22.02.2015 Views

Bifidobacterium longum Phytochemical Changes of ... - CRDC

Bifidobacterium longum Phytochemical Changes of ... - CRDC

Bifidobacterium longum Phytochemical Changes of ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

่<br />

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 433-436 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 433-436 (2554)<br />

การเปลี ยนแปลงสารพฤกษเคมีของข้าวกล้องหมักด้วยเชือ <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong><br />

<strong>Phytochemical</strong> <strong>Changes</strong> <strong>of</strong> Fermented Brown Rice with <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong><br />

1<br />

จิราภา มาอินทร์ อรพิน เกิดชูชื น 1 และ ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์1<br />

Marin, J. 1 , Kerdchoechuen, O. 1 and Laohakunjit, N. 1<br />

Abstract<br />

The change <strong>of</strong> phyochemical <strong>of</strong> fermented brown rice cv Khaw Doak Mali 105, Pathum Thani 1, Chainat<br />

1 and fermented black and white glutinous brown rice by <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong> at 37°C for 72 hrs was<br />

conducted. Results showed that fermented rice cv Pathum Thani 1 had the greatest protein (11.25%).<br />

Fermented rice cv. Khaw Doak Mali 105 consisted <strong>of</strong> the highest fat and ash contents at 2.37% and 2.89%,<br />

respectively. In addition, the highest <strong>of</strong> vitamin B1, fiber and phenolic compounds was found in fermented<br />

black glutinous brown rice which their values were 0.72 mg/100g, 1.36% and 2.36 mg/g, respectively.<br />

Furthermore, the protein size <strong>of</strong> all five fermented rice was ranged at 32 kD.<br />

Keywords: brown rice, glutinous brown rice, fermentation, <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong><br />

บทคัดย่อ<br />

จากการศึกษาการเปลียนแปลงสารสําคัญในข้าวเจ้ากล้องหมัก ได้แก่ ข้าวกล้องพันธุ ์ขาวดอกมะลิ 105 ข้าวกล้อง<br />

พันธุ ์ปทุมธานี 1 ข้าวกล้องพันธุ ์ชัยนาท 1 และข้าวเหนียวกล้องหมัก ได้แก่ ข้าวเหนียวกล้องขาว ข้าวเหนียวกล้องดํา โดยใช้<br />

เชื อ <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong> อุณหภูมิ 37°C เป็ นเวลา 72 ชัวโมง พบว่า ข้าวกล้องหมักพันธุ ์ปทุมธานี 1 มีปริมาณโปรตีน<br />

สูงทีสุดเท่ากับ 11.25% ตามลําดับ สําหรับข้าวกล้องหมักพันธุ ์ขาวดอกมะลิ 105 มีปริมาณไขมันและเถ้าสูงทีสุดเท่ากับ<br />

2.37% และ 2.89% ตามลําดับ ในส่วนของข้าวเหนียวกล้องดําหมักมีปริมาณวิตามินบี 1 เยือใย และสารประกอบฟี นอลิก<br />

สูงทีสุดเท่ากับ 0.72 mg/100g, 1.36% และ 2.36 mg/g ตามลําดับ เพือเปรียบเทียบขนาดโปรตีนในข้าวหมักกับโปรตีนใน<br />

ข้าวสาลี พบว่าขนาดโปรตีนของข้าวกล้องทั ง 5 สายพันธุ ์ทีผ่านกระบวนการหมักมีขนาดอยู ่ในช่วง 32 kD<br />

คําสําคัญ: ข้าวเจ้ากล้อง ข้าวกล้องเหนียว กระบวนการหมัก <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong><br />

คํานํา<br />

ข้าว (Oryza sativa L.) เป็ นธัญพืชทีสําคัญและเป็ นอาหารหลักของหลายประเทศในแถบเอเชีย (Benzel และ<br />

คณะ, 2001) และถูกนํามาบริโภคเป็ นอาหารหลักของประชากรมากกว่าร้อยละ 50 ของประชากรทัวโลก (Charoenthaikij<br />

และคณะ, 2009) ซึงข้าวทีปลูกเพือบริโภคนั นสามารถแบ่งตามชนิดของแป้ งในเมล็ด ได้แก่ ข้าวเจ้า (non-waxy rice) และ<br />

