10.01.2013 Views

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยการเรียนรู ้ที่<br />

2. ธาตุและสารประกอบของธาตุในอุตสาหกรรม(4 หน่วยย่อย)<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.1 อุตสาหกรรมแร่<br />

แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบที่เกิดขึ<br />

้นตามธรรมชาติ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาภายในโลกและ<br />

ที่ผิวโลก<br />

มีองค์ประกอบเป็ นช่วง มีโครงสร้างและองค์ประกอบเฉพาะตัว<br />

ประเภทของแร่<br />

1.จ าแนกตามสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ แร่โลหะ รัตนชาติ แร่อโลหะ แร่เชื ้อเพลิง<br />

2.จ าแนกแร่ตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือ ส่วนสินแร่ มีปริมาณมากน ามาใช้ประโยชน์ มี 2<br />

ประเภท<br />

� แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ที่เป็<br />

นส่วนประกอบแยกกระจายในหินเช่น แกรนิต<br />

ควอร์ตช์ เฟลด์สปาร์ และไมกา<br />

� แร่เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม หมายถึง แร่ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ<br />

แร่ประกอบหิน หมายถึง กลุ่มของแร่ต่าง ๆ ที่มีปริมาณมากพอในเชิงเศรษฐกิจ<br />

ซึ ่งสามารถใช้เป็ น<br />

วัตถุดิบในการหลอมเหลวหรือถลุง เพื่อให้ได้โลหะ<br />

แร่หลักชนิดต่าง ๆ จ าแนกตามองค์ประกอบทางเคมี ได้<br />

ดังตาราง 2.1<br />

ตาราง 2.1 แร่หลักชนิดต่าง ๆ<br />

ชนิด แร่<br />

โลหะเดี่ยว<br />

คาร์บอเนต<br />

เฮไลด์<br />

ออกไซด์<br />

ฟอสเฟต<br />

ซิลิเกต<br />

ซัลไฟด์<br />

ซัลเฟต<br />

เงิน ทองค า บิสมัท ทองแดง แพลทินัม แพลเลเดียม<br />

CaCO 3 ( แคลไซต์ หินปูน) MgCO 3 (แมกนีไซต์) CaMg(CO 3 ) 2 (โดโลไมต์) PbCO 3<br />

(เซอรัสไซต์) ZnCO 3 (สมิทโซไนต์)<br />

CaF 2 (ฟลูออไรต์) NaCl (เฮไลต์) KCl (ซิลไวต์) Na 3 AlF 6 (ไครโอไลต์)<br />

Al 2O 3.2H 2O (บอกไซต์) Al 2O 3 (คอรันดัม) Fe 2O 3 (ฮีมาไทต์) Fe 3O 4 (แมกนี<br />

ไทต์) Cu 2O (คิวไพรต์) MnO 2 (ไพโรลูไลต์) SnO 2 (แคสซิเทอไรต์) ZnO (ซิงไคต์)<br />

Ca 3(PO4) 2 (หินฟอสเฟต) Ca 5(PO 4 ) 3 OH (ไฮดรอกซีแอพาไทต์)<br />

Be 3Al 2(Si 6O 18 ) (เบริล) ZrSiO 4 (เซอร์คอน) NaAlSiO 3 (แอลไบต์)3MgO.4SiO 2 .H 2<br />

O (ทัลก์)<br />

Ag 2S (อาร์เจนไทต์) CdS (กรนอกไคต์) Cu 2S (คาลโคไซต์) Fe 2S (ไพไรต์) HgS<br />

(ซินนาบาร์) PbS (กาลีนา) ZnS (สฟาสเลอไรต์)<br />

BaSO 4 (แบไรต์) CaSO 4 (แอนไฮไดรต์) PbSO 4 (แองกลีไซต์) SrSO 4 (เซเลส<br />

ไทต์) MgSO 4.7H 2 O (เอปโซไมต์)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

นอกจากนี ้อาจจ าแนกแร่ตามโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ดังนี ้<br />

แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ที่เป็<br />

นส่วนประกอบของหิน เช่น หินแกรนิตประกอบด้วยแร่ควอตซ์<br />

แร่เฟลด์สปาร์และแร่ไมกา หินปูนประกอบด้วยแร่แคลไซต์ซึ ่งจะกระจายแทรกตัวอยู ่ในเนื ้อหินและแยก<br />

ออกมา ใช้ประโยชน์ได้ยาก จึงต้องน าหินเหล่านั ้นมาใช้โดยตรง เช่น น ามาใช้ในกระบวนการผลิต<br />

ปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมก่อสร้าง น าหินแกรนิตหรือหินอ่อนในรูปของแผ่นหินมาใช้ส าหรับปูพื ้นหรือการ<br />

ก่อสร้าง<br />

ตาราง 2.2 ตัวอย่างกลุ ่มแร่เศรษฐกิจ<br />

กลุ ่มแร่ ตัวอย่าง แร่<br />

แร่โลหะพื้นฐาน<br />

แร่หนักและแร่หายาก<br />

แร่โลหะมีค่า<br />

แร่ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า<br />

แร่วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์<br />

แร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง<br />

แร่รัตนชาติ<br />

แร่ที่ใช้เป็<br />

นเชื้อเพลิง<br />

แร่ทองแดง ตะกั่ว<br />

สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน<br />

แร่เทนทาไลต์โคลัมไบต์ เซอร์คอน อิลเมไนต์ โมนาไซต์<br />

ทองค า ทองค าขาว เงิน<br />

แร่เหล็ก แมงกานีส นิกเกิล โครไมต์ โมลิบไนต์<br />

ยิปซัม หินปูน หินดินดาน ดินมาร์ลหรือดินสอพอง<br />

หินอ่อน หินแกรนิต หินทราย หินกาบหรือหินชนวน<br />

เพชร คอรันดัม มรกต บุษราคัม โกเมน<br />

ถ่านหิน หินน ้ามัน น ้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ<br />

แร่เศรษฐกิจ หมายถึง แร่ที่มีค่าทางเศรษฐกิจและมีปริมาณมากพอที<br />

่จะน ามาใช้ประโยชน์ในทาง<br />

อุตสาหกรรม โดยอาจแบ่งเป็ นกลุ่มได้ตามตาราง หรืออาจแบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ แร่โลหะและแร่<br />

อโลหะ ตัวอย่างแร่เศรษฐกิจที ่ส าคัญของไทย เช่น หินปูน ยิปซัม สังกะสี เหล็ก ดีบุก ตะกั่ว<br />

หินอ่อน ทราย<br />

แก้ว เฟลด์มปาร์ ดินขาว ฟลูออไรต์ โพแทซและรัตนชาติ รวมทั ้งแร่อโลหะที่ใช้เป็<br />

นเชื ้อเพลิง เช่น ถ่านหิน<br />

หินน ้ามันและแก๊สธรรมชาติ โดยประเทศไทยผลิตแร่ได้มากกว่า 40 ชนิดทั ้งการผลิตเพื่อส่งออกและเพื่อ<br />

รองรับอุตสาหกรรมภายในประเทศ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.1 ทองแดง<br />

แร่ทองแดงพบที่<br />

จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ล าปาง ล าพูน<br />

เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิต แร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดงเป็ น<br />

ส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงที่ส<br />

าคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) ซึ ่งมี FeS และ CuS ปนกันอยู่<br />

การถลุงทองแดงจากแร่นี ้ ขั ้นแรกคือ แยกแร่ที่ต้องการออกจากสิ่งเจือปน<br />

อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็ นต้น<br />

จากนั ้นน าแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่า<br />

การย่างแร่ ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็ น<br />

ไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ<br />

2CuFeS2 (s) + 3O2 (g) → 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2 (g)<br />

แล้วน าผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปเผารวมกับออกไซด์ของซิลิกอนมนเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ<br />

1100 ºC<br />

เพื่อก<br />

าจัดไอร์ออน (II) ออกไซด์ออก ดังสมการ<br />

FeO(s) + SiO2 (s) → FeSiO3(l)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ส่วนคอปเปอร์ ( II) ซัลไฟด์ เมื่ออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้เป็<br />

นคอปเปอร์ ( I)<br />

ซัลไฟด์ ในสถานะของเหลวซึ ่งสามารถแยกออกได้ และในขั ้นสุดท้ายเมื ่อแยกคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ใน<br />

อากาศ บางส่วนจะเปลี่ยนเป็<br />

นคอปเปอร์ (I) ออกไซด์ ดังสมการ<br />

2Cu 2S (s ) + 3O 2(g) → 2Cu 2O(s) + SO 2(g)<br />

และคอปเปอร์ (I) ออกไซด์กับคอปเปอร์ ( I)ซัลไฟด์จะท าปฏิกิริยากันโดยมีซัลไฟด์ไออนเป็ นตัว รีดิวซ์<br />

ดังสมการ 2Cu2O(s) + Cu2S (s ) → 6Cu(l) + SO2g) ์<br />

้<br />

แต่ยังมีสิ่งเจือปนจึงต้องน<br />

าไปท าให้บริสุทธิ ก่อน โดยทั่วไปจะใช้วิธีแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้<br />

า<br />

ทองแดงเป็ นโลหะที่มีความส<br />

าคัญและใช้มากในอุตสาหกรรม การผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้ าและ<br />

อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ<br />

อุปกรณ์เกี่ยวกับรถยนต์<br />

อาวุธ เปรียญกษาปณ์<br />

ฯลฯ และยังเป็ นส่วนประกอบส าคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง บรอนซ์ โลหะผสมทองแดง<br />

นิกเกิลใช้ท าท่อในระบบกลั่น<br />

อุปกรณ์ภายในเรือเดินทะเล โลหะผสมทองแดง นิกเกิล และสังกะสี ( เรียกว่าเงินนิกเกิล<br />

หรือเงินเยอรมัน ใช้ท ) าเครื่องใช้<br />

เช่น ส้อม มีด เครื่องมือแพทย์<br />

นอกจากนี แร่ทองแดงที่มีลวดลายสวยงาม<br />

เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถน ามาท าเครื่องประดับได้อีกด้วย<br />

2.1.2 สังกะสี - แคดเมียม<br />

� แร่สังกะสีที่พบมากที่สุดคือ<br />

แร่สฟาเลอไรด์( ZnS ) เมื่อน<br />

ามาถลุงแล้วจะอยู่ในรูปของของเหลวไม่<br />

บริสุทธิ ์ ในประเทศไทยพบแร่สังกะสีในหลายจังหวัด เช่น ล าปาง แพร่ แต่ส าหรับที่ตากเป็<br />

นแร่<br />

สังกะสีชนิดซิลิเกต คาร์บอเนตและออกไซด์ ซึ ่งจะมีล าดับวิธีการถลุงแร่แตกต่างกันออกไป<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

� ปัจจุบันมีการใช้โลหะสังกะสีอย่างกว้างขวาง โดยใช้เป็ นสารเคลือบเหล็กกล้า ใช้ผสมกับทองแดง<br />

เกิดเป็ นทองเหลืองเพื่อใช้ขึ<br />

้นรูปหรือหล่อมผลิตภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนี ้สารประกอบออกไซด์ของ<br />

สังกะสียังน ามาใช้ในอุตสาหกรรมยาง สี เซรามิกส์ ยา เครื่องส<br />

าอาง และอาหารสัตว์<br />

� แคดเมียม(Cadmium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม<br />

48 และสัญลักษณ์คือ Cd แคดเมียมเป็ นโลหะ<br />

ทรานซิชั่นสีขาว-ฟ้<br />

า เป็ นธาตุมีพิษ ในธรรมชาติพบอยู่ในแร่สังกะสี<br />

� คุณสมบัติทางกายภาพ แคดเมียม เป็ นโลหะหนัก มีสีขาว ฟ้ า วาว มีลักษณะเนื ้ออ่อน สามารถบิด<br />

โค้งงอได้และถูกตัดได้ง่ายด้วยมีด มักอยู่ในรูปแท่ง<br />

แผ่น เส้นลวด หรือเป็ นผงเม็ดเล็กๆ ในอากาศที่<br />

มีความชื ้นแคดเมียม จะถูกออกซิไดซ์ช้าๆ ให้แคดเมียมออกไซด์ ในธรรมชาติแคดเมียมมักจะอยู่<br />

รวมกับก ามะถันเป็ นแคดเมียมซัลไฟด์ และ มักปนอยู่ในสินแร่สังกะสี<br />

ตะกั่ว<br />

หรือทองแดง<br />

� คุณสมบัติทางเคมี สูตรเคมี Cd มีคุณสมบัติละลายได้ทั<br />

้งในกรดอินทรีย์ และกรดอนินทรีย์<br />

� การแยกโลหะแคดเมียมท าได้โดยน ากากตะกอนมาบดให้ละเอียดแล้วละลายในกรดซัลฟิ วริก ท า<br />

สารละลายให้เป็ นกลางด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองเพื่อแยกตะกอนออกจากสารละลายแคดเมียม<br />

จากนั ้นเติมผงสังกะสีลงในสารละลายจะได้แคดเมียมพรุนตกตะกอนออกมา กรองเพื่อแยก<br />

แคดเมียมพรุนที่ได้แล้วน<br />

าไปสกัดด้วยกรดซัลฟิ วริกอีกครั ้ง ต่อจากนั ้นท าสารละลายให้เป็ นกลาง<br />

ด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองและน าสารละลายที่ได้ไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้<br />

า จะได้โลหะ<br />

แคดเมียมเกาะที่แคโทด<br />

แล้วจึงน าไปหลอมและหล่อให้เป็ นแท่งต่อไป<br />

� โลหะแคดเมียมใช้เป็ นวัตถุดิบ→ในอุตสาหกรรมการผลิต เซลล์นิกเกิล-แคดเมียม ท าสีใน<br />

อุตสาหกรรมพลาสติก เซรามิกส์ ท าโลหะผสม และใช้โลหะแคดเมียมเคลือบเหล็กกล้า ทองแดง<br />

และโลหะอื่นๆเพื่อป้<br />

องกันการผุกร่อน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.3 ดีบุก<br />

แร่ดีบุกที่พบส่วนใหญ่<br />

พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO2 )<br />

การถลุงแร่ดีบุก<br />

� น าเอาแร่แคสซิเทอไรต์(SnO2) ผสมกับถ่านโค๊ก และดินปูน<br />

� ในอัตราส่วน 20:4:5 ใส่ในเตาเผาแบบนอน ปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้นดังนี ้<br />

C(s) + O 2 (g) → CO 2(g)<br />

CO 2(g) + O 2 (g) → 2CO(g)<br />

2CO (g) + SnO 2<br />

→ Sn (l) + 2CO 2(g<br />

้<br />

� แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ<br />

้น สามารถเปลี่ยนกลับไปเป็<br />

นแก๊ส<br />

คาร์บอนมอนอกไซด์แล้วน ากลับมาใช้ใหม่ได้<br />

� ในสินแร่ดีบุกจะมีสารประกอบบางชนิดเช่น SiO2 ปนอยู่จึงต้องก<br />

าจัดออก<br />

ในขณะถลุง ซึ ่งท าได้โดยให้ท าปฏิกิริยากับ CaO ที่ได้จากการสลายหินปูน<br />

จะได้<br />

ผลิตภัณฑ์เป็ นแคลเซียมซิลิเกตดังนี<br />

CaCO3(s) → CaO(s)+CO2 (g)<br />

CaO(s)+SiO2(s) → CaSiO3(1) คุณสมบัติของดีบุก<br />

� ทนต่อการกัดกร่อน<br />

� ไม่เป็ นสนิม<br />

� ไม่เป็ นพิษต่อร่างกาย<br />

� ผสมเป็ นเนื ้อเดียวกับโลหะอื่นได้ดี<br />

ประโยชน์ของดีบุก<br />

� ใช้เคลือบโลหะ ท าภาชนะบรรจุอาหาร<br />

� ท าโลหะผสม เช่น<br />

� ดีบุก ผสม ทองแดง เป็ น ทองสัมฤทธิ ์ /ทองบรอนซ์<br />

� ดีบุก ผสม ทองแดงและพลวง เป็ น โลหะพิวเตอร์<br />

� ดีบุก ผสม ตะกั่ว<br />

เป็ น ตะกั่วบัดกรี<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.4 ทังสเตน<br />

ทังสเตนส่วนใหญ่พบร่วมกับแร่ดีบุก สินแร่ของโลหะทังสเตนที ่พบในประเทศมี 2 ชนิด คือ<br />

วุลแฟรไมต์ (Fe,Mn)WO 4 และ ซีไลต์ CaWO 4<br />

ทังสเตนเป็ นโลหะสีเทาเงิน มีจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นสูง เป็ นตัวน าความร้อนและไฟฟ้ า<br />

ที่ดี<br />

มีสัมประสิทธิ ์ ของการขยายตัวต ่า เมื่อผสมกับคาร์บอนจะมีความแข็งมาก<br />

โลหะทังสเตนใช้ท าไส้และขั ้ว<br />

หลอดไฟฟ้ า ชิ้นส่วนบริเวณผิวสัมผัสของอุปกรณ์ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ท าฉากป้ องกันความร้อนและ<br />

รังสีในอุปกรณ์ต่างๆ ผสมกับเหล็กจะได้เหล็กกล้าที่มีความแข็งมาก<br />

ส าหรับใช้ท าเกราะในยานพาหนะ อาวุธ<br />

สงคราม ท ามีด มีดโกน ตะไบ ใบเลื่อย<br />

ผสมกับคาร์บอน นิกเกิลและโคบอลต์จะมีความแข็งแกร่งเป็ นพิเศษ<br />

จึงใช้ท าวัตถุส าหรับตัดเหล็กกล้า สารประกอบเรืองแสงของทังสเตนน ามาใช้เป็ นสีเขียวและสีเหลืองในการ<br />

ย้อมไหม ตกแต่งแก้วและเครื่องปั<br />

้ นดินเผา<br />

2.1.5 พลวง(antimony ore)<br />

หนังสือธรณีวิทยาประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี,2544) กล่าวว่า แร่พลวงส่วนใหญ่ที่พบเป็<br />

นแร่พลวง<br />

ซัลไฟด์ คือ แร่สติบไนต์ stibnite ( สูตรเคมี Sb2S3 ) หรือที่เรียกว่า<br />

“พลวงเงิน” และแร่พลวงไฮดรอกไซด์ คือ<br />

แร่สติบิโคไนต์ (stibiconite สูตรเคมี Sb2O4.nH2 O) หรือที่เรียกว่า<br />

“พลวงทอง”<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


2.1.6 แทนทาลัม – ไนโอเบียม<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.7 เซอร์โคเนียม<br />

เซอร์โคเนียม (Zr) เป็ นโลหะที่มีจุดหลอมเหลว<br />

1852 .C จุดเดือด 4377 .C พบอยู่ในรูปของแร่เซอร์<br />

คอน (ZrSiO4) เกิดตามแหล่งแร่ดีบุก<br />

การถลุงเซอร์โคเนียม<br />

� แยก Mg และ MgCl2 โดยเผาในภาวะที่เป็<br />

นสุญญากาศที่<br />

900.C และน าโลหะเซอร์โคเนียม<br />

ไปหลอมในเตาสุญญากาศ เพื่อให้ได้โลหะที่บริสุทธิ<br />

์ ขึ ้นถ้าเติม Y2O3 ลงใน ZrO2 ประมาณ 5% จะได้สารที่<br />

ชื่อว่า<br />

PSZ (Partially Stabilizer Zirconia)ซึ ่งใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ ที่ทนความร้อนได้สูง<br />

และไม่น า<br />

ไฟฟ้ า จึงสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆเช่น<br />

1. ใช้เป็ นชิ้นส่วนของเครื ่องยนต์ไอพ่น และจรวด<br />

2. ใช้ท าถ้วยกระเบื ้องทนไฟ<br />

3. ท าอิฐทนไฟส าหรับเตาหลอมโลหะ<br />

4. ท าฉนวนกันไฟฟ้ าแรงสูง<br />

5. ท าชิ้นส่วนของหัวเทียนรถยนต์<br />

6. ท าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


จงเติมค าตอบให้สมบูรณ์<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

8 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.1<br />

1. แร่ หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ<br />

โดยกระบวนการทาง<br />

ธรณีวิทยาภายในโลกและที่ผิวโลก<br />

มีองค์ประกอบเป็ นช่วง มีโครงสร ้างและ<br />

องค์ประกอบเฉพาะตัว<br />

2. สินแร่หมายถึงกลุ ่มของแร่ต่าง ๆ ที่มีปริมาณมากพอในเชิงเศรษฐกิจ<br />

ซึ่งสามารถใช<br />

้<br />

เป็ นวัตถุดิบในการหลอมเหลวหรือถลุง เพื่อให<br />

้ได ้โลหะ<br />

3. แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ที่เป็<br />

นส่วนประกอบของหิน<br />

4. จงยกตัวอย่าง แร่เศรษฐกิจต่อไปนี ้<br />

แร่โลหะพื ้นฐาน เช่น ..........แร่ทองแดง ตะกั่ว<br />

สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน<br />

แร่หนักและแร่หายาก เช่น แร่เทนทาไลต์โคลัมไบต์ เซอร์คอน อิลเมไนต์ โมนาไซต์<br />

แร่โลหะมีค่า เช่น ทองค า ทองค าขาว เงิน<br />

แร่ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า เช่น แร่เหล็ก แมงกานีส นิกเกิล โครไมต์โมลิบไนต์.<br />

แร่วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เช่น..ยิปซัม หินปูน หินดินดาน ดินมาร์ลหรือดินสอพอง<br />

.<br />

5. แร่เศรษฐกิจ ถ้าแบ่งตามการน ามาใช้ประโยชน์ มี 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ<br />

1....แร่โลหะ 2. ..แร่อโลหะ<br />

6. แร่หลัก ชนิดต่าง ๆ สามารถจ าแนกตามองค์ประกอบทางเคมีได้ ดังนี ้<br />

1. แร่หลัก ที่เป็<br />

นโลหะเดี่ยว<br />

2. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบคาร์บอเนต<br />

3. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบเฮไลด์.. 4. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบออกไซด์<br />

5. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบฟอสเฟต 6. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบซิลิเกต<br />

7. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบซัลไฟด์ 8. แร่หลัก ที่เป็<br />

นสารประกอบซัลเฟต<br />

7. แร่ทองแดงที่ส<br />

าคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) ซึ ่งมี FeS และ CuS ปนกันอยู่<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

8. ในขั ้นตอนการถลุงแร่ทองแดง โดยการน าแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่า<br />

การย่างแร่ ไอร์ออน (II) ซัล<br />

ไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็ นสารไอร์ออน (II) ออกไซด์ เกิดปฏิกิริยาดังสมการ<br />

2CuFeS2 (s) + 3O2 (g) → 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2 (g)<br />

9. การท าทองแดงให้บริสุทธิ ์ โดยใช้หลักการเซลล์อิเล็กโทรไลต์ จะใช้สารละลาย CuSO4..และ<br />

