29.08.2015 Views

ดาวน์โหลดไฟล์ ปี 2552 .pdf - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ดาวน์โหลดไฟล์ ปี 2552 .pdf - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ดาวน์โหลดไฟล์ ปี 2552 .pdf - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เนื้อที่ถือครองทางการเกษตร หมายถึง เนื้อที่รวมของที่ดินทุกผืนที่ถือครองอยู่ และใช้ทาการเกษตรซึ่งอาจ<br />

เป็นเจ้าของ เช่าหรือได้ทาฟรี<br />

เนื้อที่ปาไม หมายถึง เนื้อที่ซึ่งยังมีสภาพเป็นปาไม้อยู่<br />

เนื้อที่ไมไดจําแนก หมายถึง เนื้อที่ส่วนที่เหลือจากการหักเนื้อที่ปาไม้ และเนื้อที่ถือครองทางการเกษตรออกจาก<br />

เนื้อที่ทั้งหมด ได้แก่ เนื้อที่ปาที่ถูกทาลายไปแล้ว (ฉะนั้นถ้ามีการปลูกปาเพิ่มขึ้น เนื้อที่ไม่ได้จาแนกบางส่วนจะกลับมา<br />

เป็นเนื้อที่ปาได้อีก) เนื้อที่ในเขตเทศบาลและสุขาภิบาล เนื้อที่ที่อยู่อาศัยของประชากรนอกการเกษตร ย่านการค้า<br />

โรงงานอุตสาหกรรม โรงเรียน โรงพยาบาล วัด ถนน ทางหลวง ทางรถไฟ สนามบิน แม่น้า ลาคลอง หนองบึง<br />

อ่างเก็บน้าชลประทาน สถานที่ราชการต่าง ๆ และที่อื่น ๆ ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในทางการเกษตร<br />

ที่รกรางวางเปลา หมายถึง ที่ดินที่ไม่เคยทาประโยชน์มาก่อนเลย หรือเคยทาประโยชน์ แต่ในปจจุบันไม่ได้ใช้ประโยชน์<br />

มานานติดต่อกันเป็นเวลา 5 ปีขึ้นไป<br />

ที่อื่น ๆ ของเนื้อที่ที่ถือครองการเกษตร หมายถึง ถนน ทางเดิน คูน้า บ่อเลี้ยงปลา สระน้า ฯลฯ ที่มีอยู่ในฟาร์ม<br />

พื้นที่ชลประทาน หมายถึง พื้นที่บริการของกรมชลประทาน จากการควบคุม และบริหารจัดการน้า โครงการ<br />

แหล่งน้าขนาดใหญ่ และขนาดกลาง โดยที่ผู ้ใช้น้านาไปใช้เพื่อการปลูกพืช การประมง ปศุสัตว์ และการอุปโภคบริโภค<br />

กิจการประปา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การปองกันและบรรเทาภัยที่เกิดจากน้าหลาก น้าเสีย และกิจการอื่น ๆ<br />

พื้นที่ไดรับประโยชน หมายถึง พื้นที่ในขอบเขตที่กาหนดไว้ว่าจะได้รับประโยชน์จากโครงการชลประทานขนาดเล็ก<br />

โครงการชลประทานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (เฉพาะในส่วนของสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน<br />

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ) โครงการหมู่บ้านปองกันตนเองชายแดน โครงการจัดหาน้าสนับสนุนศูนย์<br />

พัฒนาโครงการหลวง (งานเกษตรที่สูง) ไม่ว่าจะเป็นด้านการเพาะปลูก อุปโภคบริโภค หรืออย่างอื่น<br />

พืช ป <strong>2552</strong> มีคานิยามตรงกับปีเพาะปลูก <strong>2552</strong>/53 ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง<br />

งา ละหุ่ง สับปะรด พริกไทย พืชผัก และไม้ผล/ไม้ยืนต้น<br />

พืช ป 2553 มีคานิยามตรงกับปีเพาะปลูก <strong>2552</strong>/53 ได้แก่ ข้าวนาปรัง มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน กระเทียม<br />

หอมแดง หอมหัวใหญ่ มันฝรั่ง และกาแฟ<br />

การแบงภาค แบงออกเปน 4 ภาค<br />

1) ภาคเหนือ มี 17 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย พะเยา ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาแพงเพชร<br />

สุโขทัย แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี และเพชรบูรณ์<br />

2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 19 จังหวัด ได้แก่ เลย หนองบัวลาภู อุดรธานี หนองคาย สกลนคร นครพนม<br />

มุกดาหาร ยโสธร อานาจเจริญ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์<br />

ขอนแก่น ชัยภูมิ และนครราชสีมา<br />

3) ภาคกลาง มี 26 จังหวัด ได้แก่ สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา<br />

นนทบุรี กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแก้ว จันทบุรี ตราด ระยอง ชลบุรี<br />

สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์<br />

4) ภาคใต มี 14 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช<br />

พัทลุง สงขลา สตูล ปตตานี ยะลา และนราธิวาส<br />

สถิติการเกษตรของประเทศไทย<br />

Agricultural Statistics of Thailand<br />

IV

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!