22.02.2015 Views

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

์<br />

Agricultural Sci. J. 41(3/1)(Suppl.): 489-492 (2010) ว. วิทย์. กษ. 41(3/1)(พิเศษ): 489-492 (2553)<br />

ผลของการขาดน ้าต่อการยับยั้งความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพด<br />

Effects of Water Stress on Inhibition of Seed Germination and vigor in Corn<br />

1<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน์<br />

Sawatdikarn, S. 1<br />

Abstract<br />

Water stress is the mainly affected on seed germination and vigor in corn. Appropriate water application is one<br />

method of the alleviating water stress in seed germination. The objective of this study was to investigated the<br />

water stress on inhibition of seed germination and vigor in corn. Samples of two corn seed varieties namely<br />

Nakhon Sawan 1 and Nakhon Sawan 72 that had three seed qualities ; high, medium and low quality. The corn<br />

seeds were planted in plastic basket and watered at five treatments; watered at every day, watered at one day<br />

interval, watered at two days interval, watered at three days interval and watered at four days interval. Seed<br />

germination, speed of germination index, shoot length and seedling dry weight were tested at 14 days after<br />

planting. The results showed that the watered at four days interval treatment showed the highest of inhibition of<br />

seed germination and vigor in two corn varieties. The increasing of water stress resulted in the inhibition of seed<br />

germination and vigor. The watered at four days interval treatment reached the inhibition of speed of germination<br />

index and shoot length in two corn varieties than 50%, For Nakhon Sawan 1 variety, showed the inhibition of<br />

speed of germination index of high, medium and low seed quality at 55.88, 57.85 and 69.55% and the inhibition of<br />

shoot length at 51.18, 57.61 and 56.97%, respectively. For Nakhon Sawan 72 variety, the watered at four days<br />

interval treatment showed the inhibition of speed of germination index of medium and low seed quality at 56.95<br />

and 58.65%, respectively.<br />

Keywords: water stress, corn seed, inhibition of seed germination and vigor<br />

บทคัดย่อ<br />

การขาดน ้าเป็ นปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อการงอกและการเจริญเติบโตของข้าวโพด การให้น ้าที่เหมาะสมเป็ นวิธีที่สามารถ<br />

แก้ปัญหาการขาดน ้าของข้าวโพดในระหว่างการงอกได้ การทดลองนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้น ้าต่อการยับยั ้ง<br />

ความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพด โดยน าเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพด 2 พันธุ ์ คือ พันธุ ์นครสวรรค์ 1 และนครสวรรค์<br />

72 ที่มีคุณภาพต่างกัน คือ คุณภาพสูง ปานกลาง และต ่า เพาะในตะกร้าพลาสติกที่อุณหภูมิห้องแล้วให้น ้าต่างกัน แบ่งเป็ น 5<br />

ทรีตเมนต์ คือ ให้น ้าทุกวัน ให้น ้าวันเว้นวัน ให้น ้าวันเว้น 2 วัน ให้น ้าวันเว้น 3 วัน และให้น ้าวันเว้น 4 วัน วัดคุณภาพของเมล็ด<br />

พันธุ ์ข้าวโพดหลังจากการเพาะ 14 วัน จ านวน 4 ลักษณะ คือ ความงอก ดัชนีความเร็วในการงอก ความยาวยอด และน ้าหนัก<br />

แห้งของต้นกล้า พบว่า การให้น ้าวันเว้น 4 วัน ท าให้ข้าวโพดทั ้งสองพันธุ ์ถูกยับยั ้งความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ<br />

สูงสุด การให้ขาดน ้าในระยะเวลาที่เพิ่มขึ ้นท าให้คุณภาพของเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพดทั ้ง 4 ลักษณะถูกยับยั ้งเพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะการ<br />

ให้น ้าวันเว้น 4 วัน ที่ยับยั ้งดัชนีความเร็วในการงอกและความยาวยอดมากกว่า 50% โดยพันธุ ์นครสวรรค์ 1 ถูกยับยั ้งดัชนี<br />

