหวยดวยสะพานไมตะเคียน สักประมาณสี่หาครั้งก็เขาหมูบานเปาหมาย พอรถจอดผมก็ชวนทุกคนกินขาวกลางวันเลยดีกวา เพราะหมดแรงขาวตมที่ “พี่อูด” จัดใหเปนอาหารมื้อเชาตั้งแตกิโลเมตรที่หกแลว ทุกคนเห็นดวยแตเราตองรีบทำงานเลยไมอนุมัติ75


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchหลังจากแจกกระติกน้ำแลว อายเหล็กคนรางเล็กพูดนอยก็ออกนำทาง ผานบาน ไตเนินสูงขึ้นไปเปนโรงเรียนของหมูบาน เสียงเด็กนักเรียนเจื้อยแจวกังวานทั่วเขา “พี่อูด” ชวน “พี่อัญ”ใหมาทำงานเก็บลูกบอลตกดอยใหเด็กนักเรียนที่นี่ พี่อัญสายหนาสวยหัวเราะกิ๊ก เราเดินบุกไรขาวโพดที่สูงเลยหัวกันสองสามทุง เขาเขตแนวปาทองธารน้ำขนาดเล็กในรองหุบขึ้นเขา พี่อูดก็ชวนดูตนไมใบหญาผีเสื้อที่แกรูจัก เรื่องเลาความเชื่อของปาให “พี่อัญ” กับ “พี่วรรณ” ฟงไปเรื่อยๆ อยางเวลาจะขามรั้วกั้นไรตองยกมือไหวขอขมา สวนผมกับ “คุณเอก” ก็บันเทิงกับดอกไมสีจัดบนพื้นดินพอเที่ยงกวากอนขามธารน้ำอุมผาง พี่อูดก็อนุญาตใหกินขาวกลางวันได ไชโย! ไดกินขาวเสียที ขณะนั่งพักแจกจายหอขาว “พี่วรรณ” กับ “พี่อัญ” ก็จูงมือกันลงลำธารไปสองตอสองแตโจงแจงในสายตาของเรา ภาพที่เห็นขางหนา โอ! ถาเปนภาพสาวกะเหรี่ยงขามน้ำนี่จะนาดูไมนอย (คุณรูไหมกะเหรี่ยงขามน้ำผาถุงไมเคยเปยก) แตที่มันอดเห็นไมได คือ หญิงเกินสาวสองคน เธอกำลังชวยกันเปดสอง ลวงควัก หาทากกันอยางตั้งอกตั้งใจ ชายหนุมบนฝงรีบพากันหันหลังใหลำธารอยางรักตัวกลัวตาโดนยิง ถนอมสายตาตัวเองไวกอนดีกวา!!!กินขาวเสร็จเราก็ม ุงหนาวนกลับหมูบาน ในเสนทางตองขามน้ำอีกหลายครั้งบางตอนของโคงน้ำ สายน้ำไหลเอื่อย บางตอนเปนแกงหินตื้น แตน้ำแรง ทรงตัวลำบากตำแหนงกอนหินลื่นเรียบใตน้ำถูกลวงตาจากการหักเหของแสงที่กระทบผิวน้ำ ทำใหกาวที่พยามย่ำลงบนพื้นทรายเงอะงะ และเหยียบพลาด ไมมีใครลื่นลมเปยกโชก แตทุลักทุเลเปยกมะลอกมะแลกกันเล็กนอยจนกระทั่งการขามน้ำครั้งที่ 4ผมกับ“พี่เหล็ก” ออกนำหนาผูรวมทางทั้งสี่คนมาถึงสะพานลำไผพาดขามลำน้ำบนตนไม ขามหวยมากอน ไมนานสมาชิกก็มาถึง ขบวนนักทองเที่ยวเสมือนเห็นสะพานลำไผก็ตื่นเตนอยากขาม! อยากขาม! วาแลวทั้งสามก็ไต ขึ้นไปออกันบนคอสะพานกันพรอมจะทิงนองนอย กิ้วกาว เตะทาถายรูป พี่เหล็กรองเสียงหลงกองตะโกนแขงกับเสียงน้ำไหลไมให76


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchขามพรอมกัน ทั้งสามทำหนาเหรอหรา ไดยินไมชัดหรอกครับ เสียงปาและน้ำไหลลงแกงกลบเสียงพี่แกหมด แตจากสีหนาทาทาง โบกมือสุดฤทธิ์ ทำใหทั้งสามพยักหนาเขาใจประกอบกับ”พี่อูด” ที่อยูบริเวณนั้นชวยสำทับอีกทาง จึงเปนที่เขาใจวาตองขามทีละคนอยางระมัดระวัง ตกลง“พี่อัญ” ขามมากอน ในขณะที่พี่เหล็กรีบลุย น้ำกลับไปชวยเหลืออำนวยความสะดวกใหอีกฝง“พี่อัญ” ขามเสร็จถึงตาของ “พี่วรรณ” ทันใดนั้นไมรูวาอะไรเกิดขึ้นเสียงไมหักผัวะ “พี่เหล็ก” รวงตกลงกนกระแทกกอนหินดวยทาเหยียดขานั่ง “พี่อัญ” รองกรี๊ด! ดังลั่นแตแกบอกวา “ไมเปนไร!”แลวก็ลุกขึ้นมัดเชือกกับไมตอ แตผมวา กระดูกกนกบและคางแกตองไมเห็นดวยกับปากที่แกบอกแน!