22.02.2015 Views

Durian Flavor Extracts and its Volatile Characteristics - CRDC

Durian Flavor Extracts and its Volatile Characteristics - CRDC

Durian Flavor Extracts and its Volatile Characteristics - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 241-244 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 241-244 (2554)<br />

คุณลักษณะของสารให้กลิ นรสทุเรียน<br />

<strong>Durian</strong> <strong>Flavor</strong> <strong>Extracts</strong> <strong>and</strong> <strong>its</strong> <strong>Volatile</strong> <strong>Characteristics</strong><br />

กฤษณา หงษ์คู1 ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์1 และ อรพิน เกิดชูชื น 1<br />

Hongku, K. 1 , Laohakunjit, N. 1 <strong>and</strong> Kerdchoechuen, O. 1<br />

Abstract<br />

The purpose of this study was to investigate the extraction of durian (Durio zibethinus L.) flavor by 2<br />

organic solvents; water <strong>and</strong> ethanol. Determination of nutrition for durian pulp showed that it consisted of<br />

protein, lipid, ash, carbohydrate <strong>and</strong> fiber at 6.17, 15.86, 3.34, 74.63 <strong>and</strong> 8.71% (dry basis), respectively.<br />

<strong>Volatile</strong> compounds of durian pulp were identified by dynamic headspace-solid phase microextraction mass<br />

spectrometry (DHS-SPME-GC-MS). The major volatile compounds in durian pulp consisted of sulfur-containing<br />

compounds <strong>and</strong> ester such as diethyl disulfide, ethyl 2-methylbutanoate, ethanethiol, 3,5-dimethyl-1,2,4-<br />

trithiolane, <strong>and</strong> butyl 2-methylbutanoate. Water <strong>and</strong> ethanol extraction gave the percentage of yield at 87.11%<br />

<strong>and</strong> 85.38%, respectively. The major volatile compounds of durian flavor extracted with water were volatile<br />

sulfur-containing <strong>and</strong> gave the same flavor characteristic as durian pulp. <strong>Durian</strong> flavor extracted with ethanol<br />

showed a dramatically change of their volatile profile, with losses of volatile sulfur-containing. The odor<br />

description of ethyl 2-methylbutanoate, propyl 2-methylbutanoate, ehtyl 2-butenoate <strong>and</strong> methyl hexanoate<br />

was likely fruity odor.<br />

Keywords: durian (Durio zibethinus L.), flavor extraction, volatile compounds, organic solvents<br />

บทคัดย่อ<br />

งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาการสกัดกลินรสทุเรียน (Durio zibethinus L.) โดยใช้ตัวทําละลาย 2 ชนิด คือ<br />

นํ า และเอทานอล ผลการวิเคราะห์คุณค่าทางอาหารของเนื อทุเรียน พบว่ามีปริมาณ โปรตีน ไขมัน เถ้า คาร์โบไฮเดรต และ<br />

เยือใย ร้อยละโดยนํ าหนักแห้ง 6.17, 15.86, 3.34, 74.63 และ 8.71 ตามลําดับ สารหอมระเหยในเนื อทุเรียนสดวิเคราะห์<br />

โดยใช้ dynamic headspace-solid phase microextraction mass spectrometer (DHS-SPME-GC-MS) พบว่ามี<br />

สารประกอบซัลเฟอร์ และเอสเทอร์เป็ นองค์ประกอบหลัก เช่น diethyl disulfide, ethyl 2-methylbutanoate, ethanethiol,<br />

3,5-dimethyl-1,2,4-trithiolane, และ butyl 2-methylbutanoate ถึงแม้ว่าการสกัดกลินรสทุเรียนด้วยนํ าและเอทานอลให้<br />

%yield ใกล้เคียงกัน เท่ากับ 87.11% และ 85.38% ตามลําดับ สารหอมระเหยทีให้กลินรสทุเรียนทีสกัดด้วยนํ ามี<br />

