12.07.2015 Views

Shelf-Life Extension of Mu-Yor Sausage by Using Sodium Benzoate

Shelf-Life Extension of Mu-Yor Sausage by Using Sodium Benzoate

Shelf-Life Extension of Mu-Yor Sausage by Using Sodium Benzoate

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การยืดอายุการเก็บรักษาหมูยอโดยใชโซเดียมเบนโซเอตSHELF-LIFE EXTENSION OF MU-YORSAUSAGE BY USING SODIUM BENZOATE1อัญชนา ดุจจานุทัศน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหมอ. ดร. ลินนา ทองยงค จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยผศ. ดร. สิทธิสิน บวรสมบัติ มหาวิทยาลัยแมโจรศ. ดร. แกว กังสดาลอําไพ มหาวิทยาลัยมหิดลอ. เพ็ญพรรณ แนนหนา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยดร. ทิพยวรรณ ปริญญาศิริ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา


ความเปนมาและความสําคัญของปญหาโซเดียมเบนโซเอตรอยละ 100หมูยอไมถูกตองตามกฎหมายอย.โซเดียมเบนโซเอตมีผลการยืดอายุหมูยอไดจริงหรือไม2


กรดเบนโซอิกและโซเดียมเบนโซเอตC 6 H 5 COOHละลายน้ําไดนอย( 0.27 %, 18 o C)C 6 H 5 COONaละลายน้ําไดดีกวา(66%, 20 o C)pH 4.0 อยูในรูปที่ไมแตกตัว 59.3 %3ประสิทธิภาพในการตานจุลินทรีย ดี ในรูปที่ไมแตกตัว


กรอบแนวคิด• เชื้อจุลินทรียหมูยอ• ลักษณะทางกายภาพ• ความเปนกรด- ดาง• ระยะเวลาการตม• คุณลักษณะประสาทสัมผัส• ปริมาณ NaB4• ที่อุณหภูมิ 4 o C• ที่อุณหภูมิ 32 o C


วัตถุประสงค1. อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสมในการฆาเชื้อในหมูยอ2. ผลของโซเดียมเบนโซเอตตอคุณลักษณะของหมูยอ ทางด านสี เนื้ อสั มผั ส และรส3. ผลของโซเดียมเบนโซเอตที่เติมในหมูยอ ในดานการยืดอายุหมูยอที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C และที่อุณหภูมิ 4 o C5


6ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ทราบอุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสมในการฆาเชื้อในหมูยอ2. ทราบปริมาณโซเดียมเบนโซเอต ที่สามารถใชยืดอายุการเก็บรั ก ษ า ห มู ย อ3. ทราบอายุการเก็บรักษาหมูยอที่เติมโซเดียมเบนโซเอต เมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C และ 4 o C4. เพื่อใชเปนขอมูลทางวิชาการ สําหรับ อย. เพื่อประกอบการพิจารณา การอนุญาตใหใชโซเดียมเบนโซเอตเปนวัตถุกันเสีย


วิธีดําเนินการวิจัย1. อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสมในการตมหมูยอ2. ผลของการเติมโซเดียมเบนโซเอต ตอคุณลักษณะทางประสาทสัมผัสของหมูยอ3. ผลของการเติมโซเดียมเบนโซเอตตออายุการเก็บรักษาหมูยอ7


1. การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการตมหมูยอเตรียมวัตถุดิบ สับผสม และบรรจุหมูยอในกระบอกโลหะตามวิธีของกรมปศุสัตว ขั้น 1 และ 2ตมในน้ํารอนอุณหภูมิ 75 o Cนาน 48 นาที นาน 63 นาที นาน 78 นาทีทําใหเย็น ในน้ําเย็น 20 นาทีถอดหมูยอออกจากกระบอกโลหะเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C10ดานจุลินทรียเชื้อโรคและดัชนีของเชื้อโรค ที่ 0 วันปริมาณจุลินทรียทั้งหมด ที่ 0 1 2 และ 3 วันดานกายภาพดานสี เนื้อสัมผัส กลิ่น ที่ 0 1 2 และ 3 วัน


