12.07.2015 Views

ปี 2550

ปี 2550

ปี 2550

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รายงานการประเมินตนเองฉบับที่ 8(Self Assessment Report: SAR8)สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเอกสารรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในปการศึกษา <strong>2550</strong>


- 4 -บุคลากรในสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศตารางที่ 1 รายชื่อกรรมการบริหารของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศลําดับ ชื่อ - สกุล วุฒิการศึกษา ตําแหนง1. อ.ศิริกาญจน โพธิ์เขียว อ.ม. (บรรณารักษศาสตร) ผูอํานวยการ 8082. ผศ.เผด็จ กาคํา ศษ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ) รองผูอํานวยการ 2033. อ.สุชาครีย กอเกียรติตระกูล ค.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) รองผูอํานวยการ 2034. ผศ.วิมล อุทานนท วท.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร) รองผูอํานวยการ 203หมายเลขโทรศัพท5. อ.สุธัญญา ภูรัตนาพิชญ กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) หัวหนาฝายเทคโนโลยีทางการศึกษา17086. อ.วรุณรัตน คนซื่อ ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร) เลขานุการ 203สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีบุคลากรทั้งสิ้น 49 คน จําแนกตามประเภทดังนี้ประเภทบุคลากรจํานวน (คน)อาจารยประจํา (ขาราชการ) 5อาจารยประจําตามสัญญา 1ลูกจางชั่วคราว 24นักศึกษาชวยงาน 20รวม 49ตารางที่ 2 จํานวนบุคลากรจําแนกตามตําแหนงและวุฒิการศึกษาตําแหนงวุฒิการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโทรวมผูอํานวยการ - - 1 1รองผูอํานวยการ - - 3 3หัวหนาฝายเทคโนโลยีทางการศึกษา - - 1 1เลขาสํานัก - - 1 1บรรณารักษ - 7 - 7เจาหนาที่หองสมุด 5 11 - 16นักศึกษาชวยงาน 20 - - 20รวม 25 18 6 49


- 5 -อาคารสถานที่และการบริการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเปนอาคารเอกเทศ ขนาด 8 ชั้น มีเนื้อที่ทั้งหมด 4,972.90 ตารางเมตร โดยแตละชั้นใหบริการ ดังนี้ชั้นที่ 1 งานบริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ, งานซอมบํารุงทรัพยากรสารสนเทศ,หองโถงนิทรรศการ และศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศชั้นที่ 2 สํานักงานเลขานุการ, งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ, งานวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ, งานสิ่งพิมพตอเนื่อง และบริการถายเอกสารชั้นที่ 3 บริการหนังสืออางอิง, บริการสารสนเทศพิเศษ ไดแก บริการขอมูลทองถิ่น (ธนบุรี),บริการหองหนังสือหายาก, บริการฐานขอมูลซีดีรอมตางๆ, บริการหองคนควากลุม (Study Room)ประมาณ 6-8 คน จํานวน 3 หองชั้นที่ 4 บริการหนังสือภาษาไทย หมวด 000-500, ชั้นแสดงหนังสือใหม, หองคนควากลุมยอย(Study room) ประมาณ 6-8 คน จํานวน 3 หองชั้นที่ 5 บริการหนังสือภาษาไทย หมวด 600-900, หองเรียนบรรณารักษศาสตรชั้นที่ 6 บริการโสตทัศนวัสดุ ไดแก เทป, วีดิโอเทป, ซีดี, วีซีดี, ดีวีดี, สไลด, บริการยูบีซี,หองสมุดดนตรี, หองมินิเธียเตอร, หนังสือนวนิยาย, หนังสือเยาวชนและเรื่องสั้น, หองประชุมราชาวดีซึ่งใชในการจัดประชุมสัมมนา สามารถจุคนได 80 คน ตลอดจนการบริการ Multimediaชั้นที่ 7 บริการคนควาและบัณฑิตศึกษา, หองคนควากลุมยอย (Study Room) จํานวน 3 หองๆละ 10-15 คน, หองวิทยานิพนธ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอังกฤษ, หองผลงานวิจัยและภาคนิพนธ,หนังสือภาษาอังกฤษ หมวด 000-900, หนังสือตําราทางวิชาการ (ผลงานทางวิชาการของอาจารยในมหาวิทยาลัย ), หองประชุมบุณฑริก สามารถจุคนได 25-40 คนชั้นที่ 8 บริการฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเปนหอง IT 1 และ IT 2 ใหบริการอินเทอรเน็ตสําหรับนักศึกษา จํานวน 30 เครื่อง เพื่อใชในการคนควา อบรม สัมมนา และการประชุมปฏิบัติการตางๆตลอดจนการเรียนการสอน, หองคนควาสําหรับอาจารยโปรแกรมบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศ-ศาสตรจํานวน 9 หอง และหนังสือดานบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร


- 6 -บุคลากร ภาระงานและความรับผิดชอบสํานักวิทยบริการฯ ไดมีการบริหารจัดการบุคลากรเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและ การใหบริการ โดยแบงสายงานเปน 4 งาน ไดแก งานสนับสนุนทั่วไป, งานจัดการสารสนเทศ,งานเทคโนโลยีและนวัตกรรม และงานสงเสริมการเรียนรู โดยมีรายละเอียดดังนี้งานสนับสนุนทั่วไปบุคลากร1. ผูชวยศาสตราจารยเผด็จ กาคํา2. ผูชวยศาสตราจารยวิมล อุทานนท3. อาจารยวรุณรัตน คนซื่อ4. นางสาววราภรณ พุมรอด5. นายวัฒนา ทองรักษา6. นายชัยรัตน โชพุดซาภาระหนาที่และความรับผิดชอบ1. งานเลขานุการ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้1.1 จัดการประชุม เอกสารการประชุม และทํารายงานการประชุม1.2 ดําเนินการรวบรวมขอมูลสถิติตาง ๆ ของสํานักวิทยบริการ1.3 จัดทําปฏิทินการปฏิบัติงาน2. งานธุรการ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้2.1 ดําเนินงานสารบรรณ (หนังสือเขา-ออก และติดตองานราชการ)2.2 ดําเนินการบริการรับ-สง จดหมาย และไปรษณียภัณฑ2.3 ดําเนินการจัดทําคําสั่งไปราชการของบุคลากร และนําเสนอผูบริหารลงนามตามลําดับ2.4 จัดทําประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ และเอกสารราชการอื่น ๆ3. งานการเจาหนาที่ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้3.1 จัดทําทะเบียนประวัติลูกจางชั่วคราว3.2 ดําเนินงานบุคลากรที่เกี่ยวของกับกฎหมายและระเบียบราชการ3.3 ดําเนินงาน และประสานงานเรื่องการสรรหา บรรจุ แตงตั้ง โอน ยายและการออกจากราชการของลูกจางชั่วคราว3.4 ดําเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร


- 7 -4. งานการเงิน ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้4.1 จัดทําระบบการจัดสรรงบประมาณใหมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับระบบการจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัย4.2 ดําเนินการขอตั้งงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจางของสํานักฯ4.3 ดําเนินการเบิกใบเสร็จรับเงิน รับเงินและออกใบเสร็จรับเงินคาปรับประเภทตาง ๆและนําสงเจาหนาที่การเงินของมหาวิทยาลัย4.4 ดําเนินการจัดทําทะเบียนใบเสร็จรับเงินและรายงานการใชใบเสร็จประจําเดือน4.5 ดําเนินการจัดทําทะเบียนการรับเงินในหมวดงบประมาณทุกประเภท4.6 ดําเนินการตรวจสอบและเก็บรวบรวมหลักฐานการเบิกจายเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณใหถูกตอง และควบคุมยอดคาใชจายประจําเดือน4.7 ดําเนินการจัดทําบัญชีการรับ-จายเงิน4.8 ดําเนินการจัดทําทะเบียนควบคุมรายจายตามแผนงาน5. งานพัสดุ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้5.1 งานจัดหาพัสดุ ครุภัณฑ ดําเนินการจัดซื้อ จัดจางงานพัสดุและครุภัณฑ ตรวจสอบติดตาม และประสานงานการจัดซื้อจัดจางงานพัสดุและครุภัณฑ5.2 งานควบคุมทะเบียนพัสดุ ครุภัณฑ- ดําเนินการเกี่ยวกับการยืม เก็บรักษา ลงทะเบียนและจายพัสดุและครุภัณฑ- ดําเนินการจัดทําบัญชีและตรวจสอบพัสดุ ครุภัณฑในหนวยงานของสํานักฯ- ดําเนินการจําหนายพัสดุ ครุภัณฑที่หมดสภาพ- จัดทํารายงานพัสดุ ครุภัณฑประจําป เสนอผูอํานวยการ5.3 ดําเนินการซอมบํารุงพัสดุ ครุภัณฑของสํานักฯ6. งานอาคารและสถานที่ ดําเนินงานที่เกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้6.1 การบํารุงรักษา- ดําเนินการบํารุง รักษา อาคารทั้งบริเวณภายในและโดยรอบของสํานักฯรวมถึงการประสานงานกับฝายอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัย6.2 การรักษาความปลอดภัย- จัดเจาหนาที่ควบคุมดูแลการเขา-ออก ของผูใชบริการของสํานักฯ- จัดเจาหนาที่ควบคุม ดูแล และบริการตูเก็บของใหผูใชบริการฝากของกอนเขาสํานักฯ6.3 โทรศัพท- ดําเนินการบริการติดตั้ง ดูแล และซอมบํารุงโทรศัพทภายในสํานัก


- 8 -6.4 ไฟฟา- ดําเนินการดูแล ซอมแซมระบบไฟฟาภายในสํานักฯ ขั้นพื้นฐาน- ดําเนินการดูแล ซอมบํารุงลิฟตภายในสํานักฯ ขั้นพื้นฐาน- ดําเนินการดูแล ซอมบํารุงเครื่องปรับอากาศภายในสํานักฯ ขั้นพื้นฐาน- ดําเนินการประสานงานกับฝายอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัย6.5 ประปา- ดําเนินการดูแล ซอมบํารุงงานประปาภายในสํานักฯ ขั ้นพื้นฐาน รวมถึงการประสานงานกับฝายอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัย7. งานวางแผนและพัฒนาการบริหาร7.1 ดําเนินการจัดทําแผนงานประจําปและระยะยาวของสํานักวิทยบริการฯ(ภาคการศึกษา แผนประจําป และแผนระยะยาว)7.2 บริหารงบประมาณใหสอดรับกับโปรแกรมวิชาที่เปดสอนและงบประมาณที่ไดรับ7.3 ดําเนินการจัดทําและปฏิรูปโครงสรางการบริหารงานภายในสํานักฯ ใหเห็นเปนรูปธรรม7.4 ดําเนินการจัดทําคูมือการศึกษาตนเอง โดยประสานงานกับผูดูและเรื่องประกันคุณภาพงานจัดการสารสนเทศบุคลากร1. นางศิริรัตน น้ําจันทร2. นางสาวชุมภู เมืองคลี่3. นางสาวสุมาลา เสียงเย็น4. นายดิษพงษ วงศยะรา5. นางสาวสุภาภรณ เสียงเย็น6. นายอัมพร สงคศิริ7. นางสาวพฤติพร แพรพิรุณภาระหนาที่และความรับผิดชอบ1. งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งหนังสือ สิ่งพิมพตอเนื่อง และสื่อโสตทัศน ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้


- 9 -1.1 ดําเนินการจัดซื้อ จัดหาทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท- สํารวจความตองการของผูใชบริการและโปรแกรมวิชาตาง ๆ- สํารวจทรัพยากรสารสนเทศของสํานักฯ เปรียบเทียบกับรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ผูใชเสนอมา- ประสานงานกับสํานักพิมพหรือตัวแทนจําหนายทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อจัดงานออกรานหนังสือ หรือขอรายการบรรณานุกรมหนังสือใหม- นําคณาจารยไปเลือกหนังสือที่ศูนยจําหนายหนังสือ- ดําเนินการจัดซื้อ จัดหา ตามระเบียบราชการ1.2 จัดทําทะเบียนการจัดซื้อ จัดหาทรัพยากรสารสนเทศ2. งานวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้2.1 วิเคราะหหมวดหมูทรัพยากรสารสนเทศ2.2 วิเคราะหหัวเรื่องทรัพยากรสารสนเทศ2.3 กําหนดแบบฟอรมการปรับรายการทางบรรณานุกรมสําหรับทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทของสํานักวิทยบริการฯ2.4 ทํารายการทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทของสํานักวิทยบริการฯ2.5 บันทึกขอมูลทรัพยากรสารสนเทศลงในฐานขอมูลของสํานักวิทยบริการฯ2.6 เขารวมประชุมสหบัตรรายการ (UNION CATALOG) เพื่อปรับปรุงการลงรายการใหเปนมาตรฐานรวมกันในกลุมของมหาวิทยาลัยราชภัฏ2.7 เชื่อมโยงรายการหนังสือเขาฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศ3. งานสํารวจและซอมบํารุงทรัพยากรสารสนเทศ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้3.1 ซอมแซมดูแลทรัพยากรสารสนเทศที่ชํารุด3.2 จัดทํารูปเลมทรัพยากรสารสนเทศใหม4. งานบริการบรรณานุกรม ดําเนินงานเกี่ยวกับเรื่องการจัดทําบรรณานุกรมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศใหมประจําเดือน และนําสงบรรณานุกรมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศใหม ไปยังโปรแกรมวิชาตาง ๆ และใหบริการในสํานักวิทยบริการฯ5. งานบริการหนังสือเรงดวน ดําเนินงานเพื่อใหหนังสือที่เขามาใหมออกใหบริการไดรวดเร็วยิ่งขึ้น6. งานบริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ดําเนินการในการใหบริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทแกคณาจารย นิสิต นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย


งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมบุคลากรงานเทคโนโลยีและนวัตกรรม1. นายสัญญา ธีระเดชอุปถัมภ2. นายเดชอาคม คดเกี้ยวบุคลากรฝายเทคโนโลยีทางการศึกษา1. อาจารยสุธัญญา ภูรัตนาพิชญ2. นายเกษม ประดาสุข3. นายสาธิต ศิลารักษ4. นายสุชล สมประสงค5. นายอนุวัฒน โชติมณี6. นางสาวจริยา ริอุบล- 10 -ภาระหนาที่และความรับผิดชอบสื่อโสตทัศนวัสดุภาระหนาที่และความรับผิดชอบ1. งานบริการสื่อโสตทัศนวัสดุ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้1.1 จัดหาอุปกรณใหเหมาะสมเพียงพอตอความตองการของผูใชบริการ1.2 ดูแลและรับจองการใชหองโสตฯ และหองประชุม1.2 จัดทําบรรณานุกรมรายชื่อวิดีทัศนใหมสงไปยังโปรแกรมวิชาตาง ๆ1.3 จัดทําประกาศรายชื่อวิดีทัศนใหมติดที่หนาสวนงานบริการโสตฯ1.4 จัดบริการการใชหองตาง ๆ ดังนี้- จัดทําตารางการใชหองตาง ๆ ในสํานักฯ- จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณประกอบการใชงาน2. งานบํารุงรักษาทรัพยากรโสตทัศนูปกรณ เครื่องมือและอุปกรณ2.1 ดูแลและซอมแซมเครื่องมือและอุปกรณสื่อโสตทัศนวัสดุ2.2 จัดทําคูมืออธิบายวิธีการใชอุปกรณตาง ๆ ติดที่ดานขางอุปกรณนั้น ๆเทคโนโลยีสารสนเทศภาระหนาที่และความรับผิดชอบ1. สนับสนุนทางเทคนิค ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้1.1 พัฒนาและปรับปรุงระบบ Hardware, Software, และ Network ที่ใชสําหรับปฏิบัติการคอมพิวเตอร


- 11 -1.2 รวมมือและประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ เพื่อทําการปรับปรุงและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอรภายในหนวยงาน1.3 จัดการบริหารตารางเวลาการปฏิบัติการสนับสนุนหรือซอมบํารุงคอมพิวเตอร1.4 วางแผนการจัดใหมีเครื่องมืออุปกรณคอมพิวเตอรใหสอดคลองกับความตองการใชทางดานการเรียนการสอน การบริการ และการบริหาร2. ฝกอบรมผูใชระบบ ใหสามารถใชงานระบบตางๆ ที่ใชในสํานักได3. วางแผนการทําสํารองขอมูลของคอมพิวเตอรทุกวัน4. งานหองปฏิบัติการเครือขาย ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้4.1 ดูแลระบบปฏิบัติการของเครื่องบริการอินเทอรเน็ตของสํานัก4.2 ดูแลซอฟตแวรบริการตาง ๆ ที่ใชอยูในเครื่องบริการ4.3 ดูแล Account ของสมาชิก4.4 เฝาระวังการใชงานของเครื่องบริการ (System Monitor)4.5 ดูแลโฮมเพจของสํานักวิทยบริการ5. งานเครือขายอินเทอรเน็ต ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้5.1 ดูแลเครือขายอินเทอรเน็ตของสํานักวิทยบริการฯ5.2 กูเครือขายที่เกิดปญหา5.3 ดูแลซอฟตแวรที่ใช ในระบบหองสมุดอัตโนมัติ5.4 ดูแลระบบการเขาระยะไกล (Remote Access Monitor)งานสงเสริมการเรียนรูบุคลากร1. นางสาวรสสุคนธ ไตรรงค2. นางสาววิภารัตน ชื่นบานเย็น3. นางสาวโบว แซเจียม4. นางประไพศรี ศรีเนตร5. นางสาวเครือวัลย ไกรเทพ6. นายภูชิต พิมพพิทักษภาระหนาที่และความรับผิดชอบ1. งานประชาสัมพันธ ดําเนินการประชาสัมพันธเกี่ยวกับการดําเนินงานของสํานักฯ ทั้งภายในและภายนอก ดังนี้ จัดทําวารสาร “สารสนเทศ” เพื่อเผยแพรความรู ทางวิชาชีพบรรณารักษศาสตร และเผยแพรผลงานของโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตรและสํานักฯ ใหเปนที่รูจักแกสาธารณชนทั่วไป


- 12 -จัดทําแผนพับ ซีดี และวีซีดี เพื่อประชาสัมพันธงานบริการและกิจกรรมของสํานัก2. ประสานงานสถานีบริการสารสนเทศทางวิชาการในการใหบริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ3. จัดกิจกรรมเพื่อใหบริการวิชาการสูชุมชนในหลากหลายรูปแบบเพื่อชุมชนจะไดมีความรูความเขาใจ หรือแมแตนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน2. งานสารสนเทศพิเศษ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับเรื่องขอมูลทองถิ่น ดังนี้2.1 รวบรวมสารสนเทศทองถิ่นในเขตธนบุรี2.2 จัดทําฐานขอมูลสารสนเทศทองถิ่น2.3 เชื่อมโยงแหลงสารสนเทศที่เกี่ยวของกับงานสารสนเทศทองถิ่น2.4 เชื่อมโยงฐานขอมูลสารสนเทศทองถิ่นกับเครือขาย RANET และอินเทอรเน็ต2.5 จัดบริการสืบคนสารสนเทศทองถิ่น2.6 จัดทําคูมือการใชฐานขอมูลทองถิ่น พรอมทั้งฝกอบรมวิธีการจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศทองถิ่น2.7 ประชาสัมพันธและเผยแพรสารสนเทศทองถิ่น3. งานบริการตอบคําถามและชวยการคนควาเปนบริการที่จัดขึ้นเพื่อใหความชวยเหลือผูใชหองสมุดในการคนหาสารนิเทศ ใหบริการตอบคําถามทางวิชาการและคําถามทั่วไป การใหคําแนะนําวิธีการคนควา ชวยคนหาทรัพยากรสารสนเทศทั้งที่เปนสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ เชน ชวยคนหาแหลงที่อยูทรัพยากรสารสนเทศที่ผูใชตองการ ชวยคนหาขอมูลในทรัพยากรสารสนเทศ แนะนําการใชเครื่องมือชวยคน และบริการสอนวิธีควบคุมทางบรรณานุกรม บริการสอนใชทรัพยากรสารสนเทศในหองสมุด เพื่อใหผูใชไดรับสารสนเทศอยางครบถวนสมบูรณ


- 13 -งบประมาณประจําป 2551 (ตุลาคม 50-กันยายน 51)งบประมาณแผนดิน (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี) ใชเฉพาะงบรายจายอื่นเทานั้นหมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบรายจายอื่น จํานวน (บาท) รอยละคาตอบแทน 30,000 3.00ใชสอย 197,500 19.75วัสดุ 722,500 77.25รวม 1,000,000 100งบประมาณแผนดิน (มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร) ใชเฉพาะงบรายจายอื่นเทานั้นหมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบรายจายอื่น จํานวน (บาท) รอยละคาตอบแทน 30,000 3.00ใชสอย 197,500 19.75วัสดุ 722,500 77.25รวม 1,000,000 100งบประมาณแผนดิน (เพิ่มเติม) โครงการบริการวิชาการสูชุมชน เพิ่มเติม 3 โครงการ1. โครงการอบรมการสรางภาพเคลื่อนไหวดวยคอมพิวเตอรอยางงายหมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละตอบแทน 14,400 28.80ใชสอย 12,000 24.00วัสดุ 23,600 47.20รวม 50,000 1002. โครงการอบรมการนวดเพื่อสุขภาพหมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละตอบแทน 21,000 35.00ใชสอย 36,000 60.00วัสดุ 3,000 5.00รวม 60,000 100


- 14 -3. โครงการอบรมอาหารสมองสัญจรสูชุมชนหมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละตอบแทน 9,000 25.00ใชสอย 12,000 33.30วัสดุ 15,000 41.70รวม 36,000 100งบประมาณ บ.กศ. (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี)หมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละสาธารณูปโภค 40,000 7.60ครุภัณฑ 484,000 92.40รวม 524,000 100งบประมาณ บ.กศ. (มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร)หมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละครุภัณฑ 950,000 100รวม 950,000 100งบประมาณ บ.กศ. (คงคลัง)หมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละครุภัณฑ 214,000 100รวม 214,000 100งบประมาณ กศ.พ.หมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบบุคลากร จํานวน (บาท) รอยละเงินเดือน 2,052,810 100รวม 2,052,810 100


- 15 -งบประมาณ กศ.พ. (คงคลัง)หมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบบุคลากร จํานวน (บาท) รอยละใชสอย 305,000 100รวม 305,000 100งบประมาณ กศ.บพ. (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี)หมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละตอบแทน 100,000 34.50ใชสอย 70,000 24.10ครุภัณฑ 120,000 41.40รวม 290,000 100งบประมาณ กศ.บพ. (มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร)หมวดรายจาย งบประมาณที่ไดรับจัดสรรงบดําเนินการ จํานวน (บาท) รอยละใชสอย 160,000 51.60วัสดุ 150,000 48.40รวม 310,000 100งบประมาณป 2551 รวม 6,487,310 บาทงบประมาณ งบประมาณที่ไดรับจัดสรรจํานวน (บาท)รอยละงบแผนดิน 2,146,000 33.08งบ บ.กศ. 1,688,500 26.03งบ กศ.พ. 2,052,810 31.64งบ กศ.บพ. 600,000 9.25รวม 6,487,310 100


- 16 -แผนภูมิแสดงประเภทของงบประมาณตางๆ สํานักวิทยบริการฯ ปการศึกษา <strong>2550</strong>(หนวย : บาท)600,0002,146,000งบประมาณแผนดิน2,052,810งบ บ.กศ.งบ กศ.พ.1,688,500งบ กศ.บพ.2,626,600แผนภูมิแสดงการใชจายงบประมาณของสํานักวิทยบริการฯ ปการศึกษา <strong>2550</strong>(หนวย : บาท)40,000 204,4001,768,0002,052,810สาธารณูปโภคคาตอบแทนครุภัณฑเงินเดือนคาใชสอยและวัสดุ


- 17 -จํานวนทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาในปการศึกษา <strong>2550</strong>ทรัพยากรสารสนเทศสื่อสิ่งพิมพ หนวยนับ ป <strong>2550</strong>- หนังสือภาษาไทย เลม 6,466- หนังสือภาษาอังกฤษ เลม 398- วารสารภาษาไทย รายการ 268- วารสารภาษาตางประเทศ รายการ 52- หนังสือพิมพภาษาไทย รายการ 22- หนังสือพิมพภาษาตางประเทศ รายการ 3สื่อโสตทัศน- เทป ชื่อเรื่อง -- วีดีโอ ชื่อเรื่อง -- วีซีดี ชื่อเรื่อง 500- ซีดี ชื่อเรื่อง 358- ดีวีดี ชื่อเรื่อง 45- Disk ชื่อเรื่อง -สื่ออิเล็กทรอนิกส- ฐานขอมูลซีดีรอม ฐาน 4- ฐานขอมูลออนไลน (กฤตภาค) ฐาน 1- ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส ฐาน 14- ฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส ฐาน 2


- 18 -งานบริการสารสนเทศการสมัครสมาชิกสํานักวิทยบริการผูมีสิทธิเปนสมาชิก ไดแก นักศึกษา ขาราชการ พนักงาน อาจารยของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา นักเรียนโรงเรียนสาธิต ผูมีความประสงคจะสมัครสมาชิกหองสมุดใหติดตอที่เคานเตอรยืมคืนชั้น 1 โดยมีหลักฐานดังนี้- บัตรประจําตัวนิสิต- ใบเสร็จรับเงินของภาคเรียนปจจุบัน (ตออายุทุกๆ ภาคเรียน)- บัตรประจําตัวประชาชนหรือบัตรขาราชการ- หนังสือรับรองจากคณบดีหรือหัวหนาโปรแกรมวิชา (กรณีอาจารยพิเศษ)- หนังสือรับรองจากผูอํานวยการหรืออาจารยประจําชั้น (กรณีนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ)ขั้นตอนการสมัครสมาชิก1. ใหสมาชิกติดตอขอกรอกใบสมัครสมาชิก พรอมยื่นเอกสารตรวจสอบขอมูล2. การขอตอสมาชิกสภาพ สมาชิกทุกประเภทตองนําใบเสร็จรับเงินของภาคเรียนปจจุบันมาขอตออายุ, พนักงานและอาจารยพิเศษใหนําหนังสือรับรองจากคณบดีหรือหัวหนาโปรแกรมวิชาและนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ ใหนําหนังสือหนังสือรับรองจากผูอํานวยการหรือจากอาจารยประจําชั้นมาแสดงการบริการใหยืมทรัพยากรสารสนเทศผูมีสิทธิยืมหนังสือ ไดแก นิสิตและนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก,อาจารย, อาจารยพิเศษ, พนักงาน/ลูกจาง, นักศึกษาสถานีบริการสารสนเทศทางวิชาการสิทธิการยืมสมาชิก จํานวนทรัพยากรสารสนเทศ ระยะเวลาที่ยืม (วัน)นักศึกษาระดับปริญญาตรี 5 7นักศึกษาศูนยการศึกษา 5 14นักศึกษาระดับปริญญาโท 10 14นักศึกษาระดับปริญญาเอก 15 14อาจารย 30 ภาคเรียนอาจารยพิเศษ 5 7พนักงาน/ขาราชการ 5 7สิ่งไมตีพิมพ (โสตทัศนวัสดุ)สมาชิกทุกประเภท ยืมไดจํานวน 3 รายการ / 3 วัน


