18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Dry weight = Photosynthesis-Respiration-Loss (13)<br />

วิธีศึกษามวลชีวภาพของพืชสวนใหญนิยมใชวิธีการตัดฟนตนพืช ซึ่งเปนวิธีการที่เกาแก<br />

และใหความถูกตองมากที่สุด<br />

โดยการชั่งมวลสดแลวนํ<br />

าไปอบหามวลแหง<br />

จากการศึกษาของอรสา (2539) พบวามะละกอพันธุแกมแหมมเนื้อแดง<br />

แขกดํ า แกมแหมม<br />

เนื้อเหลือง<br />

และBangkok papaya มีการเจริญเติบโตของตนไมแตกตางกัน รูปแบบการเจริญเติบโต<br />

คลายแบบ single sigmoid curve ออกดอกแรกเมื่อตนอายุ<br />

4 เดือน และเก็บผลผลิตชุดแรกไดเมื่ออายุ<br />

9 เดือน มีอัตราการสรางใบ ประมาณ 9-10 ใบตอเดือน เมื่อมีอายุ<br />

9 เดือนตนสูง 257 เซนติเมตร เสน<br />

ผาศูนยกลางลํ าตน 13-15 เซนติเมตร<br />

อุทัยและคณะ (2534) ไดศึกษาทดสอบการเจริญเติบโตและการใหผลผลิตของมะละกอ<br />

แขกดํ าสายพันธุคัด<br />

พบวาเริ่มออกดอกและติดผลเมื่อมีอายุ<br />

100-120 วัน ใหผลผลิตตอตนเฉลี่ย<br />

9-18<br />

กิโลกรัมตอตน มีมวลตอผลเฉลี่ยเทากับ<br />

1.9-2.2 กิโลกรัม<br />

ชูศักดิ์และคณะ<br />

(2538) พบวาการใหนํ้<br />

าและการใชวัสดุคลุมดินทํ าใหปริมาณความชื้นใน<br />

ดินสูง สงผลใหตนมะละกอมีการเจริญเติบโตที่ดี<br />

และใหผลผลิตสูงขึ้นจาก<br />

755 กิโลกรัมตอไรเปน<br />

3,085 กิโลกรัมตอไร<br />

Clemente and Marler (2001) พบวาในสภาพที่ลมแรง<br />

ซึ่งทํ<br />

าใหอัตราสังเคราะหแสงสุทธิ<br />

ของใบมะละกอลดลงได สงผลใหมีการเจริญเติบโตนอยลงและสรางมวลแหงไดนอยกวาตนที่ปลูก<br />

ในสภาพที่มีความเร็วลมตํ่<br />

าหรือมีแนวกันลม<br />

16

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!