H2SO4 เป็ นอิเล็กโทรไลต์ และใช้ ทองแดงที่ถลุงได<br />

้เป็ นแอโนด(ขั้วบวก) ส่วนขั้ว<br />

ลบ(แคโทด)ใช ้โลหะทองแดงบริสุทธิ ์....เป็ นขั ้วไฟฟ้ า<br />

10. แร่สังกะสีที่พบมากที่สุดคือ<br />

แร่สฟาเลอไรด์( ZnS )<br />

11.การถลุงสังกะสีเริ่มจาก<br />

การน าแร่เปียกมาบดจนละเอียดแล้วให้ท าปฏิกิริยากับกรด<br />

ซัลฟิ วริก เกิดเป็ นสารประกอบ ZnSO4 ละลายอยู่ในสารละลาย<br />

ต่อจากนั ้นปรับสภาพสารละลายให้<br />

เป็ นกลางด้วยหินปูนหรือปูนขาวแล้วกรองเพื่อแยกกากแร่ออกจากสารละลาย<br />

กากแร่<br />

ที่กรองได้จะถูกปรับสภาพให้เป็<br />

นกลางด ้วยปูนขาวแล้วส่งไปเก็บในบ่อเก็บกากแร่เพื่อน<br />

าไปถลุงแยก<br />

โลหะอื่นๆ<br />

ต่อไป<br />

12. เพราะเหตุใดจึงต้องท าให้ ZnSO4 มีความบริสุทธิ ์ ก่อนน าไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้ า<br />

แนวตอบ การน า ZnSO4 น าไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้ าจะต้องใช้ZnSO4 บริสุทธิ ์ เพื่อให้สังกะสีมีความบริสุทธิ<br />

์<br />

สูงถึง 99.95% จึงต้องก าจัด Cd 2+ Sb 3+ และ Cu 2+ ไอออนเหล่านี ้ออกโดยการเติมผงสังกะสีลงไป<br />

เพื่อให้โลหะไปรีดิวซ์<br />

ไอออนที่อยู่ในสารละลายเกิดเป็<br />

นโลหะ Cd Sb และ Cu ตกตะกอนอยู่ที่ก้น<br />

ภาชนะ แล้วแยกออกด้วยเครื ่องกรองแบบตกตะกอน จากนั ้นจะได้ZnSO4 บริสุทธิ ์ จึงน าไปแยกด้วย<br />

กระแสไฟฟ้ า<br />

13. การแยกสารละลาย ZnSO4 บริสุทธิ ์ ด้วยกระแสไฟฟ้ า จะได้โลหะสังกะสีที่ขั<br />

้วแคโทด และ แก๊ส<br />

ออกซิเจนเกิดที ่ขั ้วแอโนด และมีสารละลาย H2SO4 เกิดขึ ้น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

14. ในกระบวนการถลุงแร่สังกะสีจะมีโลหะแคดเมียม พลวงและทองแดงเกิดขึ ้นเป็ นผลพลอยได้ แคดเมียม<br />

เป็ นสารพิษร้ายแรง นักเรียนคิดว่าจะมีวิธีแยกโลหะแคดเมียมออกจากกากตะกอนและน ามาใช้ให้เกิด<br />

ประโยชน์อย่างไร<br />

แนวตอบ<br />

� การแยกโลหะแคดเมียมท าได้โดยน ากากตะกอนมาบดให้ละเอียดแล้วละลายในกรด<br />

ซัลฟิวริก ท าสารละลายให้เป็ นกลางด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองเพื่อแยกตะกอน<br />

ออกจากสารละลายแคดเมียม จากนั ้นเติมผงสังกะสีลงในสารละลายจะได้แคดเมียมพรุน<br />

ตกตะกอนออกมา กรองเพื่อแยกแคดเมียมพรุนที่ได้แล้วน<br />

าไปสกัดด้วยกรดซัลฟิวริกอีกครั ้ง<br />

ต่อจากนั ้นท าสารละลายให้เป็ นกลางด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต กรองและน าสารละลายที่<br />

ได้ไปแยกด้วยกระแสไฟฟ้ า จะได้โลหะแคดเมียมเกาะที่แคโทด<br />

แล้วจึงน าไปหลอมและหล่อให้เป็ น<br />

แท่งต่อไป<br />

� โลหะแคดเมียมใช้เป็ นวัตถุดิบ→ในอุตสาหกรรมการผลิต เซลล์นิกเกิล-แคดเมียม ท าสีใน<br />

อุตสาหกรรมพลาสติก เซรามิกส์ ท าโลหะผสม และใช้โลหะแคดเมียมเคลือบเหล็กกล้า<br />

ทองแดง และโลหะอื่นๆเพื่อป้<br />

องกันการผุกร่อน<br />

15. แร่ดีบุกที่พบส่วนใหญ่<br />

พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO2 )<br />

16. หินปูนที่ใส่ลงไปในผสมกับสินแร่ดีบุกในกระบวนการถลุงท<br />

าหน้าที่อะไร<br />

ส าหรับแร่ดีบุกบางชนิดที ่มีสารประกอบ SiO2 ปนอยู่<br />

ต ้องจ ากัด<br />

ออกโดยเติมหินปูน(CaCO3)ลงไปท าปฏิกิริยากันแล ้วได ้ผลิตภัณฑ์เป็ น<br />

แคลเซียมซิลิเกต CaSiO3<br />

17 .จงบอกประโยชน์ของแร่ดีบุก<br />

ใช้ผสมโลหะตะกั<br />

่วบัดกรี ผสมสังกะสีและพลวงในการชุบสังกะสีมุงหลังคา ใช้ในการฉาบแผ่น<br />

เหล็กเพื่อท<br />

ากระป๋ องบรรจุอาหาร ใช้ในอุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ผสมกับพลวงในการท าโลหะ<br />

ตัวพิมพ์ ชุบแผ่นเหล็กท าแผ่นเหล็กวิลาศ ผสมกับทองแดงเพื่อท<br />

าทองบรอนซ์ ท ากระดาษเงินกระดาษทอง<br />

นอกจากนี ้ยังใช้เป็ นสารประกอบในการผลิตแก้วเนื ้อทึบ เครื่องปั<br />

้ นดินเผา ใช้ในการพิมพ์ผ้าดอก ท าหมึก<br />

ฟอกน ้าตาล และสบู่<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


18. แร่ทังสเตนนี ้มักเกิดร่วมกับแร่ดีบุก<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ประโยชน์ของโลหะทังสเตน ใช้ในต่ออุตสาหกรรมหนัก ใช้ผสมเหล็กกล้าในการท าเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่<br />

ทนความร้อนสูง ท าเครื่องจักรกล<br />

หัวเจาะเกราะ ใบมีด ตะไบ ใบเลื่อย<br />

ไส้หลอดไฟฟ้ า<br />

และหลอดวิทยุ นอกจากนี ้ ยังใช้ในการท าสีอุตสาหกรรมเครื ่องปั ้ นดินเผาและเครื่องแก้ว<br />

19. แร่พลวงที่พบส่วนใหญ่เป็<br />

นแร่พลวงเงิน ( Stibnite; Sb2S3 ) และพลวง<br />

ทอง ( Stibnite; Sb2O 4 . nH2O ) แร่พลวงเงิน<br />

20. การถลุงแร่พลวง<br />

1. ถ้าเป็ นแร่ที่ไม่ใช่สารประกอบออกไซด์โดยทั่วไป<br />

จะเริ่มจากการน<br />

าแร่นั ้นมา ท าให้เป็ น<br />

สารประกอบออกไซด์ก่อน โดยวิธีการเผาแร่ในอากาศ หรือเรียกว่า การย่างแร่<br />

2. เมื่อได้สารประกอบออกไซด์ของพลวงในปริมาณมากพอแล้ว<br />

จึงน ามาผสมกับถ่านหินและ<br />

โซเดียมคาร์บอเนตในอัตราส่วน 20 : 4 : 1 โดยมวล แล้วใส่ลงในเตาถลุงและใช้อุณหภูมิในเตาถลุง<br />

ประมาณ 800-900 ํ C โซเดียมคาร์บอเนตที่ผสมอยู่กับแร่ในเตาถลุง<br />

จะรวมตัวกับสารต่างๆ เกิด<br />

เป็ นกากตะกอนลอยอยู่ด้านบน<br />

โลหะพลวงที่จะได้ปล่อยให้ไหลลงสู่เบ้าเหล็กเพื่อหล่อเป็<br />

นแท่งต่อไป<br />

21. แทนทาลัมและไนโอเบียมเกิดอยู่ร่วมกันในสินแร่แทนทาไลต์โคลัมไบต์<br />

[(FeMn)(TaNb)2O6] ซึ ่งพบในตะกรันจากการถลุงแร่ดีบุก<br />

22. ขั<br />

้นตอนการผลิต Nb 2O 5<br />

1. เอากรันดีบุกมาบดแล้วละลายด้วยกรด HF และ H2SO4แล้ว<br />

2. เติมเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน(MIBK)และพบว่าแทนทาลัมและไนโอเบียมละลายอยู ่บน<br />

ชั ้น MIBK<br />

3.น าไปเติม H2SO4 เจือจางพบว่าไนโอเบียมละลายอยู่บนในชั<br />

้นกรด ปรับสภาพด้วย<br />

NH3 น าตะกอนไปเผาจะได้ Nb2O5 การผลิต Ta2O5 ( ส่วนแทนทาลัมอยู ่ในชั้น<br />

MIBK)<br />

1. แยกด้วยการผ่านไอน ้าเข ้าไป แทนทาลัมจะอยู่ในชั<br />

้นน ้า ในรูป H2TaF7 2. เติม KCl แล้วไปตกผลึกจะได้ K2TaF7 3. น าไปเผาจะได้Ta2O5 น าไปใช้ประโชน์ ได้เลย<br />

ถ้าต้องการ เป็ นโลหะ Ta Nb จะต้องใช้ Nb2O5 และ Ta2O5 ท าปฏิกิริยากับโลหะแคลเซียม<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

23. การถลุงแร่โลหะมีวิธีการแยกโลหะออกจากแร่อย่างไร<br />

1.การท ารีดิวซ์แร่โลหะออกไซด์ให้เป็ นโลหะ โดยใช้ CO เป็ นตัวรีดิวซ์<br />

2.ส่วนแร่ซัลไฟด์ ต้องย่างแร่ในอากาศให้เกิดเป็ นแร่โลหะออกไซด์ แล้วจึงรีดิวซ์ต่อให้เป็ นโลหะ<br />

เช่นกัน<br />

24. การก าจัดสิ่งปนเปื<br />

้ อนในแร่มีวิธีการก าจัดอย่างไรบ้าง<br />

1. ใส่โลหะบางชนิดลงไปเพื่อรีดิวซ์สิ<br />

่งปนเปื ้ อน เช่น การถลุงแร่สังกะสี จะใช้ผงสังกะสีไปรีดิวซ์<br />

เกลือของ Cd Sb และCu ซึ ่งเป็ นสิ่งปนเปื<br />

้ อนในสารละลาย ZnSO4 2. ใช้สารบางชนิดให้ท าปฏิกิริยากับสิ ่งปนเปื้อน<br />

เช่น ใช้ CaCO3(หินปูน) เพื่อก<br />

าจัด SiO2 ที่<br />

ปนอยู่กับสินแร่ดีบุก<br />

25. การย่างแร่ที่น<br />

ามาใช้ในการถลุงทองแดง สังกะสีและพลวง มีวิธีการและหลักทางเคมี อย่างไร<br />

ถ้าสินแร่เป็ นสารประกอบซัลไฟด์ต้องท าให้เป็ นสารประกอบออกไซด์ก่อนโดยการเผาในที่ที่มี<br />

แก๊สออกซิเจนหรือเรียกว่า การย่างแร่ แล้วจึงน าสารประกอบออกไซด์ไปถลุงต่อไป<br />

26. การถลุงแร่ดีบุก พลวงและสังกะสีที่เป็<br />

นสารประกอบออกไซด์มีวิธีการถลุงอย่างไร<br />

1. ใช้ถ่านหินหรือถ่านโค ้ก(C) ท าปฏิกิริยากับ O2 ที่มีจ<br />

านวนจ ากัด เพื่อให้เกิดแก๊ส<br />

CO ซึ ่งท าหน้าที่เป็<br />

นตัวรีดิวซ์สารประกอบออกไซด์ให้เป็ นโลหะ ที่อยู่ในรูปของเหลวที่ไม่บริสุทธิ<br />

์<br />

2. น าโลหะเหลวที่อยู่ในรูปของเหลวที่ไม่บริสุทธิ<br />

์ มาท าการแยกด้วยกระแสไฟฟ้า เพื่อท<br />

าให้<br />

ได้โลหะบริสุทธิ ์<br />

27. การถลุงแร่สังกะสีในประเทศไทยเพื่อผลิตสังกะสีที่มีความบริสุทธิ<br />

์ ถึง 99.95 % ใช้หลักการอย่างไร<br />

ใช้หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เพราะจะได้สังกะสีที่มีความบริสุทธิ<br />

์ ถึง 99.95 %<br />

และกระบวนการผลิตไม่ต้องใช้ความร้อนสูง ซึ ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าวิธีอื<br />

่น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

แบบทดสอบหลังเรียน<br />

1. แร่หลักชนิดต่างๆ มีทั ้งโลหะเดี่ยว<br />

คาร์บอเนต เฮไลด์ ออกไซด์ ฟอสเฟต ซิลิเกต ซัลไฟด์และซัลเฟต ธาตุ<br />

ใดต่อไปนี ้เป็ นโลหะเดี่ยวที่เกิดขึ<br />

้นในธรรมชาติ<br />

ก. ทองค า บิสมัท ทองแดง สังกะสี ข. เงิน แพลตินัม แพลเลเดียม ทองแดง(Au ,Bi)<br />

ค. เงิน ทองค า แพลตินัม แคดเมียม ง. แคดเมียม บิสมัท ทองแดง ทองค า<br />

2. โลหะข้อใดที่เกิดอยู่ในแร่ซัลไฟด์ธรรมชาติ<br />

ก. Cd (แร่กลีนอกไคต์ CdS) ข. Mn<br />

ค. Cr ง. Ca<br />

3. ธาตุใดไม่พบในแร่<br />

ก. Pt ข. Cu<br />

ค. Fe ง. Al<br />

4. ชื่อโลหะและชื่อแร่ของโลหะข้อใดไม่ถูกต้อง<br />

ก. ตะกั่วมาจากแร่กาลีนา<br />

ข. สทรอนเซียมมาจากแร่เซเลสไทต์<br />

ค. เงินมาจากแร่กรีนอกไคต์(มาจากแร่Ag2S=อาร์เจนไทต์) ง. เหล็กมาจากแร่แมกนีไทต์<br />

5. ข้อใดถูกต้อง<br />

1. หินแกรนิตและหินปูนจัดเป็ นแร่ประกอบหิน<br />

2. แร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปา จัดเป็ นองค์ประกอบของหินแกรนิต<br />

3. แร่แคลไซต์ แร่ไมกา จัดเป็ นส่วนประกอบของหินปูน<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3<br />

ค.ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 1,2 และ 3<br />

6. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี ่ยวกับกระบวนการแยกโลหะออกจากแร่โลหะ<br />

ก. แร่โลหะถูกรีดิวซ์ ข. เป็ นการเพิ่มความเข้มข้นของแร่<br />

ค. การย่างแร่<br />

7. แร่ทองแดงที่น<br />

ามาถลุงชื่อแร่ใด<br />

ง. โลหะที่ได้มีความบริสุทธิ<br />

์สูง<br />

ก. คาลโคไซต์<br />

ค. คิวไพรต์ ง. มาลาไคต์<br />

8. สารใดที่เกิดจากการย่างแร่คาลโคโพไรต์<br />

ข. คาลโคโพไรต์<br />

1. CuS 2. FeO 3. SO2 4. Cu 5. CuO<br />

ก. ข้อ 1,2 และ 3 ข. ข้อ 5 เท่านั ้น<br />

ค.ข้อ 1 ,4 และ 5 ง. ข้อ 1 และ 5<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

9. ขั ้นตอนสุดท้ายของการถลุงแร่ทองแดง แสดงด้วยปฏิกิริยา<br />

2 Cu2O (s) + Cu2S (s ) → 6Cu(l) + SO2 (g)<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

1. Cu2O และ Cu2S เป็ นตัวออกซิไดส์ 2. Cu2S มี S ถูกออกซิไดส์<br />

3. ทองแดงเปลี่ยนเลขออกซิเดชันจาก<br />

+1 เป็ น 0 ง. ก ามะถันเปลี่ยนเลขออกซิเดชัน<br />

จาก -2 เป็ น 0+4<br />

ก. ข้อ 1,2 และ 3 ข. ข้อ 3 และ 4<br />

ค.ข้อ 2 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

10. ในการถลุงโลหะดีบุก ใช้แร่ชนิดใดส าหรับการถลุง<br />

ก. ฮีมาไทต์ ข. สติบไนต์<br />

ค. แคสซิเทอไรต์ ง. ซิงไคต์<br />

11. ตัวรีดิวซ์ที่ใช้ในการถลุงดีบุกคือข้อใด<br />

ก. ถ่านโค้ก ข. Mg<br />

ค. Zn ง. แก๊ส CO2 12. ข้อใดกล่าวผิด<br />

ก. การถลุงแร่เป็ นกระบวนการรีดักชัน<br />

ข. การถลุงแร่ท าโดยใช้สารเคมีหรือไฟฟ้ า<br />

ค. การถลุงแร่มีส่วนท าให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก<br />

ง. การถลุงแร่เป็ นกระบวนการที่เปลี่ยนสารประกอบอื่นให้อยู่ในรูปของออกไซด์<br />

13. การการถลุงแร่ในข้อใดที ่มีล าดับขั ้นตอนในการถลุงแร่ดังต่อไปนี ้<br />

1. ย่างแร่<br />

2. รีดิวซ์แร่ที ่ย่างด้วย CO ในเตาถลุง<br />

3. โซเดียมคาร์บอเนตรวมตัวกับสารปนเปื ้ อนอื่นๆ<br />

ในเตาถลุง กลายเป็ นกากตะกอนลอยอยู่บนผิว<br />

โลหะเหลว<br />

4. ไขโลหะเหลวออกจากเตาลงเบ้าเหล็กเพื่อหล่อเป็<br />

นแท่ง<br />

ก. แร่สฟาเลอไรต์ ข. แร่แคสซิเทอไรต์<br />

ค. แร่สติบไนต์ ง. แร่เซอร์คอน<br />

14. การผลิต Zn ด้วยการอิเล็กโทรไลซิส แร่ซิงซัลเฟตด้วยไฟฟ้ า ปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้นที่ขั<br />

้วแอโนดคือข้อใด<br />

ก. 2 SO 4 2- (aq) → S2O 8 2- (aq) + 2 e - ข. H2O(l) → 2 1 O2(g) + 2H + (aq) + 2e -<br />

ค. Zn 2+ (aq) + 2e - → Zn(s) ง. 2H 2O(l) + 2e - → H 2(g) + 2OH - (aq)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

15. สารเคมีที่ใช้ในการสกัดแยกโลหะแทนทาลัมและไนโอเบียมออกจากตะกรันดีบุก<br />

ตามล าดับ<br />

ก. HF H2SO4 MIBK ข. H2SO4 MIBK CO2 ค. MIBK CO2 HF ง. CO2 HF H2SO4 16. ในการแยกโลหะสังกะสีออกจากสารละลาย ZnSO4 โดยใช้กระแสไฟฟ้ า ข้อใดผิด<br />

ก. ปฏิกิริยาที ่ขั ้วแคโทดคือ Zn 2+ (aq) + 2e - → Zn(s)<br />

ข. ที่แอโนดเกิดแก๊สออกซิเจน<br />

ค. เป็ นเซลล์อิเล็กโทรไลต์<br />

ง. pH ของสารละลายเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป<br />

17. จากปฏิกิริยาต่อไปนี ้<br />

1. Sb2O3(s) + 3 CO (g) →2Sb(l)+ 3 CO2(g) 2. SnO2(s) + 2 CO (g) →Sn (l) + 2 CO2(g) 3. SiO2(s) + CaO (s) →CaSiO3 (s)<br />

4. 2Sb2B3(s) + 9O2 (g) →2Sb2O3(s) + 6SO2(g) ข้อใดเป็ นกระบวนการย่างแร่<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 3 และ 4<br />

ค.ข้อ 3 เท่านั ้น ง. ข้อ 4 เท่านั ้น<br />

18. การถลุงแร่ดีบุกจะต้องใช้สินแร่ดีบุกผสมกับถ่านโค้กและหินปูนในอัตราส่วนเท่าใด ตามล าดับ<br />

ก. 10 : 4 : 5 ข. 10 : 5: 4<br />

ค. 20 : 4 : 5 ง. 20 : 5 : 4<br />

19. การถลุงแร่พลวง จะต้องใช้พลวงออกไซด์ผสมกับถ่านหินและ Na2CO3 ในอัตราส่วนเท่าใด ตามล าดับ<br />

ก. 10 : 4 : 1 ข. 10 : 1: 4<br />

ค. 20 : 4 : 1 ง. 20 : 1 : 4<br />

20. ข้อความที่เกี่ยวข้องการถลุงแร่ดีบุก<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

1. เติมถ่านโค้กเพื่อให้เกิด<br />

CO เป็ นตัวออกซิไดส์<br />

2. มีแก๊ส CO2เกิดขึ ้น<br />

3. เติมหินปูนเพื่อรีดิวซ์<br />

SiO2 ซึ ่งป็ นสารปนเปื ้ อน<br />

4. เลขออกซิเดชันของดีบุกในแร่แคสซิเทอไรต์เปลี ่ยนไป 4 หน่วย<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 4<br />

ค.ข้อ 1,2 และ 3 ง. ข้อ 2,3 และ 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

21. ไนโอเบียมและแทนทาลัมสามารถละลายได้ใน MIBK(Methyl Isobutyl Ketone) ถ้าต้องการแยก<br />

ไนโอเบียมและแทนทาลัมออกจากกันโดยเติมสารละลาย H2SO4 ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. แทนทาลัมละลายใน MIBK แต่ไนโอเบียมละลายในน ้า<br />

ข. ไนโอเบียมละลายใน MIBK แต่แทนทาลัมละลายในกรด H2SO4 ค. แทนทาลัมละลายน ้า แต่ไนโอเบียมละลายใน MIBK<br />

ง. แทนทาลัมละลายใน MIBK แต่ไนโอเบียมละลายในกรด H2SO4 22. ทังสเตนสกัดมาจากแร่ใด<br />

1. วุลแฟร์ไมต์ 2. ซีไลต์ 3. อิลเมไนต์ 4. อะซูไรต์<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 2 ค.ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 2 และ 4<br />

23. ข้อใดผิด<br />

ก. สารประกอบเรืองแสงของทังสเตนน ามาใช้เป็ นสีเขียวและสีเหลืองในการย้อมผ้าไหม ตกแต่ง<br />

แก้ว และเครื่องปั<br />

้ นดินเผา<br />

ข. โลหะผสมดีบุก ไทเทเนียม และอะลูมิเนียม ใช้ท าชิ้นส่วนเครื ่องบินและยานอวกาศ<br />

ค. Ta2O5 และ Nb2O5 ถูกรีดิวซ์ด้วยโลหะแคลเซียม โดยมีแคลเซียมคลอไรด์เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา จะ<br />

ได้โลหะแทนทาลัมและไนโอเบียมและแคลเซียมออกไซด์<br />

ง. โลหะแทนทาลัมมีจุดหลอมเหลวต ่ากว่าโลหะไนโอเบียม มีผลให้โลหะแทนทาลัมมีความเหนียว<br />

