18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

นอกจากยีนที่ควบคุมการแสดงออกของเพศตนมะละกอแลวยังมียีนอีกชุดหนึ่งที่ควบคุม<br />

การแสดงออกของเพศดอกมะละกอ โดยถูกกระตุนใหแสดงออกโดยสภาพแวดลอม<br />

ซึ่งจะเกิดใน<br />

ตนตัวผูและตนสมบูรณเพศเทานั้น<br />

สภาพแวดลอมที่มีผลตอการเปลี่ยนเพศดอกและการเจริญเติบโตของมะละกอ<br />

1. อุณหภูมิ อุณหภูมิที่สูงหรือตํ่<br />

าเกินไป มีผลตอการเปลี่ยนเพศดอกคอนขางมากโดย<br />

เฉพาะในตนสมบูรณเพศ ในสภาพอากาศเย็น อุณหภูมิระหวาง 16-20 C ตนที่มีการเจริญเติบโตดี<br />

เพิ่งออกดอกชุดแรก<br />

ดอกที่จะเกิดขึ้นคือดอกชนิด<br />

carpelloid pentandria และ carpelloid elongata<br />

ซึ่งใหผลที่มีรูปรางผิดปกติไมเปนที่ตองการของผูบริโภค<br />

(Awada, 1958) แตในสภาพอากาศรอน<br />

อุณหภูมิสูงกวา 30 C จะเกิดดอกชนิด reduced elongata ทํ าใหไมติดผล เนื่องจากเกสรตัวเมียมี<br />

ขนาดเล็ก ไมสามารถพัฒนาเปนผลได (Lange, 1961) และถาดอกเกิดในชวงที่อุณหภูมิกลางวันและ<br />

กลางคืนแตกตางกันมาก ดอกที่เกิดสวนมากจะเปนดอกตัวเมีย<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบ<br />

โตของทรงพุมคือ<br />

22-33 C หากไดรับอากาศที่หนาวเย็นมาก<br />

อัตราการเจริญเติบโตและผลผลิตจะ<br />

ลดลง และทํ าใหคุณภาพผลไมดีดวย<br />

2. ความชื้นในดิน<br />

ในสภาพที่มีความชื้นในดินตํ่<br />

า จะเกิดดอกชนิด Reduced elongata มาก<br />

แตถาความชื้นในดินสูงเกินไปจะเกิดดอกชนิด<br />

pentandria และ carpellody มาก (Awada and Ikeda,<br />

1957) สํ าหรับการเจริญเติบโตของทรงพุม<br />

ถาไดรับนํ้<br />

าที่เพียงพอและสมํ่<br />

าเสมอ ทํ าใหตนเจริญเติบ<br />

โตดี ถาขาดนํ้<br />

าจะทํ าใหตนมะละกอชะงักการเจริญเติบโต ผลผลิตลดลง แตถาไดรับนํ้<br />

ามากเกินไป<br />

หรือนํ าแชขังรากนานเกิน ้ 48 ชั่วโมง<br />

มะละกอจะเนาตาย<br />

3. ไนโตรเจน เมื่อมะละกอไดรับปุยไนโตรเจนมากเกินไป<br />

จะทํ าใหตนมะละกอมีการเจริญ<br />

เติบโตทางกิ่งใบดี<br />

และทํ าใหเกิดดอกชนิด carpellody มาก จากการศึกษาของ Awada and Ikeda<br />

(1957) พบวาการใหปุยไนโตรเจนเพิ่มขึ้นตั้งแต<br />

45-900 กรัมตอตน ทุก 6 สัปดาหจะชักนํ าใหเกิด<br />

ดอกชนิด carpellody มากขึ้นถึง<br />

58 % อัตราปุ ยไนโตรเจนที่เหมาะสมสํ<br />

าหรับการเกิดดอกตัวเมีย<br />

หรือสมบูรณเพศชนิด elongata ไมควรเกิน 30 กรัมตอตน<br />

6

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!