22.02.2015 Views

Ulva intestinalis Effect of Extraction Methods on ... - CRDC

Ulva intestinalis Effect of Extraction Methods on ... - CRDC

Ulva intestinalis Effect of Extraction Methods on ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 325-328 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 325-328 (2554)<br />

อิทธิพลของวิธีการสกัดต่อคุณสมบัติทางกายภาพ และเคมีของพอลิแซคคาไรด์ จาก <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g><br />

<str<strong>on</strong>g>Effect</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Extracti<strong>on</strong></str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Methods</str<strong>on</strong>g> <strong>on</strong> Physicochemical Characteristics <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Polysaccharide from <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g><br />

นภัสสร เพียสุระ 1 ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์1 และ อรพิน เกิดชูชื น 1<br />

Peasura, N. 1 , Laohakunjit, N. 1 and Kerdchoechuen, O. 1<br />

Abstract<br />

This research was studied the effect <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> the extracti<strong>on</strong> methods <strong>on</strong> chemical properties <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> the<br />

polysaccharide from <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g> by water at 40°C, 60°C and 80°C for 1, 3 and 5 h and alkali (NaOH) at<br />

c<strong>on</strong>centrati<strong>on</strong> 0.001 N (pH11) and 0.1 N (pH14) for 2 and 4 h, extracti<strong>on</strong> time 80°C. For water extracti<strong>on</strong>, when<br />

extracti<strong>on</strong> time and temperature increased the amount <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> polysaccharide extracted was increased. Water<br />

extracti<strong>on</strong> at 80°C for 5 hours gave the highest yield was 12.49 % and alkali extracti<strong>on</strong> at 0.001 N (pH11) for 2<br />

hours gave the highest yield was 9.99. Total sugar gave the highest amount at 80°C for 1h was 48.85 (g/100g)<br />

and alkali extracti<strong>on</strong> was 50.19 (g/100g) at 0.001N (pH11) for 4 hours. Sulphate c<strong>on</strong>tent extracted by water at<br />

80°C for 5 h gave the highest amount was 3.33% and alkali extracti<strong>on</strong> at 0.1N for 4 h was 4.47. However,<br />

water extracti<strong>on</strong> gave the higher yield than alkali extracti<strong>on</strong> but total sugar and sulphate c<strong>on</strong>tent by alkali<br />

extracti<strong>on</strong> was higher amount than water extracti<strong>on</strong>. In additi<strong>on</strong> color <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> polysaccharide were extracted with<br />

water had a brighter green more than extracted alkali when the pH <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> the extracti<strong>on</strong> were increase color <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> the<br />

polysaccharide was growing darker.<br />

Keywords: polysaccharide, <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g><br />

บทคัดย่อ<br />

งานวิจัยนี เป็ นการศึกษาอิทธิพลของวิธีการสกัดต่อคุณสมบัติทางกายภาพเคมีของพอลิแซคคาไรด์จาก <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g><br />

<str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g> ด้วยนํ าทีอุณหภูมิ 40°C, 60°C และ 80°C เวลาในการสกัด 1, 3 และ 5 ชัวโมง และด่าง (NaOH) ทีความ<br />

เข้มข้น 0.001 นอร์มัล (pH11) และความเข้มข้น 0.1 นอร์มัล (pH14) เวลาในการสกัด 2 และ 4 ชัวโมง อุณหภูมิการสกัด<br />

80°C พบว่า การสกัดด้วยนํ าเมือเวลาและอุณหภูมิในการสกัดเพิมขึ นปริมาณพอลิแซคคาไรด์ทีสกัดได้มีค่าสูงขึ น โดยมี<br />

ค่าสูงสุดทีอุณหภูมิสกัด 80°C นาน 5 ชัวโมง เท่ากับร้อยละ 12.49 ส่วนการสกัดด้วยด่าง พบว่าทีความเข้มข้น 0.001 นอร์<br />