- 19 -อัตราคาปรับคืนทรัพยากรสารสนเทศเกินกําหนดและคาปรับอื่นๆ- คาปรับคืนหนังสือเกินกําหนดเวลา วันละ 5 บาท / รายการ- คาทรัพยากรสารสนเทศสูญหาย ใหคิดราคา 3 เทาของทรัพยากรสารสนเทศเลมนั้น พรอมคาดําเนินการจํานวน 100 บาท / รายการหมายเหตุ - ปดภาคเรียน งดยืมทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทเวลาเปดทําการวันจันทร – วันศุกร เวลา 07.30 – 20.00 น.วันเสาร - วันอาทิตย เวลา 08.30 – 18.00 น.ปดทําการวันหยุดนักขัตฤกษ และตามประกาศของมหาวิทยาลัยระบบกลไกการประกันคุณภาพเพื่อใหการดําเนินงานของสํานักวิทยการฯ ดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ดังนั้นสํานักวิทยบริการฯ จึงไดกําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ดังนี้คือ จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินงานตามแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เรงรัดการดําเนินงานของหนวยงานทั้งในระดับฝายและหนวย ใหมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา การเรงรัดการสงเสริมคุณภาพ (Quality Enhancement) และการควบคุมคุณภาพ(Quality Control) โดยเนนองคประกอบที่เกี่ยวของในการใหบริการใหไดมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของสังคม สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรทุกระดับ มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใหเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนในการประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมินคุณภาพจากหนวยงานทั้งภายในและภายนอกดําเนินการใหมีการปรับปรุงคุณภาพการใหบริการ ใหมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับของสังคมไดอยางตอเนื่อง พัฒนาระบบและกลไกการดําเนินงานภายในหนวยงานใหสอดคลองกับองคประกอบและดัชนีบงชี้คุณภาพไวในระบบการประกันคุณภาพการศึกษา กําหนดแนวทางกลไกในการตรวจสอบและประเมินผลหนวยงานทั้งในระดับฝายและในระดับหนวยดําเนินการในหนวยงานมีความพรอมสําหรับการตรวจสอบและการประเมินทั้งจากภายในและภายนอกหนวยงาน


- 20 -มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา1. ศึกษาและพัฒนาระบบคุณภาพการศึกษา2. จัดประชุม อบรม สัมมนาบุคลากรทุกระดับชั้น ใหตระหนักถึงความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาใหรูและเขาในระบบ กระบวนการ และขั้นตอนการดําเนินการดานประกันคุณภาพทางการศึกษา3. จัดทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกษา4. เรงรัด สนับสนุน ดําเนินการ ปรับปรุงระบบ กลไกการดําเนินงานภายในหนวยงานใหสอดคลองกับองคประกอบและดัชนีบงชี้คุณภาพที ่ไดกําหนดให5. กําหนดวิธีการตรวจสอบ ประเมินคุณภาพและดําเนินการประเมินตามขั้นตอนที่มหาวิทยาลัยกําหนดให6. จัดทํารายการประเมินตนเอง (Self Assessment Report)7. พัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพทางการศึกษา เพื่อเปนแนวปฏิบัติสําหรับบุคลากรและหนวยงานที่รับผิดชอบทุกระดับ8. แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพทางการศึกษาใหเปนผล ดูแลใหคําปรึกษาประสานงาน ติดตามตรวจสอบและการประเมินผลคุณภาพการศึกษาภายในหนวยงานเพื่อใหการดําเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของหนวยงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ9. จัดตั้งฝายประกันคุณภาพทางการศึกษาเพื่อดําเนินงานทางดานสารสนเทศ และจัดระบบฐานขอมูลเพื่อประกันคุณภาพของหนวยงาน10. ดําเนินการปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษาอยางตอเนื่อง11. มีระบบการพัฒนาบุคคลในหนวยงาน ทั้งดานการเพิ่มความรู ประสบการณและการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานตามหนาที่อยางทั่วถึงและตอเนื่อง12. จัดทํารายงานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของหนวยงาน เผยแพรอยางตอเนื่อง13. ปรับปรุงกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาของหนวยงานอยางตอเนื่องการประกันคุณภาพคุณภาพการศึกษาของสํานักวิทยบริการความหมายของศัพทคุณภาพ1. คุณภาพ (Quality) หมายถึง ผลรวมของคุณลักษณะและคุณสมบัติทุกประการของผลการปฏิบัติงานหรือบริการเปนไปตามองคประกอบและดัชนีบงชี้คุณภาพที่กําหนด2. ระบบคุณภาพ (Quality System) หมายถึง โครงสรางของการจัดการภายในองคกรหนาที่ความรับผิดชอบขั้นตอนการทํางาน วิธีการทํางานและทรัพยากรอื่นๆ สําหรับการบริหารอื่นๆ สําหรับการบริหารใหเกิดคุณภาพ


- 21 -3. การบริหารคุณภาพ (Quality Management) หมายถึง กิจกรรม การบริหารที่จัดการในทุกเรื่องเพื่อใหไดตามนโยบายคุณภาพ4. การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) หมายถึง กิจกรรมหรือการปฏิบัติใดๆ ที่ไดดําเนินการตามระบบและแผนที่วางไวจะทําใหเกิดความเชื่อมั่นไดวา จะไดผลงานที่มีคุณภาพตามองคประกอบและดัชนีบงชี้คุณภาพที่กําหนด5. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึง กิจกรรมดําเนินงานตามระบบหรือกลไกที่สํานักวิทยบริการจัดใหมีขึ้น เพื่อควบคุมคุณภาพในสํานักวิทยบริการตามองคประกอบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ6. การตรวจสอบระบบควบคุมคุณภาพ (Quality Audit) หมายถึง การตรวจสอบระบบหรือกลไกคุณภาพในของสํานักวิทยบริการที่จะทําใหผูบริหาร และผูใชผลผลิตทางวิชาการมีความมั่นใจวา สํานักวิทยบริการไดมีการดําเนินภารกิจในการปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุนใหมีการผลิตบัณฑิตมีคุณภาพตามวัตถุประสงค7. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) หมายถึง การประเมินการดําเนินการและผลการดําเนินการของสํานักวิทยบริการโดยภาพรวมวา เมื่อไดมีการใชระบบการประกันคุณภาพหรือระบบการควบคุมคุณภาพแลว ไดมีการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพมากนอยเพียงใด8. การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึงการประกันคุณภาพในศูนย/สํานัก/คณะ และกองในมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยานโยบายคุณภาพของสํานักวิทยบริการนโยบายคุณภาพของสํานักวิทยบริการ คือ มุงมั่นที่จะใหบริการสารสนเทศที่มีคุณภาพ เพื่อความพึงพอใจของผูใชบริการดวยระบบงานที่เปนไปตามมาตรฐาน โดยบุคลากรทุกคนมีสวนรวมและปฏิบัติงานตามระบบคุณภาพที่วางไวอยางตอเนื่อง เพื่อใหสํานักวิทยบริการบรรลุผลตามนโยบายดังกลาวสํานักวิทยบริการตองดําเนินการดังนี้1. ผูบริหารสํานักวิทยบริการฯ ตองรับผิดชอบตอระบบประกันคุณภาพการปฏิบัติงาน2. บุคลากรทุกคนตองรับผิดชอบตอคุณภาพในการบริการของสํานักวิทยบริการฯและปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติที่ประกาศใชในทุกกระบวนการที่มีผลกระทบตอระบบคุณภาพของการบริการอยางเครงครัด3. ระเบียบปฏิบัติงานทุกกระบวนการจะไดรับการจัดเก็บรักษาและทบทวนปรับปรุงใหทันสมัย และมีประสิทธิภาพอยูเสมอ4. การอบรมใหบุคลากรทุกคนเขาใจและปฏิบัติตามนโยบายคุณภาพจะไดรับการปฏิบัติงานทั้งตรงและทางออมจากผูบริหารสํานักวิทยบริการO


- 22 -ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักวิทยบริการระบบการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของสํานักวิทยบริการใชระบบ Input-Output (IPO) มาอธิบายกระบวนการปฏิบัติงานของสํานักวิทยบริการ โดยกําหนดตัวบงชี้คุณภาพยอยแตละระบบที่มีผลตอการปฏิบัติงานใหบริการที่สรางความพึงพอใจใหแกผูใชบริการ ดังแผนภูมิตอไปนี้ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลลัพธ ความพึงพอใจของผูใชบริการInput Process Output Customer Satisfactionผลลัพธในกระบวนการการปฏิบัติงานในการใหบริการของสํานักวิทยบริการคือ ความพึงพอใจของผูใชบริการโดยพิจารณาจากปจจัยนําเขา ไดแก ปรัชญา วัตถุประสงค และแผนงานทรัพยากร-สารสนเทศ บุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในสวนกระบวนการไดแก การบริหารจัดการงานเทคนิค การใหบริการ การดําเนินงานหองสมุดคณะ การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน การบริการวิชาการและกลไกประกันคุณภาพ ซึ่งมีความสัมพันธขององคประกอบตางๆไดแสดงใหเห็นรูปแบบ(Model) ดังนี้ปจจัยนําเขา กระบวนการดําเนินงานของ ผลลัพธสํานักวิทยบริการ- ปรัชญา วัตถุประสงค - ระบบพัฒนาและปรับปรุง - ความพึงพอใจของผูใชบริการ- ระบบบุคลากร ประสิทธิภาพทางดานเทคนิค- ระบบงบประมาณ - ระบบและพัฒนาปรับปรุง- ระบบศูนยขอมูลทองถิ่น ประสิทธิภาพการใหบริการ- สภาพสิ่งแวดลอม - ระบบพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ- ระบบการใหบริการทางวิชาการแกสังคม- ระบบและกลไกการประกันคุณภาพวัตถุประสงคของการรับประกันคุณภาพการศึกษา1. เพื่อวิเคราะหและประเมินจุดแข็ง และจุดออนของหนวยงานรวมทั้งการวิเคราะหภาวะคุกคามและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรและการพัฒนาคุณภาพของการปฏิบัติงานของสํานักวิทยบริการ2. เพื่อปรับปรุงแกไขจุดออนและเสริมสรางจุดแข็งของสํานักวิทยบริการ3. เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการสารสนเทศในการสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถาบันใหไดบัณฑิตที่มีคุณภาพและมาตรฐานเปนที่ยอมรับของสังคม4. เพื่อปรับปรุงการดําเนินงานภายในสํานักวิทยบริการใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพสอดคลองกับพันธกิจและวิสัยทัศน5. เพื่อพัฒนาระบบและกลไกที่มีประสิทธิภาพในการประเมินคุณภาพอยางเปนระบบและตอเนื่อง


- 23 -6. เพื่อควบคุมปจจัยที่มีผลตอคุณภาพการปฏิบัติงานใหมีมาตรฐาน7. เพื่อติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานการควบคุมคุณภาพอยางตอเนื่อง8. นําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุง พัฒนาสํานักวิทยบริการใหบรรลุตามเปาหมายที่กําหนด9. เพื่อสรางความมั่นใจในการปฏิบัติงานของสํานักวิทยบริการใหเปนไปอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ10. เพื่อสรางมาตรฐานของการดําเนินงานในสํานักวิทยบริการใหเปนที่ยอมรับของสังคมเปาหมายและผลผลิตที่คาดวาจะไดรับ1. การดําเนินงานของสํานักวิทยบริการในการสนับสนุนการเรียนการสอน ที่เปนปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญในการผลิตบัณฑิตของสถาบันใหมีคุณภาพสอดคลองตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย2. มีระบบการประกันคุณภาพการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ3. ทําใหบุคลากรมีการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติอยางตอเนื่อง4. สํานักวิทยบริการฯ มีมาตรฐานการปฏิบัติงานเปนที่ยอมรับทั้งภายในและภายนอกสถาบัน5. ผูใชบริการเกิดความพึงพอใจจากการที่ไดใชบริการของสํานักวิทยบริการฯระบบการประกันคุณภาพและองคประกอบคุณภาพสํานักวิทยบริการฯ ไดนําปจจัยนําเขา กระบวนการและผลลัพธ (Input-Process-Output) มาอธิบายกระบวนการการปฏิบัติงานของสํานักวิทยบริการซึ่งเนนใหมีการพัฒนากลไกสงเสริม (QualityEnhancement) ระบบขอมูลยอนกลับ (Feedback) และการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) โดยกําหนดองคประกอบคุณภาพ (Framework) และมีผลตอการปฏิบัติงานในสํานักวิทยบริการ 6 องคประกอบดังนี้องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และ แผนดําเนินการองคประกอบที่ 2 การเรียนการสอนองคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคมองคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการองคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณองคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ


- 24 -แผนกลยุทธสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา(พ.ศ. 2545 - 2549)1. ทิศทางการพัฒนาสํานักวิทยบริการการวางแผนเปนกระบวนการดําเนินการอยางรอบคอบ โดยประเมินสภาวะปจจุบันและสภาวะในอนาคตที่นาจะเปนภายใตสภาพแวดลอมที่เปนอยู พิจารณาทิศทางในอนาคตที่เปนไปได กําหนดกลยุทธ นโยบายและกลวิธีในการดําเนินงาน ทั้งนี้เพื่อนําไปสูจุดมุงหมายที่จะพัฒนาสํานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาใหสอดคลองหรือเหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงที่เปนโลกานุวัตน (Globalization) โดยจัดทําแผนพัฒนาสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเปนโครงการ 1 ป และ 5 ป ขึ้นเพื่อใหการดําเนินการในภารกิจหลักของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทิศทางที่ชัดเจนและนําไปสูแผนปฏิบัติงาน2. ปรัชญาของสํานักวิทยบริการแหลงสรรพความรู กาวสูเทคโนโลยี บริการดี มีจิตสํานึก3. วิสัยทัศนศูนยการเรียนรูตลอดชีวิต เปนแหลงเชื่อมโยงองคความรูทั้งมวลและภูมิปญญาไทยสูสากล4. พันธกิจ1. แสวงหาและจัดใหมีทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลาย รวมทั้งภูมิปญญาทองถิ่น2. สนับสนุนการศึกษาคนควาดวยตนเองและการเรียนรูตลอดชีวิต ดวยการบริการสารสนเทศในทุกรูปแบบ3. สงเสริมและพัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหผูใชสามารถใชสื่อในการสืบคนไดอยางมีประสิทธิภาพ4. เชื่อมโยงเครือขายสารสนเทศในระดับมหาวิทยาลัย ทองถิ่นและสากล5. วัตถุประสงคเพื่อตอบสนองปรัชญา วิสัยทัศน และพันธกิจของสํานักวิทยบริการใหสอดคลองกับแแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9 (พ.ศ2545-2549) และเปนไปตามกรอบเปาหมายของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา จึงกําหนดวัตถุประสงคหลักของการดําเนินงานไวดังนี้1. เพื่อใหสํานักวิทยบริการเปนแหลงทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการเรียนรู โดยพัฒนาทรัพยากรใหมีความหลากหลายทั้งรูปแบบและเนื้อหาวิชา2. เพื่อขยายขอบเขตการใหบริการ ทั้งการใหบริการทรัพยากรสารสนเทศภายในสํานักวิทยบริการและการเชื่อมโยงไปสูแหลงสารสนเทศภายนอกทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยการจัดหาเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของสํานักวิทยบริการใหมีความเปนเลิศทางวิชาการระดับประเทศ โดยการจัดอบรมและสัมมนาทางวิชาการอยางตอเนื่อง


- 25 -4. เพื่อขยายขอบเขตของภารกิจในฐานะแหลงทรัพยากรสารสนเทศของมหาวิทยาลัยไปสูการเปนแหลงทรัพยากรสารสนเทศทองถิ่นของชุมชน โดยการจัดทํา Collection และฐานขอมูลสารสนเทศทองถิ่น5. เพื่อสรางใหเกิดความพรอมในการบริหารจัดการในทุกระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งการประกันคุณภาพการศึกษา และการบริหารแบบมุงเนนผลงาน6. เปาหมายเพื่อใหสํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเปนแหลงทรัพยากรสารสนเทศที่มีศักยภาพในการตอบสนองความตองการของมหาวิทยาลัย ในการที่จะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพในหลายสาขาวิชา ตามความตองการของทองถิ่น ชุมชน และสังคม และเปนแหลงรวบรวมและแพรกระจายสารสนเทศทองถิ่นของสังคมในเชิงวิชาการ โดยการพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่กาวหนา เพื่อกาวไปสูการเปนแหลงทรัพยากรสารสนเทศชั้นนําของประเทศ7. คานิยมรวมการนําพาสํานักวิทยบริการไปสูเปาหมายที่ตองการไดนั้น บุคลากรทุกฝายของสํานักวิทยบริการฯ ตองมุงไปสูเปาหมายเดียวกัน การดําเนินการวางแผนอนาคตของสํานักวิทยบริการฯรวมกัน การที่ทุกคนไดมองเห็นปญหาของการพัฒนาไปสูเปาหมายเหมือนๆ กัน การไดรวมกันคิดหาวิธีการแหงการพัฒนาและใหคําแนะนําเมื่อพบวาการดําเนินงานไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน การยอมรับฟงดวยเหตุผลจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงที่เกิดคุณคาที่ดีแกสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ


- 26 -นโยบายของสํานักวิทยบริการนโยบายขอที่ 1 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศนโยบาย1. สํานักวิทยบริการมีแนวทางในการดําเนินงานดานการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศอยางเปนระบบชัดเจน ทําใหมีทรัพยากรอยางหลากหลายทั้งในดานรูปแบบและเนื้อหาสามารถตอบสนองความตองการของผูใช2. สํานักวิทยบริการมีการพัฒนาระบบจัดเก็บและคนคืนทรัพยากรสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงความเปนมาตรฐานสากล และความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ3. สํานักวิทยบริการมีการพัฒนาระบบดําเนินการเพื่อใหทรัพยากรสารสนเทศใหมๆ ออกใหบริการอยางรวดเร็ว4. สํานักวิทยบริการมีระบบการปรับปรุงทรัพยากรสารสนเทศของสํานักวิทยบริการใหมีความทันสมัยอยูเสมอ5. สํานักวิทยบริการมีวิธีการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการใชทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหามาอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ6. สํานักวิทยบริการมีการพัฒนาใหมีการจัดทรัพยากรสารสนเทศตางๆ อยางเปนระบบมากยิ่งขึ้นมาตรการ / กิจกรรม1. จัดหา คัดเลือก และทํารายการทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบตางๆใหมีเนื้อหาที่หลากหลายและสอดคลองกับหลักสูตร ซึ่งจะดําเนินการอยางนอย 1 ครั้งตอภาคเรียน2. เสนอรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่ไดรับจากสํานักพิมพตางๆสงไปใหโปรแกรมวิชาคัดเลือก3. จัดงานออกรานทรัพยากรสารสนเทศเพื่อใหคณาจารยและนักศึกษาคัดเลือก4. จัดทําแบบฟอรมสํารวจความตองการทรัพยากรสารสนเทศเพื่อใหคณาจารยและนักศึกษาเสนอความคิดเห็น5. สํารวจการใชทรัพยากรสารสนเทศของผูใชเพื่อการจัดหา เชน สถิติการยืม - คืนหนังสือ, สถิติการใชวารสาร เปนประจําเดือนละ 1 ครั้ง1. ดําเนินการนําเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆ มาใชในการจัดเก็บ-คนคืนทรัพยากรสารสนเทศ2. จัดหาโปรแกรมระบบหองสมุดอัตโนมัติมาใชในการทํางาน3. จัดอบรมวิธีการสืบคนขอมูลใหแกผูใชบริการ ภาคการศึกษาละ1 ครั้งอยางตอเนื่อง1. ใหบรรณารักษคนหาขอมูลในการวิเคราะหหมวดหมูจากเว็บไซตของมหาวิทยาลัยตางๆ เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการใหบริการ2. ใหผูใชที่มีความตองการทรัพยากรอยางเรงดวน สามารถแจงความจํานงที่เคานเตอรงานบริการทรัพยากรสารสนเทศ สํานักวิทยบริการชั้นที่ 2 จะไดเรงดําเนินการใหบริการไดภายใน 5 วันทําการ1. จัดใหมีการสํารวจหนังสือปละครั้ง เพื่อสํารวจหนังสือเกาและคัดหนังสือออก พรอมซื้อหนังสือใหมมาทดแทน1. แจงใหผูใชทราบถึงทรัพยากรสารสนเทศ ที่ทางสํานักวิทยบริการมีไวบริการ โดยจัดพิมพเปนรายชื่อหนังสือใหมเปนรูปเลมและลงในเว็บไซตของสํานักวิทยบริการ พรอมทั้งสําเนาหนาสารบัญวารสารสงไปยังคณะตางๆ และคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่นาสนใจพรอมจัด ทําสาระสังเขป สงไปลงในสุริยสาร1 มอบหมายใหเจาหนาที่จัดชั้นหนังสือและวารสารอยางสม่ําเสมอ2. มีอาจารยตรวจสอบความถูกตองของการจัดเรียงหนังสือและวารสารอยางสม่ําเสมอ


- 27 -นโยบายขอที่ 2 การบริหารนโยบาย1. มีโครงสรางการบริหารอยางชัดเจนมาตรการ / กิจกรรม1. จัดทําแผนภูมิโครงสรางบริหารของสํานักวิทยบริการ2. มีระบบการประกันคุณภาพในสํานักวิทยบริการปฏิรูประบบการบริหารงานภายในสํานักวิทยบริการใหมีการกระจายอํานาจการบริหารถึงหนวยงานปฏิบัติงานอยางเต็มรูป1. ปรับปรุงระบบการบริหารงานภายในสํานักวิทยบริการ โดยแตงตั้งบรรณารักษใหเปนหัวหนางานในแตละงาน เพื่อเปนการกระจายอํานาจการบริหาร2. ปรับปรุงโครงสรางการบริหารงานของสํานักวิทยบริการและเขียนออกมาเปนแผนภูมิองคกร3. มีการนําระบบการประกันคุณภาพมาใชกับหนวยงานในสํานักวิทยบริการ1. นําเอาระบบการประกันคุณภาพมาใชกับหนวยงานในสํานักวิทยบริการ2. จัดประชุม อบรม สัมมนาตามโครงการที่สนับสนุนเรื่องการประกันคุณภาพใหกับคณาจารยและเจาหนาที่ในสํานักวิทยบริการ4. มีระบบการสรางขวัญและกําลังใจใหแกบุคลากรโดยดําเนินการพิจารณาปรับวุฒิการศึกษาของบุคลากร เพื่อใหไดรับเงิน เดือนตามวุฒิจริงอยางเปนธรรม ตรวจสอบได และนําเสนอตอสถาบัน1. พิจารณาปรับวุฒิการศึกษาของบุคลากรอยางเปนธรรม และตรวจสอบได5. สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากร ในองคกรทุกระดับไดมีสวนรวมในการ ตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นดานการบริหารงาน1. จัดประชุมบุคลากรทั้งหมดของสํานักวิทยบริการอยางนอย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อแถลงนโยบายการบริหารของผูบริหาร และเปดโอกาสใหใหบุคลากรแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมในการบริหารงาน2. จัดประชุมผูบริหารและหัวหนางานอยางนอยภาคเรียนละ 2 ครั้งเพื่อเสนอขอคิดเห็นรวมกันในการบริหารงาน6. มีการ พัฒนาระบบการจัดสรรงบประมาณใหอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับระบบจัดสรรงบประมาณของ สถาบัน1. ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณใหมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับระบบการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน2. จัดสรรงบประมาณตามจํานวนนักศึกษาในแตละโปรแกรมเพื่อใหสอดคลองกับงบประมาณที่ไดรับ7. สํานักวิทยบริการมีการจัดสภาพแวดลอม ของสํานักวิทยบริการใหสวยงามขึ้น1. จัดตกแตงสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกใหดูสวยงาม2. จัดจางบริษัททําความสะอาดภายในอาคาร3. จัดหา ปรับปรุง ปายและสัญลักษณตางๆ ใหครบถวนและทันสมัย