ข้าวเหนียว (waxy rice) โดยเมล็ดข้าวเจ้าประกอบด้วยแป้ งอะมิโลสประมาณร้อยละ 15-30 และเมล็ดข้าวเหนียว<br />

ประกอบด้วยแป้ งอะมิโลเพกทินเป็ นส่วนใหญ่ และมีอะมิโลสเป็ นส่วนน้อยประมาณร้อยละ 5-7 ข้าวนอกจากอุดมด้วย<br />

สารอาหาร ได้แก่ โปรตีนทีมีกรดอะมิโนจําเป็ นหลายชนิด คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ใยอาหาร ยังมีสารพฤกษเคมี ซึงสะสมอยู<br />

ในส่วนของคัพภะ (embryo) หรือจมูกข้าว (germ) และส่วนของ starchy endosperm (Juliano และคณะ, 1993;<br />

Ohtsubo และคณะ, 2005; Das และคณะ, 2008) ทั งนี ข้าวขาวทีนิยมบริโภคนั นมีสารสําคัญในปริมาณน้อย ในปัจจุบันจึง<br />

หันมาสนใจบริโภคข้าวกล้องกันมากขึ นในกลุ ่มผู ้รักสุขภาพ โดยข้าวกล้องคือข้าวทีกะเทาะเปลือกออกแต่ยังไม่ได้ขัดสี จึงยัง<br />

มีจมูกข้าวและเยือหุ ้มเมล็ดข้าวติดอยู ่กับเมล็ด ซึงประกอบไปด้วยสารอาหารทีมากกว่าข้าวขาว (Champagne และคณะ,<br />

2004) โดยมีปริมาณโปตีน 7.1-8.3% ไขมัน 1.6-2.8% ใยอาหาร 0.6-1.0 และคาร์โบไฮเดรต 72.9-75.9% (Willis และคณะ<br />

, 1982) ซึงกระบวนการหมักเป็ นกระบวนการทีนิยมใช้ปรับปรุงคุณค่าทางโภชนาการโดยการใช้จุลินทรีย์ทีเป็ นประโยชน์ ซึง<br />

สามารถเพิมสารเสริมฤทธิ ทางชีวภาพ ได้แก่ โปรตีน กรดอะมิโน ไขมัน และวิตามินต่างๆ (Abiodun และคณะ, 1999)<br />

โดยเฉพาะเชื อแลคติคแอซิดแบคทีเรียสามารถปรับปรุงคุณค่าทางโภชนาการและปริมาณไลซีนให้เพิมขึ นได้ (Hamad และ<br />

คณะ, 1979) และยังมีรายงานเพิมเติมว่าข้าวกล้องทีผ่านกระบวนการหมักมีปริมาณ crude protein, total sugars,<br />

1<br />

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 49 ถนนเทียนทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150<br />

1<br />

School <strong>of</strong> Bioresources and Technology, King Mongkut’s University <strong>of</strong> Technology Thonburi, 49 Tientalay Rd., Thakam, Bangkhuntein, Bangkok 10150


์<br />

์<br />

434 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

reducing sugar, total free amino acid contents, thiamin, niacin และ pyridoxine เพิมขึ น (Moongngarm และคณะ,<br />

2010) ดังนั นงานวิจัยนี จึงมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาการเปลียนแปลงสารพฤกษเคมีของข้าวกล้องพันธุ ์ขาวดอกมะลิ 105<br />

ปทุมธานี ชัยนาท 1 ข้าวเหนียวกล้องขาว และข้าวเหนียวกล้องดํา หมักด้วยเชื อ <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong> เพือนํามาใช้<br />

เป็ นอาหารเสริมสุขภาพ<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

เตรียมเชื อ <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong> โดยเขียเชื อจาก stock แล้ว streak ลงplate บ่มที 37˚C เป็ นเวลา 24<br />

ชัวโมง หรือจนกว่าเชื อเจริญ จากนั นแตะโคโลนีเดียวลง flask ทีบรรจุ nutrient broth (NB) 50 ml. เขย่าเป็ นเวลา 24 ชัวโมง<br />

หรือจนกว่ามีความขุ ่น ทีมีค่า OD เทียบกับ Mc farland standard no. 0.5<br />

นําวัตถุดิบข้าวเจ้ากล้อง 3 พันธุ ์ ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 ปทุมธานี และชัยนาท 1 และข้าวเหนียวกล้อง 2 พันธุ<br />

