03.04.2013 Views

Department of Animal Production Technology Faculty of Agricultural Technology

Department of Animal Production Technology Faculty of Agricultural Technology

Department of Animal Production Technology Faculty of Agricultural Technology

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การจําแนกชนิด และการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของจุลินทรียจากกระเพาะแพะ<br />

Isolation and Morphological Study on Microorganism from Goat’s Ruminant<br />

โดย<br />

นางสาวนงนุช อ่ําสอาด<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

<strong>Department</strong> <strong>of</strong> <strong>Animal</strong> <strong>Production</strong> <strong>Technology</strong><br />

<strong>Faculty</strong> <strong>of</strong> <strong>Agricultural</strong> <strong>Technology</strong><br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา King Mongkut’s Institute <strong>of</strong> <strong>Technology</strong><br />

เจาคุณทหารลาดกระบัง Chaokuntaharn Lardkrabang<br />

กรุงเทพมหานคร 10520 Bangkok 10520 Thailand


ใบรับรองปญหาพิเศษปริญญาตรี<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว<br />

เรื่อง<br />

การจําแนกชนิด และศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของจุลินทรียจากกระเพาะแพะ<br />

Isolation and Morphological Study on Microorganism from Goat’s Ruminant<br />

โดย<br />

นางสาวนงนุช อ่ําสอาด<br />

ไดพิจารณาเห็นชอบโดย<br />

อาจารยที่ปรึกษา<br />

..............................................................<br />

(รศ.วิชัย ศุภลักษณ)<br />

อาจารยที่ปรึกษารวม<br />

..............................................................<br />

(รศ.ดร.เกษม สรอยทอง)<br />

ภาควิชารับรองแลว<br />

..........................................................<br />

(รศ.ดร.กานต สุขสุแพทย)<br />

หัวหนาภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว<br />

วันที่..........เดือน.......................พ.ศ.<br />

............


ปญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การจําแนกชนิด และศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของจุลินทรียจากกระเพาะแพะ<br />

Isolation and Morphological Study on Microorganism from Goat’s Ruminant<br />

โดย<br />

นางสาวนงนุช อ่ําสอาด<br />

เสนอ<br />

ภาคเทคโนโลยีการผลิตสัตว<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ. 2550


คํานิยม<br />

ปญหาพิเศษฉบับนี้สําเร็จลุลวงลงไดดวยดีโดยไดรับความกรุณาจาก<br />

รศ. วิชัย ศุภลักษณ<br />

และ รศ.ดร. เกษม สรอยทอง อาจารยที่ปรึกษา<br />

ที่กรุณาใหคําแนะนําชวยเหลือ<br />

ใหความเอื้อเฟอวัสดุ<br />

อุปกรณตางๆ และทุนสวนหนึ่งในการวิจัย<br />

ตลอดจนแกไขขอบกพรองตางๆ ของปญหาพิเศษฉบับ<br />

นี้<br />

จนเสร็จเรียบรอยและสมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และพี่นองทุกคนที่คอยเปนกําลังใจใหตลอดในยามที่มี<br />

ปญหาและยามที่ขาดกําลังใจ<br />

ขอขอบคุณพี่ๆ<br />

ปริญญาโท และพี่ๆ<br />

ปริญญาเอกตึกเห็ดราวิทยาทุกคนที่คอยเปนที่ปรึกษา<br />

และใหความชวยเหลือตลอดจนปญหาพิเศษฉบับนี้เสร็จสมบูรณ<br />

ขอขอบคุณเพื่อนๆ<br />

ทุกคนที่คอยถามไถอยางเปนหวงและคอยเปนกําลังใจจนทําใหปญหา<br />

พิเศษฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดี<br />

นงนุช อ่ําสอาด


สารบัญ<br />

สารบัญ (หนา)<br />

สารบัญตาราง (1)<br />

สารบัญภาพ (2)<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค 1<br />

การตรวจเอกสาร 2<br />

อุปกรณและวิธีการ 18<br />

ผลการทดลอง 19<br />

สรุปและวิจารณผลการทดลอง 48<br />

เอกสารอางอิง 49<br />

ภาคผนวก 51


สารบัญตาราง<br />

่ ตารางที<br />

(หนา)<br />

1. แสดงการจัดประเภทแบคทีเรียในกระเพาะรูเมนตามอาหารที่หมักยอย<br />

11


สารบัญภาพ<br />

่ ภาพที<br />

(หนา)<br />

1. แสดงทอทางเดินอาหารสวนกระเพาะสัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

6<br />

2. แสดงองคประกอบของกระเพาะสัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

7<br />

3. แสดงการกระจายตัวของแบคทีเรียในกระเพาะรูเมน 13<br />

4. แสดงวงจรชีวิตของเชื้อรา<br />

14<br />

5. แสดงเชื้อราเขาไปยอยโครงสรางของเยื่อใย<br />

15<br />

6 . แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Ru-01-1 20<br />

7. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Ru-01-3 21<br />

8. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Ru-02-1 22<br />

9. แสดง ลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus fumigatus G-Ru-02-2 23<br />

10. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Mucorales sp. G-Oma-01-1 24<br />

11. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Oma-01-2 25<br />

12. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Oma-01-3 26<br />

13. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Oma-01-5 27<br />

14. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Penicillium sp. G-Oma-02-2 28<br />

15. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus fumigatus G-Ret-01-1 29<br />

16. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Ret-01-2 G 30<br />

17. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Ret-01-1 31<br />

18. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Abo-01-1 32<br />

19. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Penicillium sp. G-Abo-01-3 33<br />

20. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Abo-02-1 34<br />

21. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Mucorales sp. G-Abo-02-3 35<br />

22. แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Abo-02-5 36<br />

23. แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Ru-02-1 37<br />

24. แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Ret-01-1 38<br />

25. แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Ret-02-1 39<br />

26. แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Oma-01-1 40<br />

27. แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Abo-01-1 41<br />

28. แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Abo-01-1 42<br />

29. แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Ru-01-1 43


สารบัญภาพ<br />

ภาพที<br />

่ (ตอ) (หนา)<br />

30. แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Ret-01-1 44<br />

31. แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Oma-01-1 45<br />

32. แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Abo-01-1 46<br />

33. แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Abo-02-2 47


การจําแนกชนิด และศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของจุลินทรียจากกระเพาะแพะ<br />

Isolation and Morphological Study on Microorganism from Goat’s Ruminant<br />

คํานํา<br />

ปจจุบันเกษตรกรผูเลี้ยงสัตวนิยมมาเลี้ยงแพะเพิ่มมากขึ้น<br />

เนื่องจาก<br />

แพะเปนสัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

ขนาดเล็กที่เลี้ยงงาย<br />

ขยายพันธุไดรวดเร็ว<br />

สามารถกินอาหารไดหลายชนิดทั้งหญาและถั่ว<br />

รวมทั้งไม<br />

ยืนตน สิ่งที่สําคัญคือใหผลตอบแทนไดรวดเร็วกวาสัตวเคี้ยวเอื้องชนิดอื่น<br />

ระบบการยอยอาหารของสัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

จะมีความแตกตางจากสัตวกระเพาะเดี่ยว<br />

โดยเฉพาะในสวนของการยอยอาหารประเภทเยื่อใย<br />

ซึ่งสัตวกระเพาะเดี่ยวจะไมสามารถยอยไดโดย<br />

น้ํายอยของตัวเอง<br />

ดังนั้นการยอยเยื่อใยจําเปนตองอาศัยน้ํายอยจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ<br />

โดยเฉพาะพวก<br />

จุลินทรียตางๆ ที่มีอยูในกระเพาะรูเมน<br />

เพื่อการยอยเยื่อใย<br />

เพื่อใหสัตวไดรับสารอาหาร<br />

แรธาตุชนิด<br />

ตางๆ และวิตามิน ในการนําไปใชประโยชน<br />

ภายในกระเพาะรูเมนมีสภาวะแบบไรออกซิเจน (anaerobic) มีจุลินทรียที่อาศัยอยูเปน<br />

จํานวนมากในระบบการยอยอาหารของสัตวเคี้ยวเอื้องจุลินทรียจะมีความสําคัญมาก<br />

เพราะวัตถุแหง<br />

ที่สามารถยอยไดที่สัตวไดรับจะสามารถถูกยอยในสวนนี้<br />

70-85% (บุญลอม, 2546)<br />

สภาพภายในรูเมนที่มีความเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

คือตองมีระดับความ<br />

เปนกรด-ดางอยูในชวง<br />

5.5 – 7.0 (Pereira et al, 2007.) อุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ<br />

40 องศา<br />

เซลเซียส (Kajikawa et al, 2000) แตอยางไรก็ตามจุลินทรียที่อาศัยอยูในรูเมนสวนใหญจะเปนพวก<br />

anaerobic และมีบางพวกเปน facultative anaerobes ซึ่งมีความสามารถในการใชออกซิเจนไดบาง<br />

จุลินทรียที่สามารถพบไดในรูเมนมีหลายชนิด<br />

ซึ่ง<br />

Hungate (1966) ไดตั้งขอสังเกตวาจุลินทรียที่จัด<br />

วามีอยูในรูเมนจะตองมีคุณสมบัติ<br />

คือ จะตองมีชีวิตอยูในสภาวะไรออกซิเจน<br />

จะตองสราง<br />

end products ชนิดใดชนิดหนึ่งที่พบในรูเมนเทานั้น<br />

และจะตองมีปริมาณไมต่ํากวา<br />

1 ลานตัว/กรัม<br />

ของ rumen contents ซึ่งภายในกระเพาะแพะนั้นมีเชื้อจุลินทรียมากมายจึงนาศึกษาคนควาเปนอยาง<br />

ยิ่ง<br />

เพื่อหาจุลินทรียที่มีศักยภาพในการสรางเอนไซมมายอยสลายเซลลูโลส,<br />

เฮมิเซลลูโลส และ<br />

ลิกนิน ซึ่งจะเปนประโยชนในดานโภชนศาสตรสัตวเคี้ยวเอื้องเรื่องตอไป<br />

วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อการจัดจําแนกเชื้อจุลินทรียตางๆ<br />

ที่แยกไดจากอาหารในกระเพาะแพะ<br />

2. เพื่อศึกษาถึงลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื้อจุลินทรีย<br />

