10.01.2013 Views

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยการเรียนรู ้ที่<br />

2. ธาตุและสารประกอบของธาตุในอุตสาหกรรม(4 หน่วยย่อย)<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.1 อุตสาหกรรมแร่<br />

แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบที่เกิดขึ<br />

้นตามธรรมชาติ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาภายในโลกและ<br />

ที่ผิวโลก<br />

มีองค์ประกอบเป็ นช่วง มีโครงสร้างและองค์ประกอบเฉพาะตัว<br />

ประเภทของแร่<br />

1.จ าแนกตามสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ แร่โลหะ รัตนชาติ แร่อโลหะ แร่เชื ้อเพลิง<br />

2.จ าแนกแร่ตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือ ส่วนสินแร่ มีปริมาณมากน ามาใช้ประโยชน์ มี 2<br />

ประเภท<br />

� แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ที่เป็<br />

นส่วนประกอบแยกกระจายในหินเช่น แกรนิต<br />

ควอร์ตช์ เฟลด์สปาร์ และไมกา<br />

� แร่เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม หมายถึง แร่ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ<br />

แร่ประกอบหิน หมายถึง กลุ่มของแร่ต่าง ๆ ที่มีปริมาณมากพอในเชิงเศรษฐกิจ<br />

ซึ ่งสามารถใช้เป็ น<br />

วัตถุดิบในการหลอมเหลวหรือถลุง เพื่อให้ได้โลหะ<br />

แร่หลักชนิดต่าง ๆ จ าแนกตามองค์ประกอบทางเคมี ได้<br />

ดังตาราง 2.1<br />

ตาราง 2.1 แร่หลักชนิดต่าง ๆ<br />

ชนิด แร่<br />

โลหะเดี่ยว<br />

คาร์บอเนต<br />

เฮไลด์<br />

ออกไซด์<br />

ฟอสเฟต<br />

ซิลิเกต<br />

ซัลไฟด์<br />

ซัลเฟต<br />

เงิน ทองค า บิสมัท ทองแดง แพลทินัม แพลเลเดียม<br />

CaCO 3 ( แคลไซต์ หินปูน) MgCO 3 (แมกนีไซต์) CaMg(CO 3 ) 2 (โดโลไมต์) PbCO 3<br />

(เซอรัสไซต์) ZnCO 3 (สมิทโซไนต์)<br />

CaF 2 (ฟลูออไรต์) NaCl (เฮไลต์) KCl (ซิลไวต์) Na 3 AlF 6 (ไครโอไลต์)<br />

Al 2O 3.2H 2O (บอกไซต์) Al 2O 3 (คอรันดัม) Fe 2O 3 (ฮีมาไทต์) Fe 3O 4 (แมกนี<br />

ไทต์) Cu 2O (คิวไพรต์) MnO 2 (ไพโรลูไลต์) SnO 2 (แคสซิเทอไรต์) ZnO (ซิงไคต์)<br />

Ca 3(PO4) 2 (หินฟอสเฟต) Ca 5(PO 4 ) 3 OH (ไฮดรอกซีแอพาไทต์)<br />

Be 3Al 2(Si 6O 18 ) (เบริล) ZrSiO 4 (เซอร์คอน) NaAlSiO 3 (แอลไบต์)3MgO.4SiO 2 .H 2<br />

O (ทัลก์)<br />

Ag 2S (อาร์เจนไทต์) CdS (กรนอกไคต์) Cu 2S (คาลโคไซต์) Fe 2S (ไพไรต์) HgS<br />

(ซินนาบาร์) PbS (กาลีนา) ZnS (สฟาสเลอไรต์)<br />

BaSO 4 (แบไรต์) CaSO 4 (แอนไฮไดรต์) PbSO 4 (แองกลีไซต์) SrSO 4 (เซเลส<br />

ไทต์) MgSO 4.7H 2 O (เอปโซไมต์)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

นอกจากนี ้อาจจ าแนกแร่ตามโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ดังนี ้<br />

แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ที่เป็<br />

นส่วนประกอบของหิน เช่น หินแกรนิตประกอบด้วยแร่ควอตซ์<br />

แร่เฟลด์สปาร์และแร่ไมกา หินปูนประกอบด้วยแร่แคลไซต์ซึ ่งจะกระจายแทรกตัวอยู ่ในเนื ้อหินและแยก<br />

ออกมา ใช้ประโยชน์ได้ยาก จึงต้องน าหินเหล่านั ้นมาใช้โดยตรง เช่น น ามาใช้ในกระบวนการผลิต<br />

ปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมก่อสร้าง น าหินแกรนิตหรือหินอ่อนในรูปของแผ่นหินมาใช้ส าหรับปูพื ้นหรือการ<br />

ก่อสร้าง<br />

ตาราง 2.2 ตัวอย่างกลุ ่มแร่เศรษฐกิจ<br />

กลุ ่มแร่ ตัวอย่าง แร่<br />

แร่โลหะพื้นฐาน<br />

แร่หนักและแร่หายาก<br />

แร่โลหะมีค่า<br />

แร่ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า<br />

แร่วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์<br />

แร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง<br />

แร่รัตนชาติ<br />

แร่ที่ใช้เป็<br />

นเชื้อเพลิง<br />

แร่ทองแดง ตะกั่ว<br />

สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน<br />

แร่เทนทาไลต์โคลัมไบต์ เซอร์คอน อิลเมไนต์ โมนาไซต์<br />

ทองค า ทองค าขาว เงิน<br />

แร่เหล็ก แมงกานีส นิกเกิล โครไมต์ โมลิบไนต์<br />

ยิปซัม หินปูน หินดินดาน ดินมาร์ลหรือดินสอพอง<br />

หินอ่อน หินแกรนิต หินทราย หินกาบหรือหินชนวน<br />

เพชร คอรันดัม มรกต บุษราคัม โกเมน<br />

ถ่านหิน หินน ้ามัน น ้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ<br />

แร่เศรษฐกิจ หมายถึง แร่ที่มีค่าทางเศรษฐกิจและมีปริมาณมากพอที<br />

่จะน ามาใช้ประโยชน์ในทาง<br />

อุตสาหกรรม โดยอาจแบ่งเป็ นกลุ่มได้ตามตาราง หรืออาจแบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ แร่โลหะและแร่<br />

อโลหะ ตัวอย่างแร่เศรษฐกิจที ่ส าคัญของไทย เช่น หินปูน ยิปซัม สังกะสี เหล็ก ดีบุก ตะกั่ว<br />

หินอ่อน ทราย<br />

แก้ว เฟลด์มปาร์ ดินขาว ฟลูออไรต์ โพแทซและรัตนชาติ รวมทั ้งแร่อโลหะที่ใช้เป็<br />

นเชื ้อเพลิง เช่น ถ่านหิน<br />

หินน ้ามันและแก๊สธรรมชาติ โดยประเทศไทยผลิตแร่ได้มากกว่า 40 ชนิดทั ้งการผลิตเพื่อส่งออกและเพื่อ<br />

รองรับอุตสาหกรรมภายในประเทศ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.1 ทองแดง<br />

แร่ทองแดงพบที่<br />

จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ล าปาง ล าพูน<br />

เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิต แร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดงเป็ น<br />

ส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงที่ส<br />

าคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) ซึ ่งมี FeS และ CuS ปนกันอยู่<br />

การถลุงทองแดงจากแร่นี ้ ขั ้นแรกคือ แยกแร่ที่ต้องการออกจากสิ่งเจือปน<br />

อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็ นต้น<br />

จากนั ้นน าแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่า<br />

การย่างแร่ ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็ น<br />

ไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ<br />

2CuFeS2 (s) + 3O2 (g) → 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2 (g)<br />

แล้วน าผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปเผารวมกับออกไซด์ของซิลิกอนมนเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ<br />

1100 ºC<br />

เพื่อก<br />

าจัดไอร์ออน (II) ออกไซด์ออก ดังสมการ<br />

FeO(s) + SiO2 (s) → FeSiO3(l)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ส่วนคอปเปอร์ ( II) ซัลไฟด์ เมื่ออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้เป็<br />

นคอปเปอร์ ( I)<br />

ซัลไฟด์ ในสถานะของเหลวซึ ่งสามารถแยกออกได้ และในขั ้นสุดท้ายเมื ่อแยกคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ใน<br />

อากาศ บางส่วนจะเปลี่ยนเป็<br />

นคอปเปอร์ (I) ออกไซด์ ดังสมการ<br />

2Cu 2S (s ) + 3O 2(g) → 2Cu 2O(s) + SO 2(g)<br />

และคอปเปอร์ (I) ออกไซด์กับคอปเปอร์ ( I)ซัลไฟด์จะท าปฏิกิริยากันโดยมีซัลไฟด์ไออนเป็ นตัว รีดิวซ์<br />

ดังสมการ 2Cu2O(s) + Cu2S (s ) → 6Cu(l) + SO2g) ์<br />

้<br />

แต่ยังมีสิ่งเจือปนจึงต้องน<br />

าไปท าให้บริสุทธิ ก่อน โดยทั่วไปจะใช้วิธีแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้<br />

า<br />

ทองแดงเป็ นโลหะที่มีความส<br />

าคัญและใช้มากในอุตสาหกรรม การผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้ าและ<br />

อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ<br />

อุปกรณ์เกี่ยวกับรถยนต์<br />

อาวุธ เปรียญกษาปณ์<br />

ฯลฯ และยังเป็ นส่วนประกอบส าคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง บรอนซ์ โลหะผสมทองแดง<br />

นิกเกิลใช้ท าท่อในระบบกลั่น<br />

อุปกรณ์ภายในเรือเดินทะเล โลหะผสมทองแดง นิกเกิล และสังกะสี ( เรียกว่าเงินนิกเกิล<br />

หรือเงินเยอรมัน ใช้ท ) าเครื่องใช้<br />

เช่น ส้อม มีด เครื่องมือแพทย์<br />

นอกจากนี แร่ทองแดงที่มีลวดลายสวยงาม<br />

เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถน ามาท าเครื่องประดับได้อีกด้วย<br />

2.1.2 สังกะสี - แคดเมียม<br />

� แร่สังกะสีที่พบมากที่สุดคือ<br />

แร่สฟาเลอไรด์( ZnS ) เมื่อน<br />

ามาถลุงแล้วจะอยู่ในรูปของของเหลวไม่<br />

บริสุทธิ ์ ในประเทศไทยพบแร่สังกะสีในหลายจังหวัด เช่น ล าปาง แพร่ แต่ส าหรับที่ตากเป็<br />

นแร่<br />

สังกะสีชนิดซิลิเกต คาร์บอเนตและออกไซด์ ซึ ่งจะมีล าดับวิธีการถลุงแร่แตกต่างกันออกไป<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

� ปัจจุบันมีการใช้โลหะสังกะสีอย่างกว้างขวาง โดยใช้เป็ นสารเคลือบเหล็กกล้า ใช้ผสมกับทองแดง<br />

เกิดเป็ นทองเหลืองเพื่อใช้ขึ<br />

้นรูปหรือหล่อมผลิตภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนี ้สารประกอบออกไซด์ของ<br />

สังกะสียังน ามาใช้ในอุตสาหกรรมยาง สี เซรามิกส์ ยา เครื่องส<br />

าอาง และอาหารสัตว์<br />

� แคดเมียม(Cadmium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม<br />

48 และสัญลักษณ์คือ Cd แคดเมียมเป็ นโลหะ<br />

ทรานซิชั่นสีขาว-ฟ้<br />

า เป็ นธาตุมีพิษ ในธรรมชาติพบอยู่ในแร่สังกะสี<br />

� คุณสมบัติทางกายภาพ แคดเมียม เป็ นโลหะหนัก มีสีขาว ฟ้ า วาว มีลักษณะเนื ้ออ่อน สามารถบิด<br />

โค้งงอได้และถูกตัดได้ง่ายด้วยมีด มักอยู่ในรูปแท่ง<br />

แผ่น เส้นลวด หรือเป็ นผงเม็ดเล็กๆ ในอากาศที่<br />

มีความชื ้นแคดเมียม จะถูกออกซิไดซ์ช้าๆ ให้แคดเมียมออกไซด์ ในธรรมชาติแคดเมียมมักจะอยู่<br />

รวมกับก ามะถันเป็ นแคดเมียมซัลไฟด์ และ มักปนอยู่ในสินแร่สังกะสี<br />

ตะกั่ว<br />

หรือทองแดง<br />

� คุณสมบัติทางเคมี สูตรเคมี Cd มีคุณสมบัติละลายได้ทั<br />

้งในกรดอินทรีย์ และกรดอนินทรีย์<br />

� การแยกโลหะแคดเมียมท าได้โดยน ากากตะกอนมาบดให้ละเอียดแล้วละลายในกรดซัลฟิ วริก ท า<br />

สารละลายให้เป็ นกลางด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองเพื่อแยกตะกอนออกจากสารละลายแคดเมียม<br />

จากนั ้นเติมผงสังกะสีลงในสารละลายจะได้แคดเมียมพรุนตกตะกอนออกมา กรองเพื่อแยก<br />

แคดเมียมพรุนที่ได้แล้วน<br />

าไปสกัดด้วยกรดซัลฟิ วริกอีกครั ้ง ต่อจากนั ้นท าสารละลายให้เป็ นกลาง<br />

ด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองและน าสารละลายที่ได้ไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้<br />

า จะได้โลหะ<br />

แคดเมียมเกาะที่แคโทด<br />

แล้วจึงน าไปหลอมและหล่อให้เป็ นแท่งต่อไป<br />

� โลหะแคดเมียมใช้เป็ นวัตถุดิบ→ในอุตสาหกรรมการผลิต เซลล์นิกเกิล-แคดเมียม ท าสีใน<br />

อุตสาหกรรมพลาสติก เซรามิกส์ ท าโลหะผสม และใช้โลหะแคดเมียมเคลือบเหล็กกล้า ทองแดง<br />

และโลหะอื่นๆเพื่อป้<br />

องกันการผุกร่อน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.3 ดีบุก<br />

แร่ดีบุกที่พบส่วนใหญ่<br />

พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO2 )<br />

การถลุงแร่ดีบุก<br />

� น าเอาแร่แคสซิเทอไรต์(SnO2) ผสมกับถ่านโค๊ก และดินปูน<br />

� ในอัตราส่วน 20:4:5 ใส่ในเตาเผาแบบนอน ปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้นดังนี ้<br />

C(s) + O 2 (g) → CO 2(g)<br />

CO 2(g) + O 2 (g) → 2CO(g)<br />

2CO (g) + SnO 2<br />

→ Sn (l) + 2CO 2(g<br />

้<br />

� แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ<br />

้น สามารถเปลี่ยนกลับไปเป็<br />

นแก๊ส<br />

คาร์บอนมอนอกไซด์แล้วน ากลับมาใช้ใหม่ได้<br />

� ในสินแร่ดีบุกจะมีสารประกอบบางชนิดเช่น SiO2 ปนอยู่จึงต้องก<br />

าจัดออก<br />

ในขณะถลุง ซึ ่งท าได้โดยให้ท าปฏิกิริยากับ CaO ที่ได้จากการสลายหินปูน<br />

จะได้<br />

ผลิตภัณฑ์เป็ นแคลเซียมซิลิเกตดังนี<br />

CaCO3(s) → CaO(s)+CO2 (g)<br />

CaO(s)+SiO2(s) → CaSiO3(1) คุณสมบัติของดีบุก<br />

� ทนต่อการกัดกร่อน<br />

� ไม่เป็ นสนิม<br />

� ไม่เป็ นพิษต่อร่างกาย<br />

� ผสมเป็ นเนื ้อเดียวกับโลหะอื่นได้ดี<br />

ประโยชน์ของดีบุก<br />

� ใช้เคลือบโลหะ ท าภาชนะบรรจุอาหาร<br />

� ท าโลหะผสม เช่น<br />

� ดีบุก ผสม ทองแดง เป็ น ทองสัมฤทธิ ์ /ทองบรอนซ์<br />

� ดีบุก ผสม ทองแดงและพลวง เป็ น โลหะพิวเตอร์<br />

� ดีบุก ผสม ตะกั่ว<br />

เป็ น ตะกั่วบัดกรี<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.4 ทังสเตน<br />

ทังสเตนส่วนใหญ่พบร่วมกับแร่ดีบุก สินแร่ของโลหะทังสเตนที ่พบในประเทศมี 2 ชนิด คือ<br />

วุลแฟรไมต์ (Fe,Mn)WO 4 และ ซีไลต์ CaWO 4<br />

ทังสเตนเป็ นโลหะสีเทาเงิน มีจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นสูง เป็ นตัวน าความร้อนและไฟฟ้ า<br />

ที่ดี<br />

มีสัมประสิทธิ ์ ของการขยายตัวต ่า เมื่อผสมกับคาร์บอนจะมีความแข็งมาก<br />

โลหะทังสเตนใช้ท าไส้และขั ้ว<br />

หลอดไฟฟ้ า ชิ้นส่วนบริเวณผิวสัมผัสของอุปกรณ์ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ท าฉากป้ องกันความร้อนและ<br />

รังสีในอุปกรณ์ต่างๆ ผสมกับเหล็กจะได้เหล็กกล้าที่มีความแข็งมาก<br />

ส าหรับใช้ท าเกราะในยานพาหนะ อาวุธ<br />

สงคราม ท ามีด มีดโกน ตะไบ ใบเลื่อย<br />

ผสมกับคาร์บอน นิกเกิลและโคบอลต์จะมีความแข็งแกร่งเป็ นพิเศษ<br />

จึงใช้ท าวัตถุส าหรับตัดเหล็กกล้า สารประกอบเรืองแสงของทังสเตนน ามาใช้เป็ นสีเขียวและสีเหลืองในการ<br />

ย้อมไหม ตกแต่งแก้วและเครื่องปั<br />

้ นดินเผา<br />

2.1.5 พลวง(antimony ore)<br />

หนังสือธรณีวิทยาประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี,2544) กล่าวว่า แร่พลวงส่วนใหญ่ที่พบเป็<br />

นแร่พลวง<br />

ซัลไฟด์ คือ แร่สติบไนต์ stibnite ( สูตรเคมี Sb2S3 ) หรือที่เรียกว่า<br />

“พลวงเงิน” และแร่พลวงไฮดรอกไซด์ คือ<br />

แร่สติบิโคไนต์ (stibiconite สูตรเคมี Sb2O4.nH2 O) หรือที่เรียกว่า<br />

“พลวงทอง”<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


2.1.6 แทนทาลัม – ไนโอเบียม<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.7 เซอร์โคเนียม<br />

เซอร์โคเนียม (Zr) เป็ นโลหะที่มีจุดหลอมเหลว<br />

1852 .C จุดเดือด 4377 .C พบอยู่ในรูปของแร่เซอร์<br />

คอน (ZrSiO4) เกิดตามแหล่งแร่ดีบุก<br />

การถลุงเซอร์โคเนียม<br />

� แยก Mg และ MgCl2 โดยเผาในภาวะที่เป็<br />

นสุญญากาศที่<br />

900.C และน าโลหะเซอร์โคเนียม<br />

ไปหลอมในเตาสุญญากาศ เพื่อให้ได้โลหะที่บริสุทธิ<br />

์ ขึ ้นถ้าเติม Y2O3 ลงใน ZrO2 ประมาณ 5% จะได้สารที่<br />

ชื่อว่า<br />

PSZ (Partially Stabilizer Zirconia)ซึ ่งใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ ที่ทนความร้อนได้สูง<br />

และไม่น า<br />

ไฟฟ้ า จึงสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆเช่น<br />

1. ใช้เป็ นชิ้นส่วนของเครื ่องยนต์ไอพ่น และจรวด<br />

2. ใช้ท าถ้วยกระเบื ้องทนไฟ<br />

3. ท าอิฐทนไฟส าหรับเตาหลอมโลหะ<br />

4. ท าฉนวนกันไฟฟ้ าแรงสูง<br />

5. ท าชิ้นส่วนของหัวเทียนรถยนต์<br />

6. ท าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


จงเติมค าตอบให้สมบูรณ์<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

8 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.1<br />

1. แร่ หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ<br />

โดยกระบวนการทาง<br />

ธรณีวิทยาภายในโลกและที่ผิวโลก<br />

มีองค์ประกอบเป็ นช่วง มีโครงสร ้างและ<br />

องค์ประกอบเฉพาะตัว<br />

2. สินแร่หมายถึงกลุ ่มของแร่ต่าง ๆ ที่มีปริมาณมากพอในเชิงเศรษฐกิจ<br />

ซึ่งสามารถใช<br />

้<br />

เป็ นวัตถุดิบในการหลอมเหลวหรือถลุง เพื่อให<br />

้ได ้โลหะ<br />

3. แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ที่เป็<br />

นส่วนประกอบของหิน<br />

4. จงยกตัวอย่าง แร่เศรษฐกิจต่อไปนี ้<br />

แร่โลหะพื ้นฐาน เช่น ..........แร่ทองแดง ตะกั่ว<br />

สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน<br />

แร่หนักและแร่หายาก เช่น แร่เทนทาไลต์โคลัมไบต์ เซอร์คอน อิลเมไนต์ โมนาไซต์<br />

แร่โลหะมีค่า เช่น ทองค า ทองค าขาว เงิน<br />

แร่ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า เช่น แร่เหล็ก แมงกานีส นิกเกิล โครไมต์โมลิบไนต์.<br />

แร่วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เช่น..ยิปซัม หินปูน หินดินดาน ดินมาร์ลหรือดินสอพอง<br />

.<br />

5. แร่เศรษฐกิจ ถ้าแบ่งตามการน ามาใช้ประโยชน์ มี 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ<br />

1....แร่โลหะ 2. ..แร่อโลหะ<br />

6. แร่หลัก ชนิดต่าง ๆ สามารถจ าแนกตามองค์ประกอบทางเคมีได้ ดังนี ้<br />

1. แร่หลัก ที่เป็<br />

นโลหะเดี่ยว<br />

2. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบคาร์บอเนต<br />

3. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบเฮไลด์.. 4. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบออกไซด์<br />

5. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบฟอสเฟต 6. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบซิลิเกต<br />

7. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบซัลไฟด์ 8. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบซัลเฟต<br />

7. แร่ทองแดงที่ส<br />

าคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) ซึ ่งมี FeS และ CuS ปนกันอยู่<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

8. ในขั ้นตอนการถลุงแร่ทองแดง โดยการน าแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่า<br />

การย่างแร่ ไอร์ออน (II) ซัล<br />

ไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็ นสารไอร์ออน (II) ออกไซด์ เกิดปฏิกิริยาดังสมการ<br />

2CuFeS2 (s) + 3O2 (g) → 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2 (g)<br />

9. การท าทองแดงให้บริสุทธิ ์ โดยใช้หลักการเซลล์อิเล็กโทรไลต์ จะใช้สารละลาย CuSO4..และ<br />

