12.07.2015 Views

คลิกเพื่อดาวน์โหลด - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คลิกเพื่อดาวน์โหลด - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คลิกเพื่อดาวน์โหลด - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การศึกษาบัลเลต ณ <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>An Educational in Ballet at Mahasarakham Universityพีรพงศ เสนไสย 1 Peerapong Sensai 1บทคัดยอบัลเลต เปนศิลปะการแสดงจากภูมิปญญาตามแบบชนชาติตะวันตกชนิดหนึ่งซึ่งอาศัยการเคลื่อนไหวดวยพลังความเขมแข็ง ของขา และปลายเทา ทั้งการหมุน การกระโดดโลดแลนใหเกิดความพลิ้วไหว นุมนวลราวกับนกกางปกรอนกลางอากาศ เลนกันเปนเรื่องราวมากมายหลายเรื่องปราศจากบทพูดหรือเสียงรองของนักแสดง บัลเลต เขียนเปนภาษาอิตาลีวา “Ballo” ซึ่งหมายถึงศิลปะการเตนรํา Ballo หรือ Ballet กําเนิดขึ้นในแผนดินอิตาลี เฟองฟูและพัฒนาการในประเทศฝรั่งเศส จนเกิดเปนแบบแผนการแสดงในปจจุบัน ยุคเรเนซอง (Renaissance) หรือยุคแหงการฟนฟูศิลปะและวิทยาการในชวง ค.ศ. 1300-1600 บัลเลตไดแพรหลายและเปนที่นิยมทั่วภูมิภาคยุโรปและเอเชีย ตั้งแตป 2491 พบการเรียนการสอน การเลนละคร และการเตนบัลเลตขึ้นในการละครไทย ณ โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร (วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร) กรุงเทพมหานคร ตอมา มิสซิสโกลสติน ชาวเปอรเซียไดติดตามสามีเขามาในประเทศไทยและไดเปดสอนบัลเลตขึ้นในกรุงเทพมหานคร และในป 2497 คุณหญิงเจเนเวียฟ เรสปลยอล เดมอน ติดตามสามีเขามาทํางานใหกับสถานทูตอเมริกาในประเทศไทย ไดสานตอและไดเปดโรงเรียนสอนบัลเลตของตนเองตราบปจจุบัน พ.ศ. 2540 <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>เปดสอนหลักสูตรการเรียนการสอนดานบัลเลตภายใตหลักสูตร ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก สังกัดภาควิชาทัศนศิลปและศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร และแยกตัวเปนโครงการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร และแยกตัวเปนเอกเทศเปน คณะศิลปกรรมศาสตร เมื่อ พ.ศ. 2546 ในที่สุดและเปลี่ยนชื่อองคกรเปนกลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดงในป พ.ศ. 2547 โดยมีอาจารยศิริมงคลนาฏยกุล เปนอาจารยสอนบัลเลตคนแรก และมีอาจารยพีระ พันลูกทาว บรรจุในตําแหนงพนักงานวิชาการ เมื่อป 2544 บทพิสูจนประสิทธิภาพของนิสิตกอนสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร คือ การสอบศิลปนิพนธทางนาฏยศิลป (โครงการนาฏยนิพนธ) Dance Thesis-------------------------------1อาจารย, กลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>, ประเทศไทย1Instructor in Divition of Performing Arts. Faccuty of Fine and Applied Art MahasarakramUniversity, Thailand. E-mail : jakaphat@hotmail.com


คําสําคัญ : การศึกษา, บัลเลต, <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>AbstractBallet is the arts of performing arts was created by an intellectual of westerners. Thecharacteristic of Ballet will show on the movement to avoid of the gravity by, point of foots andthe power of legs as like as high jumping, turn of the body by stronger of foots. Ballet wasoriginated in The Court of Italy, in 1300-1600 B.C. and development by an artists inRenassance’s age in France. Through popular and propagated around Europe, Eastern, and Asiaconcluded Thailand too.Mahasarakham University was established in 1968, Western Dance’s curriculum wasstarted in Bachelor Degree in Ballet Program by Division of Performing Arts Faculty of Fine andApplied Arts in 1997. Ballet students have to study at least 141 credits which they’re have tolearn following as the University regulations. Practice in Ballet class and also studies following inDance’s curriculum as for example, Thai dance, Folk dance, Oriental dance, Computer for dance,Dance research, Dance Forum, Seminar in dance, Dance analysisi, Stage craft, Stage PrincipleDesign, Costume and Make Up Design. Exactly, they have to participate in all dance’s activitiesaround University and Thailand in the meantime. Since 1997-2000, all alumni was graduated as 5generations which including 12 persons. All alumni are renown in Dance’s social in Thailand thatthey’re still working in a science in performing arts like as a creative director, choreographer,stage manager and designer, dancer, an actor. Especially, as well as Ballet teacher in Thailand.Nowadays, Ballet’s students at Division of Performing Arts of MSU have more 40 person and 2instructors that is Mr. Sirimongkol Nattayakul who was graduated in Ballet Program and M.A. inThai dance Program from Chulalongkorn University, Bankok Thailand and Mr. PeeraPhanluktoaw who was received graduated in Ballet at Mahasarakham University and also Theschool of choreography in Uzbakistan, Russia too. Both of them are important person whoestablished and development Ballet of Mahasarakham UniversityKeywords : Educational, Ballet, Mahasarakham University


