18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ยายอิเล็กตรอน e) ประสิทธิภาพการใชแสง และ f) อัตราสังเคราะหแสงสุทธิกับอัตรา<br />

เคลื่อนยายอิเล็กตรอนของใบมะละกอที่พัฒนาเต็มที่อายุ<br />

32 วัน คาจาก 1 ใบ 1 ตน<br />

1.3.1 การพัฒนาการของเสนตอบสนองตอแสงกับอายุใบ<br />

จากการวัดเสนตอบสนองตอแสงตามอายุใบและนํ าขอมูลเขารูปแบบสม<br />

การ non-rectangular hyperbola(สมการที่<br />

3) ไดคาพารามิเตอรตางๆ แสดงในตารางที่<br />

4 และภาพที่<br />

5 พบวาในชวงแรกเมื่อใบมีอายุระหวาง<br />

18-24 วัน ใบมะละกอมีการพัฒนาการของกระบวนการ<br />

สังเคราะหแสงที่รวดเร็ว<br />

จากที่มีอัตราสังเคราะหแสงสุทธิสูงสุด(Pm)<br />

เพียง 10 µmolCO2 m -2 s -1<br />

ที่อายุ<br />

18 วัน จะมีคาเพิ่มขึ้นเปนสองเทาเมื่ออายุได<br />

24 วัน และเพิ่มขึ้นอีกเพียงเล็กนอย<br />

จนมีคาสูง<br />

สุดที่อายุ<br />

32 วันในตนตัวเมีย แตในตนสมบูรณเพศมีคาสูงสุดที่อายุ<br />

24 วัน และหลังจากอายุใบมาก<br />

ขึ้นคา<br />

Pm จึงจะลดลงคอนขางเร็วเชนกัน (ภาพที่<br />

5a) คา Pm จึงมีคาสูงอยูในชวงอายุใบ<br />

24-32 วัน คา<br />

Pm เปนคาที่บอกถึงศักยภาพในการสรางอาหารของใบพืช<br />

เมื่อเปรียบเทียบระหวางตน<br />

2 เพศพบวาที่<br />

อายุใบเดียวกันมะละกอตนตัวเมียมีคา Pm สูงกวาโดยมีคาสูงสุด 27.94 ซึ่งมากกวาตนสมบูรณเพศที่<br />

มีคา 19.95 µmolCO2 m -2 s -1 คาที่ระดับนี้สูงกวาของมะมวงที่มีคาเทากับ<br />

13.09 µmolCO2 m -2 s -1<br />

(จิตรฤทัยและคณะ, 2543) และใบสมที่มีเทากับ<br />

8-9 µmolCO2 m -2 s -1 (สุนทรีและคณะ, 2544ก)<br />

ในสวนของประสิทธิภาพการใชแสง(α) พบวามีพัฒนาการตามอายุใบใน<br />

ลักษณะคลายกับคา Pm (ภาพที่<br />

5c) แตมีคาคอนขางคงที่ในชวงอายุ<br />

24-43 วันและมีคาอยูในชวง<br />

0.038 - 0.056 molCO 2 mol -1 PPF หลังจากใบมีอายุ 43 วัน ใบของตนสมบูรณเพศมีคา α ลดลงอยาง<br />

รวดเร็ว ในขณะที่ใบของตนตัวเมียยังสามารถรักษาระดับของคานี้ไวได<br />

แสดงวาใบของตนสมบูรณ<br />

เพศมีระบบใชแสงที่เสื่อมสภาพไดเร็วกวาตนตัวเมีย<br />

คาที่สูงแสดงถึงความสามารถในการตรึง<br />

คารบอนไดออกไซดไดมาก ใบพืชปกติมีคานี้อยูที่<br />

0.053 molCO2 mol -1 PPF (Evan, 1987)<br />

เมื่อพิจารณาอัตราหายใจในความมืด(Rd)<br />

(ภาพที่<br />

5b) พบวาที่อายุใบนอยๆ<br />

จะมีคา Rd สูงและมีคาลดตํ่<br />

าลงเมื่ออายุใบมากขึ้น<br />

จนถึงคาตํ่<br />

าสุดที่ระยะที่พัฒนาเต็มที่<br />

หลังจากนั้น<br />

จะมีคาเพิ่มขึ้นและปริมาณคงตัว<br />

หมายความวาขณะที่การพัฒนาของใบยังไมเต็มที่<br />

ใบมีอัตราหายใจ<br />

สูงเพื่อใหไดพลังงานที่เพียงพอตอการสรางสวนตางๆ<br />

สํ าหรับการที่ใบพัฒนาเต็มที่มีคาอัตราหายใจ<br />

ตํ าลงมากเนื ่ ่องมีการใชพลังงานในการสรางและซอมแซมสวนที่เสียหายนอยกวาใบที่ยังมีอายุนอย<br />

หรือมากเกินไป ใบของตนสมบูรณเพศมีคานี้ตํ่<br />

ากวาตนตัวเมียมากหลังจากอายุ 32 วัน<br />

34

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!