18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ตารางที่<br />

7 สรุปการเตรียมตัวอยางการทดลอง<br />

ตัวอยางการทดลอง วัตถุดิบสารละลาย Viscose Viscose : แปงมันสําปะหลัง(โดยน้ําหนัก)<br />

1. ฟางขาว 100 : 0<br />

2. ฟางขาว 95 : 5<br />

3. ฟางขาว 85 : 15<br />

4. ฟางขาว 75 : 25<br />

5. ซังขาวโพด 100 : 0<br />

6. ซังขาวโพด 95 : 5<br />

7. ซังขาวโพด 85 : 15<br />

8. ซังขาวโพด 75 : 25<br />

การวิเคราะหผล<br />

1. ยืนยันโครงสรางแอลฟาเซลลูโลส ยืนยันโครงสรางแอลฟาเซลลูโลส โดยใชเครื่อง<br />

FTIR เพื่อแสดงสเปกตรัมจําเพาะของแอลฟาเซลลูโลส<br />

ซึ่งในการทดลองไดนําเยื่อแอลฟาเซลลูโลส<br />

ที่ไดจากฟางขาวและซังขาวโพด<br />

นําไปเปรียบเทียบกับแอลฟาเซลลูโลสที่ใชในโรงงานไทยรอน<br />

จังหวัดอางทอง<br />

2. หาความหนาแนน ความหนาแนนของอนุภาคที่วัดโดยใชกาซฮีเลียม<br />

(Helium Density)<br />

หรือคาความหนาแนนที่แทจริงของอนุภาค<br />

(True Density) ซึ่งหาจากเครื่อง<br />

Multi-Pyconometer<br />

โดยใชหาปริมาตรของอนุภาคที ่แทจริงแลวนําไปหารกับน้ําหนักของอนุภาค<br />

3. หาปริมาตรรูพรุนและพื้นที่ผิวของอนุภาค<br />

หาปริมาตรรูพรุนและพื้นที่ผิวของอนุภาค<br />

โดยใชเครื่อง<br />

Autosorb-1 ตัวอยางที่ทําการทดสอบจะประกอบไปดวยเซลลูโลสที่มีรูพรุนขนาด<br />

ตางๆกันตามปริมาณที่ใสแปงมันสําปะหลังตามตารางที่<br />

7<br />

62

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!