น้อยกว่าโลหะไนโอเบียม (โลหะแทนทาลัมมีจุดหลอมเหลวสูงกว่า)<br />

24. ข้อใดถูกต้อง<br />

1. ดีบุกผสมทองแดงกับพลวงใช้ท าโลหะพิวเตอร์<br />

2. H2TaF7 ท าปฏิกิริยากับสารละลายแอมโมเนีย จะเกิดตะกอน เมื่อน<br />

าไปเผาไฟจะได้ Ta2O5 3. ZrO2 เป็ นผงสีขาว มีความแข็งมาก ใช้ท าผงขัดและวัสดุทนไฟ<br />

4. วัตถุดิบที ่น ามาสกัดเอาแทนทาลัมและไนโอเบียมนั ้นอาจมีสารกัมมันตรังสี เช่น ยูเรเนียมและ<br />

ทอเรียมปนอยู่ด้วย<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 3 และ 4 ค.ข้อ 1 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียน<br />

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง<br />

1 7 13 19<br />

2 8 14 20<br />

3 9 15 21<br />

4 10 16 22<br />

5 11 17 23<br />

6 12 18 24<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.1.8 แร่รัตนชาติ<br />

แร่รัตนชาติเป็ น “อโลหะ” ที่มีความส<br />

าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก เพราะเป็ นสินค้า<br />

ส่งออกที่ท<br />

ารายได้ให้มาก โดยเฉพาะเพชรพลอยที่แปรรูปเป็<br />

นอัญมณีแล้ว<br />

แหล่งก าเนิดแร่รัตนชาติ<br />

1.สารอินทรีย์ คือ รัตนชาติ หรืออัญมณีที ่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต<br />

อะตอมภายในเรียงตัวกันอย่างไม่เป็ น<br />

ระเบียบมีความแข็งน้อย เช่น อ าพัน ไข่มุก หินปะการัง กระ เปลือกหอย งาช้าง เป็ นต้น<br />

2.สารอนินทรีย์ คือ รัตนชาติหรืออัญมณีที ่ได้มาจากแร่ธาตุที ่อยู่ใต้ผิวโลก<br />

มีโครงสร้างทางเคมี<br />

ค่อนข้างคงที่<br />

อะตอมภายในเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบ เป็ นผลึกมีเหลี่ยม<br />

มีมุม ผิวหน้าผลึกเรียบเช่น<br />

ทับทิม ไพลิน โกเมน มรกต บุษราคัม เป็ นต้น<br />

ระบบ ผลึกของแร่รัตนชาติ<br />

1. ระบบไอโซเมทรอกหรือคิวบิก ระบบนี ้มี 3 แกนเท่ากัน และตัดกันที่กึ<br />

่งกลางเป็ นมุมฉาก แร่ที่จัด<br />

ในระบบนี ้คือ เพชร โกเมน เป็ นต้น<br />

2.ระบบเตตระโกนาล ระบบนี ้มี 3 แกนมีแกนยาว2 เท่ากัน ตัดกันที 90 0 ในระนาบเดียวกันส่วนแกน<br />

ที่สามยาวกว่า<br />

2 แกนแรก แร่ คือ เพทาย<br />

3.ระบบเฮกซะโกนาลหรือระบบไตรโกนาล ระบบนี ้มี 4 แกน โดยที่<br />

3 แกนอยู่ในระนาบเดียวกันและ<br />

ตัดกันที่<br />

60 0 ส่วนแกนที่<br />

4 ตั ้งฉากกับระนาบนี ้แร่ที ่อยู่ในระบบได้แก่<br />

ควอร์ตช์ คอรันดรัม ทัวมาลีน<br />

4.ระบบออโทรอมบิก ระบบมี 3 แกน ที่ยาวไม่เท่ากัน<br />

และทั ้งสามตัวกันท ามุม 90 0 แร่ที่อยู่ในระบบ<br />

นี ้คือ เพอริดอท คริสโซเบอริล เป็ นต้น<br />

5.ระบบมอนอคลินิกมี 3 แกนไม่เท่ากัน โดยมี 1 แกนตั ้งฉากอีก 2 แกน แร่ที่อยุ่ในระบบนี<br />

้คือเช่น<br />

สปอ<br />

ดูมีน หยก เนฟไฟรท์ เป็ นต้น<br />

6.ระบบไตรคลีนิก ระบบนี ้แกนความยาวและมุมไม่เท่ากัน แร่ที่จัดอยู่ในระบบคือ<br />

เทอร์ควอยซ์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

สถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้ ความหมายของรัตนชาติหรืออัญมณีว่า“เป็นแร่และหรือ<br />

สารประกอบอินทรีย์ที ่ น ามาใช้เป็นเครื่องประดับ”<br />

มีสมบัติส าคัญคือ<br />

1. ความสวยงาม<br />

2.ความคงทน<br />

3.ความหายาก<br />

4.ความนิยม<br />

5. ความสามารถในการพกพา<br />

ส่วนสารประกอบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและจัดเป็<br />

นรัตนชาติ ได้แก่ 1.ไข่มุก 2.ปะการัง 3.อ าพัน<br />

„ นอกจากนี ้สถาบันดังกล่าว ยังแบ่ง อัญมณีออกเป็ น 2 กลุ่มคือ 1.เพชร 2.พลอยหรือหินสี<br />

บ่อพลอยที่เป็<br />

นแหล่งผลิตรัตนชาติที่ส<br />

าคัญและเก่าแก่ของไทยอยู่ที่จังหวัด<br />

จันทบุรี ตราด<br />

และกาญจนบุรี ส่วนเพชรพบปนอยู่ในลานแร่ดีบุกที<br />

่จังหวัดภูเก็ตและพังงา แต่ปริมาณน้อยและ<br />

คุณภาพต ่ามาก แร่รัตนชาติ ที่มีชื่อเสียงของไทย<br />

ได้แก่ ทับทิมสยาม ไพลินหรือแซปไฟร์สีน ้าเงิน<br />

บุษราคัม<br />

ทับทิมสยามและไพลินเป็ นพลอยในตระกูลแร่ คอรันดัม มีส่วนประกอบหลักเป็ น<br />

อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al ร้อยละ52.9 และ O ร้อยละ 47.1 โดยมวล การที่พลอยตระกูลคอ<br />

รันดัมมีสีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุอื่นเป็นมลทิน<br />

เช่น<br />

„ ถ้ามี Cr จะท าให้เนื ้อพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดงเข้ม ซึ ่งเรียกว่า “ทับทิม”<br />

� ถ้ามี Fe จะท าให้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีน ้าตาล<br />

� ถ้ามีทั ้ง Fe และ Ti ปนด้วยกัน จะท าให้พลอยมีสีน ้าเงินอ่อนถึงสีน ้าเงินเข้ม เรียก “ไพลิน”<br />

� ถ้ามีแร่รูไทล์ ปนอยู่<br />

จะท าให้พลอยมีลายเส้นเหลือบๆ หรือ รูปดาว เรียกว่า “พลอยสาแหรกหรือ<br />

พลอยสตาร์”<br />

การตรวจสอบเพชรและพลอยเพื่อจ<br />

าแนกชนิดหรือเพื่อพิสูจน์<br />

ว่า เป็ นของแท้หรือเทียม จะใช้<br />

เครื่องมือและวิธีการเฉพาะ<br />

เพื่อตรวจสอบสมบัติที่ปรากฏ<br />

เช่น ความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ รูปลักษณะของ<br />

ผลึกที่เกิดตามธรรมชาติ<br />

เป็ นต้น ซึ ่งเป็ นสมบัติเฉพาะของรัตนชาติแต่ละชนิด<br />

แร่รัตนชาติแต่ละชนิดมีความแข็งหรือความทนทานต่อการขูดขีดได้ไม่เท่ากัน นักธรณีวิทยาชาว<br />

เยอรมัน ชื่อ<br />

เฟดริก โมส์ ได้จัดระดับความแข็ง ของแร่ตั ้งแต่อ่อนที่สุดจนถึงแข็งที่สุดไว้<br />

10 ระดับ ดังตาราง<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

„ เพชร เป็ นแร่ที่มีความแข็งที่สุด<br />

และ โดยทั่วไปแร่รัตนชาติจะมีความแข็งสูงกว่า<br />

6<br />

เพชรเป็ นอัญมณีที่มีความแข็งที่สุด<br />

ประกอบด้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มีโครงสร้างเป็ นร่างตา<br />

ข่าย ไม่น าไฟฟ้ า แต่น าความร้อนได้ดีที่สุด<br />

และดีกว่าทองแดง 5 เท่า จึงถูกน าไปใช้ท า<br />

ส่วนประกอบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันสามารถสังเคราะห์เพชรได้ โดยอัดแกรไฟต์<br />

ภายใต้ความดัน 50,000-100,000 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ<br />

2000 �C โดยมีโครเมียม เหล็ก หรือ<br />

แพลทินัมเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา เพชรที่ได้จะมีความแข็ง<br />

ความถ่วงจ าเพาะ ค่าดัชนีหักเหแสง และ<br />

โครงสร้างผลึกเหมือนกับเพชรธรรมชาติ แต่การผลิตเพชรจะเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก<br />

„ ส่วน ทับทิม ไพลิน และบุษราคัม มีระดับความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ และค่าดัชนีหักเหแสง<br />

เท่ากัน จึงจัดเป็ นแร่ชนิดเดียวกัน แต่มีสีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุมลทินในเนื<br />

้อพลอยแตกต่าง<br />

กัน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีช่วยให้มีการเพิ ่มคุณภาพของแร่ได้ หลายวิธี เช่นการ<br />

เจียระไน การเผา การอาบรังสี การย้อมเคลือบสี และการฉายแสงเลเซอร์ วิธีการเหล่านี ้ช่วยให้อัญมณีมีความ<br />

งดงามและมีคุณค่ามากขึ ้น<br />

การเจียระไน เป็ นเทคนิคที่ท<br />

าให้อัญมณีมีความแวววาวเป็ นประกายและมีสีสันเด่นชัดขึ ้น โดยใช้<br />

เครื่องมือท<br />

าให้เป็ นเหลี่ยม<br />

เพื่อให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาภายในผลึกและสะท้อนออกด้านหน้า<br />

รูป 1 การเจียระไนเพชรพลอยแบบต่างๆ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การเผาพลอยหรือการหุงพลอย เป็ นเทคนิคที่ช่วยให้พลอยมีสีสันสวยงาม<br />

โดยใช้ความร้อนและ<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

ท าให้ธาตุต่างๆ ในเนื ้อพลอยจัดเรียงตัวใหม่ ท าให้พลอยใสขึ ้นและมีสีเปลี ่ยนไปอย่าง<br />

ถาวรดังแสดงในตารางที่<br />

1<br />

ชนิดของพลอย สีเดิมตามธรรมชาติ สีที่เปลี่ยนแปลง<br />

หลังการให้ความร้อน<br />

ทับทิม แดงอมม่วงแดงอมน<br />

้าตาล ชมพูอมม่วง แดงสดหรือชมพูสด<br />

แซปไฟร์สีน ้าเงิน(ไพลิน) น ้าเงิน ขาวใส ขาวขุ ่นน ้านม หรือ<br />

ขาวอมเหลือง<br />

น ้าเงินเข้มขึ ้นหรือน ้าเงินสว่างขึ ้น<br />

แซปไฟร์สีขาว ขาวใส ขาวขุ ่นน ้านม หรือ<br />

ขาวอมเหลือง<br />

น ้าเงิน เขียว เหลือง หรือเหลืองน ้าทอง<br />

เพทาย น ้าตาล สีชา ใสไม่มีสี เหลืองน ้าทอง น ้าเงิน<br />

โทแปซ ขาวใส น ้าเงิน (ก่อนเผาจะอาบรังสีนิวตรอนให้<br />

ได้สีเหลือง น ้าตาล หรือเขียว)<br />

ควอตซ์ (แอเมทิสต์) ม่วง ใสไม่มีสี เหลืองน ้าทอง เขียว<br />

การย้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด ท าให้พลอยมีสีสันสวยงามขึ ้น สารเคมีที่<br />

ใช้จะมีส่วนผสมของธาตุมลทินที ่ท าให้พลอยชนิดนั ้นเกิดสีตาม ธรรมชาติ แต่จะแตกต่างกับการเผาพลอย<br />

ตรงที่<br />

สีที่เกิดขึ<br />

้นสามารถอยู่ได้เพียงชั่วคราวเท่านั<br />

้น<br />

การอาบรังสี คือการน าพลอยไปอาบรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ท าให้สีเปลี่ยนแปลง<br />

ปัจจุบันมีการนิยมท าเพชรเทียมกันมากขึ ้นเนื่องจากเพชรธรรมชาติหายากและมี<br />

ราคาแพง โดย<br />

เพชรเทียมที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ<br />

เพชรรัสเซีย หรือคิวบิกเซอร์โคเนีย เพชรเทียมมีการกระจายแสงสูง<br />

กว่าเพชรธรรมชาติจึงท าให้เป็ นประกายแวววาว และมีความถ่วงจ าเพาะสูงกว่าเพชรธรรมชาติมาก<br />

ในการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีการน าแผ่นฟิ ล์มเพชรบางๆซึ ่งได้จากการท าเพชรสังเคราะห์<br />

โดยการเผาแก๊สมีเทนหรืออะเซติลีนสลายพันธะได้อะตอมของคาร์บอนเกาะติดบนแผ่น ฟิ ล์มซิลิคอน เป็ น<br />

แผ่นเพชรช่วยถ่ายเทความร้อนออกจากวงจรอิเล็กทรอนิกส์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

แบบฝึ กหัดที่<br />

9 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.1<br />

1. แร่รัตนชาติแบ่งตามแหล่งก าเนิดได้เป็ นกี่ประเภท<br />

แต่ละประเภทมีสมบัติอย่างไรบ้าง<br />

แร่รัตนชาติ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ<br />

1. แร่ที<br />

2. แร่ที<br />

่มาจากสารอินทรีย์<br />

่มาจากสารอนินทรีย์<br />

แร่รัตนชาติทุกประเภท มีสมบัติส าคัญคือ<br />

1. ความสวยงาม<br />

2.ความคงทน<br />

3.ความหายาก<br />

4.ความนิยม<br />

5. ความสามารถในการพกพา<br />

2. เพราะเหตุใด เพชรจึงมีความแข็งมากที่สุด<br />

เพชร จะประกอบด ้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มีโครงสร ้างเป็ นร่างตาข่าย โดยคาร์บอนทุกอะตอม<br />

ยึดกับอะตอมข ้างเคียง 4 อะตอมด ้วยพันธะเดี่ยว<br />

3. ทับทิม ไพลิน และบุษราคัม จัดเป็ นแร่ชนิดเดียวกันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด<br />

จัดเป็ นแร่ชนิดเดียวกันคือ คอร ันด ัม มีส่วนประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al<br />

ร ้อยละ52.9 และ O ร ้อยละ 47.1 โดยมวล มีระดับความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ และค่าดัชนีหัก<br />

เหแสงเท่ากัน ต่างกันที่<br />

� สีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุอื่นเป็<br />

นมลทินถ ้ามี Cr จะท าให ้เนื้อพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดง<br />

เข ้ม ซึ่งเรียกว่า<br />

“ทับทิม”<br />

� ถ ้ามี Fe จะท าให ้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีน ้าตาล<br />

� ถ ้ามีทั้ง Fe และ Ti ปนด ้วยกัน จะท าให ้พลอยมีสีน ้าเงินอ่อนถึงสีน ้าเงินเข ้ม เรียก “ไพลิน<br />

4. ไข่มุกเกิดขึ ้นได้อย่างไร และจัดเป็ นรัตนชาติหรือไม่<br />

ไข่มุกเกิดจากสิ ่งมีชีวิตพวกหอยมุกหรือหอยจอบ มีการขับสารบางอย่งออกมาพื่อเคลือบ<br />

สิ่งที่ท<br />

าให ้เกิดการะคายเคืองภายในเปลือกหอยนั้น ซึ่งสะสมเป็<br />

นระยะเวลานานและจัดเป็ นรัตน<br />

ชาติ เพราะมีความสวยงามและหายาก<br />

5. แร่รัตนชาติ มีสมบัติแตกต่างจากแร่ชนิดอื่นอย่างไร<br />

คือ มีความสวยงามเมื่อเจียระไน<br />

แข็งแรง มีความคงทน หายาก<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

6. เพชรและทับทิมมีองค์ประกอบทางเคมีและสมบัติต่างกันอย่างไร<br />

เพชรเป็ นอัญมณีที่มีความแข็งที่สุด<br />

ประกอบด ้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มี<br />

โครงสร ้างเป็ นร่างตาข่าย ไม่น าไฟฟ้า แต่น าความร ้อนได ้ดีที ่สุด และดีกว่า<br />

ทองแดง 5 เท่า ทุกสีมีค่าดัชนีหักเหแสงอยู ่ในช่วง 2.14 มีความถ่วงจ าเพาะ 3.52<br />

ทับทิม มีส่วนประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al ร ้อยละ52.9<br />

และ O ร ้อยละ 47.1 โดยมวล มีความแข็งน ้อยกว่าเพชร มีสีแดง ใชเป็ น<br />

แหล่งก าเนิดแสงเลเซอร์ มีค่าดัชนีหักเหแสงอยู่ในช่วง<br />

1.76 – 1.77 มีความ<br />

ถ่วงจ าเพาะ 4.00<br />

7. ถ้าต้องการท าให้อัญมณีมีความงดงามมากขึ ้น จะมีวิธีการท าอย่างไร<br />

‟ การเจียระไน ท าให ้แสงหักเหสะท ้อนกลับไปมาภายในผลึกและสะท ้อนออกด ้านหน้า<br />

‟ การเผาหรือการหุงพลอย ท าให ้พลอยใสขึ้นและมีสีเปลี่ยนไป<br />

‟ การอาบรังสี รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ท าให้สีเปลี่ยนแปลง<br />

‟ การย ้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด ท าให ้พลอยมีสีสันสวยงาม<br />

ขึ้น<br />

สารเคมีที่ใช<br />

้จะมีส่วนผสมของธาตุมลทินที่ท<br />

าให ้พลอยชนิดนั้นเกิดสีตาม ธรรมชาติ<br />

แต่จะแตกต่างกับการเผาพลอยตรงที่<br />

สีที่เกิดขึ้นสามารถอยู่ได<br />

้เพียงชั่วคราวเท่านั้น<br />

8.เพชรสังเคราะห์ท าได้โดยวิธีการใด<br />

การสังเคราะห์เพชรโดยอัดแกรไฟต์ภายใต ้ความดัน 50,000-100,000 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ<br />

2000 oC โดยมีโครเมียม เหล็ก หรือแพลทินัมเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา<br />

9. เพชรสังเคราะห์และเพชรเทียม มีความแตกต่างกันอย่างไร<br />

‟ เพชรสังเคราะห์จะมีความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ ค่าดัชนีหักเหแสง และ<br />

โครงสร ้างผลึกเหมือนกับเพชรธรรมชาติ แต่การผลิตเพชรจะเสียค่าใช ้จ่ายสูง<br />

มาก<br />

‟ เพชรเทียม มีส่วนประกอบอื่นที่ไม่ใช่ธาตุคาร์บอน<br />

โดยท าให ้ส่วนประกอบนั้นมี<br />

โครงสร ้างตาข่ายเหมือนกับเพชร เพชรเทียมมีการกระจายแสงมากกว่าเพชร<br />

ธรรมชาติ ท าให ้มีประกายแวววาว และมีความถ่วงจ าเพาะสูงกว่าเพชรธรรมชาติ<br />

มาก เพชรเทียมที่รู<br />

้จักกันดีคือ เพชรรัสเซีย มีส่วนประกอบของเซอร์โคเนียม<br />

ออกไซด์ผสมด ้วยอิตเทรียมออกไซด์หรือแคลเซียมออกไซด์เพียงเล็กน ้อย<br />

10. การตรวจสอบอัญมณีว่าเป็ นของแท้มีวิธีการตรวจสอบอย่างไร<br />

ตรวจสอบความแข็ง ความถ่วงจ าเพาะ ค่าดัชนีหักเหของแสง ลักษณะของผลึกใน<br />

ธรรมชาติ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

แบบทดสอบหลังเรียน<br />

1. ข้อใดเป็ นความแตกต่างของทับทิมสยามกับไพลิน<br />

ก. สิ่งเจือปน<br />

ข. ความแข็ง ค. ชนิดของแร่ ง. ดัชนีหักเห<br />

2. ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. สีสันของรัตนชาติอาจจะบอกได้ด้วยโครงสร้างที ่เกิดตามธรรมชาติ<br />

ข. การเจียระไนอัญมณีคือการท าให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาในผลึกแล้วสะท้อนกลับมาด้านหน้า<br />

ค. เพชรแท้หรือเพชรเทียมพิสูจน์ได้จากค่าความถ่วงจ าเพาะ ไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยค่าดัชนีหักเห<br />

ของแสง เพราะขึ ้นอยู่กับรูปแบบของการเจียระไน<br />

ง. เมื่อน<br />

าแร่ A มาขีดบนแร่ B จะเกิดรอยบนแร่ B เมื่อเอาแร่<br />

B มาขีดกระจก เกิดรอยบนกระจก แร่A<br />

3. ในการตัดกระจก อุปกรณ์ที่ใช้ตัดมักท<br />

าจากเศษเพชร ถ้าไม่มีเศษเพชร ควรเลือกสารในข้อใดแทน<br />

ก. ฟลูออไรด์ ข. อะปาไตต์ ค. คอรันดัม ง. ออโธเคลส<br />

ควรอยู่ในระดับความแข็งตั<br />

้งแต่ 8ขึ ้นไป<br />

4. จากตาราง จงเรียงล าดับความแข็งของแร่จากมากที ่สุดไปน้อยที่สุด<br />

แร่ ลักษณะความแข็ง<br />

A ขีดกระจกเป็ นรอยบนกระจก<br />

B กระจกขีดแร่เป็ นรอยบนผิวแร่<br />

C สตางค์แดงขูดเป็ นรอย<br />

D มีดขูดเป็ นรอย<br />

่<br />

ก.A B C D<br />

5. ข้อใดถูกต้อง<br />

ข. B A C D ค. A B D C ง. B A D C<br />

ก. เพชรแท้กับเพชรเทียมมีค่าความถ่วงจ าเพาะต่างกัน แต่ดัชนีหักเหของแสงเท่ากัน<br />

ข. แร่รัตนชาติมีก าเนิดมาจากอนินทรีย์วัตถกับอินทรียวัตถุ<br />

ค ความแข็งของอัญมณีสามารถบอกได้ว่าเป็ นอัญมณีชนิดใด<br />

ง. หลักการเจียระไนอัญมณีคือการให้แสงตกกระทบถูกสะท้อนออกมามากที่สุด<br />

6. ไพลินจัดเป็ นพลอยในตระกูลคอรันดัมเหมือนกับทับทิมและมีสีน ้าเงิน อันเนื่องมาจากไอออนของ<br />

โลหะแทรนซิชันใดไปแทนที Al 3+ ในโครงสร้าง<br />

1. โครเมียม 2. เหล็ก 3. ไทเทเนียม 4.ทองแดง<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3 ค.ข้อ 3 และ 4 ง. ข้อ 1 และ 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

่<br />

7. ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. ไข่มุกไม่ว่าสีใด ไม่มีค่าดัชนีหักเห<br />