- 28 -นโยบายขอที่ 3 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลนโยบาย1. สํานักวิทยบริการมีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมาตรการ / กิจกรรม1. พัฒนาระบบจัดหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพในเชิงรุก โดยสงประกาศรับสมัครงานไปยังสื่อประเภทตางๆ เพื่อคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติและคุณภาพตามที่ตองการ2. ขอความรวมมือจากโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร โดยสงบุคลากรของสํานักวิทยบริการที่ไมไดจบการศึกษาทางดานบรรณารักษศาสตรเขาเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวของกับงานที่รับผิดชอบ3. สงเสริมใหบรรณารักษศึกษาตอในระดับปริญญาโทสาขาวิชาบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร4. พัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถทั้งในดานวิชาการ และทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสงเขารับการอบรม /ประชุม / สัมมนา / ศึกษาดูงาน อยางนอยคนละ 1 ครั้งตอป5. จัดใหมีระบบการประเมินที่มีประสิทธิภาพ และนําผลการประเมินนั้นมาพิจารณาบุคลากรผูปฏิบัติงานดีเดนเพื่อประกาศเกียรติคุณผูปฏิบัติงานดีเดน2. บุคลากรของสํานักวิทยบริการมีจิตสํานึกที่ดีตองานบริการ1. อบรม ประชุม สัมมนา บุคลากรอยางสม่ําเสมอ เพื่อสรางจิตสํานึกในงานบริการ2. จัดทําโครงการสรางจิตสํานึกในงานบริการ เชน ประกวดคําขวัญ เปดรับกลองความคิดเห็นจากผูใชที่มีตอผูใหบริการในแตละชั้น เปนตนนโยบายขอที่ 4 การเงินและงบประมาณนโยบาย1. มีระบบการจัดสรรงบประมาณภายในสํานักวิทยบริการ2. มีระบบการบริหารการเงิน และระบบบัญชี3. มีการติดตามและประเมินผลการใชจายงบประมาณมาตรการ/กิจกรรม1. มีการจัดทํางบประมาณประจําป และแผนการจัดสรรงบประมาณลวงหนา โดยยึดตามพันธกิจของสํานักวิทยบริการ2. จัดสรรงบประมาณการใชจายเพื่อดําเนินการใหมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับแผนการจัดสรรงบประมาณประจําป โดยคิดอัตราสวน ตามหลักเกณฑและความเหมาะสม1. มีบุคลากรรับผิดชอบในการดูแลและจัดการดานงบประมาณอยางชัดเจนตามคูมือการปฏิบัติงาน2. จัดทําระบบบัญชีทุกงบประมาณอยางถูกตองและเปนปจจุบันเพื่อตรวจสอบกับสํานักวางแผนอยางสม่ําเสมอ3. มีการกําหนดหลักเกณฑของการขอใชเงินในโครงการตางๆ ตองเปนไปตามแผนงานที่ไดกําหนดไวแลว1. จัดทํารายงานดานงบประมาณตอสถาบันทุกป2. มีการวิเคราะหคาใชจายแตละงบประมาณใหเปนไปตามภารกิจในแตละโครงการเพื่อการจัดทํางบประมาณในปตอไปปรับปรุงและพัฒนาระบบการตรวจสอบ การรายงาน และการประเมินผลการใชจายงบประมาณ


- 29 -นโยบายขอที่ 5 การบริการสารสนเทศทองถิ่นนโยบาย1. สํานักวิทยบริการเปนแหลงขอมูลสารสนเทศทองถิ่นโดยคํานึงถึงความตองการของผูใชบริการในทองถิ่นดวยมาตรการ / กิจกรรม1. จัดตั้งฝายที่รับผิดชอบในดานการดําเนินงานสารสนเทศทองถิ่นโดยเฉพาะ2. จัดหาสารสนเทศทองถิ่นดวยวิธีการจัดซื้อ หรือจัดทําขึ้นเองใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการในทองถิ่น3. จัดบริการสารสนเทศทองถิ่นเพื่ออํานวยประโยชนสูงสุดแกผูใชทั้งภายในและภายนอกสถาบัน4. ไดมีการจัดประชุม สัมมนาเรื่องขอมูลทองถิ่นศึกษา เพื่อจะไดนํามาปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอ2. สํานักวิทยบริการมีเปาหมายในการใหบริการวิชาการแกทองถิ่นในรูปแบบตางๆ1. จัดใหมีการอบรมบริการวิชาการแกทองถิ่น เพื่อใหความรูที่สามารถนําไปประยุกตใชได3. สํานักวิทยบริการเปนเครือขายสารสนเทศทองถิ่นที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเครือขายอื่นๆ ทั้งในระดับทองถิ่นระดับชาติ และนานาชาติ1. จัดทําฐานขอมูลทองถิ่นและและเชื่อมโยงเปนเครือขายสารสนเทศทองถิ่นทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ4. สํานักวิทยบริการมีบุคลากรที่มีความรูความสามารถในการจัดดําเนินงานสารสนเทศทองถิ่น1. จัดหาบุคลากรที่มีความรูความสามารถดานสารสนเทศทองถิ่นเพื่อประจําฝายสารสนเทศทองถิ่น


- 30 -นโยบายขอที่ 6 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารนโยบาย1. มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปนระบบสากล เพื่อใหการปฏิบัติงานและการใหบริการมีประสิทธิภาพ2. มีระบบฐานขอมูลภายในสํานักวิทยบริการเ พื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารและการใหบริการอยางเต็ม ศักยภาพ3. มีเครือขายระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและกอใหเกิดประโยชนสูงสุด4. จัดใหมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆ ที่จัดหามาอยางคุมคา และมีประโยชนสูงสุดมาตรการ/กิจกรรม1. จัดหาฮารดแวรและซอฟตแวรของระบบสารสนเทศเพื่อใหสํานักวิทยบริการมีเพียงพอตอความตองการ2. ปรับปรุงฮารดแวรและซอฟตแวรของระบบสารสนเทศในสํานักวิทยบริการที่มีอยูเดิมใหมีความทันสมัยและใชงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ โดยติดตอกับบริษัทคอมพิวเตอรเพื่อจัดใหมีการบํารุง ดูแล รักษา และ Upgrade ระบบตางๆอยางตอเนื่อง1. สรางฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศของสํานักวิทยบริการใหครบถวน และทันสมัย2. จัดซื้อฐานขอมูล CD-ROM ในสาขาวิชาตางๆ ที่สอดคลองกับหลักสูตรของสถาบัน3. จัดสรางฐานขอมูลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร เชน ฐานขอมูลบุคลากรฐานขอมูลงบประมาณการเงิน เปนตน เพื่อใชในการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ1. บอกรับเปนสมาชิกกับเครือขายสารสนเทศสากลเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดําเนินงาน1. จัดอบรมและฝกทักษะบุคลากรใหสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยตางๆ ในสํานักวิทยบริการเพื่อใหบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ2. จัดประชาสัมพันธใหผูใชหองสมุดทราบถึงฐานขอมูลที่สํานักวิทยบริการสรางขึ้น และที่จัดซื้อสําเร็จรูป (CD-ROM) โดยผานทางวารสารสารสนเทศ,สุริยสาร ปายประกาศตางๆ ของสํานักวิทยบริการ รวมทั้งบันทึกขอความถึงคณะและโปรแกรมวิชาตางๆ ของสถาบัน3. จัดทําแผนปายและคูมือการสืบคนหรือการใชคอมพิวเตอรวางไวดานขางของอุปกรณตางๆ ที่ใหบริการ4. จัดเจาหนาที่ใหบริการ โดยเตรียมแบบฟอรมและมีการสัมภาษณความตองการของผูใชใหชัดเจนกอนลงมือสืบคน5. จัดทําสถิติการใชบริการสืบคนของผูใชและแบบสอบถามความพึงพอใจของผูใช เพื่อนําขอมูลที่ไดมาพัฒนาการใหบริการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด


- 31 -สรุปผลการปรับปรุง/พัฒนาจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในปการศึกษา 2549 และเปาหมายการดําเนินงานในปการศึกษา <strong>2550</strong>มาตรฐาน/ตัวบงชี้ ผลการประเมินปกศ. 2549องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธานวัตถุประสงค และแผนดําเนินการแนวทางในการปรับปรุงพัฒนา2.5 -สรุปผลการวิเคราะหแผนการดําเนินงานใหสอดคลองกับยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย-จัดทําแผนกลยุทธใหสอดคลองกับแผนดําเนินการและยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย-มีดัชนีชี้วัดความสําเร็จใหเปนไปตามแผนงานของสํานักวิทยบริการองคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน 3 นําผลจากใบแสดงความคิดเห็นเว็บไซต และแบบสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการไปปรับปรุงการดําเนินงานของสํานักวิทยบริการองคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม3 มีการประเมินสัมฤทธิ์ผลและนําผลการประเมินโครงการบริการวิชาการไปปรับปรุงความเชื่อมโยงและบูรณาการกับภารกิจของมหาวิทยาลัยองคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 2.25 ควรเพิ่มหลักฐานเกี่ยวกับกรรมการประจําสํานักวิทยบริการฯ และเนนใหมีการฝกอบรมเพื่อเปนกลไกพัฒนาศักยภาพผูบริหารองคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ 3 หลักฐานบางสวนยังไมเชื่อมโยงกับผลการดําเนินการเปาหมายการดําเนินงานในปกศ. <strong>2550</strong>มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยและยุทธศาสตรชาติ เพื่อนํามาปรับปรุงแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่องดําเนินการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยการลดขั้นตอนในการทํางานอยางนอย 1 งาน- จํานวนการใหบริการเชิงรุกเพิ่มขึ้น- จํานวนขอรองเรียนจากผูใชบริการนอยลงดําเนินการใหถึงเกณฑขอ 7ภายในปการศึกษา 2551มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ชัดเจนและ“เผยแพร” ผลการดําเนินงานสูประชาคมวิเคราะหผลการประหยัดพลังงานใหอยูในรูปของตัวเงินที่ชัดเจนองคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ3 ควรมีการติดตามและประเมินผลและนําผลการประเมินไปปรับปรุงการทํางานมีการติดตามการประเมินผลและนําไปปรับปรุงการดําเนินงานตอไป


สวนที่ 2องคประกอบและตัวบงชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสํานักวิทยบริการและเทคโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ไดพิจารณาตัวบงชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไดพัฒนาขึ้นอยางเปนระบบมีหลักการสําคัญ 6 ประการรองรับ คือ ความครอบคลุมองคประกอบคุณภาพตามกฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546 ความสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ และมาตรฐานตางๆ ที่เกี่ยวของรวมทั้งตัวบงชี้การประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ความครอบคลุมมติของระบบประกันคุณภาพทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิตและผลิตภัณฑ ความสมดุลระหวางมุมมองการบริหารจัดการ 4ดาน คือดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย ดานกระบวนการภายใน ดานการเงิน และดานบุคลากรสําหรับสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีจุดเนนดานการสงเสริมการรียนการสอนของมหาวิทยาลัย มีตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ที่ตองดําเนินการโดยสรุป ดังนี้องคประกอบคุณภาพ จํานวนตัวบงชี้องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และ แผนดําเนินการ 2องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน 2องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 3องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 5องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ 2องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 2รวม 16


- 34 -องคประกอบและตัวบงชี้การประเมินคุณภาพภายในสําหรับองคประกอบ และตัวบงชี้การประเมินคุณภาพภายใน ตลอดจนชนิดตัวบงชี้และชนิดของเกณฑการประเมินในแตละตัวบงชี้ของสํานักวิทยบริการ มีดังนี้องคประกอบ/ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี้ หนวยวัด1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนงาน1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนา กระบวนการ ระดับกลยุทธ แผนดําเนินงานและมีการกําหนดตัวบงชี้หลักเพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ1.2 รอยละของการของบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงาน ที่กําหนด ผลผลิต ปริมาณ2. การเรียนการสอน2.13 ปจจัยเกื้อหนุนดานหองสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ กระบวนการ ขอ2.14 ปจจัยเกื้อหนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการ ขอ5. การบริการวิชาการแกสังคม5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมาย กระบวนการ ระดับของสถาบัน5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ ผลผลิต ปริมาณตอบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคมชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ ผลผลิต รอยละ7. การบริหารและการจัดการ7.2 ภาวะผู นําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน กระบวนการ ระดับ7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู กระบวนการ ระดับ7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และ กระบวนการ ระดับธํารงรักษาไวใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวน ผลผลิต ระดับรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคลผลผลิต ระดับ


- 35 -8. การเงินและงบประมาณ8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การ กระบวนการ ระดับตรวจสอบการเงินและ งบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน กระบวนการ ระดับ9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของ กระบวนการ ระดับกระบวนการบริหารการศึกษา9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ผลผลิต ระดับองคประกอบและตัวบงชี้การประเมินคุณภาพภายในของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศองคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตร1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนงาน1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงานและมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุก ภารกิจ1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนด2. การเรียนการสอน2.13 ปจจัยเกื้อหนุนดานหองสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ2.14 ปจจัยเกื้อหนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรคณะวิทยาการจัดการหนวยงานของมหาวิทยาลัยสํานักงานอธิการบดีสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรมสถาบันวิจัยและพัฒนา - - - - - - - -- - - - - - - -


- 36 -องคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตร5. การบริการวิชาการแกสังคม5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของมหาวิทยาลัย5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคมชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ7. การบริหารและการจัดการ7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธํารงรักษาไวใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนามหาวิทยาลัย7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคลคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรคณะวิทยาการจัดการหนวยงานของมหาวิทยาลัยสํานักงานอธิการบดีสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรมสถาบันวิจัยและพัฒนา


องคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตร- 37 -คณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรคณะวิทยาการจัดการหนวยงานของมหาวิทยาลัยสํานักงานอธิการบดีสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรมสถาบันวิจัยและพัฒนา8. การเงินและงบประมาณ8.1 มีระบบและกลไกใน การจัดสรรการวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ8.2 ระดับความสําเร็จ ของการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ9.1 มีระบบและกลไก การประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษา9.3 ระดับความสําเร็จ ของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในรวม 47 47 47 47 22 19 16 26 22


- 38 -รายละเอียด คําอธิบาย และเกณฑการประเมินองคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการหลักการหนวยงานแตละแหงมีปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค ที่ไดกําหนดมาตั้งแตเริ่มตั้งหนวยงาน และอาจปรับเปลี่ยนได ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคควรระบุใหชัดเจน ใหสมาชิกทุกกลุมในหนวยงานไดรับทราบทั้งอาจารย เจาหนาที่ นักศึกษา ตลอดจนผูที่มีสวนไดสวนเสีย เชน ผูปกครอง ชุมชน ผูใชบริการและสังคมโดยรวมปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค ควรสอดคลองกันและเปนแนวทางการดําเนินงาน สนับสนุนภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาตาม หลักการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ(ถามี) และสถาบันตองจัดทําแผนกลยุทธและแผนดําเนินงานที่ชัดเจนเพื่อใหบรรลุปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงคของสถาบันและใหสอดคลองกับทิศทาง การพัฒนาของประเทศและการเปลี่ยนแปลง ของกระแสโลกมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ3. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา5. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา6. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)7. หลักการอุดมศึกษา8. ยุทธศาสตรและแผนงานวิจัยแบบบูรณาการระยะปานกลาง (พ.ศ. 2548-<strong>2550</strong>) สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงานและมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุก ภารกิจ1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนดตัวบงชี้ที่ 1.1 : มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ


- 39 -ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :สถาบันอุดมศึกษามีภารกิจหลัก คือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการดําเนินภารกิจหลักแตละดานตองคํานึงถึงหลักการของการศึกษาระดับอุดมศึกษา มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวของ รวมถึงยุทธศาสตรดานตาง ๆ ของชาติ ดังนั้น ในการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนการพัฒนากลยุทธและแผนการดําเนินงานเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานของสถาบัน จึงจําเปนตองใหสอดคลองกับหลักการและมาตรฐาน ตางๆ ที่เกี่ยวของที่ระบุขางตน อีกทั้งตองคํานึงถึงทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินงานของหนวยงานเปนไปอยางมีคุณภาพในทิศทางที่ถูกตองเหมาะสมและเปนที่ยอมรับของสังคมเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน มีการกําหนดปรัชญาของมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานชาติ และ พ.ร.บ. ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ2. มีกระบวนการพัฒนากลยุทธแผนการดําเนินงานและแผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกันและกันและสอดคลองกับภารกิจหลักของสถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของ ชาติ1. มหาวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาแผนยุทธศาสตรแผนการดําเนินงาน และแผนปฏิบัติการประจําป และมีการประชุมคณะกรรมการเปนระยะ2. คณะกรรมการพัฒนาแผนวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง และยุทธศาสตรการศึกษาของมหาวิทยาลัย ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ และภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย3. จัดทําแผนยุทธศาสตร แผนการดําเนินงาน และแผนปฏิบัติราชการประจําป ใหมีความสอดคลองกันโดยใชการดําเนินการแบบมีสวนรวมของบุคลากรในมหาวิทยาลัย1. พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ2. มาตรฐานการอุดมศึกษาและมาตรฐานชาติ3. แผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย4. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาแผน5. แผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย6. แผนปฏิบัติการประจําป7. รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาแผน


- 40 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน3. มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของแตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหาร6. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงคเปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมใน อนาคตอยางสม่ําเสมอ7. มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง1. คณะกรรมการพัฒนาแผนกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายความสําเร็จทุกตัวบงชี้2. คณะกรรมการพัฒนาแผนสื่อสารใหบุคลากรรับทราบแผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานกําหนดปฏิทินการปฏิบัติงานตามแผน2. มหาวิทยาลัย/หนวยงานดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปที่กําหนดไว1. มหาวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้2. คณะกรรมการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตาม ตัวบงชี้ อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลการดําเนินงานตอผูบริหารและสภามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย/หนวยงานมีการประชุมเพื่อวิเคราะหและปรับกลยุทธของหนวยงานใหสอดคลองกับยุทธศาสตร และแผนพัฒนาของชาติมหาวิทยาลัย/หนวยงานมีการนําผลการประเมินการดําเนินการ ตามแผน และผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธ และแผนการดําเนินงานใหเหมาะสม โดยดําเนินการอยางตอเนื่อง8. แผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย9. เอกสาร/หลักฐานแสดงการสื่อสารใหบุคลากรรับทราบ10. ปฏิทินการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยและหนวยงาน11. รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนของหนวยงาน (รายงานประจําป)12. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้13. รายงานการประชุมการดําเนินงาน14. รายงานผลการดําเนินงานติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้15. รายงานผลการทบทวนและปรับ กลยุทธ16. รายงานผลการประเมินการดําเนินงานตามแผน17. แผนปฏิบัติราชการประจําป


เกณฑการประเมิน :- 41 -คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 - 6 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 1.2 : รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนดชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :พิจารณาจากระดับความสําเร็จของการบรรลุเปาหมายแตละตัวบงชี้ที่ สอดคลองกับแผนปฏิบัติงานของหนวยงาน โดยประเด็นของการประเมินผล ไดแก ดาน มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ดานงานวิจัยและ งานสรางสรรค ดานการบริการวิชาการ ดานงาน อนุรักษศิลปวัฒนธรรมเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐานตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณที่บรรลุเปาหมายรอยละ 801. มหาวิทยาลัยสื่อสารใหทุกหนวยงานรับทราบเกี่ยวกับตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานอยางทั่วถึง2. มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการประจําป3. มหาวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการกํากับติดตามการดําเนินงานตามแผน4. มหาวิทยาลัยมอบหมายใหหนวยงานที่เกี่ยวของจัดทํารายงานผลการดําเนินงานเปนรายไตรมาส5. คณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงาน แลวจัดทํารายงานสรุปเสนอสภามหาวิทยาลัย1. เอกสาร/หลักฐาน/คูมือการปฏิบัติตามแผน2. แผนจัดสรรงบประมาณ3. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการติดตามการดําเนินงาน4. รายงานผลการดําเนินการตามแผนของหนวยงานเปนรายไตรมาส5. รายงานสรุปผลดําเนินงานของมหาวิทยาลัยสูตรการคํานวณ :จํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณที่บรรลุเปาหมายจํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณทั้งหมดX 100


- 42 -เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3บรรลุเปาหมายรอยละ 60-74 บรรลุเปาหมายรอยละ 75-89 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอนหลักการการบริหารกิจการวิชาการ (academic affair) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนมีความรู ในวิชาชีพตามหลักสูตรที่กําหนด การเรียนการสอนในยุคปจจุบันใชหลักการของการจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ดังนั้น ภารกิจดังกลาวจึงเกี่ยวของกับการกําหนดปจจัยปอนเขาที่ไดมาตรฐานตามที่กําหนด ประกอบดวยการมีอาจารยที่มีปริมาณ และคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร มีกระบวนการบริหารจัดการการเรียน การสอนที่อาศัยหลักการรวมมือรวมพลังของทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งองคกรภายในและภายนอกหนวยงาน นอกจากนี้ ยังตองมีการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อใหนักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงคสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนหนวยงานที่สนับสนุนการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงตองมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาดังนื่มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)3. เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา4. รางกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (National Qualifications Framework for HigherEducation) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวยตัวบงชี้ที่ 2.13 : มีปจจัยเกื้อหนุนดานหองสมุดและทรัพยากรสารสนเทศชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ : การสนับสนุนการเรียนการสอนและการศึกษาคนควาดวยตนเองเปนพันธกิจที่สําคัญประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้นสถาบันอุดมศึกษาพึงมีหนวยงานหลักที่ใหบริการ


- 43 -ทรัพยากรสารสนเทศที่มีระบบและกลไกในการใหบริการที่เปนรูปธรรม สนับสนุนภารกิจทางดานการเรียนการสอนของสถาบันใหบรรลุเปาหมายเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน2. มีทรัพยากรสารสนสนเทศบริการครอบคลุมทุกสาขาวิชา3. มีระบบและหรือระเบียบในการใหบริการ4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 2.14 : มีปจจัยเกื้อหนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ : เทคโนโลยีสารสนเทศนับวาเปนปจจัยที่มีความสําคัญตอการเรียนการสอนยุคปจจุบันเปนอยางยิ่ง สถาบันอุดมศึกษาจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองจัดหาและสงเสริม สนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีในการสนับสนุนการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษาอยางเปนระบบ สงผลใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนสูงสุดเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานที่สนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน2. มีทรัพยากรและคณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการทางดานเทคโนโลยี3. มีระบบการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ4. มีการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนหรือการคนควา5. มีการเผยแพรการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศใหประชาคมรับทราบ


เกณฑการประเมิน :- 44 -คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอองคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคมหลักการการบริการวิชาการแกสังคมเปนหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันพึงใหบริการวิชาการแกชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในรูปแบบตางๆ ตามความถนัดและในดานที่สถาบันมีความเชี่ยวชาญการใหบริการวิชาการอาจใหเปลาโดยไมคิดคาใชจายหรืออาจคิดคาใชจายตามความเหมาะสมใหทั้งองคการภาครัฐและเอกชน องคการอิสระ องคการสาธารณะ ชุมชน และ สังคมโดยกวาง รูปแบบการใหบริการวิชาการมีความหลากหลาย เชน การอนุญาตใหใชประโยชนทรัพยากรของสถาบัน เปนแหลงอางอิงทางวิชาการ ใหคําปรึกษาใหการอบรม จัดประชุมหรือ สัมมนาวิชาการ ทํางานวิจัยเพื่อตอบคําถามตางๆ หรือเพื่อชี้แนะสังคม การใหบริการวิชาการนอกจากเปนการทําประโยชนใหสังคมแลว สถาบันยังไดรับประโยชนในดานตางๆ คือเพิ่มพูนความรูและ ประสบการณของอาจารยอันจะนํามาสูการพัฒนาหลักสูตร มีการบูรณาการเพื่อใชประโยชนทางดานการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย พัฒนาตําแหนงทางวิชาการของอาจารย สรางเครือขายกับองคการตาง ๆ ซึ่งเปนแหลงงานของนักศึกษาและเปนการสรางรายไดของสถาบันจากการใหบริการวิชาการดวยมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)3. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตัวบงชี้ จํานวน 3 ตัวบงชี้ ประกอบดวย5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของมหาวิทยาลัย5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและ นานาชาติตออาจารยประจํา5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการตัวบงชี้ที่ 5.1 : มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของมหาวิทยาลัย


- 45 -ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริการทางวิชาการแกสังคมเปนภารกิจหลักอยางหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยพึงมีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมที่เปนรูปธรรม กําหนดเปาหมายในการใหบริการวิชาการใหชัดเจนเพื่อเปนกรอบในการจัดทําแผนดําเนินงานในการใหบริการวิชาการแกสังคมของคณะวิชา หนวยงาน มีการติดตาม กํากับ สนับสนุนการปฏิบัติงานตาม ภารกิจดานบริการทางวิชาการแกสังคมของบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับเปาหมายของมหาวิทยาลัยเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธและแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการแกสังคม2. มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการวิชาการแกสังคมตามแผนที่กําหนด3. มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการแกสังคม4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด1. มหาวิทยาลัยและหนวยงานศึกษาสํารวจความตองการ จําเปนของสังคมและชุมชน2. มหาวิทยาลัยกําหนดกลยุทธและแผนการดําเนินงานดานบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนมหาวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการ ทําหนาที่บริหารจัดการงานดานบริการวิชาการแกสังคมใหมีความเปนเอกภาพคณะกรรมการดําเนินการ กําหนดภาระงาน หลักเกณฑ/ระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการบริการวิชาการใหสอดคลองกับเปาหมายของมหาวิทยาลัยคณะกรรมการดําเนินงานของคณะและหนวยงานฯ กํากับติดตามและประเมินผลการบริการวิชาการแกสังคมของมหาวิทยาลัย1. รายงานผลการศึกษาสํารวจตามตองการจําเปน2. แผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานทําหนาที่บริหารจัดการงาน ดานบริการวิชาการแกสังคมใหมีความเปนเอกภาพ4. หลักเกณฑ ระเบียบ และแนวปฏิบัติ การใหบริการทางวิชาการแกสังคมของมหาวิทยาลัย5.รายงานการประเมินผล การบริการวิชาการแกสังคม6. รายงานผลการดําเนินงานดานบริการ วิชาการแกสังคมของคณะและมหาวิทยาลัย7. หลักสูตร/โครงการการใหบริการวิชาการแกสังคม


