22.02.2015 Views

Effect of Spray Drying on Quality of Betacyanin Powder from ... - CRDC

Effect of Spray Drying on Quality of Betacyanin Powder from ... - CRDC

Effect of Spray Drying on Quality of Betacyanin Powder from ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 209-212 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 209-212 (2554)<br />

ผลของการอบแห้งแบบพ่นฝอยต่อคุณภาพของผงเบต้าไซยานินจากแก้วมังกรแดง<br />

<str<strong>on</strong>g>Effect</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Spray</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Drying</str<strong>on</strong>g> <strong>on</strong> <strong>Quality</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <strong>Betacyanin</strong> <strong>Powder</strong> <strong>from</strong> Red Drag<strong>on</strong> Fruit<br />

ชลิดา เนียมนุ ้ย 1 สันติชัย สิริวัชโรดม 1 และ อุษารัตน์ แววตระการ 1<br />

Niamnuy, C. 1 , Sirivatcahrodom, S. 1 and Waewtrakarn, U. 1<br />

Abstract<br />

Red drag<strong>on</strong> fruit is an important source <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> betacyanin, the reddish to violet pigment. It is the good<br />

antioxidant and antitumor. The producti<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> betacyanin powder led to easily using the betacyanin as a natural<br />

functi<strong>on</strong>al food colorant. The aim <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> this work was to study the effect <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> inlet air temperature for spray drying <strong>on</strong><br />

the moisture c<strong>on</strong>tent, betacyanin c<strong>on</strong>tent and color values <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> betacyanin powder <strong>from</strong> fresh <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> red drag<strong>on</strong> fruit.<br />

The stability <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> betacyanin powder was also investigated. The studied inlet hot air temperatures were 130 150<br />

and 170 °C and the c<strong>on</strong>centrati<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> maltodentrix (carrier) was fixed at 30%. The storage c<strong>on</strong>diti<strong>on</strong> was room<br />

temperature and relative humidity <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> 55% for 30 days. The samples were taken for qualities analysis every 6<br />

days. It was found that the inlet hot air temperature significantly affected <strong>on</strong> the moisture c<strong>on</strong>tent and<br />

betacyanin c<strong>on</strong>tent <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> betacyanin powder (p


210 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

เพือแต่งสีของผลิตภัณฑ์จึงเป็ นทีนิยมอย่างแพร่หลาย โดยทัวไปผู ้ผลิตนิยมใช้สีสังเคราะห์ (Synthetic Colors) ซึงผลิตโดย<br />

การสังเคราะห์ทางเคมี เนืองจากราคาถูกและง่ายต่อการใช้งาน แต่หากผู ้บริโภคได้รับในปริมาณมากหรือมีความถีเกินไป<br />

อาจก่อให้เกิดโรคแก่ร่างกายได้ อาทิ โรคมะเร็ง โรคเกียวข้องกับระบบทางเดินอาหารและระบบขับถ่าย เป็ นต้น (วิภาดา และ<br />

คณะ, 2552) ดังนั นสีธรรมชาติซึงส่วนใหญ่ได้จากพืชจึงเป็ นอีกทางเลือกหนึงทีกําลังได้รับความสนใจให้ใช้เป็ นสีผสมอาหาร<br />

กันมากขึ น เนืองจากมีความปลอดภัยต่อผู ้บริโภค อีกทั งไม่กัดกร่อนภาชนะ นอกจากนี สารสีธรรมชาติบางชนิดยังมีคุณค่า<br />

ทางโภชนาการอีกด้วย ผู ้วิจัยจึงสนใจศึกษาเกียวกับการใช้สารสกัดจากแก้วมังกรเป็ นสีผสมอาหาร โดยแก้วมังกรเป็ นพืชใน<br />

ตระกูลกระบองเพชรในวงศ์ Cactaceae ซึงมีทั งแก้วมังกรพันธุ ์เนื อขาว (Hylocereus undatus) และพันธุ ์เนื อแดง<br />

(Hylocereus polyrhizus) สารให้สีทีสําคัญในแก้วมังกรทั งในส่วนเนื อและเปลือกของแก้วมังกรคือ เบต้าไซยานิน<br />

(<strong>Betacyanin</strong>) ทีให้สีแดง-ม่วง ซึงนอกจากจะเป็ นสารให้สีแล้ว ยังมีสมบัติเป็ นสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันและต้านการแบ่ง<br />

เซลล์ของเนื องอกหลายชนิดอีกด้วย โดยการเปลียนรูปของสารสีสกัดสดมาอยู ่ในรูปของผงสี จะทําให้การใช้งานสะดวก<br />

