18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ตางระหวางพันธุของมะละกอได<br />

โดยที่มะละกอพันธุ<br />

Solo และ Formosa มีปริมาณคลอโรฟลลเอ<br />

สูงสุดประมาณ 380 µmol m -2 ไมแตกตางกัน แตมีคลอโรฟลลบีตางกันโดยที่พันธุ<br />

Solo มี<br />

คลอโรฟลลบีประมาณ 95 มากกวาพันธุ<br />

Formosa ที่มีคาประมาณ<br />

78 µmol m -2 ทํ าใหมีสัดสวนของ<br />

คลอโรฟลลเอตอคลอโรฟลลบีตางกัน<br />

3. ประสิทธิภาพการใชแสงของระบบรับแสง Photosystem II (PSII)<br />

การประเมินประสิทธิภาพการใชแสงของระบบรับแสง PSII เปนวิธีการศึกษาถึงกลไกการ<br />

ทํ างานของระบบรับแสงโดยคลอโรพลาสต สามารถทํ าไดจากการวัดคลอโรฟลลฟลูออเรสเซนต<br />

(chlorophyll fluorescence) กลาวคือเมื่อพลังงานแสงสองกระทบใบพืช<br />

ใบจะมีการถายเทพลังงาน<br />

ไดหลายวิธี วิธีหลัก คือ การใชพลังงานแสงในกระบวนการสังเคราะหแสง พลังงานสวนเกินจะ<br />

ระบายเปนคลื่นความรอน<br />

และแผเปนรังสีฟลูออเรสเซนต<br />

ผลที่ไดจากการวัดคลอโรฟลลฟลูออเรสเซนต<br />

จะใชคํ านวณคาประสิทธิภาพในการใชแสง<br />

ของระบบ PSII ซึ่งสามารถวัดไดทั้งในสภาพมืดและสวาง<br />

คาในที่มืด(Φdark)<br />

จะแสดงถึงสัดสวน<br />

ของพลังงานแสงที่ใบพืชดูดกลืนแลวสามารถนํ<br />

าไปใชที่<br />

reaction centers เมื่อ<br />

reaction centers อยู<br />

ในสภาพเปดเต็มที่<br />

หลังจากมีการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผาน<br />

PSII สมบูรณแลว คาที่ไดเปนคาสูง<br />

สุดที่เกิดขึ้น<br />

ใบของพืชที่มีการเจริญเติบโตตามปกติจะไดคาในชวง<br />

0.80-0.83 (สุนทรีและธาดา,<br />

2543ง) หากอยูในสภาพที่ไมเหมาะสมเชน<br />

ขาดนํ้<br />

าจะทํ าใหคานี้ลดลง<br />

สวนคาประสิทธิภาพขณะที่<br />

ใบไดรับแสง(ΦPSII) เหมือนกับคา Φdark แต reaction centers ไมไดอยูในสภาพที่เปดเต็มที่เนื่อง<br />

จากไดรับแสงบางสวนจากดานนอก คา ΦPSII บอกถึงสัดสวนของ reaction centers ที่สามารถรับ<br />

อิเล็กตรอนไดในขณะนั้น<br />

อีกคาที่มีความหมายในลักษณะคลายกันแตอยูในรูปของประสิทธิภาพ<br />

ของการตรึง CO2 ตอหนึ่งหนวยแสงที่ไดรับ(ΦCO2)<br />

ทั้งคา<br />

ΦPSII และ ΦCO2 เปนฟงกชันกับความ<br />

เขมแสง นอกจากนี้การวัดคลอโรฟลลฟลูออเรสเซนตในสภาพมีแสงสามารถคํ<br />

านวณอัตราการ<br />

เคลื่อนยายอิเล็กตรอน(electron<br />

transport rate, ETR) ซึ่งบอกถึงประสิทธิภาพการเคลื่อนยาย<br />

อิเล็กตรอน<br />

วิธีการนี้นิยมใชวัดการตอบสนองตอสภาพความเครียดของสิ่งแวดลอม<br />

เนื่องจากเมื่อพืชถูก<br />

กระทบจากสภาพที่ไมเหมาะสม<br />

พลังงานแสงที่สองมายังคลอโรพลาสตสูงเกินกวาที่จะใชไดหมด<br />

จึงเปนอันตรายตอระบบการเคลื่อนยายอิเล็กตรอน<br />

เนื่องจากการไดรับความเขมแสงที่สูงเกินไปเปน<br />

8

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!