ความเร็วในการงอก เท่ากับร้อยละ 55.88 57.85 และ 69.55 และยับยั ้งความยาวยอด เท่ากับร้อยละ 51.18 57.61 และ 56.97<br />

ของเมล็ดพันธุ ์ที่มีคุณภาพสูง ปานกลาง และต ่า ตามล าดับ ส่วนข้าวโพดพันธุ ์นครสวรรค์ 72 พบว่า การให้น ้าวันเว้น 4 วัน<br />

สามารถยับยั ้งดัชนีความเร็วในการงอก เท่ากับร้อยละ 56.95 และ 58.65 ของเมล็ดพันธุ ์ที่มีคุณภาพปานกลางและต ่า<br />

ตามล าดับ<br />

ค าส าคัญ: การขาดน ้า เมล็ดพันธุ ์ข้าวโพด การยับยั ้งการงอกและการเจริญเติบโต<br />

1<br />

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000<br />

1 Faculty of Science and Technology, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University, Phranakhon Si Ayutthaya province, 13000


490 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

ค าน า<br />

ในการผลิตข้าวโพดมักประสบปัญหาการขาดแคลนน ้า โดยเฉพาะในปลายฤดูฝนและฤดูแล้ง เพื่อให้การผลิตข้าวโพดมี<br />

ประสิทธิภาพมากขึ ้นในสภาพแปลงปลูกที ่ขาดน ้า ได้มีการทดลองเพื่อศึกษาการให้น ้าแก่ข้าวโพดใน บางลักษณะ เช่น<br />

ปริมาณในการให้น ้า และความถี่ในการให้น ้า ส าหรับปริมาณการให้น ้าแก่ข้าวโพด พบว่า การให้น ้าในปริมาณที่น้อยลงมีผลท าให้<br />

การเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดลดลง (วันชัย และคณะ, 2542; วันชัย และคณะ, 2544) ส าหรับการทดลองเกี่ยวกับ<br />

ความถี่ในการให้น ้าแก่ข้าวโพด พบว่า การให้น ้าในความถี่ที่ลดลงท าให้การเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดลดลง (สมชาย<br />

และคณะ, 2541; เสน่ห์ และวันชัย, 2543) นอกจากนี ้ยังมีรายงานว่า ข้าวโพดแต่ละพันธุ ์มีความต้องการน ้าในปริมาณที่ต่างกัน<br />

เช่น พันธุ ์ Pioneer 3737 มีความต้องการน ้าในระยะงอกถึงระยะสุกแก่มากกว่าพันธุ ์ Pioneer 33245 (Howell และคณะ, 1998)<br />

และข้าวโพดพันธุ ์ DK 888 ซึ่งเป็ นพันธุ ์อายุยาวมีประสิทธิภาพการใช้น ้าสูงกว่าพันธุ ์ NST 89-101 ซึ่งเป็ นพันธุ ์อายุสั ้น (สมชาย<br />

และคณะ, 2541) การศึกษาการให้น ้าในข้าวโพดส่วนใหญ่เป็ นการศึกษาในระยะที่ข้าวโพดเจริญเติบโตแล้ว (Jama และ<br />

Ottman, 1993; Howell และคณะ, 1998) และระยะการให้ผลผลิต (Eck, 1986; Powell และ Wright, 1993) และยังมีการศึกษา<br />

การให้น ้าที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดหญ้าบางชนิด เช่น หญ้าบัฟเฟล (Emmerich และ Hardegree, 1991) หญ้าเบอร์มิวดา<br />

(Carrow, 1996) และหญ้าบาเฮีย (Mullahey และคณะ, 1996) แต่ยังไม่มีรายงานเกี่ยวผลของการขาดน ้าต่อการยับยั ้งความงอก<br />

และความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพด 2 พันธุ ์ คือ พันธุ ์นครสวรรค์ 1 และนครสวรรค์ 72 ดังนั ้นจึงได้ศึกษาผลของการขาดน ้า<br />