สารประกอบหลักซัลเฟอร์เหมือนกับเนื อทุเรียน แต่สารหอมระเหยทีให้กลินรสทุเรียนทีสกัดด้วยเอทานอลไม่พบ<br />

สารประกอบซัลเฟอร์ โดยมีสารแนวกลินแบบผลไม้ (fruity odor) ได้แก่ ethyl 2-methylbutanoate, propyl 2-<br />

methylbutanoate, ehtyl 2-butenoate และ methyl hexanoate<br />

คําสําคัญ: ทุเรียน (Durio zibethinus L.) การสกัดกลินรส สารหอมระเหย ตัวทําละลายอินทรีย์<br />

คํานํา<br />

ทุเรียน (Durio zibethinus L.) เป็ นผลไม้เมืองร้อน ซึงประเทศไทยเป็ นผู ้ผลิตและส่งออกทุเรียนทีสําคัญของโลก<br />

นํารายได้เข้าประเทศเป็ นจํานวนมาก โดยในปี พ.ศ. 2553 พบว่ามีปริมาณการผลิตถึง 568,060 ตัน ผลผลิตส่วนใหญ่ใช้<br />

บริโภคภายในประเทศ ปริมาณทีเหลือถูกส่งออกในรูปของทุเรียนสด และผลิตภัณฑ์ทุเรียนแปรรูป ซึงมีปริมาณกว่า<br />

226,728 ตัน รวมมูลค่าประมาณ 4,628 ล้านบาท (กรมการค้าภายใน, 2553) ทุเรียนได้ชือว่าเป็ นราชาแห่งผลไม้ (King of<br />

the fru<strong>its</strong>) ทีมีความแปลกทั งรูปร่าง สี และรสชาติ เนื อของผลมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก (วิเชียร, 2546) มีปริมาณนํ าตาล<br />

วิตามินซี โพแทสเซียมสูง และยังเป็ นแหล่งของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน (USDA National Nutrient Database for<br />

St<strong>and</strong>ard Reference, 2010) นอกจากนี ยังอุดมไปด้วยสารทีมีฤทธิ ในการต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) เช่น<br />

1<br />

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 49 ถนนเทียนทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150<br />

1<br />

School of Bioresources <strong>and</strong> Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, 49 Tientalay Rd., Thakam, Bangkhuntein, Bangkok 10150


242 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

polyphenols, flavonoids, flavanols, ascorbic acid และ tannins (Haruenkit และคณะ, 2009) เนื อทุเรียนส่วนใหญ่<br />

นอกจากใช้รับประทานสดแล้ว ยังมีการนําเนื อไปใช้ทําขนมและผสมเป็ นสารให้กลินรสในอาหาร เช่น ไอศกรีม คุกกี เค้ก<br />

ขนมไหว้พระจันทร์ ทุเรียนกวน ข้าวเหนียวนํ ากะทิทุเรียน ทุเรียนอบหรือทอดกรอบ กลินรสของทุเรียนจึงเป็ นสิงสําคัญทีบอก<br />

คุณภาพของผลิตภัณฑ์และดึงดูดใจผู ้บริโภค ซึงกลินทีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของทุเรียนนี เกิดจากส่วนผสมของสารระเหยที<br />

<br />

ประกอบไปด้วยสารประกอบซัลเฟอร์ และเอสเทอร์เป็ นส่วนใหญ่ เช่น diethyltrisulfide, diethyldisulfide, dithiolane,<br />

dimethyl sulfide, 3-methyl-thiozolidine, 2-methyl butanoate, propyl-2-ethylbutanoate (Laohakunjit และคณะ,<br />

2007) นอกจากนี ยังมีสารในกลุ ่มแอลกอฮอล์ แอลดีไฮด์ และคีโตน (Voon และคณะ, 2007) ดังนั นจึงมีการผลิตสารให้กลิน<br />