ที่แยกไดจากอาหารในกระเพาะ<br />

แพะ


ตรวจเอกสาร<br />

แพะ (Goat) เปนสัตวเลี้ยงที่นาสงเสริมใหเกษตรกรเลี้ยงเชนเดียวกับสัตวชนิดอื่น<br />

เพราะ<br />

แพะเลี้ยงงาย<br />

ขยายพันธุไดเร็ว<br />

และมีขอดีอื่นๆ<br />

อีกมาก เชน<br />

1. แพะเปนผลผลิตทั้งเนื้อและนม<br />

มีขนาดเล็ก ทําใหผูหญิงหรือเด็กสามารถใหการดูแลได<br />

2. แพะเปนสัตวที่หาอาหารกินเองไดเกง<br />

กินอาหารไดหลายชนิด ในชวงฤดูแลง แพะก็<br />

สามารถหาวัชพืชที่โค-กระบือกิน<br />

กินเปนอาหารได<br />

8 เดือน<br />

3. แพะมีการเจริญเติบโตเปนหนุมเปนสาวไดเร็ว<br />

สามารถผสมพันธุแพะไดตั้งแตอายุเพียง<br />

4. แพะมีความสมบูรณพันธุสูง<br />

แมแพะมักคลอดลูกแฝด และใชระยะเวลาเลี้ยงลูกสั้นจึงทํา<br />

ใหตั้งทองไดใหม<br />

5. แพะเปนสัตวที่ใชพื้นที่ในการเลี้ยงเพียงเล็กนอย<br />

ทั้งพื้นที่โรงเรือนและพื้นที่สําหรับ<br />

เพาะปลูกพืชอาหารสัตวสําหรับแพะ<br />

6. แพะเปนสัตวที่สามารถปรับเขากับสภาพแวดลอมไดดี<br />

คงทนตอสภาพอากาศแลงและ<br />

รอนไดดี<br />

7. แพะเปนสัตวที่ใชเปนอาหารบริโภคสําหรับประชาชนของทุกศาสนาเพราะไมมีศาสนา<br />

ใดหามบริโภคเนื้อแพะ<br />

(สรุชน, 2551)<br />

วงศวานของแพะ<br />

บุญเสริม (2546) กลาววาแพะเปนสัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

(ruminant) เลี้ยงลูกดวยน้ํานม<br />

มีกีบเปนคู<br />

เขากลวง การจําแนกทางสัตววิทยา แพะถูกจัดอยูในเผาพันธุ<br />

ดังตอไปนี้<br />

Class : Mammalia สัตวเลือดอุนเลี้ยงลูกดวยนม<br />

Order : Artiodactyla มีกีบเทาเปนคู<br />

Suborder : Ruminantia สัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

มีสี่กระเพาะ<br />

Family : Bovidae มีเขากลวง<br />

Tribe : Caprini<br />

Genus : Capra<br />

แพะในสกุลแคพรา (Capra) มีอยู<br />

5 สปชี่ส<br />

(Species) คือ<br />

1) Capra idex : แพะไอเบอร<br />

2) Capra pyrenaica : แพะปาสเปน


3) Capra caucasia : แพะปาเทอร<br />

4) Capra hircus : แพะเบซอร หรือแพะพาซัง<br />

5) Capra falconeri : แพะมารคอร<br />

สมัยกอนเชื่อกันวามีแพะอีกสปชี่สหนึ่งนอกเหนือจากที่กลาวไว<br />

5 สปชี่ส<br />

เรียกกันวา<br />

Capra prisca เปนแพะที่พบในยุโรปตอนกลางและเปนบรรพบุรุษของแพะในทวีปยุโรป<br />

ตอมา<br />

พิสูจนหลักฐานไดวา Capra prisca คือแพะบาน ดังนั้นในปจจุบันจึงสรุปไดวา<br />

บรรพบุรุษที่สําคัญ<br />

ของแพะที่เลี้ยงกันในปจจุบัน<br />

คือ Capra hircus<br />

อาหารและการใหอาหารแพะ<br />

การเลี้ยงแพะสิ่งสําคัญสวนหนึ่งมาจากการจัดการดานอาหารที่ถูกตอง<br />

รูถึงความตองการ<br />

ของแพะ ซึ่งแพะตองการอาหารขั้นพื้นฐานในสัดสวนที่เหมาะสม<br />

ตั้งแตพลังงานเพื่อใชในการ<br />

ดํารงชีวิต หรือทํากิจกรรมตางๆ เพื่อการเจริญเติบโต<br />

เพื่อการสืบพันธุ<br />

เลี้ยงลูก<br />

ซึ่งถาแพะไดรับ<br />

พลังงานไมเพียงพอ จะสงผลตอประสิทธิภาพการผลิต เชน ผลิตน้ํานมลดลง<br />

ใหลูกที่ไมสมบูรณ<br />

(นิรนาม, 2547ก)<br />

อาหารแพะสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท<br />

1. อาหารหยาบ (Roughages)<br />

2. อาหารขน (Concentrates)<br />

อาหารหยาบ (ถวัลย, 2542)<br />

อาหารหยาบ ไดแก พวกพืชตางๆ คุณคาทางโภชนาการอาหารประเภทนี้ขึ้นอยูกับความ<br />

สมบูรณของดินที่ปลูก<br />

สภาพภูมิอากาศ และอายุพืชที่เก็บเกี่ยว<br />

อาจจะใหกินสดหรือตากแหง การ<br />

เก็บเกี่ยวอาจจะกระทําไดทั้งหลังหรือกอนออกดอก<br />

หรือหลังจากใหเมล็ดแลว พืชตระกูลถั่วเปน<br />

อาหารหยาบที่มีคุณคาทางโภชนาการสูงที่สุด<br />

และแพะชอบกินมากที่สุดดวย<br />

การใหอาหารประเภทหญา มักจะใชวิธีผูกเปนฟอนแลวแขวนใหแพะกิน หรืออาจจะวาง<br />

บนแครระดับแพะกินถึงพอดี ปริมาณอาหารที่ใหควรใหทีละนอยแตใหบอยๆ<br />

จะดีกวาและไมควร<br />

ใหพืชหญาที่เปยกชื้น<br />

เพราะอาจจะเปนสาเหตุใหเกิดอาการทองอืดได อาหารที่เหลือคอยหมั่นเก็บ<br />

กวาด เพื่อมิใหเปนแหลงหมักหมมเชื้อโรคได<br />

อาหารประเภทหยาบสําหรับแพะประกอบดวยพืช<br />

หญาตางๆ ดังตอไปนี้<br />

1. พวกพืชตระกูลหญา เปนพวกที่มีลําตน<br />

และใบออนนิ่ม<br />

ตนไมโตนัก เชน หญาขน<br />

เนเปยร รูซี่<br />

แพงโกลา เฮมิล และหญาอื่นๆ


2. พวกตระกูลถั่ว<br />

เชน ถั่วลาย<br />

ถั่วฮามาตา<br />

กระถิน และแคไทย ซึ่งอาจจะปลูกพืชตระกูลถั่ว<br />

ปนหญาชนิดอื่น<br />

เพื่อทําแปลงผสม<br />

จะทําใหแปลงหญามีคุณภาพดีขึ้น<br />

หรือปลูกถั่วแลวตัดมัดเปน<br />

ฟอนใหแพะกินได<br />

3. พวกไมพุมและไมชนิดอื่นๆ<br />

เชน มันสําปะหลัง กลวย ตนหมอนไทย พุทธรักษา ชบา<br />

พูระหง<br />

และพวกผัก นอกจากนี ้ แพะยังชอบกินใบทองหลาง มะขามเทศ โสน และเถามันเทศ<br />

4. พวกพืชหรือหญาหมัก โดยปกติแลวไมนิยมใหแพะกินอาหารพืชหมัก เนื่องจากอาหาร<br />

หมักมีน้ําปนอยูถึง<br />

65-70 % ถาใหแพะกินพืชหมัก 1.25-1.5 กิโลกรัม เทากับกินหญาแหง 0.5<br />

กิโลกรัม จึงจะทดแทนได แพะที่โตเต็มที่จะกินพืชหมักไดมากที่สุดวันละ<br />

0.75-1 กิโลกรัม อยาให<br />

อาหารพืชหมักเลี้ยงลูกแพะ<br />

เพราะจะทําใหทองเสีย รอจนกระทั่งอวัยวะระบบยอยอาหารสามารถ<br />

ทํางานไดเต็มที่แลวจึงจะใหกินได<br />

อาหารขน (ถวัลย, 2542)<br />

อาหารขน ไดแก พวกเมล็ดธัญพืช เชน กากถั่วลิสง<br />

เมล็ดถั่วเขียว<br />

มันเสน ใบกระถินปน<br />

ขาวโพด ปลายขาว รําละเอียด กากถั่วเหลือง<br />

อาหารขนใชสําหรับเลี้ยงแพะ<br />

เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนโภชนาการจากอาหาร<br />

ประเภทพืชหญา หรืออาหารหยาบ โดยเฉพาะในฤดูแลงที่หญาไมพอกินและใหเสริมในระยะการ<br />

ใหนม อาหารขนที่ใหควรมีสวนผสมโปรตีน<br />

18-21 % เพื่อเสริมใหแพะในระยะรีดนม<br />

น้ําสําหรับเลี้ยงแพะ<br />

น้ําเปนสวนประกอบของน้ําหนักตัวของสัตว<br />

60-75 % ซึ่งสัตวที่ผลิตน้ํานม<br />

1 กิโลกรัม จะ<br />

ใชน้ําประมาณ<br />

3.5 กิโลกรัม แพะใชน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพเชนเดียวกับอูฐ<br />

โดยแพะจะกินน้ํา<br />

มากหรือนอยขึ้นอยูกับปจจัยแวดลอมหลายอยาง<br />

แพะเลือกกินแตน้ําสะอาด<br />

ทําใหตองเปลี่ยนน้ําอยูบอยๆ<br />

จะทําใหแพะกินน้ําไดมากขึ้น<br />

ซึ่ง<br />

มีผลโดยตรงตอสุขภาพของแพะ (นิรนาม, 2547ก)<br />

แรธาตุและวิตามิน<br />

แพะตองการแรธาตุไวเสริมตลอดเวลา เพราะแพะเปนโรคขาดแรธาตุไดงาย ถาผูเลี้ยงแพะ<br />

ไมมีเกลือแรสําหรับเสริมอยางสม่ําเสมอสุขภาพของแพะจะไมสมบูรณ<br />

การผสมพันธุไมมี<br />

ประสิทธิภาพ เจ็บปวยบอย อัตราการสูญเสียสูง ดังนั้น<br />

คอกเลี้ยงแพะจําเปนตองมีกอนแรธาตุทิ้งไว<br />

ใหเลียตามความตองการ โดยเฉพาะในพื้นที่ซึ่งมีโรคพยาธิภายในระบาดรุนแรง<br />

จะชวยปองกันแพะ<br />

จากอาการเปนโลหิตจาง เนื่องจากพยาธิไดเปนอยางดี<br />

(ถวัลย, 2541)


พืชอาหารสัตวทั่วไปจะมีแรธาตุอยูในระดับต่ํา<br />

หรือขาดแรธาตุบางชนิดที่จําเปนตอแพะ<br />

โดยเฉพาะการขาดธาตุอาหารแคลเซียมและฟอสฟอรัส แพะที่ขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสจะ<br />

ทําใหการเจริญลดลงกวาปกติ กระดูกไมแข็งแรง หรือออนแอตอโรคบางชนิด ดังนั้นจึงควรใหแพะ<br />