ข. เพชรมีความแข็งมากที่สุด<br />

เนื่องจากมีความถ่วงจ<br />

าเพาะมากที่สุด<br />

ค. อัญมณีต่างชนิดกัน ถ้ามีสีเหมือนกัน จะมีค่าดัชนีหักเหของแสงเท่ากัน<br />

ง. อัญมณีต่างชนิดกัน ถ้ามีความแข็งเท่ากัน จะมีค่าความถ่วงจ าเพาะเท่ากัน<br />

8. ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. พลอย ตระกูลคอรันดัม ถ้าต้องการให้ มีสีน ้าเงิน ให้เติม TiO2 ลงไป แล้วน าไปเผาที่เรียกว่า<br />

การย้อมเคลือบสี<br />

ข. การหุงพลอยเป็ นการท าให้เนื้อพลอยมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันมีผลท<br />

าให้เนื้อพลอยใสขึ้น<br />

มีสีเปลี่ยนไปอย่างถาวร<br />

ค. การหุงพลอยเป็ นเทคนิคเดียวเท่านั ้นที่มีผลให้เนื<br />

้อพลอยเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน<br />

ง. การอาบรังสีเป็ นวิธีการหนึ ่งที่ใช้เปลี่ยนสีของพลอยโดยใช้รังสีแกมมาเท่านั<br />

้นมาจากโคบอลต์<br />

9. ทับทิมจัดเป็ นพลอยในตระกูลคอรันดัมมีสีแดงเข้มอันเนื่องมาจากไอออนของโลหะแทรนซิชันใดไป<br />

แทนที Al<br />

-60<br />

3+ ในโครงสร้าง<br />

ก. โครเมียม ข. เหล็ก ค. ไทเทเนียม ง. แมงกานีส<br />

10. เพชรมีความแข็งมาก ไม่น าไฟฟ้ า แต่น าความร้อนได้ดีกว่าทองแดงถึงกี ่เท่า<br />

ก. 4 เท่า ข. 5 เท่า ค. 6 เท่า ง. 7 เท่า<br />

11. ในสภาวะใด(อุณหภูมิและความดัน) ที่ชัในการสังเคราะห์เพชร<br />

อุณหภูมิ(�C ) ความดัน(atm)<br />

ก. 2,000 5,000-10,000<br />

ข. 2,000 50,000-100,000<br />

ค. 1,500 5,000-10,000<br />

ง. 1,500 50,000-100,000<br />

12. สมบัติที่เหมือนกันระหว่างเพชรธรรมชาติและเพชรสังเคราะห์<br />

ข้อใดถูก<br />

1. ความแข็ง 2. ความถ่วงจ าเพาะ 3. ดัชนีหักเหของแสง<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 2 ค.ข้อ 2 และ 3 ง. ข้อ 1 ,2 และ3<br />

13. เพชรรัสเซีย จัดเป็ นเพชรเทียม มีส่วนประกอบหลักทางเคมีเป็ นสารใด<br />

1. เซอร์โคเนียมไดออกไซด์(ZnO2) 2. อิตเทรียมออกไซด์(Y2O3) 3. แคลเซียมออกไซด์(CaO) 4. รูไทล์ (TiO2) ก. ข้อ 1 ผสม 2 ข. ข้อ 1 ผสม 3 ค.ข้อ 4 เท่านั ้น ง. ข้อ 3 และ 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.2 อุตสาหกรรมเซรามิกซ์<br />

ในสมัยก่อน เซรามิกส์หมายถึงศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเครื<br />

่องปั ้ นดินเผา เนื่องจากค<br />

าว่า “เซรามิกส์”<br />

มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า “เครามอส” ซึ ่งหมายถึงวัสดุที ่ผ่านการเผา<br />

ปัจจุบันนี ้ เซรามิกส์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ท<br />

าจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย และแร่<br />

ธาตุต่างๆ น ามาผสมกัน แล้วท าเป็ นสิ่งประดิษฐ์<br />

หลังจากนั ้นจึงน าไปเผาเพื่อเปลี่ยนเนื<br />

้อวัตถุให้แข็งแรง<br />

สามารถคงรูปอยู่ได้<br />

อุตสาหกรรมเซรามิกส์เป็ นอุตสาหกรรมที่มีความส<br />

าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั ้งเป็ น<br />

อุตสาหกรรมพื ้นฐานรองรับอุตสาหกรรมอื่นๆ<br />

อีกหลายอย่าง เช่น วัสดุทนไฟเป็ นวัสดุพื ้นฐานของอุตสหกร<br />

รมถลุงและผลิตโลหะ ซีเมนต์เป็ นวัสดุส าคัญของงานการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม เป็ นต้น<br />

กระบวนการผลิตเซรามิกส์มีขั ้นตอน ดังนี ้<br />

1. การเตรียมวัตถุดิบ<br />

2. การขึ ้นรูป<br />

3. การเผาและการเคลือบ<br />

นอกจากนี ้ อาจมีการตกแต่งให้สวยงามโดยการเขียนลวดลายด้วยสีหรือการติดรูปลอก สามารถท า<br />

ได้ทั ้งก่อนและหลังเคลือบ<br />

2.2.1 การเตรียมวัตถุดิบ<br />

วัตถุดิบอาจแบ่งเป็ น<br />

1. วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์<br />

2. วัตถุดิบอื่นๆ<br />

เพื่อท<br />

าให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึ ้น เช่น ดิกไคต์ โดโลไมต์ เป็ นต้น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วัตถุดิบหลัก<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. ดิน เป็ นวัตถุดิบส าคัญที่ใช้ในการผลิตเซรามิกส์หลายประเภท<br />

โดยเฉพาะที่ใช้เป็<br />

นภาชนะ<br />

รองรับอาหาร เครื่องสุขภัณฑ์<br />

กระเบื ้อง องค์ประกอบที่ส<br />

าคัญของดิน คือ SiO2 , Al2O3 , Fe2O3 ,CaO ,MgO<br />

K2 O และ Na2O ซึ ่งดินจากที่ต่างกันจะมีองค์ประกอบในสัดส่วนที่ต่างกัน<br />

แบ่งดินตามลักษณะทางกายภาพ จะแบ่งได้ดังนี ้<br />

� ดินขาว เป็ นวัตถุดิบที ่ส าคัญ ดินขาวบริสุทธิ ์ มีสูตรเคมีเป็ น Al2O3 (2SiO2 .2H2 O) ใน<br />

ประเทศไทยพบดินขาวในลักษณะที่เป็<br />

นสีขาวหรือสีอ่อนทั ้งในสภาพที่ยังไม่ได้<br />

เผาและหลังเผา เช่น ที่<br />

จังหวัดล าปาง อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช<br />

� ดินเหนียว มีสีขาวคล ้าจนถึงด าสนิท เนื ้อละเอียด เหนียวและแข็งแรงทนทานกว่าดินขาว<br />

พบมากที่<br />

ล าปาง เชียงใหม่ ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี เมื่อน<br />

าดินเหนียวผสมกับดินขาว จะท าให้เนื ้อดินแน่น<br />

และเนียนมากขึ ้น สะดวกในการขึ ้นรูปและท าเป็ นผลิตภัณฑ์<br />

2. เฟลด์สปาร์ (หินฟันม้า) เป็ นสารประกอบอะลูมิโนซิลิเกตของธาตุหมู ่ I และ II ส่วนใหญ่มี<br />

องค์ประกอบคงที่<br />

ท าหน้าที่ช่วยให้เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต<br />

่า ส่งเสริมให้เกิดการเปลี ่ยนแปลงเป็ นเนื ้อ<br />

แก้ว ท าให้เกิดความโปร่งใส<br />

� โซดาเฟลด์สปาร์จะมี Na ในปริมาณมาก จะใช้เป็ นส่วนประกอบในน ้าเคลือบและใช้ผสมในเนื ้อดิน<br />

โพแทชเฟลด์สปาร์ มี K ในปริมาณมาก จะใช้เป็ นส่วนผสมในเนื ้อดินปั ้ น<br />

3.ควอตซ์ (หินเขี ้ยวหนุมาน) องค์ประกอบคือ ซิลิกา ส่วนมากใสไม่มีสี ถ้ามีสิ่งเจือปนจะให้สีต่างๆ<br />

ท าหน้าที่เป็<br />

นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ เซรามิกส์ ช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ ท าให้ผลิตภัณฑ์หดตัวน้อย<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วัตถุดิบอื่นๆ<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

� แร่โดโลไมต์ แร่หรือหินตะกอนที ่ประกอบด้วย [CaMg(CO3)2] เป็ นส่วนใหญ่ ลักษณะคล้ายหินปูน<br />

ผสมเล็กน้อยในเนื ้อดิน ลดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ และผสมในน ้าเคลือบ<br />

� สารประกอบออกไซด์<br />

� BeO Al2 O3 ผสมในผลิตภัณฑ์ที่ทนไฟสูง<br />

SiO2 B2O3 ผสมเพื่อท<br />

าให้ผลิตภัณฑ์เป็ นเนื ้อแก้ว<br />

SnO2 ZnO ใช้เคลือบเพื่อท<br />

าให้ทึบแสง<br />

� ดิกไคต์ องค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน<br />

อะลูมินาร้อยละ 28-32 โดยมวล จะเป็ นหินแข็ง น ามาแกะสลักเป็ นรูปต่างๆ ไว้ประดับตกแต่ง<br />

อะลูมินาร้อยละ 11-28 โดยมวล ใช้ท าวัสดุทนไฟ ท ากระเบื ้องปูพื ้น<br />

อะลูมินาร้อยละต ่ากว่าข้างต้น ใช้ท าปูนซีเมนต์ขาว<br />

วัตถุดิบทุกชนิดที่ใช้ผลิตเซรามิกส์<br />

จะต้องท าให้บริสุทธิ ์ และบดให้มีความละเอียดตามต้องการ จากนั ้นจึงน ้า<br />

มาผสมกับน ้าและสารอื่นๆ<br />

ท าให้เนื ้อดินอยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการขึ<br />

้นรูป<br />

2.2.2 การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์<br />

การขึ ้นรูปผลิตภัณฑ์เซรามิกส์มีหลายวิธีด้วยกัน ดังต่อไปนี ้<br />

1.การเทแบบ โดยผสมดินกับน ้าจนได้ที่แล้วเทลงในแบบซึ<br />

่งมีรูปร่างต่างๆ ปล่อยไว้จนแข็งตัว<br />

จากนั ้นจึงแกะแบบและตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้เรียบร้อยการขึ ้นรูปด้วยวิธีนี ้ ใช้ในการผลิตแจกัน ขวด และ<br />

เครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ<br />

2.การใช้แป้ นหมุน จะปั ้ นได้เฉพาะภาชนะที่มีลักษณะกลม<br />

ทรงกลมหรือทรงกระบอก เช่น การปั ้ น<br />

ไห โอ่ง อ่าง กระถาง แจกัน การปั ้ นต้องใช้ความช านาญเป็ นพิเศษจึงจะได้เป็ นรูปทรงตามต้องการ<br />

3.การหลอมเหลว โดยหลอมเหลวเนื ้อผลิตภัณฑ์ด้วยความร้อนแล้วเทลงในแบบโลหะหรือแบบ<br />

ทราย จากนั ้นปล่อยให้เย็นตัวลง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมีเนื<br />

้อแน่นมากและทนต่อการกัดกร่อนสูง<br />

4.การอัดเนื ้อดินผ่านหัวแบบ เป็ นวิธีการขึ ้นรูปที่นิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรมเช่น<br />

การท าผลิตภัณฑ์<br />

วัสดุทนไฟ กระเบื ้อง<br />

5.การอัดผงเนื ้อดินลงในแบบโลหะ เป็ นวิธีการขึ ้นรูปที่นิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรมเช่นเดียวกัน<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ขึ<br />

้นรูปเสร็จแล้ว ควรเก็บในที่ร่มให้เนื<br />

้อดินแห้งอย่างช้าๆ แล้วน ามาตกแต่งให้ผิวเรียบ จากนั ้นจึง<br />

น าไปตากหรืออบที่อุณหภูมิประมาณ<br />

40-60 องศาเซลเซียส<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.2.3 การเผาและการเคลือบ<br />

การเผาครั ้งแรก เรียกว่า เผาดิบ โดยเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ<br />

้นอย่างช้าๆ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์คงรูปไม่แตก<br />

ช ารุด ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่หลังจากเผาดิบแล้วต้องเคลือบผิวเพื ่อความสวยงามคงทน ป้ องกันรอยขีดข่วน แต่<br />

บางชนิดไม่ต้องเคลือบ เช่น กระถางต้นไม้ อิฐ ไส้เครื่องกรองน<br />

้า เป็ นต้น สารที่ใช้เคลือบ<br />

เป็ นสารผสม<br />

ระหว่างซิลิเกตกับสารช่วยหลอมละลาย มีลักษณะเหมือนแก้วบางๆ ฉาบติดอยู่บนผิวผลิตภัณฑ์<br />

ส่วนผสมของน ้าเคลือบ แบ่งตามสมบัติทางเคมีได้ 3 กลุ่ม ดังนี ้<br />

กลุ่มที่1<br />

สารช่วยลดอุณหภูมิการหลอมละลายของน ้าเคลือบ เช่น ออกไซด์โลหะแอลคาไลน์และ<br />

แอลคาไลน์เอิร์ท รวมทั ้งออกไซด์ของตะกั่ว<br />

สังกะสี และออกไซด์ที่ท<br />

าให้เกิดสี เช่น Na2 O , Li2 O , K2O ,<br />

CaO , ZnO เป็ นต้น<br />

กลุ่มที่<br />

2 กลุ่มสารที่เป็<br />

นสารทนไฟและให้สี เช่น Al2O3 , Sb2 O3 , Mn2O3 , Bi2O3 กลุ่มที่<br />

3 กลุ่มสารที่ช่วยให้เนื<br />

้อผลิตภัณฑ์ทึบแสง เช่น SiO2 , TiO2 , CeO2 , P2O5 เทคนิคและวิธีการเคลือบขึ ้นอยู่กับลักษณะและขนาดของผลิตภัณฑ์<br />

เมื่อเผาเคลือบเสร็จแล้วควร<br />

ปล่อยให้อุณหภูมิลดลงช้าๆ จนผลิตภัณฑ์เกือบเย็นแล้วจึงน าออกจากเตา<br />

2.2.4 ผลิตภัณฑ์เซรามิก<br />

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์เซรามิกส์บางชนิด เป็ นดังนี ้<br />

� ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่ใช้เป็<br />

นภาชนะรองรับหรือปรุง<br />

อาหาร เช่น ถ้วย ชาม หม้อหุงต้ม<br />

� ผลิตภัรฑ์เครื่องสุขภัณฑ์<br />

เช่น โถส้ม อ่างล้างหน้า ที่วาง<br />

สบู่<br />

� ผลิตภัณฑ์กระเบื ้อง เช่น กระเบื ้องปูพื ้น กระเบื ้องกรุฝา<br />

ผนัง<br />

� ผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานด้านไฟฟ้<br />

า เช่น กล่องฟิ วส์ ฐานและมือจับสะพานไฟ<br />

� วัสดุทนไฟ เช่น อิฐฉนวนไฟทนไฟ<br />

� ผลิตภัณฑ์แก้ว เช่น แก้ว กระจก<br />

การใช้ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ควรค านึงถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ<br />

้นจากสารตะกั่วที่ใช้เป็<br />

นตัวช่วยลด<br />

อุณหภูมิ การหลอมละลายและท าให้มีสีสดใส ถ้าน ้าเคลือบยึดติดกับผิวเนื ้อดินปั ้ นไม่ดี สารที่เคลือบอาจ<br />

กะเทาะและมีสารตะกั่วหลุดออกมาได้<br />

เพราะฉะนั ้นการน าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไปใช้ใส่สารที ่เป็ นกรดหรือ<br />

เป็ นเบส จึงไม่สมควร เช่นการใส่อาหารที่เป็<br />

นกรดเบส ก็จะท าให้ภาชนะนั ้นถูกกร่อน และมีสารตะกั่วปน<br />

หลุดออกมา เป็ นอันตรายต่อผู้บริโภค<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.2.4.1 ผลิตภัณฑ์แก้ว<br />

แก้วได้ถูกน ามาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เนื่องจากแก้วมีสมบัติที<br />

่ดีหลายประการ ทั ้งมีความโปร่งใส ทน<br />

ต่อกรดเบส ไอน ้าและแก๊สซึมผ่านได้ยาก แข็งแรงและทนต่อแรงดันได้ แก้วท าจากทรายแก้วหรือซิลิกา<br />

โซดาแอช หินปูน โดโลไมต์และเศษแก้วประมาณ30% โดยมวล สารที่เติมลงไปจะช่วยเพิ่มความแกร่งของ<br />

เนื ้อแก้ว เมื่อได้รับความร้อน<br />

สารประกอบคาร์บอนจะเปลี่ยนไปเป็<br />

นสารประกอบออกไซด์ และหลอม<br />

ละลายเป็ นเนื ้อเดียวกัน เรียกว่าน ้าแก้ว จากนั ้นลดอุณหภูมิ เพื่อให้แก้วมีความหนืดก่อนท<br />

าการขึ ้นรูปเป็ น<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ<br />

จ าแนกแก้วตามองค์ประกอบทางเคมีเช่น<br />

� แก้วโซดาไลม์ องค์ประกอบหลักเป็ นซิลิกา โซเดียมออกไซด์ แคลเซียมออกไซด์ ไม่ทนต่อสภาพ<br />

ความเป็ นกรดเบส แตกง่ายเมื่อรับความร้อน<br />

แสงขาวผ่านได้แต่ดูดกลืนอัลตราไวโอเลต เช่น แก้วน ้า<br />

ขวดน ้า กระจกแผ่น สามารถท าให้แก้วมีสีต่างๆได้โดยเติมออกไซด์ของสารบางชนิดลงไป<br />

� แก้วโบโรซิลิเกต มีซิลิกาเป็ นส่วนผสมปริมาณค่อนข้างสูง โซเดียมออกไซด์และแคลเซียมออกไซด์<br />

ในปริมาณที่ลดลง<br />

เติมออกไซด์ของโบรอนลงไปเพื่อให้ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

ใช้ท า<br />

ภาชนะส าหรับไมโครเวฟ เครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์<br />

� แก้วคริสตัล มีออกไซด์ของตะกั่วกับโพแทสเซียมเป็<br />

นส่วนผสม มีดัชนีหักเหสูงมาก เมื่อแสงมา<br />

กระทบจะเห็นประกายแวววาว มีราคาแพงเนื่องจากต้องใช้ทรายแก้วที<br />

่มีเหล็กเจือปนน้อยมาก ผลิต<br />

ในปริมาณน้อยและใช้ฝี มือในการเจียระไน<br />

� แก้วโอปอล มีการเติมสารบางชนิดเพื่อให้เกิดการตกผลึกหรือแยกชั<br />

้นในเนื ้อแก้ว ท าให้มีความขุ ่น<br />

และโปร่งแสง หลอมขึ ้นรูปได้ง่าย<br />

ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้งานมากในปัจจุบันคือ<br />

กระจกแผ่น ใช้ในการตกแต่งอาคาร ท าเครื่องใช้<br />

ท าโดยดึงและรีดน ้าแก้วที่มีความหนืด<br />

เหมาะต่อการขึ ้นรูปตามแนวราบ แล้วท าให้เย็นลงและผ่านไปยัง<br />

เครื่องขัด<br />

จะได้กระจกผิวเรียบ น าไปแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ตามลักษณะงานต่างๆ<br />

2.2.4.2 ปูนซีเมนต์<br />

ปูนซีเมนต์ หมายถึง ผงผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการบดปูนเม็ด<br />

ซึ ่งเกิดจากการเผาส่วนผสมต่างๆ ได้แก่<br />

แคลเซียมคาร์บอเนต ซิลิกา อะลูมินา และออกไซด์จากเหล็ก สัดส่วนของวัตถุดิบแตกต่างกันจะท าให้มี<br />

สมบัติแตกต่างกัน วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์<br />

แบ่งออกเป็ น<br />

1. วัตถุดิบเนื้อปูน ร้อยละ 80 โดยมวล เป็ นหินปูน(มีแร่แคลไซด์) ดินสอพอง หรือ ดินมาร์ล<br />

หินอ่อน หินชอล์ก<br />

2. วัตถุดิบเนื้อดิน ประกอบด้วยซิลิกา อะลูมินาและออกไซด์ของเหล็ก ส่วนประกอบกลุ่มนี ้มี<br />

ประมาณร้อยละ 15-18 โดยมวลของส่วนผสมก่อนเผา วัตถุดิบที ่ใช้ได้แก่ หินดินดาน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

3. วัตถุปรับคุณภาพ ใช้ในกรณีที่ส่วนผสมของเนื<br />

้อปูนและเนื ้อดินมีองค์ประกอบไม่เป็ นไปตาม<br />

ก าหนด เช่น อะลูมินาต ่าต้องเติมแร่บอกไซด์ ถ้ามีเหล็กต ่าก็เติมแร่ที่มีเหล็กออกไซด์หรือเศษเหล็ก<br />

4. สารเติมแต่ง เติมภายหลังการเผาเพื่อปรับสมบัติบางประการ<br />

เช่น การเติบยิปซัมเพื่อหน่วงเวลา<br />

ให้ปูนที่ผสมกันน<br />

้าแข็งตัวช้าลง<br />

กระบวนการที่ใช้ผลิตปูนซีเมนต์<br />

มีทั ้งแบบเผาเปี ยก และ เผาแห้ง<br />

- แบบเผาเปี ยก ใช้ในกรณีความชื ้นสูง เช่น มีดินด า ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต น าวัตถุดิบผสมกันตามสัดส่วนบดให้ละเอียดแล้วน ามาตีรวมกับน ้าจนเป็ นน ้าดิน<br />

สูบน ้าดินที่ผ่านกรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู<br />

่เตาเผา จะได้เป็ นปูนเม็ดเก็บไว้ในไซโล เมื่อน<br />

าปูนเม็ดผสมกับ<br />

ยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ปูนซีเมนต์ผง การผลิตแบบนี ้ใช้พลังงานมากและต้นทุนสูงจึงไม่นิยม<br />

- แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชื ้นต ่า เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต น าวัตถุดิบทั ้งหมดมาบดผสมกันในอัตราส่วนที ่เหมาะสมแล้วน าไปเผาแบบฝุ ่ น<br />

แห้ง เมื่อน<br />

าปูนซีเมนต์มาผสมกับน ้าจะจับตัวแข็งและมีก าลังอัดสูง จึงใช้เป็ นตัวประสานวัสดุชนิด<br />

เม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และหินให้เกาะตัวแน่นเป็ นคอนกรีตได้<br />

การผลิตปูนซีเมนต์แบบเผาเปี ยกและเผาแห้งเขียนแผนภาพแสดงได้ ดังรูป<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

ปูนซีเมนต์อาจแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ดังนี ้<br />

1.ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ได้จากการบดปูนเม็ดกับยิปซัม แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท<br />

ประเภทที่<br />

1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา ใช้ส าหรับงานการก่อสร้างตามปกติทั่วไป<br />

ประเภทที่<br />

2 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ส าหรับใช้ในการท าคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่<br />

เกิดความร้อนและทนซัลเฟตได้ปานกลาง<br />

ประเภทที่<br />

3 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดแรงเร็วสูง ใช้ในงานคอนกรีตที่ต้องการถอด<br />