การศึกษาบัลเลต ณ <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>บัลเลต เปนศิลปะการแสดงจากภูมิปญญาตามแบบชนชาติตะวันตกชนิดหนึ่งซึ่งอาศัยการเคลื่อนไหวดวยพลังความเขมแข็ง ของขา และปลายเทา ทั้งการหมุน การกระโดดโลดแลนใหเกิดความพลิ้วไหว นุมนวลราวกับนกกางปกรอนกลางอากาศ เลนกันเปนเรื่องราวมากมายหลายเรื่องปราศจากบทพูดหรือเสียงรองของนักแสดง หากแตดําเนินทวงทานานาประกอบกับเสียงของดนตรีอันไพเราะ ทวา ผูแสดงจําตองอาศัยประสบการณ และทักษะในการฝกซอมอยางเหลือลน กวาจะทําใหเกิดเปนประติมากรรมเคลื่อนที่ใหไดชื่นชม และนาอัศจรรยใจในปจจุบัน บัลเลต เอกลักษณตามแบบตะวันตกมีประวัติความเปนมายาวนาน ดวยหลักฐานปรากฏมาตั้งแตเมื่อครั้ง 1,400 ป มาแลวบัลเลต เขียนตามแบบอักษรชาติอังกฤษไดวา Ballet และออกเสียง และเขียนตามแบบฉบับตนกําเนิดเปนภาษาอิตาลีวา “Ballo” ซึ่งหมายถึงศิลปะการเตนรํา Ballo หรือ Ballet อุบัติขึ้นในแผนดินอิตาลี ซึ่งเปนยุคสมัยที่ชนชาติตะวันตกเรียกขานกันวา ยุคเรเนซอง (Renaissance) หรือยุคแหงการฟนฟูศิลปะและวิทยาการในชวง ค.ศ. 1300-1600 ราวคริสตวรรษ 1489 เบอรกอนซิโอ ดิบอตตา (Bergonzio di Bortone) บุคคลสําคัญแหงราชสํานักอิตาลี ผูไดนําเสนอศิลปะการแสดงบัลเลตในงานรื่นเริงมื้อค่ํา ณ Tortone (พีระ พันลูกทาว, 2547 : 16). “บัลเลตถูกจัดขึ้นเพื่อสรางความสนุกสนานเพลิดเพลินในหมูขุนนางชั้นสูงในราชสํานักที่มักจะมีการจัดชุมนุมกันในทุกๆโอกาส ดวยบรรยากาศแหงความหรูหรา ประดาประดับตกแตงสถานที่ภายในงานอยางวิจิตร ดวยเศรษฐกิจ การสังคม และวิถีการดําเนินชีวิตของชนชั้นขุนนางแหงราชสํานักตามแบบยุคสมัยนั้นลวนโออาในทุกๆ ดาน ไมวาจะเปน การสนทนาพบปะสังสรรค ซึ่งจําเปนตองประชันขันแขงอวดเครื่องประดับ เครื่องแตงกาย รวมถึงการกาพย กลอน การดนตรี ก็เพื่อสนองแหงเกียรติ ศักดิ์ศรีและฐานันดรของเหลาชนในราชสํานักทั้งสิ้น ในงานมหาสมาคมมักจะจัดในอัครสถาน และรโหฐาน มักจะเปนหองโลง อาณากวางขวาง และมีเพดานสูง ไมวาจะเปนทองพระโรงในพระบรมมหาราชวัง เปนอาทิ ที่จะขาดเสียมิไดในงานเลี้ยงนั้น การแสดงก็จะมีความสัมพันธกับรายการอาหาร คือ เนื้อแกะยาง ซึ่งเปนที่นิยมของชนชั้นสูงในกาลนั้น” (พีระ พันลูกทาว, 2547 :17). “The Story of Jason and the Golden Fleece เปนเรื่องราวของเจสัน วีรบุรษหนุมแหงกรีกโรมันเดินทางเพื่อแสวงหาขนแกะทองคํา คือ เรื่องราวที่ทําการแสดงกอนที่จะเสวย หรือ รับประทานเนื้อแกะยางในงานนั้น ซึ่งทําใหบัลเลตกลายเปนแบบแผน และเปนศิลปะการแสดงที่ทันสมัยตอยุคและทันตอเหตุการณตามความนิยมของแตละยุคสมัย กวาบัลเลตจะเกิดความงดงามไดก็อาศัยพัฒนาการมาหลายชั่วอายุสมัย แตครั้น ค.ศ. 1581 ซึ่งเปนครั้งปฐมกาล ณ ประเทศฝรั่งเศส ดวยการแสดงเรื่อง Le Ballet Comique la Rain ที่ระบุบอกวาเปนปที่บัลเลตเกิดความสมบูรณแบบในทุกๆดาน และเปนแบบแผนปรากฏตราบปจจุบัน การแสดงในครั้งนั้นเกิดขึ้นไดก็ดวยคีตกวีผูชํานาญการดานไวโอลิน บาลธาซาร เดอ โบวโจ (Balthaza de Beaujoyeux) ไดรวมแสดงกับเหลาพระบรม


วงศานุวงศ และขุนนางแหงพระราชสํานักในสมัยของพระนางแคทเธอรรีน เลอ เมดิซิส (Catherinede medicis) ดวยเจตนารมยเพื่อเปนเครื่องบันเทิง สําเริงรมยของชนชั้นสูงในยุคนั้น ค.ศ.1643-ค.ศ.1715 ลุสมัยพระเจาหลุยสที่ 14 แหงฝรั่งเศส ราชาผูหลงใหล และทรงพอพระราชหฤทัยในศิลปะการเตนบัลเลต ทําใหบัลเลต “ประติมากรรมเคลื่อนที่” ไดโชติชวง เปนที่นิยมแพรหลาย และเผยแพรไปยังราชสํานักใกลเคียง ดวยพระปรีชาสามารถของพระองคและเหลาขาราชบริพารในครั้งนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชอง ปาฟเดสเต (Jean Baptiste) คีตกวีลูกครึ่งชาวอิตาลี และฝรั่งเศส ไดประพันธดนตรีขึ้น โดยมีนักนาฏยประดิษฐ ปแอร โบวชาม (Pierre Beauchamp) ชาวฝรั่งเศส เปนผูรวมสรางสรรคถวายแดพระเจาหลุยสที่ 14 ดวยเหตุนี้เองจึงไดเกิดคําศัพทสําหรับการเตนรํา และถือเปนแมทาใหผูคนไดศึกษาร่ําเรียนกันตราบปจจุบัน ดวยการบัญญัติศัพทของทวงทาโดย ปแอรโบวชาม (Pierre Beauchamp) ดวยความสนพระราชหฤทัยในการเตนบัลเลต จึงไดทรงโปรดเกลาใหกอตั้งโรงเรียนบัลเลตโดยพระองค ซึ่งขนานนามวา อาคาเดมิค รอยัล เดอ ดองซ (Acade’ mic deDance)” (พีระ พันลูกทาว, 2547 : 20-21). บัลเลตไมไดเกิดและมีการพัฒนาขึ้นแตเฉพาะในอิตาลีและประเทศฝรั่งเศสเทานั้น แตยังแพรหลายไปในประเทศตางๆ ทั่วโลก และแตละในประเทศก็ไดพัฒนาและสรางเทคนิคของตนเองขึ้นมา เชน ในประเทศอังกฤษ รัสเซีย เยอรมันนี สหรัฐอเมริกาแคนาดา ออสเตรเลีย เปนตน นอกจากนั้นยังมีอีกหลายประเทศที่มักนําเอาการแสดงบัลเลตมาผสมผสานกับศิลปะของแตละชาติ โดยเฉพาะประเทศในแถบเอเชีย อาทิ ฟลิปปนส อินโดนีเซียสิงคโปร เวียดนาม และประเทศไทยสําหรับประเทศไทยแลวพบวามีการเรียนการสอนวิชารําละคร รองเพลงและเตนบัลเลตที่โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตรมาตั้งแตกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2584-2488) เมื่อสงครามครั้งที่2 สงบลงก็ยังคงมีบัลเลตปรากฏในประเทศไทย มีการแสดงบัลเลตสลับฉากในการแสดงละครเรื่องตางๆ เชน เรื่องมนตนาคราช (พ.ศ. 2491) และเรื่องเงือกนอย (พ.ศ. 2492) ในเวลาตอมาบัลเลตในประเทศไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีครูและนักบัลเลตมืออาชีพชาวตางประเทศเขามาในประเทศไทยอีก 2 คน ไดแก Mrs. Gaulstin ชาวเปอรเซีย ซึ่งไดติดตามสามีเขามาในประเทศไทยเมื่อประมาณป พ.ศ. 2494 และไดเปดสอนบัลเลตที่ซอย นายเลิศ ถนนสุขุมวิช ซอย 4 ซึ่งในเวลาตอมาคุณหญิงเจเนเวียฟ เลสปน ยอล เดมอน นักเตนบัลเลตชาวฝรั่งเศสเชื้อสายอเมริกันไดติดตามสามีเขามาในประเทศไทย คือ Mr.Phillip Demond ผูซึ่งทํางานใหกับสถานทูตอเมริกันในประเทศไทย เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2497 ซึ่งคุณหญิงเจเนเวียฟ เลสปนยอล เดมอน ไดมีโอกาสสอนบัลเลตแทนMrs. Gaulstin และไดเปดโรงเรียนบัลเลตของตนเองในเวลาตอมา” (สุพรรณี บุญเพ็ง, 2543 : 2).บัลเลตเริ่มกอรางสรางตนเองขึ้นนับจากสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 แหงราชวงศจักรี ปจจุบันมีสถาบันโรงเรียนดําเนินการสอนบัลเลตอยางแพรหลายทั้งในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด อาทิ เชียงใหม นครราชสีมา ขอนแกน และมหาสารคาม