ไดรับธาตุชนิดนี้บางโดยการเติมลงในอาหาร<br />

แหลงที่มาของธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส<br />

คือ<br />

กระดูกปน เปลือกหอยปน เนื้อปน<br />

และเกลือแกง<br />

สําหรับวิตามินแพะจะไดรับอยางเพียงพอจากอาหารที่กินอยูในยามปกติ<br />

หรือแพะอาจ<br />

สังเคราะหเองได ตาในบางครั้งแพะอาจจะขาด<br />

ดังนั้นผูเลี้ยงจึงตองจัดหาวิตามินใหแพะกินโดยเติม<br />

ลงในสูตรอาหาร เชน เติมน้ํามันตับปลา<br />

วิตามินเอ, บี, ดี และอี หรือหาอาหารกอนเกลือแรใหแพะ<br />

เลียกินเองดวย เพื่อปองกันไมใหแพะขาดวิตามินพวกนี้<br />

วิตามินเอ ถาแพะไดรับไมเพียงพอจะเบื ่อ<br />

อาหาร โตชาลง ติดเชื้องาย<br />

และตาบอด ถาไดรับวิตามินดีไมเพียงพอ กระดูกจะผิดปกติ สะโพกไม<br />

แข็งแรง กระดูกขาโกง สวนแพะที่ขาดวิตามินอี<br />

กลามเนื้อจะไมแข็งแรง<br />

โดยเฉพาะลูกแพะเกิดใหม<br />

(กรมปศุสัตว, 2547)<br />

ระบบยอยอาหารของสัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

อาหารที่สัตวเคี้ยวเอื้องกินมีธรรมชาติที่ตางจากสัตวกระเพาะเดี่ยว<br />

คือประกอบดวยตน<br />

และใบของพืชเปนสวนใหญ ซึ่งมีเยื่อใยสูงและมีองคประกอบทางเคมีที่เปนน้ําตาลหลายโมเลกุล<br />

(polysaccharides) จับกันดวยพันธะแบบ β เชนในกรณีของเซลลูโลส (cellulose) และเฮมิเซลลูโลส<br />

(hemicellulose) เปนตน ซึ่งเอนไซมจากสัตวกระเพาะเดี่ยวไมสามารถยอยได<br />

แตถูกยอยไดดวย<br />

เอนไซมจากจุลินทรีย ดังนั้นทางเดินอาหารของสัตวเคี้ยวเอื้องจึงมีลักษณะที่เอื้อตอการเจริญเติบโต<br />

ของจุลินทรีย ทางเดินอาหารสวนที่ตางจากสัตวกระเพาะเดี่ยวมากที่สุดคือ<br />

กระเพาะ<br />

สําหรับการยอยอาหารสวนอื่นๆ<br />

คลายคลึงกับในสัตวกระเพาะเดี่ยว<br />

แตอาจมีเอนไซม<br />

ตางกันไปบาง เชน ไมมีเอนไซม salivary amylase และ sucrase สวน enzyme maltase และ<br />

pancreatic amylase พบวามีนอย (บุญลอม, 2541)<br />

กระเพาะของสัตวเคี้ยวเอื้อง<br />

บุญลอม (2541) ไดกลาวไววา กระเพาะของสัตวเคี้ยวเอื้องมีขนาดใหญมาก<br />

กินเนื้อที่<br />

75 เปอรเซ็น ของชองทอง โดยอยูชิดผนังลําตัวดานซาย<br />

อาจเริ่มจากซี่โครงซี่ที่<br />

7-8 จนถึงกระดูกเชิง<br />

กราน (pelvis) แบงออกเปน 4 สวนคือ กระเพาะรังผึ้ง<br />

(reticulum หรือ honey comb หรือ blind<br />

pouch), กระเพาะผาขี้ริ้ว<br />

(rumen), กระเพาะสามสิบกลีบ (omasum หรือ many plies) และกระเพาะ<br />

แท (abomasums) ดังแสดงในภาพที่<br />

1.1


รูปที่<br />

1.1 : แสดงทอทางเดินอาหารสวนกระเพาะสัตวเคี้ยวเอื้อง(James<br />

and baker, 2003)<br />

กระเพาะรังผึ้ง<br />

(reticulum, honey comb หรือ blind pouch) อยูดานหนาของกระเพาะรูเมน<br />

โดยมีผนังเตี้ยๆ<br />

กั้น<br />

เรียกวา reticulo-rumen fold ทําใหสิ่งที่อยูภายในกระเพาะ<br />

2 สวนนี้ถายเทถึงกัน<br />

ไดอยางอิสระ ดังนั้นจึงมักเรียกกระเพาะ<br />

2 สวนแรกนี้รวมกันวา<br />

ruminoreticulum หรือ reticulorumen<br />

กิจกรรมของจุลินทรียในการหมักยอยอาหารสวนใหญเกิดที่กระเพาะ<br />

2 สวนนี้<br />

ผนังภายในมี<br />

ลักษณะเปนชอง 4-6 เหลี่ยมคลายรังผึ้ง<br />

(honey comb) มีตุมแหลมเล็กๆ<br />

เรียกวา homy papillae<br />

เนื่องจากกระเพาะนี้อยูใกลหัวใจ<br />

ดังนั้นถาสัตวกินวัสดุแปลกปลอมเขาไป<br />

เชน เศษเหล็ก ตะปู หรือ<br />

เหล็กแหลม ก็จะตกลงสูกระเพาะสวนนี้<br />

ในตางประเทศนิยมใสแมเหล็กไวเพื่อดูดโลหะ<br />

แปลกปลอมไมใหเคลื่อนที่ไปยังทางเดินอาหารสวนถัดไป<br />

หรือแทงทะลุผนังกระเพาะสวนนี้เลยไป<br />

ยังหัวใจ ซึ่งอาจทําใหสัตวตายได<br />

กระเพาะผาขี้ริ้ว<br />

(rumen) เปนกระเพาะสวนที่ใหญที่สุด<br />

ภายในมีตุมยื่น<br />

(papillae) ออกมา<br />

คลายขนของผาขนหนู ทําหนาที่ชวยคลุกเคลาและดูดซึมโภชนะ<br />

สภาพในกระเพาะ 2 สวนแรก (reticulo-rumen) เปนถังหมักขนาดใหญ (fermentation vat)<br />

มีจุลินทรียอาศัยอยูเปนจํานวนมาก<br />

สวนลางเปนของเหลว (liquid phase) และมีอาหารละเอียด<br />

แขวนลอยอยู<br />

สวนบนมีอาหารชิ้นหยาบลอยอยูเต็ม<br />

เหนือขึ้นไปเปนที่วางสําหรับบรรจุแกสที่<br />

เกิดขึ ้นจากการหมักยอยอาหาร ปกติแกสจะตองถูกระบายออกโดยการเรอ (eructation หรือ<br />

belching) มิฉะนั้นจะทําใหสัตวเกิดอาการทองอืดตายได<br />

กระเพาะสามสิบกลีบ (omasum หรือ manyplies) ภายในเปนเนื้อเยื่อแผนบางๆ<br />

ประมาณ<br />

90-190 กลีบเรียงซอนกันอยางหนาแนนคลายหนังสือแตมีขนาดกลีบไมเทากัน แผนเหลานี้ชวยเพิ่ม<br />

พื้นที่ผิวเพื่อดูดซึมน้ํา<br />

และแรธาตุ ทําใหอาหารที่ถูกหมักแลวมีลักษณะแหงขึ้น


ในกระเพาะทั้ง<br />

3 สวนแรก ซึ่งอาจเรียกรวมกันวากระเพาะสวนหนา<br />

(fore stomach) ไมมี<br />

ตอมขับน้ํายอยออกมายอยอาหาร<br />

การหมักยอย (fermentation) ในกระเพาะทั้ง<br />

3 สวนนี้เกิดจากการ<br />

ทํางานของจุลินทรีย<br />

่<br />

้<br />

กระเพาะแท (abomasums, true stomach) ทําหนาที่ผลิตน้ํายอยออกมายอยอาหาร<br />

เชนเดียวกับกระเพาะของสัตวกระเพาะเดี่ยวทั่วไป<br />

สวนตนเรียกวา fundus มีลักษณะคอนขางกวาง<br />

มีตอมสรางน้ํายอยมากมาย<br />

และมีลักษณะเปนแผนริ้วเพื<br />

่อเพิ่มพื้นที่ผิวใหมีตอมเหลานี้มากขึ้น<br />

สวนทาย (pylorus) เปนสวนที่แคบกวาและมีตอมตางๆ<br />

นอยกวา จุลินทรียจากกระเพาะสองสวนที<br />

ติดกับอาหารเขามาถึงกระเพาะสวนสุดทายนี จะถูกยอยโดยน้ํายอยในสวนนี้และลําไสเล็ก<br />

เชนเดียวกับอาหารอื่นๆ<br />

นําไปใชประโยชนได<br />

ไดเปนโภชนะโดยเฉพาะอยางยิ่งกรดอะมิโนที่รางกายสามารถดูดซึม<br />

รูปที่<br />

1.2 : แสดงองคประกอบของกระเพาะสัตวเคี้ยวเอื้อง(James<br />

and baker, 2003)<br />

การที่แพะตองเคี้ยวเอื้องก็เพื่อชวยยอยอาหาร<br />

หรือบดอาหาร เปนการยอยเชิงกล สัตวไม<br />

สามารถยอยเซลลพืชได ตองอาศัยการยอยของแบคทีเรียดวยการหมักใน กระเพาะ rumen ดังนั้น


สัตวเคี้ยวเอื้องจึงตองการการยอยของแบคทีเรียเหมือนกัน<br />

การเคี้ยวเอื้องเปนการเพิ่มพื้นที่ผิวใหกับ<br />

แบคทีเรียในการยอยเซลลพืชไดดีขึ้น<br />

ทําใหมีการขับน้ําลายเพิ่มขึ้น<br />

ชวยรักษาสภาวะประชากรจุลิ<br />

นทรียใหสมดุล และทําใหสารที่ไดจากการหมักยอยของแบคทีเรีย<br />

เปนกรดไขมันระเหย (volatile<br />

fatty acids) เพิ่มขึ้น<br />

รางกายของสัตวก็จะดูดซึมไปใชในการสรางพลังงาน สรางเนื้อและนม<br />

(Yang<br />

et al., 2004)<br />

ระบบนิเวศวิทยาของจุลินทรียภายในกระเพาะ rumen คอนขางยุงยากซับซอน<br />

และมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา<br />

การเปลี่ยนแปลงนี้สวนใหญขึ้นอยูกับอาหารที่สัตวกินเขาไป<br />

สัตวเคี้ยว<br />

เอื้องสวนใหญกินอาหารประเภทที่มี<br />

carbohydrates ซึ่งประกอบดวย<br />

cellulose และ hemicellulose<br />

เปนอาหารหลัก แตในบางโอกาสสัตวอาจไดรับอาหารที่ประกอบดวย<br />

soluble carbohydrates<br />

จําพวกเมล็ดธัญพืช หรือ กากน้ําตาล<br />

Preston and Leng (1987) ไดทําการศึกษาวา พืชที่สัตวเคี้ยวเอื้องกินเปนอาหารโดยทั่วไปจะ<br />

