18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

1.3 เสนตอบสนองตอแสง<br />

ความสัมพันธระหวางความเขมแสงกับอัตราสังเคราะหแสงสุทธิของใบมะละกอที่<br />

พัฒนาเต็มที่ที่อายุ<br />

32 วัน แสดงในภาพที่<br />

4a ชวงแรกที่เปนเสนตรงในชวงแสง<br />

0-200 µmolPPF<br />

m -2 s -1 มีลักษณะที่เหมือนกันมาก<br />

แสดงวาตนมะละกอทั้ง<br />

2 เพศมีประสิทธิภาพการใชแสงใกลเคียง<br />

กัน คือตนสมบูรณเพศมีคา 0.053 molPPF mol -1 CO2 ในขณะที่ตนตัวเมียมีคา<br />

0.056 molPPF mol -1<br />

CO2 และเปนคาใกลเคียงกับระดับอางอิงของพืช C3 ที่มีคา<br />

0.052 molCO2 mol -1 PPF (Evan, 1987)<br />

สวนในชวงที่สองเปนชวงที่อัตราสังเคราะหแสงสุทธิมีคาคงที่แมมีความเขมแสงสูงขึ้น<br />

โดยที่ความ<br />

เขมแสงที่จุดเปลี่ยนนี้จะอยูในชวง<br />

520-670 µmolPPF m -2 s -1 หมายความวาชวงแสงที่ตํ่<br />

ากวา 670 µ<br />

molPPF m -2 s -1 มีบทบาทจํ ากัดอัตราสังเคราะหแสงสุทธิได แตความเขมแสงที่สูงกวานี้ไมมีผลใน<br />

การเพิ่มอัตราสังเคราะหแสงสุทธิ<br />

ตนตัวเมียมีระดับของอัตราสังเคราะหแสงสุทธิสูงกวาตนสมบูรณ<br />

เพศ และพบวาเมื่อความเขมแสงสูงกวา<br />

1200 µmolPPF m -2 s -1 ใบมะละกอของตนสมบูรณเพศมี<br />

อัตราสังเคราะหแสงสุทธิลดลงจากเดิมเล็กนอย เนื่องจากวาความเขมแสงที่สูงมากทํ<br />

าใหอุณหภูมิใบ<br />

สูงขึ้น<br />

แรงดึงคายนํ้<br />

าเพิ่มขึ้น<br />

ซึ่งสงผลใหคานํ<br />

าไหลปากใบของตนสมบูรณเพศลดลง (ภาพที่<br />

4b)<br />

เมื่อพิจารณาคานํ<br />

าไหลปากใบ(stomatal conductance) ซึ่งแสดงในภาพที่<br />

4b จะเห็นได<br />

วามะละกอตนตัวเมียมีคานํ าไหลปากใบสูงกวาตนสมบูรณเพศ ในที่นี้นอกจากปริมาณคลอโรฟลล<br />

ดังอธิบายในหัวขอที่ผานมา<br />

คานํ าไหลปากใบเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทํ<br />

าใหอัตราสังเคราะหแสงสุทธิ<br />

ของมะละกอทั้ง<br />

2 เพศแตกตางกัน<br />

เนื่องจากหัวที่ใชวัดเปนหัววัดแบบ<br />

leaf chamber fluorometer ทํ าใหไดคาอัตราการ<br />

เคลื่อนยายอิเล็กตรอนดวย<br />

เมื่อนํ<br />

ามาหาความสัมพันธกับความเขมแสง (ภาพที่<br />

4d) จะไดความ<br />

สัมพันธลักษณะเดียวกับเสนตอบสนองตอแสง แตความเขมแสงที่ทํ<br />

าใหอัตราการเคลื่อนยาย<br />

อิเล็กตรอนมีคามากที่สุดคือความเขมแสงที่<br />

1500 µmolPPF m -2 s -1 ดังนั้นระบบการเคลื่อนยาย<br />

อิเล็กตรอนมีกํ าลังเต็มที่ที่ความเขมแสงนี้<br />

(แสดงวาที่ความเขมแสงสูง<br />

กระบวนการ light reaction<br />

ยังดํ าเนินไดดี แตคา A ลดลงเพราะ gs ลดลง กระบวนการ carbon fixation ถูกจํ ากัด)<br />

ประสิทธิภาพการใชแสงของระบบ PSII ที่วัดในสภาพสวาง<br />

(ΦPSII) ซึ่งแสดงในภาพ<br />

ที่<br />

4e มีคาลดลงเมื่อความเขมแสงเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจาก<br />

QA (quinine-type acceptor) อยู ในสภาพถูกรีดิวส<br />

ไมไดอยูในสภาพเปดเต็มที่<br />

คาที่สูงหมายถึงกระบวนการใชแสง<br />

(สังเคราะหแสง) ดํ าเนินไปดวยดี<br />

32

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!