10.01.2013 Views

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.1 ทองแดง<br />

แร่ทองแดงพบที่<br />

จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ล าปาง ล าพูน<br />

เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิต แร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดงเป็ น<br />

ส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงที่ส<br />

าคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) ซึ ่งมี FeS และ CuS ปนกันอยู่<br />

การถลุงทองแดงจากแร่นี ้ ขั ้นแรกคือ แยกแร่ที่ต้องการออกจากสิ่งเจือปน<br />

อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็ นต้น<br />

จากนั ้นน าแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่า<br />

การย่างแร่ ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็ น<br />

ไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ<br />

2CuFeS2 (s) + 3O2 (g) → 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2 (g)<br />

แล้วน าผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปเผารวมกับออกไซด์ของซิลิกอนมนเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ<br />

1100 ºC<br />

เพื่อก<br />

าจัดไอร์ออน (II) ออกไซด์ออก ดังสมการ<br />

FeO(s) + SiO2 (s) → FeSiO3(l)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!