พอหายตื่นเตนกันและไมขามสะพานปลอดภัยแลวก็ถึงคิว “พี่วรรณ” ขาม และแอ็กทากลางสะพานให ”พี่อูด” ชักภาพเปนที่ระลึก ในระหวางที่รอผมก็เลือกกอนหินแถวนั้น นั่งแกะ รองเทาเพื่อลางทรายออก (รองเทาเดินปาหุมขอไมเหมาะกับการเดินทองน้ำครับ เพราะเมื่อทรายเขาไปในรองเทาแลวไมวารองเทาจะดีจะแพงแคไหน ก็ตองเสียเวลาถอดเคาะทรายนั้นทิ้ง แตเหตุผลมันมีมากกวานั้นครับ) ในเวลาเดียวกันที่ “พี่วรรณ” กำลังเดินลงตามไมไผที่พาดเฉียงสูอีกฝงหนึ่งแกก็พลันลื่นปรึ๊ด! พรึ่บ! หลุดรวงไปอีกรายผมที่นั่งใสรองเทาใกลกับสะพานเห็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยางชนิดที่ตองใชภาษาวา ”จะจะคาตา” รางของแกไหลลื่นตามลำไผและตกอยางรวดเร็ว ตอนนั้นผมไมรูแกตกลงอยางไร แตที่ตาผมเห็นคือ คอแกเปนจุดที่ลงสูกอนหิน แบบเฮย! คอแยแน ตามดวยขาแกชี้ฟา และมวนลงน้ำตูม! เฮือก! แลวเรื่องสยองก็ดำเนินตอไป ผมที่นั่งตรงนั้นก็ผลุงตามลงไปที่จุดที่แกตกน้ำพี่แกชูมือตะเกียกตะกายหัวผลุบโผล น้ำเพียงอกที่ทำใหเบาใจวาอยางนอยก็ยืนได แตพอผมควาตัวแกจากดานหลังไดและยกขึ้นเหนือน้ำ กระแสน้ำในแกง พัดเราสองคน หลุดลอย ปรึ๊บ! ปรึ๊บ! ขึ้นลงไปตามน้ำ ตอนนี้คนวายน้ำเปนกับคนวายน้ำไมเปนเสมอกันครับ ผมทำอะไรไมไดนอกจากจะพยามยกตัว “พี่วรรณ” ขึ้นเหนือน้ำไวและพยามถีบตัวเขาฝง ยอมรับเลยครับวา ตอนนั้นในตัวผมนี่รองตะโกน “ชวยดวย!” สุดเสียงเลยแตไมยักกะมีเสียงลอดออกปาก ใจนี่ไมมีที่จะหายเลย นึกอยางเดียว...ฮาบะไคตาย!!!ชั่วจังหวะผมเห็นคนเสื้อสีดำตามมาควาตัว “พี่วรรณ” ได ผมปลอย “พี่วรรณ” แลวหาทางตะเกียกตะกายรักษาชีวิตใหรอดอยางสุดกำลัง รองเทาเปนสิ่งแรกที่ผมทั้งเตะและถีบอยากใหมันหลุดออกจากตัว ผมพยามโผควากอดกอนหินที่ปริ่มน้ำไว แตน้ำที่แรงพัดพาผมหลุดลอยปรึ๊บ! ปรึ๊บ! ออกไปอีกจน “พี่อูด” แกตามผมมาทันจากจุดที่แกอยูหางจากทุกคน ในที่สุดแกก็ลากผมขึ้นพาดบนกอนหินอยางวองไว พอเงยหนาขึ้นบนฝง ก็เห็น “คุณเอก” ยื่นไมผอม ๆ เล็ก โผลมาจากหินอีกกอน หนาตาซีดเซียว พลางบอก เอาคุณ! ไมจับไว คือ พอเห็นไมกับทาคุกเขายื่นสงใหนี่ ฮาเลยครับ!! ( นาเก็บไมมาเปนที่ระลึกมาก)77


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):71-78 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):71-78สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchพอจัดการลากทุกคนออกธารน้ำไดผมก็ลงเลงสลายบรรยากาศเฉียด... ใหดูฮากับเรื่องที่เพิ่งเกิดขึ้น แตผมแนใจวาใจ “พี่อูด” กับ “พี่วรรณ” นี่ทาจะไมตางกันจากนั้นเราก็เรงเดินกลางฝนโปรยเขาหมูบาน คืนนั้นเราพูดถึงเรื่องหลายเรื ่อง รวมทั้งเรื่องที่ “พี่อูด” เลาใหฟงตอนเริ่มออกเดินวา ปกตินักทองเที่ยวจะใสเสื้อชูชีพเดินปา เพราะตองขามน้ำบอยเปนแครอทแขนกาง ไมนึกเลยวา นักทองเที่ยวเสมือนของกลุมผมที่ไมไดมาทองเที่ยวในหนาน้ำเพื ่อเดินปาลองแกงอยางพวกเขาตองเปนกลุมที่ควรมี “ชูชีพดวย” “นองดา” ใหความเห็นกับเรื่องนี้วา เทียบกับการลองแกงที่ดูเปนกิจกรรมเสี่ยงภัยมากกวา แตมันก็ถูกจัดการความเสี่ยงดวยอุปกรณและจำกัดในเวลาที่ลงเรือเทานั้น แตเดินปานี้เรียกวาทุกขณะเวลาในการทำกิจกรรมที่ดูเหมือนไมมีเรื่องเสี่ยงภัยที่นาเกิดขึ้นได กลับพรอมที่จะมีเรื่องที่ไมคาดหมายเกิดขึ้นไดตลอดเวลาจุดที่ตกน้ำกับจุดที่พี่อูดกับพี่เหล็กลากผมกับพี่วรรณขึ้นนั้นระยะทางไมไกลครับ นาจะสักสิบเมตร