18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การศึกษานี้แบงการวัดคาตางๆ<br />

ออกเปน 3 สวนคือ<br />

1. ศึกษาศักยภาพการสังเคราะหแสงที่อายุใบตางๆ<br />

กัน<br />

เมื่อมะละกอเริ่มออกดอก<br />

แยกเพศตนแลวเลือกตนมะละกอที่มีสภาพตนสมบูรณและมี<br />

ขนาดของทรงพุมและลํ<br />

าตนใกลเคียงกับที่พบในแปลงเปนสวนใหญ<br />

จํ านวนเพศละ 3 ตน<br />

ทํ าเครื่องหมายและจดบันทึกใบใหมที่แตกยอด<br />

โดยใหใบที่อยูปลายยอดสุดของลํ<br />

าตนซึ่งเริ่มคลี่ถือ<br />

เปนใบที่มีอายุ<br />

1 วัน เริ่มศึกษาเมื่อใบมีอายุประมาณ<br />

17 วัน เนื่องจากใบที่อายุกอนหนานี้มีขนาดเล็ก<br />

และชํ างายทํ ้ าใหไมสามารถวัดได ในชวงที่ใบมีอายุ<br />

17-40 วัน วัดทุก 5 วันเพราะในระยะนี้ใบมีการ<br />

พัฒนาอยางรวดเร็วและเขาสูชวงที่พัฒนาเต็มที่<br />

หลังจากนั้นวัดทุก<br />

15 วันจนกระทั่งใบเหลืองและ<br />

แหง การเปลี่ยนแปลงของใบวัดในชวงเวลา<br />

7-11 น. ดวยวิธีการดังตอไปนี้<br />

1.1 อัตราการเจริญเติบโตของใบและกานใบ<br />

วัดความยาวของใบ จากโคนใบถึงปลายใบของแฉกกลางหรือแฉกที่<br />

6 ของใบซึ่งเปน<br />

บริเวณที่ยาวที่สุดของใบ<br />

และวัดความยาวกานใบ จากบริเวณโคนของกานใบถึงปลายกานใบโดยใช<br />

สายวัด รวมทั้งวัดขนาดของกานใบ<br />

สวนติดลํ าตน(petiole base) สวนกลางกานใบ(middle petiole)<br />

และสวนที่ติดกับแผนใบ(leaf<br />

base)โดยใชเวอรเนียร(vernier calipers) ขนาด 0-150 มิลลิเมตร แลว<br />

ประเมินพื้นที่ใบจากความสัมพันธระหวางความยาวใบ<br />

ความยาวกานใบ และขนาดของกานใบกับ<br />

พื้นที่ใบที่วัดจริงดวยเครื่อง<br />

leaf area meter (LI-3100 บริษัท LICOR ประเทศสหรัฐอเมริกา) ซึ่งได<br />

จากขอมูลมวลชีวภาพที่ระยะผลเก็บผลดิบและผลสุกรวมกัน<br />

1.2 ดรรชนีความเขียวและปริมาณคลอโรฟลล<br />

วัดดรรชนีความเขียว(SPAD index) โดยใชเครื่อง<br />

chlorophyll meter (รุน<br />

SPAD-502<br />

บริษัท Minolta Camera ประเทศญี่ปุน)<br />

บริเวณชวงกลางของแฉกกลางหรือแฉกที่<br />

6 ของใบ โดยวัด<br />

คาเฉลี่ย<br />

10 จุด ทํ าเครื่องหมายบริเวณที่วัดไวที่เสนกลางใบ<br />

แลวติดตามการเปลี่ยนแปลงคาดรรชนี<br />

ความเขียว เสนตอบสนองตอแสง และจุดชดเชยคารบอนไดออกไซดบริเวณเดียวกันของใบ<br />

คาดรรชนีความเขียวที่ไดใชคํ<br />

านวณปริมาณคลอโรฟลล จากความสัมพันธระหวางคาดรรชนีความ<br />

เขียวกับปริมาณคลอโรฟลลในใบมะละกอ ซึ่งศึกษาความสัมพันธไดดังนี้<br />

18

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!