2. ผลของการเติม NaB ตอคุณลักษณะของหมูยอเตรียมวัตถุดิบ สับผสม และบรรจุหมูยอในกระบอกโลหะตามวิธีของกรมปศุสัตว ขั้น 1 และ 2โซเดียมเบนโซเอต(NaB)หมูยอ 1ไมเติมNaBหมูยอ 2เติม NaB500 มก/กกหมูยอ 3เติม NaB1,000 มก/กกหมูยอ 4เติม NaB1,500 มก/กกหมูยอ 5เติม NaB2,000 มก/กกตมในน้ํา อุณหภูมิ 75 o C นาน 53 นาทีทําใหเย็น แลวถอดออกจากกระบอกโลหะประเมินทางประสาทสัมผัสเก็บรักษา11อุณหภูมิ 32 o Cอุณหภูมิ 4 o C


3. ผลของการเติม NaB ตออายุการเก็บรักษาหมูยอเตรียมวัตถุดิบ สับผสม และบรรจุหมูยอในกระบอกโลหะตามวิธีของกรมปศุสัตว ขั้น 1 และ 2โซเดียมเบนโซเอต(NaB)หมูยอ 1ไมเติมNaBหมูยอ 2เติม NaB500 มก/กกหมูยอ 3เติม NaB1,000 มก/กกหมูยอ 4เติม NaB1,500 มก/กกหมูยอ 5เติม NaB2,000 มก/กกตมในน้ํา อุณหภูมิ 75 o C นาน 53 นาทีทําใหเย็น แลวถอดออกจากกระบอกโลหะประเมินทางประสาทสัมผัสเก็บรักษา12อุณหภูมิ 32 o Cอุณหภูมิ 4 o C


3. ผลของการเติม NaB ตออายุการเก็บรักษาหมูยอ (ตอ)เก็บรักษาอุณหภูมิ 32 o Cอุณหภูมิ 4 o C130 1 2 และ 3 วัน0 1 2 และ 3 วัน0 วัน0 1 2 และ 3 วันคาความเปนกรด - ดางประเมินทางกายภาพเชื้อโรคและดัชนีเชื้อโรคปริมาณจุลินทรียทั้งหมด0 2 6 8 14 20 26 32 44 50 56 62 วัน0 2 6 8 14 20 26 32 44 50 56 62 วัน0 วัน0 2 6 8 14 20 26 32 44 50 56 62 วัน


1.1 ผลดานกายภาพภาพที่ 1 หมูยอที่ผลิตเสร็จใหมๆ16


ตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของหมูยอที่ผลิตโดยตมในน้ํารอน 75 o Cนาน 48 63 และ 78 นาที และเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o Cเวลาเก็บรักษา ลักษณะทางกายภาพ171.1 ผลดานกายภาพ (ตอ)(วัน)เวลาตม (นาที)48 63 780 สีครีมออน เนื้อสัมผัสดี กลิ่นปกติ1 สีครีมออน เนื้อยุยเล็กนอย กลิ่นปกติ2 สีครีมออน เนื้อนิ่ม ยุย ผิวแตกและกลิ่นผิดปกติเล็กนอย3 สีไมสม่ําเสมอ เนื้อนิ่ม ยุยมากผิวแตกเพิ่มขึ้น และกลิ่นเหม็น


เวลาที่ตม(นาที)481.2 ผลดานจุลชีววิทยาตารางที่ 2 ปริมาณจุลินทรียของหมูยอ ที่ผลิตโดยการตม ในน้ํารอน 75 o Cนาน 48 63 และ 78 นาทีเชื้อจุลินทรียS. aureus Salmonella C. perfringens Coliform E. coli/ 0.1g / 25g / 0.1g bacteria63ไมพบ ไมพบ ไมพบ