- 46 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม6. มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการแกสังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม7. มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุงความเชื่อมโยง และบูรณาการระหวางการบริการวิชาการแกสังคมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบันคณะกรรมการดําเนินงานของคณะ/หนวยงาน นํารายงานการสังเคราะหสัมฤทธิ์ผลโครงการบริการวิชาการแกสังคม แจงหนวยงานและผูเกี่ยวของเพื่อนําไปใชปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคมที่สนองตอภารกิจของมหาวิทยาลัยคณะกรรมการจัดทําแผนความเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการวิชาการแกสังคมกับงานการเรียนการสอน การวิจัยหรือทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม1. คณะ/หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษา นํารายวิชาที่มีการบูรณาการไปใชในการเรียนการสอนและการวิจัย2. ประเมินสัมฤทธิ์ผลการดําเนินงาน ดานรายวิชา/ชื่อเรื่องวิจัย3. ปรับปรุงความเชื่อมโยงและบูรณาการระหวางการบริการวิชาการแกสังคมกับภารกิจอื่นๆของมหาวิทยาลัย8. รายงานการประชุมแจงผลการสังเคราะหฯ9. แนวทางการปรับปรุงการบริการวิชาการตางๆ10. รายงานการประชุมทําแผนบูรณาการ11. รายวิชา/ชื่อเรื่องวิจัย/กิจกรรมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่มีการเชื่อมโยงกับการบริการวิชาการแกสังคม12. รายชื่อรายวิชา/งานวิจัย/กิจกรรม ที่มีการบูรณาการและเชื่อมโยงกับการบริการ วิชาการแกสังคมที่มีการนําไปใชประโยชน13. รายงานผลการประเมินความกาวหนาและผลการปรับปรุงฯเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกตัวบงชี้ที่ 5.3 : รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา


- 47 -ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : รอยละคําอธิบายตัวบงชี้ :ตัวบงชี้นี้ตองการวัดจํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่สถาบันไดจัดขึ้นเพื่อใหบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนหรือเพื่อตอบสนองความตองการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐานกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคมชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติมีจํานวนมากกวาหรือเทากับรอยละ 40 ตออาจารยประจําเกณฑการประเมิน :1. คณะ/หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษา จัดกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการแกสังคมอยางนอยสาขาวิชาละ 1 กิจกรรมตอโครงการตอ 1 ภาคการศึกษาตามแผนปฏิบัติราชการปราจําป2. มหาวิทยาลัยสนับสนุนหนวยงานใหทําหนาที่เปนแหลงฝกงาน แหลงการเรียนรู และศึกษาดูงานใหแกบุคคลภายนอกและชุมชนในทองถิ่น3. มหาวิทยาลัยจัดใหบริการสถานที่ของมหาวิทยาลัย เพื่อการจัดกิจกรรม เสริมสรางความเขมแข็งของสังคม และชุมชนทองถิ่น1. โครงการบริการวิชาการแกสังคมของสาขาวิชา คณะ และหนวยที่ทําหนาที่จัดการศึกษา2. หนังสือขอความอนุเคราะหจากหนวยงานภายนอก3. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด(ไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ)4. จํานวนโครงการ/กิจกรรมที่ใหบริการวิชาการและวิชาชีพทั้งหมดคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3อยูระหวางรอยละ 1 – รอยละ 24รอยละ 25 – รอยละ 99มากกวาหรือเทากับรอยละ 40ตัวบงชี้ที่ 5.4 : รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : รอยละคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริการวิชาการแกสังคม เปนการตอบสนองและแสดงรับผิดชอบตอสังคมซึ่งถือเปนบทบาท ของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสากลของการอุดมศึกษา การตอบสนองดังกลาวจะมีคุณภาพ


- 48 -มากนอยเพียงใด สามารถสะทอนไดจากความพึงพอใจของผูรับบริการ ทั้งประชาชนผูมารับบริการ เจาหนาที่ของรัฐ หรือหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งการสํารวจความพึงพอใจโดยทั่วไปจะพิจารณา 4 ประเด็นสําคัญ คือ 1)ความพึงพอใจดานกระบวนการ ขั้นตอนการใหบริการ 2) ความพึงพอใจดานเจาหนาที่ผูใหบริการ 3)ความพึงพอใจดานสิ่งอํานวยความสะดวก 4)ความพึงพอใจตอคุณภาพการใหบริการแตสําหรับสถาบันอุดมศึกษา นอกจากความพึงพอใจในสี่ประเด็นขางตนแลว ยังรวมถึงความพึงพอใจตอบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา 3 ดาน คือ การเปนผูเตือนสติสังคม การชี้นําสังคม และการตอบสนองตอความตองการของสังคมเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐานระดับความพึงพอใจของผูรับบริการมากกวาหรือเทากับรอยละ 851. คณะ/หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษา จัดระบบการใหบริการวิชาการที่สะดวก ลดขั้นตอนการดําเนินงาน มหาวิทยาลัย/คณะ/หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษาดําเนินการ2. จัดอบรมบุคลากร และเจาหนาที่เพื่อเสริมสรางจิตสํานึกการใหบริการวิชาการแกสังคม ใหสะดวก รวดเร็ว สนองตอความพึงพอใจของผูรับบริการ3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ ใหเหมาะสม4. แตงตั้งผูรับผิดชอบกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการแกสังคมใหครอบคลุมและเหมาะสม5. ติดตาม และประเมินผล โดยการจัดทําแบบสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการทุกครั้ง ทั้ง 4ประเด็นสําคัญ6. ผูรับผิดชอบทุกโครงการ จัดทํารายงานผลการดําเนินงานและผลการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ เพื่อนําผลไปใชปรับปรุงและพัฒนาการใหบริการวิชาการแกสังคมใหมีประสิทธิภาพ1. เอกสารแสดงขั้นตอนหรือกระบวนการการดําเนินงาน2. โครงการจัดอบรม / เสริมสรางจิตสํานึกแกบุคลากรและเจาหนาที่3 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการฝายตางๆในการจัดอบรม4. รายงานผลการอบรม5. ภาพถาย วีดิทัศนหรือวีซีดี6. ขอมูล และสารสนเทศของวัสดุอุปกรณในการบริการวิชาการ7. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการกิจกรรม / โครงการตางๆ8. รายงานผลการติดตามและประเมินผล ความพึงพอใจของผูรับบริการตอกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ9. รายงานผลและรายงานการปรับปรุงการใหบริการวิชาการแกสังคม


เกณฑการประเมิน :- 49 -คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 65 - รอยละ 74 รอยละ 75 - รอยละ 84 มากกวาหรือเทากับรอยละ 85องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการหลักการมหาวิทยาลัยตองใหความสําคัญกับการบริหารจัดการ โดยมีสภามหาวิทยาลัย ทําหนาที่ในการกํากับดูแลการทํางานของสถาบันการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ปจจัยที่สถาบันอุดมศึกษาจะทําหนาที่บริหารจัดการใหมีคุณภาพไดแก ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานขอมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรทั้งหมด ฯลฯ เพื่อสัมฤทธิผล ตามเปาหมายที่กําหนดไว โดยใชหลักการบริหารจัดการบานเมืองและสังคมที่ดี (good governance)มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)3. มาตรฐานการประเมินคุณภาพการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตัวบงชี้ จํานวน 5 ตัวบงชี้ ประกอบดวย7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธํารงรักษาไวใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนามหาวิทยาลัย7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสู ระดับบุคคลตัวบงชี้ที่ 7.2 : ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัยชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :ปจจัยสนับสนุนที่สําคัญตอการเจริญกาวหนาของสถาบันอุดมศึกษาคือ ผูบริหารทุกระดับของสถาบันนั้น ๆ หากผูบริหารมีวิสัยทัศน เปนผูนําที่ดีมีธรรมาภิบาล รับผิดชอบตอสังคม รักความกาวหนา ดูแลบุคลากรอยางดี เปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจ แกปญหาและกํากับดูแล ติดตามผลการทํางานของสถาบันไปในทิศทางที่ถูกตอง จะทําใหสถาบันเจริญรุดหนาอยางรวดเร็ว


- 50 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได2. ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยู โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย3. มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารที่ชัดเจน และเปนที่ยอมรับในสถาบัน1. หนวยงานแตงตั้งคณะกรรมการสรรหา ผูบริหาร มีการกําหนดเกณฑการสรรหาที่มีระบบและเปดโอกาสใหบุคลากรมีสิทธิ์แสดงความคิดเห็นหรือมีสวนรวมในการกําหนดเกณฑ2. คณะกรรมการฯประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเขารับการคัดเลือกเปนผูบริหาร3. หนวยงานปดโอกาสใหผูสมัครไดนําเสนอวิสัยทัศนการนําองคกร4. หนวยงานมีการคัดเลือกผูบริหารอยางเปนธรรม สามารถตรวจสอบได1. ผูบริหารจัดทํา ปรับปรุง/พัฒนาวิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ ฯลฯเพื่อนําไปสูการปฏิบัติที่ชัดเจน2. คณะกรรมการ /คณะ/สํานักกําหนดเปาหมายและตัวบงชี้คุณภาพทุกแผนปฏิบัติราชการ3. หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษาติดตามผลสําเร็จของการปฏิบัติงาน และหาแนวทางการแกไขและพัฒนาอยางตอเนื่อง4. หนวยงานจัดทําระบบฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพเพื่อใชในการตัดสินใจ5. มหาวิทยาลัยและทุกหนวยงานบริหาร งบประมาณและบริหารรายไดตางๆอยางมีประสิทธิภาพ1. หนวยงานใชทรัพยากรอยางคุมคาและ มีประสิทธิภาพ2. หนวยงานปดโอกาสใหชุมชนและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยมีสวนรวมในการบริหารจัดการ3. หนวยงานกํากับ ติดตาม และดูแลการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา/หนวยงาน และมหาวิทยาลัย1. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสรรหา ผูบริหาร2. หลักเกณฑและวิธีการสรรหาและพัฒนาสมรรถนะและภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับ3. ขั้นตอนการดําเนินการสรรหาและคัดเลือกผูบริหาร4. รายงานผลการดําเนินการสรรหา และคัดเลือกผูบริหาร5. วิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ6. แผนปฏิบัติราชการ (ที่มีการกําหนด ตัวชี้วัดคุณภาพ)7. รายงานผลติดตามการปฏิบัติงาน8. ระบบฐานขอมูล MIS9. สรุปรายงานการบริหารงบประมาณตางๆ10. ขอมูลในการใชทรัพยากรรวมกัน11. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจตอการบริหารงานของผูบริหาร


- 51 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวนบุคลากรประเมินความพึงพอใจตอการบริหารงานของผูบริหารทุกระดับ1. หนวยงานจัดทําแผนและจัดสรรงบประมาณสําหรับการพัฒนาเพิ่มศักยภาพผูบริหารทุกระดับอยางตอเนื่องโดย- ใหมีการฝกอบรมภาวะผูนําของผูบริหาร- สัมมนา/ศึกษาดูงานทั้งในและตางประเทศเกี่ยวกับการบริหารจัดการและอื่นๆ2. มีการติดตามการพัฒนาศักยภาพของ ผูบริหารและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาฯและประเมินผลสําเร็จของการเพิ่มศักยภาพของผูบริหาร3. มีการนําผลการประเมินทั้งหมดมาปรับปรุงการดําเนินงานทุกดานอยางตอเนื่อง12. แผนพัฒนาการเพิ่มศักยภาพผูบริหาร13. กิจกรรม/โครงการ หรือหนังสือเชิญอบรม / สัมมนา14. จํานวน และรายชื่อผูบริหารที่ไดรับ การพัฒนาเพิ่มศักยภาพ15. รายงานการประเมินผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาฯและแนวทางการแกไข ปรับปรุงเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการ ไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ ครบทุกขอตัวบงชี้ 7.3 : มีการพัฒนามหาวิทยาลัยสูองคการเรียนรูชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :มาตรฐานอุดมศึกษาขอที่ 3 กําหนดใหสถาบันมีการสรางและพัฒนาสังคม ฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู ซึ่งตองมีการจัดการความรูเพื่อมุงสูองคการแหงการเรียนรู โดยมี การรวบรวมองคความรูที่มีอยูในองคกรซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหสถาบันอุดมศึกษามีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรูในองคกร


- 52 -ประกอบดวย การระบุความรู การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู การเขาถึงขอมูลและการแลกเปลี่ยนความรูทั้งภายในและภายนอกองคกร การสรางบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรูภายในองคกร การกําหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรูในองคกรใหดียิ่งขึ้นเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของสถาบันรับทราบ2. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายไมนอยกวา รอยละ 503. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายรอยละ 1004. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู5. มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการจัดการความรูใหเปนสวนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรูเกณฑการประเมิน :มหาวิทยาลัย/หนวยงานจัดตั้งคณะกรรมการดําเนินการทบทวนและจัดทําการจัดการความรูและประชาสัมพันธมีการสงเสริมการดําเนินการและเก็บขอมูลมหาวิทยาลัย/หนวยงานมีการแตงตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลความสําเร็จมหาวิทยาลัย/หนวยงาน ประชุมคณะกรรมการวางแผนการติดตามการประเมินและประชุมนําผลการติดตามประเมินผลไปใชทําแผนการจัดการความรูปตอไป1. คําสั่งแตงตั้งคระกรรมการดําเนินงาน2. แผนการจัดการความรู3. หลักฐาน/เอกสาร4. รายงานสรุปผลการดําเนินงานการจัดการความรู5. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลความสําเร็จ6. รายงานการประชุมวางแผนการติดตามประเมินผล7. รายงานการประชุมนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงงานทําแผนการจัดการความรู8. แผนการจัดการความรูปตอไปคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก


- 53 -ตัวบงชี้ที่ 7.4 : มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :คุณภาพของการศึกษาจะเกิดขึ้น ถาสถานศึกษามีบุคลากรที่มีคุณภาพมีความรักองคกร มุงมั่นตั้งใจปฏิบัติหนาที่ตามภาระงานที่กําหนด ผูบริหารมีการมอบหมายงานใหกับผูใตบังคับบัญชาตามศักยภาพ ความถนัด ความสนใจของแตละบุคคล บุคลากรทุกระดับมีความพึงพอใจในการทํางาน องคกรมีการพัฒนาบุคลากรตามสาขาวิชาชีพ และหาวิธีการที่จะธํารงรักษา บุคลากรที่มีประสิทธิภาพใหอยูกับองคกรตลอดไปเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรมภายใตการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ2. มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชนการสรรหา การจัดวางคนลงตําแหนง1. วิเคราะหขอมูลตางๆที่เกี่ยวกับบุคลากร ไดแก1.1 ภาระงานของบุคลากรทุกระดับ1.2 ปริมาณงาน ประเภทของงาน1.3 จํานวนอัตรากําลัง1.4 การเขา-ออกของบุคลากร2. จัดทําคําอธิบายลักษณะงาน (Jobdescription) คุณสมบัติเฉพาะตําแหนง (Job specification) และเกณฑการประเมินผลปฏิบัติงาน(Job Evaluation)3. มีแผนระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาวในการจัดเตรียมบุคลากร พัฒนา และรักษาบุคลากรอยางมีประสิทธิภาพ (มีการวิเคราะห การเขาออกของบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทของมหาวิทยาลัย)1. มีขั้นตอนและระเบียบการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรและมีการทบทวน/ประเมินขั้นตอนการทํางานอยางสม่ําเสมอ1. สรุปการวิเคราะหขอมูล ภาระงานฯ ปริมาณงาน ประเภทของงานตางๆ2. คําอธิบายลักษณะงาน เกณฑการประเมินคุณลักษณะเฉพาะตําแหนง3. แผนการบริหารทรัพยากรบุคลากร (ระยะสั้น/ระยะกลาง/ระยะยาว)4. ระเบียบ/ขั้นตอน การสรรหาการ คัดเลือกบุคลากร5. โครงการสงเสริมและพัฒนาบุคลากรดานตางๆ


- 54 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐานการกําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ3. มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข4. มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ2. สงเสริมพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูความสามารถ ตรงกับภารกิจและสาขาวิชาชีพ ทั้งดานการฝกอบรม การเขารวมประชุมหรือเสนอผลงานทางวิชาการการศึกษาตอตลอดจนสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพความสามารถสูงใหประสบความสําเร็จ1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานกําหนดเสนทางเดิน (ความกาวหนา) ของตําแหนงงาน (Career path)2. มีมาตรการดานการใหรางวัลเปนกําลังใจ และการลงโทษ (การใหคุณ-ใหโทษ)3. มีการพิจารณาความดี ความชอบใหบุคลากรที่มีความสามารถ ตามกฎ ระเบียบของมหาวิทยาลัย1. มีนโยบายและดําเนินการปรับปรุงภูมิทัศน สิ่งแวดลอมของมหาวิทยาลัย ทั้งในอาคารและนอกอาคารสรางบรรยากาศที่ดีที่เอื้อตอการทํางานอยางมีความสุขของบุคลากร2. จัดและใหสวัสดิการแกบุคลากรตามระเบียบ โดยมีคณะกรรมการที่ดูแลรับผิดชอบ เชน ที่พักอาศัย ดานสุขภาพอนามัย ฯลฯมีระบบในการคัดเลือกบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนง หรือใหเขารับการอบรมพิเศษ การศึกษาดูงานฯลฯเพื่อความกาวหนาในสายงาน6. รายชื่อผูเขารวมอบรม ศึกษาตอหรือประชุมนําเสนอผลงานทางวิชาการ7. เสนทางเดินของตําแหนงงานของบุคลากรทุกระดับ8. กฎ ระเบียบการใหรางวัล หรือระเบียบ การลงโทษ ระบบระเบียบการพิจารณาความดีความชอบ9. รายชื่อบุคลากรที่ไดรับรางวัลหรือรายชื่อบุคลากรที่ทําผิดวินัย10. นโยบาย โครงการปรับปรุงภูมิทัศน อาคาร สถานที่ (สถานที่จริง)11. จํานวนบุคลากรที่ไดรับสิทธิตางๆ เชน ที่พักอาศัย จํานวนบุคลากรที่เขาโครงการตรวจรางกายประจําป12. กฎ ระเบียบ การคัดเลือกบุคลากรที่มีศักยภาพสูง13. รายชื่อ จํานวนบุคลากรที่ไดรับการคัดเลือก


- 55 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน6. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูงและมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น1. แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางนอยปละ 1 ครั้ง2. คณะกรรมการรวบรวมขอมูลและวิเคราะหผลการประเมิน3. คณะกรรมการนําเสนอผลการประเมินการวิเคราะหตอผูบริหารระดับสูง4. คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยประชุมระดมความคิดกําหนดแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา14. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน15. สรุปรายงานผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากร16. แนวทางการปรับปรุงพัฒนา17. รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 – 4 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกตัวบงชี้ที่ 7.6 : ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนามหาวิทยาลัยชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริหารแบบมีสวนรวม หมายถึง การบริหารที่สถาบันอุดมศึกษาเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจทางการบริหารและการดําเนินกิจการของสถาบันในทางตรงหรือทางออม การที่มหาวิทยาลัยจะมีระบบการบริหารที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมมากขึ้นนั้น พิจารณาจากการที่สถาบันมีระบบการทํางานที่เปนไปตามหลักการบริหารแบบมีสวนรวมที่มีการประยุกตใชในระดับสากล 5ประการ ดังนี้1. มีการเปดเผยขอมูลและโปรงใสในภารกิจที่หนวยงานดําเนินการ โดยมีชองทางในการใหขอมูลขาวสารแกนิสิตนักศึกษา คณาจารย และประชาชน


- 56 -2. มีการรับฟงความคิดเห็นจากผูรับบริการและประชาชนเกี่ยวกับภารกิจของมหาวิทยาลัยอยางสม่ําเสมอ3. มีระบบการจัดเก็บขอมูลที่ไดรับจากผูรับบริการและผูที่เกี่ยวของไปประกอบการปรับปรุงระบบการใหบริการประชาชน การปรับปรุงระบบการจัดการของสถาบัน เพื่อตอบสนองความตองการของผูรับบริการ ประชาชนหรือเพื่อประโยชนสุขของประชาชน4. มีการเปดโอกาสใหภาคเอกชน ประชาชน และเครือขายตางๆ ไดมีโอกาสเขารวมในกระบวนงานของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะเขารวมเปนคณะกรรมการที่ปรึกษา เพื่อรวมกําหนดทิศทางนโยบายของมหาวิทยาลัย การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชน5. ภาคประชาชนมีสวนรวมเปนเจาของ โดยไดมีการจัดกระบวนการหรือกลไกที่เปนรูปธรรมใหภาคประชาชน หรือผูที่เกี่ยวของไดเขารวมในการติดตามตรวจสอบความกาวหนาของการดําเนินงานและผลสําเร็จในการทํางานของมหาวิทยาลัยเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทางตาง ๆ อาทิเอกสารสิ่งพิมพเว็บไซต นิทรรศการ2. มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง3. มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม4. มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมจัดตั้งหนวยงาน และแตงตั้งคณะกรรมการศูนยขอมูลและบริการขาวสาร ดําเนินการเผยแพรขอมูลขาวสาร ของมหาวิทยาลัยใหแกสาธารณชนทั่วไปพัฒนาระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางตาง ๆเชน ตูรับฟงความคิดเห็น ศูนยขอมูล หองสมุด หมายเลขโทรศัพทสายดวน การจัดเวทีรับฟงความคิดเห็น เว็บไซต เว็บบอรด1. จัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนมาวิเคราะหเพื่อใชเปนขอมูลในการบริหารงาน2. คณะกรรมการบริหารนําขอมูลจากการวิเคราะห มาใชในการวางแผนและใชในการบริหารจัดการ ปรับปรุงการใหบริการ ประชาชนปรับปรุงระบบการจัดการของมหาวิทยาลัยฯลฯ1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมกิจการมหาวิทยาลัย โดยมีบุคลากร1. ขอมูล/ขาวสารที่มีการประชาสัมพันธและเผยแพรแกประชาชนอยางโปรงใสเอกสารตีพิมพ แผนพับ จดหมายขาวประกาศ เว็บไซต โลโก การจัดนิทรรศการ การแถลงขาว2. ชองทางการรับฟงความคิดเห็นของ ประชาชน3. คําสั่งแตงตั้งผูรับผิดชอบในการรวบรวม และประมวลผลขอมูลที่ไดจากการรับฟงความคิดเห็น4. สรุปขอมูลจากการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน5. แผนการปรับปรุงบริหารงานของมหาวิทยาลัย6. คําสั่งแตงตั้งที่ปรึกษาภาคประชาชน


เปนทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง5. มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน- 57 -ภายนอกเขารวมเปนคณะกรรมการและมีสัญญา ความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกับชุมชน องคกรภาครัฐหรือเอกชน2. มหาวิทยาลัยและองคกรภายนอก/ชุมชนตามขอ 5 มีการจัดกิจกรรมรวมกัน เชน กิจกรรมระหวางมหาวิทยาลัยและเขตบางเขน ฯลฯ1. มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการสงเสริมกิจการของมหาวิทยาลัยรวมกันวางแผนและกําหนดระยะเวลาและแนวทางติดตามหรือตรวจสอบกิจกรรม/โครงการ/การบริหารงานของมหาวิทยาลัย2. มหาวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการติดตามและตรวจสอบการดําเนินการของมหาวิทยาลัยที่มีบุคคลภายนอกรวมคณะทํางาน3. รายงานการติดตามผลและการตรวจสอบ7. รายชื่อหนวยงานหรือบุคคลที่เปนที่ปรึกษาภาคประชาชนที่เขารวมกิจกรรมอยางตอเนื่อง8. รายงานการประชุมที่แสดงถึงการมีสวนรวมของที่ปรึกษาภาคประชาชน9. การจัดสัมมนาหรือรูปแบบอื่น ๆระหวางมหาวิทยาลัยที่ปรึกษาภาคประชาชน10. สัญญาความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกับภาคเอกชน11. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ12. แผนและแนวทางการติดตามตรวจสอบ13. กิจกรรมหรือแผนงานหรือโครงการหรือประเด็นหรือเรื่องที่มีการตรวจสอบโดยภาคประชาชน14. รายงานผลการติดตามตรวจสอบเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ


- 58 -ตัวบงชี้ที่ 7.9 : ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคลชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :ความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล หมายถึงความสําเร็จ ที่มหาวิทยาลัยจัดใหมีระบบประเมินผลการดําเนินงานภายใน โดยจะตองจัดใหมีระบบในการถายทอดเปาประสงค ตัวบงชี้ ตามพันธกิจและยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบกําหนดเปนตัวบงชี้ของการดําเนินงานและเปาหมายในระดับหนวยงานจนถึงระดับบุคคล และจัดทําคํารับรองการปฏิบัติงาน รวมถึงจัดใหมีการติดตามและ ประเมินผลการดําเนินงานตามเปาหมายเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในมหาวิทยาลัย2. มีแผนงานการประเมินผลภายในมหาวิทยาลัย3. มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือเทียบเทาโดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับหนวยงานใหเชื่อมโยงกับเปาประสงคและประเด็นยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย1. มีการกําหนดนโยบายและกรอบการประเมินผลความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมาย2. แตงตั้งคณะกรรมการในการกําหนดแนวทางในการประเมินผลงานตามตัวบงชี้และเปาหมายของมหาวิทยาลัยคณะกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทําแผนการประเมินผลงานจัดทําตัวบงชี้และเปาหมาย ตามพันธกิจและยุทธศาสตร โดยยึดตามองคประกอบที่ 1 ขอ 1.2 หรือหนวยงานจัดประชุมคณะกรรมการเพื่อกําหนดตัวบงชี้และ เปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของหนวยงาน5. คณะ/หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษา/สํานักจัดทํา StrategyMap ประเด็นยุทธศาสตรใหสอดคลองและเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรของโดยกําหนดเปาหมาย/ตัวบงชี้1. นโยบายและกรอบการประเมิน2. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ3. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ4. ตัวบงชี้และเปาหมายตามยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย5. Strategy Map ของคณะ/หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษา/สํานัก


- 59 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน5. มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยในระดับคณะ หรือเทียบเทา6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้และเปาหมายตามคํารับรอง ของผูบริหารระดับตางๆ7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้และเปาหมายตามคํารับรอง8. มีการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผูบริหาร ไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจเกณฑการประเมิน :1. คณะ/หนวยงานที่ทําหนาที่จัดการศึกษา จัดประชุมนําผลจากขอ2. และแจงใหบุคลากร รับทราบและแสดงความคิดเห็นรวมกัน โดยเปรียบเทียบความสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยและจัดทํา คํารับรองระหวางผูบริหารระดับมหาวิทยาลัยกับผูบริหารระดับคณะ/หนวยงานหนวยงานแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายหนวยงานแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายของคณะ/หนวยงานที่จัดการศึกษา/สํานัก1.หนวยงานพัฒนาระบบในการติดตามผลการดําเนินงานวิเคราะหผลการประเมินการดําเนินงานของผูบริหาร นําเสนอตอผูบริหารหนวยงานนั้นๆ2. คณะกรรมการบริหารนําผลการประเมินมาใชประกอบการพิจารณาความดีความชอบ6. รายงานการประชุม7. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมาย8. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตามคํารับรองของผูบริหารระดับตางๆ9. รายงานสรุปผลการดําเนินงาน10. รายงานผลการวิเคราะหผลการประเมินการดําเนินงานของผูบริหาร11. เกณฑและวิธีการจัดสรรสิ่งจูงใจ โดยมีการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานมาใชประกอบพิจารณาจัดสรรสิ่งจูงใจคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 - 7 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอ


องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ- 60 -หลักการการเงินและงบประมาณเปนสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของสถาบันการศึกษา โดยปกติแหลงเงินทุนของสถาบันการศึกษาไดมาจากงบประมาณแผนดิน (สําหรับสถานศึกษาของรัฐ) และเงินรายไดเชน คาเลาเรียนของนักศึกษา รายไดจากงานวิจัย บริการทางวิชาการ คาเชาทรัพยสิน ฯลฯ ผูบริหารสถาบันการศึกษาจะตองทําความเขาใจกับการวิเคราะหทางการเงิน เชน คาใชจายทั้งหมดตอ จํานวนนักศึกษา ทรัพยสินถาวรตอจํานวนนักศึกษาคาใชจายที่สถาบันอุดมศึกษาใชสําหรับการผลิตบัณฑิตตอหัว จําแนกตามกลุ มสาขา รายไดทั้งหมดของสถาบันการศึกษา ภายหลังจากหักงบดําเนินการทั้งหมด งบประมาณในการพัฒนาอาจารย ความรวดเร็วในการเบิกจาย รอยละของงบประมาณที่ประหยัดไดหลังจากที่ปฏิบัติตามภารกิจทุกอยางครบถวน สิ่งเหลานี้จะเปนการแสดงศักยภาพเชิงการบริหารจัดการดานการเงินของสถานศึกษาที่เนนถึงความโปรงใส ความถูกตอง ใชเม็ดเงินอยางคุมคามีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุดมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. แผนพัฒนาการเงินระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. แผนปฏิบัติราชการของสถานศึกษาประจําป3. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)5. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ6. มาตรฐานแผนการปฏิบัติราชการของสํานักงบประมาณ7. รายงานงบประมาณแผนดิน (สถานศึกษาของรัฐ) และเงินรายไดตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรรการวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ8.2 ระดับความสําเร็จของการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกันตัวบงชี้ที่ 8.1 : มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบ การเงิน และงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :มหาวิทยาลัยจะตองมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอยางมีประสิทธิภาพ จะตองมีแผนกลยุทธทางดานการเงิน มีการวิเคราะหรายได คาใชจายของการดําเนินงาน โดยพิจารณาจากทุกแหลงเงินทุน ทั้ง


- 61 -จากงบประมาณแผนดินและเงินรายไดจากคาบํารุงการศึกษา รวมทั้งรายไดอื่น ๆ ที่สถาบันไดรับมีการนําเงินรายไดไปจัดสรรอยางเปนระบบ มีระบบฐานขอมูลทางการเงินแยกคาใชจายตามหมวดตาง ๆ มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบครบทุกพันธกิจ มีการนําระบบโปรแกรมสามมิติดานการเงินมาใชรวมทั้งมีผู ตรวจสอบการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงินตองสามารถทราบขอมูลดานคาใชจายทั้งหมดทั้งดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาบุคลากร เชน คาใชจายในระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา คาใชจายในการวิจัย คาใชจายของสถาบันในการบริการวิชาการวิชาชีพ คาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒธรรมตองบดําเนินการ สินทรัพยถาวรตอนักศึกษา งบประมาณในการพัฒนาอาจารย คาใชจายทั้งหมดตอนักศึกษา ระดับความสําเร็จของการประหยัดงบประมาณ รายจายลงทุน คาใชจายดานไฟฟา น้ํามันเชื้อเพลิง งบประมาณที่ประหยัดได รอยละเงินเหลือจายสุทธิตองบประมาณดําเนินการ และตนทุนตอหนวยผลผลิตรายหลักสูตรเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันใหเปนไปตามเปาหมาย2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดสรรและการวางแผนการใชเงินอยางมี1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานมีการกําหนดนโยบายและเปาหมายทางดานการเงินและแตงตั้งคณะทํางานจากผูบริหาร,บุคลากรจากหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวของ2. จัดประชุมคณะทํางานเพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน3. กําหนดระยะเวลาการรายงานผลการปฏิบัติงานทุกสิ้นเดือน4. จัดประชุมเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานแตงตั้งคณะกรรมการ ฝายสิทธิประโยชนเพื่อทําหนาที่จัดหาทรัพยากรทางดานการเงินและดูแลสิทธิประโยชนตามแผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย2. มหาวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการบริหารการเงินและงบประมาณ รวมทั้งเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่มีสวนเกี่ยวของ1. นโยบายมหาวิทยาลัยและคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการและคณะทํางาน2. รายงานการประชุม,แผนการปฏิบัติงาน3. แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน4. รายงานการประชุม5. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการฝายสิทธิประโยชนเพื่อทําหนาที่จัดหาทรัพยากรทางดานการเงินและดูแลสิทธิประโยชนตามแผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย6. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบริหารการเงินและงบประมาณ7. รายงานการประชุม / แผนการปฏิบัติงานดานการเงินและงบประมาณ


- 62 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน3. ประสิทธิภาพโปรงใสตรวจสอบได4. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใชในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงิน5. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2ครั้ง1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานประชุมคณะกรรมการ บริหาร เพื่อวางแผนดานการบริหารการเงินและงบประมาณ2. มหาวิทยาลัย/หนวยงานกําหนดใหมีการรายงานผลการรับ – จายเงินตอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยทุกสิ้นเดือน3. มหาวิทยาลัย/หนวยงานจัดประชุมคณะกรรมการบริหารการเงินและงบประมาณเพื่อประเมินผลการบริหารทรัพยากรทางดานการเงิน1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อจัดทําระบบฐานขอมูล จากหนวยงานที่เกี่ยวของ2. ประชุมเพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน กําหนดกรอบและหัวขอที่จําเปนในฐานขอมูล3. จัดทําฐานขอมูล ที่แสดงขอมูลทางดานการเงิน สําหรับผูบริหารและบุคคลที่เกี่ยวของใชในการตัดสินใจ และวิเคราะหสถานะทางการเงิน1. หนวยการเงินยอยที่ทําหนาที่บริหารการรับ – จายเงินจัดทํารายงานทางการเงินสงให กองคลังสํานักงานอธิการบดีทุกสิ้นเดือน2. คณะกรรมการบริหารการเงินและงบประมาณและเจาหนาที่แตงตั้งเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานจัดทํารายงานทางการเงิน นําเสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยทุก 6 เดือน8. แบบรายงานผลการรับ – จายเงิน,รายงานผลการใชจายงบประมาณ9. รายงานการประชุม10. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ11. รายงานการประชุม /แผนปฏิบัติงานการจัดทําระบบฐานขอมูล12. ระบบฐานขอมูลแสดงขอมูลทาง ดานการเงินและงบประมาณ14. รายงานทางการเงินประจําเดือน- งบทดรอง- รายงานรายรับเงินแยกตามประเภทเงินที่จัดเก็บ- รายงานรายจายจริงประจําเดือน- รายงานทางการเงิน- รายงานแสดงฐานะทางการเงิน- รายงานแสดงผลการดําเนินงาน- งบกระแสเงิน- หมายเหตุประกอบงบการเงิน


- 63 -15. รายงานทางการเงินของหนวยงานที่เกี่ยวของเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน6. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยางตอเนื่อง7. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด8. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจมหาวิทยาลัยมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารการเงินและงบประมาณวิเคราะหคาใชจาย และสถานะทางการเงิน จัดทํารายงานผลการวิเคราะหเสนอตอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย1. คณะกรรมการประเมินผลการตรวจสอบภายในวางแผนตรวจสอบประจําป ติดตามประเมินผล และวางแนวทางแกไขปญหาที่พบจากการตรวจสอบ2. รายงานผลการตรวจสอบภายในเสนอตออธิการบดี และคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย3. แตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบจากภายนอก1. คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ติดตามผลการใชเงินจัดประชุมเพื่อรวมปองกันพัฒนาหาแนวทางการแกไข และปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ แผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยตอไป2. มหาวิทยาลัยนําผลการตรวจสอบและมติที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเสนอตอสภามหาวิทยาลัย3. จัดประชุมสภามหาวิทยาลัยเพื่อหาขอสรุปขอเสนอแนะในการดําเนินงานดานการเงินของมหาวิทยาลัยตอไป16. รายงานผลการวิเคราะหคาใชจาย และสถานะทางการเงิน17. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการภายในและภายนอกประเมินผลการดําเนินการ18. แผนการตรวจสอบภายในประจําป19. รายงานผลการตรวจสอบภายใน20. รายงานผลการประชุม21. จดหมายนําสงสภามหาวิทยาลัย22. รายงานการประชุม


เกณฑการประเมิน :- 64 -คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 – 6 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 8.2 : มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยรวมกันชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริหารงานโดยการบูรณาการใชทรัพยากรที่มีอยูทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยใหเกิดประโยชนสูงสุด แสดงใหเห็นถึงกลยุทธการบริหารงานที่สอดคลองกับสถานการณในโลกยุคปจจุบันเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการการใชทรัพยากรของมหาวิทยาลัย2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของมหาวิทยาลัย3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในมหาวิทยาลัย1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานแตงตั้งคณะกรรมการ ศึกษาความตองการใชทรัพยากรของมหาวิทยาลัย2. มหาวิทยาลัย/หนวยงานจัดทําสถิติ การใชทรัพยากรของหนวยงาน3. คณะกรรมการฯรวบรวมสถิติการใชทรัพยากรทั้งหมด1. คณะกรรมการจัดทํารายงานผลการวิเคราะหความตองการใชทรัพยากร2. มหาวิทยาลัย/หนวยงานกําหนดนโยบายการบริหารทรัพยากรโดยยึดแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยมาเปนกรอบในการทํางาน3. คณะกรรมการฯ จัดทํากฎระเบียบ ขอบังคับ ตลอดจนแนวปฏิบัติ ประกาศใหบุคลากรรับทราบประชุมคณะทํางานจากหนวยงานตาง ๆ เพื่อจัดทําแผนการใชทรัพยากรรวมกันระหวางหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย1. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ2. รายงานสถิติการใชทรัพยากร3. รายงานผลการวิเคราะห4. แผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยและนโยบายการบริหารทรัพยากร5. กฎ ระเบียบ ขอบังคับ แนวปฏิบัติ การใชทรัพยากรรวมกัน6. แผนการบริหารทรัพยากร4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกัน ประชุมคณะกรรมการบริหารการ 7. ระเบียบการใชทรัพยากรรวมกับ


- 65 -กับหนวยงานอื่นนอกมหาวิทยาลัย ใชทรัพยากรเพื่อจัดทําแผนระหวางมหาวิทยาลัยหนวยงานภายนอกที่มีสวนเกี่ยวของกับการใชทรัพยากรรวมกัน เพื่อ สรางความรวมมือหนวยงานภายนอกเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกับหนวยงานอื่นเกณฑการประเมิน :คณะกรรมการฯ รวบรวมขอมูลผลการปฏิบัติงานการใชทรัพยากรรวมกันของหนวยงานทั้งภายในและภายนอกเปรียบเทียบกับปการศึกษาที่ผานมา8. สรุปผลการใชทรัพยากรรวมกันคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกองคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพหลักการระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน เปนปจจัยสําคัญที่แสดงถึงศักยภาพ การพัฒนาคุณภาพของสถาบัน โดยตองครอบคลุมทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งจะตองมีการพัฒนาระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในอยางตอเนื่อง และมี กระบวนการจัดการความรู เพื่อใหเกิดนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพภายในที่เปนลักษณะเฉพาะของสถาบันมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)


- 66 -ตัวบงชี้ จํานวน 4 ตัวบงชี้ ประกอบดวย9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษา9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตัวบงชี้ที่ 9.1 : มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนภารกิจของมหาวิทยาลัยตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งสถาบันการศึกษาตองสรางระบบและกลไกในการควบคุมตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการดําเนินงานของสถาบันใหเปนไปตามนโยบาย เปาประสงค และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดโดยสถาบันและโดยหนวยงานตนสังกัดตลอดจนหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ถือวาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อเปนหลักประกันแกสาธารณชนใหมั่นใจวาสถาบันสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเหมาะสมกับระดับการพัฒนาของมหาวิทยาลัยมีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานการประกันคุณภาพทุกระดับและจัดทําคูมือการประกันคุณภาพ1. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานการประกันคุณภาพ2. คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย/คณะ/สํานัก/สาขาวิชาเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน2. มีการกําหนดนโยบาย และใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของมหาวิทยาลัย ภายใตการมีสวนรวมของบุคลากรทุกฝายรวมทั้งภาคี ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย1. ผูบริหารกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา2. การดําเนินการประกันคุณภาพเกิดจากการมีสวนรวมของบุคลากรทุกฝาย3.จัดประชุม สัมมนา ดานการประกัน คุณภาพภายในมหาวิทยาลัยและใหบุคคลภายนอกมีสวนรวม4. มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณเพื่อใชในการดําเนินการประกันคุณภาพฯ3. นโยบายของสภามหาวิทยาลัยและผูบริหารระดับสูงเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ4. รายงานการประชุม5. หนังสือเชิญเปนภาคีการประกันคุณภาพจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย


3. มีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพในการดําเนินงานตั้งแตระดับบุคคลคณะ และมหาวิทยาลัย4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวนทั้งการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา (อยางนอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม)5. มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน6. มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก7. มาตรฐานตัวบงชี้เกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษา มีความเปนเอกลักษณ สอดคลองกับภารกิจของหนวยงาน- 67 -มหาวิทยาลัย/หนวยงานประสานงานในการปฏิบัติงานในทุกระดับ ทั้งระดับบุคคล และระดับคณะใหดําเนินการกําหนดมาตรฐานคุณภาพมหาวิทยาลัย/หนวยงานตรวจติดตามตรวจสอบและประเมินผลการประกันคุณภาพภายในอยางสม่ําเสมอทุกปการศึกษามหาวิทยาลัย/หนวยงานนําผลจากการตรวจประเมินคุณภาพภายในมาปรับปรุงการดําเนินงานทุกดานมหาวิทยาลัย/หนวยงานกําหนดมาตรฐานที่ใชเปนกรอบในการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพเชน กรอบมาตรฐานคุณวุฒิเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ฯลฯมหาวิทยาลัย/หนวยงานพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑ การประเมินที่ใชในการประกันคุณภาพภายใน เพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพแตละองคประกอบและทุกภารกิจ6. รายงานการประชุม7.รายงานการประเมินตนเองของคณะ/ ทุกปการศึกษา8. รายงานผลการตรวจติดตามคุณภาพการศึกษาภายในของคณะทุกปการศึกษา9. รายงานผลการประเมินประกันคุณภาพใหกับทุกหนวยงาน10. บันทึกแจงการรายงานผล11. เอกสารเกณฑมาตรฐาน ตัวบงชี้และเกณฑประเมินคุณภาพทุกภารกิจ12. เอกสารตัวบงชี้และเกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษาที่สอดคลองกับภารกิจของหนวยงานเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน8. มีระบบฐานขอมูลและ สารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาและใชรวมกันทั้งระดับบุคคล สาขาวิชา คณะ และมหาวิทยาลัย9. มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางหนวยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย/หนวยงานจัดทํา/พัฒนาฐานขอมูลและสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บ และเรียกใชงานไดทั้งในระดับบุคคล สาขาวิชา คณะ1. มหาวิทยาลัย/หนวยงานอบรมและใหความรูสรางความเขาใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาใหกับคณาจารยและ13. ฐานขอมูลตางๆที่เกี่ยวกับการดําเนินงานภายในคณะทุกระดับ14. คําสั่งคณะกรรมการดําเนินงานเกี่ยวกับการสัมมนา/อบรม15. รายงานสรุปผลการดําเนินงานโครงการอบรม/สัมมนา เกี่ยวกับ


- 68 -บุคลากรทุกระดับ2. มหาวิทยาลัย/หนวยงานจัดทําหรือจัดพิมพวารสาร เผยแพรขาวสารขอมูลเกี่ยวกับการประกันคุณภาพใหคณาจารย บุคลากรนักศึกษาทั้งหนวยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยไดรับทราบอยางสม่ําเสมอ3. ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารการดําเนินงานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย / คณะ /หนวยงาน ทาง website ของงานประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา4. เผยแพรประเมินตนเองของมหาวิทยาลัย ทั้งภายในและภายนอก5. มหาวิทยาลัย/หนวยงานสรางเครือขายการจัดการความรูเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษากับสถาบันการศึกษาอื่นการใหความรู สรางความเขาใจและการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทั้งภายในและนอกมหาวิทยาลัย16. เอกสาร วารสาร ปายประชาสัมพันธ เผยแพร ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา17. website งานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ18. หลักฐานการสงเอกสาร SARไปยังหนวยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย19. หนังสือเชิญจากมหาวิทยาลัยตางๆมารวมแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 6 ขอแรกมีการดําเนินการ7 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 8 ขอแรกตัวบงชี้ที่ 9.3 : ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วัดจากผลการดําเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่กําหนดขึ้นทั้งในระดับสถาบันและหนวยงานยอย ตลอดจนถึงใน


- 69 -องคการนักศึกษา ทั้งนี้โดยมีการรายงานผลการประกันคุณภาพตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชนมีการนําผลการประเมินไปใชปรับปรุงการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการประกันคุณภาพระหวางบุคคลและหนวยงานตลอดจนมีนวัตกรรม หรือมีแบบอยางที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษาเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ และมหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง2. มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของมหาวิทยาลัย3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด4. มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงานอยางตอเนื่องดําเนินการตามระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ/หนวยงานโดยมีการรวบรวมขอมูลการดําเนินการ(เพื่อการรายงานการประเมิน ตนเองทุกปการศึกษา) ตรวจติดตามการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยางตอเนื่องมหาวิทยาลัย/คณะทบทวนระบบประกันคุณภาพภายในใหเหมาะสมกับภารกิจของแตละคณะ/หนวยงาน1. รายงานผลการประเมินตอหนวยงานที่เกี่ยวของ2. เผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการตรวจติดตามการประกันคุณภาพการศึกษาภายในทั้งภายในและภายนอกการพัฒนาดัชนี / ตัวชี้วัดคุณภาพภายในมหาวิทยาลัยและ การประชุมเพื่อพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานของแตละหนวยงาน1. เอกสารรายงานการประเมินตนเองของทุกคณะและหนวยงาน ,สรุปเอกสารรายงานผลการตรวจติดตามคุณภาพของทุกคณะทุกหนวยงาน, สรุปเอกสารการประเมินตนเองของมหาวิทยาลัยทุกป2. ผล/ขอสรุปการประชุมของคณะ/หนวยงาน และกิจกรรมสืบเนื่องจากการประชุม ปรับปรุงทบทวนระบบประกันคุณภาพ3. Website ของงานประกันคุณภาพการศึกษา , ขาวสารการประกันคุณภาพ ปายประชาสัมพันธ4. รายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการประจําคณะหรือหนวยงาน5. ดัชนี/ตัวชี้วัดที่ไดจากการพัฒนา(ในคูมือการประกันคุณภาพการศึกษา)6. รายงานการประชุมของมหาวิทยาลัย/คณะ/หนวยงานเกี่ยวกับการนําผลการประเมินมาใชเพื่อปรับปรุงการดําเนินงานเกณฑมาตรฐานคุณภาพ กิจกรรมพัฒนา ขอมูลอางอิง / เอกสารหลักฐาน5. มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่หนวยงานพัฒนาขึ้นหรือมีการจัดทําแนวปฏิบัติที่ดี1. มหาวิทยาลัยสนับสนุนใหทุกหนวยงานสรางวัฒนธรรมในการประเมินคุณภาพใหเปนหนาที่และ7. เอกสารประกอบการดําเนินงานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของหนวยงาน


- 70 -เพื่อการเปนแหลงอางอิงใหกับหนวยงานและสถาบันอื่นๆงานประจํา2. มหาวิทยาลัย/คณะ จัดโครงการการจัดการความรูเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาทางมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางหนวยงาน/คณะ เพื่อสรุปความรูที่เปนแนวปฏิบัติที่ดีของแตละหนวยงาน/คณะ8. รายงานผลการดําเนินงานโครงการการจัดการความรูเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา9. เอกสารเผยแพรแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก


สวนที่ 3รายงานผลการประเมินตนเองสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศไดทําการประเมินตนเองในรอบปการศึกษา <strong>2550</strong> จํานวน 6องคประกอบ 16 ตัวบงชี้ ผลการประเมินมีดังตอไปนี้องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการหลักการหนวยงานแตละแหงมีปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค ที่ไดกําหนดมาตั้งแตเริ่มตั้งหนวยงาน และอาจปรับเปลี่ยนได ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคควรระบุใหชัดเจน ใหสมาชิกทุกกลุมในหนวยงานไดรับทราบทั้งอาจารยเจาหนาที่ นักศึกษา ตลอดจนผูที่มีสวนไดสวนเสีย เชน ผูปกครอง ชุมชน ผูใชบริการและสังคมโดยรวม ปรัชญา ปณิธานวัตถุประสงค ควรสอดคลองกันและเปนแนวทางการดําเนินงาน สนับสนุนภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ (ถามี) และสถาบันตองจัดทําแผนกลยุทธและแผนดําเนินงานที่ชัดเจนเพื่อใหบรรลุปรัชญา ปณิธาน และ วัตถุประสงคของสถาบันและใหสอดคลองกับทิศทาง การพัฒนาของประเทศและการเปลี่ยนแปลง ของกระแสโลกมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ3. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะที่ 10(<strong>2550</strong>-2554) มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา4. พระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัยราชภัฏ5. แผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงานและมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุก ภารกิจ1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนด


- 73 -ตัวบงชี้ที่ 1.1 : มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนินงานและมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตาม แผนใหครบทุกภารกิจชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :สถาบันอุดมศึกษามีภารกิจหลัก คือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแกสังคมและการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการดําเนินภารกิจหลักแตละดานตองคํานึงถึงหลักการของการศึกษาระดับอุดมศึกษา มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวของ รวมถึงยุทธศาสตรดานตาง ๆ ของชาติ ดังนั้น ในการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนการพัฒนากลยุทธและแผนการดําเนินงานเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานของสถาบัน จึงจําเปนตองใหสอดคลองกับหลักการและมาตรฐาน ตางๆ ที่เกี่ยวของที่ระบุขางตน อีกทั้งตองคํานึงถึงทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินงานของ หนวยงานเปนไปอยางมีคุณภาพในทิศทางที่ถูกตองเหมาะสมและเปนที่ยอมรับของสังคมเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน2. มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและแผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกันและกันและสอดคลองกับภารกิจหลักของสถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของ ชาติ3. มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของแตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหาร6. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงคเปาหมาย กับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมใน อนาคตอยางสม่ําเสมอ7. มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่องเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกผลการประเมินตนเอง :มีการดําเนินการ5 - 6 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการครบทุกขอ เกณฑมาตรฐานคุณภาพได 6 ขอ 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :


- 74 -1. สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศไดกําหนดปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจของหนวยงาน และจัดทําแผนดําเนินการไวเปนลายลักษณอักษรและสอดคลองกับมาตราฐานการอุดมศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่10 พรบ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ และแผนยุทธศาสตร ของมหาวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 1.1.1 / เอกสารหมายเลข 1.1.2/ เอกสารหมายเลข 1.1.3 / เอกสารหมายเลข 1.1.4) นอกจากนี้ยังมีการแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาแผนการดําเนินงานโดยจัดทําแผนการดําเนินงาน คือ แผนปฏิบัติราชการ 5 ป ประจําป <strong>2550</strong>-2554 (เอกสารหมายเลข1.1.5 /เอกสารหมายเลข 1.1.6/เอกสารหมายเลข 1.1.7)โดยมีการวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง และยุทธศาสตรของสํานักใหสอดคลองกับภาระกิจของมหาวิทยาลัย( เอกสารหมายเลข 1.1.8 /เอกสารหมายเลข 1.1.9) มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงานสํานักวิทยบริการฯ และเปาหมายของแตละตัวบงชี้ เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานสํานักวิทยบริการ(เอกสารหมายเลข 1.1.5) และมีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ (เอกสารหมายเลข 1.1.10/เอกสารหมายเลข 1.1.11/เอกสารหมายเลข 1.1.12) มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ ของโครงการตาง ๆ ที่สํานักไดจัดขึ้นในปการศึกษา <strong>2550</strong> (เอกสารหมายเลข 1.1.8 /เอกสารหมายเลข 1.1.12) รวมทั้งมีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ (เอกสารหมายเลข1.1.13 /เอกสารหมายเลข 1.1.14 /เอกสารหมายเลข 1.1.15 ) นอกจากนี้ยังนําผลการประเมินมาวิเคราะหและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ(เอกสารหมายเลข 1.1.12 / เอกสารหมายเลข1.1.16)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :บุคลากรมีความรู ความเขาใจ และความสามารถในการปฏิบัติงาน ซึ่งสวนใหญจบการศึกษาทางดานบรรณารักษศาสตรโดยตรงอุปสรรคตอการดําเนินงาน :ไมมีหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. ภาพปายปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ, ภาพโฮมเพจสํานักวิทยบริการ/ 1.1.1สถานที่จริง2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่10 1.1.23. พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ 1.1.34. แผนยุทธศาสตร ของมหาวิทยาลัย) 1.1.45. แผนปฏิบัติราชการ 5 ป พ.ศ.<strong>2550</strong>-2554 1.1.56. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนา 1.1.67. แผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ.2551 1.1.78. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน วันที่ 17 กย.50 1.1.89. ตารางวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง 1.1.910. ปฏิทินกิจกรรมปการศึกษา <strong>2550</strong> 1.1.1011. หนังสือ 5ทศวรรษแหลงเรียนรูสูสากล 1.1.11