ที่มีต่อข้าวโพดทั ้งสองพันธุ ์เพื่อเป็ นข้อมูลในการปลูกข้าวโพดในสภาพขาดน ้าหรือในสภาพฝนทิ ้งช่วงต่อไป<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

การทดลองนี ้ด าเนินการที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ระหว่างเดือนมกราคม<br />

ถึงมิถุนายน 2552 น าเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพด 2 พันธุ ์ คือ พันธุ ์นครสวรรค์ 1 และนครสวรรค์ 72 ที่มีคุณภาพต่างกัน คือ คุณภาพสูง<br />

มีความงอกมากกว่า 95% คุณภาพปานกลาง มีความงอก 85-90% และคุณภาพต ่า มีความงอก 70-75% เพาะในตะกร้ า<br />

พลาสติกที่บรรจุดิน 1,000 กรัม จ านวน 50 เมล็ด X 4 ซ ้า (ตะกร้ า) วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized<br />

Design ที่อุณหภูมิห้องแล้วให้น ้าข้าวโพดที่เพาะในวันแรกปริมาณ 1,000 มล. หลังจากนั ้นด าเนินการให้น ้าต่างกัน แบ่งเป็ น 5<br />

ทรีตเมนต์ คือ ให้น ้าทุกวัน ให้น ้าวันเว้นวัน ให้น ้าวันเว้น 2 วัน ให้น ้าวันเว้น 3 วัน และให้น ้าวันเว้น 4 วัน ประเมินผลความงอก<br />

ตามกฎของ ISTA (2003) ทุกวัน ในช่วง 4-10 วัน ค านวณความงอกและดัชนีความเร็วในการงอก และประเมินความแข็งแรง<br />

ของเมล็ดพันธุ ์ตามกฎการทดสอบของ AOSA (2002) แล้วน าข้อมูลที่วัดได้ทั ้งหมดค านวณเป็ นเปอร์เซ็นต์การยับยั ้งความงอก<br />

และความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์ตามสูตรของ Chung และคณะ (2003) และเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การยับยั ้งความงอกและ<br />

ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์ที่ได้โดยวิธี DMRT<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

การให้น ้าในความถี่ที่ลดลงมีผลท าให้เมล็ดพันธุ ์ข้าวโพดทั ้งสองพันธุ ์ คือ นครสวรรค์ 1 (Table 1 และ 2) และนครสวรรค์ 72<br />

(Table 3 และ 4) ถูกยับยั ้งความงอก และยับยั ้งดัชนีความเร็วในการงอกเพิ่มขึ ้น เช่นเดียวกับการทดลองการให้น ้าในข้าวโพดที่<br />

ต่างกันท าให้เมล็ดพันธุ ์มีความงอกลดลง (Helm และคณะ, 1997; Ghessemi-Golezani และคณะ, 1997) และการให้น ้าในพืช<br />

บางชนิดที่เมื่อให้น ้าในความถี่และปริมาณที่ลดลงมีผลท าให้เมล็ดพันธุ ์มีความงอกและอัตราการเจริญเติบโตลดลง เช่น หญ้า<br />

บัฟเฟล (Emmerich และ Hardegree, 1991) หญ้าบาเฮีย (Mullahey และคณะ, 1996) รวมทั ้งถั่วเหลืองและทานตะวัน (Helm และ<br />

คณะ, 1997) นอกจากนี ้การให้น ้าที่ลดลงยังมีผลต่อการยับยั ้งความยาวของยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าด้วย เช่นเดียวกับการ<br />

ปลูกข้าวโพด (วันชัย และคณะ, 2542) และอ้อย (พงศ์เทพ และคณะ, 2545) ในสภาพขาดน ้า ส าหรับการใช้เมล็ดพันธุ ์ที่มี<br />

คุณภาพลดลงท าให้เมล็ดพันธุ ์ข้าวโพดทั ้งสองพันธุ ์ คือ พันธุ ์นครสวรรค์ 1 (Table 1 และ 2) และนครสวรรค์ 72 (Table 3 และ 4)<br />