H2SO4 เป็ นอิเล็กโทรไลต์ และใช้ ทองแดงที่ถลุงได<br />

้เป็ นแอโนด(ขั้วบวก) ส่วนขั้ว<br />

ลบ(แคโทด)ใช ้โลหะทองแดงบริสุทธิ ์....เป็ นขั ้วไฟฟ้ า<br />

10. แร่สังกะสีที่พบมากที่สุดคือ<br />

แร่สฟาเลอไรด์( ZnS )<br />

11.การถลุงสังกะสีเริ่มจาก<br />

การน าแร่เปียกมาบดจนละเอียดแล้วให้ท าปฏิกิริยากับกรด<br />

ซัลฟิ วริก เกิดเป็ นสารประกอบ ZnSO4 ละลายอยู่ในสารละลาย<br />

ต่อจากนั ้นปรับสภาพสารละลายให้<br />

เป็ นกลางด้วยหินปูนหรือปูนขาวแล้วกรองเพื่อแยกกากแร่ออกจากสารละลาย<br />

กากแร่<br />

ที่กรองได้จะถูกปรับสภาพให้เป็<br />

นกลางด ้วยปูนขาวแล้วส่งไปเก็บในบ่อเก็บกากแร่เพื่อน<br />

าไปถลุงแยก<br />

โลหะอื่นๆ<br />

ต่อไป<br />

12. เพราะเหตุใดจึงต้องท าให้ ZnSO4 มีความบริสุทธิ ์ ก่อนน าไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้ า<br />

แนวตอบ การน า ZnSO4 น าไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้ าจะต้องใช้ZnSO4 บริสุทธิ ์ เพื่อให้สังกะสีมีความบริสุทธิ<br />

์<br />

สูงถึง 99.95% จึงต้องก าจัด Cd 2+ Sb 3+ และ Cu 2+ ไอออนเหล่านี ้ออกโดยการเติมผงสังกะสีลงไป<br />

เพื่อให้โลหะไปรีดิวซ์<br />

ไอออนที่อยู่ในสารละลายเกิดเป็<br />

นโลหะ Cd Sb และ Cu ตกตะกอนอยู่ที่ก้น<br />

ภาชนะ แล้วแยกออกด้วยเครื ่องกรองแบบตกตะกอน จากนั ้นจะได้ZnSO4 บริสุทธิ ์ จึงน าไปแยกด้วย<br />

กระแสไฟฟ้ า<br />

13. การแยกสารละลาย ZnSO4 บริสุทธิ ์ ด้วยกระแสไฟฟ้ า จะได้โลหะสังกะสีที่ขั<br />

้วแคโทด และ แก๊ส<br />

ออกซิเจนเกิดที ่ขั ้วแอโนด และมีสารละลาย H2SO4 เกิดขึ ้น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

14. ในกระบวนการถลุงแร่สังกะสีจะมีโลหะแคดเมียม พลวงและทองแดงเกิดขึ ้นเป็ นผลพลอยได้ แคดเมียม<br />

เป็ นสารพิษร้ายแรง นักเรียนคิดว่าจะมีวิธีแยกโลหะแคดเมียมออกจากกากตะกอนและน ามาใช้ให้เกิด<br />

ประโยชน์อย่างไร<br />

แนวตอบ<br />

� การแยกโลหะแคดเมียมท าได้โดยน ากากตะกอนมาบดให้ละเอียดแล้วละลายในกรด<br />

ซัลฟิวริก ท าสารละลายให้เป็ นกลางด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองเพื่อแยกตะกอน<br />

ออกจากสารละลายแคดเมียม จากนั ้นเติมผงสังกะสีลงในสารละลายจะได้แคดเมียมพรุน<br />

ตกตะกอนออกมา กรองเพื่อแยกแคดเมียมพรุนที่ได้แล้วน<br />

าไปสกัดด้วยกรดซัลฟิวริกอีกครั ้ง<br />

ต่อจากนั ้นท าสารละลายให้เป็ นกลางด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองและน าสารละลายที่<br />

ได้ไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้ า จะได้โลหะแคดเมียมเกาะที่แคโทด<br />

แล้วจึงน าไปหลอมและหล่อให้เป็ น<br />

แท่งต่อไป<br />

� โลหะแคดเมียมใช้เป็ นวัตถุดิบ→ในอุตสาหกรรมการผลิต เซลล์นิกเกิล-แคดเมียม ท าสีใน<br />

อุตสาหกรรมพลาสติก เซรามิกส์ ท าโลหะผสม และใช้โลหะแคดเมียมเคลือบเหล็กกล้า<br />

ทองแดง และโลหะอื่นๆเพื่อป้<br />

องกันการผุกร่อน<br />

15. แร่ดีบุกที่พบส่วนใหญ่<br />

พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO2 )<br />

16. หินปูนที่ใส่ลงไปในผสมกับสินแร่ดีบุกในกระบวนการถลุงท<br />

าหน้าที่อะไร<br />

ส าหรับแร่ดีบุกบางชนิดที ่มีสารประกอบ SiO2 ปนอยู่<br />

ต ้องจ ากัด<br />

ออกโดยเติมหินปูน(CaCO3)ลงไปท าปฏิกิริยากันแล ้วได ้ผลิตภัณฑ์เป็ น<br />

แคลเซียมซิลิเกต CaSiO3<br />

17 .จงบอกประโยชน์ของแร่ดีบุก<br />

ใช้ผสมโลหะตะกั<br />

่วบัดกรี ผสมสังกะสีและพลวงในการชุบสังกะสีมุงหลังคา ใช้ในการฉาบแผ่น<br />

เหล็กเพื่อท<br />

ากระป๋ องบรรจุอาหาร ใช้ในอุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ผสมกับพลวงในการท าโลหะ<br />

ตัวพิมพ์ ชุบแผ่นเหล็กท าแผ่นเหล็กวิลาศ ผสมกับทองแดงเพื่อท<br />

าทองบรอนซ์ ท ากระดาษเงินกระดาษทอง<br />

นอกจากนี ้ยังใช้เป็ นสารประกอบในการผลิตแก้วเนื ้อทึบ เครื่องปั<br />

้ นดินเผา ใช้ในการพิมพ์ผ้าดอก ท าหมึก<br />

ฟอกน ้าตาล และสบู่<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


18. แร่ทังสเตนนี ้มักเกิดร่วมกับแร่ดีบุก<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ประโยชน์ของโลหะทังสเตน ใช้ในต่ออุตสาหกรรมหนัก ใช้ผสมเหล็กกล้าในการท าเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่<br />

ทนความร้อนสูง ท าเครื่องจักรกล<br />

หัวเจาะเกราะ ใบมีด ตะไบ ใบเลื่อย<br />

ไส้หลอดไฟฟ้ า<br />

และหลอดวิทยุ นอกจากนี ้ ยังใช้ในการท าสีอุตสาหกรรมเครื ่องปั ้ นดินเผาและเครื่องแก้ว<br />

19. แร่พลวงที่พบส่วนใหญ่เป็<br />

นแร่พลวงเงิน ( Stibnite; Sb2S3 ) และพลวง<br />

ทอง ( Stibnite; Sb2O 4 . nH2O ) แร่พลวงเงิน<br />

20. การถลุงแร่พลวง<br />

1. ถ้าเป็ นแร่ที่ไม่ใช่สารประกอบออกไซด์โดยทั่วไป<br />

จะเริ่มจากการน<br />

าแร่นั ้นมา ท าให้เป็ น<br />

สารประกอบออกไซด์ก่อน โดยวิธีการเผาแร่ในอากาศ หรือเรียกว่า การย่างแร่<br />

2. เมื่อได้สารประกอบออกไซด์ของพลวงในปริมาณมากพอแล้ว<br />

จึงน ามาผสมกับถ่านหินและ<br />

โซเดียมคาร์บอเนตในอัตราส่วน 20 : 4 : 1 โดยมวล แล้วใส่ลงในเตาถลุงและใช้อุณหภูมิในเตาถลุง<br />

ประมาณ 800-900 ํ C โซเดียมคาร์บอเนตที่ผสมอยู่กับแร่ในเตาถลุง<br />

จะรวมตัวกับสารต่างๆ เกิด<br />

เป็ นกากตะกอนลอยอยู่ด้านบน<br />

โลหะพลวงที่จะได้ปล่อยให้ไหลลงสู่เบ้าเหล็กเพื่อหล่อเป็<br />

นแท่งต่อไป<br />

21. แทนทาลัมและไนโอเบียมเกิดอยู่ร่วมกันในสินแร่แทนทาไลต์โคลัมไบต์<br />

[(FeMn)(TaNb)2O6] ซึ ่งพบในตะกรันจากการถลุงแร่ดีบุก<br />

22. ขั<br />

้นตอนการผลิต Nb 2O 5<br />

1. เอากรันดีบุกมาบดแล้วละลายด้วยกรด HF และ H2SO4แล้ว<br />

2. เติมเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน(MIBK)และพบว่าแทนทาลัมและไนโอเบียมละลายอยู ่บน<br />

ชั ้น MIBK<br />

3.น าไปเติม H2SO4 เจือจางพบว่าไนโอเบียมละลายอยู่บนในชั<br />

้นกรด ปรับสภาพด้วย<br />

NH3 น าตะกอนไปเผาจะได้ Nb2O5 การผลิต Ta2O5 ( ส่วนแทนทาลัมอยู ่ในชั้น<br />

MIBK)<br />

1. แยกด้วยการผ่านไอน ้าเข ้าไป แทนทาลัมจะอยู่ในชั<br />

้นน ้า ในรูป H2TaF7 2. เติม KCl แล้วไปตกผลึกจะได้ K2TaF7 3. น าไปเผาจะได้Ta2O5 น าไปใช้ประโชน์ ได้เลย<br />

ถ้าต้องการ เป็ นโลหะ Ta Nb จะต้องใช้ Nb2O5 และ Ta2O5 ท าปฏิกิริยากับโลหะแคลเซียม<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

23. การถลุงแร่โลหะมีวิธีการแยกโลหะออกจากแร่อย่างไร<br />

1.การท ารีดิวซ์แร่โลหะออกไซด์ให้เป็ นโลหะ โดยใช้ CO เป็ นตัวรีดิวซ์<br />

2.ส่วนแร่ซัลไฟด์ ต้องย่างแร่ในอากาศให้เกิดเป็ นแร่โลหะออกไซด์ แล้วจึงรีดิวซ์ต่อให้เป็ นโลหะ<br />

เช่นกัน<br />

24. การก าจัดสิ่งปนเปื<br />

้ อนในแร่มีวิธีการก าจัดอย่างไรบ้าง<br />

1. ใส่โลหะบางชนิดลงไปเพื่อรีดิวซ์สิ<br />

่งปนเปื ้ อน เช่น การถลุงแร่สังกะสี จะใช้ผงสังกะสีไปรีดิวซ์<br />

เกลือของ Cd Sb และCu ซึ ่งเป็ นสิ่งปนเปื<br />

้ อนในสารละลาย ZnSO4 2. ใช้สารบางชนิดให้ท าปฏิกิริยากับสิ ่งปนเปื้อน<br />

เช่น ใช้ CaCO3(หินปูน) เพื่อก<br />

าจัด SiO2 ที่<br />

ปนอยู่กับสินแร่ดีบุก<br />

25. การย่างแร่ที่น<br />

ามาใช้ในการถลุงทองแดง สังกะสีและพลวง มีวิธีการและหลักทางเคมี อย่างไร<br />

ถ้าสินแร่เป็ นสารประกอบซัลไฟด์ต้องท าให้เป็ นสารประกอบออกไซด์ก่อนโดยการเผาในที่ที่มี<br />

แก๊สออกซิเจนหรือเรียกว่า การย่างแร่ แล้วจึงน าสารประกอบออกไซด์ไปถลุงต่อไป<br />

26. การถลุงแร่ดีบุก พลวงและสังกะสีที่เป็<br />

นสารประกอบออกไซด์มีวิธีการถลุงอย่างไร<br />

1. ใช้ถ่านหินหรือถ่านโค ้ก(C) ท าปฏิกิริยากับ O2 ที่มีจ<br />

านวนจ ากัด เพื่อให้เกิดแก๊ส<br />

CO ซึ ่งท าหน้าที่เป็<br />

นตัวรีดิวซ์สารประกอบออกไซด์ให้เป็ นโลหะ ที่อยู่ในรูปของเหลวที่ไม่บริสุทธิ<br />

์<br />

2. น าโลหะเหลวที่อยู่ในรูปของเหลวที่ไม่บริสุทธิ<br />

์ มาท าการแยกด้วยกระแสไฟฟ้า เพื่อท<br />

าให้<br />

ได้โลหะบริสุทธิ ์<br />

27. การถลุงแร่สังกะสีในประเทศไทยเพื่อผลิตสังกะสีที่มีความบริสุทธิ<br />

์ ถึง 99.95 % ใช้หลักการอย่างไร<br />

ใช้หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เพราะจะได้สังกะสีที่มีความบริสุทธิ<br />

์ ถึง 99.95 %<br />

และกระบวนการผลิตไม่ต้องใช้ความร้อนสูง ซึ ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าวิธีอื<br />

่น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

แบบทดสอบหลังเรียน<br />

1. แร่หลักชนิดต่างๆ มีทั ้งโลหะเดี่ยว<br />

คาร์บอเนต เฮไลด์ ออกไซด์ ฟอสเฟต ซิลิเกต ซัลไฟด์และซัลเฟต ธาตุ<br />

ใดต่อไปนี ้เป็ นโลหะเดี่ยวที่เกิดขึ<br />

้นในธรรมชาติ<br />

ก. ทองค า บิสมัท ทองแดง สังกะสี ข. เงิน แพลตินัม แพลเลเดียม ทองแดง(Au ,Bi)<br />

ค. เงิน ทองค า แพลตินัม แคดเมียม ง. แคดเมียม บิสมัท ทองแดง ทองค า<br />

2. โลหะข้อใดที่เกิดอยู่ในแร่ซัลไฟด์ธรรมชาติ<br />

ก. Cd (แร่กลีนอกไคต์ CdS) ข. Mn<br />

ค. Cr ง. Ca<br />

3. ธาตุใดไม่พบในแร่<br />

ก. Pt ข. Cu<br />

ค. Fe ง. Al<br />

4. ชื่อโลหะและชื่อแร่ของโลหะข้อใดไม่ถูกต้อง<br />

ก. ตะกั่วมาจากแร่กาลีนา<br />

ข. สทรอนเซียมมาจากแร่เซเลสไทต์<br />

ค. เงินมาจากแร่กรีนอกไคต์(มาจากแร่Ag2S=อาร์เจนไทต์) ง. เหล็กมาจากแร่แมกนีไทต์<br />

5. ข้อใดถูกต้อง<br />

1. หินแกรนิตและหินปูนจัดเป็ นแร่ประกอบหิน<br />

2. แร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปา จัดเป็ นองค์ประกอบของหินแกรนิต<br />

3. แร่แคลไซต์ แร่ไมกา จัดเป็ นส่วนประกอบของหินปูน<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3<br />

ค.ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 1,2 และ 3<br />

6. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี ่ยวกับกระบวนการแยกโลหะออกจากแร่โลหะ<br />

ก. แร่โลหะถูกรีดิวซ์ ข. เป็ นการเพิ่มความเข้มข้นของแร่<br />

ค. การย่างแร่<br />

7. แร่ทองแดงที่น<br />

ามาถลุงชื่อแร่ใด<br />

ง. โลหะที่ได้มีความบริสุทธิ<br />

์สูง<br />

ก. คาลโคไซต์<br />

ค. คิวไพรต์ ง. มาลาไคต์<br />

8. สารใดที่เกิดจากการย่างแร่คาลโคโพไรต์<br />

ข. คาลโคโพไรต์<br />

1. CuS 2. FeO 3. SO2 4. Cu 5. CuO<br />

ก. ข้อ 1,2 และ 3 ข. ข้อ 5 เท่านั ้น<br />

ค.ข้อ 1 ,4 และ 5 ง. ข้อ 1 และ 5<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

9. ขั ้นตอนสุดท้ายของการถลุงแร่ทองแดง แสดงด้วยปฏิกิริยา<br />

2 Cu2O (s) + Cu2S (s ) → 6Cu(l) + SO2 (g)<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

1. Cu2O และ Cu2S เป็ นตัวออกซิไดส์ 2. Cu2S มี S ถูกออกซิไดส์<br />

3. ทองแดงเปลี่ยนเลขออกซิเดชันจาก<br />

+1 เป็ น 0 ง. ก ามะถันเปลี่ยนเลขออกซิเดชัน<br />

จาก -2 เป็ น 0+4<br />

ก. ข้อ 1,2 และ 3 ข. ข้อ 3 และ 4<br />

ค.ข้อ 2 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

10. ในการถลุงโลหะดีบุก ใช้แร่ชนิดใดส าหรับการถลุง<br />

ก. ฮีมาไทต์ ข. สติบไนต์<br />

ค. แคสซิเทอไรต์ ง. ซิงไคต์<br />

11. ตัวรีดิวซ์ที่ใช้ในการถลุงดีบุกคือข้อใด<br />

ก. ถ่านโค้ก ข. Mg<br />

ค. Zn ง. แก๊ส CO2 12. ข้อใดกล่าวผิด<br />

ก. การถลุงแร่เป็ นกระบวนการรีดักชัน<br />

ข. การถลุงแร่ท าโดยใช้สารเคมีหรือไฟฟ้ า<br />

ค. การถลุงแร่มีส่วนท าให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก<br />

ง. การถลุงแร่เป็ นกระบวนการที่เปลี่ยนสารประกอบอื่นให้อยู่ในรูปของออกไซด์<br />

13. การการถลุงแร่ในข้อใดที ่มีล าดับขั ้นตอนในการถลุงแร่ดังต่อไปนี ้<br />

1. ย่างแร่<br />

2. รีดิวซ์แร่ที ่ย่างด้วย CO ในเตาถลุง<br />

3. โซเดียมคาร์บอเนตรวมตัวกับสารปนเปื ้ อนอื่นๆ<br />

ในเตาถลุง กลายเป็ นกากตะกอนลอยอยู่บนผิว<br />

โลหะเหลว<br />

4. ไขโลหะเหลวออกจากเตาลงเบ้าเหล็กเพื่อหล่อเป็<br />

นแท่ง<br />

ก. แร่สฟาเลอไรต์ ข. แร่แคสซิเทอไรต์<br />

ค. แร่สติบไนต์ ง. แร่เซอร์คอน<br />

14. การผลิต Zn ด้วยการอิเล็กโทรไลซิส แร่ซิงซัลเฟตด้วยไฟฟ้ า ปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้นที่ขั<br />

้วแอโนดคือข้อใด<br />

ก. 2 SO 4 2- (aq) → S2O 8 2- (aq) + 2 e - ข. H2O(l) → 2 1 O2(g) + 2H + (aq) + 2e -<br />

ค. Zn 2+ (aq) + 2e - → Zn(s) ง. 2H 2O(l) + 2e - → H 2(g) + 2OH - (aq)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

15. สารเคมีที่ใช้ในการสกัดแยกโลหะแทนทาลัมและไนโอเบียมออกจากตะกรันดีบุก<br />

ตามล าดับ<br />

ก. HF H2SO4 MIBK ข. H2SO4 MIBK CO2 ค. MIBK CO2 HF ง. CO2 HF H2SO4 16. ในการแยกโลหะสังกะสีออกจากสารละลาย ZnSO4 โดยใช้กระแสไฟฟ้ า ข้อใดผิด<br />

ก. ปฏิกิริยาที ่ขั ้วแคโทดคือ Zn 2+ (aq) + 2e - → Zn(s)<br />

ข. ที่แอโนดเกิดแก๊สออกซิเจน<br />

ค. เป็ นเซลล์อิเล็กโทรไลต์<br />

ง. pH ของสารละลายเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป<br />

17. จากปฏิกิริยาต่อไปนี ้<br />

1. Sb2O3(s) + 3 CO (g) →2Sb(l)+ 3 CO2(g) 2. SnO2(s) + 2 CO (g) →Sn (l) + 2 CO2(g) 3. SiO2(s) + CaO (s) →CaSiO3 (s)<br />

4. 2Sb2B3(s) + 9O2 (g) →2Sb2O3(s) + 6SO2(g) ข้อใดเป็ นกระบวนการย่างแร่<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 3 และ 4<br />

ค.ข้อ 3 เท่านั ้น ง. ข้อ 4 เท่านั ้น<br />

18. การถลุงแร่ดีบุกจะต้องใช้สินแร่ดีบุกผสมกับถ่านโค้กและหินปูนในอัตราส่วนเท่าใด ตามล าดับ<br />

ก. 10 : 4 : 5 ข. 10 : 5: 4<br />

ค. 20 : 4 : 5 ง. 20 : 5 : 4<br />

19. การถลุงแร่พลวง จะต้องใช้พลวงออกไซด์ผสมกับถ่านหินและ Na2CO3 ในอัตราส่วนเท่าใด ตามล าดับ<br />

ก. 10 : 4 : 1 ข. 10 : 1: 4<br />

ค. 20 : 4 : 1 ง. 20 : 1 : 4<br />

20. ข้อความที่เกี่ยวข้องการถลุงแร่ดีบุก<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

1. เติมถ่านโค้กเพื่อให้เกิด<br />

CO เป็ นตัวออกซิไดส์<br />

2. มีแก๊ส CO2เกิดขึ ้น<br />

3. เติมหินปูนเพื่อรีดิวซ์<br />

SiO2 ซึ ่งป็ นสารปนเปื ้ อน<br />

4. เลขออกซิเดชันของดีบุกในแร่แคสซิเทอไรต์เปลี ่ยนไป 4 หน่วย<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 4<br />

ค.ข้อ 1,2 และ 3 ง. ข้อ 2,3 และ 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

21. ไนโอเบียมและแทนทาลัมสามารถละลายได้ใน MIBK(Methyl Isobutyl Ketone) ถ้าต้องการแยก<br />

ไนโอเบียมและแทนทาลัมออกจากกันโดยเติมสารละลาย H2SO4 ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. แทนทาลัมละลายใน MIBK แต่ไนโอเบียมละลายในน ้า<br />

ข. ไนโอเบียมละลายใน MIBK แต่แทนทาลัมละลายในกรด H2SO4 ค. แทนทาลัมละลายน ้า แต่ไนโอเบียมละลายใน MIBK<br />

ง. แทนทาลัมละลายใน MIBK แต่ไนโอเบียมละลายในกรด H2SO4 22. ทังสเตนสกัดมาจากแร่ใด<br />

1. วุลแฟร์ไมต์ 2. ซีไลต์ 3. อิลเมไนต์ 4. อะซูไรต์<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 2 ค.ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 2 และ 4<br />

23. ข้อใดผิด<br />

ก. สารประกอบเรืองแสงของทังสเตนน ามาใช้เป็ นสีเขียวและสีเหลืองในการย้อมผ้าไหม ตกแต่ง<br />

แก้ว และเครื่องปั<br />

้ นดินเผา<br />

ข. โลหะผสมดีบุก ไทเทเนียม และอะลูมิเนียม ใช้ท าชิ้นส่วนเครื ่องบินและยานอวกาศ<br />

ค. Ta2O5 และ Nb2O5 ถูกรีดิวซ์ด้วยโลหะแคลเซียม โดยมีแคลเซียมคลอไรด์เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา จะ<br />

ได้โลหะแทนทาลัมและไนโอเบียมและแคลเซียมออกไซด์<br />

ง. โลหะแทนทาลัมมีจุดหลอมเหลวต ่ากว่าโลหะไนโอเบียม มีผลให้โลหะแทนทาลัมมีความเหนียว<br />