แตในเวลาและอัตราเร็วของน้ำกับเหตุการณที่เกิดขึ้นมันมากพอที่จะทำใหคนอยางผมรูสึกซาบซึ้งกับชีวิตที่ไดหายใจเปนปกติของตัวเองมากขึ้นผมก็อยากรูวาจากนั้นใครรูสึกอะไรกันบาง ผมนั้นเมื่อกลับมาบานผมพยามทำตัวเปนคนมีศีลธรรมขึ้นเยอะครับ เพราะเรื่องนี้เปนเรื่องประเภทที่วา เมื่อนั่งนึกถึงมันเปนภาพที่นากลัวเรื่องหนึ่งระดับท็อปไฟวในการดำรงอยูอยางคนเฮี้ยน ๆ ของผมบนโลกนี้เลยทีเดียวสงกันทายเลม :ปาพรุ พบกระจายในพื้นที่ที่มีฝนชุกและเปนพื้นที่ลุมต่ำหรือมีสภาพเปนแองน้ำขัง มีการสะสมของชั้นอินทรียวัตถุหรือดินอินทรียที่หนามากหรือนอยอยูเหนือชั้นดินแท พืชพรรณสวนใหญมีโครงสรางพิเศษเพื่อดำรงชีพในสภาพสิ่งแวดลอม ที่ดินมีสภาพเปนกรดและไมคงตัว เชน โคนตนมีพูพอนระบบรากแกวสั้น แตมีรากแขนงแผกวางแข็งแรง มีระบบรากพิเศษหรือระบบรากเสริม เชน รากค้ำยัน (buttress root หรือ stiltroot) ออกตามโคนตน ในพื้นที่ที่ถูกรบกวนดวยการแผวถางและมีไฟเขาเปนประจำ ตนเสม็ดจะขึ้นเปนไมเดนของสังคมปา78


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):79 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):79สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchบันทึกสงทายกวาจุลสาร<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong>ปที่ 2 ฉบับที่ 2 จะออกมาไดก็เลนเอาเหนื่อยกันทุกคน และลาชาพอสมควร เพราะเปนฉบับแรกที่มีบทคัดยอภาษาอังกฤษ จึงอาจขลุกขลักบาง ฉบับหนาคาดวาทุกอยางนาจะลงตัวและคาดวาสามารถออกตามกำหนดเดิมไดที่ผานมาทางกองบรรณาธิการไดรับขอเสนอแนะที่เปนประโยชนจากสมาชิกและผูอานที่ตองขอเอยนาม คือ คุณ Philip D. Round ไดแจงมาวา มีการพิมพผิดพลาดในบทความ เรื่องกบเขาสอยดาว ควรใชชื่อวิทยาศาสตรชื่อใด? ในจุลสาร ปที่ 2 ฉบับที่ 1 หนา 12 ซึ่งไดอางอิงถึง Doyl Dhaman แตเปนชื่อที่สะกดผิด ชื่อที่ถูกตอง คือ Doyle Damman และยังไดพบการพิมพผิดพลาดในจุลสารฉบับเดียวกัน หนา 62 คำวา Nactarinia ซึ่งที่ถูกตองคือ Nectariniaนอกจากนี้คุณ Phil ยังไดชี้ใหเห็นขอบกพรองในการอางอิงในบทความ ในจุลสาร ปที่ 1 ฉบับที่2 เรื่อง “นกเดาลมแมน้ำโขง (Motacilla samveasnae) นกชนิดใหมของโลกกับรายงานอีกครั้งในรอบ 34 ปของไทย” ทางกองบรรณาธิการตองขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้นอกจากนี้ยังพบขอมูลผิดพลาดที่ปรากฏใน “บันทึกสงทาย” ของฉบับที่ 1 ปที่ 2ยอหนาที่ 3 ที่ระบุวา “ในจุลสาร<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 1 ฉบับที่ 2 หนา 14-16 ที่ระบุถึงหญางวงชางดอกขาว (Heliotropium sp.) สำรวจพบโดย ดร. ศิริพร ซึงสนธิพร ที่ จ. เพชรบูรณนั้น ไดรับการจำแนกชนิดเปน H. lasiocarpum Fisher & C.A. Mayer” นั้น เปนขอมูลมี่คลาดเคลื่อนเพราะปจจุบันยังไมสามารถระชนิดของหญงวงชางดอกขาวไดสวนขอความที่ถูกตอง คือ “ในจุลสาร<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 1 ฉบับที่ 1 หนา 20-21ตามที่ ดร. ศิริพร ซึงสนธิพร นักวิชาการจากกลุมวิจัยวัชพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืชกรมวิชาการเกษตร ไดรายงานวา พบผักแวน (Marsilea sp.) ผักพื้นเมืองจาก จ. ปราจีนบุรี ซึ่งยังไมสามารถระบุชนิดที่แนนอนได ตอมาไดทำการตรวจสอบชนิดแลวพบวา เปนชนิดM. scalaripes D.M. Johnson