10.01.2013 Views

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

3-25550522.161543.0931

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการเรียนเคมี ม.6 ของ คุณครูเบญจวรรณ โชติกุล ปี 2554<br />

2.1.4 ทังสเตน<br />

ทังสเตนส่วนใหญ่พบร่วมกับแร่ดีบุก สินแร่ของโลหะทังสเตนที ่พบในประเทศมี 2 ชนิด คือ<br />

วุลแฟรไมต์ (Fe,Mn)WO 4 และ ซีไลต์ CaWO 4<br />

ทังสเตนเป็ นโลหะสีเทาเงิน มีจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นสูง เป็ นตัวน าความร้อนและไฟฟ้ า<br />

ที่ดี<br />

มีสัมประสิทธิ ์ ของการขยายตัวต ่า เมื่อผสมกับคาร์บอนจะมีความแข็งมาก<br />

โลหะทังสเตนใช้ท าไส้และขั ้ว<br />

หลอดไฟฟ้ า ชิ้นส่วนบริเวณผิวสัมผัสของอุปกรณ์ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ท าฉากป้ องกันความร้อนและ<br />

รังสีในอุปกรณ์ต่างๆ ผสมกับเหล็กจะได้เหล็กกล้าที่มีความแข็งมาก<br />

ส าหรับใช้ท าเกราะในยานพาหนะ อาวุธ<br />

สงคราม ท ามีด มีดโกน ตะไบ ใบเลื่อย<br />

ผสมกับคาร์บอน นิกเกิลและโคบอลต์จะมีความแข็งแกร่งเป็ นพิเศษ<br />

จึงใช้ท าวัตถุส าหรับตัดเหล็กกล้า สารประกอบเรืองแสงของทังสเตนน ามาใช้เป็ นสีเขียวและสีเหลืองในการ<br />

ย้อมไหม ตกแต่งแก้วและเครื่องปั<br />

้ นดินเผา<br />

2.1.5 พลวง(antimony ore)<br />

หนังสือธรณีวิทยาประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี,2544) กล่าวว่า แร่พลวงส่วนใหญ่ที่พบเป็<br />

นแร่พลวง<br />

ซัลไฟด์ คือ แร่สติบไนต์ stibnite ( สูตรเคมี Sb2S3 ) หรือที่เรียกว่า<br />

“พลวงเงิน” และแร่พลวงไฮดรอกไซด์ คือ<br />

แร่สติบิโคไนต์ (stibiconite สูตรเคมี Sb2O4.nH2 O) หรือที่เรียกว่า<br />

“พลวงทอง”<br />

กลุ ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์โรงเรียนสตรีสิริเกศ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!