น้อยกว่าโลหะไนโอเบียม (โลหะแทนทาลัมมีจุดหลอมเหลวสูงกว่า)<br />

24. ข้อใดถูกต้อง<br />

1. ดีบุกผสมทองแดงกับพลวงใช้ท าโลหะพิวเตอร์<br />

2. H2TaF7 ท าปฏิกิริยากับสารละลายแอมโมเนีย จะเกิดตะกอน เมื่อน<br />

าไปเผาไฟจะได้ Ta2O5 3. ZrO2 เป็ นผงสีขาว มีความแข็งมาก ใช้ท าผงขัดและวัสดุทนไฟ<br />

4. วัตถุดิบที ่น ามาสกัดเอาแทนทาลัมและไนโอเบียมนั ้นอาจมีสารกัมมันตรังสี เช่น ยูเรเนียมและ<br />

ทอเรียมปนอยู่ด้วย<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 3 และ 4 ค.ข้อ 1 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียน<br />

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง<br />

1 7 13 19<br />

2 8 14 20<br />

3 9 15 21<br />

4 10 16 22<br />

5 11 17 23<br />

6 12 18 24<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.1.8 แร่รัตนชาติ<br />

แร่รัตนชาติเป็ น “อโลหะ” ที่มีความส<br />

าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก เพราะเป็ นสินค้า<br />

ส่งออกที่ท<br />

ารายได้ให้มาก โดยเฉพาะเพชรพลอยที่แปรรูปเป็<br />

นอัญมณีแล้ว<br />

แหล่งก าเนิดแร่รัตนชาติ<br />

1.สารอินทรีย์ คือ รัตนชาติ หรืออัญมณีที ่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต<br />

อะตอมภายในเรียงตัวกันอย่างไม่เป็ น<br />

ระเบียบมีความแข็งน้อย เช่น อ าพัน ไข่มุก หินปะการัง กระ เปลือกหอย งาช้าง เป็ นต้น<br />

2.สารอนินทรีย์ คือ รัตนชาติหรืออัญมณีที ่ได้มาจากแร่ธาตุที ่อยู่ใต้ผิวโลก<br />

มีโครงสร้างทางเคมี<br />

ค่อนข้างคงที่<br />

อะตอมภายในเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบ เป็ นผลึกมีเหลี่ยม<br />

มีมุม ผิวหน้าผลึกเรียบเช่น<br />

ทับทิม ไพลิน โกเมน มรกต บุษราคัม เป็ นต้น<br />

ระบบ ผลึกของแร่รัตนชาติ<br />

1. ระบบไอโซเมทรอกหรือคิวบิก ระบบนี ้มี 3 แกนเท่ากัน และตัดกันที่กึ<br />

่งกลางเป็ นมุมฉาก แร่ที่จัด<br />

ในระบบนี ้คือ เพชร โกเมน เป็ นต้น<br />

2.ระบบเตตระโกนาล ระบบนี ้มี 3 แกนมีแกนยาว2 เท่ากัน ตัดกันที 90 0 ในระนาบเดียวกันส่วนแกน<br />

ที่สามยาวกว่า<br />

2 แกนแรก แร่ คือ เพทาย<br />

3.ระบบเฮกซะโกนาลหรือระบบไตรโกนาล ระบบนี ้มี 4 แกน โดยที่<br />

3 แกนอยู่ในระนาบเดียวกันและ<br />

ตัดกันที่<br />

60 0 ส่วนแกนที่<br />

4 ตั ้งฉากกับระนาบนี ้แร่ที ่อยู่ในระบบได้แก่<br />

ควอร์ตช์ คอรันดรัม ทัวมาลีน<br />

4.ระบบออโทรอมบิก ระบบมี 3 แกน ที่ยาวไม่เท่ากัน<br />

และทั ้งสามตัวกันท ามุม 90 0 แร่ที่อยู่ในระบบ<br />

นี ้คือ เพอริดอท คริสโซเบอริล เป็ นต้น<br />

5.ระบบมอนอคลินิกมี 3 แกนไม่เท่ากัน โดยมี 1 แกนตั ้งฉากอีก 2 แกน แร่ที่อยุ่ในระบบนี<br />

้คือเช่น<br />

สปอ<br />

ดูมีน หยก เนฟไฟรท์ เป็ นต้น<br />

6.ระบบไตรคลีนิก ระบบนี ้แกนความยาวและมุมไม่เท่ากัน แร่ที่จัดอยู่ในระบบคือ<br />

เทอร์ควอยซ์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

สถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้ ความหมายของรัตนชาติหรืออัญมณีว่า“เป็นแร่และหรือ<br />

สารประกอบอินทรีย์ที ่ น ามาใช้เป็นเครื่องประดับ”<br />

มีสมบัติส าคัญคือ<br />

1. ความสวยงาม<br />

2.ความคงทน<br />

3.ความหายาก<br />

4.ความนิยม<br />

5. ความสามารถในการพกพา<br />

ส่วนสารประกอบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและจัดเป็<br />

นรัตนชาติ ได้แก่ 1.ไข่มุก 2.ปะการัง 3.อ าพัน<br />

„ นอกจากนี ้สถาบันดังกล่าว ยังแบ่ง อัญมณีออกเป็ น 2 กลุ่มคือ 1.เพชร 2.พลอยหรือหินสี<br />

บ่อพลอยที่เป็<br />

นแหล่งผลิตรัตนชาติที่ส<br />

าคัญและเก่าแก่ของไทยอยู่ที่จังหวัด<br />

จันทบุรี ตราด<br />

และกาญจนบุรี ส่วนเพชรพบปนอยู่ในลานแร่ดีบุกที<br />

่จังหวัดภูเก็ตและพังงา แต่ปริมาณน้อยและ<br />

คุณภาพต ่ามาก แร่รัตนชาติ ที่มีชื่อเสียงของไทย<br />

ได้แก่ ทับทิมสยาม ไพลินหรือแซปไฟร์สีน ้าเงิน<br />

บุษราคัม<br />

ทับทิมสยามและไพลินเป็ นพลอยในตระกูลแร่ คอรันดัม มีส่วนประกอบหลักเป็ น<br />

อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al ร้อยละ52.9 และ O ร้อยละ 47.1 โดยมวล การที่พลอยตระกูลคอ<br />

รันดัมมีสีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุอื่นเป็นมลทิน<br />

เช่น<br />

„ ถ้ามี Cr จะท าให้เนื ้อพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดงเข้ม ซึ ่งเรียกว่า “ทับทิม”<br />

� ถ้ามี Fe จะท าให้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีน ้าตาล<br />

� ถ้ามีทั ้ง Fe และ Ti ปนด้วยกัน จะท าให้พลอยมีสีน ้าเงินอ่อนถึงสีน ้าเงินเข้ม เรียก “ไพลิน”<br />

� ถ้ามีแร่รูไทล์ ปนอยู่<br />

จะท าให้พลอยมีลายเส้นเหลือบๆ หรือ รูปดาว เรียกว่า “พลอยสาแหรกหรือ<br />

พลอยสตาร์”<br />

การตรวจสอบเพชรและพลอยเพื่อจ<br />

าแนกชนิดหรือเพื่อพิสูจน์<br />

ว่า เป็ นของแท้หรือเทียม จะใช้<br />

เครื่องมือและวิธีการเฉพาะ<br />

เพื่อตรวจสอบสมบัติที่ปรากฏ<br />

เช่น ความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ รูปลักษณะของ<br />

ผลึกที่เกิดตามธรรมชาติ<br />

เป็ นต้น ซึ ่งเป็ นสมบัติเฉพาะของรัตนชาติแต่ละชนิด<br />

แร่รัตนชาติแต่ละชนิดมีความแข็งหรือความทนทานต่อการขูดขีดได้ไม่เท่ากัน นักธรณีวิทยาชาว<br />

เยอรมัน ชื่อ<br />

เฟดริก โมส์ ได้จัดระดับความแข็ง ของแร่ตั ้งแต่อ่อนที่สุดจนถึงแข็งที่สุดไว้<br />

10 ระดับ ดังตาราง<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

„ เพชร เป็ นแร่ที่มีความแข็งที่สุด<br />

และ โดยทั่วไปแร่รัตนชาติจะมีความแข็งสูงกว่า<br />

6<br />

เพชรเป็ นอัญมณีที่มีความแข็งที่สุด<br />

ประกอบด้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มีโครงสร้างเป็ นร่างตา<br />

ข่าย ไม่น าไฟฟ้ า แต่น าความร้อนได้ดีที่สุด<br />

และดีกว่าทองแดง 5 เท่า จึงถูกน าไปใช้ท า<br />

ส่วนประกอบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันสามารถสังเคราะห์เพชรได้ โดยอัดแกรไฟต์<br />

ภายใต้ความดัน 50,000-100,000 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ<br />

2000 �C โดยมีโครเมียม เหล็ก หรือ<br />

แพลทินัมเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา เพชรที่ได้จะมีความแข็ง<br />

ความถ่วงจ าเพาะ ค่าดัชนีหักเหแสง และ<br />

โครงสร้างผลึกเหมือนกับเพชรธรรมชาติ แต่การผลิตเพชรจะเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก<br />

„ ส่วน ทับทิม ไพลิน และบุษราคัม มีระดับความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ และค่าดัชนีหักเหแสง<br />

เท่ากัน จึงจัดเป็ นแร่ชนิดเดียวกัน แต่มีสีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุมลทินในเนื<br />

้อพลอยแตกต่าง<br />

กัน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีช่วยให้มีการเพิ ่มคุณภาพของแร่ได้ หลายวิธี เช่นการ<br />

เจียระไน การเผา การอาบรังสี การย้อมเคลือบสี และการฉายแสงเลเซอร์ วิธีการเหล่านี ้ช่วยให้อัญมณีมีความ<br />

งดงามและมีคุณค่ามากขึ ้น<br />

การเจียระไน เป็ นเทคนิคที่ท<br />

าให้อัญมณีมีความแวววาวเป็ นประกายและมีสีสันเด่นชัดขึ ้น โดยใช้<br />

เครื่องมือท<br />

าให้เป็ นเหลี่ยม<br />

เพื่อให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาภายในผลึกและสะท้อนออกด้านหน้า<br />

รูป 1 การเจียระไนเพชรพลอยแบบต่างๆ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การเผาพลอยหรือการหุงพลอย เป็ นเทคนิคที่ช่วยให้พลอยมีสีสันสวยงาม<br />

โดยใช้ความร้อนและ<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

ท าให้ธาตุต่างๆ ในเนื ้อพลอยจัดเรียงตัวใหม่ ท าให้พลอยใสขึ ้นและมีสีเปลี ่ยนไปอย่าง<br />

ถาวรดังแสดงในตารางที่<br />

1<br />

ชนิดของพลอย สีเดิมตามธรรมชาติ สีที่เปลี่ยนแปลง<br />

หลังการให้ความร้อน<br />

ทับทิม แดงอมม่วงแดงอมน<br />

้าตาล ชมพูอมม่วง แดงสดหรือชมพูสด<br />

แซปไฟร์สีน ้าเงิน(ไพลิน) น ้าเงิน ขาวใส ขาวขุ ่นน ้านม หรือ<br />

ขาวอมเหลือง<br />

น ้าเงินเข้มขึ ้นหรือน ้าเงินสว่างขึ ้น<br />

แซปไฟร์สีขาว ขาวใส ขาวขุ ่นน ้านม หรือ<br />

ขาวอมเหลือง<br />

น ้าเงิน เขียว เหลือง หรือเหลืองน ้าทอง<br />

เพทาย น ้าตาล สีชา ใสไม่มีสี เหลืองน ้าทอง น ้าเงิน<br />

โทแปซ ขาวใส น ้าเงิน (ก่อนเผาจะอาบรังสีนิวตรอนให้<br />

ได้สีเหลือง น ้าตาล หรือเขียว)<br />

ควอตซ์ (แอเมทิสต์) ม่วง ใสไม่มีสี เหลืองน ้าทอง เขียว<br />

การย้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด ท าให้พลอยมีสีสันสวยงามขึ ้น สารเคมีที่<br />

ใช้จะมีส่วนผสมของธาตุมลทินที ่ท าให้พลอยชนิดนั ้นเกิดสีตาม ธรรมชาติ แต่จะแตกต่างกับการเผาพลอย<br />

ตรงที่<br />

สีที่เกิดขึ<br />

้นสามารถอยู่ได้เพียงชั่วคราวเท่านั<br />

้น<br />

การอาบรังสี คือการน าพลอยไปอาบรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ท าให้สีเปลี่ยนแปลง<br />

ปัจจุบันมีการนิยมท าเพชรเทียมกันมากขึ ้นเนื่องจากเพชรธรรมชาติหายากและมี<br />

ราคาแพง โดย<br />

เพชรเทียมที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ<br />

เพชรรัสเซีย หรือคิวบิกเซอร์โคเนีย เพชรเทียมมีการกระจายแสงสูง<br />

กว่าเพชรธรรมชาติจึงท าให้เป็ นประกายแวววาว และมีความถ่วงจ าเพาะสูงกว่าเพชรธรรมชาติมาก<br />

ในการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีการน าแผ่นฟิ ล์มเพชรบางๆซึ ่งได้จากการท าเพชรสังเคราะห์<br />

โดยการเผาแก๊สมีเทนหรืออะเซติลีนสลายพันธะได้อะตอมของคาร์บอนเกาะติดบนแผ่น ฟิ ล์มซิลิคอน เป็ น<br />

แผ่นเพชรช่วยถ่ายเทความร้อนออกจากวงจรอิเล็กทรอนิกส์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

แบบฝึ กหัดที่<br />

9 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.1<br />

1. แร่รัตนชาติแบ่งตามแหล่งก าเนิดได้เป็ นกี่ประเภท<br />

แต่ละประเภทมีสมบัติอย่างไรบ้าง<br />

แร่รัตนชาติ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ<br />

1. แร่ที<br />

2. แร่ที<br />

่มาจากสารอินทรีย์<br />

่มาจากสารอนินทรีย์<br />

แร่รัตนชาติทุกประเภท มีสมบัติส าคัญคือ<br />

1. ความสวยงาม<br />

2.ความคงทน<br />

3.ความหายาก<br />

4.ความนิยม<br />

5. ความสามารถในการพกพา<br />

2. เพราะเหตุใด เพชรจึงมีความแข็งมากที่สุด<br />

เพชร จะประกอบด ้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มีโครงสร ้างเป็ นร่างตาข่าย โดยคาร์บอนทุกอะตอม<br />

ยึดกับอะตอมข ้างเคียง 4 อะตอมด ้วยพันธะเดี่ยว<br />

3. ทับทิม ไพลิน และบุษราคัม จัดเป็ นแร่ชนิดเดียวกันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด<br />

จัดเป็ นแร่ชนิดเดียวกันคือ คอร ันด ัม มีส่วนประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al<br />

ร ้อยละ52.9 และ O ร ้อยละ 47.1 โดยมวล มีระดับความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ และค่าดัชนีหัก<br />

เหแสงเท่ากัน ต่างกันที่<br />

� สีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุอื่นเป็<br />

นมลทินถ ้ามี Cr จะท าให ้เนื้อพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดง<br />

เข ้ม ซึ่งเรียกว่า<br />

“ทับทิม”<br />

� ถ ้ามี Fe จะท าให ้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีน ้าตาล<br />

� ถ ้ามีทั้ง Fe และ Ti ปนด ้วยกัน จะท าให ้พลอยมีสีน ้าเงินอ่อนถึงสีน ้าเงินเข ้ม เรียก “ไพลิน<br />

4. ไข่มุกเกิดขึ ้นได้อย่างไร และจัดเป็ นรัตนชาติหรือไม่<br />

ไข่มุกเกิดจากสิ ่งมีชีวิตพวกหอยมุกหรือหอยจอบ มีการขับสารบางอย่งออกมาพื่อเคลือบ<br />

สิ่งที่ท<br />

าให ้เกิดการะคายเคืองภายในเปลือกหอยนั้น ซึ่งสะสมเป็<br />

นระยะเวลานานและจัดเป็ นรัตน<br />

ชาติ เพราะมีความสวยงามและหายาก<br />

5. แร่รัตนชาติ มีสมบัติแตกต่างจากแร่ชนิดอื่นอย่างไร<br />

คือ มีความสวยงามเมื่อเจียระไน<br />

แข็งแรง มีความคงทน หายาก<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

6. เพชรและทับทิมมีองค์ประกอบทางเคมีและสมบัติต่างกันอย่างไร<br />

เพชรเป็ นอัญมณีที่มีความแข็งที่สุด<br />

ประกอบด ้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มี<br />

โครงสร ้างเป็ นร่างตาข่าย ไม่น าไฟฟ้า แต่น าความร ้อนได ้ดีที ่สุด และดีกว่า<br />

ทองแดง 5 เท่า ทุกสีมีค่าดัชนีหักเหแสงอยู ่ในช่วง 2.14 มีความถ่วงจ าเพาะ 3.52<br />

ทับทิม มีส่วนประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al ร ้อยละ52.9<br />

และ O ร ้อยละ 47.1 โดยมวล มีความแข็งน ้อยกว่าเพชร มีสีแดง ใชเป็ น<br />

แหล่งก าเนิดแสงเลเซอร์ มีค่าดัชนีหักเหแสงอยู่ในช่วง<br />

1.76 – 1.77 มีความ<br />

ถ่วงจ าเพาะ 4.00<br />

7. ถ้าต้องการท าให้อัญมณีมีความงดงามมากขึ ้น จะมีวิธีการท าอย่างไร<br />

‟ การเจียระไน ท าให ้แสงหักเหสะท ้อนกลับไปมาภายในผลึกและสะท ้อนออกด ้านหน้า<br />

‟ การเผาหรือการหุงพลอย ท าให ้พลอยใสขึ้นและมีสีเปลี่ยนไป<br />

‟ การอาบรังสี รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ท าให้สีเปลี่ยนแปลง<br />

‟ การย ้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด ท าให ้พลอยมีสีสันสวยงาม<br />

ขึ้น<br />

สารเคมีที่ใช<br />

้จะมีส่วนผสมของธาตุมลทินที่ท<br />

าให ้พลอยชนิดนั้นเกิดสีตาม ธรรมชาติ<br />

แต่จะแตกต่างกับการเผาพลอยตรงที่<br />

สีที่เกิดขึ้นสามารถอยู่ได<br />

้เพียงชั่วคราวเท่านั้น<br />

8.เพชรสังเคราะห์ท าได้โดยวิธีการใด<br />

การสังเคราะห์เพชรโดยอัดแกรไฟต์ภายใต ้ความดัน 50,000-100,000 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ<br />

2000 oC โดยมีโครเมียม เหล็ก หรือแพลทินัมเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา<br />

9. เพชรสังเคราะห์และเพชรเทียม มีความแตกต่างกันอย่างไร<br />

‟ เพชรสังเคราะห์จะมีความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ ค่าดัชนีหักเหแสง และ<br />

โครงสร ้างผลึกเหมือนกับเพชรธรรมชาติ แต่การผลิตเพชรจะเสียค่าใช ้จ่ายสูง<br />

มาก<br />

‟ เพชรเทียม มีส่วนประกอบอื่นที่ไม่ใช่ธาตุคาร์บอน<br />

โดยท าให ้ส่วนประกอบนั้นมี<br />

โครงสร ้างตาข่ายเหมือนกับเพชร เพชรเทียมมีการกระจายแสงมากกว่าเพชร<br />

ธรรมชาติ ท าให ้มีประกายแวววาว และมีความถ่วงจ าเพาะสูงกว่าเพชรธรรมชาติ<br />

มาก เพชรเทียมที่รู<br />

้จักกันดีคือ เพชรรัสเซีย มีส่วนประกอบของเซอร์โคเนียม<br />

ออกไซด์ผสมด ้วยอิตเทรียมออกไซด์หรือแคลเซียมออกไซด์เพียงเล็กน ้อย<br />

10. การตรวจสอบอัญมณีว่าเป็ นของแท้มีวิธีการตรวจสอบอย่างไร<br />

ตรวจสอบความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ ค่าดัชนีหักเหของแสง ลักษณะของผลึกใน<br />

ธรรมชาติ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

แบบทดสอบหลังเรียน<br />

1. ข้อใดเป็ นความแตกต่างของทับทิมสยามกับไพลิน<br />

ก. สิ่งเจือปน<br />

ข. ความแข็ง ค. ชนิดของแร่ ง. ดัชนีหักเห<br />

2. ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. สีสันของรัตนชาติอาจจะบอกได้ด้วยโครงสร้างที ่เกิดตามธรรมชาติ<br />

ข. การเจียระไนอัญมณีคือการท าให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาในผลึกแล้วสะท้อนกลับมาด้านหน้า<br />

ค. เพชรแท้หรือเพชรเทียมพิสูจน์ได้จากค่าความถ่วงจ าเพาะ ไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยค่าดัชนีหักเห<br />

ของแสง เพราะขึ ้นอยู่กับรูปแบบของการเจียระไน<br />

ง. เมื่อน<br />

าแร่ A มาขีดบนแร่ B จะเกิดรอยบนแร่ B เมื่อเอาแร่<br />

B มาขีดกระจก เกิดรอยบนกระจก แร่A<br />

3. ในการตัดกระจก อุปกรณ์ที่ใช้ตัดมักท<br />

าจากเศษเพชร ถ้าไม่มีเศษเพชร ควรเลือกสารในข้อใดแทน<br />

ก. ฟลูออไรด์ ข. อะปาไตต์ ค. คอรันดัม ง. ออโธเคลส<br />

ควรอยู่ในระดับความแข็งตั<br />

้งแต่ 8ขึ ้นไป<br />

4. จากตาราง จงเรียงล าดับความแข็งของแร่จากมากที ่สุดไปน้อยที่สุด<br />

แร่ ลักษณะความแข็ง<br />

A ขีดกระจกเป็ นรอยบนกระจก<br />

B กระจกขีดแร่เป็ นรอยบนผิวแร่<br />

C สตางค์แดงขูดเป็ นรอย<br />

D มีดขูดเป็ นรอย<br />

่<br />

ก.A B C D<br />

5. ข้อใดถูกต้อง<br />

ข. B A C D ค. A B D C ง. B A D C<br />

ก. เพชรแท้กับเพชรเทียมมีค่าความถ่วงจ าเพาะต่างกัน แต่ดัชนีหักเหของแสงเท่ากัน<br />

ข. แร่รัตนชาติมีก าเนิดมาจากอนินทรีย์วัตถกับอินทรียวัตถุ<br />

ค ความแข็งของอัญมณีสามารถบอกได้ว่าเป็ นอัญมณีชนิดใด<br />

ง. หลักการเจียระไนอัญมณีคือการให้แสงตกกระทบถูกสะท้อนออกมามากที่สุด<br />

6. ไพลินจัดเป็ นพลอยในตระกูลคอรันดัมเหมือนกับทับทิมและมีสีน ้าเงิน อันเนื่องมาจากไอออนของ<br />

โลหะแทรนซิชันใดไปแทนที Al 3+ ในโครงสร้าง<br />

1. โครเมียม 2. เหล็ก 3. ไทเทเนียม 4.ทองแดง<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3 ค.ข้อ 3 และ 4 ง. ข้อ 1 และ 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

่<br />

7. ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. ไข่มุกไม่ว่าสีใด ไม่มีค่าดัชนีหักเห<br />