ถูกยับยั ้งความงอก ดัชนีความเร็วในการงอก ความยาวยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าเพิ่มขึ ้น โดยการใช้เมล็ดพันธุ ์ข้าวโพด<br />

ทั ้งสองพันธุ ์ คือ พันธุ ์นครสวรรค์ 1 และนครสวรรค์ 72 ที่มีคุณภาพต ่าท าให้คุณภาพของเมล็ดพันธุ ์ทั ้ง 4 ลักษณะถูกยับยั ้งสูงสุด<br />

รองลงมาคือ เมล็ดพันธุ ์ที่มีคุณภาพปานกลางและสูง เช่นเดียวกับการทดสอบเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพดในสภาพเครียดน ้า พบว่า ควร<br />

เลือกใช้เมล็ดพันธุ ์ข้าวโพดที่มีคุณภาพสูงในการปลูก เพื่อลดความความเสี่ยงในการได้จ านวนต้นที่น้อยกว่าปกติ (Noli และ<br />

คณะ, 2008) ฉะนั ้นในการปลูกข้าวโพดในสภาพขาดน ้าการเลือกเมล็ดพันธุ ์ที่มีคุณภาพสูงจะให้การงอกและการเจริญเติบโต<br />

ของต้นกล้าสูงกว่าการใช้เมล็ดพันธุ ์ที่มีคุณภาพต ่า จะเห็นได้ว่าการปลูกข้าวโพดในสภาพขาดน ้าควรเลือกปลูกในสภาพที่<br />

ข้าวโพดมีการขาดน ้าในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้า เช่น การให้น ้าวันเว้นวัน และการให้


์<br />

ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 491<br />

น ้าวันเว้น 2 วัน และในขณะที่เดียวกันควรเลือกเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพดที่มีคุณภาพสูงร่วมด้วยเพื่อให้เมล็ดพันธุ ์สามารถงอกและ<br />

เจริญเติบโตได้ดี โดยไม่ต้องเสียเวลาในการปลูกซ่อมหรือปลูกใหม่<br />

สรุปผล<br />

การให้น ้าวันเว้น 4 วัน ท าให้ข้าวโพดทั ้งสองพันธุ ์ถูกยับยั ้งความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์สูงสุด การให้ขาดน ้าใน<br />

ระยะเวลาที่เพิ่มขึ ้นท าให้คุณภาพของเมล็ดพันธุ ์ข้าวโพดทั ้ง 4 ลักษณะถูกยับยั ้งเพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะการให้น ้าวันเว้น 4 วัน ที่<br />

ยับยั ้งดัชนีความเร็วในการงอกและความยาวยอดมากกว่าร้ อยละ 50 โดยพันธุ ์นครสวรรค์ 1 ถูกยับยั้งดัชนีความเร็วในการ<br />

งอก เท่ากับร้อยละ 55.88 57.85 และ 69.55 และยับยั ้งความยาวยอด เท่ากับร้อยละ 51.18 57.61 และ 56.97 ของเมล็ดพันธุ<br />

ที่มีคุณภาพสูง ปานกลาง และต ่า ตามล าดับ ส่วนข้าวโพดพันธุ ์นครสวรรค์ 72 พบว่า การให้น ้าวันเว้น 4 วัน สามารถยับยั ้งดัชนี<br />

ความเร็วในการงอก เท่ากับร้อยละ 56.95 และ 58.65 ของเมล็ดพันธุ ์ที่มีคุณภาพปานกลางและต ่า ตามล าดับ<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

พงศ์เทพ มีนอก สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ นิมิต วรสูต และทักษิณา ศันสยะวิชัย, 2545, อิทธิพลของการให้น ้าต่อการเจริญเติบโต<br />

ผลผลิต และคุณภาพของอ้อย 2 พันธุ ์ในดินชุดสตึก, วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 33: 213-223.<br />