จังหวัดมหาสารคาม เปนดินแดนที่ถูกขนานนามวา “ตักสิลานคร” เนื่องดวยเปนจังหวัดที่อุดมดวยสถานศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การจัดการศึกษาระดับสูงที่เรียกวาอุดมศึกษา ดวยประวัติศาสตรยาวนาน และเปลี่ยนสภาพตามกระแสแหงกาลเวลา แมจะเปนจังหวัดในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แตศาสตรและศิลปยังคงปรากฏใหยินยลและสัมผัสมากมายทั่วระแหง ดวยบทบาทอันโดดเดนทั้งในการมุงผลิตบัณฑิตในเชิงวิชาการเพื่อรับใชสังคมมานานกวา 3 ทศวรรษศิลปะวิทยาการและวัฒนธรรมอันเปนรากเหงาแหงภูมิปญญาของไทยอีสานก็ยังคงถักทอดวยพลังกายและพลังใจของเหลาคณาจารย และนิสิตอยางไมขาดสาย อีกทั้งยังเปนศูนยรวมแหงสรรพศิลปะวิทยา เนื่องดวยตระหนักในคุณคาของศาสตรแหงศิลป จึงทําให<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>เปนที่ประจักษแกมวลชนตามลําดับสมัย “ครั้งดํารงวิทยฐานะเปนวิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พุทธศักราช 2511 โดยมีจุดมุงหมายเพื่อที่จะขยายการศึกษาขั้นสูงไปสูจังหวัดตางๆตอมาไดเขาเครือขายสถานศึกษาแหงมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขต<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> เมื่อปพุทธศักราช 2517 และในที่สุด ไดแยกตัวเปนเอกเทศภายใตชื่อมหาวิทยาลัยมหาวารคาม เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พุทธศักราช 2537 โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัย ซึ่งไดมีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 111ตอนที่ 54 ก นับเปนมหาวิทยาลัยแหงที่ 22 ของประเทศไทย (คูมือนิสิตประจําปการศึกษา 2545 :2545, 1). “...หลังจากไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในปการศึกษา 2517มหาวิทยาลัยไดเปลี่ยนหลักสูตร และการเรียนการสอนเปนระบบทวิภาค และใชวิธีการสอบคัดเลือกนิสิตเขาเรียนใน 2 ระดับ คือ ชั้นปที่ 1 และชั้นปที่ 3 จึงนับไดวามหาวิทยาลัยไดดําเนินการเปดการสอนหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตเต็มรูปแบบตามเกณฑมาตรฐาน ในการเปดสอนหลักสูตร 4ป เดิมสาขาวิชาที่เปดสอนในครั้งนั้น นอกจากสาขาวิชาชีววิทยา ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สังคมศึกษา ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร คณิตศาสตร เคมี ฟสิกส แลวยังเปดดําเนินการสอนเพิ่มเติม คือสาขาวิชาวิทยาศาสตร การประถมศึกษา ศิลปศึกษา พลศึกษา เทคโนโลยีทางการศึกษา และคหกรรมศาสตร ป พ.ศ. 2523 มหาวิทยาลัยไดเปดหลักสูตรการสอนระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อผลิตมหาบัณฑิตขึ้นเปนครั้งแรก โดยเปดสอนหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกมัธยมศึกษา เนนการสอนวิทยาศาสตร การสอนสังคมศึกษา และการสอนภาษาไทย” (คูมือนิสิตประจําปการศึกษา<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> 2545 : 2545 : 2). ปจจุบัน <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>ดําเนินการเปดหลักสูตรการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกไทคดีศึกษา สังกัดคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร และสาขาวิชาเอกการบริหารและการจัดการ สังกัดคณะการบัญชีและการจัดการ ตอมาในป พ.ศ. 2545 <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>ไดพัฒนาการศึกษาเปดระดับการสอนดุษฎีบัณฑิต ขึ้นเปนครั้งแรก สาขาวิชาเอกไทศึกษา สังกัดคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เปนเวลานานกวา 29 ป มหาวิทยาลัยจึงไดเปดหลักสูตรการเรียนการสอนดานศิลปกรรมศาสตรภายใตการดําเนินงานและบริหารงานโดย ภาควิชาทัศนศิลปและศิลปะการแสดง


ขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2540 ภายใตหลักสูตร ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปสังกัดคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรบัลเลต หรือ Ballet หรือ Ballo กําเนิดจากอิตาลี พัฒนาเปนรูปแบบแผนชัดเจนในฝรั่งเศสแพรหลายยังอังกฤษ เยอรมัน รัสเซีย และประเทศไทย ในที่สุดบัลเลตไดปรากฏบนแผนดินอีสานเปนครั้งแรก โดยอาจารยเอกชัย ไกแกว อาจารยแหงโรงเรียนแกนนคร จังหวัดขอนแกน ผูถายทอดกระบวนทวงทา ลีลาบนปลายเทา (ศิริมงคล นาฏยกุล, 2547 : สัมภาษณ) แกศิษยรุนแลวรุนเลาเริ่มสองประกายฉายแสงบนแผนดินอีสาน แมจะเปนเพียงการเริ่มตน แตนั่นก็หมายถึงประกายแหงการสงเสริม และพัฒนาตามลําดับแหงกาลเวลา จนกระทั่งเวียนมาถึงจังหวัดมหาสารคาม โดย<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> สาขาวิชาเอกนาฏยศิลป สังกัดคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ในครั้งนั้น ประกอบดวย 3 สาขาวิชาเอก ไดแก สาขาวิชาทัศนศิลป เปดหลักสูตรการสอน 3 สาขาวิชาเอก ประกอบดวย สาขาวิชาเอกจิตรกรรม สาขาวิชาเอกประติมากรรม และสาขาวิชาเอกภาพพิมพ สาขาวิชาดุริยางคศิลป ประกอบดวย สาขาวิชาเอกดุริยางคศิลปไทย สาขาวิชาเอกดุริยางคศิลปตะวันตก และสาขาวิชาเอกดุริยางคศิลปพื้นบาน สาขาวิชานาฏยศิลป ประกอบดวย 3 สาขาวิชาเอกเชนเดียวกัน คือ สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปไทย สาขาวิชานาฏยศิลปตะวันตก และสาขาวิชาเอกนาฏยศิลปพื้นบาน ในขณะที่มีรางหลักสูตรสาขาวิชาเอกดุริยางคศิลปตะวันออก และนาฏยศิลปตะวันออกไวดวย แตเนื่องจากยังขาดแคลนบุคลากรและผูเชี่ยวชาญ จึงยังมิไดเปดสอนตอมาในป พ.ศ. 2543 ไดแยกตัวเพื่อเตรียมตัวสูการเปนคณะเอกเทศภายใตชื่อ โครงการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร และในที่สุด หลักสูตรแหงศาสตร และศิลป ไดแยกตัวเปนเอกเทศโดยสมบูรณและยกฐานะเปนคณะศิลปกรรมศาสตร เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2545 เปนตนมา โดยมีนายนนทิวรรธน จันทนะผะลิน เปนคณบดีบริหารคณะศิลปกรรมศาสตรคนแรก ในขณะที่สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปยังคงดําเนินการเรียนการสอน 3 สาขาวิชาเอกเชนเดิม ซึ่งไดมีพัฒนาการการเรียนการสอนตามลําดับสมัยทั้ง 3 สาขาวิชาเอก โดยเฉพาะอยางยิ่งสาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก โดยการนําของอาจารยศิริมงคล นาฏยกุล ซึ่งไดรับการบรรจุดํารงตําแหนงขาราชการ เปนอาจารยสอนนาฏยศิลปตะวันตกเปนคนแรกและยังเปนผูมีบทบาทตอการสรรหาที่ปรึกษา เพื่อรางหลักสูตรนาฏยศิลปตะวันตก ครั้งนั้นประกอบดวยอาจารยอารีย สหเวชภัณฑ ผูเชี่ยวชาญดานบัลเลต ซึ่งสําเร็จการศึกษาบัลเลตโดยตรงจากกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หรือ The Royal Academy ofDance, London. อีกทั้งทานเปนที่ปรึกษาหลักสูตรดานบัลเลตใหแกจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอีกดวยนอกจากนั้นยังมีอาจารยเอกชัย ไกแกว อาจารยจากโรงเรียนแกนนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแกน ผูมีประสบการณ และไดรับการถายทอดดานบัลเลตจาก คุณหญิงเจเนเวียฟ เรสปนยอล เดมอน ผูซึ่งเปนสุดยอดนักบัลเลตหญิงแหงฝรั่งเศส ซึ่งไดติดตามสามีมาพํานักอาศัย ณ ประเทศไทย เพื่อทํางานใหกับสถานทูตสหรัฐอเมริกา ประจําประเทศไทย ซึ่งคุณหญิงเจเนเวียฟ เรสปนยอล เดมอน มีบทบาทอยางสูงตอการเผยแพรบัลเลตในราชสํานักไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว


รัชกาลปจจุบัน รวมถึงอาจารยศิริมงคล นาฏยกุล บัณฑิตจากภาควิชานาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป พ.ศ. 2538 และสําเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิต(ศศ.ม.) นาฏยศิลปไทย จากคณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป พ.ศ. 2546 ทั้ง 3ทานลวนเปนบรมครูแหงวงการบัลเลต และเปนผูมีบทบาทในการรางหลักสูตรนาฏยศิลปตะวันตกประดับไว ณ คณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> เพื่อเสนอตอทบวงมหาวิทยาลัยอนุมัติใหสามารถดําเนินการสอนไดตามเกณฑมาตรฐาน ตราบปจจุบันปการศึกษา 2540 มีนักศึกษาจากทั่วประเทศเลือกศึกษา ณ สาขาวิชานาฏยศิลป สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก จํานวน 8 คน ในปการศึกษา 2541 มีนิสิต สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก 2 คน ปการศึกษา 2542 มีนิสิต 1 คน ปการศึกษา 2543 มีนิสตเพียง 1 คน และปการศึกษาก็เชนเดียวกัน มีนิสิตเลือกเรียนสาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตกเพียง 1 คน ซึ่งทําใหสาขาวิชาตองระดมการประชาสัมพันธการเรียนการสอน อีกทั้งกิจกรรมนานาใหเปนที่ประจักษ ดวยการออกแนะแนวการศึกษาทั่วภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในป พ.ศ. 2543 เปนตนมา ทําใหมีนิสิตเพิ่มขึ้นตามลําดับ คือ ปการศึกษา 2544 มีนิสิต 5 คน ปการศึกษา 2545 มีนิสิต 8 คน ปการศึกษา 2546 มีนิสิต 8 คน และปจจุบัน ปการศึกษา 2547 มีนิสิตทั้งสิ้น 16 คน นิสิตที่เลือกสาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตกจะตองดําเนินการลงทะเบียนเรียนตามระเบียบ<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> วาดวยเรื่อง การลงทะเบียนเรียน รวมตลอดหลักสูตร จะตองไมนอยกวา 141 หนวยกิต โดยแบงเปนหมวดวิชาบังคับศึกษาทั ่วไปไมนอยกวา 33 หนวยกิต หมวดเลือกเสรี จํานวน 6 หนวยกิต และหมวดวิชาเอกจํานวน ไมนอยกวา 102 หนวยกิต ดังจะลําดับเนื้อหาการศึกษาดังนี้ วิชาเฉพาะดานกวา 102 หนวยกิตนั้น คือ มาตรการการจัดการการศึกษา และคือ สรรพวิชาที่นิสิตจะตองศึกษาประดับองคความรูกอนจะสําเร็จการศึกษาอยางสมบูรณตามหลักสูตรการผลิตศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ซึ่งประกอบดวยรายวิชาแกนคณะ ซึ่งหมายถึง รายวิชาที่นิสิตจะตองศึกษารวมกันทุกสาขาวิชาเอก และทุกคน ไดแก วิชาศิลปวัฒนธรรมอีสาน วิชาดุริยางคศิลปและนาฏยศิลปปริทรรศน วิชาแกนสาขาหมายถึง รายวิชาที่นิสิตทั้ง 3 สาขาวิชาเอกจะตองเรียนรวมกัน คือ สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปไทยนาฏยศิลปพื้นบาน และสาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก ประกอบดวยรายวิชาจํานวน 3 หนวยกิตทุกรายวิชา ไดแก ประวัติศาสตรนาฏยศิลป ทฤษฎีนาฏยศิลปกายวิภาค การเคลื่อนไหวและการบันทึก คอมพิวเตอรสําหรับนาฏยศิลป นาฏยวิจัย นาฏยวิเคราะห นาฏยหัตถกรรม การออกแบบเครื่องแตงกายและการแตงหนา หลักการออกแบบฉาก และเวที สัมมนานาฏยศิลป การฝกวิชาชีพทางนาฏยศิลป นาฏยศิลปไทย 1 นาฏยศิลปไทย 2 นาฏยศิลปตะวันตก 1 นาฏยศิลปตะวันตก 2นาฏยศิลปพื้นบาน 1 นาฏยศิลปพื้นบาน 2 นาฏยศิลปตะวันออก 1 นาฏยศิลปตะวันออก 2 และศิลปนิพนธทางนาฏยศิลป ซึ่งเปนรายวิชาสุดทายของหลักสูตร จํานวน 6 หนวยกิต และที่สําคัญที่สุด คือนิสิตจะตองเรียนปฏิบัตินาฏยศิลปหรือรายวิชาทักษะเฉพาะดาน (Dance Skill) จํานวน 24 หนวยกิต นอกจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนเพื่อการสัมฤทธิ์ผลตามหลักสูตรซึ่งนิสิตจะตองสามารถ