ข. เพชรมีความแข็งมากที่สุด<br />

เนื่องจากมีความถ่วงจ<br />

าเพาะมากที่สุด<br />

ค. อัญมณีต่างชนิดกัน ถ้ามีสีเหมือนกัน จะมีค่าดัชนีหักเหของแสงเท่ากัน<br />

ง. อัญมณีต่างชนิดกัน ถ้ามีความแข็งเท่ากัน จะมีค่าความถ่วงจ าเพาะเท่ากัน<br />

8. ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. พลอย ตระกูลคอรันดัม ถ้าต้องการให้ มีสีน ้าเงิน ให้เติม TiO2 ลงไป แล้วน าไปเผาที่เรียกว่า<br />

การย้อมเคลือบสี<br />

ข. การหุงพลอยเป็ นการท าให้เนื้อพลอยมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันมีผลท<br />

าให้เนื้อพลอยใสขึ้น<br />

มีสีเปลี่ยนไปอย่างถาวร<br />

ค. การหุงพลอยเป็ นเทคนิคเดียวเท่านั ้นที่มีผลให้เนื<br />

้อพลอยเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน<br />

ง. การอาบรังสีเป็ นวิธีการหนึ ่งที่ใช้เปลี่ยนสีของพลอยโดยใช้รังสีแกมมาเท่านั<br />

้นมาจากโคบอลต์<br />

9. ทับทิมจัดเป็ นพลอยในตระกูลคอรันดัมมีสีแดงเข้มอันเนื่องมาจากไอออนของโลหะแทรนซิชันใดไป<br />

แทนที Al<br />

-60<br />

3+ ในโครงสร้าง<br />

ก. โครเมียม ข. เหล็ก ค. ไทเทเนียม ง. แมงกานีส<br />

10. เพชรมีความแข็งมาก ไม่น าไฟฟ้ า แต่น าความร้อนได้ดีกว่าทองแดงถึงกี ่เท่า<br />

ก. 4 เท่า ข. 5 เท่า ค. 6 เท่า ง. 7 เท่า<br />

11. ในสภาวะใด(อุณหภูมิและความดัน) ที่ชัในการสังเคราะห์เพชร<br />

อุณหภูมิ(�C ) ความดัน(atm)<br />

ก. 2,000 5,000-10,000<br />

ข. 2,000 50,000-100,000<br />

ค. 1,500 5,000-10,000<br />

ง. 1,500 50,000-100,000<br />

12. สมบัติที่เหมือนกันระหว่างเพชรธรรมชาติและเพชรสังเคราะห์<br />

ข้อใดถูก<br />

1. ความแข็ง 2. ความถ่วงจ าเพาะ 3. ดัชนีหักเหของแสง<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 2 ค.ข้อ 2 และ 3 ง. ข้อ 1 ,2 และ3<br />

13. เพชรรัสเซีย จัดเป็ นเพชรเทียม มีส่วนประกอบหลักทางเคมีเป็ นสารใด<br />

1. เซอร์โคเนียมไดออกไซด์(ZnO2) 2. อิตเทรียมออกไซด์(Y2O3) 3. แคลเซียมออกไซด์(CaO) 4. รูไทล์ (TiO2) ก. ข้อ 1 ผสม 2 ข. ข้อ 1 ผสม 3 ค.ข้อ 4 เท่านั ้น ง. ข้อ 3 และ 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.2 อุตสาหกรรมเซรามิกซ์<br />

ในสมัยก่อน เซรามิกส์หมายถึงศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเครื<br />

่องปั ้ นดินเผา เนื่องจากค<br />

าว่า “เซรามิกส์”<br />

มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า “เครามอส” ซึ ่งหมายถึงวัสดุที ่ผ่านการเผา<br />

ปัจจุบันนี ้ เซรามิกส์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ท<br />

าจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย และแร่<br />

ธาตุต่างๆ น ามาผสมกัน แล้วท าเป็ นสิ่งประดิษฐ์<br />

หลังจากนั ้นจึงน าไปเผาเพื่อเปลี่ยนเนื<br />

้อวัตถุให้แข็งแรง<br />

สามารถคงรูปอยู่ได้<br />

อุตสาหกรรมเซรามิกส์เป็ นอุตสาหกรรมที่มีความส<br />

าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั ้งเป็ น<br />

อุตสาหกรรมพื ้นฐานรองรับอุตสาหกรรมอื่นๆ<br />

อีกหลายอย่าง เช่น วัสดุทนไฟเป็ นวัสดุพื ้นฐานของอุตสหกร<br />

รมถลุงและผลิตโลหะ ซีเมนต์เป็ นวัสดุส าคัญของงานการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม เป็ นต้น<br />

กระบวนการผลิตเซรามิกส์มีขั ้นตอน ดังนี ้<br />

1. การเตรียมวัตถุดิบ<br />

2. การขึ ้นรูป<br />

3. การเผาและการเคลือบ<br />

นอกจากนี ้ อาจมีการตกแต่งให้สวยงามโดยการเขียนลวดลายด้วยสีหรือการติดรูปลอก สามารถท า<br />

ได้ทั ้งก่อนและหลังเคลือบ<br />

2.2.1 การเตรียมวัตถุดิบ<br />

วัตถุดิบอาจแบ่งเป็ น<br />

1. วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์<br />

2. วัตถุดิบอื่นๆ<br />

เพื่อท<br />

าให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึ ้น เช่น ดิกไคต์ โดโลไมต์ เป็ นต้น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วัตถุดิบหลัก<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. ดิน เป็ นวัตถุดิบส าคัญที่ใช้ในการผลิตเซรามิกส์หลายประเภท<br />

โดยเฉพาะที่ใช้เป็<br />

นภาชนะ<br />

รองรับอาหาร เครื่องสุขภัณฑ์<br />

กระเบื ้อง องค์ประกอบที่ส<br />

าคัญของดิน คือ SiO2 , Al2O3 , Fe2O3 ,CaO ,MgO<br />

K2 O และ Na2O ซึ ่งดินจากที่ต่างกันจะมีองค์ประกอบในสัดส่วนที่ต่างกัน<br />

แบ่งดินตามลักษณะทางกายภาพ จะแบ่งได้ดังนี ้<br />

� ดินขาว เป็ นวัตถุดิบที ่ส าคัญ ดินขาวบริสุทธิ ์ มีสูตรเคมีเป็ น Al2O3 (2SiO2 .2H2 O) ใน<br />

ประเทศไทยพบดินขาวในลักษณะที่เป็<br />

นสีขาวหรือสีอ่อนทั ้งในสภาพที่ยังไม่ได้<br />

เผาและหลังเผา เช่น ที่<br />

จังหวัดล าปาง อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช<br />

� ดินเหนียว มีสีขาวคล ้าจนถึงด าสนิท เนื ้อละเอียด เหนียวและแข็งแรงทนทานกว่าดินขาว<br />

พบมากที่<br />

ล าปาง เชียงใหม่ ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี เมื่อน<br />

าดินเหนียวผสมกับดินขาว จะท าให้เนื ้อดินแน่น<br />

และเนียนมากขึ ้น สะดวกในการขึ ้นรูปและท าเป็ นผลิตภัณฑ์<br />

2. เฟลด์สปาร์ (หินฟันม้า) เป็ นสารประกอบอะลูมิโนซิลิเกตของธาตุหมู ่ I และ II ส่วนใหญ่มี<br />

องค์ประกอบคงที่<br />

ท าหน้าที่ช่วยให้เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต<br />

่า ส่งเสริมให้เกิดการเปลี ่ยนแปลงเป็ นเนื ้อ<br />

แก้ว ท าให้เกิดความโปร่งใส<br />

� โซดาเฟลด์สปาร์จะมี Na ในปริมาณมาก จะใช้เป็ นส่วนประกอบในน ้าเคลือบและใช้ผสมในเนื ้อดิน<br />

โพแทชเฟลด์สปาร์ มี K ในปริมาณมาก จะใช้เป็ นส่วนผสมในเนื ้อดินปั ้ น<br />

3.ควอตซ์ (หินเขี ้ยวหนุมาน) องค์ประกอบคือ ซิลิกา ส่วนมากใสไม่มีสี ถ้ามีสิ่งเจือปนจะให้สีต่างๆ<br />

ท าหน้าที่เป็<br />

นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ เซรามิกส์ ช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ ท าให้ผลิตภัณฑ์หดตัวน้อย<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วัตถุดิบอื่นๆ<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

� แร่โดโลไมต์ แร่หรือหินตะกอนที ่ประกอบด้วย [CaMg(CO3)2] เป็ นส่วนใหญ่ ลักษณะคล้ายหินปูน<br />

ผสมเล็กน้อยในเนื ้อดิน ลดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ และผสมในน ้าเคลือบ<br />

� สารประกอบออกไซด์<br />

� BeO Al2 O3 ผสมในผลิตภัณฑ์ที่ทนไฟสูง<br />

SiO2 B2O3 ผสมเพื่อท<br />

าให้ผลิตภัณฑ์เป็ นเนื ้อแก้ว<br />

SnO2 ZnO ใช้เคลือบเพื่อท<br />

าให้ทึบแสง<br />

� ดิกไคต์ องค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน<br />

อะลูมินาร้อยละ 28-32 โดยมวล จะเป็ นหินแข็ง น ามาแกะสลักเป็ นรูปต่างๆ ไว้ประดับตกแต่ง<br />

อะลูมินาร้อยละ 11-28 โดยมวล ใช้ท าวัสดุทนไฟ ท ากระเบื ้องปูพื ้น<br />

อะลูมินาร้อยละต ่ากว่าข้างต้น ใช้ท าปูนซีเมนต์ขาว<br />

วัตถุดิบทุกชนิดที่ใช้ผลิตเซรามิกส์<br />

จะต้องท าให้บริสุทธิ ์ และบดให้มีความละเอียดตามต้องการ จากนั ้นจึงน ้า<br />

มาผสมกับน ้าและสารอื่นๆ<br />

ท าให้เนื ้อดินอยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการขึ<br />

้นรูป<br />

2.2.2 การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์<br />

การขึ ้นรูปผลิตภัณฑ์เซรามิกส์มีหลายวิธีด้วยกัน ดังต่อไปนี ้<br />

1.การเทแบบ โดยผสมดินกับน ้าจนได้ที่แล้วเทลงในแบบซึ<br />

่งมีรูปร่างต่างๆ ปล่อยไว้จนแข็งตัว<br />

จากนั ้นจึงแกะแบบและตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้เรียบร้อยการขึ ้นรูปด้วยวิธีนี ้ ใช้ในการผลิตแจกัน ขวด และ<br />

เครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ<br />

2.การใช้แป้ นหมุน จะปั ้ นได้เฉพาะภาชนะที่มีลักษณะกลม<br />

ทรงกลมหรือทรงกระบอก เช่น การปั ้ น<br />

ไห โอ่ง อ่าง กระถาง แจกัน การปั ้ นต้องใช้ความช านาญเป็ นพิเศษจึงจะได้เป็ นรูปทรงตามต้องการ<br />

3.การหลอมเหลว โดยหลอมเหลวเนื ้อผลิตภัณฑ์ด้วยความร้อนแล้วเทลงในแบบโลหะหรือแบบ<br />

ทราย จากนั ้นปล่อยให้เย็นตัวลง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมีเนื<br />

้อแน่นมากและทนต่อการกัดกร่อนสูง<br />

4.การอัดเนื ้อดินผ่านหัวแบบ เป็ นวิธีการขึ ้นรูปที่นิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรมเช่น<br />

การท าผลิตภัณฑ์<br />

วัสดุทนไฟ กระเบื ้อง<br />

5.การอัดผงเนื ้อดินลงในแบบโลหะ เป็ นวิธีการขึ ้นรูปที่นิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรมเช่นเดียวกัน<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ขึ<br />

้นรูปเสร็จแล้ว ควรเก็บในที่ร่มให้เนื<br />

้อดินแห้งอย่างช้าๆ แล้วน ามาตกแต่งให้ผิวเรียบ จากนั ้นจึง<br />

น าไปตากหรืออบที่อุณหภูมิประมาณ<br />

40-60 องศาเซลเซียส<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.2.3 การเผาและการเคลือบ<br />

การเผาครั ้งแรก เรียกว่า เผาดิบ โดยเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ<br />

้นอย่างช้าๆ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์คงรูปไม่แตก<br />

ช ารุด ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่หลังจากเผาดิบแล้วต้องเคลือบผิวเพื ่อความสวยงามคงทน ป้ องกันรอยขีดข่วน แต่<br />

บางชนิดไม่ต้องเคลือบ เช่น กระถางต้นไม้ อิฐ ไส้เครื่องกรองน<br />

้า เป็ นต้น สารที่ใช้เคลือบ<br />

เป็ นสารผสม<br />

ระหว่างซิลิเกตกับสารช่วยหลอมละลาย มีลักษณะเหมือนแก้วบางๆ ฉาบติดอยู่บนผิวผลิตภัณฑ์<br />

ส่วนผสมของน ้าเคลือบ แบ่งตามสมบัติทางเคมีได้ 3 กลุ่ม ดังนี ้<br />

กลุ่มที่1<br />

สารช่วยลดอุณหภูมิการหลอมละลายของน ้าเคลือบ เช่น ออกไซด์โลหะแอลคาไลน์และ<br />

แอลคาไลน์เอิร์ท รวมทั ้งออกไซด์ของตะกั่ว<br />

สังกะสี และออกไซด์ที่ท<br />

าให้เกิดสี เช่น Na2 O , Li2 O , K2O ,<br />

CaO , ZnO เป็ นต้น<br />

กลุ่มที่<br />

2 กลุ่มสารที่เป็<br />

นสารทนไฟและให้สี เช่น Al2O3 , Sb2 O3 , Mn2O3 , Bi2O3 กลุ่มที่<br />

3 กลุ่มสารที่ช่วยให้เนื<br />

้อผลิตภัณฑ์ทึบแสง เช่น SiO2 , TiO2 , CeO2 , P2O5 เทคนิคและวิธีการเคลือบขึ ้นอยู่กับลักษณะและขนาดของผลิตภัณฑ์<br />

เมื่อเผาเคลือบเสร็จแล้วควร<br />

ปล่อยให้อุณหภูมิลดลงช้าๆ จนผลิตภัณฑ์เกือบเย็นแล้วจึงน าออกจากเตา<br />

2.2.4 ผลิตภัณฑ์เซรามิก<br />

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์เซรามิกส์บางชนิด เป็ นดังนี ้<br />

� ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่ใช้เป็<br />

นภาชนะรองรับหรือปรุง<br />

อาหาร เช่น ถ้วย ชาม หม้อหุงต้ม<br />

� ผลิตภัรฑ์เครื่องสุขภัณฑ์<br />

เช่น โถส้ม อ่างล้างหน้า ที่วาง<br />

สบู่<br />

� ผลิตภัณฑ์กระเบื ้อง เช่น กระเบื ้องปูพื ้น กระเบื ้องกรุฝา<br />

ผนัง<br />

� ผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานด้านไฟฟ้<br />

า เช่น กล่องฟิ วส์ ฐานและมือจับสะพานไฟ<br />

� วัสดุทนไฟ เช่น อิฐฉนวนไฟทนไฟ<br />

� ผลิตภัณฑ์แก้ว เช่น แก้ว กระจก<br />

การใช้ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ควรค านึงถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ<br />

้นจากสารตะกั่วที่ใช้เป็<br />

นตัวช่วยลด<br />

อุณหภูมิ การหลอมละลายและท าให้มีสีสดใส ถ้าน ้าเคลือบยึดติดกับผิวเนื ้อดินปั ้ นไม่ดี สารที่เคลือบอาจ<br />

กะเทาะและมีสารตะกั่วหลุดออกมาได้<br />

เพราะฉะนั ้นการน าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไปใช้ใส่สารที ่เป็ นกรดหรือ<br />

เป็ นเบส จึงไม่สมควร เช่นการใส่อาหารที่เป็<br />

นกรดเบส ก็จะท าให้ภาชนะนั ้นถูกกร่อน และมีสารตะกั่วปน<br />

หลุดออกมา เป็ นอันตรายต่อผู้บริโภค<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.2.4.1 ผลิตภัณฑ์แก้ว<br />

แก้วได้ถูกน ามาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เนื่องจากแก้วมีสมบัติที<br />

่ดีหลายประการ ทั ้งมีความโปร่งใส ทน<br />

ต่อกรดเบส ไอน ้าและแก๊สซึมผ่านได้ยาก แข็งแรงและทนต่อแรงดันได้ แก้วท าจากทรายแก้วหรือซิลิกา<br />

โซดาแอช หินปูน โดโลไมต์และเศษแก้วประมาณ30% โดยมวล สารที่เติมลงไปจะช่วยเพิ่มความแกร่งของ<br />

เนื ้อแก้ว เมื่อได้รับความร้อน<br />

สารประกอบคาร์บอนจะเปลี่ยนไปเป็<br />

นสารประกอบออกไซด์ และหลอม<br />

ละลายเป็ นเนื ้อเดียวกัน เรียกว่าน ้าแก้ว จากนั ้นลดอุณหภูมิ เพื่อให้แก้วมีความหนืดก่อนท<br />

าการขึ ้นรูปเป็ น<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ<br />

จ าแนกแก้วตามองค์ประกอบทางเคมีเช่น<br />

� แก้วโซดาไลม์ องค์ประกอบหลักเป็ นซิลิกา โซเดียมออกไซด์ แคลเซียมออกไซด์ ไม่ทนต่อสภาพ<br />

ความเป็ นกรดเบส แตกง่ายเมื่อรับความร้อน<br />

แสงขาวผ่านได้แต่ดูดกลืนอัลตราไวโอเลต เช่น แก้วน ้า<br />

ขวดน ้า กระจกแผ่น สามารถท าให้แก้วมีสีต่างๆได้โดยเติมออกไซด์ของสารบางชนิดลงไป<br />

� แก้วโบโรซิลิเกต มีซิลิกาเป็ นส่วนผสมปริมาณค่อนข้างสูง โซเดียมออกไซด์และแคลเซียมออกไซด์<br />

ในปริมาณที่ลดลง<br />

เติมออกไซด์ของโบรอนลงไปเพื่อให้ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

ใช้ท า<br />

ภาชนะส าหรับไมโครเวฟ เครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์<br />

� แก้วคริสตัล มีออกไซด์ของตะกั่วกับโพแทสเซียมเป็<br />

นส่วนผสม มีดัชนีหักเหสูงมาก เมื่อแสงมา<br />

กระทบจะเห็นประกายแวววาว มีราคาแพงเนื่องจากต้องใช้ทรายแก้วที<br />

่มีเหล็กเจือปนน้อยมาก ผลิต<br />

ในปริมาณน้อยและใช้ฝี มือในการเจียระไน<br />

� แก้วโอปอล มีการเติมสารบางชนิดเพื่อให้เกิดการตกผลึกหรือแยกชั<br />

้นในเนื ้อแก้ว ท าให้มีความขุ ่น<br />

และโปร่งแสง หลอมขึ ้นรูปได้ง่าย<br />

ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้งานมากในปัจจุบันคือ<br />

กระจกแผ่น ใช้ในการตกแต่งอาคาร ท าเครื่องใช้<br />

ท าโดยดึงและรีดน ้าแก้วที่มีความหนืด<br />

เหมาะต่อการขึ ้นรูปตามแนวราบ แล้วท าให้เย็นลงและผ่านไปยัง<br />

เครื่องขัด<br />

จะได้กระจกผิวเรียบ น าไปแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ตามลักษณะงานต่างๆ<br />

2.2.4.2 ปูนซีเมนต์<br />

ปูนซีเมนต์ หมายถึง ผงผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการบดปูนเม็ด<br />

ซึ ่งเกิดจากการเผาส่วนผสมต่างๆ ได้แก่<br />

แคลเซียมคาร์บอเนต ซิลิกา อะลูมินา และออกไซด์จากเหล็ก สัดส่วนของวัตถุดิบแตกต่างกันจะท าให้มี<br />

สมบัติแตกต่างกัน วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์<br />

แบ่งออกเป็ น<br />

1. วัตถุดิบเนื้อปูน ร้อยละ 80 โดยมวล เป็ นหินปูน(มีแร่แคลไซด์) ดินสอพอง หรือ ดินมาร์ล<br />

หินอ่อน หินชอล์ก<br />

2. วัตถุดิบเนื้อดิน ประกอบด้วยซิลิกา อะลูมินาและออกไซด์ของเหล็ก ส่วนประกอบกลุ่มนี ้มี<br />

ประมาณร้อยละ 15-18 โดยมวลของส่วนผสมก่อนเผา วัตถุดิบที ่ใช้ได้แก่ หินดินดาน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

3. วัตถุปรับคุณภาพ ใช้ในกรณีที่ส่วนผสมของเนื<br />

้อปูนและเนื ้อดินมีองค์ประกอบไม่เป็ นไปตาม<br />

ก าหนด เช่น อะลูมินาต ่าต้องเติมแร่บอกไซด์ ถ้ามีเหล็กต ่าก็เติมแร่ที่มีเหล็กออกไซด์หรือเศษเหล็ก<br />

4. สารเติมแต่ง เติมภายหลังการเผาเพื่อปรับสมบัติบางประการ<br />

เช่น การเติบยิปซัมเพื่อหน่วงเวลา<br />

ให้ปูนที่ผสมกันน<br />

้าแข็งตัวช้าลง<br />

กระบวนการที่ใช้ผลิตปูนซีเมนต์<br />

มีทั ้งแบบเผาเปี ยก และ เผาแห้ง<br />

- แบบเผาเปี ยก ใช้ในกรณีความชื ้นสูง เช่น มีดินด า ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต น าวัตถุดิบผสมกันตามสัดส่วนบดให้ละเอียดแล้วน ามาตีรวมกับน ้าจนเป็ นน ้าดิน<br />

สูบน ้าดินที่ผ่านกรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู<br />

่เตาเผา จะได้เป็ นปูนเม็ดเก็บไว้ในไซโล เมื่อน<br />

าปูนเม็ดผสมกับ<br />

ยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ปูนซีเมนต์ผง การผลิตแบบนี ้ใช้พลังงานมากและต้นทุนสูงจึงไม่นิยม<br />

- แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชื ้นต ่า เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต น าวัตถุดิบทั ้งหมดมาบดผสมกันในอัตราส่วนที ่เหมาะสมแล้วน าไปเผาแบบฝุ ่ น<br />

แห้ง เมื่อน<br />

าปูนซีเมนต์มาผสมกับน ้าจะจับตัวแข็งและมีก าลังอัดสูง จึงใช้เป็ นตัวประสานวัสดุชนิด<br />

เม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และหินให้เกาะตัวแน่นเป็ นคอนกรีตได้<br />

การผลิตปูนซีเมนต์แบบเผาเปี ยกและเผาแห้งเขียนแผนภาพแสดงได้ ดังรูป<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ปูนซีเมนต์อาจแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ดังนี ้<br />

1.ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ได้จากการบดปูนเม็ดกับยิปซัม แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท<br />

ประเภทที่<br />

1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา ใช้ส าหรับงานการก่อสร้างตามปกติทั่วไป<br />

ประเภทที่<br />

2 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ส าหรับใช้ในการท าคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่<br />

