18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การสราง โดยทั่วไปพืชแตละชนิดมีคา<br />

Ic ไมเทากัน มะมวงมีคาประมาณ 21 µmolPPF m -2 s -1 และมี<br />

อัตราสังเคราะหแสงสุทธิสูงสุดที่ความเขมแสง<br />

720 µmolPPF m -2 s -1 (จิตรฤทัยและคณะ, 2543)<br />

จิตรฤทัยและคณะ (2543) กลาววารูปสมการที่อธิบายเสนตอบสนองตอแสง<br />

ที่เหมาะ<br />

สํ าหรับการศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราสังเคราะหแสงสุทธิกับความเขมแสงของพืช C3 คือ<br />

รูปสมการแบบ non-rectangular hyperbola เมื่อควบคุมความเขมขนของคารบอนไดออกไซดใน<br />

อากาศ([CO2] a) ใหมีคาคงที่<br />

และไมคํ านึงถึงอัตราหายใจในแสง ซึ่งจะทํ<br />

าใหความเขมขนของ<br />

คารบอนไดออกไซดภายในชองวางของใบ([CO2] i) เปนคาผันแปรขึ้นกับปจจัย<br />

3 อยาง คือ อัตรา<br />

สังเคราะหแสงจริง(gross photosynthesis, Pg) อัตราหายใจในความมืด(dark respiration, Rd) และคา<br />

นํ าไหลรวมของการแพรของโมเลกุลคารบอนไดออกไซด(conductance, gt) ภายใตขอสมมตินี้จะได<br />

ความสัมพันธวา<br />

A = Pg − Rd<br />

(1)<br />

= g ([ CO ] −[<br />

CO ] )<br />

(2)<br />

A t 2 a 2 i<br />

อัตราสังเคราะหแสงสุทธิ(A) เปนฟงกชันของความเขมแสง(I) มีรูปสมการ (Thornley and<br />

Johnson, 1990) ดังนี้<br />

เมื่อ<br />

เมื่อ<br />

1<br />

A = )<br />

2<br />

2<br />

( aI + Pm<br />

− ( αI<br />

+ Pm<br />

) − 4θαIPm<br />

) − Rd<br />

θ (3)<br />

α = ประสิทธิภาพการใชแสง(quantum or photochemical efficiency), molCO 2 mol -1 PPF<br />

I = ความเขมแสงชวงที่ใชสังเคราะหแสง,<br />

µmolPPF m -2 s -1<br />

Pm = อัตราสังเคราะหแสงสุทธิสูงสุด, µmolCO2 m -2 s -1<br />

Rd = อัตราหายใจในความมืด, µmolCO2 m -2 s -1<br />

θ = คาที่ควบคุมความโคงของเสนภาพ(curvature<br />

factor) โดยมีความหมายเทากับ<br />

g<br />

c<br />

θ =<br />

(4)<br />

g d + g c<br />

10

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!