และเปนพรรณไมชนิดใหมของไทย (new record) โดยใชชื่อภาษาไทยวา “ผักแวนใบมัน” จุลสาร<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong>ฉบับที่เปนอิเลคทรอนิกสจะใชขอความที่ถูกตองดังกลาวแทนฉบับนี้ไดพิมพออกมาลาชากวาที่คิด จวบจวนเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 ยังไมไดรับการตีพิมพ จนกระทั่งวันที่ 12 กันยายน 2551 อาจารยจารุจินต นะภีตะภัฏ ซึ่งเปนหนึ่งในที่ปรึกษาของจุลสารเลมนี้ไดเสียชีวิตลง จุลสารเลมนี้จึงเปนเลมสุดทายที่อาจารยจารุจินตไดตรวจทานและปรับแก กองบรรณาธิการจึงไดเพิ่มหนาอีก 2 หนาเพื่อเขียนบทความนอมรำลึกถึงพระคุณอาจารย ผูที่ใหขอเสนอแนะในการริเริ่มจัดทำจุลสาร “หมายเหตนิเวศวิทยา” ทางกองบรรณาธิการจึงขอไวอาลัยแดอาจารยจารุจินต นภีตะภัฏ ที่จากไปอยางไมมีมีวันกลับ79


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):80-81 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):80-81สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological ResearchจารุจินตนภีตะภัฏJarujin NABHITABHATAนกกระเต็นเฮอรคิวลิส (Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules)Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules (Coraciiformes: Alcedinidae)งูลายสอจุดเหลืองYellow-spotted mountain stream snake (Serpentes: Colubridae:Natricinae)ปลาตีนใหญอันดามัน (Periopthalmus walailakae)Walailak's mudskipper (Gobiidae: Oxudercinae)คางคาวยอดกลวย (Kerivoula spp.) ชนิดใหมของไทยTwo new records of Thai Kerivoula (Chiroptera: Vespertilionidae)แหลงแพรกระจายแหงใหมของคางคาวปกขนใหญ (Harpiocphalusmordax) ในประเทศไทยNew locality of Harpiocephalus mordax (Chiroptera:Vespertilionidae) in Thailandจิ้งเหลนหวยเขมร Tropidophorus microlepis Gunther,1861 จากภาค ตะวันออกของประเทศไทยOn the Khao Sebab water skink (Tropidophorus microlepis Gunther,1861) in Eastern Thailandพบงูปลองฉนวนเขมร (Lycodon cardamomensis Daltry andWuster, 2002) ที่จังหวัดชลบุรีNew distributional records for Lycodon cardamomensis Daltry &Wuster, 2002 (Ophidia: Colubridae) in Chon Buri province,Thailandงูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi (Schulz& Helfenberger, 1998)) รายงานแรกจากจังหวัดพิษณุโลก NewRecord of Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger,1998) (Serpentes: Colubridae) from Pitsanulok Province,Thailandพบถิ่นอาศัยใหมของกบดอยชาง (Nanorana aenea) และภัยคุกคามที่ยังดำรงอยูA new locality of Nanorana aenea (Amphibians: Anura:Dicroglossidae) and their threatened factorsพฤติกรรมการปองกันศัตรูของอึ่งกรายขางแถบ (Brachytarsophryscarinensis)Self-defence techniques of the Burmese Horned FrogBrachytarsophrys carinensis (Anura: Megophryidae)ปลาหมอแคระ (Badis spp.) ที่พบในประเทศไทยBadis spp. (Perciformes: Actinopterygii: Badidae) of Thailandพฤติกรรมการปองกันอาณาเขตของแมลงปอเข็มภูเขาหางสม(Rhinagrion mima)Territory defending of Rhinagrion mima (Insecta: Odonata:Megapoagrionidae) and other damselflies in ThailandArticle Reviewer’s Creditsความสัมพันธระหวางมด Polyrhachis สกุลยอย Myrmhopla กับมดสกุล Diacamma ในดินSocial Relationship between two subgenera of subterranean ants;Myrmhopla and Diacamma (Hymenoptera: Formicidae)ชี<strong>วว</strong>ิทยาวิทยาการสืบพันธุของตั๊กแตนตำขาวดอกไม Creobrotergemmatus Stoll แมลงตัวห้ำสวยงามในธรรมชาติReproductive biology of Flower Mantids Creobroter gemmatusStoll (Insecta: Dictyoptera: Hymenopodidae), a colorful predatorการลาเหยื่อของแมงมุมปูเขียว Green Crab Spider (Oxytate sp.)Predation of Green Crab Spider (Insecta: Araneae: Thomisidae)...43ปูแสมแหงหาดปะการัง (Metasesarma obesum) กับรายงานการพบครั้งแรกในประเทศไทยThe sesarmid crab Metasesarma obesum (Crustacea: Decapoda:Sesarmidae) of coral rubble beach, the new record of Thailandหอยทากอำพันอินโดจีนแหงภาคตะวันออก (Indosuccinea sp.)New genus record of Amber snails (Gastropoda: Stylommatophora:Succineidae) in Thailandแหลงแพรกระจายแหงใหมในประเทศไทยและนิเวศวิทยาบางประการของหอยเม็ดมะคา Pollicaria myersii (Haines, 1855)New localities of Land operculate snail Pollicaria myersii(Gastropoda: Mesogastropoda: Diplommatinidae) in Thailand andnotes on some their ecologyปลาหมึกผาหม Tremoctopus violaceus cf. gracilis พบครั้งแรกในนานน้ำไทยFirst Record of Blanket Octopus Tremoctopus violaceus cf. gracilis(Octopoda: Tremoctopodidae) in Thai Watersพบมะยมหยักที่เขาวง จังหวัดระยองSauropus suberosus Airy Shaw (Euphobiaceae): a new localityrecord for Thailandสมลม ดอกมีหลายสีCorolla coloration of Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire(Apocynaceae)ตามหาพรหมขาว Mitrephora alba Ridl. บนเกาะสมุยRediscovery of Mitrephora alba Ridl. (Annonaceae) in Ko Samui,Thailandชวลิต วิทยานนทChavalit VIDTHAYANONปลาตีนใหญอันดามัน (Periopthalmus walailakae)Walailak's mudskipper (Gobiidae: Oxudercinae)ปลาหมอแคระ (Badis spp.) ที่พบในประเทศไทยBadis spp. (Perciformes: Actinopterygii: Badidae) of Thailand80


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):80-81 cological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):80-81สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchธัญญา จั่นอาจ Dhanya CHAN-ARDพฤติกรรมการปองกันศัตรูของอึ่งกรายขางแถบ (Brachytarsophryscarinensis)Self defending techniques of Burmese Horned Frog: Brachytarsophryscarinensis (Anura: Megophryidae)ปยะ เฉลิมกลิ่น Piya CHALERNKLINพบมะยมหยักที่เขาวง จังหวัดระยองSauropus suberosus Airy Shaw (Euphobiaceae); a new localityrecord for Thailand.