เกิดความร้อนและทนซัลเฟตได้ปานกลาง<br />

ประเภทที่<br />

3 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดแรงเร็วสูง ใช้ในงานคอนกรีตที่ต้องการถอด<br />

แบบได้เร็ว หรืองานที่ต้องการใช้เร็วเพื<br />

่อแข่งกับเวลา<br />

ประเภทที่<br />

4 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดความร้อนต ่า ใช้ในงานคอนกรีตที ่มีเนื ้อหนาๆ<br />

ประเภทที่<br />

5 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตได้สูง ใช้ในงานก่อสร้างบริเวณดินที ่มี<br />

ความเค็มปนอยู่<br />

เช่น ในทะเลหรือตามชายฝั่ง<br />

2.ปูนซีเมนต์ผสม มีแรงอัดต ่าลงกว่าปูนซีเมนต์ธรรมดาเล็กน้อยเนื่องจากมีการเติมทรายหรือหิน<br />

ปูน<br />

ละเอียดประมาณร้อยละ 25 ลงไปบดพร้อมกับปูนเม็ด เหมาะส าหรับใช้ในงานก่อสร้างที่ไม่ต้องรับน<br />

้าหนัก<br />

มาก หรืองานคอนกรีตที ่ไม่มีการยืดหดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพื ้น ท ากระเบื ้องมุงหลังคา หล่อท่อ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

10 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.2<br />

1. อุตสาหกรรมเซรามิกซ์มีความส าคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร<br />

1. ได ้ใช ้วัตถุดิบซึ่งเป็<br />

นทรัพยากรธรรมชาติที่มีในประเทศ<br />

เช่น ดินขาว ดินเหนียว หินฟัน<br />

ม ้า หินควอตซ์และทราย ให ้มีประโยชน์มากขึ้นและเพิ่มมูลค่าให<br />

้กับวัตถุดิบพวกนั้น<br />

2. ท าให ้ประชากรมีงานท ามากขึ้น<br />

เพราะอุตสาหกรรมเซรามิกส์รองรับอุตสาหกรรมอื่น<br />

เช่น อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การแพทย์และการก่อสร ้างเป็ นต ้น<br />

2. การผลิตเซรามิกส์ แก้ว และปูนชีเมนต์มีขั ้นตอนในการผลิตอย่างไร<br />

การผลิตเซรามิกส์ มีขั ้นตอนคือ<br />

1. การเตรียมวัตถุดิบ แบ่งเป็ น<br />

วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์<br />

วัตถุดิบอื่นๆเช่น<br />

ดิกไคต์ โดโลไมต์<br />

การขึ ้นรูป มีหลายวิธีด้วยกันคือ<br />

วิธีที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรม<br />

คือ....การเทแบบ การใช ้แป้นหมุน การหลอมเหลว การอัดเนื้อดินผ่าน<br />

หัวแบบ การอัดผงเนื้อดินลงในแบบโลหะ<br />

วิธีที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรม<br />

คือ....การอัดเนื้อดินผ่านหัวแบบ<br />

การอัดผงเนื้อดินลงในแบบโลหะ<br />

2. การเผาและการเคลือบ การเผาครั ้งแรก เรียกว่า เผาดิบ โดยเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ<br />

้นอย่างช้าๆ<br />

เพื่อให้ผลิตภัณฑ์คงรูปไม่แตกช<br />

ารุด ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่หลังจากเผาดิบแล้วต้องเคลือบผิว<br />

เพื่อความสวยงามคงทน<br />

ป้ องกันรอยขีดข่วน แต่บางชนิดไม่ต้องเคลือบ เช่น กระถางต้นไม้<br />

อิฐ ไส้เครื่องกรองน<br />

้า เป็ นต้น สารที่ใช้เคลือบ<br />

เป็ นสารผสมระหว่างซิลิเกตกับสารช่วย<br />

หลอมละลาย มีลักษณะเหมือนแก้วบางๆ ฉาบติดอยู่บนผิวผลิตภัณฑ์<br />

การผลิตแก้ว มีขั ้นตอนคือ<br />

1.เตรียมวัตถุดิบ คือ ทรายแก ้วหรือซิลิกา โซดาแอช หินปูน โดโล<br />

ไมต์และเศษแก้วประมาณ30% โดยมวล สารที่เติมลงไปจะช่วยเพิ่มความแกร่งของเนื<br />

้อแก้ว<br />

2. เผาในเตาหลอมที่อุณหภูมิ<br />

1,600 �C เมื่อได้รับความร้อน<br />

สารประกอบคาร์บอนจะ<br />

เปลี่ยนไปเป็<br />

นสารประกอบออกไซด์ และหลอมละลายเป็ นเนื ้อเดียวกัน เรียกว่าน ้าแก ้ว<br />

3. ลดอุณหภูมิ เพื่อให้แก้วมีความหนืดก่อนท<br />

าการขึ ้นรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ<br />

การผลิตปูนชีเมนต์ มี 2 แบบคือ<br />

กระบวนการที่ใช้ผลิตปูนซีเมนต์<br />

มีทั ้งแบบเผาเปี ยก และ เผาแห้ง<br />

1. แบบเผาเปี ยก ใช้ในกรณีความชื<br />

้นสูง เช่น มีดินด า ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. น าวัตถุดิบผสมกันตามสัดส่วนบดให้ละเอียดแล้วน ามาตีรวมกับน ้าจนเป็ นน ้าดิน<br />

2. สูบน ้าดินที่ผ่านกรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู<br />

่เตาเผา จะได้เป็ นปูนเม็ดเก็บไว้ในไซโล<br />

3. เมื่อน<br />

าปูนเม็ดผสมกับยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ปูนซีเมนต์ผง<br />

การผลิตแบบนี ้ใช้พลังงานมากและต ้นทุนสูงจึงไม่นิยม<br />

2. แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชื้นต<br />

่า เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต<br />

1. น าวัตถุดิบทั ้งหมดมาบดผสมกันในอัตราส่วนที ่เหมาะสมแล้วน าไปเผาแบบฝุ ่ นแห ้ง<br />

2. เมื่อน<br />

าปูนซีเมนต์มาผสมกับน ้าจะจับตัวแข็งและมีก าลังอัดสูง จึงใช้เป็ นตัว<br />

ประสานวัสดุชนิดเม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และหินให้เกาะตัวแน่นเป็ นคอนกรีตได้<br />

3. การเคลือบเซรามิกซ์มีประโยชน์อย่างไร<br />

ประโยชน์คือ 1. เพื่อให<br />

้เกิดความสวยงาม 2. เพื่อให<br />

้เกิดความคงทนและป้องกันรอยขีดข่วน<br />

บนผิวผลิตภัณฑ์ 3. เพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวในภาชนะเซรามิกส์<br />

4. กระจกน าไปแปรรูปเป็ นอะไรได้บ้าง กระจกเงา กระจกสะท ้อนแสง กระจกนิรภัย กระจกเสริม<br />

ลวด และกระจกกันกระสุน<br />

5. ผลิตเซรามิกส์ แก้วและปูนชีเมนต์มีประโยชน์และโทษอย่างไร<br />

ผลิตเซรามิกส์ มีประโยชน์มากมายในชีวิตประจ าวันเช่น<br />

1. ด้านอุตสาหกรรมและสถาปัตยกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เลนส์ ปริซึม วัสดุก่อสร้าง อิฐ กระเบื ้อง<br />

เครื่องสุขภัณฑ์<br />

โลหะเคลือบ เครื่องถ้วยชาม<br />

ฉนวนไฟฟ้ า ตัวถังรถยนต์น ้าหนักเบา แผ่นวงจรรวม แผ่น<br />

ซิลิคอนที่ใช้สร้างเซลล์สุริยะ<br />

แผนวงจรคอมพิวเตอร์ วัสดุทนไฟ ผลิตภัณฑ์เชื ้อเพลิงนิวเคลียร์<br />

2. ด้านการแพทย์และทันตแพทย์ ท าอวัยวะเทียม กระดูกเทียม<br />

ส่วนโทษ ผลิตภัณฑ์ที่ใส่อาหาร<br />

อาจมีการหลุดกะเทาะของสารเคลือบโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว<br />

ปนเปื ้ อนออกมาได้ และถ้ามีการสัมผัสกับอาหารพวก กรด-เบส จะท าให้ตะกั่วหลุดออกมาละลายปนกับอาหาร<br />

ประโยชน์ของแก้ว ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้งานมากในปัจจุบันคือ<br />

กระจกแผ่น ใช้ในการ<br />

ตกแต่งอาคาร ท าเครื่องใช้<br />

ท าโดยดึงและรีดน ้าแก้วที่มีความหนืด<br />

เหมาะต่อการขึ ้นรูปตามแนวราบ แล้วท า<br />

ให้เย็นลงและผ่านไปยังเครื ่องขัด จะได้กระจกผิวเรียบ น าไปแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ตามลักษณะงานต่างๆ<br />

ประโยชน์ของปูนชีเมนต์ใช้ในงานก่อสร้างที ่ไม่ต้องรับน ้าหนักมาก หรืองานคอนกรีตที ่ไม่มีการยืด<br />

หดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพื ้น ท ากระเบื ้องมุงหลังคา หล่อท่อ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.3 อุตสาหกรรมการผลิตและการใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์<br />

2.3.1 การผลิตโซเดียมคลอไรด์ มี 2 วิธี คือ<br />

1. ผลิตจากน ้าทะเล NaCl ที่ได้<br />

เรียกว่า เกลือสมุทร ได้จากการกัก เก็บน ้าทะเลแล้วปล่อยให้น ้า<br />

ระเหยเหลือไว้ แต่ผลึกเกลือสีขาว ซึ ่งเราใช้ปรุงรสอาหาร ซึ ่งท ากันแถบจังหวัดชายทะเล เช่น<br />

สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ชลบุรี เป็ นต้น<br />

2. ผลิตจากน ้าเค็มใต้ดินและแหล่งแร่เกลือหิน NaCl ที่ได้<br />

เรียกว่า เกลือสินเธาว์ คือท าเกลือซึ ่ง<br />

ขุดจาก บ่อแล้วละลายน ้าปล่อยให้แห้ง การท านา เกลือท ากันมากในภาคกลางแถบ จังหวัดสมุทรสาคร ท า<br />

กันมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

การ<br />

ตกตะกอน<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือ<br />

การ<br />

ตกตะกอน<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือ<br />

สมุทร<br />

สินเถาว์<br />

การระเหย การตกผลึก<br />

การกรอง<br />

การระเหย การตกผลึก<br />

การผลิตเกลือสมุทร มีกรรมวิธี 2 ขั ้น คือ<br />

1. การเตรียมพื ้นที่นา<br />

ถ้าได้บริเวณที ่เหมาะแล้ว ท าการขุดวังน ้าขังซึ ่งอยู่ใกล้ทะเลมากที่สุด<br />

ถัด<br />

ออกมาเป็ นบริเวณที่จะท<br />

านา<br />

2. การท านาเกลือ แบ่งนาออกเป็ นแปลง แต่ละแปลงท าขอบให้สูงเหมือนคันนาและท าร่องระบาย<br />

น ้าระหว่างแปลง พื ้นที่ท<br />

านาเกลือแบ่งออกได้เป็ น 3 ตอน คือ นาตาก นาเชื ้อ และนาปลง<br />

ขั ้นตอนในการท านาเกลือ<br />

� ก่อนถึงฤดูท านาเกลือ จะต้องระบายน ้าทะเลเข้าไปไว้ในวังน ้าขังเพื่อให้สิ่งที่เราไม่ต้องการ<br />

ตกตะกอน<br />

� เมื่อถึงฤดูท<br />

านาเกลือ จะต้องระบายน ้าทะเลจากวังน ้าขังเข้าสู ่นาตาก โดยระดับน ้าสูงกว่าพื ้นที่นา<br />

ประมาณ 5 เซนติเมตร แล้วทิ้งให้น ้าระเหย<br />

� เมื่อน<br />

้าระเหยไป ก็จะถ่ายน ้าทะเลจากนาตากเข้าสู ่นาเชื ้อ แล้วทิ้งให้ระเหยไปอีก ในนาเชื ้อจะมี<br />

เกลือ CaSO4 ตกผลึกอยู่เป็<br />

นจ านวนมาก ซึ ่งเราสามารถน าไปขายได้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

� เมื่อน<br />

้าทะเลในนาเชื ้อระเหยไป ก็ระบายน ้าเข้าสู่นาปลง<br />

ทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน โซเดียมคลอไรด์<br />

(NaCl) จะเริ่มตกผลึกและเมื่อทิ้งไปนานๆโซเดียมคลอไรด์จะตกผลึกมากขึ<br />

้นเรื่อยๆ<br />

เนื่องจากในน<br />

้า<br />

ทะเลนอกจากจะมี Na + และ Cl - ที่จะรวมตัวเป็<br />

นผลึกแล้วยังมีอีกหลายชนิด เช่น Mg 2+ Br - 2-<br />

SO4 ดังนั ้นจึงต้องระบายน ้าจากนาเชื ้อเข้าสู่นาปลงตลอดเวลาเพื่อไม่ให้เกลืออื่นๆตกผลึกปนกับ<br />

NaCl<br />

โดยปกติชาวนาจะปล่อยให้เกลือแกงตกผลึกอยู ่ประมาณ 9 ‟ 10 วัน<br />

� หลังจากได้ NaCl ตกผลึกมากพอแล้วก็ขูดเกลือออกในขณะที่ยังมีน<br />

้าทะเลท่วมอยู่เพื่อล้างดิน<br />

โคลนที่ติดกับเกลือออก<br />

แล้วคราดเกลือแกงมารวมกันเป็ นกองๆ ระบายน ้าออกจากนาปลง ทิ้ง<br />

เกลือไว้ประมาณ 1 ‟ 2 วัน น าเกลือไปเก็บไว้ในฉางเพื่อรอจ<br />

าหน่าย<br />

การผลิตเกลือสินเธาว์ มีขั ้นตอนดังนี ้<br />

� แยกเกลือจากผิวดิน ท าได้โดยขุดคราบเกลือตามผิวดินมาละลายน ้า กรองเศษดินหรือตะกอนออก<br />

น าน ้าเกลือที่ได้เคี่ยวให้แห้งจะได้เกลือตกผลึกมา<br />

� แยกเกลือจากน ้าเกลือบาดาล ในการผลิตเกลือจากน ้าเกลือบาดาลนี ้ท าได้โดยขุดหรือเจาะลงไปใต้<br />

ดินและสูบน ้าเกลือขึ ้นมาแล้วน าน ้าที่ได้ไปต้มในกระทะเหล็กใบใหญ่<br />

การตากเป็ นอีกวิธีหนึ ่งที่นิยม<br />

กัน จะใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ท าให้น ้าระเหยออกไปได้เกลือตกผลึกออกมา วิธีเรียกว่า การท า<br />

นาเกลือ โดยสูบน ้าจากบ่อเกลือบาดาลมาใส่นาตาก ซึ ่งท าเป็ นลานดินหรือลานซีเมนต์<br />

� แยกเกลือจากชั ้นเกลือหินท าได้โดยอัดน ้าจืดลงไปละลายเกลือในชั ้นเกลือหินแล้วน าสารละลายที่<br />

ได้มาท าให้บริสุทธิ ์ โดยเติมสารละลาย NaOH กับ Na2CO3 เพื่อก<br />

าจัดแคลเซียมไอออนและ<br />

แมกนีเซียมไอออน<br />

� กรองแล้วน าสารละลายเกลือที่ได้ไปตกผลึกจะได้ผลึก<br />

NaCl เมื่อตกผลึกไปนานๆNaCl<br />

ใน<br />

สารละลายจะมีปริมาณลดลง แต่ในสารละลายจะยังมีโซเดียมซัลเฟตและโซเดียมคาร์บอเนตละลาย<br />

ซึ ่งเป็ นเกลือที่ไม่ต้องการ<br />

เรียกสารละลายนี ้ว่า น ้าขม จึงก าจัดไอออนต่างๆออกโดยเติม CaCl2 ใน<br />

ปริมาณที่พอเหมาะลงไป<br />

จะเกิด CaSO4 และ CaCO3 ซึ ่งไม่ละลายน ้า สารละลายที่ได้สามารถน<br />

าไป<br />

ตกผลึกเป็ น NaCl<br />

***เนื่องจากเกลือสินเธาว์เป็<br />

นเกลือที่มีความชื<br />

้นและเกลือแมกนีเซียมปนอยู ่น้อยมาก จึงเป็ น<br />

เกลือที่เหมาะจะใช้ในอุตสาหกรรม***<br />

***ส่วนเกลือสมุทรเป็ นเกลือที่มีไอโอดีนสูงกว่าเกลือสินเธาว์จึงเหมาะส<br />

าหรับการบริโภค<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การผลิตเกลือกับปัญหาสิ่งแวดล้อม<br />

การผลิตถ้าขาดความระมัดระวังอาจก่อให้เกิดปัญหาสิ ่งแวดล้อมได้โดยเฉพาะปัญหาการ<br />

แพร่กระจายของดินเค็ม ซึ ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ท าให้การเพาะปลูกไม่ได้ผล นอกจากนี ้ถ้ามีเกลื<br />

แพร่กระจายเข้าสู ่แม่น ้าล าคลองก็จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น ้า<br />

ปัจจุบันได้มีการตกผลึกเกลือโดยใช้หม้อเคี ่ยวระบบสุญญากาศเพื่อลดปัญหาการแพร่กระจายของ<br />

ดินเค็ม นอกจากนี ้ยังท าให้เกิดการยุบตัวของดินบริเวณที ่มีการผลิตเกลือจากชั ้นเกลือหินอีกด้วย<br />

2.3.2 การผลิตและการน าไปใช้ประโยชน์ของโซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊ส คลอรีนจากโซเดียมคลอไรด์<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยเซลล์ปรอท<br />

เนื่องจากการผลิต<br />

NaCl ด้วยวิธีอิเล็กโทรลิซิสโดยใช้ขั ้วไฟฟ้ าเฉื่อยเกิดปัญหาได้<br />

NaOH ไม่บริสุทธิ ์<br />

จึงใช้วิธีผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์ปรอท เซลล์ปรอทเป็ นเซลล์ที่ประกอบด้วยแอโนดซึ<br />

่งท าจาก<br />

โลหะไทเทเนียมเคลือบออกไซด์ของธาตุบางชนิด และใช้ปรอทเป็ นแคโทด<br />

เมื่อผ่านสารละลาย<br />

NaCl ที่อิ่มตัวและบริสุทธิ<br />

์ เข้าไปในเซลล์ปรอทจะเกิดปฏิกิริยาดังนี ้<br />

ที่แอโนด<br />

: Cl - จะเสีย e - ดังสมการ 2Cl - (aq) → Cl2 + 2e -<br />

ที่แคโทด<br />

: Na + จะรับ e - ดังสมการ Na + + e - + xHg → NaHgx วิธีนี ้จะได้ แก๊สคลอรีน<br />

แก๊สไฮโดรเจน NaOH มีความ<br />

เข้มข้นประมาณ ร้อยละ 50 โดย<br />

มวล และมีการปนเปื ้ อนของปรอท<br />

โซเดียมอะมัลกัมที ่ได้สามารถแยกโลหะโซเดียมออกโดยการผ่านน ้าบริสุทธ์เข้าไปโซเดียมจะท า<br />

ปฏิกิริยากับน ้ากลายเป็ นโซเดียมไฮดรอกไซด์ ดังสมการ<br />

2NaHgx(l) + 2H2O(l) → 2NaOH(aq) + H2(g) +2xHg(l)<br />

สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จะมีความเข้มข้นประมาณร้อยละ<br />

50 โดยมวลและไม่มี NaCl<br />

ปน ส่วนปรอทหลังจากแยกโซเดียมออกหมดแล้วก็สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์กับปัญหาสิ่งแวดล้อม<br />

ในอุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ถ้าไม่มีการก าจัด HgCl2 ซึ ่งปนอยู่ในน<br />

้าทิ้งออกก่อน<br />

จะก่อให้เกิดมลภาวะทางน ้า คือเมื่อปล่อย<br />

HgCl2 จุลินทรีย์ในน ้าจะเปลี่ยน<br />

HgCl2 ให้เป็ นสารประกอบ<br />

อินทรีย์ของปรอทซึ ่งมีพิษร้ายแรง เช่น ไดเมทิลเมอร์คิวรี สารนี ้จะเข้าไปสะสมในตัวสัตว์น ้า สารพิษนี ้จะ<br />

สะสมตามเนื ้อเยื่อที่มีไขมันมากๆ<br />

เช่น สมอง ถ้าร่างการสะสมปรอทไว้เพียง 50 mg อาจท าให้ตายได้<br />

ประเทศญี่ปุ<br />

่ นที่บริเวณอ่าวมินามาตะ<br />

ซึ ่งเป็ นที่ตั<br />

้งของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่หลายประเภท<br />

พบว่าปลาและสัตว์น ้าตายเนื่องจากพิษของปรอท<br />

ชาวประมงและชาวบ้านที่อาศัยบริเวณนั<br />

้นต้องเสียชีวิตลง<br />

เป็ นจ านวนมากเนื่องจากไปจับปลาในบริเวณอ่าวมินามาตะมารับประทาน<br />

ร่างกายจึงสะสมพิษของปรอท<br />

เอาไว้ ท าให้เสียชีวิตในเวลาต่อมา<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์ไดอะแฟรม<br />

วิธีนี ้จะได้ แก๊สคลอรีน NaOH และ NaCl<br />

ส่วนประกอบของเซลล์ไดอะแฟรม คือ ขั ้วแอโนดท าด้วยไทเทเนียม ขั ้วแคโทดท าด้วย<br />

เหล็กกล้า ระหว่างแอโนดและแคโทดมีแผ่นกั ้นที่ท<br />

าด้วยแอสเบสตอส แผ่นแอสเบสตอสนี ้มีคุณสมบัติ<br />

พิเศษ คือ ยอมให้ไอออนผ่านไปได้แต่ไม่ยอมให้แก๊สผ่าน<br />

เมื่อผ่านสารละลายโซเดียมคลอไรด์อิ่มตัวและบริสุทธิ<br />

์ เข้าไป<br />

ขั ้วแอโนด Cl - จะเสีย e - ดังสมการ 2Cl - (aq) → Cl2(g) + 2e-<br />

ขั ้วแคโทด H2 O จะรับ e- ดังสมการ 2H2O(l) + 2e - → H2(g) + 2OH<br />

เนื่องจากมีการปรับความดันทางด้านแอโนดให้สูงกว่าแคโทด<br />

ไอออนทางด้านแอโนดจึงเคลื่อนที่<br />

ผ่านแผ่นกั ้นไปด้านแคโทด ดังนั ้น Na + ที่เหลือจึงผ่านแผ่นกั<br />

้นไปยังด้านแคโทด และ OH - ซึ ่งเกิดขึ ้นที่แคโทด<br />

จะไปด้านแอโนดไม่ได้ ท าให้ได้สารละลาย NaOH ที่ด้านแคโทด<br />

แต่จะไม่บริสุทธิ ์ คือ มี NaOH ร้อยละ 10<br />

และมี NaCl ร้อยละ 15 โดยมวลปนอยู่<br />

แต่ NaCl ที่ปนอยู่สามารถแยกออกจากสารละลาย<br />

NaOH ได้โดย<br />

น าไประเหยน ้าออก NaCl จะอิ่มตัวและตกผลึกออกมาก่อน<br />

แต่ไม่หมด สารละลายที่เหลือจะมี<br />

NaOH ร้อย<br />

ละ 50 NaCl ร้อยละ1โดยมวล สารละลายนี ้สามารถน าใช้ในกระบวนการอุตสาหกรรมได้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