มีการสรางโครงสรางโมเลกุลของผนังเซลลที่มีคุณสมบัติปองกันการเขายอยสลายของจุลินทรีย<br />

แต<br />

ใน reticulo-rumen จะมีจุลินทรียหลายชนิดที่มีสามารถเขายอยสลาย<br />

carbohydrates ในพืชนี้ได<br />

จุลิ<br />

นทรียสวนใหญจะเปนพวก anaerobic bacteria และ fungi anaerobic bacteria เปนจุลินทรียหลัก<br />

สําคัญในการทําใหเกิดการหมักของ carbohydrates ที่อยูใน<br />

cell wall ของพืช และ bacteria จึงเขา<br />

ยอยสลายแลวเกิดการหมักในระยะตอมา<br />

การหมักยอยในกระเพาะสวนหนา<br />

อาหารและน้ําลายที่กลืนเขาไปจะไปรวมกับของเหลวในรูเมนและ<br />

reticulum ภายในมี<br />

สภาพที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

อาหารที่เขาไปในรูเมนสวนใหญจะถูกหมักยอย<br />

โดยจุลินทรียใหไดเปนกรดไขมันระเหยได แกสมีเทน คารบอนไดออกไซด และเซลลจุลินทรีย<br />

แกสจะถูกระบายออกโดยการเรอ กรดไขมันระเหยไดสวนใหญจะถูกดูดซึมผานผนังรูเมน เซลล<br />

ของจุลินทรียที่ถูกสรางขึ้นจะเคลื่อนที่ไปกับอาหารสวนที่ไมถูกยอยสลายในกระเพาะรูเมน<br />

ไปยัง<br />

กระเพาะแทและลําไสเล็กเพื่อยอยเอ็นไซมจากตัวสัตว<br />

และถูกดูดซึมเชนเดียวกับสัตวกระเพาะเดี่ยว<br />

อาหารที่เหลือจะถูกยอยที่ลําไสใหญโดยเอ็นไซมของจุลินทรียอีกครั้ง<br />

ไดเปนกรดไขมันระเหยได<br />

ซึ่งจะถูกดูดซึมเขาสูรางกายสัตว<br />

แตจุลินทรียที่เกิดขึ้นในสวนนี้ไมสามารถถูกยอยได<br />

จะถูกขับออก<br />

ในมูลพรอมกับอาหารที่ไมถูกยอย<br />

(บุญลอม, 2541)


่<br />

Ottou and Doreau (1996) ไดทําการศึกษาพบวาโดยปกติผลผลิตที่ไดจากการหมักของ<br />

จุลินทรีย คือ VFA, CH 4 และ CO 2 เพราะฉะนั้นในการกําจัดแกสหรือการเรอ<br />

คือการกําจัดแก็สที<br />

เกิดจากขบวนการหมักของจุลินทรียในกระเพาะ<br />

มีเทน (CH ) และคารบอนไดออกไซด (CO )<br />

rumen โดยแกสที่ผลิตขึ้นที่ขับออกจะเปนแกส<br />

4 2<br />

สภาพที่เหมาะสมสําหรับจุลินทรีย<br />

บุญลอม (2541) ไดกลาวไววา เนื่องจากจุลินทรียมีบทบาทสําคัญตอการยอยอาหารในรูเมน<br />

ดังนั้นจึงตองพยายามรักษาสภาพแวดลอมของกระเพาะรูเมนใหเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ<br />

จุลินทรีย คือ<br />

1. pH ที่เหมาะสม<br />

ความจริงแลวกรดที่เกิดขึ้นในรูเมนมีปริมาณมากพอที่จะทําให<br />

pH ลดลง<br />

เหลือ 2.5-3.0 ได แตเนื่องจาก<br />

phosphate และ bicarbonate ในน้ําลายที่ทําหนาที่เปน<br />

buffer คอยชวย<br />

ตานความเปนกรดนี้ไว<br />

ขณะเดียวกันกรดที่เกิดขึ้นนี้ก็จะถูกดูดซึมผานผนังกระเพาะรูเมนออกไป<br />

อยางรวดเร็ว จึงทําให pH ในกระเพาะไมลดลงมากนัก โดยทั่วไปถาสัตวไดรับอาหารขนและอาหาร<br />

หยาบในสัดสวนที่เหมาะสม<br />

pH จะอยูประมาณ<br />

5.8-6.5<br />

2. สภาพไรออกซิเจน (anaerobic) เนื่องจากจุลินทรียในกระเพาะรูเมนสวนใหญเปน<br />

ประเภทที่ไมใชออกซิเจน<br />

(obligate anaerobes) ถาถูกออกซิเจนมันจะตาย ดังนั้นออกซิเจนที่เขา<br />

มายังกระเพาะรูเมนเมื่อสัตวกินอาหารจึงตองถูกใชไปอยางรวดเร็วเพื่อรักษาสภาพนี้ไวและใน<br />

สภาพที่ไรออกซิเจนนี้<br />

hydrogen ion ที่เกิดขึ้นจากการหมักจะถูกจับไวโดยคารบอนไดรออกไซด<br />

เกิดเปนมีเทน<br />

3. อุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

คือประมาณ 38-42 ซ. ซึ่งเปนอุณหภูมิของตัวสัตวโดยทั่วไป<br />

กระเพาะสวนหนาของสัตวจะมีสภาพตามขอ 2 และ 3 นี้<br />

โดยอัตโนมัติอยูแลว<br />

ถาตองการนําจุลินทรียในกระเพาะรูเมนไปเพาะเลี้ยงนอกรางกาย<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อ<br />

ศึกษาการยอยได (in vitro digestibility) ก็จําเปนตองจัดสภาพตางๆ ใหเหมาะสมกับการทํางานและ<br />

การเจริญเติบโตของมัน ดังที่ไดกลาวไวแลวนี้เชนกัน


จุลินทรียในกระเพาะรูเมน<br />

จุลินทรียในกระเพาะรูเมนสวนใหญเปนพวกที่ไมตองการออกซิเจน<br />

(obligate anaerobes)<br />

แตอาจมีพวกที่สามารถใชออกซิเจนไดดวยอยูบางชนิด<br />

พวกนี้จัดเปน<br />

facultative anaerobes มีหนาที่<br />

ชวยใชออกซิเจนที่ติดเขามากับอาหารหรือเขามาขณะที่สัตวเคี้ยวและกลืนอาหาร<br />

(บุญลอม, 2541)<br />

1. แบคทีเรีย (bacteria) มีประมาณ 1 พันลาน ถึง 1 แสนลานตัวตอมิลลิลิตร<br />

(10 9 - 10 11 /ml) มีขนาดตางๆ กันคือผันแปรตั้งแต<br />

0.3-50 µm และรูปรางตางๆ กันซึ่งมี<br />

3 ประเภท<br />

ใหญๆ คือ cocci, rod และ spiral จุลินทรียที่พบในกระเพาะรูเมนมีกวา<br />

100 species แตที่พบมากกวา<br />

7<br />

10 ลาน (10 ) ตัว ตอ มล. มีเพียงประมาณ 30 species ซึ่งอาจแบงไดเปนประเภทใหญๆ<br />

ตาม<br />

กิจกรรมของมัน คือ พวกที่ใช<br />

cellulose, hemicellulose, แปง, น้ําตาล,<br />

กรดที่เกิดขึ้น<br />

(intermediate<br />

acids), โปรตีน, ไขมัน และเพคติน รวมทั้งพวกที่สรางมีเธนและสรางแอมโมเนีย<br />

ดังแสดงในตาราง<br />

ที่<br />

1 จุลินทรียบางชนิดอาจทําหนาที่ไดหลายอยาง<br />

เชน Butyrivibrio fibrisolvens สามารถยอย<br />

เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส เพคติน ไขมัน และโปรตีนได Bacteroides ruminicola ก็สามารถยอยเฮมิ<br />

เซลลูโลส แปง เพคติน โปรตีน ยูเรีย และสรางแอมโมเนียได เปนตน<br />

จุลินทรียประเภทที่สรางมีเทนนับวามีความสําคัญในการชวยควบคุมการหมักในกระเพาะ<br />

รูเมน เพราะชวยทําใหไฮโดรเจนลดลง โดยใชทําปฏิกิริยากับคารบอนไดรออกไซด ทําให pH ใน<br />

รูเมนไมลดลงมากทําใหจุลินทรียอื่นสามารถเติบโตไดดี<br />

microbial protein ที่เปนประโยชนตอตัวสัตว<br />

ชวยใหการยอยมีประสิทธิภาพ และเกิด<br />

แบคทีเรียที่อยูในกระเพาะรูเมนอาจแบงออกเปนจําพวกใหญๆ<br />

ตามประเภทของ<br />

คารโบไฮเดรต และแหลงของไนโตรเจนที่มันใชออกไดเปน<br />

2 ประเภท คือ<br />

1. พวกที่ยอยคารโบไฮเดรตประเภทโครงสราง<br />

(structural carbohydrates ; SC ซึ่งไดแก<br />

เซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลส เปนตน) พวกนี้เจริญเติบโตชา<br />

และใชเฉพาะแอมโมเนียเปนแหลงของ<br />

ไนโตรเจนในการสรางโปรตีนของตัวมันเอง มันจะไมสามารถใชเพปไทดหรือกรดอะมิโนได<br />

2. พวกที่ยอยคารโบไฮเดรตประเภทที่ไมใชโครงสราง<br />

(nonstructural carbohydrates ; NSC<br />

ซึ่งไดแก<br />

แปง เพคติน และน้ําตาล)<br />

พวกนี้เจริญเติบโตไดเร็วกวา<br />

และใชทั้งแอมโมเนีย<br />

เพปไทด<br />

และกรดอะมิโนเปนแหลงไนโตรเจนได มันจะยอยโปรตีนใหเปนแอมโมเนียเพื่อใหพวกแรก<br />

นําไปใช


ประมาณวา 80 เปอรเซ็นต ของจุลินทรียในกระเพาะรูเมนสามารถใชแอมโมเนียเปนแหลง<br />

ของไนโตรเจนได อยางไรก็ดีพบวาแบคทีเรียบางชนิด เชน Butyrivibrio fibrisolvens สามารถยอย<br />

