03.04.2013 Views

Department of Animal Production Technology Faculty of Agricultural Technology

Department of Animal Production Technology Faculty of Agricultural Technology

Department of Animal Production Technology Faculty of Agricultural Technology

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สัตวเคี้ยวเอื้องจึงตองการการยอยของแบคทีเรียเหมือนกัน<br />

การเคี้ยวเอื้องเปนการเพิ่มพื้นที่ผิวใหกับ<br />

แบคทีเรียในการยอยเซลลพืชไดดีขึ้น<br />

ทําใหมีการขับน้ําลายเพิ่มขึ้น<br />

ชวยรักษาสภาวะประชากรจุลิ<br />

นทรียใหสมดุล และทําใหสารที่ไดจากการหมักยอยของแบคทีเรีย<br />

เปนกรดไขมันระเหย (volatile<br />

fatty acids) เพิ่มขึ้น<br />

รางกายของสัตวก็จะดูดซึมไปใชในการสรางพลังงาน สรางเนื้อและนม<br />

(Yang<br />

et al., 2004)<br />

ระบบนิเวศวิทยาของจุลินทรียภายในกระเพาะ rumen คอนขางยุงยากซับซอน<br />

และมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา<br />

การเปลี่ยนแปลงนี้สวนใหญขึ้นอยูกับอาหารที่สัตวกินเขาไป<br />

สัตวเคี้ยว<br />

เอื้องสวนใหญกินอาหารประเภทที่มี<br />

carbohydrates ซึ่งประกอบดวย<br />

cellulose และ hemicellulose<br />

เปนอาหารหลัก แตในบางโอกาสสัตวอาจไดรับอาหารที่ประกอบดวย<br />

soluble carbohydrates<br />

จําพวกเมล็ดธัญพืช หรือ กากน้ําตาล<br />

Preston and Leng (1987) ไดทําการศึกษาวา พืชที่สัตวเคี้ยวเอื้องกินเปนอาหารโดยทั่วไปจะ<br />

มีการสรางโครงสรางโมเลกุลของผนังเซลลที่มีคุณสมบัติปองกันการเขายอยสลายของจุลินทรีย<br />

แต<br />

ใน reticulo-rumen จะมีจุลินทรียหลายชนิดที่มีสามารถเขายอยสลาย<br />

carbohydrates ในพืชนี้ได<br />

จุลิ<br />

นทรียสวนใหญจะเปนพวก anaerobic bacteria และ fungi anaerobic bacteria เปนจุลินทรียหลัก<br />

สําคัญในการทําใหเกิดการหมักของ carbohydrates ที่อยูใน<br />

cell wall ของพืช และ bacteria จึงเขา<br />

ยอยสลายแลวเกิดการหมักในระยะตอมา<br />

การหมักยอยในกระเพาะสวนหนา<br />

อาหารและน้ําลายที่กลืนเขาไปจะไปรวมกับของเหลวในรูเมนและ<br />

reticulum ภายในมี<br />

สภาพที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

อาหารที่เขาไปในรูเมนสวนใหญจะถูกหมักยอย<br />

โดยจุลินทรียใหไดเปนกรดไขมันระเหยได แกสมีเทน คารบอนไดออกไซด และเซลลจุลินทรีย<br />

แกสจะถูกระบายออกโดยการเรอ กรดไขมันระเหยไดสวนใหญจะถูกดูดซึมผานผนังรูเมน เซลล<br />

ของจุลินทรียที่ถูกสรางขึ้นจะเคลื่อนที่ไปกับอาหารสวนที่ไมถูกยอยสลายในกระเพาะรูเมน<br />

ไปยัง<br />

กระเพาะแทและลําไสเล็กเพื่อยอยเอ็นไซมจากตัวสัตว<br />

และถูกดูดซึมเชนเดียวกับสัตวกระเพาะเดี่ยว<br />

อาหารที่เหลือจะถูกยอยที่ลําไสใหญโดยเอ็นไซมของจุลินทรียอีกครั้ง<br />

ไดเปนกรดไขมันระเหยได<br />

ซึ่งจะถูกดูดซึมเขาสูรางกายสัตว<br />

แตจุลินทรียที่เกิดขึ้นในสวนนี้ไมสามารถถูกยอยได<br />

จะถูกขับออก<br />

ในมูลพรอมกับอาหารที่ไมถูกยอย<br />

(บุญลอม, 2541)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!