แบบได้เร็ว หรืองานที่ต้องการใช้เร็วเพื<br />

่อแข่งกับเวลา<br />

ประเภทที่<br />

4 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดความร้อนต ่า ใช้ในงานคอนกรีตที ่มีเนื ้อหนาๆ<br />

ประเภทที่<br />

5 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตได้สูง ใช้ในงานก่อสร้างบริเวณดินที ่มี<br />

ความเค็มปนอยู่<br />

เช่น ในทะเลหรือตามชายฝั่ง<br />

2.ปูนซีเมนต์ผสม มีแรงอัดต ่าลงกว่าปูนซีเมนต์ธรรมดาเล็กน้อยเนื่องจากมีการเติมทรายหรือหิน<br />

ปูน<br />

ละเอียดประมาณร้อยละ 25 ลงไปบดพร้อมกับปูนเม็ด เหมาะส าหรับใช้ในงานก่อสร้างที่ไม่ต้องรับน<br />

้าหนัก<br />

มาก หรืองานคอนกรีตที ่ไม่มีการยืดหดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพื ้น ท ากระเบื ้องมุงหลังคา หล่อท่อ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

10 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.2<br />

1. อุตสาหกรรมเซรามิกซ์มีความส าคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร<br />

1. ได ้ใช ้วัตถุดิบซึ่งเป็<br />

นทรัพยากรธรรมชาติที่มีในประเทศ<br />

เช่น ดินขาว ดินเหนียว หินฟัน<br />

ม ้า หินควอตซ์และทราย ให ้มีประโยชน์มากขึ้นและเพิ่มมูลค่าให<br />

้กับวัตถุดิบพวกนั้น<br />

2. ท าให ้ประชากรมีงานท ามากขึ้น<br />

เพราะอุตสาหกรรมเซรามิกส์รองรับอุตสาหกรรมอื่น<br />

เช่น อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การแพทย์และการก่อสร ้างเป็ นต ้น<br />

2. การผลิตเซรามิกส์ แก้ว และปูนชีเมนต์มีขั ้นตอนในการผลิตอย่างไร<br />

การผลิตเซรามิกส์ มีขั ้นตอนคือ<br />

1. การเตรียมวัตถุดิบ แบ่งเป็ น<br />

วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์<br />

วัตถุดิบอื่นๆเช่น<br />

ดิกไคต์ โดโลไมต์<br />

การขึ ้นรูป มีหลายวิธีด้วยกันคือ<br />

วิธีที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรม<br />

คือ....การเทแบบ การใช ้แป้นหมุน การหลอมเหลว การอัดเนื้อดินผ่าน<br />

หัวแบบ การอัดผงเนื้อดินลงในแบบโลหะ<br />

วิธีที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรม<br />

คือ....การอัดเนื้อดินผ่านหัวแบบ<br />

การอัดผงเนื้อดินลงในแบบโลหะ<br />

2. การเผาและการเคลือบ การเผาครั ้งแรก เรียกว่า เผาดิบ โดยเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ<br />

้นอย่างช้าๆ<br />

เพื่อให้ผลิตภัณฑ์คงรูปไม่แตกช<br />

ารุด ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่หลังจากเผาดิบแล้วต้องเคลือบผิว<br />

เพื่อความสวยงามคงทน<br />

ป้ องกันรอยขีดข่วน แต่บางชนิดไม่ต้องเคลือบ เช่น กระถางต้นไม้<br />

อิฐ ไส้เครื่องกรองน<br />

้า เป็ นต้น สารที่ใช้เคลือบ<br />

เป็ นสารผสมระหว่างซิลิเกตกับสารช่วย<br />

หลอมละลาย มีลักษณะเหมือนแก้วบางๆ ฉาบติดอยู่บนผิวผลิตภัณฑ์<br />

การผลิตแก้ว มีขั ้นตอนคือ<br />

1.เตรียมวัตถุดิบ คือ ทรายแก ้วหรือซิลิกา โซดาแอช หินปูน โดโล<br />

ไมต์และเศษแก้วประมาณ30% โดยมวล สารที่เติมลงไปจะช่วยเพิ่มความแกร่งของเนื<br />

้อแก้ว<br />

2. เผาในเตาหลอมที่อุณหภูมิ<br />

1,600 �C เมื่อได้รับความร้อน<br />

สารประกอบคาร์บอนจะ<br />

เปลี่ยนไปเป็<br />

นสารประกอบออกไซด์ และหลอมละลายเป็ นเนื ้อเดียวกัน เรียกว่าน ้าแก ้ว<br />

3. ลดอุณหภูมิ เพื่อให้แก้วมีความหนืดก่อนท<br />

าการขึ ้นรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ<br />

การผลิตปูนชีเมนต์ มี 2 แบบคือ<br />

กระบวนการที่ใช้ผลิตปูนซีเมนต์<br />

มีทั ้งแบบเผาเปี ยก และ เผาแห้ง<br />

1. แบบเผาเปี ยก ใช้ในกรณีความชื<br />

้นสูง เช่น มีดินด า ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. น าวัตถุดิบผสมกันตามสัดส่วนบดให้ละเอียดแล้วน ามาตีรวมกับน ้าจนเป็ นน ้าดิน<br />

2. สูบน ้าดินที่ผ่านกรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู<br />

่เตาเผา จะได้เป็ นปูนเม็ดเก็บไว้ในไซโล<br />

3. เมื่อน<br />

าปูนเม็ดผสมกับยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ปูนซีเมนต์ผง<br />

การผลิตแบบนี ้ใช้พลังงานมากและต ้นทุนสูงจึงไม่นิยม<br />

2. แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชื้นต<br />

่า เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็ นส่วนประกอบ<br />

กระบวนการผลิต<br />

1. น าวัตถุดิบทั ้งหมดมาบดผสมกันในอัตราส่วนที ่เหมาะสมแล้วน าไปเผาแบบฝุ ่ นแห ้ง<br />

2. เมื่อน<br />

าปูนซีเมนต์มาผสมกับน ้าจะจับตัวแข็งและมีก าลังอัดสูง จึงใช้เป็ นตัว<br />

ประสานวัสดุชนิดเม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และหินให้เกาะตัวแน่นเป็ นคอนกรีตได้<br />

3. การเคลือบเซรามิกซ์มีประโยชน์อย่างไร<br />

ประโยชน์คือ 1. เพื่อให<br />

้เกิดความสวยงาม 2. เพื่อให<br />

้เกิดความคงทนและป้องกันรอยขีดข่วน<br />

บนผิวผลิตภัณฑ์ 3. เพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวในภาชนะเซรามิกส์<br />

4. กระจกน าไปแปรรูปเป็ นอะไรได้บ้าง กระจกเงา กระจกสะท ้อนแสง กระจกนิรภัย กระจกเสริม<br />

ลวด และกระจกกันกระสุน<br />

5. ผลิตเซรามิกส์ แก้วและปูนชีเมนต์มีประโยชน์และโทษอย่างไร<br />

ผลิตเซรามิกส์ มีประโยชน์มากมายในชีวิตประจ าวันเช่น<br />

1. ด้านอุตสาหกรรมและสถาปัตยกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เลนส์ ปริซึม วัสดุก่อสร้าง อิฐ กระเบื ้อง<br />

เครื่องสุขภัณฑ์<br />

โลหะเคลือบ เครื่องถ้วยชาม<br />

ฉนวนไฟฟ้ า ตัวถังรถยนต์น ้าหนักเบา แผ่นวงจรรวม แผ่น<br />

ซิลิคอนที่ใช้สร้างเซลล์สุริยะ<br />

แผนวงจรคอมพิวเตอร์ วัสดุทนไฟ ผลิตภัณฑ์เชื ้อเพลิงนิวเคลียร์<br />

2. ด้านการแพทย์และทันตแพทย์ ท าอวัยวะเทียม กระดูกเทียม<br />

ส่วนโทษ ผลิตภัณฑ์ที่ใส่อาหาร<br />

อาจมีการหลุดกะเทาะของสารเคลือบโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว<br />

ปนเปื ้ อนออกมาได้ และถ้ามีการสัมผัสกับอาหารพวก กรด-เบส จะท าให้ตะกั่วหลุดออกมาละลายปนกับอาหาร<br />

ประโยชน์ของแก้ว ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้งานมากในปัจจุบันคือ<br />

กระจกแผ่น ใช้ในการ<br />

ตกแต่งอาคาร ท าเครื่องใช้<br />

ท าโดยดึงและรีดน ้าแก้วที่มีความหนืด<br />

เหมาะต่อการขึ ้นรูปตามแนวราบ แล้วท า<br />

ให้เย็นลงและผ่านไปยังเครื ่องขัด จะได้กระจกผิวเรียบ น าไปแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ตามลักษณะงานต่างๆ<br />

ประโยชน์ของปูนชีเมนต์ใช้ในงานก่อสร้างที ่ไม่ต้องรับน ้าหนักมาก หรืองานคอนกรีตที ่ไม่มีการยืด<br />

หดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพื ้น ท ากระเบื ้องมุงหลังคา หล่อท่อ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.3 อุตสาหกรรมการผลิตและการใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์<br />

2.3.1 การผลิตโซเดียมคลอไรด์ มี 2 วิธี คือ<br />

1. ผลิตจากน ้าทะเล NaCl ที่ได้<br />

เรียกว่า เกลือสมุทร ได้จากการกัก เก็บน ้าทะเลแล้วปล่อยให้น ้า<br />

ระเหยเหลือไว้ แต่ผลึกเกลือสีขาว ซึ ่งเราใช้ปรุงรสอาหาร ซึ ่งท ากันแถบจังหวัดชายทะเล เช่น<br />

สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ชลบุรี เป็ นต้น<br />

2. ผลิตจากน ้าเค็มใต้ดินและแหล่งแร่เกลือหิน NaCl ที่ได้<br />

เรียกว่า เกลือสินเธาว์ คือท าเกลือซึ ่ง<br />

ขุดจาก บ่อแล้วละลายน ้าปล่อยให้แห้ง การท านา เกลือท ากันมากในภาคกลางแถบ จังหวัดสมุทรสาคร ท า<br />

กันมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

การ<br />

ตกตะกอน<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือ<br />

การ<br />

ตกตะกอน<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือ<br />

สมุทร<br />

สินเถาว์<br />

การระเหย การตกผลึก<br />

การกรอง<br />

การระเหย การตกผลึก<br />

การผลิตเกลือสมุทร มีกรรมวิธี 2 ขั ้น คือ<br />

1. การเตรียมพื ้นที่นา<br />

ถ้าได้บริเวณที ่เหมาะแล้ว ท าการขุดวังน ้าขังซึ ่งอยู่ใกล้ทะเลมากที่สุด<br />

ถัด<br />

ออกมาเป็ นบริเวณที่จะท<br />

านา<br />

2. การท านาเกลือ แบ่งนาออกเป็ นแปลง แต่ละแปลงท าขอบให้สูงเหมือนคันนาและท าร่องระบาย<br />

น ้าระหว่างแปลง พื ้นที่ท<br />

านาเกลือแบ่งออกได้เป็ น 3 ตอน คือ นาตาก นาเชื ้อ และนาปลง<br />

ขั ้นตอนในการท านาเกลือ<br />

� ก่อนถึงฤดูท านาเกลือ จะต้องระบายน ้าทะเลเข้าไปไว้ในวังน ้าขังเพื่อให้สิ่งที่เราไม่ต้องการ<br />

ตกตะกอน<br />

� เมื่อถึงฤดูท<br />

านาเกลือ จะต้องระบายน ้าทะเลจากวังน ้าขังเข้าสู ่นาตาก โดยระดับน ้าสูงกว่าพื ้นที่นา<br />

ประมาณ 5 เซนติเมตร แล้วทิ้งให้น ้าระเหย<br />

� เมื่อน<br />

้าระเหยไป ก็จะถ่ายน ้าทะเลจากนาตากเข้าสู ่นาเชื ้อ แล้วทิ้งให้ระเหยไปอีก ในนาเชื ้อจะมี<br />

เกลือ CaSO4 ตกผลึกอยู่เป็<br />

นจ านวนมาก ซึ ่งเราสามารถน าไปขายได้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

� เมื่อน<br />

้าทะเลในนาเชื ้อระเหยไป ก็ระบายน ้าเข้าสู่นาปลง<br />

ทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน โซเดียมคลอไรด์<br />

(NaCl) จะเริ่มตกผลึกและเมื่อทิ้งไปนานๆโซเดียมคลอไรด์จะตกผลึกมากขึ<br />

้นเรื่อยๆ<br />

เนื่องจากในน<br />

้า<br />

ทะเลนอกจากจะมี Na + และ Cl - ที่จะรวมตัวเป็<br />

นผลึกแล้วยังมีอีกหลายชนิด เช่น Mg 2+ Br - 2-<br />

SO4 ดังนั ้นจึงต้องระบายน ้าจากนาเชื ้อเข้าสู่นาปลงตลอดเวลาเพื่อไม่ให้เกลืออื่นๆตกผลึกปนกับ<br />

NaCl<br />

โดยปกติชาวนาจะปล่อยให้เกลือแกงตกผลึกอยู ่ประมาณ 9 ‟ 10 วัน<br />

� หลังจากได้ NaCl ตกผลึกมากพอแล้วก็ขูดเกลือออกในขณะที่ยังมีน<br />

้าทะเลท่วมอยู่เพื่อล้างดิน<br />

โคลนที่ติดกับเกลือออก<br />

แล้วคราดเกลือแกงมารวมกันเป็ นกองๆ ระบายน ้าออกจากนาปลง ทิ้ง<br />

เกลือไว้ประมาณ 1 ‟ 2 วัน น าเกลือไปเก็บไว้ในฉางเพื่อรอจ<br />

าหน่าย<br />

การผลิตเกลือสินเธาว์ มีขั ้นตอนดังนี ้<br />

� แยกเกลือจากผิวดิน ท าได้โดยขุดคราบเกลือตามผิวดินมาละลายน ้า กรองเศษดินหรือตะกอนออก<br />

น าน ้าเกลือที่ได้เคี่ยวให้แห้งจะได้เกลือตกผลึกมา<br />

� แยกเกลือจากน ้าเกลือบาดาล ในการผลิตเกลือจากน ้าเกลือบาดาลนี ้ท าได้โดยขุดหรือเจาะลงไปใต้<br />

ดินและสูบน ้าเกลือขึ ้นมาแล้วน าน ้าที่ได้ไปต้มในกระทะเหล็กใบใหญ่<br />

การตากเป็ นอีกวิธีหนึ ่งที่นิยม<br />

กัน จะใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ท าให้น ้าระเหยออกไปได้เกลือตกผลึกออกมา วิธีเรียกว่า การท า<br />

นาเกลือ โดยสูบน ้าจากบ่อเกลือบาดาลมาใส่นาตาก ซึ ่งท าเป็ นลานดินหรือลานซีเมนต์<br />

� แยกเกลือจากชั ้นเกลือหินท าได้โดยอัดน ้าจืดลงไปละลายเกลือในชั ้นเกลือหินแล้วน าสารละลายที่<br />

ได้มาท าให้บริสุทธิ ์ โดยเติมสารละลาย NaOH กับ Na2CO3 เพื่อก<br />

าจัดแคลเซียมไอออนและ<br />

แมกนีเซียมไอออน<br />

� กรองแล้วน าสารละลายเกลือที่ได้ไปตกผลึกจะได้ผลึก<br />

NaCl เมื่อตกผลึกไปนานๆNaCl<br />

ใน<br />

สารละลายจะมีปริมาณลดลง แต่ในสารละลายจะยังมีโซเดียมซัลเฟตและโซเดียมคาร์บอเนตละลาย<br />

ซึ ่งเป็ นเกลือที่ไม่ต้องการ<br />

เรียกสารละลายนี ้ว่า น ้าขม จึงก าจัดไอออนต่างๆออกโดยเติม CaCl2 ใน<br />

ปริมาณที่พอเหมาะลงไป<br />

จะเกิด CaSO4 และ CaCO3 ซึ ่งไม่ละลายน ้า สารละลายที่ได้สามารถน<br />

าไป<br />

ตกผลึกเป็ น NaCl<br />

***เนื่องจากเกลือสินเธาว์เป็<br />

นเกลือที่มีความชื<br />

้นและเกลือแมกนีเซียมปนอยู ่น้อยมาก จึงเป็ น<br />

เกลือที่เหมาะจะใช้ในอุตสาหกรรม***<br />

***ส่วนเกลือสมุทรเป็ นเกลือที่มีไอโอดีนสูงกว่าเกลือสินเธาว์จึงเหมาะส<br />

าหรับการบริโภค<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การผลิตเกลือกับปัญหาสิ่งแวดล้อม<br />

การผลิตถ้าขาดความระมัดระวังอาจก่อให้เกิดปัญหาสิ ่งแวดล้อมได้โดยเฉพาะปัญหาการ<br />

แพร่กระจายของดินเค็ม ซึ ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ท าให้การเพาะปลูกไม่ได้ผล นอกจากนี ้ถ้ามีเกลื<br />

แพร่กระจายเข้าสู ่แม่น ้าล าคลองก็จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น ้า<br />

ปัจจุบันได้มีการตกผลึกเกลือโดยใช้หม้อเคี ่ยวระบบสุญญากาศเพื่อลดปัญหาการแพร่กระจายของ<br />

ดินเค็ม นอกจากนี ้ยังท าให้เกิดการยุบตัวของดินบริเวณที ่มีการผลิตเกลือจากชั ้นเกลือหินอีกด้วย<br />

2.3.2 การผลิตและการน าไปใช้ประโยชน์ของโซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊ส คลอรีนจากโซเดียมคลอไรด์<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยเซลล์ปรอท<br />

เนื่องจากการผลิต<br />

NaCl ด้วยวิธีอิเล็กโทรลิซิสโดยใช้ขั ้วไฟฟ้ าเฉื่อยเกิดปัญหาได้<br />

NaOH ไม่บริสุทธิ ์<br />

จึงใช้วิธีผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์ปรอท เซลล์ปรอทเป็ นเซลล์ที่ประกอบด้วยแอโนดซึ<br />

่งท าจาก<br />

โลหะไทเทเนียมเคลือบออกไซด์ของธาตุบางชนิด และใช้ปรอทเป็ นแคโทด<br />

เมื่อผ่านสารละลาย<br />

NaCl ที่อิ่มตัวและบริสุทธิ<br />

์ เข้าไปในเซลล์ปรอทจะเกิดปฏิกิริยาดังนี ้<br />

ที่แอโนด<br />

: Cl - จะเสีย e - ดังสมการ 2Cl - (aq) → Cl2 + 2e -<br />

ที่แคโทด<br />

: Na + จะรับ e - ดังสมการ Na + + e - + xHg → NaHgx วิธีนี ้จะได้ แก๊สคลอรีน<br />

แก๊สไฮโดรเจน NaOH มีความ<br />

เข้มข้นประมาณ ร้อยละ 50 โดย<br />

มวล และมีการปนเปื ้ อนของปรอท<br />

โซเดียมอะมัลกัมที ่ได้สามารถแยกโลหะโซเดียมออกโดยการผ่านน ้าบริสุทธ์เข้าไปโซเดียมจะท า<br />

ปฏิกิริยากับน ้ากลายเป็ นโซเดียมไฮดรอกไซด์ ดังสมการ<br />

2NaHgx(l) + 2H2O(l) → 2NaOH(aq) + H2(g) +2xHg(l)<br />

สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จะมีความเข้มข้นประมาณร้อยละ<br />

50 โดยมวลและไม่มี NaCl<br />

ปน ส่วนปรอทหลังจากแยกโซเดียมออกหมดแล้วก็สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์กับปัญหาสิ่งแวดล้อม<br />

ในอุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ถ้าไม่มีการก าจัด HgCl2 ซึ ่งปนอยู่ในน<br />

้าทิ้งออกก่อน<br />

จะก่อให้เกิดมลภาวะทางน ้า คือเมื่อปล่อย<br />

HgCl2 จุลินทรีย์ในน ้าจะเปลี่ยน<br />

HgCl2 ให้เป็ นสารประกอบ<br />

อินทรีย์ของปรอทซึ ่งมีพิษร้ายแรง เช่น ไดเมทิลเมอร์คิวรี สารนี ้จะเข้าไปสะสมในตัวสัตว์น ้า สารพิษนี ้จะ<br />

สะสมตามเนื ้อเยื่อที่มีไขมันมากๆ<br />

เช่น สมอง ถ้าร่างการสะสมปรอทไว้เพียง 50 mg อาจท าให้ตายได้<br />

ประเทศญี่ปุ<br />

่ นที่บริเวณอ่าวมินามาตะ<br />

ซึ ่งเป็ นที่ตั<br />

้งของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่หลายประเภท<br />

พบว่าปลาและสัตว์น ้าตายเนื่องจากพิษของปรอท<br />

ชาวประมงและชาวบ้านที่อาศัยบริเวณนั<br />

้นต้องเสียชีวิตลง<br />

เป็ นจ านวนมากเนื่องจากไปจับปลาในบริเวณอ่าวมินามาตะมารับประทาน<br />

ร่างกายจึงสะสมพิษของปรอท<br />

เอาไว้ ท าให้เสียชีวิตในเวลาต่อมา<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์ไดอะแฟรม<br />

วิธีนี ้จะได้ แก๊สคลอรีน NaOH และ NaCl<br />

ส่วนประกอบของเซลล์ไดอะแฟรม คือ ขั ้วแอโนดท าด้วยไทเทเนียม ขั ้วแคโทดท าด้วย<br />

เหล็กกล้า ระหว่างแอโนดและแคโทดมีแผ่นกั ้นที่ท<br />

าด้วยแอสเบสตอส แผ่นแอสเบสตอสนี ้มีคุณสมบัติ<br />

พิเศษ คือ ยอมให้ไอออนผ่านไปได้แต่ไม่ยอมให้แก๊สผ่าน<br />

เมื่อผ่านสารละลายโซเดียมคลอไรด์อิ่มตัวและบริสุทธิ<br />

์ เข้าไป<br />

ขั ้วแอโนด Cl - จะเสีย e - ดังสมการ 2Cl - (aq) → Cl2(g) + 2e-<br />

ขั ้วแคโทด H2 O จะรับ e- ดังสมการ 2H2O(l) + 2e - → H2(g) + 2OH<br />

เนื่องจากมีการปรับความดันทางด้านแอโนดให้สูงกว่าแคโทด<br />

ไอออนทางด้านแอโนดจึงเคลื่อนที่<br />

ผ่านแผ่นกั ้นไปด้านแคโทด ดังนั ้น Na + ที่เหลือจึงผ่านแผ่นกั<br />

้นไปยังด้านแคโทด และ OH - ซึ ่งเกิดขึ ้นที่แคโทด<br />

จะไปด้านแอโนดไม่ได้ ท าให้ได้สารละลาย NaOH ที่ด้านแคโทด<br />

แต่จะไม่บริสุทธิ ์ คือ มี NaOH ร้อยละ 10<br />

และมี NaCl ร้อยละ 15 โดยมวลปนอยู่<br />

แต่ NaCl ที่ปนอยู่สามารถแยกออกจากสารละลาย<br />

NaOH ได้โดย<br />

น าไประเหยน ้าออก NaCl จะอิ่มตัวและตกผลึกออกมาก่อน<br />

แต่ไม่หมด สารละลายที่เหลือจะมี<br />

NaOH ร้อย<br />

ละ 50 NaCl ร้อยละ1โดยมวล สารละลายนี ้สามารถน าใช้ในกระบวนการอุตสาหกรรมได้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