ปฏิบัติใหไดถูกตอง เหมาะสม ตามเกณฑแลว ยังมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรมากหลายที่เอื้อใหนิสิตมีโอกาสไดนําองคความรูจากหองเรียนเพื่อวัตถุประสงคที่แตกตาง ทั้งเพื่อรับใชสังคมและเพื่อเผยแพรชื่อเสียงมหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร นิสิตกลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดง สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก เรียนวิชาหลักดานทักษะบัลเลต (Dance Skill) ทั้งสิ้น 8 รายวิชา ในรายละเอียดแตละขั้นของรายวิชาจะมีความยากงายแตกตางกันไป โดยเริ่มจากการอบอุนรางกาย(Warm Up) กอนที่จะเขาเรียนทุกครั้ง อีกทั้งดวยการฉีกขาใหได 180 องศา โดยใชเวลาประมาณ1-2 ชั่วโมง รวมถึงกระบวนทาพื้นฐานจากเทา ขา สะโพก ลําตัว สูสวนของมือ แขน ที่ราวฝก ซึ่งเรียกวา “บาร” (Barre) จนกระทั่งสูการฝกเบื้องตนเพื่อการแยกประสาท เนื่องจากการเตนบัลเลตนั้น นักเตนจะตองสามารถกระทําไดในกระบวนทาเดียวกันทั้ง 2 ทิศทาง คือ ซายและขวาเสมอ อีกทั้งการเรียนเทคนิคกระบวนทาพื้นฐานสูทาขั้นสูงตางๆ อาทิ การเตนคูชายหญิง (Pas deDeux) การเขาคู การฝกการเตนเดี่ยว (Solo Dance) ในบทละครบัลเลตคลาสสิค และบัลเลตโรแมนติค จากตัวละครในเรื่องตางๆ เชน Swan Lake, Gisselle, Sleeping Beauty, Apollon Musagete,La Bayadarere, Nutcracker, Spatacus, Don Quixote, Camina Burana เปนอาทิ นอกจากนั้นนิสิตจะตองเรียนรูประวัติความเปนมา ทฤษฎี หลักการของการเตนบัลเลตและนาฏยศัพท ซึ่งเปนภาษาฝรั่งเศส เพื่อความเปนสากลอีกดวย (พีระ พันลูกทาว, 2547 : สัมภาษณ). “บทพิสูจนคุณคาของนิสิตกอนสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร คือ การสอบโครงการนาฏยนิพนธ และมีอาจารยศิริมงคล นาฏยกุล เปนหนึ่งในคณะกรรมการรวมแสดงความคิดเห็นและรวมพิจารณา ซึ่งมติที่ประชุมไดสรุปเห็นพรองวา นิสิตจะตองผานกระบวนการประเมิน 5 โครงการยอย โครงการละ 100คะแนน ซึ่งนิสิตชั้นปสุดทายจะตองเก็บสะสมมาโดยตลอด แลว หาญดวยจํานวน 5 จึงจะออกมาเปนเกรดที่สมบูรณ ซึ่งในครั้งนั้นมีชื่อโครงการยอยทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ดังนี้1. โครงการเตนรําเดี่ยวมาตรฐาน (Solo Dance) 100 คะแนน, 2. โครงการสรางสรรครูปแบบมาตรฐาน (Creative Classical Dance) 100 คะแนน, 3. โครงการนาฏยศิลปแนวใหม (CreativeNew Dance) 100 คะแนน, 4. โครงการรูปเลม ศิลปนิพนธ 100 คะแนน และ 5. นาฏยองคกร (การทํางานเปนทีม) 100 คะแนน (พีรพงศ เสนไสย, 2547 : 6). “คุณภาพของบัณฑิตจะเกิดขึ้นได และสมบูรณสมกับเปนนาฏยศิลปนบัณฑิตตามนโยบายของมหาวิทยาลัย สาขาฯ จึงได เรียนเชิญคณะกรรมการจากนอกสถาบัน ซึ่งจะตองเปนที่ยอมรับในแวดวงนาฏยศิลปทั้งระดับโลก ระดับนานาชาติ ระดับประเทศ เพื่อมาประเมินผลงานโครงการเตนรําเดี่ยวมาตรฐานโดยมีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ อาทิ อาจารยวรารมย ปจฉิมสวัสดิ์ ผูอํานวยการโรงเรียนนาฏลีลาวรารมย DanceCenter Bangkok และผูเชี่ยวชาญดานนาฏยศิลปตะวันตก และศิลปะการแสดงรวมสมัย อาจารยสุพรรณี บุญเพ็ง อาจารยสอนบัลเลตจากคณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาจารยพีรมณ ชมธวัช นักเตนบัลเลตและผูเชี่ยวชาญดานนาฏยศิลปตะวันตก อาจารยสบหทัย กัณทาธรรมนักเตนบัลเลต และผูเชี่ยวชาญดานบัลเลต จากกรุงเทพมหานคร นอกจากนั้น สาขาฯ ยังไดรับ


เกียรติจากผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานหลายทาน เพื่อประเมินผลงานนาฏยศิลปแนวใหมอาทิ ศาสตราจารย ดร.สุรพล วิรุฬหรักษ ราชบัณฑิต ประธานกรรมการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขานาฏยศิลปไทย บัณฑิตวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งใหเกียรติเปนประธานกรรมการทั้ง 3 รุน อาจารยจรรมนง แสงวิเชียร ผูอํานวยการสถาบันศิลปและวัฒนธรรมแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Mr.John Mc Conville ผูเชี่ยวชาญดานนาฏยศิลปตะวันตกและศิลปะการแสดงรวมสมัยจาก Broadway : Newyork, America. อาจารยวรารมย ปจฉิมสวัสดิ์ผูอํานวยการโรงเรียนนาฏลีลาวรารมย Dance Center Bangkok กรุงเทพมหานคร ผูเชี่ยวชาญดานนาฏยศิลปตะวันตก และศิลปะการแสดงรวมสมัย อาจารยพีรมณ ชมธวัช และผูเชี่ยวชาญดานนาฏยศิลปตะวันตก และศิลปะการแสดงรวมสมัย จากสถาบันพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรมอาจารยเสาวลักษณ พงศทองคํา และผูเชี่ยวชาญดานนาฏยศิลปไทย และศิลปะการแสดงรวมสมัยจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนตน (พีรพงศ เสนไสย, 2547 : 8). ทั้งคณาจารยและนิสิตกลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดง ตางดําเนินกิจการการสึกษารวมกันทุกโอกาส ทุกสถานการณ ทําหนาที่ทูตวัฒนธรรม ใหบริการวิชาการทางนาฏยศิลปแกสังคม ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยมาโดยตลอด ปจจุบัน สาขาวิชานาฏยศิลป ไดรับการปรับเปลี่ยนชื่อองคกรใหม เมื่อปการศึกษา 2547โดยการบริหารของอธิการบดีคนที่ 2 แหง<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> ศาสตราจารย นายแพทยอดุลยวิริยเวชกุล ราชบัณฑิต เปนผูอนุมัติใหใชชื่อใหม นามวา “กลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดง” เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการขยายโอกาสทางการศึกษา และเพื่อเตรียมตัวเปดกวางสูการพัฒนาศาสตรและศิลปดานศิลปะการแสดง แหงภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหเปนที่ยอมรับในระดับสากลตอไป เมื่อปการศึกษา 2547 ระหวางวันที่ 27 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2547 ภายใตการนําของผูบริหารอาจารยนนทิวรรธน จันทนะผะลิน คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร และกรรมการบริหารคณะศิลปกรรมศาสตร ไดเดินทางเพื่อการเซ็นตสัญญาความรวมมือดานศิลปะและวัฒนธรรมกับมหาวิทยาลัยเว (The College of Art of Hue. Hue University Vietnam.) และมหาวิทยาลัยฮานอยประเทศเวียดนาม (Hanoi University) ครั้งนั้นกลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดงโดยอาจารยศิริมงคลนาฏยกุล ผูติดตามคณะเดินทางไดแลกเปลี่ยนเปนตัวแทนสาขาวิชาฯ เพื่อเจรจาแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักเตนจากสองสถาบันดังกลาว ทั้งนี้เพื่อเปนการรวมมือในการแสดงบัลเลตระหวางสองประเทศใหแนนแฟนยิ่งขึ้น บัณฑิตเปรียบดั่งเงาสะทอนของดานบัลเลต วงการศิลปะการแสดง และนาฏยศิลปแหงผลผลิตของคณาจารย หลักสูตรการเรียนการสอน แหงคณะศิลปกรรมศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>แลวนั้น เปนเวลากวา 5 ป ที่กลุมสาขาวิชาไดผลิตศิษยเพื่อรับใชสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่ง ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตกนายพีระ พันลูกทาว เกิดเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2521 ปจจุบันอายุ 26 ป ศิษยรุนแรกแหงสายศิลป- ศิลป (บัลเลต) จากแกนนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแกน โดยอาจารยเอกชัย ไกแกว เปนบรมครูแหงปฐมกาลการศึกษาดานบัลเลต และประสบการณเดินทางศึกษาบัลเลตเพิ่มเติม ณ The