สมลม ดอกมีหลายสีCorolla coloration of Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire(Apocynaceae)ตามหาพรหมขาว Mitrephora alba Ridl. บนเกาะสมุยRediscovery of Mitrephora alba Ridl. (Annonaceae) in Ko Samui,ThailandOlivier S.G. PAUWELSงูลายสอจุดเหลืองYellow-spotted mountain stream snake (Serpentes: Colubridae:Natricinae)จิ้งเหลนหวยเขมร Tropidophorus microlepis Gunther,1861 จากภาคตะวันออกของประเทศไทยOn the Khao Sebab water skink (Tropidophorus microlepis Gunther,1861) in Eastern Thailandพบงูปลองฉนวนเขมร (Lycodon cardamomensis Daltry & Wuster,2002) ที่จังหวัดชลบุรีNew distributional range of Lycodon cardamomensis Daltry & Wuster,2002 (Ophidia: Colubridae) in Chon Buri province, Thailand.งูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi (Schulz &Helfenberger, 1998)) รายงานแรกจากจังหวัดพิษณุโลกNew Record of Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger,1998) (Serpentes: Colubridae) from Pitsanulok Province, Thailandพบถิ่นอาศัยใหมของกบดอยชาง (Nanorana aenea) และภัยคุกคามที่ยังดำรงอยู A new locality of Nanorana aenea (Amphibians:Anura: Dicroglossidae) and their threatened factorsPhilip D. ROUNDนกกระเต็นเฮอรคิวลิส (Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules)Blyth's Kingfisher: Alcedo hercules (Coraciiformes: Alcedinidae)งูลายสอจุดเหลืองYellow-spotted mountain stream snake (Serpentes: Colubridae:Natricinae)คางคาวยอดกลวย (Kerivoula spp.) ชนิดใหมของไทยTwo new records of Thai Kerivoula (Chiroptera: Vespertilionidae)แหลงแพรกระจายแหงใหมของคางคาวปกขนใหญ (Harpiocphalusmordax) ในประเทศไทยNew locality of Harpiocephalus mordax (Chiroptera:Vespertilionidae) in Thailandงูทางมะพราวแดงภูหลวง (Oreophis porphyraceus coxi (Schulz &Helfenberger, 1998)) รายงานแรกจากจังหวัดพิษณุโลกNew Record of Oreophis porphyraceus coxi (Schulz & Helfenberger,1998) (Serpentes: Colubridae) from Pitsanulok Province, Thailand81


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):82-83 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):82-สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย 83Thailand Institute of Scientific and Technological Researchนอมรำลึกอาจารยจารุจินต นภีตะภัฏ13 กันยายน พ.ศ. 2551 ขณะที่ปฏิบัติงานภาคสนามที่ จ. ภูเก็ต ผมไดรับโทรศัพทจาก “พี่ตอย” คุณศุภชัย สิทธิเลิศ อดีตรองผูอำนวยการ องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) และเปนอดีตพนักงานของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (<strong>วว</strong>.) “พี่ตอย” ถามวา “สุรชิต ทราบขาวจารุจินตหรือยัง?” ตอนนั้นก็ยังงง ๆ อยูเหมือนกันเพราะเปนครั้งแรกที่ “พี่ตอย” โทรฯ หาผม ผมก็ตอบไปตามตรงวา “ยังไมทราบครับ มีอะไรหรือเปลา?” พี่ตอยจึงแจงขา<strong>วว</strong>า “ตอนนี้จาจุจินตเสียแลวนะ”ขาวจาก “พี่ตอย”ทำเอาผมถึงกับ มึน งง และสงสัย วาไมนาเปนไปได? เพราะไดไปพบอาจารยและไดพูดคุยกับอาจารยกอนเดินทางมา จ. ภูเก็ตเพียง 2 วัน ซึ่งสุขภาพของอาจารยก็แลดูดีมาก ไมแสดงอาการเจ็บไขไดปวย แตเมื่อคิดอีกที “พี่ตอย” ซึ่งเปนผูใหญที่นับถือ ไมนามาลอกันเลนเรื่องแบบนี้ ดังนั้นจึงไดสอบถามรายละเอียดจากคนที่ใกลชิดอาจารยและไดทราบขาวที่ไมนาจะเกิดขึ้นวา อาจารยจารุจินต ไดเสียชีวิตแลวจริง ๆยอนหลังไปราวป พ.