เนื่องจากการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์ปรอทท<br />

าให้เกิดมลภาวะและใช้เซลล์ไดอะแฟรม<br />

ก็มีสารปนเปื ้ อน จึงได้มีการพัฒนาเซลล์ชนิดใหม่ขึ ้นเพื่อให้สามารถ<br />

ผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่บริสุทธิ<br />

์ มากขึ ้น<br />

เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนประกอบด้วยเยื่อแลกเปลี่ยนไอออนอยู่ระหว่างขั<br />

้วแอโนดและแคโทด คุณสมบัติ<br />

พิเศษของเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

คือ ยอมให้เฉพาะไอออนบวกผ่านได้เท่านั ้น ส่วนไอออนลบผ่านไม่ได้<br />

วิธีการ คือ ใส่สารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวและบริสุทธิ<br />

์ ลงในภาชนะด้านแอโนดและผ่านไฟฟ้ าลงไปใน<br />

สารละลาย Cl - ไม่สามารถผ่านเยื่อแลกเปลี่ยนไอออนได้<br />

ส่วน Na + ซึ ่งเป็ นไอออนบวกจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อ<br />

เข้าไปยังเซลล์จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ<br />

แอโนด Cl - จะเสีย e - กลายเป็ นแก๊ส Cl 2 ได้คือ 2Cl - (aq) → Cl 2(g) + 2e -<br />

แคโทด H 2O จะรับ e - เกิด H 2 และ OH - ดังสมการ 2H 2O(l) + 2e - → H 2(g) + 2OH - (aq)<br />

OH- ที่เกิดขึ<br />

้นยังอยู ่ที่ขั<br />

้วแคโทดเพราะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อไม่ได้<br />

เมื่อรวมกับ<br />

Na + จะได้NaOH<br />

สารละลาย NaOH ที่ได้มีความเข้มข้นร้อยละ<br />

30 – 35 โดยมวลและไม่มี NaCl ปน<br />

� ผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ<br />

โซเดียมไฮดรอกไซด์ แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สคลอรีน น าไปใช้ใน<br />

อุตสาหกรรมต่างๆ โซเดียมไฮดรอกไซด์ เป็ นสารตั ้งต้นในอุตสาหกรรมเคมีอื่น<br />

เช่น สบู่<br />

ผงซักฟอก<br />

ผงชูรส สิ<br />

่งทอ<br />

วิธีนี ้จะได้ แก๊สคลอรีน และ NaOH<br />

มีความเข้มข้นประมาณ ร้อยละ 30-40<br />

โดยมวล<br />

� ใช้แก๊สไฮโดรเจน เตรียมกรดเกลือ แก๊สแอมโมเนีย เติมแก๊สไฮโดรเจนในน ้ามันพืช<br />

� แก๊สคลอรีน ใช้ฆ่าเชื ้อโรคในน ้า ฟอกสีเยื่อกระดาษ<br />

หรือเส้นใยพืช เป็ นต้น<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.3.3 การผลิตโซดาแอชจากโซเดียมคลอไรด์<br />

โซดาเอช ชื่อทางเคมีคือ<br />

โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) การผลิตโซดาแอชในปัจจุบันใช้กระบวนการ<br />

โซดาแอมโมเนีย ซึ ่งใช้โซเดียมคลอไรด์ แคลเซียมคาร์บอเนต และแก๊สแอมโมเนียเป็ นวัตถุดิบในการผลิต<br />

ดังแผนภาพนี ้<br />

CaCO 3<br />

CaO+CO 2<br />

Ca(OH) 2<br />

H 2O<br />

NH 4Cl<br />

CaCl 2+2H 2O + NH 3<br />

สารตั ้งต้น หินปูนCaCO3 น ้าแอมโมเนีย NH3 โซเดียมคลอไรด์ NaCl<br />

การเตรียม กระบวนการโซลเวย์<br />

CaCO 3 CaO+ CO 2<br />

CaO+H 2O → Ca 2+ +OH -<br />

NH3+H2O+Na + +Cl - + -<br />

+CO2 → NaHCO3(s) +NH4 +Cl<br />

2 NaHCO 3(s) Na 2CO 3(s)+ CO 2 + H 2O<br />

NH 4 + + Cl - + Ca 2+ + 2OH - → CaCl2 (s)+ H 2O+ NH 3<br />

ผลพลอยได้ CaCl 2 เป็ นภาระในการก าจัด<br />

NaCl+H 2O<br />

ผลเสีย ใช้น ้ามาก น ้าทิ้งร้อนกระทบกระเทือนต่อสัตว์น ้า ปล่อย NH3(g) สู่อากาศ<br />

CO 2<br />

NaHCO 3+NH 4Cl<br />

NH 3<br />

CO2 +Na2CO3 + H2O<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วิธีการผลิตสารฟอกขาว<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.3.4 การผลิตสารฟอกขาว<br />

วิธีที่<br />

1 โดยการใช้ KMnO4 ใส่ในหลอดทดลอง แล้วปิ ดด้วยจุกยางที่เสียบหลอดหยดกรด<br />

HCl<br />

เข้มข้น หลอดทดลองต่อสายยางไปยังหลอดที่ใส่สารละลาย<br />

NaOH ที่แช่ในบีกเกอร์ที่มีน<br />

้าแข็งอยู่<br />

แล้วหยด<br />

กรด HCl ไปบน KMnO 4 อย่างช้าๆ พร้อมทั<br />

้งผ่านแก๊สไปยังสารละลาย NaOH ประมาณ 10 นาที แล้วหยด<br />

สารละลายที่ได้บนกระดาษลิตมัสทั<br />

้งสีน ้าเงินและสีแดง<br />

จะพบว่า เมื่อหยดกรด<br />

HCl ลงใน KMnO4 จะได้แก๊สคลอรีนเกิดขึ ้น แล้วเมื่อผ่านแก๊สคลอรีนลง<br />

ในสารละลาย NaOH จะเกิด ผลิตภัณฑ์เป็ น โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ ( NaOCl) และ โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)<br />

เนื่องจากได้ผลิตภัณฑ์เป็<br />

นสารละลาย แสดงว่า โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ ( NaOCl) ละลายน ้าได้ แล้วเมื่อ<br />

ทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสทั ้งสีน ้าเงินและแดง พบว่าจะเปลี่ยนเป็<br />

นสีขาวทั ้งคู่ ดังนั ้นจึงสรุปได้ว่า<br />

โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ (NaOCl) มีสมบัติการฟอกจางสี<br />

ซึ ่งสามารถน ามาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการฟอกย้อมเส้นด้าย ฟอกเยื่อกระดาษ<br />

ก าจัดกลิ่น<br />

และใช้เป็ นสารฆ่าเชื ้อโรคในน ้า แต่ โซเดียมไฮโปรคลอไรด์ ( NaOCl) มีสมบัติกัดกร่อนสูง ถ้าใช้ในปริมาณ<br />

มากอาจกัดกร่อนสิ ่งที่ฟอกเสียหายได้<br />

วิธีที่<br />

2 เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างแก๊สคลอรีนกับโซเดียมคาร์บอเนตหรือโซดาแอช ซึ ่งเมื่อผ่าน<br />

แก๊สคลอรีนในสารละลาย Ca(OH) 2 จะได้ Ca(OCl) 2 เป็ นตะกอนสีขาวและ CaCl 2<br />

โดยที่<br />

Ca(OCl) 2 อยู่ในรูปของแข็ง<br />

แต่ NaOCl อยู่ในรูปสารละลาย<br />

แต่ว่ามีสมบัติในการฟอกขาว<br />

เช่นเดียวกัน<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

11 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.3<br />

1. เกลือสมุทรและเกลือสินเถาว์ มีสมบัติต่างกันหรือไม่ อย่างไร<br />

สมบัติที่เหมือนกันคือ.เป็<br />

นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์เหมือนกัน<br />

สมบัติที่ต่างกันคือ<br />

เกลือสมุทรเหมาะใช ้ในการบริโภคเนื่องจากมีไอโอดีนสูงกว่า(38.5<br />

ไมโครกรัมในเกลือ10 กรัม)<br />

เกลือสินเธาว์ เป็ นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์สูงมากกว่ามีแคลเซียม<br />

แมกนีเซียม และความชื้น<br />

ต ่า เหมาะใช ้ในงานอุตสาหกรรม และมีไอโอดีนต ่า (10 ไมโครกรัมในเกลือ10 กรัม)<br />

2. จงบอกหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือสมุทรและเกลือสินเถาว์<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือสมุทร<br />

การตกตะกอน การระเหย การตกผลึก<br />

หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการผลิตเกลือสินเถาว์<br />

การตกตะกอน การกรอง<br />

การระเหย การตกผลึก<br />

3. เกลือสมุทรและเกลือสินเถาว์ มีประโยชน์ต่างกันอย่างไร<br />

เกลือสินเธาว์ เป็ นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์สูงมาก<br />

มีแคลเซียม แมกนีเซียม และ<br />

ความชื้นต<br />

่า เหมาะใช ้ในงานอุตสาหกรรม<br />

เกลือสมุทร เหมาะใช ้ในการบริโภคเนื่องจากมีไอโอดีนสูงกว่า<br />

4. การผลิตเกลือสินเถาว์มีวิธีการท าให้บริสุทธิ ์ อย่างไร<br />

� เพื่อก<br />

าจัดแมกนีเซียมไอออนโดยเติมสารละลาย NaOH<br />

� เพื่อก<br />

าจัดแคลเซียมไอออนเติมสารละลาย Na2CO3<br />

� ก าจัดไอออนต่างๆออก(SO4 2- ,CO3 2- ) โดยเติม CaCl2 ในปริมาณที่พอเหมาะลงไป<br />

จะเกิด<br />

CaSO4 และ CaCO3 ซึ่งไม่ละลายน<br />

้า สารละลายที่ได<br />

้สามารถน าไปตกผลึกเป็ น NaCl<br />

5. การผลิตเกลือสินเถาว์ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ<br />

่งแวดล้อมอย่างไร และจะแก้ไขได้อย่างไร<br />

การผลิตถ ้าขาดความระมัดระวังอาจก่อให ้เกิดปัญหาสิ ่งแวดล ้อมได ้โดยเฉพาะปัญหาการ<br />

แพร่กระจายของดินเค็ม ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช<br />

ท าให ้การเพาะปลูกไม่ได ้ผล นอกจากนี้ถ<br />

้า<br />

มีเกลืแพร่กระจายเข ้าสู่แม่น<br />

้าล าคลองก็จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น ้า<br />

ปัจจุบันได ้มีการตกผลึกเกลือโดยใช ้หม ้อเคี่ยวระบบสุญญากาศเพื่อลดปัญหาการแพร่กระจาย<br />

ของดินเค็ม นอกจากนี้ยังท<br />

าให ้เกิดการยุบตัวของดินบริเวณที ่มีการผลิตเกลือจากชั้นเกลือหินอีกด ้วย<br />

6. ธาตุไอโอดีนมีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไร และควรบริโภคเกลือชนิดใดจึงจะไม่ขาดธาตุไอโอดีน<br />

ธาตุไอโอดีนที่ร่างกายรับเข<br />

้าไป จะถูกเก็บที่ต่อมไทรอยด์<br />

ซึ่งต่อมนี้ควบคุมการท<br />

างานของสมอง<br />

ประสาทและเนื้อเยื่อต่างๆ<br />

ถ ้าขาดไอโอดีนตั้งแต่เด็กร่างกายจะแคระแกรน รูปร่างหน้าตา<br />

สติปัญญาผิดปกติ หูหนวก เป็ นใบ ้ ตาเหล่ แขนขาเป็ นอัมพาต ดังนั้นควรบริโภคเกลือที่มีธาตุ<br />

ไอโอดีนสูงคือเกลือสมุทร<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

หน่วยย่อยที่<br />

2.4 อุตสาหกรรมปุ ๋ ย<br />

2.4.1 ประเภทของปุ ๋ ย<br />

ปุ ๋ ย หมายถึง สารที่ใส่ลงในดินเพื่อให้ปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช<br />

โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน<br />

ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมช่วยให้พืชเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลผลิตสูงแบ่ง<br />

ปุ ๋ ยออกเป็ น 2 ประเภทคือ ปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมี<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ เป็ นปุ ๋ ยธรรมชาติที่ได้จากการเน่าเปื<br />

่ อยผุพังของซากสิ ่งมีชีวิต ปุ ๋ ยชนิดนี ้เมื่อใส่ในดินซาก<br />

สิ่งมีชีวิตเหล่านั<br />

้นจะค่อยๆสลายตัวและปล่อยธาตุอาหารออกมาให้พืช ช่วยท าให้ดินร่วนซุยและสามารถดูด<br />

ซับน ้าและปุ ๋ ยได้ดี แต่มีข้อเสียคือมีธาตุอาหารน้อยรวมทั ้งมีปริมาณและสัดส่วนไม่แน่นอน<br />

ปุ ๋ ยเคมี ได้จากการผลิตหรือสังเคราะห์จากธาตุต่างๆ จะมีธาตุอาหารหลักที่จ<br />

าเป็ นต่อการ<br />

เจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสามารถปล่อยให้แก่พืชได้ง่ายและ<br />

เร็ว<br />

ปุ ๋ ยเคมีมี 2 ประเภท<br />

� ปุ ๋ ยเดี่ยวหรือแม่ปุ<br />

๋ ย เป็ นสารประกอบที่มีธาตุอาหารพืชอยู่หนึ<br />

่งหรือสองธาตุเป็ น<br />

องค์ประกอบ มีปริมาณธาตุอาหารของพืชคงที่<br />

เช่น ปุ ๋ ยยูเรีย และปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต<br />

� ปุ ๋ ยผสม เป็ นปุ ๋ ยที่ได้จากการน<br />

าปุ ๋ ยเดี่ยวแต่ละชนิดมาผสมกัน<br />

เพื่อให้ปุ<br />

๋ ยผสมที่ได้มีสัดส่วน<br />

ของธาตุอาหาร N P และK ตามต้องการ<br />

2.4.2 ปุ ๋ ยไนโตรเจน<br />

ปุ ๋ ยไนโตรเจน เป็ นปุ ๋ ยที่มีไนโตรเจนในรูปสารประกอบต่างๆ<br />

โดยปุ ๋ ยไนโตรเจนจะช่วยให้พืชมีล า<br />

ต้นและใบแข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่างเพียงพอ ได้แก่<br />

1. ปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต เตรียมได้จาก แก๊ส NH3 กับH2SO4 ดังนี ้<br />

2NH 3 (g) + H 2SO 4 (aq) → (NH 4) 2SO 4 (s)<br />

2. ปุ ๋ ยยูเรีย เตรียมได้จาก NH2CO2NH4 ซึ ่งจะสลายตัวได้ NH2CO2NH2 กับ น ้า<br />

2NH 3 (g) + CO 2 (g) → NH 2CO 2NH 4 (aq)<br />

NH 2CO 2NH 4 (aq) → NH 2CO 2NH 2 (aq) + H 2O (l)<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


วัตถุดิบส าคัญที่ใช้ผลิต<br />

คือ<br />

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. CO2 ได้จาก<br />

CH4 (g) + O2 (g) → 2CO (g) + 4H2 (g)<br />

CO (g) + H2O (g) → CO2 (g) + H2 (g)<br />

2. NH3 ได้จาก<br />

N2 (g) + 3H2 (g) → 2 NH3 (g)<br />

3. H2SO4 ได้จาก น าสารละลายโอเลียมมาละลายน ้า สารละลายโอเลียม ได้จาก<br />

SO3 (g) + H2SO4 (aq) → H2S2O7 (aq)<br />

ก ามะถัน อากาศ<br />

ลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน<br />

ก ามะถันเหลว<br />

SO 2<br />

SO 3<br />

H 2S 2O 7<br />

น ้า<br />

H 2SO 4 เข้มข้น<br />

NH 3+ H 2SO 4<br />

แอมโมเนียมซัลเฟต<br />

(NH 4) 2 SO 4<br />

H 2SO 4 เข้มข้น<br />

อากาศเหลว<br />

O 2<br />

N 2+ H 2<br />

1 : 3<br />

NH 3<br />

แยกล าดับส่วน<br />

ขั ้นตอนการผลิตปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตและปุ ๋ ยยูเรีย<br />

N 2<br />

กระบวนการ<br />

ฮาร์เบอร์<br />

แก๊สธรรมชาติ<br />

แก๊สมีเทน<br />

CO+CO 2+H 2<br />

H 2<br />

แก๊สอื่นๆ<br />

CO+CO 2<br />

ไอน ้า<br />

CO 2+H 2<br />

CO 2<br />

NH 3+CO 2<br />

ยูเรีย<br />

(NH2CONH2) ละลายน<br />

้า<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.4.3 ปุ ๋ ยฟอสเฟต<br />

เป็ นปุ ๋ ยเคมีที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ซึ ่งสร้างเสริมการเจริญเติบโตและ<br />

ความแข็งแรงของพืชทั ้งส่วนราก ล าต้น ใบ ตลอดจนการออกดอกออกผล การผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตในปัจจุบันใช้<br />

หินฟอสเฟต (CaF2.3Ca3(PO4) 2) เป็ น วัตถุดิบ แหล่งหินฟอสเฟตในประเทศไทยมีมากหลายจังหวัด เช่น<br />

จังหวัด ร้อยเอ็ด กาญจนบุรี ล าพูน เพชรบูรณ์ และราชบุรี หินฟอสเฟตจากแหล่งหินดังกล่าวมี ฟอสฟอรัสคิด<br />

เป็ นปริมาณของ P2O5 อยู่ถึงร้อยละ<br />

20-40 จึงมีการน าหินฟอสเฟตที่บดละเอียดแล้วใส่ลงในดินเพื<br />

่อใช้เป็ นปุ ๋ ย<br />

โดยตรง แต่หินฟอสเฟตละลายน ้าได้น้อยมาก พืชจึงน าฟอสฟอรัสไปใช้ประโยชน์ได้ไม่เกินร้อยละ5ของ<br />

P2O5 ที่มีอยู่<br />

ท าให้ต้องใช้หินฟอสเฟตในปริมาณมากซึ ่งไม่คุ ้มค่า จึงมีการน าหินฟอสเฟตมาใช้ผลิตปุ ๋ ย<br />

ฟอสเฟต<br />

การผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตเริ่มจากการน<br />

าหินฟอสเฟต มาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ<br />

100-1200 ๐ C ประมาณ2ชั่วโมง<br />

จะเกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

ดังนี ้<br />

2(CaF 2.3Ca 3(PO 4) 2)+5SiO 2+6Na 2CO 3 → 12CaNaPO 4+4Ca 2SiO 4+SiF 4+6CO 2<br />

น าสารผสมที่ได้จากการเผาเทลงในน<br />

้าเพื่อท<br />

าให้เย็นลงทันที จะได้สารที่มีลักษณะพรุน<br />

เปราะและ<br />

บดให้ละเอียดได้ง่าย สามารถใช้เป็ นปุ ๋ ยฟอสเฟตที่ให้<br />

P2O5 ได้ถึงร้อยละ 27.5 จึงเป็ นวิธีหนึ ่งที่น<br />

าหินฟอสเฟต<br />

มาใช้อย่างคุ้มค่า<br />

นอกจากนี ้ การน าหินฟอสเฟตมาท าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิ วริก จะท าให้ได้ปุ ๋ ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูง<br />

ขึ ้น ซึ ่งมีขั ้นตอนการผลิต ดังนี ้<br />

ขั ้นแรก น าหินฟอสเฟตที่บดแล้วมาท<br />

าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิ วริก ที่มีความเข้มข้น4-5<br />

mol/dm 3<br />

ปฏิกิริยาจะเกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ว ได้กรดฟอสฟอริก (H3PO4) ดังสมการ<br />

CaF 2.3Ca 3(PO 4) 2+10H 2SO 4 → 6H 3PO 4+10CaSO 4+2HF<br />

ขั ้นที่สอง<br />

กรดฟอสฟอริกที่เกิดขึ<br />

้นจะท าปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที ่เหลือ ปฏิกิริยาในขั ้นนี ้เกิดขึ ้น<br />

อย่างช้าๆต้องเก็บ หรือบ่มไว้ประมาณ1เดือน เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดขึ<br />

้นอย่างสมบูรณ์ ได้มอนอแคลเซียม<br />

ฟอสเฟตดังสมการ<br />

CaF 2.3Ca 3(PO 4) 2+14H 2PO 4 → 10Ca(H 2PO 4) 2+2HF<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

มอนอแคลเซียมฟอสเฟตหรือปุ ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน ้าได้ดี พืชจึงสามารถน าไปใช้ประโยชน์<br />

ได้อย่างเต็มที่<br />

นอกจากนี ้ ยังสามารถผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตโดยน าหินฟอสเฟตมาท าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิ วริก ดัง<br />

สมการ CaF2.3Ca3(PO4) 2+7H2SO4+ 3H2O → 3Ca(H2PO2) 2.H2O+7CaSO4+2HF จากปฏิกิริยาทั ้งสามที่กล่าวมาแล้ว<br />

พบว่าในส่วนประกอบของหินฟอสเฟตจะมีสาร CaF2 ผสมอยู่<br />

ด้วย เมื่อท<br />

าปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเหยกลายเป็<br />

นไอได้ง่ายและเป็ นพิษ<br />

หินฟอสเฟตส่วนมากจะมีทราย (SiO2) ปนอยู่ด้วย<br />

แก๊ส HF ที่เกิดขึ<br />

้นจากกระบวนการผลิตปุ ๋ ย<br />

บางส่วนจะท าปฏิกิริยากับทราย เกิดเป็ นแก๊ส SiF4 ซึ ่งรวมกับ H2O ได้ทันทีเกิดเป็ น H2SiF6 หรืออาจน า SiO2 มาท าปฏิกิริยาโดยตรงกับแก๊ส HF ที่เกิดขึ<br />

้น เพื่อให้เกิดเป็<br />

น H2SiF6 และเมื่อน<br />

ามาท าปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะ<br />

ได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ ( MgSiF6 ) ซึ ่งใช้เป็ นสารก าจัดแมลงได้ ปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้น เขียนแสดงได้ดังนี ้<br />

6HF+SiO 2 → H 2SiF 6+2H 2O<br />

H 2SiF 6+MgO → MgSiF 6+H 2O<br />

HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็ นไอ จึงก าจัดโดยการผ่านแก๊สลงในน ้า ท าให้ได้สารละลายที่มีสภาพ<br />

เป็ นกรดซึ ่งท าให้เป็ นกลางได้โดยท าปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน เกิดปฏิกิริยาดังนี ้<br />

2HF + Na 2CO 3 → 2NaF + H 2O + CO 2<br />

2HF + CaCO 3 → CaF 2 + H 2O + CO 2<br />

☽☼♫☺β∆☻√↔☽☼♫☺β∆☻√↔☽☼♫☺β∆☻√↔<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.4.3 ปุ ๋ ยโพแทส<br />

ปุ ๋ ยโพแทสคือปุ ๋ ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็<br />

นองค์ประกอบ ปุ ๋ ยชนิดนี ้นิยมบอกความเข้มข้นเป็ นค่า<br />

ร้อยละโดยมวลของ K2O ในสมัยก่อนแหล่งของปุ ๋ ยโพแทสได้จากขี ้เถาจากเตาถ่าน หรือจากการเผากิ่งไม้<br />