Choreographic School Tashkent และ The Bolishoi Ballet Tashkent, USSR ประเทศอุซเบกิสถาน(Uzbekistan) กอนจะเดินทางเขาศึกษา ณ ภาควิชานาฏยศิลป สาขานาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในปการศึกษา 2538 ตอมาพีระ พันลูกทาว ไดเลือกที่จะศึกษาบัลเลต ณ <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> ซึ่งเปดดําเนินการเรียนการสอนเปนปแรก ตลอดระยะเวลา 4 ป ในการเรียนบัลเลต ระดับอุดมศึกษา พีระ พันลูกทาว สามารถควาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ 2 นิสิตรุนแรก และบัณฑิตรุนแรกที่ไดรับการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหารคณะศิลปกรรมศาสตร ใหบรรจุเปนพนักงานวิชาการตั้งแต พ.ศ.2544 เปนตนมา ผูเปรียบดั่งผลิตผลสําคัญแหง<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>ไดเริ่มเปนกําลังสําคัญตอการผลิตเมล็ดพันธุใหมแหงวงการบัลเลต ณ ตักสิลานคร ดวยเปนผูมุมานะในดานการสอน การสรางสรรคผลงาน จนเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งพีระ พันลูกทาว ไดรับเกียรติจากสถาบัน หนวยงาน องคกร และโรงเรียนบัลเลตชั้นแนวหนาในประเทศไทย ใหเปนนักแสดงนํา เตนบัลลตเพื่อถวายหนาพระที่นั่งพระบามสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถในหลายโอกาส รวมถึงไดมีโอกาสแสดงบัลเลตหนาที่นั่งถวาย พระบรมวงศานุวงศ ป พ.ศ. 2547 นายพีระ พันลูกทาว ไดรับการพิจารณาจากผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาบุคลากร โดยไดรับทุนพัฒนาบุคลากรแหงมหาวิทยาลัย ใหศึกษาตอระดับปริญญาโท โดยพีระ พันลูกทาวไดเลือกที่จะศึกษา ในหลักสูตรบัลเลตศึกษา M.A. Ballet Studies ณ มหาวิทยาลัยเซอรรี โรแฮมตัน กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ (Surrey Reohampton University, London. England.) ในขณะที่พีระ พันลูกทาวกําลังดําเนินการติดตอกับทางบัณฑิตศึกษากับ Surrey Reohampton, The United Kingdom of GreatBritain, England พีระ พันลูกทาว ไดสมัครชิงทุนรัฐบาลไทย จนกระทั่งสามารถผานการสอบคัดเลือกโครงการทุนเด็จอัจฉริยะ โดยทุนของรัฐบาลไทย (ก.พ) อันดับที่ 1 ของประเทศ เพื่อศึกษาดานบัลเลตชั้นสูงในระดับปริญญาโท ถึงระดับปริญญาเอก (พีระ พันลูกทาว, 2547 : สัมภาษณ)นายประยุทธ ศิริกุล บัณฑิตบัลเลตรุนแรกแหงสาขาวิชานาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> ผลิตผลที่อุดมสมบูรณดวยความคิดสรางสรรค ไมเคยหยุดนิ่งดานการผลิต และสรางสรรคงานนาฏยศิลปตะวันตก และนาฏยศิลปรวมสมัยContemporary ผลงานของประยุทธ ศิริกุล เมื่อครั้งโครงการศิลปนิพนธทางนาฏยศิลป หรือโครงการนาฏยนิพนธ ภายใตชื่อหลักสูตร Dance Senior Projects ไดรับการพิจารณาจากคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ อาทิ ศาสตราจารย ดร. สุรพล วิรุฬหรักษ ราชบัณฑิต ผูชวยศาสตราจารยอมรา กล่ําเจริญ อาจารยนพรัตน หวังในธรรม และอาจารยวรารมย ปจฉิมสวัสดิ์ใหเปนนาฏยนิพนธที่ไดคะแนนสูงสุด ในกระบวนความคิดสรางสรรคทางดานนาฏยศิลป ชุดโยนีเมื่อ พ.ศ. 2543 หลังจากสําเร็จการศึกษา ประยุทธ ศิริกุล ไดเขาทํางานเปนพนักงานประจํา ณบริษัท Extra Oraganization GMM. Grammy ฝายผลิตและสรางสรรคคอนเสิรต ดํารงตําแหนง Co-Producer และ Creative Director ปจจุบันประยุทธ ศิริกุล เปนหนึ่งในกรรมการบริหารบริษัท Thai


Image Group ซึ่งเปนบริษัทที่ทําหนาที่ออกแบบ สรางสรรค บริหารและจัดการดานการแสดงทุกรูปแบบ มีผลงานดานการออกแบบสรางสรรค และผลิตงานการแสดง แสง เสียง ทั่วประเทศ(Lights and Sound Presentation) รวมถึงการสรางสรรคผลงานในงานเปดตัวสินคา ณกรุงเทพมหานคร ประยุทธ ศิริกุล เกิดเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2518 ปจจุบันอายุ 29 ป เขาเลือกที่จะเดินทางสายอาชีพศิลปนอิสระ ทั้งดานบริหาร การจัดการ ออกแบบกํากับการแสดง ออกแบบฉาก และเวที นักออกแบบเครื่องแตงกาย เครื่องประดับ และนักนาฏยประดิษฐ ผChoreographer)ซึ่งคณะศิลปกรรมศาสตร รวมถึงกลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดง สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก ก็ไดมีโอกาสเชิญเปนวิทยากร และอาจารยพิเศษเพื่อใหความรูแกนิสิตรุนนองอยูเปนประจํา ก็เนื่องดวยประยุทธ ศิริกุล เปนผูมีประสบการณ และผลงานในทุกระดับ รวมถึงผลงานการแสดงเพื่อถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ ปจจุบันกําลังศึกษาในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ประยุทธ ศิริกุล, 2547 : สัมภาษณ).นายชิตพล เปลี่ยนศิริ หลังจากสําเร็จการศึกษา เมื่อป พ.ศ. 2543 ไดเขารับตําแหนงอาจารยพิเศษสอนดานนาฏยศิลปตะวันตก ณ สถาบันราชภัฏธนบุรี กรุงเทพมหานคร ตอมาชิตพล เปลี่ยนศิริไดขอลาออกจากสถาบันดังกลาว เพื่อเลือกอาชีพนักเตนอิสระ ซึ่งไดรับเชิญจากสถาบัน องคกรและหนวยงานทางดานบัลเลต เพื่อเขารวมแสดงงานบัลเลต โดยรับบทแสดงนํามาโดยตลอด ทั้งนี้ก็ดวยทักษะที่ไดรับการฝกปรือจากอาจารยเอกชัย ไกแกว และประสบการณเดินทางศึกษาบัลเลตเพิ่มเติมเชนเดียวกับอาจารยศิริมงคล นาฏยกุล และพีระ พันลูกทาว กับสุดยอดนักเตนเหรียญทองจากการประกวดบัลเลตโลก และผูนําฝายชาย Mr. Vasily Klosko จากคณะ บอลชอยส บัลเลต ทัชเคนท ณ The Chreographic School Tashkent และ The Bolishoi Ballet Tashkent, USSr ประเทศอุซเบกิสถาน (Uzbekistan) ทําใหฝมือดานบัลเลตของชิตพล เปลี่ยนศิริเปนที่ยอมรับในกรุงเทพมหานคร และบริษัทบันเทิงนานา นอกจากนั้นชิตพล เปลี่ยนศิริ ยังไดเขารวมในการแสดงบัลเลต และนาฏยศิลปตะวันตกอีกหลายรูปแบบกับนักเตนบัลเลตชั้นนําจากนานาประเทศ เมื่อปพ.ศ. 2542 ชิตพล เปลี่ยนศิริ คือ นิสิตที่ไดรับการยอมรับจากมวลนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตรเลือกตั้งใหดํารงตําแหนง นายกสโมสรนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร คนแรก ปจจุบันยังคงเปนนักเตนอิสระ และเปนอาจารยพิเศษสอนนาฏยศิลปตะวันตก และบัลเลต ณ กรุงเทพมหานคร ปจจุบันชิตพล เปลี่ยนศิริ ไดรับเกียรติใหเขารวมเดินทาง Ballet work Shop เพื่อฝกทักษะและรวมแสดงกับคณะบัลเลตระดับโลก ณ ประเทศเยอรมันนี (ชิตพล เปลี่ยนศิริ, 2547 : สัมภาษณ).นายวิมม สาสุนันท หลังจากสําเร็จการศึกษา วิมม สาสุนันท เลือกที่จะเปนนักเตนในสังกัดของบริษัท Extra Oraganization, GMM Grammy Co,Ltd. ประเทศไทย ดวยความสนใจและใสใจในดานศิลปะการแสดงเปนทุนเดิม ผนวกกับความรูความสามารถทางดานการออกแบบศิลปะไมวาจะเปนดานเทคนิคกลไกของฉากและเวที การออกแบบเครื่องแตงกาย วิมม สาสุนันท จึง