ได้แก่ ข้าวเหนียวขาว และข้าวเหนียวดํา มาหมักด้วยเชื อ <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong> โดยinoculatedเชื อ 10% หมักที<br />

อุณหภูมิ 37˚C เป็ นเวลา 36 ชัวโมง จากนั นอบด้วยตู ้อบลมร้อนทีอุณหภูมิ 60˚C เป็ นเวลา 24 ชัวโมง บดให้ละเอียด แล้ว<br />

นําไปวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ โปรตีน ไขมัน เยือใย ความชื น และเถ้า ตามวิธีของ Association <strong>of</strong> Official<br />

Analytical Chemists (AOAC, 2000)<br />

วิเคราะห์ปริมาณวิตามินบี 1 ดัดแปลงตามวิธีของ Moongngarm และคณะ (2010) โดยชังตัวอย่าง 0.1 กรัม<br />

ละลายในนํ ากลัน 10 มิลลิลิตร เขย่าเป็ นเนื อเดียวกัน กรองด้วยกระดาษกรองเบอร์ 1 ปิ เปตสารตัวอย่าง 1 มิลลิลิตร เติม<br />

NH 4 Cl-NH 3 H 2 O buffer เติม 1% Tween 20 และหยด 0.05% phenol red 1-2 หยด ผสมให้เข้ากัน ทิ งไว้ทีอุณหภูมิห้อง 10<br />

นาที วัดค่าดูดกลืนแสงโดยเครือง spectrophotometer ทีความยาวคลืน 427 นาโนเมตร<br />

สําหรับปริมาณสารประกอบฟิ นอลิค ดัดแปลงตามวิธีของ Iqbal (2005) โดยสกัดตัวอย่าง 3 กรัมด้วย 80% เม<br />

ทานอล 30 มิลลิลิตร เขย่าเป็ นเวลา 24 ชัวโมง กรองด้วยกระดาษกรองเบอร์ 1 ปิ เปตสารตัวอย่าง 50 ไมโครลิตร เติมนํ า<br />

กลันปริมาตร 950 ไมโครลิตร เติม 10% Folin-Ciocalteu phenol reagent และ 7.5% Na 2 CO ผสมให้เข้ากัน ทิ งที<br />

อุณหภูมิห้องเป็ นเวลา 2 ชัวโมง จึงวัดค่าดูดกลืนแสงที 760 นาโนเมตร ส่วนขนาดโมเลกุลของโปรตีนในข้าวทั ง 5 สายพันธุ<br />

เปรียบเทียบกับโปรตีนในข้าวสาลี (wheat gluten) โดยวิธี sodium dodecyl sulfate polyacrylamide gel<br />

electrophoresis (SDS-PAGE)<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

จากการศึกษาสารสําคัญในข้าวเจ้ากล้อง 3 พันธุ ์ ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 ปทุมธานี และชัยนาท 1 และข้าว<br />

เหนียวกล้อง 2 พันธุ ์ ได้แก่ ข้าวเหนียวขาว และข้าวเหนียวดําทีผ่านการหมักด้วยเชื อ <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong> ทีอุณหภูมิ<br />

37˚C เป็ นเวลา 72 ชัวโมง โดยวิเคราะห์การเปลียนแปลงองค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ โปรตีน ไขมัน เยือใย ความชื น เถ้า<br />

วิตามินบี 1 และ สารประกอบฟินอลิค พบว่า ข้าวทีมีปริมาณโปรตีนมากทีสุดคือ ข้าวกล้องหมักพันธุ ์ปทุมธานี 1 (11.25%)<br />

รองลงมาคือพันธุ ์ชัยนาท 1 ขาวดอกมะลิ 105 ข้าวเหนียวกล้องขาวหมัก และข้าวเหนียวกล้องดําหมัก สาเหตุทีโปรตีนของ<br />

ข้าวกล้องเพิมขึ นเนืองจากจุลินทรีย์อาจส่งผลให้การทํางานของเอนไซม์เพิมขึ นและเกิดการย่อยสลายโปรตีนในระหว่างการ<br />

หมัก (Sripriya และคณะ, 1997) สําหรับปริมาณไขมันพบมากทีสุดในข้าวกล้องหมักพันธุ ์ขาวดอกมะลิ 105 เท่ากับ 2.37%<br />

