11.07.2015 Views

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

หมายเหตุนิเวศวิทยา - วว.

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>หมายเหตุนิเวศวิทยา</strong> ปที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551):37-39 Ecological Notes, Vol.2, No.2 (Apr.-Jun. 2008):37-39สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Thailand Institute of Scientific and Technological Researchมดสกุลหนามคู (Diacamma) ภาพโดย พรเพ็ญ โกศลปญญาภิวัฒนAn ant genus Diacamma Photo by Pornpen Kosonpanyapiwatอาณาเขตรวมกันโดยไมทำอันตรายหรือแกงแยงกัน ถือเปนการคนพบการอยูรวมกันของมดทั้งสองชนิดนี้ครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งคลายกับที่ Maschwitz et al. (2004) พบมดหนามกระทิง(Polyrhachis lama) อาศัยอยูในรังของมดหนามคูในประเทศอินโดนีเซียจากการสังเกตในธรรมชาติ มดทั้ง 2 ชนิดนี้มีลักษณะทั่วไปคลายกันมาก โดยมีลำตัวสีดำ และมีรูปแบบการเดินใกลเคียงกัน ผูเขียนเขาใจวา มดหนามกระทิงสกุลยอย Myrmhoplaซึ่งปกติสรางรังเหนือพื้นดิน (Liefke et al., 1998) เลียนแบบมดหนามคูเพื่อความอยูรอดโดยปรับตัวสรางรังอยูในดินและมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางใหคลายกับมดหนามคูมากที่สุด ซึ่งสัตวผูลากลุมตาง ๆ เชน สัตวเลื้อยคลาน สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก สัตวปก ไมกลาจับกินเปนอาหาร เนื่องจากคิดวาเปนมดหนามคูซึ่งเปนมดที่มีพิษ การที่มดทั้งสองชนิดอยูดวยกันไดนั้น อาจเนื่องมามดหนามกระทิง (Polyrhachis สกุลยอย Myrmhopla) ภาพโดย พรเพ็ญ โกศลปญญาภิวัฒนPolyrhachis, sungenus Myrmhopla Photo by Pornpen Kosonpanyapiwat38

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!