เนื่องจากการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์ปรอทท<br />

าให้เกิดมลภาวะและใช้เซลล์ไดอะแฟรม<br />

ก็มีสารปนเปื ้ อน จึงได้มีการพัฒนาเซลล์ชนิดใหม่ขึ ้นเพื่อให้สามารถ<br />

ผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่บริสุทธิ<br />

์ มากขึ ้น<br />

เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนประกอบด้วยเยื่อแลกเปลี่ยนไอออนอยู่ระหว่างขั<br />

้วแอโนดและแคโทด คุณสมบัติ<br />

พิเศษของเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

คือ ยอมให้เฉพาะไอออนบวกผ่านได้เท่านั ้น ส่วนไอออนลบผ่านไม่ได้<br />

วิธีการ คือ ใส่สารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวและบริสุทธิ<br />

์ ลงในภาชนะด้านแอโนดและผ่านไฟฟ้ าลงไปใน<br />

สารละลาย Cl - ไม่สามารถผ่านเยื่อแลกเปลี่ยนไอออนได้<br />

ส่วน Na + ซึ ่งเป็ นไอออนบวกจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อ<br />

เข้าไปยังเซลล์จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ<br />

แอโนด Cl - จะเสีย e - กลายเป็ นแก๊ส Cl 2 ได้คือ 2Cl - (aq) → Cl 2(g) + 2e -<br />

แคโทด H 2O จะรับ e - เกิด H 2 และ OH - ดังสมการ 2H 2O(l) + 2e - → H 2(g) + 2OH - (aq)<br />

OH- ที่เกิดขึ<br />

้นยังอยู ่ที่ขั<br />

้วแคโทดเพราะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อไม่ได้<br />

เมื่อรวมกับ<br />

Na + จะได้NaOH<br />

สารละลาย NaOH ที่ได้มีความเข้มข้นร้อยละ<br />

30 – 35 โดยมวลและไม่มี NaCl ปน<br />

� ผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ<br />

โซเดียมไฮดรอกไซด์ แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สคลอรีน น าไปใช้ใน<br />

อุตสาหกรรมต่างๆ โซเดียมไฮดรอกไซด์ เป็ นสารตั ้งต้นในอุตสาหกรรมเคมีอื่น<br />

เช่น สบู่<br />

ผงซักฟอก<br />

ผงชูรส สิ<br />

่งทอ<br />

วิธีนี ้จะได้ แก๊สคลอรีน และ NaOH<br />

มีความเข้มข้นประมาณ ร้อยละ 30-40<br />

โดยมวล<br />

� ใช้แก๊สไฮโดรเจน เตรียมกรดเกลือ แก๊สแอมโมเนีย เติมแก๊สไฮโดรเจนในน ้ามันพืช<br />

� แก๊สคลอรีน ใช้ฆ่าเชื ้อโรคในน ้า ฟอกสีเยื่อกระดาษ<br />

หรือเส้นใยพืช เป็ นต้น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.3.3 การผลิตโซดาแอชจากโซเดียมคลอไรด์<br />

โซดาเอช ชื่อทางเคมีคือ<br />

โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) การผลิตโซดาแอชในปัจจุบันใช้กระบวนการ<br />

โซดาแอมโมเนีย ซึ ่งใช้โซเดียมคลอไรด์ แคลเซียมคาร์บอเนต และแก๊สแอมโมเนียเป็ นวัตถุดิบในการผลิต<br />

ดังแผนภาพนี ้<br />

CaCO 3<br />

CaO+CO 2<br />

Ca(OH) 2<br />

H 2O<br />

NH 4Cl<br />

CaCl 2+2H 2O + NH 3<br />

สารตั ้งต้น หินปูนCaCO3 น ้าแอมโมเนีย NH3 โซเดียมคลอไรด์ NaCl<br />

การเตรียม กระบวนการโซลเวย์<br />

CaCO 3 CaO+ CO 2<br />

CaO+H 2O → Ca 2+ +OH -<br />

NH3+H2O+Na + +Cl - + -<br />

+CO2 → NaHCO3(s) +NH4 +Cl<br />

2 NaHCO 3(s) Na 2CO 3(s)+ CO 2 + H 2O<br />

NH 4 + + Cl - + Ca 2+ + 2OH - → CaCl2 (s)+ H 2O+ NH 3<br />

ผลพลอยได้ CaCl 2 เป็ นภาระในการก าจัด<br />

NaCl+H 2O<br />

ผลเสีย ใช้น ้ามาก น ้าทิ้งร้อนกระทบกระเทือนต่อสัตว์น ้า ปล่อย NH3(g) สู่อากาศ<br />

CO 2<br />

NaHCO 3+NH 4Cl<br />

NH 3<br />

CO2 +Na2CO3 + H2O<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วิธีการผลิตสารฟอกขาว<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.3.4 การผลิตสารฟอกขาว<br />

วิธีที่<br />

1 โดยการใช้ KMnO4 ใส่ในหลอดทดลอง แล้วปิ ดด้วยจุกยางที่เสียบหลอดหยดกรด<br />

HCl<br />

เข้มข้น หลอดทดลองต่อสายยางไปยังหลอดที่ใส่สารละลาย<br />

NaOH ที่แช่ในบีกเกอร์ที่มีน<br />

้าแข็งอยู่<br />

แล้วหยด<br />

กรด HCl ไปบน KMnO 4 อย่างช้าๆ พร้อมทั<br />

้งผ่านแก๊สไปยังสารละลาย NaOH ประมาณ 10 นาที แล้วหยด<br />

สารละลายที่ได้บนกระดาษลิตมัสทั<br />

้งสีน ้าเงินและสีแดง<br />

จะพบว่า เมื่อหยดกรด<br />

HCl ลงใน KMnO4 จะได้แก๊สคลอรีนเกิดขึ ้น แล้วเมื่อผ่านแก๊สคลอรีนลง<br />

ในสารละลาย NaOH จะเกิด ผลิตภัณฑ์เป็ น โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ ( NaOCl) และ โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)<br />

เนื่องจากได้ผลิตภัณฑ์เป็<br />

นสารละลาย แสดงว่า โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ ( NaOCl) ละลายน ้าได้ แล้วเมื่อ<br />

ทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสทั ้งสีน ้าเงินและแดง พบว่าจะเปลี่ยนเป็<br />

นสีขาวทั ้งคู่ ดังนั ้นจึงสรุปได้ว่า<br />

โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ (NaOCl) มีสมบัติการฟอกจางสี<br />

ซึ ่งสามารถน ามาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการฟอกย้อมเส้นด้าย ฟอกเยื่อกระดาษ<br />

ก าจัดกลิ่น<br />

และใช้เป็ นสารฆ่าเชื ้อโรคในน ้า แต่ โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ ( NaOCl) มีสมบัติกัดกร่อนสูง ถ้าใช้ในปริมาณ<br />

มากอาจกัดกร่อนสิ ่งที่ฟอกเสียหายได้<br />

วิธีที่<br />

2 เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างแก๊สคลอรีนกับโซเดียมคาร์บอเนตหรือโซดาแอช ซึ ่งเมื่อผ่าน<br />

แก๊สคลอรีนในสารละลาย Ca(OH) 2 จะได้ Ca(OCl) 2 เป็ นตะกอนสีขาวและ CaCl 2<br />

โดยที่<br />

Ca(OCl) 2 อยู่ในรูปของแข็ง<br />

แต่ NaOCl อยู่ในรูปสารละลาย<br />

แต่ว่ามีสมบัติในการฟอกขาว<br />

เช่นเดียวกัน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

11 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.3<br />

1. เกลือสมุทรและเกลือสินเถาว์ มีสมบัติต่างกันหรือไม่ อย่างไร<br />

สมบัติที่เหมือนกันคือ.เป็<br />

นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์เหมือนกัน<br />

สมบัติที่ต่างกันคือ<br />

เกลือสมุทรเหมาะใช ้ในการบริโภคเนื่องจากมีไอโอดีนสูงกว่า(38.5<br />

ไมโครกรัมในเกลือ10 กรัม)<br />

เกลือสินเธาว์ เป็ นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์สูงมากกว่ามีแคลเซียม<br />

แมกนีเซียม และความชื้น<br />

ต ่า เหมาะใช ้ในงานอุตสาหกรรม และมีไอโอดีนต ่า (10 ไมโครกรัมในเกลือ10 กรัม)<br />

2. จงบอกหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือสมุทรและเกลือสินเถาว์<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือสมุทร<br />

การตกตะกอน การระเหย การตกผลึก<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือสินเถาว์<br />

การตกตะกอน การกรอง<br />

การระเหย การตกผลึก<br />

3. เกลือสมุทรและเกลือสินเถาว์ มีประโยชน์ต่างกันอย่างไร<br />

เกลือสินเธาว์ เป็ นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์สูงมาก<br />

มีแคลเซียม แมกนีเซียม และ<br />

ความชื้นต<br />

่า เหมาะใช ้ในงานอุตสาหกรรม<br />

เกลือสมุทร เหมาะใช ้ในการบริโภคเนื่องจากมีไอโอดีนสูงกว่า<br />

4. การผลิตเกลือสินเถาว์มีวิธีการท าให้บริสุทธิ ์ อย่างไร<br />

� เพื่อก<br />

าจัดแมกนีเซียมไอออนโดยเติมสารละลาย NaOH<br />

� เพื่อก<br />

าจัดแคลเซียมไอออนเติมสารละลาย Na2CO3<br />

� ก าจัดไอออนต่างๆออก(SO4 2- ,CO3 2- ) โดยเติม CaCl2 ในปริมาณที่พอเหมาะลงไป<br />

จะเกิด<br />

CaSO4 และ CaCO3 ซึ่งไม่ละลายน<br />

้า สารละลายที่ได<br />

้สามารถน าไปตกผลึกเป็ น NaCl<br />

5. การผลิตเกลือสินเถาว์ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ<br />

่งแวดล้อมอย่างไร และจะแก้ไขได้อย่างไร<br />

การผลิตถ ้าขาดความระมัดระวังอาจก่อให ้เกิดปัญหาสิ ่งแวดล ้อมได ้โดยเฉพาะปัญหาการ<br />

แพร่กระจายของดินเค็ม ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช<br />

ท าให ้การเพาะปลูกไม่ได ้ผล นอกจากนี้ถ<br />

้า<br />

มีเกลืแพร่กระจายเข ้าสู่แม่น<br />

้าล าคลองก็จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น ้า<br />

ปัจจุบันได ้มีการตกผลึกเกลือโดยใช ้หม ้อเคี่ยวระบบสุญญากาศเพื่อลดปัญหาการแพร่กระจาย<br />

ของดินเค็ม นอกจากนี้ยังท<br />

าให ้เกิดการยุบตัวของดินบริเวณที ่มีการผลิตเกลือจากชั้นเกลือหินอีกด ้วย<br />

6. ธาตุไอโอดีนมีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไร และควรบริโภคเกลือชนิดใดจึงจะไม่ขาดธาตุไอโอดีน<br />

ธาตุไอโอดีนที่ร่างกายรับเข<br />

้าไป จะถูกเก็บที่ต่อมไทรอยด์<br />

ซึ่งต่อมนี้ควบคุมการท<br />

างานของสมอง<br />

ประสาทและเนื้อเยื่อต่างๆ<br />

ถ ้าขาดไอโอดีนตั้งแต่เด็กร่างกายจะแคระแกรน รูปร่างหน้าตา<br />

สติปัญญาผิดปกติ หูหนวก เป็ นใบ ้ ตาเหล่ แขนขาเป็ นอัมพาต ดังนั้นควรบริโภคเกลือที่มีธาตุ<br />

ไอโอดีนสูงคือเกลือสมุทร<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.4 อุตสาหกรรมปุ ๋ ย<br />

2.4.1 ประเภทของปุ ๋ ย<br />

ปุ ๋ ย หมายถึง สารที่ใส่ลงในดินเพื่อให้ปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช<br />

โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน<br />

ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมช่วยให้พืชเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลผลิตสูงแบ่ง<br />

ปุ ๋ ยออกเป็ น 2 ประเภทคือ ปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมี<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ เป็ นปุ ๋ ยธรรมชาติที่ได้จากการเน่าเปื<br />

่ อยผุพังของซากสิ ่งมีชีวิต ปุ ๋ ยชนิดนี ้เมื่อใส่ในดินซาก<br />

สิ่งมีชีวิตเหล่านั<br />

้นจะค่อยๆสลายตัวและปล่อยธาตุอาหารออกมาให้พืช ช่วยท าให้ดินร่วนซุยและสามารถดูด<br />

ซับน ้าและปุ ๋ ยได้ดี แต่มีข้อเสียคือมีธาตุอาหารน้อยรวมทั ้งมีปริมาณและสัดส่วนไม่แน่นอน<br />

ปุ ๋ ยเคมี ได้จากการผลิตหรือสังเคราะห์จากธาตุต่างๆ จะมีธาตุอาหารหลักที่จ<br />

าเป็ นต่อการ<br />

เจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสามารถปล่อยให้แก่พืชได้ง่ายและ<br />

เร็ว<br />

ปุ ๋ ยเคมีมี 2 ประเภท<br />

� ปุ ๋ ยเดี่ยวหรือแม่ปุ<br />

๋ ย เป็ นสารประกอบที่มีธาตุอาหารพืชอยู่หนึ<br />

่งหรือสองธาตุเป็ น<br />

องค์ประกอบ มีปริมาณธาตุอาหารของพืชคงที่<br />

เช่น ปุ ๋ ยยูเรีย และปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต<br />

� ปุ ๋ ยผสม เป็ นปุ ๋ ยที่ได้จากการน<br />

าปุ ๋ ยเดี่ยวแต่ละชนิดมาผสมกัน<br />

เพื่อให้ปุ<br />

๋ ยผสมที่ได้มีสัดส่วน<br />

ของธาตุอาหาร N P และK ตามต้องการ<br />

2.4.2 ปุ ๋ ยไนโตรเจน<br />

ปุ ๋ ยไนโตรเจน เป็ นปุ ๋ ยที่มีไนโตรเจนในรูปสารประกอบต่างๆ<br />

โดยปุ ๋ ยไนโตรเจนจะช่วยให้พืชมีล า<br />

ต้นและใบแข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่างเพียงพอ ได้แก่<br />

1. ปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต เตรียมได้จาก แก๊ส NH3 กับH2SO4 ดังนี ้<br />

2NH 3 (g) + H 2SO 4 (aq) → (NH 4) 2SO 4 (s)<br />

2. ปุ ๋ ยยูเรีย เตรียมได้จาก NH2CO2NH4 ซึ ่งจะสลายตัวได้ NH2CO2NH2 กับ น ้า<br />

2NH 3 (g) + CO 2 (g) → NH 2CO 2NH 4 (aq)<br />

NH 2CO 2NH 4 (aq) → NH 2CO 2NH 2 (aq) + H 2O (l)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วัตถุดิบส าคัญที่ใช้ผลิต<br />

คือ<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. CO2 ได้จาก<br />

CH4 (g) + O2 (g) → 2CO (g) + 4H2 (g)<br />

CO (g) + H2O (g) → CO2 (g) + H2 (g)<br />

2. NH3 ได้จาก<br />

N2 (g) + 3H2 (g) → 2 NH3 (g)<br />

3. H2SO4 ได้จาก น าสารละลายโอเลียมมาละลายน ้า สารละลายโอเลียม ได้จาก<br />

SO3 (g) + H2SO4 (aq) → H2S2O7 (aq)<br />

ก ามะถัน อากาศ<br />

ลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน<br />

ก ามะถันเหลว<br />

SO 2<br />

SO 3<br />

H 2S 2O 7<br />

น ้า<br />

H 2SO 4 เข้มข้น<br />

NH 3+ H 2SO 4<br />

แอมโมเนียมซัลเฟต<br />

(NH 4) 2 SO 4<br />

H 2SO 4 เข้มข้น<br />

อากาศเหลว<br />

O 2<br />

N 2+ H 2<br />

1 : 3<br />

NH 3<br />

แยกล าดับส่วน<br />

ขั ้นตอนการผลิตปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตและปุ ๋ ยยูเรีย<br />

N 2<br />

กระบวนการ<br />

ฮาร์เบอร์<br />

แก๊สธรรมชาติ<br />

แก๊สมีเทน<br />

CO+CO 2+H 2<br />

H 2<br />

แก๊สอื่นๆ<br />

CO+CO 2<br />

ไอน ้า<br />

CO 2+H 2<br />

CO 2<br />

NH 3+CO 2<br />

ยูเรีย<br />

(NH2CONH2) ละลายน<br />

้า<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.4.3 ปุ ๋ ยฟอสเฟต<br />

เป็ นปุ ๋ ยเคมีที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ซึ ่งสร้างเสริมการเจริญเติบโตและ<br />

ความแข็งแรงของพืชทั ้งส่วนราก ล าต้น ใบ ตลอดจนการออกดอกออกผล การผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตในปัจจุบันใช้<br />

หินฟอสเฟต (CaF2.3Ca3(PO4) 2) เป็ น วัตถุดิบ แหล่งหินฟอสเฟตในประเทศไทยมีมากหลายจังหวัด เช่น<br />

จังหวัด ร้อยเอ็ด กาญจนบุรี ล าพูน เพชรบูรณ์ และราชบุรี หินฟอสเฟตจากแหล่งหินดังกล่าวมี ฟอสฟอรัสคิด<br />

เป็ นปริมาณของ P2O5 อยู่ถึงร้อยละ<br />

20-40 จึงมีการน าหินฟอสเฟตที่บดละเอียดแล้วใส่ลงในดินเพื<br />

่อใช้เป็ นปุ ๋ ย<br />

โดยตรง แต่หินฟอสเฟตละลายน ้าได้น้อยมาก พืชจึงน าฟอสฟอรัสไปใช้ประโยชน์ได้ไม่เกินร้อยละ5ของ<br />

P2O5 ที่มีอยู่<br />

ท าให้ต้องใช้หินฟอสเฟตในปริมาณมากซึ ่งไม่คุ ้มค่า จึงมีการน าหินฟอสเฟตมาใช้ผลิตปุ ๋ ย<br />

ฟอสเฟต<br />

การผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตเริ่มจากการน<br />

าหินฟอสเฟต มาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ<br />

100-1200 ๐ C ประมาณ2ชั่วโมง<br />

จะเกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

ดังนี ้<br />

2(CaF 2.3Ca 3(PO 4) 2)+5SiO 2+6Na 2CO 3 → 12CaNaPO 4+4Ca 2SiO 4+SiF 4+6CO 2<br />

น าสารผสมที่ได้จากการเผาเทลงในน<br />

้าเพื่อท<br />

าให้เย็นลงทันที จะได้สารที่มีลักษณะพรุน<br />

เปราะและ<br />

บดให้ละเอียดได้ง่าย สามารถใช้เป็ นปุ ๋ ยฟอสเฟตที่ให้<br />

P2O5 ได้ถึงร้อยละ 27.5 จึงเป็ นวิธีหนึ ่งที่น<br />

าหินฟอสเฟต<br />

มาใช้อย่างคุ้มค่า<br />

นอกจากนี ้ การน าหินฟอสเฟตมาท าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิ วริก จะท าให้ได้ปุ ๋ ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูง<br />

ขึ ้น ซึ ่งมีขั ้นตอนการผลิต ดังนี ้<br />

ขั ้นแรก น าหินฟอสเฟตที่บดแล้วมาท<br />

าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิ วริก ที่มีความเข้มข้น4-5<br />

mol/dm 3<br />

ปฏิกิริยาจะเกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ว ได้กรดฟอสฟอริก (H3PO4) ดังสมการ<br />

CaF 2.3Ca 3(PO 4) 2+10H 2SO 4 → 6H 3PO 4+10CaSO 4+2HF<br />

ขั ้นที่สอง<br />

กรดฟอสฟอริกที่เกิดขึ<br />

้นจะท าปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที ่เหลือ ปฏิกิริยาในขั ้นนี ้เกิดขึ ้น<br />

อย่างช้าๆต้องเก็บ หรือบ่มไว้ประมาณ1เดือน เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดขึ<br />

้นอย่างสมบูรณ์ ได้มอนอแคลเซียม<br />

ฟอสเฟตดังสมการ<br />

CaF 2.3Ca 3(PO 4) 2+14H 2PO 4 → 10Ca(H 2PO 4) 2+2HF<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

มอนอแคลเซียมฟอสเฟตหรือปุ ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน ้าได้ดี พืชจึงสามารถน าไปใช้ประโยชน์<br />

ได้อย่างเต็มที่<br />

นอกจากนี ้ ยังสามารถผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตโดยน าหินฟอสเฟตมาท าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิ วริก ดัง<br />

สมการ CaF2.3Ca3(PO4) 2+7H2SO4+ 3H2O → 3Ca(H2PO2) 2.H2O+7CaSO4+2HF จากปฏิกิริยาทั ้งสามที่กล่าวมาแล้ว<br />

พบว่าในส่วนประกอบของหินฟอสเฟตจะมีสาร CaF2 ผสมอยู่<br />

ด้วย เมื่อท<br />

าปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเหยกลายเป็<br />

นไอได้ง่ายและเป็ นพิษ<br />

หินฟอสเฟตส่วนมากจะมีทราย (SiO2) ปนอยู่ด้วย<br />

แก๊ส HF ที่เกิดขึ<br />

้นจากกระบวนการผลิตปุ ๋ ย<br />

บางส่วนจะท าปฏิกิริยากับทราย เกิดเป็ นแก๊ส SiF4 ซึ ่งรวมกับ H2O ได้ทันทีเกิดเป็ น H2SiF6 หรืออาจน า SiO2 มาท าปฏิกิริยาโดยตรงกับแก๊ส HF ที่เกิดขึ<br />

้น เพื่อให้เกิดเป็<br />

น H2SiF6 และเมื่อน<br />

ามาท าปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะ<br />

ได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ ( MgSiF6 ) ซึ ่งใช้เป็ นสารก าจัดแมลงได้ ปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้น เขียนแสดงได้ดังนี ้<br />

6HF+SiO 2 → H 2SiF 6+2H 2O<br />

H 2SiF 6+MgO → MgSiF 6+H 2O<br />

HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็ นไอ จึงก าจัดโดยการผ่านแก๊สลงในน ้า ท าให้ได้สารละลายที่มีสภาพ<br />

เป็ นกรดซึ ่งท าให้เป็ นกลางได้โดยท าปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน เกิดปฏิกิริยาดังนี ้<br />

2HF + Na 2CO 3 → 2NaF + H 2O + CO 2<br />

2HF + CaCO 3 → CaF 2 + H 2O + CO 2<br />

☽☼♫☺β∆☻√↔☽☼♫☺β∆☻√↔☽☼♫☺β∆☻√↔<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.4.3 ปุ ๋ ยโพแทส<br />