ใบไม้และเศษเหลือของพืช<br />

ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็ นจ านวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูปของแร่คาร์นัลไลต์<br />

(KCl∙MgCl2∙6H2O) และแร่ซิลวาไนต์ ( KCl∙NaCl) ซึ ่งใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ ๋ ยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น<br />

โพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) และโพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4∙2MgSO4) ปุ ๋ ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากการน า แร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วท าให้บริสุทธิ ์ โดย<br />

ละลายแร่ในน ้าอุณหภูมิประมาณ 90 ◦C เติมสารละลาย NaCl อิ่มตัวลงไปกรองแยกโคลนและตะกอนออก<br />

ระเหยน ้าเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ<br />

้นจนท าให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้งจะได้ปุ ๋ ย<br />

ชนิดนี ้จากน ้าทะเล โดยการระเหยน ้าทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื ่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ ้นเกลือ<br />

NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน น าสารละลายที่ได้ไประเหยน<br />

้าออกเพื่อท<br />

าให้มีความเข้มข้นมากขึ ้นท าให้<br />

KCl ตกผลึกออกมาและใช้เป็ นปุ ๋ ย KCl ได้<br />

ส่วนปุ ๋ ยโพแทสเซียมซัลเฟต ผลิตได้จากการน าแร่แลงไบไนต์ (K2SO4∙2MgSO4) มาละลายในน ้าอุณ<br />

ภูมิประมาณ 50 ◦C จนเป็ นสารละลายอิ่มตัว<br />

แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นละไป จะได้ผลึก K2SO4 แยก<br />

ออกมาดังสมการ<br />

K 2SO 4∙2MgSO 2 + 4KCl → 2MgCl 2 + 3K 2SO 4<br />

นอกจากนี ้ถ้าน า KCl มาท าปฏิกริยากับ NaNO3 จะได้ปุ ๋ ยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) ดังสมการ<br />

KCl + NaNO 3 → NaCl + KNO 3<br />

โพแทสเซียมเป็ นธาตุอาหารที่จ<br />

าเป็ นต่อพืชมากท าให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ ้น สร้างภูมิต้านทาน<br />

โรค และเป็ นตัวเร่งให้เซลล์ท างานได้ดีขึ ้น ถ้าพืชขาดโพแทสจะท าให้มีปริมาณแป้ งต ่ากว่าปกติ ผลผลิตลด<br />

น้อยลง ขอบใบมีสีซีด ล าต้นอ่อน แคระแกรนและเมล็ดลีบ<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.4.5 ปุ ๋ ยผสม<br />

ปุ ๋ ยผสมได้จากการน าปุ ๋ ยไนโตรเจน ฟอสเฟตและโพแทสมาผสมกัน มีวิธีผลิต 2ลักษณะ<br />

1.การผลิตในลักษณะเชิงผสม<br />

2.การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ<br />

การผลิตในลักษณะเชิงผสม เป็ นวิธีที่ใช้ในโรงงานส่วนใหญ่ในประเทศ<br />

ซึ ่งอาจเป็ น<br />

1. แบบผสมเป็ นเนื ้อเดียว โดยการน าแม่ปุ ๋ ยและส่วนผสมต่างๆมาบดให้เข้ากันแล้วอัดเป็ นเม็ด ใน<br />

แต่ละเม็ดจะมีธาตุอาหารตรงตามสูตรที ่ต้องการ<br />

2. การน าแม่ปุ ๋ ยและส่วนผสมต่างๆมาคลุกเคล้าให้เข้ากันหรือน าแม่ปุ ๋ ยที่มีขนาดเม็ดใกล้เคียงกันมา<br />

ผสมกัน เพื่อให้ได้สูตรตามต้องการ<br />

และอาจมีการบดให้ละเอียดจนเข้ากันดี ท าให้ปุ ๋ ยแต่ละเม็ดอาจมีธาตุ<br />

อาหารแตกต่างกัน<br />

การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ เป็ นการน าวัตถุดิบที ่ใช้ในการผลิตแม่ปุ ๋ ยมาผสมและให้ท าปฏิกิริยา<br />

กัน เกิดเป็ นสารประกอบต่างๆเพื่อให้ได้ปุ<br />

๋ ยตามสูตรที่ต้องการ<br />

ปุ ๋ ยวิทยาศาสตร์มีประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร<br />

แต่ถ้าใช้ในปริมาณมากและต่อเนื่อง<br />

เป็ นเวลานาน จะเกิดการสะสมของสารเคมีในดิน ท าให้ดินมีสภาพเป็ นกรด ดินแข็งและเสื่อมสภาพจนเป็<br />

น<br />

ผลเสียต่อการเพาะปลูกได้ การเพาะปลูกโดยอนุรักษ์สภาพดินให้คงความสมบูรณ์ตามธรรมชาติ หรือการ<br />

ท าเกษตรธรรมชาติจะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้<br />

จากการศึกษาอุตสาหกรรมปุ ๋ ยและอุตสาหกรรมอื่นๆ<br />

เป็ นการน าหลักการทางเคมีมาใช้พัฒนา<br />

ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

เฉลยแบบฝึ กหัดที่<br />

12 ประกอบหน่วยย่อยที่<br />

2.3-2.4<br />

1. สารละลายโซดาแอชมีสมบัติเป็ นกรดหรือเบส จงอธิบายพร้อมทั ้งเขียนสมการ<br />

สารละลายโซดาแอชมีสมบัติเป็ นเบส ดังสมการต่อไปนี้<br />

Na2CO3 (aq) → 2Na + (aq) + CO3 2- (aq)<br />

CO3 2- (aq) จะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ดังสมการ CO3 2- (aq) + H2O (l)→<br />

HCO3 - (aq) + OH - (aq)<br />

2. นักเรียนคิดว่า โซเดียมไฮดรอกไซด์และโซดาแอชมีความส าคัญต่ออุตสาหกรรมในประเทศไทยอย่างไร<br />

1. มีความจ าเป็ นต่ออุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน<br />

เพื่อน<br />

าไปผลิตเป็ นอุตสาหกรรมต่อเนื่อง<br />

เช่น<br />

การผลิตสบู่<br />

ผงชูรส ทอผ ้า สารเคมี<br />

2. ได ้น าทรัพยากรธรรมชาติที่มีปริมาณมากและราคาถูกมาใช<br />

้ในการผลิต<br />

3. เป็ นการสร ้างแรงงานและกระจายรายได ้สู่ชนบท<br />

4. ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศ ไม่ต ้องน าเข ้าจากต่างประเทศ<br />

3. ในกระบวนการผลิตโซดาแอช ถ้าแอมโมเนียเกิดการรั่ว<br />

จะเกิดผลเสียอย่างไร<br />

1. ระบบหายใจแก๊สนี ้จะไปรีดิวซ์ออกซิเจนในอากาศ ท าให้ออกซิเจนในอากาศลดลง<br />

2. ผลต่อการเกษตร เมื่อแก๊สนี<br />

้ละลายน ้า ท าให้น ้าเป็ นเบส มีผลต่อการเกษตร<br />

4. การผลิตโซดาแอชด้วยกระบวนการซลเวย์ มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร<br />

ข้อดี 1. ใชเงินลงทุนต ่ากว่าวิธีอื่น<br />

2. ไม่ต้องมีโรงงานผลิตNH3 เพราะสามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้<br />

ข้อเสีย 1. ต้องใช้น ้าจืดในกระบวนการผลิตปริมาณมาก<br />

2. น ้าทิ้งจะมีอุณหภูมิประมาณ 75 องศาเซลเซียส<br />

3. ผลพลอยได้จากการผลิตคือ CaCl2เป็ นปัญหาต่อการก าจัด<br />

4. ผลผลิตต ่าเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของเกลือที<br />

่ใช้ ท าให้มีเกลือเหลือทิ้งไปกับน ้ามี<br />

ปริมาณมาก<br />

5. ในการเตรียมสารฟอกขาวโซเดียมไฮโปคลอไรด์ เพราะเหตุใดต้องแช่โซเดียมไฮดรอกไซด์ในน<br />

้าแข็ง<br />

เพราะปฏิกิริยาที ่ใชเตรียมสารฟอกขาวเป็ ้<br />

นปฏิกิริยาคายความร ้อน ซึ่งความร<br />

้อนจะท าให ้<br />

NaOCl สลายตัวได ้ง่าย<br />

6. สารฟอกขาวช่วยให้เสื ้อผ้าขาวขึ ้น แต่ถ้าใช้ในปริมาณมากเกินไปจะเกิดผลเสียอย่างไร<br />

สารนี้จะไปกัดกร่อนเส<br />

้นใยของเสื้อผ<br />

้าให ้ขาดเร็ว และท าให ้สีของเสื ้อผ ้าซีดจาง<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

7. ปุ ๋ ยมีกี่ประเภทและแต่ละประเภทมีองค์ประกอบอย่างไร<br />

และมีกระบวนการผลิตอย่างไร<br />

ปุ ๋ ยออกเป็ น 2 ประเภทคือ ปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมี<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ เป็ นปุ ๋ ยธรรมชาติที่ได<br />

้จากการเน่าเปื ่อยผุพังของซากสิ่งมีชีวิต<br />

ปุ ๋ ยชนิดนี้เมื่อ<br />

ใส่ในดินซากสิ ่งมีชีวิตเหล่านั้นจะค่อยๆสลายตัวและปล่อยธาตุอาหารออกมาให ้พืช ช่วยท าให ้ดิน<br />

ร่วนซุยและสามารถดูดซับน ้าและปุ ๋ ยได ้ดี แต่มีข้อเสียคือมีธาตุอาหารน้อยรวมท ั้งมีปริมาณ<br />

และส ัดส่วนไม่แน่นอน<br />

ปุ ๋ ยเคมี ได ้จากการผลิตหรือสังเคราะห์จากธาตุต่างๆ จะมีธาตุอาหารหลักที่จ<br />

าเป็ นต่อ<br />

การเจริญเติบโตของพืช ได ้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสามารถปล่อย<br />

ให ้แก่พืชได ้ง่ายและเร็ว<br />

8. NH3 H2SO4 และ แก๊ส CO2 คือวัตถุดิบในการเตรียมปุ ๋ ยไนโตรเจน แต่ละชนิดมีวิธีการเตรียมอย่างไร<br />

เตรียม NH3 จาก N2(g) + H2 (g) → 2NH3(g) โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาคือ FeO ที่<br />

T 300-500 องศาC<br />

ความดัน 150-350 atm โดยที่<br />

N2(g) มาจากการกลั่นล<br />

าดับส่วนของอากาศเหลว และ H2 (g) มาจากปฏิกิริยา<br />

ดังต่อไปนี ้ 1. 2 CH4 + O2 → 2CO + 4H2 โดยมีโลหะนิเกิลเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา<br />

2. CH 4 + H 2O →CO + 3H 2<br />

3. CO + + H 2O → CO 2 + H 2โดยมี FeO หรือ Cr 2O 3เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา T = 400 องศาC<br />

เตรียม H 2SO 4 ตามขั<br />

้นตอน<br />

1.เตรียมแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จากปฏิกิริยาหนึ ่งต่อไปนี ้<br />

1.1 S (s) + O 2 (g) → SO 2 (g)<br />

1.2 4 FeS 2 (s) + 11 O 2 (g) → 2 Fe 2O 3 (s) + 8 SO 2 (g)<br />

2.เตรียมแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ ดังสมการ<br />

2 SO 2 (g) + O 2 (g) 2 SO 3 (g) + พลังงาน<br />

3.ให้แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ละลายในกรดซัลฟุริกเข้มข้น 98 % ได้ Oleum (H2SO4.SO3 ) หรือ<br />

H2S2 O7 ดังสมการ H2SO4 (aq) + SO3 (g) → H2S2 O7 (l)<br />

4.น า Oleum ที่ได้ผสมกับน<br />

้ากลั่นให้ได้กรดซัลฟุริกเข้มข้น<br />

98 % ดังสมการ<br />

H 2S 2 O 7 (l) + H 2O (l) → 2 H 2SO 4 (aq)<br />

เตรียม CO2 มาจากกระบวนการผลิตแก๊ส H2 ซึ ่ง CO2 ที่เกิดขึ<br />

้นจะละลายน ้าเกิดเป็ นกรด H2CO3 ซึ ่ง<br />

สามารถน าไปแยกออกด้วยการเพิ<br />

่ม T ลด P<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

9. เพราะเหตุใดในจึงไม่เตรียม H 2SO 4โดยวิธีให้แก๊ส SO 3 ท าปฏิกิริยากับน<br />

้าโดยตรง<br />

1. SO3 ท าปฏิกิริยากับ H2O ได ้ยาก ท าให ้เกิดการสูญเสีย SO3 จึงมีผลิตภัณฑ์เกิดน ้อย<br />

2. ปฏิกิริยา SO3 + H2O เป็ นปฏิกิริยาคายความร ้อน เกิดความร ้อนสูงมาก<br />

3. น า SO3 ละลายใน H2SO4 ที่เข<br />

้มข ้นเกือบบริสุทธิ์ท<br />

าได ้ง่ายกว่า ต ้นทุนถูกกว่าสะดวก<br />

และได ้ผลิตภัณฑ์มากโดยไม่มีการสูญเสีย SO3<br />

10. ปุ ๋ ยไนโตรเจนมีประโยชน์ใดต่อพืช<br />

ปุ ๋ ยไนโตรเจนจะช่วยให ้พืชมีล าต ้นและใบแข็งแรง สามารถสร ้างโปรตีนได ้อย่างเพียงพอ<br />

11. ธาตุฟอสฟอรัสซึ ่งอยู่ในสารประกอบฟอสเฟต<br />

มีประโยชน์ต่อพืชคือ<br />

ธาตุฟอสฟอร ัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ซึ่งสร<br />

้างเสริมการเจริญเติบโตและ<br />

ความแข็งแรงของพืชทั้งส่วนราก ล าต้น ใบ ตลอดจนการออกดอกออกผล<br />

12. วัตถุดิบในการผลิตปุ ๋ ยฟอสเฟตคือ<br />

หินฟอสเฟต (CaF2.3Ca3(PO4)2) เป็ น ว ัตถุดิบ<br />

13. แก๊ส HF ที่เกิดจากกระบวนการผลิตบางส่วน<br />

ระเหยกลายเป็ นไอได้ง่ายและเป็ นพิษ นักเรียนคิดว่ามี<br />

วิธีการใดบ้างที่ก<br />

าจัด HF ได้<br />

HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็ นไอ จึงก าจ ัดโดยการผ่านแก๊สลงในน ้า ท าให ้ได ้<br />

สารละลายที่มีสภาพเป็<br />

นกรดซึ่งท<br />

าให ้เป็ นกลางได ้โดยท าปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน<br />

14. ปุ ๋ ยโพแทสมีขั ้นตอนการผลิตอย่างไร<br />

1.ผลิตได ้จากการน าแร่ซิลวาไนต์ มาบดให ้ละเอียดแล ้วท าให ้บริสุทธิ์<br />

โดยละลายแร่ใน<br />

น ้าอุณหภูมิประมาณ 90◦C เติมสารละลาย NaCl อิ่มตัวลงไปกรองแยกโคลนและตะกอนออก<br />

ระเหยน ้าเพื่อให<br />

้สารละลายมีความเข ้มข ้นมากขึ้นจนท<br />

าให ้ KCl ตกผลึกแยกผลึกออกแล ้วอบให ้<br />

แห ้งจะได ้ปุ ๋ ยชนิด<br />

2.ปุ ๋ ยชนิดนี้จากน<br />

้าทะเล โดยการระเหยน ้าทะเลด ้วยความร ้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให<br />

้มี<br />

ความเข ้มข ้นสูงขึ้นเกลือ<br />

NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน น าสารละลายที่ได<br />

้ไประเหยน ้าออก<br />

เพื่อท<br />

าให ้มีความเข ้มข ้นมากขึ้นท<br />

าให ้ KCl ตกผลึกออกมาและใชเป็ ้ นปุ ๋ ย KCl ได ้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

15. กระบวนการผลิตปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมี ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์อย่างไรบ้าง<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ใช ้การหมักหรือการย่อยสลายตามธรรมชาติ<br />

ปุ ๋ ยเคมีใช ้การควบแน่น การกลั่นล<br />

าดับส่วน การละลาย การตกผลึก<br />

16. ปุ ๋ ยอินทรีย์และปุ ๋ ยเคมีมีประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรอย่างไร<br />

ปุ ๋ ยอินทรีย์ เมื่อใส่ในดินซากสิ<br />

่งมีชีวิตเหล่านั้นจะค่อยๆสลายตัวและปล่อยธาตุอาหาร<br />

ออกมาให ้พืช ช่วยท าให ้ดินร่วนซุยและสามารถดูดซับน ้าและปุ ๋ ยได ้ดี แต่มีข้อเสียคือมีธาตุ<br />

อาหารน้อยรวมท ั้งมีปริมาณและส<br />

ัดส่วนไม่แน่นอน<br />

ปุ ๋ ยเคมี จะมีธาตุอาหารหลักที่จ<br />

าเป็ นต่อการเจริญเติบโตของพืช ได ้แก่ ธาตุไนโตรเจน<br />

ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสามารถปล่อยให ้แก่พืชได ้ง่ายและเร็ว<br />

17. การใช้ปุ ๋ ยเคมีในปริมาณมากและต่อเนื่องเป็<br />

นเวลานาน และท าให้ดินเป็ นกรด ดินแข็งและเสื่อมสภาพ<br />

เป็ นเพราะสาเหตุใด<br />

1.ปุ ๋ ยเคมีไม่มีสมบัติในการปรับปรุงดิน ไม่ท าให ้ดินร่วนซุย<br />

2.ปุ ๋ ยเคมีเช่นปุ ๋ ย N ในรูป NH4 + เมื่อใช<br />

้ไปนานๆ จะท าให ้เกิดกรดมากขึ ้น เพราะ<br />

เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน ้าหรือความชื้นในน<br />

้า ดังสมการ<br />

NH4 + + H2O NH3 + H3O +<br />

18. การตั ้งโรงงานปุ ๋ ยแห่งชาติมีประโยชน์อย่างไร<br />

สามารถน าวัคถุดิบซึ่งอยู่ในแหล่งทรัพยากรธรรมชาติมาใช<br />

้ เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ ๋ ย<br />

และปุ ๋ ยที่ผลิตได<br />

้สามารถน ามาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเพื<br />

่อการบริโภคภายในประเทศและส่ง<br />

เป็ นสินค ้าออก เพื่อน<br />

ารายได ้เข ้าสู่ประเทศ<br />

และลดการสั่งปุ<br />

๋ ยจากภายนอกประเทศ เป็ นการ<br />

ประหยัดเงินตราของประเทศไว ้ได ้<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

1. องค์ประกอบเคมีที่ส<br />

าคัญของดินคือข้อใดบ้าง<br />

แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่<br />

2.2 - 2.4<br />

1. SiO 2 , Al 2O 3 2. Fe 2O 3 , CaO 3. MgO , K 2O 4. Na 2O<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 1,2 และ 4 ค. ข้อ 1 และ 4 ง. ข้อ 1,2,3 และ 4<br />

2. เฟลด์สปาร์ชนิดใด ใช้เป็ นส่วนประกอบในน ้าเคลือบและใช้ผสมในเนื ้อดิน<br />

ก. โซดาเฟลด์สปาร์ ข. โพแทชเฟลด์สปาร์<br />

ค. แคลเซียมเฟลด์สปาร์ ง. เฟลด์สปาร์หินฟันม้า<br />

3. เฟลด์สปาร์ชนิดใดใช้เป็ นส่วนผสมในเนื ้อดินปั ้ น<br />

ก. โซดาเฟลด์สปาร์ ข. โพแทชเฟลด์สปาร์<br />

ค. แคลเซียมเฟลด์สปาร์ ง. เฟลด์สปาร์หินฟันม้า<br />

4. วัตถุดิบชนิดใดมีสมบัติดังนี ้<br />

1. ท าหน้าที่ช่วยให้ส่วนผสมเกิดการหลอมเหลวที<br />

่อุณหภูมิต ่า<br />

2. ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็<br />

นเนื ้อแก้วในผลิตภัณฑ์<br />

3. ท าให้เกิดความโปร่งใส<br />

ก. เฟลด์สปาร์ ข. ควอตซ์ ค. แร่โดโลไมต์ ง. ดินขาว<br />

5. ดินขาวผสมกับสิ่งใดท<br />

าให้เนื ้อดินแน่นขึ ้นและเนียนขึ ้น สะดวกในการขึ ้นรูปและท าผลิตภัณฑ์<br />

ก. ดินเหนียว ข. เฟลด์สปาร์ ค. ควอตซ์ ง. โดโลไมต์<br />

6. สารประกอบออกไซด์คู่ใด ใช้เป็ นวัตถุดิบเซรามิกส์ชนิดวัตถุทนไฟ<br />

ก. BeO , Al 2O 3 ข. SiO 2 , B 2O 3 ค. SiO 2 , BeO ง. SnO 2 ZnO<br />

7. วัตถุดิบผลิตเซรามิกส์ใดท าหน้าที่เป็<br />

นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์และช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ<br />

ก. ควอตซ์ ข. ดินขาว ค. ดินเหนียว ง. เฟลด์สปาร์<br />

8. ดิกไคต์มีองค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน ดิกไคต์ที่ประกอบด้วยอะลูมินาร้อยละเท่าใด<br />

โดยมวล จึงมีลักษณะเหมือนหินแข็ง จึงน ามาแกะสลักเป็ นรูปต่างๆ<br />

ก. 11-28 ข. 28-32 ค. 32-46 ง. น้อยกว่า 12<br />

9. จากข้อ 8 ดิกไคต์ที่ประกอบด้วยอะลูมิ<br />

นาร้อยละเท่าใดโดยมวล เพื่อน<br />

ามาผลิตวัสดุทนไฟและท ากระเบื ้องปูพื ้น<br />

ก. 11-28 ข. 28-32 ค. 32-46 ง. น้อยกว่า 12<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

10. การขึ ้นรูปผลิตภัณฑ์วัสดุทนไฟและกระเบื ้อง จะใช้วิธีใด<br />

ก. การเทแบบ<br />

ข. การใช้เครื่องขึ<br />

้นรูป<br />

ค. การอัดเนื้อดินผ่านหัวแบบและการอัดผงเนื้อดินลงในแบบโลหะด้วยแรงอัดสูง<br />

ง. การใช้แป้ นหมุน<br />

่ ่<br />

11. กลุ่มสารที่ใช้ลดอุณหภูมิของการหลอมเหลวของน<br />

้าเคลือบ ประกอบด้วยออกไซด์ของธาตุหมู่ใด<br />

1. หมู IA 2’ หมู IIA 3. หมู่โลหะแทรนซิชัน<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 เท่านั ้น ค. ข้อ 3 เท่านั ้น ง. ข้อ 1 และ 3<br />

12. แก้วผลิตจากซิลิกา โซดาแอช หินปูน โดโลไมต์และเศษแก้ว เศษแก้วที่เติมลงไปคิดเป็<br />

นร้อยละเท่าใด<br />

ก. 30 ข. 40 ค. 45 ง. 55<br />

13. สารใด่ชวยลดอุณหภูมิในการหลอมเหลวของซิลิกาในแก้วและช่วยเพิ ่มความแกร่งในเนื ้อแก้ว<br />