ยิงขึ น ดังนั นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี คือ ศึกษาผลของอุณหภูมิอบแห้งทีมีต่อปริมาณความชื น ปริมาณเบต้าไซยานิน<br />

และค่าสี ของผลิตภัณฑ์จากการอบแห้งแบบพ่นฝอย รวมถึงการศึกษาความคงตัวของผงผลิตภัณฑ์ระหว่างการเก็บรักษา<br />

ด้วย<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

นําเนื อของแก้วมังกรแดงปริมาณ 2.5 กิโลกรัมมาผสมกับนํ ากลันปริมาตร 2.5 ลิตร ปันรวมกันเป็ นเวลา 10 นาที<br />

แล้วกรองสารสกัดด้วยผ้าขาวบาง หลังจากนั นนําสารสกัดมาผสมกับมอลโตเด๊กซ์ทริน (ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส 12%) ทีความ<br />

เข้มข้น 30 เปอร์เซ็นต์ และนําสารละลายนั นมาทําการอบแห้งโดยใช้เครืองอบแห้งแบบพ่นฝอย (Labplant, SD-05, North<br />

Yorkshire, UK) โดยใช้อุณหภูมิลมร้ อน 3 ระดับ คืออุณหภูมิลมร้ อนขาเข้าเท่ากับ 130, 150 และ 170 °C ทีความเร็วลม<br />

ร้ อนเข้าห้องอบแห้ง 10.9 เมตร/วินาที อัตราการป้ อนสารเข้าเครืองอบแห้งแบบพ่นฝอย 10.7 มิลลิลิตร/นาที จากนั นนํา<br />

ผลิตภัณฑ์มาวิเคราะห์คุณภาพด้านต่างๆ ได้แก่ ความชื น ปริมาณเบต้าไซยานิน ค่าสี และความคงตัวระหว่างการเก็บรักษา<br />

โดยการวัดความชื นของผลิตภัณฑ์ตามวิธีมาตรฐาน AOAC (1999)<br />

การวิเคราะห์ปริมาณเบต้าไซยานินทําได้โดยการนําผงผลิตภัณฑ์จากการอบแห้งแบบพ่นฝอยปริมาณ 1 กรัม<br />

ละลายในนํ ากลัน 10 มิลลิลิตร ทําการวัดค่าการดูดกลืนแสงที 538 นาโนเมตร โดยใช้เครืองอัตราไวโลเลตและวิสิ<br />

เบลสเปกโทรสโคปี (Simadzu, 160A, Kyoto, Japan) ซึงความเข้มข้นของเบต้าไซยานินหาได้จากสมการที (1) (Markus<br />

และคณะ, 2005)<br />

----------------- (1)<br />

A×DF×MW×1000<br />

BLC =<br />

TM×1<br />

เมือ BLC คือความเข้มข้นของเบต้าไซยานิน ในหน่วย กรัม/ลิตร; A = ค่าการดูดกลืนแสง; DF = Diluti<strong>on</strong> Factor;<br />

MW = มวลโมเลกุลของเบต้าไซยานิน 550 กรัม/โมล; TM (Molar extincti<strong>on</strong> coefficient) = 60,000 ลิตร/โมล<br />

การวัดค่าสีของผงเบต้าไซยานินทําได้โดยการนําผงผลิตภัณฑ์ทีได้จากการอบแห้งแบบพ่นฝอยปริมาณ 0.2 กรัม<br />

ละลายในนํ ากลัน 20 มิลลิลิตร แล้วนําไปวัดค่าสีโดยเครืองวัดสี (Hunter Lab, Ultrascan XE, Rest<strong>on</strong>, USA) ซึงรายงาน<br />

เป็ นค่า L*, a* และ b* ในระบบ CIELAB โดยค่า L* บอกค่าความสว่าง ค่า a* บอกค่าสีแดง/เขียว และค่า b* บอกค่าสี<br />

เหลือง/นํ าเงิน<br />

การวิเคราะห์ความคงตัวของเบต้าไซยานินระหว่างการเก็บรักษา ทําได้โดยการนําผงผลิตภัณฑ์หลังการอบแห้ง<br />

แบบพ่นฝอยปริมาณ 25 กรัม บรรจุภายในถุงบรรจุชนิด Nyl<strong>on</strong>/LLDPE และเก็บรักษาไว้ทีอุณหภูมิห้อง และควบคุม<br />

ความชื นสัมพัทธ์ของอากาศที 55% โดยใช้สารละลายอิมตัวของแมกนีเซียมไนเตรท (Mg(NO 3 ) 2 ) เก็บรักษาเป็ นเวลา 30 วัน<br />