วันชัย ถนอมทรัพย์ สมชาย บุญประดับ อาณัติ วัฒนสิทธิ์ สุมนา งามผ่องใส และมนตรี ชาตะศิริ, 2542, การตอบสนองของ<br />

ข้าวโพดคั่วต่อปริมาณการให้น ้าและอัตราปลูก, วารสารวิชาการเกษตร, 17: 139-149.<br />

วันชัย ถนอมทรัพย์ เสน่ห์ เครือแก้ว สุมนา งามผ่องใส วิไลวรรณ พรหมค า และจิราลักษณ์ ภูมิไธสง, 2544, การตอบสนองของ<br />

ข้าวโพดคั่วต่ออัตราและระยะเวลาการหยุดให้น ้า, วารสารวิชาการเกษตร, 19: 157-167.<br />

เสน่ห์ เครือแก้ว และวันชัย ถนอมทรัพย์, 2543, การตอบสนองของข้าวโพดต่อสภาพขาดน ้าในดินและต่อการใส่ปุ ๋ ยไนโตรเจน<br />

และฟอสฟอรัสในช่วงฟื ้นตัว, วารสารวิชาการเกษตร, 18: 45-61.<br />

สมชาย บุญประดับ วันชัย ถนอมทรัพย์ และมนตรี ชาตะศิริ, 2541, การตอบสนองของพันธุ ์ข้าวโพดไร่หลังข้าวต่อความถี่ในการ<br />

ให้น ้าและการคลุมดิน, วารสารวิชาการเกษตร, 16: 59-68.<br />

AOSA, 2002, Seed Vigor Testing Handbook, Association of Official Seed Analysts, 32, Lincoln 20-73 p.<br />

Carrow, R.N., 1996, Drought Resistance Aspects of Turfgrasses in the Southeast: Root Shoot Responses, Crop<br />

Science, 36: 687-694.<br />

Chung, I.M., Kim, K.H., Ahn, J.K., Lee, S.B., Kim, S.H. and Hahn, S.J., 2003, Comparision of Allelopathic Ptential of<br />

Rice Leaves, Straw and Hull Extract on Barnyardgras, Agronomy Journal, 95: 1063-1070.<br />

Eck, H.V., 1986, Effects of Water Deficits on Yield, Yield Components and Water use Efficiency of Irrigated Corn,<br />

Agronomy Journal, 78: 1035-1040.<br />

Emmerich, W.E. and Hardegree, S.P., 1991, Seed Germination in Polyethylene Glycol Solution: Effects of Filter<br />

Paper Exclusion and Water Vapor Loss, Crop Science, 31: 454-458.<br />

Ghessemi-Golezani, K., Soltani, A. and Atashi, A., 1997, The Effect of Water Limitation in the Field on Seed Quality<br />

of Maize and Sorghum, Seed Science and Technology, 25: 321-323.<br />

Helms, T.C., Deckard, E.L. and Gregoire, P.A., 1997, Corn, Sunflower and Soybean Emergence Influenced by Soil<br />

Temperature and Soil Water Content, Agronomy Journal, 85: 59-63.<br />

Howell, T.A., Tolk, J.A., Schneider, D. and Event, S.R., 1998, Evapotranspiration, Yield and Water use Efficiency of<br />

Corn Hybrids Differing in Maturity, Agronomy Journal, 90: 3-9.<br />

ISTA, 2003, ISTA Handbook on Seedling Evaluation, 3 rd Edition, International Rules for Seed Testing.<br />

Jama, A.O. and Ottman, M.J., 1993, Timing of the First Irrigation in Corn and Water Stress Conditioning, Agronomy<br />

Journal, 85: 1159-1164.<br />

Mullahey, J.J., West, S.H. and Cornell, J.A., 1996, Effects of Simulated Drought by Polyethylene Glycol on<br />

Bahiagrass Germination, Seed Science and Technology, 24: 219-224.<br />

Noli, E., Casarini, E., Urso, G. and Conti, S., 2008, Suitability of Three Vigour Test Procedures to Predict Field<br />

Performance of Early Sown Maize Seed, Seed Science and Technology, 36: 168-176.