ไดทั้งแปงและเซลลูโลส<br />

และสรางแอมโมเนียได แตมันจะยอยเซลลูโลสไดชากวาพวก cellulolytic<br />

bacteria<br />

ตารางที่<br />

1 การจัดประเภทแบคทีเรียในกระเพาะรูเมนตามอาหารที่หมักยอย<br />

Major Cellulolytic Species Major Lipid-utilizing Species<br />

Bacteroides succinogenes Anaerovibrio lipolytica<br />

Ruminococcus flavefaiens Butyrivibrio fibrisolvens<br />

Ruminococcus albus Treponema bryantii<br />

Butyrivibrio fibrisolvens Eubacterium sp.<br />

Fusocillus sp.<br />

Major Pectinolytic Species Micrococcus sp.<br />

Butyrivibrio fibrisolvens<br />

Bacteroides ruminicola Major Hemicellulolytic Species<br />

Lachnospira multiparus Butyrivibrio fibrisolvens<br />

Succinivibrio dextrinosolvens Bacteroides ruminicola<br />

Treponema bryantii Bacteroides ruminicola<br />

Treponema bryantii Ruminococcus sp.<br />

Streptococcus bovis


ตารางที่1<br />

(ตอ)<br />

Major Amylolytic Species<br />

Major Ureolytic Species Bacteroides amylophilus<br />

Succinivibrio dextrinosolvens Streptococcus bovis<br />

Selenomonas sp. Succinimonas amylolytica<br />

Bacteroides ruminicola Bacteroides ruminicola<br />

Ruminococcus bromii<br />

Butyrivibrio sp. Major Methane-producing Species<br />

Treponema sp. Methanobrevibacter ruminantium<br />

Methanobacterium formicicum<br />

Major Sugar-utilizing Species Methanomicrobium mobile<br />

Treponema bryantii<br />

Lactobacillus vitulinus Major Acid- utilizing Species<br />

Lactobacillus ruminus Megasphaera elsdenii<br />

Major Proteolytic Species<br />

Selenomonas ruminantium<br />

Bacteroides amylophilus Major Ammonia-producing Species<br />

Bacteroides ruminicola Bacteroides ruminicola


ตารางที่<br />

1 (ตอ)<br />

Butyrivibrio fibrisolvens Megasphera elsdenii<br />

Streptococcus bovis Selenomonas ruminantium<br />

ที่มา<br />

: Church (1988)<br />

รูปแบบการกระจายตัวของแบคทีเรีย จะมีอยูในกระเพาะ<br />

rumen หลายแบบโดยลอยตัว<br />

อิสระในของเหลวของกระเพาะ rumen มีประมาณ 30% ของทั้งหมดอีก<br />

70% ยึดติดอยูกับอาหาร<br />

ที่<br />

เหลือจะยึดติดอยูตามผนังของ<br />

rumen และยึดติดอยูกับโปรโตซัว<br />

โดยเฉพาะพวก methanogens<br />

(นิรนาม, 2551ข)<br />

รูปที่<br />

1.3 : แสดงการกระจายตัวของแบคทีเรียในกระเพาะรูเมน (ฉลอง, 2541)<br />

2. เชื้อรา<br />

(fungi) พบวามันตองการสภาพที่ไรออกซิเจนอยางมาก<br />

(strictly anaerobe) และ<br />

อาจมีปริมาณถึง 8% ของจํานวนจุลินทรียทั้งหมด<br />

คาดวามันสามารถสรางเอนไซมยอยพันธะ<br />

ระหวางเฮมิเซลลูโลสและลิกนินได ซึ่งนับวาเปนขอดีเพราะทําใหเยื่อใยในพืชสามารถใชใหเปน<br />

ประโยชนไดมากขึ้น<br />

นอกจากนี้การที่มันมีไรซอยด<br />

(rhizoid) ซึ่งมีหนาที่คลายรากไม<br />

แทงทะลุเขา<br />

ไปในผนังเซลลของพืชจะทําใหพันธะของเยื่อใยแตกออก<br />

(บุญลอม, 2541)<br />

แบคทีเรียสามารถเขายอยไดดีขึ้น<br />

Fungi ในระยะของการขยายพันธุจะประกอบดวยวงจรชีวิตแบงเปน<br />

2 ระยะ คือ ระยะ<br />

sporangium เปนระยะ non-motile vegetative เปนระยะที่หยุดการเคลื่อนไหว<br />

เกิดจากเสนใย


hizoids ซึ่งทําหนาที่คลายรากของตนไม<br />

เจาะแทงเขาไปในเยื่อของพืช<br />

และจะเจริญเติบโตบนผิว<br />

เนื้อเยื่อของพืชนําเอาคารบอนจากพืชมาใชเปนประโยชน<br />

sporangia ที่เจริญเติบโตเต็มที่แลวจะผลิต<br />

zoospores คือระยะ motile flagellated zoospores เปนระยะเคลื่อนไหวได<br />

มีหางทําหนาที่ในการพัด<br />

โบก เพื่อขยายพันธุตอไป<br />

zoospores เหลานี้จะเขายอยสลาย<br />

fiber ที่สัตวกินเขาไปใหม<br />

โดยเขา<br />

ทําลายสวนตางๆ ของพืช หรือเขาทาง stomata ของใบพืช แลวเจริญเติบโตบนสวนของพืชตอไป<br />

(นิรนาม, 2551ข)<br />

รูปที่<br />

1.4 : แสดงวงจรชีวิตของเชื้อรา<br />

(ฉลอง, 2541)<br />

บทบาทของ fungi เหลานี้มีความสําคัญมาก<br />

มีการพบวา fungi จะเขายอยสลายสวนของ<br />

fiber ในอาหารเปนกลุมแรก<br />

โดยยอยจากสวนดานในกอน fungi จะชวยลดการจับยึดแนนของ<br />

feed particles เปนการชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยอยอาหารในขณะเคี้ยวเอื้อง<br />

การเขายอย<br />

สลายของ fungi จะทําให bacteria เขายึดเกาะและยอยสลายเซลลพืชไดงายขึ้น<br />

fungi กลุมนี้จึงเปน<br />

ตัวเริ่มตนที่สําคัญของการยอยสลาย<br />

cell wall ของพืชที่ยอยสลายไดยาก<br />

fungi กลุมนี้ที่พบใน<br />

rumen ของแกะ ไดแก Neocallimastix frontalis, Piramonas communis และ Sphaeromonas<br />

communis นอกจากนี้<br />

fungi กลุมนี้ยังชวยยอยสลายการจับตัวกันของ<br />

hemicellulose-lignin และชวย<br />

ทําให lignin ละลายไดใน rumen (แตไมไดยอย lignin โดยตรง) ซึ่งจะเปนการเปดโอกาสให<br />

bacteria เขายอยสลาย fiber ได (นิรนาม, 2551ข)


รูปที่<br />

1.5 : แสดงเชื้อราเขาไปยอยโครงสรางของเยื่อใย<br />

(ฉลอง, 2541)<br />

พรเทพ (2537) ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับเชื้อรา<br />

Acrophialophora sp. ที่มีความสามารถผลิต<br />

เอนไซมเซลลูเลสได ซึ่งเปนสายพันธุที่มีความสามารถในการผลิตเอนไซมเซลลูเลสไดสูงสุด<br />

และ<br />

เมื่อศึกษาถึงภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซมเซลลูเลสจากเชื้อรา<br />

Acrophialophora sp. พบวา<br />

สามารถผลิตเอนไซมเซลลูเลสไดสูงสุดที่<br />

pH 5 และอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส<br />

MÖnkemann et al. (1997) ไดทําการศึกษาถึงสวนประกอบของระบบ ligninolytic ของเชื้อ<br />

รา Fusarium oxysporum และ Trichoderma atroviride ที่สามารถ<br />

solubilize low-rank coal (ถาน<br />

หิน) ซึ่งวิเคราะหโดย<br />

chromosormal DNA ของราทั้งสองตัวนี้<br />

ซึ่งจะแสดงแถบสายของ<br />

DNA ที่<br />

ชัดเจน เมื่อตรวจสอบอยางละเอียดแลว<br />

สําหรับรหัสของเอนไซมลิกนินเนส ที่เหมือนกันสามตัว<br />

(H7, H8, H10) คือ Lignin peroxidases, Glyoxal oxidase และ Arylalcohol dehydrogenase ของ<br />

Phanerochete chrysosporium ขอมูลเหลานี้จะทําใหทราบถึงจํานวนของเอนไซมที่มีอยูใน<br />

Fusarium oxysporum และ Trichoderma atroviride ในระบบ ligninolytic ที่เปรียบเทียบไดกับ<br />

Phanerochete chrysosporium ที่อาจจะมีผลตอกระบวนการของ<br />

coal solubilization<br />

Wyk (1999) พบวาการใชเอนไซมเซลลูโลสที่ผลิตไดจากเชื้อ<br />

Penicillium funiculosum<br />

และเชื้อ<br />

Trichoderma reesei กับกระดาษเหลือใช เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของสาวน<br />

ประกอบของเซลลูโลส ซึ่งจะเกิดปฏิกิริยาการยอยสลายเซลลูโลสไดสูงสุด<br />

เมื่อใชเอนไซมเซลลูเลส<br />

ที่ไดจากเชื้อ<br />

Trichoderma reesei<br />

Kimura (2002) ไดทําการคนพบถึงความสัมพันธระหวางเอนไซมที่เกี่ยวของกับการงอก<br />

ของสปอรของเชื้อ<br />

Penicillium expansum ในขณะที่สปอรงอกจะพบกิจกรรมของเอนไซม


ไซลาเนสและเพคติเนส แตไมพบเอนไซมอะไมเลสและเซลลูเลส ระดับของเอนไซมไซลาเนสและ<br />

เพคติเนสถูกเพิ่มขึ้นอยางมากโดยไซแลนและเพคติน<br />

ตามปริมาณของคารบอนใน basal medium<br />

สวนในที่ที่ปราศจากคารบอนจะไมพบการงอกของสปอร<br />

Villas (2002) ไดทําการศึกษาถึงเอนไซมลิกโนเซลลูโลไลติกที่ไมเคยถูกคนพบในเชื้อ<br />

Candida utilis หลังจากมีการเลี้ยงเชื้อ<br />

Candida utilis ใน apple pomace ทําใหมีความสามารถใน<br />

การยอยสลายเซลลูโลส เพคตินและลิกนิน ซึ่งไดมีการตรวจพบการผลิตเอนไซมลิกโนเซลลูโลไล<br />

ติก และเพคติเนสของเชื้อ<br />

Candida utilis เปนเอนไซมที่มีกิจกรรมสูงสุด<br />

แตคนพบเอนไซมเซลลู<br />

เลส และไซลาเนสในปริมาณต่ํา<br />

ดังนั้นเชื้อ<br />

Candida utilis จึงมีความสามารถในการยอยสลายลิกโน<br />

เซลลูโลสไดสูงที่สุด<br />

Aro et al. (2005) ไดทําการศึกษาถึงเกณฑการคัดลอกของเอนไซมการยอยสลายของผนัง<br />

เซลลพืชโดยเสนใยเชื้อรา<br />

ผนังเซลลพืชประกอบดวย biopolymer cellulose ขนาดใหญ,<br />

hemicellulose, lignin และ pectin biopolymer พวกนี้จะสลายตัวโดยจุลินทรีย<br />

ซึ่งพบมากโดย<br />

ธรรมชาติและมีบทบาทมากในธรรมชาติ<br />

บํารุงรักษาของวัฎจักร global carbon<br />

cellulose และ hemicellulose ซึ่งจําเปนสําหรับการ<br />

Lai et al. (2006) ไดทําการศึกษาถึงปริมาณของเซลลูเลสโดยการใช cellulose-azer วัด<br />