มัล (pH11) นาน 2 ชัวโมง มีปริมาณพอลิแซคคาไรด์ทีสกัดได้สูงทีสุด เท่ากับร้อยละ 9.99 ปริมาณนํ าตาลมีค่าสูงสุดที<br />

อุณหภูมิในการสกัดด้วยนํ าเท่ากับ 80°C เวลาในการสกัด 1 ชัวโมง เท่ากับ 48.85 (g/100g) และการสกัดด้วยด่างทีความ<br />

เข้มข้น 0.001นอร์มัล (pH11) นาน 4 ชัวโมง มีค่าสูงสุดเท่ากับ 50.19 (g/100g) ปริมาณซัลเฟตทีสกัดด้วยนํ าทีอุณหภูมิ<br />

80°C นาน 5 ชัวโมง มีค่าสูงสุดเท่ากับร้อยละ 3.33 และการสกัดด้วยด่างทีความเข้มข้น 0.1N นาน 4 ชัวโมง มีค่าเท่ากับ<br />

ร้อยละ 4.47 โดยการสกัดด้วยนํ าให้ปริมาณพอลิแซคคาไรด์สูงกว่าการสกัดด้วยด่าง แต่ปริมาณนํ าตาลและปริมาณซัลเฟ<br />

ตจากการสกัดด้วยด่างมีค่าสูงกว่าการสกัดด้วยนํ า สีของพอลิแซคคาไรด์ทีได้จากการสกัดด้วยนํ ามีสีเขียวสว่างกว่าพอลิ<br />

แซคคาไรด์ทีสกัดด้วยด่าง โดยพบว่าเมือ pH ของการสกัดเพิมขึ น พอลิแซคคาไรด์ทีได้มีสีคลํ ามากขึ น<br />

คําสําคัญ: พอลิแซคคาไรด์ สาหร่ายไส้ไก่<br />

คํานํา<br />

<str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g> จัดเป็ นสาหร่ายสีเขียวทีสามารถพบได้ในนํ าเค็มจนถึงนํ ากร่อย และไม่ค่อยมีการนํามาใช้<br />

ประโยชน์ (Mabeau และ Fleurence, 1993) Ray และ Lahaye (1995) รายงานว่า สาหร่ายชนิดนี มีพอลิแซคคาไรด์เป็ น<br />

ส่วนประกอบประมาณร้อยละ 38-54 ของนํ าหนักแห้ง ซึงสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทหลัก คือ พอลิแซคคาไรด์ทีละลาย<br />

นํ าได้ และส่วนทีละลายนํ าไม่ได้ จากการศึกษาของ Lahaye และ Rubic (2007) พบว่าพอลิแซคคาไรด์จากสาหร่ายสีเขียว<br />

ทีสกัดด้วยตัวทําละลายต่างชนิดกันมีคุณสมบัติทางกายภาพเคมี เช่น %yield และ สี ต่างกัน เป็ นต้น และยังมี<br />

1<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวเคมี คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี 83 หมู ่ 8 ท่าข้าม บางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10105<br />

1<br />

Biochemical Technology School <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Bioresources and Technology 83 Moo 8 Thakam, Bangkhuntein, Bangkok 10150


326 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

ความสามารถในการออกฤทธิ ทางชีวภาพทีน่าสนใจ เช่น เป็ นสารต้านการอักเสบ และกระตุ ้นภูมิคุ ้มกัน (Ivanova และ<br />

คณะ, 1994) ซึงวิธีการสกัดพอลิแซคคาไรด์โดยทัวไปใช้นํ า ทีอุณหภูมิประมาณ 80-90˚C ปริมาณพอลิแซคคาไรด์ทีได้<br />

ประมาณร้ อยละ 8-29 ของนํ าหนักแห้ง (Lahaye, 2007) การใช้สารละลายกรดในการสกัด โดยกรดไปตัดหมู ่ฟังก์ชันทีต่อ<br />

กับพอลิแซคคาไรด์ ทําให้ได้องค์ประกอบทีต่างกัน (Aspinall, 1977) ส่วนการสกัดด้วยด่างใช้สกัดพอลิแซคคาไรด์ทีไม่<br />