ทีเหมือนสารให้กลินธรรมชาติ (natural-identical flavoring substances) และกลินสังเคราะห์ (artificial flavoring<br />

substances) ทีมีกลินคล้ายทุเรียนเพือเติมลงในผลิตภัณฑ์อาหารหลายชนิด แต่ยังไม่มีคุณลักษณะของกลินทุเรียนที<br />

แท้จริง ดังนั นงานวิจัยนี จึงมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาวิธีการสกัดกลินรสทุเรียนจากธรรมชาติด้วยตัวทําละลายอินทรีย์ ให้มี<br />

กลินเหมือนกับทุเรียนผลสด และได้สารสกัดทีอยู ่ในรูปทีสะดวกกับการใช้งาน<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

วัตถุดิบ ใช้เนื อทุเรียนหมอนทองสุกจัดนํามาวิเคราะห์คุณค่าทางอาหาร ได้แก่ ความชื น โปรตีน ไขมัน เถ้า<br />

คาร์โบไฮเดรต และเยือใย (fiber) โดยวิเคราะห์ตามวิธีของ Association of Official Analytical Chemists (AOAC, 2000)<br />

และวิเคราะห์องค์ประกอบสารให้กลินรสโดยใช้ dynamic headspace-solid phase microextraction mass<br />

spectrometer (DHS-SPME-GC-MS) ไฟเบอร์ทีใช้คือ 2cm-50/30 µm DVB/Carboxen TM /PDMS StableFlex TM อุ ่นสาร<br />

ตัวอย่างปริมาณ 5 กรัม ทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10 นาที จากนั นให้ไฟเบอร์ดูดซับไอสารระเหยเป็ นเวลา 20<br />

นาที จากนั นเข้าเครือง GC โดยใช้คอลัมน์ชนิด DB-WAX (ยาว 30 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 320 ไมโครเมตร หนา 0.5<br />

ไมโครเมตร) ใช้แก๊สฮีเลียมเป็ น carrier gas ทีอัตราไหลคงที 1.5 มิลลิลิตรต่อนาที โดยตั งอุณหภูมิของ oven ที 40 องศา<br />

เซลเซียส เพิมอุณหภูมิทีอัตรา 5 องศาเซลเซียสต่อนาที จนถึง 200 องศาเซลเซียส คงทีไว้ 2 นาที โดยบ่งชี คุณลักษณะของ<br />

สารเทียบกับ NIST-MS และ Wiley library และคํานวณ retention time index (RI) เทียบกับสารอัลเคนมาตรฐาน (C 11 -<br />

C 20 )<br />

การสกัดกลิ นรสทุเรียน โดยใช้เนื อทุเรียนหมอนทองสุกจัด 100 กรัม บดละเอียดเป็ นเนื อเดียวกัน ผสมกับตัวทํา<br />

ละลายทีใช้สกัดในปริมาณ 1: 2 โดยตัวทําละลายทีใช้สกัดคือ นํ าหรือ 99% เอทานอล ตีป่ นให้เข้าเป็ นเนื อเดียวกัน กรอง<br />

แยกกากทุเรียนออก สารสกัดทีได้นํามาวิเคราะห์สมบัติทางเคมีกายภาพ ได้แก่ องค์ประกอบสารให้กลินรสด้วย DHS-<br />

SPME-GC-MS เช่นเดียวกับทุเรียนสด แต่ใช้ตัวอย่างสารสกัดกลินรสทุเรียนปริมาตร 5 มิลลิลิตร ค่าสี โดยใช้ค่า L * , a * และ<br />

b * ด้วยเครืองวัดสี (Minolta color reader รุ่น CR-10) และปริมาณร้อยละผลผลิต (%yield) ซึงคํานวณได้จากสูตร<br />

% yield = weight of flavor extract (g) × 100%<br />

Weight of raw materials (g)<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล วางแผนการทดลองแบบ Completely R<strong>and</strong>omized Design (CRD) จํานวน 3 ซํ า<br />

วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (ANOVA) และความแตกต่างทางสถิติของค่าเฉลีย (LSD) ของข้อมูล ทีระดับความ<br />