กิจกรรม ซึ่งจะศึกษาโดยการแสดงอัตราการ<br />

hydrolysis ในเวลาที่กําหนดในการสรางเอนไซมและ<br />

การปลอยเอนไซมออกมา ซึ่งพบวาจํานวนของสารที่ปลอยออกมาสัมพันธกับกลูโคสที่ผลิตออกมา<br />

และความเขมขนของเอนไซมดวย ซึ่งแสดงใหเห็นวาการขาดเอนไซมนี้ได<br />

เนื่องจากไมมีการปลอย<br />

สารออกมาบน azure-dye, การเสื่อมของ<br />

substrate ดังนั้นควรใช<br />

cellulose- azure ในการวิเคราะห<br />

เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธของกิจกรรมของความแตกตางของระบบเอนไซม<br />

ความสําคัญของ pH ในกระเพาะรูเมนตอประชากรของจุลินทรีย<br />

บุญลอม (2541) ไดกลาวไววา pH ในกระเพาะรูเมนมีความสําคัญตอกิจกรรมของจุลินทรีย<br />

และการเกิดกรดชนิดตางๆ จุลินทรียพวกที่เยื่อใย<br />

(fiber digester หรือ cellulolytic flora) เจริญและ<br />

ทํางานไดดีที่<br />

pH ประมาณ 6.2-6.8 และจะลดประสิทธิภาพลงเมื่อ<br />

pH ต่ํากวา<br />

6 เปนผลใหการผลิต<br />

กรดอะซิติกลดลง สวนจุลินทรียที่ยอยแปง<br />

(amylolytic flora) จะชอบ pH ที่เปนกรดมากกวา<br />

คือ<br />

ประมาณ 5.2-6.0 ทําใหมีสัดสวนของกรดโพรพิโอนิกเพิ่มขึ้น<br />

อยางไรก็ดีที่<br />

pH ต่ํากวา<br />

6 ก็มีผลเสีย<br />

ตอการทํางานของจุลินทรียที่ยอยเยื่อใย<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อ<br />

pH ต่ํากวา<br />

5.5 นอกจากนี้ยังยับยั้ง


การทํางานของจุลินทรียที่ใชแลคติก<br />

ทําใหมีกรดแลคติกสะสมมาก และถา pH ยิ่งต่ํากวานี้อีก<br />

เชน<br />

5.0 จุลินทรียที่ยอยแปงจะทนอยูไมได<br />

การสรางกรดโพรพิโอนิกจะลดลง และสัตวจะเกิดโรค<br />

acidosis ดังไดกลาวมาแลว ดังนั้นถาสามารถรักษา<br />

pH ในกระเพาะรูเมนไวใหอยูในชวง<br />

5.8-6.5 ได<br />

ก็จะเปนการดี


อุปกรณและวิธีการ<br />

1. ตัวอยางที่ใชทดลอง<br />

กระเพาะแพะ 1 กระเพาะ จากโรงฆาแพะ อําเภอหนองจอก จังหวัด<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

2. การแยกและการจัดจําแนกเชื้อจุลินทรียจากกระเพาะแพะ<br />

2.1 วิธีการแยกแบคทีเรีย<br />

นําตัวอยางที่ใชทดลอง<br />

ตัวอยางละ 1 กรัม นํามาทํา dilution จนไดสารละลายที่มี<br />

−5 5<br />

ความเขมขน 10 จากนั้นนํา<br />

loop ที่ทําการฆาเชื้อแลวจุมลงในสารละลายที่มีความเขมขน<br />

10<br />

แลวทําการ cross streak ลงบนอาหาร PDPA (Potato Dextrose Peptone Agar) จนไดโคโลนีเดียวๆ<br />

ทํา single streak (pure culture) จากนั้นทําการยอมสีแกรมแลวถายรูปภายใตกลองจุลทรรศน<br />

พรอม<br />

ระบุ isolate<br />

−<br />

2.2 วิธีการแยกเชื้อรา<br />

2.2.1 วิธี Soil plate techniques<br />

นําตัวอยางที่ใชทดลอง<br />

ตัวอยางละ 0.0025 กรัม ใสลงใน plate แตละ plate แลวเท<br />

อาหาร GANA (glucose-ammonium nitrate agar) ทับลงไป จากนั้นบมไวที่อุณหภูมิหอง<br />

(25 องศา<br />

เซลเซียส) เปนเวลา 7 วัน สังเกตโคโลนีที่เกิดขึ้น<br />

แลวทําการแยกใหเปนเชื้อบริสุทธิ์<br />

(pure culture)<br />

บนอาหาร PDA หลังจากนั้นทําสไลด<br />

เพื่อศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

และทําการจัดจําแนก<br />

ชนิด พรอมถายรูปภายใตกลองจุลทรรศน<br />

2.2.2 วิธี Soil dilution plate techniques<br />

นําตัวอยางที่ใชทดลอง<br />

ตัวอยางละ 1 กรัม นํามาใสลงบน plate ที่มีอาหาร<br />

PDA<br />

วางตัวอยางใหทั่ว<br />

plate จากนั้นบมไวที่อุณหภูมิหอง<br />

(25 องศาเซลเซียส) เปนเวลา 5-7 วัน สังเกต<br />

โคโลนีที่เกิดขึ้นแลวทําการแยกเชื้อใหบริสุทธิ์<br />

(pure culture) หลังจากนั้นทําสไลด<br />

เพื่อศึกษา<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา และทําการจัดจําแนกชนิด พรอมถายรูปภายใตกลองจุลทรรศน<br />

2.3 วิธีการแยกแอกติโนมัยซิน<br />

นําตัวอยางที่ใชทดลอง<br />

ตัวอยางละ 1 กรัม นํามาทํา dilution จนไดสารละลายที่มี<br />

−5 5<br />

ความเขมขน 10 จากนั้นนํา<br />

loop ที่ทําการฆาเชื้อแลวจุมลงในสารละลายที่มีความเขมขน<br />

10<br />

แลวทําการ cross streak ลงบนอาหาร YSA (Actinomycetes Modifide Yeast Starch Agar (YSA)<br />

medium) จนไดโคโลนีเดียวๆ ทํา single streak (pure culture) จากนั้นทําการยอมสีแกรมแลวถายรูป<br />

ภายใตกลองจุลทรรศน พรอมระบุ isolate<br />


ผลการทดลอง<br />

การแยกและการจัดจําแนกเชื้อจุลินทรียจากกระเพาะแพะ<br />

1. วิธีการแยกแบคทีเรีย<br />

จากการนําอาหารในกระเพาะแพะมาทําการแยกหาแบคทีเรีย พบวามีแบคทีเรียอยู<br />

2 ชนิด<br />

คือ แบคทีเรียแกรมบวก ไดแก G-Ret-01-1, G-Oma-01-1 และ G-Abo-02-2 สวนแบคทีเรียที่พบวา<br />

เปนแกรมลบ ไดแก G-Ru-01-1 และ G-Abo-01-1<br />

2. วิธีการแยกแอคติโนมัยซิน<br />

จากการนําอาหารในกระเพาะแพะมาทําการแยกหาแอคติโนมัยซินพบวามีแอคติโนมัยซิน<br />

อยู<br />

2 ชนิด คือแอคติโนมัยซินแกรมบวก ไดแก G-Ret-01-1, G-Oma-01-1 และ G-Abo-01-2 สวน<br />

แอคติโนมัยซินที่พบวาเปนชนิดแกรมลบ<br />

ไดแก G-Ru-02-1, G-Ret-02-1 และ G-Abo-01-1<br />

3. วิธีการแยกเชื้อรา<br />

3.1 วิธี Soil plate techniques<br />

จากการนําอาหารในกระเพาะแพะมาทําการแยกหาเชื้อรา<br />

โดยวิธีนี้พบมีเชื้อรา<br />

Aspergillus niger G-Ru-01-1, Aspergillus flavus G-Ru-01-3, Trichodema sp. G-Ru-02-1,<br />

Aspergillus fumigatus G-Ru-02-2, Mucorales sp. G-Oma-01-1 และ Penicillium sp. G-Oma-02-2<br />

3.2 วิธี Soil dilution plate techniques<br />

จากการนําอาหารในกระเพาะแพะมาทําการแยกหาเชื้อรา<br />

โดยวิธีนี้พบมีเชื้อรา<br />

Aspergillus fumigatus G-Ru-02-3, Aspergillus niger G-Ru-02-1, Mucorales sp. G-Oma-02-1 และ<br />

Aspergillus flavus G-Ret-02-1


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Ru-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เปนผงฝุนสีดํา<br />

สามารถเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว<br />

conidiophores เปนกานชูขึ้น<br />

ยาว 1.0-3.0 มิลลิเมตร conidial head มีสีดํา มี phialide อยูบน<br />

metulae conidia มีรูปรางแบบ globose เสนผานศูนยกลาง 4.0-5.0 ไมโครเมตร มีลักษณะหยาบไม<br />

เรียบเห็นไดชัด<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.6 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Ru-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (10X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Ru-01-3<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสีเขียวเหลือง มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วกระจายทั่ว<br />

บนอาหาร conidiophores มีสีใสผนังขรุขระ ไมเรียบ ยาว 0.4-1.0 มิลลิเมตร conidial head เปนแบบ<br />

radiating conidiophores ใหญ มี phialide อยูบน<br />

metulae ลักษณะ conidia มีรูปรางแบบ globose<br />

หนามละเอียดขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.5-4.5 ไมโครเมตร<br />

ภาพที่<br />

1.7 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Ru-01-3<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Ru-02-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เจริญอยางรวดเร็ว ผิวหนาโคโลนีเรียบมี aerial hypha นอย<br />

มาก เชื้อราจะเปลี่ยนสีวุนอาหาร<br />

เปนสีเหลืองออน philophore มีสีใส ผิวเรียบ เกิดจาก aerial<br />

mycelium phialophore จะแตกแขนงใหกําเนิด phialide, phialospore เกิดเปนกลุมตรงสวนปลาย<br />

ของ phialide, phialospore มีสีเขียวปนเทา<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.8 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Ru-02-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus fumigatus G-Ru-02-2<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสี bluish green ลักษณะแผออกกวาง บาง conidiophores<br />

ลักษณะเปน clavate vesicles ซึ่งงอกจาก<br />

foot cell มีผนังหนา สวนconidia มีรูปราง<br />

globose-subglobose และมีหนามละเอียด เสนผานศูนยกลาง 2.5-3.0 ไมโครเมตร<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.9 :แสดง ลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus fumigatus G-Ru-02-2<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Mucorales sp. G-Oma-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสี pale grey-olivaceous เปน sporangiophores โคโลนีสูง<br />

6-20 มิลลิเมตร แตกกิ่งกานแบบsympodially<br />

อยางชาๆ มีทั้งกิ่งสั้นและยาว<br />

บางครั้งปลายก็มวยเขา<br />

หาศูนยกลาง sporangia แรกๆ จะมีสีคอนขางขาวจนถึงสีออกเหลือง ตอมากลายเปนสี brownish<br />

grey เสนผานศูนยกลาง 80-100 ไมโครเมตร<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.10 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Mucorales sp. G-Oma-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Oma-01-2<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เจริญอยางรวดเร็ว ผิวหนาโคโลนีเรียบมี aerial hypha นอย<br />