รองลงมาคือ พันธุ ์ปทุมธานี 1 พันธุ ์ชัยนาท 1 ข้าวเหนียวกล้องดําหมัก และ ข้าวเหนียวกล้องขาวหมัก โดยในเมล็ดข้าวจะ<br />

ประกอบด้วยไขมันชนิดไม่อิมตัวสูง ซึงในข้าวกล้องจะมีปริมาณไขมันมากกว่าในข้าวขาวเพราะในระหว่างกระบวนการขัดสี<br />

จะส่งผลให้เยือหุ ้มเมล็ดหลุดออก ซึงเป็ นสาเหตุหลักทีทําเกิดการสูญเสียปริมาณไขมันในข้าวขัดสี ทั งนี สายพันธุ ์ทีมีปริมาณ<br />

เยือใย วิตามีนบี 1 และสารประกอบฟี นอลิคสูงทีสุดคือ ข้าวเหนียวกล้องดําหมักมีปริมาณเท่ากับ 0.72 mg/100g, 1.36%<br />

และ 2.36 mg/g ตามลําดับ ทั งนี สาเหตุทีพบสารประกอบฟี นอลิคมากทีสุดในข้าวเหนียวกล้องดําเป็ นเพราะข้าวทีมีสีดํามี<br />

ปริมาณสารแอนโธไซยานินสูง (Escribano-Bailon และคณะ, 2004) ต่อมาเมือนําข้าวกล้องหมักทั ง 5 สายพันธุ ์มาหาขนาด<br />

ของโปรตีนเปรียบเทียบกับ wheat gluten ในข้าวสาลี พบว่า ขนาดโปรตีนของข้าวกล้องหมักทั ง 5 พันธุ ์อยู ่ที 32 kD<br />

สรุปผล<br />

กระบวนการหมักด้วยเชื อ <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong> ทีอุณหภูมิ 37˚C เป็ นเวลา 72 ชัวโมง ส่งผลให้ข้าวกล้องเจ้า<br />

และข้าวเหนียวกล้องมีคุณค่าทางโภชนาการเพิมขึ น ทั งนี สายพันธุ ์ของข้าวจัดเป็ นตัวแปรสําคัญทีจะส่งเสริมการเพิมขึ นของ


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 435<br />

สารสําคัญ โดยข้าวต่างสายพันธุ ์กันจะมีปริมาณสารอาหารเพิมขึ นไม่เหมือนกัน แต่ขนาดของโปรตีนในข้าวกล้องเจ้าและ<br />

ข้าวเหนียวกล้องทีผ่านและไม่ผ่านการหมักมีขนาดไม่แตกต่างกันมากนัก<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

AOAC, 2000, Official Methods <strong>of</strong> Analysis <strong>of</strong> the Association <strong>of</strong> Official Analytical Chemists, Washington, D.C.<br />

Abiodun, I.S., Onilude, A.A. and Ibidapo, O.T., 1999, Biochemical Composition <strong>of</strong> Infant Weaning Food<br />

Fabricated from Fermented Blends <strong>of</strong> Cereal and Soybean, Food Chemistry, 65: 35-39.<br />

Benzie, I.F.F. and Strain, J.J., 1996, The Ferric Reducing Ability <strong>of</strong> Plasma (FRAP) as a Measure <strong>of</strong> “antioxidant<br />

power” the FRAP Assay, Analytical Biochemistry, 239: 70-76.<br />

Champagne, E.T., Wood, D.F., Juliano, B.O. and Bechtel, D.B., 2004, The Rice Grain and its Gross<br />

Composition, Rice American Association <strong>of</strong> Cereal Chemistry, xxx: 77- 107.<br />

Chang. L.W., Yen, W.J., Huangb, S.C. and DerDuh, P., 2002, Antioxidant Activity <strong>of</strong> Sesame Coat, Food<br />

Chemistry, 78: 347–354.<br />

Charalampopoulos, D., Wang, R., Pandiella, S.S. and Webb, C., 2002, Application <strong>of</strong> Cereals and Cereal<br />

Components in Functional Food, International Journal <strong>of</strong> food microbiology, 79: 131-141.<br />

Charoenthaikij, P., Jangchud, K., Jangchud, A., Piyachomkwan, K., Tungtrakul, P. and Prinyawiwatkul, W.,<br />