- 75 -12. รายงานผลการปฏิบัติงานตามแนวทางพัฒนา 9 ประเด็น 1.1.1213. ตารางแสดงความสอดคลองของแผนงาน 1.1.1314. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน วันที่ 29 มค. 51 1.1.1415. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน วันที่ 5 มี.ค. 51 1.1.1516. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน วันที่ 23 เม.ย.51 1.1.16ตัวบงชี้ที่ 1.2 : รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนดชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :พิจารณาจากระดับความสําเร็จของการบรรลุเปาหมายแตละตัวบงชี้ที่ สอดคลองกับแผนปฏิบัติงานของหนวยงาน โดยประเด็นของการประเมินผล ไดแก ดาน มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ดานงานวิจัยและ งานสรางสรรคดานการบริการวิชาการ ดานงาน อนุรักษศิลปวัฒนธรรมสูตรการคํานวณ :จํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณที่บรรลุเปาหมายจํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณทั้งหมดX 100เกณฑมาตรฐานคุณภาพตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณที่บรรลุเปาหมาย รอยละ 80เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3บรรลุเปาหมายรอยละ 60-74 บรรลุเปาหมายรอยละ 75-89 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100ผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินบรรลุเปาหมายรอยละ 100 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการไดชี้แจงใหบุคลากรทราบและมีสวนรวมในการวางแผนปฏิบัติงานโดยมีประเด็นยุทธศาสตร ตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานในหลายชองทาง เชน ในการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน, บนเว็บไซต


- 76 -(เอกสารหมายเลข 1.2.1) และมีการจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนอยางตอเนื่อง และมีการทํารายงานผลการใชเงินงบประมาณแจงตอมหาวิทยาลัยเปนประจําทุกเดือน (เอกสารหมายเลข 1.2.2 /เอกสารหมายเลข 1.2.3/เอกสารหมายเลข 1.2.4 /เอกสารหมายเลข 1.2.5) นอกจากนี้ในแผนปฏิบัติราชการ 5 ป มีการกําหนดดัชนีชี้วัดความสําเร็จซึ่งสํานักวิทยบริการไดดําเนินการสําเร็จตามเปาหมายในแตละแผนงานครบทุกตัวบงชี้ ไดแก แผนพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ แผนงานบริหารสํานักวิทยบริการ แผนงานพัฒนาบุคลากร เปนตน (เอกสารหมายเลข 1.2.6)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :บุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดแผนปฏิบัติงานและตัวบงชี้ ทําใหมีความเขาใจและพยายามที่จะดําเนินการเพื่อทําใหแผนบรรลุเปาหมายอุปสรรคตอการดําเนินงาน :ไมมีหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. เว็บไซต สํานักวิทยบริการ 1.2.12. แผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ.2551 1.2.23. เอกสารคําขอตั้งงบประมาณรายจายประจําป 2551 1.2.34. ฐานขอมูลการตัดยอดเงินงบประมาณป <strong>2550</strong>,2551 1.2.45. เอกสารสรุปการเบิกจายเงินงบประมาณแผนดิน 1.2.56. ตารางวิเคราะหความสอดคลองของการบรรลุเปาหมาย 1.2.6


- 77 -องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอนหลักการการบริหารกิจการวิชาการ (Academic affair) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนมีความรูในวิชาชีพตามหลักสูตรที่กําหนด การเรียนการสอนในยุคปจจุบันใชหลักการของการจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ดังนั้น ภารกิจดังกลาวจึงเกี่ยวของกับการกําหนดปจจัยปอนเขาที่ไดมาตรฐานตามที่กําหนด ประกอบดวยการมีอาจารยที่มีปริมาณ และคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร มีกระบวนการบริหารจัดการการเรียน การสอนที่อาศัยหลักการรวมมือรวมพลังของทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งองคกรภายในและภายนอกหนวยงาน นอกจากนี้ ยังตองมีการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อใหนักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงคมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)3. เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา4. รางกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (National Qualifications Framework for HigherEducation) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย2.13 มีปจจัยเกื้อหนุนดานหองสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ2.14 มีปจจัยเกื้อหนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศตัวบงชี้ที่ 2.13 : มีปจจัยเกื้อหนุนดานหองสมุดและทรัพยากรสารสนเทศชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ : การสนับสนุนการเรียนการสอนและการศึกษาคนควาดวยตนเองเปนพันธกิจที่สําคัญประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้นสถาบันอุดมศึกษาพึงมีหนวยงานหลักที่ใหบริการทรัพยากรสารสนเทศที่มีระบบและกลไกในการใหบริการที่เปนรูปธรรม สนับสนุนภารกิจทางดานการเรียนการสอนของสถาบันใหบรรลุเปาหมายเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน2. มีทรัพยากรสารสนสนเทศบริการครอบคลุมทุกสาขาวิชา3. มีระบบและหรือระเบียบในการใหบริการ4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการ


- 78 -เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการครบทุกขอมีการดําเนินการครบทุกขอ3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีการจัดทํานโยบายของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (เอกสารหมายเลข 2.13.1 ), แผนกลยุทธ (เอกสารหมายเลข 2.13.2) และแผนดําเนินงานทั้งระยะสั้นและระยะยาว (เอกสารหมายเลข 2.13.3 ) ใหสอดคลองกับแนวทางการสนับสนุนการเรียนการสอนโปรแกรมวิชาตางๆ ในมหาวิทยาลัย ซึ่งมีนโยบายในการจัดหาทรัพยากรสนเทศ ประจําป (เอกสารหมายเลข 2.13.4 ) ในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งสื่อตีพิมพและสื่อไมตีพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ที่หลากหลายใหบริการครอบคลุมทุกสาขาวิชาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 2.13.5 ) มีระบบการใหบริการที่ไดมาตรฐาน เชน การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศอยางระบบ, บริการยืม-คืนและบริการสืบคนขอมูลโดยใชระบบหองสมุดอัตโนมัติ (สภาพการทํางานจริง) ตลอดจนฝกอบรมการใชงานใหแกนักศึกษา และมีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามระยะเวลาที่กําหนดดวยวิธีการตางๆ เชน การจัดทํากลองความคิดเห็น (เอกสารหมายเลข 2.13.6 ), แบบแสดงความคิดเห็นตอการใชบริการ (เอกสารหมายเลข 2.13.7 ) และ เว็บบอรด (เอกสารหมายเลข 2.13.8) ทําใหไดขอมูลยอนกลับมาปรับปรุงการใหบริการ ตลอดจนการรับฟงความคิดเห็นตางๆ มาประมวลเปนแบบสอบถามสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ (เอกสารหมายเลข 2.13.9) ตามความเปนจริง และนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการ (เอกสารหมายเลข2.13.10) โดยเขาที่ประชุมของสํานักวิทยบริการหรือที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินงานสํานักวิทยบริการ (เอกสารหมายเลข 2.13.11/2.13.12/2.13.13) เพื่อปรับปรุงงานบริการใหดีขึ้นปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :คณะผูบริหารของมหาวิทยาลัยและสํานักวิทยบริการ ใหความสนใจและเล็งเห็นความสําคัญของทรัพยากรสารสนเทศ การบริการ ตลอดจนเปนแรงสนับสนุนในการปฏิบัติงานสงผลตอการดําเนินงาน ใหประสบความสําเร็จอยางดียิ่งอุปสรรคตอการดําเนินงาน :สํานักวิทยบริการฯ มีพื้นที่ในการจัดเก็บและที่นั่งอานไมเพียงพอตอความตองการรวมทั้งงบประมาณในการดําเนินการยังไมเพียงพอกับปริมาณผูใชบริการที่เพิ่มขึ้น


- 79 -หลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. นโยบายของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.13.12. แผนกลยุทธของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.13.23. แผนดําเนินงานในระยะ 1 ปและ 5 ป 2.13.34. นโยบายการจัดหาทรัพยากรสนเทศ ประจําป 2.13.45. จํานวนทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาและบริจาค ประจําป 2.13.56. กลองความคิดเห็น 2.13.67. แบบแสดงความคิดเห็นตอการใชบริการ 2.13.78. เว็บบอรด 2.13.89. แบบสอบถามสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ 2.13.910. สรุปแบบสอบถามสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ 2.13.1011. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน (15 มิถุนายน <strong>2550</strong>) 2.13.1112. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน (17 กันยายน <strong>2550</strong>) 2.13.1213. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน (27 มีนาคม 2551) 2.13.13ตัวบงชี้ที่ 2.14 : มีปจจัยเกื้อหนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ : เทคโนโลยีสารสนเทศนับวาเปนปจจัยที่มีความสําคัญตอการเรียนการสอนยุคปจจุบันเปนอยางยิ่งสถาบันอุดมศึกษาจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองจัดหาและสงเสริม สนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีในการสนับสนุนการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษาอยางเปนระบบ สงผลใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนสูงสุดเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานที่สนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน2. มีทรัพยากรและคณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการทางดานเทคโนโลยี3. มีระบบการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ4. มีการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนหรือการคนควา5. มีการเผยแพรการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศใหประชาคมรับทราบ


- 80 -เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการครบทุกขอมีการดําเนินการครบทุกขอ3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีมีการจัดทํานโยบาย (เอกสารหมายเลข 2.14.1),แผน กลยุทธ (เอกสารหมายเลข 2.14.2) และแผนดําเนินงาน (เอกสารหมายเลข 2.14.3) ที่สนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน มีบุคลากรและหองปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ จํานวน 2 หอง พรอมอุปกรณคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเพื่อการเรียนการสอน รวม 60 เครื่อง (เอกสารหมายเลข 2.14.4) มีครุภัณฑดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแกเครื่องฉายภาพ (Projector), จอแอลซีดี โทรทัศนขนาด 61 นิ้ว และเครื่องถายทอดสัญญาณภาพ 3 มิติ (Visualpresentation) เปนตน นอกจากนี้ยังมีเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับสืบคนทรัพยากรสารสนเทศ (เอกสารหมายเลข 2.14.5)ดรรชนีวารสาร และบริการขอมูลขาวสารจาก News Center ไวใหบริการทุกชั้น (เอกสารหมายเลข 2.14.6 และสถานที่จริง) มีระบบการใหบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก ระบบยืม-คืนและการใหบริการพิมพงานบนระบบเครือขาย(เอกสารหมายเลข 2.14.7) ตลอดจนเจาหนาที่ทําหนาที่ดูแลงานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเพื่อบริการสื่อการเรียนการสอน ทําใหการศึกษาคนควาสารสนเทศเปนไปดวยความสะดวกและรวดเร็ว (เอกสารหมายเลข2.14.8) มีการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนหรือการคนควาวิจัย เชน เว็บไซตของสํานักวิทยบริการฯ โดยมีขอมูลที่เปนประโยชนตอผูใชบริการ และฐานขอมูลออนไลน จํานวน 15 ฐานขอมูล (เอกสารหมายเลข 2.14.9) ประกอบดวยฐานขอมูล NetLibrary, 2ebook (หนังสืออิเล็กทรอนิกสภาษาไทย), SpringerLink, IEEE, Lexis Nexis, Proquest, CHEDissertation Fulltext, HW Wilson, ISI Web of Science, ACM, DCMS, ScienceDirect, Sage, Gale Cengage, ฐานขอมูลทองถิ่น (rLocal) และงานบริการตางๆ ที่ใหบริการการเรียนการสอน เชน บริการโสตทัศนวัสดุ, บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ, บริการบรรณานุกรมรายชื่อหนังสือใหม เปนตน (เอกสารหมายเลข 2.14.10) นอกจากนั้นมีการเผยแพรขอมูลขาวสารโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหประชาคมรับทราบเชนเว็บไซตของสํานักวิทยบริการฯ ที่ URL:http://arcbs.bsru.ac.th (เอกสารหมายเลข 2.14.11), ปายไฟวิ่งอิเล็กทรอนิกส (เอกสารหมายเลข 2.14.12), แผนพับของสํานักวิทยบริการฯ (เอกสารหมายเลข 2.14.13) และขาวสารของฝายตางๆ เพื่อประชาสัมพันธสํานักวิทยบริการฯ(เอกสารหมายเลข 2.14.14) อีกดวย


- 81 -ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารสํานักวิทยบริการฯ ไดใหการสนับสนุนและเล็งเห็นความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหมีการอบรมและพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสม่ําเสมอ และนํามาเปนประโยชนในการพัฒนางานของหนวยงานและการเรียนการสอนของคณาจารยอุปสรรคตอการดําเนินงาน :ไมมีหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. นโยบายของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.14.12. แผนกลยุทธของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.14.23. แผนดําเนินงานในระยะ 1 ปและ 5 ป 2.14.34. ภาพถายและสถานที่จริง 2.14.45. ภาพเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับสืบคนทรัพยากรสารสนเทศ 2.14.56. เครื่องคอมพิวเตอรสําหรับบริการขอมูลขาวสารจาก News Center 2.14.67. ระบบบริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ 2.14.78. ระบบเครือขายในการใหบริการ 2.14.89. เอกสารแผนพับฐานขอมูลออนไลนและเว็บไซต ฐานขอมูล 2.14.910. บริการบรรณานุกรมรายชื่อหนังสือใหม 2.14.1011. เว็บไซตของสํานักวิทยบริการฯ 2.14.1112. ปายไฟวิ่งอิเล็กทรอนิกส 2.14.1213. แผนพับของสํานักวิทยบริการฯ 2.14.1314. ภาพขาวสารตางๆ 2.14.14


- 82 -องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคมหลักการการบริการวิชาการแกสังคมเปนหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันพึงใหบริการวิชาการแกชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในรูปแบบตางๆ ตามความถนัดและในดานที่สถาบันมีความเชี่ยวชาญ การใหบริการวิชาการอาจใหเปลาโดยไมคิดคาใชจายหรืออาจคิดคาใชจายตามความเหมาะสมใหทั้งองคการภาครัฐและเอกชน องคการอิสระ องคการสาธารณะ ชุมชน และ สังคมโดยกวาง รูปแบบการใหบริการวิชาการมีความหลากหลาย เชน การอนุญาตใหใชประโยชนทรัพยากรของสถาบัน เปนแหลงอางอิงทางวิชาการ ใหคําปรึกษาใหการอบรม จัดประชุมหรือ สัมมนาวิชาการ ทํางานวิจัยเพื่อตอบคําถามตางๆ หรือเพื่อชี้แนะสังคม การใหบริการวิชาการนอกจากเปนการทําประโยชนใหสังคมแลว สถาบันยังไดรับประโยชนในดานตางๆ คือ เพิ่มพูนความรูและ ประสบการณของอาจารยอันจะนํามาสูการพัฒนาหลักสูตร มีการบูรณาการเพื่อใชประโยชนทางดานการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย พัฒนาตําแหนงทางวิชาการของอาจารย สรางเครือขายกับองคการตาง ๆ ซึ่งเปนแหลงงานของนักศึกษาและเปนการสรางรายไดของสถาบันจากการใหบริการวิชาการดวยมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)3. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตัวบงชี้ จํานวน 3 ตัวบงชี้ ประกอบดวย5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของมหาวิทยาลัย5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและ นานาชาติตออาจารยประจํา5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการตัวบงชี้ที่ 5.1 : มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของมหาวิทยาลัยชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริการทางวิชาการแกสังคมเปนภารกิจหลักอยางหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยพึงมีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมที่เปนรูปธรรม กําหนดเปาหมายในการใหบริการวิชาการใหชัดเจนเพื่อเปนกรอบในการจัดทําแผนดําเนินงานในการใหบริการวิชาการแกสังคมของคณะวิชา หนวยงาน มีการติดตาม กํากับสนับสนุนการปฏิบัติงานตาม ภารกิจดานบริการทางวิชาการแกสังคมของบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับเปาหมายของมหาวิทยาลัย


- 83 -เกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการแกสังคม2. มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการวิชาการแกสังคมตามแผนที่กําหนด3. มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการแกสังคม4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม6. มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการแกสังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม7. มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุงความเชื่อมโยง และบูรณาการระหวางการบริการวิชาการแกสังคมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบันเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกดําเนินการได 5 ขอ 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการมีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการแกสังคม(เอกสารหมายเลข 5.1.1 /เอกสารหมายเลข 5.1.2 /เอกสารหมายเลข 5.1.3 /(เอกสารหมายเลข 5.1.4 / และมีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงาน ดําเนินการใหบริการแกสังคมตามแผนที่กําหนดไว (เอกสารหมายเลข5.1.5) ซึ่งมีการจัดโครงการบริการวิชาการสูสังคม (เอกสารหมายเลข 5.1.6) ซึ่งมีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการแกสังคม (เอกสารหมายเลข 5.1.1) มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด(เอกสารหมายเลข 5.1.7/เอกสารหมายเลข 5.1.8) และมีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคมครั้งตอไป (เอกสารหมายเลข 5.1.9//เอกสารหมายเลข 5.1.10/เอกสารหมายเลข 5.1.11/เอกสารหมายเลข 5.1.12/เอกสารหมายเลข 5.1.13/เอกสารหมายเลข 5.1.14/เอกสารหมายเลข 5.1.15 /เอกสารหมายเลข5.1.16 /เอกสารหมายเลข 5.1.17 /เอกสารหมายเลข 5.1.18 /เอกสารหมายเลข 5.1.19)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยและสํานักวิทยบริการฯไดใหการสนับสนุนและเห็นความสําคัญของงานบริการวิชาการสูสังคม นอกจากนั้นบุคลากรภายในสํานักวิทยบริการฯ ปฏิบัติหนาที่อยางเต็มศักยภาพ ทําใหประสบความสําเร็จอยางดียิ่ง


- 84 -หลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1 นโยบายของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1.12 แผนกลยุทธสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย 5.1.2ราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ป <strong>2550</strong>-25543 แผนปฏิบัติราชการ 5 ป (พ.ศ.<strong>2550</strong>-2554) 5.1.34 แผนปฏิบัติราชการ1 ป 5.1.45 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ 5.1.56 บุคลากรภาระงานและความรับผิดชอบ 5.1.67 สรุปผลการประเมิน 5.1.78 รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน ครั้งที่ 5/<strong>2550</strong> 5.1.89 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที6/<strong>2550</strong> 5.1.910 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที7/<strong>2550</strong> 5.1.1011 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที8/<strong>2550</strong> 5.1.1112 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที9/<strong>2550</strong> 5.1.1213 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที10/<strong>2550</strong> 5.1.1314 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที1/2551 5.1.1415 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที2/2551 5.1.1516 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที3/2551 5.1.1617 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที4/2551 5.1.1718 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที5/2551 5.1.1819 รายงานการประชุมหัวหนางานครั้งที6/2551 5.1.19ตัวบงชี้ที่ 5.3 : รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจําชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : รอยละคําอธิบายตัวบงชี้ :ตัวบงชี้นี้ตองการวัดจํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่สถาบันไดจัดขึ้นเพื่อใหบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนหรือเพื่อตอบสนองความตองการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอจํานวน อาจารยประจําเกณฑมาตรฐานคุณภาพกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคมชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติมีจํานวนมากกวาหรือเทากับรอยละ 40 ตออาจารยประจํา


- 85 -เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3อยูระหวางรอยละ 1 – รอยละ 24รอยละ 25 – รอยละ 39มากกวาหรือเทากับรอยละ 40ผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินดําเนินการไดรอยละ 83 มากกวารอยละ 40 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :ในปการศึกษา <strong>2550</strong> สํานักวิทยบริการไดจัดการฝกอบรมเพื่อเปนการบริการวิชาการสูสังคม จํานวน4 โครงการ มีการอบรมรวม 5 รุนดังนี้ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสืบคนฐานขอมูลเพื่อพัฒนาศักยภาพดานการสืบคนฐานขอมูลทางวิชาการของนิสิต นักศึกษาและผูสนใจทั่วไปจํานวน 2 (เอกสารหมายเลข 5.3.1)โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการนวดเพื่อสุขภาพ 1 รุน เพื่อเปนการสงเสริมใหประชาชนทั่วไปมีความรูความเขาใจในแพทยแผนไทยและสามารถดูแลรักษาตนเองในเบื้องตนได (เอกสารหมายเลข 5.3.2) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติอาหารสมองสัญจรสูชุมชนเรื่อง การรอยลูกปด 1 รุน เพื่อใหสงเสริมใหประชาชนรูจักการประดิษฐของขวัญที่ระลึกไดดวยตนเอง (เอกสารหมายเลข 5.3.2) และโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางภาพเคลื่อนไหวดวยคอมพิวเตอรอยางงาย 1 รุน เพื่อใหความรูแกประชาชนในการใชซอฟตแวรอยางงายในการปรับแตงภาพนิ่งใหมีการเคลื่อนไหวได (เอกสารหมายเลข 5.3.2)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยไดใหการสนับสนุนและเห็นความสําคัญของงานบริการชุมชน และบุคลากรภายในสํานักวิทยบริการฯ รวมแรงรวมใจกันในการปฏิบัติหนาที่การทํางานทําใหที่ประสบความสําเร็จอยางดียิ่งอุปสรรคตอการดําเนินงาน :ไมมีหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสืบคนฐานขอมูลและภาพถาย 5.3.12 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการนวดเพื่อสุขภาพและภาพถาย 5.3.23 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติอาหารสมองสัญจรสูชุมชนเรื่อง การรอย 5.3.3ลูกปดและภาพถาย4 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางภาพเคลื่อนไหวดวยคอมพิวเตอรอยางงายและภาพถาย5.3.4


- 86 -ตัวบงชี้ที่ 5.4 : รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : รอยละคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริการวิชาการแกสังคม เปนการตอบสนองและแสดงรับผิดชอบตอสังคมซึ่งถือเปนบทบาทของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสากลของการอุดมศึกษา การตอบสนองดังกลาวจะมีคุณภาพมากนอยเพียงใด สามารถสะทอนไดจากความพึงพอใจของผูรับบริการ ทั้งประชาชนผูมารับบริการ เจาหนาที่ของรัฐ หรือหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งการสํารวจความพึงพอใจโดยทั่วไปจะพิจารณา 4 ประเด็นสําคัญ คือ 1) ความพึงพอใจดานกระบวนการ ขั้นตอนการใหบริการ 2) ความพึงพอใจดานเจาหนาที่ผูใหบริการ 3)ความพึงพอใจดานสิ่งอํานวยความสะดวก 4)ความพึงพอใจตอคุณภาพการใหบริการแตสําหรับสถาบันอุดมศึกษา นอกจากความพึงพอใจในสี่ประเด็นขางตนแลว ยังรวมถึงความพึงพอใจ ตอบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา 3 ดาน คือ การเปนผูเตือนสติสังคม การชี้นําสังคม และการตอบสนองตอความตองการของสังคมเกณฑมาตรฐานคุณภาพระดับความพึงพอใจของผูรับบริการมากกวาหรือเทากับรอยละ 85เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 65 - รอยละ 74 รอยละ 75 - รอยละ 84 มากกวาหรือเทากับรอยละ 85ผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินรอยละ 85 รอยละ 85 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการไดดําเนินโครงการบริการวิชาการแกสังคมจํานวน 4 โครงการและไดทําการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ (เอกสารหมายเลข 5.4.1 ) และมีการสรุปผลการประเมินความพึงพอใจในดานตางๆ (เอกสารหมายเลข 5.4.2)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารใหการสนับสนุนและเล็งเห็นความสําคัญ จึงมีสวนผลักดันใหการใหบริการสูสังคมประสบความสําเร็จและมีประสิทธิภาพ


- 87 -อุปสรรคตอการดําเนินงาน :ไมมีหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1 แบบประเมินความพึงพอใจ 5.4.12 แบบสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 5.4.2


- 88 -องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการหลักการมหาวิทยาลัยตองใหความสําคัญกับการบริหารจัดการ โดยมีสภามหาวิทยาลัย ทําหนาที่ในการกํากับดูแลการทํางานของสถาบันการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ปจจัยที่สถาบันอุดมศึกษาจะทําหนาที่บริหารจัดการ ใหมีคุณภาพไดแก ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานขอมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรทั้งหมดฯลฯ เพื่อสัมฤทธิผล ตามเปาหมายที่กําหนดไว โดยใชหลักการบริหารจัดการบานเมืองและสังคมที่ดี (good governance)มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)3. มาตรฐานการประเมินคุณภาพการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตัวบงชี้ จํานวน 5 ตัวบงชี้ ประกอบดวย7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธํารงรักษาไวใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนามหาวิทยาลัย7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสู ระดับบุคคลตัวบงชี้ที่ 7.2 : ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัยชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :ปจจัยสนับสนุนที่สําคัญตอการเจริญกาวหนาของสถาบันอุดมศึกษาคือ ผูบริหารทุกระดับของสถาบันนั้น ๆ หากผูบริหารมีวิสัยทัศน เปนผูนําที่ดีมีธรรมาภิบาล รับผิดชอบตอสังคม รักความกาวหนา ดูแลบุคลากรอยางดี เปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจ แกปญหาและกํากับดูแล ติดตามผลการทํางานของสถาบันไปในทิศทางที่ถูกตอง จะทําใหสถาบันเจริญรุดหนาอยางรวดเร็วเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได2. ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยู โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย3. มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารที่ชัดเจน และเปนที่ยอมรับในสถาบัน4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน


- 89 -เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการ ไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ ครบทุกขอผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการ ครบทุกขอ มีการดําเนินการ ครบทุกขอ 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบไดผูบริหารของสํานักแตงตั้งโดย อธิการบดี ซึ่งพิจารณาจากความรูความสามารถและประสบการณใหสอดคลองกับภาระงานของสํานัก (เอกสารหมายเลข 7.2.1)ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยู โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยมีการประชุมภายในสํานัก ไดแก (1) ประชุมหัวหนางานเพื่อวางแผนงาน เปาหมายและกระจายงานลงสูผูปฏิบัติ (2) ประชุมคณะกรรมการดําเนินงานเปนการประชุมผูปฏิบัติงานทุกคน เพื่อแจงขอมูลของมหาวิทยาลัย มีการพิจารณาประเด็นตางๆ กิจกรรม/โครงการ ปญหา แนวทางแกไขปรับปรุง โดยใหผูปฏิบัติงานทุกคนมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็น (3) ประชุมคณะกรรมการประจําสํานักฯ โดยมีผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกรวมเปนคณะกรรมการในการใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะการจัดทําแผนตางๆ ของสํานักฯ (เอกสารหมายเลข 7.2.2,7.2.3,7.2.4)สํานักมีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหาร โดยสนับสนุนใหหัวหนางานและผูปฏิบัติงานมีสวนรวมในการนําเสนอเกณฑการประเมินผลผูบริหาร และประเมินผูบริหารไดทุกคน (เอกสารหมายเลข 7.2.5) มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหาร โดยจัดทําแผนจัดสรรงบประมาณการเพิ่มศักยภาพใหผูบริหารเขารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานทั้งในและตางประเทศเพื่อนําความรูความเขาใจมาบริหารงาน (เอกสารหมายเลข 7.2.6, 7.2.7, 7.2.8)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :1. สํานักมีการวางแผนและจัดการประชุมภายในสํานักอยางเปนระบบ2. สํานักมีการจัดทําแบบประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารอยางเปนระบบหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. คําสั่งมหาวิทยาลัยแตงตั้งผูบริหาร 7.2.12. ตารางการประชุมคณะกรรมการประจําสํานักฯ และรายงานการประชุม7.2.2ทั้งหมด3. ตารางการประชุมหัวหนางานและรายงานการประชุม ทั้งหมด 7.2.34. ตารางการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากร และรายการงานประชุมทั้งหมด7.2.4


- 90 -ที่ รายการ เอกสารหมายเลข5. รายงานสรุปผลการประเมินผูบริหาร 7.2.56. คําขอตั้งงบประมาณจัดสรรงบการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร 7.2.67. คําสั่ง/เอกสารการเขารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานของผูบริหาร 7.2.78. สรุปกิจกรรมพัฒนาบุคลากร ปการศึกษา <strong>2550</strong> 7.2.8ตัวบงชี้ 7.3 : มีการพัฒนามหาวิทยาลัยสูองคการเรียนรูชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :มาตรฐานอุดมศึกษาขอที่ 3 กําหนดใหสถาบันมีการสรางและพัฒนาสังคม ฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู ซึ่งตองมีการจัดการความรูเพื่อมุงสูองคการแหงการเรียนรู โดยมี การรวบรวมองคความรูที่มีอยูในองคกรซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหสถาบันอุดมศึกษามีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรูในองคกร ประกอบดวย การระบุความรู การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู การเขาถึงขอมูลและการแลกเปลี่ยนความรูทั้งภายในและภายนอกองคกร การสรางบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรูภายในองคกร การกําหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรูในองคกรใหดียิ่งขึ้นเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของสถาบันรับทราบ2. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายไมนอยกวา รอยละ 503. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายรอยละ 1004. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู5. มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการจัดการความรูใหเปนสวนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรูเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก3


- 91 -คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของสํานักวิทยบริการรับทราบ (เอกสารหมายเลข 7.3.1 ) สํานักวิทยบริการมีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายรอยละ 100 โดยดําเนินการตามแผนการจัดการความรูในปการศึกษา <strong>2550</strong> ทําใหสํานักวิทยบริการมีผลงานดานการจัดการความรูไดแก (1) มีการจัดระบบเอกสารในสํานักงานที่มีประสิทธิภาพ (2) มีการจัดระบบการทํางานที่มีประสิทธิภาพโดยใชกิจกรรม 5 ส (เอกสารหมายเลข7.3.2 , 7.3.3) มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู (เอกสารหมายเลข 7.3.4)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :สํานักวิทยบริการฯ ใหความสําคัญในการจัดทําแผนการจัดการความรู และดําเนินการตามแผนจัดการความรูหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. แผนการจัดการความรู 7.3.12. การดําเนินงานการจัดระบบเอกสารในสํานักงาน 7.3.23. การดําเนินงานกิจกรรม 5ส 7.3.34. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานสํานักวิทยบริการฯวันที่ 6 มิถุนายน 25517.3.4ตัวบงชี้ที่ 7.4 : มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :คุณภาพของการศึกษาจะเกิดขึ้น ถาสถานศึกษามีบุคลากรที่มีคุณภาพมีความรักองคกร มุงมั่นตั้งใจปฏิบัติหนาที่ตามภาระงานที่กําหนด ผูบริหารมีการมอบหมายงานใหกับผูใตบังคับบัญชาตามศักยภาพ ความถนัด ความสนใจของแตละบุคคล บุคลากรทุกระดับมีความพึงพอใจในการทํางาน องคกรมีการพัฒนาบุคลากรตามสาขาวิชาชีพ และหาวิธีการที่จะธํารงรักษา บุคลากรที่มีประสิทธิภาพใหอยูกับองคกรตลอดไปเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ2. มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชน การสรรหาการจัดวางคนลงตําแหนง การกําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ


- 92 -3. มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข4. มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ6. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้นเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 – 4 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ (เอกสารหมายเลข 7.4.1, 7.4.2, 7.4.3) ทั้งนี้สํานักวิทยบริการฯ มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลงตําแหนงที่ตรงกับสายงาน (เอกสารหมายเลข 7.4.4 , 7.4.5, 7.4.6) และมีการกําหนดทิศทางการปฏิบัติงานเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ มาตรการสรางขวัญกําลังใจ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ(เอกสารหมายเลข 7.4.7, 7.4.8, 7.4.9) โดยมีระบบสวัสดิการ และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข (เอกสารหมายเลข 7.4.10, 7.4.11)มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน (เอกสารหมายเลข7.4.12) และมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอยางเปนระบบโดยมีการแจงผลการประเมินการปฏิบัติงานใหบุคลากรทราบ เพื่อมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น(เอกสารหมายเลข 7.4.13, 7.4.14)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยไดใหการสนับสนุนและเห็นความสําคัญของระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ


- 93 -หลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. แผนปฏิบัติราชการ 5 ป 7.4.12. แผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ.2551 7.4.23. แผนกลยุทธ สํานักวิทยบริการฯ ป <strong>2550</strong>-2554 7.4.34. บันทึกขอจางลูกจางชั่วคราวและรายละเอียดคุณสมบัติผูสมัคร 7.4.45. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบคัดเลือก 7.4.56. คูมือการปฏิบัติงาน 7.4.67. การกําหนดทิศทางการปฏิบัติงาน 7.4.78. กิจกรรม อบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน 7.4.89. กิจกรรม 5 ส. 7.4.910. ประกาศ มหาวิทยาลัยฯ เรื่อง การจายเงินเพิ่มพิเศษ 7.4.1011. การปรับปรุงเคานเตอร ยืม-คืน ของสํานักวิทยบริการฯ 7.4.1112. การวิเคราะหภาระงาน และกรอบอัตรากําลัง 7.4.1213. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักวิทยบริการฯ 7.4.1314. ผลการประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักวิทยบริการฯ 7.4.14ตัวบงชี้ที่ 7.6 : ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนามหาวิทยาลัยชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริหารแบบมีสวนรวม หมายถึง การบริหารที่สถาบันอุดมศึกษาเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจทางการบริหารและการดําเนินกิจการของสถาบันในทางตรงหรือทางออม การที่มหาวิทยาลัยจะมีระบบการบริหารที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมมากขึ้นนั้น พิจารณาจากการที่สถาบันมีระบบการทํางานที่เปนไปตามหลักการบริหารแบบมีสวนรวมที่มีการประยุกตใชในระดับสากล 5 ประการ ดังนี้1. มีการเปดเผยขอมูลและโปรงใสในภารกิจที่หนวยงานดําเนินการ โดยมีชองทางในการใหขอมูลขาวสารแกนิสิตนักศึกษา คณาจารย และประชาชน2. มีการรับฟงความคิดเห็นจากผูรับบริการและประชาชนเกี่ยวกับภารกิจของมหาวิทยาลัยอยางสม่ําเสมอ3. มีระบบการจัดเก็บขอมูลที่ไดรับจากผูรับบริการและผูที่เกี่ยวของไปประกอบการปรับปรุงระบบการใหบริการประชาชน การปรับปรุงระบบการจัดการของสถาบัน เพื่อตอบสนองความตองการของผูรับบริการประชาชนหรือเพื่อประโยชนสุขของประชาชน


- 94 -4. มีการเปดโอกาสใหภาคเอกชน ประชาชน และเครือขายตางๆ ไดมีโอกาสเขารวมในกระบวนงานของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะเขารวมเปนคณะกรรมการที่ปรึกษา เพื่อรวมกําหนดทิศทางนโยบายของมหาวิทยาลัย การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชน5. ภาคประชาชนมีสวนรวมเปนเจาของ โดยไดมีการจัดกระบวนการหรือกลไกที่เปนรูปธรรมใหภาคประชาชน หรือผูที่เกี่ยวของไดเขารวมในการติดตามตรวจสอบความกาวหนาของการดําเนินงานและผลสําเร็จในการทํางานของมหาวิทยาลัยเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทางตาง ๆ อาทิเอกสารสิ่งพิมพ เว็บไซต นิทรรศการ2. มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทั ่วอยางนอย 3 ชองทาง3. มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม4. มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง5. มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชนเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการครบทุกขอ มีการดําเนินการครบทุกขอ 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศไดมีการเปดเผยแพรขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทางตาง ๆ อาทิเชน วารสารสารสนเทศ เว็บไซตสํานักวิทยบริการฯ ขาวการประชาสัมพันธ นิทรรศการ (เอกสารหมายเลข7.6.1, 7.6.2, 7.6.3, 7.6.4, 7.4.5) ทั้งนี้สํานักวิทยบริการฯ ยัง มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง ไดแก ผานทางเว็บบอรดของสํานักวิทยบริการฯ กลองรับขอเสนอแนะและความคิดเห็น และใบเสนอทรัพยากรสารสนเทศ (เอกสารหมายเลข 7.6.6, 7.6.7, 7.6.8) สํานักวิทยบริการไดนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม เพื่อนําความคิดเห็นนั้นมาปรับปรุงและนําไปใชในการใหบริการตอไป (เอกสารหมายเลข7.6.9) และมีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยมีการจัดประชุมรวมกันระหวางสํานักวิทยบริการกับกรรมการผูทรงคุณวุฒิของสํานักวิทยบริการซี่งเปนบุคคลภายนอกอีกดวย (เอกสารหมายเลข 7.6.10)


- 95 -ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :สํานักวิทยบริการ มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทั่วไปอยางนอย 3 ชองทาง และมีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรมหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. วารสารสารสนเทศ 7.6.12. เว็บไซตสํานักวิทยบริการฯ 7.6.23. ขาวสารการประชาสัมพันธ 7.6.34. หนังสือ 5 ทศวรรษ 7.6.45. ภาพนิทรรศการ วันที่ 19 พฤษภาคม 2551 7.6.56. เว็บบอรดของสํานักวิทยบริการฯ 7.6.67. กลองรับขอเสนอแนะและความคิดเห็น 7.6.78. ใบเสนอทรัพยากรสรสนเทศ 7.6.89. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากรสํานักฯ7.6.9วันที่ 5 มีนาคม 255110. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากรสํานักฯวันที่ 16 พฤษภาคม <strong>2550</strong>7.6.10ตัวบงชี้ที่ 7.9 : ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคลชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :ความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล หมายถึง ความสําเร็จที่มหาวิทยาลัยจัดใหมีระบบประเมินผลการดําเนินงานภายใน โดยจะตองจัดใหมีระบบในการถายทอดเปาประสงคตัวบงชี้ ตามพันธกิจและยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบ กําหนดเปนตัวบงชี้ของการดําเนินงานและเปาหมายในระดับหนวยงานจนถึงระดับบุคคล และจัดทําคํารับรองการปฏิบัติงาน รวมถึงจัดใหมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามเปาหมายเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในมหาวิทยาลัย2. มีแผนงานการประเมินผลภายในมหาวิทยาลัย3. มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย


- 96 -4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือเทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับหนวยงานใหเชื่อมโยงกับเปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย5. มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยในระดับคณะ หรือเทียบเทา6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้และเปาหมายตามคํารับรอง ของผูบริหารระดับตาง ๆ7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้และเปาหมายตามคํารับรอง8. มีการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผูบริหาร ไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 - 7 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินงานครบทุกขอ มีการดําเนินการครบทุกขอ 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสํานักวิทยบริการฯ (เอกสารหมายเลข 7.9.1 ) มีการจัดทําแผนงานการประเมินผลภายในสํานักวิทยบริการฯ (เอกสารหมายเลข 7.9.2) มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตร โดยยึดตามองคประกอบที่ 1 ขอ 1.2 โดยกําหนดเปาประสงคของประเด็นยุทธศาสตรของสํานักวิทยบริการฯใหเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยและมีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรโดยแจงใหบุคลากรรับทราบและแสดงความคิดเห็นรวมกันโดยเปรียบเทียบความสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย และจัดทําคํารับรองระหวางผูบริหารของสํานักวิทยบริการฯกับบุคลากรในสํานัก (เอกสารหมายเลข 7.9.3 , 7.9.4) มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้และเปาหมายโดยแตงตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบ (เอกสารหมายเลข 7.9.1 ) และมีการนําผลการประเมินการดําเนินงานของผูบริหารไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจ โดยคณะกรรมการบริหารนําผลการประเมินมาใชประกอบการพิจารณาความดี ความชอบ และการเซ็นตสัญญาตออายุการทํางาน (เอกสารหมายเลข 7.9.5 )ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :สํานักวิทยบริการมีแนวทางในการประเมินผลภายในอยางเปนรูปธรรม และมีการชี้แจงใหบุคลากรทราบอยางตอเนื่อง และมีลักษณะการประเมินผลที่บุคลากรและผูบริหารทุกคนมีสวนรวมเพื่อใหเกิดความยุติธรรม และความโปรงใส


- 97 -หลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลคุณภาพภายในสํานักวิทยบริการ 7.9.12 รายงานการประชุมการดําเนินงาน 7.9.23 แผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ.2551 7.9.34 คํารับรองการปฏิบัติราชการ 7.9.45 รายงานผลการวิเคราะหผลการประเมินการดําเนินงานของผูบริหาร 7.9.5


- 98 -องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณหลักการการเงินและงบประมาณเปนสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของสถาบันการศึกษา โดยปกติแหลงเงินทุนของสถาบันการศึกษาไดมาจากงบประมาณแผนดิน (สําหรับสถานศึกษาของรัฐ) และเงินรายไดเชน คาเลาเรียนของนักศึกษารายไดจากงานวิจัย บริการทางวิชาการ คาเชาทรัพยสิน ฯลฯ ผูบริหารสถาบันการศึกษาจะตองทําความเขาใจกับการวิเคราะหทางการเงิน เชน คาใชจายทั้งหมดตอ จํานวนนักศึกษา ทรัพยสินถาวรตอจํานวนนักศึกษา คาใชจายที่สถาบันอุดมศึกษาใชสําหรับการผลิตบัณฑิตตอหัว จําแนกตามกลุ มสาขา รายไดทั้งหมดของสถาบันการศึกษา ภายหลังจากหักงบดําเนินการทั้งหมด งบประมาณในการพัฒนาอาจารย ความรวดเร็วในการเบิกจาย รอยละของงบประมาณที่ประหยัดไดหลังจากที่ปฏิบัติตามภารกิจทุกอยางครบถวน สิ่งเหลานี้จะเปนการแสดงศักยภาพเชิงการบริหารจัดการดานการเงินของสถานศึกษาที่เนนถึงความโปรงใส ความถูกตอง ใชเม็ดเงิน อยางคุมคามีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุดมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. แผนปฏิบัติราชการของสถานศึกษาประจําป2. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา3. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)4. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ5. มาตรฐานแผนการปฏิบัติราชการของสํานักงบประมาณ6. รายงานงบประมาณแผนดิน (สถานศึกษาของรัฐ) และเงินรายไดตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรรการวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ8.2 ระดับความสําเร็จของการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน


- 99 -ตัวบงชี้ที่ 8.1 : มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบ การเงิน และงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :มหาวิทยาลัยจะตองมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอยางมีประสิทธิภาพ จะตองมีแผนกลยุทธทางดานการเงิน มีการวิเคราะหรายได คาใชจายของการดําเนินงาน โดยพิจารณาจากทุกแหลงเงินทุน ทั้งจากงบประมาณแผนดินและเงินรายไดจากคาบํารุงการศึกษา รวมทั้งรายไดอื่น ๆ ที่สถาบันไดรับมีการนําเงินรายไดไปจัดสรรอยางเปนระบบ มีระบบฐานขอมูลทางการเงินแยกคาใชจายตามหมวดตาง ๆ มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบครบทุกพันธกิจ มีการนําระบบโปรแกรมสามมิติดานการเงินมาใชรวมทั้งมีผูตรวจสอบการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงินตองสามารถทราบขอมูลดานคาใชจายทั้งหมดทั้งดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาบุคลากร เชน คาใชจายในระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา คาใชจายในการวิจัย คาใชจายของสถาบันในการบริการวิชาการวิชาชีพ คาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษพัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒธรรมตองบดําเนินการ สินทรัพยถาวรตอนักศึกษา งบประมาณในการพัฒนาอาจารย คาใชจายทั้งหมดตอนักศึกษา ระดับความสําเร็จของการประหยัดงบประมาณ รายจายลงทุน คาใชจายดานไฟฟาน้ํามันเชื้อเพลิง งบประมาณที่ประหยัดได รอยละเงินเหลือจายสุทธิตองบประมาณดําเนินการ และตนทุนตอหนวยผลผลิตรายหลักสูตรเกณฑมาตรฐานคุณภาพ :1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามเปาหมาย2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดสรรและการวางแผนการใชเงินอยางมี3. ประสิทธิภาพโปรงใสตรวจสอบได4. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใชในการตัดสินใจและวิเคราะห สถานะทางการเงิน5. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง6. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยางตอเนื่อง7. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด8. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ


- 100 -เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 – 6 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการครบทุกขอดําเนินการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีแผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ. 2551 ซึ่งมีกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับมหาวิทยาลัยและไดตามเปาหมายที่กําหนด โดยมีการวางแผนกลยุทธทางการเงินตามนโยบายของมหาวิทยาลัยทุก ๆ ป เพื่อการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ (เอกสารหมายเลข 8.1.1, 8.1.2) มีการวางแผนการและจัดสรรทรัพยากรทางดานการเงิน ที่มีประสิทธิภาพโปรงใสและตรวจสอบได โดยการควบคุมจากคณะกรรมการบริหารการเงินและงบประมาณของสํานักวิทยบริการฯ และมหาวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 8.1.3, 8.1.4, 8.1.5) มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินผูบริหารสามารถนําไปใชในการตัดสินใจและนําไปวิเคราะหใชเปนมาตรฐานทางการเงิน (เอกสารหมายเลข 8.1.6) และมีการจัดทํารายงานการใชงบอยางเปนระบบ เดือนละ 1 ครั้ง (เอกสารหมายเลข 8.1.7) มีการนําขอมูลการใชเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงิน ความมั่นคงของหนวยงานอยางตอเนื่อง (เอกสารหมายเลข 8.1.8) มีหนวยงานตรวจสอบภายในทําหนาที่ติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่มหาวิทยาลัยกําหนด(เอกสารหมายเลข 8.1.9)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยไดใหการสนับสนุนและเล็งเห็นความสําคัญของงานการเงินและงบประมาณของหนวยงาน และบุคลากรภายในสํานักวิทยบริการฯ ตางก็ตระหนักและเห็นคุณคาของการใชเงินงบประมาณจึงรวมแรงรวมใจกันในการปฎิบัติหนาที่และสงผลตอการดําเนินงาน งานการเงินและงบประมาณประสบความสําเร็จอยางดี


- 101 -หลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1 แผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ. 2551 8.1.12 ฐานขอมูลการตัดยอดเงินงบประมาณ 8.1.23 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประจําสํานักวิทยบริการฯ 8.1.34 คําขอตั้งงบประมาณและแผนปฏิบัติการ ประจําป <strong>2550</strong>-2551 8.1.45 เอกสารสรุปการเบิกจายเงินประจําเดือน 8.1.56 ฐานขอมูลบัญชีควบคุมการเบิกจาย เงินงบประมาณ 8.1.67 เอกสารรายงานการใชเงินงบประมาณ 8.1.78 รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน วันที่ 20 พฤษภาคม 2551 8.1.89 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําสํานักวิทยบริการฯวันที่ 26 มิถุนายน 25518.1.9


- 102 -ตัวบงชี้ที่ 8.2 : มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยรวมกันชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การบริหารงานโดยการบูรณาการใชทรัพยากรที่มีอยูทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยใหเกิดประโยชนสูงสุด แสดงใหเห็นถึงกลยุทธการบริหารงานที่สอดคลองกับสถานการณในโลกยุคปจจุบันเกณฑมาตรฐานคุณภาพ :1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการการใชทรัพยากรของมหาวิทยาลัย2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของมหาวิทยาลัย3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในมหาวิทยาลัย4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นนอกมหาวิทยาลัย5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกับหนวยงานอื่นเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการ4 ขอแรกมีการดําเนินการ 4 ขอแรก 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีการใชทรัพยากรสารสนเทศภายในและภายนอกสํานักวิทยบริการฯ รวมกัน โดยมีเจาหนาที่ปฏิบัติงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ทําหนาที่วิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของมหาวิทยาลัย และคณาจารยรวมจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ (ตามเอกสารหมายเลข 8.2.1, 8.2.2, 8.2.3) และไดนําผลการวิเคราะหไปพิจารณาจัดหา จัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศตามความตองการของผูใชบริการ รวมทั้งการใหบริการหองเรียน และหองประชุมดวย (ตามเอกสารหมายเลข 8.2.4, 8.2.5)สวนการใชทรัพยากรสารสนเทศภายในมหาวิทยาลัยนั้น คณาจารย ขาราชการ บุคลากรและนักศึกษาคณะตางๆสามารถสืบคนและยืมทรัพยากรสารสนเทศจากจุดบริการตางๆ ของมหาวิทยาลัย ตลอดจนการขอใชหองเรียนหองประชุมสัมมนา และอุปกรณที่เกี่ยวของกับกิจกรรมนั้น ๆได (ตามเอกสารหมายเลข 8.2.6, 8.2.7, 8.2.8, 8.2.9)ในดานการใชทรัพยากรสารสนเทศภายนอกมหาวิทยาลัยของสํานักวิทยบริการฯ ก็สามารถสืบคนทรัพยากรสารสนเทศ จากระบบ OPAC หนังสืออิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลวิทยานิพนธ (DCMS) (ตามเอกสารหมายเลข


- 103 -8.2.10) นอกจากนี้ไดสงบุคลากรเขารวมสัมมนาความรวมมือระหวางหองสมุดเพื่อหาแนวทางในการใชทรัพยากรรวมกันระหวางมหาวิทยาลัยของรัฐทั้งหมด ในโครงการ Union Catalog ที่จะชวยใหเกิดการใชทรัพยากรสารสนเทศรวมกันอยางคุมคา เกิดการประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศมาใหบริการ โดยสํานักวิทยบริการฯ ไดนําวิทยานิพนธมาสแกนเปนไฟลอิเล็กทรอนิกส แลวทําการลงในระบบDCMS (ตามเอกสารหมายเลข 8.2.11, 8.2.12) และยังไดสงบุคลากรเขารวมกําหนดแผนการดําเนินการโครงการตางๆ ในโครงการการพัฒนาเครือขายหองสมุดในประเทศไทย (Thailis) เพื่อใชทรัพยากรสารสนเทศรวมกัน(ตามเอกสารหมายเลข 8.2.13)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารระดับสูงและผูบริหารสํานักวิทยบริการฯ ไดใหการสนับสนุนและเล็งเห็นความสําคัญของงานการเงินและงบประมาณของหนวยงาน และบุคลากรภายในสํานักวิทยบริการฯ ตระหนักและเห็นคุณคาของการเงินจึงรวมแรงรวมใจกันในการปฎิบัติหนาที่และสงผลตอการดําเนินงาน งานการเงินและงบประมาณประสบความสําเร็จอยางดียิ่งหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1 ภาระงานของบุคลากรงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ 8.2.12 งานออกรานหนังสือ "บานสมเด็จบุคแฟร ครั้งที่ 4" และงานสัปดาหหนังสือ 8.2.2แหงชาติ ครั้งที่ 36 และงานสัปดาหหนังสือนานาชาติ ครั้งที่ 63 ใบเสนอซื้อทรัพยากรสารสนเทศ 8.2.34 รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน วันที่ 5 มีนาคม 2551 8.2.45 ตารางสรุปผลการวิเคราะหความตองการใชทรัพยากร 8.2.56 การบริการสืบคนและยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ 8.2.67 แบบฟอรมการขอใชหองประชุม 8.2.78 บันทึกขอความขอยืมอุปกรณ 8.2.89 แผนปฏิบัติราชการ 5 ป (พ.ศ. <strong>2550</strong>-2554) 8.2.910 ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสบนเว็บไซตของสํานักวิทยบริการฯ 8.2.1011 คําสั่งเขารวมโครงการสัมมนาความรวมมือระหวางหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา 8.2.1112 ฐานขอมูลวิทยานิพนธ 8.2.1213 คําสั่งเขารวมประชุมภาคีความรวมมือ Thai University eBook 8.2.13