มาก เชื้อราจะเปลี่ยนสีวุนอาหาร<br />

เปนสีเหลืองออน philophore มีสีใส ผิวเรียบ เกิดจาก aerial<br />

mycelium phialophore จะแตกแขนงใหกําเนิด phialide, phialospore เกิดเปนกลุมตรงสวนปลาย<br />

ของ phialide, phialospore มีสีเขียวปนเทา<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.11 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Oma-01-2<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Oma-01-3<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสีเขียวเหลือง มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วกระจายทั่ว<br />

บนอาหาร conidiophores มีสีใสผนังขรุขระ ไมเรียบ ยาว 0.4-1.0 มิลลิเมตร conidial head เปนแบบ<br />

radiating conidiophores ใหญ มี phialide อยูบน<br />

metulae ลักษณะ conidia มีรูปรางแบบ globose<br />

หนามละเอียดขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.5-4.5 ไมโครเมตร<br />

ภาพที่<br />

1.12 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Oma-01-3<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Oma-01-5<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เปนผงฝุนสีดํา<br />

สามารถเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว<br />

conidiophores เปนกานชูขึ้น<br />

ยาว 1.0-3.0 มิลลิเมตร conidial head มีสีดํา มี phialide อยูบน<br />

metulae conidia มีรูปรางแบบ globose เสนผานศูนยกลาง 4.0-5.0 ไมโครเมตร มีลักษณะหยาบไม<br />

เรียบเห็นไดชัด<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.13 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Oma-01-5<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (10X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Penicillium sp. G-Oma-02-2<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เปนขนปุยนุน<br />

แรกๆ จะเปนสีขาว ตอมาจะเปนสีออก<br />

เขียวๆ conidiophores เกิดขึ้นจาก<br />

submerged หรือ aerial hyphae ผนังเรียบหรือลักษณะหยาบๆ<br />

แตกกิ่ง<br />

2 ครั้ง<br />

conidia รูปรางแบบ globose ถึง subglobose เสนผานศูนยกลาง 2.5-3.0 ไมโครเมตร<br />

ภาพที่<br />

1.14 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Penicillium sp. G-Oma-02-2<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus fumigatus G-Ret-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสี bluish green ลักษณะแผออกกวาง บาง conidiophores<br />

ลักษณะเปน clavate vesicles ซึ่งงอกจาก<br />

foot cell มีผนังหนา สวน conidia มีรูปราง<br />

globose-subglobose และมีหนามละเอียด เสนผานศูนยกลาง 2.5-3.0 ไมโครเมตร<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.15 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus fumigatus G-Ret-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Ret-01-2<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสีเขียวเหลือง มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วกระจายทั่ว<br />

บนอาหาร conidiophores มีสีใสผนังขรุขระ ไมเรียบ ยาว 0.4-1.0 มิลลิเมตร conidial head เปนแบบ<br />

radiating conidiophores ใหญ มี phialide อยูบน<br />

metulae ลักษณะ conidia มีรูปรางแบบ globose<br />

หนามละเอียดขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.5-4.5 ไมโครเมตร<br />

ภาพที่<br />

1.16 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Ret-01-2<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Ret-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เปนผงฝุนสีดํา<br />

สามารถเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว<br />

conidiophores เปนกานชูขึ้น<br />

ยาว 1.0-3.0 มิลลิเมตร conidial head มีสีดํา มี phialide อยูบน<br />

metulae conidia มีรูปรางแบบ globose เสนผานศูนยกลาง 4.0-5.0 ไมโครเมตร มีลักษณะหยาบไม<br />

เรียบเห็นไดชัด<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.17 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Ret-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (10X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Abo-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เปนผงฝุนสีดํา<br />

สามารถเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว<br />

conidiophores เปนกานชูขึ้น<br />

ยาว 1.0-3.0 มิลลิเมตร conidial head มีสีดํา มี phialide อยูบน<br />

metulae conidia มีรูปรางแบบ globose เสนผานศูนยกลาง 4.0-5.0 ไมโครเมตร มีลักษณะหยาบไม<br />

เรียบเห็นไดชัด<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.18 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus niger G-Abo-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (10X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Penicillium sp. G-Abo-01-3<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เปนขนปุยนุน<br />

แรกๆ จะเปนสีขาว ตอมาจะเปนสีออก<br />

เขียวๆ conidiophores เกิดขึ้นจาก<br />

submerged หรือ aerial hyphae ผนังเรียบหรือลักษณะหยาบๆ<br />

แตกกิ่ง<br />

2 ครั้ง<br />

conidia รูปรางแบบ globose ถึง subglobose เสนผานศูนยกลาง 2.5-3.0 ไมโครเมตร<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.19 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Penicillium sp. G-Abo-01-3<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Abo-02-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA เจริญอยางรวดเร็ว ผิวหนาโคโลนีเรียบมี aerial hypha นอย<br />

มาก เชื้อราจะเปลี่ยนสีวุนอาหาร<br />

เปนสีเหลืองออน philophore มีสีใส ผิวเรียบ เกิดจาก aerial<br />

mycelium phialophore จะแตกแขนงใหกําเนิด phialide, phialospore เกิดเปนกลุมตรงสวนปลาย<br />

ของ phialide, phialospore มีสีเขียวปนเทา<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.20 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Trichoderma sp. G-Abo-02-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Mucorales sp. G-Abo-02-3<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสี pale grey-olivaceous เปน sporangiophores โคโลนีสูง<br />

6-20 มิลลิเมตร แตกกิ่งกานแบบsympodially<br />

อยางชาๆ มีทั้งกิ่งสั้นและยาว<br />

บางครั้งปลายก็มวนเขา<br />

หาศูนยกลาง sporangia แรกๆ จะมีสีคอนขางขาวจนถึงสีออกเหลือง ตอมากลายเปนสี brownish<br />

grey เสนผานศูนยกลาง 80-100 ไมโครเมตร<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.21 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Mucorales sp. G-Abo-02-3<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Abo-02-5<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA มีสีเขียวเหลือง มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วกระจายทั่ว<br />

บนอาหาร conidiophores มีสีใสผนังขรุขระ ไมเรียบ ยาว 0.4-1.0 มิลลิเมตร conidial head เปนแบบ<br />

radiating conidiophores ใหญ มี phialide อยูบน<br />

metulae ลักษณะ conidia มีรูปรางแบบ globose<br />

หนามละเอียดขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.5-4.5 ไมโครเมตร<br />

ภาพที่<br />

1.22 : แสดงลักษณะของเชื้อ<br />

Aspergillus flavus G-Abo-02-5<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (40X)


รายละเอียดของแอคติโนมัยซิน G-Ru-02-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA มีสีขาวขุน<br />

มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามาทําการ<br />

ยอมแกรม ติดสีแดง แสดงวาแอคติโนมัยซิน G-Ru-02-1 เปนแกรมลบ<br />

ภาพที่<br />

1.23 :แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Ru-02-1<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแอคติโนมัยซิน G-Ret-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA มีสีขาวขุนในตอนแรกและจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองนวล<br />

ใน<br />

วันที่<br />

3 มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามาทําการยอมแกรม<br />

ติดสีมวง แสดงวาแอคติโนมัยซิน<br />

G-Ret-01-1 เปนแกรมบวก<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.24 : แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Ret-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแอคติโนมัยซิน G-Ret-02-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA ในระยะแรกจะเปนสีขาวขุน<br />

ประมาณ 3 วัน จะเปลี่ยนสี<br />

กลายเปนสีเหลืองขุน<br />

และมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามาทําการยอมแกรม<br />

ติดสีแดง<br />

แสดงวาแอคติโนมัยซิน G-Ret-02-1 เปนแกรมลบ<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.25 : แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Ret-02-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแอคติโนมัยซิน G-Oma-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA ในระยะแรกจะเปนสีขาวขุน<br />

ประมาณ 3 วัน จะเปลี่ยนสี<br />

กลายเปนสีเหลืองขุน<br />

และมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามาทําการยอมแกรม<br />

ติดสีมวง แสดง<br />

วาแอคติโนมัยซิน G-Oma-01-1 เปนแกรมบวก<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.26 : แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Oma-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแอคติโนมัยซิน G-Abo-01-1<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA มีสีขาวขุนในระยะแรก<br />

แตจะมีการเปลี่ยนสีเปนสีสมใน<br />

อีกประมาณ 3 วัน มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามาทําการยอมแกรม<br />

ติดสีแดง แสดงวา<br />

แอคติโนมัยซิน G-Abo-01-1 เปนแกรมลบ<br />

ภาพที่<br />

1.27 : แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Abo-01-1<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแอคติโนมัยซิน G-Abo-01-2<br />

ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA จะเปนสีขาวขุนในระยะแรก<br />

ตอมาประมาณ 3 วัน จะ<br />

เปลี่ยนสีกลายเปนสีเหลืองสม<br />

ขุน<br />

เมื่อนํามาทําการยอมแกรม<br />

ติดสีมวง แสดงวาแอคติโนมัยซิน<br />

G-Abo-01-2 เปนแกรมบวก<br />

a b<br />

ภาพที่<br />

1.28 : แสดงลักษณะของแอคติโนมัยซิน G-Abo-01-1<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร YSA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแบคทีเรีย G-Ru-01-1<br />

ลักษณะของโคโลนีบนอาหาร PDPA มีสีใส เปนเงา มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อ<br />

นํามาทําการยอมแกรม ติดสีแดง แสดงวาแบคทีเรีย G-Ru-01-1 เปนแกรมลบ<br />

ภาพที่<br />

1.29 : แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Ru-01-1<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDPA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแบคทีเรีย G-Ret-01-1<br />

ลักษณะของโคโลนีบนอาหาร PDPA มีสีขาวขุน<br />

เปนมันเงา มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว<br />

เมื่อนํามาทําการยอมแกรม<br />

ติดสีมวง แสดงวาแบคทีเรีย G-Ret-01-1 เปนแกรมบวก<br />

ภาพที่<br />

1.30 : แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Ret-01-1<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDPA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแบคทีเรีย G-Oma-01-1<br />

ลักษณะของโคโลนีบนอาหาร PDPA มีสีขาวขุน<br />

ดาน มีรอยหยักตามของของรอยที่<br />

streak<br />

ไว มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามาทําการยอมแกรม<br />

ติดสีมวง แสดงวาแบคทีเรีย<br />

G-Oma-01-1 เปนแกรมบวก<br />

ภาพที่<br />

1.31 : แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Oma-01-1<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDPA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแบคทีเรีย G-Abo-01-1<br />

ลักษณะของโคโลนีบนอาหาร PDPA มีสีขาวขุน<br />

มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามา<br />

ทําการยอมแกรม ติดสีแดง แสดงวาแบคทีเรีย G-Abo-01-1 เปนแกรมลบ<br />

ภาพที่<br />

1.32 :แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Abo-01-1<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDPA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