ปุ ๋ ยโพแทสคือปุ ๋ ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็<br />

นองค์ประกอบ ปุ ๋ ยชนิดนี ้นิยมบอกความเข้มข้นเป็ นค่า<br />

ร้อยละโดยมวลของ K2O ในสมัยก่อนแหล่งของปุ ๋ ยโพแทสได้จากขี ้เถาจากเตาถ่าน หรือจากการเผากิ่งไม้<br />

ใบไม้และเศษเหลือของพืช<br />

ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็ นจ านวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูปของแร่คาร์นัลไลต์<br />

(KCl∙MgCl2∙6H2O) และแร่ซิลวาไนต์ ( KCl∙NaCl) ซึ ่งใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ ๋ ยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น<br />

โพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) และโพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4∙2MgSO4) ปุ ๋ ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากการน า แร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วท าให้บริสุทธิ ์ โดย<br />

ละลายแร่ในน ้าอุณหภูมิประมาณ 90 ◦C เติมสารละลาย NaCl อิ่มตัวลงไปกรองแยกโคลนและตะกอนออก<br />

ระเหยน ้าเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ<br />

้นจนท าให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้งจะได้ปุ ๋ ย<br />

ชนิดนี ้จากน ้าทะเล โดยการระเหยน ้าทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื ่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ ้นเกลือ<br />

NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน น าสารละลายที่ได้ไประเหยน<br />

้าออกเพื่อท<br />

าให้มีความเข้มข้นมากขึ ้นท าให้<br />

KCl ตกผลึกออกมาและใช้เป็ นปุ ๋ ย KCl ได้<br />

ส่วนปุ ๋ ยโพแทสเซียมซัลเฟต ผลิตได้จากการน าแร่แลงไบไนต์ (K2SO4∙2MgSO4) มาละลายในน ้าอุณ<br />

ภูมิประมาณ 50 ◦C จนเป็ นสารละลายอิ่มตัว<br />

แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นละไป จะได้ผลึก K2SO4 แยก<br />

ออกมาดังสมการ<br />

K 2SO 4∙2MgSO 2 + 4KCl → 2MgCl 2 + 3K 2SO 4<br />

นอกจากนี ้ถ้าน า KCl มาท าปฏิกริยากับ NaNO3 จะได้ปุ ๋ ยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) ดังสมการ<br />

KCl + NaNO 3 → NaCl + KNO 3<br />

โพแทสเซียมเป็ นธาตุอาหารที่จ<br />

าเป็ นต่อพืชมากท าให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ ้น สร้างภูมิต้านทาน<br />

โรค และเป็ นตัวเร่งให้เซลล์ท างานได้ดีขึ ้น ถ้าพืชขาดโพแทสจะท าให้มีปริมาณแป้ งต ่ากว่าปกติ ผลผลิตลด<br />

น้อยลง ขอบใบมีสีซีด ล าต้นอ่อน แคระแกรนและเมล็ดลีบ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.4.5 ปุ ๋ ยผสม<br />

ปุ ๋ ยผสมได้จากการน าปุ ๋ ยไนโตรเจน ฟอสเฟตและโพแทสมาผสมกัน มีวิธีผลิต 2ลักษณะ<br />

1.การผลิตในลักษณะเชิงผสม<br />

2.การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ<br />

การผลิตในลักษณะเชิงผสม เป็ นวิธีที่ใช้ในโรงงานส่วนใหญ่ในประเทศ<br />

ซึ ่งอาจเป็ น<br />

1. แบบผสมเป็ นเนื ้อเดียว โดยการน าแม่ปุ ๋ ยและส่วนผสมต่างๆมาบดให้เข้ากันแล้วอัดเป็ นเม็ด ใน<br />

แต่ละเม็ดจะมีธาตุอาหารตรงตามสูตรที ่ต้องการ<br />

2. การน าแม่ปุ ๋ ยและส่วนผสมต่างๆมาคลุกเคล้าให้เข้ากันหรือน าแม่ปุ ๋ ยที่มีขนาดเม็ดใกล้เคียงกันมา<br />

ผสมกัน เพื่อให้ได้สูตรตามต้องการ<br />

และอาจมีการบดให้ละเอียดจนเข้ากันดี ท าให้ปุ ๋ ยแต่ละเม็ดอาจมีธาตุ<br />

อาหารแตกต่างกัน<br />

การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ เป็ นการน าวัตถุดิบที ่ใช้ในการผลิตแม่ปุ ๋ ยมาผสมและให้ท าปฏิกิริยา<br />

กัน เกิดเป็ นสารประกอบต่างๆเพื่อให้ได้ปุ<br />

๋ ยตามสูตรที่ต้องการ<br />

ปุ ๋ ยวิทยาศาสตร์มีประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร<br />

แต่ถ้าใช้ในปริมาณมากและต่อเนื่อง<br />

เป็ นเวลานาน จะเกิดการสะสมของสารเคมีในดิน ท าให้ดินมีสภาพเป็ นกรด ดินแข็งและเสื่อมสภาพจนเป็<br />

น<br />

ผลเสียต่อการเพาะปลูกได้ การเพาะปลูกโดยอนุรักษ์สภาพดินให้คงความสมบูรณ์ตามธรรมชาติ หรือการ<br />

ท าเกษตรธรรมชาติจะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้<br />

จากการศึกษาอุตสาหกรรมปุ ๋ ยและอุตสาหกรรมอื่นๆ<br />

เป็ นการน าหลักการทางเคมีมาใช้พัฒนา<br />

ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

12 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.3-2.4<br />

1. สารละลายโซดาแอชมีสมบัติเป็ นกรดหรือเบส จงอธิบายพร้อมทั ้งเขียนสมการ<br />

สารละลายโซดาแอชมีสมบัติเป็ นเบส ดังสมการต่อไปนี้<br />

Na2CO3 (aq) → 2Na + (aq) + CO3 2- (aq)<br />

CO3 2- (aq) จะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ดังสมการ CO3 2- (aq) + H2O (l)→<br />

HCO3 - (aq) + OH - (aq)<br />

2. นักเรียนคิดว่า โซเดียมไฮดรอกไซด์และโซดาแอชมีความส าคัญต่ออุตสาหกรรมในประเทศไทยอย่างไร<br />

1. มีความจ าเป็ นต่ออุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน<br />

เพื่อน<br />

าไปผลิตเป็ นอุตสาหกรรมต่อเนื่อง<br />

เช่น<br />

การผลิตสบู่<br />

ผงชูรส ทอผ ้า สารเคมี<br />

2. ได ้น าทรัพยากรธรรมชาติที่มีปริมาณมากและราคาถูกมาใช<br />

้ในการผลิต<br />

3. เป็ นการสร ้างแรงงานและกระจายรายได ้สู่ชนบท<br />

4. ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศ ไม่ต ้องน าเข ้าจากต่างประเทศ<br />

3. ในกระบวนการผลิตโซดาแอช ถ้าแอมโมเนียเกิดการรั่ว<br />

จะเกิดผลเสียอย่างไร<br />

1. ระบบหายใจแก๊สนี ้จะไปรีดิวซ์ออกซิเจนในอากาศ ท าให้ออกซิเจนในอากาศลดลง<br />

2. ผลต่อการเกษตร เมื่อแก๊สนี<br />

้ละลายน ้า ท าให้น ้าเป็ นเบส มีผลต่อการเกษตร<br />

4. การผลิตโซดาแอชด้วยกระบวนการซลเวย์ มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร<br />

ข้อดี 1. ใชเงินลงทุนต ่ากว่าวิธีอื่น<br />

2. ไม่ต้องมีโรงงานผลิตNH3 เพราะสามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้<br />

ข้อเสีย 1. ต้องใช้น ้าจืดในกระบวนการผลิตปริมาณมาก<br />

2. น ้าทิ้งจะมีอุณหภูมิประมาณ 75 องศาเซลเซียส<br />

3. ผลพลอยได้จากการผลิตคือ CaCl2เป็ นปัญหาต่อการก าจัด<br />

4. ผลผลิตต ่าเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของเกลือที<br />

่ใช้ ท าให้มีเกลือเหลือทิ้งไปกับน ้ามี<br />

ปริมาณมาก<br />

5. ในการเตรียมสารฟอกขาวโซเดียมไฮโปคลอไรด์ เพราะเหตุใดต้องแช่โซเดียมไฮดรอกไซด์ในน<br />

้าแข็ง<br />

เพราะปฏิกิริยาที ่ใชเตรียมสารฟอกขาวเป็ ้<br />

นปฏิกิริยาคายความร ้อน ซึ่งความร<br />

้อนจะท าให ้<br />

NaOCl สลายตัวได ้ง่าย<br />

6. สารฟอกขาวช่วยให้เสื ้อผ้าขาวขึ ้น แต่ถ้าใช้ในปริมาณมากเกินไปจะเกิดผลเสียอย่างไร<br />

สารนี้จะไปกัดกร่อนเส<br />

้นใยของเสื้อผ<br />

้าให ้ขาดเร็ว และท าให ้สีของเสื ้อผ ้าซีดจาง<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

7. ปุ ๋ ยมีกี่ประเภทและแต่ละประเภทมีองค์ประกอบอย่างไร<br />

และมีกระบวนการผลิตอย่างไร<br />

ปุ ๋ ยออกเป็ น 2 ประเภทคือ ปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมี<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ เป็ นปุ ๋ ยธรรมชาติที่ได<br />

้จากการเน่าเปื ่อยผุพังของซากสิ่งมีชีวิต<br />

ปุ ๋ ยชนิดนี้เมื่อ<br />

ใส่ในดินซากสิ ่งมีชีวิตเหล่านั้นจะค่อยๆสลายตัวและปล่อยธาตุอาหารออกมาให ้พืช ช่วยท าให ้ดิน<br />

ร่วนซุยและสามารถดูดซับน ้าและปุ ๋ ยได ้ดี แต่มีข้อเสียคือมีธาตุอาหารน้อยรวมท ั้งมีปริมาณ<br />

และส ัดส่วนไม่แน่นอน<br />

ปุ ๋ ยเคมี ได ้จากการผลิตหรือสังเคราะห์จากธาตุต่างๆ จะมีธาตุอาหารหลักที่จ<br />

าเป็ นต่อ<br />

การเจริญเติบโตของพืช ได ้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสามารถปล่อย<br />

ให ้แก่พืชได ้ง่ายและเร็ว<br />

8. NH3 H2SO4 และ แก๊ส CO2 คือวัตถุดิบในการเตรียมปุ ๋ ยไนโตรเจน แต่ละชนิดมีวิธีการเตรียมอย่างไร<br />

เตรียม NH3 จาก N2(g) + H2 (g) → 2NH3(g) โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาคือ FeO ที่<br />

T 300-500 องศาC<br />

ความดัน 150-350 atm โดยที่<br />

N2(g) มาจากการกลั่นล<br />

าดับส่วนของอากาศเหลว และ H2 (g) มาจากปฏิกิริยา<br />

ดังต่อไปนี ้ 1. 2 CH4 + O2 → 2CO + 4H2 โดยมีโลหะนิเกิลเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา<br />

2. CH 4 + H 2O →CO + 3H 2<br />

3. CO + + H 2O → CO 2 + H 2โดยมี FeO หรือ Cr 2O 3เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา T = 400 องศาC<br />

เตรียม H 2SO 4 ตามขั<br />

้นตอน<br />

1.เตรียมแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จากปฏิกิริยาหนึ ่งต่อไปนี ้<br />

1.1 S (s) + O 2 (g) → SO 2 (g)<br />

1.2 4 FeS 2 (s) + 11 O 2 (g) → 2 Fe 2O 3 (s) + 8 SO 2 (g)<br />

2.เตรียมแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ ดังสมการ<br />

2 SO 2 (g) + O 2 (g) 2 SO 3 (g) + พลังงาน<br />

3.ให้แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ละลายในกรดซัลฟุริกเข้มข้น 98 % ได้ Oleum (H2SO4.SO3 ) หรือ<br />

H2S2 O7 ดังสมการ H2SO4 (aq) + SO3 (g) → H2S2 O7 (l)<br />

4.น า Oleum ที่ได้ผสมกับน<br />

้ากลั่นให้ได้กรดซัลฟุริกเข้มข้น<br />

98 % ดังสมการ<br />

H 2S 2 O 7 (l) + H 2O (l) → 2 H 2SO 4 (aq)<br />

เตรียม CO2 มาจากกระบวนการผลิตแก๊ส H2 ซึ ่ง CO2 ที่เกิดขึ<br />

้นจะละลายน ้าเกิดเป็ นกรด H2CO3 ซึ ่ง<br />

สามารถน าไปแยกออกด้วยการเพิ<br />

่ม T ลด P<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

9. เพราะเหตุใดในจึงไม่เตรียม H 2SO 4โดยวิธีให้แก๊ส SO 3 ท าปฏิกิริยากับน<br />

้าโดยตรง<br />

1. SO3 ท าปฏิกิริยากับ H2O ได ้ยาก ท าให ้เกิดการสูญเสีย SO3 จึงมีผลิตภัณฑ์เกิดน ้อย<br />

2. ปฏิกิริยา SO3 + H2O เป็ นปฏิกิริยาคายความร ้อน เกิดความร ้อนสูงมาก<br />

3. น า SO3 ละลายใน H2SO4 ที่เข<br />

้มข ้นเกือบบริสุทธิ์ท<br />

าได ้ง่ายกว่า ต ้นทุนถูกกว่าสะดวก<br />

และได ้ผลิตภัณฑ์มากโดยไม่มีการสูญเสีย SO3<br />

10. ปุ ๋ ยไนโตรเจนมีประโยชน์ใดต่อพืช<br />

ปุ ๋ ยไนโตรเจนจะช่วยให ้พืชมีล าต ้นและใบแข็งแรง สามารถสร ้างโปรตีนได ้อย่างเพียงพอ<br />

11. ธาตุฟอสฟอรัสซึ ่งอยู่ในสารประกอบฟอสเฟต<br />

มีประโยชน์ต่อพืชคือ<br />

ธาตุฟอสฟอร ัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ซึ่งสร<br />

้างเสริมการเจริญเติบโตและ<br />

ความแข็งแรงของพืชทั้งส่วนราก ล าต้น ใบ ตลอดจนการออกดอกออกผล<br />

12. วัตถุดิบในการผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตคือ<br />

หินฟอสเฟต (CaF2.3Ca3(PO4)2) เป็ น ว ัตถุดิบ<br />

13. แก๊ส HF ที่เกิดจากกระบวนการผลิตบางส่วน<br />

ระเหยกลายเป็ นไอได้ง่ายและเป็ นพิษ นักเรียนคิดว่ามี<br />

วิธีการใดบ้างที่ก<br />

าจัด HF ได้<br />

HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็ นไอ จึงก าจ ัดโดยการผ่านแก๊สลงในน ้า ท าให ้ได ้<br />

สารละลายที่มีสภาพเป็<br />

นกรดซึ่งท<br />

าให ้เป็ นกลางได ้โดยท าปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน<br />

14. ปุ ๋ ยโพแทสมีขั ้นตอนการผลิตอย่างไร<br />

1.ผลิตได ้จากการน าแร่ซิลวาไนต์ มาบดให ้ละเอียดแล ้วท าให ้บริสุทธิ์<br />

โดยละลายแร่ใน<br />

น ้าอุณหภูมิประมาณ 90◦C เติมสารละลาย NaCl อิ่มตัวลงไปกรองแยกโคลนและตะกอนออก<br />

ระเหยน ้าเพื่อให<br />

้สารละลายมีความเข ้มข ้นมากขึ้นจนท<br />

าให ้ KCl ตกผลึกแยกผลึกออกแล ้วอบให ้<br />

แห ้งจะได ้ปุ ๋ ยชนิด<br />

2.ปุ ๋ ยชนิดนี้จากน<br />

้าทะเล โดยการระเหยน ้าทะเลด ้วยความร ้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให<br />

้มี<br />

ความเข ้มข ้นสูงขึ้นเกลือ<br />

NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน น าสารละลายที่ได<br />

้ไประเหยน ้าออก<br />

เพื่อท<br />

าให ้มีความเข ้มข ้นมากขึ้นท<br />

าให ้ KCl ตกผลึกออกมาและใชเป็ ้ นปุ ๋ ย KCl ได ้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

15. กระบวนการผลิตปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมี ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์อย่างไรบ้าง<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ใช ้การหมักหรือการย่อยสลายตามธรรมชาติ<br />

ปุ ๋ ยเคมีใช ้การควบแน่น การกลั่นล<br />

าดับส่วน การละลาย การตกผลึก<br />

16. ปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมีมีประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรอย่างไร<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ เมื่อใส่ในดินซากสิ<br />

่งมีชีวิตเหล่านั้นจะค่อยๆสลายตัวและปล่อยธาตุอาหาร<br />

ออกมาให ้พืช ช่วยท าให ้ดินร่วนซุยและสามารถดูดซับน ้าและปุ ๋ ยได ้ดี แต่มีข้อเสียคือมีธาตุ<br />

อาหารน้อยรวมท ั้งมีปริมาณและส<br />

ัดส่วนไม่แน่นอน<br />

ปุ ๋ ยเคมี จะมีธาตุอาหารหลักที่จ<br />

าเป็ นต่อการเจริญเติบโตของพืช ได ้แก่ ธาตุไนโตรเจน<br />

ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสามารถปล่อยให ้แก่พืชได ้ง่ายและเร็ว<br />

17. การใช้ปุ ๋ ยเคมีในปริมาณมากและต่อเนื่องเป็<br />

นเวลานาน และท าให้ดินเป็ นกรด ดินแข็งและเสื่อมสภาพ<br />

เป็ นเพราะสาเหตุใด<br />

1.ปุ ๋ ยเคมีไม่มีสมบัติในการปรับปรุงดิน ไม่ท าให ้ดินร่วนซุย<br />

2.ปุ ๋ ยเคมีเช่นปุ ๋ ย N ในรูป NH4 + เมื่อใช<br />

้ไปนานๆ จะท าให ้เกิดกรดมากขึ ้น เพราะ<br />

เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน ้าหรือความชื้นในน<br />

้า ดังสมการ<br />

NH4 + + H2O NH3 + H3O +<br />

18. การตั ้งโรงงานปุ ๋ ยแห่งชาติมีประโยชน์อย่างไร<br />

สามารถน าวัคถุดิบซึ่งอยู่ในแหล่งทรัพยากรธรรมชาติมาใช<br />

้ เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ ๋ ย<br />

และปุ ๋ ยที่ผลิตได<br />

้สามารถน ามาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเพื<br />

่อการบริโภคภายในประเทศและส่ง<br />

เป็ นสินค ้าออก เพื่อน<br />

ารายได ้เข ้าสู่ประเทศ<br />

และลดการสั่งปุ<br />

๋ ยจากภายนอกประเทศ เป็ นการ<br />

ประหยัดเงินตราของประเทศไว ้ได ้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. องค์ประกอบเคมีที่ส<br />

าคัญของดินคือข้อใดบ้าง<br />

แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่<br />

2.2 - 2.4<br />

1. SiO 2 , Al 2O 3 2. Fe 2O 3 , CaO 3. MgO , K 2O 4. Na 2O<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 1,2 และ 4 ค. ข้อ 1 และ 4 ง. ข้อ 1,2,3 และ 4<br />

2. เฟลด์สปาร์ชนิดใด ใช้เป็ นส่วนประกอบในน ้าเคลือบและใช้ผสมในเนื ้อดิน<br />

ก. โซดาเฟลด์สปาร์ ข. โพแทชเฟลด์สปาร์<br />

ค. แคลเซียมเฟลด์สปาร์ ง. เฟลด์สปาร์หินฟันม้า<br />

3. เฟลด์สปาร์ชนิดใดใช้เป็ นส่วนผสมในเนื ้อดินปั ้ น<br />

ก. โซดาเฟลด์สปาร์ ข. โพแทชเฟลด์สปาร์<br />

ค. แคลเซียมเฟลด์สปาร์ ง. เฟลด์สปาร์หินฟันม้า<br />

4. วัตถุดิบชนิดใดมีสมบัติดังนี ้<br />

1. ท าหน้าที่ช่วยให้ส่วนผสมเกิดการหลอมเหลวที<br />

่อุณหภูมิต ่า<br />

2. ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็<br />

นเนื ้อแก้วในผลิตภัณฑ์<br />

3. ท าให้เกิดความโปร่งใส<br />

ก. เฟลด์สปาร์ ข. ควอตซ์ ค. แร่โดโลไมต์ ง. ดินขาว<br />

5. ดินขาวผสมกับสิ่งใดท<br />

าให้เนื ้อดินแน่นขึ ้นและเนียนขึ ้น สะดวกในการขึ ้นรูปและท าผลิตภัณฑ์<br />

ก. ดินเหนียว ข. เฟลด์สปาร์ ค. ควอตซ์ ง. โดโลไมต์<br />

6. สารประกอบออกไซด์คู่ใด ใช้เป็ นวัตถุดิบเซรามิกส์ชนิดวัตถุทนไฟ<br />

ก. BeO , Al 2O 3 ข. SiO 2 , B 2O 3 ค. SiO 2 , BeO ง. SnO 2 ZnO<br />

7. วัตถุดิบผลิตเซรามิกส์ใดท าหน้าที่เป็<br />

นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์และช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ<br />

ก. ควอตซ์ ข. ดินขาว ค. ดินเหนียว ง. เฟลด์สปาร์<br />

8. ดิกไคต์มีองค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน ดิกไคต์ที่ประกอบด้วยอะลูมินาร้อยละเท่าใด<br />

โดยมวล จึงมีลักษณะเหมือนหินแข็ง จึงน ามาแกะสลักเป็ นรูปต่างๆ<br />

ก. 11-28 ข. 28-32 ค. 32-46 ง. น้อยกว่า 12<br />

9. จากข้อ 8 ดิกไคต์ที่ประกอบด้วยอะลูมิ<br />

นาร้อยละเท่าใดโดยมวล เพื่อน<br />

ามาผลิตวัสดุทนไฟและท ากระเบื ้องปูพื ้น<br />

ก. 11-28 ข. 28-32 ค. 32-46 ง. น้อยกว่า 12<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

10. การขึ ้นรูปผลิตภัณฑ์วัสดุทนไฟและกระเบื ้อง จะใช้วิธีใด<br />

ก. การเทแบบ<br />

ข. การใช้เครื่องขึ<br />

้นรูป<br />

ค. การอัดเนื้อดินผ่านหัวแบบและการอัดผงเนื้อดินลงในแบบโลหะด้วยแรงอัดสูง<br />

ง. การใช้แป้ นหมุน<br />

่ ่<br />

11. กลุ่มสารที่ใช้ลดอุณหภูมิของการหลอมเหลวของน<br />

้าเคลือบ ประกอบด้วยออกไซด์ของธาตุหมู่ใด<br />

1. หมู IA 2’ หมู IIA 3. หมู่โลหะแทรนซิชัน<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 เท่านั ้น ค. ข้อ 3 เท่านั ้น ง. ข้อ 1 และ 3<br />

12. แก้วผลิตจากซิลิกา โซดาแอช หินปูน โดโลไมต์และเศษแก้ว เศษแก้วที่เติมลงไปคิดเป็<br />

