30.01.2015 Views

MU_06June56.pdf - CMMU - Mahidol University

MU_06June56.pdf - CMMU - Mahidol University

MU_06June56.pdf - CMMU - Mahidol University

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เพื่อสุขภาพ<br />

เคล็ดลับหลับสบาย<br />

การนอนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต สมองและ ความเครียด สภาพแวดล้อม โรคของการนอน<br />

ร่างกายใช้ช่วงเวลาขณะหลับในการบำรุง หลับโดยตรง โรคทางจิตเวช ความเจ็บป่วยทาง<br />

ซ่อมแซมส่วนต่างๆ ให้ดีขึ้นเพื่อให้ร่างกายมี ร่างกาย การใช้ยา หรือสารบางชนิด<br />

ประสิทธิภาพที่ดีในการทำงาน ดังนั้นการนอน เมื่อไรจึงควรจะปรึกษาแพทย์<br />

หลับที่เพียงพอจึงมีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิต หากอาการนอนไม่หลับเป็นมากกว่า ๑<br />

ที่ดี มนุษย์ใช้เวลานอนหลับ ๑ ใน ๓ ของเวลา สัปดาห์ หรือมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานใน<br />

ทั้งหมด ความต้องการในการนอนหลับของ เวลากลางวัน ควรจะมาปรึกษาแพทย์<br />

แต่ละคนไม่เท่ากัน คนส่วนใหญ่ต้องการนอนวัน เมื่อนอนไม่หลับ แพทย์จะมีแนวทางการ<br />

ละ ๘ ชั่วโมง บางคนนอนแค่วันละ ๕ – ๖ ชั่วโมง ดูแลรักษาอย่างไร<br />

เมื่อไรจึงเรียกว่านอนไม่หลับ<br />

การนอนหลับอย่างพอเพียง ทั้งระยะเวลา<br />

การนอนไม่หลับไม่ใช่โรค แต่เป็นปัญหาการ และคุณภาพของการนอนหลับจะเป็นปัจจัยใน<br />

นอนไม่เพียงพอ เช่น นอนหลับยาก ตื่นบ่อย หรือ การส่งเสริมสุขภาพที่ดีเหมือนกับการรับ<br />

หลับไม่สนิท ทำให้ตื่นขึ้นมาแล้วไม่สดชื่น ซึ่งส่ง ประทานอาหารที่มีคุณภาพและการออกกำลัง<br />

ผลกระทบต่อหน้าที่การทำงานและความ กาย<br />

สัมพันธ์กับผู้อื่น บางคนอาจคิดหมกมุ่นอยู่กับ การรักษาปัญหาการนอนไม่หลับ จะเริ่มต้น<br />

อาการของตน<br />

ด้วยวิธีไม่ใช้ยาก่อน โดยมีหลักการดังนี้<br />

สาเหตุของการนอนไม่หลับ<br />

๑. รักษาตามสาเหตุ โดยขจัดเหตุปัจจัยที่<br />

พบว่าเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ทำให้การนอนไม่เพียงพอ<br />

พญ.กนกวรรณ ลิ้มศรีเจริญ<br />

ศูนย์สุขภาพอารมณ์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์<br />

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล<br />

๒. ปฏิบัติตามสุขอนามัยการนอนหลับ และ<br />

ฝึกให้มีพฤติกรรมที่ส่งเสริมการนอนหลับ ซึ่งทุก<br />

คนสามารถปฏิบัติได้เอง โดยมีขั้นตอนดังนี้<br />

๑) เข้านอนและตื่นนอนตรงเวลาทุกวัน เพื่อ<br />

ให้เกิดความเคยชิน<br />

๒) ลุกจากเตียงนอนทันทีเมื่อตื่น<br />

๓) จัดกิจกรรมผ่อนคลายก่อนนอน เช่น อาบ<br />

น้ำอุ่น ดื่มนม อ่านหนังสือ ไม่ทำงานหรือ<br />

กิจกรรมที่ตึงเครียดก่อนเข้านอน<br />

๔) ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทุกวัน แต่<br />

ไม่ควรปฏิบัติช่วงใกล้เข้านอน<br />

๕) ควรใช้เตียงนอนสำหรับนอนตอนกลางคืน<br />

และกิจกรรมทางเพศเท่านั้น ไม่ควรนอนเล่นบน<br />

เตียง หรือทำกิจกรรมอย่างอื่น เช่น ทำงาน ดู<br />

โทรทัศน์ หรืออ่านหนังสือ<br />

๖) จัดห้องนอนให้มืด เงียบ สบาย ปลอดภัย<br />

มีอากาศถ่ายเทสะดวก ปรับอุณหภูมิที่พอดี <strong>MU</strong><br />

มหิดลสาร ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ • 25

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!