12.07.2015 Views

Form follows material - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Form follows material - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Form follows material - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

แนวทางการออกแบบรูปทรงโดยอิงวัสดุ“<strong>Form</strong> <strong>follows</strong> <strong>material</strong>”นำไม้ออกมาจัดวางในแม่พิมพ์เหล็ก แล้วปล่อยให้ไม้ค่อยๆ แห้งตัวลงที่อุณหภูมิ70 องศาเป็นเวลานาน 20 ชั ่วโมง จากนั ้นนำท่อนไม้ที ่ถูกดัดได้รูปทรงตามต้องการแล้วมาประกอบกันเป็นเก้าอี้ เก้าอี้ของ Thonet มีรูปทรงเพรียว ดูทันสมัยและมีน้ำหนักเบาต่างจากเก้าอี้ไม้อื่นๆ ที่ถูกผลิตในสมัยนั้นโดยสิ้นเชิง ถือเป็นนวัตกรรมการออกแบบเครื่องเรือนที่ดูเรียบง่าย แต่มีความใหม่ไม่ซ้ำใครจนได้รับการยกย่องเป็นผู้นำการผลิตเครื่องเรือนสมัยใหม่ด้วยเทคนิคการผลิตกึ่งอุตสาหกรรมกึ่งงานฝีมือภาพที่ 1: Vienna Caf chair no. 14 ออกแบบโดย Michael Thonetการค้นพบเทคนิคไม้อัดดัด (molded plywood) โดยบริษัทผู้ผลิตไม้อัดสัญชาติอเมริกันระหว่างการผลิตสินค้าให้กับกองทัพเรืออเมริกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2ทำให้เกิดเครื ่องเรือนที ่มีรูปทรงใหม่เช่น “Ant chair” ออกแบบโดย Arne Jacobsonนักออกแบบชาวสแกนดิเนเวียน ในปี ค.ศ. 1952 เช่นเดียวกับการค้นพบวัสดุใหม่ที่มีส่วนผสมของพลาสติกและไฟเบอร์กลาสในช่วงทศวรรษที่ 1950 เครื่องเรือนชิ ้นแรกที ่ผลิตโดยใช้วัสดุนี ้ คือ Shell chair ออกแบบโดย Charles Eames ซึ ่งถือเป็นต้นแบบของเครื่องเรือนช่วง Mid century modern จะเห็นได้ว่า วัสดุและเทคนิคการผลิตใหม่ทั้งสองประเภทนี้ ทำให้สามารถขึ้นรูปที่นั่งและพนักพิงของเก้าอี้ให้เป็นชิ้นเดียวกันที่รองรับสรีระของผู้นั่งได้พอดีโดยไม่มีรอยต่อของวัสดุ และได้เก้าอี้ที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัว คือ เบา ทนทานและเก็บซ้อนกันได้ ซึ ่งต่างจากเก้าอี ้ที ่ถูกผลิตในช่วงเวลาก่อนหน้านั้น20

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!