18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

3.2 ทําใหตัวทําอิมัลชั่นอยูในวัฎภาคน้ํามันทั้งหมดแตแรกเริ่ม<br />

4. ความหนืดของแตละวัฎภาค การเพิ่มความหนืดใหแกวัตภาคใด<br />

วัฎภาคนั้นมีแนวโนมที่จะ<br />

เปนวัฎภาคภายนอก<br />

ขนาดของอนุภาค (Particle size)<br />

ขนาดอนุภาคอิมัลชั่นมีผลตอลักษณะอิมัลชั่นที่ได<br />

(ตามตารางที่<br />

5) คุณสมบัติการไหลและ<br />

ความคงตัวของอิมัลชั่น<br />

อิมัลชั่นที่มีขนาดอนุภาคเล็กมักจะหนืด<br />

เนื้อเย็น<br />

คงตัว ปจจัยที่มีอิทธิพลตอ<br />

ขนาดอนุภาคของอิมัลชั่นคือ<br />

ชนิดและความเขมขนของตัวทําอิมัลชั่น<br />

วิธีการผลิต เชน ปริมาณ<br />

พลังงานที่ให<br />

และลําดับการผสม การวัดขนาดอนุภาคอาจใชวิธีตรวจสอบดวยกลองจุลทรรศนใช<br />

วิธีการกระจายแสง (Light scattering technique) ใชเครื่อง<br />

Coulter Counter หรือการวัดคา<br />

Dielectric Constant<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ชัยพร และคณะ(ม.ป.ป.) วิเคราะหปจจัยการระเบิดดวยไอน้ําที่มีผลตอสภาวะในการแยก<br />

องคประกอบเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และ ลิกนิน จากฟางขาวสายพันธุสุพรรณบุรี1<br />

และสาเหตุที่<br />

เลือกใชวิธีการระเบิดดวยไอน้ํา<br />

เพราะวิธีนี้มีขอดีกวากระบวนการใชสารเคมีแบบดั้งเดิมคือ<br />

1) เปน<br />

วิธีการแยกองคประกอบที่ใชการแยกแบบเชิงกล<br />

เชิงความรอน และเชิงเคมีไวดวยกัน ทําใหเลือก<br />

สัดสวนการแยกองคประกอบตางๆ ไดดีขึ้น<br />

มีความสมบูรณในการนําองคประกอบจากพืชกลับมา<br />

ใชประโยชน ทําใหมีประสิทธิภาพในการใชพลังงานมากขึ้น<br />

2) มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยลง<br />

เนื่องจากไอน้ําไมเปนพิษตอสิ่งแวดลอม<br />

และใชสารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพนอยลง<br />

ดังนั้นจึงมี<br />

ขอระมัดระวังในการดําเนินงานนอยลง 3) มีคาใชจายเริ่มตนในการติดตั้งถูกลง<br />

จากผลการทดลอง<br />

พบวา ความดันหรืออุณหภูมิของการระเบิดดวยไอน้ํานั้นจะมีผลตอปริมาณและน้ําหนักโมเลกุล<br />

ของเฮมิเซลลูโลสและเซลลูโลส สวนความเขมขนของโซเดียมไฮดรอกไซดนั้น<br />

จะมีผลตอน้ําหนัก<br />

โมเลกุลของเซลลูโลสเชนกัน แตปริมาณลิกนินนั้นพบวาไมขึ้นกับปจจัยตางๆ<br />

ที่ศึกษา<br />

สุดทาย<br />

เซลลูโลสที่ไดจะถูกนําไปเตรียมเสนใยผลึกเซลลูโลส<br />

และปรับสภาพผิวดวยปฏิกิริยาเอสเตอริ<br />

ฟเคชั่น<br />

เพื่อใหมีคุณสมบัติเชิงผิวที่เหมาะสมที่จะใชในการทําวัสดุเชิงประกอบระดับนาโนเมตร<br />

45

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!