ไดรับการพิจารณาบรรจุใหดํารงตําแหนง Co-Producer และ Creative Director ณ บริษัท ExtraOraganization, GMM Grammy Co,Ltd. รับผิดชอบดานการผลิตและสรางสรรคงานประเภทคอนเสิรต รวมถึงกํากับศิลป ซึ่งเปนตําแหนงเดิมที่ประยุทธ ศิริกุล เคยดํารงตําแหนงมากอน (วิมมสาสุนันท, 2547 : สัมภาษณ).นายพัลลภ นามโสม เริ่มเปนนักเตนอาชีพอิสระในกรุงเทพมหานคร ไดเขารวมการเตนบัลเลตทั้งระดับชาติ และระดับอาเซียนหลายโอกาสในกรุงเทพมหานคร นอกจากนั้นพัลลภ นามโสม ยังไดกลับมาชวยสอนในฐานะวิทยากร และอาจารยพิเศษ ณ กลุมสาขาวิชาการแสดง สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมสาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> สถาบันเดิมที่ตนสําเร็จการศึกษานั่นเอง พัลลภ นามโสม เริ่มเรียนบัลเลตจากอาจารยเอกชัย ไกแกว โรงเรียนแกนนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแกน เชนเดียวกัน กอนจะเขาศึกษา ณ สาขาวิชานาฏยศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> ปจจุบันเปนอาจารยสอนพิเศษ ณ โรงเรียนนานาชาติสอนบัลเลตในกรุงเทพมหานคร (พัลลภ นามโสม, 2547 : สัมภาษณ).นายพัฒน พันลูกทาว นักเตนบัลเลตฝมือระดับชั้นเยี่ยมอีกคนหนึ่ง ซึ่งสําเร็จการศึกษาดวยการควาเกียรตินิยมอันดับ 2 คูกับพี่ชาย (อาจารยพีระ พันลูกทาว) ดวยเสนหของรูปรางและหนาตาทําใหพัฒน พันลูกทาว เริ่มเขาสูวงการบันเทิง จากเวทีการประกวดดัชชี่บอย หลังจากนั้น พัฒนพันลูกทาว หรือพัฒนะ พันธุเทวะ เริ่มแสดงละครเวที อาทิ เรื่องนองใหมรายบริสุทธิ์ เรื่องเสนไหมสีเงิน และเรื่องปริศนา ดวยความสามารถทางดานการเตนบัลเลต และความสามารถหลากหลายจึงไดกาวเขาสูการเปนศิลปนนักรองแหงคายแกรมมี่ (GMM Grammy Co,Ltd. Thailand) ประเทศไทยนอกจากงานการแสดงและเปนนักรองแลว ยังรับบทบาทการเปนพิธีกรรายการเพลง และเปนPresenter ใหกับสินคาอีกมากมาย แมวาพัฒน พันลูกทาว จะเขาสูวงการบันเทิงมาเปนเวลากวา 5 ปถึงกระนั้นก็ยังฝกฝนทักษะเตนบัลเลตอยางสม่ําเสมอ เนื่องจากยังตองเปนนักเตนบัลเลตรับเชิญจากองคกร สถาบัน และโรงเรียนบัลเลตในกรุงเทพมหานคร เมื่อมีโอกาสครั้งสําคัญเขาก็ยังคงวาดลวดลายบัลเลตมาโดยตลอดตราบปจจุบัน (พัฒน พันลูกทาว, 2547 : สัมภาษณ). นางสาวเกวลีบรรจง นักเตนบัลเลตหญิงเพียงคนเดียวจากบัณฑิตรุนแรกแหงศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาเอกนาฏยศิลปตะวันตก กอนศึกษาและฝกฝนทักษะบัลเลตเธอเรียนสาขาวิชาเอกประวัติศาสตรคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ณ <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> แตดวยความสนใจและมุมานะพยายาม จึงไดเปลี่ยนศาสตรเดิมสูการเปนนักเตนบัลเลต เปนเวลากวา 5 ป หลังจากสําเร็จการศึกษาเกวลี บรรจง ดํารงบทบาทอาจารยผูชวยสอนบัลเลต ณ โรงเรียนแกนนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแกน (พัฒน พันลูกทาว, ศิริมงคล นาฏยกุล, 2547 : สัมภาษณ).สถานภาพของบัลเลต ณ กลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> ไดเริ่มปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ดาน ไมวาจะเปนงบประมาณการจัดซื้อจัดจางวัสดุครุภัณฑ หมวดใชสอยและคาตอบแทนวิทยากร และอาจารยพิเศษซึ่งมีความ