สามารถย่อยด้วยกรดได้ (Whistler และ BeMiller, 1993) โดยพอลิแซคคาไรด์ทีได้จากวิธีการสกัดทีแตกต่างกัน มี<br />

คุณสมบัติทางกายภาพเคมีทีต่างกันด้วย (Aspinall, 1977) ดังนั นงานวิจัยนี จึงศึกษาอิทธิพลของวิธีการสกัดต่อคุณสมบัติ<br />

ทางกายภาพเคมีของพอลิแซคคาไรด์จาก <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g><br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

<str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g> บดละเอียดขนาด 80 เมช จากจังหวัดปัตตานี นํามาสกัด 2 วิธีการ คือสกัดด้วยนํ า และด่าง<br />

โดยการสกัดด้วยนํ า แปรอุณหภูมิการสกัดที 40°C, 60°C และ 80°C และแปรเวลาการสกัด 1, 3 และ 5 ชัวโมง ส่วนการ<br />

สกัดด้วยด่าง (NaOH) แปรความเข้มข้นด่างที 0.001 นอร์มัล (pH11) และ 0.1 นอร์มัล (pH14) แปรเวลาการสกัด 2 และ 4<br />

ชัวโมง ทีอุณหภูมิการสกัด 80°C การสกัดทั ง 2 วิธี ใช้ปริมาณสาหร่าย 10 กรัม โดยใช้อัตราส่วนระหว่างสาหร่ายและตัวทํา<br />

ละลายเท่ากับ 1:20 ๖(%w/W) หลังจากนั นกรองผ่านไนล่อนขนาด 80 เมช แยกตะกอนและส่วนใส โดยนําส่วนใสมา<br />

ตกตะกอนด้วยเอธานอล 95% ปริมาตร 3 เท่าของสารสกัด ทิ งไว้เป็ นเวลา 1 คืน หลังจากนั นระเหยเอธานอลออก นํา<br />

ตะกอนพอลิแซคคาไรด์ ทีได้ไปอบทีอุณหภูมิ 50°C เป็ นเวลา 3 ชัวโมง บดละเอียด เก็บใส่ขวดสีชา นําพอลิแซคคาไรด์ที<br />

สกัดได้ มาวิเคราะห์ % yield ของพอลิแซคคาไรด์หยาบ (crude polysaccharide) ปริมาณนํ าตาลทั งหมด (total sugar)<br />

ด้วยวิธี phenol-sulfuric acid (Dubois และคณะ,1956) ปริมาณซัลเฟต (AOAC, 2000) และวัดค่าสีด้วยเครือง<br />

Colorimeter การสกัดพอลิแซคคาไรด์ด้วยนํ า วางแผนการทดลองแบบ 3X3 Factorial in Completely Randomized<br />

Design (CRD) ส่วนการสกัดด้วยด่าง วางแผนการทดลองแบบ 2X2 Factorial in CRD ทดลอง 3 ซํ า วิเคราะห์ความ<br />

แปรปรวนและความแตกต่างทางสถิติทีระดับความเชือมันร้อยละ 95 โดยใช้ SAS program (1997)<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

<str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>intestinalis</str<strong>on</strong>g> การสกัดด้วยนํ าเมือเวลาและอุณหภูมิในการสกัดเพิมขึ น % yield ของพอลิแซคคาไรด์หยาบที<br />

สกัดได้มีค่าสูงขึ น โดยมีค่าสูงสุดทีอุณหภูมิ 80°C นาน 5 ชัวโมง เท่ากับร้อยละ 12.49 และมีค่าตําสุดเท่ากับ ร้อยละ 4.98<br />

ทีอุณหภูมิ 40°C นาน 1 ชัวโมง เมืออุณหภูมิและเวลาในการสกัดนานขึ น โดย %yield ของพอลิแซคคาไรด์หยาบมีค่ามาก<br />