โดยทําการวัดปริมาณเบต้าไซยานินทุกๆ 6 วัน<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

จาก Table 1 เมือพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างกับอุณหภูมิลมร้อนขาเข้าและปริมาณความชื น พบว่าเมือ<br />

อุณหภูมิลมร้อนขาเข้าสูงขึ น ทําให้ปริมาณความชื นมีค่าลดลงอย่างมีนัยสําคัญ (p


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 211<br />

170°C มีปริมาณความชื นตําทีสุด เนืองจากการเพิมขึ นของอุณหภูมิลมร้อนขาเข้าจะทําให้เกรเดียนท์ของอุณหภูมิระหว่าง<br />

ผลิตภัณฑ์และลมร้อนสูงขึ น ส่งผลให้เกิดการถ่ายเทความร้อนได้ดี นํ าจึงสามารถระเหยออกมาได้มาก ทําให้ปริมาณ<br />

ความชื นของผลิตภัณฑ์ลดลงได้มาก (Jittanit และคณะ, 2010)<br />

Table 1 Properties <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> betacyanin powder dried at various inlet hot air drying temperatures <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> spray drying<br />

อุณหภูมิ<br />

ลมร้อนขาเข้า<br />

(°C)<br />

ปริมาณความชื น<br />

(%)<br />

ปริมาณเบต้าไซยานิน<br />

(มิลลิกรัม/กรัม)<br />

L* a* b*<br />

130 4.48±0.01 b 83.94±0.10 a 60.76±1.18 a 49.47±2.98 a -9.98±3.10 a<br />

150 4.32±0.09 b 82.45±2.14 a 61.28±1.25 a 45.68±0.20 a -10.65±0.10 a<br />

170 3.39±0.12 a 102.67±6.57 b 58.95±3.29 a 50.86±7.29 a -11.90±0.58 a<br />

เมือพิจารณาผลของอุณหภูมิลมร้อนขาเข้าทีมีต่อปริมาณเบต้าไซยานินในผลิตภัณฑ์ พบว่าการอบแห้งทีอุณหภูมิ<br />

170 °C ให้ปริมาณเบต้าไซยานินในผลิตภัณฑ์มีค่าสูงสุด เนืองจากการอบแห้งทีอุณหภูมิ 170 °C นั นใช้เวลาในการอบแห้ง<br />

น้อยกว่าทีอุณหภูมิ 150 และ 130 °C ทําให้ผลิตภัณฑ์สัมผัสความร้อนเป็ นระยะเวลาสั นกว่า มีผลให้เกิดการเสือมสลาย<br />

ของเบต้าไซยานินตํากว่า (Cai และ Corke, 2001) จากการทดลองการอบแห้งทีอุณหภูมิลมร้อน 130 °C นั นไม่เหมาะแก่<br />

การอบแห้งแบบพ่นฝอยเนืองจากประสิทธิภาพการทําแห้งทีตํา และพบว่าผลิตภัณฑ์เกิดการเกาะติด (stickiness) ของ<br />

ภายในห้องอบแห้งมากกว่าทีอุณหภูมิอืนๆด้วย เมือพิจารณาผลการทดลองระหว่างการอบแห้งทีอุณหภูมิ 130 และ 150<br />

°C พบว่าปริมาณเบต้าไซยานินในผลิตภัณฑ์หลังการอบแห้งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ (p≥0.05)<br />

เมือพิจารณาอิทธิพลของอุณหภูมิลมร้อนขาเข้าทีมีต่อค่าสีของผลิตภัณฑ์ พบว่าทีอุณหภูมิ 170°C ให้ค่า L*, b*<br />

น้อยทีสุดและ a* มากทีสุด ซึงผลการทดลองทีได้สอดคล้องกับปริมาณเบต้าไซยานิน กล่าวคือเมือมีเบต้าไซยานินซึงเป็ น<br />

สารให้สีแดง-ม่วงในปริมาณมาก ค่าความสว่างก็จะมีค่าน้อย (ค่า L* มีค่าเข้าใกล้ 0) มีสีแดงมากขึ น (ค่า a * มีค่าเข้าใกล้<br />

+100) และนํ าเงินก็จะเพิมขึ น (ค่า b * มีค่าเข้าใกล้ -100) อย่างไรก็ดี พบว่าค่าสี L* a* และ b* ของผลิตภัณฑ์ทีได้จากการ<br />

อบแห้งทีอุณหภูมิต่างๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ (p 0.05)<br />

