12.07.2015 Views

การศึกษาความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อการจั - บัณฑิตวิทยาลัย ...

การศึกษาความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อการจั - บัณฑิตวิทยาลัย ...

การศึกษาความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อการจั - บัณฑิตวิทยาลัย ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การศึกษาความพึงพอใจของผู ้ประกอบการต่อการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพรA STUDY THE SATISFACTIO WITH EDUCATION DUAL VOCATIONAL TRAINING BY CHUMPHONTECHNICAL COLLEGEปุณยาพร แสงทองหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปี การศึกษา 2554…………………………….………………………………………………………………………………บทคัดย่อการวิจัยครั ้ งนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ประกอบการเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ด้านผู้เรียน ครู-อาจารย์นิเทศ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพร และเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ประกอบการ โดยจ าแนกผู้ประกอบการออกเป็ น 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั ้ งนี ้ได้แก่ ผู้จัดการ ครูฝึ ก ผู้ควบคุมการฝึ กในสถานประกอบการ จ านวน 90 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า F-test ในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า1. ผู้ประกอบการมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพรโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่าผู้ประกอบการมีความพึงพอใจด้านผู้เรียนเกี่ยวกับความซื่อสัตย์สุจริตอยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจน้อยที่สุดคือความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารด้านครู -อาจารย์นิเทศมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการมีมนุษยสัมพันธ์อยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจน้อยที่สุดคือ การให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกับผู้ประกอบการ ส่วนด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน ผู้ประกอบการมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการวางแผนรับสมัครและคัดเลือกนักเรียนนักศึกษา อยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจด้านสถานศึกษาจัดฝึ กอบรมให้ความรู้แนวทางการฝึ กอาชีพแก่ครูฝึ กในสถานประกอบการต ่าสุด2. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจ พบว่า ผู้ประกอบการทั ้ง 3 ขนาด มีความพึงพอใจด้านผู้เรียน ด้านครู -อาจารย์นิเทศ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติABSTRACTThe purposes of this research were to study the satisfaction of entrepreneurs towards the Dual VocationalTraining Instructions of Chumphon Technical College and to compare their satisfaction by classifying them into 3sizes namely small, medium and large. The sample group of this research consisted of 90 managers, trainers andsupervisors in the institutions. The data were analyzed by percentage, X ,S.D. and F-test.The results were as follows:1. The satisfaction of the entrepreneurs was found at a high level as a whole. When considering individualaspect, it was found that the satisfaction towards the students’ honesty was at a high level while the satisfactionwas at a lowest level on the communicating. The satisfaction of the supervisors was at the high level in the aspect oftheir human relationship while the lowest level was on their participation in cooperatingwith the entrepreneurs in


organizing activities for their instructions. The entrepreneurs’ssatisfaction was at a high level on the participation inplanning to select students to work in their institutions while the satisfaction was at the lowest level was on thecollege organizing training courses for the trainers in the topic of guidelines for training students.2. The comparison showed that the satisfaction of the 3-size entreprenecus namely small, medium and largetowards the students, supervisors and the process of instructions was insignificantly different at the level .