ทีสุด เมืออุณหภูมิในการสกัดเท่ากับ 80°C (Table 1) เนืองจากอุณหภูมิทีสูงขึ นทําให้เกิดการถ่ายเทมวลสาร (mass<br />

transfer) มากขึ น โดยทําให้ผนังเซลล์แตกออกจากกันมากขึ น ส่งผลให้ได้ปริมาณพอลิแซคคาไรด์ทีได้สูงขึ น (Qiao และ<br />

คณะ, 2009) ปริมาณนํ าตาลมีค่าสูงสุดทีอุณหภูมิในการสกัดด้วยนํ าเท่ากับ 80°C เวลาในการสกัด 1ชัวโมง เท่ากับ 48.85<br />

(g/100g) ส่วนปริมาณซัลเฟต ทีได้จากการสกัดด้วยนํ าทีอุณหภูมิ 80°C นาน 5 ชัวโมง มีค่าเท่ากับร้อยละ 3.33 และมีค่า<br />

เท่ากับร้อยละ 0.77 ทีอุณหภูมิการสกัด 40°C นาน 1 และ 3 ชัวโมง ตามลําดับ ส่วนการสกัดด้วยด่าง พบว่าทีความเข้มข้น<br />

0.001 นอร์มัล (pH11) นาน 2 ชัวโมง ได้ %yield ของพอลิแซคคาไรด์หยาบทีสกัดได้สูงทีสุด เท่ากับร้อยละ 9.99 และการ<br />

สกัดด้วยด่างทีความเข้มข้น 0.001นอร์มัล (pH11) นาน 4 ชัวโมง มีค่าสูงสุดเท่ากับ 50.19 (g/100g) และปริมาณซัลเฟตที<br />

ได้จากการสกัดด้วยด่างทีความเข้มข้น 0.1N นาน 4 ชัวโมง มีค่าเท่ากับร้อยละ 4.47 และมีค่าเท่ากับร้อยละ 3.3 ทีความ<br />

เข้มข้นของด่างในการสกัด 0.001N นาน 4 ชัวโมง (Table 2) โดยการสกัดด้วยนํ าให้ปริมาณพอลิแซคคาไรด์สูงกว่าการสกัด<br />

ด้วยด่าง และปริมาณนํ าตาลจากการสกัดด้วยด่างมีค่าสูงกว่าการสกัดด้วยนํ า เมือเปรียบเทียบปริมาณซัลเฟตของพอลิแซ<br />

คาไรด์ทีสกัดได้จากการสกัดด้วยนํ าและด่างพบว่า การสกัดด้วยด่างให้พอลิแซคคาไรด์ทีมีปริมาณซัลเฟตสูงกว่า เนืองจาก<br />

ด่างสามารถตัดพันธะของหมู ่ซัลเฟตทีต่ออยู ่กับหมู ่ไฮดรอกซีและ หมู ่คาร์บอกซิลิกของ sulphated ได้ดีกว่าการสกัดด้วยนํ า<br />

ทําให้ sulphated polysaccharide ทีสกัดด้วยด่างมีปริมาณซัลเฟตมากกว่าการสกัดด้วยนํ า (Whistler และ BeMiller,<br />

1993) และเมือความเข้มข้นของด่างสูงขึ นประสิทธิภาพการตัดพันธะสูงขึ นตามไปด้วย ส่วนสีของพอลิแซคคาไรด์ทีได้จาก<br />

การสกัดด้วยนํ ามีสีเขียวสว่างกว่าพอลิแซคคาไรด์ทีสกัดจากด่าง โดยพบว่าเมือ pH ของการสกัดเพิมขึ นสีของพอลิแซคคา<br />

ไรด์คลํ ามากขึ น (Table 3 และ 4)


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 327<br />

สรุปผล<br />

การสกัดพอลิแซคคาไรด์ด้วยนํ าทีอุณหภูมิ 80°C นาน 5 ชัวโมง มี %yield ของพอลิแซคคาไรด์สูงกว่าการสกัด<br />