ศ. 2530 ซึ่งเปนครั้งแรกที่ไดรูจักอาจารยจารุจินต ที่คณะวนศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เนื่องจากอาจารยเปนผูเชี่ยวชาญทางดานสัตวปาที่ ผศ. ดร. ชุมพลงามผองใส (ปจจุบันเสียชีวิตแลว) ไดเชิญมาเปนอาจารยสอนพิเศษใหแกนิสิตคณะวนศาสตร ที่เลือกเรียนเอกวิชา “การจัดการสัตวปา” และยังมีกิจกรรมพิเศษของนิสิตในวันเสาร โดยการฝกหัด”ดูนก” ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยอาจารยจารุจินตเขารวมในกิจกรรมดังกลาวดวยอีกทั้งไดมีโอกาสไดติดตามอาจารยไปเก็บขอมูลในภาคสนามในชวงปดภาคเรียน จึงไดคุนเคยกับอาจารยตั้งแตนั้นเปนตนมาจนกระทั่งไดศึกษาตอในระดับปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ที่คณะวนศาสตร อาจารยจารุจินตก็เปนหนึ่งในคณะกรรมที่ปรึกษา จึงไดคุนเคยกับอาจารยมากยิ่งขึ้น หลังจากที่ผมเรียนจบแลวอาจารยไดชวนใหมาทำงานรวมกันที่ <strong>วว</strong>. จึงไดรวมทำงานดวยกันตั้งแตป พ.ศ. 2535 เปนตนมา ซึ่งเปนโอกาสที่ดีมากที่ไดศึกษาเรียนรูและสั่งสมประสบการณทางดานสัตวปาจากอาจารยโดยตรงในธรรมชาติและการรับคำแนะนำในฐานะผูรวมงานณ วันนี้ อาจารยจารุจินต นภีตะภัฏ ไดจากไปแลว แตผลงานของอาจารยที่ผานมาไดกระตุนใหคนรุนใหมสนใจศึกษาทางดานสัตวปาเพิ่มมากขึ้น ดวยคุณความดีของอาจารยที่อุทิศใหแกวงการการศึกษาดานสัตวปาของประเทศ ชื่อของอาจารยจะไดรับการจารึกและจดจำตลอดไป และขอใหดวงวิญญาณของอาจารยไปสูสุขคติในสัมปรายภพเทอญ82ดวยความรำลึกจาก สุรชิต แวงโสธรณ


<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):82-83 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):82-สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย 83Thailand Institute of Scientific and Technological Researchดร. จารุจินต นภีตะภัฏชาตะ: วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2493มรณะ: วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2551ประวัติการศึกษาประถมตน: โรงเรียนอักษรเจริญ (พ.ศ. 2498-2500 )ประถมปลาย: มัธยมโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ( พ.ศ. 2501-2510 )วท.บ. ( กีฏวิทยา ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2514วท.ม. ( สัต<strong>วว</strong>ิทยา ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2522วท.ด. ( กิตติมศักดิ์ ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2547


อึ่งกรายขางแถบBrachytarsophrys carinensisปลาหมอแคระขี้เซาBadis siamensisแมงมุมปูเขียวOxytate sp.ปูแสมปะการังMetasesarma obesumหอยทากอำพันอินโดจีนIndosuccinea sp.