นร้อยละเท่าใด<br />

ก. 30 ข. 40 ค. 45 ง. 55<br />

13. สารใด่ชวยลดอุณหภูมิในการหลอมเหลวของซิลิกาในแก้วและช่วยเพิ ่มความแกร่งในเนื ้อแก้ว<br />

1. โซดาแอช 2. โดโลต์ 3. หินปูน<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 3 ค. ข้อ 3 เท่านั ้น ง. ข้อ 1 ,2 และ 3<br />

14. วัตถุดิบในข้อ 13 น ามาหลอมรวมเข้าด้วยกันในเตาเผาที ่อุณหภูมิเท่าใด<br />

ก. 1,500 �C ข. 1,600 �C ค. 1,700 �C ง. 1,800 �C<br />

15. แก้วน ้า ขวดน ้า ภาชนะแก้ว และกระจกแผ่น จัดเป็ นแก้วประเภทใด<br />

ก. แก้วโซดาไลม์ ข. แก้วโบโรซิลิเกต ค. แก้วคริสตัล ง. แก้วโอปอล<br />

16. แก้วโซดาไลม์มีองค์ประกอบของ SiO 2 Na 2O CaO ร้อยละโดยมวลเท่าใด ตามล าดับ<br />

ร้อยละโดยมวล<br />

SiO 2 Na 2O CaO<br />

ก. 71-75 12-16 10-15<br />

ข 12-16 10-15 12-16<br />

ค. 70-80 10-15 12-16<br />

ง. 70-80 12-16 10-15<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

17. น ้าแก้ว เกิดจากการหลอมละลายเป็ นเนื ้อเดียวของสารใด<br />

1. Na2O 2. CaO 3. MgO 4. SiO2 ก. ข้อ 1 และ 4 ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 1,2 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

18. ต้องเติมสารประกอบออกไซด์ชนิดใด เพื่อให้แก้วโซดาไลม์มีสีชาหรือสีน<br />

้าตาล<br />

ก. แมงกานีสออกไซด์ ข. คอปเปอร์ออกไซด์<br />

ค. โคบอลต์ออกไซด์ ง. โครเมียมออกไซด์<br />

19. . ต้องเติมสารประกอบออกไซด์ชนิดใด เพื่อให้แก้วโซดาไลม์มีสีน<br />

้าเงิน<br />

ก. แมงกานีสออกไซด์ ข. คอปเปอร์ออกไซด์<br />

ค. โคบอลต์ออกไซด์ ง. โครเมียมออกไซด์<br />

20. แก้วชนิดใดใช้ท าภาชนะส าหรับใช้ในเตาไมโครเวฟ<br />

ก. แก้วโซดาไลม์ ข. แก้วโบโรซิลิเกต ค. แก้วคริสตัล ง. แก้วควอตซ์<br />

21. ข้อใดถูกต้อง<br />

1. การท าแก้วหากมีการเติมหินปูนบดละเอียดลงไป จะท าให้เนื ้อแก้วไม่เปราะง่าย<br />

2. แก้วที่ผสมโบรอนออกไซด์ลงไปจะท<br />

าให้แก้วทนความร้อนสูง ส่วนแก้วที่ผสมตะกั่วออกไซด์ลง<br />

ไปขณะผลิตแก้ว จะท าให้แก้วที่ได้ใสและมีความแวววาวสวยงาม<br />

3.แก้วคือของแข็งที่เกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็วของของเหลวโดยการไม่ตกผลึก<br />

4. ในการผลิตแก้ว มักจะมีการเติมเศษแก้วที ่แตกหักลงไป เพื่อช่วยให้ส่วนผสมหลอมเหลวง่ายขึ<br />

้น<br />

ก. ข้อ 1 ,3 และ 4 ข. ข้อ 1 และ 2 ค. ข้อ 2 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

22. แก้วชนิดใดมีสมบัติไม่ทนต่อความเป็ นกรด-เบส แตกง่ายเมื่อได้รับความร้อน<br />

ยอมให้แสงขาวผ่านและ<br />

ดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลต<br />

ก. แก้วโซดาไลม์ ข. แก้วโบโรซิลิเกต ค. แก้วคริสตัล ง. แก้วควอตซ์<br />

23. แก้วโอปอลเป็ นแก้วที่มีการเติมสารชนิดใด<br />

เพื่อท<br />

าให้เกิดผลึกหรือแยกชั ้นในเนื ้อแก้ว ท าให้แก้วขุ ่นและ<br />

โปร่งแสง<br />

ก. โซเดียมคลอไรด์ ข. โซเดียมฟลูออไรด์ ค. แคลเซียมคลอไรด์ ง. แคลเซียมโบรไมด์<br />

24. กระจกเงา กระจกสะท้อนแสง กระจกนิรภัย กระจกฉนวน กระจกเสริมลวดและกระจกกันกระสุนเป็ น<br />

ผลิตภัณฑ์แก้วชนิดใด<br />

ก. กระจกแผ่น ข.แก้วโซดาไลม์ ค. แก้วโบโรซิลิเกต ง. แก้วควอตซ์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

25. สารเคมีใดจัดเป็ นวัตถุดิบเนื ้อปูน<br />

ก. แคลเซียมคาร์บอเนต ข. ซิลิก ค. อะลูมินา ง. ออกไซด์ของเหล็ก<br />

26. สารใดเป็ นวัตถุเนื ้อปูน<br />

1. หินปูน 2. ดินสอพอง 3. หินอ่อน 4. หินชอล์ก<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 2 ,3 และ 4 ง. ถูกทุกข้อ<br />

27. วัตถุดิบเนื ้อดินประกอบด้วยสารใด<br />

1. ซิลิกา 2. อะลูมินา 3. ออกไซด์เหล็ก 4. แคลเซียมออกไซด์<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ1, 2 และ 3 ค. ข้อ ,3 และ 4 ง. ข้อ 2,3 และ 4<br />

28. สารใดเป็ นวัตถุดิบปรับคุณภาพ<br />

1. แร่เหล็กออกไซด์ 2. แร่ออกไซด์ 3. ยิบซั่ม<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 2 ค. ข้อ 2 และ 3 ง. ข้อ 1 และ 3<br />

29. ถ้าวัตถุดิบเนื ้อปูนมีปริมาณอะลูมินาต ่า จะเติมสารใดเพื่อปรับปรุงคุณภาพ<br />

ก. . แร่เหล็กออกไซด์ ข. แร่บอกไซต์ ค. ยิบซั่ม<br />

ง. อะลูมินา<br />

30. สารเติมแต่งชนิดใดที่เติมลงในปูนเม็ดภายหลังการเผาเพื่อหน่วงเวลาให้ปูนผสมกับน<br />

้าแข็งตัวช้า<br />

ก. ยิบซั่ม<br />

ข. หินปูน ค. แร่บอกไซต์ ง. หินชอล์ก<br />

31. วัตถุดิบที ่มีความชื ้นสูงตามสภาพธรรมชาติที่น<br />

ามาใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์แบบเปี ยก คือสารใด<br />

1. ดินด า 2. ดินขาว 3. ดินเหนียว 4. หินปูน 5. หินดินดาน<br />

ก. ข้อ 1 และ 5 เท่านั ้น ข. ข้อ 1,2 และ 3<br />

ค. ข้อ 2 ,3 และ 4 ง. ข้อ 1,2,3 และ 4<br />

32. วัตถุดิบที ่มีความชื ้นต ่าตามสภาพธรรมชาติที่น<br />

ามาใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์แบบเผา คือสารใด<br />

1. ดินด า 2. ดินขาว 3. ดินเหนียว 4. หินปูน 5. หินดินดาน<br />

ก. ข้อ 1 และ 5 เท่านั ้น ข. ข้อ 2 และ 3<br />

ค. ข้อ 4 และ 5 ง. ข้อ 1 และ 3<br />

่ ่ ่ ่<br />

33. ปูนซีเมนต์ประเภทที่เท่าใด<br />

ใช้ท าคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที ่เกิดความร้อนและทนซัลเฟตได้<br />

ก. ประเภทที 1 ข.ประเภทที 2 ค. ประเภทที 3 ง. ประเภทที 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

34. ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที ่เท่าใด ใช้ในการก่อสร้างเขื่อนขนาดใหญ่<br />

งานโครงสร้างที่เป็<br />

นแท่งหนา<br />

มากๆ<br />

ก. ประเภทที่<br />

2 ข.ประเภทที่<br />

3 ค. ประเภทที่<br />

4 ง. ประเภทที่<br />

5<br />

่ ่ ่ ่<br />

35. ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที ่เท่าใด ใช้ในการก่อสร้างตามชายฝั่งทะเล<br />

หรือในทะเล<br />

ก. ประเภทที 2 ข.ประเภทที 3 ค. ประเภทที 4 ง. ประเภทที 5<br />

36. ปูนซีเมนต์ผสมได้จากปูนซีเมนต์เติมทรายหรือหินปูนละเอียดลงไปบดพร้อมปูนเม็ด ท าให้มีแรงอัดต ่า<br />

กว่าปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที ่เท่าใด จึงน ามาใช้ในงานก่อ งานฉาบ หล่อท่อ เทพื ้น เป็ นต้น<br />

ก. ประเภทที่<br />

1 ข.ประเภทที่<br />

2 ค. ประเภทที่<br />

3 ง. ประเภทที่<br />

4<br />

37. ในอุตสาหกรรมการท านาเกลือ สิ่งส<br />

าคัญที่ต้องค<br />

านึงถึงคือข้อใด<br />

ก. ความถ่วงจ าเพาะของสารละลาย ข. อุณหภูมิของสารละลาย<br />

ค. ปริมาณของธาตุในสารละลาย ง. ปริมาตรของสารละลาย<br />

38. ในการผลิตเกลือสมุทร ในขณะที่เกลือแกงตกผลึก<br />

เพราะเหตุใดจึงต้องระบายน ้าจากนาเชื ้อเข้าไปเพิ่ม<br />

ตลอดเวลา<br />

ก. เพื่อให้เกลือ<br />

CaSO4 ตกผลึก<br />

ข. เพื่อไม่ให้เกลือ<br />

NaCl ตกผลึกเร็วเกินไป<br />

ค. เพื่อป้<br />

องกันไม่ให้เกลือ MgCl2 และ MgSO4 ตกผลึก<br />

ง. เพื่อให้เกลือแมกนีเซียมตกผลึกมากับเกลือ<br />

NaCl<br />

39. ในการท านาเกลือ เมื่อเกลือNaCl<br />

ตกผลึกออกมา มักจะมี MgSO4ปนท าให้เกลือมีความชื ้น ถ้าต้องการ<br />

แยก Mg ออกมาใช้ประโยชน์ ควรแยกออกมาในรูปใด<br />

ก. Mg(OH) 2 หรือ MgCO3 ข. MgO หรือ Mg(OH) 2<br />

ค. MgSO4 หรือ MgO ง. MgO หรือ MgCO3 40. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี ้<br />

1. เกลืออนามัยเป็ นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์บริสุทธิ<br />

์ เหมาะสมต่อการบริโภค<br />

2. การผลิตเกลือสินเถาว์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์มากกว่าการผลิตเกลือสมุทร<br />

3. ในการท านาเกลือ ขั ้นตอนที่มีการระเหย<br />

ได้แก่ นาตาก นาเชื ้อและนาปลง ส่วนขั ้นตอนที่มีการตก<br />

ผลึก ได้แก่ นาเชื ้อ และนาปลง<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 1 ,2 และ 3<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

41. ข้อใดเป็ นความจริงของการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ในระดับอุตสาหกรรม<br />

ก. แก๊สไฮโดรเจนที่ผลิตได้จากเซลล์ไดอะเฟรมสามารถน<br />

าไปใช้ท ากรดไฮโดรคลอริก ส่วน<br />

สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์สามารถน าไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตเรยอน<br />

ข. แก๊สคลอรีนที่ผลิตได้จากเซลล์ปรอทสามารถน<br />

ามาฆ่าเชื ้อโรคในกระบวนการท าน ้าประปาได้<br />

ค. เฉพาะเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนเท่านั<br />

้นที่มีแก๊สคลอรีนและไฮโดรเจนเกิดขึ<br />

้น<br />

ง.โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จากเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

จะมีความเข้มข้นสูงกว่าที ่ได้จากเซลล์<br />

ไดอะแฟรม แต่น้อยกว่าที่ได้จาดเซลล์ปรอท<br />

42. ในการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ ภายในประเทศนิยมใช้การแยกสลายโซเดียมคลอไรด์ด้วยไฟฟ้ า เหตุใด<br />

จึงใช้ปรอทเป็ นแคโทด<br />

ก. เพื่อให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนที่ขั<br />

้วลบ<br />

ข. เพื่อป้<br />

องกันแก๊สคลอรีน ไม่ให้ละลายน ้า<br />

ค. เพื่อป้<br />

องกันไม่ให้โซเดียมละลายน ้า<br />

ง. เพื่อให้เกิดแก๊สคลอรีนที่ขั<br />

้วบวก<br />

43. ในปัจจุบันกระบวนการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ มี 3 กระบวนการ แต่ละกระบวนการมีข้อดีและข้อเสีย<br />

แตกต่างกัน ดังนี ้<br />

1. สารละลาย NaOH ที่ผลิตโดยวิธีเซลล์ไดอะแฟรมจะมีความเข้มข้นสูง<br />

ไม่มีสารปนเปื ้ อน รวมทั ้ง<br />

ไม่ต้องน าสารละลายมาท าให้เข้มข้น<br />

2. สารละลาย NaOH ที่ผลิตโดยวิธีเซลล์ปรอทจะมีความเข้มข้นต<br />

่า และมีสารประกอบของปรอท<br />

ปนเปื ้ อนกับน ้าทิ้ง<br />

3. สารละลาย NaOH ที่ผลิตโดยวิธีเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

จะมีความเข้มข้นสูง และมีความ<br />

บริสุทธิ ์ สูง<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. ข้อ 1 ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 3 ง. ข้อ 1 ,2 และ 3<br />

๋ 44. ปฏิกิริยาใดต่อไปนี ้ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตปุ<br />

ยยูเรีย<br />

ก. N2 + 3H2 → 2 NH3 ข. 2 NH3+ CO2 → (NH2) 2CO + H2O ค. CO2 + H2O → CO2 + H2 ง. CO + CH4 → CO2 + H2O 45. สารเคมีใดใช้ท าปุ<br />

๋ ยวิทยาศาสตร์ไม่ได้<br />

ก. (NH 2) 2SO 4 ข. KCl ค. NH 4NO 3 ง. Na 2SO 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

46. การผลิต NaOH เซลล์ปรอทต่างจากเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนอย่างไร<br />

ก. เซลล์ปรอทได้สารละลาย NaOH ที่เจือจางกว่า<br />

ข. เซลล์ปรอทกับแก๊สH2 ไม่ได้เกิดที่แคโทดโดยตรง<br />

ค. เซลล์ปรอทใช้ไฟฟ้ ากระแสตรง แต่เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนใช้ไฟฟ้<br />

ากระแสสลับ<br />

ง. การใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนท<br />

าให้สิ่งแวดล้อมเป็<br />

นพิษมากกว่า<br />

47. การผลิต MaOH วิธีใดที่ได้สารละลาย<br />

NaOH ที่มี<br />

NaCl ปน<br />

ก. ใช้เซลล์ไดอะแฟรม ข. ใช้เซลล์ปรอท<br />

ค. ใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

ง. ทั ้งข้อ ก ข และ ค<br />

48. ต่อไปนี ้เป็ นเหตุผลในการเลือกใช้ปรอท(ซึ ่งเป็ นสารพิษมาก) เป็ นอิเล็กโทรดของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ใน<br />

การเตรียมโซดาไฟทั ้สิ้น ยกเว้นข้อใด<br />

ก. ปรอทช่วยป้ องกันทิให้แก๊สคลอรีนที่เกิดขึ<br />

้น ท าปฏิกิริยากับผลิตภัณฑ์อื ่นๆ<br />

ข. ปรอทสามารถรวมกับผลิตภัณฑ์ที ่เกิดขึ ้นที่แคโทดได้สารละลายอะมัลกัม<br />

ค. ปรอทสามารถช่วยให้แยกผลิตภัณฑ์บางชนิดออกจากเซลล์อิเล็กโทรไลต์ได้<br />

ง. ปรอทช่วยเร่งปฏิกิริยาให้เกิดโซดาไฟได้เร็วขึ้น<br />

49. ในการผลิตปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต และยูเรีย มีสารเคมีที่เกี่ยวข้องในขบวนการผลิตอยู่หลายชนิด<br />

ที่ส<br />

าคัญ<br />

คือ CO ,CO2 ,NH3 ,N2 และ H2 ให้พิจารณาว่าสารชนิดใดต่อไปนี ้ ไม่ได้เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ถ่านลิกไนต์เป็<br />

น<br />

สารตั ้งต้น<br />

ก. CO ข. CO2 ค. N2 ง. NH3 50. เกลือแกงเป็ นวัตถุดิบที่ส<br />

าคัญชนิดหนึ ่งซึ ่งใช้ในอุตสาหกรรมประเภทใดมากที่สุด<br />

ก. โรงงานผงชูรส ข. โรงงานโซดาไฟ ค. โรงงานน ้าตาล ง. โรงานผงซักฟอก<br />

51. โรงงานอุตสากรรมใดที่ไม่ได้ใช้คลอรีนในกระบวนการผลิต<br />

ก. อุตสากรรมพลาสติก ข. อุตสาหกรรมท ากระดาษ<br />

ค. อุตสาหกรรมท าสบู ่ ง. อุตสาหกรรมท าผงชูรส<br />

์<br />

้<br />

52. NaOH , BaCl2 และ Na2CO3 ที่โรงงานอุตสาหกรรมใช้เพื่อท<br />

าให้สารละลาย NaCl บริสุทธิ จะช่วยขจัด<br />

สารทุกตัว ในข้อใดต่อไปนี<br />

ก. Mg 2+ , Ba 2+ , H + ข. Ca 2+ , Ba 2+ 2-<br />

, SO4 ค. Mg 2+ 2- 2+<br />

, SO4 , Ca<br />

2+ 2- 2+<br />

ง. Mg , CO3 , Ba<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

53. การใช้ปุ ๋ ยวิทยาศาสตร์มากเกินไป จะท าให้ดินเสียหรือเรียกว่าดินเปรี ้ ยว ปุ ๋ ยประเภทนี ้ ได้แก่<br />

ก. ปุ ๋ ยยูเรีย ข. ปุ ๋ ยแอมโมเนีย<br />

ค. ปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ง. ปุ ๋ ยโพแทสเซียม<br />

54. ก าหนดให้ ถ้าจะเตรียมโซดาแอช จะมีสารเกี่ยวข้องเรียงตามล<br />

าดับก่อนไปหลังดังข้อใด<br />

A = Na2CO3 (s) B = NaHCO3(s) C = CaCO3(s) D = NaCl(s) E = CO2 F = NH4OH(aq) ก. C,B,E,D,F,A ข. C,E,D + F,B,A<br />

ค. C,D + F,E,B.A ง. A,D + F,E,B,C<br />

55. ในการเตรียมกรดซัลฟุริกจาก SO3 นั ้น เหตุใดจึงไม่นิยมใช้ SO3 ละลายน ้าโดยตรงดังสมการ<br />

SO3 + H2O แต่นิยมละลายใน H2SO4 ก่อน<br />

→ H2SO4 ก. เพราะ SO3 เป็ นแก๊ส ท าให้ยากต่อการทราบความเข้มข้นของ H2SO4 ที่เตรียมได้<br />

ข. เพราะ SO3 ท าปฏิกิริยากับน ้าจะเกิดความร้อนมาก อาจเป็ นอันตรายได้<br />

ค. เพราะ SO3 มักมี SO2 ผสมอยู่ด้วย<br />

ซึ ่งเมื่อละลายน<br />

้าโดยตรง จะได้ H2SO3 ปนอยู่ใน<br />

H2SO4 ง. เพราะปฏิกิริยาระหว่าง SO3 กับน ้าเป็ นปฏิกิริยาที ่ผันกลับได้ ฉะนั ้นแก๊ส SO3 จึงหนีออกจาก<br />

สารละลายได้เรื่อยๆ<br />

ท าให้ความเข้มข้นของ H2SO4 ลดลง<br />

56. โซดาแอชเป็ นสารเคมีที่มีสูตรเป็<br />

นอย่างไร และเมื่อผลิตโซดาแอชด้วยวิธีโซลเวย์<br />

จะต้องใช้แก๊สใดในการ<br />

ผลิต<br />

ก. NaHCO3 และใช้แก๊ส NH3 ข. NaHCO3 และใช้แก๊ส CO<br />

ค. Na2CO3 และใช้แก๊ส NH3 ง. Na2CO3 และใช้แก๊ส CO<br />

57. HF เป็ นสารพิษ ใช้ในกระบวนการผลิตปุ ๋ ยชนิดใด<br />

ก. ปุ ๋ ยยูเรีย ข. ปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต<br />

ค. ปุ ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟต ง. ปุ ๋ ยโพแทช<br />

58. โลหะหนักอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมาก จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ที่เจ้าของโรงงาน<br />

จ าเป็ นต้องกระท า เพื่อลดอันตรายจากโลหะหนัก<br />

ก. ท าให้โรงงานมีระบบถ่ายเทอากาศที่ดี<br />

ข. มีการตรวจสุขภาพคนงานอยู ่เป็ นระยะ<br />

ค. จัดหาอุปกรณ์ป้ องกันอันตรายที่เหมาะสมให้กับคนงาน<br />

ง. ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องยนต์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

59. อุตสาหกรรมข้อใดไม่ก่อให้เกิดมลพิษหรือผลกระทบตามที่ระบุ<br />

ก. อุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์มีการแพร่กระจายของดินเค็ม<br />

ข. อุตสาหกรรมการผลิตสังกะสีมีกากแร่ที ่มีแคดเมียม<br />

ค. อุตสาหกรรมการผลิตแทนทาลัมจะเหลือกากาสารที ่เป็ นกัมมันตรังสี<br />

ง. อุตสาหกรรมการผลิตเซรามิกส์มีสารปรอทรั่วไหลลงสู<br />

่แม่น ้า<br />

60. ในการผลิตเกลือสินเถาว์ ข้อใดไม่ใช่ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม<br />

ก. ท าให้ปริมาณ Mg 2+ , Ca 2+ 2- 2-<br />

, SO4 และ CO3 ในดินเพิ่มขึ<br />

้น<br />

ข. ต้องใช้น ้าจืดปริมาณมาก ท าให้ขาดแคลนน ้าจืด<br />

ค. เกลือสินเถาว์ขาดธาตุไอโอดีน ท าให้ไม่เหมาะที ่จะใช้บริโภค<br />

ง. เกิดการยุบตัวของพื ้นดินบริเวณที ่มีการผลิตเกลือจากน ้าเกลือบาดาลและชั ้นเกลือหิน<br />

กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่<br />

2.2 -2.4<br />

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง<br />

1 16 31 46<br />

2 17 32 47<br />

3 18 33 48<br />

4 19 34 49<br />

5 20 35 50<br />

6 21 36 51<br />

7 22 37 52<br />

8 23 38 53<br />

9 24 39 54<br />

10 25 40 55<br />

11 26 41 56<br />

12 27 42 57<br />

13 28 43 58<br />

14 29 44 59<br />

15 30 45 60<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!