492 490 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Powell, N.L. and Wright, F.S., 1993, Grain Yield of Subsurface Microirrigated Corn as Affected by Irrigation Line<br />

Spacing, Agronomy Journal, 85: 1164-1170.<br />

Table 1 Inhibition of seed germination and speed of germination index of high, medium and low quality of corn<br />

seed cv. “Nakhon Sawan 1” at different water stress condition.<br />

Water stress Conditions Inhibition of seed germination (%) Inhibition of speed of germination index (%)<br />

High Medium Low High Medium Low<br />

One day interval 2.56c 3.48c 4.05c 12.29d 13.98d 33.77d<br />

Two days interval 4.15b 6.74c 10.81b 25.62c 36.84c 42.16c<br />

Three days interval 9.74b 12.64b 16.89b 36.45b 50.98b 63.24b<br />

Four days interval 20.12a 21.83a 22.27a 55.88a 57.85a 69.55a<br />

F-test * * * * * *<br />

C.V. (%) 6.54 7.56 10.62 5.86 11.24 11.25<br />

In the same column, mean followed by a common letter are not significantly different at the 5% level by DMRT<br />

Table 2 Inhibition of shoot length and seedling dry weight of high, medium and low quality of corn seed cv.<br />

“Nakhon Sawan 1” at different water stress condition.<br />

Water stress Conditions Inhibition of shoot length (%) Inhibition of seedling dry weight (%)<br />

High Medium Low High Medium Low<br />

One day interval 9.81d 16.59d 17.12d 6.29d 8.14d 10.56c<br />

Two days interval 23.55c 26.73c 35.83c 12.04c 16.10c 21.62c<br />

Three days interval 37.89b 39.21b 46.19b 24.41b 25.89b 30.98b<br />

Four days interval 51.18a 57.61a 56.97a 30.02a 31.98a 35.71a<br />

F-test * * * * * *<br />

C.V. (%) 8.74 9.86 10.54 7.62 8.54 10.26<br />

1 In the same column, mean followed by a common letter are not significantly different at the 5% level by DMRT<br />

Table 3 Inhibition of seed germination and speed of germination index of high, medium and low quality of corn<br />

seed cv. “Nakhon Sawan 72” at different water stress condition.<br />

Water stress Conditions Inhibition of seed germination (%) 1 Inhibition of speed of germination index (%) 1<br />

High Medium Low High Medium Low<br />

One day interval 2.01c 3.24c 4.07c 7.53d 12.06d 16.62d<br />

Two days interval 4.24c 6.48b 8.17c 15.81c 33.68c 34.18c<br />

Three days interval 8.54b 9.18b 12.96b 26.40b 46.84b 48.02b<br />

Four days interval 14.57a 15.68a 20.98a 38.72a 56.95a 58.65a<br />

F-test * * * * * *<br />

C.V. (%) 3.54 5.64 6.59 4.58 7.56 8.92<br />

1 In the same column, mean followed by a common letter are not significantly different at the 5% level by DMRT<br />

Table 4 Inhibition of shoot length and seedling dry weight of high, medium and low quality of corn seed cv.<br />

“Nakhon Sawan 72” at different water stress condition.<br />

Water stress Conditions Inhibition of shoot length (%) Inhibition of seedling dry weight (%)<br />

High Medium Low High Medium Low<br />

One day interval 4.32d 13.06d 15.81d 4.99c 6.98d 8.52c<br />

Two days interval 10.91c 18.15c 25.97c 10.70b 11.61c 15.68b<br />

Three days interval 18.83b 31.32b 37.86b 15.24ab 17.20b 18.66b<br />

Four days interval 34.06a 42.14a 45.62a 17.85a 25.48a 26.58a<br />

F-test * * * * * *<br />

C.V. (%) 4.87 6.57 8.94 3.26 5.86 6.24<br />

1 In the same column, mean followed by a common letter are not significantly different at the 5% level by DMRT

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!