ด้วยด่างทีความเข้มข้น 0.001N นาน 2 ชัวโมง เท่ากับร้อยละ 12.49 และ ร้อยละ 9.99 ตามลําดับ ส่วนปริมาณนํ าตาล และ<br />

ปริมาณซัลเฟตจากกการสกัดด้วยด่างมีค่าสูงกว่าการสกัดด้วยนํ า โดยปริมาณนํ าตาลมีค่าสูงสุดเท่ากับ 48.85g/100g ที<br />

อุณหภูมิ 80°C เวลาในการสกัด 1ชัวโมง และสกัดด้วยด่าง ทีความเข้มข้น 0.001N นาน 4 ชัวโมง มีค่าเท่ากับ 50.19<br />

g/100g ปริมาณซัลเฟต สูงสุดทีได้จากการสกัดด้วยด่างทีความเข้มข้น 0.1N นาน 4 ชัวโมง เท่ากับร้ อยละ 4.47 และสกัด<br />

ด้วยนํ าทีอุณหภูมิ 80°C นาน 5 ชัวโมง มีค่าเท่ากับร้อยละ 3.33<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

A0AC, 2000, Associati<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g>ficial analytical chemists 14 th , Associati<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g>ficial analytical chemists<br />

Washingt<strong>on</strong> D.C.<br />

.Aspinall, D. and Dagless, E.L., 1977, Introducti<strong>on</strong> to Microprocessor. Book illustrated 162 pages.<br />

Dubois, M., Gilles, K.A., Hamilt<strong>on</strong>, J.K., Rebers, P.A. and Smith, E., 1956, Calorimetric Method for<br />

Determinati<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Sugars and Related Substances, Analytical Chemistry, 28: 350-356.<br />

Ivanova, V., Rouseva, M., Bobin-Dubin-Dubige<strong>on</strong>, C. and Quemener, B., 1998, Functi<strong>on</strong>al Properties <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> No-<br />

Digestible Carbohydrates, France, Nantes: INRA., pp. 32-45.<br />

Lahaye, M. and Robic, A., 2007, Structure and Functi<strong>on</strong>al Properties <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g>n, a Polysaccharide from Green<br />

Seaweeds, Journal <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Biomacromolecules, 8: 1765-1774.<br />

Mabeau, S. and Fleurence, J., 1993, Seaweed in Food Products: Biochemical and Nutriti<strong>on</strong>al Aspects, Trends<br />

in Food Science and Technology, 4: 103-107.<br />

Qiao, Y., Minematsu, N. and Hirose, K., 2009, On Invariant Structural Representati<strong>on</strong> for Speech Recogniti<strong>on</strong>:<br />

Theoretical Validati<strong>on</strong> and Experimental Improvement, In INTERSPEECH-2009, 3055-3058.<br />

Ray, B. and Lahaye, M., 1995, Cell-wall Polysaccharide from the Marine Green Algae <str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g> rigida (<str<strong>on</strong>g>Ulva</str<strong>on</strong>g>less,<br />

Chlorophyta)-2 Chemical structure <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> ulvan, Carbohydrate Research, 274: 313-318.<br />

Whistler, R.L. and BeMiller, J.N., 1993, Industrial Gums; Polysaccharides and their Derivatives, 3rd Academic<br />

Press, L<strong>on</strong>d<strong>on</strong>.<br />

Table 1 %Yield <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> crude polysaccharide,Total sugar and sulphate c<strong>on</strong>tent by water extracti<strong>on</strong> at 40˚C,<br />

60˚C and 80˚C for 1,3 and 5 hours<br />

Temperature Time %Yield Total sugar (g/100g) Sulphate c<strong>on</strong>tent<br />