บทน าตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวดที่ 1 มาตรา 6 และ มาตรา 9 (6) การจัดการศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั ้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด ารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยการมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ๆ ดังนั ้นกระบวนการที่ท าให้การจัดการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ ระบบการศึกษาจะต้องเปิ ดกว้างให้อิสระเสรีและทางเลือกสูงสุดทั ้งให้แง่ของความรู้ ซึ ่งควรมีความหลากหลายในด้านการจัดการศึกษา จะพึ ่งแต่รัฐเพียงฝ่ ายเดียวไม่ได้ จะต้องได้รับความร่วมมือทุก ๆ ส่วนในสังคม (ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2544 หน้า 5-6) การพัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการศึกษาเพื่อผลิตก าลังคนระดับกลางให้มีความรู้ความสามารถมีทักษะและประสบการณ์ที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระได้อย่างแท้จริง (ทองค า ตินะลา, 2544, หน้า 1)ทิศทางในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาคือประสานระหว่างสถานศึกษากับภาคการผลิตและภาคบริ การ ให้ผลิตก าลังคนที่มีทักษะส าหรับการประกอบอาชีพ และ /หรื อเป็ นผู้ประกอบการเอง และสามารถสนองความต้องการในการเพิ่มขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆดังนั ้น ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงมีนโยบายด้านการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี(Dual Vocational Training) เพื่อผลิตก าลังคนและพัฒนาศักยภาพของนักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษา ทั ้งด้านสติปัญญาทักษะ และฝี มือแรงงาน ให้ก้าวทันเทคโนโลยีและความเจริญในยุคโลกาภิวัฒน์ เป็ นแรงงานที่มีฝี มือ มีความรู้ ทักษะในสาขาวิชาชีพสามารถพัฒนางาน พัฒนาคน ให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม (ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2545, หน้า ค าน า) โดยความร่วมมือทั ้งสองฝ่ าย ระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา มาตราที่ 20 การจัดการอาชีวศึกษา การฝึ กอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาเอกชน สถานประกอบการหรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ทั ้งนี ้ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกระบบและวิธีการเรียนตามศักยภาพ และความสนใจ อีกทั ้งเป็ นการแก้ปัญหาในด้านคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถในด้านทักษะปฏิบัติและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ได้แก่ ความซื่อสัตย์ความอุตสาหะการตรงต่อเวลาความมีระเบียบวินัยและความสามารถในการเรียนรู้(ทองค า ตินะลา, 2544, หน้า 1)จากการด าเนินการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ตั ้งแต่ปี 2538 เป็ นต้นมา ยังมีปัญหาในด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นอยู่เสมอ ดังรายงานการส ารวจ ปัญหาในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีได้สรุปไว้ดังนี ้ หลักการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีไม่ชัดเจน สถานศึกษาขาดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ สถานประกอบการขาดความเข้าใจระบบทวิภาคี ความเป็ นธรรมในการลงทุนและความพร้อมในเรื่องเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักรในการฝึ กอบรมและงบประมาณในการบ ารุงรักษา การนิเทศติดตามผลไม่สมบูรณ์ การคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาเข้าฝึ กอบรมในโครงการยังไม่ดีเท่าที่ควร ขาดความเข้าใจในการสอนด้านทฤษฎีและปฏิบัติ ขาดความเข้าใจในการวัดผลการเรียนการสอนและการเทียบเกณฑ์มาตรฐาน


ทางวิชาชีพ ขาดองค์กรกลางในการประสานงานแก้ไขข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน กฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติยังไม่เอื ้อต่อความคล่องตัวในการด าเนินงาน การก าหนดโครงสร้างองค์กรด าเนินการะหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษา ยังมีระบบประสานงานที่ไม่ชัดเจนเพียงพอ ความร่วมมือในการด าเนินการยังขาดความพร้อมในการจัดรูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (วัชรี คลี่สุวรรณ์. 