13.07.2015 Views

ตัวบงชี้ - งาน ประกัน คุณภาพ

ตัวบงชี้ - งาน ประกัน คุณภาพ

ตัวบงชี้ - งาน ประกัน คุณภาพ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

คูมือ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาโดย : คณะกรรมการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาพิมพครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2550จํานวนพิมพ : 200 เลมจัดพิมพเผยแพร : <strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600โทรศัพท 02-473-7000 ตอ 1005, 1602โทรสาร 02-473-7000 ตอ 1005พิมพที่ : บริษัท สหธรรมิก จํากัด54/67, 68, 54/71, 72 ซอย 12 ถนนจรัญสนิทวงศแขวงวัดทาพระ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพฯ 10600โทรศัพท 02-864-434-5โทรสาร 02-412-087พิมพและออกแบบรูปเลม : นางสาวขนิษฐา พึ่งประจวบออกแบบปก : นายสมบัติ น้ําจันทร


คํานําการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา เปนกลไกสําคัญในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานการศึกษาเปนกลไกที่จะสรางความเชื่อมั่นใหแกประชาคม เกี่ยวกับการดําเนิน<strong>งาน</strong>จัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาจึงเปนกระบวน<strong>งาน</strong>สําคัญในการนําเสนอผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>สูสาธารณชนในขณะเดียวกันการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษายังเปนกรอบขอบขายของการดําเนิน<strong>งาน</strong>จัดการศึกษา เพื่อใหเกิด<strong>คุณภาพ</strong>และประสิทธิภาพอีกทางหนึ่งดวย ดังนั้นการสรางความเขาใจรวมกันในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาใหแกทุกฝายที่เกี่ยวของจึงเปนประเด็นที่จําเปนอยางยิ่งคูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เลมนี้ไดนําแนวทางการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในของสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)ที่ปรับปรุงใหม (เมษายน 2550) ผสมผสานเชื่อมโยงกับกรอบในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก และแนวทางการรับรองผลการปฏิบัติราชการ เพื่อใหผูปฏิบัติดําเนินการไดทั้ง 3 สวนพรอมกัน โดยมีจุดมุงหมายปลายทางเดียวกันคือ “<strong>คุณภาพ</strong>การดําเนิน<strong>งาน</strong>” สําหรับเนื้อหาสาระในคูมือประกอบดวย ขอมูลพื้นฐานตางๆของมหาวิทยาลัย กฎหมายที่เกี่ยวของกับการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา องคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมิน และแนวทางในการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน ซึ่งแนวทางการประเมินเหลานี้ไดผานกระบวนการที่ใหทุกฝายที่เกี่ยวของมีสวนรวมในการกําหนดสาระและแนวทาง อาทิ การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดประชาพิจารณ เปนตนหวังเปนอยางยิ่งวาบุคลากรที่เกี่ยวของในการดําเนิน<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาจะไดดําเนินการตามรายละเอียดในคูมือฉบับนี้ และบรรลุผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาตามที่ตั้งวัตถุประสงคไวทุกประการรองศาสตราจารย ดร.สุพล วุฒิเสนอธิการบดี


สารบัญหนาคํานําสารบัญบทที่ 1 ประวัติความเปนมาและสภาพปจจุบัน- ประวัติความเปนมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 3- การบริหารจัดการของมหาวิทยาลัย 6- ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจและคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัย 6- คณะกรรมการบริหาร<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัย 8- คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย 8- คณะกรรมการอํานวยการมหาวิทยาลัย 9บทที่ 2 การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา- ความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษากับการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> 15- การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาที่เปนผลมาจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 16- การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน 18- ความสัมพันธระหวางการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในและการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก 24บทที่ 3 องคประกอบและตัวบงชี้การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน- องคประกอบและตัวบงชี้การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน 28- องคประกอบและตัวบงชี้การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายในของแตละหนวย<strong>งาน</strong> 31บทที่ 4 รายละเอียด คําอธิบาย และเกณฑการประเมิน- องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการ 39- องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน 43- องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 58- องคประกอบที่ 4 การวิจัย 62- องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 69- องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 74- องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 78- องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ 92- องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> 96


สารบัญ (ตอ)หนาบทที่ 5 นิยามศัพทเฉพาะ- นิยามศัพทเฉพาะ 103บทที่ 6 แนวทางในการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน- การเตรียมการของหนวย<strong>งาน</strong>กอนการตรวจเยี่ยมของผูประเมิน 115- การดําเนินการระหวางการตรวจเยี่ยมเพื่อประเมิน<strong>คุณภาพ</strong> 117- การดําเนินการภายหลังการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong> 118ภาคผนวก- คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา


ความเปนมาและสภาพปจจุบันคูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3ประวัติความเปนมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เปนสถาบันการศึกษาที่ไดกอตั้งมาครบ 108 ป ใน พ.ศ.2547 สถาบันการศึกษาอันมีชื่อวา“บานสมเด็จเจาพระยา”เกิดจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ที่จะตั้งโรงเรียนแบบพับลิกสคูลของอังกฤษ โดยโปรดใหจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการเรื่องนี้มีพระยาภาสกรวงศเสนาบดีกระทรวงธรรมการเปนประธานที่ประชุมเห็นวา จวนของสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ(ชวง บุนนาค) ซึ่งพระยาสีหราชเดโชชัย หลานปูของสมเด็จเจาพระยาฯไดนอมเกลาถวายไวตั้งแตป พ.ศ.2433 เปนที่กวางขวางใหญโตเห็นสมควรจัดตั้งเปนโรงเรียนใหชื่อวา “โรงเรียนราชวิทยาลัย” เปดเรียนตั้งแตวันที่ 17 มีนาคม 2439ชาวบานนิยมเรียกวา “โรงเรียนฟากขะโนน” หรือ “โรงเรียนบานสมเด็จเจาพระยา” ตราของโรงเรียนเปนรูปจุฬมงกุฎ การแตงกายนุงผาสีฟาครามแก เสื้อขาว มีนายเอ ซี คารเตอรเปนอาจารยใหญครั้นตอมาการศึกษาขยายตัวขึ้นเปนลําดับทําใหสถานที่คับแคบลง โรงเรียนราชวิทยาลัยจึงยายไปอยูที่ตําบลไผสิงโต ปทุมวัน ขางวังสระประทุมจวนของสมเด็จเจาพระยาฯ ก็วางลงในขณะนั้นการศึกษาระหวางหัวเมืองกับกรุงเทพฯ เหลื่อมล้ํากันมากเนื่องจาก<strong>คุณภาพ</strong>ของครูแตกตางกัน กระทรวงธรรมการจึงไดจัดตั้งโรงเรียนฝกหัดครูขึ้นที่จวนของสมเด็จเจาพระยาฯ อีกครั้งหนึ่ง เรียกวา “โรงเรียนฝกหัดครูฝงตะวันตก” สําหรับผลิตครูที่มี<strong>คุณภาพ</strong>เพื่อสอนในหัวเมือง เริ่มเปดสอนเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2446 มีหลวงบําเหน็จวรญาณเปนอาจารยใหญการจัดการศึกษาฝกหัดครูระยะนั้น ไดขยายตัวออกไปยังตางจังหวัดมากขึ้น จึงทําใหความจําเปนที่จะสงนักเรียนมาเรียนในกรุงเทพฯที่บานสมเด็จเจาพระยานอยลง ทางราชการเห็นวาการฝกหัดครูที่มีอยูเดิมจะใหไดประโยชนอยางสูง ควรจัดเปนโรงเรียนประจํา จึงใหยายโรงเรียนฝกหัดอาจารยเทพศิรินทร ซึ่งเปนนักเรียนกลางวันมาอยูที่โรงเรียนฝกหัดครูฝงตะวันตกแลวเรียกชื่อใหมวา “โรงเรียนฝกหัดอาจารยตะวันตก”เมื่อ พ.ศ.2449 มีขุนวิเทศดรุณกิจเปนอาจารยใหญ และตอมาเรียกวา “โรงเรียนฝกหัดอาจารยบานสมเด็จเจาพระยา”การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


4คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาพ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดโปรดเกลาฯ ใหโรงเรียนฝกหัดอาจารยบานสมเด็จเจาพระยา ไปสังกัดเปนแผนกหนึ่งในโรงเรียนขาราชการพลเรือน (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในปจจุบัน) แตยังตั้งอยูที่เดิม จนถึงป พ.ศ. 2458 จึงไดยายโรงเรียนไปอยูที่วังใหม (กรีฑาสถานแหงชาติในปจจุบัน) ทําให “จวน” วางลงอีกครั้งหนึ่งทางราชการจึงไดจัดตั้งโรงเรียนมัธยมขึ้น ณ จวนสมเด็จเจาพระยาฯขึ้นใหม เรียกวา “โรงเรียนมัธยมบานสมเด็จเจาพระยา” เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2458 รับนักเรียนประจําโดยมีโรงเรียนใกลเคียงเขารวมเปนสาขาของโรงเรียนแหงนี้ไดแก โรงเรียนมัธยมวัดอนงค โรงเรียนสุขุมาลัย(ตั้งอยูบริเวณวัดพิชัยญาติ) และโรงเรียนประถมวัดอนงค มีพระยาประมวลวิชาพูลเปนอาจารยใหญโรงเรียนมัธยมบานสมเด็จเจาพระยา เปนโรงเรียนที่มีชื่อเสียงมา ตั้งแตอดีต มีสีประจําโรงเรียน คือ มวงและขาว อักษรยอของโรงเรียนคือบ.ส. มีคติพจนประจําโรงเรียนคือ “สจจํ เว อมตา วาจา” และตราประจําโรงเรียนคือรูปเสมาสุริยมณฑล เพื่อเปนเกียรติแดสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ สัญลักษณที่กลาวมานี้เปนรากฐานที่สําคัญของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาจนถึงปจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2473 ทางราชการไดสรางสะพานปฐมบรมราชานุสรณ(สะพานพุทธ) และไดตัดถนนผานโรงเรียนมัธยมบานสมเด็จเจาพระยากระทรวงพระคลังมหาสมบัติ จึงมอบที่ดินบริเวณตําบลบางไสไกและตอนใตของโรงเรียนศึกษานารีเดิม เพื่อสรางหอนอนและโรงเรียน และไดยายนักเรียนมาอยู ณ ที่แหงใหมนี้ตั้งแต พ.ศ.2475 ซึ่งเปนสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาในปจจุบัน ขณะนั้นมีการศึกษาถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.7-ม.8)ในพ.ศ. 2484 กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายผลิตครูเพิ่มขึ้นจึงใหเปดสอนแผนกฝกหัดครูอีกแผนกหนึ่งที่โรงเรียนมัธยมบานสมเด็จเจาพระยา มีชื่อวา “โรงเรียนฝกหัดครูบานสมเด็จเจาพระยา” คูกับโรงเรียนมัธยมบานสมเด็จเจาพระยา แผนกฝกหัดครูแหงนี้เปดรับนักเรียนทุนของจังหวัดที่สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 และไดเปดสอนหลักสูตรครูประถม (ป.ป.) เปนโรงเรียนประจํา ตอมาในพ.ศ.2499 ไดยุบหลักสูตรดังกลาว และไดเปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง)การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาพ.ศ. 2501 โรงเรียนฝกหัดครูบานสมเด็จเจาพระยา ไดรับการยกฐานะเปนวิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา สวนโรงเรียนมัธยมบานสมเด็จเจาพระยาไดเปลี่ยนชื่อเปน โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยาวิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา ไดขยายการจัดการศึกษาเพื่อผลิตครูมาเปนลําดับ ใน พ.ศ. 2516ไดเปดสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรประโยคอุดมศึกษา ตอมาใน พ.ศ.2518 กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา มีการเปดสอนระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการศึกษา (ค.บ.) จนกระทั่ง พ.ศ. 2527 จึงไดเปดสอนระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการอื่นเพิ่มขึ้น ไดแก สาขาวิชาวิทยาศาสตร (วท.บ.) และสาขาวิชาศิลปศาสตร (ศศ.บ.) และยังไดเปดสอนระดับอนุปริญญา หลักสูตร 2 ปนับเปนการขยายการศึกษาในระดับอุดมศึกษาอยางกวางขวางในปเดียวกันนี้วิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยาไดรวมกลุมกับวิทยาลัยครูกลุมนครหลวง 6 แหงภายใตชื่อ “สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร”วันที่ 14 กุมภาพันธ 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯพระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” พรอมกับพระราชทานตราพระราชลัญจกรประจําพระองคใหเปนตราเครื่องหมายของสถาบันราชภัฏนับเปนพระมหากรุณาธิคุณลนเกลาฯ ชาว “ราชภัฏ” ทุกคนตระหนักในพระราชปณิธานขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่มุงหวังใหสถาบันราชภัฏ เปนที่พึ่ง เปนผูนําในทางปญญาใหกับประชาชนและทองถิ่น และผลจากพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2538 ทําใหสถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตองปฏิบัติภารกิจในฐานะอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาทองถิ่น ทําหนาที่ใหบริการวิชาการโดยมีจุดมุงหมายในการสรางและพัฒนาคนใหมีความรูทางวิชาการ พัฒนาคนใหมีความสามารถ ในการประกอบอาชีพพรอมๆกับการสรางองคความรูที่ยังประโยชนในเชิงวิชาการ และนําไปใชในการพัฒนาทองถิ่น สังคมและประเทศชาติจวบจนในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2547 สถาบันราชภัฏทั้ง 41 แหง ตางปติกันถวนหนา ดวยเปนพระราชวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏขึ้นแทนสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2547 ขึ้นยังความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิไดในครั้งนี้ และจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลใหมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาไดออกขอบังคับ และนํากฎหมายลูกเขาสูสภามหาวิทยาลัยอยางตอเนื่องเพื่อใหสอดคลองกับสาระสําคัญในพระราชบัญญัติฯ ดังกลาว5การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


6คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจและคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยปรัชญา คติพจน และคําขวัญปณิธาณปรัชญาคติพจนคําขวัญ“สรางองคความรูระดับสากล ขยายผลสูทองถิ่นและนานาชาติ”“World’s Local University”“สจจํ เว อมตา วาจา”•“มิติใหมดานการศึกษา นําหนาดวย<strong>คุณภาพ</strong><strong>ประกัน</strong>ความสําเร็จ ที่บานสมเด็จเจาพระยา”มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา มุงมั่นที่จะเปนแหลงคนควา สะสม พัฒนาองคความรูทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อผลิตบัณฑิตใหเพียบพรอมดวยสติปญญา มีความรู คุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม และประเทศชาติวิสัยทัศน1. มี<strong>คุณภาพ</strong>ทางการศึกษา2. มีการบริหารจัดการอยางโปรงใส และมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล3. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู4. ระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่ผานการประเมินโดยองคกรภายนอก5. มีสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู และ<strong>คุณภาพ</strong>ชีวิตที่ดี6. เปนผูนําทางวิชาการเพื่อการพัฒนาชุมชน7. มีการขยายวิทยาเขต เพื่อใหโอกาสทางการเรียนรูแกสังคมการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เปนสถาบันอุดมศึกษาที่ทําหนาที่ ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการแกสังคม ทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ปรับปรุงและถายทอดเทคโนโลยี สงเสริม และพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>ครูอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม7คุณลักษณะของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา จะตองเปนที่ยอมรับของสังคม เทียบไดกับมาตรฐานสากล มีความเปนผูใฝรู คิดเปน ทําเปน มีคุณธรรม จริยธรรม และรับผิดชอบตอสังคม เปนที่พึ่งทางวิชาการแกชุมชนและสังคมการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


8คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาคณะกรรมการบริหาร<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัย1. คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา1. ศาสตราจารย ดร. พรชัย มาตังคสมบัติ2. ศาสตราจารย ดร. สายหยุด จําปาทอง3. รองศาสตราจารย ดร. สุพล วุฒิเสน4. ศาสตราจารย ดร. ไพฑูรย สินลารัตน5. ศาสตราจารย ดร. พจน สะเพียรชัย6. ศาสตราจารย นพ.พยงค จูฑา7. ดร.สุชาติ เมืองแกว8. นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ9. นายวิชิต สุวรรณรัตน10. นายเรืองชัย ทรัพยนิรันดร11. นายสมเชาว เกษประทุม12. นายดํารง พุฒตาล13. นายบัณฑูร สุภัควณิช14. รองศาสตราจารย ดร.พรพิพัฒน เพิ่มผล15. รองศาสตราจารย อนันต สกุลกิม16. ผูชวยศาสตราจารย ทองเอม สุนสวัสดิ์17. ผูชวยศาสตราจารย อุดมเดช กมลบุตร18. ผูชวยศาสตราจารย สุธน เสถียรยานนท19. ผูชวยศาสตราจารย สุพิศวง ธรรมพันทา20. อาจารยทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ21. อาจารยโฉมฉาย จั่นถาวร22. นายสุชาติ ไชยมะโน23. รองศาสตราจารยศรีมงคล เทพเรณู24. ผูชวยศาสตราจารยวัฒนา เปลี่ยนบางยางนายกสภามหาวิทยาลัยอุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรรมการสภามหาวิทยาลัยกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูทรงคุณวุฒิกรรมการผูแทนผูบริหารกรรมการผูแทนผูบริหารกรรมการผูแทนผูบริหารกรรมการผูแทนผูบริหารกรรมการผูแทนคณาจารยกรรมการผูแทนคณาจารยกรรมการผูแทนคณาจารยกรรมการผูแทนคณาจารยประธานกรรมการสงเสริมกิจการฯประธานสภาคณาจารยเลขานุการสภามหาวิทยาลัยการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา2. คณะกรรมการอํานวยการมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา1.2.3.4.5.6.7.8.9.10.11.12.13.14.15.16.17.18.19.20.21.22.23.24.25.รองศาสตราจารย ดร. สุพล วุฒิเสนรองศาสตราจารย สมชาย พรหมสุวรรณรองศาสตราจารย ดร.เอื้อมพร เธียรหิรัญผูชวยศาสตราจารย วัฒนา เปลี่ยนบางยางผูชวยศาสตราจารย อุดมเดช กมลบุตรผูชวยศาสตราจารยนิพนธ เฮงสมบูรณผูชวยศาสตราจารย ทองเอม สุนสวัสดิ์ผูชวยศาสตราจารย ดร.จันทรวิภา ดิลกสัมพันธผูชวยศาสตราจารย ดร. วิโฬฏฐ วัฒนานิมิตกูลดร. สุดารัตน ชาญเลขารองศาสตราจารย ดร.พรพิพัฒน เพิ่มผลผูชวยศาสตราจารยลินดา เกณฑมารองศาสตราจารย เกริก วยัคฆานนทรองศาสตราจารยสุธน เสถียรยานนทรองศาสตราจารยนลินี เสาวภาคยผูชวยศาสตราจารยสมชาย รัศมีรองศาสตราจารยมุกดา พิภพลาภอนันตผูชวยศาสตราจารย ดร. สรายุทธ เศรษฐขจรผูชวยศาสตราจารยชลิต วณิชยานันตอาจารยมนตฤดี วัชรประทีปผูชวยศาสตราจารยลาวัลย ฟุงขจรอาจารยศิริกาญจน โพธิ์เขียวอาจารยพิษณุ บางเขียวอาจารยอาภา วรรณฉวีนางสาวประจวบ สุระวิโรจนอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีรองอธิการบดีคณบดีคณะครุศาสตรคณบดีคณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตรคณบดีคณะวิทยาการจัดการคณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีผูชวยอธิการบดีผูชวยอธิการบดีผูชวยอธิการบดีผูชวยอธิการบดีผูชวยอธิการบดีผูชวยอธิการบดีผูอํานวยการสํานักสงเสริมวิชาการและ<strong>งาน</strong>ทะเบียนผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศผูอํานวยการสํานักศิลปะและวัฒนธรรมผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาเลขานุการ9การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


10คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาอาคารสถานที่มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา มีพื้นที่จํานวน 40 ไร 3 <strong>งาน</strong> 39 ตารางวา ตั้งอยูที่ 1061ถนนอิสรภาพ 15 แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10600 และมีวิทยาเขตตั้งอยูณ ตําบลสระยายโสม อําเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี มีพื้นที่ 188 ไร 2 <strong>งาน</strong> 58 ตารางวา โดยมีอาคารเรียนและอาคารประกอบ ดังนี้ชื่ออาคารลักษณะของอาคารปที่กอสรางการใชพื้นที่ (ระบุจํานวนหองและพื้นที่หนวยตารางเมตร)การเรียนการสอนการบริหารและอื่นๆหมายเหตุหองเรียน หองทั่วไป ปฏิบัติการอาคาร 1 หองเกียรติยศ คสล.3 ชั้น 2475 - - - (864.00 ตร.ม.)อาคาร 2 คณะมนุษยศาสตรและ คสล.4 ชั้น 2515 13 3 - (3,884.00 ตร.ม.)สังคมศาสตรอาคาร 3 สํานักกิจการนักศึกษา คสล.4 ชั้น 2513 14 6 - (3,860.00 ตร.ม.)อาคาร 4 คณะวิทยาศาสตรและ คสล.4 ชั้น 2521 - 11 - (2,049.00 ตร.ม.)เทคโนโลยีอาคาร 5 สํานักสงเสริมวิชาการ คสล.4 ชั้น 2521 - 4 - (2,208.00 ตร.ม.)อาคาร 6 อาคาร 100 ป ศรีสุริยวงศ คสล.15 ชั้น 2536 19 8 - (10,245.00 ตร.ม.)อาคาร 7 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คสล.15ชั้น 2541 33 13 - (14,648.00 ตร.ม.)อาคาร 8 อาคารบรรณราชนครินทร คสล.8 ชั้น 2544 - - 158 (8,709.75 ตร.ม.)อาคาร 9 อาคารศูนยวิทยาศาสตร และ คสล.9 ชั้น 2546 - - 154 -วิทยาศาสตรประยุกต 9 ชั้นอาคาร 10 โปรแกรมวิชานาฏศิลป ไม 2 ชั้น 2511 3 7 - (1,890.00 ตร.ม.)อาคาร 11 สมาคมศิษยเกาฯ คสล.2 ชั้น 2514 - - 7 หองจัดเลี้ยง,หองประชุมอาคาร 12 โรงอาหารใหญ - 2523 - - - (1,540.00 ตร.ม.)อาคาร 13 โปรแกรมวิชาคหกรรม คสล.2 ชั้น 2521 - 4 - (440.00 ตร.ม.)อาคาร 15 อาคารวายน้ํา คสล.2 ชั้น 2532 - - - (1,540.00 ตร.ม.)อาคาร 16 อาคารศูนยศิลปวัฒนธรรม คสล.2 ชั้น 2475 - - - (1,308.00 ตร.ม.)อาคาร 17 อาคารอุตสาหกรรมศิลป คสล.ชั้น 2514 - 5 - (1,121.00 ตร.ม.)เดียวอาคาร 18 โรงเรียนมัธยมสาธิต คสล. 2500 12 - - (1,491.00 ตร.ม.)อาคาร 20 อาคารวิทยาศาสตรใหม คสล.4 ชั้น 2534 - 7 - (2,202.00 ตร.ม.)อาคาร 21 อาคารศีตลาคาร คสล.5 ชั้น 2545 - - 52 (7,200.00 ตร.ม.)อาคาร 22 อาคารชอชงโค คสล.4 ชั้น 2533 3 - - -การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


ชื่ออาคารลักษณะของอาคารปที่กอสรางคูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาการใชพื้นที่ (ระบุจํานวนหองและพื้นที่หนวยตารางเมตร)การเรียนการสอนการบริหารและอื่นๆหมายเหตุหองเรียน หองทั่วไป ปฏิบัติการ2540 - 4 - (432.00 ตร.ม.)อาคาร 23 อาคารเรียนชั่วคราว คสล.ชั้นเดียวอาคาร 24 โปรแกรมเกษตรศาสตร คสล.2 ชั้น 2529 - 4 - (1,044.00 ตร.ม.)อาคาร 25 อาคารดนตรีอนุสรณ คสล.2 ชั้น 2513 - 2 - (248.00 ตร.ม.)อาคาร 26 บานเอกะนาค คสล.2 ชั้น 2465 - - 9 (304.30 ตร.ม.)อาคาร 27 โรงยิมเนเซียม คสล.ชั้น 2524 - - - (1,344.00 ตร.ม.)เดียวอาคาร 28 โรงซอมบํารุง คสล.ชั้น 2529 - 1 - (216.00 ตร.ม.)เดียวอาคาร 29 ตึกวิเศษศุภวัตร คสล.2 ชั้น 2541 2 - - (1,140.00 ตร.ม.)อาคาร 30 คณะครุศาสตร คสล.4 ชั้น 2520 12 8 - (4,830.00 ตร.ม.)อาคาร 31 โรงเรียนประถมสาธิต คสล.6 ชั้น 2545 - - 158 (8,709.75 ตร.ม.)อาคาร 32 โรงอาหารครุศาสตร คสล.33ชั้น 2502 - - - หองโถงรับประทานอาหารอาคาร 33 อาคารลูกเสือ คสล.4 ชั้น 2529 - 1 - -อาคาร 34 บานพักอาจารย คสล.2 ชั้น - - - - -อาคารเรียน 3 ชั้น วิทยาเขตสระยายโสม คสล.3 ชั้น 2545 - - 17 -11การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...กลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษาบทที่ 2การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในระดับอุดมศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา151. ความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษากับการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ใน หมวด 5ที่วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 31 ไดกําหนดใหกระทรวงศึกษาธิการมี อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กําหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษาโดยในมาตรา 34 ไดกําหนดใหคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่ พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ ดังนั้น เพื่อใหเปนไปตามที่กําหนดไวใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฯ คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดจัดทํามาตรฐานการอุดมศึกษา เพื่อใชเปนกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษาและระดับหนวย<strong>งาน</strong> เพื่อนําไปสูการกําหนดนโยบายของสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนาการอุดมศึกษาตอไป มาตรฐานการอุดมศึกษาฉบับนี้ ไดใชมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เปรียบเสมือนรมใหญเปนกรอบในการพัฒนา โดยมีสาระสําคัญที่ครอบคลุมเปาหมายและหลักของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยและเปนมาตรฐานที่คํานึงถึงความหลากหลายของกลุมหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหทุกสถาบันสามารถนําไปใชกําหนดพันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ไดมาตรฐานการอุดมศึกษาที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549ประกอบดวยมาตรฐาน 3 ดาน ไดแก มาตรฐานดาน<strong>คุณภาพ</strong>บัณฑิต มาตรฐานดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา และมาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู มาตรฐานยอยทั้ง 3 ดานนี้ อยูในมาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบดวยมาตรฐานยอย 3 มาตรฐาน เชนกัน คือมาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสรางสังคมแหงการเรียนรู/สังคมแหงความรู แตละมาตรฐานยอยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคลองและสัมพันธกับ มาตรฐานยอยของ มาตรฐานการศึกษาของชาติเพื่อใหการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานการศึกษาบรรลุตามจุดมุงหมาย และหลักการของการจัดการศึกษาของชาตินอกจากมาตรฐานการอุดมศึกษาแลว คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทําเกณฑ มาตรฐานอื่น ๆที่สงเสริมความเปนอิสระและความเปนเลิศของสถาบันอุดมศึกษา อาทิ เกณฑมาตรฐาน หลักสูตรระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑการขอเปดและดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบ การศึกษาทางไกลเพื่อสงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาไดพัฒนาดานวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>และยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหมีความทัดเทียมกันและพัฒนาสูสากล ซึ่งทําใหสถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางยืดหยุน คลองตัว และตอเนื่องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจนสะทอนใหเห็นถึงมาตรฐาน<strong>คุณภาพ</strong>การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