- 104 -องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพหลักการระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน เปนปจจัยสําคัญที่แสดงถึงศักยภาพ การพัฒนาคุณภาพของสถาบัน โดยตองครอบคลุมทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งจะตองมีการพัฒนาระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในอยางตอเนื่อง และมี กระบวนการจัดการความรู เพื่อใหเกิดนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพภายในที่เปนลักษณะเฉพาะของสถาบันมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)ตัวบงชี้ จํานวน 4 ตัวบงชี้ ประกอบดวย9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษา9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตัวบงชี้ที่ 9.1 : มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนภารกิจของมหาวิทยาลัยตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งสถาบันการศึกษาตองสรางระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการดําเนินงานของสถาบันใหเปนไปตามนโยบาย เปาประสงค และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดโดยสถาบันและโดยหนวยงานตนสังกัดตลอดจนหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ถือวาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อเปนหลักประกันแกสาธารณชนใหมั่นใจวาสถาบันสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเหมาะสมกับระดับการพัฒนาของมหาวิทยาลัย2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของมหาวิทยาลัยภายใตการมีสวนรวมของบุคลากรทุกฝาย รวมทั้งภาคี ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย3. มีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพในการดําเนินงานตั้งแตระดับบุคคล คณะ และมหาวิทยาลัย4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวนทั้งการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา (อยางนอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม)5. มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน


- 105 -6. มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้ และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก7. มาตรฐานตัวบงชี้เกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษา มีความเปนเอกลักษณ สอดคลองกับภารกิจของหนวยงาน8. มีระบบฐานขอมูลและ สารสนเทศ ที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาและใชรวมกันทั้งระดับบุคคล สาขาวิชา คณะ และมหาวิทยาลัย9. มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางหนวยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 6 ขอแรกมีการดําเนินการ7 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 8 ขอแรกผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการได8 ขอแรกมีการดําเนินการ 7 ขอแรก 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีการแตงตั้งกรรมการดําเนินงานการประกันคุณภาพเพื่อควบคุม ติดตามและตรวจสอบการประกันคุณภาพอยูเสมอ (เอกสารหมายเลข 9.1.1) ทั้งนี้สํานักวิทยบริการฯ ไดกําหนดนโยบายดานการประกันคุณภาพโดยใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพเนนการมีสวนรวมจากทุกฝาย (เอกสารหมายเลข9.1.2,9.1.3,9.1.4,9.1.5,9.1.6,9.1.7,9.1.8,9.1.9,9.1.10,9.1.11) มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก (เอกสารหมายเลข 9.1.12)และไดมีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวนอยางตอเนื่อง (เอกสารหมายเลข 9.1.13, 9.1.14) มีการนําผลการประเมินจากคณะกรรมการมาปรับปรุงพัฒนาการประกันคุณภาพใหดีขึ้นทุกป ไดมีการกําหนดแผนงานพัฒนาบุคลากร (เอกสารหมายเลข 9.1.15,9.1.16) นอกจากนั้นยังมีฐานขอมูลและสารสนเทศของสํานักวิทยบริการฯ ที่สนับสนุนการประกันคุณภาพอีกดวย (เอกสารหมายเลข 9.1.17,9.1.18)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยไดใหการสนับสนุนและเห็นความสําคัญของงานประกันคุณภาพของหนวยงานอยางเต็มที่ และบุคลากรภายในสํานักวิทยบริการฯ ตางก็ตระหนักและเห็นคุณคาของการประกันคุณภาพ จึงรวมแรงรวมใจกันในการปฎิบัติหนาที่และสงผลตอการดําเนินงานงานประกันคุณภาพที่ประสบความสําเร็จอยางดียิ่ง


- 106 -หลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1. คําสั่งแตงตั้งกรรมการประกันคุณภาพ 9.1.12. นโยบายดานการประกันคุณภาพ 9.1.23. โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การกําหนดทิศทางการ 9.1.3ปฏิบัติงานที่สนับสนุนดานการพัฒนาวิชาการ ตามประเด็นการพัฒนา 7ประเด็น4. รายงานการประชุมหัวหนางาน ครั้งที่ 6 วันจันทรที่ 11 มิถุนายน <strong>2550</strong> 9.1.45. รายงานการประชุมหัวหนางาน ครั้งที่8 วันพุธที่ 12 กันยายน <strong>2550</strong> 9.1.56. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากร ครั้งที่ 5 9.1.6วันศุกรที่ 15 มิถุนายน <strong>2550</strong>7. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากร ครั้งที่ 6 9.1.7วันพฤหัสบดีที่ 12กรกฎาคม พ.ศ. <strong>2550</strong>8. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากร ครั้งที่ 7 9.1.8วันศุกรที่ 17 สิงหาคม <strong>2550</strong>9. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากร ครั้งที่ 8 9.1.9วันจันทรที่ 17 กันยายน <strong>2550</strong>10. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากร ครั้งที่ 9 9.1.10วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน <strong>2550</strong>11. รายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานและบุคลากร ครั้งที่ 10 9.1.11วันพฤหัสบดีที่ 27 มีนาคม 255112. มาตรฐานตัวบงชี้ของสํานักวิทยบริการฯ 9.1.1213. เอกสารรายงานการประเมินตนเองปการศึกษา 2548-<strong>2550</strong> 9.1.1314. คูมือประกันคุณภาพการศึกษาปการศึกษา 2548-<strong>2550</strong> 9.1.1415. แผนงาน 5ปของสํานักวิทยบริการฯ 9.1.1516. กิจกรรมพัฒนาบุคลากร ป <strong>2550</strong> 9.1.1617. ฐานขอมูลประวัติบุคลากร 9.1.1718. ฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศ 9.1.18


- 107 -ตัวบงชี้ที่ 9.3 : ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตหนวยวัด : ระดับคําอธิบายตัวบงชี้ :ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วัดจากผลการดําเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่กําหนดขึ้นทั้งในระดับสถาบันและหนวยงานยอย ตลอดจนถึงในองคการนักศึกษา ทั้งนี้โดยมีการรายงานผลการประกันคุณภาพตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชนมีการนําผลการประเมินไปใชปรับปรุงการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการประกันคุณภาพระหวางบุคคลและหนวยงานตลอดจนมีนวัตกรรม หรือมีแบบอยางที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษาเกณฑมาตรฐานคุณภาพ1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ และมหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง2. มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายใน โดยสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของมหาวิทยาลัย3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอ หนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด4. มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงานอยางตอเนื่อง5. มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่หนวยงานพัฒนาขึ้นหรือมีการจัดทําแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อการเปนแหลงอางอิงใหกับหนวยงานและสถาบันอื่นๆเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกผลการประเมินตนเอง :ผลการดําเนินงาน เปาหมาย คะแนนการประเมินมีการดําเนินการได 4 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอ 3คําชี้แจงการปฏิบัติงาน :สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดมีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยางตอเนื่อง เชนการปรับปรุงพัฒนางานบริการดานการสืบคนขอมูลสารสนเทศ การจัดกิจกรรมบริการวิชาการสูสังคม การศึกษาดูงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรเปนตน(เอกสารหมายเลข9.3.1,9.3.2,9.3.3,9.3.4,9.3.5,9.3.6,9.3.7,9.3.8,9.3.9) อีกทั้งยังมีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับพันธกิจและ พัฒนาการของสํานักวิทยบริการฯ เชน การใหผูใชบริการมีสวนรวมในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลายตรงตามความตองการของผูใชบริการ สงเสริมสนับสนุนใหมีการศึกษาคนควาดวยตนเองดวยบริการสารสนเทศในรูปแบบ E-book และสืบคนจากฐานขอมูลตาง ๆ (เอกสารหมายเลข 9.3.10,


- 108 -9.3.11) สํานักวิทยบริการฯ ไดมีการรายงานรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด โดยนําเสนอขอมูลตอคณะกรรมการอํานวยการมหาวิทยาลัยจัดสงขอมูลในรูปเอกสารรายงานประจําป รายงานการประเมินตนเอง และบนเว็บไซตสํานักวิทยบริการฯ (เอกสารหมายเลข 9.3.12) และมีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงานอยางตอเนื่องดังปรากฏในเอกสารรายงานการประเมินตนเองในแตละปการศึกษา (เอกสารหมายเลข 9.3.13)ปจจัยเอื้อตอการดําเนินงาน :ผูบริหารในสํานักวิทยบริการฯใหความสําคัญและใหการสนับสนุนการดําเนินงานกิจกรรมตาง ๆภายในสํานักวิทยบริการฯ เปนอยางดี สงผลใหงานประกันคุณภาพมีความกาวหนาพัฒนาไปอยางตอเนื่องสอดคลองกับพันธกิจของสํานักวิทยบริการฯหลักฐานสนับสนุน :ที่ รายการ เอกสารหมายเลข1 โครงการอบรมการสืบคนฐานขอมูล 9.3.12 โครงการการสรางงานมัลติมีเดีย 9.3.23 โครงการ Library to customers (L2C) 9.3.34 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง กิจกรรม 5ส 9.3.45 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง งานบริการเชิงรุก 9.3.56 โครงการอบรมการนวดเพื่อสุขภาพ 9.3.67 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง อาหารสมองสัญจรสูชุมชน 9.3.78 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสรางภาพเคลื่อนไหวโดย 9.3.8คอมพิวเตอรอยางงาย9 โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การกําหนดทิศทางการ 9.3.9ปฏิบัติงานที่สนับสนุนดานการพัฒนาวิชาการ ตามประเด็นการพัฒนา 7ประเด็น10 แบบฟอรมการเสนอซื้อทรัพยากรสารสนเทศทั้งในรูปแบบเอกสารและ 9.3.10เสนอผานเว็บไซต11 รายชื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกสและฐานขอมูลตาง ๆ 9.3.1112 เว็บไซตของสํานักวิทยบริการฯ 9.3.1213 รายงานการประเมินตนเองป 2548-<strong>2550</strong> 9.3.13


คําสั่งสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ๑๖๘ /๒๕๕๑เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา--------------------------------------------------------------------------------ดวยสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดตระหนักถึงความสําคัญของงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีจุดมุงหมายที่จะยกระดับการบริหารจัดระบบการศึกษาใหมีคุณภาพสอดคลองตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ในมาตรา ๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง ที่กําหนดใหสถานศึกษาตองดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนป และเปนไปตามกฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ดังนั้นจึงเห็นควรแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยี-สารสนเทศ เพื่อปฏิบัติหนาที่ที่เกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา ดังมีรายนามดังตอไปนี้องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนงาน๑. อาจารยศิริกาญจน โพธิ์เขียว ประธานกรรมการ๒. นางสาวโบว แซเจียม กรรมการ๓. นางสาวชุมภู เมืองคลี่ กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๒ การเรียนการสอน๑. นายสัญญา ธีระเดชอุปถัมภ ประธานกรรมการ๒. นายอัมพร สงคศิริ กรรมการ๓. นางสาววิภารัตน ชื่นบานเย็น กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๕ การบริการวิชาการสูสังคม๑. อาจารยสุชาครีย กอเกียรติตระกูล ประธานกรรมการ๒. นายดิษพงษ วงศยะรา กรรมการ๓. นางสาวรสสุคนธ ไตรรงค กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๗ การบริหารและการจัดการ๑. ผูชวยศาสตราจารยวิมล อุทานนท ประธานกรรมการ๒. นายเดชอาคม คดเกี้ยว กรรมการ๓. นายภูชิต พิมพพิทักษ กรรมการ๔. นางศิริรัตน น้ําจันทร กรรมการและเลขานุการ


องคประกอบที่ ๘ การเงินและงบประมาณ๑. ผูชวยศาสตราจารยวิมล อุทานนท ประธานกรรมการ๒. นายชัยรัตน โชพุดซา กรรมการ๓. นางสาววราภรณ พุมรอด กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ๑. ผูชวยศาสตราจารยเผด็จ กาคํา ประธานกรรมการ๒. นางสาวสุภาภรณ เสียงเย็น กรรมการ๓. นางสาวเครือวัลย ไกรเทพ กรรมการและเลขานุการทั้งนี้ตั้งแตบัดนี้เปนตนไปสั่ง ณ วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๑(อาจารยศิริกาญจน โพธิ์เขียว)ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ


ภาคผนวกคําสั่งสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ๑๖๘ /๒๕๕๑เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา--------------------------------------------------------------------------------ดวยสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดตระหนักถึงความสําคัญของงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีจุดมุงหมายที่จะยกระดับการบริหารจัดระบบการศึกษาใหมีคุณภาพสอดคลองตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๔๕ ในมาตรา ๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง ที่กําหนดใหสถานศึกษาตองดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนป และเปนไปตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ดังนั้นจึงเห็นควรแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยี-สารสนเทศ เพื่อปฏิบัติหนาที่ที่เกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา ดังมีรายนามดังตอไปนี้องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนงาน๑. อาจารยศิริกาญจน โพธิ์เขียว ประธานกรรมการ๒. นางสาวโบว แซเจียม กรรมการ๓. นางสาวชุมภู เมืองคลี่ กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๒ การเรียนการสอน๑. นายสัญญา ธีระเดชอุปถัมภ ประธานกรรมการ๒. นายอัมพร สงคศิริ กรรมการ๓. นางสาววิภารัตน ชื่นบานเย็น กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๕ การบริการวิชาการสูสังคม๑. อาจารยสุชาครีย กอเกียรติตระกูล ประธานกรรมการ๒. นายดิษพงษ วงศยะรา กรรมการ๓. นางสาวรสสุคนธ ไตรรงค กรรมการและเลขานุการ


- 111 -องคประกอบที่ ๗ การบริหารและการจัดการ๑. ผูชวยศาสตราจารยวิมล อุทานนท ประธานกรรมการ๒. นายเดชอาคม คดเกี้ยว กรรมการ๓. นายภูชิต พิมพพิทักษ กรรมการ๔. นางศิริรัตน น้ําจันทร กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๘ การเงินและงบประมาณ๑. ผูชวยศาสตราจารยวิมล อุทานนท ประธานกรรมการ๒. นายชัยรัตน โชพุดซา กรรมการ๓. นางสาววราภรณ พุมรอด กรรมการและเลขานุการองคประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ๑. ผูชวยศาสตราจารยเผด็จ กาคํา ประธานกรรมการ๒. นางสาวสุภาภรณ เสียงเย็น กรรมการ๓. นางสาวเครือวัลย ไกรเทพ กรรมการและเลขานุการทั้งนี้ตั้งแตบัดนี้เปนตนไปสั่ง ณ วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๑(อาจารยศิริกาญจน โพธิ์เขียว)ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ


- 112 -สรุปผลการประเมินตนเอง องคประกอบที่ 1ตัวบงชี้สรุปผลการประเมินชนิดของตัวเปาหมายที่ตั้งไวเทียบผลกับเปาหมาย คะแนนบงชี้ผลการดําเนินงานบรรลุ ไมบรรลุ1.1 กระบวนการ 6 ขอ 7 ขอ 31.2 กระบวนการ รอยละ 90 รอยละ 90 3คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่..1....... 31. คาคะแนนเฉลี่ยจําแนกตามประเภทของตัวบงชี้1) ปจจัยนําเขา ขอ.........-........... คาคะแนนเฉลี่ย.......-.......2) กระบวนการ ขอ..... 1.1,. 1.2... คาคะแนนเฉลี่ย.......3......3) ผลผลิต ขอ...................... คาคะแนนเฉลี่ย..............2. การเปรียบเทียบผลการประเมินกับเปาหมาย สูงกวาเปาหมาย......1.......ขอ ไดแก....... 1.1........................สอดคลองกับเปาหมาย.....1......ขอ ไดแก....... 1.2................ ต่ํากวาเปาหมาย.....-........ขอ ไดแก...........-..........................3. ผลการประเมินในองคประกอบที่ 1 ไมไดคุณภาพ พอใช ดีดีมากจุดเดนสํานักวิทยบริการฯผานการประเมินในองคประกอบที่ 1 ในระดับดีมาก และเปนไปตามเปาหมายที่ไดกําหนดไว เนื่องจากมีการกําหนดแนวทางการทํางานอยางชัดเจน เปนระบบ และมีการดําเนินการที่เชื่อมโยงกับนโยบายและจุดเนนของมหาวิทยาลัย รวมทั้งมีการนําผลการทํางานมาใชในการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ซึ่งบุคลากรของสํานักวิทยบริการฯเปนผูมีความรู ความเขาใจ และความสามารถในการปฏิบัติงานจุดที่ควรพัฒนาอยางไรก็ตามสํานักวิทยบริการฯ ยังมีจุดที่ควรพัฒนาในตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมาย ใหถึงรอยละ 100


- 113 -สรุปผลการประเมินตนเอง องคประกอบที่ 2ตัวบงชี้สรุปผลการประเมินชนิดของตัวเปาหมายที่ตั้งไวเทียบผลกับเปาหมาย คะแนนบงชี้ผลการดําเนินงานบรรลุ ไมบรรลุ2.13 กระบวนการ ขอ ขอ 32.14 กระบวนการ ขอ ขอ 3คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ 2 31. คาคะแนนเฉลี่ยจําแนกตามประเภทของตัวบงชี้1) ปจจัยนําเขา ขอ................ คาคะแนนเฉลี่ย.............2) กระบวนการ ขอ..... 2.13, 2.14........... คาคะแนนเฉลี่ย......3.......3) ผลผลิต ขอ................ คาคะแนนเฉลี่ย.............2. การเปรียบเทียบผลการประเมินกับเปาหมาย สูงกวาเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................ สอดคลองกับเปาหมาย........2.....ขอ ไดแก.... 2.13, 2.14...................... ต่ํากวาเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................3. ผลการประเมินในองคประกอบที่ 2 ไมไดคุณภาพ พอใช ดี ดีมากจุดเดนผูบริหารมหาวิทยาลัยใหความสําคัญและตระหนักในดานการสนับสนุนการเรียน การสอน เปนอยางดีจึงทําใหสํานักวิทยบริการฯดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพจุดที่ควรพัฒนา-


- 114 -สรุปผลการประเมินตนเอง องคประกอบที่ 5ตัวบงชี้สรุปผลการประเมินชนิดของตัวเปาหมายที่ตั้งไวเทียบผลกับเปาหมาย คะแนนบงชี้ผลการดําเนินงานบรรลุ ไมบรรลุ5.1 กระบวนการ 5 ขอแรก 5 ขอแรก 35.3 ผลผลิต มากกวารอยละ 40 รอยละ 85 35.4 ผลผลิต รอยละ 85 รอยละ 85 3คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ 5 31. คาคะแนนเฉลี่ยจําแนกตามประเภทของตัวบงชี้1) ปจจัยนําเขา ขอ........-........... คาคะแนนเฉลี่ย.....-.........2) กระบวนการ ขอ........ 5.1....... คาคะแนนเฉลี่ย.... 3........3) ผลผลิต ขอ.... 5.3, 5.4.... คาคะแนนเฉลี่ย.....3........2. การเปรียบเทียบผลการประเมินกับเปาหมาย สูงกวาเปาหมาย.....1........ขอ ไดแก........ 5.3................................สอดคลองกับเปาหมาย......2.......ขอ ไดแก............ 5.1,. 5.4........................... ต่ํากวาเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................3. ผลการประเมินในองคประกอบที่ 5 ไมไดคุณภาพ พอใช ดี ดีมากจุดเดนผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยและสํานักวิทยบริการฯไดใหการสนับสนุนและเห็นความสําคัญของงานบริการวิชาการสูสังคม นอกจากนั้นบุคลากรภายในสํานักวิทยบริการฯ ปฏิบัติหนาที่อยางเต็มศักยภาพ ทําใหประสบความสําเร็จอยางดียิ่งจุดที่ควรพัฒนาสํานักวิทยบริการฯควรสงเสริมใหบุคลากรไดมีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกชุมชนและสังคมใหมากขึ้น


- 115 -สรุปผลการประเมินตนเอง องคประกอบที่ 7ตัวบงชี้สรุปผลการประเมินชนิดของตัวเปาหมายที่ตั้งไวเทียบผลกับเปาหมาย คะแนนบงชี้ผลการดําเนินงานบรรลุ ไมบรรลุ7.2 กระบวนการ มีการดําเนินการครบทุกขอ มีการดําเนินการครบทุกขอ 37.3 กระบวนการ มีการดําเนินการอยางนอย 4 มีการดําเนินการอยางนอย 4 3ขอแรกขอแรก7.4 กระบวนการ มีการดําเนินการอยางนอย 5 มีการดําเนินการอยางนอย 5 3ขอแรกขอแรก7.6 ผลผลิต มีการดําเนินการครบทุกขอ มีการดําเนินการครบทุกขอ 37.9 ผลผลิต มีการดําเนินการครบทุกขอ มีการดําเนินการครบทุกขอ 3คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ 7 31. คาคะแนนเฉลี่ยจําแนกตามประเภทของตัวบงชี้1) ปจจัยนําเขา ขอ.......-......... คาคะแนนเฉลี่ย......-.......2) กระบวนการ ขอ.... 7.2, 7.3, 7.4..... คาคะแนนเฉลี่ย......3.......3) ผลผลิต ขอ...... 7.6, 7.9.......... คาคะแนนเฉลี่ย......3.......2. การเปรียบเทียบผลการประเมินกับเปาหมาย สูงกวาเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................ สอดคลองกับเปาหมาย.....5........ขอ ไดแก... 7.2, 7.3, 7.4, 7.6, 7.9........... ต่ํากวาเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................3. ผลการประเมินในองคประกอบที่ 7 ไมไดคุณภาพ พอใช ดี ดีมากจุดเดนสํานักวิทยบริการฯมีการวางแผนและจัดการประชุมภายในสํานักอยางเปนระบบ และมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรและผูบริหารอยางโปรงใส รวมทั้งใหความสําคัญในการจัดทําแผนการจัดการความรู และดําเนินการตามแผนจัดการความรู ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยไดใหการสนับสนุนและเห็นความสําคัญของระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพจุดที่ควรพัฒนาอยางไรก็ตามสํานักวิทยบริการฯ ผูบริหารและบุคลากรตองเปดใจกวางในการยอมรับผลการประเมินและมีการติดตามผลการประเมินของบุคลากรอยางตอเนื่องเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ


- 116 -สรุปผลการประเมินตนเอง องคประกอบที่ 8ตัวบงชี้สรุปผลการประเมินชนิดของตัวเปาหมายที่ตั้งไวเทียบผลกับเปาหมาย คะแนนบงชี้ผลการดําเนินงานบรรลุ ไมบรรลุ8.1 กระบวนการ มีการดําเนินการได 6 ขอแรก มีการดําเนินการครบ 8 ขอ 38.2 กระบวนการ มีการดําเนินการได 3 ขอแรก มีการดําเนินการครบ 4 ขอ 3คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ 8 31. คาคะแนนเฉลี่ยจําแนกตามประเภทของตัวบงชี้1) ปจจัยนําเขา ขอ........-.................... คาคะแนนเฉลี่ย....-.........2) กระบวนการ ขอ....... 8.1, 8.2......... คาคะแนนเฉลี่ย....3.........3) ผลผลิต ขอ........-................... คาคะแนนเฉลี่ย.....-........2. การเปรียบเทียบผลการประเมินกับเปาหมาย สูงกวาเปาหมาย......2.......ขอ ไดแก............ 8.1, 8.2........................ สอดคลองกับเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................ ต่ํากวาเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................3. ผลการประเมินในองคประกอบที่ 8 ไมไดคุณภาพ พอใช ดี ดีมากจุดเดนสํานักวิทยบริการมีการจัดทําฐานขอมูลการตัดยอดเงินงบประมาณในทุกงบประมาณที่ไดรับ เพื่อใชในการตรวจสอบความถูกตองกับกองแผนงาน ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งบุคลากรยังไดตระหนักและเห็นคุณคาของการจัดสรรงบประมาณใหเปนไปตามแผนปฏิบัติราชการอยางสม่ําเสมอจุดที่ควรพัฒนา-


- 117 -สรุปผลการประเมินตนเอง องคประกอบที่ 9ตัวบงชี้สรุปผลการประเมินชนิดของตัวเปาหมายที่ตั้งไวเทียบผลกับเปาหมาย คะแนนบงชี้ผลการดําเนินงานบรรลุ ไมบรรลุ9.1 กระบวนการ 7 ขอ 8 ขอ 39.3 กระบวนการ 4 ขอแรก 4 ขอแรก 3คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ 9 31. คาคะแนนเฉลี่ยจําแนกตามประเภทของตัวบงชี้1) ปจจัยนําเขา ขอ................ คาคะแนนเฉลี่ย.............2) กระบวนการ ขอ 9.1, 9.3 คาคะแนนเฉลี่ย......3.......3) ผลผลิต ขอ................ คาคะแนนเฉลี่ย.............2. การเปรียบเทียบผลการประเมินกับเปาหมาย สูงกวาเปาหมาย.....1........ขอ ไดแก......... 9.1............................... สอดคลองกับเปาหมาย......1.......ขอ ไดแก.......... 9.3 .............................. ต่ํากวาเปาหมาย.............ขอ ไดแก........................................3. ผลการประเมินในองคประกอบที่ 9 ไมไดคุณภาพ พอใช ดี ดีมากจุดเดนผูบริหารและบุคลากรของสํานักวิทยบริการฯ ตระหนักและใหความสําคัญกับการประกันคุณภาพ จึงสงผลใหการดําเนินการประสบความสําเร็จและมีประสิทธิภาพจุดที่ควรพัฒนา-


- 118 -ตารางสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมผลการประเมินคะแนนการประเมินเฉลี่ย≤ 1.50 หมายถึง การดําเนินงานยังไมไดคุณภาพองคประกอบคุณภาพ1.51 – 2.00 หมายถึง การดําเนินงานไดคุณภาพระดับพอใชปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม2.01 – 2.50 หมายถึง การดําเนินงานไดคุณภาพระดับดี2.51 – 3.00 หมายถึง การดําเนินงานไดคุณภาพระดับดีมากองคประกอบที่ 1 1.1(3),1.2(3) 3 ดีมากองคประกอบที่ 2 2.13(3),2.14(3) 3 ดีมากองคประกอบที่ 5 5.1(3) 5.3(3),5.4(3) 3 ดีมากองคประกอบที่ 7 7.2(3),7.3(3),7.4(3) 7.6(3),7.9(3) 3 ดีมากองคประกอบที่ 8 8.1(3),8.2(3) 3 ดีมากองคประกอบที่ 9 9.1(3),9.3(3) 3 ดีมากเฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ 3 3 3ดีมากของทุกองคประกอบหมายเหตุสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมทุกองคประกอบ ไมไดคุณภาพ พอใช ดี ดีมาก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!