2009, Germination Conditions Affect Physicochemical Properties <strong>of</strong> Germinated Brown Rice Flour, Journal<br />

<strong>of</strong> Food Science, 74: 658-665.<br />

Das, M., Gupta, S., Kapoor, V., Banerjee, R. and Bal, S., 2008, Enzymatic Polishing <strong>of</strong> Rice: A New Processing<br />

Technology, Food Science and Technology, 41: 2079-2084.<br />

Escribano-Bailon, M.T., Santos-Buelga, C. and Rivas-Gonzalo, J.C., 2004, Anthocyanins in Cereals, Journal <strong>of</strong><br />

Chroma-tography A, 1054: 129–141.<br />

Hamad, A.M. and Fields, M.L., 1979, Evaluation <strong>of</strong> the Protein Quality and Available Lysine <strong>of</strong> Germinated and<br />

Fermented Cereals, Journal <strong>of</strong> Food Science, 44: 456–459.<br />

Iqbal, S., Bhanger, M.I. and Anwar, F., 2005, Antioxidant Properties and Components <strong>of</strong> Some Commercially<br />

Available Varieties <strong>of</strong> Rice Bran in Pakistan, Food Chemistry, 93(2): 265–272.<br />

Juliano, B.O., 1993, Rice Consumption and Nutrition Problem in Rice-Consuming Countries; Rice in human<br />

nutrition, Rome: Food and Agriculture Organization <strong>of</strong> the United Nations (FAO), xxx: 17-34.<br />

Moongngarm, A. and Saetung, N., 2010, Comparison <strong>of</strong> Chemical Compositions and Bioactive Compounds <strong>of</strong><br />

Germinated Rough Rice and Brown Rice, Food Chemistry, 122: 782-788.<br />

Ohtsubo, K., Suzuki, K., Yasui, Y. and Kasumi, T., 2005, Bio-functional Components in the Processed Pregerminated<br />

Brown Rice by a Twin-screw Extruder, Journal <strong>of</strong> Food Compost Anal, 18: 303-316.<br />

Sripriya, G., Antony, U. and Chandra, T.S., 1997, <strong>Changes</strong> in Carbohydrate, Free Amino Acids, Organic Acids,<br />

Phytate and HCl Extractability <strong>of</strong> Minerals During Germination and Fermentation <strong>of</strong> Finger Millet (Eleusine<br />

coracana), Food Chemistry, 58: 345-350.<br />

Willis, R.B.H., Palipane, L.B. and Green field, H., 1982, Composition <strong>of</strong> Australian Foods. B: Rice, Food<br />

Technology Association <strong>of</strong> Australia, 34: 66-68.


436 434 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Table1 Nutritional values <strong>of</strong> fermented brown rice with <strong>Bifidobacterium</strong> <strong>longum</strong>.<br />

Brown rice<br />

Protein<br />

(%)<br />

Fat<br />

(%)<br />

Fibre<br />

(%)<br />

Moisture (%)<br />

Ash<br />

(%)<br />

Vitamin B1<br />

(mg/100g)<br />

Phenolic<br />

(mg/g)<br />

Khaw Doak<br />

Mali 105 10.66±0.07 2.37±1.28 1.07±0.16 11.54±0.88 2.89±1.98 0.63±0.05 0.45±1.23<br />

Pathum<br />

Thani 1 11.25±1.24 2.15±1.44 0.82±0.04 11.81±0.76 1.51±0.06 0.68±0.01 0.57±0.62<br />

Chai-nat 1 10.80±0.33 2.04±1.24 0.98±0.04 11.20±0.16 1.64±0.07 0.67±0.02 0.44±0.61<br />

black<br />

glutinous<br />

rice<br />

white<br />

glutinous<br />

rice<br />

9.61±0.13 1.39±0.15 1.21±0.04 10.79±0.14 1.58±0.03 0.66±0.08 0.55±2.44<br />

10.44±0.06 1.53±0.03 1.36±0.78 10.51±0.10 1.56±0.11 0.72±0.07 2.36±13.37<br />

Figure1 Molecular size <strong>of</strong> protein from fermented rice compared with wheat gluten; F1=rice cv KDML 105,<br />

F2= Pathumthani 1, F3=Chainat 1, F4= white waxy rice, and F5= black waxy rice.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!