16 คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเพื่อใหการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท มี<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานตามที่กําหนดพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฯ ในหมวด 6 จึงไดกําหนดใหมีระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาซึ่งประกอบดวยระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในและระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการศึกษา การพัฒนาระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในระดับอุดมศึกษาไดคํานึงถึงมาตรฐานการศึกษาของชาติและมาตรฐานการอุดมศึกษาเปนแนวทางในการพัฒนาตัวบงชี้ภายใต องคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong> 9 ดานที่กําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการ<strong>ประกัน</strong> <strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถาบันระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 ทั้งยังสัมพันธกับมาตรฐานและหลักเกณฑ ที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาอื่น ๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา โดยมุงเปาหมายไปยังการพัฒนาผลผลิตทางการศึกษาใหมี<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานตามที่คาดหวัง ความเชื่อมโยงระหวาง มาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑที่เกี่ยวของและการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาสามารถ แสดงในแผนภาพ ในรูปที่ 1มาตรฐานการศึกษาของชาติมาตรฐานที่ 1คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงคทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลกมาตรฐานที่ 2แนวทางการจัดการศึกษามาตรฐานที่ 3แนวการสรางสังคมแหงการเรียนรู/สังคมแหงความรูมาตรฐานการอุดมศึกษามาตรฐานดาน<strong>คุณภาพ</strong>บัณฑิตมาตรฐานดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษามาตรฐานดานการสรางและการพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรูหลักเกณฑกํากับมาตรฐานรวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน ภายใตตัวบงชี้ตามองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong> 9 ดานผลผลิตทางการศึกษาที่ได<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานแผนภาพที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษาและการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>2. การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาที่เปนผลมาจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ไดกําหนดจุดมุงหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่มุงเนน<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐาน โดยกําหนดรายละเอียดไวในหมวด 6 มาตรฐานและการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา ซึ่งประกอบดวย “ระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน” และการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา“ระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก” เพื่อใชเปนกลไกในการผดุงรักษา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน เปนการสรางระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบและประเมินการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสถานศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมายและระดับ<strong>คุณภาพ</strong>ตามมาตรฐานที่กําหนดโดยสถานศึกษาและ/หรือหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัด โดยหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดและสถานศึกษากําหนดใหมีระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในสถานศึกษาและใหถือวาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง มีการจัดทําราย<strong>งาน</strong>การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาระดับอุดมศึกษาประจําปเสนอตอหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัด หนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของและเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อนําไปสูการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก เปนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดย “สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)”หรือเรียกชื่อยอวา “สมศ.” พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545ไดกําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงตองไดรับการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก อยางนอย 1 ครั้ง ในทุกรอบ 5 ปนับตั้งแตการประเมินครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอ หนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของและสาธารณชน สมศ.ไดดําเนินการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544-2548) เสร็จสิ้นไปแลว ปจจุบันอยูระหวางประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกรอบที่สอง (พ.ศ.2549-2553) การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกรอบที่สองมีความแตกตางที่สําคัญจากการประเมินรอบแรก 3 ประการ ประการแรก เปนการประเมินทั้งระดับสถาบันและกลุมสาขาวิชาประการที่สอง เปนการประเมินตาม จุดเนนของสถาบันวาสถาบันจะเลือกเนนดานการวิจัย หรือพัฒนาสังคมหรือพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรมหรือจะเลือกเนนเฉพาะการผลิตบัณฑิต ทั้งนี้ ไดมีการกําหนดตัวบงชี้เฉพาะจํานวนหนึ่งที่สถาบันจะตองถูกประเมินตามจุดเนนนอกเหนือจากตัวบงชี้รวม ประการที่สามการประเมินภายนอกรอบที่สองเปนการประเมินเพื่อรับรองมาตรฐาน<strong>คุณภาพ</strong>ทั้งระดับสถาบันและกลุมสาขาวิชานั่นหมายถึงทุกตัวบงชี้จําเปนตองมีเกณฑกํากับเพื่อตัดสิน<strong>คุณภาพ</strong>วาผานการรับรองตามมาตรฐาน<strong>คุณภาพ</strong>หรือ ผานการรับรองแบบมีเงื่อนไข หรือไมผานการรับรองรูปแบบและวิธีการดําเนินการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกจะเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดโดยสํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน) โดยมีหลักการสําคัญ 5 ประการดังตอไปนี้1. เปนการประเมินเพื่อมุงใหมีการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา ไมไดมุงเนนเรื่องการตัดสินการจับผิด หรือการใหคุณ – ใหโทษ2. ยึดหลักความเที่ยงตรง เปนธรรม โปรงใส มีหลักฐานขอมูลตามสภาพความเปนจริง (evidence– based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (accountability)3. มุงเนนในเรื่องการสงเสริมและประสาน<strong>งาน</strong>ในลักษณะกัลยาณมิตรมากกวาการกํากับควบคุม4. สงเสริมการมีสวนรวมในการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>และการพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝายที่เกี่ยวของ17การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


18คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา5. มุงสรางความสมดุลระหวางเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุงหมายและหลักการศึกษาของชาติตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ใหเอกภาพเชิงนโยบาย แตยังคงมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ โดยสถาบันสามารถกําหนดเปาหมายเฉพาะและพัฒนา <strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาใหเต็มตามศักยภาพของสถาบันและผูเรียน3. การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสาระสําคัญที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2)พ.ศ.2545 คือ การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในจะดําเนินการโดยบุคลากรของสถานศึกษารวมกับ หนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดที่มีหนาที่กํากับดูแลสถานศึกษา ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ.2546 และกฎกระทรวงแบงสวนราชการกําหนดใหสํานัก<strong>งาน</strong> คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษา ที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายที่เกี่ยวของ สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหนาที่รวมกับสถานศึกษาในการจัดใหมีระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานการศึกษาอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตามกอนมีพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ทบวงมหาวิทยาลัยก็ไดตระหนักดีถึงความสําคัญของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาโดยไดจัดทําประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง นโยบายและแนวปฏิบัติ ในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาระดับอุดมศึกษา มาตั้งแต ป พ.ศ. 2539 เพื่อเปนแนวทางในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา โดยอยูภายใตหลักการสําคัญสามประการ คือ การใหเสรีภาพ ทางวิชาการ(Academic Freedom) ความมีอิสระในการดําเนินการของสถาบัน (Institutional Autonomy) และความพรอมของสถาบันที่จะรับการตรวจสอบ<strong>คุณภาพ</strong>จากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได(Accountability)3.1 กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546หลังจากที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มีผลบังคับใช สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม)ในฐานะหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดที่ทําหนาที่กํากับดูแล สถาบันอุดมศึกษาไดเสนอระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติฉบับดังกลาว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2543 ไดมีมติเห็นชอบกับระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซึ่งตอมาไดจัดทําเปนประกาศเรื่องระบบ หลักเกณฑและ วิธีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2545 เพื่อใชเปนแนวปฏิบัติ สาระสําคัญของประกาศฉบับนี้ระบุใหทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและสงเสริมสถาบันอุดมศึกษาจัดทําระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาใหมีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งใหมีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานการศึกษาของ สถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรือโดยหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดที่มีหนาที่กํากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>จากภายนอก รวมถึงสนับสนุนใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในระดับอุดมศึกษาขึ้นในแตละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษาเพื่อกําหนดนโยบาย หลักเกณฑแนวทาง วิธีการตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในของแตละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษาหลังจากดําเนินการตามประกาศฉบับป พ.ศ.2545 ไประยะหนึ่ง สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดจัดทํากฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสอง โดยสาระสําคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ยังคงไวตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯฉบับ พ.ศ.2545 แตไดเพิ่มเติมใหมี คณะกรรมการชุดหนึ่ง คือ คณะกรรมการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา เรียกโดยยอวา “ ค.ป.ภ.” ซึ่งแตงตั้งโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการโดยมีเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเปนประธาน ผูทรงคุณวุฒิสาขาวิชาตาง ๆ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการแตงตั้งโดยคําแนะนําของคณะกรรมการการอุดมศึกษาจํานวนไมเกินเกาคนเปนกรรมการใหผูอํานวยการสํานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ ค. ป.ภ. มีหนาที่กําหนดนโยบาย หลักเกณฑและแนวปฏิบัติตาง ๆ เพื่อสงเสริม สนับสนุน พัฒนาการ ดําเนิน<strong>งาน</strong>เกี่ยวกับการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในระดับอุดมศึกษา วางระเบียบ ออกขอบังคับและ ประกาศที่เกี่ยวของกับมาตรฐานในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ตลอดจนมีหนาที่เสนอแนะวิธีการตรวจสอบและประเมินผลระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน ของแตละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาและคณะวิชา และหนาที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวของตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย3.1.1 หลักเกณฑการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในหลักเกณฑการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน ที่ระบุในกฏกระทรวงใหพิจารณาจากประเด็นตอไปนี้1) ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของคณะวิชา/สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา จะคํานึงถึงองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ใชเปนแนวทางในการควบคุมการตรวจสอบ และประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาทั้ง 9 ดาน คือ (1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ (2) การเรียนการสอน (3) กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา (4) การวิจัย (5) การบริการทางวิชาการแกสังคม (6) การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ(9) ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ทั้งนี้ ใหคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา จัดทําราย<strong>งาน</strong>การศึกษาตนเอง(Self - Study Report) ที่ครอบคลุมการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาที่คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษากําหนดเพื่อรองรับการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในและภายนอก19การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


20คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา2) ผลการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบ และกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่กําหนดไว3) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามระบบและกลไกการ <strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่สงผลตอ<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาตามตัวบงชี้<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา3.1.2 วิธีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในวิธีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงใหใชแนวปฏิบัติดังนี้1) ใหคณะวิชา/สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดใหมีหนวย<strong>งาน</strong>หรือคณะกรรมการที่รับผิดชอบการดําเนินการดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ขึ้น โดยมีหนาที่พัฒนา บริหารและติดตามการดําเนินการดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษา ตลอดจนประสานกับ หนวย<strong>งาน</strong>ภายนอก เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการจัดการศึกษาระดับตาง ๆ จะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ2) ใหคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พัฒนาระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในของสถานศึกษา เพื่อใชกํากับ ตรวจสอบ และประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาใหมีประสิทธิภาพภายใตกรอบนโยบายและหลักการที่สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด3) ใหคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดใหมีระบบและกลไก ควบคุม<strong>คุณภาพ</strong>ขององคประกอบตางๆ ที่ใชในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชา ตาง ๆ (2) คณาจารยและระบบการพัฒนาคณาจารย (3) สื่อการศึกษาและเทคนิคการสอน (4) หองสมุด และแหลงการเรียนรูอื่น(5) อุปกรณการศึกษาตาง ๆ (6) สภาพแวดลอมในการเรียนรูและบริการ การศึกษา(7) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา (8) องคประกอบอื่นตามที่ แตละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควรทั้งนี้ แตละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอาจจัดใหมีระบบการตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินการขึ้นเปนการภายในไดตามที่จะเห็นสมควร โดยสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา สงเสริมและสนับสนุนใหมีการพัฒนาดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา ในระดับคณะวิชาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอยางตอเนื่อง3.1.3 การราย<strong>งาน</strong>ผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตองดําเนินการอยางมีระบบและตอเนื่อง สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตองจัดทําราย<strong>งาน</strong>การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาระดับอุดมศึกษาประจําป (ซึ่งอาจใชราย<strong>งาน</strong>การศึกษาตนเองที่สถานศึกษาจัดทําไวแลว) เสนอตอสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใน 120 วันนับจากวันสิ้นปการศึกษาของแตละสถานศึกษาและเปดเผยตอสาธารณชน โดยใหสอดคลองกับเจตนารมณและแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.25453.2 ความจําเปนและวัตถุประสงคของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะตองปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การจัดการเรียนการสอน การวิจัยการใหบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การดําเนินการตาม ภารกิจทั้ง 4 ประการดังกลาว มีความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ประกอบกับมีปจจัยภายนอกและการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาภายในหลายประการที่ทําใหการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาเปนสิ่งจําเปนที่จะตองเรงดําเนินการ ปจจัยดังกลาวประกอบดวยรายละเอียดตอไปนี้1) <strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิต มีแนวโนมที่จะมีความแตกตางกันมากขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิดผลเสียแกประเทศไทยโดยสวนรวมในระยะยาว2) มีการแขงขันกันในเชิง<strong>คุณภาพ</strong>ของการจัดการศึกษาและ<strong>คุณภาพ</strong>ของบัณฑิตในวงการอุดมศึกษาทั้งภายในประเทศและนอกประเทศมากขึ้น3) สถาบันอุดมศึกษามีความจําเปนที่จะตองมีการพัฒนาองคความรูใหเปนสากล เพื่อใหไดรับการยอมรับจากนานาชาติมากขึ้น4) สถาบันอุดมศึกษามีความจําเปนที่จะตองสรางความมั่นใจใหแกสังคมวาสามารถผลิตบัณฑิตที่มี<strong>คุณภาพ</strong>5) สถาบันอุดมศึกษาจะตองใหขอมูลสาธารณะ (public information) ที่เปนประโยชนตอนักศึกษา ผูจาง<strong>งาน</strong> ผูปกครอง รัฐบาล และประชาชนทั่วไป6) สังคมตองการระบบอุดมศึกษาที่มีความโปรงใส (transparency) และความรับผิดชอบซึ่งตรวจสอบได (accountability)7) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงจัดใหมีระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน รวมถึงใหมีสํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาทําหนาที่ประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา8) คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2547 ไดใหความเห็นชอบมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เสนอโดยสภาการศึกษา และใหหนวย<strong>งาน</strong>ดานการศึกษาทุกระดับนําไปเปนแนวทางปฏิบัติในการจัดการศึกษา9) คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใชมาตรฐานการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2549เพื่อเปนกลไกกํากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหนวย<strong>งาน</strong>โดยทุกหนวย<strong>งาน</strong>ระดับอุดมศึกษาจะไดใชเปนกรอบการดําเนิน<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาดวยความจําเปนดังกลาวสถาบันอุดมศึกษารวมกับตนสังกัดจึงจําเปนตองพัฒนาระบบ และกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในโดยมีวัตถุประสงคดังนี้1) เพื่อตรวจสอบและประเมินการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของคณะวิชา หนวย<strong>งาน</strong>และ สถาบันอุดมศึกษาในภาพรวมตามระบบ<strong>คุณภาพ</strong>และกลไกที่สถาบันนั้น ๆ กําหนดขึ้น โดยวิเคราะห เปรียบเทียบผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามตัวบงชี้ในทุกองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>วาเปนไปตามเกณฑและไดมาตรฐาน2) เพื่อใหคณะวิชาหรือหนวย<strong>งาน</strong>เทียบเทาในสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของตนเองอันจะนําไปสูการกําหนดแนวทางในการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>ไปสูเปาหมาย (targets) และเปาประสงค (goals) ที่ตั้งไวและเปนสากล3) เพื่อใหคณะวิชาหรือหนวย<strong>งาน</strong>เทียบเทาในสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดที่ควร ปรับปรุงตลอดจนไดรับขอเสนอแนะในการพัฒนาการดําเนิน<strong>งาน</strong>เพื่อเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ควรปรับปรุงของสถาบันอยางตอเนื่อง21การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


22คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา4) เพื่อใหขอมูลสาธารณะที่เปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทําใหมั่นใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มี<strong>คุณภาพ</strong>5) เพื่อใหหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดของสถาบันอุดมศึกษามีขอมูลพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการสงเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม3.3 ประสิทธิผลของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในเพื่อใหการดําเนินการเรื่องการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษา บรรลุผลสําเร็จและเกิดประสิทธิผล สถาบันอุดมศึกษาพึงพิจารณาปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา และการกําหนดตัวบงชี้ประสิทธิผลของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา เพื่อใชเปนสารสนเทศในการตัดสินใจดําเนินการ ปรับปรุง แกไข และพัฒนาใหการดําเนิน<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> เกิดประสิทธิผลสูงสุดกิตติยา สีออน (2547) ทําการศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษา โดยสังเคราะห<strong>งาน</strong>วิจัยทั้งในและตางประเทศ พบวา ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา ไดแก คุณลักษณะของบุคลากรดานความตระหนักถึง ความสําคัญและการมีทัศนคติที่ดีตอการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน การทํา<strong>งาน</strong>เปนทีม การฝกอบรมพัฒนา บุคลากร ความพรอมดานทรัพยากรทั้งดานจํานวนบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณและระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ โครงสรางองคกรและการกําหนดใหมีผูรับผิดชอบในการดําเนิน<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong> ภาวะผูนําของผูบริหาร และขนาดขององคกร สวนประสิทธิผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษามี 2 สวน คือ ประสิทธิผลระหวางทาง(intermediate outcome) ไดแก การบริหาร จัดการแบบกระจายอํานาจ การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การปฎิบัติ<strong>งาน</strong>แบบวงจร <strong>คุณภาพ</strong> และความพึงพอใจใน<strong>งาน</strong>ของบุคลากร สําหรับประสิทธิผลสุดทาย(end outcome or ultimate outcome) ไดแก การบรรลุพันธกิจของสถาบัน3.4 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน3.4.1 ระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>สถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่เหมาะสมสอดคลองกับ ระดับการพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเปนระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่ใชกันแพรหลายในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือเปนระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แตไมวาจะเปนระบบ<strong>คุณภาพ</strong>แบบใดจะตองมีกระบวนการทํา<strong>งาน</strong>ที่เริ่มตนจากการวางแผน การดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเปาประสงคและมีพัฒนาการอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันก็เปนหลัก<strong>ประกัน</strong>แกสาธารณชนใหมั่นใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถสราง ผลผลิตทางการศึกษาที่มี<strong>คุณภาพ</strong>3.4.2 มาตรฐาน ตัวบงชี้และเกณฑประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>มาตรฐานสําคัญที่เปนกรอบในการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสถาบันอุดมศึกษาคือ มาตรฐานการอุดมศึกษา อยางไรก็ตามในปจจุบันสถาบันอุดมศึกษาตาง ๆ ยังตองดําเนินการใหได ตามมาตรฐานและหลักเกณฑอื่น ๆ ที่เกี่ยวของอีกมาก เชน เกณฑมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานเพื่อการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติดานตาง ๆ ของสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐ เปนตนการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาดวยเหตุดังกลาวตัวบงชี้ที่พัฒนาขึ้นในทุกองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>ทั้ง 9 ดาน จึงตองสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึงประสงคตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>นั้น ๆ ไดทั้งหมด ดังนั้นในบทที่ 2 ของคูมือฉบับนี้จึงไดพัฒนาตัวบงชี้ ที่สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองใชประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน ตัวบงชี้ตลอดจนขอมูลที่ใชกํากับแตละตัว บงชี้เหลานี้จะสามารถนําไปใชไดทั้งเพื่อการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในและภายนอก โดยเฉพาะการประเมินของ สมศ. และ ก.พ.ร.นอกจากนั้นสําหรับตัวบงชี้ที่ใชประเมินกระบวนการยังไดนําเสนอ แนวปฏิบัติที่ดีและตัวอยางแนวทางการพัฒนาไวดวย ทั้งนี้ เพื่อประโยชนของสถาบันอุดมศึกษาในการ นําตัวบงชี้ดังกลาวไปใชสําหรับเกณฑการประเมินในแตละตัวบงชี้ไดกําหนดเปนเกณฑขั้นต่ํา สวนหนึ่งพัฒนาจากแนวปฏิบัติที่ดี อีกสวนหนึ่งเปนเกณฑที่กําหนดโดยสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา และหรือโดยหนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของ อาทิ สมศ. ก.พ.ร. เพื่อใหการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษามีความ สอดคลองไปในแนวทางเดียวกัน3.4.3 กลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ในดานของกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> ผูที่มีความสําคัญสงผลใหการดําเนิน<strong>งาน</strong> ประสบความสําเร็จและนําไปสูการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>อยางตอเนื่องคือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบันที่จะตองใหความสําคัญและกําหนดนโยบายการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาที่ชัดเจนและเขาใจรวมกันทุกระดับ โดยมอบหมายใหหนวย<strong>งาน</strong>หรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและกระตุนใหเกิดการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>อยางตอเนื่อง หนาที่สําคัญประการ หนึ่งของคณะกรรมการหรือหนวย<strong>งาน</strong>นี้คือการจัดระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>พรอมทั้งตัวบงชี้และเกณฑการ ประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ที่เหมาะสมสําหรับสถาบัน ระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่ใชตองสามารถเชื่อมโยงใหเกิด <strong>คุณภาพ</strong>การปฏิบัติ<strong>งาน</strong> ตั้งแตระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรือสาขาวิชา ระดับคณะไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจําเปนตองจัดทําคูมือ<strong>คุณภาพ</strong>ในแตละระดับเพื่อกํากับการดําเนิน<strong>งาน</strong> แตที่สําคัญ คณะกรรมการหรือหนวย<strong>งาน</strong>นี้ตองประสาน<strong>งาน</strong>และผลักดันใหเกิดระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพซึ่งสามารถใช<strong>งาน</strong>รวมกันไดในทุกระดับ3.4.4 ระบบฐานขอมูลและสารสนเทศเปนที่ทราบกันดีวาการวิเคราะหและวัดผลดําเนิน<strong>งาน</strong>เปนสิ่งจําเปนในกระบวนการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> การวัดและวิเคราะหผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>จะไมสามารถทําไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพหากปราศจากฐานขอมูลและสารสนเทศที่เปนจริง ถูกตองตรงกันทุกระดับตั้งแตระดับ บุคคล ภาควิชา คณะและสถาบันตลอดจนเปนขอมูลที่สามารถเรียกใชไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ดีมีประสิทธิภาพจึงเปนปจจัยสําคัญยิ่งที่จะสงผลตอความสําเร็จของการ<strong>ประกัน</strong> <strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา และสงผลตอ<strong>คุณภาพ</strong>ในทุกขั้นตอนการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตั้งแตการวางแผน การปฎิบัติ<strong>งาน</strong> ประจํา การตรวจสอบประเมินตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา23การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


24 คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา4. ความสัมพันธระหวางการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในและการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกตามมาตรา 48 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ.2545 ระบุวา “ใหหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน สถานศึกษาและใหถือวาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง ดําเนินการอยางตอเนื่อง” ในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกไววา “ใหมีสํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา มีฐานะเปนองคการ มหาชนทําหนาที่พัฒนาเกณฑ วิธีการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกและทําการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อใหมีการตรวจสอบ<strong>คุณภาพ</strong>ของสถานศึกษา”จากขอมูลขางตนจะเห็นวาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาปกติที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปจจัยที่เกี่ยวของ กับ<strong>คุณภาพ</strong> มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>เพื่อนําไปสูการพัฒนาปรับปรุง<strong>คุณภาพ</strong> อยางสม่ําเสมอดวยเหตุนี้ระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในจึงตองดูแลทั้งปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรือผลลัพธ (output/outcome) ซึ่งตางจากการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกที่เนนการ ประเมินผลการจัดการศึกษา(output/outcome) ดังนั้น ความเชื่อมโยงระหวางการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> การศึกษาภายในกับการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกจึงเปนสิ่งจําเปน โดยไดเชื่อมโยงใหเห็นจากแผนภาพที่ 2การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ของสถาบันการประเมินตนเองของสถาบันราย<strong>งาน</strong>ประจําปการตรวจเยี่ยมราย<strong>งาน</strong>ผลการประเมินการติดตามผลขอมูลปอนกลับขอมูลปอนกลับแผนภาพที่ 2 ความสัมพันธระหวางการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในกับการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกจากแผนภาพที่ 2 จะเห็นวา เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดําเนินการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในแลวจําเปนตองจัดทําราย<strong>งาน</strong>ประจําปที่เปนราย<strong>งาน</strong>การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน ซึ่งเปนผลจากการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในหรือเรียกวาราย<strong>งาน</strong>การประเมินตนเอง (Self- Assessment Report : SAR) เพื่อนําเสนอหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดและหนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของ เอกสาร ดังกลาวจะเปนเอกสารเชื่อมโยงระหวางการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในและการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก โดยสํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน) หรือ สมศ. จะนําไปใชเปนสวนหนึ่งของการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองจัดทําราย<strong>งาน</strong>การประเมินตนเองที่มีความลุมลึก สะทอนภาพที่แทจริงของสถานศึกษาในทุกองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา...วิถีการทํา<strong>งาน</strong>ปกติ


บทที่ 3องคประกอบและตัวบงชี้การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ไดพิจารณาตัวบงชี้การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษา ซึ่งสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไดพัฒนาขึ้นอยางเปนระบบมีหลักการสําคัญ 6 ประการรองรับ คือ ความครอบคลุมองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>ตามกฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546 ความสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ และมาตรฐานตางๆ ที่เกี่ยวของรวมทั้งตัวบงชี้การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกของ สมศ. และสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ความครอบคลุมมติของระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ทั้ง ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิตและผลิตภัณฑ ความสมดุลระหวางมุมมองการบริหารจัดการ4 ดาน คือดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย ดานกระบวนการภายใน ดานการเงิน และดานบุคลากรการเรียนรูและนวัตกรรม ความยืดหยุนในการเพิ่มเติมตัวบงชี้และเกณฑการประเมินตามที่สถาบันเห็นวาเหมาะสม และความแตกตางของตัวบงชี้และเกณฑตามกลุมสถาบันที่มีจุดเนนตางกัน ทั้งสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและการวิจัย ผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม ผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม และผลิตบัณฑิตอยางเดียวสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเปนมหาวิทยาลัยที่มีจุดเนนดานการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม มีตัวชี้วัดการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน ที่ตองดําเนินการโดยสรุป ดังนี้องคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong> จํานวนตัวบงชี้องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และ แผนดําเนินการ 2องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน 12องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 2องคประกอบที่ 4 การวิจัย 4องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 4องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม 3องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 9องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ 2องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> 3รวม 41<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


28คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบและตัวบงชี้การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายในสําหรับองคประกอบ และตัวบงชี้การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน ตลอดจนชนิดตัวบงชี้และชนิดของเกณฑการประเมินในแตละตัวบงชี้ มีดังนี้องคประกอบ/ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี้ ชนิดเกณฑ1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผน<strong>งาน</strong>1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนา กระบวนการ ระดับกลยุทธ แผนดําเนิน<strong>งาน</strong>และมีการกําหนดตัวบงชี้หลักเพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนใหครบทุกภารกิจ1.2 รอยละของการของบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติ<strong>งาน</strong> ที่กําหนด ผลผลิต ปริมาณ2. การเรียนการสอน2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร กระบวนการ ระดับ2.2 มีกระบวนการเรียนรู ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ กระบวนการ ระดับ2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียน กระบวนการ ระดับการสอนซึ่งบุคคล องคกร องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา ปจจัยนําเขา ปริมาณ2.5 สัดสวนของอาจารย ประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญา ปจจัยนําเขา ปริมาณเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา2.6 สัดสวนของอาจารย ประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตรา ปจจัยนําเขา ปริมาณจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย กระบวนการ ระดับ2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารย ประจําทําการวิจัยเพื่อ กระบวนการ ขอพัฒนาการเรียนการสอน2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได<strong>งาน</strong>ทําและการประกอบ ผลผลิต ปริมาณอาชีพอิสระภายใน 1 ป2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตน ผลผลิต ปริมาณเปนไปตามเกณฑ2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต ผลผลิต ปริมาณ2.12 รอยละของนักศึกษาหรือศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบปที่ผานมาที่ไดรับการประกาศ เกียรติคุณยกยองในดานวิชาการวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรมและดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติผลผลิต ปริมาณ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา29องคประกอบ/ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี้ ชนิดเกณฑ3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา3.1 มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา กระบวนการ ระดับ3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับ กระบวนการ ระดับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค4. การวิจัย4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิต<strong>งาน</strong>วิจัยและ กระบวนการ ขอ<strong>งาน</strong>สรางสรรค4.2 มีระบบบริหารจัดการความรู จาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค กระบวนการ ขอ4.3 เงินสนับสนุน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคจากภายในและภายนอก ปจจัยนําเขา ปริมาณสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา4.4 รอยละของ<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการ ผลผลิต ปริมาณจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา5. การบริการวิชาการแกสังคม5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมาย กระบวนการ ระดับของสถาบัน5.2 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการ ปจจัยนําเขา ปริมาณแกสังคมเปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบันเปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตอ อาจารยประจํา5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ ผลผลิต ปริมาณตอบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคมชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผู รับบริการ ผลผลิต ปริมาณ6. การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม กระบวนการ ระดับ6.2 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริม ผลผลิต ปริมาณเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (ปริญญาตรีภาคปกติ)6.3 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการปจจัยนําเขา ปริมาณ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


30คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบ/ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี้ ชนิดเกณฑ7. การบริหารและการจัดการ7.1 สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถ กระบวนการ ขอผลักดันสถาบันใหแขงขันไดในระดับสากล7.2 ภาวะผู นําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน กระบวนการ ระดับ7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู กระบวนการ ระดับ7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และ กระบวนการ ระดับธํารงรักษาไวใหบุคลากรมี<strong>คุณภาพ</strong>และประสิทธิภาพ7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน ปจจัยนําเขา ระดับและการวิจัย7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามี ผลผลิต ระดับสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผล<strong>งาน</strong>ทางวิชาการหรือ ผลผลิต ปริมาณวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในระบวนการบริหารการศึกษา กระบวนการ ระดับ7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับ ผลผลิต ระดับองคกรสู ระดับบุคคล8. การเงินและงบประมาณ8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การ กระบวนการ ระดับตรวจสอบการเงินและ งบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน กระบวนการ ระดับ9. ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>9.1 มีระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในที่เปนสวนหนึ่งของ กระบวนการ ระดับกระบวนการบริหารการศึกษา9.2 มีระบบและกลไกการใหความรู และทักษะดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> กระบวนการ ระดับแกนักศึกษา9.3 ระดับความสําเร็จของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน ผลผลิต ระดับ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบและตัวบงชี้การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายในของแตละหนวย<strong>งาน</strong>ในของแตละหนวย<strong>งาน</strong>ในสวนนี้จะนําเสนอตัวชี้วัดการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายในของหนวย<strong>งาน</strong>ตางๆองคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตรคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรหนวย<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัยคณะวิทยาการจัดการสํานัก<strong>งาน</strong>อธิการบดีสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรม31สถาบันวิจัยและพัฒนา1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผน<strong>งาน</strong>1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนิน<strong>งาน</strong>และมีการกําหนดตัวบงชี้ หลักเพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนใหครบทุกภารกิจ1.2 รอยละของการของบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของ การปฏิบัติ<strong>งาน</strong> ที่กําหนด2. การเรียนการสอน2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร - - - - -2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ - - - - -2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องค กร - - - - -องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวน - - - - -อาจารยประจํา2.5 สัดสวนของอาจารย ประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท - - - - -าตออาจารยประจํา2.6 สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารยและศาสตราจารย - - - - -<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


32คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตร2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได<strong>งาน</strong>ทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการและผูใชบัณฑิต2.12 รอยละของนักศึกษาหรือศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบปที่ผานมาที่ไดรับการประกาศ เกียรติคุณยกยองในดานวิชาการวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กีฬา สุขภาพศิลปะและวัฒนธรรมและดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติ3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา3.1 มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรหนวย<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัยคณะวิทยาการจัดการสํานัก<strong>งาน</strong>อธิการบดีสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรมสถาบันวิจัยและพัฒนา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


องคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตร4. การวิจัย4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิต<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค4.2 มีระบบบริหารจัดการความรูจาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค4.3 เงินสนับสนุน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา4.4 รอยละของ<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพย สินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตรหรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา5. การบริการวิชาการแกสังคม5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน5.2 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคมเปนที่ปรึกษาเปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบันเปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตอ อาจารยประจําคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรคูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษาหนวย<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัยคณะวิทยาการจัดการสํานัก<strong>งาน</strong>อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรม33สถาบันวิจัยและพัฒนา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


34คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตร5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชนประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผู รับบริการ6. การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม6.2 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (ปริญญาตรีภาคปกติ)6.3 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษพัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ7. การบริหารและการจัดการ7.1 สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันใหแขงขันไดในระดับสากล7.2 ภาวะผู นําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรหนวย<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัยคณะวิทยาการจัดการสํานัก<strong>งาน</strong>อธิการบดีสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรมสถาบันวิจัยและพัฒนา - - - - - - - - - - - - - - - - <strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


องคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตร7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธํารงรักษาไวใหบุคลากรมี<strong>คุณภาพ</strong>และประสิทธิภาพ7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหารการเรียนการสอน และการวิจัย7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผล<strong>งาน</strong>ทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล8. การเงินและงบประมาณ8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและ งบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกันคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรคูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษาหนวย<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัยคณะวิทยาการจัดการสํานัก<strong>งาน</strong>อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรม35สถาบันวิจัยและพัฒนา - - - - - - - - <strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


36คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบ / ตัวบงชี้ คณะครุศาสตรคณะ คณะมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรหนวย<strong>งาน</strong>ของมหาวิทยาลัยคณะวิทยาการจัดการสํานัก<strong>งาน</strong>อธิการบดีสํานักสงเสริมฯสํานักวิทยบริการฯสํานักศิลปะและวัฒนธรรมสถาบันวิจัยและพัฒนา9. ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>9.1 มีระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในที่เปนสวนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษา9.2 มีระบบและกลไกการใหความรู และทักษะดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>แก - - - - -นักศึกษา9.3 ระดับความสําเร็จของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> การศึกษาภายในรวม 41 41 41 41 20 14 15 18 20<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>…เพื่อวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>


บทที่ 4รายละเอียด คําอธิบาย และเกณฑการประเมินองคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการหลักการหนวย<strong>งาน</strong>แตละแหงมีปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค ที่ไดกําหนดมาตั้งแตเริ่มตั้งหนวย<strong>งาน</strong>และอาจปรับเปลี่ยนได ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคควรระบุใหชัดเจน ใหสมาชิกทุกกลุมในหนวย<strong>งาน</strong>ไดรับทราบทั้งอาจารย เจาหนาที่ นักศึกษา ตลอดจนผูที่มีสวนไดสวนเสีย เชน ผูปกครอง ชุมชน ผูใชบริการและสังคมโดยรวมปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค ควรสอดคลองกันและเปนแนวทางการดําเนิน<strong>งาน</strong> สนับสนุนภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาตาม หลักการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ(ถามี) และสถาบันตองจัดทําแผนกลยุทธและแผนดําเนิน<strong>งาน</strong>ที่ชัดเจนเพื่อใหบรรลุปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงคของสถาบันและใหสอดคลองกับทิศทาง การพัฒนาของประเทศและการเปลี่ยนแปลง ของกระแสโลกมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ สํานัก<strong>งาน</strong>เลขาธิการสภาการศึกษา2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ3. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ สํานัก<strong>งาน</strong>เลขาธิการสภาการศึกษา5. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา6. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)7. หลักการอุดมศึกษา8. ยุทธศาสตรและแผน<strong>งาน</strong>วิจัยแบบบูรณาการระยะปานกลาง (พ.ศ. 2548-2550) สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการวิจัยแหงชาติตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนิน<strong>งาน</strong>และมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนใหครบทุก ภารกิจ1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ที่กําหนดวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


40คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวบงชี้ที่ 1.1 : มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดําเนิน<strong>งาน</strong>และมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตาม แผนใหครบทุกภารกิจชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันอุดมศึกษามีภารกิจหลัก คือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการดําเนินภารกิจหลักแตละดานตองคํานึงถึงหลักการของการศึกษาระดับอุดมศึกษา มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวของ รวมถึงยุทธศาสตรดานตาง ๆ ของชาติ ดังนั้น ในการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนการพัฒนากลยุทธและแผนการดําเนิน<strong>งาน</strong>เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสถาบัน จึงจําเปนตองใหสอดคลองกับหลักการและมาตรฐาน ตางๆ ที่เกี่ยวของที่ระบุขางตน อีกทั้งตองคํานึงถึงทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของ หนวย<strong>งาน</strong>ปนไปอยางมี<strong>คุณภาพ</strong>ในทิศทางที่ถูกตองเหมาะสมและเปนที่ยอมรับของสังคมแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน และมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนิน<strong>งาน</strong>และแผนปฏิบัติการประจําปใหสอดคลองซึ่งกันและกัน และสอดคลองกับภารกิจหลัก ของหนวย<strong>งาน</strong> หลักการอุดมศึกษามาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐาน วิชาชีพ (ถามี) ยุทธศาสตรของชาติในดานตาง ๆตลอดจนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ2. มีการกําหนดตัวบงชี้ (KPI) ของการดําเนิน<strong>งาน</strong> ตลอดจนกําหนดเปาหมาย (target) ของแตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนใหครบทุกภารกิจ (การเรียนการสอน/การวิจัย/การบริการวิชาการ/การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม)3. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามตัวบงชี้เปนประจําอยางนอยปละ2 ครั้ง และราย<strong>งาน</strong>ตอผูบริหารระดับสถาบันและตอที่ประชุมสภาสถาบัน4. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนิน<strong>งาน</strong> เปาประสงค (goal) เปาหมาย(target) กับสภาพการณในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ5. มีการนําผลการประเมินและการวิเคราะหในขอ 3 และ 4 มาปรับปรุงกลยุทธ และแผนการดําเนิน<strong>งาน</strong>อยางตอเนื่องขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. ปรัชญาหรือปณิธานของหนวย<strong>งาน</strong>2. แผนกลยุทธ แผนการดําเนิน<strong>งาน</strong> และแผนปฏิบัติการประจําปของหนวย<strong>งาน</strong>3. เอกสารหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาหนวย<strong>งาน</strong>มีกลไกการดําเนิน<strong>งาน</strong>เพื่อกําหนด ปรัชญา หรือปณิธาน กลยุทธ แผนการดําเนิน<strong>งาน</strong> และแผนปฏิบัติการประจําปของหนวย<strong>งาน</strong>วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา4. ราย<strong>งาน</strong>การวิเคราะหความสอดคลองของปรัชญา ปณิธาน และกลยุทธกับ ภารกิจหลักของหนวย<strong>งาน</strong>หลักการอุดมศึกษามาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ (ถามี) มาตรฐานการศึกษาของชาติยุทธศาสตรดานตาง ๆ ของชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ5. รายชื่อตัวบงชี้และเปาหมายความสําเร็จของการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนทุก ภารกิจ ไดแก ดานการเรียนการสอน ดานการวิจัย ดานการบริการวิชาการ และดานการทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม6. เอกสารราย<strong>งาน</strong>ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของหนวย<strong>งาน</strong>7. เอกสารหรือราย<strong>งาน</strong>การประชุมที่แสดงใหเห็นวา หนวย<strong>งาน</strong>มีการราย<strong>งาน</strong>การดําเนิน<strong>งาน</strong>ตัวบงชี้นี้ตอผูบริหาร8. เอกสารการวิเคราะหและปรับปรุงกลยุทธใหทันสมัยและสอดคลองกับสภาพการณในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน2. มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนิน<strong>งาน</strong>และแผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกันและกันและสอดคลองกับภารกิจหลักของสถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของ ชาติ3. มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนิน<strong>งาน</strong> และกําหนดเปาหมายของแตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนิน<strong>งาน</strong>4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามตัวบงชี้ อยางนอยปละ 2 ครั้ง และราย<strong>งาน</strong>ผลตอผูบริหาร6. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนิน<strong>งาน</strong> เปาประสงคเปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมใน อนาคตอยางสม่ําเสมอ7. มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการดําเนิน<strong>งาน</strong>อยางตอเนื่องเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 - 6 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอ41วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


42คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวบงชี้ที่ 1.2 : รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ที่กําหนดชนิดตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : พิจารณาจากระดับความสําเร็จของการบรรลุเปาหมายแตละตัวบงชี้ที่ สอดคลองกับแผนปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ของหนวย<strong>งาน</strong> โดยประเด็นของการประเมินผล ไดแก ดาน มาตรฐาน<strong>คุณภาพ</strong>บัณฑิต ดาน<strong>งาน</strong>วิจัยและ <strong>งาน</strong>สรางสรรค ดานการบริการวิชาการ ดาน<strong>งาน</strong> อนุรักษศิลปวัฒนธรรมขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของดังนี้1. เอกสารการกําหนดรายการตัวบงชี้ของแผนการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ในรอบปงบประมาณ เปาหมายในแตละตัวบงชี้และผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ในตัวบงชี้เหลานั้น2. เอกสารหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงกลไกเพื่อประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ประจําปคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ คณะทํา<strong>งาน</strong> หรือมอบหมายผูรับผิดชอบวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของตัวบงชี้และความเชื่อถือไดของขอมูลที่ไดรับรวมถึงระบบการเก็บรักษาและดูแลเอกสารหรือขอมูลการมีสวนรวมของผูบริหารระดับสูงของสถาบันหมายเหตุ การคิดรอยละตัวบงชี้นี้ คํานวณมาจากจํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ประจําปงบประมาณที่บรรลุเปาหมายจํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ประจําปงบประมาณทั้งหมดX 100เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3บรรลุเปาหมายรอยละ 60-74 บรรลุเปาหมายรอยละ 75-89 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา43องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอนหลักการการบริหารกิจการวิชาการ (academic affair) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนมีความรูในวิชาชีพตามหลักสูตรที่กําหนด การเรียนการสอนในยุคปจจุบันใชหลักการของการจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ดังนั้น ภารกิจดังกลาวจึงเกี่ยวของกับการกําหนดปจจัยปอนเขาที่ไดมาตรฐานตามที่กําหนดประกอบดวยการมีอาจารยที่มีปริมาณ และ<strong>คุณภาพ</strong>ตามมาตรฐานหลักสูตร มีกระบวนการบริหารจัดการการเรียนการสอนที่อาศัยหลักการรวมมือรวมพลังของทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งองคกรภายในและภายนอกหนวย<strong>งาน</strong> นอกจากนี้ยังตองมีการวางระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การเรียนการสอนเพื่อใหนักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงคมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)3. เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา4. รางกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (National Qualifications Framework for HigherEducation) สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษาตัวบงชี้ จํานวน 12 ตัวบงชี้ ประกอบดวย2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องคกรและชุมชนภายนอกมีสวนรวม2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา2.5 สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา2.6 สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได<strong>งาน</strong>ทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


44คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา2.12 รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ป ที่ผานมาที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติตัวบงชี้ที่ 2.1 : มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตรชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : คณะตางๆ ในสถาบันอุดมศึกษามีหนาที่พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจและความพรอมของหนวย<strong>งาน</strong> ตลอดจนสอดคลองกับความตองการทางดานวิชาการและ วิชาชีพของสังคม มีการประเมินหลักสูตรอยางสม่ําเสมอ มีการวางระบบและกลไกบริหาร หลักสูตรอยางมีประสิทธิภาพและมีการปรับปรุงหลักสูตรใหทันตอการเปลี่ยนแปลงแนวปฏิบัติที่ดี :1. คณะมีระบบและกลไกในการเปดหลักสูตรใหมหรือปดหลักสูตรเดิมใหสอดคลองกับวิสัยทัศนและพันธกิจของหนวย<strong>งาน</strong> ตลอดจนสอดคลองกับกรอบความตองการของผูใช บัณฑิตและสังคมสวนรวม ทั้งนี้โดยกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรไวในแผนการผลิตบัณฑิตของสถาบัน2. คณะมีการจัดเตรียมความพรอมกอนจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรใหมใหอยางนอยเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรและเกณฑมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ3. คณะจัดระบบและกลไกการพัฒนาและ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรโดยคํานึงถึงประเด็นตอไปนี้ ไดแก การกําหนดทิศทางและวัตถุประสงค หลักสูตร การบริหารกิจการของหลักสูตรการดูแลใหคําปรึกษาแกนักศึกษา การประเมินและ พัฒนาหลักสูตร การบริหารทรัพยากรประกอบการเรียนการสอนการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล และการใชระบบสารสนเทศในการบริหารหลักสูตร4. มีการราย<strong>งาน</strong>และวิเคราะหขอมูลการดําเนิน<strong>งาน</strong>หลักสูตรระดับตาง ๆ ประจําทุกปการศึกษา เชนรอยละของหลักสูตรที่ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐานครบทุกขอ รอยละของบัณฑิตที่ผลิตไดตรงตามแผน รอยละของบัณฑิตที่ทํา<strong>งาน</strong>ตรงสาขา ทั้งนี้ เพื่อนํามาปรับปรุงการบริหารกิจการหลักสูตรกอนรับนักศึกษารุนใหมขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ ดังนี้1. เอกสาร หลักฐานที่แสดงใหเห็นวาหนวย<strong>งาน</strong>มีแผนการผลิตบัณฑิตและมีระบบ และกลไกในการพัฒนาบริหารหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร โดยคํานึงถึง วิสัยทัศน พันธกิจ และความตองการของสังคม ตลอดจน<strong>คุณภาพ</strong>และมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอน2. เอกสารหลักฐานที่แสดงถึง<strong>คุณภาพ</strong>บัณฑิต ภาวะการมี<strong>งาน</strong>ทําและการทํา<strong>งาน</strong> ตรงสาขาของบัณฑิต3. หลักฐานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>หลักสูตร ใน 4 ประเด็น คือ การบริหารหลักสูตร ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา และความ ตองการของตลาดแรง<strong>งาน</strong> สังคมและ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา45เกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตร2. มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิตบัณฑิต3. มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมและการปรับปรุงหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรทุกเรื่อง4. มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรประจําปการศึกษา เชน รอยละของหลักสูตรที่ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน รอยละของบทความจากวิทยานิพนธที่ตีพิมพ เผยแพร รอยละของบัณฑิตที่ทํา<strong>งาน</strong>ตรงสาขา5. มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําปการศึกษาไปปรับปรุงหลักสูตรและหรือปรับปรุงระบบและกลไกการบริหารหลักสูตร6. หลักสูตรที่เปดสอนทุกหลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานทุกเรื่อง และมีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>หลักสูตรครบทุกประเด็นตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะ แผน (ก ) และ ปริญญาเอก ) ที่เปดสอนมีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของจํานวนหลักสูตรทั้งหมดเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 ขอแรกมีการดําเนินการครบ 6 ขอแรกตัวบงชี้ที่ 2.2 : มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและยืดหยุน ตลอดจนการจัดกระบวนการเรียนรูที่คํานึงถึงความแตกตางเฉพาะตัวของนักศึกษาเปนเรื่องที่สําคัญมากตอความกระหายใครรูและตอสมรรถนะในการแสวงหาความรูของนักศึกษา เชน การเปดโอกาสใหนักศึกษาไดคนควาวิจัยโดยอิสระในรูปโครงการวิจัยสวนบุคคล การจัดใหมีชั่วโมงเรียนในภาคปฏิบัติในหองปฏิบัติการ รวมทั้งมีการฝกประสบการณภาคสนามอยางพอเพียงมีการจัดสัมมนา จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทําโครง<strong>งาน</strong> มีการเรียนการสอนทางเครือขายคอมพิวเตอร (Internet)และมีหองสมุดและระบบสืบคนขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่เพียงพอที่จะศึกษาหาความรู เพิ่มเติมไดดวยตนเองแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ พรอมทั้งมีการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุน การจัดการเรียนการสอนอาจมีรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังตอไปนี้ การเรียนรูจากกรณีปญหา (Problem-Based Learning : PBL) การเรียนรูเปนรายบุคคล (Individual Study) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism) การสอนแบบเอส ไอ พี การเรียนรูแบบแสวงหา ความรูไดดวยตนเอง (Self - Study) การเรียนรูจากการทํา<strong>งาน</strong>วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


46คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา(Work – Based Learning) การเรียนรูที่เนนการวิจัยเพื่อสรางองคความรู (Research – Based Learning) การเรียนรูที่ใชวิธีสรางผล<strong>งาน</strong>จากการตกผลึกทางปญญา (Crystal – Based Approach)2. การเรียนการสอนยึดหลักการมีปฏิสัมพันธทางวิชาการระหวางนักศึกษากับอาจารย และระหวางนักศึกษากับนักศึกษาทั้งในและนอกหองเรียนอยางสม่ําเสมอ เพื่อสงเสริมการเรียนรูอยางกระตือรือรน3. มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มี<strong>คุณภาพ</strong> แตยืดหยุนและหลากหลาย สามารถตอบสนองความตองการเรียนรูของผูเรียน ทั้งความยืดหยุนดานชวงเวลาเรียน และหรือดานตําแหนงและสถานที่เรียน และหรือดานวิธีการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล และหรือดานอื่น ๆ4. มีการติดตามผลการเรียน ความพึงพอใจของนักศึกษาตอ<strong>คุณภาพ</strong>การสอนและ สิ่งสนับสนุนการเรียนรูเปนรายบุคคลอยางตอเนื่อง และนํามาใชในการพัฒนาผูเรียนใหสามารถ เรียนรูไดเต็มศักยภาพขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. เอกสารหลักสูตร แผนการสอน ประมวลรายวิชา บทเรียน e-learning2. เอกสารหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงการสงเสริมกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนผูเรียนเปนสําคัญ อาทิสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน คอมพิวเตอร ระบบเครือขาย คอมพิวเตอร งบประมาณสนับสนุน ตารางการเปดใหบริการนักศึกษาใชหองสมุดและหองคอมพิวเตอรตอวัน3. แฟมประวัตินักศึกษา ผล<strong>งาน</strong>ของนักศึกษาตลอดจนกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ4. เอกสารการสํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาตอ<strong>คุณภาพ</strong>การสอนและ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู และหลักฐานการนําผลที่ไดมาใชในการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน5. สถิติขอมูลหรือราย<strong>งาน</strong>ผลการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เชน จํานวนคณาจารยที่ไดรับความรูความเขาใจเกี่ยวกับเปาหมายของการจัดการศึกษาโดยเนนผูเรียน เปนสําคัญ จํานวนหนวยกิตหรือจํานวนชั่วโมงเรียนในภาคปฏิบัติ จํานวนวิชาที่ทํา senior project วิชาสัมมนาหรือวิชาที่มอบหมายใหนักศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง จํานวนชั่วโมง ภาคสนาม จํานวนโปรแกรมหรือรายวิชาที่เปนวิชาเลือกเสรี จํานวนรายวิชาที่มีการเรียนการสอน ทางเครือขายคอมพิวเตอร ผลการวิเคราะหศักยภาพของผูเรียนเปนรายบุคคล เปนตน6. ราย<strong>งาน</strong>การประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียน7. ผล<strong>งาน</strong>อาจารยที่เปน<strong>งาน</strong>วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรูของผูเรียนและนําผลไปใชพัฒนาผูเรียนเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร2. มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ทุกหลักสูตร3. มีการใชสื่อและเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริมการเรียนรูทุกหลักสูตร4. มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลากหลาย ที่จะสนองตอบตอความตองการของผูเรียนวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียนทุกหลักสูตร6. มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในเรื่อง<strong>คุณภาพ</strong>การสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรูทุกหลักสูตร7. มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียนอยางตอเนื่องทุกหลักสูตรเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย6 ขอแรก47ตัวบงชี้ที่ 2.3 : มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคลองคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวมชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545มาตรา 19 ไดระบุถึงการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง มีการเรียนรูจากสื่อการเรียนการสอนและแหลงวิทยาการประเภทตางๆ จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครอง และ บุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ สถาบันจึงควรใหบุคคล องคกร และ ชุมชนภายนอกเขามามีสวนรวมในการสนับสนุนหลักสูตรและการเรียนการสอนโดยจัดโครงการ และกิจกรรมตางๆ ตั้งแตชวยในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ชวยในการเรียนการสอน และการฝก<strong>งาน</strong> ตลอดจนเรียนรูกรณีศึกษาตางๆแนวปฏิบัติที่ดี :1. แสวงหาบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมาสนับสนุนการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน2. จัดหลักสูตรที่ทันสมัย มีโครงสรางหลักสูตรที่ทําใหผูเรียนมีความรูและทักษะที่นําไปใชในการปฏิบัติไดจริง โดยรวมมือกับบุคคล องคกร และชุมชนภายนอก3. ติดตามตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไดรับการสนับสนุนจากภายนอกสถาบัน4. นําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล องคกร และชุมชน ภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


48คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. โครงการหรือกิจกรรมที่มีการเชิญผูทรงคุณวุฒิหรือผูรูในชุมชนมาชวยในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น การเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตร การฝก<strong>งาน</strong>และการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ในองคกรภายนอก2. แผนการสอนที่ระบุการมีสวนสนับสนุนของบุคคล องคกรและชุมชนภายนอก3. รายละเอียดการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>และประเมินผลการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ของโครงการหรือกิจกรรมในขอ 1เกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีระบบและกลไกที่กําหนดใหผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมาชวยในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร2. มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะที่นําไปใชในการปฏิบัติไดจริงโดยผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมีสวนรวมทุกหลักสูตร3. มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนดและไมกําหนดในหลักสูตรโดยความรวมมือกับองคการหรือหนวย<strong>งาน</strong>ภายนอก4. มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไดรับการสนับสนุนจากผูทรงคุณวุฒิหรือชุมชนภายนอกสถาบันทุกหลักสูตร5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล องคการ และชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนทุกหลักสูตรเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรกมีการดําเนินการ4 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 2.4 : จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขาคําอธิบายตัวบงชี้ : การจัดการศึกษาเพื่อใหเกิด<strong>คุณภาพ</strong>นั้น ปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่จะตองคํานึงถึง คือสัดสวนอาจารยตอนักศึกษา ซึ่งจะตองมีความสอดคลองกับศาสตรในแตละสาขาวิชาและลักษณะการเรียนการสอนที่ใชดวย สัดสวนอาจารยตอนักศึกษายังมีความเชื่อมโยง กับการวางแผนตาง ๆ อาทิ เปาหมายการผลิตบัณฑิตการวางแผนอัตรากําลังและภาระ<strong>งาน</strong>อาจารย รวมทั้งทรัพยากรตาง ๆ ที่จําเปนตอการเรียนการสอน ตัวบงชี้นี้ตองการทราบสัดสวนของนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารอางอิงที่เกี่ยวของกับตัวบงชี้นี้ใหใชตัวเลขจํานวนอาจารยประจําที่ปฏิบัติ<strong>งาน</strong>จริงและตัวเลขนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา รวมทั้งภาคปกติ และภาคพิเศษ โดยปรับคาจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาระดับบัณฑิตศึกษาเปนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาระดับปริญญาตรีการปรับคาดังกลาวมีวิธีการดังที่ปรากฏในตารางและตัวอยางตอไปนี้ (ในตาราง ดังกลาวประกอบดวยสองสวนคือ ตัวปรับคาและเกณฑมาตรฐานระหวางอาจารยตอนักศึกษาเต็ม เวลาเทียบเทาในแตละกลุมสาขาวิชามาตรฐานสากล 1(International Standard Classification of Education : ISCED)ตาราง ตัวปรับคา FTES ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกใหเปนหนวยวัดเดียวกับ FTES ระดับปริญญาตรี และเกณฑมาตรฐานของ FTES ระดับปริญญาตรีตอจํานวนอาจารยประจําสาขาตัวปรับคา(นําไปคูณกับคา FTESระดับบัณฑิตศึกษา)เกณฑมาตรฐานของFTES ระดับปริญญาตรีตอจํานวนอาจารยประจํา1. วิทยาศาสตรสุขภาพ 1 1 : 82. วิทยาศาสตรกายภาพ 2 1 : 203. วิศวกรรมศาสตร 2 1 : 204. สถาปตยกรรมศาสตร และการผังเมือง 1 1 : 85. เกษตร ปาไมและประมง 2 1 : 206. บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร บัญชี การจัดการการทองเที่ยว เศรษฐศาสตร1.8 1 : 257. ครุศาสตร/ศึกษาศาสตร 1.5 1 : 258. ศิลปกรรมศาสตร วิจิตรศิลปและ ประยุกตศิลป 1.8 1 : 89. สังคมศาสตร/มนุษยศาสตร 1.8 1 : 25ตัวอยางในการปรับคานักศึกษาเต็มเวลาระดับบัณฑิตศึกษาเปนระดับปริญญาตรี1. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ2. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ3. กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรนักศึกษาเต็มเวลาในหนวยนับปริญญาตรี= FTES ระดับปริญญาตรี + FTES ระดับบัณฑิตศึกษา= FTES ระดับปริญญาตรี + (2 X FTES ระดับ บัณฑิตศึกษา)= FTES ระดับปริญญาตรี + (1.8 X FTES ระดับ บัณฑิตศึกษา)สําหรับเกณฑมาตรฐานของจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาระดับปริญญาตรีตอจํานวนอาจารย ประจําในระดับสถาบันใหใชหลักเกณฑดังนี้49วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


50คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเกณฑมาตรฐานของ FTES ตออาจารย ประจําของสถาบัน =เกณฑการประเมิน :(เกณฑมาตรฐานของ FTES ตออาจารยประจําของกลุม สาขาที่ 1) x (FTESของกลุมสาขาที่ 1) + (เกณฑมาตรฐาน ของ FTES ตออาจารยประจําของกลุมสาขาที่ 2) x (FTES ของกลุมสาขาที่ 2) + (เกณฑมาตรฐานของ FTESของกลุม สาขาที่....n) x (FTES ของกลุมสาขาที่....n)ผลรวมของ FTES ทุกกลุมสาขาวิชาของสถาบันคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3> +10% หรือ < -10 %ของเกณฑมาตรฐาน6 – 9.99 % และ -6 – (-9.99)%ของเกณฑมาตรฐาน(-5.99) -5.99 %ของเกณฑมาตรฐานตัวบงชี้ที่ 2.5 : สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเทาตออาจารยประจําชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขาคําอธิบายตัวบงชี้ : การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเปนการศึกษาระดับสูงสุดที่ตองการบุคลากรที่มีความรูความสามารถ และความลุมลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสําคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามความกาวหนาทางวิชาการและการพัฒนาองคความรู ดังนั้น สัดสวนคุณวุฒิอาจารยจึงตองมีความเหมาะสมตอพันธกิจ รวมทั้งหลักสูตรที่เปดสอนดวย ซึ่งตัวบงชี้นี้จะแสดงใหเห็นถึงสัดสวนคุณวุฒิของอาจารยประจําที่มีบทบาทสําคัญ ในการขับเคลื่อนพันธกิจของสถาบันขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐาน (ใชตัวเลขจํานวนอาจารยประจํา รวมทั้งที่ปฏิบัติ<strong>งาน</strong>จริงและลาศึกษาตอ ) และเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ3เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3วุฒิปริญญาเอกอยูระหวางรอยละ 1 - 19 หรือ วุฒิปริญญาเอกอยูระหวางรอยละ 20-29 แตวุฒิปริญญาตรี มากกวารอยละ 51. วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง รอยละ20-29 และ2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ นอยกวารอยละ 5หรือ1. วุฒิปริญญาเอกมากกวา หรือเทากับรอยละ 30 และ2. วุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 51. วุฒิปริญญาเอกมากกวา หรือเทากับรอยละ 30 และ2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ นอยกวารอยละ 5วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวบงชี้ที่ 2.6 : สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารยชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขาคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันอุดมศึกษาถือเปนขุมปญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบที่จะตองสงเสริมใหอาจารยในสถาบันทําการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองคความรูในศาสตรสาขาวิชาตาง ๆ อยางตอเนื่องเพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน รวมทั้งการแกไขปญหาและพัฒนาประเทศ การดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนสิ่งสะทอนการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ดังกลาว ของอาจารยตามพันธกิจของสถาบันขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐาน (ใชตัวเลขจํานวนอาจารยประจํารวมทั้งที่ปฏิบัติ<strong>งาน</strong>จริงและลาศึกษาตอ ) และเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกันอยูระหวาง รอยละ 1 – 39หรือ ผูดํารงตําแหนงระดับผศ. รศ.และ ศ. รวมกันอยูระหวางรอย ละ40-59 แตผูดํารงตําแหนง ระดับ รศ.ขึ้นไปนอยกวารอยละ 101. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และศ.รวมกันอยูระหวางรอยละ 40 - 59 และ2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา รอยละ 10หรือ1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ.และศ. รวมกันมากกวา หรือเทากับรอยละ 60 และ2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวารอยละ 101. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกันมากกวา หรือเทากับรอยละ 60 และ2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา รอยละ 1051ตัวบงชี้ที่ 2.7 : มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารยชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันพึงกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรณยาบรรณ อันแสดงถึงความมีเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ พรอมทั้งกําหนดกลไกที่จะกํากับดูแลใหคณาจารยไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณ รวมทั้งมีมาตรการในการใหคุณใหโทษกับผลการปฏิบัติจรรยาบรรณของคณาจารยวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


52คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีการแตงตั้งคณะทํา<strong>งาน</strong> หรือมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการศึกษาวิเคราะห เพื่อกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยที่เหมาะสมกับสถาบันอุดมศึกษา2. มีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปนลายลักษณอักษรและไดรับอนุมัติจากสภาคณาจารย / ที่ประชุมคณบดี3. มีคูมือการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยพรอมการเผยแพรใหคณาจารยสถาบันทราบโดยทั่วกัน4. มีระบบการกํากับติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย ในดานความสําเร็จ และมาตรการดําเนินการกับผูไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย5. มีการนําผลการกํากับติดตาม ประเมินผลไปใชในการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ และการวางแผนปองกันการกระทําผิดจรรยาบรรณ รวมทั้งการทบทวนจรรยาบรรณวิชาชีพใหเหมาะสมทันสมัยยิ่งขึ้นขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>สงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารยของสถาบันและหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารยของสถาบัน ตลอดจนหลักเกณฑ ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ มาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารยเชน คําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการกําหนดคูมือจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย การกํากับดูแลและประเมินผล กระบวนการสงเสริมและกํากับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย กระบวนการติดตามประเมินผลและมาตรการสําหรับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย ขอมูลการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุน4. จํานวนคณาจารยที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร2. มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ3. มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ4. มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ5. มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิดจรรยาบรรณวิชาชีพเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวบงชี้ที่ 2.8 : มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : โดยที่การจัดการเรียนการสอนตองเปนไปตามหลักการของกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ อาจารยจึงตองมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนอยูตลอดเวลา <strong>งาน</strong>วิจัยประเภทนี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามหลักสูตรที่กําหนด มีการจัดการเรียนการสอนที่สนองความตองการจําเปนของผูเรียน สงเสริมทักษะการแสวงหาความรูและการเรียนรู การสนับสนุนใหอาจารยทุกคนทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน จะสงผลใหเกิดนวัตกรรมการเรียนการสอนที่มีคุณคา นวัตกรรมเหลานี้อาจเปนเทคนิคการสอนใหม ๆ แบบฝก สื่ออุปกรณ หรือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหม ๆ ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนแนวปฏิบัติที่ดี :1. สถาบันพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน2. สถาบันวางกลไกการบริหารวิชาการที่กระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ ตลอดเวลา3. สถาบันจัดใหมีการเผยแพรผล<strong>งาน</strong>วิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษาอยางสม่ําเสมอเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู4. สถาบันสงเสริมการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอกสถาบันขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>สนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของสถาบัน และหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของสถาบันตลอดจนหลักเกณฑ ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ มาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เชน คําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการ กํากับ ดูแล และประเมินผล กระบวนการสงเสริมกระบวนการติดตามประเมินผล ขอมูลการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุน เวทีเผยแพรผล<strong>งาน</strong> เครือขายวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน4. จํานวนอาจารยที่ไดรับการพัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน5. ขอมูลผล<strong>งาน</strong>วิจัยและนวัตกรรมการเรียนการสอนของคณาจารย เชน การจัดการเรียนการสอนแบบ e-learning การพัฒนาเครื่องมือวินิจฉัยมโนทัศนที่คลาดเคลื่อน (misconceptions) ในรายวิชาตางๆ การพัฒนารูปแบบการสอนแบบโมดูล การสอนแบบ problem - based learning และแบบ research-based learning53วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


54คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเกณฑมาตรฐาน : ขอ1. มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน2. มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ ในดานการเรียนการสอน3. มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา4. มีผล<strong>งาน</strong>วิจัยดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและเผยแพร ผล<strong>งาน</strong>วิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษาอยางสม่ําเสมอ5. มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและ ภายนอกสถาบันเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอมีการดําเนินการ3 – 4 ขอมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 2.9 : รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได<strong>งาน</strong>ทําและการประกอบอาชีพ อิสระภายใน 1 ปชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : หลักสูตรการเรียนการสอนทุกหลักสูตรจะมีการกําหนดวัตถุประสงคหรือ เปาหมายของการผลิตบัณฑิตไวอยางชัดแจง อาทิ คุณลักษณะของบัณฑิต ความรูความเชี่ยวชาญและทักษะในการประกอบอาชีพตัวบงชี้นี้เปนตัวบงชี้ที่สะทอนใหเห็นวาวัตถุประสงค หรือเปาหมายของหลักสูตรของสถาบันบรรลุวัตถุประสงคหรือไมอยางไร รวมทั้งสะทอน<strong>คุณภาพ</strong>ของบัณฑิตดวยขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักสูตรอางอิงที่เกี่ยวของ อาทิ : เอกสารหลักฐานการสํารวจภาวะการมี<strong>งาน</strong>ทําของบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา จําแนกเปน• จํานวนบัณฑิตทั้งหมด (นับตั้งแตวันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติใหสําเร็จการศึกษาในปการศึกษานั้น )• จํานวนบัณฑิตที่มี<strong>งาน</strong>ทําพรอมเงินเดือนเริ่มตนหรือรายไดประจําจากการเปนผูประกอบการ• ขอมูลบัณฑิตที่ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษาหมายเหตุ : จํานวนบัณฑิตที่มี<strong>งาน</strong>ทํา หมายถึง ผูที่สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีที่เรียนในหลักสูตรภาคปกติและภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลาราชการในสาขานั้นๆ ที่ได<strong>งาน</strong>ทํา หรือมีกิจการของตนเองที่มีรายไดประจําภายในระยะเวลา 1 ปนับจากวันที่สําเร็จการศึกษา โดยไมนับรวมผูที่ศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา การนับการมี<strong>งาน</strong>ทําใหสามารถนับกรณีการทํา<strong>งาน</strong>สุจริตทุกประเภทที่สามารถสรางรายไดเขามาประจําเพื่อเลี้ยงชีพตนเองไดวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาสําหรับการนับจํานวนผูที่มี<strong>งาน</strong>ทําของผูสําเร็จการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลา ใหนับเฉพาะผูที่เปลี่ยน<strong>งาน</strong>ใหมหลังสําเร็จการศึกษาเทานั้น ไมนับผูที่มี<strong>งาน</strong>ทําหรือมีกิจการของตนเองที่มีรายไดประจําอยูแลวเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 1 - รอยละ 59 รอยละ 60 – รอยละ 79 มากกวาหรือเทากับรอยละ 8055ตัวบงชี้ที่ 2.10 : รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : <strong>คุณภาพ</strong>ของการผลิตบัณฑิตอาจพิจารณาไดหลายประการ อาทิ คุณลักษณะของบัณฑิตที่เห็นไดอยางชัดแจงเชิงประจักษ การได<strong>งาน</strong>ทําในระยะเวลาที่สมควร การไดรับการยอมรับจากสังคม การได<strong>งาน</strong>ทําตรงสาขาวิชาที่สําเร็จการศึกษา นอกจากนี้ การไดรับเงินเดือนตรงตามคุณวุฒิหรือสูงกวาคุณวุฒิก็ถือเปนตัวบงชี้หนึ่งที่แสดงถึง<strong>คุณภาพ</strong>ของบัณฑิตดวยขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของดังที่ ระบุไวในตัวบงชี้ที่ 2.9เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 1 - รอยละ 74 ไดรับเงินเดือนเทากับหรือสูงกวาเกณฑ กพ.รอยละ 75 – รอยละ 99 ไดรับเงินเดือนเทากับหรือสูงกวาเกณฑ กพ.รอยละ 100 ไดรับเงินเดือนเทากับหรือสูงกวาเกณฑ กพ.ตัวบงชี้ที่ 2.11 : ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากสถาบันถือเปนตัวบงชี้<strong>คุณภาพ</strong>ของบัณฑิตและการตอบสนองความตองการของสังคม โดยทั่วไปแลวการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ของบัณฑิตจะพิจารณาคุณสมบัติหลัก 3 ดานที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติแหงชาติ พ.ศ.2542ไดแก ความรูความสามารถทางวิชาการ ตามลักษณะ<strong>งาน</strong>ในสาขานั้น ๆ ความรูความสามารถพื้นฐานที่สงผลตอการทํา<strong>งาน</strong> และคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพโดยอยางนอยตองเก็บขอมูลในรอบการพัฒนาหลักสูตรโดย ระดับความพึงพอใจใหสํารวจโดยใชคะแนน 5 ระดับขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและราย<strong>งาน</strong>ผลสํารวจความพึงพอใจของ นายจาง ผูประกอบการและผูใชบัณฑิต โดยเปนคาเฉลี่ยของความพึงพอใจ(เทียบจากคา 5 ระดับ) ที่ไดจากการประเมินบัณฑิตที่ทํา<strong>งาน</strong>ดวยวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


56คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตั้งแต 1 – 3 ป ทั้งนี้ การประเมินตองครอบคลุม ทั้ง 3 ดานไดแก ความรูความสามารถทางวิชาการตามลักษณะ<strong>งาน</strong>ในสาขา ความรูความสามารถพื้นฐานที่สงผลตอการทํา<strong>งาน</strong> และคุณธรรมจริยธรรมตลอดจนจรรยาบรรณวิชาชีพเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 1 -2.49ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 2.50 – 3.49ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3.50ตัวบงชี้ที่ 2.12 : รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ป ที่ผานมาที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : เจตนารมณและเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกระดับลวนมีหลักการสําคัญเพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลที่มีความสมบูรณพรอมทั้งดานรางกาย จิตใจ มีความรูความสามารถในเชิงวิชาการและหรือวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม และเปาหมายสูงสุด คือ ใหผูสําเร็จการศึกษาสามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข การจัดการศึกษาใหสอดคลองกับเปาหมายดังกลาว สถาบันพึงจัดหลักสูตรการเรียนการสอน รวมทั้งสิ่งแวดลอมตาง ๆ ใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองอยางเต็มศักยภาพและสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน สัมฤทธิผลจากการดําเนินการดังกลาวสะทอนไดจาก<strong>คุณภาพ</strong>ของนักศึกษาและศิษยเกาในเรื่องไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรมและดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ ไดแก จํานวนและชื่อนักศึกษาและหรือศิษยเกาที่ไดรับรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณยกยองในดาน วิชาการวิชาชีพ (รวมถึงรางวัลผล<strong>งาน</strong>วิทยานิพนธ) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานกีฬาและสุขภาพ ดานศิลปวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอม โดยเปนรางวัลระดับชาติและนานาชาติที่มีลายลักษณอักษรปรากฏ ทั้งนี้ ใหนับรางวัลที่ไดรับในรอบปปจจุบันจากนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จ การศึกษาในรอบ 5 ปการศึกษาที่ผานมา การนับรางวัลสามารถนับไดทั้งรางวัลของนักศึกษาภาค ปกติและนักศึกษาภาคพิเศษทุกระดับการศึกษา และหากผูไดรับรางวัลนั้นเปนศิษยเกาหลายสถาบันสถาบันเหลานั้นตางก็สามารถนับรางวัลนั้นได และการนับสามารถนับซ้ําไดหากนักศึกษา หรือศิษยเกาผูนั้นไดรับรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณหลายครั้งวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


เกณฑการประเมิน :คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 0.003 – รอยละ 0.015 รอยละ 0.016 – รอยละ 0.029 1. มากกวาหรือเทากับรอยละ 0.030และ2. อยางนอยรอยละ 50 ของนักศึกษา และศิษยเกาไดรางวัลในขอ 1 เปน รางวัลดานศิลปะและวัฒนธรรมหมายเหตุ กรณีไดตามขอ 1 แตไมไดขอ 2 ถือวาไดคะแนน 257วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


58คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษาหลักการการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดานกิจการนักศึกษาเปนกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาสนับสนุน สงเสริมเพื่อใหนักศึกษาเปนบัณฑิตที่มีคุณสมบัติพรอม นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนที่จัดขึ้นตามหลักสูตร กิจกรรมการพัฒนานักศึกษาแบงออกไดเปนสองสวน คือ (1) การจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกาซึ่งสถาบันจัดขึ้นใหสอดคลองกับความตองการ และเกิดประโยชนสูงสุด ตอนักศึกษาและศิษยเกา และ (2) การจัดกิจกรรมนักศึกษาที่ดําเนินการโดยองคกรนักศึกษาซึ่ง ไดรับการสนับสนุนสงเสริมจากสถาบัน ทั้งนี้ เพื่อใหนักศึกษาไดพัฒนารางกายอารมณ สังคม สติปญญา ตลอดจนคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค ไดแก ความรู ทักษะการคิด ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะหและการสื่อสาร และการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานกิจการนักศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา3. รางกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (National Qualifications Framework for HigherEducation) สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษาตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย3.1 มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงคตัวบงชี้ที่ 3.1 : มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกาชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : ตัวบงชี้นี้ตองการวัดความครบถวนของการบริการที่สถาบันจัดใหกับ นักศึกษาและศิษยเกาสถาบันตองใหบริการแกนักศึกษาในกิจกรรมตอไปนี้เปนอยางนอย ไดแก (1) การบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการเรียน เชน การจัดสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การบริการดาน<strong>งาน</strong>ทะเบียน การบริการนักศึกษานานาชาติ(2) การบริการดานกายภาพที่สงเสริม<strong>คุณภาพ</strong>ชีวิตของนักศึกษา เชน หอพักนักศึกษา สภาพแวดลอม หองเรียนสถานที่ออกกําลังกาย บริการอนามัย การจัดจําหนายอาหาร (3) การบริการดานการแนะแนวและการใหคําปรึกษา (4)การบริการดานขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา เชน ทุนกูยืมการศึกษา แหลงทุนการศึกษาตอการบริการจัดหา<strong>งาน</strong> แหลงขอมูลการฝกประสบการณวิชาชีพ ขอมูล ขาวสารความเคลื่อนไหวในและนอกสถาบันที่จําเปนแกนักศึกษาและศิษยเกา และ (5) การจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกาในรูปแบบตาง ๆวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาแนวปฏิบัติที่ดี :1. สํารวจความตองการจําเปน (needs assessment) ของนักศึกษาปที่ 12. จัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา เชน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร หองสมุด ศูนยการเรียนรู และสื่อการเรียน เปนตน3. จัดบริการดานกายภาพที่สงเสริม<strong>คุณภาพ</strong>ชีวิตของนักศึกษา เชน หอพัก สภาพแวดลอมในสถาบันสภาพหองเรียน สถานที่ออกกําลังกายและบริการอนามัย เปนตน4. จัดบริการดานการใหคําปรึกษาแกนักศึกษาทั้งเกี่ยวของและไมเกี่ยวของกับวิชาการ5. จัดบริการแหลงขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนแกนักศึกษาและศิษยเกา เชน ทุนกูยืมการศึกษาการบริการจัดหา<strong>งาน</strong> แหลงทุนศึกษาตอ เปนตน6. จัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา7. ประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ของการใหบริการและ<strong>คุณภาพ</strong>ชีวิตของนักศึกษาเปนประจําทุกป เพื่อนําไปพัฒนาการบริการขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานที่แสดงวาสถาบันมีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกาใน 5 เรื่อง ไดแก บริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรู บริการดานกายภาพที่สงเสริม<strong>คุณภาพ</strong>ชีวิต บริการใหคําปรึกษา บริการแหลงขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา และโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา ดังตอไปนี้1. เอกสารหรือหลักฐานการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 12. เอกสารหลักฐานการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา3. หลักฐานการเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการจัดบริการใหแกนักศึกษาและศิษยเกา ไดแกประกาศ แผนพับ การประชาสัมพันธผานสื่อสิ่งพิมพ หรือ website ของสถาบัน4. ขอมูลสถิติเกี่ยวกับจํานวนหนังสือ วารสาร สื่อสิ่งพิมพ เครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณที่เกี่ยวของเพื่อการสืบคนขอมูลที่จัดหาเขาหองสมุด หรือจัดใหบริการแกนักศึกษา5. หลักฐานโครงการความรวมมือของสถาบันกับองคกรตาง ๆ ในการพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา6. ขอมูลหลักฐานเกี่ยวกับการบริการนักศึกษาและศิษยเกาจากฝายกิจการนักศึกษาของคณะและสถาบัน7. รายชื่อหนวยบริการและโครงการหรือกิจกรรมบริการที่แตละหนวยจัดบริการแกนักศึกษา และศิษยเกา8. ราย<strong>งาน</strong>ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและศิษยเกาเกี่ยวกับการบริการที่ไดรับเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 12. มีการจัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูของ นักศึกษา3. มีการจัดบริการดานกายภาพที่สงเสริม<strong>คุณภาพ</strong>ชีวิตของนักศึกษา4. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาแกนักศึกษา59วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


60คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา5. มีบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา6. มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา7. มีการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ของการใหบริการทั้ง 5 เรื่องขางตนเปนประจําทุกป8. นําผลการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ของการใหบริการมาพัฒนาการจัดบริการแกนักศึกษา และศิษยเกาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 7 ขอแรกมีการดําเนินการ7 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 3.2 : มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : ตัวบงชี้นี้ตองการใหมีการสงเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาอยางเหมาะสมและครบถวนกิจกรรมนักศึกษาหมายถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ดําเนินการทั้งโดยคณะและโดยองคการนักศึกษา เปนกิจกรรมที่ผูเขารวมจะมีโอกาสไดรับการพัฒนาสติปญญา สังคม อารมณ รางกาย และคุณธรรมจริยธรรมสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค 5 ประการ ไดแก (1) ความรู (2) ทักษะการคิด (3) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (4) ทักษะการวิเคราะหและการสื่อสาร และ (5) การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีการกําหนดแนวทางที่ชัดเจนในการสงเสริมการจัดกิจกรรม ทั้งโดยคณะและโดยองคการนักศึกษาที่สอดคลองกับวิสัยทัศนและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตลอดจน สอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในแตละระดับการศึกษา2. มีการสงเสริมและติดตามผลการจัดกิจกรรมนักศึกษาใหครบถวนอยางนอยในกิจกรรมตอไปนี้- กิจกรรมวิชาการ- กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ- กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม- กิจกรรมนันทนาการ- กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม3. มีการจัดทําราย<strong>งาน</strong>ผลการติดตามและประเมินโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่ดําเนินการ โดยคณะและโดยองคการนักศึกษาตอผูบริหารและคณะกรรมการที่เกี่ยวของทุกสิ้นป การศึกษา4. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่องวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานที่แสดงวา สถาบันมีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค อาทิ1. คําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายคณะกรรมการ คณะทํา<strong>งาน</strong> หนวย<strong>งาน</strong>เพื่อทําหนาที่กําหนดแนวทางการสงเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่สอดคลองกับวิสัยทัศนและ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา2. จํานวนและรายชื่อโครงการหรือกิจกรรมนักศึกษา จําแนกตามประเภท กิจกรรม อาทิ กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและสงเสริมสุขภาพ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม กิจกรรมนันทนาการกิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม3. หลักฐานการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการจัดกิจกรรมนักศึกษา4. เอกสารประกาศ กฎระเบียบ หลักเกณฑ นโยบายของสถาบันเกี่ยวกับการสงเสริม<strong>งาน</strong>กิจการนักศึกษาของสถาบัน5. คูมือนักศึกษาจากฝายกิจกรรมนักศึกษา6. เอกสารราย<strong>งาน</strong>การประเมินผลการจัดกิจกรรมนักศึกษาทั้งที่จัดโดยสถาบันและองคการนักศึกษา7. เอกสาร สื่อ สิ่งพิมพเกี่ยวกับกิจกรรมนักศึกษาของสถาบันเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับวิสัยทัศนของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา2. มีการสงเสริมใหสถาบันและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาใหครบทุกประเภทโดยอยางนอยตองดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี้- กิจกรรมวิชาการ- กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ- กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม- กิจกรรมนันทนาการ- กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม3. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่จัดโดยสถาบันและองคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา4. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่องเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอ61วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


62คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบที่ 4 การวิจัยหลักการหนวย<strong>งาน</strong>แตละแหงอาจมีจุดเนนในเรื่องการวิจัยที่แตกตางกันขึ้นกับ สภาพแวดลอมและความพรอมของแตละหนวย<strong>งาน</strong> อยางไรก็ตามทุกหนวย<strong>งาน</strong>จําเปนตองมีพันธกิจนี้เปนสวนหนึ่งของพันธกิจสถาบัน ดังนั้นจึงตองมีระบบและกลไกควบคุมใหสามารถดําเนินการในพันธกิจดานนี้อยางมีประสิทธิภาพและ<strong>คุณภาพ</strong>ภายใตจุดเนนเฉพาะของแตละหนวย<strong>งาน</strong> เพื่อใหไดผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่เกิดประโยชน การวิจัยจะประสบความสําเร็จ และเกิดประโยชนจําเปนตองมีสวนประกอบที่สําคัญสามประการ คือ 1) สถาบันตองมีแผนการวิจัยมีระบบและกลไกตลอดจนมีการสนับสนุนทรัพยากรใหสามารถดําเนินการไดตามแผน 2) บุคลากรมีสวนรวมในการวิจัยอยางเขมแข็งโดยบูรณาการ<strong>งาน</strong>วิจัยกับการจัดการเรียนการสอน และพันธกิจดานอื่นๆ ของหนวย<strong>งาน</strong>3) ผล<strong>งาน</strong>วิจัยมี<strong>คุณภาพ</strong>มีประโยชน สนองยุทธศาสตรของชาติ และมีการเผยแพรอยางกวางขวางมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา3. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)4. ยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ5. แนวทางปฏิบัติจรรยาบรรณนักวิจัย สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการวิจัยแหงชาติตัวบงชี้ จํานวน 4 ตัวบงชี้ ประกอบดวย4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิต<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค4.2 มีระบบบริหารจัดการความรูจาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค4.3 เงินสนับสนุน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา4.4 รอยละของ<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและ ในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําตัวบงชี้ที่ 4.1 : มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิต<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันอุดมศึกษาตองมีการบริหารจัดการ<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่มี<strong>คุณภาพ</strong>โดยมีแนวทางการดําเนิน<strong>งาน</strong>ที่เปนระบบและมีกลไกสงเสริมสนับสนุนครบถวนเพื่อใหสามารถดําเนินการไดตามแผนที่กําหนดไว ทั้งการสนับสนุนดานการจัดหาแหลงทุนวิจัยและการจัดสรรทุนวิจัย การสงเสริมพัฒนาสมรรถนะวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาแกนักวิจัยและทีมวิจัย การสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนซึ่งรวมถึงทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรการเงิน เครื่องมืออุปกรณที่เกี่ยวของตางๆ ตลอดจน จัดระบบสรางขวัญและกําลังใจแกนักวิจัยอยางเหมาะสมแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีระบบบริหาร<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่สงเสริมการบูรณาการและ สอดคลองไปในแนวเดียวกันกับภารกิจดานอื่นของสถาบัน เพื่อใหการดําเนิน<strong>งาน</strong>บรรลุเปาหมาย ตามแผนของหนวย<strong>งาน</strong>และสอดคลองกับยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ2. มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหาร<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคอยางครบถวน และใชประโยชนไดจริง3. มีการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการวิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคอยางเพียงพอ ทั้งทรัพยากรการเงินทรัพยากรบุคคล แหลงคนควา หองปฏิบัติการและสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ4. มีกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัย กับองคกรภายนอกทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคอุตสาหกรรมในการทํา<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรครวมกัน5. มีการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัย มีการควบคุมนักวิจัยใหปฏิบัติตามจรรยาบรรณมีการสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคดีเดน6. มีการสรางทีมวิจัยเพื่อผลิตผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคระดับสากลขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>วิจัยของหนวย<strong>งาน</strong>และหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. จํานวนโครงการการบริหาร<strong>งาน</strong>วิจัยของสถาบัน ตลอดจนระเบียบ ขอบังคับมาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหาร<strong>งาน</strong>วิจัย เชน ขอมูลหรือหลักฐานการจัดหาแหลงทุน ขอมูลการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการวิจัย ขอมูลการสนับสนุนทรัพยากรดานอื่นๆ ตอการวิจัยขอมูลทุนวิจัยที่คณาจารยไดรับพรอมชื่อคณาจารย ขอมูล เกี่ยวกับผลการวิจัยที่ตีพิมพหรือเผยแพรในลักษณะอื่นๆหรือการนําไปใชประโยชน ตลอดจนขอมูลหรือหลักฐานการสรางขวัญและกําลังใจแกนักวิจัย เปนตน4. ขอมูลหรือหลักฐานการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยและทีมวิจัย5. เอกสารหลักฐานความรวมมือในการวิจัยกับหนวย<strong>งาน</strong>ตางๆเกณฑมาตรฐาน : ขอ1. มีการจัดทําระบบบริหาร<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนของหนวย<strong>งาน</strong>และสอดคลองกับยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ2. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหาร<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่ใชประโยชนไดจริง63วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


64คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย5. มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคดีเดน6. มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอกทั้งภาครัฐเอกชนและภาคอุตสาหกรรมเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอมีการดําเนินการ3 – 4 ขอตัวบงชี้ที่ 4.2 : มีระบบบริหารจัดการความรูจาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอคําอธิบายตัวบงชี้ : การบริหารจัดการความรูจากผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคเพื่อเผยแพร ไปยังคณาจารยนักศึกษา วงการวิชาการ หนวย<strong>งาน</strong>ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนชุมชน เปาหมายที่จะนําผลการวิจัยไปใชประโยชนเปนเรื่องที่มีความสําคัญสําหรับทุกหนวย<strong>งาน</strong> ดังนั้นสถาบันตองจัดระบบสงเสริม สนับสนุนใหมีระบบการรวบรวมเผยแพร และแลกเปลี่ยนเรียนรูในทรัพยสินทางปญญาจาก<strong>งาน</strong>วิจัยอยางเหมาะสมกับผูใชแตละกลุม โดย สิ่งที่เผยแพรตองมี<strong>คุณภาพ</strong>เชื่อถือได และรวดเร็วทันเหตุการณแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีการสงเสริมสนับสนุนการเผยแพรผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคในวงการ วิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ2. มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่เชื่อถือไดและรวดเร็วทันตอการใชประโยชน3. มีเครือขายเผยแพรผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคไปยังนักวิชาการ นักศึกษาและชุมชนภายนอกสถาบัน4. มีกลไกในการสงเสริม สนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอกหนวย<strong>งาน</strong>ทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในและตางประเทศ ในการนําผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคไปใชประโยชน5. มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบัตรการซื้อขายทรัพยสินทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของ<strong>งาน</strong>วิจัย หรือสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัยเจาของผล<strong>งาน</strong>วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :เอกสารหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาหนวย<strong>งาน</strong>มีระบบบริหารจัดการความรูจาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค ประกอบดวย1. คําสั่งหรือการมอบหมายคณะกรรมการ คณะทํา<strong>งาน</strong> หรือหนวย<strong>งาน</strong>จัดทําระบบรวบรวมคัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค2. ระบบฐานขอมูลเพื่อเปนศูนยรวมสารสนเทศ<strong>งาน</strong>วิจัยรวมทั้งระบบ intranet, internet และ websiteที่เกี่ยวกับ<strong>งาน</strong>วิจัยของหนวย<strong>งาน</strong>3. กระบวนการดําเนินการเพื่อเผยแพรหรือถายทอดความรูไปสูวงการวิชาการและการนําไปใชประโยชนทั้งภายในและภายนอกหนวย<strong>งาน</strong>4. เอกสารหลักฐานความรวมมือระหวางหนวย<strong>งาน</strong>หรือนักวิจัยกับองคกรภายนอกหนวย<strong>งาน</strong>5. เอกสารการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดานการจัดการและคุมครองทรัพยสินทางปญญาของหนวย<strong>งาน</strong>6. ระเบียบ กฎเกณฑ และหรือแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรวบรวม คัดสรร เผยแพร และแลกเปลี่ยนเรียนรูในทรัพยสินดานความรูจากการวิจัยไปยังทุกกลุมเปาหมาย ทั้งคณาจารย นักศึกษา ผูมีสวนไดสวนเสียอื่นๆทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย7. จํานวน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่สถาบันสนับสนุนใหมีการเผยแพรในวงวิชาการหรือนําไปใชประโยชน8. จํานวน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่ไดรับการคัดสรร วิเคราะหและ สังเคราะหความรูเพื่อประโยชนแกชุมชนและสังคมผานชองทางตาง ๆ9. จํานวน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่สถาบันสนับสนุนใหจดสิทธิบัตรหรือซื้อขายทรัพยสินทางปญญา10. ชื่อเครือขายหรือหนวย<strong>งาน</strong>ที่หนวย<strong>งาน</strong>มีความรวมมือทางวิชาการอันเปนผลมาจากผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคของหนวย<strong>งาน</strong>เกณฑมาตรฐาน : ขอ1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการนําไปใชประโยชน2. มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจาก<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่เชื่อถือไดและรวดเร็วทันตอการใชประโยชน3. มีการสรางเครือขายเผยแพรผล<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคไปยังผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน4. มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคการภายนอกสถาบันเพื่อการนําผล<strong>งาน</strong>ไปใชประโยชน5. มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบัตรการซื้อขายทรัพยสินทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของ<strong>งาน</strong>วิจัย หรือสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัยเจาของผล<strong>งาน</strong>65วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


66คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอมีการดําเนินการ3 ขอมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอตัวบงชี้ที่ 4.3 : เงินสนับสนุน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจําชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขาคําอธิบายตัวบงชี้ : ตัวบงชี้นี้ตองการวัดถึงจํานวนเงินสนับสนุน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค ทั้งที่สถาบันจัดสรรใหเองและที่ไดรับจากภายนอก เพื่อการสนับสนุนการทําวิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่มีการศึกษาคนควาซึ่งเปนที่ยอมรับหรือมีการนําไปใชประโยชน และจํานวนเงินที่ไดรับการสนับสนุนอาจรวมถึงวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือตางๆที่อาจารยประจําและนักวิจัยไดรับการสนับสนุนจากภายนอกสําหรับ<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคในกรณีที่เปนวัสดุอุปกรณ เครื่องมือใหคํานวณเปนจํานวนเงินตามราคาของสิ่งนั้นๆขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ สําหรับการนับจํานวนอาจารยประจําและจํานวนเงินใหใชหลักเกณฑ ดังนี้1. จํานวนอาจารยประจํา ใหนับรวมนักวิจัย และไมนับรวมอาจารยประจําและ นักวิจัยที่ลาศึกษาตอ2. จํานวนเงินสนับสนุนการทําวิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรค จําแนกเปนเงินสนับสนุนจากสถาบัน และจากแหลงทุนตาง ๆ ภายนอกสถาบัน ดังนี้2.1 จํานวนเงินสนับสนุนการทําวิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่สถาบันจัดสรรใหกับอาจารยและนักวิจัย โดยใหนับเฉพาะจํานวนเงินที่ไดรับอนุมัติใหมีการเบิกจาย ไมใชตัวเลข งบประมาณที่จัดสรร2.2 จํานวนเงินสนับสนุนการทําวิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคจากภายนอก สถาบัน จําแนกตามแหลงเงินทุน ดังนี้- แหลงทุนในประเทศ เชน สวทช. สกว. สกอ. วช. เปนตน- แหลงทุนตางประเทศ- หนวย<strong>งาน</strong>ภาคอุตสาหกรรม กระทรวง จังหวัด อื่น ๆ ที่ไมใชแหลงทุนวิจัย- หนวย<strong>งาน</strong>ภาคเอกชน- แหลงอื่น ๆหมายเหตุ1. จํานวนเงินสนับสนุนการทําวิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคใหคิดตามปงบประมาณ2. กรณีมีผูรวมทําหลายคนหลายหนวย<strong>งาน</strong> ใหแบงสัดสวนเงินเปนคาเฉลี่ยตามจํานวนผูเขารวมโครงการวิจัยวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. กรณีโครงการวิจัยนั้นไดรับทุนสนับสนุนเปนเวลามากกวา 1 ป ใหราย<strong>งาน</strong>จํานวนเงินเฉลี่ยตามสัดสวนในปการศึกษานั้นเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3อยูระหวาง 1 - 16,999.- บาท 17,000.-บาท – 24,999.- บาท มากกวาหรือเทากับ 25,000.- บาท67ตัวบงชี้ที่ 4.4 : รอยละของ<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : <strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่เปนผลิตภาพของสถาบันอุดมศึกษา เกิดจากการติดตามความกาวหนาทางวิชาการและการพัฒนาองคความรูอยางตอเนื่องของคณาจารย จึงเปนผล<strong>งาน</strong>ที่มีคุณคา สมควรสงเสริมใหมีการเผยแพรและนําไปใชประโยชนทั้งในเชิงวิชาการ และการแขงขันของประเทศ การสรางความรูความเขาใจและสรางระบบบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญาของผลิตภาพดังกลาว อาทิ การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตรจะชวยสนับสนุนให<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคมีความคุมคาและเกิดมูลคาเพิ่มขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ สําหรับการนับจํานวนอาจารยประจําและผล<strong>งาน</strong>ใหใชหลักเกณฑ ดังนี้ :1. จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย ไมนับรวมอาจารยและนักวิจัยที่ลาศึกษาตอ2. จํานวน<strong>งาน</strong>วิจัยและ<strong>งาน</strong>สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรือ อนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติหมายเหตุ1. การเผยแพรผล<strong>งาน</strong> 1 เรื่องมากกวา 1 ครั้ง ใหนับเพียงครั้งเดียว โดยควรนําเสนอผลการเผยแพรที่มี<strong>คุณภาพ</strong>เชิงวิชาการมากที่สุด2. การตีพิมพในวารสาร นับเมื่อกองบรรณาธิการวารสารตอบรับแลว3. บทความที่ไดรับการนําเสนอในการประชุมหรือสัมมนาวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ หมายถึงบทความที่ไมใชบทคัดยอสําหรับบทความที่ไดรับการคัดเลือกตีพิมพรวมเลม ในราย<strong>งาน</strong>สืบเนื่องจากการประชุม(proceeding)4. การราย<strong>งาน</strong>ขอมูลบทความที่ไดรับการตีพิมพ ใหจําแนกตามประเภทผล<strong>งาน</strong>ที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับตาง ๆ โดยระบุรายละเอียด ดังนี้- ชื่อ เลมที่ และวัน เดือน ป ของวารสารที่ตีพิมพวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


68คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา- ชื่อบทความและเลขหนา- ชื่อผูเขียน5. การนับจํานวนการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตรทั้งในและตางประเทศ ใหนับเฉพาะที่ไดรับการจดทะเบียนในปนั้น โดยไมนับรวมกรณีอยูในระหวางยื่นจดทะเบียน และไมนับรวมการจดลิขสิทธิ์และการทะเบียนเครื่องหมายการคาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 1 - รอยละ 19 รอยละ 20 – รอยละ 29 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา69องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคมหลักการการบริการวิชาการแกสังคมเปนหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันพึงใหบริการวิชาการแกชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในรูปแบบตางๆ ตามความถนัดและในดานที่สถาบันมีความเชี่ยวชาญการใหบริการวิชาการอาจใหเปลาโดยไมคิดคาใชจายหรืออาจคิดคาใชจายตามความเหมาะสมใหทั้งองคการภาครัฐและเอกชน องคการอิสระ องคการสาธารณะ ชุมชน และ สังคมโดยกวาง รูปแบบการใหบริการวิชาการมีความหลากหลาย เชน การอนุญาตใหใชประโยชนทรัพยากรของสถาบัน เปนแหลงอางอิงทางวิชาการ ใหคําปรึกษาใหการอบรม จัดประชุมหรือ สัมมนาวิชาการ ทํา<strong>งาน</strong>วิจัยเพื่อตอบคําถามตางๆ หรือเพื่อชี้แนะสังคม การใหบริการวิชาการนอกจากเปนการทําประโยชนใหสังคมแลว สถาบันยังไดรับประโยชนในดานตางๆ คือ เพิ่มพูนความรูและประสบการณของอาจารยอันจะนํามาสูการพัฒนาหลักสูตร มีการบูรณาการเพื่อใชประโยชนทางดานการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย พัฒนาตําแหนงทางวิชาการของอาจารย สรางเครือขายกับองคการตาง ๆ ซึ่งเปนแหลง<strong>งาน</strong>ของนักศึกษาและเปนการสรางรายไดของสถาบันจากการใหบริการวิชาการดวยมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)3. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตัวบงชี้ จํานวน 4 ตัวบงชี้ ประกอบดวย5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน5.2 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคมเปนที่ปรึกษาเปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและ นานาชาติตออาจารยประจํา5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


70คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวบงชี้ที่ 5.1 : มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบันชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : การบริการทางวิชาการแกสังคมเปนภารกิจหลักอยางหนึ่งของสถาบัน อุดมศึกษาหนวย<strong>งาน</strong>ตางๆ พึงมีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมที่เปนรูปธรรม กําหนด เปาหมายในการใหบริการวิชาการใหชัดเจน มีการติดตาม กํากับ สนับสนุน การปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ตามภารกิจดานบริการทางวิชาการแกสังคมของบุคลากรของหนวย<strong>งาน</strong>ใหสอดคลองกับเปาหมายของหนวย<strong>งาน</strong>แนวปฏิบัติที่ดี :1. หนวย<strong>งาน</strong>จัดระบบและกลไก เพื่อใหสามารถดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามนโยบายและแผน<strong>งาน</strong> ดานการบริการวิชาการแกสังคม2. มีการกําหนดสัดสวนภาระ<strong>งาน</strong>การบริการวิชาการแกสังคมของบุคลากรตามจุดเนนของหนวย<strong>งาน</strong>3. มีการประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>บริการวิชาการแกสังคมตามนโยบายและแผน<strong>งาน</strong>4. มีการประเมินสัมฤทธิผลของความเชื่อมโยงสนับสนุนซึ่งกันและกันและบูรณาการระหวางการบริการวิชาการแกสังคมกับภารกิจดานอื่นๆ ของหนวย<strong>งาน</strong>5. มีการนําผลการประเมินไปพัฒนา ปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคมใหเกิดประโยชนตอทั้งสังคมภายนอกและภารกิจทุกดานของหนวย<strong>งาน</strong>ขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. นโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนิน<strong>งาน</strong>ของการบริการวิชาการแกสังคมและหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการการบริหาร<strong>งาน</strong>บริการวิชาการแกสังคมของหนวย<strong>งาน</strong> ตลอดจนระเบียบ ขอบังคับมาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหาร<strong>งาน</strong>บริการวิชาการแกสังคมเชน คําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายผูรับผิดชอบ หลักฐานดําเนินการกําหนดสัดสวนมาตรฐานภาระ<strong>งาน</strong>ดานการบริการวิชาการแกคณาจารยและบุคลากร4. ขอมูลหรือหลักฐานการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการบริการวิชาการ5. ขอมูลหรือหลักฐานการพัฒนาอาจารยใหมีสมรรถนะในการบริการวิชาการแกสังคม6. แผนบูรณาการการบริการทางวิชาการแกสังคมเขากับการเรียนการสอน การวิจัยและการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม7. จํานวนโครงการหรือกิจกรรมที่มีการนําความรูประสบการณจากการบริการวิชาการแกสังคมมาใชในการเรียนการสอน การวิจัย และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม8. ราย<strong>งาน</strong>ผลการประเมินสัมฤทธิผลของการเชื่อมโยงการบริการวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอน การวิจัย และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนิน<strong>งาน</strong>ของการบริการวิชาการแกสังคม2. มีคณะกรรมการ คณะทํา<strong>งาน</strong>หรือหนวย<strong>งาน</strong>ดําเนินการใหบริการวิชาการแกสังคมตามแผนที่กําหนด3. มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการแกสังคม4. มีการประเมินผลการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ตามแผนที่กําหนด5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม6. มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการแกสังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม7. มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุงความเชื่อมโยง และบูรณาการระหวางการบริการวิชาการแกสังคมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบันเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกตัวบงชี้ที่ 5.2 : รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษาเปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจําชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขาคําอธิบายตัวบงชี้ : อาจารยพึงมีภาระ<strong>งาน</strong>ดานบริการทางวิชาการแกสังคมและดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามภาระ<strong>งาน</strong>ที่สถาบันกําหนด โดยสถาบันสรางระบบจูงใจใหอาจารยสนใจใหบริการทางวิชาการ สงเสริม สนับสนุนใหอาจารยใหบริการทางวิชาการ จัดหากิจกรรมหรือโครงการบริการทางวิชาการ และมีการจัดทําฐานขอมูลเพื่อสนับสนุนการใหบริการทางวิชาการขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ การนับจํานวนอาจารยที่มีสวนรวมในการบริการวิชาการจะไมนับซ้ํา แมวาอาจารยทานนั้นมีสวนรวม ในกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยหลายกิจกรรมหรือหลายโครงการหรือเปนที่ปรึกษาหรือกรรมการหลายตําแหนง และสามารถนับอาจารยประจําที่ลาศึกษาตอไดดวย ดังนั้น ตัวเปรียบเทียบจึงเปนจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด ทั้งที่ปฏิบัติ<strong>งาน</strong>จริงและลาศึกษาตอ71วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


72คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3อยูระหวางรอยละ 1 - รอยละ 14รอยละ 15 - รอยละ 24มากกวาหรือเทากับรอยละ 25ตัวบงชี้ที่ 5.3 : รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจําชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : ตัวบงชี้นี้ตองการวัดจํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่สถาบันไดจัดขึ้นเพื่อใหบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนหรือเพื่อตอบสนองความตองการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ (การนับจํานวนอาจารยประจําใหนับเฉพาะที่ปฏิบัติ<strong>งาน</strong>จริง)หมายเหตุ : การนับจํานวน หากโครงการใดมีกิจกรรมยอยแทรกอยูในหนึ่งโครงการ ใหสามารถนับกิจกรรมยอยแทนการนับโครงการไดเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3อยูระหวางรอยละ 1 – รอยละ 19รอยละ 20 – รอยละ 29มากกวาหรือเทากับรอยละ 30ตัวบงชี้ที่ 5.4 : รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : การบริการวิชาการแกสังคม เปนการตอบสนองและแสดงรับผิดชอบตอสังคมซึ่งถือเปนบทบาทของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสากลของการอุดมศึกษา การตอบสนองดังกลาวจะมี<strong>คุณภาพ</strong>มากนอยเพียงใด สามารถสะทอนไดจากความพึงพอใจของผูรับบริการ ทั้งประชาชนผูมารับบริการ เจาหนาที่ของรัฐ หรือหนวย<strong>งาน</strong>ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งการสํารวจความพึงพอใจโดยทั่วไปจะพิจารณา 4 ประเด็นสําคัญ คือ1. ความพึงพอใจดานกระบวนการ ขั้นตอนการใหบริการ2. ความพึงพอใจดานเจาหนาที่ผูใหบริการวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. ความพึงพอใจดานสิ่งอํานวยความสะดวก4. ความพึงพอใจตอ<strong>คุณภาพ</strong>การใหบริการแตสําหรับสถาบันอุดมศึกษา นอกจากความพึงพอใจในสี่ประเด็นขางตนแลว ยังรวมถึงความพึงพอใจตอบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา 3 ดาน คือ การเปนผูเตือนสติสังคม การชี้นําสังคม และการตอบสนองตอความตองการของสังคมขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและราย<strong>งาน</strong>ผลสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ (ทั้งนี้ ใหนําผลการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการของสถาบันอุดมศึกษาโดย สํานัก<strong>งาน</strong> ก.พ.ร. มาใชในตัวบงชี้นี้ สําหรับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สวนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให ใชผลสํารวจของสถาบัน)เกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 65 - รอยละ 74 รอยละ 75 - รอยละ 84 มากกวาหรือเทากับรอยละ 8573วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


74คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมหลักการการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมถือเปนพันธกิจสําคัญประการหนึ่งของ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เพราะเปนสถาบันที่มีจุดเดนในดานนี้ ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา จึงมีระบบและกลไกควบคุมการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดานนี้ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ<strong>คุณภาพ</strong> โดยมีจุดเนนและมีการบูรณาการเขากับการผลิตบัณฑิต <strong>งาน</strong>วิจัย และการบริการวิชาการ รวมทั้งดําเนินการเพื่อใหเกิดการพัฒนามาตรฐานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 5 ดาน ไดแก มาตรฐานดานนโยบาย ดานการสงเสริม ดานการสนับสนุน ดานการสรางมาตรฐาน และดานการ เผยแพรศิลปวัฒนธรรม และเชื่อมโยงความรูทองถิ่นสูสากล อันจะเปนกลไกในการฟนฟูอนุรักษ สืบสาน พัฒนา เผยแพรศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งสรางสรรค สงเสริมภูมิปญญาไทยใหเปนรากฐานการพัฒนาองคความรูที่ดีขึ้นมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก ระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)3. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ4. ดัชนีบงชี้และเกณฑประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)ตัวบงชี้ จํานวน 3 ตัวบงชี้ ประกอบดวย6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม6.2 มีผล<strong>งาน</strong> หรือชิ้น<strong>งาน</strong>การพัฒนาองคความรู และสรางมาตรฐานศิลปวัฒนธรรม6.3 ประสิทธิผลในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


ตัวบงชี้ที่ 6.1 : มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันอุดมศึกษาตองมีนโยบาย แผน<strong>งาน</strong> โครงสราง และการบริหารจัดการ <strong>งาน</strong>ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมทั้งการอนุรักษ ฟนฟู สืบสานเผยแพรวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นและ การปรับใชศิลปวัฒนธรรมตางประเทศ โดยมีความสมดุลระหวางการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ภายในและภายนอก ตามจุดเนนของสถาบันอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลแนวปฏิบัติที่ดี :1. หนวย<strong>งาน</strong>มีการดําเนินการดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่สงเสริมการบูรณาการศิลปวัฒนธรรมกับวิถีชีวิตประชาคมและเกิดผลสัมฤทธิ์ตามนโนบายและแผน<strong>งาน</strong>ดาน ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม2. หนวย<strong>งาน</strong>มีการสงเสริมการจัดกิจกรรมที่นําไปสูการสรางสรรค<strong>งาน</strong>ดานศิลปวัฒนธรรม3. หนวย<strong>งาน</strong>มีการสนับสนุนงบประมาณ การจัดหาแหลงทุนเพื่อการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดานศิลปวัฒนธรรม4. หนวย<strong>งาน</strong>มีการจัดทําฐานขอมูลเพื่อการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม5. หนวย<strong>งาน</strong>มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม6. หนวย<strong>งาน</strong>มีการเผยแพรผล<strong>งาน</strong>ดานศิลปวัฒนธรรมขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิง เชน1. แผน<strong>งาน</strong>ดานศิลปวัฒนธรรมของหนวย<strong>งาน</strong>และหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการการบริหาร<strong>งาน</strong>ดานศิลปวัฒนธรรมของหนวย<strong>งาน</strong> ตลอดจนระเบียบขอบังคับ มาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหาร<strong>งาน</strong>ศิลปวัฒนธรรม เชน คําสั่ง แตงตั้งหรือมอบหมายผูรับผิดชอบ หลักฐานการสงเสริมสนับสนุนใหอาจารยและบุคลากรทํา<strong>งาน</strong>ทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม และบูรณาการศิลปวัฒนธรรมกับวิถีชีวิตประชาคม ขอมูลและหลักฐานการจัด กิจกรรมดานศิลปะและวัฒนธรรม การจัดสรรทรัพยากรสนับสนุน ขอมูลเกี่ยวกับผล<strong>งาน</strong>และ<strong>งาน</strong> สรางสรรคดานศิลปวัฒนธรรม แบบประเมินผลการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>4. เอกสารหลักฐานความรวมมือและการใหบริการวิชาการดานศิลปวัฒนธรรมหลักฐานการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม หลักฐานการเผยแพรผล<strong>งาน</strong>ดาน ศิลปวัฒนธรรมทั้งระดับชาติและนานาชาติเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติได และมีแผน<strong>งาน</strong>รองรับ2. มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับแผน<strong>งาน</strong> และมีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง3. มีการบูรณาการ<strong>งาน</strong>ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจดานอื่น ๆ75วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


76คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา4. มีการสงเสริมการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม การสรางบรรยากาศศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียงและตอเนื่อง5. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม โดยผูเชี่ยวชาญ และมีผล<strong>งาน</strong>เปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ6. มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรือเวทีแสดงผล<strong>งาน</strong> จัดทําวารสารศิลปวัฒนธรรมในระดับตาง ๆ มีความรวมมือในการใหการบริการวิชาการดานศิลปวัฒนธรรมกับสังคมในระดับตาง ๆเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรกมีการดําเนินการ4 – 5 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 6.2 : มีผล<strong>งาน</strong>หรือชิ้น<strong>งาน</strong>การพัฒนาองคความรู และสรางมาตรฐานศิลปวัฒนธรรมชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : ตัวบงชี้ที่แสดงวาสถาบันมีการปฏิบัติพันธกิจดานการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมที่เปนรูปธรรม คือ การมีผล<strong>งาน</strong> หรือชิ้น<strong>งาน</strong>ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาองคความรูดาน ศิลปวัฒนธรรมที่สามารถนับได และเปนที่ยอมรับของวงวิชาการดานนี้ และมีรองรอยหรือกระบวนการ หรือความสําเร็จของการสรางมาตรฐานศิลปวัฒนธรรมที่ชัดเจนขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของที่ แสดงผล<strong>งาน</strong>ที่เกิดจากการพัฒนาองคความรูและสรางมาตรฐานศิลปวัฒนธรรม ไดแก1. จํานวนผล<strong>งาน</strong> หรือชิ้น<strong>งาน</strong>ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาองคความรูดานศิลปะและวัฒนธรรมในแตละปการศึกษา2. หลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการของการสรางมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรมที่ชัดเจนในแตละปการศึกษา อาทิ นโยบาย มติของกรรมการสภาสถาบันที่เกี่ยวกับการดําเนินการสรางมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรมราย<strong>งาน</strong>การประชุม หรือเอกสารหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของ3. หลักฐานที่แสดงถึงความสําเร็จของการสรางมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรมที่ชัดเจนในแตละปการศึกษาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3จํานวน 1 ผล<strong>งาน</strong> จํานวน 2 ผล<strong>งาน</strong> จํานวนมากกวาหรือเทากับ 3 ผล<strong>งาน</strong>วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


78คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการหลักการสถาบันอุดมศึกษาตองใหความสําคัญกับการบริหารจัดการ โดยมีสภามหาวิทยาลัย ทําหนาที่ในการกํากับดูแลการทํา<strong>งาน</strong>ของสถาบันการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ปจจัยที่สถาบันอุดมศึกษาจะทําหนาที่บริหารจัดการใหมี<strong>คุณภาพ</strong>ไดแก ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานขอมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรทั้งหมด ฯลฯ เพื่อสัมฤทธิผล ตามเปาหมายที่กําหนดไว โดยใชหลักการบริหารจัดการบานเมืองและสังคมที่ดี (good governance)มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>รับรอง มาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)3. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตัวบงชี้ จํานวน 9 ตัวบงชี้ ประกอบดวย7.1 สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันใหแขงขันไดในระดับสากล7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธํารงรักษาไวใหบุคลากรมี<strong>คุณภาพ</strong>และประสิทธิภาพ7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผล<strong>งาน</strong>ทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสู ระดับบุคคลวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวบงชี้ที่ 7.1 : สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันใหแขงขันไดในระดับสากลชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : <strong>คุณภาพ</strong>ของสถานศึกษาจะมีทิศทางที่จะพัฒนาตอไปในอนาคตไดอยางดี หรือไมขึ้นอยูกับวามีสภาสถาบันที่รับผิดชอบ ใหความสําคัญ และโปรงใส ติดตามกํากับดูแล สถานศึกษาอยางใกลชิด มีสวนรวมในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตร นโยบายของสถาบัน ดูแล ติดตามกํากับการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสถานศึกษา มีการประชุมสภาสถาบันการศึกษาอยางสม่ําเสมอพิจารณา และใหขอเสนอแนะราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินที่สถาบันนําเสนอแนวปฏิบัติที่ดี :1. สภาสถาบันกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตร และนโยบายของสถาบันรวมกับสถาบัน2. สภาสถาบันติดตามผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ที่สําคัญของภารกิจหลักของสถาบันอยางครบถวน3. มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอยางต่ํารอยละ 80 ของแผน ในการประชุมแตละครั้งมีกรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 และตองสงเอกสารใหกรรมการสภาสถาบันอยางนอย 7 วันกอนการประชุม4. มีการประเมิน<strong>งาน</strong>ของอธิการบดีหรือผูบริหารสูงสุด โดยมีหลักเกณฑที่ชัดเจนและตกลงกันไวลวงหนา5. สภาสภาบันบริหาร<strong>งาน</strong>โดยใชหลักธรรมาภิบาล เชน การปกปองผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสียโดยเฉพาะในประเด็นของ<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา การสงเสริมและตรวจติดตามการปฏิบัติตามกฎหมายภายใตหลักคุณธรรม จริยธรรม การเปดโอกาสใหมีสวนรวมและมีการตรวจสอบการดําเนิน<strong>งาน</strong> เปนตน6. มีการประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสภาสถาบัน และเปดเผยตอสาธารณชนเปนประจําทุกปขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผนการประชุม ราย<strong>งาน</strong>การประชุม และเอกสารประกอบการประชุมสภาสถาบัน2. เอกสารหลักฐานที่แสดงวาสภาสถาบันมีการบริหารจัดการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ อาทิรอยละของจํานวนครั้งและรอยละของการเขารวมประชุมของกรรมการในการประชุมจริงของสภาสถาบัน หลักฐานจํานวนวันที่สงเอกสารใหกรรมการสภาสถาบัน3. เอกสารหลักฐานที่แสดงวาสถาบันมีการบริหาร<strong>งาน</strong>โดยใชหลักธรรมาภิบาล เชน การปกปองผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสีย โดยเฉพาะในประเด็นของ<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา การสงเสริมและตรวจติดตามการปฏิบัติตามกฎหมายภายใตหลักคุณธรรม จริยธรรมภายในองคกร การเปดโอกาสใหมีการตรวจสอบสภาสถาบันตลอดจนการเปดเผยผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสภาสถาบันตอ สาธารณชน เปนตน4. เอกสารหลักฐานที่แสดงวาสภาสถาบันมีการติดตามและประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสถาบันและผูบริหารสถาบัน เชน เกณฑการประเมินผล<strong>งาน</strong>ของผูบริหารสูงสุดของสถาบัน รวมทั้งราย<strong>งาน</strong>การนําผลที่ไดไปปรับปรุงการบริหารสถาบัน79วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


80คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา5. ความสําเร็จของความรวมมือระหวางสภาสถาบันและสถาบันในการพัฒนายุทธศาสตร นโยบายและแผนพัฒนาสถาบันสูความเปนเลิศและการแขงขันได6. ความสําเร็จของการถายทอดนโยบายหรือทิศทางการบริหาร<strong>งาน</strong>ดวยหลักธรรมาภิบาลของสภาสถาบันไปสูสถาบันเกณฑมาตรฐาน : ขอ1. สภาสภาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบายของสถาบัน2. สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามภารกิจหลักของสถาบันมากกวาปละ 2 ครั้ง3. มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอยางต่ํารอยละ 80 ของแผน ในการประชุมแตละครั้งมีกรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 โดยมีการสงเอกสารใหกรรมการสภาสถาบันอยางนอย 7 วันกอนการประชุม4. สภาสถาบันจัดใหมีการประเมินผล<strong>งาน</strong>ของอธิการบดีหรือผูบริหารสูงสุดตามหลักเกณฑที่ตกลงกันไวลวงหนา5. สภาสถาบันมีการดําเนิน<strong>งาน</strong>โดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริมการบริหาร<strong>งาน</strong>โดยใชหลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกรเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอมีการดําเนินการ4 ขอมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 7.2 : ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของสถาบันชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : ปจจัยสนับสนุนที่สําคัญตอการเจริญกาวหนาของสถาบันอุดมศึกษาคือ ผูบริหารทุกระดับของสถาบันนั้น ๆ หากผูบริหารมีวิสัยทัศน เปนผูนําที่ดีมีธรรมาภิบาล รับผิดชอบตอสังคม รักความกาวหนา ดูแลบุคลากรอยางดี เปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจ แกปญหาและกํากับดูแล ติดตามผลการทํา<strong>งาน</strong>ของสถาบันไปในทิศทางที่ถูกตอง จะทําใหสถาบันเจริญรุดหนาอยางรวดเร็วแนวปฏิบัติที่ดี :1. ผูบริหารมีวิสัยทัศน และสามารถถายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ มีการนําขอมูล สารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>และพัฒนาสถาบัน2. มีความสามารถในการบริหารโดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบัน นักศึกษา และ ผูสวนไดสวนเสียวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. มีธรรมาภิบาล มีความสามารถในการกํากับดูแล ติดตามผลการทํา<strong>งาน</strong>ของสถาบัน และสามารถตัดสินใจแกไขปญหาอยางมีประสิทธิภาพ4. มีความสามารถดานการบริหาร<strong>งาน</strong>งบประมาณ บริหารรายได บริหาร<strong>งาน</strong>บุคคล และทรัพยากรอื่นๆ5. สนับสนุนใหบุคลากรในสถาบันและชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการใหอํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสมและจูงใจใหรักสถาบัน6. สรางบรรยากาศเพื่อสงเสริมใหบุคลากรมีพฤติกรรมที่ปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบปฏิบัติและมีจริยธรรมขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>และ/หรือหลักเกณฑและวิธีการสรรหาและพัฒนาสมรรถนะและภาวะผูนําของผูบริหารหนวย<strong>งาน</strong>ทุกระดับของสถาบัน และหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามหลักเกณฑดังกลาว ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. จํานวนกิจกรรมหรือโครงการการสงเสริมและพัฒนาผูบริหารสถาบัน ตลอดจนหลักเกณฑระเบียบ ขอบังคับ มาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและพัฒนาผูบริหารสถาบัน เชน หลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>และภาวะผูนําของผูบริหารหนวย<strong>งาน</strong>ทุกระดับ หลักฐานการสงเสริมสนับสนุน ขอมูลเกี่ยวกับผล<strong>งาน</strong>และรางวัลดานการบริหารของผูบริหาร4. ราย<strong>งาน</strong>ผลการประเมินผูบริหารหนวย<strong>งาน</strong>ทุกระดับ5. จํานวนผูบริหารที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพและภาวะผูนํา6. ความสําเร็จของแผนพัฒนาสมรรถนะและภาวะผูนําของผูบริหาร และการเตรียม ผูบริหารในอนาคต7. ราย<strong>งาน</strong>ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากร และสภาสถาบันที่มีตอการบริหาร<strong>งาน</strong>สถาบันของผูบริหารเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได2. ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยู โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย3. มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ของผูบริหารที่ชัดเจน และเปนที่ยอมรับในสถาบัน4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน81วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


82คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ 7.3 : มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : มาตรฐานอุดมศึกษาขอที่ 3 กําหนดใหสถาบันมีการสรางและพัฒนาสังคม ฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู ซึ่งตองมีการจัดการความรูเพื่อมุงสูองคการแหงการเรียนรู โดยมี การรวบรวมองคความรูที่มีอยูในองคกรซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหสถาบันอุดมศึกษามีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรูในองคกร ประกอบดวย การระบุความรูการคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู การเขาถึงขอมูลและการแลกเปลี่ยนความรูทั้งภายในและภายนอกองคกร การสรางบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรูภายในองคกร การกําหนดแนววิธีปฏิบัติ<strong>งาน</strong> ตลอดจนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรูในองคกรใหดียิ่งขึ้นแนวทางปฏิบัติที่ดี :1. สถาบันมีการจัดทําแผนและกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายที่ชัดเจนในการจัดการความรูเพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู รวมทั้งมีการประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของ สถาบันรับทราบและเขาใจตรงกันอยางทั่วถึง2. สถาบันมีการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ประเมินแผนและปรับปรุงแผนการจัดการความรูตามระบบPDCA อยางตอเนื่อง3. สถาบันมีระบบและกลไกในการนําเอาผลการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>จากภายในและภายนอกดานการจัดการความรูมาปรับปรุงพัฒนาการจัดการความรูของสถาบัน4. สถาบันมีการนําองคความรูและนวัตกรรมที่ไดจากการจัดการความรูไปใชใหเกิดประโยชนแกสถาบันและสังคม รวมทั้งมีการเผยแพรใหสังคมรับทราบขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>ดานการจัดการความรูเพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรูของสถาบันและหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการบริหาร<strong>งาน</strong>ดานการจัดการความรูของสถาบัน ตลอดจนหลักเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับมาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและพัฒนาการจัดการความรูของสถาบัน เชนคําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายผูรับผิดชอบ ราย<strong>งาน</strong>การประชุมของทีม<strong>งาน</strong> / คณะกรรมการผูรับผิดชอบหลักดานการจัดการความรู ฐานขอมูลดานการจัดการความรู หลักฐาน การสงเสริมสนับสนุน เอกสารและสื่อเผยแพรประชาสัมพันธตาง ๆ4. จํานวนบุคลากรและหนวย<strong>งาน</strong>ที่มีการนําความรูดานการจัดการความรูไปใช ในการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>5. จํานวนชุมชนนักปฏิบัติและเครือขายดานการจัดการความรู6. จํานวนองคความรูและนวัตกรรมที่ไดจากการจัดการความรูของสถาบัน7. ราย<strong>งาน</strong>ผลการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ที่แสดงถึงความสําเร็จในการจัดการความรูของสถาบัน เชน จํานวนรางวัลตาง ๆ ที่บุคลากรไดรับจากการจัดการความรู ประสิทธิผลของการทํา<strong>งาน</strong>ที่เพิ่มขึ้นเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของสถาบันรับทราบ2. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายไมนอยกวา รอยละ 503. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายรอยละ 1004. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู5. มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการจัดการความรูใหเปนสวนหนึ่งของกระบวน<strong>งาน</strong>ปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรูเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก83ตัวบงชี้ที่ 7.4 : มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมี<strong>คุณภาพ</strong>และประสิทธิภาพชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : <strong>คุณภาพ</strong>ของการศึกษาจะเกิดขึ้น ถาสถานศึกษามีบุคลากรที่มี<strong>คุณภาพ</strong>มีความรักองคกรมุงมั่นตั้งใจปฏิบัติหนาที่ตามภาระ<strong>งาน</strong>ที่กําหนด ผูบริหารมีการมอบหมาย<strong>งาน</strong>ใหกับผูใตบังคับบัญชาตามศักยภาพความถนัด ความสนใจของแตละบุคคล บุคลากรทุกระดับมีความพึงพอใจในการทํา<strong>งาน</strong> องคกรมีการพัฒนาบุคลากรตามสาขาวิชาชีพ และหาวิธีการที่จะธํารงรักษา บุคลากรที่มีประสิทธิภาพใหอยูกับองคกรตลอดไปวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


86คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. ผลการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูลและประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล4. ราย<strong>งาน</strong>การนําผลการประเมินในขอ 3 ไปใชปรับปรุงระบบฐานขอมูลเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ2. มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ3. มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล4. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล5. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล6. มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของสถาบันผานระบบเครือขายกับสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษาตามรูปแบบมาตรฐานที่กําหนดเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 2 ขอแรกมีการดําเนินการ2 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 3 ขอแรกตัวบงชี้ที่ 7.6 : ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : การบริหารแบบมีสวนรวม หมายถึง การบริหารที่สถาบันอุดมศึกษาเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจทางการบริหารและการดําเนินกิจการของสถาบันในทางตรงหรือทางออมการที่สถาบันอุดมศึกษาจะมีระบบการบริหารที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมมากขึ้นนั้น พิจารณาจากการที่สถาบันมีระบบการทํา<strong>งาน</strong>ที่เปนไปตามหลักการบริหารแบบมีสวนรวมที่มีการประยุกตใชในระดับสากล5 ประการ ดังนี้1. มีการเปดเผยขอมูลและโปรงใสในภารกิจที่หนวย<strong>งาน</strong>ดําเนินการ โดยมีชองทางในการหขอมูลขาวสารแกนิสิตนักศึกษา คณาจารย และประชาชน2. มีการรับฟงความคิดเห็นจากผูรับบริการและประชาชนเกี่ยวกับภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาอยางสม่ําเสมอ3. มีระบบการจัดเก็บขอมูลที่ไดรับจากผูรับบริการและผูที่เกี่ยวของไปประกอบการปรับปรุงระบบการใหบริการประชาชน การปรับปรุงระบบการจัดการของสถาบัน เพื่อตอบสนองความตองการของผูรับบริการประชาชนหรือเพื่อประโยชนสุขของประชาชนวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา4. มีการเปดโอกาสใหภาคเอกชน ประชาชน และเครือขายตางๆ ไดมีโอกาสเขารวมในกระบวน<strong>งาน</strong>ของสถาบันอุดมศึกษา โดยเฉพาะเขารวมเปนคณะกรรมการที่ปรึกษา เพื่อรวมกําหนดทิศทางนโยบายของสถาบันอุดมศึกษา การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบตอ<strong>คุณภาพ</strong>ชีวิตของประชาชน5. ภาคประชาชนมีสวนรวมเปนเจาของ โดยไดมีการจัดกระบวนการหรือกลไกที่เปนรูปธรรมใหภาคประชาชน หรือผูที่เกี่ยวของไดเขารวมในการติดตามตรวจสอบความกาวหนาของการดําเนิน<strong>งาน</strong>และผลสําเร็จในการทํา<strong>งาน</strong>ของสถาบันอุดมศึกษาขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. หลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ในเรื่องการเปดเผยขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส อยางนอย 5 ชองทางจากเอกสารตีพิมพ แผนพับ จดหมายขาว ประกาศ เว็บไซต การโฆษณา โลโก การจัดนิทรรศการ การแถลงขาว2. หลักฐานการมีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางตาง ๆ เชน ตูรับฟงความคิดเห็น ศูนยขอมูล หองสมุด หมายเลขโทรศัพทสายดวน ตูปณ.เพื่อรับเรื่อง รองเรียน การจัดเวทีรับฟงความคิดเห็นเว็บไซต เว็บบอรด3. หลักฐานการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหาร<strong>งาน</strong> ดังนี้1.1 มีเจาหนาที่รับผิดชอบในการรวบรวม และประมวลผลขอมูลที่ไดจากการรับฟงความคิดเห็น2.2 มีผลสรุปจากระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน3.3 มีบันทึกขอความ หรือราย<strong>งาน</strong>การประชุม หรือการจัดสัมมนาหรือ รูปแบบอื่น ๆ ที่แสดงวามีการนําเสนอผลจากการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนไปกําหนด แนวทางหรือแผนการบริหาร<strong>งาน</strong>4. หลักฐานการมีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ดังนี้4.1 คําสั่งแตงตั้งที่ปรึกษาภาคประชาชน4.2 รายชื่อหนวย<strong>งาน</strong>หรือองคกรหรือบุคคลที่เปนที่ปรึกษาภาคประชาชนที่เขารวมกิจกรรมอยางตอเนื่อง4.3 ราย<strong>งาน</strong>การประชุมที่แสดงถึงการมีสวนรวมของที่ปรึกษาภาคประชาชน4.4 การจัดสัมมนาหรือรูปแบบอื่น ๆ ระหวางสถาบันที่ปรึกษาภาคประชาชน5. หลักฐานการมีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน โดยมีการดําเนิน<strong>งาน</strong>อยางเปนรูปธรรม ดังนี้5.1 ชองทาง รูปแบบ รอบระยะเวลาการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชนที่กําหนดไวอยางชัดเจน5.2 กิจกรรมหรือแผน<strong>งาน</strong>หรือโครงการหรือประเด็นหรือเรื่องที่มีการตรวจสอบโดยภาคประชาชน5.3 ราย<strong>งาน</strong>ผลการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชนเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทางตาง ๆ อาทิเอกสารสิ่งพิมพเว็บไซต นิทรรศการ2. มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง87วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


88คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหาร<strong>งาน</strong> โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนิน<strong>งาน</strong>อยางเปนรูปธรรม4. มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง5. มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชนเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 - 4 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 7.7 : รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผล<strong>งาน</strong>ทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันพึงสงเสริมใหคณาจารยสรางและพัฒนาผล<strong>งาน</strong>ทางวิชาการหรือวิชาชีพใหมี<strong>คุณภาพ</strong>อยางตอเนื่อง เพื่อยกระดับ<strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบันและความเปนเลิศทางวิชาการ การสงเสริมใหคณาจารยไดเสนอผล<strong>งาน</strong>ในเวทีตาง ๆ จนไดรับรางวัลผล<strong>งาน</strong>ทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือ นานาชาติ จะเปนการสงเสริมใหอาจารยสรางผล<strong>งาน</strong>ที่มี<strong>คุณภาพ</strong>และเปนเกียรติภูมิตอตนเอง สถาบัน และ ประเทศชาติขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ อาจารยประจําใหนับรวมนักวิจัยและการนับผูไดรางวัลสามารถนับซ้ําไดหากไดรับหลายรางวัลและ สามารถนับรวมอาจารยประจําและนักวิจัยที่ลาศึกษาตอไดดวยเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3รอยละ 0.1 - รอยละ 0.99 รอยละ 1 – รอยละ 1.99 1. มากกวาหรือเทากับรอยละ 2และ2. อยางนอยรอยละ 50 ของผูที่ไดรับ รางวัลในขอ 1 เปนรางวัลดานศิลปะ และวัฒนธรรมหมายเหตุ กรณีไดขอ 1 แตไมไดขอ 2 ถือวาไดคะแนน 2วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษาตัวบงชี้ที่ 7.8 : มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษาชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาคําอธิบายตัวบงชี้ : เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษามีระบบในการบริหารความเสี่ยง โดยการบริหารปจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตาง ๆ เพื่อลดมูลเหตุของแตละโอกาสที่องคกรจะเกิดความเสียหาย (ทั้งในรูปของตัวเงิน หรือไมใชตัวเงิน เชน ชื่อเสียง และการฟองรองจาก การไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความคุมคา คุณคา) ใหระดับความเสี่ยง และขนาดของความเสียหายที่เกิดขึ้นในอนาคตใหอยูในระดับที่องคกรยอมรับได ประเมินได ควบคุมได และตรวจสอบไดอยางมีระบบ โดยคํานึงถึงการบรรลุเปาหมายขององคกรตามยุทธศาสตรหรือกลยุทธเปนสําคัญแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับสถาบัน โดยองคประกอบของคณะกรรมการควรมีผูบริหารระดับสูง และตัวแทนที่รับผิดชอบในแตละพันธกิจหลักของสถาบัน2. การระบุความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ควรประกอบดวยความเสี่ยงที่ครอบคลุมใน ดานตาง ๆ ดังนี้1) ความเสี่ยงดานงบการเงินและงบประมาณ2) ความเสี่ยงดานกลยุทธ3) ความเสี่ยงดานนโยบาย4) ความเสี่ยงดานการปฏิบัติ<strong>งาน</strong>5) ความเสี่ยงจากเหตุการณภายนอก3. การจัดลําดับความสําคัญของความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง สามารถพิจารณาจากมิติของโอกาสและผลกระทบจากสูงมายังต่ํา เพื่อกําหนดมาตรการหรือแผนการจัดการความเสี่ยงที่สงผลกระทบตอเปาหมายองคกรไดงายขึ้น4. มาตรการหรือแผนการจัดการความเสี่ยงเพิ่มเติม สามารถใชแนวคิดของ 4 T เขามาชวย คือ Take :ยอมรับ Treat : ลดหรือควบคุม Transfer : โอน หรือกระจาย Terminate : หยุดหรือหลีกเลี่ยง5. สามารถบูรณาการความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายใน เพื่อใชประโยชนในการควบคุม หรือลดโอกาสของความสูญเสียทั้งในแงโอกาสและผลกระทบไดขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>ดานการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา และหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษาของสถาบัน ตลอดจนหลักเกณฑ ประกาศ กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และแนวปฏิบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ89วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


90คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา เชน คําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายผูรับผิดชอบ ราย<strong>งาน</strong>การประชุมของ ทีม<strong>งาน</strong> / คณะกรรมการผูรับผิดชอบหลักยุทธศาสตร กลยุทธ พรอมเปาหมายของสถาบัน4. ราย<strong>งาน</strong>การวิเคราะหความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยงที่จะสงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือความลมเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมาย ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากผูมีอํานาจสูงสุดของสถาบัน ราย<strong>งาน</strong>การจัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง ราย<strong>งาน</strong>ขั้นตอนหรือรายละเอียดการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ราย<strong>งาน</strong>ผลการวิเคราะหความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง และผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตาม แผนบริหารความเสี่ยงเพื่อการบรรลุเปาหมายตามแผนกลยุทธแผนปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ของสถาบัน เอกสาร การประเมินผลการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในสถาบันเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํา<strong>งาน</strong>บริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนทุกหนวย<strong>งาน</strong>ในสังกัดรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํา<strong>งาน</strong> โดยผูบริหารระดับสูงตองมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายหรือแนวทางในการบริหารความเสี่ยง2. มีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายในการบริหาร<strong>งาน</strong> และจัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง3. มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนดมาตรการหรือ แผนปฏิบัติการในการสรางความรู ความเขาใจใหกับบุคลากรทุกระดับในดานการบริหารความเสี่ยง และการดําเนินการแกไข ลด หรือปองกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม4. มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง5. มีการสรุปผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจนมีการกําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงโดยไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารสูงสุดของสถาบันเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 – 4 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอตัวบงชี้ที่ 7.9 : ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคลชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : ความสําเร็จของการถายทอดตัวบงชี้และเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล หมายถึงความสําเร็จที่สถาบันอุดมศึกษาจัดใหมีระบบประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ภายใน โดยจะตองจัดใหมีระบบในการถายทอดเปาประสงค ตัวบงชี้ ตามพันธกิจและยุทธศาสตรของสถาบันอุดมศึกษาไปยังหนวย<strong>งาน</strong>ที่รับผิดชอบวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยากําหนดเปนตัวบงชี้ของการดําเนิน<strong>งาน</strong>และเปาหมายในระดับหนวย<strong>งาน</strong>จนถึงระดับบุคคล และจัดทําคํารับรองการปฏิบัติ<strong>งาน</strong> รวมถึงจัดใหมีการติดตามและ ประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามเปาหมายขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. หลักฐานที่แสดงวาสถาบันไดจัดทําแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลและแผน<strong>งาน</strong>การประเมินผลภายในสถาบันอุดมศึกษา2. หลักฐานแสดงการทบทวนวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตร3. หลักฐานแสดงการจัดทํา Strategy Map ของหนวย<strong>งาน</strong>ในระดับคณะหรือ เทียบเทา4. หลักฐานแสดงถึงการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายและการจัดทําคํารับรองระหวางผูบริหารระดับสถาบันกับผูบริหารระดับคณะ5. หลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงระบบการติดตามผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามตัวบงชี้และเปาหมาย6. หลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงการดําเนินการตามระบบติดตามและประเมินผลที่กําหนดไวไดครบถวนและสม่ําเสมอ7. บันทึกหรือราย<strong>งาน</strong>สรุปผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>8. หลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงกิจกรรมที่มีการประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong> และมีผลคะแนนที่ไดจากการประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดังกลาว9. หลักฐานที่แสดงถึงหลักเกณฑและวิธีการจัดสรรสิ่งจูงใจ โดยมีการนําผลการประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>มาใชประกอบการพิจารณาจัดสรรสิ่งจูงใจเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสถาบัน2. มีแผน<strong>งาน</strong>การประเมินผลภายในสถาบัน3. มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของสถาบัน4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวย<strong>งาน</strong>ในระดับคณะหรือเทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับหนวย<strong>งาน</strong>ใหเชื่อมโยงกับเปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรของสถาบัน5. มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของสถาบันอุดมศึกษาในระดับคณะ หรือเทียบเทา6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามตัวบงชี้และเปาหมายตามคํารับรอง ของผูบริหารระดับตาง ๆ7. มีการประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามตัวบงชี้และเปาหมายตามคํารับรอง8. มีการนําผลการประเมินผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของผูบริหาร ไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 - 7 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอ91วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


92คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณหลักการการเงินและงบประมาณเปนสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของสถาบันการศึกษา โดยปกติแหลงเงินทุนของสถาบันการศึกษาไดมาจากงบประมาณแผนดิน (สําหรับสถานศึกษาของรัฐ) และเงินรายไดเชน คาเลาเรียนของนักศึกษา รายไดจาก<strong>งาน</strong>วิจัย บริการทางวิชาการ คาเชาทรัพยสิน ฯลฯ ผูบริหารสถาบันการศึกษาจะตองทําความเขาใจกับการวิเคราะหทางการเงิน เชน คาใชจายทั้งหมดตอ จํานวนนักศึกษา ทรัพยสินถาวรตอจํานวนนักศึกษาคาใชจายที่สถาบันอุดมศึกษาใชสําหรับการผลิตบัณฑิตตอหัว จําแนกตามกลุมสาขา รายไดทั้งหมดของสถาบันการศึกษา ภายหลังจากหักงบดําเนินการทั้งหมด งบประมาณในการพัฒนาอาจารย ความรวดเร็วในการเบิกจาย รอยละของงบประมาณที่ประหยัดไดหลังจากที่ปฏิบัติตามภารกิจทุกอยางครบถวน สิ่งเหลานี้จะเปนการแสดงศักยภาพเชิงการบริหารจัดการดานการเงินของสถานศึกษาที่เนนถึงความโปรงใส ความถูกตอง ใชเม็ดเงินอยางคุมคามีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุดมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. แผนพัฒนาการเงินระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. แผนปฏิบัติราชการของสถานศึกษาประจําป3. มาตรฐานการอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา4. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)5. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการสํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ6. มาตรฐานแผนการปฏิบัติราชการของสํานักงบประมาณ7. ราย<strong>งาน</strong>งบประมาณแผนดิน (สถานศึกษาของรัฐ) และเงินรายไดตัวบงชี้ จํานวน 2 ตัวบงชี้ ประกอบดวย8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรรการวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกันวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวบงชี้ที่ 8.1 : มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบ การเงิน และงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันอุดมศึกษาจะตองมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอยางมีประสิทธิภาพ จะตองมีแผนกลยุทธทางดานการเงิน มีการวิเคราะหรายได คาใชจายของการดําเนิน<strong>งาน</strong> โดยพิจารณาจากทุกแหลงเงินทุนทั้งจากงบประมาณแผนดินและเงินรายไดจากคาบํารุงการศึกษา รวมทั้งรายไดอื่น ๆ ที่สถาบันไดรับมีการนําเงินรายไดไปจัดสรรอยางเปนระบบ มีระบบฐานขอมูลทางการเงินแยกคาใชจายตามหมวดตาง ๆ มีการจัดทําราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินอยางเปนระบบครบทุกพันธกิจ มีการนําระบบโปรแกรมสามมิติดานการเงินมาใชรวมทั้งมีผูตรวจสอบการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ ราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินตองสามารถทราบขอมูลดานคาใชจายทั้งหมดทั้งดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาบุคลากร เชน คาใชจายในระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา คาใชจายในการวิจัย คาใชจายของสถาบันในการบริการวิชาการวิชาชีพ คาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒธรรมตองบดําเนินการ สินทรัพยถาวรตอนักศึกษา งบประมาณในการพัฒนาอาจารย คาใชจายทั้งหมดตอนักศึกษา ระดับความสําเร็จของการประหยัดงบประมาณ รายจายลงทุน คาใชจายดานไฟฟา น้ํามันเชื้อเพลิง งบประมาณที่ประหยัดได รอยละเงินเหลือจายสุทธิตองบประมาณดําเนินการ และตนทุนตอหนวยผลผลิตรายหลักสูตรแนวทางปฏิบัติที่ดี :1. มีแผนกลยุทธทางการเงินของสถาบันที่สอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจของสถาบันในทุก ๆ ดานทั้งการผลิตบัณฑิต <strong>งาน</strong>วิจัย การบริการวิชาการและการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งสงเสริมยุทธศาสตรของสถาบันใหเปนไปตามเปาหมาย2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน ทั้งในสวนของการจัดหาแหลงเงินวิธีการที่ไดมาซึ่งแหลงเงิน รวมทั้งวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได3. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงิน เพื่อใหสามารถตรวจสอบไดตลอดเวลาและสามารถนําขอมูลใหแตละหนวย<strong>งาน</strong>นํามาใชในการบริหาร และการตัดสินใจ4. มีการจัดทําราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินที่แสดงถึงสถานะทางการเงินของสถาบัน สามารถปดงบบัญชีไดอยางนอยทุก 6 เดือน และเสนอขอมูลใหผูบริหารเพื่อใชในการตัดสินใจในภาพรวมขององคกร รวมทั้งการนําเสนอราย<strong>งาน</strong>ฐานะทางการเงินใหสภาสถาบันทราบอยางนอย ปละ 2 ครั้ง5. ราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินสามารถบงชี้ถึงขอมูลทางการเงินทุกดานที่แสดงถึงประสิทธิภาพของการบริหารจัดการของสถาบัน6. มีหนวย<strong>งาน</strong>ตรวจสอบภายในและภายนอก เพื่อตรวจติดตาม การใชเงินของทุกหนวย<strong>งาน</strong>ยอยใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด ตลอดจนใหขอเสนอแนะแกหนวย<strong>งาน</strong>ยอย รวมทั้งเสนอผลการตรวจสอบภายในและภายนอกใหคณะผูบริหารของสถาบัน93วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


94คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา7. ผูบริหารระดับสูงใหความสําคัญกับราย<strong>งาน</strong>ทางการเงิน และขอเสนอแนะของหนวย<strong>งาน</strong>ตรวจสอบภายในและภายนอก ตลอดจนขอเสนอแนะอื่นๆจากสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณาหาแนวทางปรับปรุงแกไขอยางตอเนื่องขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงตอไปนี้ :1. แผนยุทธศาสตรสถาบันอุดมศึกษา และแผนยุทธศาสตรทางการเงินของสถาบัน2. งบประมาณประจําปของสถาบัน3. แหลงของงบประมาณรายไดจากแหลงตางๆ4. การจัดสรร งบประมาณ คาใชจายใหกับหนวย<strong>งาน</strong>5. วิธีการใชเงิน การบันทึกบัญชี การติดตามผลการใชเงินของหนวย<strong>งาน</strong>6. ผลจากการจัดทําระบบบัญชีสามมิติของสถาบัน7. ฐานขอมูลทางการเงินของสถาบัน8. ราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินของสถาบัน และการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการตัดสินใจ9. การคิดคาใชจายตอหัวของนักศึกษาตนทุนผลผลิต10. ราย<strong>งาน</strong>ฐานะทางการเงินตอสภาสถาบัน และขอเสนอแนะจากสภาสถาบันเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันใหเปนไปตามเปาหมาย2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดสรรและการวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพโปรงใส ตรวจสอบได3. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใชในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงิน4. มีการจัดทําราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยางตอเนื่อง6. มีหนวย<strong>งาน</strong>ตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากราย<strong>งาน</strong>ทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรกมีการดําเนินการ5 – 6 ขอแรกมีการดําเนินการครบทุกขอวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


ตัวบงชี้ที่ 8.2 : มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกันชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาคําอธิบายตัวบงชี้ : การบริหาร<strong>งาน</strong>โดยการบูรณาการใชทรัพยากรที่มีอยูทั้งภายในและ ภายนอกสถาบันใหเกิดประโยชนสูงสุด แสดงใหเห็นถึงกลยุทธการบริหาร<strong>งาน</strong>ที่สอดคลองกับสถานการณในโลกยุคปจจุบันขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>ดานการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกันของสถาบัน พรอมเปาหมายและหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการบริหารการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกันของสถาบัน ตลอดจนหลักเกณฑ ประกาศ กฎระเบียบ ขอบังคับ และแนวปฏิบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกันของสถาบัน เชน คําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายผูรับผิดชอบราย<strong>งาน</strong>การประชุมของทีม<strong>งาน</strong>/ คณะกรรมการผูรับผิดชอบหลัก ราย<strong>งาน</strong>ผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรรวมกันของสถาบัน ระบบฐานขอมูลทรัพยากรกลางที่เชื่อมโยงทุกหนวย<strong>งาน</strong> ราย<strong>งาน</strong>การประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกันแนวทางปฏิบัติที่ดี :1. สถาบันกําหนดนโยบายการบริหารทรัพยากรของสถาบันรวมทั้งการใชทรัพยากรภายในและภายนอกรวมกัน2. สถาบันกําหนดกลไกการดําเนิน<strong>งาน</strong>บริหารและใชทรัพยากรรวมกันที่เปนรูปธรรม อาทิการแตงตั้งคณะกรรมการศึกษาและดําเนิน<strong>งาน</strong>การจัดทําแผนการใชทรัพยากร3. สถาบันจัดใหมีระบบฐานขอมูลทรัพยากรเชื่อมโยงทั้งสถาบันและสามารถเรียกใชไดอยางคลองตัว4. มีระบบการติดตามประเมินผลการใชทรัพยากรรวมกันเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการการใชทรัพยากรของสถาบัน2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของสถาบัน3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวย<strong>งาน</strong>อื่นในสถาบัน4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวย<strong>งาน</strong>อื่นนอกสถาบัน5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกับหนวย<strong>งาน</strong>อื่นเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก95วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


96คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาองคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>หลักการระบบและกลไกในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน เปนปจจัยสําคัญที่แสดงถึงศักยภาพ การพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบัน โดยตองครอบคลุมทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งจะตองมีการพัฒนาระบบและกลไกในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในอยางตอเนื่อง และมี กระบวนการจัดการความรู เพื่อใหเกิดนวัตกรรมดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในที่เปนลักษณะเฉพาะของสถาบันมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ1. มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ สํานัก<strong>งาน</strong>คณะกรรมการการอุดมศึกษา2. มาตรฐานการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานัก<strong>งาน</strong>รับรองมาตรฐานและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา (องคการมหาชน)ตัวบงชี้ จํานวน 3 ตัวบงชี้ ประกอบดวย9.1 มีระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษา9.2 มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>แกนักศึกษา9.3 ระดับความสําเร็จของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในตัวบงชี้ที่ 9.1 : มีระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : การ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในเปนภารกิจของสถาบันตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งสถาบันการศึกษาตองสรางระบบและกลไกในการควบคุมตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของสถาบันใหเปนไปตามนโยบาย เปาประสงค และระดับ<strong>คุณภาพ</strong>ตามมาตรฐานที่กําหนดโดยสถาบันและโดยหนวย<strong>งาน</strong>ตนสังกัดตลอดจนหนวย<strong>งาน</strong> ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ถือวาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อเปนหลัก<strong>ประกัน</strong>แกสาธารณชนใหมั่นใจวาสถาบันสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มี<strong>คุณภาพ</strong>แนวปฏิบัติที่ดี :1. สถาบันจัดใหมีระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคีทั้งภายในและภายนอกสถาบัน2. มีการกําหนดมาตรฐาน ตัวบงชี้ และเกณฑ<strong>คุณภาพ</strong>ที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษามาตรฐานและกฎเกณฑอื่นๆ ที่เกี่ยวของตลอดจนสอดคลองกับเอกลักษณของสถาบัน โดยตัวบงชี้ที่พัฒนาขึ้นตองวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาครอบคลุมปจจัยที่มีผลตอ<strong>คุณภาพ</strong>อยางครบถวน ทั้งปจจัยนําเขากระบวนการและผลผลิต ตลอดจนเปนตัวบงชี้ที่สามารถรองรับการประเมินภายนอกโดยหนวย<strong>งาน</strong>ตาง ๆ3. มีการดําเนินการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาที่สมบูรณทั้งการตรวจติดตามการดําเนิน<strong>งาน</strong> การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong> การปรับปรุงพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>ตามผลการประเมินทั้งภายในและ ภายนอกจนเปนวัฒนธรรมองคกร4. มีระบบสนับสนุนการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาที่เหมาะสมโดยเฉพาะอยางยิ่งระบบฐานขอมูลและมีการสงเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา อยางตอเนื่องขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>ดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของสถาบันและหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผนตลอดจนการประเมินและปรับปรุง โดยการสนับสนุนจากสภาสถาบันและ ผูบริหารทุกระดับ2. ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> การบริหาร<strong>งาน</strong>ดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบัน ตั้งแตการควบคุม ติดตาม ตรวจสอบและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong> ตลอดจนระเบียบ ขอบังคับ มาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ3. ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหาร<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> เชน คําสั่งแตงตั้งหรือมอบหมายหนวย<strong>งาน</strong>หรือผูรับผิดชอบ คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบัน ฐานขอมูลที่ใชในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>หลักฐานการสงเสริมสนับสนุนระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา ใหเขมแข็งและเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหาร<strong>งาน</strong> โดยการมีสวนรวมของประชาคม ขอมูลหรือหลักฐานการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนกระบวนการจัดการความรูเรื่องการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบันเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในที่เหมาะสมกับระดับการพัฒนาของสถาบัน2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>จากคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน ภายใตการมีสวนรวมจากภาคีทั้งภายใน และภายนอกสถาบัน3. มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑ<strong>คุณภาพ</strong>ที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายนอก4. มีการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่ครบถวน ทั้งการควบคุม<strong>คุณภาพ</strong>การติดตามตรวจสอบและประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>อยางตอเนื่องเปนประจํา (อยางนอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม)5. มีการนําผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>มาพัฒนาปรับปรุงการดําเนิน<strong>งาน</strong>6. มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาและใชรวมกันทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน7. มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาระหวางหนวย<strong>งาน</strong>ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน97วัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


98คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรกมีการดําเนินการ4 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรกตัวบงชี้ที่ 9.2 : มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>แกนักศึกษาชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการคําอธิบายตัวบงชี้ : สถาบันอุดมศึกษา มีการดําเนินการถายทอดองคความรูในระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของสถาบัน เพื่อใหนักศึกษาไดมีความรูความเขาใจ มีทักษะและมีสวนรวมในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา เพื่อสงเสริมการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบันใหเขมแข็ง รวมทั้งจัดระบบใหทุกกิจกรรมหรือโครงการของนักศึกษามีการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> ทุกกิจกรรมหรือโครงการแนวปฏิบัติที่ดี :1. มีระบบและกลไกในการสรางความรูความเขาใจและทักษะดาน<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ใหกับนักศึกษา2. มีระบบและกลไกสงเสริมใหนักศึกษามีสวนรวมในกระบวนการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบัน3. มีระบบและกลไกสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดาน<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong> กระบวนการ<strong>คุณภาพ</strong> เชน5 ส. PDCA ไปใชในการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>กิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา4. การติดตามประเมินผลและพัฒนาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา ทั้งกิจกรรมที่ดําเนินการโดยนักศึกษา และที่นักศึกษามีสวนรวมในกระบวนการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของ สถาบันขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน :1. แผน<strong>งาน</strong>การสงเสริมใหนักศึกษามีความรูและทักษะดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของสถาบันและหลักฐานการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามแผน ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง2. โครงการสงเสริมใหนักศึกษามีความรูและทักษะดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาและนําไปใชในกิจกรรมนักศึกษาและมีสวนรวมในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของสถาบัน ตลอดจนระเบียบ ขอบังคับมาตรการและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีระบบการใหความรูและทักษะการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาแกนักศึกษา2. มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ไปใชกับกิจกรรมนักศึกษา3. มีกลไกใหนักศึกษามีสวนรวมในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาของมหาวิทยาลัย4. นักศึกษามีการใชกระบวนการ<strong>คุณภาพ</strong> ในการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>ของกิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา5. นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>ภายในสถาบันและระหวางสถาบันวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา6. มีระบบติดตามประเมินผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ในกิจกรรมที่นักศึกษาดําเนินการและในสวนที่นักศึกษามีสวนรวมกับการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ของสถาบัน7. มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไกการดําเนิน<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่เกี่ยวของกับนักศึกษาอยางตอเนื่องเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรกมีการดําเนินการ4 – 5 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 6 ขอแรก99ตัวบงชี้ที่ 9.3 : ระดับความสําเร็จของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิตคําอธิบายตัวบงชี้ : ระดับความสําเร็จของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน วัดจากผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตามระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในที่กําหนดขึ้นทั้งในระดับสถาบันและหนวย<strong>งาน</strong>ยอย ตลอดจนถึงในองคการนักศึกษา ทั้งนี้โดยมีการราย<strong>งาน</strong>ผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ตอหนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของและสาธารณชนมีการนําผลการประเมินไปใชปรับปรุงการดําเนิน<strong>งาน</strong>อยางตอเนื่อง และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ระหวางบุคคลและหนวย<strong>งาน</strong>ตลอดจนมีนวัตกรรม หรือมีแบบอยางที่ดีในการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาขอมูลอางอิงสําหรับผูประเมิน : ขอมูลพื้นฐานและเอกสารหลักฐานอางอิงที่เกี่ยวของ ดังนี้ :1. ราย<strong>งาน</strong>การตรวจติดตามภายในสถาบันทุกระดับ2. ราย<strong>งาน</strong>ผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในตอหนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของและสาธารณชน3. ราย<strong>งาน</strong>ความเปลี่ยนแปลงอันสืบเนื่องมาจากการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายใน4. นวัตกรรมดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในที่สถาบันพัฒนาขึ้น หรือ การปฏิบัติที่เปนเลิศหรือการเปนแหลงอางอิงของหนวย<strong>งาน</strong>อื่น ๆ ตลอดจนผลการพัฒนาหรือ มูลคาเพิ่ม (value added) จากการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายใน5. ราย<strong>งาน</strong>ผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในที่มีตอการพัฒนาสถาบันและบุคลากร6. ราย<strong>งาน</strong>ผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในที่สงผลตอ<strong>คุณภาพ</strong>บัณฑิต<strong>คุณภาพ</strong><strong>งาน</strong>วิจัยประสิทธิผลของการบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของสถาบันเกณฑมาตรฐาน : ระดับ1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในระดับคณะและสถาบันอยางตอเนื่อง2. มีการปรับปรุงระบบ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ภายในโดยสอดคลองกับพันธกิจและ พัฒนาการของสถาบันวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


100คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3. มีการราย<strong>งาน</strong>ผลการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในตอหนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด4. มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของหนวย<strong>งาน</strong>อยางตอเนื่อง5. มีนวัตกรรมดานการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ที่หนวย<strong>งาน</strong>พัฒนาขึ้น หรือมีการจัดทําแนวปฏิบัติที่ดี เพื่อการเปนแหลงอางอิงใหกับหนวย<strong>งาน</strong>และสถาบันอื่น ๆเกณฑการประเมิน :คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรกมีการดําเนินการ3 ขอแรกมีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...เปาหมายของการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


บทที่ 5นิยามศัพทเฉพาะในการดําเนิน<strong>งาน</strong>ดาน<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา มีคําสําคัญที่ผูเกี่ยวของจําเปนตองมีความเขาใจที่สอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อการดําเนิน<strong>งาน</strong>ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งในที่นี้ไดประมวลคําสําคัญดังกลาวนําเสนอไว ดังนี้กรรมการวิชาการ หมายถึง กรรมการรางหลักสูตร กรรมการประเมินหลักสูตร กรรมการประเมินผล<strong>งาน</strong>วิชาการ หรืออยูในกองบรรณาธิการของวารสารวิชาการตาง ๆ กรรมการการประชุมวิชาการที่มีลักษณะการจัดเปนประจําระดับชาติ/นานาชาติ กรรมการประจําของหนวย<strong>งาน</strong> ภาครัฐ รวมทั้งการเปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนตนกรรมการวิชาชีพ หมายถึง การเปนกรรมการของสมาคมวิชาชีพตาง ๆ ที่ปรึกษาระดับสูงของประเทศที่ไดรับเลือกหรือไดรับมอบหมายใหรวมเปนคณะทํา<strong>งาน</strong> หรือคณะดําเนินการเพื่อพัฒนา<strong>งาน</strong>วิชาการหรือวิชาชีพภายนอกสถาบันในระดับชาติ หรือนานาชาติกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ หมายถึง การจัดการศึกษาที่ยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการศึกษาจะตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพรูปแบบการจัดการเรียนรูในระดับการอุดมศึกษาตามแนวทางเนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมุงพัฒนาความรูและทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิตและทักษะสังคม มีปรากฏในวงการการศึกษาไทยหลายรูปแบบ ดังนี้1) การเรียนรูจากกรณีปญหา (Problem-based Learning : PBL)เปนรูปแบบการเรียนรูที่ใหผูเรียนควบคุมการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนคิดและดําเนินการเรียนรู กําหนดวัตถุประสงค และเลือกแหลงเรียนรูดวยตนเอง โดยผูสอนเปนผูใหคําแนะนําเปนการสงเสริมใหเกิดการแกปญหามากกวาการจําเนื้อหาขอเท็จจริง เปนการสงเสริมการทํา<strong>งาน</strong>เปนกลุมและพัฒนาทักษะทางสังคม ซึ่งวิธีการนี้จะทําไดดีในการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา เพราะผูเรียนมีระดับความสามารถทางการคิดและการดําเนินการดวยตนเองไดดีเงื่อนไขที่ทําใหเกิดการเรียนรู ประกอบดวย ความรูเดิมของผูเรียน ทําใหเกิดความเขาใจ ขอมูลใหมได การจัดสถานการณที่เหมือนจริง สงเสริมการแสดงออกและการนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพ การใหโอกาสผูเรียนไดไตรตรองขอมูลอยางลึกซึ้ง ทําใหผูเรียนตอบคําถาม จดบันทึก สอนเพื่อน สรุป วิพากษวิจารณสมมติฐานที่ไดตั้งไวไดดีทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


104คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา2) การเรียนรูเปนรายบุคคล (individual study)เนื่องจากผูเรียนแตละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู และความสนใจในการเรียนรูที่แตกตางกัน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีเทคนิคหลายวิธีเพื่อชวยใหการจัดการเรียนในกลุมใหญสามารถตอบสนองผูเรียนแตละคนที่แตกตางกันไดดวย อาทิ2.1 เทคนิคการใช Concept Mapping ที่มีหลักการใชตรวจสอบความคิดของผูเรียนวาคิดอะไร เขาใจสิ่งที่เรียนอยางไรแลวแสดงออกมาเปนกราฟฟก2.2 เทคนิค Learning Contracts คือ สัญญาที่ผูเรียนกับผูสอนรวมกันกําหนด เพื่อใชเปนหลักยึดในการเรียนวาจะเรียนอะไร อยางไร เวลาใด ใชเกณฑอะไรประเมิน2.3 เทคนิค Know –Want-Learned ใชเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหมผสมผสานกับการใช Mapping ความรูเดิม เทคนิคการราย<strong>งาน</strong>หนาชั้นที่ใหผูเรียนไปศึกษาคนควาดวยตนเองมานําเสนอหนาชั้นซึ่งอาจมีกิจกรรมทดสอบผูฟงดวย2.4 เทคนิคกระบวนการกลุม (Group Process) เปนการเรียนที่ทําใหผูเรียนไดรวมมือกันแลกเปลี่ยนความรูความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน เพื่อแกปญหาใหสําเร็จตามวัตถุประสงค3) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism)การเรียนรูแบบนี้มีความเชื่อพื้นฐานวา “ผูเรียนเปนผูสรางความรูโดยการอาศัยประสบการณแหงชีวิตที่ไดรับเพื่อคนหาความจริง โดยมีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่หลากหลายซึ่งนักทฤษฎีสรรคนิยมไดประยุกตทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษา ดังกลาวในรูปแบบและมุมมองใหมซึ่งแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ3.1 กลุมที่เนนกระบวนการรูคิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personalConstructivism or cognitive oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนการเรียนรูของมนุษยเปนรายบุคคลโดยมีความเชื่อวามนุษยแตละคนรูวิธีเรียนและรูวิธีคิดเพื่อสรางองคความรูดวยตนเอง3.2 กลุมที่เนนการสรางความรูโดยอาศัยปฏิสัมพันธทางสังคม (Social constructivism orsocially oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนวาความรู คือ ผลผลิตทางสังคม โดยมีขอตกลงเบื้องตนสองประการ คือ 1) ความรูตองสัมพันธกับชุมชน 2) ปจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตรมีผลตอการเรียนรู ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู4) การเรียนรูจากการสอนแบบเอส ไอ พีการสอนแบบเอส ไอ พี เปนรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อฝกทักษะทางการสอนใหกับผูเรียนระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาการศึกษาใหมีความรูความเขาใจและความสามารถเกี่ยวกับทักษะการสอนโดยผลที่เกิดกับผูเรียนมีผลทางตรง คือ การมีทักษะการสอน การมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับทักษะทางการสอนและผลทางออม คือ การสรางความรูดวยตนเอง ความรวมมือในการเรียนรูและความพึงพอใจในการเรียนรูวิธีการที่ใชในการสอน คือ การทดลองฝกปฏิบัติจริงอยางเขมขนตอเนื่อง และเปนระบบโดยการสอนแบบจุลภาค มีที่ใหผูเรียนทุกคนมีบทบาทในการฝกทดลองตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการฝกขั้นตอนทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาการสอน คือ ขั้นความรูความเขาใจ ขั้นสํารวจ วิเคราะหและออกแบบการฝกทักษะขั้นฝกทักษะ ขั้นประเมินผลโครงสรางทางสังคมของรูปแบบการสอนอยูในระดับปานกลางถึงต่ํา ในขณะที่ผูเรียนฝกทดลองทักษะการสอนนั้น ผูสอนตองใหการชวยเหลือสนับสนุนอยางใกลชิดสิ่งที่จะทําใหการฝกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ความพรอมของระบบสนับสนุน ไดแก หองปฏิบัติการสอน หองสื่อเอกสารหลักสูตรและการสอน และเครื่องมือโสตทัศนูปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ5) การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง (Self-Study)การเรียนรูแบบนี้เปนการใหผูเรียนศึกษาและแสวงหาความรูดวยตนเอง เชน การจัดการเรียนการสอนแบบสืบคน (Inquiry Instruction) การเรียนแบบคนพบ (Discovery Learning) การเรียนแบบแกปญหา(Problem Solving) การเรียนรูเชิงประสบการณ (Experiential Learning) ซึ่งการเรียนการสอนแบบแสวงหาความรูดวยตนเองนี้ใชในการเรียนรูทั้งที่เปนรายบุคคล และกระบวนการกลุม6) การเรียนรูจากการทํา<strong>งาน</strong> (Work-based Learning)การเรียนรูแบบนี้เปนการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมผูเรียนใหเกิดพัฒนาการทุกดานไมวาจะเปนการเรียนรูเนื้อหาสาระ การฝกปฏิบัติจริง ฝกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพการพัฒนาทักษะ การคิด\ขั้นสูง โดยสถาบันการศึกษามักรวมมือกับแหลง<strong>งาน</strong>ในชุมชนรับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนรวมกัน ตั้งแตการกําหนดวัตถุประสงค การกําหนดเนื้อหา กิจกรรม และวิธีการประเมิน7) การเรียนรูที่เนนการวิจัยเพื่อสรางองคความรู (Research–based Learning)การเรียนรูที่เนนการวิจัยถือไดวาเปนหัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเปนการเรียนที่เนนการแสวงหาความรูดวยตนเองของผูเรียนโดยตรง เปนการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู และการทดสอบความสามารถทางการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน โดยรูปแบบการเรียนการสอนอาจแบงไดเปน 4 ลักษณะใหญ ๆไดแก การสอนโดยใชวิธีวิจัยเปนวิธีสอน การสอนโดยผูเรียนรวมทํา โครงการวิจัยกับอาจารยหรือเปนผูชวยโครงการวิจัยของอาจารย การสอนโดยผูเรียนศึกษา<strong>งาน</strong>วิจัยของอาจารยและของนักวิจัยชั้นนําในศาสตรที่ศึกษาและการสอนโดยใชผลการวิจัย ประกอบการสอน8) การเรียนรูที่ใชวิธีสรางผล<strong>งาน</strong>จากการตกผลึกทางปญญา (Crystal-Based Approach)การจัดการเรียนรูในรูปแบบนี้ เปนการสงเสริมใหผูเรียนไดสรางสรรคความรูความคิดดวยตนเองดวยการรวบรวม ทําความเขาใจ สรุป วิเคราะห และสังเคราะหจากการศึกษาดวยตนเอง เหมาะสําหรับบัณฑิตศึกษา เพราะผูเรียนที่เปนผูใหญ มีประสบการณเกี่ยวกับศาสตรที่ศึกษามา ในระดับหนึ่งแลววิธีการเรียนรูเริ่มจากการทําความเขาใจกับผูเรียนใหเขาใจวัตถุประสงคของการเรียนรูตามแนวนี้ จากนั้นทําความเขาใจในเนื้อหาและประเด็นหลัก ๆ ของรายวิชา มอบหมายใหผูเรียนไปศึกษาวิเคราะหเอกสาร แนวคิดตามประเด็นที่กําหนด แลวใหผูเรียนพัฒนาแนวคิดในประเด็นตาง ๆ แยกทีละประเด็นโดยใหผูเรียนเขียนประเด็นเหลานั้นเปนผล<strong>งาน</strong>ในลักษณะที่เปนแนวคิดของตนเองที่ผานการกลั่นกรองวิเคราะหเจาะลึกจนตกผลึกทางความคิดเปนของตนเอง จากนั้นจึงนําเสนอใหกลุมเพื่อนไดชวยวิเคราะห วิจารณอีกครั้ง105ทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


106คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาการใหบริการวิชาการ หมายถึง การที่สถาบันการศึกษาและสถาบันอยูในฐานะที่เปนที่พึ่งของชุมชนหรือเปนแหลงอางอิงทางวิชาการหรือทําหนาที่ใด ๆ ที่มีผลตอการพัฒนาขึ้นของชุมชนในดานวิชาการหรือการพัฒนาความรู ตลอดจนความเขมแข็งของชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติ รวมถึงการบริการวิชาการที่มีคาตอบแทน และบริการวิชาการแบบใหเปลาโครงการบริการวิชาการที่มีผลตอการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน หมายถึงโครงการบริการวิชาการที่สถาบันจัดขึ้น หรือดําเนินการขึ้นแลวมีผลกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแกชุมชนในดานตาง ๆ และทําใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดตามศักยภาพของตน เชน การใหความรูเกี่ยวกับโครงการตามพระราชดําริ การอบรมเพื่อพัฒนา ความสามารถของชุมชนในดานการเกษตร ฯลฯ ลักษณะการบริการวิชาการ มีดังนี้1) บริการวิเคราะห ทดสอบ ตรวจสอบและตรวจซอม2) บริการเครื่องมือและอุปกรณตางๆ ทางการศึกษา3) บริการจัดฝกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบเก็บคาลงทะเบียน4) บริการจัดฝกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบใหเปลา5) บริการจัดฝกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการในลักษณะการวาจาง6) บริการเกี่ยวกับสุขภาพที่นอกเหนือจากหนาที่ความรับผิดชอบโดยตรงของหนวย<strong>งาน</strong>ที่ เกี่ยวของ7) บริการศึกษา วิจัย สํารวจ การวางแผน การจัดการ8) บริการศึกษาความเหมาะสมของโครงการการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม9) บริการวางระบบ ออกแบบ สราง ประดิษฐ และผลิต10) บริการอื่นๆ ทั้งนี้ไมนับรวมการเปนวิทยากรที่ไมไดอยูในแผนของสถาบันโครงการ/กิจกรรมศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง1. โครงการ/กิจกรรมที่สงเสริมใหเกิดความเขาใจและความภาคภูมิใจในวิถีชีวิต และภูมิปญญาไทย กิจกรรมที่มีวัตถุประสงคเพื่อสรางสิ่งแวดลอมและบรรยากาศทางวัฒนธรรม ซึ่งจะนําไปสูการเกิดความเขาใจและภาคภูมิใจในวิถีชีวิต และภูมิปญญาไทย ซึ่งเกี่ยวของกับปจจัย 4 ในการดํารงชีวิต คือ อาหารพื้นบานยารักษาโรคและการรักษาโรคแบบพื้นบาน เสื้อผาเครื่องนุงหมตลอดจนเครื่องใชในชีวิตประจําวัน บานเรือนหรือการตกแตงอาคารสถานที่ โดยเนนวัฒนธรรมไทยหรือวัฒนธรรมทองถิ่น อาจเปนกิจกรรม/โครงการที่หนวย<strong>งาน</strong>จัดขึ้นเองโดยตรง เชน การจัด<strong>งาน</strong>หรือนิทรรศการทางวัฒนธรรม กิจกรรมการประกวดที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต เชน การประกวดนกเขาชวา นกกรงหัวจุก การประกวดทําอาหารไทย เปนตน หรือกิจกรรมที่หนวย<strong>งาน</strong>จัดสอดแทรกเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมหลักอื่น ๆ เชน การจัดเลี้ยงอาหารพื้นบานใน<strong>งาน</strong>สัมมนาระดับตาง ๆ หรือ การรณรงคใหบุคลากรและนักศึกษาแตงกายชุดพื้นบาน การนําผาพื้นบานมาตัดเปนเสื้อ 5 ส หรือแบบฟอรมประจําหนวย<strong>งาน</strong> เปนตน ตลอดจนการสนับสนุนใหมีกลุมหรือชมรมผูสนใจกิจกรรมทางวัฒนธรรมดานตางๆ ขึ้นในหนวย<strong>งาน</strong> เชน กลุมดนตรีไทย กลุมวรรณกรรม เปนตนทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา2. โครงการกิจกรรมที่สงเสริมใหเกิดความเขาใจและภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณีไทยทั้งของทองถิ่นและของชาติขนบธรรมเนียมประเพณี หมายถึง แบบแผนการประพฤติปฏิบัติในโอกาสหรือเทศกาลตาง ๆที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษของชุมชนทองถิ่น ภายใตความเขาใจที่ถูกตองถึงศรัทธาความเชื่อและคานิยมเพื่อใหสามารถนํามาปฏิบัติอยางเหมาะสมกับยุคสมัยตัวอยางกิจกรรมไดแก วันไหวครู วันลอยกระทง วันสงกรานต วันทําบุญเดือนสิบ การทําบุญวันวาง เปนตน3. โครงการ/กิจกรรมที่สงเสริมใหเกิดความเขาใจและศรัทธาในสถาบันทางศาสนา โดยใหนับไดทุกศาสนาที่มุงเนนเปาหมายเพื่อกอใหเกิดสันติสุขในปจเจกบุคคลและสังคมโลกตัวอยางกิจกรรม ไดแก กิจกรรมการสวดมนตและการตักบาตร การปฏิบัติธรรมในวันสําคัญทางศาสนาตาง ๆ เชน <strong>งาน</strong>หลอเทียนพรรษา การทอดกฐิน การทอดผาปา วันคริสตมาส วันฮารีรายอการสงเสริมการปฏิบัติศาสนกิจตลอดจนการสรางบรรยากาศที่สนับสนุนการปฏิบัติ ศาสนกิจ เชน หองละหมาดหองฝกสมาธิ เปนตน4. โครงการ/กิจกรรมที่กอใหเกิดระบบคุณคาหรือคานิยมที่นับถือความดีงามและคุณธรรมจริยธรรมในยุคปจจุบัน ซึ่งตองคํานึงถึงบริบทและเงื่อนไขตาง ๆ ที่เรื่องนั้นตั้งอยูในยุคปจจุบัน ดังนั้น จึงควรสงเสริมใหมีการทํากิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งอยูนอกขอบเขต รูปแบบ<strong>งาน</strong>ในเรื่องวิถีชีวิตของไทย หรือประเพณีไทย หรือที่เกี่ยวของกับสถาบันทางศาสนา ซึ่งนอกจากเปนการสงเสริมใหเกิดการสรางสรรค ใหเกิดกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ แลวยังชวยสรางกิจกรรมเพื่อการดึงดูดใหเยาวชนไทยเกิดความตระหนักในเรื่องระบบคุณคาและคุณธรรม จริยธรรมมากยิ่งขึ้นตัวอยางกิจกรรม ไดแก กิจกรรมคายพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม คายพัฒนาทักษะชีวิตการเขาคาย/กิจกรรมพัฒนาจิต เปนตน ซึ่งอาจจัดสําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ เชน นักเรียน นักศึกษา เยาวชนบุคลากร สมาชิกในชุมชน เปนตน5. โครงการ/กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย เชน ดนตรีไทยและพื้นบาน ศิลปะการแสดงของไทยและพื้นบาน ประดิษฐศิลปไทยและพื้นบาน <strong>งาน</strong>หัตถกรรมกีฬาและ การละเลนพื้นบานตาง ๆ อาจเปนโครงการ/กิจกรรม ทั้งในสวนที่จัดขึ้นเองโดยตรง หรือการใหบริการการแสดงแกหนวย<strong>งาน</strong>ตาง ๆ หรือการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ไดแก การแสดงนาฏศิลป ดนตรีไทย การแสดงโนรา การแสดงหนังตะลุง และการละเลนพื้นบานตาง ๆ เชน ตะกรอไทย สะบา หมากขุม เปนตน หรือการนํากลุมนักศึกษา/บุคลากร ไปรวมกิจกรรมดังกลาวที่หนวย<strong>งาน</strong> อื่นจัดขึ้น เพื่อสรางโอกาสในการมีสวนรวมทางศิลปะและวัฒนธรรมขึ้นเปนตน6. การแสดงศิลปวัฒนธรรมสากลและของชาติอื่น ๆ อันเปนการแสดงถึงความเขาใจ วัฒนธรรมของชาติตาง ๆ ซึ่งมีความสําคัญตอการอยูรวมกันอยางสันติ ดังนั้นการจัดใหนักศึกษา เยาวชน ประชาชนมีประสบการณและการเรียนรูวัฒนธรรมนานาชาติผานกิจกรรมรูปแบบตางๆนั้น มีความสําคัญตอการดํารงอยูอยางมีความเขาใจที่ชัดเจนตอวัฒนธรรมของตนเองและวัฒนธรรม ของชาติอื่น ๆ อันเปนวัฒนธรรมโดยรวมของโลก107ทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


108คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาศิลปวัฒนธรรมสากลและชีวิตวัฒนธรรมของประเทศตาง ๆ ที่สื่อออกมาในรูปแบบตางๆ เชนดนตรี ศิลปะการแสดง ประดิษฐศิลป <strong>งาน</strong>หัตถกรรม ศิลปกรรมตาง ๆ ที่อาจจะสื่อสารออกมาใน รูปแบบของการแสดงภาพยนตรภาพถาย ภาพเขียนนิทรรศการวัฒนธรรมตาง ๆ ซึ่งอาจเปน กิจกรรมที่หนวย<strong>งาน</strong>จัดขึ้นโดยตรง หรือการใหบริการแกหนวย<strong>งาน</strong>อื่น ๆ หรือการเขารวมชมกิจกรรม ตาง ๆ ไดแก การแสดงดนตรีสากลและดนตรีประจําชนชาติตาง ๆ การแสดงจินตลีลาประกอบเพลง การประกวดดนตรีสากล การจัดการแสดงผล<strong>งาน</strong>สรางสรรคทางดานศิลปกรรมประเภทตาง ๆ เชน นิทรรศการศิลปกรรม ประติมากรรม เปนตน<strong>งาน</strong>วิจัย หมายถึง กระบวนการคนหาคําตอบของปญหา หรือการเสาะแสวงหาความรูใหมตลอดจนถึงการประดิษฐคิดคนที่ผานกระบวนการศึกษาคนควาหรือทดลอง วิเคราะหและตีความขอมูลตลอดจนสรุปผลอยางเปนระบบ<strong>งาน</strong>สรางสรรค หมายถึง ผล<strong>งาน</strong>วิชาการ (ไมจําเปนตองเปน<strong>งาน</strong>วิจัย) ที่มีการศึกษา คนควาที่แสดงออกทางศิลปะหรือดนตรีอันเปนที่ยอมรับนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (Full Time Equivalent Student : FTES) หมายถึง นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนตามเกณฑจํานวนหนวยกิตมาตรฐานของการลงทะเบียน ดังนี้ระบบทวิภาค - สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี : ลงทะเบียน 36 หนวยกิตตอปการศึกษา(18 หนวยกิตตอภาคการศึกษา)- สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทั้งโครงการปกติและโครงการภาคพิเศษ : ลงทะเบียน 24 หนวยกิตตอปการศึกษา(12 หนวยกิตตอภาคการศึกษาปกติ)ระบบไตรภาค - สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี : ลงทะเบียน 39 หนวยกิตตอปการศึกษา- (13 หนวยกิตตอภาคการศึกษา)- สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา : ลงทะเบียน 27 หนวยกิตตอปการศึกษา(9 หนวยกิตตอภาคการศึกษา)ขั้นตอนการคํานวณคา FTES มีดังนี้1) คํานวณคาหนวยกิตนักศึกษา (Student Credit Hours : SCH) ซึ่งก็คือผลรวมของผลคูณระหวางจํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนกับจํานวนหนวยกิตแตละรายวิชาที่เปดสอนทุก รายวิชาตลอดปการศึกษารวบรวมหลังจากนักศึกษาลงทะเบียนแลวเสร็จ (หมดกําหนดเวลาการ เพิ่ม-ถอน) โดยมีสูตรการคํานวณ ดังนี้ทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา109SCH = Σ n i c iเมื่อ n i= จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนในวิชาที่ ic i= จํานวนหนวยกิตของวิชาที่ i2) คํานวณคา FTES โดยใชสูตรคํานวณดังนี้SCHFTES = จํานวนหนวยกิตตอปการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานการลงทะเบียนในระดับปริญญานั้น ๆนักศึกษาภาคปกติ หมายถึง นักศึกษาที่เรียนในชวงเวลาราชการหรือนอกเวลาราชการโดยสถาบันไดมีการคํานวณเปนภาระ<strong>งาน</strong>สอนของอาจารย และไมมีการจายคาตอบแทนเปนการพิเศษนักศึกษาภาคพิเศษ หมายถึง นักศึกษาที่เรียนในชวงเวลาราชการ หรือนอกเวลาราชการโดยสถาบันมิไดนับวาการสอนดังกลาวเปนภาระ<strong>งาน</strong>สอนของอาจารย และ/หรือไดมีการจายคาตอบแทนใหกับการสอนของอาจารยเปนการพิเศษนักวิจัย หมายถึง ขาราชการที่เปนเจาหนาที่วิจัยและนักวิจัย หรือเปนพนัก<strong>งาน</strong>หรือบุคลากรที่มีสัญญาจางกับสถาบันหรือสถานศึกษาทั้งปการศึกษา ที่มีระยะเวลาทํา<strong>งาน</strong>ไมต่ํากวา 9 เดือน โดย มีภาระหนาที่ในการวิจัย ในกรณีที่นักวิจัยมีระยะเวลาทํา<strong>งาน</strong> 6 เดือน ใหนับเปน 0.5 คนระบบและกลไก หมายถึง ขั้นตอนการดําเนิน<strong>งาน</strong>ตางๆ ที่มีความสัมพันธและเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ โดยอาศัยบุคลากร ทรัพยากร กฎเกณฑ มาตรการแนวปฏิบัติ และปจจัยตางๆ เปนกลไกใหการดําเนิน<strong>งาน</strong>บรรลุเปาหมายรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณยกยองระดับชาติหรือนานาชาติ หมายถึง รางวัลหรือประกาศเกียรติคุณของตางหนวย<strong>งาน</strong> เชน หนวย<strong>งาน</strong>ของรัฐในระดับกระทรวง ทบวง กรม หรือ จังหวัด หนวย<strong>งาน</strong>ของรัฐและเอกชนที่เปนองคกรทางวิชาการ หรือวิชาชีพ หรือเปนองคกรที่มีหนาที่ เกี่ยวของกับประเภทของรางวัลที่มอบ ที่ไดรับการยอมรับในระดับชาติและ/หรือนานาชาติวารสารระดับนานาชาติที่อยูในฐานขอมูลสากล หมายถึง วารสารที่ปรากฏในฐานขอมูลวารสารที่เปนที่ยอมรับระดับนานาชาติ เชน ฐานขอมูล Science Citation Index (SCI) ฐานขอมูล Ei Compendexฐานขอมูล INSPEC ฐานขอมูล ScienceDirect ฐานขอมูล PUBMED ฐานขอมูล AGRICOLA (AGRICulturalOnline Access) ฐานขอมูล ERIC (Education Database) หรือ ฐานขอมูล PUBSCIENCE เปนตนทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


110คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาตัวอยางแหลงสืบคนฐานขอมูลมาตรฐานสากล1) ISI = http://portal.isiknowledge.com/2) MathSciNet = http://www.ams.org/mathscinet3) ScienceDirect = http://www.sciencedirect.com/4) Agricola = http://agricola.nal.usda.gov/5) Biosis = http://www.biosis.org/6) Scopus = http://www.info.scopus.com/7) Pubmed = http://www.pubmed.gov/8) Academic Search Premium = http://www.ebsco.com/home/ (select ebscohost and thenacademic search premium)9) Infotrieve = http://www.infotrieve.com10) Wilsom = http://www.nova.edu/library/dils/lessons/wilsonweb/วารสารระดับนานาชาติที่ไมอยูในฐานขอมูลสากล หมายถึง วารสารที่คณะบรรณาธิการตองเปนชาวตางประเทศ อยางนอย 1 คน และวารสารตองมีบทความวิจัยจากตางประเทศลงตีพิมพดวยวารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารที่ตีพิมพบทความจากนักวิชาการกลุมตาง ๆ จากสถาบันตาง ๆ และคณะบรรณาธิการจะตองเปนผูที่มีชื่อเสียงในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับวารสาร และกองบรรณาธิการจะตองมาจากสถาบันอื่น ๆ ไมนอยกวารอยละ 50หลักธรรมาภิบาล มาจากคําวา ธรรมะ + อภิบาล หมายความวาหลักการบริหารจัดการ บานเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance) ประกอบดวยหลักพื้นฐาน 6 ประการ ดังนี้1. หลักนิติธรรม ไดแก การตรากฎหมาย กฎขอบังคับตาง ๆ ใหทันสมัยและเปนธรรม เปนที่ยอมรับทั้งผูออกกฎและผูปฏิบัติตาม ตลอดจนทุกคนในสังคมยินยอมพรอมใจปฏิบัติตาม2. หลักคุณธรรม ไดแก การยึดมั่นในความถูกตองดีงาม ซื่อสัตย จริงใจ ขยัน อดทนมีระเบียบ ตลอดจนมีความชอบธรรมในการใชอํานาจ3. หลักความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลที่เปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาที่เขาใจงาย ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก เปดเผยขอมูลที่ถูกตอง รวดเร็ว ไมบิดเบือน หรือปดบังบางสวน4. หลักความมีสวนรวม ไดแก การเปดโอกาสใหทุกคนในสังคมมีสวนรวมในกิจกรรมที่เราทําทั้งรวมคิดรวมทํารวมแกไขและรวมรับผิดชอบ5. หลักความรับผิดชอบตรวจสอบได นอกจากจะตองมีความรับผิดชอบแลวยังตองสรางกระบวนการใหหนวย<strong>งาน</strong>ตาง ๆ มาตรวจสอบไดวาการทํา<strong>งาน</strong>ของเราโปรงใสจริงทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา6. หลักความคุมคา ไดแก การบริหารจัดการและใชทรัพยากรที่มีจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด คุมเงิน คุมเวลา คุมแรง<strong>งาน</strong>องคการนักศึกษา หมายถึง องคการและ/หรือสภาและ/หรือสโมสรและ/หรือชมรมของนักศึกษา ที่จัดตั้งขึ้นโดยความเห็นชอบและภายใตการดูแลของสถาบันเพื่อดําเนินกิจกรรมเสริมหลักสูตรอาจารยประจํา หมายถึง อาจารยขาราชการ อาจารยพนัก<strong>งาน</strong> รวมทั้งอาจารยที่มีสัญญาจาง กับสถาบันหรือสถานศึกษาทั้งปการศึกษา ที่มีระยะเวลาทํา<strong>งาน</strong>ไมต่ํากวา 9 เดือน ในกรณีที่ อาจารยมีระยะเวลาทํา<strong>งาน</strong> 6 เดือน ใหนับเปน 0.5 คน รวบรวมสิ้นสุดปการศึกษา111ทํา<strong>งาน</strong>ทุกวันอยางมีประสิทธิภาพ...การทํา<strong>งาน</strong><strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>


บทที่ 6แนวทางในการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในเปนไปเพื่อการตรวจสอบและประเมินการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของหนวย<strong>งาน</strong>ตามระบบและกลไกที่กําหนดขึ้น เพื่อใหหนวย<strong>งาน</strong>ทราบสถานภาพที่แทจริงและนําไปใชในการกําหนดแนวทางและพัฒนา<strong>คุณภาพ</strong>ตามเกณฑและมาตรฐานที่ตั้งไวอยางตอเนื่อง สําหรับขั้นตอนการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>การศึกษา มีดังนี้1. การเตรียมการของหนวย<strong>งาน</strong>กอนการตรวจเยี่ยมของผูประเมิน1.1 การเตรียมเอกสารก. จัดทําราย<strong>งาน</strong>ประจําปที่เปนราย<strong>งาน</strong>การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน ทั้งนี้รูปแบบการจัดทําราย<strong>งาน</strong>ประจําปที่เปนราย<strong>งาน</strong>การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน ควรมีหัวขอหลัก ดังนี้1) คํานํา สารบัญ สารบัญเรื่อง สารบัญตารางหรือสารบัญภาพ (ถามี)2) ขอมูลเบื้องตนของสถาบันประกอบดวย ประวัติ ปรัชญา ปณิธาน โครงสรางการบริหารจัดการระบบและกลไก<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>ของหนวย<strong>งาน</strong> สรุปผลการปรับปรุงตามผลการประเมินในรอบปที่ผานมา และเปาหมายสําคัญในปปจจุบัน (ควรสรุปเปนตาราง)3) ผลการดําเนิน<strong>งาน</strong>และผลการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>เทียบกับเกณฑและเปาหมายในรอบปปจจุบันตามตัวบงชี้ในแตละองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>ไดแก1. องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนิน<strong>งาน</strong>2. องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน3. องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิต/นักศึกษา4. องคประกอบที่ 4 การวิจัย5. องคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม6. องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม7. องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ8. องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ9. องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>4) สรุปผลการประเมินตนเองโดยแยกเปนผลการประเมินในภาพรวมของแตละองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>และแตละมาตรฐานการอุดมศึกษา ตลอดจนจุดเดน และจุดที่ควรพัฒนาแผนและ เปาหมายการพัฒนาในปตอไปมารวมสรางวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...ที่ มบส.


116คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาข. จัดการเตรียมเอกสารอางอิงในแตละองคประกอบ<strong>คุณภาพ</strong>1) เอกสารอางอิง ควรเปนขอมูลในชวงเวลาเดียวกับที่นําเสนอในราย<strong>งาน</strong>การประเมินตนเอง ตลอดจนสาระในเอกสารตองตรงกับชื่อหมายเลขและสาระที่ระบุในราย<strong>งาน</strong>การประเมินตนเอง2) หากเอกสารที่อางถึงเปนสวนหนึ่งของเอกสารชุดใหญใหใชวิธีใดวิธีหนึ่งในการระบุวาเอกสารหรือขอความที่กลาวถึงอยูที่ใด เชน ระบุหนาที่อางอิง ทําแถบกระดาษสีแยกหนากระดาษ หรือระบายสีเนนขอความ เปนตน3) สําหรับเอกสารที่เปนแผนปลิวหรือแผนพับ ควรจัดเย็บเปนเลมบางๆ ไว หรือใสแฟมไวกันการสูญหายหรือปะปนอยูกับเอกสารชุดอื่น4) จัดเตรียมคอมพิวเตอรและการตอเชื่อมเครือขายที่สมบูรณหากเอกสารอางอิงอยูในเว็บไซดหรือระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ5) การนําเสนอเอกสารในชวงเวลาตรวจเยี่ยมอาจทําไดในสองแนวทาง คือจัดเอกสารใหอยูในที่อยูปกติตามหนวย<strong>งาน</strong> ในกรณีนี้ตองระบุใหชัดเจนวา จะเรียกดูเอกสารไดจากผูใดหนวย<strong>งาน</strong>ไหน ชื่อหรือหมายเลขเอกสารอะไร หรืออาจจัดในแนวทางที่สอง คือ นําเอกสารมารวมไวที่ เดียวกันในหองทํา<strong>งาน</strong>ของคณะผูประเมิน โดยจัดใหเปนระบบที่สะดวกตอการเรียกใช การนําเสนอเอกสารในแนวทางนี้เปนที่นิยมกวาแนวทางแรก เพราะสามารถเรียกหาเอกสารไดเร็วและดูความเชื่อมโยงในเอกสารฉบับตางๆไดในคราวเดียว1.2 การเตรียมบุคลากรก. การเตรียมบุคลากรทุกระดับ ควรมีความครอบคลุมประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้1) ทําความเขาใจเกี่ยวกับการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ในประเด็นที่สําคัญๆ อาทิการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>คืออะไร มีความสําคัญตอการพัฒนาอยางไร ขั้นตอนการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>เปนเชนไร2) เนนย้ํากับบุคลากรในการใหความรวมมือการตอบคําถามหรือการสัมภาษณโดยยึดหลักวาตอบตามสิ่งที่ปฏิบัติจริงและผลที่เกิดขึ้นจริง3) เปดโอกาสใหมีการอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น เพื่อสรางความกระจางในการดําเนิน<strong>งาน</strong>ของทุกหนวย<strong>งาน</strong>ในทุกประเด็น เพื่อความเขาใจที่ถูกตองของบุคลากร4) เนนย้ําใหบุคลากรทุกคนตระหนักวาการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>คือภารกิจประจําของทุกคนที่ตองรวมมือกันทําอยางตอเนื่องข. การเตรียมบุคลากรเพื่อทําหนาที่ผูประสาน<strong>งาน</strong>ในระหวางการตรวจเยี่ยมจําเปนตองมีบุคลากร 1-3 คน ทําหนาที่ประสาน<strong>งาน</strong>ระหวางคณะผูประเมินกับบุคคลหรือหนวย<strong>งาน</strong>ที่เกี่ยวของทั้งนี้ผูประสาน<strong>งาน</strong>ควรเตรียมตัวดังนี้1) ทําความเขาใจทุกกิจกรรมของแผนการประเมินอยางถองแท2) ทําความเขาใจอยางดีกับภารกิจของคณะวิชาและสถาบันเพื่อสามารถใหขอมูลตอผูประเมิน รวมทั้งตองรูวาจะตองติดตอกับใครหรือหนวย<strong>งาน</strong>ใด หากผูประเมินตองการขอมูลเพิ่มเติมที่ตนเองไมสามารถตอบไดมารวมสรางวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...ที่ มบส.


คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3) มีรายชื่อ สถานที่ หมายเลขโทรศัพทของผูที่คณะกรรมการประเมินจะเชิญมาใหขอมูลอยางครบถวน4) ประสาน<strong>งาน</strong>ลวงหนากับผูที่จะใหขอมูลที่เปนบุคลากรภายในและภายนอกสถาบันวาจะเชิญมาเวลาใด หองใด หรือพบกับใคร5) เมื่อมีปญหาในการอํานวยความสะดวกแกคณะผูประเมินสามารถประสาน<strong>งาน</strong>แกไขไดทันที1.3 การเตรียมสถานที่สําหรับคณะผูประเมินก. หองทํา<strong>งาน</strong>ของคณะผูประเมิน1) จัดเตรียมหองทํา<strong>งาน</strong>และโตะที่กวางพอสําหรับวางเอกสารจํานวนมาก โดยเปนหองที่ปราศจากการรบกวนขณะทํา<strong>งาน</strong> เพื่อความเปนสวนตัวของคณะกรรมการ2) จัดเตรียมคอมพิวเตอร อุปกรณเครื่องเขียนในหองทํา<strong>งาน</strong>และอุปกรณเสริมอื่น ๆใหคณะผูประเมินพรอมใช<strong>งาน</strong>ไดตามความตองการ3) จัดเตรียมโทรศัพทพรอมหมายเลขที่จําเปนไวในหองทํา<strong>งาน</strong>หรือบริเวณใกลเคียง4) หองทํา<strong>งาน</strong>ควรอยูใกลกับที่จัดเตรียมอาหารวาง อาหารกลางวัน ตลอดจนบริการสาธารณูปโภคอื่นๆ5) ควรประสาน<strong>งาน</strong>กับคณะผูประเมิน เพื่อทราบความตองการพิเศษอื่นใด เพิ่มเติมข. หองที่ใชสัมภาษณผูบริหาร อาจารย บุคลากร นิสิตนักศึกษา ฯลฯ ควรจัดไวเปนการเฉพาะใหเหมาะสมกับการใช<strong>งาน</strong>1.4 การเตรียมการประสาน<strong>งาน</strong>กับทีมคณะกรรมการประเมินก. หนวย<strong>งาน</strong>ควรจัดทําคําสั่งแตงตั้งและจัดสงใหคณะกรรมการประเมินภายในทราบข. จัดสงราย<strong>งาน</strong>ประจําปที่เปนราย<strong>งาน</strong>การประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน และเอกสารที่เกี่ยวของอื่นๆ (ถามี) ใหคณะผูประเมินกอนวันรับการตรวจเยี่ยมอยางนอย 2 สัปดาห พรอมทั้งแจงรายชื่อผูทําหนาที่ประสาน<strong>งาน</strong>กับคณะผูประเมินให คณะผูประเมินทราบ รวมทั้งเบอรโทรศัพทและ e-mail address สําหรับติดตอค. ประสาน<strong>งาน</strong>กับประธานหรือตัวแทนของคณะผูประเมิน เพื่อรวมเตรียมแผนการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายใน อาทิ การจัดตารางเวลาเขาตรวจเยี่ยม การใหขอมูลที่คณะผูประเมินตองการเพิ่มเติมกอนการตรวจเยี่ยม การนัดหมายตาง ๆ เปนตน2. การดําเนินการระหวางการตรวจเยี่ยมเพื่อประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>1) เปดโอกาสใหบุคลากรทุกระดับไดรวมรับฟงคณะผูประเมินชี้แจงวัตถุประสงคและวิธีการประเมินในวันแรกของการตรวจเยี่ยม2) บุคลากรพึงปฏิบัติ<strong>งาน</strong>ตามปกติระหวางการตรวจเยี่ยม แตเตรียมพรอมสําหรับการนําเยี่ยมชมหรือตอบคําถามหรือรับการสัมภาษณจากคณะผูประเมิน117มารวมสรางวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...ที่ มบส.


118คูมือการ<strong>ประกัน</strong><strong>คุณภาพ</strong>การศึกษาภายในสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา3) จัดใหมีผูประสาน<strong>งาน</strong>ทําหนาที่ตลอดชวงการตรวจเยี่ยม ทั้งนี้เพื่อประสาน<strong>งาน</strong>กับบุคคลหรือหนวย<strong>งาน</strong>ที่คณะผูประเมินตองการขอมูลและเพื่อนําการเยี่ยมชมหนวย<strong>งาน</strong>ภายใน ตลอดจนอํานวยความสะดวกอื่นๆ4) ในกรณีที่คณะผูประเมินทํา<strong>งาน</strong>ตอหลังเวลาราชการควรมีผูประสาน<strong>งาน</strong> สวนหนึ่งอยูอํานวยความสะดวก5) บุคลากรทั้งหมดควรไดมีโอกาสรับฟงการใหขอมูลปอนกลับจากคณะผูประเมินเมื่อสิ้นสุดการตรวจเยี่ยมตลอดจนเปดโอกาสใหซักถามหรือขอความเห็นเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม3. การดําเนินการภายหลังการประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>1) นําผลการประเมินเขาสูการประชุมหรือสัมมนาระดับตางๆ เพื่อวางแผนพัฒนาหรือปรับปรุงการดําเนินภารกิจอยางเปนรูปธรรมตอไป โดยอาจจัดทําเปนแผนปฏิบัติการในการแกไขจุดออนและเสริมจุดแข็ง ซึ่งประกอบดวย กิจกรรมที่ตองดําเนินการกําหนดเวลาเริ่มตนจนถึงเวลาสิ้นสุดกิจกรรมงบประมาณสําหรับแตละกิจกรรม ตลอดจนผูรับผิดชอบกิจกรรมเหลานั้น ทั้งนี้เพื่อใหสามารถติดตามตรวจสอบผลการพัฒนาไดอยางตอเนื่อง2) พิจารณาการจัดกิจกรรมเสริมสรางขวัญและกําลังใจ โดยแสดงใหเห็นวาหนวย<strong>งาน</strong>ชื่นชมผลสําเร็จที่เกิดขึ้นและตระหนักวาทั้งหมดมาจากความรวมมือรวมใจของทุกฝาย3) ใหขอมูลยอนกลับแกคณะผูประเมินเพื่อประโยชนในการพัฒนาผูประเมิน<strong>คุณภาพ</strong>ภายในตอไปมารวมสรางวัฒนธรรม<strong>คุณภาพ</strong>...ที่ มบส.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!