รายละเอียดของแบคทีเรีย G-Abo-02-2<br />

ลักษณะของโคโลนีบนอาหาร PDPA มีสีใส เปนเงาวาว มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เมื่อนํามาทํา<br />

การยอมแกรม ติดสีมวง แสดงวาแบคทีเรีย G-Abo-02-2 เปนแกรมบวก<br />

ภาพที่<br />

1.33 : แสดงลักษณะของแบคทีเรีย G-Abo-02-2<br />

a b<br />

a. ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDPA b. ลักษณะโครงสรางภายใตกลองจุลทรรศน (100X)


สรุปและวิจารณการทดลอง<br />

จากการทดลองพบวาในกระเพาะของแพะทั้ง<br />

4 กระเพาะ ไดแก Rumen, Reticulum,<br />

Omasum และ Abomasum นั้น<br />

พบจํานวนของจุลินทรียในปริมาณที่แตกตางกัน<br />

คือ ใน Rumen พบ<br />

เชื้อรา<br />

Aspergillus niger G-Ru-01-1, Aspergillus flavus G-Ru-01-3, Trichoderma sp. G-Ru-02-1,<br />

Aspergillus fumigatus G-Ru-02-2 โดยที่มีผลสอดคลองกับการศึกษาของ<br />

Beauchemin และ คณะ<br />

(1995) ที่มีการคนพบเชื้อรา<br />

Trichoderma sp. ในกระเพาะรูเมนของแพะ และมีการศึกษาของ<br />

Campos และ คณะ (1990) พบเชื้อรา<br />

Aspergillus niger ในกระเพาะรูเมนของแพะเชนกัน สวน<br />

แบคทีเรียที่พบในกระเพาะรูเมนของแพะ<br />

คือ แบคทีเรียแกรมลบ G-Ru-01-1 และแอคติโนมัยซิน<br />

แกรมลบ G-Ru-02-1 ในกระเพาะสวน Reticulum พบเชื้อรา<br />

Aspergillus fumigatus G-Ret-01-1G,<br />

Aspergillus flavus G-Ret-01-2, Aspergillus niger G-Ret-01-1 แบคทีเรียแกรมบวก G-Ret-01-1<br />

แอคติโนมัยซินแกรมบวก G-Ret-01-1 และ แกรมลบ G-Ret-02-1 ในกระเพาะสวน Omasum พบ<br />

เชื้อรา<br />

Mucorales sp. G-Oma-01-1, Trichoderma sp. G-Oma-01-2, Aspergillus flavus<br />

G-Oma-01-3, Aspergillus niger G-Oma-01-5, Penicillium sp. G-Oma-02-2 แบคทีเรียแกรมบวก<br />

G-Oma-01-1 และแอคติโนมัยซินแกรมบวก G-Oma-01-1 ในกระเพาะสวน Abomasum นั้น<br />

พบเชื้อ<br />

รา Aspergillus niger G-Abo-01-1, Penicillium sp. G-Abo-01-3, Trichoderma sp. G-Abo-02-1,<br />

Mucorales sp. G-Abo-02-3, Aspergillus flavus G-Abo-02-5 แบคทีเรียแกรมลบ G-Abo-01-1,<br />

แกรมบวก G-Abo-02-2 และแอคติโนมัยซินแกรมลบ G-Abo-01-1, แกรมบวก G-Abo-01-2


เอกสารอางอิง<br />

กรมปศุสัตว. 2547. การเลี้ยงแพะ.<br />

กรมปศุสัตว, กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพมหานคร.<br />

22 น.<br />

ฉลอง วชิราภากร. 2541. การผลิตโคนม. [Online] Available : http://www.nsru.ac.th/elearning/dairy/lesson4_2php.<br />

10/4/2008.<br />

ถวัลย วรรณกุล. 2542. การเลี้ยงและการปองกันรักษาโรคแพะ.<br />

สํานักพิมพสัตวเศรษฐกิจ,<br />

กรุงเทพมหานคร. 160 น.<br />

นิรนาม. 2547 ก. นักวิชาการออสซี่เผยเทคนิคอาหารแพะ.<br />

โลกปศุสัตว. 5(38)น. 45-46.<br />

นิรนาม. 2551ข. โภชนศาสตรสัตวเคี้ยวเอื้อง.<br />

[Online] Available : http://www.nsru.ac.th/elearning/dairy/lesson4_2php.<br />

10/4/2008.<br />

บุญลอม ชีวะอิสระกุล. 2541. โภชนศาสตรสัตวเคี้ยวเอื้อง.<br />

ภาควิชาสัตวศาสตร, คณะเกษตรศาสตร,<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 24 น.<br />

บุญเสริม ชีวะอิสระกุล. 2546. การเลี้ยงดูและจัดการแพะ.<br />

ภาควิชาสัตวศาสตร, คณะเกษตรศาสตร,<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 145 น.<br />

พรเทพ ถนนแกว. 2537. ภาวะเหมาะสมของการผลิตเซลลูเลสจากเชื้อราที่คัดแยกจากบริเวณปลูก<br />

ปานศรนารายณ Agave sisalana Perrine. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. วิทยาศาสตร<br />

(เทคโนโลยีชีวภาพ). จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย.<br />

สุรชน ตางวิวัฒน. 2551. การเลี้ยงแพะ.<br />

[Online] Available : http://www.did.go.th/service/goat<br />

feed.html. 10/4/2008.<br />

Aro, N., Pakula, T. and penttilä, M. 2005. Transriptional regulation <strong>of</strong> plant cell wall Degration<br />

by filamentous fungi. FEMS Microbiology Reviews 29:4,719-739.<br />

Beauchemin, K.A., Rode, L.M., Sewalt, V.J.H., 1995. Fibrolytic enzymes increase fiber<br />

digestibility and growth rate <strong>of</strong> steers fed dry forages. Can. J. Anim. Sci. 75, 641-644.<br />

Campos, M.R., Herrara-Saldand, R., Viniegas, G.G., Diaz, C.M., 1990. The effect <strong>of</strong> Aspergillus<br />

niger and Aspergillus oryzae (Amaferm) as probiotics on in situ digestibility <strong>of</strong> a high<br />

fibre diet. J. Dairy Sci. 73, 133.<br />

Church, D.C. 1988. The Ruminant <strong>Animal</strong>: Digestive Physiology and Nutrition. Prentice Hall,<br />

Englewood Cliffs, New Jersey.<br />

Hungate, R.E. 1966. The rumen and its Microbes. USA. Academic Press, New York.<br />

James and baker. 2003. Dairy <strong>Production</strong> . [Online] Available : http://www.nsru.ac.th/elearning/dairy/lesson4_3php.<br />

10/4/2008.


Kajikawa, H., Kudo H., Kondo, T., Jodai, K., Honda, Y., Kuwahara, M., Watanabe, T., 2000.<br />

Degration <strong>of</strong> benzyl ether bonds <strong>of</strong> lignin by ruminal microbes. FEMS. Microbiol. Lett.<br />

187, 15-20.<br />

Kimura, S., Amachi, S., Ohno, N., Takahashi, H., Shinoyama, H. and T. Fujii. 2002. Relationship<br />

between conidial enzymes and germination <strong>of</strong> the apple blue mold, Penicillium<br />

expansum. Bioscience, Biotechnology and Biochemistry. 66:5, 1126-1129.<br />

Lai, T.E., Pullammanappallil, P.C. and Clarke, W.P. 2006. Quantification <strong>of</strong> cellulose activity<br />

using cellulose-azure. Talanta. 69:68-72.<br />

MÖnkemann, H., HÖlker, U. and HÖfer, M. 1997. Components <strong>of</strong> the ligninolytic system <strong>of</strong><br />

Fusarium oxysporum and Trichoderma atroviride. Fuel Processing <strong>Technology</strong>. 52:1-<br />

3.73-77.<br />

Ottou, J.F., Doreau, M., 1996. Influence <strong>of</strong> niacin on in vitro ruminal fermentation and microbial<br />

synthesis depending on dietary factors. Anim. Feed Sci. Technol. 58, 187-199.<br />

Pereira, D.H., Pereira, O.G., Silva, B.C., Leão, M.I., Filho, S.C.V., Chizzotti, F.H.M., Garcia, R.,<br />

2007. Intake and total and partial digestibility <strong>of</strong> nutrients, ruminal pH and ammonia<br />

concentration and microbial efficiency in beef cattle fed with diets containing sorghum<br />

(Sorghum bicolor (L) Moench) silage and concentrate in different ratios. Livestock Sci.<br />

107, 53-61.<br />

Preston, T.R., Leng, R.A.,1987. Matching Ruminant <strong>Production</strong> System with Available<br />

Resources in the Tropics and Sub-Tropics. Penumbul Books, Armidale. 245 p.<br />

Villas, B.S.G., Esposito, E. and M.M. Mendonca. 2002. Noval lignocellulolytic ability <strong>of</strong><br />

Candida utilis during soil-substrate cultivation on apple pomace. World Journal <strong>of</strong><br />

Microbiology and Biotechnology. 18:6, 541-545.<br />

Wyk, J.P.H. 1999. Increased bioconversion <strong>of</strong> pretreated wastepaper to sugar by successive<br />

treatment with cellulose from Penicillium funiculosum and Trichoderma reesei.<br />

Australasian Biotechnology. 9:4, 206-210.<br />

Yang, W.Z., Beauchemin, K.A., Vedres, D.D., Ghorbani, G.R., Colombatto, D., Morgavi, D.P.,<br />

2004. Effects <strong>of</strong> direct-fed microbial supplementation on ruminal acidosis, digestibility,<br />

and bacterial protein synthesis in continuous culture. Anim. Feed Sci. Technol. 114, 179-<br />

193.


ภาคผนวก


ภาคผนวก<br />

สูตรอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

1. PDA (Potato Dextrose Agar)<br />

Potato 200 กรัม<br />

Dextrose 20 กรัม<br />

Agar 20 กรัม<br />

น้ํากลั่น<br />

1 ลิตร<br />

2. PDPA (Potato Dextrose Peptone Agar)<br />

Potato 200 กรัม<br />

Dextrose 18 กรัม<br />

Peptone 18 กรัม<br />

Agar 18 กรัม<br />

น้ํากลั่น<br />

1 ลิตร<br />

3. GANA (Glucose-Ammonium Nitrate Agar)<br />

Glucose 10 กรัม<br />

NH4 NO3 1 กรัม<br />

Yeast extract 1 กรัม<br />

K2HPO4 0.5 กรัม<br />

MgSO4.7H20 0.5 กรัม<br />

Agar 20 กรัม<br />

Rose Bengal 0.06 กรัม<br />

Streptomycin 0.03 กรัม<br />

น้ํากลั่น<br />

1 ลิตร<br />

4. YSA (Actinomycetes Modifide Yeast Starch Agar(YSA) Medium)<br />

Yeast extract 2 กรัม<br />

Soluble starch 10 กรัม<br />

Agar 15 กรัม<br />

CACO 3<br />

2 กรัม<br />

น้ํากลั่น<br />

1 ลิตร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!