เชือมันร้อยละ 95 ด้วยโปรแกรม SAS (1997)<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

เนื อทุเรียนหมอนทองสุกจัดมีความชื นเท่ากับร้อยละ 68.25 ผลการวิเคราะห์คุณค่าทางอาหารพบว่า มีปริมาณโปรตีน<br />

ไขมัน เถ้า คาร์โบไฮเดรต และเยือใย คิดเป็ นร้อยละโดยนํ าหนักแห้งเท่ากับ 6.17, 15.86, 3.34, 74.63 และ 8.71 ตามลําดับ<br />

(Table 1) ซึงมีปริมาณไขมัน และคาร์โบไฮเดรตสูงกว่าผลไม้หลายชนิด (Devalaraja และคณะ, 2011) การสกัดกลินรสทุเรียน<br />

โดยใช้ตัวทําละลาย 2 ชนิด คือ นํ า และเอทานอล พบว่าสารสกัดด้วยนํ าให้ %yield สูงกว่าสารสกัดด้วยเอทานอล เท่ากับ<br />

87.11% และ 85.38% ตามลําดับ (Table 2) จาการวัดค่าสีของสารสกัด พบว่า การสกัดด้วยนํ าได้สารสกัดทุเรียนสีเหลืองอ่อน<br />

มีค่า L * , a * และ b * เป็ น 72.82, -2.77 และ 24.16 ตามลําดับ ส่วนการสกัดด้วยเอทานอลได้สารสกัดทุเรียนสีเหลืองเข้ม มีค่า L * ,<br />

a * และ b * เป็ น 57.73, -2.69 และ 11.48 ตามลําดับ (Table 2) การสกัดด้วยเอทานอลสามารถสกัดสารให้สีออกมามากกว่าการ<br />

สกัดด้วยนํ า เนืองจากทุเรียนมีปริมาณแคโรทีนอยด์สูง ซึงเป็ นกลุ ่มของรงควัตถุทีให้สีเหลืองและละลายได้ดีในตัวทําละลาย<br />

อินทรีย์ (นิธิยา, 2549) การวิเคราะห์สารหอมระเหยของทุเรียนสดโดยใช้ DHS-SPME-GC-MS พบว่ามีสารหอมระเหยหลักเป็ น


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 243<br />

สารประกอบซัลเฟอร์ และเอสเทอร์ ได้แก่ diethyl disulfide, ethyl 2-methylbutanoate, ethanethiol, 3,5-dimethyl-1,2,4-<br />

trithiolane, และ butyl 2-methylbutanoate โดยมี %relative peak area เท่ากับ 34.60, 11.99, 10.81, 5.77 และ 3.58<br />

ตามลําดับ (Table 3) ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ Laohakunjit และคณะ (2007) ทีพบว่าสารประกอบซัลเฟอร์ และเอสเทอร์<br />

เป็ นสารหอมระเหยหลักทีพบได้ในทุเรียนสด และเมือวิเคราะห์สารหอมระเหยของสารสกัดกลินรสทุเรียนทีสกัดด้วยตัวทํา<br />

ละลายทั ง 2 ชนิด พบว่าสารสกัดด้วยนํ ามีสารประกอบซัลเฟอร์ และเอสเทอร์ เป็ นสารหอมระเหยหลักเช่นเดียวกับทุเรียนสด<br />

ได้แก่ diethyl disulfide, ethyl propanoate, ethanethiol, ethyl 2-methylbutanoate และ 3,5-dimethyl-1,2,4-trithiolane, มี<br />

%relative peak area เท่ากับ 26.65, 21.67, 10.65, 7.67 และ 4.22 ตามลําดับ แต่มีจํานวนชนิดของสารหอมระเหยมากกว่า<br />

ทุเรียนสด โดยพบสารหอมระเหย 26 ชนิด ส่วนสารสกัดด้วยเอทานอลไม่พบสารประกอบซัลเฟอร์ แต่พบสารประกอบเอสเทอร์ที<br />