2543, หน้า 32-35)จากข้อจ ากัด และปัญหาในการด าเนินการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ที่กล่าวมา อาจเนื่องมาจากปัจจัยหลายสาเหตุด้วยกัน ทั ้งในส่วนการด าเนินการของสถานศึกษาหรือในส่วนสถานประกอบการ ส่งผลให้เกิดปัญหาจัดการศึกษาระบบทวิภาคีโดยภาพรวมยังมีปัญหาทุกระดับ ทั ้งระดับประเทศ ระดับภาค ระดับเขตการศึกษา และระดับสถานศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาด้านความร่วมมือ ความรับผิดชอบร่วมกัน รวมทั ้งการประสานประโยชน์ระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ ซึ ่ งส่งผลถึงระดับความพึงพอใจในการให้ความร่วมมือ ความพึงพอใจจึงเป็ นสาเหตุที่ท าให้สถานประกอบการมีความต้องการเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมากขึ ้น หากสถานประกอบการไม่พึงพอใจก็จะไม่เข้ามามีส่วนร่วม หรือสถานประกอบการบางแห่งที่เคยร่วมมือจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอยู่แล้ว ก็อาจยกเลิกการให้ความร่วมมือได้ นอกจากนี ้ ความพึงพอใจในการที่จะด าเนินการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีให้ส าเร็จตามเป้ าหมาย จึงขึ ้นอยู่กับความพึงพอใจที่ได้รับการตอบสนองจากการจูงใจของสถานประกอบการ ถ้าหากความร่วมมือเป็ นจุดอ่อนของการศึกษาระบบทวิภาคี จะต้องได้รับการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ สามารถวัดได้จากความพึงพอใจของสถานประกอบการ ต่อการด าเนินการจัดการศึกษาระบบ ทวิภาคีตามความคิดเห็นของสถานประกอบการได้โดยตรงแล้วน ามาเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของระดับความพึงพอใจ จะท าให้ทราบปัญหาและความต้องการที่แท้จริงได้ หากพบสภาพความพึงพอใจที่เป็ นจริงแล้ว จะส่งผลต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นได้ปัจจุบันวิทยาลัยเทคนิคชุมพร สังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี จ านวน 2 หลักสูตร คือ1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จ านวน 3 สาขาวิชา คือ สาขางานยานยนต์ สาขาธุรกิจโรงแรม และสาขาธุรกิจค้าปลีก2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั ้นสูง (ปวส.) จ านวน 2 สาขาวิชา คือ สาขางานยานยนต์ และสาขาวิชาการโรงแรมวิทยาลัยฯ ได้จัดการเรี ยนการสอนระบบทวิภาคี โดยให้นักเรี ยนเรี ยนวิชาพื ้นฐานและวิชาชีพพื ้นฐานในสถานศึกษาก่อน เป็ นเวลา 2 ภาคเรียน และไปฝึ กอาชีพกับสถานประกอบการจ านวน 3 ภาคเรียน และกลับเข้ามาเรียนในสถานศึกษาอีก 1 ภาคเรียนสุดท้าย โดยวิทยาลัยฯ ได้จัดให้มีครูนิเทศร่วมกับครูฝึ กในสถานประกอบการ เพื่อท าการวัดผลประเมินผลร่วมกันการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้บรรลุผลส าเร็จตามจุดมุ่งหมายนั ้น สถานศึกษาและสถานประกอบการจะต้องสานความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในทักษะปฏิบัติ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการอย่างแท้จริง ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาความพึงพอใจของผู้ประกอบการ ต่อการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพร เพื่อน ามาปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ ้นวัตถุประสงค์ของการวิจัย1. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ประกอบการ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ด้านผู้เรียนด้านครู – อาจารย์นิเทศและด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพร


้้2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ประกอบการ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ด้านผู้เรียน ด้านครู -อาจารย์นิเทศและด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยเทคนิคชุมพร โดยจ าแนกสถานประกอบการออกเป็ น 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับผลที่ได้จากการวิจัยสามารถน าไปใช้เป็ นข้อมูลในการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ดังนี1. ช่วยเป็ นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ2. ช่วยในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ3. ช่วยในการวางแผนพัฒนาบุคลากรและพัฒนางานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น4. เป็ นข้อมูลส าหรับฝ่ ายบริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจด้านการบริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีต่อไปขอบเขตการวิจัย1. ประชากรและกลุ ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้จัดการ ครูฝึ ก ผู้ควบคุมการฝึ กในสถานประกอบการที่ร่วมกันจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับวิทยาลัยเทคนิคชุมพร จ านวน 150 คนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้จัดการ ครูฝึ ก ผู้ควบคุมการฝึ กในสถานประกอบการที่ร่วมกันจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับวิทยาลัยเทคนิคชุมพร โดยสุ่มตัวอย่างใช้การก าหนดตัวอย่างของ Krejcie & Morgan ได้จ านวนกลุ่มตัวอย่าง 109 คน โดยใช้เกณฑ์การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั ้น2. ตัวแปรที่ศึกษา2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ขนาดของผู้ประกอบการ โดยจ าแนกเป็ น 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่2.2 ตัวแปรตามได้แก่ ความพึงพอใจของผู้ประกอบการที่มีต่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพร3. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยระยะที่ใช้ในการวิจัยครั ้ งนี ้ คือ ระหว่างเดือนมกราคม 2550 ถึงเดือนเมษายน 2550วิธีด าเนินการวิจัยการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั ้ งนี ้ เก็บจากผู้ท าหน้าที่จัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้ประกอบการร่ วมกับวิทยาลัยเทคนิคชุมพร ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั ้นสูง (ปวส.)ได้แก่ ผู้จัดการ ครูฝึ ก หรือ ผู้ควบคุมการฝึ ก ซึ ่งได้ด าเนินการดังนี1. ท าหนังสือจากวิทยาลัยเทคนิคชุมพร เพื่อขออนุญาตผู้ประกอบการที่จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับวิทยาลัยเทคนิคชุมพร จ านวน 109 แห่ง ให้ความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถาม2. ขอความอนุเคราะห์จากอาจารย์ที่ออกไปนิเทศนักเรียนนักศึกษาในสถานประกอบการ รวบรวมแบบสอบถามคืนให้ผู้วิจัย


้การวิเคราะห์ข้อมูลส่ วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามและส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่(Frequency) และร้อยละ (Percentage)ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของผู้ประกอบการที่มีต่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)ผลการวิจัยผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า3. ผู้ประกอบการมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพรโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่าผู้ประกอบการมีความพึงพอใจด้านผู้เรียนเกี่ยวกับความซื่อสัตย์สุจริตอยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจน้อยที่สุดคือความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารด้านครู -อาจารย์นิเทศมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการมีมนุษยสัมพันธ์อยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจน้อยที่สุดคือ การให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกับผู้ประกอบการ ส่วนด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน ผู้ประกอบการมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการวางแผนรับสมัครและคัดเลือกนักเรียนนักศึกษา อยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจด้านสถานศึกษาจัดฝึ กอบรมให้ความรู้แนวทางการฝึ กอาชีพแก่ครูฝึ กในสถานประกอบการต ่าสุด4. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจ พบว่า ผู้ประกอบการทั ้ง 3 ขนาด มีความพึงพอใจด้านผู้เรียน ด้านครู -อาจารย์นิเทศ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติอภิปรายผล1. ความพึงพอใจของผู้ประกอบการเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ด้านผู้เรี ยน ด้านครู -อาจารย์นิเทศและด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคชุมพร ดังนี1.1 ด้านผู้เรียน พบว่าผู้ประกอบการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่ามีความพึงพอใจด้านความซื่อสัตย์สุจริตสูงสุด และผู้ประกอบการทั ้ง 3 ขนาดมีความพึงพอใจในคุณลักษณะของนักเรียนในด้านความซื่อสัตย์สุจริตเหมือนกัน และรองลงมา คือการมีมนุษยสัมพันธ์เอื ้อเฟื ้ อเผื่อแผ่ ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของผู้ประกอบการ ตรงต่อเวลาและมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ซึ ่งสอดคล้องกับ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542หมวดที่ 1 มาตราที่ 6 การจัดการศึกษาต้องเป็ นเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั ้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้คู่คุณธรรม และงานวิจัยของนิพนธ์ สุขไชยะ (2543, หน้า บทคัดย่อ) คุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษาที่สถานประกอบการต้องการด้านคุณธรรมจริยธรรม คือความซื่อสัตย์สุจริต และแนวคิดของพิสันต์ ประทานชวโน (2541, หน้า25-29) ว่าปัญหาหลักของสังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์ คือ การขาดคนดีและคนเก่ง ดังนั ้น การพัฒนาคนจึงต้องหันมาพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม เพื่อให้สังคมไทยมีคนดีและคนเก่งเพิ่มขึ ้น ขณะเดียวกันผู้ประกอบการทั ้ง 3 ขนาด มีความพึงพอใจการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารต ่าสุด ทั ้งนี ้ เพราะปัจจุบันภาษาอังกฤษมีความส าคัญทางธุรกิจ โรงงานมักมีการน าเข้าเครื่องมือและเครื่องจักรต่าง ๆ ที่ทันสมัยจากต่างประเทศ ซึ ่งมีคู่มือ ค าแนะน าการใช้และการบ ารุงรักษาเป็ นภาษาอังกฤษพนักงานจ าเป็ นต้องมีความรู้ภาษาอังกฤษพอสมควร ซึ ่งสอดคล้อง ตามพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 23 (5)การจัดการศึกษาต้องเน้นความรู้และทักษะด้านภาษาและคณิตศาสตร์ และส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ เล็งเห็นความส าคัญของวิชาภาษาอังกฤษต่อการพัฒนาประเทศ จึงได้จัดท าหลักสูตรประกาศนียบัตร


วิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง 2546) ในหมวดโครงสร้างวิชาสามัญ ก าหนดให้นักเรียนอาชีวศึกษาทุกระบบเรียนภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต ซึ ่งสถานศึกษาจัดให้เรียนภาษาอังกฤษทุกภาคเรียนตลอดหลักสูตร1.2 ด้านครู-อาจารย์นิเทศ พบว่าผู้ประกอบการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่ามีความพึงพอใจด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ของครู-อาจารย์นิเทศสูงสุด ซึ ่งถือว่าเป็ นจุดแข็งของการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพราะการจัดการศึกษาระบบนี ้ จะต้องใช้ความสัมพันธ์ติดต่อประสานงานระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการตลอดเวลา โดยสถานศึกษาจัดท าโครงการขึ ้นเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานประกอบการและครู-อาจารย์ให้มีความสัมพันธ์ที่ดียิ่งขึ ้น และเมื่อพิจารณาผู้ประกอบการแต่ละขนาดพบว่าผู้ประกอบการขนาดเล็ก มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดได้แก่การมีมนุษยสัมพันธ์ รองลงมาได้แก่การอบรมดูแลความประพฤติของนักเรียนให้อยู่ในระเบียบข้อบังคับของสถานประกอบการ ส าหรับผู้ประกอบการขนาดกลางมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดได้แก่การมีมนุษยสัมพันธ์และการอบรมดูแลความประพฤติของนักเรียนให้อยู่ในระเบียบข้อบังคับของสถานประกอบการ รองลงมาได้แก่มีการนิเทศร่วมกับสถานประกอบการอย่างสม ่าเสมอ และผู้ประกอบการขนาดใหญ่มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดได้แก่การมีมนุษยสัมพันธ์ รองลงมาได้แก่มีการวัดผลและประเมินผลร่วมกับสถานประกอบการ แสดงว่าครู -อาจารย์นิเทศปฏิบัติหน้าที่ได้ตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการไม่ว่าจะเรื่องการอบรมดูแลความประพฤติของนักเรียนให้อยู่ในระเบียบข้อบังคับของสถานประกอบการ การนิเทศนักเรียนร่วมกับสถานประกอบการอย่างสม ่าเสมอ การวัดผลและประเมินผลร่วมกัน รวมทั ้งการมีนนุษยสัมพันธ์ ล้วนเป็ นสิ่งที่สร้างความรู้สึกที่ดีให้กับผู้ประกอบการและน าไปสู่ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ซึ ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอ านวย นาคทัต (2540, หน้า 81-91) ครู-อาจารย์มีส่วนส าคัญในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้มีประสิทธิภาพเป็ นที่ยอมรับของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะครู -อาจารย์ที่มีมนุษยสัมพันธ์และให้ความร่วมมือกับผู้ประกอบการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน และวันชัย จันทวงศ์ (2535,หน้า2-4) ให้ข้อเสนอแนะว่าการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรช่างฝึ กหัด จะบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั ้งไว้เนื่องจากมีอาจารย์นิเทศติดตาม ดูแลความประพฤติและการเรียนการสอนของนักเรียนอย่างใกล้ชิด1.3 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน พบว่าผู้ประกอบการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่ามีความพึงพอใจด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผนรับสมัครและคัดเลือกนักเรียนสูงสุดรองลงมาได้แก่สถานศึกษาจัดให้เรียนวิชาชีพพื ้นฐานก่อนสองภาคเรี ยนแล้วออกฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ และสถานศึกษาจัดท าแผนการฝึ กอาชีพร่วมกับสถานประกอบการและเมื่อพิจารณาแต่ละขนาดของผู้ประกอบการ พบว่าผู้ประกอบการขนาดเล็กมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดได้แก่ ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการวางแผนรับสมัครและคัดเลือกนักเรียน ส าหรับผู้ประกอบการขนาดกลางมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดได้แก่ การมีส่วนร่วมในการวางแผนรับสมัครและคัดเลือกนักเรียน รองลงมาได้แก่สถานศึกษาจัดให้เรียนวิชาชีพพื ้นฐานก่อนสองภาคเรียนแล้วออกฝึ กอาชีพในสถานประกอบการและผู้ประกอบการขนาดใหญ่มีความพึงพอใจโดรวมอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดได้แก่ สถานศึกษาจัดให้เรียนวิชาชีพก่อนสองภาคเรี ยนแล้วออกฝึ กอาชีพในสถานประกอบการและมีร่ วมในการวางแผนรับสมัครและคัดเลือกนักเรียน แสดงว่าผู้ประกอบการทุกขนาดมีความพึงพอใจสถานศึกษาที่เปิ ดโอกาสให้สถานประกอบการมีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่ วมกัน ซึ ่ งมีผลทางด้านจิตวิทยาท าให้เกิดความร่ วมมือในการจัดการศึกษาให้ประสบผลส าเร็จตามวัตถุประสงค์ทุกประการ ซึ ่ งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ทองค า ตินาลา (2544, หน้า 68-73) สถานประกอบการมีความคิดเห็นว่าสถานศึกษามีบทบาทต่อการจัดการอาชีวศึกษาระบทวิภาคี และของพรทิวา จุลสุคนธ์ (2542,บทคัดย่อ) ปัจจัยที่เอื ้อให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ภาวะผู้น าของ