ตองการมากขึ้นทวีคูณ เพื่อรองรับใหสอดคลองกับสภาพจํานวนนิสิตที่มากขึ้นในทุกๆ ปโดยเฉพาะอยางยิ่ง บัลเลตกลับกลายเปนสาขาวิชาขาดแคลนบุคลากร เนื่องจากระบบการศึกษาในประเทศไทยนั้น มิไดเปดหลักสูตรการเรียนการสอนปริญญามหาบัณฑิตดานบัลเลต หรือนาฏยศิลปตะวันตก ฉะนั้น คนไทยทั้งหลายก็จําเปนตองดิ้นรนแสวงหาความรูเพื่อประดับภูมิของตนยังตางประเทศ จากครูเพียงหนึ่งคน คือ มงคล นาฏยกุล ผูซึ่งสอนบัลเลตมาตั้งแตป พ.ศ. 2540- พ.ศ.2544 และหยุดสอนไป 2 ป เพื่อลาศึกษาตอในระดับปริญญาโท ณ บัณฑิตวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จนสําเร็จการศึกษาในป พ.ศ. 2546 จึงไดรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหนาที่ราชการตามเดิม ก็มีเพียงอาจารยพีระ พันลูกทาว ศิษยเอกจากกนกุฏิ ที่ไดรับการถายทอดองคความรูและบรรจุเปนพนักงานวิชาการ ตั้งแตป พ.ศ. 2544 เปนตนมา ซึ่งรับบทบาทบุกเบิก ริเริ่มสอนศิษยผสานกับชวงระยะเวลาที่อาจารยศิริมงคล นาฏยกุลลาศึกษาตอ ดูเหมือนวาสถานภาพบัลเลตในระดับอุดมศึกษา แหงตักสิลานคร กําลังขาดแคลนบุคลากรอยางเต็มที่ แตสาขาวิชาฯ ก็ไดเชิญวิทยากร และอาจารยพิเศษเขามาสมทบเพื่อเพิ่มคุณภาพการสอนสําหรับนิสิตหนาใหม เมล็ดพันธุใหม อยางเขมขน โดยมีอาจารยอโนมา นาสมฝน บัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ 2 และอาจารยพัชราภรณ ชัยวิสุทธิ์ สองบัณฑิตศิษยผูผานโลกแหงบัลเลตจากศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> มาเสริมแรงและเติมเต็มทั้งทักษะและวิชาการดานนาฏยศิลปตะวันตก บัลเลต ณ<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>ยังคงดําเนินตอไป ตามกระแสวิวัฒนแหงกาลเวลา พัฒนา ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายดานการผลิตบัณฑิตแหงมหาวิทยาลัยตางคน ตางพื้นเพ ตางสีผิว และตางแมวิถีความเปนอยู ตางก็ไดรับรู ไดเห็น แลรวมไดสัมผัสซึ่งกันและกันอยางถวนทั่ว แมวาโลกจะเปนดวงดาวที่ยิ่งใหญ มีอาณาบริเวณไพศาลเพียงใดก็มิอาจหนีพนพันธนาการของมนุษยไปได แมนวามันจะถูกแบงเขตแดนดวยขุนเขาทอดแนวยาวขวางกั้น หรือมหาสมุทรโอบอาบหอมลอม แตก็ไมใชอุปสรรคที่มนุษยจะดั้นดนเดินทางและแหวกวายไปมาหาสูซึ่งกันและกัน บัลเลต แมจะมีรากเหงาไกลโพนจากแผนดินสยาม แตก็มิอาจปดตัวเงียบในสังคมเดี่ยวเดียวดายตอไปได หากแตบัลเลตยังคงปรากฏใหไดชื่นชมความสงางาม เขมแข็งฉาบทาแผนดินอีสาน ณ <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> โดยเหลาคณาจารย และนิสิตผูเลือกเดินทางดานนาฏยศิลปตะวันตกใหวิวัฒนและพัฒนาตลอดไป


เอกสารอางอิงกองบริการการศึกษา สํานักงานอธิการบดี , <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> .2545. ขอนแกน : คูมือนิสิตระดับปริญญาตรี ปการศึกษา 2545. โรงพิมพศิริภัณฑ ออฟเซ็ท.ประยุทธ ศิริกุล. การแสดงความคิดสรางสรรคจากนาฏยประดิษฐ ชุดโยนี. (โครงการศิลปนิพนธทางนาฏยศิลป). มหาสารคาม : สาขาวิชานาฏยศิลป โครงการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> มหาสารคาม : 2543.พีระ พันลูกทาว. 2547. ขอนแกน : Inside Western Dance. (พิมพครั้งที่ 1) โรงพิมพคลังนานา.พีรพงศ เสนไสย. 2547. มหาสารคาม : นาฏยประดิษฐ ณ สาขานาฏยศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>. (สูจิบัตร Dance Senior Projects 2003X. พิมพที่บานการดสุพรรณี บุญเพ็ง. 2543. History of Ballet in Thailand. (วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต).กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชานาฏยศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2543.สัมภาษณบุคคลนายชิตพล เปลี่ยนศิริ, 2547. กรุงเทพมหานคร : นักเตนอิสระนายประยุทธ ศิริกุล, 2547. กรุงเทพมหานคร : ผูจัดการฝายสรางสรรคและผลิตการแสดง นักเตนอิสระ บริษัท GMM Grammy.อาจารยพีระ พันลูกทาว, 2547. มหาสารคาม : อาจารยประจํากลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดงสาขาวิชานาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>.นายพัฒน พันลูกทาว, 2547. มหาสารคาม : นักแสดง นักรองสังกัด บริษัท GMM Grammy.นายพัลลภ นามโสม, 2547. กรุงเทพมหานคร : นักเตนอิสระ.อาจารยยุทธศิลป จุฑาวิจิตร, 2547. มหาสารคาม : ประธานกลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดงคณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>.นายวิมม สาสุนันท, 2547. กรุงเทพมหานคร : ผูจัดการฝายสรางสรรคและผลิตการแสดงนักเตนอิสระ บริษัท GMM Grammy. และนักเตนอิสระอาจารยสุพรรณี บุญเพ็ง 2547. กรุงเทพมหานคร : อาจารยประจําภาควิชานาฏยศิลป สาขาวิชานาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.อาจารยศิริมงคล นาฏยกุล, 2547. มหาสารคาม : อาจารยประจํากลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดงสาขาวิชานาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>.อาจารยอโนมา นาสมฝน, 2547. มหาสารคาม : อาจารยพิเศษประจํากลุมสาขาวิชาศิลปะการแสดงสาขาวิชานาฏยศิลปตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>


อาจารยเอกชัย ไกแกว, 2547. ขอนแกน : อาจารยประจําโรงเรียนแกนนครวิทยาลัยจังหวัดขอนแกน.กิตติกรรมประกาศขอบคุณอาจารยเอกชัย ไกแกว อาจารยสุพรรณี บุญเพ็ง อาจารยสิริมงคล นาฏยกุล ขอขอบใจอาจารยพีระ พันลูกทาว นายประยุทธ ศิริกุล นายชิตพล เปลี่ยนศิริ นายวิมม สาสุนันทนายพัลลภ นามโสม นายพัฒน (พัฒนะ พันเทวะ) พันลูกทาว และนางสาวเกวลี บรรจง นักบัลเลตเลือดอีสานสูเมืองกรุงทั้ง 7 คน บัณฑิตรุนแรกแหงสาขาวิชานาฏยศิลปตะวันตก ศิลปกรรมศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong> บัณฑิตผูมิเคยลืมบานเกิดเมืองนอน ผูรวมสรางและกอบัลเลตใหเปนรูปเปนราง และพัฒนาเสมอมา เพราะผูเขียนตระหนักเสมอวาเขาทั้งหลายคือประวัติศาสตรแหงนักเตนบัลเลตบนแผนดินอีสาน ที่จะตองจารึกประวัติและผลงานตอๆ ไป ขอขอบใจอาจารยอโนมานาสมฝน และกราบนมัสการพระคุณเจา จิระศักดิ์ สุพรรณฝาย อดีตนักเตนบัลเลตผูเฉลียวฉลาด แมทานจะเดินทางเพื่อจาริกแสวงบุญ ใตรมพระบวรพุทธศาสนามานานถึง 6 ป และไมมีทีทาวาจะหวนกลับสูทางโลก แตถึงกระนั้นก็ไมเคยทอดทิ้งโยมคณาจารย และโยมศิษยใหมแหง<strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>ทั้งหลายเลย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!