ความสัมพันธระหวางมด Polyrhachis สกุลยอย Myrmhopla กับมดสกุล Diacamma ในดิน Social Relationship between two subgeneraof subterranean ants; Myrmhopla and Diacamma (Hymenoptera:Formicidae)....................................................................................................................37ชี<strong>วว</strong>ิทยาวิทยาการสืบพันธุของตั๊กแตนตำขาวดอกไม Creobrotergemmatus Stoll แมลงตัวห้ำสวยงามในธรรมชาติ Reproductive biologyof Flower Mantids Creobroter gemmatus Stoll (Insecta: Dictyoptera:Hymenopodidae), a colorful predator...........................................................40การลาเหยื่อของแมงมุมปูเขียว Green Crab Spider (Oxytate sp.)Predation of Green Crab Spider (Insecta: Araneae: Thomisidae)...43ปูแสมแหงหาดปะการัง (Metasesarma obesum) กับรายงานการพบครั้งแรกในประเทศไทย The sesarmid crab Metasesarma obesum(Crustacea: Decapoda: Sesarmidae) of coral rubble beach, the newrecord of Thailand....................................................................................................46หอยทากอำพันอินโดจีนแหงภาคตะวันออก (Indosuccinea sp.) Newgenus record of Amber snails (Gastropoda: Stylommatophora:Succineidae) in Thailand.......................................................................................50แหลงแพรกระจายแหงใหมในประเทศไทยและนิเวศวิทยาบางประการของหอยเม็ดมะคา Pollicaria myersii (Haines, 1855) New localitiesof Land operculate snail Pollicaria myersii (Gastropoda:Mesogastropoda: Diplommatinidae) in Thailand and notes on sometheir ecology................................................................................................................55ปลาหมึกผาหม Tremoctopus violaceus cf. gracilis พบครั้งแรกในนานน้ำไทย First Record of Blanket Octopus Tremoctopus violaceus cf.gracilis (Octopoda: Tremoctopodidae) in Thai Waters..........................57พบมะยมหยักที่เขาวง จังหวัดระยอง Sauropus suberosus Airy Shaw(Euphobiaceae): a new locality record for Thailand.............................60สมลม ดอกมีหลายสี Corolla coloration of Aganonerion polymorphumPierre ex Spire (Apocynaceae).........................................................................62ตามหาพรหมขาว Mitrephora alba Ridl. บนเกาะสมุย Rediscovery ofMitrephora alba Ridl. (Annonaceae) in Ko Samui, Thailand...........64มาดูผีเสื้อกันเถอะ.........................................................................67จากปาพรุถึงยอดดอย..........................................................................71บันทึกสงทาย........................................................................................79Article Reviewer’s Credits...................................................................80นอมรำลึกอาจารยจารุจินต...................................................................................82ไมถึงผูรับโปรดสงคืนฝายเทคโนโลยีแวดลอมสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (<strong>วว</strong>.)196 ถ. พหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900ตามหาพรหมขาวMitrephora alba

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!