ให้กลินแนวผลไม้ (fruity odor) เป็ นหลัก ได้แก่ ethyl 2-butenoate, methyl hexanoate, propyl 2-methylbutanoate และ ethyl<br />

2-methylbutanoate โดยมี %relative peak area 18.07, 17.60, 15.68 และ 13.69 ตามลําดับ (Table 3) การทีสารสกัดทุเรียน<br />

ด้วยนํ ามีสารหอมระเหยมากกว่าทุเรียนสดและสารสกัดทุเรียนด้วยเอทานอล เนืองจากนํ ามีขั วมากกว่าเอทานอล ซึงสารให้กลิน<br />

ในทุเรียนส่วนใหญ่เป็ นสารประกอบมีขั ว ซึงความสามารถในการสกัดสารหอมระเหยทีมีขั วขึ นกับความมีขั วของตัวทําละลาย<br />

(Mitchell และคณะ, 2007) ถึงแม้การสกัดด้วยนํ าได้สารหอมระเหยมากกว่าการสกัดด้วยเอทานอล แต่ยังไม่ได้กลินทีดีทีสุด ซึง<br />

จะได้มีการพัฒนาวิธีสกัดต่อไป<br />

สรุปผล<br />

การสกัดกลินรสทุเรียนด้วยนํ าดีกว่าการสกัดด้วยเอทานอล ได้ %yield เท่ากับร้อยละ 87.11 สารสกัดมีสีเหลือง<br />

เข้ม ได้ชนิดของสารหอมระเหยหลักเช่นเดียวกับทุเรียนสด ได้แก่ diethyl disulfide, ethyl propanoate, ethanethiol, ethyl<br />

2-methylbutanoate และ 3,5-dimethyl-1,2,4-trithiolane<br />

คําขอบคุณ<br />

งานวิจัยนี ได้รับการสนับสนุนจากโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

กลุ ่มงานพืชผักและผลไม้ สํานักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์, [Online], Available :<br />

http://agri.dit.go.th (5 เมษายน 2554)<br />

นิธิยา รัตนาปนนท์, 2549, เคมีอาหาร, พิมพ์ครั งที 2, โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ, หน้า 415.<br />

วิเชียร ทองพันชัง, 2546, ทุเรียน, พิมพ์ครั งที 3, สํานักพิมพ์เกษตรสาส์น, นนทบุรี, หน้า 9-13.<br />

Devalaraja, S., Jain, S. <strong>and</strong> Yadav, H., 2011, Exotic fru<strong>its</strong> as therapeutic complements for diabetes, obesity<br />

<strong>and</strong> metabolic syndrome, Food Research International, 44: 1856-1865.<br />

Haruenkit, R., Poovarodom, S., Vearasilp, S., Namiesnik, J., Sliwka-Kaszynska, M., Park, Y., Heo, B., Cho, J.,<br />

Jang, H.G. <strong>and</strong> Gorinstein, S., 2010, Comparison of bioactive compounds, antioxidant <strong>and</strong><br />

antiproliferative activities of Mon Thong durian during ripening, Food Chemistry, 118: 540-547.<br />

Laohakunjit, N., Kerdchoechuen, O, Matta, F.B., Silva, J.L., <strong>and</strong> Holmes, W.E., 2007, Postharvest survey of<br />

volatile compounds in five tropical fru<strong>its</strong> using headspace-solid phase microextraction (HS-SPME), Hort<br />

Science, 42(2): 309-314.<br />

Mitchell, K. A., Foo, L. Y. <strong>and</strong> Perry, N. B., 2007, Extraction of phenolics <strong>and</strong> essential oil from dried sage<br />

(Salvia officinalis) using ethanol–water mixtures, Food Chemistry, 101: 1417–1424.<br />

USDA National Nutrient Database for St<strong>and</strong>ard Reference, 2010, <strong>Durian</strong>, raw or frozen, [Online], Available:<br />

http://www.nal.usda.gov/fnic/foodcomp/search/, [8 July, 2554)