1.2 ผลดานจุลชีววิทยา (ตอ)1.E+10ปริมาณจุลินทรียทังหมด (CFU/g)1.E+081.E+061.E+041.E+021.E+00เวลาตม 48 นาทีเวลาตม 63 นาทีเวลาตม 78 นาทีมาตรฐานดานจุลินทรีย0 1 เวลา (วัน) 2 3ภาพที่ 2 ปริมาณจุลินทรียทั้งหมดของหมูยอ ที่ผลิตโดยการตม19ในน้ําอุณหภูมิ 75 o C นาน 48 63 และ 78 นาที


ปริมาณ NaB คามัธยฐานของคะแนนประเมินทางประสาทสัมผัสที่เติม (มก/กก) สี เนื้อสัมผัส รส212. ผลการเติม NaB ตอคุณลักษณะของหมูยอตารางที่ 3 คะแนนการประเมินทางประสาทสัมผัสของหมูยอที่เติม NaB0 4.0 4.0 5.0500 3.5 4.0 5.01,000 4.0 3.0 5.01,500 3.5 4.0 5.02,000 4.0 4.0 5.0p-value 0.180 0.550 0.845


3.1.1 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรด- ดางคา pH6.66.56.46.36.26.16.05.95.85.75.65.5โซเดียมเบนโซเอต 0 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,000 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 2,000 มก/กก0 1 เวลาเก็บรักษา (วัน) 2 324 ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรด - ดางของหมูยอในระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C


3.1.2 ผลดานกายภาพตารางที่ 4 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของหมูยอที่เติม NaBระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o Cเวลาเก็บรักษา (วัน)ลักษณะปรากฎของหมูยอและบรรจุภัณฑปริมาณ NaB ที่เติมในหมูยอ (มก/กก)0 500 1,000 1,500 2,0000 ปกติ25


3.1.2 ผลดานกายภาพ (ตอ)ตารางที่ 4 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของหมูยอที่เติม NaBระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 O C (ตอ)เวลาเก็บรักษา (วัน)ลักษณะปรากฎของหมูยอและบรรจุภัณฑปริมาณ NaB ที่เติมในหมูยอ (มก/กก)0 500 1,000 1,500 2,0001เนื้อนิ่มยุยเล็กนอยปกติ26


3.1.2 ผลดานกายภาพ (ตอ)ตารางที่ 4 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของหมูยอที่เติม NaBเวลาเก็บรักษา (วัน)227เนื้อนิ่มยุยมากขึ้นกลิ่นเหม็นถุงโปงพองระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C (ตอ)ลักษณะปรากฎของหมูยอและบรรจุภัณฑปริมาณ NaB ที่เติมในหมูยอ (มก/กก)0 500 1,000 1,500 2,000เนื้อยุยเล็กนอยกลิ่นผิดปกติเล็กนอยถุงโปงพองเล็กนอยกลิ่นผิดปกติเล็กนอย


3.1.2 ผลดานกายภาพ (ตอ)ตารางที่ 4 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของหมูยอที่เติม NaBเวลาเก็บรักษา (วัน)28ระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C (ตอ)ลักษณะปรากฎของหมูยอและบรรจุภัณฑปริมาณ NaB ที่เติมในหมูยอ (มก/กก)0 500 1,000 1,500 2,0003 สีไมสม่ําเสมอเนื้อนิ่ม ยุยมากขึ้นผิวแตกกลิ่นเหม็นเนาถุงโปงพองสีไมสม่ําเสมอเนื้อนิ่ม ยุยบวม แตกกลิ่นเหม็นเนาถุงโปงพอง


3.1.3 ผลดานจุลชีววิทยาตารางที่ 5 ผลการเติม NaBตอปริมาณจุลินทรียของหมูยอสําหรับการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C05001,0001,5002,00029เชื้อจุลินทรียS. aureus Salmonella C. perfringens Coliform E. coliโซเดียมเบนโซเอต(มก/กก)/ 0.1g / 25g / 0.1g bacteriaไมพบ ไมพบ ไมพบ