จาก Figure 1 ปริมาณเบต้าไซยานินในผลิตภัณฑ์ทีเวลาการเก็บต่างๆมีค่าใกล้เคียงกันและปริมาณไม่มีความ<br />

แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ คือ ทีอุณหภูมิลมร้อนขาเข้า 130, 150 และ 170 °C อยู ่ในช่วง 80.3-83.9, 80.0-84.5 และ<br />

100.8-104.6 มิลลิกรัม/กรัมของผลิตภัณฑ์ตามลําดับ จึงถือว่าปริมาณเบต้าไซยานินในผลิตภัณฑ์ไม่เปลียนแปลงตลอด<br />

ระยะเวลา 30 วัน ซึงมีสาเหตุเนืองมาจากสารพยุง (มอลโตเด็กซ์ตริน) มีส่วนช่วยให้เบต้าไซยานินสลายตัวช้า (Cai และ<br />

Corke, 2000) เมือเทียบกับการเก็บรักษาสารละลายเบต้าไซยานินทีสกัดออกมาได้ในรูปของของเหลว ซึงปริมาณเบต้าไซ<br />

ยานินจะลดลง 30 % เมือเก็บรักษาในสภาวะไม่มีแสง ทีอุณหภูมิ 25°C เป็ นเวลา 1 อาทิตย์ (Woo และคณะ, 2011)<br />

Figure 1 <strong>Betacyanin</strong> c<strong>on</strong>tent in powder dried at various inlet hot air drying temperatures <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> spray drying during<br />

storage


212 210 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

สรุปผล<br />

จากการศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิลมร้อนขาเข้าในการอบแห้งแบบพ่นฝอยทีมีต่อความชื น ปริมาณเบต้าไซยานิน<br />

และค่าสี พบว่าอุณหภูมิ 170 ° C เหมาะสมทีจะใช้ในการอบแห้ง เนืองจากผลิตภัณฑ์ทีได้มีคุณภาพดีทีสุด โดยมีความชื น<br />

ตําทีสุด คือ ร้อยละ 3.39 (มาตรฐานเปี ยก) และมีปริมาณเบต้าไซยานินสูงสุดคือ 102.67 มิลลิกรัม/กรัม มีค่าสี ได้แก่ ค่า<br />

L*, a*และ b* เท่ากับ 58.95, 50.86 และ -10.90 ตามลําดับ ทั งนี พบว่าอุณหภูมิลมร้อนขาเข้าในช่วงทีทําการศึกษามี<br />

อิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญต่อความชื นและปริมาณเบต้าไซยานิน แต่ไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญต่อค่าสีของผลิตภัณฑ์ เมือ<br />

ทําการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์เป็ นเวลา 30 วันทีอุณหภูมิห้องพบว่าปริมาณเบต้าไซยานินของผลิตภัณฑ์ยังคงไม่เปลียนแปลง<br />

อย่างมีนัยสําคัญสําหรับผลิตภัณฑ์ทีได้จากการอบแห้งทีทุกอุณหภูมิลมร้อนขาเข้า<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

วิภาดา สนองราษฏร์ วิภาวี ขําวิจิตร วารินทร์ ยางเดิม ปริยาภัทร เชาว์ชาญ และพัชราภรณ์ สารเสนา, 2552, การสกัดสารสี<br />

จากเปลือกผลแก้วมังกร, วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2: 9-16.<br />

AOAC, 1999, Official Method <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Analysis (16 th ed.), The Associati<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Official Analytical Chemists, Washingt<strong>on</strong>,<br />

DC.<br />

Cai, Y.Z. and Corke, H., 2000, Producti<strong>on</strong> and Properties <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Spray</str<strong>on</strong>g>-dried Amaranthus betacyanin pigments,<br />

Journal <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Food Science, 66: 1248-1252.<br />

Cai, Y.Z. and Corke, H., 2001, <str<strong>on</strong>g>Effect</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Postharvest Treatments <strong>on</strong> amaranthus betacyanin Degradati<strong>on</strong><br />

Evaluated by Visible/near-infrareds, Journal <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Food Science, 66: 1112-1118.<br />

Jittanit, W., Niti-Att, S. and Techanuntachaikul, O., 2010, Study <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Spray</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Drying</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Pineapple Juice using<br />

Maltodextrin as an Adjunct, Chiang Mai Journal <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Science, 37: 498-506.<br />

Markus, R.M., Florian, C.S. and Reinhold, C., 2005, Development <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> a Process for the Producti<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> a Betalain-<br />

Based Colouring Foodstuff <strong>from</strong> Cactus Pear, Innovative Food Science and Emerging Technologies, 6:<br />

221-231.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!