242 6<br />

244<br />

ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Table 1 Chemical composition of durian pulp (%dry basis)<br />

Protein Lipid Ash Carbohydrate Fiber<br />

6.17 15.86 3.34 74.63 8.71<br />

Table 2 %Yield <strong>and</strong> color of durian extract<br />

Solvents<br />

%Yield<br />

Color<br />

L * a * b *<br />

Water 87.11 a 72.82 a -2.77 a 24.16 a<br />

Ethanol 85.38 b 57.73 b -2.69 a 11.48 b<br />

F-test ** ** ns **<br />

CV (%) 3.690 0.637 2.297 2.483<br />

Remark: ** Signification at p ≤ 0.05; ns = Non Significant<br />

a, b, c,… in the same column with different letters are not significantly different (p≤0.05) according to DMRT.<br />

Table 3 <strong>Volatile</strong> compounds in durian pulp <strong>and</strong> extract<br />

RI<br />

<strong>Volatile</strong> compounds<br />

% Relative peak area<br />

<strong>Durian</strong> pulp Water Ethanol<br />

Odor description**<br />

517 ethanethiol 10.81 10.65 - garlic, leek, onion, sulfurous<br />

615 ethyl acetate - 3.92 - fruity, sweet<br />

668 ethanol 8.82 - - alcoholic<br />

714 ethyl propanoate - 21.67 - fruity, sweet<br />

820 ethyl 2-methylbutanoate 11.99 7.67 13.69 fruity, grape, sweet<br />

1136 propyl 2-methylbutanoate - 1.04 15.68 fruity, sweet<br />

1160 butyl 2-methylbutanoate 3.58 - - fruity, sweet<br />

1169 ehtyl 2-butenoate 2.31 1.37 18.07 fruity, sweet<br />

1191 methyl hexanoate 1.92 0.95 17.60 fruity, fresh, sweet<br />

1215 diethyl disulfide 34.60 26.65 - garlic, leek, onion, sulfurous<br />

1239 ethyl hexanoate 1.25 1.21 1.79 apple, fruity, green, sweet<br />

1270 butanal - 0.25 - green, melon<br />

1297 3-hydroxy-2-butanone 0.37 0.36 6.91 fresh, fruity, green, slightly rancid<br />

1325 propyl hexanoate 0.83 0.13 - fresh, fruity<br />

1339 ethyl heptanoate 1.27 0.51 1.02 fruity, sweet<br />

1351 3-(isobutylthio) propionic acid 2.93 4.17 - fruity<br />

1369 2-propanol - 0.91 - alcoholic<br />

1395 methyl octanoate 0.62 1.08 9.76 orange, fruity<br />

1441 ethyl octanoate 1.18 1.64 2.63 apple, fruity, sweet<br />

1499 2-ethylhexan-1-ol 1.29 1.93 4.00 alcoholic<br />

1528 3-hydroxy ethyl butanoate - 0.70 - fruity<br />

1552 butane-2,3-diol (isomer 1) 2.16 0.57 0.77 fruity, onion<br />

1589 butane-2,3-diol (isomer 2) 2.07 0.55 1.64 fruity, onion<br />

1608 3,5-dimethyl-1,2,4-trithiolane (isomer 1) 5.77 4.22 - garlic<br />

1628 3,5-dimethyl-1,2,4-trithiolane (isomer 2) 6.24 4.67 - garlic<br />

1641 ethyl decanoate - 0.24 6.44 apple, caprylic, fruity<br />

1689 3-hydroxy ethyl hexanoate - 0.72 - fruity<br />

1786 ethyl isopropyl sulfide - 2.21 - sulfurous<br />

หมายเหตุ RI = Retention time index เมือเทียบกับสารอัลเคนมาตรฐาน (C 11 -C 20 )<br />

* ข้อมูลจาก http://www.odour.org.uk/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!