3.1.3 ผลดานจุลชีววิทยา (ตอ)1.E+10ปริมาณจุลินทรียทั้งหมด (CFU/g1.E+081.E+061.E+041.E+02โซเดียมเบนโซเอต 0 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,000 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 2,000 มก/กกมาตรฐานดานจุลินทรีย301.E+000 1 2 3เวลา (วัน)ภาพที่ 4 การเปลี่ยนแปลงปริมาณจุลินทรียทั้งหมดในระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o C


3.2.1 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรด- ดาง6.66.56.4โซเดียมเบนโซเอต 0 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,000 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 2,000 มก/กกคา pH6.36.26.16.00 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60เวลาเก็บรักษา (วัน)32ภาพที่ 5 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรด - ดางของหมูยอในระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 o C


3.2.2 ผลดานกายภาพตารางที่ 6 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของหมูยอที่เติม NaBระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 o Cเวลาเก็บรักษา (วัน)330 - 5056 - 62ลักษณะปรากฎของหมูยอและบรรจุภัณฑปริมาณ NaB ที่เติมในหมูยอ (มก/กก)0 500 1,000 1,500 2,000สีครีมออน เนื้อสัมผัสดี กลิ่นปกติ ถุงบรรจุปกติสีครีมออน เนื้อสัมผัสดี กลิ่นผิดปกติเล็กนอยถุงบรรจุปกติ


3.2.3 ผลดานจุลชีววิทยาตารางที่ 7 ผลการเติม NaB ตอปริมาณจุลินทรียของหมูยอสําหรับการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 o C05001,0001,5002,00034เชื้อจุลินทรียS. aureus Salmonella C. perfringens Coliform E. coliโซเดียมเบนโซเอต(มก/กก)/ 0.1g / 25g / 0.1g bacteriaไมพบ ไมพบ ไมพบ


3.2.3 ผลดานจุลชีววิทยา (ตอ)ปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมด( CFU/g)1.E+041.E+031.E+021.E+01โซเดียมเบนโซเอต 0 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,000 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 1,500 มก/กกโซเดียมเบนโซเอต 2,000 มก/กก1.E+000 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60เวลาเก็บรักษา (วัน)35 ภาพที่ 6 การเปลี่ยนแปลงปริมาณจุลินทรียทั้งหมดในระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 o C


สรุปผลการวิจัยการตมหมูยอในน้ํารอน 75 o C นานอยางนอย 48 นาทีอุณหภูมิจุดกึ่งกลางเปน 72 o C นานไมนอยกวา 15 นาทีเปนอุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสมในการฆาเชื้อของหมูยอ36


สรุปผลการวิจัย (ตอ)โซเดียมเบนโซเอตปริมาณ 500-2,000 มก/กกไมใหผลแตกตางจากการไมเติมโซเดียมเบนโซเอตคุณลักษณะดานสี เนื้อสัมผัส และรส37


สรุปผลการวิจัย (ตอ)การเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 32 o Cโซเดียมเบนโซเอตปริมาณ 1,000-2,000 มก/กกสามารถยืดอายุการเก็บรักษาไดนาน 1 วันมีปริมาณจุลินทรียทั้งหมด 5.0x10 3 -7.7x10 4 CFU/gโซเดียมเบนโซเอตปริมาณ 0-500 มก/กกหมูยอมีอายุไมถึง 1 วัน38


สรุปผลการวิจัย (ตอ)การเก็บรักษาที่อุณหภูมิ4 o C เปนเวลา 62 วันโซเดียมเบนโซเอตปริมาณ 500-2,000 มก/กกมีปริมาณจุลินทรียทั้งหมด 2.7x10-5.8x10 CFU/gโซเดียมเบนโซเอตปริมาณ 0 มก/กกมีปริมาณจุลินทรียทั้งหมด 3.5x10 CFU/g39


สรุปผลการวิจัย (ตอ)โซเดียมเบนโซเอต 1,000 - 2,000 มก/กก หมูยอมีอายุได 1 วันไมเกิดประโยชนเชิงพาณิชยไมเติมโซเดียมเบนโซเอต40เก็บที่อุณหภูมิ 4 o C เก็บนาน 56-62 วัน