บุคลากรในโรงเรียนและชุมชนและงานวิจัยครั ้ งนี ้ พบว่าผู้ประกอบการมีความพึงพอใจในการจัดฝึ กอบรมให้ความรู้แนวทางการฝึ กอาชีพแก่ครูฝึ กในสถานประกอบการ โดยรวมต ่าสุด ซึ ่งแสดงว่า สถานศึกษาต้องจัดฝึ กอบรมให้ความรู้แก่ครูฝึ กผู้ควบคุมการฝึ กงานในสถานประกอบการให้มากกว่านี ้ อาจเป็ นเพราะครูฝึ ก ผู้ควบคุมการฝึ กไม่มีทักษะด้านการสอน จึงขนาดประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ วิธีการวัดผลและประเมินผลนักเรียน ซึ ่ งสอดคล้องกับงานวิจัยของมงคล วานิกร (2539,หน้า65-71)พบว่าครูฝึ กในสถานประกอบการมีความเข้าใจกฎเกณฑ์การประเมินผล เครื่องมือและเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินนักเรียนในระดับปานกลาง2. การเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ประกอบการ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ด้านผู้เรียน ด้านครู -อาจารย์นิเทศ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนพบว่า ผู้ประกอบการทั ้ง 3 ขนาด มีความพึงพอใจทุกด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติซึ ่ งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั ้งไว้ ซึ ่ งสอดคล้องกับงานวิจัยของเพียงใจ คันธารัตน์ (2540, หน้า111 - 123) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของสถานประกอบการทั ้ง 3 กลุ่ม ที่ร่วมด าเนินการกับวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกมหานครและวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ที่มีต่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ทั ้ง 4 ด้าน คือ ด้านสถานศึกษา ด้านนักเรียน ด้านผู้ปกครองและด้านสถานประกอบการ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติและงานวิจัยของทองค า ตินะลา (2540, หน้า 68-73) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของสถานประกอบการที่มีต่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเกี่ยวกับบ ทบาทหน้าที่ของนักเรี ยน ผู้ปกครองสถานศึกษาและสถานประกอบการ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ แสดงให้เห็นว่า ผู้บริหาร ครู -อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยเทคนิคชุมพรได้ให้ความส าคัญต่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับผู้ประกอบการทั ้ง 3ขนาดอย่างเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารสถานศึกษาได้ประยุกต์กระบวนการ POSDCoRB ของ Luther H.Gulick และ Lyndall Urwick (นพพงษ์ บุญจิตราดุล.2534, หน้า 9) และการบริหารองค์การของ Henri Fayol มาใช้ในการบริหารการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ซึ ่ งท าให้สามารถประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการทั ้ง 3 ขนาดได้อย่างดี สร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันทั ้งสองฝ่ าย อันส่งผลให้ผู้ประกอบการทั ้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ยินดีที่จะให้ความร่วมมือและเข้าร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับวิทยาลัยเทคนิคชุมพรมากขึ ้น ซึ ่ งสอดคล้องกับหลักการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่เปิ ดโอกาสให้ชุมชนและท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ท าให้การอาชีวศึกษาเจริญก้าวหน้าและสามารถบริการอาชีพให้แก่ชุมชนได้อย่างทั่วถึงเอกสารอ้างอิงชาตรี รัตนาวงศ์. การประเมินผลการส่งนักศึกษาช่างเทคนิคของวิทยาลัยเทคโนโลยี.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ออกฝึ กงานในหน่วยงานอุตสาหกรรมอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2525.อัดส าเนาทองค า ตินะลา. ความคิดเห็นของสถานประกอบการที่มีต่อการจัดการอาชีวะศึกษาระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์. นครสวรรค์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์,2544. อัดส าเนานิพนธ์ สุขไชยะ. คุณลักษณะของผู ้ส าเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั ้นสูง (ปวส.) ประเภทช่างอุตสาหกรรม ตามความต้องการของสถานประกอบการในเขตการศึกษา 2. วิทยานิพนธ์ คม. กรุงเทพฯสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง,2543. อัดส าเนา.เอื ้อมพร เธียรหิรัญ. (2546). การวิจัยทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้ง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!