40˚C 1 4.94±0.27 e 17.01±2.24 d 0.76±0.07 e<br />

3 5.76±0.79 e 17.67±2.28 d 0.76±0.03 e<br />

5 7.33±0.95 d 25.57±1.64 c 0.91±0.02 ed<br />

60˚C 1 7.58±0.74 cd 26.87±1.77 c 0.83±0.02 e<br />

3 8.55±0.21 cd 28.42±0.36 c 0.81±0.02 e<br />

5 8.69±0.88 c 27.14±1.53 c 1.05±0.02 d<br />

80˚C 1 11.29±0.43 ab 48.85±2.51 a 1.77±0.06 c<br />

3 11.0±0.21 b 43.32±1.99 b 2.66±0.03 b<br />

5 12.49±1.26 a 44.26±3.15 a 3.33±0.33 a<br />

F-test * ** **<br />

C.V% 8.45 6.72 8.18<br />

L.S.D 1.25 3.57 0.02<br />

a, b, c<br />

…Different superscripts in the same column indicated that means were significantly different (p≤0.05)


326 328 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Table 2 %Yield <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> crude polysaccharide,Total sugar and sulphate c<strong>on</strong>tent by alkali extracti<strong>on</strong> at 0.001N<br />

(pH 11) and 0.1N (pH 14) for 2 and4 hours, extracti<strong>on</strong> temperature 80˚C.<br />

Temperature Time %Yield Total sugar (g/100g) Sulphate c<strong>on</strong>tent<br />

0.1N 2 7.41±0.52 b 39.77±0.34 c 4.46±0.43 a<br />

4 7.04±0.27 b 39.94±0.64 c 4.47±0.21 a<br />

0.001N 2 9.99±0.75 a 47.96±1.16 b 3.53±0.35 b<br />

4 7.51±0.43 b 50.19±0.24 a 3.3±0.17 b<br />

F-test ** ** **<br />

C.V% 6.58 1.56 1.32<br />

L.S.D 0.99 1.31 1.29<br />

a, b, c<br />

…Different superscripts in the same column indicated that means were significantly different (p≤0.05)<br />

Table 3 Color <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> crude polysaccharide by water extracti<strong>on</strong> at 40˚C, 60˚C and 80˚C for 1,3 and 5 hours<br />

Temperature Time L * a * b *<br />

40˚C 1 62.48±0.32 e 0.22±0.01 d 7.3±0.15 a<br />

3 63.31±0.12 d 0.22±0.01 d 7.63±0.15 a<br />

5 65.65±0.37 c 0.46±0.02 a 5.13±0.15 b<br />

60˚C 1 66.29±0.14 b 0.38±0.02 b 4.56±0.42 b<br />

3 67.41±0.42 a 0.47±0.02 a 4.95±1.75 b<br />

5 63.43±0.35 d 0.27±0.02 c 6.79±0.56 a<br />

80˚C 1 58.41±0.45 g 0.39±0.01 b 7.42±0.32 a<br />

3 600.06±0.15 f 0.46±0.01 a 7.29±0.19 a<br />

5 58.54±0.35 g 0.38±0.07 b 7.51±0.07 a<br />

F-test ** ** **<br />

C.V% 0.51 7.75 9.9<br />

L.S.D 0.55 0.05 1.11<br />

a, b, c<br />

…Different superscripts in the same column indicated that means were significantly different (p≤0.05)<br />

Table 4 Color <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> crude polysaccharide by alkali extracti<strong>on</strong> at 0.001N (pH 11) and 0.1N (pH 14) for 2<br />

and 4 hours, extracti<strong>on</strong> temperature 80˚C<br />

C<strong>on</strong>centrati<strong>on</strong> Time L * a * b *<br />

0.1N 2 65.52±0.41 a 0.65±0.04 b 7.48±0.15 c<br />

4 62.34±0.14 b 1.20±0.04 a 12.0±0.04 b<br />

0.001N 2 61.63±0.37 b 1.23±0.07 a 14.54±0.35 d<br />

4 65.65±0.16 a 1.27±0.02 a 10.58±0.42 a<br />

F-test ** ** **<br />

C.V% 0.46 4.39 2.44<br />

L.S.D 0.39 0.06 0.37<br />

a, b, c …Different superscripts in the same column indicated that means were significantly different (p≤0.05)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!