41ขอเสนอแนะอย. / สสจ.1. การกําหนดการแสดงฉลาก ระบุ อุณหภูมิ อายุการเก็บรักษาคําแนะนําในการบริโภคหมูยอ2. ควรใหขอมูลวิชาการ เกี่ยวกับผลการใชโซเดียมเบนโซเอตในหมูยอความสําคัญการเก็บรักษาที่อุณหภูมิที่เหมาะสม3. ควรประชาสัมพันธเกี่ยวกับการเลือกซื้อหมูยอที่ปลอดภัยผูบริโภคควรอานฉลากใหละเอียดการศึกษาตอไป1. ควรศึกษาระยะเวลาที่สั้นที่สุดในการตมหมูยอ2. ควรศึกษาการเติมโซเดียมเบนโซเอตปริมาณสูงกวา 2,000 มก/กกหรือเปลี่ยนใชวัตถุกันเสียชนิดอื่น


ขอขอบคุณ1. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย2. กลุมงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑสัตวเชียงใหม3. ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยเชียงใหม4. มหาวิทยาลัยแมโจ5. ทบวงมหาวิทยาลัย6. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา42


43สวัสดีคะ


หมูยอสูตรและสวนประกอบเนื้อหมูมันหมูน้ําแข็งเครื่องปรุงและเครื่องเทศหอม กระเทียมเกลือแปงฟอสเฟต45


ภาพที่ 1 โปรตีนในเนื้อสัตวที่ถูกสกัดละลายออกมาเพื่อทําหนาที่เปนอิมัลซิไฟเออร46


ผลิตภัณฑที่มีความเปนกรดต่ําเนยแข็งเติมลงในผลิตภัณฑจุม ฉีดพน หรือ ลางหมูบดเนื้อไกปลา47


กลไกการออกฤทธิ์ตอตานจุลินทรีย48ภาพที่ 2 กลไกการออกฤทธิ์ของกรดเบนโซอิก ภายในเซลลของจุลินทรีย


กลไกการระงับการงอกของสปอรภาพที่ 3 กลไกการระงับการงอกของเอนโดสปอรของเบนโซเอต49


ภาพที่ 2 หัววัดอุณหภูมิภาพที่ 3 อุปกรณอิเล็กโทรนิกสสําหรับแปลงสัญญาณและบันทึกขอมูล50


ภาพที่ 4 การติดตั้งหัววัดอุณหภูมิในแทงหมูยอCTF 90041 2 3 41 2 3 4 56 7 8 9 0ภาพที่ 5 ภาพจําลองตําแหนงของปลายหัววัดอุณหภูมิ ณ จุดกึ่งกลางแทงหมูยอ51


ปริมาณกรดเบนโซอิก และโซเดียมเบนโซเอตที่ใชในอาหารสหรัฐอเมริกา1,000 มก/กกสหภาพยุโรป150-5,000 มก/กกไทย1,000 มก/กก52


การประเมินทางประสาทสัมผัสสี • ครีมออน สม่ําเสมอ• ออนหรือเขมกวาธรรมชาติของหมูยอ• ผิดปกติ หรือ ผิดธรรมชาติของหมูยอ เชนสีคล้ํา หรือเขมจนเกินไป•นารังเกียจ เชน สีเขียวคล้ํา53


เนื้อสัมผัส• ละเอียดเปนเนือเดียวกัน ยืดหยุนดีไมมีฟองอากาศ• ละเอียดเปนเนื้อเดียวกัน ยืดหยุนคอนขางดีมีฟองอากาศเล็กนอย• ละเอียดเปนเนื้อเดียวกันดีพอใช นุม หรือคอนขางกระดาง มีฟองอากาศบาง• กระดางมีฟองอากาศบาง• กระดาง หรือมีน้ํามันแยกตัวออก54มีฟองอากาศมาก


รส• ปกติ• เฝอน ฝาด หรือขมเล็กนอย• คอนขางเฝอน ฝาด หรือขม• เฝอน ฝาด หรือขม มาก• เฝอน ฝาด หรือขม มากที่สุด55


เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของแหลงที่มาของจุลินทรียในเนื้อสัตวBacon et al., 2000หนังของซากวัว มีจุลินทรียทั้งหมด 1.6x10 8 -3.2x10 12 CFU/100 mlColiform bacteria 1.0x10 6 -7.9x10 7 CFU/100 mlEscherichia coli 3.2x10 5 -3.16x10 7 CFU/ml56


Rho et al., 2001• พบ Staphylococus aureus ภายในโรงฆาและหองตัดแตง• พบ Listeria monocytogenes, Yersinia enterocolitica ในหองตัดแตง• หัวฉีดน้ํา พบ จุลินทรียทั้งหมดในปริมาณ 4.0x10 4 -7.9x10 6CFU/ml57


นงคราญ เรืองประพันธ (2544)พบวาเนื้อหมูมีการปนเปอนของ E . c o l i,S. aureus, C. perfringens และ Salmonellaรอยละ 75.0, 68.8, 44.4 และ 2.8 ตามลําดับ58


จุลินทรียที่ปนเปอนในเนื้อสัตว1. จุลินทรียที่เปนสาเหตุของโรคS. aureusL. monocotogenesC. jejuniSpore forming bacteria: Bacillus, ClostridiumE.coli O157:H7SalmonellaY. enterocolitica59


2. จุลินทรียที่เปนสาเหตุการเนาเสีย- แบคทีเรียรูปแทงแกรมลบ-โคลิฟอรม/เอนเตริค แบคทีเรีย- แบคทีเรียที่สรางสปอรแกรมบวก- แบคทีเรียแลกติก- แบคทีเรียแกรมบวกอื่นๆ- ยีสตและรา60


Group <strong>of</strong> microorganisms based on growth temperatureGroupoptimal o Cobligate psychrophile 10-15psychrotroph 20-30mesophile 28-43thermophile 50-6561Extreme thermophile 80-90


Richmond (1991)ใหความรอนจน จุดกึ่งกลาง เปน 70 o C นาน 2 นาทีทําลาย L. monocytogenes, Salmonella, E. coli,Shigella, Campylobactor, S. aureus, Yersinia, Vibrio,vegetative cell ของ Bacillus cereus และ C. perfringens64


Carballo et al. (1996)ใหความรอนแกไสกรอกโบล็อกนา จนอุณหภูมิจุดกึ่งกลาง63 70 และ 78 o Cเนื้อสัมผัสและสีไมแตกตางกัน65


Hathcox et al.(1995)เนื้อไก จุมดวย แลกติก 0.5 % และ โซเดียมเบนโซเอต 0.05 %Efiuvwevwere & Ajibobe (1996)โซเดียมเบนโซเอต 0.2 % และ 0.4 % ใน ปลารมควันเนาวรัตน (2542)โซเดียมเบนโซเอตในหมูบด 0.025 - 0.1 %ยอมรับทางประสาทสัมผัส66


Kasradeh & Genigeorgis (1994, 1995)3,000 มก/กก ในเนยแข็ง ยืดระยะเวลาการเจริญของ Salmonella และ E.coli O157:H767


<strong>Mu</strong>suda, Hara-kudo & Kumagai (1996)600 มก/กก + เกลือ + เอธานอล + กรด-ดาง 4.5ในซอสถั่วเหลืองควบคุม E.coli O157:H768


ปริมาณกรดเบนโซอิกที่ผูบริโภคไดรับแตละวันคาเฉลี่ย ปริมาณเบนโซเอตที่ไดรับญี่ปุน 0.18 มก/กก นํ้าหนักตัว/วันสหรัฐอเมริกา 2.3 มก/กก นํ้าหนักตัว/วันปริมาณเบนโซเอตที่ไดรับในปริมาณสูงสหรัฐอเมริกา 7.3 มก/กก น้ําหนักตัว/วันจีน 14 มก/กก น้ําหนักตัว/วัน69

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!