1. โซดาแอช 2. โดโลต์ 3. หินปูน<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 3 ค. ข้อ 3 เท่านั ้น ง. ข้อ 1 ,2 และ 3<br />

14. วัตถุดิบในข้อ 13 น ามาหลอมรวมเข้าด้วยกันในเตาเผาที ่อุณหภูมิเท่าใด<br />

ก. 1,500 �C ข. 1,600 �C ค. 1,700 �C ง. 1,800 �C<br />

15. แก้วน ้า ขวดน ้า ภาชนะแก้ว และกระจกแผ่น จัดเป็ นแก้วประเภทใด<br />

ก. แก้วโซดาไลม์ ข. แก้วโบโรซิลิเกต ค. แก้วคริสตัล ง. แก้วโอปอล<br />

16. แก้วโซดาไลม์มีองค์ประกอบของ SiO 2 Na 2O CaO ร้อยละโดยมวลเท่าใด ตามล าดับ<br />

ร้อยละโดยมวล<br />

SiO 2 Na 2O CaO<br />

ก. 71-75 12-16 10-15<br />

ข 12-16 10-15 12-16<br />

ค. 70-80 10-15 12-16<br />

ง. 70-80 12-16 10-15<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

17. น ้าแก้ว เกิดจากการหลอมละลายเป็ นเนื ้อเดียวของสารใด<br />

1. Na2O 2. CaO 3. MgO 4. SiO2 ก. ข้อ 1 และ 4 ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 1,2 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

18. ต้องเติมสารประกอบออกไซด์ชนิดใด เพื่อให้แก้วโซดาไลม์มีสีชาหรือสีน<br />

้าตาล<br />

ก. แมงกานีสออกไซด์ ข. คอปเปอร์ออกไซด์<br />

ค. โคบอลต์ออกไซด์ ง. โครเมียมออกไซด์<br />

19. . ต้องเติมสารประกอบออกไซด์ชนิดใด เพื่อให้แก้วโซดาไลม์มีสีน<br />

้าเงิน<br />

ก. แมงกานีสออกไซด์ ข. คอปเปอร์ออกไซด์<br />

ค. โคบอลต์ออกไซด์ ง. โครเมียมออกไซด์<br />

20. แก้วชนิดใดใช้ท าภาชนะส าหรับใช้ในเตาไมโครเวฟ<br />

ก. แก้วโซดาไลม์ ข. แก้วโบโรซิลิเกต ค. แก้วคริสตัล ง. แก้วควอตซ์<br />

21. ข้อใดถูกต้อง<br />

1. การท าแก้วหากมีการเติมหินปูนบดละเอียดลงไป จะท าให้เนื ้อแก้วไม่เปราะง่าย<br />

2. แก้วที่ผสมโบรอนออกไซด์ลงไปจะท<br />

าให้แก้วทนความร้อนสูง ส่วนแก้วที่ผสมตะกั่วออกไซด์ลง<br />

ไปขณะผลิตแก้ว จะท าให้แก้วที่ได้ใสและมีความแวววาวสวยงาม<br />

3.แก้วคือของแข็งที่เกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็วของของเหลวโดยการไม่ตกผลึก<br />

4. ในการผลิตแก้ว มักจะมีการเติมเศษแก้วที ่แตกหักลงไป เพื่อช่วยให้ส่วนผสมหลอมเหลวง่ายขึ<br />

้น<br />

ก. ข้อ 1 ,3 และ 4 ข. ข้อ 1 และ 2 ค. ข้อ 2 และ 3 ง. ถูกทุกข้อ<br />

22. แก้วชนิดใดมีสมบัติไม่ทนต่อความเป็ นกรด-เบส แตกง่ายเมื่อได้รับความร้อน<br />

ยอมให้แสงขาวผ่านและ<br />

ดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลต<br />

ก. แก้วโซดาไลม์ ข. แก้วโบโรซิลิเกต ค. แก้วคริสตัล ง. แก้วควอตซ์<br />

23. แก้วโอปอลเป็ นแก้วที่มีการเติมสารชนิดใด<br />

เพื่อท<br />

าให้เกิดผลึกหรือแยกชั ้นในเนื ้อแก้ว ท าให้แก้วขุ ่นและ<br />

โปร่งแสง<br />

ก. โซเดียมคลอไรด์ ข. โซเดียมฟลูออไรด์ ค. แคลเซียมคลอไรด์ ง. แคลเซียมโบรไมด์<br />

24. กระจกเงา กระจกสะท้อนแสง กระจกนิรภัย กระจกฉนวน กระจกเสริมลวดและกระจกกันกระสุนเป็ น<br />

ผลิตภัณฑ์แก้วชนิดใด<br />

ก. กระจกแผ่น ข.แก้วโซดาไลม์ ค. แก้วโบโรซิลิเกต ง. แก้วควอตซ์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

25. สารเคมีใดจัดเป็ นวัตถุดิบเนื ้อปูน<br />

ก. แคลเซียมคาร์บอเนต ข. ซิลิก ค. อะลูมินา ง. ออกไซด์ของเหล็ก<br />

26. สารใดเป็ นวัตถุเนื ้อปูน<br />

1. หินปูน 2. ดินสอพอง 3. หินอ่อน 4. หินชอล์ก<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 2 ,3 และ 4 ง. ถูกทุกข้อ<br />

27. วัตถุดิบเนื ้อดินประกอบด้วยสารใด<br />

1. ซิลิกา 2. อะลูมินา 3. ออกไซด์เหล็ก 4. แคลเซียมออกไซด์<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ1, 2 และ 3 ค. ข้อ ,3 และ 4 ง. ข้อ 2,3 และ 4<br />

28. สารใดเป็ นวัตถุดิบปรับคุณภาพ<br />

1. แร่เหล็กออกไซด์ 2. แร่ออกไซด์ 3. ยิบซั่ม<br />

ก. ข้อ 1 เท่านั ้น ข. ข้อ 1 และ 2 ค. ข้อ 2 และ 3 ง. ข้อ 1 และ 3<br />

29. ถ้าวัตถุดิบเนื ้อปูนมีปริมาณอะลูมินาต ่า จะเติมสารใดเพื่อปรับปรุงคุณภาพ<br />

ก. . แร่เหล็กออกไซด์ ข. แร่บอกไซต์ ค. ยิบซั่ม<br />

ง. อะลูมินา<br />

30. สารเติมแต่งชนิดใดที่เติมลงในปูนเม็ดภายหลังการเผาเพื่อหน่วงเวลาให้ปูนผสมกับน<br />

้าแข็งตัวช้า<br />

ก. ยิบซั่ม<br />

ข. หินปูน ค. แร่บอกไซต์ ง. หินชอล์ก<br />

31. วัตถุดิบที ่มีความชื ้นสูงตามสภาพธรรมชาติที่น<br />

ามาใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์แบบเปี ยก คือสารใด<br />

1. ดินด า 2. ดินขาว 3. ดินเหนียว 4. หินปูน 5. หินดินดาน<br />

ก. ข้อ 1 และ 5 เท่านั ้น ข. ข้อ 1,2 และ 3<br />

ค. ข้อ 2 ,3 และ 4 ง. ข้อ 1,2,3 และ 4<br />

32. วัตถุดิบที ่มีความชื ้นต ่าตามสภาพธรรมชาติที่น<br />

ามาใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์แบบเผา คือสารใด<br />

1. ดินด า 2. ดินขาว 3. ดินเหนียว 4. หินปูน 5. หินดินดาน<br />

ก. ข้อ 1 และ 5 เท่านั ้น ข. ข้อ 2 และ 3<br />

ค. ข้อ 4 และ 5 ง. ข้อ 1 และ 3<br />

่ ่ ่ ่<br />

33. ปูนซีเมนต์ประเภทที่เท่าใด<br />

ใช้ท าคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที ่เกิดความร้อนและทนซัลเฟตได้<br />

ก. ประเภทที 1 ข.ประเภทที 2 ค. ประเภทที 3 ง. ประเภทที 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

34. ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที ่เท่าใด ใช้ในการก่อสร้างเขื่อนขนาดใหญ่<br />

งานโครงสร้างที่เป็<br />

นแท่งหนา<br />

มากๆ<br />

ก. ประเภทที่<br />

2 ข.ประเภทที่<br />

3 ค. ประเภทที่<br />

4 ง. ประเภทที่<br />

5<br />

่ ่ ่ ่<br />

35. ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที ่เท่าใด ใช้ในการก่อสร้างตามชายฝั่งทะเล<br />

หรือในทะเล<br />

ก. ประเภทที 2 ข.ประเภทที 3 ค. ประเภทที 4 ง. ประเภทที 5<br />

36. ปูนซีเมนต์ผสมได้จากปูนซีเมนต์เติมทรายหรือหินปูนละเอียดลงไปบดพร้อมปูนเม็ด ท าให้มีแรงอัดต ่า<br />

กว่าปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที ่เท่าใด จึงน ามาใช้ในงานก่อ งานฉาบ หล่อท่อ เทพื ้น เป็ นต้น<br />

ก. ประเภทที่<br />

1 ข.ประเภทที่<br />

2 ค. ประเภทที่<br />

3 ง. ประเภทที่<br />

4<br />

37. ในอุตสาหกรรมการท านาเกลือ สิ่งส<br />

าคัญที่ต้องค<br />

านึงถึงคือข้อใด<br />

ก. ความถ่วงจ าเพาะของสารละลาย ข. อุณหภูมิของสารละลาย<br />

ค. ปริมาณของธาตุในสารละลาย ง. ปริมาตรของสารละลาย<br />

38. ในการผลิตเกลือสมุทร ในขณะที่เกลือแกงตกผลึก<br />

เพราะเหตุใดจึงต้องระบายน ้าจากนาเชื ้อเข้าไปเพิ่ม<br />

ตลอดเวลา<br />

ก. เพื่อให้เกลือ<br />

CaSO4 ตกผลึก<br />

ข. เพื่อไม่ให้เกลือ<br />

NaCl ตกผลึกเร็วเกินไป<br />

ค. เพื่อป้<br />

องกันไม่ให้เกลือ MgCl2 และ MgSO4 ตกผลึก<br />

ง. เพื่อให้เกลือแมกนีเซียมตกผลึกมากับเกลือ<br />

NaCl<br />

39. ในการท านาเกลือ เมื่อเกลือNaCl<br />

ตกผลึกออกมา มักจะมี MgSO4ปนท าให้เกลือมีความชื ้น ถ้าต้องการ<br />

แยก Mg ออกมาใช้ประโยชน์ ควรแยกออกมาในรูปใด<br />

ก. Mg(OH) 2 หรือ MgCO3 ข. MgO หรือ Mg(OH) 2<br />

ค. MgSO4 หรือ MgO ง. MgO หรือ MgCO3 40. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี ้<br />

1. เกลืออนามัยเป็ นเกลือที่มีโซเดียมคลอไรด์บริสุทธิ<br />

์ เหมาะสมต่อการบริโภค<br />

2. การผลิตเกลือสินเถาว์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์มากกว่าการผลิตเกลือสมุทร<br />

3. ในการท านาเกลือ ขั ้นตอนที่มีการระเหย<br />

ได้แก่ นาตาก นาเชื ้อและนาปลง ส่วนขั ้นตอนที่มีการตก<br />

ผลึก ได้แก่ นาเชื ้อ และนาปลง<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 1 ,2 และ 3<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

41. ข้อใดเป็ นความจริงของการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ในระดับอุตสาหกรรม<br />

ก. แก๊สไฮโดรเจนที่ผลิตได้จากเซลล์ไดอะเฟรมสามารถน<br />

าไปใช้ท ากรดไฮโดรคลอริก ส่วน<br />

สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์สามารถน าไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตเรยอน<br />

ข. แก๊สคลอรีนที่ผลิตได้จากเซลล์ปรอทสามารถน<br />

ามาฆ่าเชื ้อโรคในกระบวนการท าน ้าประปาได้<br />

ค. เฉพาะเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนเท่านั<br />

้นที่มีแก๊สคลอรีนและไฮโดรเจนเกิดขึ<br />

้น<br />

ง.โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จากเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

จะมีความเข้มข้นสูงกว่าที ่ได้จากเซลล์<br />

ไดอะแฟรม แต่น้อยกว่าที่ได้จาดเซลล์ปรอท<br />

42. ในการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ ภายในประเทศนิยมใช้การแยกสลายโซเดียมคลอไรด์ด้วยไฟฟ้ า เหตุใด<br />

จึงใช้ปรอทเป็ นแคโทด<br />

ก. เพื่อให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนที่ขั<br />

้วลบ<br />

ข. เพื่อป้<br />

องกันแก๊สคลอรีน ไม่ให้ละลายน ้า<br />

ค. เพื่อป้<br />

องกันไม่ให้โซเดียมละลายน ้า<br />

ง. เพื่อให้เกิดแก๊สคลอรีนที่ขั<br />

้วบวก<br />

43. ในปัจจุบันกระบวนการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ มี 3 กระบวนการ แต่ละกระบวนการมีข้อดีและข้อเสีย<br />

แตกต่างกัน ดังนี ้<br />

1. สารละลาย NaOH ที่ผลิตโดยวิธีเซลล์ไดอะแฟรมจะมีความเข้มข้นสูง<br />

ไม่มีสารปนเปื ้ อน รวมทั ้ง<br />

ไม่ต้องน าสารละลายมาท าให้เข้มข้น<br />

2. สารละลาย NaOH ที่ผลิตโดยวิธีเซลล์ปรอทจะมีความเข้มข้นต<br />

่า และมีสารประกอบของปรอท<br />

ปนเปื ้ อนกับน ้าทิ้ง<br />

3. สารละลาย NaOH ที่ผลิตโดยวิธีเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

จะมีความเข้มข้นสูง และมีความ<br />

บริสุทธิ ์ สูง<br />

ข้อใดถูกต้อง<br />

ก. ข้อ 1 ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 3 ง. ข้อ 1 ,2 และ 3<br />

๋ 44. ปฏิกิริยาใดต่อไปนี ้ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตปุ<br />

ยยูเรีย<br />

ก. N2 + 3H2 → 2 NH3 ข. 2 NH3+ CO2 → (NH2) 2CO + H2O ค. CO2 + H2O → CO2 + H2 ง. CO + CH4 → CO2 + H2O 45. สารเคมีใดใช้ท าปุ<br />

๋ ยวิทยาศาสตร์ไม่ได้<br />

ก. (NH 2) 2SO 4 ข. KCl ค. NH 4NO 3 ง. Na 2SO 4<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

46. การผลิต NaOH เซลล์ปรอทต่างจากเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนอย่างไร<br />

ก. เซลล์ปรอทได้สารละลาย NaOH ที่เจือจางกว่า<br />

ข. เซลล์ปรอทกับแก๊สH2 ไม่ได้เกิดที่แคโทดโดยตรง<br />

ค. เซลล์ปรอทใช้ไฟฟ้ ากระแสตรง แต่เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนใช้ไฟฟ้<br />

ากระแสสลับ<br />

ง. การใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนท<br />

าให้สิ่งแวดล้อมเป็<br />

นพิษมากกว่า<br />

47. การผลิต MaOH วิธีใดที่ได้สารละลาย<br />

NaOH ที่มี<br />

NaCl ปน<br />

ก. ใช้เซลล์ไดอะแฟรม ข. ใช้เซลล์ปรอท<br />

ค. ใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน<br />

ง. ทั ้งข้อ ก ข และ ค<br />

48. ต่อไปนี ้เป็ นเหตุผลในการเลือกใช้ปรอท(ซึ ่งเป็ นสารพิษมาก) เป็ นอิเล็กโทรดของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ใน<br />

การเตรียมโซดาไฟทั ้สิ้น ยกเว้นข้อใด<br />

ก. ปรอทช่วยป้ องกันทิให้แก๊สคลอรีนที่เกิดขึ<br />

้น ท าปฏิกิริยากับผลิตภัณฑ์อื ่นๆ<br />

ข. ปรอทสามารถรวมกับผลิตภัณฑ์ที ่เกิดขึ ้นที่แคโทดได้สารละลายอะมัลกัม<br />

ค. ปรอทสามารถช่วยให้แยกผลิตภัณฑ์บางชนิดออกจากเซลล์อิเล็กโทรไลต์ได้<br />

ง. ปรอทช่วยเร่งปฏิกิริยาให้เกิดโซดาไฟได้เร็วขึ้น<br />

49. ในการผลิตปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต และยูเรีย มีสารเคมีที่เกี่ยวข้องในขบวนการผลิตอยู่หลายชนิด<br />

ที่ส<br />

าคัญ<br />

คือ CO ,CO2 ,NH3 ,N2 และ H2 ให้พิจารณาว่าสารชนิดใดต่อไปนี ้ ไม่ได้เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ถ่านลิกไนต์เป็<br />

น<br />

สารตั ้งต้น<br />

ก. CO ข. CO2 ค. N2 ง. NH3 50. เกลือแกงเป็ นวัตถุดิบที่ส<br />

าคัญชนิดหนึ ่งซึ ่งใช้ในอุตสาหกรรมประเภทใดมากที่สุด<br />

ก. โรงงานผงชูรส ข. โรงงานโซดาไฟ ค. โรงงานน ้าตาล ง. โรงานผงซักฟอก<br />

51. โรงงานอุตสากรรมใดที่ไม่ได้ใช้คลอรีนในกระบวนการผลิต<br />

ก. อุตสากรรมพลาสติก ข. อุตสาหกรรมท ากระดาษ<br />

ค. อุตสาหกรรมท าสบู ่ ง. อุตสาหกรรมท าผงชูรส<br />

์<br />

้<br />

52. NaOH , BaCl2 และ Na2CO3 ที่โรงงานอุตสาหกรรมใช้เพื่อท<br />

าให้สารละลาย NaCl บริสุทธิ จะช่วยขจัด<br />

สารทุกตัว ในข้อใดต่อไปนี<br />

ก. Mg 2+ , Ba 2+ , H + ข. Ca 2+ , Ba 2+ 2-<br />

, SO4 ค. Mg 2+ 2- 2+<br />

, SO4 , Ca<br />

2+ 2- 2+<br />

ง. Mg , CO3 , Ba<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

53. การใช้ปุ ๋ ยวิทยาศาสตร์มากเกินไป จะท าให้ดินเสียหรือเรียกว่าดินเปรี ้ ยว ปุ ๋ ยประเภทนี ้ ได้แก่<br />

ก. ปุ ๋ ยยูเรีย ข. ปุ ๋ ยแอมโมเนีย<br />

ค. ปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ง. ปุ ๋ ยโพแทสเซียม<br />

54. ก าหนดให้ ถ้าจะเตรียมโซดาแอช จะมีสารเกี่ยวข้องเรียงตามล<br />

าดับก่อนไปหลังดังข้อใด<br />

A = Na2CO3 (s) B = NaHCO3(s) C = CaCO3(s) D = NaCl(s) E = CO2 F = NH4OH(aq) ก. C,B,E,D,F,A ข. C,E,D + F,B,A<br />

ค. C,D + F,E,B.A ง. A,D + F,E,B,C<br />

55. ในการเตรียมกรดซัลฟุริกจาก SO3 นั ้น เหตุใดจึงไม่นิยมใช้ SO3 ละลายน ้าโดยตรงดังสมการ<br />

SO3 + H2O แต่นิยมละลายใน H2SO4 ก่อน<br />

→ H2SO4 ก. เพราะ SO3 เป็ นแก๊ส ท าให้ยากต่อการทราบความเข้มข้นของ H2SO4 ที่เตรียมได้<br />

ข. เพราะ SO3 ท าปฏิกิริยากับน ้าจะเกิดความร้อนมาก อาจเป็ นอันตรายได้<br />

ค. เพราะ SO3 มักมี SO2 ผสมอยู่ด้วย<br />

ซึ ่งเมื่อละลายน<br />

้าโดยตรง จะได้ H2SO3 ปนอยู่ใน<br />

H2SO4 ง. เพราะปฏิกิริยาระหว่าง SO3 กับน ้าเป็ นปฏิกิริยาที ่ผันกลับได้ ฉะนั ้นแก๊ส SO3 จึงหนีออกจาก<br />

สารละลายได้เรื่อยๆ<br />

ท าให้ความเข้มข้นของ H2SO4 ลดลง<br />

56. โซดาแอชเป็ นสารเคมีที่มีสูตรเป็<br />

นอย่างไร และเมื่อผลิตโซดาแอชด้วยวิธีโซลเวย์<br />

จะต้องใช้แก๊สใดในการ<br />

ผลิต<br />

ก. NaHCO3 และใช้แก๊ส NH3 ข. NaHCO3 และใช้แก๊ส CO<br />

ค. Na2CO3 และใช้แก๊ส NH3 ง. Na2CO3 และใช้แก๊ส CO<br />

57. HF เป็ นสารพิษ ใช้ในกระบวนการผลิตปุ ๋ ยชนิดใด<br />

ก. ปุ ๋ ยยูเรีย ข. ปุ ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต<br />

ค. ปุ ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟต ง. ปุ ๋ ยโพแทช<br />

58. โลหะหนักอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมาก จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ที่เจ้าของโรงงาน<br />

จ าเป็ นต้องกระท า เพื่อลดอันตรายจากโลหะหนัก<br />

ก. ท าให้โรงงานมีระบบถ่ายเทอากาศที่ดี<br />

ข. มีการตรวจสุขภาพคนงานอยู ่เป็ นระยะ<br />

ค. จัดหาอุปกรณ์ป้ องกันอันตรายที่เหมาะสมให้กับคนงาน<br />

ง. ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องยนต์<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

59. อุตสาหกรรมข้อใดไม่ก่อให้เกิดมลพิษหรือผลกระทบตามที่ระบุ<br />

ก. อุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์มีการแพร่กระจายของดินเค็ม<br />

ข. อุตสาหกรรมการผลิตสังกะสีมีกากแร่ที ่มีแคดเมียม<br />

ค. อุตสาหกรรมการผลิตแทนทาลัมจะเหลือกากาสารที ่เป็ นกัมมันตรังสี<br />

ง. อุตสาหกรรมการผลิตเซรามิกส์มีสารปรอทรั่วไหลลงสู<br />

่แม่น ้า<br />

60. ในการผลิตเกลือสินเถาว์ ข้อใดไม่ใช่ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม<br />

ก. ท าให้ปริมาณ Mg 2+ , Ca 2+ 2- 2-<br />

, SO4 และ CO3 ในดินเพิ่มขึ<br />

้น<br />

ข. ต้องใช้น ้าจืดปริมาณมาก ท าให้ขาดแคลนน ้าจืด<br />

ค. เกลือสินเถาว์ขาดธาตุไอโอดีน ท าให้ไม่เหมาะที ่จะใช้บริโภค<br />

ง. เกิดการยุบตัวของพื ้นดินบริเวณที ่มีการผลิตเกลือจากน ้าเกลือบาดาลและชั ้นเกลือหิน<br />

กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่<br />

2.2 -2.4<br />

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง<br />

1 16 31 46<br />

2 17 32 47<br />

3 18 33 48<br />

4 19 34 49<br />

5 20 35 50<br />

6 21 36 51<br />

7 22 37 52<br />

8 23 38 53<br />

9 24 39 54<br />

10 25 40 55<br />

11 26 41 56<br />

12 27 42 57<br />

13 28 43 58<br />

14 29 44 59<br />

15 30 45 60<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ


เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!